C 1

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

บทที่ 1 ตรรกศาสตร์

ตรรกศาสตร์ (logic)  ศาสตร์แห่งวิธีการให้เหตุผลและหาข้อสรุ ป


ผูเ้ ริ่ มใช้ตรรกศาสตร์คนแรก คือ อริ สโตเติล
ตัวอย่างง่ายๆ ที่ทาํ ให้เริ่ มเห็นความสําคัญ
คําพูดผิดๆ : คําตอบของสมการ ( x 1)( x  2)  0 คือ x 1 และ x  2
คําพูดที่ถูก : คําตอบของสมการ ( x 1)( x  2)  0 คือ x 1 หรื อ x  2
สัญลักษณ์ แทน
 เซตของจํานวนนับ 1, 2,3,
 หรื อ I เซตของจํานวนเต็ม  , 3, 2  1, 0,1, 2,3,

 หรื อ I
+
เซตของ จํานวนเต็มบวก 1, 2,3,

 หรื อ I

เซตของจํานวนเต็มลบ 1, 2, 3,
 
 0 หรื อ I0 เซตของจํานวนเต็มที่มากกว่าหรื อเท่ากับศูนย์หรื อ เซตของจํานวนเต็มที่ไม่
เป็ นลบ 0,1, 2,3,
 
 0 หรื อ I0 เซตของจํานวนเต็มที่นอ้ ยกว่าหรื อเท่ากับศูนย์หรื อ เซตของจํานวนเต็มที่ไม่
เป็ นบวก 0, 1, 2, 3,
 เซตของจํานวนตรรกยะ หรื อ เซตของจํานวนที่อยูใ่ นรู ปเศษส่ วนที่เป็ นจํานวน
เต็ม
 เซตของจํานวนจริ ง

 เซตของจํานวนจริ งบวก

 เซตของจํานวนจริ งลบ

0 เซตของจํานวนจริ งที่มากกว่าหรื อเท่ากับศูนย์ หรื อ เซตของจํานวนจริ งที่ไม่
เป็ นลบ

0 เซตของจํานวนจริ งที่นอ้ ยกว่าหรื อเท่ากับศูนย์ หรื อ เซตของจํานวนจริ งที่ไม่
เป็ นบวก
+ +  
ข้อสังเกต   I และ    ดังนั้น  0  I0 และ  0   0
โครงสร้ างของระบบคณิตศาสตร์
1. คําอนิยาม : คําที่เข้าใจโดยสามัญสํานึก เช่น จุด เส้นตรง
2. บทนิยาม : คําที่ตกลงความหมายให้รัดกุด เช่น จํานวนคู่ จํานวนคี่
3. สั จพจน์ : ข้อความที่ถือว่าเป็ นจริ งโดยไม่ตอ้ งพิสูจน์
4. หลักการทางตรรกศาสตร์ : วิธีการให้เหตุผล
5. ทฤษฎีบท : ข้อความที่พิสูจน์ได้วา่ เป็ นจริ งโดยใช้หลักการทางตรรกศาสตร์

ประพจน์ และตัวเชื่อม

บทนิยาม ประพจน์ (proposition) คือ ประโยคบอกเล่า หรื อประโยคปฏิเสธที่เป็ นจริ งหรื อ


เป็ นเท็จเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
ความเป็ นจริ งเป็ นเท็จของประพจน์จะเรี ยกว่า ค่ าความจริง (true-value)
สัญลักษณ์ T ใช้แสดงถึงการเป็ นจริ ง (true) และ F ใช้แสดงถึงการเป็ นเท็จ (false)

ตัวอย่าง
1. ประเทศไทยอยูท่ วีปเอเชีย เป็ นประพจน์ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )
2. โลกใบนี้มีลกั ษณะแบน เป็ นประพจน์ มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
3. นํ้าทะเลไม่ได้มีรสหวาน เป็ นประพจน์ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )
4. โลกใบนี้ไม่ได้มีลกั ษณะกลม เป็ นประพจน์ มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
5. ห้ามขี่จกั รยานบนทางเท้า ไม่เป็ นประพจน์ (ประโยคคําสัง่ )
6. โปรดช่วยกันดูแลความสะอาด ไม่เป็ นประพจน์ (ประโยคคําขอร้อง)
7. เพื่อนที่ดีตอ้ งมีน้ าํ ใจใช่หรื อไม่ ไม่เป็ นประพจน์ (ประโยคคําถาม)
8. x 1  2 ไม่เป็ นประพจน์
ให้ x  0 เราจะได้วา่ ข้อความ x 1  2 เป็ นประพจน์ มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
แต่ถา้ x  1 เราจะได้วา่ ข้อความ x 1  2 เป็ นประพจน์ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )

เราเรี ยก x ว่า ตัวแปร(variable)

บทนิยาม ประโยคเปิ ด คือ ประโยคบอกเล่าหรื อประโยคปฏิเสธที่มีตวั แปร และยังบอกไม่ได้


ว่ามีค่าความจริ งเป็ นจริ งหรื อเป็ นเท็จ

เราจะแทนประโยคเปิ ดที่มี x, y, z, เป็ นตัวแปรด้วย P( x), P( y), P( z), ตามลําดับ


เช่น ข้อ 8) เราสามารถแทนประโยดเปิ ด x 1  2 ได้ดว้ ยสัญลักษณ์ P( x)

การทําให้ประโยคเปิ ดเป็ นประพจน์ ได้แก่


1. การแทนค่าตัวแปรในประโยดนั้นด้วยสมาชิกที่อยูใ่ นเอกภพสัมพัทธ์ (universal set) U
เช่น จงทําประโยดเปิ ดต่อไปนี้ให้เป็ นประพจน์โดยการแทนค่าตัวแปรในเอกภพ
สัมพัทธ์ พร้อมทั้งหาค่าความจริ งของประพจน์น้ นั เมื่อ U = {-1, 0, 1}
1) x 1  2
แทน x  1 จะได้ x 1  2 เป็ นประพจน์ มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
แทน x  0 จะได้ x 1  2 เป็ นประพจน์ มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
แทน x  1 จะได้ x 1  2 เป็ นประพจน์ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )
2) x2 1
แทน x  1 จะได้ x2 1 เป็ นประพจน์ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )
แทน x  0 จะได้ x2 1 เป็ นประพจน์ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )
แทน x  1 จะได้ x2 1 เป็ นประพจน์ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )
2. การเติมตัวบ่งปริ มาณ (quantifier)
 ตัวบ่งปริ มาณที่สื่อความหมายว่า ทั้งหมด สิ่ งใดๆ ทุกสิ่ ง (for all) ใช้สญั ลักษณ์ 
เช่น x  ,[ x3  0] เป็ นประพจน์ [มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )]
x  ,[ x3  0] เป็ นประพจน์ [มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )]
 ตัวบ่งปริ มาณที่สื่อความหมายว่า มีอย่างน้อยหนึ่งสิ่ ง (for some) ใช้สญ ั ลักษณ์ 
เช่น x  ,[ x3  0] เป็ นประพจน์ [มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )]
x  ,[ x2 1  0] เป็ นประพจน์ [มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )]

หมายเหตุ: โดยทัว่ ไปจะเขียนย่อ x  U[P( x)] หรื อ x  U, P( x)


และจะเขียนย่อ x  U[P( x)] หรื อ x  U, P( x)
ในกรณี ที่ไม่ได้กาํ หนด U ให้ถือว่า U  

บทนิยาม เรากล่าว x เป็ นจํานวนเต็มคู่ ก็ต่อเมื่อ สามารถเขียน x ในรู ป x  2n เมื่อ n เป็ น


จํานวนเต็ม และจะกล่าวว่า x เป็ นจํานวนเต็มคี่ ก็ต่อเมื่อ สามารถเขียน x ในรู ป x  2m 1
เมื่อ m เป็ นจํานวนเต็ม

 ตัวอย่างการเขียนประพจน์ในรู ปสัญลักษณ์
มีจาํ นวนนับที่ยกกําลังสองแล้วเท่ากับ 3 เขียนเป็ น x  [ x2  3]

จํานวนเต็มลบใดๆ คูณด้วย 2 ย่อมเป็ นจํานวนนับ เขียนเป็ น x   [2 x  ]
จํานวนคู่ใดๆบวก 1 จะได้จาํ นวนคี่ เขียนเป็ น x  E[ x 1O]
เมื่อ E แทนเซตของจํานวนคู่
O แทนเซตของจํานวนคี่
สามเท่าของจํานวนจริ งบางจํานวนมีค่ามากกว่า 8 เขียนเป็ น x  [3x  8]
หรื อ x[3x  8]
จํานวนเต็มทุกจํานวนตั้งแต่ 3 ถึง 5 ย่อมน้อยกว่า  เขียนเป็ น x {3,4,5}[ x   ]
การหาค่าความจริ งของประพจน์ที่มีตวั บ่งปริ มาณ
1. x  U[P( x)] มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T ) ก็ต่อเมื่อ P( x) เป็ นจริ ง ทุก xU
2. x  U[P( x)] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F ) ก็ต่อเมื่อ มี xU ที่ P( x) เป็ นเท็จ
3. x  U[P( x)] มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T ) ก็ต่อเมื่อ มี xU ที่ P( x) เป็ นจริ ง
4. x  U[P( x)] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F ) ก็ต่อเมื่อ P( x) เป็ นเท็จ ทุก xU

ตัวอย่าง: 1. x {1,0,1}[ x  2  0] มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )


เพราะเมื่อแทนค่า x  1 จะได้ 1 2 1  0 ซึ่ งเป็ นจริ ง
เมื่อแทนค่า x  0 จะได้ 0  2  2  0 ซึ่ งเป็ นจริ ง
เมื่อแทนค่า x 1 จะได้ 1 2  3  0 ซึ่ งเป็ นจริ ง
2. x {3,4,5}[ x   ] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
เพราะเมื่อแทนค่า x  5 จะได้ 5    3.14 ซึ่ งเป็ นเท็จ
3. x {3,4,5}[ x   ] มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )
เพราะเมื่อแทนค่า x  3 จะได้ 3    3.14 ซึ่ งเป็ นจริ ง
4. x {1,0,1}[ x  2  0] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
เพราะเมื่อแทนค่า x  1 จะได้ 1 2  0 ซึ่ งเป็ นเท็จ
เมื่อแทนค่า x  0 จะได้ 0  2  0 ซึ่ งเป็ นเท็จ
เมื่อแทนค่า x 1 จะได้ 1 2  0 ซึ่ งเป็ นเท็จ
5. x  [ x3  0] มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T ) เพราะ x3  0 ทุก x
6. x  [ x3  0] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
เพราะเมื่อแทนค่า x  0 จะได้ 03  0 ซึ่ งเป็ นเท็จ
7. x  [ x3  0] มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )
เพราะเมื่อแทนค่า x 1 จะได้ 13  0 ซึ่ งเป็ นจริ ง
8. x  [ x2 1  0] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
เพราะ x2  0 ทุก x นัน่ คือ x2 11 ทุก x
ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์
“และ” (conjunction) แทนด้วยสัญลักษณ์ 
“หรื อ” (disjunction) แทนด้วยสัญลักษณ์ 
“ถ้า...แล้ว...” (implication) แทนด้วยสัญลักษณ์ 
“ก็ต่อเมื่อ” (biconditional) แทนด้วยสัญลักษณ์ 
นิเสธ (negation) แทนด้วยสัญลักษณ์  (“ไม่”หรื อ “not”)

สําหรับประพจน์ p และ q ใดๆ ค่าความจริ งสําหรับการเชื่อมประพจน์เป็ นดังตาราง

p q pq pq p q p  q  p
T T T T T T F
T F F T F F F
F T F T T F T
F F F F T T T

ตัวอย่าง: จงหาค่าความจริ งของ [ p  (q  r )]  ( p  r ) โดยใช้ตาราง

p q r qr p  (q  r )  r p  r [ p  (q  r )]  ( p  r )
T T T T T F F F
T T F T T T T T
T F T T T F F F
T F F F F T T F
F T T T T F F F
F T F T T T F F
F F T T T F F F
F F F F T T F F
n
ข้ อสั งเกต กรณี ตอ้ งพิจารณา n ประพจน์ยอ่ ยนั้น กรณี ที่เป็ นไปได้ท้ งั หมด มี 2 กรณี
ตัวอย่าง: จงหาค่าความจริ งของประพจน์ต่อไปนี้
1. ( x  [ x 1  3] )  ( x  [ x  2  0] )
x  [ x 1  3] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
เพราะเมื่อแทนค่า x 1 จะได้ 11  3 ซึ่ งเป็ นเท็จ
x  [ x  2  0] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
เพราะ x  2 เท่านั้นที่ทาํ ให้ x  2  0 แต่ 2
ดังนั้น ( x  [ x 1  3] )  ( x  [ x  2  0] ) มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )

2. ( x[ x2  1])  ( x[ x 1  2] )


x[ x2  1] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
เพราะว่าไม่มีจาํ นวนจริ งไดๆที่ x2  1
ดังนั้น ( x[ x2  1])  ( x[ x 1  2] ) มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )

3. ( x[ x  0  x2  0] )  ( x  [2 x  1] )
x  [2 x  1] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
เพราะ x  0.5 เท่านั้นที่ทาํ ให้ 2 x 1 แต่ 0.5
ดังนั้น ( x[ x  0  x2  0] )  ( x  [2 x  1]) มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )

4. ( x  [ x 1  0] )  ( x[ x2  0] )
x  [ x 1  0] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
เพราะ x  1 เท่านั้นที่ทาํ ให้ x 1  0 แต่ 1
x[ x2  0] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ( F )
เพราะไม่มีจาํ นวนจริ งที่ยกกําลังสองแล้วติดลบ
ดังนั้น ( x  [ x 1  0] )  ( x[ x2  0] ) มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ( T )
ประพจน์ ที่สมมูลกัน
พิจารณาค่าความจริ งของประพจน์ p และประพจน์  ( p)

p ( p)  ( p)
T F T
F T F

บทนิยาม ประพจน์ p สมมูล (equivalent) กับประพจน์ q ก็ต่อเมื่อ ค่าความจริ งของทั้งสอง


เหมือนกันทุกกรณี เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย p  q
สําหรับประพจน์ p และ q ใดๆ ถ้า p ไม่สมมูล q เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย p  q

ตัวอย่าง: 1. p  q   p  q ตามตารางค่าความจริ งซึ่ งเหมือนกันทุกกรณี

p q p  q  p  p  q ( p  q)  ( p  q)
T T T F T T
T F F F F T
F T T T T T
F F T T T T
2. p  q   (q  p) ตามตารางค่าความจริ งซึ่ งมีกรณี ที่ไม่เหมือนกัน

p q  q p  q q  p  (q  p) ( p  q)  (q  p)
T T F F T F T
T F T T T F F
F T F F T F T
F F T F F T F
บทนิยาม ประพจน์จะเป็ น สั จนิรันดร์ (tautology) ก็ต่อเมื่อ ค่าความจริ งของประพจน์น้ นั
เป็ นจริ งทุกกรณี
ประพจน์จะเป็ น ข้ อขัดแย้ ง (contradiction) ก็ต่อเมื่อ ค่าความจริ งของประพจน์น้ นั
เป็ นเท็จทุกกรณี

ข้อสังเกต: สําหรับประพจน์ p และ q ใดๆ


1. p  q ก็ต่อเมื่อ p  q เป็ นสัจนิรันดร์
2. p เป็ นข้อขัดแย้ง ก็ต่อเมื่อ  p เป็ นสัจนิรันดร์

ตัวอย่าง: จงพิจารณาว่าประพจน์ต่อไปนี้เป็ นสัจนิรันดร์ หรื อข้อขัดแย้ง หรื อไม่ใช่ท้ งั สองอย่าง


1.  ( p  q)  p ตอบว่า เป็ นสัจนิรันดร์ . (จากตาราง)

p q  p  p  q  ( p  q)  ( p  q)  p
T T F T F T
T F F F T T
F T T T F T
F F T T F T

2. ( p  q)  p  q ตอบว่า เป็ นข้อขัดแย้ง . (จากตาราง)

p q p  q ( p  q)  p  q ( p  q)  p   q
T T T T F F
T F F F T F
F T T F F F
F F T F T F
3. [( p  q)  r ]  [( p  r )  (q  r )] ตอบว่า เป็ นสัจนิรันดร์ . (จากตาราง)

( p  r )  [( p  q)  r ] 
p q r p  q ( p  q)  r pr qr
(q  r ) [( p  r )  (q  r )]
T T T T T T T T T
T T F T F F F F T
T F T T T T T T T
T F F T F F T F T
F T T T T T T T T
F T F T F T F F T
F F T F T T T T T
F F F F T T T T T

4. [ p  (q  r )]  [ p  q  r ] ตอบว่า ไม่ใช่ท้ งั สองอย่าง . (จากตาราง)

[ p  (q  r )] 
p q r p qr  p  (q  r )  q p  q  r
[ p  q  r ]
T T T F T T F T T
T T F F T T F T T
T F T F T T T T T
T F F F F T T T T
F T T T T T F T T
F T F T T T F F F
F F T T T T T T T
F F F T F F T T F
สัจนิรันดร์ที่สาํ คัญ: สําหรับประพจน์ p , q และ r ใดๆ
1. กฎเอกลักษณ์ (Law of Identity) p p

2. กฎนิเสธสองชั้น (Law of Double Negation) p  ( p)

3. กฎนิรมัชฌิม (Law of Excluded Middle) p  p

4. กฎข้อขัดแย้ง (Law of Contradiction)  ( p   p)

5. กฎนิจพล (Idempotent Laws) ( p  p)  p , ( p  p)  p

6. กฎการบวก (Law of Addition) p  ( p  q)

7. กฎการสมมูล (Law of Equivalence) ( p  q)  [( p  q)  (q  p)]


8. กฎการแย้งสลับที่ (Law of Contraposition) ( p  q)  ( q  p)
9. กฎตรรกบทแบบสมมติฐาน (Law of Hypothetical Syllogism)
[( p  q)  (q  r )]  ( p  r )

10. กฎการสลับที่ (Commutative Laws) ( p  q )  (q  p ) , ( p  q )  (q  p )


11. กฎการเปลี่ยนหมู่ (Associative Laws)
[ p  (q  r )]  [( p  q)  r ]  [ p  q  r ]
[ p  (q  r )]  [( p  q)  r ]  [ p  q  r ]
12. กฎการแจกแจง (Distributive Laws) [ p  (q  r )]  [( p  q)  ( p  r )]
[ p  (q  r )]  [( p  q)  ( p  r )]
13. กฎการดูดซึ ม Absorption Laws [ p  ( p  q)]  p , [ p  ( p  q)]  p
14. กฎเดอมอร์แกน (De Morgan’s Laws)  ( p  q)  ( p  q) ,
 ( p  q)  ( p  q)
15. กฎการมีเงื่อนไข (Law of Implication) ( p  q)  ( p  q) ,
( p  q)  ( p  q)
16. กฎนิเสธของการมีเงื่อนไข (Law of Negation for Implication)
 ( p  q )  ( p   q)

จากตัวอย่าง 1) พบว่า  ( p  q)  p เป็ นสัจนิรันดร์


ต่อไปจะใช้กฎต่างๆ แสดงสัจนิรันดร์
 ( p  q)  p  ( p  q)  p Law of Implication
 (q  p)  p Commutative Laws
 q  ( p  p) Associative Laws
โดย Law of Excluded Middle  p  p เป็ นสัจนิรันดร์
จึงทําให้ q  ( p  p) มีค่าความจริ งเป็ นจริ งเสมอ นัน่ คือเป็ นสัจนิรันดร์

จากตัวอย่าง2) พบว่า ( p  q)  p  q เป็ นข้อขัดแย้ง


ต่อไปจะใช้กฎต่างๆ แสดงข้อขัดแย้ง
( p  q )  p   q  ( p  q )  ( p   q) Associative Laws
 ( p  q )  ( p  q ) Law of Negation for Implication
 [ [( p  q)  ( p  q)]] Law of Double Negation
โดย Law of Contradiction  [( p  q)  ( p  q)] เป็ นสัจนิรันดร์
  [ [( p  q)  ( p  q)]] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จเสมอ นัน่ คือเป็ นข้อขัดแย้ง
ตัวอย่าง: จงหานิเสธของข้อความ ( r  t )  (s  t ) กับ  (q  p)  (r   t )
 [( r  t )  (s  t )]  ( r  t )  (s  t ) De Morgan’s Laws
 ( r   t )  (s  t ) Law of Negation for Implication
 ( r   t )  ( s  t ) De Morgan’s Laws
 ( r   s)  t Distributive Laws
 (r  s)  t De Morgan’s Laws
 [ (q  p)  (r   t )]  (q  p)  (r   t ) Law of Negation for Implication
 [ q  ( p)] [ r   ( t )] De Morgan’s Laws
 ( q  p)  ( r  t ) Law of Double Negation
 q  p  ( r  t ) Associative Laws

บทนิยาม สําหรับประพจน์ p และ q ใดๆ


q p เรี ยกว่า บทกลับ (converse) ของ p  q
 p  q เรี ยกว่า ผกผัน (inverse) ของ p  q
 q  p เรี ยกว่า ประพจน์ แย้ งสลับที่ (contrapositive) ของ p  q

ตัวอย่าง pq q p  p  q  q  p
ถ้า x  1 แล้ว y  2 ถ้า y  2 แล้ว x 1 ถ้า x  1 แล้ว y  2 ถ้า y  2 แล้ว x  1

You might also like