Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 13

เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 40

บทที่ 3 เกณฑ์การประเมินความแข็งแรงของวัสดุ

Otto Mohr (8th October 1835 – 2nd October 1918)


วิศวกรโยธาชาวเยอรมัน ผูเ้ ชีย่ วชาญทางกลศาสตร์วสั ดุ เป็ นผูค้ น้ พบวิธีการแปลงค่า
ความเค้น ด้วยวิธีทางกราฟฟิ กส์ ที่รจู ้ กั กันในนามของ ‘Mohr’s Circle’ และยังเป็ นผู ้
พัฒนาวิธีการคำนวณอืน่ ๆ ในวิชากลศาสตร์วสั ดุ อีกมากมาย นอกจากนี้ยงั เป็ นผูเ้ สนอ
เกณฑ์ประเมินความเสียหายของวัสดุเปราะอีกด้วย

3.1 จุดครากของวัสดุแบบไอโซทรอปิ ก (Yielding in Isotropic Materials)


โลหะเหนียวจะเริม่ เสียรูปเชิงพลาสติก ภายใต้การรับภาระความเค้นแบบตามแนวแกนเดียว
(Uniaxial Stress) เมือ่ ค่าความเค้นเข้าใกล้ความเค้นทีจ่ ุดคราก (Yielding Stress) ดังเช่น ชิน้
ส่ว นในรูป 3.1 (b) แต่เ มือ่ พิจ ารณาลูก บาศก์ส เ่ี หลีย่ มจัต ุร สั ในรูป 3.1 (a) ซึง่ กำลัง รับ
ความเค้นหลักแบบสามแกน (Principal Triaxial Stress) อยู่ ซึง่ 1 > 2 >3

(b)
(a)

รูปที่ 3.1 แสดงชิน้ ส่วนรับภาระแบบสามแกน (a) และแบบแนวแกนเดียว (b)

คำถามทีเ่ กิดขึน้ ก็คอื ปริมาณของความเค้นหลักจะต้องมีคา่ เท่าไร ? จึงจะทำให้ลกู บาศก์เกิด


ความเค้นจนถึงจุดครากหมดทัง้ ก้อน ด้วยเหตุน้จี งึ ได้มกี ารนำเสนอ เกณฑ์ในการประเมินจุด
ครากของวัสดุ (Yield Criteria) ขึน้ มามากมาย เกณฑ์การประเมินจุดครากในโลหะทีเ่ ป็ นที่
นิยมและได้รบั การยอมรับเป็นอย่างดี จะแสดงในตาราง 3.1 โดยค่าวิกฤตในเกณฑ์การประเมิน
ต่างๆ จะสอดคล้องกับปริมาณความเค้นที่ทำให้วสั ดุถงึ จุดครากในการรับแรงดึงตามแนวแกน
ตามรูปที่ 3.1 (b) โดยในทีน่ ้ีจะกำหนดให้คา่ ความเค้นทีจ่ ุดคราก ในการรับภาระแบบตามแนว
แกนเดียว แทนด้วยตัวอักษร ‘Y’

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 41

Criteria Equations
1. Maximum Principal Stress 1 = Y, 3 = -Y
2. Maximum Principal Strain 1- (23) = Y, 3- (12) = -Y
3. Total Strain Energy  12   22   32   2  1 2   2 3  1 3   Y 2
4. Maximum Shear Stress 1- 3 = Y
5. Shear Strain Energy  1   2     2   3    1   3   Y 2
2 2 2

ตารางที่ 3.1 แสดงเกณฑ์การประเมิ นจุดครากสำหรับโลหะ

3.2 เกณฑ์การประเมิ นจุดครากโดยค่าความเค้นเฉื อนสูงสุด


ทฤษฏีน้จี ะมีสมมติฐานว่า วัสดุจะเริม่ เกิดการคราก เมือ่ ความเค้นเฉือนมีค่าเข้าใกล้ค่าวิกฤต
ถ้ากำหนดให้คา่ ความเค้นเฉือนสูงสุดในการรับแรงดึงหรือแรงอัดตามแนวแกนที่ทำให้วสั ดุเกิด
การคราก มีคา่ เป็น k เราจะได้ k = Y/2 ซึง่ จะเกิดขึน้ ในระนาบ 45° กับแนวแกนซึง่ เกิด
ความเค้นดึง ดังแสดงในรูป 3.2

(a) (b)

รูปที่ 3.2 แสดงระนาบทีเ่ กิดความเค้นเฉือนสูงสุดของชิน้ ส่วนรับความเค้นดึงตามแนวแกน

ในกรณีเกิดสถานะความเค้นแบบสามแกน (Triaxial stress state) ตามรูป 3.2 (b) ความเค้น


เฉือนสูงสุดก็คอื 13 ซึง่ กระทำในแนวระนาบเอียงเป็ นมุม 45° กับแกน 1 และ 3 โดยขนาด
ของ
13 = (1-2)/2 ถ้าเทียบกับความเค้นเฉือนในการรับแรงดึงตามแนวแกน เราจะได้ 13 = k
ดังนัน้ จาก เกณฑ์การประเมินจุดครากของเทรสก้า (Tresca) จะมีลกั ษณะดังต่อไปนี้

(1-2) = k (3.1)

ในกรณีเป็นระนาบความเค้น เราจะหาค่าความเค้นหลักได้จาก

 x  y     y   4 xy2
2
x
1, 2   (3.2)
2 2
3  0

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 42

ดังนัน้ เมือ่ เราแทนค่าลงในสมการ 3.1 โดยใช้คา่ 1 เนื่องจาก1 เป็ นค่าความเค้นดึงสูงสุด


ส่วนค่า 2 จะเป็นค่าความเค้นอัดสูงสุด เราจะได้
 x2  4 xy2  Y 2 (3.3)

3.3 เกณฑ์การประเมิ นจุดครากโดยค่าพลังงานความเครียดเฉื อนสูงสุด


ทฤษฏีน้จี ะมีสมมติฐานว่า พลังงานความเครียดทัง้ หมด จะมีองค์ประกอบอยูส่ องส่วน
คือ การขยายขนาดหรือการเปลีย่ นแปลงเชิงปริมาตร (dilatation) ซึง่ เป็ นผลมาจากค่าความ
เค้นไฮโดรสแตติกส์ หรือ ค่าความเค้นเฉลีย่ (mean stress) และการบิดเบนขนาด (distortion)
อันเนื่องมาจากความเค้นเฉือน เกณฑ์การประเมินนี้มชี อ่ื เรียกอีกชือ่ หนึ่งว่า เกณฑ์การประเมิน
จุดครากของฟอนมิสเซส (von Mises yield criterion)

3.3.1 พลังงานความเครียดทัง้ หมด


เราทราบว่าความหนาแน่นของพลังงานความเครียดทัง้ หมด จะหาได้จาก

U    ij d  ij     1d 1   2 d  2   3 d  3 
(3.4)
 ij

1
แทนสมการความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด ดังเช่น 1 
E
  1    2   3  
เป็ นต้น ลงไปในสมการ 3.4 แล้วทำการหาปริพนั ธ์ (Integrate) จะได้

U 

  12   22   32     2    
  2 3   1 3  
  E
1 2 (3.5)
 2E 

3.3.1 ความหนาแน่ นพลังงานความเครียดเชิ งปริ มาตร


เราสามารถหา ความหนาแน่นพลังงานความเครียดเชิงปริมาตร (volumetric strain energy
density) ได้จาก

U v    d     m d   m d   m d 

U v 
  m    m   m  (3.6)

เราทราบว่า  = m / 3k ดังนัน้ เราจะได้

 m2 3  1  2   m
2

Uv   (3.7)
2k 2E

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 43

หรือสามารถเขียนได้ใหม่ ดังนี้

 1  2    1   2   3 
2

Uv  (3.8)
6E

เมือ่ นำความหนาแน่นพลังงานความเครียดเชิงปริมาตร, Uv ไปหักออกจากความหนาแน่นของ


พลังงานความเครียดทัง้ หมด, U เราจะได้ความหนาแน่ นพลังงานความเครียดเชิงบิดเบน, Us
(distortion strain energy density) *[Us = U-Uv]

     2       
2
  12   22   32    1  2  1   2   3 
Us    2   2 3   1 3    (3.9)
  
1
 2E   E 6E
 

หรือ

  1      
     
2 2 2
3 3
  1 2 2 1
 
Us    (3.10)
6E
 
 

ในกรณีรบั ภาระแรงดึงตามแนวแกน เราจะได้ 1=Y และ 2=3=0 ดังนัน้ เราจะได้

  1   Y 2 
Us    (3.11)
 3E 

จับสมการ 3.10 เท่ากับ 3.11 จะได้

     
2 2 2
1 2 2 3 1 3  2Y 2 (3.12)

ถ้าหากว่า 3=0 เราจะได้

 12   1 2   22  Y 2 (3.13)

ในกรณีทว่ี สั ดุรบั ความเค้นทัง้ สามแกนตามรูป 3.1 เราจะได้

     
2 2 2
1 2 2  3 1 3 2Y 2
 (3.14)
3 3
3.4 เปรียบเทียบเกณฑ์การประเมิ นจุดครากระหว่างเทรสก้าและฟอนมิ สเซส

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 44

ผลการเปรียบเทียบในรูปที่ 3.3 ได้มาจากชิน้ ส่วนทดสอบทีเ่ ป็ นท่อผนังบางรับความดันภายใน


และแรงในแนวแกน เพือ่ ทำให้เกิดสถานะของความเค้นหลักสองแกน (principal biaxial stress
้ ส่วนทดสอบทำมาจากโลหะชนิดต่างๆ ดังแสดงในตาราง 3.2
state) ชิน

รูปที่ 3.3 เปรียบเทียบผลการทดลองโดยเกณฑ์การประเมินจุดครากของ Tresca และ von Mises

ตารางที่ 3.2 แสดงรายละเอียดของวัสดุที่ใช้ในการทดลอง

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 45

จากรูปจะเห็นว่าเกณฑ์การประเมินของฟอนมิสเซส จะให้ผลทีแ่ ม่นยำกว่าเกณฑ์ของเทรสก้า


ทำให้สามารถสรุปผลได้ว่า เกณฑ์การประเมินจุดครากของฟอนมิสเซส สามารถนำไปใช้กบั วัสดุ
เหนียวแบบโพลีคริสตัลไลน์ (ductile polycrystalline materials) ได้เป็ นอย่างดี แต่อย่างไรก็ดี
จะเห็นได้วา่ จุดทุกจุดทีไ่ ด้จากผลการทดลอง จะอยูน่ อกเส้นกรอบหกเหลีย่ มของเทรสก้า แสดง
ว่าถ้าเราใช้เกณฑ์การประเมินของเทรสก้า ในการออกแบบชิน้ ส่วนก็ยงั คงปลอดภัย และในการ
คำนวณด้วยเกณฑ์การประเมินของเทรสก้า จะใช้เวลาในการคำนวณสัน้ กว่าเกณฑ์การประเมิน
ของฟอนมิสเซส

3.5 เกณฑ์การประเมิ นการแตกหักของวัสดุเปราะ


โดยทัวไปวั
่ สดุเปราะ (brittle materials) จะเสียหายทีค่ า่ ความเค้นเหนือระดับช่วงอีลาสติกไป
เพียงเล็กน้อยกล่าวคือ วัสดุเปราะจะมีชว่ งความเป็ นพลาสติกทีส่ นั ้ มากๆ ดังนัน้ เราจึงสามารถใช้
คำว่า ‘แตกหัก (fracture)’ แทนคำว่า ‘ครากตัว (yield)’ ได้ในการอธิบายความแข็งแรงของ
วัสดุประเภทนี้
3.5.1 ทฤษฎีความเค้นแกนหลัก (Major principal stress theory, MPS)
แรงคิน (Rankine) ได้พจิ ารณาความเสียหาย (failure) ในวัสดุเปราะ โดยดูจากค่าความแข็ง
แรงในการรับความเค้นดึง, t และความเค้นอัด, c ทีแ่ ตกต่างกัน ดังแสดงในรูปที่ 3.4

รูปที่ 3.4 แสดงเกณฑ์การประเมินการแตกหักตามทฤษฎีต่างๆ

3.5.2 ทฤษฎีความเสียดทานภายใน (Internal Friction Theory)

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 46

เกณฑ์การประเมินการแตกหักของวัสดุเปราะอีกเกณฑ์หนึ่ง นำเสนอโดยก็คอื ทฤษฎีความเสียด


ทานภายในของคูลอมบ์-มอห์ (Coulomb-Mohr Internal Friction Theory) ซึง่ เป็ นการผสม
ผสาน ระหว่างทฤษฎีความเค้นแกนหลัก , MPS และทฤษฎีความเค้นเฉือนสูงสุด ลักษณะของ
เกณฑ์การประเมินนี้จะแสดงในรูปที่ 3.5

รูปที่ 3.5 แสดงเกณฑ์การประเมินการแตกหักตามทฤษฎีความเสียดทานภายในของคูลอมบ์-


มอห์
จากรูปจะเห็นว่าความแตกต่างระหว่างค่าความแข็งแรงสูงสุดในการรับแรงดึงและแรงอัดจะ
แสดงด้ว ยจุด A และ C บนวงกลมซึง่ สัม ผัส กับ แกนความเค้น เฉือ น,  ความเสีย หาย
เนื่องจากสถานะของความเค้นสองแกน จะเกิดขึน้ ทีจ่ ุดบนเส้นสัมผัสทีเ่ ชือ่ มระหว่างวงกลมของ
แผนภูมวิ งกลมมอห์ทงั ้ สอง ทีแ่ สดงสถานะของความเค้นดึงและความเค้นอัด เส้นสัมผัสนี้คอื
เส้นแสดงขอบเขตความเสียหาย (failure envelope) นันเอง ่ ดังเช่น ความแข็งแรงของวัสดุภาย
ใต้ภาระแบบแรงเฉือนอย่างเดียว (pure shear) ก็คอื จุด B ในรูป ซึง่ มีคา่ 1= สำหรับใน
กรณีทวไป
ั ่ เช่น มีแรงดึง ผสมกับแรงเฉือ น ทำให้วงกลมของมอห์ส มั ผัส กับเส้นทีจ่ ุด D ค่า
ความเค้นหลักวิกฤต ก็คอื พิกดั ของจุด D นันเอง
่ ซึง่ สมการทีใ่ ช้หาจุดสัมผัสนี้จะหาได้จาก

   
 2   c   1    c (3.15)
  t  

สำหรับในควอแดรนต์ทส่ี ่ี 1 จะมีคา่ บวก 2 และ c จะมีคา่ เป็ นลบทัง้ คู่ ดังนัน้ เราจะได้

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 47

1  2
 1 (3.16)
t c

3.5.3 ทฤษฎีที่ดดั แปลงจากทฤษฎีของมอห์ (Modified Mohr Theory)


มอห์ได้ทำการดัดแปลงเพิม่ เติม แนวเส้นกรอบแสดงความเสียหายในควอแดรนต์ทส่ี องและสาม
ในรูปที่ 3.4 ทำให้ได้คำตอบใกล้เคียงกับผลการทดลองเพิม่ ขึน้ โดยสมการทีใ่ ช้หาเส้นทีเ่ ชือ่ ม
จุด F และ c ในรูปที่ 3.4 จะมีดงั นี้

    t  
 2   c   c 1  (3.17)
  t  

และเช่นเดียวกัน สำหรับในควอแดรนต์ทส่ี ่ี 1 จะมีคา่ บวก 2 และ c จะมีคา่ เป็ นลบทัง้ คู่ จะ


ได้

1  1   2 
 1 (3.18)
t c

รูปที่ 3.6 จะเปรียบเทียบผลการทดลองความแข็งแรงของเหล็กหล่อสีเทาด้วยเกณฑ์การ


ประเมินต่างๆ

รูปที่ 3.6 เปรียบเทียบผลการทดลองความแข็งแรงของเหล็กหล่อสีเทาด้วยเกณฑ์การประเมิน


ต่างๆ
3.5.4 การล้าตัวในวัสดุ

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 48

ภาระแบบวงรอบ (Cyclic loading) ทีเ่ กิดขึน้ ในชิน้ ส่วนเครือ่ งจักร อาจจะทำให้เกิดความเสีย


หายเนื่องจากการล้าตัวของวัสดุกไ็ ด้ ในการออกแบบเชิงสถิต (static design) แฟกเตอร์ทใ่ี ช้ใน
การออกแบบก็คอื ค่าความเค้นทีจ่ ุดครากหรือค่าความเค้นประลัยในการรับภาระแรงดึงหรือแรง
อัดเท่านัน้ แต่สำหรับชิน้ ส่วนทีร่ บั ภาระแบบวงรอบ เราจะใช้ชน้ิ ส่วนทดสอบลักษณะต่างๆ มา
สร้างเป็ นแฟกเตอร์ในการออกแบบชิน้ ส่วน ดังเช่น เครือ่ งทดสอบการล้าตัวของวัสดุแบบหมุน
รอบ ในรูปที่ 3.7

รูปที่ 3.7 เครือ่ งทดสอบการล้าตัวของวัสดุแบบหมุนรอบ

ในการเตรียมชิน้ ส่วนทดสอบจะต้องทำการขัดผิวให้เรียบ เพือ่ หลีกเลีย่ งผลกระทบความเสียหาย


ทีเ่ กิดขึน้ เนื่องจากแฟกเตอร์ความเรียบผิว (Surface factor) ในการทดสอบจะแขวนน้ำหนักไว้
ตรงกลางของชิน้ ส่วนทดสอบ เพือ่ ให้ชน้ิ ส่วนรับโมเมนต์ดดั สลับไปมา ในขณะทีช่ น้ิ ส่วนทดสอบ
กำลัง หมุน อยู่ โดยค่า โมเมนต์ด ดั , M จะมีค า่ คงทีต่ ามปริม าณน้ำหนัก ถ่ว งทีใ่ ช้ ขนาดของ
โมเมนต์ดดั จะหาได้จาก

WL1
M  (3.19)
2

ส่วนความเค้นตัง้ ฉากสูงสุดทีเ่ กิดขึน้ กับชิน้ ส่วนทดสอบจะคำนวณจาก

32M 16WL1
 max   (3.20)
d 3 d 3

แต่เนื่องจากน้ำหนักถ่วงนัน้ จะแขวนอยูก่ บั ที่ แต่เพลานัน้ จะหมุนอยู่ จึงทำให้คา่ ความเค้นสูงสุด


ทีเ่ กิด ขึน้ กับ จุด ใดๆ ในชิน้ ส่ว นทดสอบมีค า่ เปลีย่ นแปลงไปมาเป็ น วงรอบของความเค้น
   max ตามรูปที่ 3.8

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 49

รูปที่ 3.8 ลักษณะของความเค้นทีเ่ กิดขึน้ ในชิน้ ส่วน ในแต่ละวงรอบ

ในการทดสอบจะนับจำนวนวงรอบจนกระทังชิ ่ น้ ส่วนทดสอบแตกหัก ซึง่ เราจะเรียกค่าความเค้น


ทีทำ
่ ให้ชน้ิ ส่วนแตกหักนี้วา่ ค่าความเค้นล้าตัว (fatigue stress), Sf แต่ถา้ หากว่าทำการทดสอบ
ไปจนจำนวนวงรอบมากกว่า 106 – 107 แล้วชิน้ ส่วนทดสอบยังไม่แตกหัก ก็จะยุตกิ ารทดสอบ
แล้วเพิม่ น้ำหนักแขวนใหม่ แล้วทำการทดสอบเช่นนี้ต่อไป โดยเพิม่ น้ำหนักขึน้ เรื่อยๆ กราฟที่
พล็อตระหว่าง ค่าความเค้นล้าตัว กับ จำนวนวงรอบ จะใช้สเกลแบบ log-log ดังเช่นกราฟใน
รูปที่ 3.9 ซึง่ ได้จากการทดสอบเหล็กเหนียวทัวไป่ เราจะเรียกกราฟนี้วา่ แผนภูม ิ S-N

รูปที่ 3.10 แผนภูมิ S-N ทีไ่ ด้จากการทดสอบเหล็กเหนียว

จะเห็นว่ามีการหักมุมของกราฟ ทีตำ
่ แหน่งประมาณ N = 106 รอบ เราจะเรียกค่าทีจ่ ุดนี้วา่
ขีดจำกัดความทานทนสูงสุด (endurance limit), Se ความสัมพันธ์ระหว่าง Sf และ N ใน
ระหว่างวงรอบ 103 –106 จะหาได้จาก

 0.9S u  2
1  0.9 S u 
 log  
3  Se 
Sf  N (3.21)
Se

หรือในทางกลับกันเราสามารถหาจำนวนวงรอบได้จาก

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 50

3

 S f Se   0.9 S u 
log  
N  2  Se  (3.22)
  0.9 S u  

โดยที่ Su คือค่าความเค้นประลัยของวัสดุ (ultimate strength) ในบางครัง้ ความเค้นทีเ่ กิดขึน้ กับ


ชิน้ ส่วนเครือ่ งกลอาจจะกระเพือ่ มไปมาทีค่ า่ ไม่แน่นอน ไม่ได้สลับไปมาทีค่ า่ คงที่ max เหมือน
กับในการทดสอบการล้าตัว แต่อาจจะมีลกั ษณะตามรูปที่ 3.11

รูปที่ 3.11 ลักษณะของความเค้นทีเ่ กิดขึน้ ในชิน้ ส่วนเครื่องกล


จะเห็นได้วา่ ในกรณีแบบนี้ max ไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบกับค่าความเค้นทีจ่ ุดคราก หรือ
ความเค้น ประลัย ได้ เนื่อ งจากค่า ความเค้น ไม่ไ ด้ส ลับ ไปมาทีค่ า่  max เดิม เสมอไป และ
ค่าmax ก็ไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบกับ ขีดจำกัดความทานทนสูงสุด ได้เช่นกัน ในกรณี
แบบนี้เราต้องใช้ วิธแี บบเชิงประจักษ์ (empirical approach) ในการวิเคราะห์ ในวิธกี ารแบบนี้
เราจะกำหนดค่า ความเค้นเฉลีย่ m ขึน้ มา แทนการกระเพื่อมของความเค้นในชิน้ ส่วนที่ ความ
เค้นแอมปลิจดู a ใดๆ โดยค่าความเค้นดังกล่าวจะหาได้จาก

m 
  max   min 
2
(3.23)
a 
  max   min 
2

ความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ นี้ จะเป็นการผสมกันระหว่างค่าความเค้นเฉลีย่ m และ ความเค้น


แอมปลิจ ดู  a กล่า วคือ เมือ่  a = 0, m จะเท่า กับ ค่า ความเค้น ทีจ่ ุด คราก , Sy หรือ ค่า
ความเค้นประลัยของวัสดุ Su และเมือ่ m = 0, a = Se และเมือ่ ทัง้ a และ m ต่างก็มคี า่ ใดๆ
เราจำเป็ นต้องนำเอาเกณฑ์การประเมินขึน้ มาใช้ในการประเมินอายุชน้ิ ส่วน เกณฑ์การประเมินที่
นิยมก็คอื เกณฑ์การประเมินการแตกหักเนื่องจากการล้าตัวของเกอร์เบอร์ (Gerber criterion)
และเกณฑ์การประเมินการแตกหักและจุดครากดัดแปลงจากเกณฑ์ของกูด้ แมน (modified
Goodman criterion) และเกณฑ์การประเมินจุดครากของโซเดอร์เบิรก ์ (Soderberg criterion)
ซึง่ แสดงในรูปที่ 3.12 และ 3.13

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 51

รูปที่ 3.12 แสดงเกณฑ์การประเมินการแตกหักของเกอร์เบอร์และแบบดัดแปลงของกูด้ แมน

รูปที่ 3.13 แสดงเกณฑ์การประเมินจุดครากแบบดัดแปลงของกูด้ แมนและโซเดอร์เบิรก์


เกณฑ์การประเมินการแตกหักเนื่องจากการล้าตัวของเกอร์เบอร์ จะเป็ นดังนี้
2
 m  a
   1 (3.24)
 Su  Se

เกณฑ์การประเมินการแตกหักเนื่องจากการล้าตัวแบบดัดแปลงของกูด้ แมน จะเป็ นดังนี้


m a
 1 (3.25)
Su S e

เกณฑ์การประเมินจุดครากของโซเดอร์เบิรก์ จะเป็ นดังนี้


m a
 1 (3.26)
S y Se
เกณฑ์การประเมินจุดครากแบบดัดแปลงของกูด้ แมน จะเป็ นดังนี้

m a  a S e  Su  S y 
 1  (3.27)
Su S e  m Su  S y  S e 

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 52

 a S e  Su  S y 
a  m  Sy 
 m Su  S y  S e 

ในกรณีทค่ี า่ ความเค้นในชิน้ ส่วนเครื่องกลกระเพือ่ มไปมา มีคา่ เปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลาใน


แต่ละวงรอบ ดังเช่นในรูปที่ 3.13 ในกรณีแบบนี้ ผลกระทบเนื่องจากการสะสมความเค้น เรา
สามารถนำวิธขี องไมเนอร์ (Miner’s method) มาใช้ในการประเมินอายุชน้ิ ส่วนได้ ซึง่ สมการ
ของไมเนอร์ จะมีรปู แบบดังต่อไปนี้

n1 n2 n3 n
   .......  i  1
N1 N 2 N 3 Ni
(3.28)

โดยที่ ni คือจำนวนวงรอบของความเค้นแอมปลิจดู a ทีค่ า่ i ใดๆ ส่วน Ni คือจำนวนวงรอบที่


ชิน้ ส่วนมีอายุการใช้งานทีค่ า่ อนันต์ (infinite life) ความเค้นแอมปลิจดู a ทีค่ า่ i ใดๆ เช่น
กัน ซึง่ Ni สามารถหาได้จากสมการ 3.22

รูปที่ 3.14 แสดงลักษณะความเสียหายเนื่องจากการล้าตัวของเพลาส่งกำลัง

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548

You might also like