Public Health Emergency Management

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 81

PB.

214 Primary and Emergency Care


คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การจัดการภาวะฉุกเฉิน
ทางด้านสาธารณสุขที่เป็นอุบัติภัยหมู่
(Public Health Emergency Management)
นายแพทย์สฤษดิ์เดช เจริญไชย พบ.
โรงพยาบาลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
7 กุมภาพันธ์ 2554
หัวข้อบรรยาย
• ความหมาย ประเภทและ ผลกระทบของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
• ระยะในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและจัดการภาวะฉุกเฉิน
โดยรวม (Comprehensive Emergency Management)
• การจัดการภาวะฉุกเฉินในประเทศไทย
• บทบาทหน้าทีข่ องนักสาธารณสุข ในงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุข
PB.214 Primary and Emergency Care
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ความหมาย ประเภท และ


ผลกระทบของภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุข
ภาวะฉุกเฉิน (Emergency)
เหตุการณ์ที่ต้องรีบแก้ไขอย่างฉับพลันโดยไม่ได้คาดการณ์ไว้ มิฉะนั้นอาจ
เป็นภัยต่อความมั่นคง หรือความปลอดภัยต่อสังคม ชีวิต ร่างกาย จิตใจ
และ/หรือทรัพย์สิน

“หมายความว่า เกิดขึ้นโดยปัจจุบันทันด่วนหรือเป็นทีค่ าดหมายว่าจะ


เกิดขึ้นในเวลาอันใกล้ และจาเป็นต้องรีบแก้ไขโดยฉับพลัน ”
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดลองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัตกิ รณีฉกุ เฉิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2552
ภัยพิบัติ (Disaster)
Disaster: “An occurrence that causes damage, ecological
disruption, loss of human life, deterioration of health and
health services on a scale sufficient to warrant an
extraordinary response from outside the affected
community area.”
“ปรากฏการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายกระทบต่อระบบนิเวศมีผลต่อ
การสูญเสียชีวิต หรือทาลายสุขภาพและการบริการทางสุขภาพ ซึง่ มี
ขนาดถึงต้องอาศัยความช่วยเหลือจากภายนอกชุมชนทีไ่ ด้รับ
ผลกระทบ”
ภัยพิบัติ (Disaster)
• “หมายความว่า สาธารณภัยอันได้แก่ อัคคีภัย วาตะภัย อุทกภัย ภัย
แล้ง ภาวะฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วง ฟูาผ่า ภัยจากลูกเห็บ ภัยอันเกิดจาก โรค
หรือภาวะการระบาดของแมลงหรือศัตรูพชื ทุกชนิด อากาศหนาวจัด
ผิดปกติ ภัยสงคราม และภัยอันเนื่องมาจากการกระทาของผู้ก่อการร้าย
กองกาลังจากนอกประเทศ หรือจากการปราบปรามของเจ้าหน้าที่ของ
ทางราชการ ตลอดจนภัยอื่น ๆ ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ หรือมีบุคคล
หรือสัตว์ทาให้เกิดขึ้น ซึง่ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของ
ประชาชนหรือรัฐ”
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดลองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2552
สาธารณภัย (Disaster)
• “หมายความว่า อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์
โรคระบาดในสัตว์ โรคระบาดในน้า การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจน
ภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ หรือมี
ผู้ทาให้เกิดขึ้น อุบัติเหตุหรือ เหตุอื่นใด ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต
ร่างกายประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชน หรือ
ของรัฐ และให้หมายรวมถึงภัยทางอากาศและการก่อวินาศกรรมด้วย”
พระราชบัญญัติปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
ฉุกเฉิน (Emergency) ภัยพิบัติ (Disaster)
ความเร่งด่วน ขนาด
การจัดการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management)
ภาวะฉุกเฉินที่เกิดขึน้ เป็ นประจา
(Routine Emergencies)
ไม่ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากภายนอก
การจัดการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management)
ภาวะฉุกเฉินที่ไม่ เกิดขึน้ เป็ นประจา
(Non-routine Emergencies)
ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากภายนอก
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency)

1) ทาให้เกิดผลกระทบทางสุขภาพที่มีความรุนแรง (seriousness of the


public health impact)
2) เป็นเหตุการณ์ที่ผิดปกติหรือไม่เคยพบมาก่อน (unusual or
unexpected nature of the event)
3) มีโอกาสที่จะแพร่ไปสู่พนื้ ที่อื่น (potential for the event to spread)
4) ต้องจากัดการเคลื่อนที่ของผูค้ นหรือสินค้า (the risk that restrictions
to travel or trade)
เกณฑ์อย่างน้อย 2/4 ข้อ
WHO. Office of Communicable Disease Surveillance and Response ; 2005. Available from : http://www.who.int/csr/ihr/howtheywork/faq/en/index.html
ธันวาคม พ.ศ.2547
ใต้ฝุนเกย์ พฤศจิกายน พ.ศ.2532

Typhoon Gay Southern, November 1989; killed >600


อุทกภัย อ.หาดใหญ่
ปี 2542 / 2553
รถแก๊สคว่าและเพลิงไหม้
เพชรบุรีตัดใหม่ กันยายน 2532

LPG Explosion, Bangkok, September 1989; Killed 81


พ.ศ. 2551-53
ประเภทของ Public Health Emergency

คิดว่าภัยพิบัติใดจัดการยากที่สุด

Anthrax, Plague, Tularemia… Explosions, Burns, Injuries…

Chlorine, Ricin, Sarin… Hurricane, Wildfire, Tornado…

Dirty bombs, Nuclear blasts… Avian flu, SARS, Ebola…


http://emergency.cdc.gov/
ประเภทของ Public Health Emergency
ภัยพิบัติธรรมชาติ ภัยพิบัติที่เกิดจากมนุษย์
ความรุนแรงของ Public Health Emergency
Severity Self Capacity
Level 1: Day-to-Day Emergency น้อย มาก

Level 2: Minor Emergency

Level 3: Major Emergency

Level 4: Catastrophic Emergency


มาก น้อย
International Strategy for Disaster Reduction
Natural Disasters in Thailand

http://www.unisdr.org/eng/country-inform/thailand-disaster.htm
International Strategy for Disaster Reduction
Natural Disasters in Thailand

http://www.unisdr.org/eng/country-inform/thailand-disaster.htm
ผลกระทบของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
• มีการปุวย การตายเพิ่มขึน้
• ผลกระทบต่อสุขภาพจิต
• ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น หมอกควันจากไฟปุา
• การสัมผัสสารพิษ สารเคมี รังสี
• การทาลายระบบบริการพื้นฐานที่สาคัญต่อชีวิต : ปัจจัย 4
• การทาลายระบบบริการและผู้ให้บริการพื้นฐานต่างๆ : ร้านค้า ธนาคาร
ประปา ไฟฟูา โรงพยาบาล การขนส่ง
ผลกระทบของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

• การอพยพย้ายที่อยู่ของประชากร
• อาจมีผลต่อการล่มสลายของระบบสังคม
• การสูญเสียระบบข้อมูลข่าวสาร
• ผลกระทบต่อผู้ให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
• เกิดความล่าช้าในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ทเี่ คยได้รับ
• เกิดผู้ปุวยจานวนมากเข้าสู่ระบบบริการสาธารณสุขผลกระทบต่อระบบ
เศรษฐกิจโดยรวม
ผลกระทบของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ผลกระทบของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
Primary effects
• Physical Damage
• Casualties
Secondary effects
• Water supplies
• Diseases
• Crops & food supplies
Tertiary – long term effects
• Economic
ผลกระทบของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ผลกระทบของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
PB.214 Primary and Emergency Care
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ระยะในการจัดการภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุขและจัดการภาวะฉุกเฉิน
โดยรวม (Comprehensive
Emergency Management)
Public Health Emergency Management
• “ is a discipline that involves preparing for disaster before
it happens, disaster response (e.g. emergency evacuation,
quarantine, mass decontamination, etc.), as well as
supporting, and rebuilding society after natural or human-
made disasters have occurred.”
• “ is the continuous process by which all individuals,
groups, and communities manage hazards in an effort to
avoid or ameliorate the impact of disasters resulting from
the hazards.”
Public Health Emergency Management Cycle
Impact

Preparedness Response
Pre-impact Post-impact

Mitigation Recovery
Public Health Emergency Management Cycle
Initial/Acute Phase
0-2 hrs Immediate hours
2-6 hrs Intermediate hours
6-12 hrs Late Intermediate hours
Impact 12 – 24 hrs Extended hours
   
Mitigation/ Prevention Preparedness Response/Relief Recovery
Phase Phase Phase Phase
Pre-impact Post-impact
1 day 2 – 14 day 15+

Search &
Rescue
Mitigation Phase

  Impact
Mitigation/ Prevention Preparedness
Phase Phase
Pre-impact

Information
Hazards / Risks assessment & reduction
Mitigation Phase
• การจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อกาจัดหรือลดโอกาสการเกิด หรือลด
ผลกระทบของการเกิดภัยพิบัติ หรือเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข
- จัดให้มีระบบเฝูาระวังหรือข่าวกรองที่ดี เพื่อให้สามารถเตือนภัย
ล่วงหน้าได้
- มีการประเมินและค้นหาความเสี่ยง/ภัยคุกคามสุขภาพต่อเนื่อง แล้ว
หาทางลดปัจจัยเหล่านัน้ ลง
Preparedness Phase

  Impact
Mitigation/ Prevention Preparedness
Phase Phase
Pre-impact

Roles of SRRT in PHER


Incidence Command System
PHE Preparedness & Exercise
Logistics & Networking
Preparedness Phase

• เป็นระยะที่ต้องเตรียมความพร้อมทุกด้านก่อนที่จะเกิดภัยพิบัติหรือภาวะ
ฉุกเฉินทางสาธารณสุข เช่น
- การพัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุข
- การเตรียมแผนโต้ตอบภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข มีการซ้อมแผน และ
มีการเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่จาเป็นต้องใช้ไว้ให้พร้อม
เป็นต้น
Response Phase
Initial/Acute Phase
0-2 hrs Immediate hours
2-6 hrs Intermediate hours
6-12 hrs Late Intermediate hours
Impact 12-24 hrs Extended hours
 
Response/Relief Phase Recovery Phase
Post-impact
1 day 2 – 14 day 15+

Search/ Rescue
VR, OTOR, Community, EMS
Rapid Health assessment
Risks communication
Response Phase
Initial/Acute Phase
0-2 hrs Immediate hours
2-6 hrs Intermediate hours
6-12 hrs Late Intermediate hours
Impact 12-24 hrs Extended hours
 
Response/Relief Phase Recovery Phase
Post-impact
1 day 2 – 14 day 15+

Surveillance for PHE & Data Analysis


Epidemiological Investigation
Outbreak & Hazard Control
Professional SRRTs, PHERT
Response Phase
• ทันทีที่เกิดภัยพิบัติขึ้นในระยะนี้ทีม SRRT จะต้องดาเนินการควบคุมและ
ยับยั้งการเกิดโรคและภัยสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นได้ รวมถึงการควบคุมการ
ระบาดของโรคต่อไปใน
• ระยะนี้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขด้านการแพทย์ก็จะมีบทบาทในการให้ความ
ช่วยเหลือเหยื่อผู้เคราะห์ร้าย และการจัดบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน
ด้วย
Recovery Phase
Initial/Acute Phase
0-2 hrs Immediate hours
2-6 hrs Intermediate hours
6-12 hrs Late Intermediate hours
Impact 12-24 hrs Extended hours
 
Response/Relief Phase Recovery Phase
Post-impact
1 day 2 – 14 day 15+

Recovery
Transfer
Responsibilities
Recovery Phase
• เป็นระยะสุดท้ายในวงจรการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ซึง่ ต้อง
ดาเนินการต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าระบบทุกอย่างจะกลับสูส่ ภาวะปกติหรือ
ใกล้เคียงปกติ การฟื้นฟูบูรณะอาจใช้เวลาสั้นหรืออาจใช้เวลานานเป็น
เดือนหรือเป็นปี เพื่อให้พื้นทีป่ ระสบภัยพิบตั ิกลับคืนสู่สภาวะเดิม หรือมี
การปรับปรุงให้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติน้อยที่สุด
http://www.hsem.state/mn.us
Public Health Emergency Management Cycle
Initial/Acute Phase
0-2 hrs Immediate hours
2-6 hrs Intermediate hours
6-12 hrs Late Intermediate hours
Impact 12 – 24 hrs Extended hours
   
Mitigation/ Prevention Preparedness Response/Relief Recovery
Phase Phase Phase Phase
Pre-impact Post-impact
1 day 2 – 14 day 15+

- Surveillance & - Role of SRRT in PHER & ICS Search & - Surveillance for PHE - Rehabilitation
Intelligence - Planning for PHER & Exercise Rescue - Epidemiological - Restore system
- Hazards/Risks - Logistics Investigation Transfer tasks
assessment & - Networking - Risks & Hazard Control
reduction - Rapid Health assessment
- Risks communication
Comprehensive Emergency Management

การครอบคลุมอันตรายทุกด้าน
ภาคีเครือข่าย
วงจรการจัดการภาวะฉุกเฉิน 4 ระยะ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินแบบบูรณาการ
The integrated emergency management system

ระบบที่ออกแบบมาเพื่อใช้ความสามารถของระดับชุมชน
เป็นฐานของระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินระดับชาติ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินแบบบูรณาการ
The integrated emergency management system
1. การให้ความสนับสนุนการดาเนินงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดของหน่วย
บริการสาธารณสุขในทุกระดับ
2. การดาเนินงานตามมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการจัดการภาวะ
ฉุกเฉิน
3. การบูรณาการแผนการจัดการภาวะฉุกเฉินให้เป็นไปในทางเดียวกันทัง้
นโยบายและแนวปฏิบัติ
4. การนาแผน ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน และศักยภาพที่มีในพืน้ ที่มา
ประยุกต์ใช้ได้กับภาวะฉุกเฉินทุกประเภท
PB.214 Primary and Emergency Care
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การจัดการภาวะฉุกเฉินใน
ประเทศไทย
ให้ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. ๒๕๒๒
(๒) พระราชบัญญัติป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๔๒
คณะกรรมการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ

นายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกฯ ประธานฯ


รมว.มหาดไทย ปมท.
/ ปลัดรองประธานฯ
ก.มหาดไทย รองประธานฯ
ปลัด ก.กลาโหม ผบ.ตร. / ผบ.สส / ผอ.สานักงบประมาณ
ปลัด ก.เกษตรฯ ผบ.ทบ / ผบ.ทอ / ปลัด ก.เทคโนโลยีฯ
ผบ.ทร / เลขา สมช. ปลัด ก.พัฒนาสังคมฯ
ปลัด ก.สาธารณสุข
ปลัด ก.คมนาคม ปลัด ก.ทรัพยากรฯ
อธิบดีกรมปูองกันฯ ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน
เลขานุการ
อานาจหน้าที่
• กาหนดนโยบายในการจัดทาแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
• พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
ก่อนเสนอคณะรัฐมนตรี
• บูรณาการพัฒนาระบบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระหว่างหน่วยงาน
ของรัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องให้มี
ประสิทธิภาพ
อานาจหน้าที่
• ให้คาแนะนา ปรึกษาและสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย
• วางระเบียบเกี่ยวกับค่าตอบแทน ค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายในการ
ดาเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยความเห็นชอบของ
กระทรวงการคลัง
• ปฏิบัติการอื่นใดตามที่บัญญัตไิ ว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น หรือ
ตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
คณะกรรมการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ

กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นหน่วยงานกลางของรัฐ

1. จัดทาแผนปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยฯ
2. ศึกษาวิจัยเพื่อหามาตรการในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยฯ
3. ปฏิบัติการ ประสานการปฏิบัติ ให้การสนับสนุน และช่วยเหลือ
หน่วยงานของรัฐ อปท. และเอกชน และให้การสงเคราะห์เบื้องต้น
แก่ผู้ประสบภัย ผู้ได้รับภยันตราย หรือผู้ได้รับความเสียหายจากสาธารณภัย
4. แนะนา ให้คาปรึกษา และอบรมการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
5. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินการตามแผนฯ
แผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553 – 2557
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ผู้บัญชาการมีอานาจควบคุมและกากับการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยทั่ว
ราชอาณาจักรให้เป็นไปตามแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
ปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นรองผู้บัญชาการ

อธิบดีกรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
ผู้อานวยการกลางมีหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ทั่วราชอาณาจักร และมีอานาจควบคุมและกากับการปฏิบัติหน้าที่

ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็น ผู้อานวยการจังหวัด


จัดทาแผน / กากับการฝึกอบรม / ดูแลให้มีเครื่องมืออุปกรณ์ / สนับสนุนช่วยเหลือ
จัดตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจเมื่อเกิดสาธารณภัย
ปภ.จังหวัด เป็นกรรมการและเลขาฯ
กฎหมายเกี่ยวกับสาธารณภัย
http://61.19.54.137/law/dpmlaw/main/subindex.php?page=list&category=8
กระทรวงสาธารณสุข
พ.ร.บ.ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550

ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

พ.ร.บ.โรคติดต่อ 2523 พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน 2551


PHEM ประเทศไทย
นโยบายการเตรียมพร้อมแห่งชาติ (มติ ครม.20 ธค. 2548) พ.ร.บ.ปภ 2550
ระดับชาติ คณะกรรมการเตรียมพร้อมแห่งชาติ พ.ร.บ.กพฉ 2551
ศูนย์ประสานงานเตรียมพร้อมแห่งชาติ
สป.
คณะอนุกรรมการเตรียมพร้อม ปลัด-ประธาน
ระดับกระทรวง ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข สนย.-เลขา
(ศูนย์ปฏิบัติการเตรียมพร้อมฯ) รองปลัด-ประธาน
สพฉ-เลขา

ศูนย์ปฏิบัติการเตรียมพร้อมฯ
ระดับกรม ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข
กรมควบคุมโรค

ศูนย์ปฏิบัติการส่วนหน้า

ระดับพื้นที่ ศูนย์ปฏิบัติการเตรียมพร้อมฯ
ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขจังหวัด HEICS

Hospital Emergency Incident หน่วยปฏิบัติการ สคร/รพศ./รพท./รพช./สสอ./สอ./SRRT


Command System
PHER จังหวัด
ผังแสดงโครงสร้างศูนย์ปฏิบัติการเตรียมพร้อม
ด้านการแพทย์และการสาธารสุข ส่วนภูมิภาค ระดับจังหวัด
ผู้บัญชาการเหตุการณ์ (ด้านการแพทย์และการสาธารสุข)
หัวหน้างานด้านความปลอดภัย หัวหน้างานประชาสัมพันธ์
หัวหน้างานประสานงาน

หัวหน้างานสนับสนุนทั่วไป หัวหน้างานวางแผน หัวหน้าปฏิบตั ิการด้านเฝูาระวัง หัวหน้าปฏิบตั ิการด้านการแพทย์


สอบสวน ควบคุมโรค
ฝุายสื่อสารและขนส่ง ฝุายประเมินสถานการณ์ ฝุายรักษาพยาบาล
และประเมินผล ฝุายเฝูาระวังและควบคุมโรคเชิงรุก
ฝุายจัดซื้อและพัสดุ ฝุายสุขภาพจิต
ฝุายสนับสนุนกาลังคน ฝุายสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
ฝุายอาหารและเครื่องดื่ม (จนท.ด้านการแพทย์- ฝุายเภสัชกรรม
บุคลทั่วไป)
ฝุายจัดการศพ ฝุายห้องปฏิบัตกิ ารชันสูตร
ฝุายการเงินการคลัง
ฝุายอสม.และภาคประชาชน ฝุายสนับสนุนวิชาการ
SRRT
S : Surveillance
R : Rapid
R : Response
T : Team
ทีมเฝูาระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว
SRRT: Surveillance and Rapid Response Team
ทีมงานทางสาธารณสุขที่มีบทบาทหน้าที่
• เฝูาระวังโรคติดต่อที่แพร่ระบาดได้รวดเร็วรุนแรง
• ตรวจจับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public health emergency)
• สอบสวนโรคอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
• ควบคุมโรคฉุกเฉิน/ขั้นต้น
• แลกเปลี่ยนข้อมูลเฝูาระวังโรคและร่วมมือในการเฝูาระวังตรวจจับการ
ระบาด
องค์ประกอบของทีม SRRT
• หัวหน้าทีม : เป็นผู้นาทีมออกปฏิบัติงาน หรืออานวยการให้ทมี ออกปฏิบัติงาน
• แกนหลักของทีม : เป็นกลุ่มบุคลากรที่ทาหน้าที่เฝูาระวังโรคในยามปกติ และเมือ่ มี
การระบาดของโรค จะเป็นแกนหลักในการระดมทีมออกปฏิบัติงานโดยรวดเร็วทันที
• ผู้ร่วมทีม : เช่น แพทย์ พยาบาล สัตวแพทย์ บุคลากรทางห้องปฏิบัติการ
นักวิชาการควบคุมโรค สุขาภิบาล สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ เวชภัณฑ์ และงาน
สนับสนุนอื่นๆ
• บทบาทสาคัญของผู้ร่วมทีม
- ช่วยเหลือ สนับสนุนการเฝูาระวังตามหน้าที่ของตน โดยเฉพาะแพทย์ พยาบาล
เจ้าหน้าที่ Lab ที่เป็นด่านหน้าในการตรวจพบผู้ปุวย เชื้อโรค
- เข้ามาร่วมทีมทันที เมื่อมีการระบาดหรือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

คู่มือพัฒนาบุคลากรทีม SRRT, สานักระบาดวิทยา, 2549


ความสามารถในการตอบสนอง
กรม คร. สานักระบาดฯ
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ที่ ส่วนกลาง
รุนแรง มีความยุ่งยากซับซ้อน 3rd SRRT
หรือแปลกใหม่ สคร. กลุ่มระบาดฯ
เขต
การเฝูาระวังสอบสวนโรคภัยที่ได้
มาตรฐาน (โรคที่พบบ่อยใน สสจ. 2nd SRRT
พื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ)
จังหวัด งานระบาดฯ

ความสามารถระบาดวิทยา สสอ. 1st SRRT


พื้นฐาน และการสอบสวนโรค
อาเภอ CUP คปสอ.

แจ้งเหตุผิดปกติทางสาธารณสุข ตาบล PCU รพ.สต


PB.214 Primary and Emergency Care
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

บทบาทหน้าที่ของนักสาธารณสุข
ในงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุข
การบริการสาธารณสุขที่จาเป็นใน PHE
• การจัดการการบาดเจ็บหมู่
• การควบคุมโรคและภัย
• การบริการด้านสังคมจิตวิทยา
• การบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
• การดูแลด้านอนามัยเจริญพันธุ์
• การจัดการศพผู้เสียชีวิต
การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (PHER)
ความหมาย : การดาเนินการด้านต่างๆ เพื่อหยุดภาวะฉุกเฉิน หรือกู้
สถานการณ์ที่รุนแรงให้กลับสู่ภาวะปกติ ภายในระยะเวลา ที่สั้นที่สุด ด้วย
มาตรการที่ได้มีการเตรียมพร้อมไว้ อย่างมีประสิทธิผลสูงสุด โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการปูองกัน ควบคุม และยับยั้งไม่ให้โรคและภัยสุขภาพแพร่กระจาย
ออกไปในวงกว้าง และไม่เกิดความเสียหายต่อชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม

การพิจารณาตอบโต้ขึ้นกับระยะของการ
ดาเนินการ (PHEM)
Stage I : Day 1 Acute Phase Impact

- Emergency Medical Response (EMR) เป็นความสาคัญทีส่ ุด


- First response (FR)มักมาจากชุมชนที่ได้รับผลกระทบ
- มาตรการทางการแพทย์ ดาเนินการเป็นแบบเฉพาะหน้า
- การจัดสรรทรัพยากรในพื้นที่มักเกิดขึ้นได้เองอย่างมีประสิทธิภาพ
ก่อนที่จะได้ผล Rapid assessment
Stage II : Day 2 Response Phase
เหยื่อผู้เคราะห์ร้ายที่เข้าถึงได้ ก็จะได้รับการดูแลทางการแพทย์แล้ว
Rapid assessment จึงควรกาหนด :
- ความต้องการ EMR ในพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยากกว่า
- ความขาดแคลนทรัพยากรสาหรับ primary health care
- ความต้องการ health care, shelter, food, water
- ความต้องการทรัพยากรเพิ่มเติมอื่นๆ (national & international) เพื่อ
จัดบริการสุขภาพที่จาเป็น และ restock medical supplies /equipment
Stage III : Day 2-5 Response Phase
• การฟื้นคืนสูส่ ภาพเดิมของ Primary health care และการจัดหา ที่พกั
ชั่วคราวทีเ่ พียงพอ กลายเป็นความสาคัญลาดับต้น
Rapid assessment จึงควรกาหนด :
- อนามัยสิ่งแวดล้อม, อาหารทีเ่ พียงพอและปลอดภัย, การบริการ
สาธารณสุข
- การคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัย รวมถึง Shelter
สาหรับ vulnerable groups
- ฟื้นฟูระบบ primary health care และ health facilities
Stage IV : Day 5+ Response Phase
• ในระยะนี้ ควรมีการดาเนินการตามสภาพความเป็นจริงและ ข้อมูลที่
ได้รับ เริ่มดาเนิน Recovery ด้วย
The Recovery Process
Impact
Recovery Phase
Response Phase
1 day 2 – 14 day 15+
Long-term process
Most businesses never recover
Many people never recover
Encompasses all aspects of life
Encompasses all domains of community
The Recovery Process
Impact

Recovery Phase
Day 1 - 7 Day 7 - 30 Day 31+
ทาความสะอาด สร้างที่พักพิงชั่วคราว สร้างขึ้นใหม่
ระบบคมนาคม บูรณะระบบสาธารณูปโภค ที่พักอาศัยถาวร
ระบบสื่อสาร บริการด้านสังคม /รร. /วัด ฟื้นฟูผังชุมชน
สาธารณูปโภค ที่ทาการรัฐ/เอกชน ฯลฯ
ฯลฯ ด้านเศรษฐกิจ
ฯลฯ
งานที่จาเป็นต้องทาตามบทบาทหน้าที่
(US CDC Public Health Emergency Preparedness)
บทบาท หน้าที่ SRRT งานที่จาเป็นต้องทา
ก่อนเกิดเหตุ - การประเมินความเสี่ยง
1. เฝูาระวังโรค/ภัยสุขภาพ - การประเมินผลกระทบ
ที่มีแนวโน้มเป็น PHE - การจัดลาดับความเสี่ยง
2. ร่วมในการเตรียมความพร้อมรับ - การจัดทาแผนรองรับPHE
PHE
3. กรองสถานการณ์ และตรวจจับ - การวิเคราะห์และแปลความหมาย
เหตุการณ์ PHE ข้อมูลเฝูาระวัง
งานที่จาเป็นต้องทาตามบทบาทหน้าที่
(US CDC Public Health Emergency Preparedness)
บทบาท หน้าที่ SRRT งานที่จาเป็นต้องทา
ระหว่างเกิดเหตุ - ประเมินผลกระทบ
4. ประเมินสถานการณ์อย่างฉับพลัน - ประเมินความต้องการ
- เสนอแนะมาตรการ
5. สอบสวนโรค/การบาดเจ็บ - สอบสวนทางระบาดวิทยา
- หา source ของการระบาด
6. ควบคุมโรค/ภัยในขั้นต้น -กาหนดมาตรการควบคุม
- ดาเนินการควบคุม และ Logistics
7. เตือนภัย/สื่อสารความเสีย่ ง - กระตุ้นเตือน/สื่อสารความเสี่ยง
งานที่จาเป็นต้องทาตามบทบาทหน้าที่
(US CDC Public Health Emergency Preparedness)
บทบาท หน้าที่ SRRT งานที่จาเป็นต้องทา
หลังเกิดเหตุ
8. เฝูาระวังโรค/ภัยอย่างต่อเนื่อง - เฝูาติดตามการระบาด (Monitor)
โดยมีระบบการจัดการข้อมูล - จัดทาระบบการจัดการข้อมูล
(Information System Management)
-การฟืน้ ฟูบูรณะ( Recovery)
บทบาท หน้าที่ของ SRRT ในงาน PHER
1. เฝูาระวังโรค/ภัยสุขภาพที่มีแนวโน้มเป็น PHE
2. ร่วมในการเตรียมความพร้อมรับ PHE
3. กรองสถานการณ์ และตรวจจับเหตุการณ์ PHE
4. ออกดาเนินการประเมินสถานการณ์ทันทีที่เกิด PHE
5. สอบสวนโรค/การบาดเจ็บอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
6. ควบคุมโรคและภัยในขั้นต้น เพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาดไม่ให้ขยายวงกว้าง หรือ
ไม่ให้เกิน 2 generation
7. เตือนภัย และสือ่ สารความเสี่ยงโดยอาศัยข้อมูลการประเมินความเสี่ยง/สอบสวน
โรคเป็นระยะ
8. เฝูาระวังโรค/ภัยสุขภาพที่เกิดขึ้น โดยมีระบบการจัดการข้อมูลที่ใช้ใน PHE
SRRT : บทบาทด้านระบาดวิทยา
Outbreak
Epidemiological Surveillance Public Health Action

Ongoing & Systematic of Outbreak Investigation


- Health data collection, Prevention
- Analysis, Contain/ Control
- Interpretation and Reporting
- Dissemination.
PHERT : บทบาทด้านภาวะฉุกเฉิน
Pre-impact Post-impact
Impact
Preparation Initial/Acute Response/Relief Recovery
Phase Phase Phase Phase
1 2 – 14 15+

Mitigation Response Recovery


Search
Risks reduction Relief Rehabilitation
Rescue
Prevention
Preparedness
Surveillance System for PHE Restore system
Outbreak Investigation & Control Transfer responsibility
Intelligence Prevention of Health hazards
following PHE.
SRRT VS PHERT
Epidemiological Surveillance
 Data collection ถูกต้อง
Public Health Action
 Analysis  Outbreak Investigation
ครบถ้วน
 Interpretation  Disease contain & Control
ทันเวลา
 Dissemination  Epidemiological Study
SRRT  Community Diagnosis  Prevention of future outbreak
 Prioritize problems & Planning
Outbreak  Reporting
 Health Hazards/Risks Reduction
Pre-impact Post-impact

PHE preparedness PHER Rehabilitation


 Training for PHER Team Impact  Surveillance for PHE
 Planning, Exercise & ICS
Restore system
PHERT  Logistics management
 Investigation and control Transfer tasks
 Health hazards/risks reduction
Intelligence System  Prevention of future outbreak
 Networking Rapid assessment
 Health hazard assessment Risks communication
 Warning System
 Mitigation & Prevention
คาถาม ?
องค์บิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทยและสาธารณสุขไทย
“ ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตนเป็นที่สอง
ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
ลาภ ทรัพย์ และเกียรติยศจะตกแก่ท่านเอง
ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพไว้ให้บริสุทธิ์ ”

You might also like