Data File 01 PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 71

การเลือกอุปกรณป์ ้ องกันระบบไฟฟ้า

นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี
อนุกรรมการและเลขานุการ คณะอนุกรรมการร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้า,วสท
เลขาธิการ สมาคมเครื่องกาเนิดไฟฟ้าไทย
อุปนายก 2 สมาคมผู้ตรวจสอบและบริหารความปลอดภัยอาคาร
วุฒิวิศวกรไฟฟ้า วฟก.818/ ACPE.01242-TH
กรรมการผู้จัดการ บริษัท นอร์ธพลัส จากัด

1
ทาไมต้องป้องกัน?
 ทาไม?
 ป้องกันการเกิดอันตรายอันอาจเกิดต่อบุคคล
 ป้องกันความเสียหายของอุปกรณ์
 ป้องกันอันตรายจากการเกิดเหตุเพลิงไหม้

 อย่างไร?
 ตรวจจับการเกิดความผิดพร่องและตัดวงจรออกไปให้เร็วที่สุด

2
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
2
ACPE 01242-TH
การเลือกอุปกรณ์ป้องกันระบบไฟฟ้า
 ชนิดของเครื่องป้องกันกระแสเกิน (Over Current Protection)
 ชนิดของแผงไฟฟ้าย่อย (Panelboard)
 ระดับชั้นการป้องกัน (Ingress Protection , IP)

3
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
3
ACPE 01242-TH
ชนิดของเครื่องป้องกันกระแสเกิน
อุปกรณ์ตัดตอนและเครื่องป้องกันกระแสเกินต้องมีมาตรฐานและคุณสมบัติไม่น้อยกว่าที่
กาหนดดังนี้
 ฟิวส์และขั้วรับฟิวส์ (Fuse and Fuse Holder)
พิกัดกระแสของฟิวส์ต้องไม่สูงกว่าของขั้วรับฟิวส์ ทาจากวัสดุที่เหมาะสม มีการป้องกันหรือหลีกเลี่ยงการ
ผุกร่อน (corrosion) เนื่องจากการใช้โลหะต่างชนิดกันระหว่างฟิวส์กับขั้วรับฟิวส์ และต้องมีเครื่องหมาย
แสดงพิกัด แรงดันและกระแสให้เห็นได้อย่างชัดเจน และเป็นไปตาม มอก. 506-2527 มอก. 507-2527
และ 526-2555

4
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
4
ACPE 01242-TH
ชนิดของเครื่องป้องกันกระแสเกิน
 เซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) สาหรับระบบแรงต่าต้องมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน
IEC 60947-2 หรือ IEC 60898 มีรายละเอียดดังนี้
1. ต้องเป็นแบบปลด (off) ได้โดยอิสระและต้องปลดสับได้ด้วยมือ ถึงแม้ว่าปกติการปลด
สับจะทาโดยวิธีอื่นก็ตาม
2. ต้องมีเครื่องหมายแสดงอย่างชัดเจนว่าอยู่ในตาแหน่งสับหรือปลด
3. ถ้าเป็นแบบปรับตั้งได้ต้องเป็นแบบการปรับตั้งค่ากระแสหรือเวลา โดยในขณะใช้งาน
กระทาได้เฉพาะผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
4. ต้องมีเครื่องหมายแสดงพิกัดของแรงดัน กระแส และความสามารถในการตัดกระแสที่
เห็นได้ชัดเจนและถาวรหลังจากติดตั้งแล้ว หรือเห็นได้เมื่อเปิดแผ่นกั้นหรือฝาครอบ
5
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
5
ACPE 01242-TH
มาตรฐาน Circuit Breaker
ว.ส.ท. แนะนาให้ใช้งานตามมาตรฐาน IEC แบ่งเป็น
1. IEC 898 หรือ IEC 60898
• สาหรับบ้านอยู่อาศัย และ อาคารทั่วไป
2. IEC 947-2 หรือ IEC 60947-2
• สาหรับงานอุตสาหกรรม

6
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
6
ACPE 01242-TH
7
7
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
กรณี CB ถูกใช้งานที่อุณหภูมิแวดล้อมมากกว่าหรือน้อยกว่าที่กาหนด ก็
จะต้องใช้ตัวคูณเพิ่มหรือคูณลดเพื่อปรับค่าพิกัดของ CB ให้ถูกต้องตามตาราง
ตัวอย่าง
กรณี CB ติดตั้งในแผงไฟ ตู้ Load Center ที่ปิดมิดชิดซึ่งจะเกิดความร้อน Cr. Electrical installation guide 2016
According to IEC international standards
8
ในตัวมันเองเมื่อใช้งานปกติ แนะนาให้ใช้ตัวคูณลดที่ 0.8 Schneider Electric S.A
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
Circuit Breaker คือ
อุปกรณ์ปลดวงจรระบบไฟฟ้า เมื่อเกิดกระแสไฟฟ้าเกินพิกัดอันเนื่องมาจาก
1. Short-circuit
2. Overload
ประเภทการทางานของ Circuit Breaker
1. Thermal Trip
2. Magnetic Trip
3. Thermal - Magnetic Trip
4. Solid State Trip
9
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
9
ACPE 01242-TH
Thermal Trip
 แผ่นโลหะไบเมทัล 2 แผ่น ทาจากโลหะต่างชนิดกัน เกิดการโก่งตัวเมื่อเกิด
ความร้อนเนื่องจากกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
 เหมาะกับการใช้ป้องกัน สภาวะโหลดเกิน
 ความไวในการทริป ขึ้นกับ ปริมาณกระแสและระยะเวลาที่กระแสไหลผ่าน

10
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
10
ACPE 01242-TH
Thermal Trip

11
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
11
ACPE 01242-TH
Magnetic Trip

 การทริปโดยอานาจสนามแม่เหล็ก
 ทริปทันทีที่กระแสไหลถึงจุดที่ปรับตั้งไว้

12
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
12
ACPE 01242-TH
Magnetic Trip

13
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
13
ACPE 01242-TH
Thermal - Magnetic Trip

14
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
14
ACPE 01242-TH
Thermal - Magnetic Trip

15
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
15
ACPE 01242-TH
Solid State Trip

 นาวงจรอิเล็คทรอนิกส์มาใช้ร่วมกับเซอร์กิตเบรกเกอร์
 มีเฉพาะเซอร์กิตเบรกเกอร์ขนาดใหญ่
 สามารถปรับตั้งค่ากระแสทริป ให้ทางานในย่านต่างๆได้

16
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
16
ACPE 01242-TH
Solid State Trip

17
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
17
ACPE 01242-TH
อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน (ระบบแรงต่า)
Circuit Breaker
CB ตาม IEC 60947-2
• Air Circuit Breaker (ACB)
• Molded Case Circuit Breaker (MCCB)
CB ตาม IEC 60898
• Miniature Circuit Breaker (MCB)

18
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
18
ACPE 01242-TH
Air Circuit Breaker (ACB)
 นิยมใช้เป็นอุปกรณ์ป้องกัน สายเมน
 มีขนาดถึง 6300 A
 ราคาสูง
 มีทั้งชนิด Fixed Type และ With Draw able (Draw Out Type)
 พิกัดกระแส (IEC 60947-2) 630, 1,000, 1,250, 1,600, 2,000, 2,500,
3,200,4,000, 5,000 และ 6,300 AF
 พิกัดกระแสลัดวงจร65, 85, 100 และ 130 kA (ที่ 500 VAC)

19
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
19
ACPE 01242-TH
ACB สามารถแบ่งชนิดตามการติดตั้งได้ 2 ชนิด คือ
1) แบบติดตั้งยึดติดกับที่ ( Fixed Type )
ติดตั้งให้ติดกับ Main Circuit โดยยึดติดด้วยสกรูอย่างแข็งแรง เวลาถอดออกเพื่อซ่อมบารุง
จะต้องดับไฟและใช้เวลามาก

20
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
20
ACPE 01242-TH
ACB สามารถแบ่งชนิดตามการติดตั้งได้ 2 ชนิด คือ
2) แบบดึงออกได้ With Drawable (Draw Out Type)
ติดตั้งบนโครงล้อเลื่อนที่สามารถเลื่อนไปตามรางที่เตรียมไว้ ส่วนสัมผัสของ ACB กับ Main Circuit
จะต้องเป็นแบบพิเศษเพื่อให้การสัมผัสที่แนบแน่น ซึ่งจะทาให้กระแสสามารถไหลผ่านได้สะดวก การ
ซ่อมบารุง ACB แบบนี้ ทาได้สะดวกรวดเร็วและสามารถลดเวลาการดับไฟฟ้าได้

21
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
21
ACPE 01242-TH
Air Circuit Breaker (ACB)

4P

22
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
22
ACPE 01242-TH
Air Circuit Breaker (ACB)

23
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
23
ACPE 01242-TH
Molded Case Circuit Breaker (MCCB)

24
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
24
ACPE 01242-TH
Molded Case Circuit Breaker (MCCB)

 แบ่งการทางานออกเป็น 2 แบบ
1.Thermal Trip
2. Solid State Trip

มีทั้งแบบ 1P / 2P / 3P

25
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
25
ACPE 01242-TH
Molded Case Circuit Breaker (MCCB)
 นิยมใช้มากที่สุด
**
 ป้องกันสายเมน สายป้อน และวงจรย่อย
 มีหลายขนาดให้เลือกใช้งาน
 พิกัดกระแสลัดวงจรสูงพอสมควร
 ราคาไม่แพงมากนัก
 พิกัดกระแส (IEC 60947-2) 100-630 AF ในตลาดบางยี่ห้อมีถึง
1,600 AF หรือ 2,500 AF
 พิกัดกระแสลัดวงจร 18, 25, 30, 36, 50, 70 และ 85 kA
26
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
26
ACPE 01242-TH
Molded Case Circuit Breaker (MCCB)

27
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
27
ACPE 01242-TH
Miniature Circuit Breaker (MCB)

28
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
28
ACPE 01242-TH
Miniature Circuit Breaker (MCB)
 นิยมใช้ป้องกันสายวงจรย่อย
 พิกัดกระแสลัดวงจรต่า ( 5 – 10 kA)
 ราคาถูก
 ติดตั้งในแผงควบคุมวงจรย่อย
 พิกัดกระแสใช้งาน (In) 6 - 125 A
 พิกัดกระแสลัดวงจร (Icn) 3 - 25 kA

29
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
29
ACPE 01242-TH
Miniature Circuit Breaker (MCB)
• IEC 60898
• IEC 60947-2

Consumer Unit
Load Center 30
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
30
ACPE 01242-TH
พิกัดกระแสของ Circuit Breaker

 Ampere Trip (AT)


 Ampere Frame (AF)
 Interrupting Capacity (IC)

31
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
31
ACPE 01242-TH
Ampere Trip (AT)
 พิกัดกระแส handle rating หรือ Rated Current (In) ซึ่งบอกให้รู้ว่าสามารถทน
กระแสใช้งานใน ภาวะปกติ ได้สูงสุดเท่าใด
 มักแสดงค่าไว้ที่ name plate หรือด้ามโยกของเบรกเกอร์
 Overload relay trip-current setting (Irth or Ir)
กระแสสูงสุดที่ปรับตั้งให้ Thermal-Trip โดยทั่วไปจะปรับตั้งที่ 0.7-1.0 In
 Short-circuit relay trip-current setting (Im)
ค่ากระแสลัดวงจรที่ทาให้ Magnetic Trip ของ CB ทางาน ขึ้นอยู่กับประเภทของ
CB (B,C,D)
32
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
32
ACPE 01242-TH
Ampere Frame (AF)
 พิกัดการทนกระแสสูงสุดของเบรคเกอร์ในรุ่นนั้นๆ
 เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่มีขนาด AF เดียวกัน จะมีขนาดมิติ (กว้าง x ยาว x สูง)
เท่ากัน
 สามารถเปลี่ยนพิกัด Ampere Trip ได้โดยที่ขนาด (มิติ) ของเบรคเกอร์ยังคง
เท่าเดิม

33
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
33
ACPE 01242-TH
Interrupting Capacity (IC)
 Rated short-circuit breaking capacity (Icu or Icn)
พิกัดการทนกระแสลัดวงจรสูงสุดโดยปลอดภัยของเบรคเกอร์นั้นๆ ปกติกาหนดค่าการทน
กระแสเป็น kA.
 Rated short-time withstand current (Icw)
ค่ากระแสลัดวงจรสูงสุดสาหรับ เบรคเกอร์ชนิด B ที่สามารถทนได้ทั้งผลทางด้านอุณหภูมิ
,ความเค้นและ ความเครียดจากสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น โดยตัวมันเองไม่เสียหายในช่วงเวลา
หนึ่ง ตามที่โรงงานผู้ผลิตระบุ
34
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
34
ACPE 01242-TH
Interrupting Capacity (IC)
• Rated making capacity (Icm)
พิกัดการทนกระแสลัดวงจรสูงสุดที่เป็น peak current ที่
เบรคเกอร์ สามารถทนได้ และท าการปลดวงจรแบบ
ทันทีทันใด (instantaneous) โดยไม่มีการหน่วงเวลาที่
แรงดันพิกัด (rated voltage) ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนด
ในระบบไฟฟ้ากระแสสลับค่ากระแส peak มีความสัมพันธ์
กับค่า Icu ด้วยตัวคูณ (k factor) ซึ่งต่างกันไปตามค่า
power factor ของกระแสลัดวงจร
• Rated service short-circuit breaking capacity (Ics)
เป็นค่าที่บอกให้รู้ว่าเมื่อ เบรคเกอร์ปลดวงจรหลังจากเกิดการลัดวงจรครั้งแรกแล้ว เบรคเกอร์ตัวนั้นจะสามารถทน
กระแสลัดวงจร ในครั้งถัดไปได้เท่าเดิมหรือไม่โดยเทียบกับค่า Icu โดยระบุเป็นเปอร์เซ็นต์ของค่า Icu เช่น 25,50,75
35
และ 100%
* คัดลอกจากวารสารโอมห์ แมกกาซีน ฉบับที่1 มิถุนายน-สิงหาคม 2000 ในเครือ schneider electric* นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
35
ACPE 01242-TH
CB Curve
• IEC 60898 เส้นโค้ง (curve) B, C, D
Type B ตัดทันที ที่ > 3-5 In
Type C ตัดทันที ที่ > 5 - 10 In
Type D ตัดทันที ที่ > 10 - 50 In
• IEC 60947-2 – กาหนดโดยผู้ผลิตมี 2 กลุ่ม (Category) A,B
Category A เมื่อเกิดลัดวงจร magnetic trip จะทางานทันทีโดยไม่มีหน่วงเวลา
โดยทั่วไปจะพบใน MCCB (ไม่เหมาะที่จะนามาทา Coordination)
Category B จะมีการหน่วงเวลาเมื่อเกิดการลัดวงจรที่กระแสลัดวงจรยังไม่ถึงค่าที่ตั้งไว้
(Icw) จะพบใน ACB และ MCCB ตัวใหญ่ๆ (เหมาะที่จะนามาทา Coordination) 36
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
36
ACPE 01242-TH
รายละเอียดของเส้นโค้ง (curve) B, C, D
ช่วงที่กระแสไฟฟ้าเกินที่
ประเภท การนาไปใช้งาน
มีการตัดทันที
สาหรับวงจรไฟฟ้าที่ไม่มีกระแสไฟ
B > 3 ln ถึง 5 ln
กระโชก หรือ เสิร์จสวิตซ์ซิ่ง
สาหรับวงจรไฟฟ้าที่อาจมีกระแสไฟ
C > 5 ln ถึง 10 ln กระโชก เช่น ไฟแสงสว่าง มอเตอร์
ขนาดเล็ก เครื่องปรับอากาศ
สาหรับวงจรไฟฟ้าที่มีกระแสไฟกระโชก
D > 10 ln ถึง 50 ln
เช่น เครื่องเชื่อม เป็นต้น 37
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
37
ACPE 01242-TH
รายละเอียดของ curve B

38
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
38
ACPE 01242-TH
รายละเอียดของ curve C

39
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
39
ACPE 01242-TH
รายละเอียดของ curve D

40
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
40
ACPE 01242-TH
Category A
Category B

รายละเอียดของ Curve IEC 60947-2 41


Cr.บจ.ชไนเดอร์ อิเล็คทริค นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
41
ACPE 01242-TH
การจัดลาดับการทางานร่วมกัน Co-Ordinaton

42
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
42
ACPE 01242-TH
การเลือกใช้ Circuit Breaker (CB)

ACB

MCCB MCCB MCB 43


Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
43
ACPE 01242-TH
อุปกรณ์เสริม
Shunt Trip
 เป็นชุดควบคุมการทริประยะไกล
 ใช้สั่งปลดวงจรจากภายนอกหรือจุดห่างจากตัวเซอร์กิตเบรกเกอร์

44
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
44
ACPE 01242-TH
อุปกรณ์เสริม
Under Voltage Trip
 ใช้ติดตั้งเพื่อตรวจจับแรงดันที่จ่ายเข้ามายังเบรคเกอร์
 แรงดันไฟฟ้าต่ากว่าที่กาหนดก็จะสั่งปลดเบรคเกอร์ทันที

45
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
45
ACPE 01242-TH
อุปกรณ์เสริม
Auxiliary Switch
 แสดงสถานะของเบรคเกอร์ขณะนั้นว่า ON หรือ OFF / TRIP

46
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
46
ACPE 01242-TH
IEC 61439 - Short-circuit withstand tests

47
Cr.บจ.พาวเวอร์เรด นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
47
ACPE 01242-TH
Safety Switch
ต้ อ งปลดหรื อ สั บ วงจรได้ พ ร้ อ มกั น ทุ ก ๆ ตั ว น าเส้ น ไฟและต้ อ ง
ประกอบด้วยฟิวส์รวมอยู่ในกล่องเดียวกันและจะเปิดฝาได้ต่อเมื่อได้
ปลดวงจรแล้ว หรือการเปิดฝานั้น เป็นผลให้วงจรถูกปลดด้วย และ
ต้องสามารถปลดและสับกระแสใช้งานในสภาพปกติได้ ในกรณีที่ใช้
งานเป็นสวิตช์อย่างเดียว อนุญาตให้ใช้แบบ Non-fuse ได้

48
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
48
ACPE 01242-TH
เครื่องตัดไฟรั่ว (Residual Current Device หรือ RCD)
ใช้ป้องกัน อัน ตรายจากไฟฟ้า รั่ ว ที่แรงดั นใช้งานไม่เ กิน 440 โวลต์ สาหรับบ้า นอยู่อาศัยหรื อสถานที่
คล้ายคลึงกันต้องมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน IEC 60755, IEC 61008, IEC 61009, IEC 61543, มอก.
909-2548 หรือ มอก. 2425-2552 มีรายละเอียดดังนี้
 มีค่ากระแสรั่วที่กาหนด (rated residual operating current, I∆n) ไม่เกิน 30 mA และเมื่อกระแส
รั่วมีค่า 5 I∆n จะต้องตัดวงจรภายในช่วงเวลาไม่เกิน 0.04 วินาที และต้องไม่ตัดวงจรเมื่อกระแสรั่วมีค่า
0.5 I∆n
 ต้องเป็นชนิดที่ปลดสายไฟเส้นที่มีไฟ (live conductor) ทุกเส้นออกจากวงจรรวมทั้งสายนิวทรัล
(neutral) ยกเว้น กรณีที่สายนิวทรัลนั้นมีการต่อลงดินโดยตรงตามมาตรฐานแล้ว
 ห้าม ต่อวงจรลัดคร่อมผ่าน (by pass) เพื่อป้องกันเครื่องตัดไฟรั่วปลดวงจรเมื่อไฟรั่ว 49
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
49
ACPE 01242-TH
50
50
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
51
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
ชื่อเรียกตา่ งๆ ของเครื่องตัดไฟรัว่
• Ground Fault Circuit Interrupter (GFCI)
• Earth Leakage Circuit Breaker (ELCB)
• Residual Current Device (RCD)
• Residual Current Operation Circuit Breaker without Integral
Overcurrent Protection (RCCB)
• Residual Current Operation Circuit Breaker with Integral Overcurrent
Protection (RCBO)
• Portable current device without integral overcurrent protection for
household and similar uses (PRCDs) 52
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 52
01242-TH
จัดกลุม่ ของอุปกรณ์ RCD ตาม IEC

RCCB RCBO
 GFCI  RCBO
 RCCB  ELCB (ชนิดทีต
่ ิดตัง้ ในแผงไฟ)
 ELB (ชนิดติดตัง้ ทีอ
่ ุปกรณ)์
 PRCD

53
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
RCBO

RCCB
Reset

PRCD
Test 54
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
ทาไมตอ้ งมีเครื่องตัดไฟรัว่ ??

 ใช้ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า ในกรณีทไี่ มไ่ ดม้ ีการติดตัง้ สายดิน


ในระบบ เนื่องจากสมัยกอ่ นไมม่ ีการบังคับในเรื่องสายดิน
 ใช้รว่ มกับระบบสายดินเพื่อช่วยให้ระบบไฟฟ้ามีความปลอดภัย
มากขึ้น (ติดตัง้ เป็ นอุปกรณเ์ สริม) เนื่องจากในบางครัง้
กระแสไฟฟ้ารัว่ ลงดินมีคา่ ต่า

55
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
การทางานของเครื่องตัดไฟรัว่ RCD

• ไมส่ ามารถป้องกันไฟดูดไดโ้ ดยตรง (ดูดกอ่ นตัด)


• ตอ้ งทางานรว่ มกับระบบการติดตัง้ สายดิน
• เป็ นเพียงอุปกรณเ์ สริม
•เป็ นเครื่องลดอันตรายจากไฟดูด (ลดระยะเวลาทีก่ ระแสไฟไหล
ผา่ นรา่ งกาย)

56
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
ขอ้ จากัดของเครื่องตัดไฟรัว่ RCD

 ไมไ่ ดล้ ดขนาดกระแสทีไ่ หลผา่ นรา่ งกาย


 ไมส ่ ามารถป้องกันได้ ถา้ สัมผัสสาย Line กับ Line หรือ
Line กับ Neutral พรอ้ มกัน

57
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
มีสายดินแลว้ ทาไมตอ้ งติดตัง้ เครื่องตัดไฟรัว่
• บางครัง้ กระแสไฟรัว่ ลงสายดินมีคา่ ต่า (ความตา้ นทาน Loop
Impedance มีคา่ สูง)
• ทาให้อุปกรณป์ ้ องกันกระแสเกินทางานช้า หรือ ไมท่ างาน
• การติดตัง้ ระบบสายดินไมถ่ ูกตอ้ ง
- ขนาดสายดินเล็กเกินไป
- ระบบสายดินเสื่อมสภาพ
• เสริมการทางานของระบบสายดินให้ดียงิ่ ขึ้น
58
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
มีเครื่องตัดไฟรัว่ แลว้ ไมต่ อ้ งมีสายดินไดห้ รือไม่ ?
• เครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิดมีไฟรัว่ (รูส้ ึก) แตไ่ มเ่ ป็ นอันตราย (สาย
ดินช่วยได)้
• ถา้ มีไฟฟ้ารัว่ ทีเ่ ครื่องใช้ไฟฟ้าโดยไมม่ ีสายดิน ผูใ้ ช้ตอ้ งถูกไฟดูด
กอ่ น เครื่องตัดไฟรัว่ จึงจะทางาน (เหมือนฝากชีวิตไวก้ ับความไว
ของเครื่อง)

59
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
สรุป ประโยชนข์ องเครื่องตัดไฟรัว่

ป้องกันอันตรายจากไฟดูด
• ถา้ ถูกไฟดูดจะตัดวงจรเพื่อลดระยะเวลาทีไ่ ฟรัว่ ไหลผา่ น
รา่ งกายผูส้ ัมผัส
ป้องกันอัคคีภัย
• ช่วยตัดวงจรในกรณีทกี่ ระแสรัว่ มีคา่ ต่า แลว้ อุปกรณ์
ป้องกันกระแสเกินตัดวงจรไมท่ ัน 60
60
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
แผงไฟฟ้าย่อย (Panelboard/Load Center)
แผงไฟฟ้าย่อย หมายถึง แผงไฟฟ้า เดี่ ยวหรื อกลุ่มของแผงไฟฟ้า เดี่ยว ที่
ออกแบบให้ประกอบรวมกันเป็นแผงเดียว ประกอบด้วยบัสบาร์ อุปกรณ์ป้องกันกระแส
เกินอัตโนมัติ เป็นแผงที่ออกแบบให้ติดตั้งไว้ในตู้ หรือกล่องคัตเอาต์ที่ติดตั้งบนผนังซึ่ง
สามารถเข้าถึงได้ทางด้านหน้าเท่านั้น แผงย่อยตาม IEC 60493-3 กาหนดให้มีแรงดัน
เทียบกับดินที่ระบุไม่เกิน 300 V พิกัดกระแสของเครื่องป้องกันกระแสเกินอัตโนมัติของ
วงจรหลักไม่เกิน 250 A และวงจรย่อยไม่เกิน 125 A สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทคือ

61
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
61
ACPE 01242-TH
แผงไฟฟ้าย่อย (Panelboard/Load Center)
1. แบบ Main Lugs
เป็นแผงย่อยที่ภายในเครื่องห่อหุ้ม ไม่มีเครื่องป้องกันกระแสเกินอัตโนมัติของวงจรหลัก โดยมีเฉพาะขั้วต่อ
สายทางด้านเข้า แผงย่อยแบบนี้ต้องติดตั้งเครื่องป้องกันกระแสเกินอัตโนมัติไว้ภายนอกเครื่องห่อหุ้ม
2.แบบ Main Circuit Breaker
เป็นแผงย่อยที่มีเครื่องป้องกันกระแสเกินอัตโนมัติของวงจรหลัก ติดตั้งไว้อยู่ภายในเครื่องห่อหุ้ม
ขนาดมาตรฐาน
จานวนวงจรย่อย 12, 18, 24, 36 และ 42 วงจร
พิกัดกระแสของบัสบาร์ 200 และ 250 A (3 เฟส 4 สาย)
พิกัดกระแสของ Main CB 50 - 250 AT 62
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/
62
ACPE 01242-TH
แผงไฟฟ้าย่อยสาหรับที่อยู่อาศัย (Consumer Unit)

ขนาดมาตรฐาน
จานวนวงจรย่อย 4,6,8,10,12,14,16,18 และ 21 วงจร
พิกัดกระแสของบัสบาร์ 100 A ( 1 เฟส 2 สาย)
พิกัดกระแสของ Main CB 32 - 100 AT
พิกัดกระแสลัดวงจรของ Main CB 10 kA 63
Cr.ภาพจาก Schneider นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
มาตรฐานระดับการป้องกันของสิง่ ห่อหุ้มบริภัณฑ์

64
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
65
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
ระดับการป้องกันของสิ่งห่อหุม้ บริภัณฑ์

Note : 1 J = 10.2 kgf-cm

66
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
In case of only protection of persons is needed, the 2 IP digits are
IP replaced by x. Example: IPxxB.
 Additional letter (optional): protection of persons against
contact with live parts:
 A: protect againts access of the back of the hand
 B: protect against access of fingers Ø 12 mm
 C: protect against access of a tool Ø 2.5 mm
 D: protect against access of a tool Ø 0.1 mm.

67
นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
68
68
Cr.ภาพจาก Internet นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
69
69
Cr.ภาพจาก Internet นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
PC

CC
N - BAR
7
5

หลักดิน
RCBO CB

shunt
2

trip
MAIN CB
3
L
N 6
4 8

G - BAR

70
70
Cr.Graphic by คุณวิเชียร บุษยบัณฑูร นายธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี วฟก.818/ ACPE 01242-TH
End.
ขอขอบคุณขอ้ มูล
ผศ.ชายชาญ โพธิสาร
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
นายวิเชียร บุษยบัณฑูร
ทีป่ รึกษาสมาคมผูต้ รวจสอบและบริหารความปลอดภัยอาคาร
บจ.ชไนเดอร์ อิเล็คทริค
บจ.พาวเวอรเ์ รด
71

You might also like