Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

Finite Element Model สําหรั บท่ อคอนกรี ตเสริ มเหล็กขนาด 80 cm 

Material Properties:  

- เหล็กเสริมตามขวาง ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 5.5 mm, เหล็กเสริมตามยาว ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 4 mm 


Est = 200 GPa, Poisson’s ratio=0.32 
(สมมติให้ เหล็กเป็ น linear elastic material) 
- คอนกรี ต ความแข็งแรง 280 ksc = 27.47 MPa , Ec = 24.82 GPa , Poisson’s ratio=0.2 
tensile strength = 2.35 MPa, Shear transfer coefficient for open crack = 0.2, Shear 
transfer coefficient for closed crack = 0.3 

Elements ที่ใช้ ใน FE model (ANSYS 8.1): 

- สําหรับวัสดุคอนกรี ตจะใช้ element ชื่อ Solid‐65 (8‐noded concrete element, 3 DOFs/node) 


คุณสมบัติของ element แบบนี ้ คือถ้ าเกิด crack ขึ ้นมาใน element นันๆ
้ ค่าโมดูลสั ที่ตงฉากกั
ั้ บ  crack 
face จะถูกเปลี่ยนให้ เป็ นศูนย์
จํานวน element ที่ใช้ ใน FE model นี ้ คือ 12,320 elements 
- สําหรับเหล็กเส้ นจะใช้ element ชื่อ BEAM‐4 (3‐node, 6 DOFs/node) ซึง่ เป็ น element ที่สามารถ
รับภาระได้ ทงั ้ แรงดึง/แรงอัด และโมเมนต์ดดั  
จํานวน element ที่ใช้ ใน FE model นี ้ คือ 892 elements 

เนื่องจากปั ญหาเป็ นแบบสมมาตร เพื่อลดเวลาในการคํานวณ จึงใช้ ¼ ของ model เต็ม

¼ Model 

                                          
 
 

ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน,    ท่อคอนกรี ตเสริมเหล็กขนาด 80 cm  Page 1 


 
 

 
  ลักษณะของ concrete  element แบบ  Solid 65  

               
  ลักษณะของ 3-D Beam element แบบ  Beam 4  

 
ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน,    ท่อคอนกรี ตเสริมเหล็กขนาด 80 cm  Page 2 
 
ที่ภาระ 30 kN พบว่าเริ่มมีรอยแตกเกิดขึ ้นที่ผนังด้ านในของขอบบนและขอบล่างของท่อ (First crack) 

เริ่มมีรอยแตกที่ขอบด้ านใน

 
 
ความเค้ นดึงสูงสุดที่เกิดขึ ้นในเหล็กเส้ นมีคา่ ประมาณ 88 MPa = 897 ksc 

ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน,    ท่อคอนกรี ตเสริมเหล็กขนาด 80 cm  Page 3 


 
ความเครี ยด von Mises ในท่อคอนกรี ตมีคา่ ประมาณ + 0.003 ซึง่ แสดงให้ เห็นว่าคอนกรี ตที่ผนัง
ด้ านในของขอบด้ านบนและด้ านล่างท่อได้ พงั เสียหายแล้ ว

    ความเค้ นหลักสูงสุด (Max. principal stress), σ1 จะเห็นได้ วา่ เกิด tensile stress ที่ผิวนอกนอกของ


ท่อบริเวณกึง่ กลาง ตามรูป

tensile stress  

ที่ผิวนอกนอกของท่ อ 

                 

ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน,    ท่อคอนกรี ตเสริมเหล็กขนาด 80 cm  Page 4 


 
ความเค้ นหลัก (Principal stress), σ2 

                   
ความเค้ นหลัก (Principal stress), σ3 

                       
 

 
ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน,    ท่อคอนกรี ตเสริมเหล็กขนาด 80 cm  Page 5 
 
ที่ภาระ 52 kN พบว่ามีรอยแตกเกิดขึ ้นทัว่ ไปทังท่
้ อ รวมทังในบริ
้ เวณผิวด้ านนอกกึ่งกลางท่อ ซึง่ รับความ
เค้ นดึง ก็ได้ เกิดรอยแตกขึ ้นเช่นกัน 

เกิดรอยแตกที่ผิวด้ านนอกท่ อ

 
ความเค้ นดึงสูงสุดที่เกิดขึ ้นในเหล็กเส้ นมีคา่ ประมาณ 229 MPa = 2334 ksc 

            

ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน,    ท่อคอนกรี ตเสริมเหล็กขนาด 80 cm  Page 6 


 
ความเครี ยด von Mises  สูงสุดในท่อคอนกรี ตมีคา่ ประมาณ + 0.01 ซึง่ แสดงให้ เห็นว่าคอนกรี ต
ที่ผนังด้ านในของขอบด้ านบนและด้ านล่างท่อได้ พงั เสียหายเพิ่มขึ ้นไปจนถึงบริเวณสีเขียวอ่อน
และบริ เวณผิวด้ านนอกของท่อที่กึ่งกลางด้ วย

               

ความเค้ นหลักสูงสุด (Max. principal stress), σ1 

                
ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน,    ท่อคอนกรี ตเสริมเหล็กขนาด 80 cm  Page 7 
 
ความเค้ นหลัก (Principal stress), σ2 

          
ความเค้ นหลัก (Principal stress), σ3 

 
ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน,    ท่อคอนกรี ตเสริมเหล็กขนาด 80 cm  Page 8 
 
เปรี ยบเทีทียบผลการททดลองและผลลวิเคราะห์ จาก
า Finite Element Anaalysis

60

52
50
45
50

42
35
40
แรงกด (kN)

Exp. CPAC
C PFA 25%

30
30 Exp. CPAC
C PFA 20%

20 FEA

10

แรงที่ท่อแยยก
แรงกดสูงสุด
 
สรุ ปผลกการวิเคราะหห์  

จะเห็นได้ วา่ ผลการวิ


ผ เคราะะห์ด้วยวิธี Fiinite  elemeent  พบว่าค่าแรงกดที่ท่อแแยกมีคา่ ตํ่ากวว่าผลการ
ทดลอง แต่วธิ ี Finitee  element พพบว่าค่าแรงกกดสูงสุดมีคาสู
า่ งกว่าผลกาารทดลอง อย่างไรก็ดีคา่ ที่ได้
ไ ทงจาก
ั้
การทดลลองและวิธี Finite element ยังคงน้ อยกว่
ย าข้ อกําหนนดของ มอก. สาเหตุนา่ จะมาจากปริมาณเหล็
ม ก
เสริมตามมขวางไม่เพียงพอ
ย แนวทาางการแก้ ไข อาจจะใช้
อ เหล็ล็กเสริมตามขวางแบบวงกลมสองชัน 
้ หรื
ห อ แบบ
วงรี เนื่องจากพบว่
อ าผิวนอกท่อตรรงบริเวณกึ่งกลาง
ก (บริเวณ
ณผิวด้ านนอกกท่อที่ทํามุมฉฉากกับทิศทาางแรงกด)
เกิดความมเสียหายเนื่องจาก
อ tensile  stress  ด้ วย ในกรณี
ณีใช้ เหล็กเสริมตามขวางแบ
ม บบวงรี ควรต้ต้ องมีการ
mark ทิศทางการวางงที่ผิวนอกท่อให้
อ ชดั เจน สําหรั
า บการติดตัตงที
้ ่ถกู ต้ องด้ วย

ผศ. ดร. ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน,    ท่อคอนกรีรี ตเสริ มเหล็กขนนาด 80 cm Page 9 


 

You might also like