Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 84

ISBN: 978-616-316-579-4

¤¾. 03-131

สถานการณ
และการจัดการปญหามลพิษ
ทางอากาศและเสียง
ของประเทศไทย ป 2562
คำ�นำ�

รายงานสถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียง ปี 2562 มีวัตถุประสงค์


เพื่อนำ�เสนอข้อมูลและสถิติพื้นฐานเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ
และเสียง ที่กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ ได้ดำ�เนินการมาอย่างต่อเนื่อง
ครอบคลุมทัว่ ทุกภูมภิ าคในประเทศไทย รวมทัง้ กิจกรรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการปัญหามลพิษ
ทางอากาศและเสียง ประกอบด้วยการปรับปรุงกฎหมายและมาตรฐาน การพัฒนาและนวัตกรรม
ความร่วมมือกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ด้านการบริหารจัดการมลพิษทัง้ ในประเทศ และระหว่างประเทศ

กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้


จะเป็นประโยชน์สำ�หรับการติดตามการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์มลพิษทางอากาศและเสียง
และมีข้อมูลที่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ
รวมทัง้ เป็นสือ่ กลางในการสร้างความตระหนัก และเพิม่ การมีสว่ นร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
สิ่งแวดล้อมต่อไป
รายงานสถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษ
ทางอากาศและเสียง ปี 2562
4 สถานการณ์คุณภาพอากาศ
5 สรุปสถานการณ์คุณภาพอากาศ ปี 2562
6 • ฝุ่นละออง (PM2.5 PM10)
สารบัญ 7
7
• ฝุ่นรวม (TSP) และสารตะกั่ว
• ก๊าซโอโซน (O3)
7 • ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
8 • ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2)
8 • คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)
9 สรุปสถานการณ์สารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ
ตามมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ประจำ�ปี 2562
12 สถานการณ์สารปรอทในบรรยากาศ
13 สถานการณ์คุณภาพน้ำ�ฝนในประเทศไทย
และภูมิภาคเอเชียตะวันออก
16 สถานการณ์ระดับเสียง
17 ระดับเสียง
21 ระดับเสียงตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้า
23 ระดับเสียงบริเวณพื้นที่ชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรม
จังหวัดระยอง
24 สถานการณ์มลพิษทางอากาศและเสียงจากแหล่งกำ�เนิด
25 การติดตามตรวจสอบสถานการณ์มลพิษทางอากาศและเสียง
จากยานพาหนะ
31 สถานการณ์ระดับเสียงริมคลองและเรือโดยสาร
ในกรุงเทพมหานคร ปี 2562
32 สารอินทรีย์ระเหยง่ายจากคลังน้ำ�มันเชื้อเพลิง ปี 2562
34 การจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียง
35 แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ
“การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง”
38 การแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ
ตำ�บลหน้าพระลาน อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี
ปี 2562
39 การแก้ไขปัญหาสารอินทรียร์ ะเหยง่ายในพืน้ ทีเ่ ขตควบคุมมลพิษ
มาบตาพุด และบริเวณใกล้เคียงจังหวัดระยอง ในปี 2562
41 การป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควัน ปี 2562
43 การจัดการปัญหามลพิษทางเสียงจากสนามบินสาธารณะ
44 การปรับปรุงมาตรฐาน 66 กิจกรรมสนับสนุนเพื่อการควบคุมมลพิษ
และการบังคับใช้กฎหมาย ทางอากาศและเสียง
45 การพัฒนามาตรฐานค่าความเข้มกลิ่นของ 67 ความร่วมมือด้านมาตรวิทยาด้านมลพิษ
อากาศเสียที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานผลิตยาง และคุณภาพสิ่งแวดล้อม
47 การกำ�หนดประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ 69 รายงานสรุปผลการตรวจวัดระดับเสียงร้านค้า
และสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำ�หนดมาตรฐานควบคุม และภายในพื้นที่จัดงานกาชาด ประจำ�ปี 2562
การปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงงานกลั่นน้ำ�มัน 71 การตรวจวัดคุณภาพอากาศโดยหน่วยตรวจวัด
ปิโตรเลียม (ฉบับที่ 2) คุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบเคลื่อนที่
49 การยกเลิกเครื่องมือวัดควันดำ�ระบบกระดาษกรอง
72 ภาคผนวก
50 การพัฒนาและนวัตกรรม 72 เอกสารเผยแพร่ : แผ่นพับ
51 การพัฒนาเครือข่ายการตรวจวัดฝุ่นละออง PM2.5 หลักเกณฑ์การยกระดับมาตรฐานเตาเผาศพ
ให้ครอบคลุมทั่วประเทศ 73 ภาคผนวก 1 คุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัด
53 (ร่าง) การประเมินปริมาณการปลดปล่อยสารมลพิษ บริเวณพื้นที่ทั่วไปในกรุงเทพมหานคร
ทางอากาศจากภาคการขนส่ง และการจราจร แยกตามรายสถานี ปี 2562
ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี ประจำ�ปี 2560 73 ภาคผนวก 2 คุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัด
บริเวณริมถนนในกรุงเทพมหานคร
54 ความร่วมมือระหว่างประเทศ
แยกตามรายสถานี ปี 2562
55 โครงการความร่วมมือ ไทย-ญี่ปุ่น ด้านการจัดการ 74 ภาคผนวก 3 คุณภาพอากาศในเขตปริมณฑล
คุณภาพอากาศ ปี 2562 (Japan-Thailand Clean แยกตามรายสถานี ปี 2562
Air Partnership : JTCAP) Particulate Matter 75 ภาคผนวก 4 คุณภาพอากาศในพื้นที่ต่างจังหวัด
Reduction Strategy and Measures แยกตามรายสถานี ปี 2562
Development Project 76 ภาคผนวก 5 การตรวจวัดด้วยหน่วยตรวจวัด
57 การดำ�เนินการตามข้อตกลงอาเซียน ว่าด้วยมลพิษ เคลื่อนที่ ปี 2562
จากหมอกควันข้ามแดน (ASEAN Agreement on 77 ภาคผนวก 6 ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง
Transboundary Haze Pollution (AATHP) จากสถานีตรวจวัดระดับเสียงแบบถาวรในเขต
59 ความร่วมมือในการติดตามตรวจสอบการตกสะสม กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปี 2561 และปี 2562
ของกรดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก 78 ภาคผนวก 7 ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง
62 การเตรียมการของประเทศไทย จากสถานีตรวจวัดระดับเสียงแบบถาวร
ภายใต้อนุสัญญามาโพล (MARPOL Convention) ในพื้นที่ต่างจังหวัด ปี 2561 และ ปี 2562
กับมาตรการบังคับใช้น้ำ�มันเชื้อเพลิงกำ�มะถันต่ำ� 79 ภาคผนวก 8 ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง
สำ�หรับเรือเดินทะเลทั่วโลก จุดตรวจวัดระดับเสียงชั่วคราวริมถนน
64 ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นภาคี Climate and Clean ในกรุงเทพมหานคร ปี 2562
Air Coalition (CCAC) 80 ภาคผนวก 9 ระดับเสียงบริเวณริมคลองแสนแสบ
ปี 2562
80 ภาคผนวก 10 ระดับเสียงเรือโดยสารในพื้นที่
กรุงเทพมหานคร ปี 2562 (จำ�แนกประเภทเรือ)
80 ภาคผนวก 11 ระดับเสียงเรือโดยสารในพื้นที่
กรุงเทพมหานคร ปี 2562 (จำ�แนกคลอง)
สถานการณ์
คุณภาพอากาศ
4 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
สรุปสถานการณ์
คุณภาพอากาศ
ปี 2562

รูปที่ 1-1 สรุปสถานการณ์คุณภาพอากาศ


แสดงร้อยละจำ�นวนวันที่พบสารมลพิษหลัก
*เกินค่ามาตรฐาน ในปี 2562
มากกว่าร้อยละ 20 จำ�นวน 8 จังหวัด
ร้อยละ 11 - 20 จำ�นวน 11 จังหวัด
ร้อยละ 6 - 10 จำ�นวน 6 จังหวัด
ร้อยละ 1 - 5 จำ�นวน 6 จังหวัด
ไม่เกินค่ามาตรฐาน จำ�นวน 3 จังหวัด

หมายเหตุ : * สารมลพิษหลัก ได้แก่


PM10 PM2.5 O3 NO2 SO2 และ CO

กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ ดำ�เนินการติดตาม


ตรวจวัดมลพิษทางอากาศโดยสถานีแบบอัตโนมัติ ใน 34 จังหวัด จำ�นวน 64 สถานี
ตรวจวัด โดยสรุป สถานการณ์มลพิษทางอากาศในภาพรวมของทั้งประเทศดีขึ้นจาก
ปีก่อนหน้าเล็กน้อย สารมลพิษทางอากาศที่พบเกินมาตรฐานได้แก่ PM10 และ PM2.5
ก๊าซโอโซน และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ปริมาณฝุน่ ละออง PM2.5 ในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ
และปริมณฑลตรวจวัดได้ลดลงจากปีกอ่ นหน้าเล็กน้อย จังหวัดทีพ่ บมลพิษทางอากาศ
เกินค่ามาตรฐาน คิดเป็นจำ�นวนวันมากกว่าร้อยละ 20 ของทัง้ ปี ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดเชียงราย จังหวัดลำ�พูน จังหวัดลำ�ปาง จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน จังหวัดสระบุรี
(เขตควบคุมมลพิษตำ�บลหน้าพระลาน) และจังหวัดขอนแก่น (รูปที่ 1-1)

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 5
สถานการณ์รายสารมลพิษ
ฝุ่นละอองขนาดเล็กเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5)
ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมงสูงสุดในแต่ละจุดจรวจวัด อยู่ในช่วง 15 - 357 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.)
(ค่ามาตรฐาน 50 มคก./ลบ.ม.) เฉลี่ยทั้งประเทศ 102 มคก./ลบ.ม. ค่าเฉลี่ยรายปี อยู่ในช่วง 10 - 41 มคก./ลบ.ม.
(ค่ามาตรฐาน 25 มคก./ลบ.ม.) เฉลี่ยทั้งประเทศ 25 มคก./ลบ.ม. มีแนวโน้มลดลงตั้งแต่ปี 2558 สำ�หรับในปี 2562
จำ�นวนวันที่เกินค่ามาตรฐานและค่าเฉลี่ยทั้งปีลดลงเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าเล็กน้อย ยกเว้นพื้นที่กรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑล ที่สถานการณ์ดีขึ้นจากปีก่อนหน้า

50

40 ª‹Ç§¤‹ÒÊÙ§ÊØ´ - µèÓÊØ´
¡·Á. + »ÃÔÁ³±Å
¤‹Òà©ÅÕèÂÃÒ»‚ (Á¤¡./ź.Á.)

30 ÊÃкØÃÕ (˹ŒÒ¾ÃÐÅÒ¹)
ÀÒ¤à˹×Í
20 µÐÇѹÍÍ¡à©Õ§à˹×Í
·Ñ駻ÃÐà·È
10 ¤‹ÒÁҵðҹ
0
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
รูปที่ 1-2 ปริมาณฝุ่นละออง PM2.5 เฉลี่ยรายปี 2554 - 2562

ฝุ่นละอองขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10)


ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมงสูงสุดแต่ละจุดตรวจวัด อยู่ในช่วง 32 - 394 มคก./ลบ.ม. (ค่ามาตรฐาน 120 มคก./ลบ.ม.)
เฉลี่ยทั้งประเทศ 147 มคก./ลบ.ม. ค่าเฉลี่ยรายปี อยู่ในช่วง 24 - 123 มคก./ลบ.ม. (ค่ามาตรฐาน 50 มคก./ลบ.ม.)
เฉลี่ยทั้งประเทศ 47 มคก./ลบ.ม. มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในทุกภาคของประเทศ

125

100 ª‹Ç§¤‹ÒÊÙ§ÊØ´ - µèÓÊØ´


¡·Á. + »ÃÔÁ³±Å
¤‹Òà©ÅÕèÂÃÒ»‚ (Á¤¡./ź.Á.)

75 ÊÃкØÃÕ (˹ŒÒ¾ÃÐÅÒ¹)
ÀÒ¤à˹×Í
50 µÐÇѹÍÍ¡à©Õ§à˹×Í
·Ñ駻ÃÐà·È
25 ¤‹ÒÁҵðҹ
0
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
รูปที่ 1-3 ปริมาณฝุ่นละออง PM10 เฉลี่ยรายปี 2552 - 2562

6 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ฝุ่นรวม (TSP) และสารตะกั่ว
ตรวจวัดเฉพาะในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมด ฝุ่นรวม (TSP)
ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมงสูงสุดพบอยู่ในช่วง 0.12 - 0.29 มก./ลบ.ม. (ค่ามาตรฐาน 0.33 มก/ลบ.ม.) สารตะกั่ว ค่าเฉลี่ยรายเดือน
พบอยู่ในช่วง 0.02 - 1.05 มคก./ลบ.ม. (ค่ามาตรฐาน 1.5 มคก./ลบ.ม.) รายละเอียดผลการตรวจวัดดังภาคผนวก

ก๊าซโอโซน (O3)
ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมงสูงสุดของแต่ละจุดตรวจวัด อยู่ในช่วง 66 - 191 ส่วนในพันล้านส่วน (พีพีบี) (ค่ามาตรฐาน 100 พีพีบี)
เฉลี่ยทั้งประเทศ 117 พีพีบี ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมงสูงสุด อยู่ในช่วง 56 - 133 พีพีบี (ค่ามาตรฐาน 70 พีพีบี) เฉลี่ยทั้งประเทศ
90 พีพีบี ภาพรวมยังมีค่าเกินมาตรฐานในหลายพื้นที่ โดยค่าเฉลี่ยทั้งประเทศมีปริมาณลดลงจากปีก่อนหน้าเล็กน้อย
260

ª‹Ç§¤‹Ò·ÕèµÃǨÇÑ´ä´Œ
¤‹Òà©ÅÕè 1 ªÁ. ÊÙ§ÊØ´ (ppb)

180 ¡·Á. + »ÃÔÁ³±Å


µÐÇѹÍÍ¡
ÀÒ¤¡ÅÒ§
µÐÇѹÍÍ¡à©Õ§à˹×Í
100
·Ñ駻ÃÐà·È
¤‹ÒÁҵðҹ
20
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
รูปที่ 1-4 ปริมาณก๊าซโอโซน เฉลี่ย 1 ชั่วโมงสูงสุด ปี 2552 - 2562

ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมงสูงสุดแต่ละจุดตรวจวัด อยู่ในช่วง 4 - 91 พีพีบี เฉลี่ย 23 พีพีบี (ค่ามาตรฐาน 300 พีพีบี)
ค่าเฉลี่ยรายปี อยู่ในช่วง 0.4 - 9.1 พีพีบี เฉลี่ย 1.8 พีพีบี (ค่ามาตรฐานรายปี 40 พีพีบี) ยังอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานและ
มีแนวโน้มลดลงจากปีก่อนหน้า
500

400
SO2 ¤‹Òà©ÅÕè 1 ªÑèÇâÁ§ÊÙ§ÊØ´ (ppb)

¤‹ÒÁҵðҹ 300 ppb


300 ª‹Ç§¤‹ÒµèÓÊØ´ - ÊÙ§ÊØ´
¤‹Òà©ÅÕèÂ
200 ¤‹ÒÁҵðҹ

100

0
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
รูปที่ 1-5 ปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมงสูงสุด ปี 2552 - 2562

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 7
ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2)
ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมงสูงสุดแต่ละจุดตรวจวัด อยู่ในช่วง 20 - 195 พีพีบี เฉลี่ย 79 พีพีบี (ค่ามาตรฐาน 170 พีพีบี)
ค่าเฉลี่ยรายปี อยู่ในช่วง 3 - 29 พีพีบี เฉลี่ย 13 พีพีบี (ค่ามาตรฐานรายปี 30 พีพีบี) พบเกินค่ามาตรฐาน 1 พื้นที่
ได้แก่ จุดตรวจวัดบริเวณริมถนนดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยมาตั้งแต่ปี 2560
250

200
NO2 à©ÅÕè 1 ªÑèÇâÁ§ÊÙ§ÊØ´ (ppb)

¤‹ÒÁҵðҹ 170 ppb


150 ª‹Ç§¤‹ÒµèÓÊØ´ - ÊÙ§ÊØ´
¤‹Òà©ÅÕèÂ
100 ¤‹ÒÁҵðҹ

50

0
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562

รูปที่ 1-6 ปริมาณก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมงสูงสุด ปี 2552 - 2562

คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)
ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมงสูงสุดแต่ละจุดตรวจวัด อยู่ในช่วง 1.4 - 9.6 ส่วนในล้านส่วน (พีพีเอ็ม) เฉลี่ย 3.2 พีพีเอ็ม
(ค่ามาตรฐาน 30 พีพีเอ็ม) ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมงสูงสุด อยู่ในช่วง 0.9 - 5.4 พีพีเอ็ม เฉลี่ย 2.2 พีพีเอ็ม (ค่ามาตรฐาน
9 พีพีเอ็ม) มีแนวโน้มไม่เปลี่ยนแปลงจากปีก่อนหน้า
¤‹ÒÁҵðҹ 30 ppm
30
CO à©ÅÕè 1 ªÑèÇâÁ§ÊÙ§ÊØ´ (ppm)

20
ª‹Ç§¤‹ÒµèÓÊØ´ - ÊÙ§ÊØ´
¤‹Òà©ÅÕèÂ
¤‹ÒÁҵðҹ
10

0
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562

รูปที่ 1-7 ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมงสูงสุด ปี 2552 - 2562

8 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
สรุปสถานการณ์
สารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ
ตามมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ประจำ�ปี 2562

กรมควบคุมมลพิษ มีการตรวจวัดสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ (Volatile Organic Compounds: VOCs)


ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานี จังหวัดระยอง จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดสงขลา จังหวัดอ่างทองและ
จังหวัดขอนแก่น สถานการณ์ในภาพรวมของประเทศไทยสำ�หรับปี 2562 พบสารเบนซีน 1,3-บิวทาไดอีน คลอโรฟอร์ม และ
1,2-ไดคลอโรเอธิลีน มีค่าสูงเกินเกณฑ์มาตรฐานในบางพื้นที่
สถานการณ์สารเบนซีนอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานในพื้นที่ทั่วไปบริเวณจุดตรวจวัดในจังหวัดปทุมธานี เชียงใหม่ ขอนแก่น
อ่างทอง แต่ยงั คงพบเกินค่ามาตรฐานในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ โดยเฉพาะพืน้ ทีบ่ ริเวณริมถนนทีม่ กี ารจราจรหนาแน่น และพืน้ ที่บริเวณ
รอบแหล่งกำ�เนิดอุตสาหกรรมในจังหวัดระยอง สารไดคลอโรเอธิลีน และ 1,3-บิวทาไดอีน พบค่าสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน
ในจังหวัดระยอง รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 1-1
ปริมาณสารเบนซีนในบรรยากาศบริเวณพื้นที่ริมถนนมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง (รูปที่ 1-8) ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึง
ความสำ�เร็จในการกำ�หนดมาตรการทีเ่ ข้มงวดมากขึน้ ในการควบคุมการระบายสารอินทรียร์ ะเหยง่ายจากภาคคมนาคมขนส่ง
และอุตสาหกรรม รวมทัง้ การพัฒนาเทคโนโลยีสะอาดสำ�หรับยานพาหนะ การปรับปรุงคุณภาพน้�ำ มันเชือ้ เพลิง การควบคุม
กำ�กับ ดูแลการระบายสารเบนซีนของภาคอุตสาหกรรมอย่างเข้มงวดต่อไป

¾×é¹·Õè·ÑèÇä» ¨.ʧ¢ÅÒ

¾×é¹·Õè·ÑèÇä» ¨.»·ØÁ¸Ò¹Õ ¤‹ÒÁҵðҹ 1.7 Á¤¡./ź.Á.

¾×é¹·Õè·ÑèÇä» ¨.àªÕ§ãËÁ‹

¾×é¹·ÕèÃÔÁ¶¹¹ ¨.àªÕ§ãËÁ‹

¾×é¹·ÕèÃÔÁ¶¹¹ ¨.¢Í¹á¡‹¹

¾×é¹·ÕèÃÔÁ¶¹¹ ¡·Á.

¾×é¹·ÕèªØÁª¹ÃͺÍصÊÒË¡ÃÃÁ ¨.ÃÐÂͧ

0.0 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0

2562 2561 2560 2559 2558 2557 2556 2555 2554 2553

รูปที่ 1-8 ปริมาณสารเบนซีนในบรรยากาศ ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง เฉลี่ยรายปี 2553 - 2562 (หน่วย : มคก./ลบ.ม.)

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 9
ตารางที่ 1-1 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมงเฉลี่ยรายปีกับค่ามาตรฐานเฉลี่ยรายปีของสารอินทรีย์ระเหยง่าย ปี 2562
(หน่วย : ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร)
Vinyl 1,3- Dichlorom Chloro 1,2-Dichlo Trichloro 1,2-Dichloro Tetrachloro
สถานี Benzene
Chloride Butadiene ethane form roethane ethylene propane ethylene
กรุงเทพฯ และปริมณฑล
พื้นที่ริมถนน :
- ถนนดินแดง เขตดินแดง 0.02 0.02 1.21 0.28 0.2 3.6 0.08 0.04 0.24
- ถนนลาดพร้าว เขตวังทองหลาง 0.02 0.02 1.62 0.72 0.2 2.3 0.25 0.04 0.20
- ถนนพระราม 4 เขตปทุมวัน 0.02 0.02 1.53 0.89 0.2 2.9 0.07 0.04 0.16
พื้นที่ทั่วไป :
- เขตธนบุรี กทม. 0.02 0.02 1.78 0.29 0.2 1.9 0.12 0.04 0.10
- ศูนย์วิจัยและฝึกอบรม 0.02 0.02 1.31 0.38 0.2 1.7 0.11 0.04 0.22
ด้านสิ่งแวดล้อม จังหวัดปทุมธานี
เชียงใหม่
พื้นที่ริมถนน : โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 0.02 0.02 0.76 0.13 0.2 2.1 0.03 0.12 0.04
พื้นที่ทั่วไป : ศาลากลางจังหวัด 0.02 0.02 0.64 0.11 0.2 1.3 0.03 0.04 0.04
ขอนแก่น
สำ�นักงานทรัพยากรน้ำ�ภาค 4 0.02 0.02 0.98 0.12 0.3 1.6 0.03 0.11 0.04
สงขลา
เทศบาลนครหาดใหญ่ 0.03 0.03 1.23 0.09 0.1 2.1 0.06 0.07 0.08
อ่างทอง
พื้นที่ทั่วไป :
ต.จำ�ปาหล่อ อ.เมือง 0.02 0.02 0.74 0.28 0.2 1.4 0.04 0.04 0.04
อ.เมือง จ.อ่างทอง 0.02 0.02 0.70 0.06 0.2 1.9 0.04 0.04 0.04
พื้นที่ริมถนน :
อ.เมือง จ.อ่างทอง 0.02 0.02 0.68 0.05 0.2 1.6 0.04 0.04 0.03
ระยอง
- วัดหนองแฟบ 0.03 0.02 0.59 0.26 0.2 2.0 0.08 0.11 0.07
- วัดมาบชลูด 0.04 0.07 0.74 0.19 0.8 1.0 0.11 0.07 0.07
- ที่ทำ�การชุมชนบ้านพลง 6.28 0.19 1.25 0.19 0.3 2.3 0.09 0.07 0.07
- สถานีเมืองใหม่มาบตาพุด 0.38 0.28 0.77 0.14 0.5 1.8 0.08 0.07 0.14
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 0.11 0.75 0.87 0.15 0.4 2.3 0.08 0.07 0.07
ตำ�บลมาบตาพุด
- ศูนย์บริการสาธารณสุขบ้านตากวน 0.04 0.52 0.79 0.12 0.2 1.7 0.07 0.07 0.07
- ชุมชนเนินพะยอม (หมู่บ้านนพเกตุ) 0.08 0.08 2.90 0.16 0.2 1.6 0.09 0.07 0.08
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 0.02 0.02 0.38 0.12 0.1 1.2 0.05 0.06 0.06
ตำ�บลบ้านหนองจอก
- วัดปลวกเกตุ 0.02 0.11 0.39 0.17 0.2 1.4 0.05 0.06 0.06
- คลีนิกชุมชนอบอุ่นเทศบาลนครระยอง 0.02 0.31 0.42 0.12 0.1 1.2 0.05 0.07 0.06
- บริเวณ กม.5 ใกล้ค่ายมหาสุรสิงหนาท 0.02 1.86 0.44 0.13 0.2 2.8 0.05 0.07 0.06
ค่ามาตรฐานเฉลี่ยรายปี (มคก./ลบ.ม.) 10 0.33 22 0.43 0.4 1.7 23 4 200

10 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
สถานการณ์ก๊าซ CS2 มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานในพื้นที่ทั่วไปบริเวณจุดตรวจวัดในจังหวัดกรุงเทพมหานคร ปทุมธานี
เชียงใหม่ ขอนแก่น อ่างทอง และระยอง อย่างไรก็ตาม พบก๊าซ CS2 มีค่าสูงเกินเกณฑ์มาตรฐานระหว่างเดือนมกราคม
ตุลาคม พฤศจิกายน ในพื้นที่รอบอุตสาหกรรมภายในจังหวัดอ่างทอง รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 1-2

ตารางที่ 1-2 สรุปผลการตรวจวัดสารคาร์บอนไดซัลไฟด์ เฉลี่ย 24 ชั่วโมง (หน่วย : มคก./ลบ.ม.)


ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมงของสาร Carbon disulfide (มคก./ลบม.)

ศูนย์บริการสาธารณสุขบ้านตากวน
ริมถนนลาดพร้าว เขตวังทองหลาง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล

ต.จำ�ปาหล่อ อ.เมือง จ.อ่างทอง


โรงเรียนวัดหนองแฟบ จ.ระยอง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
สำ�นักงานชลประทานที่ 12

ตำ�บลโฬสะ จ.อ่างทอง
วัดมาบชลูด จ.ระยอง

มาบตาพุด จ.ระยอง
เขตธนบุรี กทม.

จ.อ่างทอง
ขอนแก่น

เชียงใหม่

จ.ระยอง
สงขลา

กทม.

เดือน

ม.ค. 62 0.19 <0.03 <0.03 0.27 0.12 <0.03 <0.03 <0.03 <0.03 120.00 0.22 0.41
ก.พ. 62 <0.03 <0.03 <0.03 <0.03 <0.04 <0.03 <0.03 <0.03 <0.03 1.50 0.90 2.70
มี.ค. 62 <0.07 <0.06 <0.06 <0.03 <0.03 <0.03 <0.03 <0.03 <0.03 0.30 4.40 9.70
เม.ย. 62 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 1.00 2.00
พ.ค. 62 <0.12 <0.12 <0.12 2.33 1.97 <0.06, <0.12 <0.06, <0.12 <0.05, <0.12 <0.06, <0.12 <0.12 1.12 1.96
มิ.ย. 62 - 2.98 <0.06 2.30 7.40 <0.12 <0.12 <0.12 <0.12 - - -
ก.ค. 62 <0.06 <0.12 <0.06 <0.06 <0.07 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06, <0.06 <0.06, <0.20 <0.06, 0.76
ส.ค. 62 <0.06 <0.19 <0.06 <0.06 <0.05 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06
ก.ย. 62 <0.06 <0.19 <0.06 <0.06 <0.07 <0.06 <0.06 <0.06 <0.05 3.70 2.30 3.40
ต.ค. 62 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.07 <0.05 <0.05 <0.06 <0.06 120.00 0.79 1.10
พ.ย. 62 <0.06 <0.18 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 110.00 0.44 0.57
ธ.ค. 62 <0.06 <0.18 <0.06 <0.06 <0.06 <0.19 <0.06 <0.06 <0.20 10.00 2.5, 2.6 6.2, 7.5

หมายเหตุ : ค่ามาตรฐาน CS2 เฉลี่ย 24 ชั่วโมงต้องไม่เกิน 100 มคก./ลบ.ม.

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 11
สถานการณ์
สารปรอทในบรรยากาศ
กรมควบคุมมลพิษ สำ�นักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง ได้ติดตามตรวจสอบสถานการณ์สารปรอทในบรรยากาศ
ตั้งแต่ปลายปี 2557 จนถึงปัจจุบัน เพื่อประเมินสถานการณ์สารปรอทในบรรยากาศของประเทศในเบื้องต้น โดยตรวจวัด
สารปรอทรวม (Total Mercury) ด้วยเครื่องตรวจวัดปรอทในบรรยากาศแบบอัตโนมัติ (Mercury analyzer) ติดตั้งใน
หน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบเคลื่อนที่ จำ�นวน 1 คัน ใช้เทคนิค Cold Vapor Atomic Fluorescence
Spectrophotometry (CVAFS) ตรวจสอบประมาณหนึ่งเดือน ในปี 2562 ได้เฝ้าระวังสถานการณ์สารปรอทในบรรยากาศ
ในพื้นที่ใกล้เคียงแหล่งกำ�เนิดประเภทอุตสาหกรรม และพื้นที่ในเขตชนบท จำ�นวน 7 พื้นที่ ใน 6 จังหวัด ได้แก่
จังหวัดระยอง สระบุรี ลำ�ปาง เชียงใหม่ กาญจนบุรี และน่าน
ประเมินสถานการณ์สารปรอทในบรรยากาศ
การติดตามตรวจสอบสารปรอทในบรรยากาศในปี 2562 พบปริมาณสารปรอทในบรรยากาศในพื้นที่ใกล้เคียง
แหล่งกำ�เนิดประเภทอุตสาหกรรมมากกว่าในพื้นที่อื่นๆ โดยค่าเฉลี่ยตลอดช่วงตรวจวัด สูงสุดในจังหวัดระยอง 3.16
นาโนกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (นก./ลบ.ม.) ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง สูงสุดในจังหวัดระยอง 17.16 นก./ลบ.ม. รองลงมา คือ
จังหวัดลำ�ปาง 14.37 นก./ลบ.ม. รายละเอียดผลการตรวจวัดทุกพื้นที่ดังตารางที่ 1-3
อย่างไรก็ตาม จากผลการตรวจวัดข้างต้น พบปริมาณสารปรอทในบรรยากาศอยู่ในระดับนาโนกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
หากต้องการเปรียบเทียบกับค่าแนะนำ� หรือค่า Guideline ขององค์การอนามัยโลก (ค่าเฉลี่ยรายปี ไม่เกิน 1 ไมโครกรัม
ต่อลูกบาศก์เมตร; 1 มคก./ลบ.ม.) ต้องดำ�เนินการตรวจวัดในระยะยาวเป็นปี ซึ่งกรมควบคุมมลพิษ จะได้กำ�หนด
แผนการตรวจวัดอย่างต่อเนื่องต่อไป
ตารางที่ 1-3 สรุปผลการตรวจวัดสารปรอทในบรรยากาศ ปี 2562
ระยะเวลา ผลการตรวจวัดสารปรอทในบรรยากาศ
ประเภทจุดตรวจวัด ตรวจวัด เฉลี ย
่ รายชั ว
่ โมง หน่วย : นาโนกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (ng/m3)
(Monitoring classification) (Sampling) จำ�นวนข้อมูล ค่าต่ำ�สุด ค่ามัธยฐาน ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ส่วนเบี่ยงเบน
(Sample size) (Min.) (Median) (Mean) (Max.) มาตรฐาน (SD)
1. พื้นที่ใกล้เคียงแหล่งกำ�เนิดประเภทอุตสาหกรรม (industrial site/hot spot site)
1) จังหวัดระยอง
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล 13 ธ.ค. 61 - 718 1.08 2.33 2.35 4.68 0.56
ตำ�บลบ้านหนองจอก ต.เชิงเนิน อ.เมืองระยอง 13 ม.ค. 62
- สวนสมุนไพรสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ 14 ม.ค. - 475 1.42 2.72 3.16 17.16 1.75
สยามบรมราชกุมารี ต.มาบข่า อ.นิคมพัฒนา 13 ก.พ. 62
2) จังหวัดลำ�ปาง (การเผาไหม้ถ่านหินในโรงไฟฟ้า
ขนาดใหญ่)
- บ้านพักพนักงาน กฟผ. แม่เมาะ 6 - 26 มิ.ย. 62 462 1.16 1.69 1.77 14.37 0.72
3) จังหวัดสระบุรี (โรงปูนซีเมนต์)
- วัดพุกร่าง ต.พุกร่าง อ.พระพุทธบาท 15 ก.พ. - 435 1.42 1.8 1.92 9.05 0.52
6 มี.ค. 62
2. พื้นที่ชนบท (rural site)
เชียงใหม่
- ศูนย์วิจัย สาธิต และฝึกอบรมการเกษตร 30 เม.ย. - 494 0.67 2.03 2.03 4.1 0.32
แม่เหียะ ต.แม่เหียะ อ.เมืองเชียงใหม่ 21 พ.ค. 62
3. พื้นที่ห่างไกลแหล่งกำ�เนิดหลัก (remote site)
จังหวัดกาญจนบุรี 26 มี.ค. - 552 1.06 1.82 1.87 4.09 0.29
- เขื่อนวชิราลงกรณ ต.ท่าขนุน อ.ทองผาภูมิ 19 เม.ย. 62
4. เฝ้าระวังมลพิษข้ามแดน
จังหวัดน่าน (เฝ้าระวังมลพิษข้ามแดน การเผาไหม้
ถ่านหินจากโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ สปป.ลาว)
- โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ อ.เฉลิมพระเกียรติ 29 มิ.ย. - 653 0.84 1.38 1.47 2.4 0.27
27 ก.ค. 62

12 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
สถานการณ์
คุณภาพน�้ำฝนในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออก

สถานการณ์คุณภาพน�้ำฝนในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2557 - 2562


กรมควบคุมมลพิษได้ดำ�เนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ�ฝนมาอย่างต่อเนื่อง โดยข้อมูลผลการติดตามตรวจสอบ
ค่าความเป็นกรด (pH) ของน้ำ�ฝนในปี พ.ศ. 2562 จากสถานีติดตามตรวจสอบการตกสะสมของกรดในประเทศไทย
จำ�นวน 6 แห่ง ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นภูมภิ าคต่างๆ ได้แก่ 1) สถานีกรมควบคุมมลพิษ 2) สถานีกรมอุตนุ ยิ มวิทยา 3) สถานีศนู ย์วจิ ยั
และฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม จังหวัดปทุมธานี 4) สถานีอุตุนิยมวิทยาเกษตรแม่เหียะ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
5) สถานีวนวัฒนวิจัยสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา และ 6) สถานีเขื่อนวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรี ดังแสดงใน
รูปที่ 1-9 พบว่าค่า pH เฉลี่ยรายปีของพื้นที่ต่างๆ มีค่าอยู่ในช่วง 5.15 - 6.08 โดยมีค่าต่ำ�สุดที่สถานีอุตุนิยมวิทยาเกษตร
แม่เหียะ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และสูงสุดที่สถานีเขื่อนวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรี ทั้งนี้ จังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดปทุมธานี มีค่า pH เฉลี่ยรายปีต่ำ�กว่าน้ำ�ฝนตามธรรมชาติ1 (pH 5.6)

9.0 ÊÙ§ÊØ´ µèÓÊØ´ à©ÅÕèÂ


¹éÓ½¹µÒÁ¸ÃÃÁªÒµÔÁÕ¤‹Ò pH »ÃÐÁÒ³ 5.6
8.0

7.0
¤‹Ò¤ÇÒÁ໚¹¡Ã´ (pH)

6.0

5.0

4.0

3.0
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2557
2558
2559
2560
2561
2562

¡ÃÁ¤Çº¤ØÁÁžÔÉ ¡ÃÁÍصعÔÂÁÇÔ·ÂÒ »·ØÁ¸Ò¹Õ ¡ÒÞ¨¹ºØÃÕ àªÕ§ãËÁ‹ ¹¤ÃÃÒªÊÕÁÒ ªÅºØÃÕ ÃÐÂͧ ʧ¢ÅÒ

รูปที่ 1-9 ค่าความเป็นกรด (pH) ของน้ำ�ฝนในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2557 - 2562

เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลค่า pH เฉลี่ยรายปีระหว่างปี พ.ศ. 2557 - 2562 พบว่ากรุงเทพมหานคร (กรมควบคุมมลพิษ)


จังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัดนครราชสีมา มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จังหวัดเชียงใหม่มีแนวโน้มลดลง ส่วนจังหวัดอื่นๆ
มีแนวโน้มคงที่ ทั้งนี้ค่า pH เฉลี่ยรายปีของกรมควบคุมมลพิษในปี พ.ศ. 2557 มีค่าค่อนข้างสูง เนื่องมาจากในปีดังกล่าวทั้งปี
เครื่องเก็บตัวอย่างน้ำ�ฝนแบบอัตโนมัติชำ�รุดเสียหาย จึงเก็บตัวอย่างน้ำ�ฝนแบบรวม2 ทำ�ให้มีฝุ่นผงต่างๆ ซึ่งมีองค์ประกอบ
เป็นเบสปะปนมาด้วย ส่งผลให้น้ำ�ฝนมีค่า pH ค่อนข้างสูง
1
ค่า pH ของน้ำ�ฝนตามธรรมชาติมีค่าประมาณ 5.6 เนื่องจากการละลายของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เกิดเป็นกรดคาร์บอนิค
2
เก็บตัวอย่างแบบรวม (bulk sampling) หมายถึง การเก็บตัวอย่างแบบเปียกและแบบแห้งรวมกันในคราวเดียว

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 13
กระบวนการเผาไหม้เชื้อเพลิง เช่น ถ่านหินและน้ำ�มัน ของโรงงานอุตสาหกรรมและยานพาหนะต่างๆ จะปลดปล่อย
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจนและก๊าซอื่นๆ ออกสู่บรรยากาศและเปลี่ยนรูปเป็นกรดกำ�มะถัน
กรดไนตริกและสารกรดชนิดอื่นๆ ตกสะสมบนพื้นโลก กรดกำ�มะถันและกรดไนตริกเป็นสาเหตุหลักที่ทำ�ให้น้ำ�ฝนมีสภาพ
เป็นกรด ส่งผลให้ค่าความเป็นกรด (pH) ของน้ำ�ฝนลดต่ำ�ลง ซึ่งสามารถใช้เป็นสารบ่งชี้สถานการณ์การตกสะสมของกรด
ในพื้นที่ต่างๆ ได้ โดยทั่วไปการประเมินการตกสะสมของกรด ใช้อิออนลบ 2 ชนิด ได้แก่ ซัลเฟต (SO42-) และ
ไนเตรต (NO3-) ข้อมูลในรูปที่ 1-10 แสดงให้เห็นว่าปริมาณการตกสะสมรวมของไนเตรต และซัลเฟตที่ไม่รวมซัลเฟตจาก
เกลือทะเล (non-sea-salt sulfate, nss-SO42-) ในปี พ.ศ. 2562 ของพืน้ ทีต่ า่ งๆ ในประเทศไทยมีคา่ อยูใ่ นช่วง 3.79 - 30.89
มิลลิโมล/ตารางเมตร/ปี โดยมีค่าต่ำ�สุดที่จังหวัดกาญจนบุรี และสูงสุดที่จังหวัดปทุมธานี

35 NO3- nss-SO42-
30
»ÃÔÁÒ³¡Òõ¡ÊÐÊÁ (ÁÔÅÅÔâÁÅ/µÒÃÒ§àÁµÃ/»‚)

25

20

15

10

0
¡ÒÞ¨¹ºØÃÕ àªÕ§ãËÁ‹ ¹¤ÃÃÒªÊÕÁÒ ¡ÃÁ¤Çº¤ØÁÁžÔÉ ¡ÃÁÍصعÔÂÁÇÔ·ÂÒ »·ØÁ¸Ò¹Õ

รูปที่ 1-10 ปริมาณการตกสะสมของไนเตรต (NO3-) และซัลเฟตที่ไม่รวมซัลเฟตจากเกลือทะเล (nss-SO42-) ปี พ.ศ. 2562

สถานการณ์คุณภาพน�้ำฝนในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ปี พ.ศ. 2561


สถานการณ์คุณภาพน้ำ�ฝนในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จัดทำ�ขึ้นจากข้อมูลผลการติดตามตรวจสอบการตกสะสม
ของกรดภายใต้เครือข่ายการติดตามตรวจสอบการตกสะสมของกรดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยข้อมูลปี พ.ศ. 2561
เป็นข้อมูลปีล่าสุดที่มีการเผยแพร่ ดังแสดงในรูปที่ 1-11 พบว่าค่าความเป็นกรด (pH) ของพื้นที่ต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกจำ�นวน 55 แห่ง มีค่าอยู่ในช่วง 4.50 - 6.79 และมีค่ากลางเท่ากับ 5.23 โดยมีค่าต่ำ�สุดที่เมือง Petaling Jaya
ประเทศมาเลเซีย และมีค่าสูงสุดที่เมือง Jiwozi สาธารณรัฐประชาชนจีน
รูปที่ 1-12 พบว่าปริมาณการตกสะสมรวมของ NO3- และ nss-SO42- ในปี พ.ศ. 2561 ของพื้นที่ต่างๆ ในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกจำ�นวน 55 แห่ง มีคา่ อยูใ่ นช่วง 3.18 - 198.54 มิลลิโมล/ตารางเมตร/ปี และมีคา่ กลาง (median) เท่ากับ
35.30 มิลลิโมล/ตารางเมตร/ปี โดยมีค่าต่ำ�สุดที่เมือง Ogasawara ประเทศญี่ปุ่น และสูงสุดที่เมือง Petaling Jaya
ประเทศมาเลเซีย สำ�หรับประเทศไทยมีค่าอยู่ในช่วง 6.16 - 59.94 มิลลิโมล/ตารางเมตร/ปี ซึ่งมีค่าปานกลางถึงค่อนข้างต่ำ�
เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่อื่นๆ ในภูมิภาคฯ โดยมีค่าสูงสุดที่กรมควบคุมมลพิษ และต่ำ�สุดที่จังหวัดกาญจนบุรี จากผลการ

14 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
»ÃÔÁÒ³¡Òõ¡ÊÐÊÁ (ÁÔÅÅÔâÁÅ/µÒÃÒ§àÁµÃ/»‚) pH

0
20
40
60
80
100
120
140
160
180
200
220
4.00
4.25
4.50
4.75
5.00
5.25
5.50
5.75
6.00
6.25
6.50
6.75
7.00
Ogasawara (JP) Petaling Jaya (MY)
Mondy (RU) Jakarta (ID)
¡ÒÞ¨¹ºØÃÕ Listvyanka (RU)
Terelj (MN) ÃÐÂͧ
Listvyanka (RU) ªÅºØÃÕ
Ulanbaatar (MN) Xiaoping (CN)

NO3-
Danum Valley (MY) Jinyunshan (CN)
àªÕ§ãËÁ‹ Irkutsk (RU)
Ochiishi (JP) Tanah Rata (MY)
Irkutsk (RU) Oki (JP)
Hedo (JP) Rishiri (JP)
Jiwozi (CN) Banryu (JP)

nss-SO42-
¹¤ÃÃÒªÊÕÁÒ Kanghwa (KR)
Kanghwa (KR) Ijira (JP)
Tanah Rata (MY) Tokyo (JP)
ʧ¢ÅÒ Tappi (JP)
Da Nang (VN) Sado-seki (JP)
Cheju (KR) Yusuhara (JP)
และอาจส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศได้อีกด้วย

Happo (JP) Xinng Zhou (CN)


Tokyo (JP) Hedo (JP)
Xiaoping (CN) »·ØÁ¸Ò¹Õ
Tappi (JP) Ochiishi (JP)
»·ØÁ¸Ò¹Õ ¹¤ÃÃÒªÊÕÁÒ
Sado-seki (JP) Zhuxiandong (CN)
Rishiri (JP) Mondy (RU)
Kuching (MY) Happo (JP)
Imsil (KR) Serpong (ID)
Yusuhara (JP) Ogasawara (JP)
Oki (JP) Kuching (MY)
Banryu (JP) Hoa Binh (VN)
Kototabang (ID) Haifu (CN)
Shizhan (CN) Danum Valley (MY)
¡ÃÁÍصعÔÂÁÇÔ·ÂÒ Kototabang (ID)
Maros (ID) Yen Bai (VN)
Hongwen (CN) Maros (ID)
ªÅºØÃÕ Cue Phuong (VN)
ÃÐÂͧ àªÕ§ãËÁ‹
Yangon (MM) Hanoi (VN)
Xinng Zhou (CN) ʧ¢ÅÒ
Cue Phuong (VN) ¡ÃÁÍصعÔÂÁÇÔ·ÂÒ

ในปี พ.ศ. 2561 ของพื้นที่ต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก


Primorskaya (RU) Hongwen (CN)
¡ÃÁ¤Çº¤ØÁÁžÔÉ Bandung (ID)
Zhuxiandong (CN) Imsil (KR)
Ijira (JP) ¡ÒÞ¨¹ºØÃÕ
Can Tho (VN) Ulanbaatar (MN)
Ho Chi Minh (VN) Da Nang (VN)
Jinyunshan (CN) Terelj (MN)
รูปที่ 1-11 ค่าความเป็นกรด (pH) ของน้ำ�ฝนในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ในปี พ.ศ. 2561

Bandung (ID) Primorskaya (RU)


Yen Bai (VN) Cheju (KR)
Hoa Binh (VN) Can Tho (VN)
Haifu (CN) ¡ÃÁ¤Çº¤ØÁÁžÔÉ
Jakarta (ID) Ho Chi Minh (VN)

รูปที่ 1-12 ปริมาณการตกสะสมรวมของไนเตรต (NO3-) และซัลเฟตที่ไม่รวมซัลเฟตจากเกลือทะเล (nss-SO42-)

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
Serpong (ID) Yangon (MM)
Hanoi (VN) Shizhan (CN)
Petaling Jaya (MY) Jiwozi (CN)

15
nss-SO42- ในปี 2561 สูงกว่า 100 มิลลิโมล/ตารางเมตร นอกจากการตกสะสมในรูปน้ำ�ฝนแล้ว กรดกำ�มะถันและกรดไนตริค
ติดตามตรวจสอบแสดงให้เห็นว่าเมืองสำ�คัญบางแห่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกมีปริมาณการตกสะสมรวมของ NO3- และ

ยังอาจถูกพัดพาไปพร้อมๆ กับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน ซัลเฟต และไนเตรตสู่พื้นที่อื่นๆ


สถานการณ์
ระดับเสียง
16 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ระดับเสียง

กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ ดำ�เนินการติดตามตรวจสอบ


ระดับเสียงในสิง่ แวดล้อมโดยสถานีแบบอัตโนมัตติ อ่ เนือ่ งตลอดทัง้ ปีบริเวณพืน้ ทีร่ มิ ถนน
และพืน้ ทีท่ วั่ ไปในพืน้ ที่ 13 จังหวัด จำ�นวน 28 สถานี และตรวจวัดระดับเสียงบริเวณ
พืน้ ทีร่ มิ ถนนและริมคลองในเขตกรุงเทพมหานครแบบจุดตรวจวัดชัว่ คราว รวมจำ�นวน
24 จุด เพื่อประเมินสถานการณ์และแนวโน้มของปัญหามลพิษทางเสียง ในปี 2562
พบว่าการจราจรเป็นแหล่งกำ�เนิดเสียงหลัก โดยบริเวณริมถนนในเมืองขนาดใหญ่ที่มี
การจราจรหนาแน่นจะมีระดับเสียงเกินเกณฑ์มาตรฐาน เช่น กรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑล และจังหวัดสระบุรี เป็นต้น ส่วนบริเวณพื้นที่ทั่วไประดับเสียงส่วนใหญ่
อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ระดับเสียงในภาพรวมมีค่าใกล้เคียงจากปีที่ผ่านมา

ระดับเสียงในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
1) พื้นที่ทั่วไป ระดับเสียงเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา โดยค่าเฉลี่ยของระดับเสียงเฉลี่ย
(Leq) 24 ชั่วโมง ปี 2562 เท่ากับ 57.4 เดซิเบลเอ (ปี 2561 เท่ากับ 56.9 เดซิเบลเอ*)
บริเวณทีต่ รวจวัดส่วนใหญ่มรี ะดับเสียงอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน รายละเอียดในภาคผนวกที่ 6
2) พืน้ ทีร่ มิ ถนน ระดับเสียงลดลงจากปีทผี่ า่ นมา ค่าเฉลีย่ ของระดับเสียงเฉลีย่ (Leq)
24 ชั่วโมง ปี 2562 เท่ากับ 68.6 เดซิเบลเอ (ปี 2561 เท่ากับ 69.2 เดซิเบลเอ*)
บริเวณที่มีระดับเสียงเฉลี่ยเกินมาตรฐาน ได้แก่ พาหุรัด ถนนตรีเพชร, การเคหะ
ชุมชนดินแดง ถนนดินแดง, สถานีตำ�รวจนครบาลโชคชัย ถนนลาดพร้าว และ
สถานีไฟฟ้าย่อยธนบุรี ถนนอินทรพิทกั ษ์ (มาตรฐานระดับเสียงเฉลีย่ (Leq) 24 ชัว่ โมง
กำ�หนดไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ) เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีปริมาณการจราจรหนาแน่น
ตลอดทั้งวัน รายละเอียดในภาคผนวกที่ 6
* ข้อมูลระดับเสียงของปี 2561 แตกต่างจากรายงานสถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2561 ทีเ่ คยเผยแพร่
ไปแล้วเนื่องจากมีการนำ�เข้าข้อมูลจากสถานีตรวจวัดระดับเสียงเพิ่มเติมและทำ�การประมวลผลข้อมูลใหม่
สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 17
3) พืน้ ทีร่ มิ ถนน (จุดตรวจวัดชัว่ คราว) ระดับเสียงลดลงจากปีทผี่ า่ นมาเล็กน้อย โดยค่าเฉลีย่ ของระดับเสียงเฉลีย่ (Leq)
24 ชั่วโมง ปี 2562 เท่ากับ 75.4 เดซิเบลเอ (ปี 2561 เท่ากับ 75.6 เดซิเบลเอ) จากการตรวจวัดพบว่าทั้ง 22 จุดตรวจวัด
มีคา่ ระดับเสียงเฉลีย่ สูงเกินค่ามาตรฐาน โดยจุดตรวจวัดทีม่ รี ะดับเสียงสูงทีส่ ดุ 3 ลำ�ดับ ได้แก่ 1) ป้อมตำ�รวจสีแ่ ยกอ่อนนุช
ถ.สุขมุ วิท ซอย 77 2) ด้านหน้าปัม๊ เชลล์ รามอินทรา 117 ถ.รามอินทรา และ 3) ป้อมตำ�รวจสีแ่ ยกแม้นศรี ถนนบำ�รุงเมือง
โดยค่าระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง มีค่า 77.8, 77.8 และ 77.7 เดซิเบลเอ ตามลำ�ดับ รายละเอียดในภาคผนวกที่ 8
4) พื้นที่ริมคลอง และระดับเสียงเรือโดยสาร จากการตรวจวัดระดับเสียงบริเวณริมคลองแสนแสบ จำ�นวน 2 แห่ง
ได้แก่ ซอยสุขุมวิท 31 (ข้างมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร) และ ซอยเอกมัย 30 พบว่าระดับเสียงเฉลี่ย
(Leq) 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่ในช่วง 56.9 - 67.5 เดซิเบลเอ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานทุกแห่ง รายละเอียดในภาคผนวกที่ 9
และสำ�หรับการตรวจวัดเสียงเรือโดยสารในพื้นที่กรุงเทพมหานครทั้งสิ้น 87 ลำ� พบว่ามีระดับเสียงเกินมาตรฐานที่กำ�หนดไว้
ที่ 100 เดซิเบลเอ จำ�นวน 1 ลำ� รายละเอียดในภาคผนวกที่ 10 - 11

ระดับเสียงในต่างจังหวัด
1) พื้นที่ทั่วไป ระดับเสียงมีค่าเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาเล็กน้อย โดยค่าเฉลี่ยของระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง
ปี 2562 เท่ากับ 56.8 เดซิเบลเอ (ปี 2561 เท่ากับ 56.5 เดซิเบลเอ*) พื้นที่ส่วนใหญ่มีระดับเสียงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
รายละเอียดในภาคผนวกที่ 7
2) พื้นที่ริมถนน ระดับเสียงมีค่าลดลงจากปีที่ผ่านมา โดยค่าเฉลี่ยของระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง ปี 2562
เท่ากับ 62.8 เดซิเบลเอ (ปี 2561 เท่ากับ 63.5 เดซิเบลเอ*) บริเวณที่มีระดับเสียงสูงเกินมาตรฐานและสูงกว่าบริเวณอื่น
คือ สถานีตำ�รวจภูธรหน้าพระลาน อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี โดยมีจำ�นวนวันที่ระดับเสียงเกินมาตรฐาน
ร้อยละ 92.1 ซึง่ มีสาเหตุจากยานพาหนะบนเส้นทางจราจรมีจ�ำ นวนมากและส่วนใหญ่เป็นรถบรรทุกขนาดใหญ่ รายละเอียด
ในภาคผนวกที่ 7

แนวโน้มสถานการณ์ระดับเสียง
สถานการณ์ระดับเสียงในปี 2562 ค่าระดับเสียงเฉลี่ยริมถนนมีค่าลดลงจากปีที่ผ่านมาเล็กน้อยและค่าระดับเสียงเฉลี่ย
ในพื้นที่ทั่วไปมีค่าเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาเล็กน้อย ทั้งในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล และในต่างจังหวัด (รูปที่ 2-1) เมื่อ
เปรียบเทียบระดับเสียงเฉลี่ยโดยรวมทั้งปี ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา (2553 - 2562) (รูปที่ 2-2) พบว่าสถานการณ์ระดับเสียง
มีค่าเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก โดยปัญหาหลักยังคงเป็นปัญหามลพิษทางเสียงริมถนนในบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่น
ซึ่งกรมควบคุมมลพิษและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังคงร่วมกันดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่อง อาทิ การตรวจสภาพยานพาหนะ
ก่อนต่อทะเบียนประจำ�ปีโดยกรมการขนส่งทางบกและสถานตรวจสภาพรถเอกชน (ตรอ.), การตรวจสอบการระบายมลพิษ
จากรถราชการตามระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยรถราชการ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2538 ทีก่ �ำ หนดให้สว่ นราชการตรวจสอบ
ดูแลสภาพรถทุก 6 เดือน และควบคุมมิให้มกี ารระบายมลพิษเกินมาตรฐาน, การตรวจสอบและบำ�รุงรักษารถขนส่งมวลชน
กรุงเทพ (ขสมก.) และรถร่วม ขสมก. ให้มกี ารระบายมลพิษอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานก่อนออกให้บริการ และการขอความร่วมมือ
หน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนที่ให้บริการรถรับส่งพนักงาน เข้าร่วมโครงการ รถลดฝุ่น PM2.5 จากรถโดยสาร
ไม่ประจำ�ทาง “รถลดฝุ่น...คุณทำ�ได้” ซึ่งขอความร่วมมือในการดูแลบำ�รุงรักษารถเพื่อลดมลพิษ ส่งเสริมการใช้รถที่มี
มลพิษต่ำ� ลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล นิคมเดียวกันรถยนต์โดยสารคันเดียวกัน และกิจกรรมส่วนหนึ่งได้มีการประสานให้

* ข้อมูลระดับเสียงของปี 2561 แตกต่างจากรายงานสถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2561 ทีเ่ คยเผยแพร่


ไปแล้วเนื่องจากมีการนำ�เข้าข้อมูลจากสถานีตรวจวัดระดับเสียงเพิ่มเติมและทำ�การประมวลผลข้อมูลใหม่

18 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
บริการตรวจวัดการระบายไอเสียและระดับเสียงของรถโดยสารไม่ประจำ�ทางเพื่อนำ�ข้อมูลไปใช้บริหารจัดการมลพิษทาง
อากาศและเสียงในระยะต่อไป นอกจากนี้กองบังคับการตำ�รวจจราจร (บก.จร.) สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ ได้ดำ�เนินการ
กวดขันและป้องกัน การแข่งขันรถยนต์และจักรยานยนต์บนทางสาธารณะในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ตามคำ�สัง่ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 22/2558 รวมถึงได้สนธิก�ำ ลังร่วมกับกรมควบคุมมลพิษทำ�การตรวจสอบ
ตรวจจับยานพาหนะควันดำ�และเสียงดังริมเส้นทางจราจรอยูเ่ ป็นประจำ�รวมทัง้ เข้มงวดกวดขันในช่วงวิกฤตสถานการณ์มลพิษ
ด้านฝุ่นละออง
ในปีนี้มีการกำ�หนด กฎ ระเบียบหรือมาตรการบังคับใช้กฎหมายควบคุมระดับเสียงจากยานพาหนะเพิ่มเติม ได้แก่
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำ�หนดมาตรฐานระดับเสียงของรถยนต์ไฮบริด พ.ศ. 2562
ซึ่งกำ�หนดมาตรฐานระดับเสียงของรถยนต์ไฮบริดที่ใช้ในทางให้เทียบเท่ากับรถยนต์ประเภทอื่น และยังได้กำ�หนดวิธีการ
ตรวจวัดให้เหมาะสมกับรถยนต์ไฮบริดอีกด้วย สำ�หรับการดำ�เนินงานสนับสนุนด้านอื่นๆ กรมควบคุมมลพิษได้ร่วมกับ
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (มว.) และ บก.จร. จัดโครงการเปรียบเทียบผลการตรวจวัดระดับเสียงของยานพาหนะ
ระหว่างหน่วยงาน เพื่อยกระดับมาตรฐานและสร้างความเชื่อมั่นในการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ นอกจากนี้
กรมควบคุมมลพิษยังได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพให้หน่วยงานในระดับพื้นที่ในการตรวจจับยานพาหนะที่มีควันดำ� -
เสียงดัง โดยได้ดำ�เนินการนำ�ร่องในจังหวัดชลบุรี และจังหวัดกาญจนบุรี

ÃŒÍÂÅТͧ¨Ó¹Ç¹Çѹ·ÕèÃдѺàÊÕ§à©ÅÕè 24 ªÑèÇâÁ§ ¤‹ÒÊÙ§ÊØ´¢Í§¤‹Ò Leg 24 ªÑèÇâÁ§


ÃдѺàÊÕ§ (à´«ÔàºÅàÍ) à¡Ô¹¤‹ÒÁҵðҹ 70 à´«ÔàºÅàÍ ¤‹Òà©ÅÕè¢ͧ¤‹Ò Leg 24 ªÑèÇâÁ§
100 ¤‹ÒµèÓÊØ´¢Í§¤‹Ò Leg 24 ªÑèÇâÁ§

90
0.7% 53.2%
3.6% 46.3%
1.1%
87.8 86.1
1.7% 84.8 11.4% 85.6
80
83.7 11.4%
78.8 78.3 77.8
70
69.2 68.6
60 63.5 62.8 61.9
59.9
56.5 56.8 56.9 57.4
50 52.0
46.9 48.3 46.6 47.4
45.6
40
2561 2562 2561 2562 2561 2562 2561 2562
µ‹Ò§¨Ñ§ËÇÑ´ ¡ÃØ§à·¾Ï áÅлÃÔÁ³±Å µ‹Ò§¨Ñ§ËÇÑ´ ¡ÃØ§à·¾Ï áÅлÃÔÁ³±Å
¾×é¹·Õè·ÑèÇä» ¾×é¹·ÕèÃÔÁ¶¹¹

รูปที่ 2-1 ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง จากสถานีตรวจวัดระดับเสียง ปี 2561 และ ปี 2562



สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 19
ÃдѺàÊÕ§ ª‹Ç§¤‹Ò (ÊÙ§ÊØ´ - µèÓÊØ´) ÃдѺàÊÕ§ ª‹Ç§¤‹Ò (ÊÙ§ÊØ´ - µèÓÊØ´)
(à´«ÔàºÅàÍ) ¤‹Òà©ÅÕè (à´«ÔàºÅàÍ) ¤‹Òà©ÅÕèÂ
90 ¤‹ÒÁҵðҹ 90 ¤‹ÒÁҵðҹ

80 80
Áҵðҹ 70 à´«ÔàºÅàÍ Áҵðҹ 70 à´«ÔàºÅàÍ
70 70

60 60

50 50

40 40
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
2562

2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
2562
(ก) พื้นที่ทั่วไปในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (ข) พื้นที่ริมถนนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ÃдѺàÊÕ§ ª‹Ç§¤‹Ò (ÊÙ§ÊØ´ - µèÓÊØ´) ÃдѺàÊÕ§ ª‹Ç§¤‹Ò (ÊÙ§ÊØ´ - µèÓÊØ´)
(à´«ÔàºÅàÍ) ¤‹Òà©ÅÕè (à´«ÔàºÅàÍ) ¤‹Òà©ÅÕèÂ
90 ¤‹ÒÁҵðҹ 90 ¤‹ÒÁҵðҹ

80 80
Áҵðҹ 70 à´«ÔàºÅàÍ Áҵðҹ 70 à´«ÔàºÅàÍ
70 70

60 60

50 50

40 40
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
2562

2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
2562

(ค) พื้นที่ทั่วไปในต่างจังหวัด (ง) พื้นที่ริมถนนในต่างจังหวัด

รูปที่ 2-2 ระดับเสียงปี 2553 - 2562


หมายเหตุ : ปี 2553 - 2558 การคำ�นวณค่าระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง ใช้ข้อมูล 07.00 น. ของวันนั้น - 07.00 น. ของวันถัดไป
ปี 2559 - 2562 การคำ�นวณค่าระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง ใช้ข้อมูล 00.00 - 24.00 น. ของวันนั้นๆ

* ข้อมูลระดับเสียงของปี 2561 แตกต่างจากรายงานสถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2561 ทีเ่ คยเผยแพร่


ไปแล้วเนื่องจากมีการนำ�เข้าข้อมูลจากสถานีตรวจวัดระดับเสียงเพิ่มเติมและทำ�การประมวลผลข้อมูลใหม่

20 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ระดับเสียง
ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้า

กรมควบคุมมลพิษ โดยกองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง ได้ท�ำ การเฝ้าระวังและติดตามตรวจวัดระดับเสียงตามแนว


ก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเพือ่ ติดตามตรวจสอบระดับเสียงก่อนมีโครงการ ระหว่างก่อสร้าง
โครงการ และหลังการก่อสร้างเสร็จและเปิดใช้งาน เพื่อประเมินสถานการณ์ระดับเสียงริมเส้นทางแนวก่อสร้างรถไฟฟ้า
ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน โดยในปี 2562 ตรวจวัดจำ�นวน 11 จุด โดยตรวจวัดเพิ่มเติม 3 จุดตามแนว
ก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีชมพูและสายสีส้มตะวันออก ซึ่งผลการเฝ้าระวังและติดตามตรวจวัด พบว่าทุกจุดตรวจวัดมีค่า
ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมงเกินมาตรฐาน ตารางที่ 2-1
เมื่อเปรียบเทียบผลการตรวจวัดตั้งแต่ปี 2555 - 2562 พบว่าจุดตรวจวัดที่ค่าระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง มีค่า
เกินมาตรฐานทุกปี ได้แก่ จุดตรวจวัดโรงเรียนหอวัง จุดตรวจวัดแยกวงศ์สว่าง สำ�หรับจุดตรวจวัดหน้าโรงเรียนเปรมประชากร
เป็นจุดที่ก่อสร้างเสร็จแล้วแต่ยังไม่เปิดใช้งานแต่มีการคืนพื้นที่ถนน (Local Road) ทำ�ให้มีปริมาณยานพาหนะใช้เส้นทาง
เพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุให้มีค่าระดับเสียงเกินมาตรฐานจากปีที่ผ่านมา (จาก 66.6 เป็น 75.2) แสดงดังรูปที่ 2-3

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 21
ตารางที่ 2-1 ระดับเสียงบริเวณแนวเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปี 2562
ปี 2562
โครงการ/เส้นทาง จุดตรวจวัด วันที่ตรวจวัด ระดับเสียง ระดับเสียงเฉลี่ย
(เดซิเบลเอ) (เดซิเบลเอ)
สายสีแดง โรงเรียนเปรมประชา 27 มิ.ย. - 2 ก.ค. 74.4 - 75.5 75.2
(บางซื่อ - รังสิต) ถ.วิภาวดี-รังสิต ก่อสร้างแล้วเสร็จแต่ยังไม่เปิดใช้บริการ
สายสีเขียวเข้ม โรงเรียนหอวัง 20 - 26 มี.ค. 74.5 - 75.0 74.7
(หมอชิต - คูคต) ถ.พหลโยธิน ก่อสร้างแล้วเสร็จแต่ยังไม่เปิดใช้บริการ
ด้านหน้ากรมป่าไม้ 19 พ.ค. - 4 มิ.ย. 72.9 - 7 5.0 74.2
ถ.พหลโยธิน ก่อสร้างแล้วเสร็จแต่ยังไม่เปิดใช้บริการ
สายสีเขียวเข้ม หน้าโรงเรียนสมุทรปราการ 9 - 15 ก.พ. 76.0 - 77.0 76.5
(แบริ่ง - สมุทรปราการ) ถ.สุขุมวิท เปิดใช้บริการ
สายสีม่วง แยกวงศ์สว่าง 29 มี.ค. - 4 เม.ย. 75.5 - 76.4 76.0
(เตาปูน - คลองบางไผ่) ถ.กรุงเทพ-นนท์ เปิดใช้งานแล้วตั้งแต่ ส.ค. 2559
สายสีเขียว ป้อมตำ�รวจสี่แยกอ่อนนุช 20 - 26 ก.พ. 77.5 - 78.0 77.8
(หมอชิต - สำ�โรง) ถ.สุขุมวิท ซอย 77 เปิดใช้งานแล้วตั้งแต่ปี 2554
สายสีชมพู ด้านหน้า บริษัท กสท. 11 - 17 พ.ค. 74.0 - 75.1 74.7
(แคราย - มีนบุรี) นนทบุรี ถ.ติวานนท์ อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
ด้านหน้ากองดุริยางค์ตำ�รวจ 30 พ.ค. - 5 มิ.ย. 75.7 - 76.0 75.9
ถ.แจ้งวัฒนะ อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
ด้านหน้าปั๊มเชลล์ 13 - 19 มิ.ย. 77.5 - 78.1 77.8
รามอินทรา 117 ถ.รามอินทรา อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
สายสีส้มตะวันออก ป้อมตำ�รวจสามแยกมิสทีน 8 - 13 มี.ค. 75.5 - 76.4 75.9
(ตลิ่งชัน - มีนบุรี) ถ.รามคำ�แหง อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
ด้านหน้าสถานีตำ�รวจหัวหมาก 6 - 12 มี.ค. 78.5 - 78.9 78.7
ถ.รามคำ�แหง อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
ÃдѺàÊÕ§à©ÅÕè (Leq) 24 ªÑèÇâÁ§ µŒÍ§äÁ‹à¡Ô¹ 70 à´«ÔàºÅàÍ
90
ÊÒÂÊÕá´§ ÊÒÂÊÕà¢ÕÂÇ ÊÒÂÊÕÁ‹Ç§ ÊÒÂÊÕªÁ¾Ù ÊÒÂÊÕÊŒÁµÐÇѹÍÍ¡
80
70 2555
60 2556
2557
50 2558
40 2559
ª‹Ç§ºÒ§«×èÍ - ª‹Ç§¨µØ¨Ñ¡Ã - ª‹Ç§á¤ÃÒ - ª‹Ç§µÅÔ觪ѹ -
ÃѧÊÔµ ÊоҹãËÁ‹ ÁÕ¹ºØÃÕ ÁÕ¹ºØÃÕ 2560
30 2561
20 2562

10
0
ÃÃ. ´ŒÒ¹Ë¹ŒÒ »‡ÍÁµÓÃǨ »‡ÍÁµÓÃǨ CAT ¡Í§´ØÃÔÂÒ§¤ ˹ŒÒ»˜ÁàªÅŏ »‡ÍÁµÓÃǨ ʶҹյÓÃǨ
à»ÃÁ»ÃÐªÒ ÃÃ. ËÍÇѧ ÊÕèá¡ǧȏÊÇ‹Ò§ ÊÕèá¡͋͹¹Øª Telecom µÓÃǨ ÃÒÁÍÔ¹·ÃÒ 117 ÊÒÁá¡ÁÔÊ·Õ¹ ËÑÇËÁÒ¡

รูปที่ 2-3 เปรียบเทียบผลการตรวจวัดระดับเสียงตั้งแต่ปี 2555 - 2562


22 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ระดับเสียงบริเวณ
พื้นที่ชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรม จังหวัดระยอง
กรมควบคุมมลพิษ โดยกองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง ได้ตดิ ตามตรวจสอบสถานการณ์ระดับเสียงในบริเวณพืน้ ที่
ชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ในอำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง จำ�นวน 3 จุดตรวจวัด ได้แก่ ศูนย์บริการ
สาธารณสุขบ้านตากวน วัดหนองแฟบ วัดมาบชลูด และในบริเวณพืน้ ทีช่ มุ ชนโดยรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พซี ี
ในอำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง จำ�นวน 2 จุดตรวจวัด ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลหนองจอก และวัดปลวกเกตุ
โดยทำ�การติดตั้งเครื่องตรวจวัดระดับเสียงแบบชั่วคราวเก็บข้อมูลต่อเนื่อง 3 วัน ระหว่างวันที่ 28 - 30 พฤษภาคม 2562
พบว่า ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 49.6 - 61.7 เดซิเบลเอ ซึ่งไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานตามที่คณะกรรมการ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติกำ�หนด ดังตารางที่ 2-2 และ รูปที่ 2-4

ตารางที่ 2-2 ระดับเสียงเฉลีย่ (Leq) 24 ชัว่ โมง พืน้ ทีโ่ ดยรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดและเขตประกอบการอุตสาหกรรม


ไออาร์พีซี อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง ระหว่างวันที่ 28 - 30 พฤษภาคม 2562
จุดตรวจวัดระดับเสียง ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง (เดซิเบลเอ)
ค่าต่ำ�สุด - สูงสุด ค่าเฉลี่ย
1. ศูนย์บริการสาธารณสุขบ้านตากวน 60.5 - 61.7 61.0
2. วัดหนองแฟบ 55.9 - 61.7 59.4
3. วัดมาบชลูด 56.0 - 64.8 60.2
4. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลหนองจอก 49.6 - 60.6 53.8
5. วัดปลวกเกตุ 55.1 - 60.3 57.2
หมายเหตุ : มาตรฐานระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง จะต้องไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ

80
ÃдѺàÊÕ§à©ÅÕè (Leq) 24 ªÑèÇâÁ§ µŒÍ§äÁ‹à¡Ô¹ 70 à´«ÔàºÅàÍ
70

60
ÃдѺàÊÕ§ (à´«ÔàºÅàÍ)

50

40

30

20

10
2561 2562
ÈٹºÃÔ¡ÒÃÊÒ¸ÒóÊØ¢ºŒÒ¹µÒ¡Ç¹ ÇѴ˹ͧῺ ÇÑ´ÁÒºªÅÙ´ âç¾ÂÒºÒÅÊ‹§àÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾µÓºÅ˹ͧ¨Í¡ ÇÑ´»ÅǡࡵØ

รูปที่ 2-4 เปรียบเทียบผลการตรวจวัดระดับเสียงระหว่างปี 2561 - 2562


เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลระดับเสียง ระหว่างปี พ.ศ. 2561 - 2562 บริเวณจุดตรวจวัดระดับเสียงในนิคมอุตสาหกรรม
มาบตาพุดและเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พซี ี ระดับเสียงเพิม่ ขึน้ จากปีทผี่ า่ นมาไม่มากนัก เนือ่ งจากสภาพแวดล้อม
โดยรวมยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตาม ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง ยังไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กำ�หนด
สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 23
สถานการณ์มลพิษทางอากาศและเสียง
จากแหล่งกำ�เนิด
24 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
การติดตามตรวจสอบ
สถานการณ์มลพิษ
ทางอากาศและเสียง
จากยานพาหนะ

ยานพาหนะเป็ น แหล่ ง กำ � เนิ ด มลพิ ษ ที่ สำ � คั ญ ที่ ก่ อให้ เ กิ ด ปั ญ หามลพิ ษ ทาง


อากาศและเสียงในพืน้ ทีเ่ มืองใหญ่ จากสถิตกิ ารจดทะเบียนยานพาหนะตามกฎหมาย
ว่าด้วยรถยนต์และกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก รถจดทะเบียนสะสมทั่วประเทศ
ในปี 2562 มีจำ�นวนทั้งสิ้นประมาณ 40.7 ล้านคัน เพิ่มจากปี 2561 ประมาณ 0.8
ล้านคัน หรือคิดเป็นร้อยละ 4.76 กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง ได้ดำ�เนินการ
ตรวจวัดปริมาณการระบายสารมลพิษทางอากาศและระดับเสียงจากยานพาหนะใช้งาน
บริเวณริมเส้นทางจราจรในกรุงเทพมหานครและเมืองใหญ่ต่างๆ ที่มีการใช้รถยนต์
จำ�นวนมาก รวมทั้งพื้นที่ที่เป็นเขตควบคุมมลพิษมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 โดยมี
วัตถุประสงค์เพือ่ ประเมินสถานการณ์มลพิษจากยานพาหนะ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการ
ปรับปรุงหรือกำ�หนดมาตรการจัดการมลพิษจากยานพาหนะที่ได้ดำ�เนินการไปแล้ว
และอยูร่ ะหว่างดำ�เนินการ ตลอดจนวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ เพือ่ นำ�มาเป็น
แนวทางในการปรับปรุงมาตรฐาน หรือมาตรการการจัดการมลพิษทางอากาศที่จะ
ดำ�เนินการในอนาคต โดยในปี 2562 ติดตามตรวจสอบรถยนต์ทใี่ ช้เครือ่ งยนต์เบนซิน
และดีเซล รถจักรยานยนต์ ในเมืองหลัก ได้แก่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
(สมุทรปราการ สมุทรสาคร นนทบุรี และปทุมธานี) ระยอง สระบุรี สงขลา
นครราชสีมา เชียงใหม่ ขอนแก่น พิษณุโลก ภูเก็ต

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 25
• รถทีใ่ ช้เครือ่ งยนต์เบนซิน ได้แก่ รถยนต์เบนซินส่วนบุคคล รถยนต์เบนซินรับจ้าง รถยนต์สลี่ อ้ เล็ก รถสามล้อเครือ่ ง
และรถจักรยานยนต์ ระบายสารมลพิษทางอากาศที่สำ�คัญ ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และก๊าซไฮโดรคาร์บอน
(HC) เป็นต้น
• รถที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซล ได้แก่ รถตู้ดีเซล รถยนต์ดีเซลขนาดเล็ก (ปิคอัพ, รถส่วนบุคคล) รถขนาดใหญ่ที่ใช้
เครื่องยนต์ดีเซล (รถโดยสาร, รถบรรทุก) ระบายสารมลพิษทางอากาศที่สำ�คัญ ได้แก่ ฝุ่นละออง และควันดำ� เป็นต้น

สถานการณ์การระบายมลพิษทางอากาศและเสียงจากยานพาหนะ
พื้นที่กรุงเทพมหานคร
จากการติดตามตรวจสอบมลพิษจากยานพาหนะใช้งานบนท้องถนนในกรุงเทพมหานคร ปี 2562 รวมทั้งสิ้น 694 คัน
แบ่งเป็นรถทีใ่ ช้เครือ่ งยนต์ดเี ซล 415 คัน รถทีใ่ ช้เครือ่ งยนต์เบนซิน 279 คัน พบว่า รถทีร่ ะบายมลพิษทางอากาศเกินมาตรฐาน
มากที่สุด ได้แก่ รถยนต์ดีเซลขนาดเล็ก (รถปิคอัพ, รถยนต์ส่วนบุคคล) คิดเป็นร้อยละ 25 รองลงมาได้แก่ รถยนต์เบนซิน
รับจ้างที่จดทะเบียนตั้งแต่ 1 มกราคม 2550 รถบรรทุก และรถจักรยานยนต์ มีการระบายมลพิษทางอากาศเกินมาตรฐาน
คิดเป็นร้อยละ 19.28 ร้อยละ 17.76 และร้อยละ 9 ตามลำ�ดับ ดังตารางที่ 3-1 และ 3-2 สำ�หรับรถที่มีระดับเสียง
เกินมาตรฐานมากที่สุด ได้แก่ รถโดยสารประจำ�ทาง ขสมก. โดยเกินมาตรฐานถึงร้อยละ 15.2 รองลงมาได้แก่
รถยนต์เบนซินรับจ้างที่จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 57 เกินมาตรฐานร้อยละ 15.06 และรถบรรทุกที่จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 57
เกินมาตรฐานร้อยละ 6.02 ตามลำ�ดับ รายละเอียดดังตารางที่ 3-3

ตารางที่ 3-1 ปริมาณการระบายมลพิษทางอากาศจากรถที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซลพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2562

ค่าควันดำ� จำ�นวนรถที่ตรวจวัด จำ�นวนรถที่มีมลพิษ ร้อยละที่


ประเภทรถ
(%) (คัน) เกินมาตรฐาน (คัน) เกินมาตรฐาน
รถยนต์ขนาดเล็ก 30 104 26 25.0
(รถปิคอัพ, รถยนต์ส่วนบุคคล) (0.86 - 100)*
รถบรรทุก 27 107 19 17.8
(1.63 - 98)
รถโดยสารประจำ�ทาง ขสมก. 15.0 204 2 0.98
(1.2 - 51.2)
รถโดยสารสองแถว - - - -
หมายเหตุ : * ค่าเฉลี่ย (ค่าต่ำ�สุด - สูงสุด) เทียบกับค่ามาตรฐานค่าควันดำ�ไม่เกินร้อยละ 50

26 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ตารางที่ 3-2 ปริมาณการระบายมลพิษทางอากาศจากรถที่ใช้เครื่องยนต์เบนซินพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2562

การระบายมลพิษ จำ�นวนรถ จำ�นวนรถที่มีมลพิษ ร้อยละ


ประเภทรถ CO HC ทีต่ รวจวัด เกินมาตรฐาน (คัน) ทีเ่ กิน
(%) (ppm) (คัน) CO HC HC+CO มาตรฐาน
รถยนต์เบนซินรับจ้าง
จดทะเบียนตั้งแต่ ค่าเฉลี่ย 0.19 31 166 22 5 5 19.3
1 ม.ค. 50 ต่ำ�สุด - สูงสุด 0 - 2.69 0 - 3.03
ค่ามาตรฐาน 0.5 100
รถจักรยานยนต์
จดทะเบียนตั้งแต่ ค่าเฉลี่ย 1 197 113 4 3 3 9
1 ม.ค. 53 ต่ำ�สุด - สูงสุด 0 - 5 0 - 2,180
ค่ามาตรฐาน 2.5 1,000
หมายเหตุ : * ตรวจไม่พบรถยนต์เบนซินรับจ้างที่จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 2549 และไม่พบรถจักรยานยนต์ที่จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 2553

ตารางที่ 3-3 ระดับเสียงจากยานพาหนะทุกประเภทพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2562

ค่า ระดับเสียงที่ ค่า จำ�นวนรถที่ จำ�นวนรถที่มีมลพิษ ร้อยละที่


ประเภทรถ
เฉลี่ย ตรวจวัด (dBA) มาตรฐาน ตรวจวัด (คัน) เกินมาตรฐาน (คัน) เกินมาตรฐาน
รถยนต์ขนาดเล็ก (รถปิคอัพ, รถยนต์ส่วนบุคคล)
จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 57 88.3 80.2 - 98.8 100 69 0 0
จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 57 85.9 76.8 - 102.1 95 35 2 5.7
รถบรรทุก
จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 57 93.1 84.3 - 105.2 100 83 5 6.0
จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 57 91.1 83.4 - 95.8 99 24
รถโดยสารประจำ�ทาง ขสมก.
จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 57 15.0 79.3 - 105.5 100 204 31 15.2
จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 57 99
รถโดยสารสองแถว
จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 57 22.8 82.5 - 97.7 100 27 3 11.1
จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 57 95
รถเบนซินรับจ้าง
จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 57 79 74.8 - 79 100 166 25 15.1
จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 57 95
รถจักรยานยนต์ 87 80.99 - 94 95 113 2 1.8

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 27
ในปี 2562 ผลการตรวจวัดมลพิษทางอากาศจากรถยนต์ในพื้นที่กรุงเทพฯ พบว่า รถเกือบทุกชนิดที่ดำ�เนินการสำ�รวจ
การระบายมลพิษทางอากาศเกินมาตรฐานมีแนวโน้มลดลงเมือ่ เทียบกับปี 2561 ยกเว้นรถดีเซลขนาดเล็กทีพ่ บว่าการระบาย
มลพิษทางอากาศเกินมาตรฐานมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ซึง่ สาเหตุหลักมาจากการขาดการดูแลบำ�รุงรักษาเครือ่ งยนต์อย่างสม่�ำ เสมอ
45
40
35
30
25 2561
20 2562
15
10
5
0
ö´Õà«Å öºÃ÷ء ö ¢ÊÁ¡. öÊͧá¶Ç öູ«Ô¹ ö ¨ÂÂ.
¢¹Ò´àÅç¡ ÃѺ¨ŒÒ§

รูปที่ 3-1 ร้อยละของจำ�นวนรถยนต์ที่มีมลพิษทางอากาศเกินมาตรฐาน ปี 2561 และ 2562 ในกรุงเทพมหานคร


หมายเหตุ : ในปี 2562 ไม่ได้ดำ�เนินการตรวจวัดรถยนต์เบนซินรับจ้างที่จดทะเบียนตั้งแต่ 1 พ.ย. 36 - 31 ธ.ค. 49 และรถจักรยานยนต์ที่จดทะเบียน
ตั้งแต่ 1 พย. 36 - 31 ธ.ค. 49 และที่จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 53

16
14
12
10
8
2561
2562
6
4
2
0
ö´Õà«Å öºÃ÷ء ö ¢ÊÁ¡. öÊͧá¶Ç öູ«Ô¹ ö ¨ÂÂ.
¢¹Ò´àÅç¡ ÃѺ¨ŒÒ§

รูปที่ 3-2 ร้อยละของจำ�นวนรถยนต์ที่มีระดับเสียงเกินมาตรฐาน ปี 2561 และ 2562 ในกรุงเทพมหานคร

พื้นที่ต่างจังหวัด
จากการติดตามตรวจสอบมลพิษจากยานพาหนะใช้งานบนท้องถนนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดต่างๆ ทีเ่ ป็นเมืองหลัก ได้แก่ ระยอง
สระบุรี สงขลา นครราชสีมา เชียงใหม่ ขอนแก่น ภูเก็ต และพิษณุโลก รวมทั้งสิ้น 1,823 คัน แบ่งเป็นรถที่ใช้เครื่องยนต์
ดีเซล 1,103 คัน รถที่ใช้เครื่องยนต์เบนซิน 324 คัน พบว่า รถที่ระบายมลพิษทางอากาศเกินมาตรฐานมากที่สุด ได้แก่
รถยนต์เบนซินส่วนบุคคลที่จดทะเบียนตั้งแต่ 1 มกราคม 2550 คิดเป็นร้อยละ 55.5 รองลงมาได้แก่ รถจักรยานยนต์ที่
จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 53 และรถยนต์ขนาดเล็กที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซล (รถปิคอัพ รถส่วนบุคคล) มีการระบายมลพิษ
ทางอากาศ เกินมาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 32.8 และ 29.29 ตามลำ�ดับ รายละเอียดดังตารางที่ 3-4 และ 3-5 สำ�หรับรถที่มี
ระดับเสียงเกินมาตรฐานมากที่สุด ได้แก่ รถดีเซลขนาดเล็ก โดยเกินมาตรฐานถึงร้อยละ 4.93 รองลงมาได้แก่ รถบรรทุก
ที่จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค 57 เกินมาตรฐานร้อยละ 4.07 และรถบรรทุกที่จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 57 เกินมาตรฐาน
ร้อยละ 3.32 ตามลำ�ดับ รายละเอียดดังตารางที่ 3-6
28 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ตารางที่ 3-4 ปริมาณการระบายมลพิษทางอากาศจากรถที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซลในพื้นที่จังหวัดต่างๆ ปี 2561
ค่าเฉลี่ย ค่าควันดำ� จำ�นวนรถที่ จำ�นวนรถที่มีมลพิษ ร้อยละที่
ประเภทรถ
ช่วงการตรวจวัด (%) ตรวจวัด (คัน) เกินมาตรฐาน (คัน) เกินมาตรฐาน
รถยนต์ขนาดเล็ก ค่าเฉลี่ย 26.1 613 103 16.8
(รถปิคอัพ, รถยนต์ส่วนบุคคล) ต่ำ�สุด - สูงสุด 0 - 100
รถบรรทุก ค่าเฉลี่ย 11.2 490 18 3.67
ต่ำ�สุด - สูงสุด 0 - 100
รถโดยสารประจำ�ทาง ค่าเฉลี่ย 15.9 16 0 0
ต่ำ�สุด - สูงสุด 2.1 - 42.1
รถสองแถว ค่าเฉลี่ย 22.6 14 2 14.29
ต่ำ�สุด - สูงสุด 0 - 58.9
มาตรฐานค่าควันดำ�ไม่เกินร้อยละ 50

ตารางที่ 3-5 ปริมาณการระบายมลพิษทางอากาศจากรถที่ใช้เครื่องยนต์เบนซินในพื้นที่ต่างจังหวัด ปี 2561


การระบายมลพิษ จำ�นวนรถ จำ�นวนรถที่มีมลพิษ ร้อยละ
ประเภทรถ CO HC ทีต่ รวจวัด เกินมาตรฐาน (คัน) ทีเ่ กิน
(%) (ppm) (คัน) CO HC HC+CO มาตรฐาน
รถยนต์เบนซินส่วนบุคคล
จดทะเบียนก่อน ค่าเฉลี่ย 0.85 296 10 1 5 1 70
1 ม.ค. 50 ต่ำ�สุด - สูงสุด 0 - 3.91 13 - 635
ค่ามาตรฐาน 1.5 200
จดทะเบียนตั้งแต่ ค่าเฉลี่ย 0.14 27 314 24 10 16 42.3
1 ม.ค. 50 ต่ำ�สุด - สูงสุด 0 - 7.54 0 - 440
ค่ามาตรฐาน 0.5 100
รถจักรยานยนต์
จดทะเบียนตั้งแต่ ค่าเฉลี่ย 1.33 885 25 4 2 2 30.8
1 ก.ค. 49 - 31 ธ.ค. 52 ต่ำ�สุด - สูงสุด 0 - 4.88 10 - 7,920
ค่ามาตรฐาน 3.5 2,000
จดทะเบียนตั้งแต่ ค่าเฉลี่ย 0.38 105 359 10 2 20 3.90
1 ม.ค. 53 ต่ำ�สุด - สูงสุด 0 - 6.68 0 - 1,189
ค่ามาตรฐาน 2.5 1,000

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 29
ตารางที่ 3-6 ระดับเสียงจากยานพาหนะทุกประเภทในพื้นที่ต่างจังหวัด ปี 2562

ค่า ระดับเสียงที่ ค่า จำ�นวนรถที่ จำ�นวนรถที่มีมลพิษ ร้อยละที่


ประเภทรถ
เฉลี่ย ตรวจวัด (dBA) มาตรฐาน ตรวจวัด (คัน) เกินมาตรฐาน (คัน) เกินมาตรฐาน
รถยนต์ขนาดเล็ก (รถปิคอัพ, รถยนต์ส่วนบุคคล)
จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 57 87.4 75.2 - 107.1 100 417 3 0.72
จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 57 86..1 73.9 - 102.5 95 196 10 5.10
รถบรรทุก
จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 57 92.1 78.9 - 105.7 100 262 11 4.20
จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 57 92.0 79.8 - 113.4 99 228 12 5.26
รถโดยสารไม่ประจำ�ทาง
จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 57 93.8 86.8 - 100.8 100 16 1 6.25
จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 57 99
รถโดยสารสองแถว
จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 57 87.9 82.0 - 98.2 100 14 - -
จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 57 - - 95 - - -
รถเบนซินส่วนบุคคล
จดทะเบียนก่อน 1 ม.ค. 57 81.2 72.6 - 96.5 100 132 0 0
จดทะเบียนตั้งแต่ 1 ม.ค. 57 79.9 71.6 - 97.1 95 192 2 1.04
รถจักรยานยนต์ 83.5 71.2 - 100 95 284 5 1.30

30 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
สถานการณ์ระดับเสียง
ริมคลองและเรือโดยสารในกรุงเทพมหานคร ปี 2562
กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมลพิษ ได้ด�ำ เนินการ
ตรวจวัดระดับเสียงบริเวณริมคลองแสนแสบ จำ�นวน 2 แห่ง ในปี 2562
ได้แก่ ซอยสุขมุ วิท 31 (ข้างมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร)
และซอยเอกมัย 30 พบว่าระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง มีค่าอยู่
ในช่วง 58.7 - 60.5 เดซิเบลเอ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานทุกแห่ง
การตรวจระดับเสียงของเรือโดยสารทีใ่ ห้บริการในพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร
ซึ่งตรวจวัดร่วมกับกรุงเทพมหานครและกรมเจ้าท่า รวมจำ�นวน 87 ลำ�
พบว่ามีระดับเสียงอยูใ่ นช่วง 81.2 - 100.2 เดซิเบลเอ พบเรือทีม่ รี ะดับเสียง
เกินมาตรฐานทั้งหมด 1 ลำ� คิดเป็นร้อยละ 1 เป็นเรือหางยาวที่วิ่ง
ตามลำ�คลอง ดังตารางที่ 3-7 และ 3-8

ตารางที่ 3-7 ระดับเสียงเรือโดยสารในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2562 (จำ�แนกประเภทเรือ)


จำ�นวน ระดับเสียง (เดซิเบลเอ) เกินมาตรฐาน
ประเภทเรือ
(ลำ�) สูงสุด เฉลี่ย ต่ำ�สุด จำ�นวน (ลำ�) ร้อยละ
โดยสารเครื่องกลางลำ� 30 93.6 88.1 81.2 0 0
หางยาว 57 100.2 95.9 85.2 1 2
รวม 87 100.2 94.0 81.2 1 1
หมายเหตุ : มาตรฐานระดับเสียงของเรือจะต้องไม่เกิน 100 เดซิเบลเอ เมื่อตรวจวัดที่ 0.5 เมตร จากปลายท่อไอเสียหรือจากกราบเรือ

ตารางที่ 3-8 ระดับเสียงเรือโดยสารในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2562 (จำ�แนกคลอง)


จำ�นวน ระดับเสียง (เดซิเบลเอ) เกินมาตรฐาน*
วันที่ตรวจวัด สถานที่
(ลำ�) สูงสุด เฉลี่ย ต่ำ�สุด จำ�นวน (ลำ�) ร้อยละ
27 กุมภาพันธ์ 2562 ท่าเรือวัดอัปสรสวรรค์ 5 100.2 96.4 92.7 1 20
20 มีนาคม 2562 ท่าเรือวัดตลิ่งชัน 13 99.6 98.1 95.2 0 0
29 มีนาคม 2562 ท่าเรือวัดคูหาสวรรค์วรวิหาร 8 99 97.6 93.9 0 0
1 พฤษภาคม 2562 ท่าเรือสะพานผ่านฟ้าลีลาศ 11 93.6 89.2 86 0 0
15 พฤษภาคม 2562 ท่าเรือวัดศรีบุญเรือง 19 93.1 87.0 81.2 0 0
25 มิถุนายน 2562 ท่าเรือตลาดพลู 10 99.6 97.1 94.5 0 0
14 สิงหาคม 2562 ท่าเรือวัดสุวรรณาราม 8 99 93.3 85.2 0 0
7 สิงหาคม 2562 ท่าเรือวัดปากน้ำ�ภาษีเจริญ 13 97.9 93.3 87.9 0 0
รวม 87 100.2 94.0 81.2 1 1
หมายเหตุ : * มาตรฐานระดับเสียงของเรือจะต้องไม่เกิน 100 เดซิเบลเอ เมื่อตรวจวัดที่ 0.5 เมตร จากปลายท่อไอเสียหรือจากกราบเรือ

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 31
สารอินทรีย์ระเหยง่าย
จากคลังน�้ำมันเชื้อเพลิง ปี 2562
กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ ได้ด�ำ เนินการติดตามตรวจสอบปริมาณสารอินทรียร์ ะเหยง่าย
จากคลังน้�ำ มันเชือ้ เพลิงทีป่ ล่อยออกสูส่ งิ่ แวดล้อมจากกิจกรรมการขนถ่ายน้�ำ มันเบนซินและแก๊สโซฮอล์จากคลังน้�ำ มันเชือ้ เพลิง
สูร่ ถขนส่งน้�ำ มันเชือ้ เพลิง ซึง่ สารอินทรียร์ ะเหยง่ายต้องผ่านระบบควบคุมไอน้�ำ มันเชือ้ เพลิง (Vapor Recovery Unit; VRU)
เช่น ระบบ Carbon Adsorption เป็นต้น ปี 2562 ดำ�เนินการติดตามตรวจสอบในพื้นที่จังหวัดสงขลา จำ�นวน 1 แห่ง
จังหวัดสระบุรี จำ�นวน 1 แห่ง จังหวัดปทุมธานี จำ�นวน 2 แห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำ�นวน 3 แห่ง และจังหวัด
กรุงเทพมหานคร จำ�นวน 4 แห่ง รวมทั้งสิ้น 11 แห่ง พบว่า ปริมาณการจำ�หน่ายน้ำ�มันเบนซินและแก๊สโซฮอล์จาก
คลังน้�ำ มันเชือ้ เพลิงทีไ่ ด้ด�ำ เนินการตรวจสอบ อยูใ่ นช่วงประมาณ 74 - 1,102 ล้านลิตร/ปี ความถีใ่ นการขนถ่ายน้�ำ มันเชือ้ เพลิง
เข้าสู่รถบรรทุกน้ำ�มันเชื้อเพลิง ประมาณ 23 - 398 เที่ยว/วัน ปริมาณสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายทั้งหมด (Total Volatile
Organic Compounds; Total VOCs) พบว่า ปริมาณ Total VOCs ก่อนเข้าระบบ VRU ค่าเฉลี่ยในเวลา 1 ชั่วโมง
อยู่ในช่วง 61.91 - 237.37 mg/l in emitted vapour ปริมาณ Total VOCs หลังออกจากระบบ VRU และถูกปล่อยทิ้ง
ออกสู่บรรยากาศ ค่าเฉลี่ยในเวลา 1 ชั่วโมง อยู่ในช่วง 0.07 - 7.84 mg/l in emitted vapour ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
ที่กำ�หนดทุกแห่ง สำ�หรับประสิทธิภาพของระบบ VRU ของคลังน้ำ�มันเชื้อเพลิงดังกล่าวอยู่ในช่วงร้อยละ 92.2 - 99.9

ระบบควบคุมไอระเหยน้ำ�มันเบนซิน (Vapor Recovery Unit)


แบบ Carbon Adsorption

32 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ตารางที่ 3-9 รายละเอียดผลการสำ�รวจคลังน้ำ�มันเชื้อเพลิงในจังหวัดสงขลา จังหวัดสระบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดกรุงเทพมหานคร
ปริมาณน้ำ�มันเบนซิน/ ความถี่ ผลการตรวจวัด
ประสิทธิภาพ
สถานที่ตั้ง แก๊สโซฮอล์/Base Gasoline วิธีการ วิธี ในการ ระบบ (mg/l in emitted vapour)
ระบบ VRU
คลังน้ำ�มันเชื้อเพลิง ออกเทน 91/95 เก็บตัวอย่าง วิเคราะห์ ขนถ่ายน้ำ�มัน VRU ก่อนเข้า หลังเข้า
(%)
จำ�หน่ายรายปี (ล้านลิตร/ปี) (เที่ยว/วัน) ระบบ VRU ระบบ VRU
คลังน้ำ�มันแห่งที่ 1 จ.สงขลา 226 Method 18 Method 25A 95 Carbon 100.66 7.84 92.2
Adsorption 154 4.85 96.8
144.30 2.48 98.3
คลังน้ำ�มันแห่งที่ 2 จ.สระบุรี 1,102 Method 18 Method 25A 398 Carbon Adsorption 165.14 0.12 99.9
คลังน้ำ�มันแห่งที่ 3 จ.ปทุมธานี 620 Method 18 Method 25A 200 Carbon Adsorption 185.75 0.75 99.6
คลังน้ำ�มันแห่งที่ 4 จ.ปทุมธานี 190 Method 18 Method 25A 80 - 100 Carbon Adsorption 61.91 0.72 98.8
คลังน้ำ�มันแห่งที่ 5 จ.สุราษฎร์ธานี 301 Method 18 Method 25A 140 Carbon Adsorption 222.1 3.2 98.6
คลังน้ำ�มันแห่งที่ 6 จ.สุราษฎร์ธานี 362 Method 18 Method 25A 160 Membrane 118.7 1.63 98.6
คลังน้ำ�มันแห่งที่ 7 จ.สุราษฎร์ธานี 142 Method 18 Method 25A 105 Carbon Adsorption 223.3 1.39 99.4
คลังน้ำ�มันแห่งที่ 8 จ.กรุงเทพมหานคร 74 Method 18 Method 25A 23 Carbon Adsorption 236.79 0.07 99.9
คลังน้ำ�มันแห่งที่ 9 จ.กรุงเทพมหานคร 98.8 Method 18 Method 25A 200 Carbon Adsorption 132.48 0.91 99.3
คลังน้ำ�มันแห่งที่ 10 จ.กรุงเทพมหานคร 1,055 Method 18 Method 25A 280 Carbon Adsorption 237.37 1.71 99.3
คลังน้ำ�มันแห่งที่ 11 จ.กรุงเทพมหานคร 260 Method 18 Method 25A 80 Carbon Adsorption 191.39 2.49 98.7
231.23 2.60 98.9
มาตรฐานค่าเฉลี่ยไอน้ำ�มันเบนซินที่ปล่อยทิ้งจากคลังน้ำ�มันเชื้อเพลิงออกสู่สิ่งแวดล้อมในเวลา 1 ชั่วโมง ต้องไม่เกิน 17 mg/l in emitted vapour (บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2553)

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
33
การจัดการปัญหามลพิษ
ทางอากาศและเสียง

34 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
แผนปฏิบัติการ
ขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ
“การแก้ไขปัญหา
มลพิษด้าน
ฝุ่นละออง”

จากสถานการณ์ฝนุ่ ละออง PM2.5 ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเมือ่ ต้นปี 2562


คณะรัฐมนตรี มีมติให้การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละอองเป็นวาระแห่งชาติ
เมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 เพือ่ ให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องสามารถขับเคลือ่ นวาระแห่งชาติ
การแก้ไขปัญหาให้เกิดผลเป็นรูปธรรมโดยเร็ว กรมควบคุมมลพิษ ได้จัดการประชุม
หารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำ�แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ
“การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุน่ ละออง” โดยในการประชุมคณะกรรมการควบคุมมลพิษ
เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2562 และคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 15
สิงหาคม 2562 มีมติให้ความเห็นชอบแผนปฏิบตั กิ ารฯ และเมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2562
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแผนปฏิบัติการฯ และมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จัดทำ�รายละเอียดกิจกรรม/โครงการ และดำ�เนินการตามแผนปฏิบตั กิ ารขับเคลือ่ นฯ ต่อไป
เพื่อให้การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดผล
เป็นรูปธรรม คณะกรรมการควบคุมมลพิษ มีคำ�สั่งให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการกำ�กับ
ดูแลการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษ
ด้านฝุ่นละออง” ลงวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 เพื่อจัดทำ�รายละเอียดมาตรการและ
แนวทางการดำ�เนินงานเพื่อขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ไปสู่การปฏิบัติ ติดตามและ
ประเมินผลการดำ�เนินมาตรการ และรายงานผลการดำ�เนินงานให้คณะกรรมการควบคุม
มลพิษ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติและคณะรัฐมนตรี เพื่อทราบเป็นระยะ
พร้อมกันนี้ กรมควบคุมมลพิษ ได้จัดตั้งศูนย์ปะรสานงานและแจ้งเตือนสถานการณ์
ฝุ่นละอองและหมอกควัน กรมควบคุมมลพิษ (ศปฝ.คพ.) ตั้งอยู่ชั้นที่ 3 ห้อง 302
กรมควบคุมมลพิษ โดยเรือ่ งปฏิบตั กิ ารตัง้ แต่วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2562 เพือ่ เฝ้าระวัง
วิเคราะห์ ประเมินสถานการณ์ฝนุ่ ละออง ประสานการดำ�เนินงานและบูรณาการข้อมูล
ร่วมกับทุกหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ เป็นช่องทางให้ประชาชนสามารถติดต่อสอบถาม
และรับแจ้งเหตุได้ทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ ในช่วงวิกฤตสถานการณ์ฝุ่นละออง

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 35
สรุปสาระสำ�คัญแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง”
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” มีเป้าหมาย/ตัวชี้วัด กำ�หนดให้
จำ�นวนวันที่ปริมาณฝุ่นละอองอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น จำ�นวนจุดความร้อนลดลง และจำ�นวนผู้ป่วยด้วยโรคระบบ
ทางเดินหายใจ และผูป้ ว่ ยโรคอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับมลพิษทางอากาศมีจ�ำ นวนลดลง โดยการดำ�เนินการประกอบด้วย 3 มาตรการ
ได้แก่

มาตรการที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ เพื่อควบคุมมลพิษในช่วงวิกฤตในระยะเร่งด่วน


เพื่อควบคุมพื้นที่ที่มีปัญหาฝุ่นละออง โดยใช้กลไกการจัดการแบบเบ็ดเสร็จ (Single command) ซึ่งมีกลไกการสั่งการ
ตามปริมาณฝุ่นละอองดังนี้
• ระดับที่ 1 PM2.5 ไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม. หน่วยงานดำ�เนินภารกิจตามสภาวะปกติ
• ระดับที่ 2 PM2.5 ระหว่าง 51 - 75 มคก./ลบ.ม. หน่วยงานดำ�เนินมาตรการให้เข้มงวดขึ้น
• ระดับที่ 3 PM2.5 ระหว่าง 76 - 100 มคก./ลบ.ม. ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้บญั ชาการเหตุการณ์ โดยใช้อ�ำ นาจ
ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องควบคุมพื้นที่ ควบคุมแหล่งกำ�เนิดและกิจกรรมที่ทำ�ให้เกิดมลพิษ
• ระดับที่ 4 PM2.5 มากกว่า 100 มคก./ลบ.ม. เสนอให้จดั การประชุมคณะกรรมการทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ เสนอมาตรการ
ต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการ

มาตรการที่ 2 การป้องกันและลดการเกิดมลพิษที่ต้นทาง (แหล่งกำ�เนิด) โดยมีแนวทางการดำ�เนินงานทั้งในระยะสั้น


และระยะยาว

แนวทาง ระยะสั้น ระยะยาว


การดำ�เนินงาน 62 - 64 65 - 67
ยานพาหนะ • บังคับใช้มาตรฐานการระบายมลพิษทางอากาศ • บังคับใช้มาตรฐานการระบายมลพิษทาง
จากรถยนต์ใหม่ Euro5 ภายในปี 2564 อากาศจากรถยนต์ใหม่ Euro6 ภายในปี 2565
• พัฒนาโครงข่ายระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะ • บังคับใช้น้ำ�มันเชื้อเพลิงที่มีกำ�มะถันไม่เกิน
• ปรับลดอายุรถที่จะเข้ารับการตรวจสภาพรถ 10 ppm ตั้งแต่ 1 ม.ค. 67
ประจำ�ปี • พัฒนาโครงข่ายระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะ
• พัฒนาระบบการตรวจสภาพรถยนต์และ • ใช้มาตรการจูงใจ/ส่งเสริมการผลิตและ
พัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลการตรวจสภาพ ใช้รถยนต์ไฟฟ้า
• ใช้มาตรการจูงใจ/ส่งเสริมการผลิตและ • เปลี่ยนรถโดยสารประจำ�ทางของ ขสมก. ทั้งหมด
ใช้รถยนต์ไฟฟ้า ให้เป็นรถโดยสารไฟฟ้า/NGV/ไฮบริด
• ปรับปรุง/แก้ไขการเก็บภาษีประจำ�ปีสำ�หรับรถใช้งาน
การเผาในที่โล่ง/ • ไม่ให้มีอ้อยไฟไหม้ 100% ภายในปี 2565
ภาคการเกษตร • ให้มีการนำ�เศษวัสดุการเกษตรมาใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพทดแทนการเผา
• ส่งเสริมให้เปลี่ยนการปลูกพืชหรือไม้ยืนต้นทดแทนพืชเชิงเดี่ยว/พืชที่มีการเผา
• ห้ามไม่ให้มีการเผาในที่โล่งและเผาขยะโดยเด็ดขาด
• ป้องกันไฟป่าและจัดการไฟป่าอย่างมีประสิทธิภาพ

36 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
แนวทาง ระยะสั้น ระยะยาว
การดำ�เนินงาน 62 - 64 65 - 67
อุตสาหกรรม กำ�หนดมาตรฐานอากาศเสียในรูป Loading ปรับปรุงมาตรฐานอากาศเสียให้เทียบเท่า
ตามศักยภาพการรองรับมลพิษของพื้นที่ มาตรฐานสากล
ให้มีการติดตั้งระบบ CEMs โรงงานจำ�พวก 3
การก่อสร้าง • ควบคุมฝุ่นจากการก่อสร้าง/บังคับใช้กฎหมาย
และผังเมือง • เพิ่มพื้นที่สีเขียว/ส่งเสริม CSR
• ผลักดันการก่อสร้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ภาคครัวเรือน • ใช้พลังงานสะอาดในครัวเรือน
• พัฒนา/ส่งเสริมการใช้เตาไร้ควัน/ถ่านปลอดมลพิษ

มาตรการที่ 3 การเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการมลพิษ เป็นการพัฒนาระบบ เครือ่ งมือ กลไกการบริหารจัดการ


การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ โดยมีแนวทางการดำ�เนินงานทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
แนวทาง ระยะสั้น ระยะยาว
การดำ�เนินงาน 62 - 64 65 - 67
พัฒนาเครือข่าย • จัดทำ�คู่มือตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ • ขยายเครือข่าย/พื้นที่การติดตามตรวจสอบ
การติดตาม • เพิ่มประสิทธิภาพ/เทคโนโลยีการตรวจวัด ครอบคลุม 77 จังหวัด และให้ท้องถิ่นติดตาม
ตรวจสอบ (Light Scattering) ตรวจสอบในพื้นที่ตนเอง
คุณภาพอากาศ • ขยายเครือข่าย/พื้นที่การติดตามตรวจสอบ
ในพื้นที่เสี่ยงและให้ท้องถิ่นติดตามตรวจสอบ
ในพื้นที่ตนเอง
ทบทวน/ • ปรับค่ามาตรฐาน PM2.5 เฉลี่ยรายปี • พิจารณาปรับค่ามาตรฐาน PM2.5
ปรับปรุงกฎหมาย/ ตาม WHO IT-3 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ตาม WHO IT-3
มาตรฐาน/ • ปรับปรุง พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
แนวทางปฏิบัติ สิ่งแวดล้อมฯ/ศึกษาความเหมาะสมเรื่อง
กฎหมายอากาศสะอาด
• พิจารณาการจัดระเบียบการเผาภาคการเกษตร
ส่งเสริมการวิจัย/ • ทดสอบความเป็นไปได้ในการติดตั้งอุปกรณ์ • เผยแพร่/ถ่ายทอดองค์ความรู้
พัฒนาองค์ความรู้ กรองฝุ่น (DPF) ในรถใช้งาน
ประชาสัมพันธ์ • เผยแพร่/ถ่ายทอดองค์ความรู้
การแก้ไขปัญหา • การแก้ไขปัญหามลพิษข้ามแดนภายใต้ • การแก้ไขปัญหามลพิษข้ามแดนภายใต้
มลพิษข้ามแดน ASEAN Haze Free Roadmap ASEAN Haze Agreement
จัดทำ�บัญชี • จัดทำ�บัญชีการระบายมลพิษทางอากาศ
การระบายมลพิษ จากแหล่งกำ�เนิดพื้นที่วิกฤตเป็นระยะ
ทางอากาศ
พัฒนาระบบ • พัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบเฝ้าระวังสุขภาพ • พัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบเฝ้าระวังสุขภาพ
ฐานข้อมูล/ ที่เป็นหนึ่งเดียว ที่เป็นหนึ่งเดียว
ระบบคาดการณ์ • พัฒนาระบบคาดการณ์สถานการณ์มลพิษ
ทางอากาศ

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 37
การแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ
ตำ�บลหน้าพระลาน อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดสระบุรี ปี 2562
พืน้ ทีต่ �ำ บลหน้าพระลาน อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี
มีชื่อเสียงในเรื่องอุตสาหกรรมการผลิตหินก่อสร้าง ปูนซีเมนต์
ปูนขาว หินอ่อน และการทำ�เหมืองแร่ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมที่
ต่อเนือ่ งจากอุตสาหกรรมดังกล่าวอีกหลายประเภทรวมทัง้ การบรรทุก
ขนส่งสินค้าในพืน้ ทีจ่ �ำ นวนมากซึง่ ก่อให้เกิดการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
ทีส่ �ำ คัญของพืน้ ที่ ในขณะเดียวกันก็อาจจะเป็นประเด็นทีถ่ กู จับตามอง
ว่าสร้างปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมให้กับพื้นที่มาอย่างต่อเนื่อง
จากผลการตรวจวัดฝุ่นละอองในพื้นที่ตำ�บลหน้าพระลานมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน พบว่ายังคงมีค่าสูงเกินมาตรฐาน
เป็นระยะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหน้าแล้งของทุกปีมักมีค่าเกินมาตรฐานติดต่อกันหลายวัน โดยในปี 2562 สรุปผลการ
ตรวจวัดฝุ่นละอองทั้งในรูปของ PM10 และ PM2.5 โดย PM10 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าระหว่าง 33 - 318 มคก./ลบ.ม.
ค่าเฉลี่ยรายปี 123 มคก./ลบ.ม. สำ�หรับ PM2.5 มีค่าระหว่าง 9 - 103 มคก./ลบ.ม. ค่าเฉลี่ยรายปี 35 มคก./ลบ.ม.
ซึ่งตรวจพบค่าสูงเกินมาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 43 และ 20 ของจำ�นวนวันที่ตรวจวัด
การดำ�เนินงานเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองสูงเกินมาตรฐานในพื้นที่หน้าพระลานนั้นเน้นการบูรณาการ
ร่วมกันทุกภาคส่วน ประกอบด้วยกรมควบคุมมลพิษ จังหวัดสระบุรี องค์การปกครองท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
รวมทั้งผู้ประกอบการในพื้นที่ ซึ่งกิจกรรมที่ร่วมกันดำ�เนินงาน ได้แก่
1. การประชุมหารือของผู้บริหารกรมควบคุมมลพิษกับผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรี เพื่อกำ�หนดนโยบาย แนวทาง
และมาตรการที่เหมาะสมในการจัดการปัญหาฝุ่นละอองในพื้นที่หน้าพระลาน รวมทั้งการลงพื้นที่ตรวจสอบสภาพปัญหา
รวมทั้งการให้คำ�แนะนำ�ในการจัดการและแก้ไขปัญหา
2. การติดตามตรวจสอบฝุ่นละอองทั้งในบรรยากาศทั่วไปและการระบายฝุ่นละอองจากแหล่งกำ�เนิด เช่น โรงโม่บด
หรือย่อยหิน โรงปูนซีเมนต์ โรงงานปูนขาว
3. การเฝ้าระวังและแจ้งเตือนการระบายฝุน่ ในพืน้ ที่ โดยกรมควบคุมมลพิษจัดส่ง Mr. PM10 ลาดตระเวณเพือ่ สุม่ ตรวจ
แบบ Spot check และรายงานผลให้หน่วยงานกำ�กับดูแลทราบเพือ่ สัง่ การควบคุมและแก้ไขปัญหาอย่างทันท่วงทีเพือ่ ลดปัญหา
การระบายฝุ่นในพื้นที่
4. การตรวจสอบ/ตรวจจับการระบายฝุน่ ละอองในรูปของเขม่าควันดำ�จากรถใช้งานในพืน้ ทีห่ น้าพระลาน การตรวจสอบ
เสียงดังและแรงสัน่ สะเทือนจากการทำ�เหมืองและโรงโม่ฯ การตรวจจับยานพาหนะทีบ่ รรทุกขนส่งและไม่มกี ารปิดคลุมกระบะ
บรรทุกมิดชิด รวมทั้งการบรรทุกขนส่งหินและสินค้าเกินน้ำ�หนักตามกฎหมาย เป็นต้น
5. การล้างกวาดดูดฝุน่ และทำ�ความสะอาดถนนสาธารณะ รวมทัง้ เส้นทางขนส่งลำ�เลียงหินในพืน้ ทีส่ ถานประกอบการ
เพื่อลดฝุ่นละอองฟุ้งกระจาย การปรับปรุงถนนในพื้นที่หน้าพระลานที่ชำ�รุดและพื้นผิวถนนเสียหาย รวมทั้งการทำ�ถนน
ทางเชื่อมระหว่างสถานประกอบการและถนนสาธารณะให้มีสภาพดี
นอกจากนี้ยังมีการพยากรณ์สภาพอากาศและแนวโน้มการเกิดฝุ่นละอองในพื้นที่ล่วงหน้า 3 วัน เพื่อสื่อสารให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ใช้ข้อมูลประกอบการกำ�หนดมาตรการควบคุมป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองที่เหมาะสม
ต่อไป

38 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
การแก้ไขปัญหาสารอินทรีย์ระเหยง่าย
ในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษมาบตาพุด และบริเวณใกล้เคียง
จังหวัดระยอง ในปี 2562
สถานการณ์สารอินทรีย์ระเหยง่ายในพื้นที่มาบตาพุดและบริเวณใกล้เคียง จังหวัดระยอง
กรมควบคุมมลพิษได้ดำ�เนินการติดตามตรวจสอบสถานการณ์สารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยทั่วไปในพื้นที่
มาบตาพุดและบริเวณใกล้เคียง จังหวัดระยอง อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2550 จำ�นวน 11 สถานี สถานการณ์สารอินทรีย์
ระเหยง่ายในปี 2562 (ข้อมูล ณ เดือนกันยายน 2562) พบสารอินทรีย์ระเหยง่ายที่ยังเป็นปัญหา ได้แก่ สารเบนซีน
และสาร 1,3-บิวทาไดอีน โดยพบมีค่าสูงเกินค่าเฝ้าระวัง 24 ชั่วโมง ดังนี้
• สารเบนซีน พบเกินค่าเฝ้าระวังฯ 2 ครั้ง ในวันที่ 2 สิงหาคม 2562 ที่สถานีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำ�บลมาบตาพุด มีค่าเท่ากับ 7.7 มคก./ลบ.ม. และวันที่ 2 กันยายน 2562 ที่ค่ายมหาสุรสิงหนาท ใกล้เคียงเขตประกอบการ
อุตสาหกรรมไออาร์พีซี มีค่าเท่ากับ 10.0 มคก./ลบ.ม. (ค่าเฝ้าระวังฯ กำ�หนดไว้ไม่เกิน 7.6 มคก./ลบ.ม.)
• สาร 1,3-บิวทาไดอีน พบเกินค่าเฝ้าระวังฯ 1 ครั้ง ที่สถานีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลมาบตาพุด เมื่อวันที่
19 ตุลาคม 2561 มีค่าเท่ากับ 7.3 มคก./ลบ.ม. และวันที่ 2 กันยายน 2562 ที่ค่ายมหาสุรสิงหนาท (ใกล้เคียงเขตประกอบการ
อุตสาหกรรมไออาร์พีซี) มีค่าเท่ากับ 15.0 มคก./ลบ.ม. (ค่าเฝ้าระวังฯ กำ�หนดไว้ไม่เกิน 5.3 มคก./ลบ.ม.) ผลตรวจวัด
สารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยทั่วไปในพื้นที่มาบตาพุดและบริเวณใกล้เคียง จังหวัดระยอง ตั้งแต่เดือนมกราคม
- กันยายน 2562 พบว่าส่วนใหญ่มีแนวโน้มดีขึ้นกว่าปี 2561 โดยพบการเกินค่าเฝ้าระวังสำ�หรับสารอินทรีย์ระเหยง่าย
ในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 24 ชั่วโมง มีจำ�นวนลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา

การแก้ไขปัญหาสารอินทรีย์ระเหยง่ายในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษมาบตาพุดและบริเวณใกล้เคียง จังหวัดระยอง
ในปี 2562
1. ติดตาม เฝ้าระวังสถานการณ์สารอินทรีย์ระเหยง่ายในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และได้แจ้งผลการตรวจวัดสารอินทรีย์
ระเหยง่ายที่พบค่าสูงเกินค่าเฝ้าระวัง 24 ชั่วโมง ให้จังหวัดระยอง หน่วยงานกำ�กับดูแล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ดำ�เนินการหาสาเหตุและควบคุมการระบายสารดังกล่าวจากแหล่งกำ�เนิด เพื่อเฝ้าระวัง ติดตาม
ตรวจสอบสถานการณ์อย่างใกล้ชิด โดยพบว่าเกิดจากกิจกรรมของโรงงานอุตสาหกรรมที่ไม่ใช่การผลิตปกติ (Shutdown/
Turnaround/Start up) ทัง้ นี้ สำ�นักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดได้แจ้งให้ผปู้ ระกอบการควบคุมการระบายสารอินทรีย์
ระเหยง่ายจากกิจกรรมดังกล่าวอย่างเข้มงวดตามแนวทางที่กำ�หนดไว้ใน COP
2. จัดทำ�กฎหมายในการควบคุมการระบายสารอินทรียร์ ะเหยง่ายจากแหล่งกำ�เนิดอุตสาหกรรม โดยได้ด�ำ เนินการยกร่าง
มาตรฐานจำ�นวน 3 เรื่อง ได้แก่ (1) กำ�หนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งสาร 1,3-บิวทาไดอีน ในรูปอัตราการระบายรวม
(Loading) จากโรงงานอุตสาหกรรมเคมีท่ีมีการใช้/ผลิตสารดังกล่าว (2) ปรับปรุงมาตรฐานฯ โรงกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียม
สำ�หรับควบคุมการระบายสารเบนซีน ในรูปแบบการเฝ้าระวังบริเวณริมรั้ว (Fence line monitoring) และ (3) กำ�หนด
ค่าขีดความสามารถในการรองรับสารเบนซีนของพื้นที่สำ�หรับโรงงานอุตสาหกรรมเคมีประเภทที่ 42 และ 44 ในพื้นที่
นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด (รวมท่าเรือ) เหมราชตะวันออก ผาแดง เอเชีย และอาร์ไอแอล ซึ่งคณะกรรมการควบคุม
มลพิษได้มีมติเห็นชอบกับร่างมาตรฐานฯ ในข้อ (1) และ (2) แล้ว ในคราวประชุมครั้งที่ 4/2561 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม
2561 และเห็นชอบกับมาตรฐานฯ ในข้อ (3) ในคราวประชุมครั้งที่ 5/2561 เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2561

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 39
3. กรมควบคุมมลพิษได้มีการดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐาน/มาตรการ
ในข้อ 2 ดังนี้
1) จัดประชุมร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ได้แก่ สำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
และการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) เพื่อกำ�หนดแนวทางการปฏิบัติให้เป็นไปตามการกำ�หนดค่า
ขีดความสามารถในการรองรับสารเบนซีนของพื้นที่สำ�หรับโรงงานอุตสาหกรรมเคมีประเภทที่ 42 และ 44 ในพื้นที่
นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด (รวมท่าเรือ) เหมราชตะวันออก ผาแดง เอเชีย และอาร์ไอแอล โดยที่ประชุมมอบหมายให้
กนอ. จัดทำ�แผนการบริหารจัดสรรการระบายสารเบนซีน และกำ�หนดแนวทางการปฏิบัติให้เป็นไปตามการกำ�หนด
ค่าขีดความสามารถในการรองรับสารเบนซีนของพื้นที่ฯ ต่อไป
2) จัดประชุมร่วมกับผูป้ ระกอบการกลุม่ อุตสาหกรรมโรงกลัน่ น้�ำ มันปิโตรเลียมเพือ่ หารือแนวทางปฏิบตั ใิ ห้เป็นไป
ตามมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียม ในรูปแบบการเฝ้าระวังบริเวณริมรั้ว (Fence
line monitoring) ที่ประชุมเห็นชอบในแนวทางปฏิบัติให้เป็นไปตามมาตรฐานฯ โดยให้สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย
ประสานโรงกลั่นน้ำ�มัน เพื่อเป็นโรงงานนำ�ร่องให้กรมควบคุมมลพิษดำ�เนินการเฝ้าระวังตามมาตรฐานฯ จำ�นวน 2 แห่ง
ได้แก่ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) สาขา 6 โรงกลั่นน้ำ�มัน จังหวัดระยอง และ บริษัท บางจาก
คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) กรุงเทพมหานคร ในระยะเวลา 1 ปี เพื่อศึกษาข้อมูลให้มีความแม่นยำ�ในการตรวจวัด
ตรวจวิเคราะห์ รวมทั้งการปฏิบัติให้เป็นไปตามร่างประกาศฯ และให้เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
3) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำ�เนินการตามมาตรฐานฯ โรงกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียม
สำ�หรับการควบคุมสารเบนซีน ในรูปแบบการเฝ้าระวังบริเวณริมรั้ว (fence line monitoring) ให้หน่วยงานภาครัฐ
ผู้ประกอบการ และบริษัทที่ปรึกษาทางด้านสิ่งแวดล้อม เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2562 มีผู้เข้าร่วมอบรมประมาณ 60 คน
4. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยกลุม่ ผูป้ ระกอบการทีเ่ กีย่ วข้องกับสาร 1,3-บิวทาไดอีน ได้ตงั้ คณะกรรมการ
บริหารโครงการร่วมมือดำ�เนินโครงการนำ�ร่องเพื่อจัดการการระบายไอสาร 1,3-บิวทาไดอีน โดยใช้มาตรการ COP โดยมี
หน่วยงานเป็นที่ปรึกษา ได้แก่ กรมควบคุมมลพิษ สำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กรมโรงงานอุตสาหกรรม การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย คณะกรรมการฯ
ได้นำ�แนวทางตามร่างประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการควบคุมการระบายไอสารอินทรีย์ระเหยจากการ
ซ่อมบำ�รุง มากำ�หนดเป็นแนวทางปฏิบตั ิ (COP) ของโรงงานในพืน้ ทีข่ ณะทีม่ กี จิ กรรมทีไ่ ม่ใช่การผลิตปกติ ทัง้ นี้ ได้ก�ำ หนด
ให้มีการประชุมเพื่อติดตามผลการดำ�เนินงานรับฟังผลการดำ�เนินงานตาม COP ทุก 2 เดือน
5. ขับเคลื่อนกลไกการแก้ไขปัญหาผ่านคณะกรรมการชุดต่างๆ ได้แก่ คณะกรรมการกำ�กับดูแลและติดตาม
ผลการดำ�เนินงานพืน้ ทีเ่ ขตควบคุมมลพิษจังหวัดระยอง เพือ่ ติดตามผลการดำ�เนินงานในการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมในพืน้ ที่
ทบทวนแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษฯ และพิจารณาข้อเสนอแนวทางการดำ�เนินงาน/มาตรการเพื่อยกเลิก
เขตควบคุมมลพิษ และคณะกรรมการติดตามตรวจสอบและแก้ไขปัญหาสารอินทรียร์ ะเหยง่าย (VOCs) ในพืน้ ทีม่ าบตาพุด
เขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี และบริเวณใกล้เคียง จังหวัดระยอง ครั้งที่ 1/2562 ที่ประชุมมีมติกำ�หนดให้มี
การประชุมเพื่อติดตามตรวจสอบและแก้ไขปัญหาสารอินทรีย์ระเหยง่ายอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี โดยให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้ประกอบการที่มีการตั้งคณะทำ�งานด้านเทคนิคเพื่อแก้ไขปัญหาสารอินทรีย์ระเหยง่ายในพื้นที่
รายงานความก้าวหน้าต่อคณะกรรมการฯ ชุดนี้เพื่อทบทวนมาตรการแก้ไขปัญหาสารอินทรีย์ระเหยง่ายเป็นระยะ
และอาจมีการเข้าตรวจสอบการระบายสารอินทรีย์ระเหยง่ายจากแหล่งกำ�เนิดมลพิษ โดยเน้นกิจกรรมที่สำ�คัญ ได้แก่
1) กิจกรรมการขนถ่ายบริเวณพื้นที่ท่าเรืออุตสาหกรรม 2) กิจกรรมการซ่อมบำ�รุงประจำ�ปี (Shutdown/ Turnaround)
3) ถังกักเก็บสารเคมี/ปิโตรเลียม และ 4) โรงกลั่นน้ำ�มัน/โรงแยกก๊าซธรรมชาติ

40 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
การป้องกันและแก้ไข
ปัญหาหมอกควัน ปี 2562

ปัญหาหมอกควันจากการเผาในที่โล่ง : ไฟป่า ในประเทศไทยเกิดขึ้นเป็นประจำ�ทุกปี ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย


ของประชาชน เศรษฐกิจ และคุณภาพสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมมลพิษ ในฐานะหน่วยงานประสาน ได้ดำ�เนินการติดตาม
สถานการณ์ปัญหาอย่างใกล้ชิด และประสานการดำ�เนินการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โดยสรุปผลการดำ�เนินงาน ปี 2562 ได้ดังนี้

1. หมอกควันภาคเหนือ
ปัญหาหมอกควันภาคเหนือ มีสาเหตุมาจากการลักลอบจุดไฟเผาในช่วงหน้าแล้ง มักพบปัญหาในช่วงเดือนมกราคม
ถึงเมษายนของทุกปี ซึ่งเกษตรกรจะทำ�การเผาเศษวัสดุเพื่อเตรียมพื้นที่สำ�หรับทำ�การเกษตรในช่วงฤดูฝน ส่งผลให้เกิด
การเพิ่มขึ้นของไฟป่าและหมอกควัน ทั้งในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งในช่วงดังกล่าวสภาวะอากาศแห้งและนิ่ง
ประกอบกับภูมิประเทศบางแห่งเป็นแอ่งกระทะ ทำ�ให้ฝุ่นละอองไม่แพร่กระจาย แขวนลอยและสะสมอยู่ในบรรยากาศ
จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ ในพืน้ ที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงราย เชียงใหม่ ลำ�พูน ลำ�ปาง แพร่ น่าน
พะเยา แม่ฮอ่ งสอน และตาก) จำ�นวน 15 สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ และ 2 หน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบเคลือ่ นที่
พบว่า ปี 2562 สถานการณ์หมอกควันภาคเหนือมีความรุนแรงขึน้ อย่างมากจากช่วง 2 ปีทผี่ า่ นมา สาเหตุหลักเกิดจากการ
เผาในพื้นที่จำ�นวนมาก ประกอบกับในปี 2562 ประเทศไทยมีสภาพอากาศที่แห้งแล้ง ส่งผลให้มีการลุกลามอย่างรวดเร็ว
โดยเฉพาะเมือ่ ไฟลุกลามเข้าสูพ่ นื้ ทีป่ า่ ทำ�ให้ยากต่อการเข้าไปดับไฟในพืน้ ที่ สถานการณ์หมอกควันใน 9 จังหวัดภาคเหนือ
ในช่วง 1 มกราคม - 31 พฤษภาคม 2562 พบปริมาณฝุน่ ละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) เฉลีย่ 24 ชัว่ โมง สูงสุด
394 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในวันที่ 31 มีนาคม 2562 ณ อำ�เภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย และจำ�นวนวันทีฝ่ นุ่ ละออง
เกินค่ามาตรฐาน (120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) จำ�นวน 59 วัน สำ�หรับปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน
(PM2.5) เฉลีย่ 24 ชัว่ โมง พบค่าสูงสุดเท่ากับ 353 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในวันที่ 31 มีนาคม 2562 ณ อำ�เภอแม่สาย
จังหวัดเชียงราย เช่นกัน และจำ�นวนวันที่ฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน (50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) มีจำ�นวน 109 วัน

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 41
10,217
394 9,987 10,133
381
317
237 233
61 59 5,418 4,722
42 38
34

2558 2559 2560 2561 2562 2558 2559 2560 2561 2562 2558 2559 2560 2561 2562
»ÃÔÁÒ³ PM10 ÊÙ§ÊØ´ ¨Ó¹Ç¹Çѹ·Õè PM10 à¡Ô¹Áҵðҹ ¨Ó¹Ç¹¨Ø´¤ÇÒÁÌ͹ÊÐÊÁ

มาตรการดำ�เนินการในปี 2562 ดำ�เนินการตามกลไกพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550


โดยกระทรวงมหาดไทยเป็นเจ้าภาพหลัก มีเป้าหมายที่คนจุดไฟอันเป็นสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา ผู้ว่าราชการใช้อำ�นาจ
สั่งการแบบเบ็ดเสร็จ (single command) บูรณาการกับทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้อง และสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
ตามแนวทาง “4 พื้นที่ 5 มาตรการ” 4 พื้นที่ ได้แก่ 1) พื้นที่ป่าอนุรักษ์และป่าสงวนแห่งชาติ 2) พื้นที่เกษตรกรรม
3) พื้นที่ชุมชนและเขตเมือง และ 4) พื้นที่ริมทาง และ 5 มาตรการ ได้แก่ 1) ระบบบัญชาการเหตุการณ์ 2) สร้าง
ความตระหนัก 3) ลดปริมาณเชื้อเพลิง 4) การบังคับใช้กฎหมาย และ 5) เครือข่าย/จิตอาสา โดยดำ�เนินการผ่าน
แผนปฏิบัติการ 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเตรียมการ ขั้นรับมือ และขั้นฟื้นฟูและสร้างความยั่งยืน

2. หมอกควันภาคใต้
ปัญหาหมอกควันภาคใต้ มีสาเหตุหลักมาจากปัญหาหมอกควันข้ามแดน และการเผาป่าและพื้นที่เกษตรในพื้นที่พรุ
ซึ่งในประเทศไทยมีพรุที่สำ�คัญ ได้แก่ พรุควนเคร็ง (เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย และเขตห้ามล่าสัตว์ป่าบ่อล้อ)
จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดพัทลุง และพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส ซึ่งพบปัญหาในช่วงหน้าแล้งของอนุภูมิภาค
อาเซียนตอนล่าง (เดือนกรกฎาคมถึงกันยายนของทุกปี)
กรมควบคุมมลพิษติดตามสถานการณ์คุณภาพอากาศในพื้นที่ภาคใต้ (สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต สงขลา นราธิวาส ยะลา
สตูล ปัตตานี นครศรีธรรมราช) โดยมีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศจำ�นวน 6 สถานี และ 2 หน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศ
แบบเคลื่อนที่ โดยในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาภาคใต้ไม่ได้รับผลกระทบจากปัญหาหมอกควัน ซึ่งสถานการณ์ล่าสุด ในปี 2561
ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน - 30 กันยายน 2561 พบปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง
สูงสุดเท่ากับ 121 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในวันที่ 16 สิงหาคม 2562 ณ อำ�เภอเบตง จังหวัดยะลา และจำ�นวนวัน
ที่ฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน (120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) มีจำ�นวน 1 วัน
การดำ�เนินการป้องกันปัญหาหมอกควันภาคใต้ มุ่งเน้นการรับมือ และสร้างความเข้าใจให้ประชาชนป้องกันผลกระทบ
ต่อสุขภาพ โดยมีสำ�นักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 เป็นผู้ประสานงานหลักในพื้นที่ และกรมควบคุมมลพิษสนับสนุนข้อมูล
ติดตาม ตรวจสอบ รายงานข้อมูล และแจ้งเตือนสถานการณ์ รวมทั้งประสานงานตามข้อตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจาก
หมอกควันข้ามแดน ดำ�เนินการผ่านแผนปฏิบัติการ 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเตรียมการ ขั้นรับมือ และขั้นฟื้นฟูและสร้าง
ความยั่งยืน

42 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
การจัดการปัญหา
มลพิษทางเสียงจากสนามบินสาธารณะ
กรมควบคุมมลพิษได้ผลักดันให้มีการกำ�หนดมาตรการการจัดการปัญหามลพิษทางเสียงจากสนามบินสาธารณะ
เพือ่ ให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องใช้เป็นกรอบการดำ�เนินงานในลักษณะงานบูรณาการร่วมกันในการจัดการปัญหามลพิษทางเสียง
ซึ่งอาจเกิดขึ้นในอนาคตจากการที่ประเทศไทยมีนโยบายการพัฒนาสนามบิน 39 แห่งทั่วประเทศ เพื่อรองรับการเดินทาง
ที่เพิ่มขึ้นภายใน 10 ปีข้างหน้า โดยมุ่งเน้นการป้องกัน ควบคุมเชิงพื้นที่ที่รวมทั้งสนับสนุนการดำ�เนินงานและข้อมูลทาง
วิชาการในการจัดการปัญหามลพิษทางเสียงจากสนามบิน โดยสรุปการดำ�เนินงานในปี 2562 ดังนี้
1. สนับสนุนงานวิจัยของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม “โครงการศึกษาพื้นที่อ่อนไหวด้านเสียงเพื่อการจัดการ
ปัญหามลพิษทางเสียงจากท่าอากาศยาน” โดยร่วมตรวจวัดระดับเสียงพื้นที่ชุมชนรอบสนามบิน ซึ่งผลการดำ�เนินงาน
โครงการจะได้แผนทีเ่ ส้นเท่าระดับเสียงสำ�หรับใช้ในการจัดการผังเมืองรวมทีเ่ หมาะสมและข้อมูลพืน้ ทีอ่ อ่ นไหว (เช่น โรงเรียน
โรงพยาบาล เป็นต้น) ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำ�ข้อมูลไปใช้บริหารจัดการปัญหามลพิษทางเสียงจากอากาศยาน
2. สนับสนุนข้อมูลทางวิชาการและให้ความคิดเห็นต่อคณะกรรมการผู้ชำ�นาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการโครงสร้างพื้นฐานทางบกและอากาศ ในการประชุมเพื่อพิจารณารายงานการวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการท่าอากาศยานที่ได้มีการจัดทำ�เพิ่มเติมและที่จัดทำ�รายงานใหม่
3. สนับสนุนข้อมูลทางวิชาการ ให้คำ�แนะนำ�ในการตรวจวัดระดับเสียง และสร้างการรับรู้แก่หน่วยงานท้องถิ่นและ
ประชาชนโดยรอบสนามบิน เรื่องการตรวจวัดระดับเสียงกรณีเรื่องร้องเรียนผลกระทบทางเสียงจากสนามบิน
4. นำ�เสนอมาตรการการจัดการปัญหามลพิษทางเสียงจากสนามบินสาธารณะต่อคณะกรรมการต่างๆ และมีมติ
ที่สำ�คัญ ได้แก่
• คณะกรรมการควบคุมมลพิษ ในการประชุมครัง้ ที่ 3/2562 เมือ่ วันที่ 26 มีนาคม 2562 ให้ปรับแก้ไขมาตรการฯ
ประกอบด้วย เพิม่ การวิเคราะห์ความเชือ่ มโยงของปัญหาและสิง่ ทีย่ งั ไม่ได้ด�ำ เนินการเพือ่ จะนำ�มาสูก่ ารเสนอมาตรการจัดการ
ที่สอดรับกับเป้าหมาย ตัวชี้วัดและกิจกรรมขั้นตอนการดำ�เนินงาน ปรับกิจกรรม/ขั้นตอนการดำ�เนินงานที่แยกให้เห็น
การดำ�เนินงานสำ�หรับสนามบินใหม่และสนามบินเก่า และเพิม่ เติมประเด็นปัญหามลพิษทางเสียงจากสนามบินทีม่ ผี ลกระทบ
ต่อสุขภาพ และให้กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ร่วมเป็นหน่วยงานรับผิดชอบเพื่อจะได้บูรณาการการทำ�งานร่วมกัน
• คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในการประชุมครั้งที่ 6/2562 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2562 เห็นชอบ
มาตรการฯ และให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบต่อไป รวมทั้งมอบหมายให้กระทรวงคมนาคม กระทรวงกลาโหม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงสาธารณสุข นำ�มาตรการการจัดการปัญหา
มลพิษทางเสียงจากสนามบินสาธารณะที่เกี่ยวข้องไปดำ�เนินการต่อไป
ทั้งนี้ มาตรการการจัดการปัญหามลพิษทางเสียงจากสนามบินสาธารณะจัดทำ�ขึ้นโดยคณะทำ�งานจัดการปัญหา
มลพิษทางอากาศและเสียงจากสนามบิน ที่กรมควบคุมมลพิษได้มีคำ�สั่งแต่งตั้งเมื่อปี 2561 โดยมาตรการฯ กำ�หนด
เป้าหมายให้สนามบินสาธารณะทุกแห่งที่ได้รับความเห็นชอบแผนพัฒนาสนามบินเพื่อรองรับการเดินทางทางอากาศ
มีการดำ�เนินงานป้องกันปัญหามลพิษทางเสียงที่จะเกิดผลกระทบกับประชาชนที่อาศัยอยู่โดยรอบสนามบินภายในปี 2566
โดยมี 4 มาตรการ ดังนี้ มาตรการที่ 1 การนำ�แผนที่เส้นเท่าระดับเสียงไปใช้ในการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยรอบ
สนามบิน มี 2 มาตรการย่อย ได้แก่ (1) ให้มีการจัดทำ�แผนที่เส้นเท่าระดับเสียงที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาสนามบิน
ในระยะยาว และ (2) การนำ�แผนที่เส้นเท่าระดับเสียงไปใช้ในการจัดทำ�ผังเมืองและการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน
โดยรอบสนามบิน ทัง้ สนามบินเก่าและสนามบินใหม่โดยสนามบินเก่าทีเ่ ป็นสนามบินระดับภาคดำ�เนินการให้แล้วเสร็จภายใน
1 ปี สนามบินระดับจังหวัดให้แล้วเสร็จภายใน 4 ปี มาตรการที่ 2 การจัดการผลกระทบด้านเสียงจากอากาศยานและ
วิธีปฏิบัติการบิน ให้มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพทั้งสนามบินเก่าและสนามบินใหม่ มาตรการที่ 3 การพัฒนาเครื่องมือ
ในการบริหารจัดการมลพิษทางเสียงและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนทั้งสนามบินเก่าและสนามบินใหม่ มี 4 มาตรการย่อย
ได้แก่ (1) การปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับเสียงอากาศยานและการลดผลกระทบทางเสียง (2) การพัฒนาระบบ
การดำ�เนินงานเพื่อตรวจสอบและบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนจากประชาชนที่รวดเร็ว และถูกต้อง (3) การพัฒนาระบบ
การตรวจสอบระดับเสียงสนามบิน และ (4) การศึกษาวิจัยเพื่อสนับสนุนการจัดการปัญหามลพิษทางเสียงจากสนามบิน
มาตรการที่ 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและเผยแพร่ข้อมูลการจัดการเสียงสนามบินทั้งสนามบินเก่าและสนามบินใหม่
เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมและเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ทุกภาคส่วน
สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 43
การปรับปรุงมาตรฐาน
และการบังคับใช้กฎหมาย
44 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
การพัฒนามาตรฐาน
ค่าความเข้มกลิ่น
ของอากาศเสีย
ที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานผลิตยาง

ช่วงปี พ.ศ. 2555 - 2560 กรมควบคุมมลพิษได้รบั เรือ่ งร้องเรียนปัญหากลิน่ เหม็น


จากการประกอบกิ จ การยางพาราจากทั่ ว ประเทศอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและมี แ นวโน้ ม
การร้องเรียนเพิ่มขึ้นทุกปี โดยนายกรัฐมนตรีในฐานะประธานกรรมการนโยบาย
ยางธรรมชาติได้มีมติในการประชุมครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2560
มอบหมายให้กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม โดยกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงมหาดไทย โดยผู้ว่าราชการจังหวัด
อุดรธานี การยางแห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หาแนวทางเพื่อแก้ไข
ปัญหากรณีโรงงานแปรรูปยางพาราขั้นต้นในจังหวัดอุดรธานีถูกสั่งให้หยุดโรงงาน
ชั่วคราว เนื่องจากปัญหามลภาวะและสิ่งแวดล้อม โดยแหล่งกำ�เนิดกลิ่นที่สำ�คัญของ
โรงงานผลิตยางธรรมชาติ คือ ปล่องรวบรวมอากาศเสีย และแหล่งกำ�เนิดกลิ่นอื่นๆ
ภายในโรงงาน เช่น บริเวณที่เก็บกองวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การขนส่ง และ
ระบบบำ�บัดน้�ำ เสีย เป็นต้น ทีผ่ า่ นมาแม้วา่ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องรวมทัง้ ผูป้ ระกอบการ
ได้มีการดำ�เนินการแก้ไขปัญหาและกำ�กับดูแลมาตลอดแต่ปัญหาก็ยังไม่หมดไป
ประกอบกับยังไม่มีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมกลิ่นจากโรงงานผลิตยาง
เป็นการเฉพาะ ดังนั้นจึงมีความจำ�เป็นต้องมีการกำ�หนดมาตรฐานค่าความเข้มกลิ่น
จากโรงงานผลิตยางเพื่อควบคุมกลิ่นจากการประกอบกิจการผลิตยางไม่ให้ส่งผล
กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนที่อยู่โดยรอบโรงงาน

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 45
กรมควบคุมมลพิษ ได้วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการพิจารณากำ�หนดแนวทางและการกำ�หนดมาตรฐาน
ค่าความเข้มกลิ่นของอากาศเสียที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานผลิตยาง ซึ่งเป็นโรงงานลำ�ดับที่ 52 ว่าด้วยกฎหมายโรงงาน1 ได้แก่
ข้อมูลโรงงานยางพาราในประเทศไทย แหล่งกำ�เนิดกลิ่น เทคโนโลยีการบำ�บัดกลิ่น ผลการตรวจวัดค่าความเข้มกลิ่น
ด้วยวิธกี ารดม และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ และได้เสนอร่างประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำ�หนดมาตรฐานค่าความเข้มกลิ่นของอากาศเสียที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานผลิตยาง เสนอต่อ
คณะอนุกรรมการกำ�หนดมาตรฐานควบคุมค่าความเข้มกลิ่นจากโรงงานยางพารา และนำ�ไปเผยแพร่ในเว็บไซต์ของ
กรมควบคุมมลพิษเพื่อรับฟังความคิดเห็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่อร่างประกาศกระทรวงฯ ดังกล่าว หลังจากนั้นได้เสนอ
ร่างมาตรฐานฯ ให้คณะกรรมการควบคุมมลพิษพิจารณาให้ความเห็นชอบในการประชุมครั้งที่ 2/2562 เมื่อวันที่
25 กุมภาพันธ์ 2562 ได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเมื่อคราวประชุมครั้งที่ 3/2562 เมื่อ
วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2562 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอนพิเศษ 259 ง เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2562
สาระสำ�คัญของประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำ�หนดมาตรฐานค่าความเข้มกลิ่น
ของอากาศเสียที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานผลิตยาง ประกอบด้วย
(1) กำ�หนดค่ามาตรฐานควบคุมค่าความเข้มกลิ่นจากโรงงานผลิตยาง ดังนี้
1) ที่บริเวณรั้วหรือขอบเขตแหล่งกำ�เนิดมลพิษ ไม่เกิน 30 หน่วย
2) ที่ปล่องระบายอากาศเสียของแหล่งกำ�เนิดมลพิษ ไม่เกิน 2,500 หน่วย
(2) วิธีการตรวจวัดค่าความเข้มกลิ่นโดยการวิเคราะห์กลิ่นด้วยการดม (Sensory test) และการขึ้นบัญชีรายชื่อ
ผู้ทดสอบกลิ่นของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการควบคุม
มลพิษกำ�หนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(3) ให้มีผลบังคับใช้ภายใน 180 วัน หลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา

1
โรงงานลำ�ดับที่ 52 ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน หมายถึง โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ อย่างใด อย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังต่อไปนี้ (1) การทำ�
ยางแผ่นในขั้นต้น จากน้ำ�ยางธรรมชาติซึ่งมิใช่การทำ�ในสวนยางหรือป่า ลำ�ดับที่ 52 (2) การหั่น ผสม รีดให้เป็นแผ่น หรือตัดแผ่นยางธรรมชาติ
ซึ่งมิใช่การทำ�ในสวนยางหรือป่า ลำ�ดับที่ 52 (3) การทำ�ยางแผ่นรมควัน การทำ�ยางเครป ยางแท่ง ยางน้ำ� หรือการทำ�ยางให้เป็นรูปแบบอื่นใด
ที่คล้ายคลึงกันจากยางธรรมชาติ และลำ�ดับที่ 52 (4) การทำ�ผลิตภัณฑ์ยางนอกจากที่ระบุไว้ในลำ�ดับที่ 51 จากยางธรรมชาติหรือยางสังเคราะห์

46 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
การกำ�หนดประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง
กำ�หนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสีย
จากโรงงานกลั่นน�้ำมันปิโตรเลียม (ฉบับที่ 2)
สืบเนื่องจากคณะกรรมการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก (กพอ.) ในการประชุมครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่
21 กรกฎาคม 2557 มีมติให้กระทรวงอุตสาหกรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำ�หนดมาตรฐานควบคุมสารอินทรีย์
ระเหยง่ายจากโรงงานอุตสาหกรรมปิโตรเคมี และโรงงานกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียมที่เข้มงวด โดยในวันที่ 26 สิงหาคม 2557
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้ลงมติ อนุมัติตามมติการประชุม กพอ. ครั้งที่ 1/2557 โดยกรมควบคุมมลพิษ
ได้เริ่มศึกษาแนวทางการควบคุมสารเบนซีนจากโรงงานกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียมในรูปแบบการเฝ้าระวังที่ริมรั้ว (Fenceline
Monitoring) ด้วยรูปแบบการเก็บตัวอย่างด้วยวิธี Passive Sampling จาก Petroleum Refinery Sector Risk and
Technology Review and New Source Performance Standards: Final Rule ซึ่งได้ระบุถึงแนวทางการควบคุม
การระบายสารเบนซีนจากโรงงานกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียมที่ริมรั้วโรงงาน โดยในประเทศสหรัฐอเมริกาได้มีการประกาศใช้
มาตรฐานดังกล่าวเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2558 เพื่อปรับปรุงมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียจากโรงงาน
กลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียมให้สามารถควบคุมการระบายสารอินทรีย์ระเหยง่ายสู่บรรยากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กรมควบคุมมลพิษได้ดำ�เนินการยกร่างมาตรฐานฯ โดยอาศัยอำ�นาจตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 55 ในการดำ�เนินการเพือ่ กำ�หนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิง้ อากาศเสีย
จากโรงงานกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียม โดยผลต่างของระดับความแข้มข้นสารเบนซีนในรูปแบบค่าเฉลี่ยรายปี ต้องมีค่าไม่เกิน
9 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และกำ�หนดการบังคับใช้ค่ามาตรฐานฯ ให้มีผลบังคับใช้ภายใน 1 ปี หลังจากประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา และเสนอร่างประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำ�หนดมาตรฐานควบคุม
การปล่อยทิง้ อากาศเสียจากโรงงานกลัน่ น้�ำ มันปิโตรเลียม (ฉบับที่ 2) ให้คณะกรรมการควบคุมมลพิษพิจารณาในการประชุม
ครั้งที่ 4/2561 เมื่อ 23 พฤษภาคม 2561 โดยที่ประชุมมีมติเห็นชอบกับการกำ�หนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง
อากาศเสียจากโรงงานกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียม ตามที่กรมควบคุมมลพิษเสนอ
ณ ปัจจุบันกรมควบคุมมลพิษอยู่ระหว่างดำ�เนินการเตรียมความพร้อมต่อการดำ�เนินการให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดใน
ร่างประกาศกระทรวงฯ โดยได้จดั อบรมแนวปฏิบตั ทิ ถี่ กู ต้องตามวิธกี าร 325A และ 325B ให้แก่ผทู้ จี่ ะถูกบังคับใช้กฎหมาย
(ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมโรงงานกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียม) บริษัทที่ปรึกษา และหน่วยงานกำ�กับดูแลที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่
17 กันยายน พ.ศ. 2562 ซึ่งตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป โรงงานกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียมทุกแห่งในประเทศ
จะมีแผนการดำ�เนินงานเริ่มดำ�เนินการตามข้อกำ�หนดในร่างประกาศกระทรวงฯ โดยพร้อมกัน

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 47
รูปที่ 1: การดำ�เนินการชี้แจงแนวปฏิบัติแก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมโรงงานกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียม

รูปที่ 2: การอบรมการเตรียมความพร้อมแก่กลุ่มผู้ประกอบการอุตสาหกรรมโรงงานกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียม

รูปที่ 3: ตัวอย่างอุปกรณ์การเก็บตัวอย่างตามวิธี 325A และ 325B

48 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
การยกเลิก
เครื่องมือวัดควันดำ�ระบบกระดาษกรอง

ควันดำ�จากรถยนต์ทใ่ี ช้เครือ่ งยนต์ดเี ซล เกิดจากการเผาไหม้ทไี่ ม่สมบูรณ์ของเครือ่ งยนต์ เป็นสาเหตุส�ำ คัญประการหนึง่


ของมลพิษฝุ่นละออง PM2.5 เพื่อให้ควบคุมมลพิษทางอากาศจากยานยนต์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ กรมควบคุมมลพิษ
จึงได้ศกึ ษาวิธกี ารตรวจวัดค่าควันดำ�จากรถยนต์ และเสนอให้มกี ารเปลีย่ นวิธกี ารตรวจวัดค่าควันดำ�จากระบบกระดาษกรอง
เป็นระบบความทึบแสง โดยระบบความทึบแสงมีข้อดีคือ สามารถตรวจวัดไอเสียจากอนุภาคสีดำ�ไปจนถึงสีฟ้าและสีเทา
ทำ�ให้ได้ค่าตรวจวัดที่ครอบคลุมสารพิษประเภทละอองน้ำ�มันและสารอินทรีย์เพิ่มขึ้น และระบบความทึบแสงสามารถ
ส่งสัญญาณดิจติ อล เพือ่ เชือ่ มโยงข้อมูลผลการตรวจสภาพรถยนต์กบั ระบบออนไลน์ของกรมการขนส่งทางบกได้โดยอัตโนมัติ
ซึ่งอยู่ระหว่างการพัฒนาระบบ เป็นหนึ่งในมาตรการยกระดับความถูกต้องน่าเชื่อถือของการตรวจสภาพรถยนต์ประจำ�ปี
เพื่อให้การกำ�กับควบคุมมลพิษทางอากาศจากรถยนต์มีประสิทธิภาพมากขึ้น
กรมควบคุมมลพิษ ได้ด�ำ เนินการรับฟังความคิดเห็นจากทัง้ ผูป้ ระกอบการสถานตรวจสภาพรถเอกชน ผูผ้ ลิต ผูจ้ �ำ หน่าย
เครื่องมือวัดควันดำ� นักวิชาการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และได้นำ�ผลการศึกษา พร้อมผลการรับฟังความคิดเห็น
เสนอคณะทำ�งานพิจารณากำ�หนดและปรับปรุงระบบการตรวจสภาพยานพาหนะประจำ�ปีดา้ นมลพิษ คณะอนุกรรมการกำ�หนด
มาตรฐานควบคุมมลพิษทางอากาศจากยานพาหนะ คณะกรรมการควบคุมมลพิษ และคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
ตามลำ�ดับ ซึ่งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในคราวการประชุมครั้งที่ 5/2562 เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2562
มีมติเห็นชอบให้ยกเลิกการใช้เครื่องมือวัดควันดำ�ระบบกระดาษกรอง และใช้เครื่องมือวัดควันดำ�ระบบวัดความทึบแสง
ทดแทนในการตรวจสภาพรถ ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำ�หนดมาตรฐานค่าควันดำ�
ของรถยนต์ ที่ใช้เครื่องยนต์แบบจุดระเบิดด้วยการอัด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2562
โดยมีสาระสำ�คัญ ดังนี้
1) ยกเลิกประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำ�หนดมาตรฐานค่าควันดำ�ของรถยนต์ที่ใช้
เครื่องยนต์แบบจุดระเบิดด้วยการอัด ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2553
2) มาตรฐานค่าควันดำ�จากรถยนต์เมือ่ ตรวจวัดด้วยเครือ่ งมือตรวจวัดควันดำ�ระบบกระดาษกรอง ให้ใช้ได้จนถึงวันที่
31 ธันวาคม 2567
3) มาตรฐานค่าควันดำ�จากรถยนต์เมื่อตรวจวัดด้วยเครื่องมือตรวจวัดควันดำ�ระบบวัดความทึบแสง
• ขณะเครื่องยนต์ไม่มีภาระ ค่าควันดำ�สูงสุดไม่เกินร้อยละ 45 ที่ระยะความยาวของทางเดินแสงมาตรฐาน
และระยะความยาวคลื่นแสงมาตรฐาน
• ขณะเครื่องยนต์มีภาระ ค่าควันดำ�สูงสุดไม่เกินร้อยละ 35 ที่ระยะความยาวของทางเดินแสงมาตรฐาน
และระยะความยาวคลื่นแสงมาตรฐาน

การตรวจวัดควันดำ�ด้วยเครื่องวัดควันดำ�ระบบวัดความทึบแสง เครื่องวัดควันดำ�ระบบวัดความทึบแสง
สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 49
การพัฒนา
และนวัตกรรม
50 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
การพัฒนา
เครือข่ายการตรวจวัด
ฝุ่นละออง PM2.5
ให้ครอบคลุมทั่วประเทศ

ภายหลังการประกาศใช้มาตรฐานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5)


ในบรรยากาศของประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา กรมควบคุมมลพิษ
ได้พัฒนาและขยายเครือข่ายการตรวจวัดฝุ่นละออง PM2.5 ให้ครอบคลุมทั่วประเทศ
มาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทุกจังหวัดมีข้อมูลคุณภาพอากาศ ที่เป็นเครื่องมือสำ�คัญ
ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพอากาศของประเทศ ทำ�ให้ภาครัฐสามารถประเมิน
สถานการณ์ คุ ณ ภาพอากาศและการแจ้ ง เตื อ นประชาชนได้ ค รอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที่
การจัดการคุณภาพอากาศของประเทศมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ประชาชนได้รับการ
แจ้งเตือนสถานการณ์คุณภาพอากาศในเขตพื้นที่ของตน และสามารถเฝ้าระวังและ
ป้องกันสุขภาพของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ในปี พ.ศ. 2562 การตรวจวัดฝุน่ ละออง PM2.5 ในระบบการติดตามและเฝ้าระวัง
คุณภาพอากาศของประเทศไทย เป็นการตรวจวัดด้วยเครือ่ งตรวจวัดฝุน่ ละออง PM2.5
แบบอัตโนมัติ “analyzer” สามารถตรวจวัดได้อย่างอัตโนมัติและต่อเนื่อง ทำ�งาน
ตลอด 24 ชั่วโมง และมีระบบการรับ-ส่งข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ประกอบด้วย
• สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศอัตโนมัติ (Air Quality Monitoring Station)
จำ�นวน 64 สถานี ครอบคลุม 34 จังหวัด (รวม กทม.) (ดังรูปที่ 6-1)
• หน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบเคลื่อนที่ (Mobile Ambient Air
Quality Monitoring Unit) จำ�นวน 9 คัน (ดังรูปที่ 6-2)
• เครื่องตรวจวัดฝุ่นละออง PM2.5 แบบภายนอกอาคาร จำ�นวน 4 เครื่อง
(ดังรูปที่ 6-3)

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 51
รูปที่ 6-2 หน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบเคลื่อนที่

รูปที่ 6-1 สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศอัตโนมัติ รูปที่ 6-3 เครื่องตรวจวัดฝุ่นละออง PM2.5 แบบภายนอกอาคาร


ปัจจุบันระบบการติดตามและเฝ้าระวังคุณภาพอากาศของประเทศไทย ภายใต้การกำ�กับดูแลของกรมควบคุมมลพิษ
มีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศอัตโนมัติ จำ�นวน 64 สถานี ครอบคลุมพื้นที่ 34 จังหวัด ในปี 2562 กรมควบคุมมลพิษ
ได้กำ�หนดแผนการติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศอัตโนมัติเพิ่มเติม เพื่อให้ครอบคลุมทุกจังหวัดในประเทศไทย
โดยให้ความสำ�คัญกับพืน้ ทีเ่ สีย่ งของการเกิดปัญหามลพิษทางอากาศเป็นอันดับแรก จึงได้พจิ ารณาลำ�ดับความสำ�คัญในการ
ติดตั้งสถานีใหม่ตามเกณฑ์ปัจจัยการเกิดมลพิษทางอากาศ สำ�หรับ 43 จังหวัด ที่ยังไม่มีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ
อัตโนมัติ ดังนี้
1) หนองคาย 12) กระบี่ 23) พังงา 34) ชัยนาท
2) อุบลราชธานี 13) อุตรดิตถ์ 24) เพชรบุรี 35) ชุมพร
3) สมุทรสงคราม 14) บุรีรัมย์ 25) มหาสารคาม 36) นครนายก
4) นครศรีธรรมราช 15) เพชรบูรณ์ 26) มุกดาหาร 37) บึงกาฬ
5) สุพรรณบุรี 16) ร้อยเอ็ด 27) ศรีสะเกษ 38) พัทลุง
6) พิษณุโลก 17) สุรินทร์ 28) สิงห์บุรี 39) ยโสธร
7) ตราด 18) อ่างทอง 29) สุโขทัย 40) หนองบัวลำ�ภู
8) นครพนม 19) กำ�แพงเพชร 30) อุทัยธานี 41) อำ�นาจเจริญ
9) สกลนคร 20) ชัยภูมิ 31) กาฬสินธุ์ 42) จันทบุรี
10) อุดรธานี 21) ประจวบคีรีขันธ์ 32) พิจิตร 43) ระนอง
11) ตรัง 22) ปัตตานี 33) ลพบุรี
ทั้งนี้ กรมควบคุมมลพิษ เสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณงบกลางประจำ�ปี พ.ศ. 2561 และงบประมาณประจำ�ปี
พ.ศ. 2563 ในการติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ จำ�นวนรวม 8 พื้นที่ ได้แก่ จังหวัดหนองคาย อุบลราชธานี
สมุทรสงคราม นครศรีธรรมราช สุพรรณบุรี พิษณุโลก ตราด และนครพนม

52 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
(ร่าง) การประเมินปริมาณการปลดปล่อยสารมลพิษทางอากาศ
จากภาคการขนส่งและการจราจรในพื้นที่จังหวัดชลบุรี
ประจำ�ปี 2560
ปัจจุบนั มลพิษทางอากาศจากไอเสียรถยนต์มคี วามสำ�คัญและทวีความรุนแรงของปัญหาด้านคุณภาพอากาศในชุมชนเมือง
มากยิง่ ขึน้ ด้วยจำ�นวนรถยนต์ทเี่ พิม่ มากขึน้ ประจำ�ทุกปี การพัฒนาเทคโนโลยีของเครือ่ งยนต์ การใช้เชือ้ เพลิงหลากหลายชนิด
ตลอดจนการพัฒนาเมืองและความเจริญเติบโตของสังคมเมืองนำ�มาซึ่งความต้องการของประชาชนในการเดินทางและ
การขนส่งสินค้าของผู้ประกอบการมากยิ่งขึ้น การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อสภาพการจราจรที่หนาแน่นบนท้องถนน
เกิดสภาพรถติดและเพิ่มระยะเวลาในการเดินทางมากยิ่งขึ้น ทำ�ให้รถยนต์กลายเป็นอีกหนึ่งแหล่งกำ�เนิดมลพิษทางอากาศ
ที่สำ�คัญและจะต้องได้รับการจัดการและแก้ไขด้วยนโยบายและมาตรการที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อทำ�ให้คุณภาพอากาศใน
สิง่ แวดล้อมโดยเฉพาะในชุมชนเมืองขนาดใหญ่มคี ณุ ภาพอากาศทีด่ ี ไม่สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและสิง่ แวดล้อม
ภายใต้แผนงานการพัฒนาระบบการจัดทำ�ทำ�เนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษของประเทศไทย (Pollutant
Release and Transfer Register : PRTR) ระหว่างปีงบประมาณ 2559 - 2564 จังหวัดชลบุรีเป็นอีกหนึ่งพื้นที่เป้าหมาย
ที่จะต้องทำ�การประเมินชนิดและปริมาณการปลดปล่อยสารมลพิษทางอากาศจากยานพาหนะที่กำ�หนดไว้ในระบบทำ�เนียบ
การปลดปล่อยและเคลือ่ นย้ายมลพิษของประเทศไทย จำ�นวน 12 ชนิด ได้แก่ Benzene, 1,3-butadiene, Formaldehyde,
Acetaldehyde, Toluene, Styrene, Xylenes, Hexane, Pentane, Acetone, SOx และ NOx อย่างไรก็ตาม
จากผลการประเมินชนิดและปริมาณการปลดปล่อยสารมลพิษทางอากาศจากภาคการขนส่งและการจราจรในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชลบุรี
ประจำ�ปี 2560 พบสารมลพิษจำ�นวน 9 ชนิด (สารกลุม่ อินทรียร์ ะเหย (Volatile Organic Compounds : VOCs) 7 ชนิด
NOx และ SOx และปริมาณการปลดปล่อยด้วยฐานข้อมูลปริมาณการจราจรในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชลบุรปี ระจำ�ปี พ.ศ. 2559 ได้แก่
Benzene 102.08 ตัน, 1,3-butadiene 51.23 ตัน, Formaldehyde 395.18 ตัน, Acetaldehyde 140.13 ตัน, Toluene
136.46 ตัน, Xylenes 212 ตัน, Acetone 126.14 ตัน, SOx 256.29 ตันและ NOx 9183.58 ตัน (รูปที่ 6-4 และ 6-5)
โดยข้อมูลผลการประเมินการปลดปล่อยสารมลพิษจากรถยนต์ดังกล่าวจะนำ�ไปใช้ในการผลักดันมาตรการและแนวทาง
ในการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศจากแหล่งกำ�เนิดประเภทรถยนต์ในพื้นที่จังหวัดชลบุรีต่อไป
»ÃÔÁÒ³¡ÒÃÃкÒÂÊÒÃÍÔ¹·ÃՏÃÐà˨ҡ¡ÒèÃÒ¨Ãã¹áµ‹ÅÐÍÓàÀͧ͢¨Ñ§ËÇÑ´ªÅºØÃÕ ÊѴʋǹ¡ÒÃÃкÒÂÊÒÃÍÔ¹·ÃՏÃÐà˨ҡ¡ÒèÃÒ¨Ã㹨ѧËÇÑ´ªÅºØÃÕ
»ÃШӻ‚ 2560 (µÑ¹/»‚) »ÃШӻ‚ 2560
100
àÁ×ͧªÅºØÃÕ 11% 9%
90
ºŒÒ¹ºÖ§ 4%
80
˹ͧãËÞ‹
70 ºÒ§ÅÐÁا 12% Benzene
60 ¾Ò¹·Í§ 12% 1,3-butadiene
50 ¾¹ÑʹԤÁ Toluene
40 ÈÃÕÃÒªÒ Xylenes
à¡ÒÐÊժѧ Formaldehyde
30
ÊѵËÕº
20 Acetaldehyde
º‹Í·Í§
10 Acetone
à¡ÒШѹ·Ã 18%
0
ene
e

ene

nes

Ace de

de

e
zen

ton
hy

ehy

34%
Xyle
Tolu
adi

Ace
Ben

lde

tald
but

ma
1,3-

For

รูปที่ 6-4 ผลการประเมินการระบายสารมลพิษ รูปที่ 6-5 ร้อยละของการระบายสารมลพิษทางอากาศ


กลุ่มสารอินทรีย์ระเหย (Volatile Organic Compounds) กลุ่มสารอินทรีย์ระเหย (Volatile Organic Compounds)
จากการจราจรในแต่ละพื้นที่ของจังหวัดชลบุรี ประจำ�ปี 2560 จากการจราจรในพื้นที่จังหวัดชลบุรี ประจำ�ปี 2560

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 53
ความร่วมมือ
ระหว่างประเทศ

54 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
โครงการ
ความร่วมมือ
ไทย-ญี่ปุ่น
ด้านการจัดการคุณภาพอากาศ ปี 2562
(Japan-Thailand Clean Air Partnership :
JTCAP) Particulate Matter Reduction
Strategy and Measures
Development Project

โครงการความร่วมมือ ไทย-ญี่ปุ่น ด้านการจัดการคุณภาพอากาศ เป็นการ


ดำ�เนินงานตามกรอบความร่วมมือด้านสิง่ แวดล้อม ระหว่างกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ ง แวดล้ อ มของประเทศไทยและกระทรวงสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ประเทศญี่ ปุ่ น
มีวัตถุประสงค์ที่สำ�คัญเพื่อจัดทำ�นโยบาย/มาตรการด้านการแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง
ขนาดเล็กสำ�หรับประเทศไทย โดยมีกจิ กรรมทีส่ �ำ คัญ ได้แก่ การจัดทำ�บัญชีการระบาย
ฝุ่นละอองขนาดเล็ก การวิเคราะห์แหล่งกำ�เนิดฝุ่นละออง และการพัฒนานโยบาย
มาตรการเพื่อแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมสำ�หรับ
ประเทศไทย ซึ่งมีระยะเวลาดำ�เนินการตั้งแต่ มีนาคม 2561 - มีนาคม 2563

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 55
เดือนเมษายน 2562 อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ เป็นประธานเปิดงานสัมมนาโครงการความร่วมมือ ไทย-ญี่ปุ่น
ด้านการจัดการคุณภาพอากาศ ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ กรุงเทพมหานคร โดยผู้เชี่ยวชาญจากกระทรวงสิ่งแวดล้อมญี่ปุ่น และ
องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญีป่ นุ่ (JICA) จากประเทศญีป่ นุ่ ได้เชิญผูแ้ ทนจากเมืองโยโกฮามามาร่วมแลกเปลีย่ น
ประสบการณ์ในการกำ�หนดนโยบาย/มาตรการเพื่อแก้ไขปัญหามลพิษอากาศในเมืองใหญ่ท้ังจากภาคการจราจรขนส่ง
และการสร้างความตระหนักต่อภาคประชาชน หน่วยงานภาครัฐทั้งส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น ให้มีส่วนร่วมแก้ไขปัญหา
มลพิษอากาศ นอกจากนี้ Asia Center for Air Pollution Research: ACAP ให้ความอนุเคราะห์ในการวิเคราะห์
องค์ประกอบทางเคมีของ PM2.5 จำ�นวนมากกว่า 225 ตัวอย่างด้วย ประเทศญี่ปุ่นมีประสบการณ์การแก้ไขปัญหามลพิษ
อากาศในเขตเมือง และยินดีให้ความร่วมมือทางวิชาการและให้คำ�แนะนำ�ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ทั้งในการกำ�หนด
นโยบายของภาครัฐในฐานะหน่วยงานส่วนกลาง และการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น โดยปัจจัยสู่การ
ประสบความสำ�เร็จทีส่ �ำ คัญ คือ ทุกภาคส่วนจะต้องทำ�งานร่วมกันเพือ่ ให้เกิดความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาอย่างทันท่วงที
และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งจะต้องส่งเสริมให้เกิดกระบวนการความร่วมมือในระดับหน่วยงานทั้งในส่วนกลางและ
ในส่วนภูมิภาค สถาบัน องค์กรต่างๆ และภาคประชาชนด้วย
เดือนสิงหาคม 2562 และเดือนพฤศจิกายน 2562 กรมควบคุมมลพิษ จัดประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำ�เนินงาน
โครงการความร่วมมือไทย-ญีป่ นุ่ ด้านการจัดการคุณภาพอากาศ โดยมีผเู้ ชีย่ วชาญจาก ACAP JICA และเจ้าหน้าทีก่ ระทรวง
สิ่งแวดล้อมประเทศญี่ปุ่นร่วมประชุมด้วย โดยกรมควบคุมมลพิษ ได้รายงานผลการเก็บตัวอย่าง PM2.5 บนกระดาษกรอง
เพื่อนำ�ไปวิเคราะห์ลักษณะแหล่งกำ�เนิดจากองค์ประกอบ Organic Carbon, Elemental Carbon, ions และ metals
มาอย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ธนั วาคม 2561 - 2562 และร่วมกันวิเคราะห์แหล่งกำ�เนิดและองค์ประกอบฝุน่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5
โดยใช้ขอ้ มูลสนับสนุนทางวิชาการต่างๆ และประสบการณ์จากกรณีศกึ ษาของประเทศญีป่ นุ่ เพือ่ จัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบาย/
มาตรการด้านการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กสำ�หรับประเทศไทย

56 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
การดำ�เนินการตามข้อตกลงอาเซียน ว่าด้วย
มลพิษจากหมอกควันข้ามแดน (ASEAN Agreement
on Transboundary Haze Pollution (AATHP)

ประเทศในภูมภิ าคอาเซียนได้รบั ผลกระทบจากปัญหาหมอกควันทุกปี โดยแบ่งสถานการณ์หมอกควันออกเป็นสองช่วง


คือ ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถงึ เดือนเมษายน พบสถานการณ์บริเวณอาเซียนตอนบน และช่วงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน
พบสถานการณ์บริเวณอาเซียนตอนล่าง
ความร่วมมือในการป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันข้ามแดนในภูมิภาคอาเซียน ได้ถูกหยิบยกขึ้นในการประชุม
รัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมอาเซียน ครั้งที่ 4 (4th ASEAN Ministerial Meeting on Environment: AMME) เมื่อปี พ.ศ. 2535
และได้มีความพยายามอย่างต่อเนื่องในการจัดทำ�นโยบาย แผนงาน มาตรการ และแผนปฏิบัติการต่างๆ เพื่อให้
ประเทศสมาชิกได้นำ�ไปปฏิบัติ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคม จากปัญหาหมอกควัน
ในปี 2540 เกิดไฟไหม้ป่ารุนแรงในประเทศอินโดนีเซีย ก่อให้เกิดมลพิษหมอกควันปกคลุมบริเวณหลายประเทศ ได้แก่
บรูไน สิงคโปร์ และมาเลเซีย รวมทัง้ บริเวณภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
ทัศนวิสัยการมองเห็น และการคมนาคมทั้งทางบก ทางน้ำ� ทางอากาศ ประเทศสมาชิกจึงได้เห็นชอบร่วมกันในการจัดทำ�
ข้อตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน (ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution : AATHP)
ซึ่งแล้วเสร็จเมื่อปี 2545 และมีผลบังคับใช้ในปี 2546 อย่างไรก็ตาม ข้อตกลงมีผลบังคับใช้โดยสมบูรณ์เมื่อปี 2559
หลังประเทศอินโดนีเซียให้สัตยาบัน

สภาพปัญหาและอุปสรรคจากแหล่งกำ�เนิด
ความร่วมมือดังกล่าว ทำ�ให้เกิดการผลักดันการดำ�เนินมาตรการทัง้ ระดับประเทศและระดับภูมภิ าค ผลของความร่วมมือ
ภายใต้ข้อตกลงฯ ได้แก่
• การแต่งตั้งหน่วยงานรับผิดชอบตามข้อตกลงของประเทศไทย คือ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(ทส.) โดยกรมควบคุมมลพิษ เป็นหน่วยประสานงานหลัก (National Focal Point)
• การจัดตั้งกองทุนเพื่อการควบคุมมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
• การจัดตัง้ ศูนย์เชีย่ วชาญด้านอุตนุ ยิ มวิทยาแห่งอาเซียน (ASEAN Specialized Meteorological Centre: ASMC)
โดยประเทศสิงคโปร์เป็นผู้รับผิดชอบ
• การดำ�เนินมาตรการทัง้ ระดับประเทศและระดับภูมภิ าค ในการป้องกันและลดการเผา โดยใช้จ�ำ นวนจุดความร้อน
(Hotspot) และปริมาณฝุ่นละออง PM10 เป็นตัวชี้วัด
• การจัดทำ� Guideline ต่างๆ อาทิ Guidelines for the Implementation of ASEAN Peatland Management
Initiative: APMI (ส่งเสริมการจัดการป่าพรุอย่างยั่งยืน)

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 57
• การจัดทำ�แผนงาน/แผนปฏิบัติงานอาเซียน ซึ่งแผนงานและแผนปฏิบัติ ประเทศไทยเป็นผู้ริเริ่ม โดยเริ่มตั้งแต่
ปี 2558 ประเทศไทยได้ผลักดันให้มีการจัดทำ� โรดแมปอาเซียนปลอดหมอกควันข้ามแดน (The Roadmap on ASEAN
Cooperation towards Transboundary Haze Pollution Control with Means of Implementation) โดยมีวิสัยทัศน์
คือ “ภูมิภาคอาเซียนปลอดหมอกควัน ภายในปี 2563” และในปี 2560 ประเทศไทยก็ได้เป็นผู้นำ�จัดทำ�แผนปฏิบัติการ
เชียงราย 2560 (Chiang Rai 2017 Plan of Action) สำ�หรับอนุภูมิภาคแม่โขง กำ�หนดเป้าหมายลดจำ�นวน
จุดความร้อนรวมในอนุภูมิภาคแม่โขง ให้ไม่เกิน 50,000 จุด ในปี 2563
กลไกการขับเคลื่อนข้อตกลงผ่านทางการประชุมระดับรัฐมนตรี จำ�นวน 3 ครั้งต่อปี ได้แก่ การประชุมประเทศภาคี
ต่อข้อตกลงอาเซียน (Conference of the Parties : COP) การประชุมคณะกรรมการระดับรัฐมนตรีสงิ่ แวดล้อม 5 ประเทศ
(Sub-Regional Ministerial Steering Committee : MSC) ประกอบด้วย เนการา บรูไน ดารุสซาลาม สาธารณรัฐ
อินโดนีเซีย สหพันธรัฐมาเลเซีย สาธารณรัฐสิงคโปร์ และประเทศไทย และการประชุมคณะกรรมการระดับรัฐมนตรีของ
กลุ่มประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำ�โขง (Sub-Region Ministerial Steering Committee for the Mekong Sub-Region:
MSC Mekong) ประกอบด้วย ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพ
เมียนมา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และประเทศไทย โดยประเทศสมาชิกผลัดเปลีย่ นเป็นเจ้าภาพการประชุมเรียงตาม
ลำ�ดับตัวอักษรชื่อประเทศ โดยประเด็นหารือสำ�คัญประกอบด้วย
(1) การคาดการณ์สภาพอุตุนิยมวิทยาของภูมิภาค โดยศูนย์เชี่ยวชาญด้านอุตุนิยมวิทยาแห่งอาเซียน (ASEAN
Specialised Meteorological Centre: ASMC) มีการประมวลผลและนำ�เสนอข้อมูล สรุปสถานการณ์จุดความร้อนและ
หมอกควัน ข้อมูลอุตนุ ยิ มวิทยา เช่น ปริมาณน้�ำ ฝน รวมถึงการคาดการณ์สภาพอุตนุ ยิ มวิทยาล่วงหน้า 3 - 7 เดือน (ปริมาณ
น้ำ�ฝน ฤดูกาล และอิทธิพลของปรากฏการณ์เอลนิญโญ่/ลานิญญ่า)
(2) สรุปผลการดำ�เนินงานของประเทศสมาชิก (Country report) ในการดำ�เนินการป้องกันและแก้ไขปัญหา
หมอกควันในประเทศ และหมอกควันข้ามแดน
(3) ความคืบหน้าการดำ�เนินการตาม ASEAN Haze Free Roadmap และ Chiang Rai Plan of Action 2017
(4) การรายงานการใช้เงินและสถานภาพปัจจุบนั ของ ASEAN Haze Fund (โดยประเทศไทยได้บริจาคเงินเข้ากองทุน
จำ�นวน 50,000 เหรียญสหรัฐ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2552)
นอกจากนี้ ประเทศไทยยังเป็นผูน้ �ำ ในการขับเคลือ่ น การป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันข้ามแดนในอนุภมู ภิ าคแม่โขง
มาอย่างต่อเนื่อง ผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย ได้แก่
1. การสนับสนุนการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศและวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพอากาศร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน
2. การจัดอบรมเสริมสร้างองค์ความรู้ให้เจ้าหน้าที่ของประเทศเพื่อนบ้าน
3. การประสานและดำ�เนินงานผ่านกลไกคณะกรรมการชายแดน
4. การจัดกิจกรรมเสริมสร้างความร่วมมือและจิตสำ�นึกบริเวณชายแดน
อย่างไรก็ตาม ข้อตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน ไม่เกิดผลในทางปฏิบัติเท่าที่ควร จากข้อจำ�กัด
ต่างๆ เช่น การขาดมาตรการลงโทษ ในกรณีที่ประเทศต้นเหตุไม่ดำ�เนินการแก้ไขปัญหา และหลายประเทศยังไม่ให้
ความสำ�คัญในการแก้ไขปัญหา แต่เน้นการรอรับความช่วยเหลือ ดังนั้นเพื่อให้การดำ�เนินการตามข้อตกลงอาเซียนว่าด้วย
มลพิษจากหมอกควันข้ามแดน มีประสิทธิภาพมากขึ้น ควรมีการพิจารณาดำ�เนินการ ลดความขัดแย้งเชิงนโยบาย และ
ให้ความสำ�คัญกับการป้องกัน เพิม่ ความสำ�คัญของการเจรจาในระดับพืน้ ทีช่ ายแดน เพิม่ ความร่วมมือกับประเทศเพือ่ นบ้าน
ในการพัฒนาศักยภาพ มีการเจรจาเพื่อผลักดันให้มีการขยายความร่วมมือและแนวทางแก้ไขปัญหาในอนุภูมิภาคแม่โขง
และพัฒนาการเผยแพร่ข้อมูลเพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วม
ประเทศไทย ยังคงมุ่งมั่นในการให้ความร่วมมือกับประเทศภาคีภายใต้ข้อตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควัน
ข้ามแดน โดยเฉพาะการสนับสนุนทางวิชาการในอนุภูมิภาคแม่โขง และจะเป็นผู้นำ�ในการเสนอแนวทางการขับเคลื่อนที่
เข้มข้น เพื่อบรรลุเป้าหมายการเป็นอาเซียนปลอดหมอกควันอย่างยั่งยืน

58 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ความร่วมมือในการติดตามตรวจสอบ
การตกสะสมของกรดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก

ในปี พ.ศ. 2562 เครือข่ายการติดตามตรวจสอบการตกสะสมของกรดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (EANET)


มีกิจกรรมหลักที่ดำ�เนินการ ได้แก่ การติดตามตรวจสอบการตกสะสมของกรดและมลพิษทางอากาศ การรวบรวม
ประเมินผล เก็บรักษาและจัดเตรียมข้อมูลผลการติดตามตรวจสอบ การดำ�เนินกิจกรรมการควบคุมและประกันคุณภาพ
ข้อมูล (QA/QC) ส่งเสริมสนับสนุนการติดตามตรวจสอบ O3 และ PM2.5 และการจัดทำ�รายงานสถานการณ์การตกสะสม
ของกรดในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก โดยในปี 2562 เครือข่าย EANET มีการจัดประชุมเพือ่ วางกรอบนโยบายการดำ�เนินงาน
ที่สำ�คัญ ดังนี้

1. การประชุมระดับรัฐบาล ครั้งที่ 21 (IG21)


การประชุม IG21 เป็นการประชุมเพื่อกำ�หนดกรอบนโยบายการดำ�เนินงานของเครือข่าย EANET ในด้านวิทยาศาสตร์
การบริหารงานและงบประมาณ รวมถึงการรับรองผลการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาทางวิทยาศาสตร์ของ EANET
ครัง้ ที่ 19 (SAC19) ทีไ่ ด้ประชุมไปแล้วในปีเดียวกัน มีผเู้ ข้าร่วมประชุมจากประเทศสมาชิก 13 ประเทศ โดยจัดขึน้ ระหว่าง
วันที่ 12 - 13 พฤศจิกายน 2562 ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน มีผู้แทนจากกรมควบคุมมลพิษเข้าร่วมประชุม
สาระสำ�คัญของการประชุมมีดังนี้
1) เห็นชอบแผนปฏิบัติงานและงบประมาณ ปี 2563 ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมหลัก ได้แก่ การติดตามตรวจสอบ
การตกสะสมของกรดและพารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้อง การเสริมสร้างศักยภาพทางเทคนิคให้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องของ
ประเทศเครือข่าย การควบคุมและประกันคุณภาพ (QA/QC) การจัดทำ�รายงานสถานการณ์การตกสะสมของกรดในภูมภิ าค
เอเชียตะวันออก ฉบับที่ 4 การส่งเสริมการติดตามตรวจสอบ PM2.5 และโอโซน การสนับสนุนโครงการศึกษาวิจัยต่างๆ
ที่เกี่ยวข้อง และการจัดประชุมต่างๆ ของ EANET

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 59
2) ประเทศไทยขอให้จัดส่งคณะผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิค (technical
mission) มายังประเทศไทย เพื่อหารือและให้ข้อแนะนำ�ด้านห้องปฏิบัติการ
และการวิเคราะห์ตัวอย่าง
3) การเพิ่มมลพิษทางอากาศทุติยภูมิ เช่น PM2.5 และโอโซน ให้อยู่ใน
ขอบข่ายกิจกรรมทีจ่ ะดำ�เนินการเมือ่ พิจารณาจัดทำ�แผนปฏิบตั งิ านระยะ 5 ปี
ฉบับถัดไป รวมถึงเน้นย้ำ�ความสำ�คัญการติดตามตรวจสอบผลกระทบ
ทางนิเวศวิทยา การจัดทำ�รายงานสถานการณ์การตกสะสมของกรดใน
ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกฉบับที่ 4 และการไหลเวียนของไนโตรเจน (nitrogen
circulation)
4) การพิจารณาข้อเสนอแนวคิดของประเทศเครือข่าย EANET เพื่อ
ประกอบการยกร่างแผนปฏิบัติงานระยะ 5 ปี ฉบับถัดไป โดยที่ประชุม
เห็นชอบในหลักการขยายกรอบการดำ�เนินงานของการติดตามตรวจสอบ
การตกสะสมของกรดให้ครอบคลุมปัญหามลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะฝุ่นละอองและก๊าซโอโซน เนื่องจากเป็นปัญหา
ของภูมิภาคที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกประเทศในการจัดการ โดยให้เพิ่มเติมกิจกรรมต่างๆ ไว้ในแผนการดำ�เนินงาน
ระยะ 5 ปี ฉบับถัดไปของ EANET (พ.ศ. 2564 - 2568) และเห็นชอบในการจัดตั้งคณะทำ�งาน 2 คณะ เพื่อยกร่าง
แผนปฏิบตั งิ านระยะ 5 ปี ฉบับถัดไป ดังนี้ (1) คณะทำ�งานทบทวนขอบข่ายของตราสารเพือ่ เสริมสร้างเครือข่ายการติดตาม
ตรวจสอบการตกสะสมของกรดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (The Working Group on Reviewing the Scope of
Instrument) เพื่อหารือวัตถุประสงค์และการขยายขอบข่ายของตราสารฯ ความเป็นไปได้ ทางเลือก และจะจัดการกับ
มลพิษทางอากาศอย่างไร (หากมีการขยายขอบข่ายให้ครอบคลุมมลพิษทางอากาศ) (2) คณะทำ�งานยกร่างแผนปฏิบตั งิ าน
ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2564 - 2568) (The Working Group on Drafting the MTP : 2021 - 2025) เพื่อยกร่างแผน
ปฏิบัติงานฯ 2 แบบ (version) โดยอ้างอิงขอบข่ายปัจจุบัน (การตกสะสมของกรด) และขอบข่ายในอนาคต (มลพิษ
ทางอากาศ)
5) การจัดงานสัปดาห์อากาศสะอาด 2563 (Clean Air Week in 2020) โดยประเทศญี่ปุ่นจะเป็นเจ้าภาพจัดงาน
ณ ศูนย์การประชุม Toki Messe เมืองนิอิกาตะ โดยจะมีการประชุมวิชาการนานาชาติการตกสะสมของกรด ครั้งที่ 10
(The 10th International Conference on Acid Deposition, ACID RAIN 2020 : The Future Environment and
Role of Multiple Air Pollutants) ระหว่างวันที่ 19 - 23 ตุลาคม 2563 โดยจะมีการนำ�เสนอผลงานทางวิชาการ
และหารือไม่เฉพาะแต่ประเด็นการตกสะสมของกรด แต่รวมถึงมลพิษทางอากาศจาก PM2.5 โอโซน และอื่นๆ รวมถึง
ผลกระทบอีกด้วย

2. การประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาทางวิทยาศาสตร์ของ EANET ครั้งที่ 19 (SAC19)


การประชุม SAC19 เป็นการประชุมด้านเทคนิคและวิชาการของประเทศเครือข่าย EANET เพื่อพิจารณาและรับทราบ
รายงานและความก้าวหน้าของการดำ�เนินการต่างๆ ได้แก่ ผลการติดตามตรวจสอบประจำ�ปี การควบคุมและประกัน
คุณภาพข้อมูล การทบทวนแผนการติดตามตรวจสอบ การทบทวนแผนงานระยะกลาง (Mid-Term review) กิจกรรม
ที่เกี่ยวข้องกับการตกสะสมของกรดและมลพิษทางอากาศ เป็นต้น มีผู้เข้าร่วมประชุมจากประเทศสมาชิก 13 ประเทศ
โดยจัดขึน้ ระหว่างวันที่ 8 - 10 ตุลาคม 2562 ณ เมืองเสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา โดยมีผแู้ ทนจากกรมควบคุมมลพิษ
และกรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อมเข้าร่วมประชุม สาระสำ�คัญของการประชุมทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจกรรมต่างๆ ของเครือข่าย
มีดังนี้

60 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
1) คณะทำ�งานเฉพาะกิจด้านการติดตามตรวจสอบการตกสะสมแบบแห้ง (Task Force on Monitoring for Dry
Deposition) รายงานความก้าวหน้าของการศึกษาทบทวนเพือ่ ปรับปรุงคูม่ อื ทางเทคนิคการประเมิน Flux ของการตกสะสม
แบบแห้ง และจัดทำ�คู่มือวิธีการติดตามตรวจสอบความเข้มข้นของสารในอากาศ โดยมีแผนจะจัดประชุมเพื่อพิจารณา
จัดทำ�คู่มือดังกล่าว
2) คณะทำ�งานเฉพาะกิจด้านการติดตามตรวจสอบดินและพืช (Task Force on Soil and Vegetation Monitoring)
ได้แจ้งเรื่องการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการประเมินผลกระทบระดับภูมิภาคซึ่งจะจัดร่วมกับ International
Co-operative Programme on Assessment and Monitoring of effects on forests (ICP Forests) ในช่วงกลางเดือน
พฤศจิกายน 2019
3) การพิจารณาจัดตั้งคณะกรรมการจัดทำ�ร่างรายงานสรุปการประเมินสถานการณ์การตกสะสมของกรดในภูมิภาค
เอเชียตะวันออก (Drafting Committee, DC) เพื่อจัดทำ�ร่างรายงานสรุปฯ รอบ 5 ปี ฉบับที่ 4 (PRSAD4) โดยเป็นการ
สรุปข้อมูล วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ ระหว่างปี พ.ศ. 2558 - 2562 (2015 - 2019) ประกอบด้วยรายงานระดับ
ภูมิภาค รายงานระดับประเทศ และรายงานสรุป
4) การพิจารณาข้อเสนอของประเทศสมาชิกต่อแผนงานระยะกลาง (Medium Term Plan, MTP) 2021 - 2025
โดยเป็นการพิจารณาทางวิทยาศาสตร์และเทคนิค ซึง่ ฝ่ายเลขานุการฯ ได้น�ำ เสนอรายงานและวิเคราะห์ประเด็นข้อเสนอแนะ
จากสรุปการประชุมคณะทำ�งานการจัดเตรียมและพิจารณาจัดทำ�แผนงานระยะกลาง (Medium Term Plan, MTP)
2021 - 2025 เมื่อวันที่ 20 - 21 สิงหาคม 2562 ณ กรุงเทพมหานคร
5) การจัดพิมพ์ EANET Science Bulletin Vol. 5
6) รายงานความก้าวหน้าความร่วมมือกับองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) โครงการเฝ้าติดตามบรรยากาศโลก
(Global Atmosphere Watch, GAW) โดยมีการนำ�เสนอเรื่องความแตกต่างของวัตถุประสงค์คุณภาพข้อมูล (Data
Quality Objectives, DQO) ระหว่าง EANET และ WMO/GAW
7) กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ (1) งานวิจัยร่วมเพื่อศึกษาเปรียบเทียบแบบจำ�ลองทางคณิตศาสตร์
ในภูมิภาคเอเชีย (MICS-Asia) โดยมีการรายงานความก้าวหน้าและผลงานวิจัยของโครงการฯ และได้เริ่มงานวิจัย
Phase IV ในปีนี้ (2) ความก้าวหน้าในการเตรียมงานการประชุมเชิงปฏิบัติการ EANET National Awareness Week
กำ�หนดจัดในประเทศมาเลเซีย

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 61
การเตรียมการของประเทศไทยภายใต้อนุสัญญามาโพล (MARPOL Convention)
กับมาตรการบังคับใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงกำ�มะถันต�่ำสำ�หรับ
เรือเดินทะเลทั่วโลก
ด้วยองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (International Maritime Organization: IMO) ได้มกี �ำ หนดบังคับใช้มาตรการ
IMO 2020 เพือ่ จัดการและลดปริมาณการปลดปล่อยมลพิษทางอากาศและก๊าซเรือนกระจกจากเรือเดินทะเล โดยจะกำ�หนด
ให้เรือเดินทะเลทุกลำ�ทั่วภูมิภาคของโลกกว่าหลายหมื่นลำ�ที่เดินทางขนส่งสินค้าในน่านน้ำ�ต่างๆ ทั่วโลกเปลี่ยนมาใช้
น้ำ�มันเชื้อเพลิงที่มีกำ�มะถันจากปัจจุบันที่สัดส่วน 3.5% เป็น 0.50% ในวันที่ 1 มกราคม 2563 ซึ่งพื้นที่ควบคุม ECAS
ก็ยังคงกำ�หนดที่สัดส่วน 0.10% เช่นเดิม (รูปที่ 7-1) ทั้งนี้ การดำ�เนินมาตรการดังกล่าวจะส่งผลให้เรือเดินทะเลทุกลำ�
ทั่วโลกจะต้องเปลี่ยนจากการใช้น้ำ�มันเตาที่มีกำ�มะถันสูง (High Sulfur Fuel Oil: HSFO) มาเป็นน้ำ�มันเตาที่มีกำ�มะถันต่ำ�
ไม่เกิน 0.5% (Low Sulfur Fuel Oil: LSFO) และหากไม่มีความพร้อมในการจัดเตรียมน้ำ�มันเชื้อเพลิงดังกล่าว ยังมีอีก
หนึ่งทางเลือก คือ การปรับปรุงคุณภาพน้ำ�มันสำ�หรับเรือเดินทะเลเป็นน้ำ�มันดีเซล (High Speed Diesel/Marine Gas
Oil: MGO) หรือเชื้อเพลิงอื่นที่สะอาดกว่า ได้แก่ LNG รวมถึงการติดตั้งอุปกรณ์ทางเลือกชนิด Scrubbers ซึ่งจะอนุญาต
ให้ยังคงสามารถใช้น้ำ�มันเชื้อเพลิงที่มีค่ากำ�มะถันสูงต่อไปได้ โดยอุปกรณ์ scrubbers จะเป็นตัวกำ�จัดการปลดปล่อย
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulphur Dioxide) บนเรือแทน นอกจากนัน้ ยังมีประเด็นผลกระทบและปัญหาทีไ่ ด้รบั การพิจารณา
จากการบังคับใช้มาตรการ IMO 2020 ได้แก่ การหาแหล่งพลังงานเชื้อเพลิง, ต้นทุนน้ำ�มันเชื้อเพลิง, อันตรายที่เพิ่มขึ้น
ระหว่างขัน้ ตอนการเปลีย่ นน้�ำ เชือ้ เพลิง, การหล่อลืน่ น้�ำ มันเชือ้ เพลิง และความไม่เข้ากันของน้�ำ มันเชือ้ เพลิง, การเกิดตัวเร่ง
ปฏิกิริยาของสารปนเปื้อน, ปัญหาของการประกันและการคุ้มครองความเสียหาย กรณีการใช้น้ำ�มันเชื้อเพลิงใหม่ เป็นต้น
ที่จะต้องดำ�เนินงานกันต่อไป
สำ�หรับการเตรียมการเพื่อรองรับมาตรการ IMO 2020 ของประเทศไทย กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง
กรมควบคุมมลพิษ ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งคณะทำ�งานวิชาการด้านการปรับปรุงคุณภาพน้ำ�มันเชื้อเพลิงเรือเดินทะเลขึ้น
ภายใต้ค�ำ สัง่ คณะอนุกรรมการคุม้ ครองสิง่ แวดล้อมทางทะเล (Marine Environmental Protection Committee : MEPC)
ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (National Environmental Board)
ในปีงบประมาณ 2560 โดยมีผแู้ ทนจากหน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง ได้แก่ กรมเจ้าท่า กรมธุรกิจพลังงาน กรมควบคุมมลพิษ
และหน่วยงานอืน่ ๆ รวมทัง้ สมาคมเจ้าของเรือเดินทะเลไทย และกลุม่ ผูป้ ระกอบการค้าน้�ำ มันเชือ้ เพลิงในประเทศไทย เป็นต้น
โดยคณะทำ�งานฯ ได้ร่วมกันพิจารณาแนวทางและการเตรียมการของประเทศไทยเพื่อให้มีน้ำ�มันเชื้อเพลิงกำ�มะถันต่ำ�ให้กับ
เรือเดินทะเลของประเทศ รวมถึงเรือเดินทะเลของประเทศต่างๆ ที่เดินทางขนส่งสินค้าเข้าสู่น่านน้ำ�ของประเทศไทย
ให้ทันกำ�หนดวันบังคับใช้ ซึ่งผลจากการประชุมหารือและทำ�งานร่วมกันอย่างต่อเนื่องของคณะทำ�งานฯ ทำ�ให้ประเทศไทย
สามารถมีน้ำ�มันกำ�มะถันต่ำ�ได้ทันกำ�หนดวันบังคับใช้ของมาตรการ IMO 2020 ในวันที่ 1 มกราคม 2563 เป็นอีกหนึ่ง
ความสำ�เร็จของการทำ�งานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนในที่สุด

62 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
Area Sulphur limit
Global 0.5% (MARPOL, 2020)
Emission control 01% (MARPOL)
areas (ECAs)
EU Sulphur Directive 0.1% in all ports
Chaina, Hong Kong* 0.5% selected areas,
local limit
California 0.1% within 24 nm
* Notel China and Hong Kong may go down to 0.1%
earfier than 2020.

รูปที่ 7-1 ข้อกำ�หนดในการใช้น้ำ�มันเชื้อเพลิงกำ�มะถันต่ำ� ตามพื้นที่เดินเรือทะเลทั่วโลก

รูปที่ 7-2 การประชุมคณะทำ�งานวิชาการด้านการปรับปรุงคุณภาพน้ำ�มันเชื้อเพลิงเรือเดินทะเลของประเทศไทย

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 63
ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นภาคี
Climate and Clean Air Coalition (CCAC)

Climate and Clean Air Coalition (CCAC) หรือความร่วมมือเรื่องสภาพภูมิอากาศและอากาศสะอาด


เป็นความร่วมมือที่ริเริ่มโดยโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme: UNEP)
ในปี 2555 เพือ่ ลดมลสารช่วงชีวติ สัน้ ทีส่ ง่ ผลต่อสภาพภูมอิ ากาศและคุณภาพอากาศ (SLCPs) ซึง่ ได้แก่ คาร์บอนดำ� (Black
carbon: BC) มีเทน (Methane) โอโซนในชั้นโทรโปสเฟียร์ (Tropospheric ozone) และกลุ่มสารไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน
(Hydrofluoro-carbons: HFCs) โดยสาร SLCPs ดังกล่าว ถูกเรียกว่ามลสารช่วงชีวติ สัน้ เนือ่ งจากมีอายุขยั ในชัน้ บรรยากาศ
น้อยกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ส่งผลต่อสภาพภูมิอากาศอย่างมีนัยสำ�คัญ (โดยปกติก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีอายุขัย
ในชั้นบรรยากาศอยู่ระหว่าง 100 - มากกว่า 1,000 ปี ในขณะที่คาร์บอนดำ�มีอายุขัยในชั้นบรรยากาศไม่เกิน 1 สัปดาห์
และโอโซนในชั้นโทรโปสเฟียร์อยู่ได้หลายสัปดาห์)
ความร่วมมือ CCAC มีการดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
ผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์ สิ่งแวดล้อม และการเกษตรกรรม อันมีสาเหตุเนื่องมาจากสาร SLCPs โดยมุ่งส่งเสริม
ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนภายในประเทศ ภูมิภาคและระหว่างประเทศ ผ่านการดำ�เนินการต่างๆ ได้แก่
การสร้างความตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากมลสาร SLCPs การพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ การติดตามและ
พัฒนาระบบที่มีอยู่เพื่อลดมลสาร SLCPs การปรับปรุงฐานข้อมูล การส่งเสริมแนวทางปฏิบัติและเทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหา
มลสาร SLCPs เป็นต้น ซึ่งในปี 2562 มีประเทศเข้าร่วมเป็นสมาชิกจำ�นวน 64 ประเทศ

64 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
สำ�หรับการเข้าร่วมความร่วมมือ CCAC ของประเทศไทย คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการเข้าร่วมกับความร่วมมือ
Climate and Clean Air Coalition (CCAC) ของประเทศไทย ด้านที่ 3 การประเมินมลสาร Short - Lived Climate
Pollutants (SLCPs) (คาร์บอนดำ�และโอโซน) ในระดับภูมิภาค เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 โดยระบุให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องพิจารณานำ�องค์ความรู้ที่จะได้รับจากการเข้าร่วมกับความร่วมมือมาประยุกต์ใช้กับการดำ�เนินการแก้ไขปัญหา
ฝุ่นละอองขนาดเล็กในประเทศไทยต่อไป ประเทศไทยได้เข้าร่วมกับความร่วมมือ CCAC อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่
2 เมษายน 2562 โดยมีกรมควบคุมมลพิษเป็นหน่วยงานกลางประสานการดำ�เนินงาน (National Focal Point) CCAC
ของประเทศ โดยมีแผนการดำ�เนินงานในสาขาที่เชื่อมโยง (Cross-cutting) ด้านการประเมินมลสาร SLCPs (คาร์บอนดำ�
และโอโซน) ในระดับภูมิภาค กรมควบคุมมลพิษได้ตะหนักถึงมลสาร SLCPs ที่เป็นมลพิษทางอากาศส่งผลกระทบโดยตรง
ต่อสุขภาพของประชาชนซึ่งองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ระบุไว้ ได้แก่ คาร์บอนดำ� (พบในฝุ่นละอองขนาดเล็ก)
ซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพโดยเกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วย และการตาย และโอโซนมีผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ
จึงมีความมุ่งมั่นที่จะดำ�เนินงานติดตามตรวจสอบ และกำ�หนดแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวในอนาคต
ประเทศไทยได้เข้าร่วมการประชุม การประชุมสมัชชาระดับสูง (11th High Level Assembly) ของความร่วมมือ CCAC
ในวันที่ 22 กันยายน 2562 โดยมีนายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทย ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา คณะผู้แทนประเทศไทยประกอบด้วย ปลัดกระทรวง และอธิบดี
โดยการประชุมสมัชชาระดับสูง มีวัตถุประสงค์เพื่อกำ�หนดทิศทางเชิงกลยุทธ์ของความร่วมมือและแลกเปลี่ยนมุมมอง
ระหว่างประเทศสมาชิกเพือ่ เพิม่ เป้าหมายไปสูก่ ารดำ�เนินงานด้านสภาพภูมอิ ากาศ และผลกระทบต่อสุขภาพอันเนือ่ งมาจาก
มลพิษทางอากาศ ประเทศไทยหยิบยกประเด็นวาระแห่งชาติในการแก้ไขปัญหา PM2.5 ของรัฐบาล รวมถึงได้เน้นย้ำ�ถึง
ความเร่งด่วนและความจำ�เป็นของความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาด้านสภาพภูมิอากาศและมลพิษทางอากาศ นอกจากนี้
ประเทศสมาชิกประกาศวิสยั ทัศน์รว่ มกัน (2030 Vision) สูเ่ ป้าหมาย Paris Agreement และคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องประชาชน
ทั้งนี้ กรมควบคุมมลพิษอยู่ในระหว่างการจัดทำ�ข้อโครงการเพื่อขอรับเงินทุนสนับสนุนจากความร่วมมือ CCAC รวมถึง
ประสานหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำ�เนินงานประเมินและจัดการคาร์บอนดำ�ทั้งในระดับ
ประเทศและระดับภูมิภาคต่อไป

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 65
กิจกรรมสนับสนุน
เพื่อการควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง

66 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ความร่วมมือ
ด้านมาตรวิทยา
ด้านมลพิษ
และคุณภาพ
สิ่งแวดล้อม

พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านมาตรวิทยา
วันที่ 6 ธันวาคม 2560 ณ กรมควบคุมมลพิษ

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสถาบัน


มาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ได้ มี ค วามร่ ว มมื อ ด้ า นมาตรวิ ท ยากั น มาตั้ ง แต่ ปี 2557 โดยครั้ ง หลั ง สุ ดในช่ ว ง
ปีงบประมาณ 2560 - 2562 เป็นความร่วมมือระยะที่ 3 ทัง้ นี้ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
มีสว่ นสำ�คัญในการสนับสนุนภารกิจของกรมควบคุมมลพิษทีจ่ �ำ เป็นต้องใช้เครือ่ งมือวัด
ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนามาตรฐานและกระบวนการตรวจวัดมลพิษและคุณภาพ
สิ่ ง แวดล้ อ ม ที่ ส ามารถสอบย้ อ นกลั บไปสู่ ม าตรฐานแห่ ง ชาติ แ ละเป็ น ที่ ย อมรั บ
ในระดับสากล พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าทีใ่ นการตรวจวัดให้ผลการวัดมีความเทีย่ งตรง
แม่นยำ� ประโยชน์จากผลการดำ�เนินงานที่สำ�คัญ คือ ประเทศไทยโดยสถาบัน
มาตรวิทยาแห่งชาติสามารถสอบเทียบเครื่องมือวัดด้านสิ่งแวดล้อมประเภทต่างๆ
สำ�เร็จ ทำ�ให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในการสอบเทียบเครื่องมือโดยไม่ต้องส่งสอบเทียบ
ที่ต่างประเทศ กำ�หนดวิธีการ กระบวนการตรวจวัดด้านสิ่งแวดล้อมที่ให้หน่วยงาน
ต่างๆ ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติเดียวกันทั่วประเทศ และเจ้าหน้าที่ได้รับการยอมรับจาก
หน่วยงานต่างๆ และประชาชน ในการปฏิบัติงานด้านการวัดที่มีความน่าเชื่อถือ
โดยความร่ ว มมื อ ครอบคลุ ม ด้ า นการตรวจวั ด คุ ณ ภาพอากาศ น้ำ � เสี ย งและ
ความสั่นสะเทือน ซึ่งผลการดำ�เนินงานตั้งแต่ปี 2557 ถึง 2562 มีดังนี้

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 67
1. ด้านการพัฒนาการสอบเทียบ (Calibration) ปรับเทียบ (Adjustment) เครื่องมือวัด
และการสร้างความเชื่อมั่นของการวัด
- การสอบเทียบเครื่องวัดอัตราการไหลของเครื่องวัดฝุ่นละอองในบรรยากาศแบบอัตโนมัติ
- การสอบเทียบเครื่องมือวัดอัตราการไหลของเครื่องวัดฝุ่นละออง (ปริมาตรสูง)
- การสอบเทียบแผ่นกระจกกรองแสงสำ�หรับเครือ่ งวัดความทึบแสง (เครือ่ งวัดควันดำ�จากรถยนต์ เครือ่ งวัดควัน
จากปล่องโรงงานอุตสาหกรรม)
- การสอบเทียบหัววัดความสั่นสะเทือนช่วงความถี่ต่ำ�ที่ใช้ในงานด้านสิ่งแวดล้อม
- การพัฒนาสารละลายมาตรฐานสำ�หรับการปรับเทียบเครื่องวัดออกซิเจนในน้ำ�
- เสริมสร้างความเชื่อมั่นในความถูกต้องของการตรวจวัดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ*
- การศึกษาความเป็นไปได้ในการสอบเทียบ BOD-UV probe ของสถานีตรวจวัดคุณภาพน้ำ�*
- การศึกษาเพื่อพัฒนาการสอบเทียบเครื่องวัดความเร็วรอบเครื่องยนต์*

2. ด้านการพัฒนาวิธีการตรวจวัด
- การตรวจวัดปรอทในน้ำ�ทะเล

3. ด้านการพัฒนาแนวทางการตรวจวัดและการปรับเทียบเครื่องมือวัด
- การตรวจวัดระดับเสียงของรถยนต์
- การตรวจวัดระดับเสียงอากาศยานในพื้นที่ชุมชน
- การตรวจวัดควันดำ�ของรถยนต์ด้วยเครื่องมือตรวจวัดควันดำ�ระบบความทึบแสง*
- การตรวจวัดความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร*

4. ด้านการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการตรวจวัด
- การจัดเปรียบเทียบผลการวัดออกซิเจนละลายในน้ำ�ของเจ้าหน้าที่
กรมควบคุมมลพิษด้วย DO Meter*
- การจั ด เปรี ย บเที ย บผลการวั ด ระดั บ เสี ย งรถจั ก รยานยนต์ ข อง
เจ้าหน้าที่กรมควบคุมมลพิษ และกองบังคับการตำ�รวจจราจร*
- การจัดทำ�หลักสูตรฝึกอบรม การตรวจสอบตรวจจับและห้ามใช้
ยานพาหนะเสียงดังเกินมาตรฐาน และกำ�หนดแนวทางการมอบประกาศนียบัตร
ให้ผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบตรวจจับยานพาหนะเสียงดังเกินมาตรฐาน*

ผลการดำ�เนินงานความร่วมมือระหว่างกรมควบคุมมลพิษและสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
ทั้งสองฝ่าย รวมทั้งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประเทศชาติในการพัฒนาการตรวจวัดมลพิษและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ที่มีความถูกต้องเชื่อถือได้ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับเครื่องมือวัด กระบวนการวัด และผู้ที่ดำ�เนินการวัด ทั้งนี้ ทั้งสองหน่วยงานจะได้
พิจารณาคัดเลือกโครงการใหม่หรือขยายผลต่อยอดจากโครงการเดิมเพื่อดำ�เนินความร่วมมือในระยะต่อไป
หมายเหตุ : * โครงการต่อเนื่องในปีงบประมาณ 2460 - 2562

68 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
รายงานสรุปผลการตรวจวัด
ระดับเสียงร้านค้าและภายในพื้นที่จัดงานกาชาด
ประจำ�ปี 2562

สภากาชาดไทยจัดงานกาชาดประจำ�ปี 2562 “เย็นศิระเพราะพระบริบาล : เกิดสายธารการให้ทงี่ ดงาม” เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ


พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระบรมราชูปถัมภก สภากาชาดไทย
ด้วยน้ำ�พระทัยของพระองค์ท่านทำ�ให้พสกนิกรร่มเย็นเป็นสุขและร่วมสร้างสังคมแห่งการให้ที่ยั่งยืน โดยมีสภากาชาดไทย
เป็นสื่อกลางส่งต่อการให้ที่งดงาม เพราะทุกการให้คือความงดงาม ซึ่งกิจกรรมภายในงานมีความแตกต่างจากปีที่ผ่านมา
เพื่อให้สอดคล้องกับแนวคิดการจัดงาน และมีความหลากหลาย ร่วมสมัยเหมาะกับผู้เที่ยวชมงานทุกวัยมากยิ่งขึ้น ระหว่าง
วันที่ 15 - 24 พฤศจิกายน 2562 ณ บริเวณสวนลุมพินี และที่จัดขึ้นทุกครั้งจะมีลักษณะเป็นงานรื่นเริง มีการใช้เครื่องขยายเสียง
จึงต้องมีการควบคุมเสียงจากร้านค้าภายในงาน ซึ่งดำ�เนินการโดยคณะกรรมการแผนกควบคุมเสียง กรมควบคุมมลพิษ
และผู้แทนจำ�หน่ายเครื่องวัดเสียง ได้ร่วมกันจัดทำ�แนวทางการควบคุมเสียงงานกาชาด ประจำ�ปี 2562 โดยกำ�หนด
ข้อปฏิบัติในการติดตั้ง และการใช้เครื่องขยายเสียง อาทิ ร้านค้าของทางราชการ รัฐวิสาหกิจ และร้านค้าเอกชน ต้องแจ้ง
ข้อมูลการใช้เครื่องขยายเสียง หรือแสดงความประสงค์เข้าร่วมโครงการ “ร้านค้าร่วมใจ งดใช้เครื่องขยายเสียง” ต่อ
กองอำ�นวยการจัดงานกาชาด ห้ามติดตั้งเครื่องขยายเสียงนอกพื้นที่ร้าน ห้ามหันลำ�โพงไปทางโรงพยาบาลโดยเด็ดขาด
และควบคุมความดังของเครื่องขยายเสียงไม่ให้เกิน 80 เดซิเบลเอ เนื่องจากเป็นการจัดงานภายในสวนสาธารณะ รวมทั้ง
หากตรวจพบระดับเสียงดังเกินเกณฑ์ที่กำ�หนดติดต่อกันเกิน 3 ครั้ง จะมีหนังสือเชิญผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงาน
หรือร้านค้ามาพบที่กองอำ�นวยการจัดงานกาชาด เพื่อแจ้งรับทราบผลการตรวจวัดและให้ดำ�เนินการแก้ไขต่อไป ซึ่งได้
ประชาสัมพันธ์ระเบียบดังกล่าวให้ร้านค้าทราบ และถือเป็นแนวทางปฏิบัติ

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 69
ผลการตรวจวัดระดับเสียงจากบริเวณด้านหน้าร้านค้าต่างๆ ที่มี
การใช้เครื่องขยายเสียงโดยวัดห่างจากลำ�โพง 1 เมตร จำ�นวน 136 ร้าน
ระหว่างวันที่ 15 - 24 พฤศจิกายน 2562 รวม 10 วัน พบว่ามีระดับเสียง
อยู่ในช่วง 52 - 104.7 เดซิเบลเอ ค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 80.3 - 87.2
เดซิเบลเอ ซึง่ คณะกรรมการแผนกควบคุมเสียง ได้ด�ำ เนินการแจกใบเตือน
ร้านค้าที่มีระดับเสียงเกินเกณฑ์ที่กำ�หนดติดต่อกัน 3 ครั้ง รวมทั้งสิ้น
4 ร้าน และร้านค้าร่วมโครงการ “ร้านค้าร่วมใจ งดใช้เครื่องขยายเสียง”
จำ�นวน 20 ร้าน (ร้อยละ 14.7)

สรุปผลการตรวจวัดระดับเสียงค่าระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 15 นาที บริเวณภายในพื้นที่จัดงานกาชาด


ประจำ�ปี 2562 ระหว่างวันที่ 15 - 24 พฤศจิกายน 2562

ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 15 นาที


เวลาตรวจวัด
จุดตรวจวัด (เดซิเบลเอ)
(น.)
ต่ำ�สุด - สูงสุด เฉลี่ย
1. โซน A กลุ่มร้านค้าของทางราชการ
บริเวณใกล้ทางเข้าพระบรมราชานุสรณ์ รัชกาลที่ 6 18.00 - 23.00 70.9 - 73.5 72.5
ถนนพระราม 4
2. โซน B กลุ่มร้านค้าของทางราชการ
18.00 - 23.00 78.6 - 83.3 81.4
บริเวณใกล้ศูนย์เยาวชนฯ (สระว่ายน้ำ�) ถนนพระราม 4
3. โซน C กลุ่มร้านค้าของทางราชการและเอกชน
18.00 - 23.00 66.8 - 69.3 67.9
บริเวณใกล้สำ�นักงานสวนลุมพินี ถนนวิทยุ
4. โซน D กลุ่มร้านค้าเอกชน
18.00 - 23.00 71.8 - 76.7 74.0
บริเวณใกล้ถนนวิทยุ ตรงข้าม สน.ลุมพินี
5. โซน E กลุ่มร้านค้าเอกชน
18.00 - 23.00 55.6 - 81.3 72.0
บริเวณใกล้กองอำ�นวยการจัดงานฯ
6. โซน F กลุ่มร้านค้าเอกชน
18.00 - 21.00 70.0 - 74.0 72.4
บริเวณใกล้สวนสนุก
7. โซน G กลุ่มร้านค้าเอกชน
18.00 - 23.00 74.5 - 80.2 76.8
บริเวณกลางพื้นที่จัดงาน
8. โซน H กลุ่มร้านค้าของทางราชการและเอกชนใกล้เวทีกลาง 18.00 - 23.00 84.0 - 86.3 84.7
หมายเหตุ : ข้อกำ�หนดของประเทศอังกฤษ Code of Practice on Environmental Noise Control at Concerts ได้กำ�หนดค่าระดับเสียงดนตรี
โดยวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 15 นาที บริเวณจุดควบคุมเสียง (Mixer desk) จะต้องไม่เกิน 98 เดซิเบลเอ

70 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
การตรวจวัดคุณภาพอากาศ
โดยหน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบเคลื่อนที่
กรมควบคุมมลพิษ โดย กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง ดำ�เนินการ
ตรวจวัดคุณภาพอากาศโดยหน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบ
เคลื่อนที่ (Mobile unit) สำ�หรับภารกิจต่างๆ ได้แก่ การตรวจวัดคุณภาพอากาศ
เพื่อประเมินสถานการณ์คุณภาพอากาศ การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ
ในพื้นที่เฉพาะ การตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ที่ไม่มีสถานีตรวจวัดคุณภาพ
อากาศในบรรยากาศแบบอัตโนมัตเิ พือ่ เฝ้าระวังและเตือนภัยในช่วงภาวะวิกฤตของ
ปัญหามลพิษ การติดตามตรวจสอบกรณีร้องเรียนด้านปัญหามลพิษทางอากาศ
รวมทั้ง การให้ความร่วมมือการตรวจวัดตามโครงการต่างๆ โดยในปี พ.ศ. 2562
กรมควบคุมมลพิษ ดำ�เนินการตรวจวัดคุณภาพอากาศโดยใช้หน่วยตรวจวัด
คุณภาพอากาศ สรุปดังนี้
1) การติดตามตรวจสอบมลพิษเชิงพื้นที่ เพื่อการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบในการดูแลสุขภาพ และใช้เป็น
ข้อมูลประกอบการประเมินสถานการณ์ และการกำ�หนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ได้แก่
• กรณีสถานการณ์หมอกควันไฟป่าภาคเหนือ ในพื้นที่อำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ดำ�เนินการในช่วงเดือน
มกราคม - มิถุนายน
• กรณีไฟไหม้ปา่ พรุและหมอกควันข้ามแดนในพืน้ ทีภ่ าคใต้ตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดตรัง และจังหวัดนครศรีธรรมราช
ดำ�เนินการในช่วงเดือนกรกฎาคม - ตุลาคม
• กรณีสถานการณ์ฝุ่นละอองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี (มีนาคม - พฤษภาคม)
จังหวัดอุดรธานี (พฤษภาคม - มิถุนายน) และ จังหวัดชัยภูมิ (ตุลาคม - พฤศจิกายน)
• กรณีปญั หาฝุน่ ละอองจากการเผาในพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมในจังหวัดสุพรรรณบุรี ตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน เป็นต้นมา
2) การตรวจวัดคุณภาพอากาศ ภายใต้โครงการติดตามตรวจสอบอื่น ได้แก่ (1) โครงการการตกสะสมของกรดใน
ภูมิภาคเอเซียตะวันออก (EANET) ในพื้นที่เขื่อนวชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรี และ (2) โครงการติดตามตรวจสอบ
สถานการณ์สารปรอท (Mercury) ในบรรยากาศ ในจังหวัดระยอง สระบุรี กาญจนบุรี เชียงใหม่ ลำ�ปาง และน่าน
3) การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศกรณีร้องเรียน เช่น กรณีปัญหาฝุ่นละอองบริเวณพื้นที่อำ�เภอบางปะหัน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กรณีปัญหามลพิษทางอากาศจากโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร และ
จังหวัดนครปฐม เป็นต้น
4) การให้ความร่วมมือสนับสนุนการตรวจวัดคุณภาพอากาศฯ ในพื้นที่ค่ายมหาสุรสิงหนาท จังหวัดระยอง
5) การร่วมกิจกรรมของขวัญปีใหม่สำ�หรับประชาชน ประจำ�ปี 2563 โครงการสนับสนุนการลดฝุ่นละออง PM2.5
โดยดำ�เนินการช่วงปลายปี 2562 (27 ธันวาคม 2562 - 15 มกราคม 2563) เพื่อเฝ้าระวังสถานการณ์คุณภาพอากาศ
ในพื้นที่ท่องเที่ยวในช่วงเทศกาลปีใหม่และรายงานผลให้ประชาชนรับทราบข้อมูลผ่านทาง Application Air4Thai โดยมี
พื้นที่ดำ�เนินการ 3 พื้นที่ ได้แก่ (1) ภาคเหนือ ประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ (2) ภาคอีสาน ทุ่งศรีเมือง จังหวัดอุดรธานี
และ (3) ภาคกลางตอนบน บริเวณหน้าค่ายจิรประวัติ จังหวัดนครสววรค์
ข้อมูลการตรวจวัดจากหน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศ ได้นำ�ไปใช้ประโยชน์ในการประเมินสถานการณ์คุณภาพอากาศ
เพือ่ การเฝ้าระวัง แจ้งเตือนสถานการณ์ และกำ�หนดมาตรการจัดการทีเ่ หมาะสมในพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย หรือพื้นทีท่ มี่ ีความเสี่ยง
ต่อการเกิดปัญหามลพิษทางอากาศ ตารางสรุปผลการตรวจวัดโดยหน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบเคลือ่ นที่
ดังภาคผนวก 5
สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 71
เอกสารเผยแพร่

72 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ภาคผนวก 1 คุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดบริเวณพื้นที่ทั่วไปในกรุงเทพมหานครแยกตามรายสถานี ปี 2562

ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซโอโซน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ฝุ่นรวม ตะกั่ว
(SO2) (NO2) (CO) (O3) 10 ไมครอน (PM10) 2.5 ไมครอน (PM2.5) (TSP) (Pb)
สถานี ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 เดือน
ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย วัน > ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย
(ppb) (ppb) (ppm) (ppm) (ppb) (ppb) (มคก./ลบ.ม.) (มคก./ลบ.ม.) (มก./ลบ.ม.) (มคก./ลบ.ม.)
1 ปี 1 ปี 1 ปี std. 1 ปี 1 ปี 1 ปี 1 ปี 1 ปี
ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std.* ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std. ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std. ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std. ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std.
แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี 6 0 0/6263 1 84 0 0/5347 20 2.80 0.00 0/8103 2.11 0.00 0/8425 0.51 98 0 70 0 0/119 11 109 14 0/349 44 68 5.00 3/134 25 0.15 0.02 0/57 0.08 0.05 <0.005 0/23 0.02
แขวงบางนา เขตบางนา 16 0 0/8228 1 114 0 0/8286 18 2.40 0.00 0/8353 1.91 0.05 0/8737 0.39 113 0 95 1 13/365 21 129 11 1/365 40 79 4 17/364 21 0.13 0.02 0/50 0.07 0.30 0.02 0/20 0.08
แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ # # # # 83 0 0/7984 17 # # # # # # # 127 1 89 4 6/365 19 124 11 1/358 36 84 4 14/353 21 0.12 0.01 0/58 0.06 0.04 <0.005 0/20 0.01
แขวงดินแดง เขตดินแดง 11 0 0/5383 3 N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A 119 0 81 2 4/363 20 113 14 0/170 45 81 7 18/360 24 0.20 0.01 0/59 0.08 0.02 <0.005 0/22 0.01
แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา 10 0 0/6144 2 95 4 0/5257 26 2.00 0.00 0/5680 1.61 0.00 0/5927 0.54 97 0 87 0 4/206 13 127 31 3/283 58 59 5 1/136 24 0.24 0.03 0/50 0.03 0.09 <0.005 0/17 0.03
แขวงพญาไท เขตพญาไท # # # # 104 0 0/8327 18 3.20 0.00 0/8321 2.04 0.00 0/8698 0.59 144 1 102 1 32/365 26 102 12 0/365 34 70 5 12/364 21 0.13 0.003 0/56 0.07 0.04 <0.005 0/19 0.01
แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง 11 0 0/6436 2 107 2 0/8326 18 # # # # # # # 178 0 133 0 32/159 28 126 19 1/362 45 94 7 23/358 26 0.13 0.02 0/53 0.07 0.09 0.01 0/22 0.03
มาตรฐาน 300 40 170 30 30 9 - 100 70 - 120 50 50 25 0.33 0.1 1.5 -

หมายเหตุ : * : จำ�นวนครั้งที่เกินมาตรฐาน/จำ�นวนครั้งที่ตรวจวัด
# : ไม่มีการตรวจวัด

ภาคผนวก 2 คุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดบริเวณริมถนนในกรุงเทพมหานครแยกตามรายสถานี ปี 2562



ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซโอโซน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ฝุ่นรวม ตะกั่ว
(SO2) (NO2) (CO) (O3) 10 ไมครอน (PM10) 2.5 ไมครอน (PM2.5) (TSP) (Pb)
สถานี ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 เดือน
ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย วัน > ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย
(ppb) (ppb) (ppm) (ppm) (ppb) (ppb) (มคก./ลบ.ม.) (มคก./ลบ.ม.) (มก./ลบ.ม.) (มคก./ลบ.ม.)
1 ปี 1 ปี 1 ปี std. 1 ปี 1 ปี 1 ปี 1 ปี 1 ปี
ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std.* ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std. ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std. ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std. ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std.
ริมถนนกาญจนาภิเษก เขตบางขุนเทียน # # # # 169 0 0/6349 27 3.80 0.20 0/8350 3.61 0.31 0/8725 1.6 93 0 69 1 0/192 10 179 29 16/361 67 104 15 39/359 36 0.29 0.08 0/46 0.15 0.28 0.01 0/17 0.06
ริมถนนพระราม 4 เขตปทุมวัน # # # # 111 5 0/8336 29 3.99 0.00 0/8327 3.00 0.00 0/8703 0.94 # # # # # # 142 21 2/365 53 92 10 23/363 27 # # # # # # # #
ริมถนนอินทรพิทักษ์ เขตธนบุรี 8 0 0/8272 1 112 0 0/8262 18 3.00 0.00 0/8235 2.13 0.00 0/8588 0.59 124 0 81 0 5/365 17 123 15 2/362 45 84 6 22/365 25 0.24 0.001 0/44 0.08 0.14 0.01 0/16 0.05
ริมถนนลาดพร้าว เขตวังทองหลาง # # # # 120 2 0/8339 26 4.10 0.00 0/8309 2.81 0.00 0/8693 0.91 # # # # # # 140 17 2/364 47 89 5 21/365 26 0.16 0.02 0/48 0.08 0.07 0.01 0/19 0.04
ริมถนนดินแดง เขตดินแดง # # # # 195 0 2/8104 29 5.79 0.00 0/8252 3.75 0.02 0/8652 1.51 99 0 69 0 0/363 15 153 32 6/358 69 91 13 33/362 33 0.26 0.02 0/59 0.13 0.05 0.01 0/23 0.03
มาตรฐาน 300 40 170 30 30 9 - 100 70 - 120 50 50 25 0.33 0.1 1.5 -

หมายเหตุ : * : จำ�นวนครั้งที่เกินมาตรฐาน/จำ�นวนครั้งที่ตรวจวัด
# : ไม่มีการตรวจวัด

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
N/A : เครื่องมือขัดข้อง

73
74
ภาคผนวก 3 คุณภาพอากาศในเขตปริมณฑลแยกตามรายสถานี ปี 2562
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซโอโซน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ฝุ่นรวม ตะกั่ว
(SO2) (NO2) (CO) (O3) 10 ไมครอน (PM10) 2.5 ไมครอน (PM2.5) (TSP) (Pb)
จังหวัด สถานี ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 เดือน
ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย วัน > ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย
(ppb) (ppb) (ppm) (ppm) (ppb) (ppb) (มคก./ลบ.ม.) (มคก./ลบ.ม.) (มก./ลบ.ม.) (มคก./ลบ.ม.)
1 ปี 1 ปี 1 ปี std. 1 ปี 1 ปี 1 ปี 1 ปี 1 ปี
ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std.* ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std. ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std. ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std. ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std.
ต.ทรงคะนอง อ.พระประแดง 23 0 0/8268 2 85 0 0/8324 16 2.40 0.00 0/8053 1.76 0.00 0/8431 0.37 120 0 100 0 15/365 19 156 20 8/362 52 93 9 44/360 31 0.18 0.02 0/58 0.08 0.09 0.01 0/23 0.04
ต.บางโปรง อ.เมือง 28 0 0/4338 3 82 0 0/4417 15 1.90 0.00 0/4445 1.53 0.20 0/4469 0.60 99 0 85 0 9/189 23 98 12 0/188 40 57 6 5/188 21 0.20 0.04 0/23 0.11 0.05 0.01 0/8 0.03
สมุทรปราการ ต.ตลาด อ.พระประแดง 16 0 0/4498 3 77 1 0/4488 16 2.50 0.40 0/4508 2.19 0.40 0/4455 0.77 129 0 110 0 19/220 18 88 12 0/266 35 77 5 20/359 23 # # # # # # # #
ต.ปากน้ำ� อ.เมือง 36 0 0/8115 1 102 0 0/8100 16 3.60 0.00 0/8119 2.40 0.00 0/8400 0.21 125 0 111 0 24/360 26 144 15 2/361 49 92 9 44/358 30 0.18 0.02 0/54 0.08 0.09 0.01 0/21 0.03
ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง 23 0 0/8316 5 93 0 0/8306 16 4.28 0.00 0/8141 2.83 0.00 0/8480 0.72 149 0 104 1 13/365 24 142 17 2/365 46 89 9 16/365 24 # # # # # # # #
ปทุมธานี ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง 16 0 0/8163 2 89 0 0/7650 15 2.00 0.00 0/7637 1.93 0.03 0/7969 0.58 141 0 99 1 36/356 22 97 13 0/351 38 88 6 22/354 25 0.17 0.02 0/55 0.09 1.05 0.01 0/21 0.16
ต.อ้อมน้อย อ.กระทุ่มแบน 83 0 0/8257 9 107 0 0/8184 21 2.60 0.00 0/8292 1.97 0.24 0/8681 0.77 127 0 102 1 29/360 21 143 15 7/352 54 87 7 45/358 31 0.19 0.04 0/52 0.10 0.18 0.01 0/19 0.07
สมุทรสาคร
ต.มหาชัย อ.เมือง 52 0 0/8192 5 126 0 0/8146 17 # # # # # # # 152 1 108 1 22/365 20 179 9 13/362 45 134 3 54/353 27 # # # # # # # #
ต.บางกรวย อ.บางกรวย 11 0 0/7105 3 73 0 0/7099 19 3.30 0.00 0/6553 1.90 0.03 0/6831 0.58 99 0 77 0 3/307 16 108 16 0/290 41 78 6 19/359 23 0.15 0.02 0/58 0.08 0.05 <0.005 0/21 0.02
นนทบุรี
อ.บางพูด อ.ปากเกร็ด 9 0 0/3285 3 82 0 0/4778 11 2.80 0.10 0/7883 2.46 0.13 0/8201 0.88 127 0 106 0 37/351 19 133 15 2/355 47 74 6 7/134 26 0.21 0.03 0/49 0.07 0.09 <0.005 0/17 0.04
นครปฐม ต.นครปฐม อ.เมือง 12 0 0/4276 2 64 1 0/4278 12 2.10 0.30 0/4279 1.67 0.30 0/4463 0.70 100 0 79 0 24/188 23 132 10 2/187 44 72 4 12/186 22 # # # # # # # #
ค่ามาตรฐาน 300 40 170 30 30 9 - 100 70 - 120 50 50 25 0.33 0.1 1.5 -

หมายเหตุ : * : จำ�นวนครั้งที่เกินมาตรฐาน/จำ�นวนครั้งที่ตรวจวัด
# : ไม่มีการตรวจวัด
N/A : เครือ่ งมือขัดข้อง

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ภาคผนวก 4 คุณภาพอากาศในพื้นที่ต่างจังหวัดแยกตามรายสถานี ปี 2562
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซโอโซน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
(SO2) (NO2) (CO) (O3) 10 ไมครอน (PM10) 2.5 ไมครอน (PM2.5)
ภาค สถานี ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 8 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ย
(ppb) ค่าเฉลี ่ย (ppb) ค่าเฉลี ่ย (ppm) (ppm) ค่าเฉลี ่ย (ppb) (ppb) วัน > ค่าเฉลี ่ย (มคก./ลบ.ม.) ค่าเฉลี ่ย (มคก./ลบ.ม.)
ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std.* 1 ปี ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std 1 ปี ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std 1 ปี ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด std.
1 ปี
ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std. 1 ปี ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ครั้ง > std. 1 ปีี
ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 5 0 0/8278 1 65 0 0/8280 9 # # # # # # # 159 1 111 2 84/365 31 269 18 27/365 56 228 10 71/365 36
ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 7 0 0/8342 1 98 0 0/8298 15 3.40 0.20 0/8343 2.99 0.27 0/8721 0.80 # # # # # # 230 15 16/365 50 210 5 59/362 30
ต.พระบาท อ.เมือง จ.ลำ�ปาง 8 0 0/8306 2 64 0 0/8240 7 2.50 0.00 0/8267 2.13 0.00 0/8639 0.55 140 1 112 1 62/365 30 223 9 22/354 57 157 3 68/362 33
ต.สบป้าด อ.แม่เมาะ จ.ลำ�ปาง 30 0 0/8134 1 42 0 0/7648 3 3.50 0.20 0/8186 3.01 0.26 0/8540 0.77 132 1 107 1 72/365 26 137 10 7/354 37 115 5 43/356 26
ต.บ้านดง อ.แม่เมาะ จ.ลำ�ปาง 25 0 0/8246 1 58 0 0/8245 7 # # # # # # # 122 1 107 1 54/365 26 204 12 11/357 40 173 4 69/355 30
ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ลำ�ปาง 22 0 0/8174 2 47 1 0/8242 5 # # # # # # # 100 1 88 2 18/363 30 212 11 7/360 48 151 5 66/360 31
ต.เวียง อ.เมือง จ.เชียงราย # # # # 78 0 0/8362 8 3.90 0.10 0/8358 3.08 0.10 0/8741 0.65 108 0 97 1 39/365 25 287 10 21/363 47 254 4 63/363 33
เหนือ ต.เวียงพางคำ� อ.เมือง จ.เชียงราย # # # # # # # # 5.90 0.00 0/8173 5.39 0.00 0/8545 0.83 162 0 84 1 7/364 21 394 8 41/358 58 357 3 78/358 41
ต.จองคำ� อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน # # # # 54 0 0/8321 4 5.00 0.00 0/8349 3.50 0.15 0/8702 0.68 122 0 103 0 31/365 20 302 5 23/351 41 271 3 63/351 31
ต.ในเวียง อ.เมือง จ.น่าน 14 0 0/8333 0 50 0 0/8338 6 2.63 0.00 0/8347 1.48 0.00 0/8694 0.33 134 0 94 1 62/365 25 214 16 16/365 50 168 4 62/365 29
ต.ห้วยโก๋น อ.เมือง จ.น่าน 15 0 0/7882 1 25 0 0/8024 3 4.70 0.00 0/8051 3.20 0.00 0/8325 0.34 112 0 91 0 41/362 22 254 7 26/353 43 209 3 59/351 30
ต.เวียงยอง อ.เมือง จ.ลำ�พูน 27 0 0/7794 3 94 0 0/7800 16 3.40 0.00 0/7777 1.85 0.00 0/8135 0.50 118 0 97 0 33/342 26 243 14 23/341 57 183 7 77/341 36
ต.บ้านต๋อม อ.เมือง จ.พะเยา (ใหม่) # # # # 26 2 0/4120 5 2.30 0.00 0/4118 0.69 0.01 0/4311 0.32 80 3 63 4 0/180 22 85 10 0/184 29 63 3 8/183 18
ต.เวียง อ.เมือง จ.พะเยา (เก่า) 4 0 0/1479 1 48 3 0/1479 9 1.30 0.00 0/1481 1.00 0.17 0/1548 0.46 N/A N/A N/A N/A N/A N/A 127 38 1/54 67 82 13 15/64 37
ต.นาจักร อ.เมือง จ.แพร่ 10 0 0/3952 1 55 2 0/4115 8 2.70 0.00 0/7772 2.00 0.07 0/8113 0.51 139 1 110 1 66/336 28 185 9 10/356 45 158 3 66/356 31
ต.แม่ปะ อ.แม่สอด ต.ตาก # # # # 86 0 0/8113 6 2.50 0.00 0/8209 1.90 0.00 0/8588 0.41 93 1 80 2 4/334 23 151 8 11/360 54 93 4 61/361 28
ตะวันออก ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 24 0 0/8103 1 96 0 0/8241 10 2.40 0.00 0/8170 1.78 0.00 0/8454 0.66 158 0 123 2 119/307 42 164 20 15/360 59 109 11 62/360 34
เฉียงเหนือ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 10 0 0/6491 1 85 0 0/4139 16 3.00 0.00 0/6496 1.90 0.01 0/6765 0.51 89 0 75 0 2/285 25 114 10 0/281 49 73 10 8/186 24
ต.นาอาน อ.เมือง จ.เลย # # # # # # # # # # # # # # # # # # # # # 180 10 5/365 44 120 3 33/359 25
ต.ประตูชัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 16 0 0/8307 1 82 0 0/8307 13 3.20 0.00 0/8315 2.11 0.00 0/8654 0.67 162 0 101 0 32/365 23 174 17 12/344 53 83 6 23/355 25
ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี 9 0 0/8015 1 103 0 0/8194 20 2.00 0.00 0/8034 1.29 0.00 0/8328 0.37 121 0 86 0 17/363 19 318 33 151/354 123 103 9 68/348 35
กลาง ต.ปากเพียว อ.เมือง จ.สระบุรี # # # # 78 0 0/8065 17 # # # # # # # 191 0 93 0 59/361 27 141 12 3/342 55 79 4 21/338 23
ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ราชบุรี 12 0 0/7591 1 68 0 0/7767 7 4.10 0.10 0/7487 3.30 0.10 0/7770 0.60 129 0 99 0 49/351 24 144 17 4/334 54 102 4 52/338 30
ต.ปากน้ำ�โพ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 10 0 0/8328 1 63 1 0/8300 13 2.30 0.20 0/8294 1.73 0.20 0/8666 0.76 93 1 82 2 13/365 27 139 19 8/364 59 74 6 36/357 28
ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 7 0 0/8360 1 118 0 0/8355 8 2.30 0.00 0/8360 1.41 0.00 0/8712 0.50 154 1 73 1 2/365 19 117 9 0/365 41 100 5 48/364 27
ต.ปลวกแดง อ.ปลวกแดง จ.ระยอง 11 0 0/8138 1 46 0 0/7824 7 # # # # # # # 76 0 56 0 0/364 13 98 18 0/350 50 48 3 0/249 17
ตะวันตก ต.มาบตาพุด อ.เมือง จ.ระยอง 79 0 0/8130 5 81 0 0/7893 13 2.61 0.00 0/8258 1.44 0.00 0/8640 0.50 112 0 82 0 5/365 22 112 14 0/355 42 72 4 12/353 19
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง 12 0 0/8189 1 96 0 0/7829 11 3.90 0.10 0/8149 2.30 0.10 0/8408 0.71 106 1 88 1 3/363 22 91 14 0/354 36 57 8 3/341 17
ต.ห้วยโป่ง อ.เมือง จ.ระยอง 77 0 0/8036 2 54 0 0/8061 9 3.86 0.00 0/8192 0.91 0.00 0/8549 0.25 111 0 86 0 5/365 19 123 16 1/354 45 67 4 4/353 19
ต.เนินพระ อ.เมือง จ.ระยอง 39 0 0/8095 2 79 0 0/8059 16 4.80 0.00 0/8178 3.76 0.00 0/8499 0.57 96 2 70 2 0/357 19 83 20 0/353 49 49 10 0/125 24
ต.ทุ่งสุขลา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 24 0 0/8178 1 71 0 0/8165 15 # # # # # # # 99 0 90 2 10/363 25 129 13 1/356 38 74 6 14/355 22
ต.บ่อวิน อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี # # # # 74 0 0/8061 12 # # # # # # # 146 0 93 0 13/361 22 167 22 8/353 59 65 5 7/349 22
ตะวันออก ต.บ้านสวน อ.เมือง จ.ชลบุรี # # # # 82 0 0/8366 12 2.20 0.20 0/8384 1.79 0.28 0/8754 0.61 122 0 104 0 19/365 25 93 18 0/363 37 74 5 10/365 18
ต.วังเย็น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา 91 0 0/8066 3 97 0 0/8120 11 # # # # # # # 123 0 92 0 8/365 20 106 16 0/351 45 45 4 0/251 16
ต.อรัญประเทศ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว # # # # # # # # # # # # # # # # # # # # # 114 13 0/350 40 74 2 14/358 20
ต.ท่าตูม อ.ศรีมหาโพธิ์ จ.ปราจีนบุรี 86 0 0/8196 2 43 0 0/7925 6 # # # # # # # 101 0 84 0 16/365 27 104 9 0/348 42 68 5 14/356 25
ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี 9 0 0/8332 2 34 0 0/8279 5 1.60 0.10 0/8105 1.03 0.11 0/8467 0.40 72 0 68 1 0/349 19 63 14 0/356 32 40 6 0/362 17
ต.ตลาดใหญ่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต 10 0 0/6868 1 39 0 0/4290 8 1.90 0.00 0/8248 1.71 0.00 0/8610 0.42 70 0 68 1 0/365 19 68 12 0/341 30 55 3 1/188 11
ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 23 0 0/4995 1 35 0 0/4295 7 1.40 0.00 0/4999 0.94 0.00 0/5206 0.25 88 0 83 0 5/218 24 86 13 0/271 33 74 8 10/201 23
ใต้ ต.บางนาค อ.เมือง จ.นราธิวาส # # # # 31 0 0/8217 6 3.20 0.00 0/8276 2.11 0.06 0/8673 0.80 70 2 68 4 0/364 22 106 9 0/361 33 84 5 1/361 17
ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา # # # # 32 1 0/8235 6 2.92 0.00 0/8235 1.58 0.21 0/8622 0.69 70 3 61 7 0/363 25 83 15 0/355 33 68 8 5/356 21
ต.เบตง อ.เบตง จ.ยะลา # # # # # # # # # # # # # # # # # # # # # 32 10 0/31 24 15 3 0/29 10

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ต.พิมาน อ.เมือง จ.สตูล 4 0 0/8357 1 20 0 0/8356 3 1.40 0.10 0/8356 1.24 0.10 0/8721 0.57 66 0 65 1 0/365 20 71 9 0/365 25 69 3 5/365 14
ค่ามาตรฐาน 300 40 170 30 30 9 - 100 70 - 120 50 50 25

75
หมายเหตุ : * : จำ�นวนครั้งที่เกินมาตรฐาน/จำ�นวนครั้งที่ตรวจวัด
# : ไม่มีการตรวจวัด
ภาคผนวก 5 การตรวจวัดด้วยหน่วยตรวจวัดเคลื่อนที่ ปี 2562

76
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซโอโซน ฝุ่นขนาดเล็ก ฝุ่นละเอียด
(SO 2) (NO 2) (CO) (O 3) (PM 10) (PM2.5)
สถานที่
(วันที่ตรวจวัด) ค่ า เฉลี ย
่ 1 ชั ว
่ โมง ค่ า เฉลี ย
่ 1 ชั ว
่ โมง ค่ า เฉลี ย
่ 1 ชั ว
่ โมง ค่ าเฉลี ย
่ 1 ชั ว
่ โมง ค่ าเฉลี ย
่ 24 ชั ว
่ โมง ค่ าเฉลี ่ย 24 ชั่วโมง
(ppb) (ppb) (ppm) (ppb) ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร
ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด ค่าสูงสุด
จังหวัดตราด
ชุมชนท่าเรือจ้าง อำ�เภอเมือง
(8 กุมภาพันธ์ - 14 มีนาคม 2562) 1 6 0 14 - - 2 62 32 53 19 36
จังหวัดอุบลราชธานี
ทุ่งศรีเมือง อำ�เภอเมือง
(21 มีนาคม - 14 พฤษภาคม 2562) 0 8 2 54 0 1.5 1 104 10 100 6 80
(3/1,207)* (15/52)*
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วัดโตนดป่ายาง อำ�เภอบางปะหัน
(15 มิถุนายน - 4 กรกฎาคม 2562) 0 10 0 34 0.1 1.3 5 80 16 46 - -
จังหวัดอุดรธานี
ทุ่งศรีเมือง อำ�เภอเมือง
(22 พฤษภาคม - 26 มิถุนายน 2562) 0 2 1 26 0.1 1.2 3 72 12 36 6 21
จังหวัดสมุทรสาคร

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
ตลาดนัดหมู่2 ซอยกองพนันพล อำ�เภอเมือง
(31 กรกฎาคม - 19 สิงหาคม 2562) 1 61 0 31 0 2 1 87 33 181 28 176
(6/13)* (11/16)*
จังหวัดตรัง
สำ�นักทรัพยากรน้ำ�บาดาลเขต 6 อำ�เภอเมือง
(27 กรกฎาคม - 23 ตุลาคม 2562) - - - - - - - - - - 4 63
(1/84)*
จังหวัดนครศรีธรรมราช
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ อำ�เภอเชียรใหญ่
(4 สิงหาคม - 23 ตุลาคม 2562) 0 227 0 16 0.3 4.7 0 43 9 99 4 77
(2/79)*
จังหวัดนครปฐม
วัดท่าพูด อำ�เภอสามพราน
(12 - 25 กันยายน 2562) 0 24 1 55 0.8 1.9 4 97 26 75 17 48
จังหวัดชัยภูมิ
ศาลากลางจังหวัดชัยภูมิ อำ�เภอเมือง
(23 ตุลาคม - 12 พฤศจิกายน 2562) 0 2 2 26 0 1 10 76 16 55 8 36
หมายเหตุ : * จำ�นวนวันที่เกินค่ามาตรฐาน/จำ�นวนวันที่ตรวจวัดทั้งหมด - ไม่มีการตรวจวัด
ภาคผนวก 6 ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง จากสถานีตรวจวัดระดับเสียงแบบถาวรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปี 2561 และ ปี 2562

ปี 2561** ปี 2562
จุดตรวจวัด ระดับเสียง (เดซิเบลเอ) จำ�นวนวันที่เกินมาตรฐาน/ ระดับเสียง (เดซิเบลเอ) จำ�นวนวันที่เกินมาตรฐาน/
ต่ำ�สุด - สูงสุด เฉลี่ย* จำ�นวนวันที่ตรวจวัด (ร้อยละ) ต่ำ�สุด - สูงสุด เฉลี่ย* จำ�นวนวันที่ตรวจวัด (ร้อยละ)
พื้นที่ทั่วไป
1. โรงเรียนนนทรีวิทยา เขตยานนาวา 54.9 - 69.1 60.0 0/160 (0.0) 46.6 - 74.1 63.3 39/194 (20.1)
2. โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เขตวังทองหลาง 53.0 - 83.7 58.2 8/283 (2.8) 53.1 - 84.8 58.1 7/286 (2.4)
3. การเคหะชุมชนคลองจั่น เขตบางกะปิ 50.9 - 67.9 54.5 0/302 (0.0) 50.2 - 65.1 54.1 0/294 (0.0)
4. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อำ�เภอปากเกร็ด 54.8 - 77.6 59.3 7/292 (2.4) 49.4 - 67.0 58.6 0/303 (0.0)
5. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต อำ�เภอคลองหลวง 48.3 - 62.5 52.5 0/270 (0.0) 47.8 - 84.0 53.0 3/284 (1.1)
พื้นที่ริมถนน
1. พาหุรัด ถนนตรีเพชร เขตพระนคร 68.1 - 80.0 72.4 363/365 (99.5) 67.8 - 74.8 72.4 364/365 (99.7)
2. การเคหะชุมชนดินแดง ถนนดินแดง เขตดินแดง 70.4 - 82.1 73.1 122/122 (100) 68.3 - 81.6 72.3 338/365 (92.6)
3. สถานีไฟฟ้าย่อยธนบุรี ถนนอินทรพิทักษ์ เขตธนบุรี 68.2 - 72.1 70.4 252/351 (71.8) 69.3 - 73.1 70.7 305/362 (84.3)
4. สนามกีฬาการเคหะชุมชนห้วยขวาง ถนนประชาสงเคราะห์ เขตห้วยขวาง 63.3 - 86.1 68.8 93/333 (27.9) 63.1 - 85.6 67.8 79/359 (22.0)
5. สถานีตำ�รวจนครบาลโชคชัย ถนนลาดพร้าว เขตวังทองหลาง 68.0 - 75.1 70.8 245/304 (80.6) 63.2 - 76.8 68.5 28/347 (8.1)
6. หมวดการทางสมุทรสาคร ถนนเพชรเกษม อำ�เภอกระทุ่มแบน 62.9 - 68.4 64.1 0/268 (0.0) 59.9 - 67.9 63.1 0/318 (0.0)
7. การไฟฟ้าฝ่ายผลิต ตำ�บลบางกรวย อำ�เภอบางกรวย 61.9 - 80.4 65.1 8/293 (2.7) 63.7 - 76.6 65.5 3/299 (1.0)
ค่ามาตรฐาน 70 70
หมายเหตุ : * หมายถึง ค่าเฉลี่ยของระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมงที่ตรวจวัดภายใน 1 ปี
** ข้อมูลระดับเสียงของปี 2561 แตกต่างจากรายงานสถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2561 ทีเ่ คยเผยแพร่ไปแล้วเนือ่ งจากมีการนำ�เข้าข้อมูลจากสถานีตรวจวัดระดับเสียง
เพิ่มเติมและทำ�การประมวลผลข้อมูลใหม่

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
77
78
ภาคผนวก 7 ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง จากสถานีตรวจวัดระดับเสียงแบบถาวรในพื้นที่ต่างจังหวัด ปี 2561 และ ปี 2562
ปี 2561** ปี 2562
จุดตรวจวัด จังหวัด ระดับเสียง (เดซิเบลเอ) จำ�นวนวันที่เกินมาตรฐาน/ ระดับเสียง (เดซิเบลเอ) จำ�นวนวันที่เกินมาตรฐาน/
ต่ำ�สุด - สูงสุด เฉลี่ย* จำ�นวนวันที่ตรวจวัด (ร้อยละ) ต่ำ�สุด - สูงสุด เฉลี่ย* จำ�นวนวันที่ตรวจวัด (ร้อยละ)
พื้นที่ทั่วไป
1. สถานีดับเพลิง (เขาน้อย) อำ�เภอเมือง สระบุรี 55.8 - 72.5 57.8 1/365 (0.3) 55.3 - 71.6 60.7 36/365 (9.9)
2. วัดถ้ำ�ศรีวิไล อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ สระบุรี 45.6 - 82.9 55.2 7/236 (3.0) 46.9 - 77.7 54.6 1/298 (0.3)
3. องค์การบริหารส่วนตำ�บลหน้าพระลาน อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ สระบุรี 49.6 - 87.8 56.1 3/233 (1.3) 49.8 - 67.5 55.0 0/249 (0.0)
4. สำ�นักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 13 ชลบุรี อำ�เภอเมือง ชลบุรี 48.1 - 63.8 52.2 0/265 (0.0) 49.0 - 70.6 53.9 2/319 (0.6)
5. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพมาบตาพุด อำ�เภอเมือง ระยอง 61.7 - 66.2 62.8 0/19 (0.0) 59.9 - 78.8 62.9 1/362 (0.3)
6. ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ อำ�เภอเมือง เชียงใหม่ 53.1 - 81.4 55.7 1/326 (0.3) 53.0 - 65.5 55.5 0/365 (0.0)
7. อุตุนิยมวิทยาจังหวัดลำ�ปาง อำ�เภอเมือง ลำ�ปาง 53.2 - 62.3 55.5 0/325 (0.0) 52.9 - 67.7 55.1 0/365 (0.0)
พื้นที่ริมถนน

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
1. สถานีตำ�รวจภูธรหน้าพระลาน อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ สระบุรี 69.3 - 71.9 71.0 283/289 (97.9) 69.0 - 71.9 70.8 323/352 (91.8)
2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ชลบุรี 57.7 - 76.9 62.7 1/363 (0.3) 47.4 - 71.9 60.3 1/332 (0.3)
3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเขาหิน ตำ�บลบ่อวิน อำ�เภอศรีราชา ชลบุรี 52.0 - 66.9 58.3 0/241 (0.0) 51.2 - 67.0 58.1 0/345 (0.0)
4. เกษตรจังหวัดระยอง อำ�เภอเมือง ระยอง 63.7 - 69.7 65.7 0/335 (0.0) 61.5 - 73.0 64.6 2/363 (0.6)
5. โรงสูบน้ำ�เสีย เทศบาลนครนครราชสีมา อำ�เภอเมือง นครราชสีมา 59.2 - 68.5 63.7 0/328 (0.0) 52.1 - 77.0 64.3 5/365 (1.4)
6. สำ�นักงานทรัพยากรน้ำ� ภาค 4 อำ�เภอเมือง ขอนแก่น 57.4 - 64.2 60.3 0/321 (0.0) 57.4 - 63.2 60.1 0/365 (0.0)
7. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อำ�เภอเมือง เชียงใหม่ 59.5 - 76.2 66.5 21/302 (7.0) 61.2 - 74.3 65.9 17/358 (4.7)
8. ศูนย์บริการสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต อำ�เภอเมือง ภูเก็ต 60.1 - 78.3 62.8 13/357 (3.6) 57.5 - 77.8 60.7 6/298 (2.0)
9. เทศบาลนครหาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ สงขลา 57.8 - 69.3 60.1 0/249 (0.0) 53.5 - 76.8 60.4 3/358 (0.8)
ค่ามาตรฐาน 70 70
หมายเหตุ : * หมายถึง ค่าเฉลี่ยของระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมงที่ตรวจวัดภายใน 1 ปี
** ข้อมูลระดับเสียงของปี 2561 แตกต่างจากรายงานสถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2561 ทีเ่ คยเผยแพร่ไปแล้วเนือ่ งจากมีการนำ�เข้าข้อมูลจากสถานีตรวจวัดระดับเสียง
เพิ่มเติมและทำ�การประมวลผลข้อมูลใหม่
ภาคผนวก 8 ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง จุดตรวจวัดระดับเสียงชั่วคราวริมถนนในกรุงเทพมหานคร ปี 2562

ระดับเสียง จำ�นวนวันที่
จุดตรวจวัด ช่วงวันที่ (เดซิเบลเอ) เกินมาตรฐาน/
ตรวจวัด จำ�นวนวันที่ตรวจวัด
ต่ำ�สุด - สูงสุด เฉลี่ย* (ร้อยละ)
1 ป้อมตำ�รวจแม้นศรี ถนนบำ�รุงเมือง 10 - 16 ก.ค. 62 76.9 - 78.4 77.7 7/7(100)
2 ป้อมตำ�รวจสี่แยกอ่อนนุช ถนนสุขุมวิท ซอย 77 20 - 26 ก.พ. 62 77.5 - 78.0 77.8 7/7(100)
3 ป้อมตำ�รวจอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ถนนราชวิถี 19 - 25 เม.ย. 62 75.0 - 75.8 75.4 7/7(100)
4 ป้อมตำ�รวจสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จฯ 9 - 15 ม.ค. 62 74.7 - 77.0 75.8 7/7(100)
ถนนอิสรภาพ
5 ป้อมตำ�รวจสามแยก ถนนสุขสวัสดิ์ - ประชาอุทิศ 10 - 16 ม.ค. 62 76.0 - 76.7 76.4 7/7(100)
6 ป้อมตำ�รวจสี่แยก อสมท. ถนนพระราม 9 19 - 25 มี.ค. 62 74.0 - 75.3 74.8 7/7(100)
7 สำ�นักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ถ.วิภาวดีรังสิต 12 - 18 มิ.ย. 62 73.4 - 75.0 74.1 7/7(100)
8 กรมป่าไม้ ถ.พหลโยธิน 19 พ.ค. - 4 มิ.ย. 62 72.9 - 75.0 74.2 7/7(100)
9 ป้อมตำ�รวจสี่แยกเกษตร ถ.พหลโยธิน 29 พ.ค. - 4 มิ.ย. 62 72.9 - 75.0 74.2 7/7(100)
10 ป้อมตำ�รวจสี่แยกสาธุประดิษฐ์ ถ.พระราม 3 15 - 21 ส.ค. 62 70.9 - 72.6 72.0 7/7(100)
11 ด้านหลังโรงเรียนเปรมประชา ถ.วิภาวดีรังสิต 27 มิ.ย. - 2 ก.ค. 62 74.4 - 75.5 75.2 6/6(100)
12 โรงเรียนหอวัง ถ.พหลโยธิน 20 - 26 มี.ค. 62 74.5 - 75.0 74.7 7/7(100)
13 ป้อมตำ�รวจสี่แยกวงศ์สว่าง ถ.กรุงเทพ-นนทบุรี 20 - 26 เม.ย. 62 77.0 - 77.5 77.2 7/7(100)
14 บ. กสท. โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน) 11 - 17 พ.ค. 62 74.0 - 75.1 74.7 7/7(100)
ถ.ติวานนท์
15 กองดุริยางค์ตำ�รวจ ถ.แจ้งวัฒนะ 30 พ.ค. - 5 มิ.ย. 62 75.7 - 76.0 75.9 7/7(100)
16 ปั๊มน้ำ�มันเชลล์ รามอินทรา 117 ถ.รามอินทรา 13 - 19 มิ.ย. 62 77.5 - 78.1 77.8 7/7(100)
17 ป้อมตำ�รวจสามแยกมิสทีน ถ.รามคำ�แหง 8 - 13 มี.ค. 62 75.5 - 76.4 75.9 7/7(100)
18 สถานีตำ�รวจหัวหมาก ถ.รามคำ�แหง 6 - 12 มี.ค. 62 78.5 - 78.9 78.7 7/7(100
19 โรงเรียนสมุทรปราการ ถ.สุขุมวิท 9 - 15 ก.พ. 62 76.0 - 77.0 76.5 7/7(100)
20 บ. กสท. โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน) 9 - 15 ก.พ. 62 75.2 - 75.8 75.4 7/7(100)
สมุทรปราการ ถ.ศรีนครินทร์
21 ศาลากลางสมุทรปราการ ถ.สุทธิภิรมย์ 10 - 16 ก.พ. 62 70.6 - 71.3 70.9 7/7(100)
22 สนง. ประกันสังคม จ.สมุทรปราการ ถ.เทพารักษ์ 1 - 7 ก.พ. 62 76.1 - 76.6 76.3 7/7(100)
หมายเหตุ : 1. มาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไปกำ�หนดค่าระดับเสียง (Leq) 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ
2. ตรวจวัดต่อเนื่องเป็นเวลา 1 สัปดาห์ ติดตั้งไมโครโฟนห่างจากถนนประมาณ 3 - 5 เมตร

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562 79
ภาคผนวก 9 ระดับเสียงบริเวณริมคลองแสนแสบ ปี 2562

จุดตรวจวัด วันที่ตรวจวัด ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง


บริเวณซอยสุขุมวิท 31 (ข้าง มศว. ประสานมิตร) 1 - 7 ก.ค. 62 56.9 - 67.5
บริเวณซอยเอกมัย 30 27 มิ.ย. - 3 ก.ค. 62 57.8 - 62.1

ภาคผนวก 10 ระดับเสียงเรือโดยสารในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2562 (จำ�แนกประเภทเรือ)

จำ�นวน ระดับเสียง (เดซิเบลเอ) เกินมาตรฐาน*


ประเภทเรือ
(ลำ�) สูงสุด เฉลี่ย ต่ำ�สุด จำ�นวน (ลำ�) ร้อยละ
โดยสารเครื่องกลางลำ� 30 93.6 88.1 81.2 0 0.0
หางยาว 57 100.2 95.9 85.2 1 1.8
รวม 87 100.2 94.0 81.2 1 1.1
หมายเหตุ : มาตรฐานระดับเสียงของเรือจะต้องไม่เกิน 100 เดซิเบลเอ เมื่อตรวจวัดที่ 0.5 เมตร จากปลายท่อไอเสียหรือจากกราบเรือ

ภาคผนวก 11 ระดับเสียงเรือโดยสารในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2562 (จำ�แนกคลอง)

วันที่ จำ�นวน ระดับเสียง (เดซิเบลเอ) เกินมาตรฐาน*


จุดตรวจวัด
ตรวจวัด (ลำ�) สูงสุด เฉลี่ย ต่ำ�สุด จำ�นวน (ลำ�) ร้อยละ
ท่าเรือวัดอัปสรสวรรค์ 27 ก.พ. 62 5 100.2 96.4 92.7 1 20.0
ท่าเรือวัดตลิ่งชัน 20 มี.ค. 62 13 99.6 98.1 95.2 0 0.0
ท่าเรือวัดคูหาสวรรค์วรวิหาร 29 มี.ค. 62 8 99.0 97.6 93.9 0 0.0
ท่าเรือสะพานผ่านฟ้าลีลาศ 1 พ.ค. 62 11 93.6 89.2 86.0 0 0.0
ท่าเรือวัดศรีบุญเรือง 15 พ.ค. 62 19 93.1 87.0 81.2 0 0.0
ท่าเรือตลาดพลู 25 มิ.ย. 62 10 99.6 97.1 94.5 0 0.0
ท่าเรือวัดสุวรรณาราม 14 ส.ค. 62 8 99.0 93.3 85.2 0 0.0
ท่าเรือวัดปากน้ำ�ภาษีเจริญ 7 ส.ค. 62 13 97.9 93.3 87.9 0 0.0
รวม 87 100.2 94.0 81.2 1 1.0

80 สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2562
รายนามที่ปรึกษา
นายประลอง ดำ�รงค์ไทย
นายเถลิงศักดิ์ เพ็ชรสุวรรณ
นางสาวพรศรี สุทธนารักษ์

ผู้สนับสนุนข้อมูลวิชาการ
นางสาวพัชราวดี สุวรรณธาดา นางสาวนันทวัน ว. สิงหะคเชนทร์
นางสาวนุชจริยา อรัญศรี นางวรุณย์พันธ์ มิตรจิต
นางนิภาภรณ์ ใจแสน นายไพรัช รามเนตร
นางสาวกาญจนา สวยสม นายอานนท์ นกแก้วน้อย
นางสาวศิวพร รังสิยานนท์ นายสมศักดิ์ ชนะงาม
นางสาวนิตยา ไชยสะอาด นางถวิล วิทูกิจ
นางสาวเกศศินี อุนะพำ�นัก นางสาวมานวิภา กุศล
นายมนตรี ชุติชัยศักดา นายอิทธิพล พ่ออามาตย์
นางสาวกนกพิมพ์ เดชสถิตย์ นางสาวณัฐชนก พาละเอ็น
นางสาวอรวรรณ มานูญวงศ์ นางสาวพิชญา เกตุนุติ
นายศักดา ตรีเดช นางสาวพิจิตรา เกียรติไกรรัตน์
นายสิริศักดิ์ คำ�คง นางสาวนาบุญ ฤทธิ์รักษ์
นายถิระพล คงชนม์ นางสาวกนกพร ไพรสาร
นายพิเชษฐ์ อธิภาคย์ นางสาวเบญจพร ยังวิเศษ
นางสาวสิริรัตน์ เย็นสรง

สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียง
ของประเทศไทย ปี 2562
จัดทำ�โดย กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์และมีลิขสิทธิ์ในเอกสารฉบับนี้
จัดพิมพ์โดย บริษัท ฮีซ์ จำ�กัด
จำ�นวนพิมพ์ 1,200 เล่ม
ปีที่พิมพ์ 2563
ISBN: 978-616-316-579-4
คพ. 03-131
¨Ñ´·Óâ´Â ¡ÃÁ¤Çº¤ØÁÁžÔÉ ¡ÃзÃǧ·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ
໚¹à¨ŒÒ¢Í§¡ÃÃÁÊÔ·¸Ôì áÅÐÁÕÅÔ¢ÊÔ·¸Ôìã¹àÍ¡ÊÒéºÑº¹Õé
¨Ñ´¾ÔÁ¾â´Â ºÃÔÉÑ· ÎÕ« ¨Ó¡Ñ´
ISBN: 978-616-316-579-4 ¤¾. 03-131

You might also like