Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

Techno logy

ก ารกัดกร่อนเป็นปัญหาสำ�คัญในการใช้งานวัสดุประเภทโลหะในงานวิศวกรรม
คาดว่าในปีหนึ่ง ๆ ความเสียหายของเศรษฐกิจในประเทศสหรัฐ อเมริกา
เนื่องจากการกัดกร่อนของโครงสร้างโลหะ ชิ้นส่วนอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร
ที่ผลิตจากโลหะ คิดเป็นจำ�นวนถึง 5 เปอร์เซ็นต์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ1
ผู้ใช้งานโลหะในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างอาคาร ระบบท่อ ภาชนะ
ถังใต้ดิน หรือเครื่องจักรอุปกรณ์ต่าง ๆ นั้น จึงจำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะต้องตระหนัก

การกัดกร่อน
ถึงปัญหาการกัดกร่อนที่เกิดขึ้น

ของโลหะในงานวิศวกรรม
ผศ.ดร.ธาชาย เหลืองวรานันท์
ภาควิชาวิศวกรรมโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tachai.L@chula.ac.th

ในประเทศสหรัฐอเมริกา การแก้ไข เนื่องจากการกัดกร่อนอาจรุนแรงอย่างมาก หากไม่มีการด�ำเนินการป้องกันที่ถูกต้องจนท�ำให้


ปัญหา เนื่องจากการกัดกร่อนของโครงสร้าง โครงสร้างโลหะเกิดความเสียหายเป็นอันตรายต่อผูอ้ าศัย ระบบท่อ หรือภาชนะบรรจุรวั่ ซึม เกิดการ
ต้องใช้วศิ วกรการกัดกร่อน (corrosion engineer) รัว่ ไหลของก๊าซพิษ เป็นอันตรายต่อชีวติ ของบุคลากรในโรงงาน และเป็นปัญหาสิง่ แวดล้อม ระบบ
ผู้มีความเชี่ยวชาญพิเศษ มีประกาศนียบัตร การผลิตต้องหยุด ท�ำให้สูญเสียทรัพยากรอย่างมหาศาล
รับรองในการตรวจสอบโครงสร้างโลหะต่าง ๆ การที่จะสามารถป้องกันหรือควบคุมการกัดกร่อนนั้น วิศวกรต้องเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึง
ว่า ปลอดภัยต่อการใช้งาน2 เนือ่ งจากความเสีย- สาเหตุของการกัดกร่อน เพือ่ หลีกเลีย่ ง หรือก�ำจัดสาเหตุเหล่านัน้ ในทางวิชาการ การกัดกร่อนเป็น
หายทีเ่ กิดจากการกัดกร่อนอาจมีความรุนแรง ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี ที่ประกอบด้วยปฏิกิริยาออกซิเดชัน และปฏิกิริยารีดักชันในสื่อกลางที่เรียกว่า
เกิดความเสียหายที่เป็นอันตรายต่อชีวิตได้ อิเล็กโตรไลต์ เนือ้ โลหะเกิดปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน เปลีย่ นธาตุโลหะกลายเป็นไอออนของโลหะ และ
ปัจจุบันในประเทศไทยได้หันมาใช้โครงสร้าง จ่ายอิเล็กตรอนอิสระออกมา ไอออนโลหะที่เกิดขึ้นอาจจะละลายในของเหลวอิเล็กโตรไลต์ หรือ
เหล็กกล้า เป็นโครงสร้างอาคารหรือสะพาน อาจเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีตอ่ เนือ่ งเป็นสารประกอบ เช่น สารประกอบออกไซด์ หรือไฮดรอกไซด์ ซึง่ ก็คอื
ทดแทนคอนกรีตเสริมเหล็กมากขึ้น และมี สนิมนัน่ เอง ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชัน คือ ปฏิกริ ยิ าทีม่ กี ารรับอิเล็กตรอนจากธาตุโลหะ เช่น ไอออนไฮโดรเจน
อุตสาหกรรมมากมาย ทีจ่ ำ� เป็นต้องมีระบบท่อ รับอิเล็กตรอนแล้วกลายเป็นก๊าซไฮโดรเจน หรือก๊าซออกซิเจนร่วมกับน�้ำรับอิเล็กตรอนแล้วกลาย
ล�ำเลียงของเหลวหรือก๊าซที่ซับซ้อน มีภาชนะ เป็นไฮดรอกไซด์ไอออน เป็นต้น ส่วนอิเล็กโตรไลต์ คือ สื่อกลางที่น�ำอิเล็กตรอนจากปฏิกิริยา
บรรจุสารเคมี หรือก๊าซต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรม ออกซิเดชันมายังปฏิกิริยารีดักชัน ดังตัวอย่าง ปฏิกิริยาเคมีการเกิดสนิมเหล็กในน�้ำ ซึ่งอาจเกิดใน
ปิโตรเลียม ความส�ำคัญของปัญหาของการ รูปของเหล็กไฮดรอกไซด์ คือ Fe(OH)2 หรือ Fe(OH)3 เป็นต้น
กัดกร่อนจึงทวีขึ้นเรื่อย ๆ และจ� ำเป็นต้องมี
ระบบการป้ อ งกั น หรื อ ควบคุ ม ปั ญ หาการ Fe(s) + ½O2(g) + H2O(l) → Fe2+(aq) + 2OH-(aq) → Fe(OH)2(s)
กัดกร่อนให้อยู่ในขอบเขตที่ยอมรับได้ คาด-
การณ์ได้ และมีความปลอดภัย ความเสียหาย 2Fe(OH)2(s)+ ½O2(g) + H2O(l) → 2Fe(OH)3(s)

April-May 2011, Vol. 38 No.216 077 <<<


Techno Production
logy

ดังนั้นในทางไฟฟ้าเคมีแล้ว การป้องกันการเกิดการกัดกร่อน เกิดขึ้นได้ระหว่างของเหลวที่ใช้ระบายความร้อนและผิวโลหะภายใน


คื อ การป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ มี ส ามปั จ จั ย ที่ ก ล่ า วข้ า งต้ น คื อ ปฏิ กิ ริ ย า แผงระบายความร้อน อีกวิธีการหนึ่ง คือ การป้องกันแบบแคโทดิก
ออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน และอิเล็กโตรไลต์ เมื่อเกิดการกัดกร่อน (cathodic protection) เช่น การใช้โลหะที่ถูกกัดกร่อนง่ายกว่า (มี
ขึ้น วิศวกรจึงจ�ำเป็นที่จะต้องทราบว่า การกัดกร่อนที่พบนั้น มีปฏิกิริยา เสถียรภาพทางเคมีตำ�่ กว่า) มายึดติดกับชิน้ งานโลหะทีต่ อ้ งการป้องกัน
ออกซิเดชันคืออะไร ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชันคืออะไร และอะไรเป็นอิเล็กโตรไลต์ การกัดกร่อน ท�ำให้การสูญเสียอิเล็กตรอน (ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน) ไปเกิด
ก็จะสามารถควบคุมไม่ให้มีปัจจัยทั้งสามได้อย่างถูกแนวทาง สามารถ ขึ้นกับชิ้นโลหะที่น�ำมายึดติดนั้นแทน ส�ำหรับระดับของเสถียรภาพทาง
แก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุได้อย่างถูกต้อง เคมีของโลหะชนิดต่าง ๆ สามารถตรวจสอบได้จากอนุกรมศักย์ไฟฟ้า
มาตรฐาน ในหนังสือเคมีพื้นฐานในระดับอุดมศึกษา
การกัดกร่อนรูปแบบที่สอง คือ การกัดกร่อนแบบกัลวานิก
(galvanic corrosion) เกิดขึ้นเมื่อชิ้นส่วนสองชิ้นที่ผลิตจากโลหะต่าง
(ก) (ข) ประเภทมาสัมผัสกัน เช่น ชิน้ ส่วนเหล็กกล้าทีม่ สี กรูทที่ �ำด้วยทองแดงยึด
ติดอยู่ เนื่องจากทองแดงมีความเสถียรภาพทางเคมีสูงกว่าเหล็กกล้า
ท�ำให้เหล็กกล้าในส่วนทีส่ มั ผัสกับทองแดง คือบริเวณรอบรูสกรู เกิดการ
กัดกร่อนขึ้นได้ โดยเหล็กกล้าจะสูญเสียอิเล็กตรอนให้แก่ทองแดง เกิด
การกัดกร่อนขึ้นในบริเวณที่เป็นผิวเหล็กกล้าที่ชิดกับสกรูทองแดง การ
(ค) (ง)
หลีกเลีย่ งการกัดกร่อนรูปแบบนี้ สามารถท�ำได้โดยการออกแบบเครือ่ ง
มือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ โดยหลีกเลี่ยงการใช้โลหะหลายชนิดเป็นส่วน
ประกอบที่ต้องสัมผัสกัน ควรใช้โลหะชนิดเดียวกันส�ำหรับชิ้นส่วนที่
จ�ำเป็นต้องสัมผัสกัน เป็นต้น เมือ่ พิจารณาการป้องกับแบบแคโทดิกใน
(จ) (ฉ) หัวข้อที่แล้ว ก็จะเห็นว่า การป้องกันแบบแคโทดิก คือ การเกิดการ
กัดกร่อนแบบกัลวานิกต่อชิ้นงานที่เราน�ำมายึดติดนั่นเอง
การกัดกร่อนรูปแบบที่สาม คือ การกัดกร่อนในซอก (crevice
corrosion) ซึ่งเกิดขึ้นในบริเวณที่ลับตา เช่น พื้นที่ใต้หัวสกรู ใต้หัวน็อต
(ช) (ซ)
ซอกของภาชนะโลหะที่ไม่สามารถท�ำความสะอาดได้อย่างทั่วถึง การ
กัดกร่อนประเภทนี้ เกิดจากความแตกต่างของความเข้มข้นของอิออน
▲ ภาพที่ 1 รูปวาดภาคตัดขวางของชิน้ โลหะแสดงความเสียหายทีเ่ กิดจากการกัดกร่อนรูปแบบต่าง ๆ3
(ก) แบบสมำ�่ เสมอ (ข) แบบกัลวานิก (ค) แบบในซอก (ง) กัดกร่อนควบคูก่ บั การกัดเซาะ
หรือก๊าซที่ละลายในสารละลายที่สัมผัสกับโลหะซึ่งรวมถึงอากาศหรือ
(จ) การกัดกร่อนร่วมกับความเค้น (ฉ) แบบรูเข็ม (ช) แบบเกิดขึน้ ทีข่ อบผลึกโลหะ บรรยากาศในการใช้งาน โดยในบริเวณซอกจะมีความเข้มข้นของ
(ซ) แบบสกัดเฉพาะที่
สารละลายที่ตกค้างสูง ท�ำให้สารละลายในบริเวณดังกล่าวมีความ
สามารถในการรับอิเล็กตรอนมากกว่าบริเวณภายนอก ท�ำให้โลหะใน
การกัดกร่อนมีหลายประเภท4 ดังแสดงในภาพที่ 1 ซึ่งเป็นรูป บริเวณซอกถูกกัดกร่อน จึงมักไม่เกิดการกัดกร่อนบริเวณรอบ ๆ ซอกนัน้
วาดของภาคตั ด ขวางแสดงความเสี ย หายที่ เ กิ ด จากการกั ด กร่ อ น การกัดกร่อนรูปแบบนี้มีความอันตราย เนื่องจากยากต่อการถูกตรวจ
ประเภทต่าง ๆ วิศวกรจ�ำเป็นต้องสังเกต หรือตรวจสอบอย่างเป็นระบบ พบ จึงมักถูกตรวจพบภายหลังจากการกัดกร่อนเกิดขึน้ อย่างรุนแรงแล้ว
จึงจะสามารถชี้ชัดได้ว่าเกิดปัญหาการกัดกร่อน และเป็นการกัดกร่อน เมือ่ เกิดสนิมหลุดร่อนออกมาจากบริเวณซอกดังกล่าว เช่น เมือ่ ตรวจพบ
ประเภทใด เนื่องจากการกัดกร่อนแต่ละประเภทนั้น มีสาเหตุและ เศษสนิมรอบบริเวณหัวน็อต แสดงว่าเกิดการกัดกร่อนที่รุนแรงขึ้นใน
แนวทางแก้ไขที่แตกต่างกันไป การกัดกร่อนในรูปแบบที่พบมากที่สุด ซอกพืน้ ทีใ่ ต้หวั น็อตขึน้ แล้ว การป้องกันสามารถท�ำได้โดยการออกแบบ
คือ แบบสม�่ำเสมอ (uniform attack) คือ มีการกัดกร่อนในอัตราที่เท่า ๆ การยึดติดของชิ้นส่วนเข้าด้วยกันด้วยการเชื่อม เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้
กันทุกบริเวณพื้นผิวของโลหะ ท�ำให้เกิดสนิมหลุดร่อน พบเห็นได้ง่าย หมุดยึดหรือน็อต ใช้ประเก็นที่ไม่ดูดซับความชื้น และเมื่อท�ำความ
เนื้อโลหะถูกกัดกร่อนและบางลงเรื่อย ๆ การกัดกร่อนรูปแบบนี้ง่ายต่อ สะอาดชิ้นส่วนอุปกรณ์ หรือภาชนะต่าง ๆ ควรท�ำความสะอาดอย่าง
การจัดการ สามารถคาดการณ์ความเสียหายได้โดยง่าย เช่น ผิวโลหะ ถี่ถ้วนไม่ให้เหลือความสกปรกตกค้างในบริเวณซอกหลืบ เนื่องจากจะ
เปลือยที่ไม่ได้มีการทาสีทับ หรือเคลือบผิว บริเวณเหล่านี้จะเกิดการ ท�ำให้เกิดการกัดกร่อนแบบนี้ขึ้นได้
กัดกร่อนขึ้นอย่างสม�่ำเสมอทั่วทั้งบริเวณ หากการกัดกร่อนเกิดขึ้นกับ การกัดกร่อนรูปแบบทีส่ คี่ อื การกัดกร่อนเนือ่ งจากการไหล หรือ
พืน้ ผิวบริเวณกว้าง ปริมาณวัสดุทสี่ ญ
ู เสียก็จะมีปริมาณมากเช่นกัน การ การกัดกร่อนที่ควบคู่กับการกัดเซาะ (erosion-corrosion) เป็นการ
ป้องกันสามารถท�ำได้หลายแนวทาง วิธีการที่ง่ายที่สุด คือ การทาสีทับ กัดกร่อนทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ มีของไหลมาตกกระทบผิวโลหะ เช่น บริเวณข้องอ
หรือการเคลือบผิว เพื่อป้องกันไม่ให้ผิวโลหะสัมผัสกับสิ่งแวดล้อม ใน ของท่อน�้ำ ในบริเวณเหล่านี้เนื้อโลหะเกิดความเสียหายในอัตราที่เร็ว
ระบบปิด เช่น แผงระบายความร้อนของรถยนต์ อาจใช้สารยับยั้งการ กว่าบริเวณอื่น และท�ำให้เกิดปฏิกิริยาในการกัดกร่อนได้ง่าย แม้โลหะ
กัดกร่อนผสมในของเหลวทีส่ มั ผัสกับผิวโลหะ ยับยัง้ ปฏิกริ ยิ าเคมีทอี่ าจ จะมีการเคลือบผิวที่ดี แต่เมื่อผ่านการใช้งานเป็นระยะเวลานานก็อาจ

>>> 078 April-May 2011, Vol.38 No.216


Production Techno
logy

จะไม่สามารถทนทานต่อการกัดกร่อนรูปแบบนีไ้ ด้ เนือ่ งจากผลของแรง 800 องศาเซลเซียส ในบริเวณขอบผลึกจะสูญเสียธาตุโครเมียมที่


ทางกลจากของไหลที่มาตกกระทบจะท�ำให้เกิดความเสียหายต่อชั้น ละลายในเนื้อเหล็ก ท�ำให้มีเสถียรภาพทางเคมีที่ต�่ำกว่าบริเวณในผลึก
ผิวเคลือบ และเกิดการกัดกร่อนขึ้นได้ วิธีการเดียวที่สามารถลดความ จึงเกิดการกัดกร่อนขึน้ เฉพาะทีบ่ ริเวณขอบผลึก ในแบบหลังนัน้ เป็นกรณี
รุนแรงของการกัดกร่อนรูปแบบนี้ คือ การออกแบบท่อที่หลีกเลี่ยงการ ทีเ่ นือ้ โลหะเป็นสารละลายของแข็งของธาตุสองชนิดทีม่ คี วามเสถียรภาพ
ใช้ทอ่ ทีโ่ ค้งงอมาก ไม่ให้เกิดการไหลอย่างปัน่ ป่วน และการกระแทกของ ทางเคมีที่แตกต่างกัน เช่น ทองเหลืองเป็นสารละลายของสังกะสีใน
ของไหลต่อผิวโลหะของท่อ หรือใช้ทอ่ ทีม่ ขี นาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่ ทองแดง ซึง่ ทองแดงมีเสถียรภาพทางเคมีทสี่ งู กว่าสังกะสี จะพบว่า เมือ่
ขึ้น เพื่อลดความเร็วของของไหลในท่อลง แต่ยังสามารถคงอัตราการ เกิดการกัดกร่อนขึ้น เนื้อสังกะสีจะถูกกัดกร่อนออกไป เหลือธาตุทอง
ไหลเท่าเดิม แดงในสัดส่วนการผสมที่สูงขึ้น ท�ำให้เนื้อโลหะมีสีส้มเข้มตามสีของ
การกัดกร่อนรูปแบบที่ห้า คือ การกัดกร่อนร่วมกับความเค้น ทองแดงมากขึ้น และมีความพรุน เนื่องจากการสูญเสียสังกะสี ท�ำให้
(stress corrosion cracking) เกิดขึน้ เมือ่ ชิน้ โลหะได้รบั ความเค้น และอยู่ ชิ้นงานสูญเสียความแข็งแรง เกิดความเสียหายได้ง่าย
ในสิ่งแวดล้อมที่สามารถเกิดการกัดกร่อนได้ การกัดกร่อนจะเกิดขึ้น การจัดรูปแบบการกัดกร่อนเป็นแปดประเภทนัน้ เพือ่ ให้สะดวก
อย่างรุนแรงในบริเวณที่มีความเค้นสูง เช่น โครงสร้างโลหะในส่วนที่ได้ ต่อการศึกษา ในความเป็นจริงแล้วอาจมีการกัดกร่อนหลายรูปแบบเกิด
รับความเค้นแรงดึงจะถูกกัดกร่อนอย่างรวดเร็วกว่าในส่วนไม่ได้รับ ขึ้นพร้อม ๆ กัน ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและชนิดของโลหะ จึงท�ำให้
ความเค้นแรงดึง ความเค้นนี้อาจไม่ได้เกิดจากแรงกระท�ำโดยตรง แต่ เกิดความยุ่งยากในกาวิเคราะห์แก้ปัญหา วิศวกรจึงจ�ำเป็นต้องมี
เป็นความเค้นตกค้างภายในเนื้อโลหะในระหว่างกระบวนการผลิต เช่น มาตรการการป้องกันการกัดกร่อนที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้วัสดุโลหะเกิด
ที่บริเวณหัวตะปูและปลายตะปูนั้น มีความเค้นตกค้างอยู่สูง เนื่องจาก ความเสียหายเนื่องจากการกัดกร่อน หรือให้มีอัตราการกัดกร่อนที่อยู่
การทุบขึ้นรูปในระหว่างการผลิต เมื่อตะปูสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่จะ ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้
สามารถเกิดการกัดกร่อนขึ้น จะพบว่า การกัดกร่อนเกิดขึ้นที่บริเวณหัว ปัจจุบันการศึกษาวิจัยทางด้านการกัดกร่อนได้ก้าวหน้าไป
และปลายตะปูก่อนเสมอ เนื่องจากความเค้นตกค้างในเนื้อโลหะใน พร้อม ๆ กับนวัตกรรมของเทคโนโลยีวัสดุ การประยุกต์ใช้วัสดุชนิด
บริเวณดังกล่าว ใหม่ ๆ ในงานวิศวกรรม เช่น วัสดุผสมเนือ้ พืน้ โลหะเสริมแรงด้วยอนุภาค
การกัดกร่อนรูปแบบทีห่ ก เรียกว่า การกัดกร่อนแบบรูเข็ม (pit- เซรามิก5 หรือวัสดุจากเทคโนโลยีนาโน6 ก็มคี วามจ�ำเป็นต้องศึกษาการ
ting) เป็นการกัดกร่อนที่มีความรุนแรงเฉพาะจุด เป็นที่ทราบกันดีว่า กัดกร่อน หรือการเสือ่ มสภาพของวัสดุเหล่านี้ เพือ่ ทีจ่ ะสามารถคาดคะเน
แม้แต่เหล็กกล้าไร้สนิมยังสามารถถูกกัดกร่อนในรูปแบบนี้ โดยเฉพาะ ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น หลังจากผ่านการใช้งานเป็นเวลานาน การ
ในสภาวะแวดล้อมที่มีไอออนของคลอรีน การกัดกร่อนมีลักษณะเป็นรู กัดกร่อนจึงถือเป็นศาสตร์ที่ส�ำคัญมากแขนงหนึ่งในงานวิศวกรรมที่ไม่
ลึก เกิดจากสารละลายทีต่ กค้างภายในรูมคี วามเข้มข้นสูง ท�ำให้เกิดการ อาจมองข้ามได้ Techno logy

กัดกร่อนรุนแรงภายในรูลึกขึ้นเรื่อย ๆ การกัดกร่อนประเภทนี้ ส�ำคัญ


อย่างยิ่งต่อภาชนะหรือถังบรรจุที่ท�ำด้วยโลหะ เนื่องจากรูเล็กที่เกิดการ เอกสารอ้างอิง
กัดกร่อนนั้น ยากต่อการตรวจพบ จะตรวจพบเมื่อเกิดการรั่วไหลของ 1. H.H. Uhlig and W.R. Revie, Corrosion and Corrosion Control:
ของไหลที่บรรจุอยู่ในภาชนะแล้ว ท�ำให้มีความอันตรายจากการรั่วซึม An Introduction to Corrosion Science and Engineering 3rd edition, John
ของก๊าซหรือของเหลวที่บรรจุอยู่ภายใน การป้องกันการกัดกร่อน Wiley and Sons, Inc. (1985).
ประเภทนี้ คือ ขั้นตอนสุดท้ายในการผลิตภาชนะ ต้องปรับผิวให้เรียบ 2. http://web.nace.org/departments/education/Certification/
และมีความสม�่ำเสมอทางเคมีของเนื้อโลหะมากที่สุด เนื่องจากความ CertSearch.aspx (June 2010).
ขรุขระที่ผิว หรือตามจุดบกพร่องต่าง ๆ ที่ผิวจะเป็นจุดก�ำเนิดของรูที่จะ 3. Denny A. Jones, Principles and Prevention of Corrosion 2nd
ถูกกัดกร่อนอย่างต่อเนือ่ งต่อไป การท�ำความสะอาดล้างชิน้ ส่วนอุปกรณ์ Edition, Prentice Hall (1995).
ต่าง ๆ ต้องท�ำอย่างทั่วถึง ไม่ให้เกิดการตกค้างของสารเคมีในบาง 4. William D. Callister, Materials Science and Engineering: An
บริเวณทีอ่ าจท�ำให้เกิดการกัดกร่อนเฉพาะจุด เป็นลักษณะการกัดกร่อน Introduction 6th edition, John Wiley and Sons, Inc. (2002).
แบบรูเข็มขึน้ ได้ จากการศึกษาวิจยั พบว่า เหล็กกล้าไร้สนิมชนิดทีม่ สี ว่ น 5. T. Luangvaranunt, C. Dhadsanadhep, J. Umeda, E. Nisarata-
ผสมของโมลิบดีนัม สามารถต้านทานการกัดกร่อนแบบรูเข็มได้ดีกว่า naporn, K. Kondoh, Aluminum-4mass%Copper / Alumina Composites
ชนิดอื่น ๆ Produced from Aluminum Copper and Rice Husk Ash Silica Powders by
การกัดกร่อนรูปแบบทีเ่ จ็ดและรูปแบบทีแ่ ปด เป็นการกัดกร่อน Powder Forging, Materials Transactions, Vol. 51 No. 4 (2010) pp.756-761.
ในเนื้อหาวิชาการทางวิศวกรรมโลหการ เนื่องจากต้องศึกษาในระดับ 6. K. Kondoh, H. Fukuda, J. Umeda, H. Imai, B. Fugetsu, M.
ผลึก (เกรน) โลหะ กล่าวคือ การกัดกร่อนที่เกิดขึ้นที่ขอบของผลึกของ Endo, Microstructural and mechanical analysis of carbon nanotube re-
โลหะ (intergranular corrosion) และ การกัดกร่อนแบบสกัดเฉพาะที่ inforced magnesium alloy powder composites, Materials Science and
(selective leaching หรือ dealloying) ในแบบแรกนั้น เกิดขึ้นเมื่อขอบ Engineering A, Vol. 527, No. 16-17 (2010) pp. 4103-4108.
ของผลึกโลหะมีสว่ นผสมทางเคมีทมี่ เี สถียรภาพทางเคมีทตี่ ำ�่ กว่าบริเวณ
ในผลึก เช่น เหล็กกล้าไร้สนิม เมื่อผ่านความร้อนในช่วงอุณหภูมิ 500-
April-May 2011, Vol. 38 No.216 079 <<<

You might also like