Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 15

เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 26

บทที่ 2 ค่าคงที่ทางอีลาสติก (Elastic Constants)

Robert Hooke (18th July 1638 - 3rd March 1703)


นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ผูม้ ีความรูค้ วามเชีย่ วชาญทางวิทยาศาสตร์ในหลายๆ ด้าน
เป็ นผูค้ น้ พบความส มั พ นั ธ์ร ะหว่า ง ความเค น้ และความเครีย ด (Stress-strain
relationship) หรือที่เรียกกันว่า ‘กฎของฮุค’ (Hooke’s law) นัน่ เอง

2.1กฎของฮุค (Hooke’s law)


ในบทก่อนหน้านี้ เราจะพิจารณาความเค้นและความเครียดแยกจากกัน แต่แท้จริงแล้ว
ความเค้นและความเครียดนัน้ จะมีความสัมพันธ์กนั โดยตรง โดยผูค้ น้ พบความสัมพันธ์น้กี ค็ อื นัก
ปราชญ์ชาวอังกฤษชือ่ โรเบิรต์ ฮุค (Robert Hooke) ดังเช่น เราเมือ่ พิจารณาความเค้นและ
ความเครียดของแท่งทรงกระบอกขณะรับแรงดึง P ตามแนวแกน ดังแสดงในรูปที่ 2.1 ตามกฎ
ของฮุค เราพบว่าความเครียดจะหาได้จากการนำเอาค่าความเค้นมาหารด้วยค่าโมดูลสั ยืดหยุ่น
(Modulus of elasticity), E


P L

r รูปทรงดัง้ เดิม
P
รูปทรงหลังรับภาระแรงดึง 
(ตามแนวเส้นประ)
รูปที่ 2.1 แสดงแท่งทรงกระบอกขณะรับแรงดึงภายนอก

 หรือ  = E. (2.1)
E

จะเห็นว่าปญั หาในรูปเป็นกรณีแท่งทรงกระบอกรับภาระตามแนวแกนเท่านัน้ แต่เราทราบว่า


เนื่องจากอัตราส่วนของปวั ซอง (Poisson’s ratio) จึงทำให้ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของแท่ง
ทรงกระบอกเล็กลง โดยค่าอัตราส่วนของปวั ซองสามารถหาได้จาก ค่าสัมบูรณ์ของอัตราส่วน
ระหว่างความเครียดตามขวาง (lateral strain) ต่อความเครียดตามแนวยาว (longitudinal

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 27

strain) ถ้าเรานำอัตราส่วนของปวั ซองมาพิจารณาสถานะของความเค้นแบบสามมิต ิ เราจะได้


สมการความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดดังนี้

xx = a11.xx + a12.yy + a13.zz + a14.xy + a15. yz + a16.zx


yy = a21.xx + a22.yy + a23.zz + a24.xy + a25. yz + a26.zx
zz = a31.xx + a32.yy + a33.zz + a34.xy + a35. yz + a36.zx
(2.2)
xy = a41.xx + a42.yy + a43.zz + a44.xy + a45. yz + a46.zx
yz = a51.xx + a52.yy + a53.zz + a54.xy + a55. yz + a56.zx
zx = a61.xx + a62.yy + a63.zz + a64.xy + a65. yz + a66.zx

เราจะได้คา่ คงที่ aij 36 ค่า และในทางกลับกัน เมือ่ พิจารณาความเครียด เราจะได้


xx = b11.xx + b12.yy + b13.zz + b14.xy + b15. yz + b16.zx
yy = b21.xx + b22.yy + ………………………………………
(2.3)
....
ซึง่ เราจะได้คา่ คงที่ bij อีก 36 ค่าเช่นกัน สำหรับวัสดุแบบไอโซทรอปิ ค (Isotropic Materials)
จะมีความเค้นหลักอยูส่ ามค่าคือ 1, 2, 3 และมีความเครียดหลักอีกสามค่าคือ 1, 2, 3 ใน
กรณีทเ่ี ราพิจารณาความเค้นหลัก1 จะได้

1 = a 1 + b 2 + c 3 (2.4)
โดยที่ a, b, c เป็นค่าคงที่ จากการพิจารณาพบว่า b กับ c ควรมีคา่ เท่ากัน เนื่องจากผลกระทบ
ของ 1 ต่อ 2 และ 3 ควรจะเกิดผลเช่นเดียวกัน สำหรับวัสดุแบบไอโซทรอปิ ค เนื่องจาก
ทิศทางของ 2 และ 3 ต่างก็ตงั ้ ฉากกับ 1 ดังนัน้

1 = a 1 + b 2 + 3) = (a-b) 1 + b 1 2 + 3)


(2.5)

โดยจะเห็นว่า 1 2 + 3) ในสมการข้างต้น ก็คอื ความเครียดยืนยงอันดับทีห่ นึ่ง (1st


Strain Invariant),  นันเอง
่ ถ้าเราให้ b เป็ น  และ (a-b) เป็ น  เราจะได้

1 =   + 1
(2.6)

ทำนองเดียวกันกับความเค้นหลักทีเ่ หลืออยู่ เราจะได้

2 =   + 2
3=   + 3
(2.7)

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 28

โดยที่  และ  จะเรียกว่า ค่าสัมประสิทธิข์ องลาเม่ (Lamè’s coefficients)

2.2 โมดูลสั ความแกร่งหรือโมดูลสั เฉื อน (Modulus of rigidity)


ในการแปลงความเค้นจากระบบพิกดั ดัง้ เดิม x, y, z มาเป็ นระบบพิกดั ใหม่ x’, y’, z’ เรา
สามารถหาค่าความเค้นในระบบพิกดั ใหม่ ได้จากการนำทิศทางโคไซน์มาคูณกับความเค้นหลัก
ได้ดงั ต่อไปนี้
 'x   1l12   2 m12   3 n12

 x ' y '   1l1l2   2 m1m2   3 n1n2


(2.8)

ทำเช่นเดียวกันกับความเครียดหลัก จะได้

 xx'  1l12   2 m12   3 n12

 x ' y '  2  1l1l2   2 m1m2   3 n1n2 


(2.9)

เมือ่ แทนค่า 1, 2, 3 ในรูปของค่าสัมประสิทธิ ์ของลาเม่ ลงไปจะได้

 x ' y '    l1m1  l2 m2  l3 m3   2  1l1m1   2l2 m2   3l3 m3 


(2.10)

แต่เนื่องจาก l1l2+m1m2+n1n2 = 0 ดังนัน้

 x ' y '  2   1l1m1   2l2 m2   3l3m3    x ' y '


(2.11)

จะเห็นได้วา่ แท้จริงแล้ว  ก็คอื ค่าโมดูลสั ความแกร่งหรือโมดูลสั เฉือน (Modulus of rigidity)


นันเอง
่ ซึง่ ตัวย่อในวิชากลศาสตร์วสั ดุ เราจะแทนด้วยตัว G

2.3โมดูลสั เชิ งปริ มาตร (Bulk Modulus)


จากสมการ 2.8 เมือ่ เราแทน ค่าสัมประสิทธิ ์ของลาเม่ ลงไป เราจะได้

 x '    l12  m12  n12   2  1l12   2 m12   3n12     2 x ' x '
(2.12)

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 29

และทำเช่นเดียวกันกับความเค้นอื่นๆ เราจะได้

 y '    2 y ' y '


 z '    2  z ' z '
(2.13)

เมือ่ นำเอาความเค้นทัง้ สามมาบวกรวมกัน จะได้


 x '   y '   z '   3  2     1   2   3
(2.14)
เราทราบว่า  คือ ความเครียดยืนยงอันดับทีห่ นึ่ง และจากสมการ 2.14 จะเห็นได้วา่ ค่า
 x '   y '   z ' ก็คอื ความเค้นยืนยงอันดับทีห
่ นึ่งเช่นเดียวกัน และจากพืน้ ฐานวิชากลศาสตร์
วัสดุ เราทราบว่า เมือ่  P ดังนัน้ เราจะได้
P
K

(2.15)
โดยที่ K คือค่าโมดูลสั เชิงปริมาตร นันเอง
่ ซึง่ ก็คอื อัตราส่วนของความดันต่อปริมาตร
ความเครียด ดังนัน้ จากสมการ 2.14 เราจะได้
3P
 3  2    3K

(2.16)
ดังนัน้ ถ้าย้ายข้างสมการ 2.16 เราจะหาค่า  ได้ดงั ต่อไปนี้
1   2   3

 3  2 
(2.17)
และเมือ่ แทนค่า  จากสมการ 2.17 ลงไปในสมการ 2.6 เราจะได้

1          21
 3  2  1 2 3
(2.18)
และเช่นเดียวกันกับความเครียดหลัก

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 30

   
1   1   2 3  
  3  2    2     
(2.19)
และจากพืน้ ฐานวิชากลศาสตร์วสั ดุ เราทราบว่า
1
1   1    2   3  
E
(2.20)
จากความเหมือนของสมการ 2.19 และ 2.20 เราจะได้
  3  2 
E



2    
(2.21)

2.4 ความสัมพันธ์ของค่าคงที่อีลาสติ ก
จากพืน้ ฐานวิชากลศาสตร์วสั ดุ เราทราบว่าค่าโมดูลสั เฉือนและโมดูลสั เชิงปริมาตรจะสัมพันธ์กบั
ค่าโมดูลสั ยืดหยุน่ ตามสมการต่อไปนี้

E
G
2  1  
E
K
3  1  2 
(2.22)
ถ้าเขียนให้อยูใ่ นรูปของค่าสัมประสิทธิ ์ของลาเม่ จะได้

  3  2 
E



2    
3  2 
K
3
G
(2.23)

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 31

สมการข้างต้นจะเป็นจริงได้ตราบเท่าทีค่ า่ โมดูลสั เชิงปริมาตร , K มีคา่ เป็ นบวกเสมอ และค่า


อัตราส่วนของป วั ซอง , ต้องมีคา่ น้อยกว่า ½ ซึง่ จะเห็นว่าขีด จำกัดที่ = ½ จะทำให้
3G=E และ K =  ซึง่ วัส ดุใ ดทีม ่ คี า่ = ½ เราจะเรีย กว่า เป็ น วัส ดุแ บบอัด ตัว ไม่ไ ด้
(Incompressible Material) เนื่องจากค่าปริมาตรความเครียดของวัสดุประเภทนี้มค ี า่ เป็ นศูนย์

2.4 สมการสภาวะสมดุลของระยะขจัด
เราทราบจากบทแรกว่าองค์ประกอบของความเค้นทัง้ หกองค์ประกอบจะสอดคล้องกับ
เงือ่ นไขสภาวะสมดุลทัง้ สามสมการ แต่เนื่องจากความเครียดจะเกีย่ วพันโดยตรงกับระยะขจัด
ดังนัน้ สภาวะสมดุลของความเครียด สามารถแปลงให้อยูใ่ นรูปของสภาวะสมดุลของระยะขจัดได้
 x  xy  xz
  0
x y z
(2.24)
สำหรับในกรณีวสั ดุแบบไอโซทรอปิก เราจะได้
 x    2  xx ; xy   xy ; xz   xz
(2.25)

แทนค่าความเค้นจากสมการ 2.25 ลงในสมการ 2.24 จะได้


     
    2 xx  xy  xz   0
x  x y z 
(2.26)
สมการความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดและระยะขจัดของคอชชี่ (Cauchy) ดังต่อไปนี้

u x u u u u
 xx  ;  xy  x  y ;  xz  x  z
x y x z x
(2.27)

แทนลงในสมการสภาวะสมดุลจะได้

   2 u x  2u x  2 u y  2u x  2 u z 
  2 2  2    0
x  x y xy z 2 xz 

(2.28)

หรือ

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 32

   2 u  2u  2 u    u x u y u z 
    2x  2x  2x     0
x  x y z  x  x y z 
(2.29)

ถ้าสังเกตดูจะเห็นว่า

u x u y u z
   xx   yy   zz   
x y z
(2.30)

นำสมการ 2.30 มาจัดรูปสมการ 2.29 ใหม่จะได้

  u x u x ux    2u x  2 u y  2 u z 
            2  2  2   0
x  x y z   x y z 
(2.31)

2 2 2
จาก 2    ดังนัน้ สมการสภาวะสมดุลของระยะขจัด สามารถจัดรูปได้ดงั นี้
x 2 y 2 z 2


      2u x  0
x

       2u y  0 (2.32)
y

       2u z  0
z

สมการสภาวะสมดุล ของระยะขจัด ตามสมการ 2.32 นี้ จะเรีย กกัน ว่า สมการของลาเม่


(Lamè’s equations)

2.5 สภาพเข้ากันได้ (Compatibility)


เราทราบว่าระยะเคลื่อน ณ จุดใดๆ ในวัตถุตนั สามารถเขียนให้อยูใ่ นรูปของ เวกเตอร์ระยะขจัด
ได้ดงั นี้

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 33

 u  u x   u1 
     
ui   v   u y   u2 
 w   u  u 
   z   3
(2.33)

ซึง่ ระยะขจัดนี้ ทำให้เกิดความเครียดขึน้ มา หกองค์ประกอบ ดังต่อไปนี้

 xx  xy  zx 
 
 ij   xy  yy  yz 
 zx  yz  zz 

(2.34)

ถ้าเราแบ่งองค์ประกอบของความเครียดออกเป็ นสองกลุ่ม โดยกลุ่มแรก ก็คอื

u x u u u
 xx  ,  yy  y ,  xy  x  y
x y y x
(2.35)

ถ้าเราทำการหาอนุพนั ธ์ (Differentiate) สมการข้างต้นจะได้

 2 xx  3u x  2  u x 
   
y 2 xy 2 xy  y 
 2 yy  3u y  2  u y 
   
x 2 yx 2 xy  x 
(2.36)

จับสองสมการข้างต้น มารวมกันจะได้

 2  u x u y    xy  2 xx   yy
2 2

    
xy  y x  xy y 2 x 2
(2.37)

ทำแบบเดียวกันกับ yy, zz,yz และ zz, xx,zx จะได้

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 34

 2 yz  2 yy  2 zz
 
yz z 2 y 2
 2 zx  2 zz  2 xx
 
xz x 2 z 2
(2.38)

ความเครียดอีกกลุ่ม ก็คอื
u x u y
 xy  
y x
u u
 yz  y  z
z y
u u
 xz  z  x
x z
(2.39)

เมือ่ ทำการหาอนุพนั ธ์ จะได้

 xy  2u x  u y
2

 
z zy zx
 yz  2u y
 2u z
 
x xz xy
 zx  2u z  2u x
 
y xy yz
(2.40)

เมือ่ นำเอาสองสมการท้ายมาหักออกจากสมการแรกจะได้

 yz  zx  xy  2u z
  2
x y z xy
(2.41)

และถ้าทำการหาอนุพนั ธ์เทียบกับ z อีกหนึ่งครัง้ จะได้

 3u z  2 zz
2 2
xyz xy
(2.42)

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 35

จากสมการ 2.41 และ 2.42 เราจะได้

   yz  zx  xy   2 zz
   2
z  x y z  xy
(2.43)

ทำแบบเดียวกันกับความเครียดเฉือนค่าอื่นๆ จะได้

   zx  xy  yz   2 xx
   2
x  y z x  yz
   xy  yz  zx   2 yy
   2
y  z x y  zx
(2.44)
จากสมการต่างๆ ข้างต้น เราสามารถสรุปได้เงือ่ นไขความสัมพันธ์สภาพความเข้ากันได้ขององค์
ประกอบความเครียดทัง้ หกค่า ได้ดงั ต่อไปนี้

 2 xx   yy   xy
2 2

 
y 2 x 2 xy
 2 yy  2 zz   yz
2

 
z 2 y 2 yz
 2 zz  2 xx  2 zx
 
x 2 z 2 zx

 2 xx 1   2 zx   xy   yz 
2 2

    
yz 2  xy xz x 2 
 2 yy 1   2 xy  2 yz  2 zx 
    
zx 2  yz yx y 2 

 2 zz 1    yz  2 zx   xy 
2 2

    
xy 2  zx zy z 2 

2.6 ปัญหาในระนาบความเค้น (Plane Stress Problems)

z
z
x
y y

Uniform load along thickness


 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548
x y

รูปที่ 2.2 แสดงลักษณะของปญั หาแบบระนาบความเค้น


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 36

ภาระในปญั หาแบบ ระนาบความเค้น โดยภาระทีก่ ระทำจะอยูใ่ นระนาบ x,y และเป็ น f(x,y)

Fx = Fx(x,y)
Fy= Fy(x,y)

(2.45)
Fz = 0

เนื่องจากทีผ่ วิ หน้าทัง้ สองของแผ่นเพลทไม่มภี าระมากระทำ และมีความบางมาก


ความเค้นในปญั หาแบบระนาบความเค้น จะมีลกั ษณะดังนี้

zz = 0
xz = 0 (2.46
yz = 0
)
ดังนัน้ ความเค้นในปญั หาแบบระนาบความเค้น จะมีอยูท่ งั ้ หมด 3 ชนิดดังนี้

 xx  xy 0
 
 ij   xy  yy 0 (2.47
 0 0 0 
)
จะเห็นได้วา่ ความเค้นทีเ่ กิดขึน้ จะเป็น f(x,y)

2.6.1 สมการสภาวะสมดุลในปัญหาแบบระนาบความเค้ น

0
 xx  xy  xz
   Bx  0
x y z
0 (2.48
 xy  yy  yz
   By  0
x y
0
z
0
)
 xz  yz  zz
   Bz  0
x y z

2.6.2 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความเครี ยด-ความเค้ นในปัญหาระนาบความเค้ น

 xx 
1
E

 xx   yy 

 yy 
1
E

 yy   xx 
 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548

 zz    xx   yy 
E
 xy
 xy 
2G
(2.49
เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 37

xz = yz = 0

2.6.2 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความเครี ยด-ระยะขจัด


เนื่องจาก zz  0 แต่เราสามารถเขียน ในเทอมของ xx, yy หรื อเทอมของ xx, yy ได้ ดัง
นั้นจึงตัดสมการ zz=uzz ออกไป

2.6.3สภาพเข้ากันได้ในปัญหาแบบระนาบความเค้ น (Compatibility)
ในปญั หาแบบระนาบความเค้น จะเหลือเพียง 4 สมการดังนี้

 2  xx  2  yy 2  2  xy
 
y 2
x 2 x y
(2.50
 2  zz  2  zz  2  zz
0 0 0 )
2 y 2 x y
x

2.7 ปัญหาในระนาบความเครียด (Plane Strain)


ปญั หาทีเ่ ป็นแบบระนาบความเครียดจะมีลกั ษณะดังต่อไปนี้
1) แรงในแนวแกน z จะมีคา่ เป็ นศูนย์ (ดูรป ู ที่ 2.3 ประกอบ)
2) มีแรงในทิศทางแกน x และ y ตัวอย่างเช่น ความดันทีเ่ กิดขึน ้ ในท่อ (ดูรปู ที่ 2.3
ประกอบ)
โดยทีแ่ รงในแนวแกน x , Fx = Fx(x,y) (จะไม่เป็ นฟงั ก์ชนของ ั่ z)
เช่นเดียวกับแรงในแนวแกน y , Fy = Fy(x,y) ด้วยเหตุเมือ่ เราพิจารณาทีห่ น้าตัดใดๆ
ของชิน้ ส่วน ภาระจะเหมือนกันกับหน้าตัดอื่นๆ
3) จะไม่มภ ี าระมากระทำทีป่ ลายของชิน้ ส่วน (ดูรปู ที่ 2.1 ประกอบ)

z
y y

x
z x

¦ ¼žšȨ́2.1 ­ —Š
˜ª́ ° ¥nµŠ{ ®µÄœœ
ž ¦ ³ µ‡
ª µ¤ Á¦
‡— ¥̧ (Plane Strain)
Problems)

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 38

ในปญั หาแบบระนาบความเครียด เราจะได้ displacement field ดังต่อไปนี้

uz = 0
ux = ux (x,y) (2.51
uy = uy (x,y)
)
ด้วยเหตุน้จี งึ ทำให้องค์ประกอบของความเครียด เหล่านี้มคี า่ เป็ นศูนย์

u z
 zz  0
z
u u
 xx 
u x
 1
  uy y u z  1  u x  y  (2.52
x  yz yy y  xy 0 2  y x  (2.53
2  z y 
1  u u  ))
 xz   x  z   0
2  z x 
ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดและระยะขจัด ทีเ่ หลือจะเป็ นไปตามสมการต่อไปนี้

ความสัมพันธ์ระหว่าง stress-strain ตามสมการต่อไปนี้

 E  E
 ij    ij 
1   
 e
1   1  2  ij kk (2.54
)
จะให้คา่ ความเค้นในปญั หาแบบระนาบความเครียด เป็ นดังนี้

 E  E
 xx   xx  x , y     xx       
1    1   1  2  xx yy zz
0
  xx 
E

1    xx    yy   zz  (2.55
1   1  2 
)
เช่นเดียวกันเมือ่ พิจารณาความเค้นตัง้ ฉากในทิศทางแกน y
0

 yy   yy  x , y  
E
1   1  2 

1    yy     xx   zz  (2.56
เมือ่ พิจารณาความเค้นตัง้ ฉากในทิศทางแกน z )
0
 E  E
 zz    xz       
1    1   1  2  xx yy zz
(2.57
E
  zz         xx   yy 
1   1    xx yy )

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 39

และเมือ่ พิจารณาความเค้นเฉือนจะได้

E
 xy   xy   xy
2 1   

 E 
 yz   yz    yz  2G yz  0 (2.58
1   

)
 E 
 xz   xz    xz  2G xz  0
1   

ดังนัน้ stress tensor ในปญั หาแบบระนาบความเครียด จะเหลืออยู่ 4 องค์ประกอบ


 xx  xy 0 
 ij   yx  yy 0 

(2.59
 0 0  zz 
)
ในทำนองเดียวกันถ้าเราพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง strain-stress จะได้

 xx 
1  2 
E 
  xx 

1 
 1
 yy   
1   2  xx   1    yy 
 E
(2.60
 yy 
1  2 
E 
  yy 

1 
 1
 xx   
1   2  yy   1    xx  
 E )
 xy
 xy ั
ดังนัน้ ในปญ2หาแบบระนาบความเครี
G ยด จะเหลือความเครียดอยู่ 4 องค์ประกอบ ดังนี้

 xx  xy 0
 ij   xy  yy 0 
 0 0 0 
(2.61
2.7.1 สมการสภาวะสมดุลสำหรับปัญหาแบบระนาบความเครียด )
จะมีรปู แบบของสมการดังต่อไปนี้

 xx  xy
  Bx  0
x y
(2.62
 xy  yy
  By  0 )
x y
2.7.2 สภาพเข้ากันได้ในปัญหาแบบระนาบความเครี ยด (Compatibility)

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548


เอกสารประกอบการสอนวิชา กลศาสตร์ ของแข็งขัน้ กลาง (Intermediate Mechanics of Solids) 40

ในปญั หาแบบระนาบความเครียด สมการสภาพเข้ากันได้ จะเหลือเพียงแค่ 1 สมการ จาก


ทัง้ หมด 6 สมการ
 2  xx  2  yy  2  xy
y 2

x 2
 2
x y
(2.63
)
สรุปได้วา่ ในปญั หาแบบระนาบความเครียด จะมี
 Stresses = 3 unknowns
 Strains = 3 unknowns
 Displacements = 2 unknowns
รวม Unknowns ทั้งสิ้ น 8 unknowns

ซึง่ สมการทีเ่ กีย่ วข้องในปญั หาแบบระนาบความเครียด จะประกอบไปด้วย


- สมการสภาวะสมดุล 2 สมการ
- สมการความสัมพันธ์ระหว่าง Stress-strain 3 สมการ
- สมการความสัมพันธ์ระหว่าง Strain-displacement 3 สมการ
รวมสมการทัง้ สิน้ 8 สมการ เช่นกัน

 ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ พ.ศ. 2548

You might also like