สถานการณ์และการจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 56

สถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อมมีความสำคัญต่อการดำรง
ชีวิตของมนุษย์ เช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิ
ตอื่นๆ แต่การพึ่งพิงอาศัยประโยชน์
จากทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย์
ล้วนทำให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อมเสื่อมโทรมลง เกิดเป็ น
วิกฤตการณ์ทงั ้ ทางด้านบรรยากาศ
ดิน น้ำ ป่ าไม้ สัตว์ป่า และพลังงานขึน
้ ทั่วโลก การศึกษาสถานการณ์ด้าน
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติจะช่วยให้สามารถวิเคราะห์
สถานการณ์วิกฤตการณ์ เพื่อเป็ นฐานความรู้ในการสร้างความตระหนัก
และช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรชาติต่อไป
ทรัพยากรธรรมชาติ (natural resource) หมายถึง
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................

ทรัพยากรธรรมชาติเป็ นปั จจัยสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของ


ประเทศ ซึ่งจำเป็ นอย่างยิ่งในทางอุตสาหกรรม เป็ นตัวบ่งชีถ
้ ึงความร่ำรวย
ของประเทศในทางเศรษฐศาสตร์กล่าวว่า “ปั จจัย 3 อย่างที่ถือว่าเป็ น
ปั จจัยในการผลิตได้แก่ ที่ดิน แรงงาน และทุน” และปั จจัยสี่ซึ่งเป็ นสิ่ง
จำเป็ นพื้นฐานของมนุษย์ก็ได้มาจากทรัพยากรธรรมชาติทงั ้ สิน
้ จะเห็นได้
กว่า ปั จจัยสำคัญต่อการดำรงอยู่ของชีวิตก็คือทรัพยากรธรรมชาติ ผล
การใช้ทรัพยากรอย่างไม่ร้ค
ู ุณค่า รวมทัง้ ระบบการจัดการการใช้
ทรัพยากรกับกลไกไม่มีประสิทธิภาพ มีผลทำให้ทรัพยากรธรรมชาติร่อยห
ร่อเสื่อมโทรมยั่งยืนส่งผลกระทบต่อประโยชน์ที่จะพึงเกิดแก่มนุษย์ทงั ้ ชน
รุ่นปั จจุบันและชนรุ่นอนาคต
สิ่งแวดล้อมมีทงั ้ สิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตเกิดจากการกระทำของ
มนุษย์หรือมีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น อากาศ ดิน หิน แร่ธาตุ น้ำ ห้วย
หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร พืชพรรณสัตว์ต่าง ๆ
ภาชนะเครื่องใช้ต่าง ๆ ฯลฯ สิ่งแวดล้อมดังกล่าวจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่
เสมอ โดยเฉพาะมนุษย์เป็ นตัวการสำคัญยิ่งที่ทำให้สิ่งแวดล้อม
เปลี่ยนแปลงทัง้ ในทางเสริมสร้างและทำลาย
จะเห็นว่า ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี
ความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ต่างกันที่สงิ่ แวดล้อมนัน
้ รวมทุกสิ่งทุกอย่าง
ที่ปรากฏอยู่รอบตัวเรา ส่วนทรัพยากรธรรมชาติเน้นสิ่งที่อำนวยประโยชน์
แก่มนุษย์มากกว่าสิ่งอื่น

ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แบ่งตามลักษณะที่นำมาใช้ได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วไม่หมดสิน
้ ได้แก่
    1) ประเภทที่คงอยู่ตามสภาพเดิมไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เลย
เช่น พลังงาน จากดวงอาทิตย์ ลม อากาศ ฝุ ่น ใช้เท่าไรก็ไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงไม่ร้จ
ู ักหมด
    2) ประเภทที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากถูกใช้ในทางที่ผิด เช่น
ที่ดิน น้ำ ลักษณะภูมิประเทศ ฯลฯ ถ้าใช้ไม่เป็ นจะก่อให้เกิดปั ญหาตามมา
ได้แก่ การปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ำ ๆ ซาก ๆ ในที่เดิม ย่อมทำให้ดินเสื่อม
คุณภาพ ได้ผลผลิตน้อยลงถ้าต้องการให้ดินมีคุณภาพดีต้องใส่ปุ๋ยหรือ
ปลูกพืชสลับและหมุนเวียน
2. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วหมดสิน
้ ไป ได้แก่
  1) ประเภทที่ใช้แล้วหมดไป แต่สามารถรักษาให้คงสภาพเดิมไว้ได้
เช่น ป่ าไม้ สัตว์ป่า ประชากรโลก ความอุดมสมบูรณ์ของดิน น้ำเสียจาก
โรงงาน น้ำในดิน ปลาบางชนิด ทัศนียภาพอันงดงาม ฯลฯ ซึ่งอาจทำให้
เกิดขึน
้ ใหม่ได้
   2) ประเภทที่ไม่อาจทำให้มีใหม่ได้ เช่น คุณสมบัติธรรมชาติของดิน
พร สวรรค์ของมนุษย์ สติปัญญา เผ่าพันธุ์ของมนุษย์ชาติ ไม้พุ่ม ต้นไม้
ใหญ่ ดอกไม้ป่า สัตว์บก สัตว์น้ำ ฯลฯ
    3) ประเภทที่ไม่อาจรักษาไว้ได้ เมื่อใช้แล้วหมดไป แต่ยังสามารถนำ
มายุบให้ กลับเป็ นวัตถุเช่นเดิม แล้วนำกลับมาประดิษฐ์ขน
ึ ้ ใหม่ เช่น โลหะ
ต่าง ๆ สังกะสี ทองแดง เงิน ทองคำ ฯลฯ
    4) ประเภทที่ใช้แล้วหมดสิน
้ ไปนำกลับมาใช้อีกไม่ได้ เช่น ถ่านหิน
น้ำมันก๊าซ
สิ่งแวดล้อม
ความหมายสิ่งแวดล้อม ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
พ.ศ. 2535 หมายถึง
...................................................................................................................
.........................................................
...................................................................................................................
........................................................
จากสิ่งแวดล้อมเทคโนโลยีและชีวิตให้ความหมายของสิ่งแวดล้อมไว้
ดังนี ้
สิ่งแวดล้อม หมายถึงสิ่งที่เกิดขึน
้ ตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึน

ที่เป็ นรูปธรรมและนามธรรมสิ่งที่เห็นได้ด้วยตาและไม่สามารถเห็นได้ด้วย
ตาสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตตลอดจนสิ่งที่เป็ นทัง้ ที่ให้คุณและให้โทษ
กลุ่มนักสิ่งแวดล้อมให้นิยามว่า “สิ่งแวดล้อม” หมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่
อยู่รอบตัวเรา
ประเภทของสิ่งแวดล้อม
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ (Natural environment) สิ่งที่เกิดขึน

เองตามธรรมชาติ เช่น ป่ าไม้ สัตว์ป่า อากาศ ดิน น้ำ มนุษย์ สิ่งเหล่านี ้
ต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมอื่นประกอบ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทย่อย
- สิ่งที่มีชีวิต (Biotic Environment) หรือเรียกว่าสิ่งแวดล้อมทาง
ชีวภาพ (Biological Environment) เกิดขึน
้ เองตามธรรมชาติมี
คุณสมบัติเฉพาะตัวของสิ่งที่มีชีวิต เช่น พืช สัตว์ มนุษย์
- สิ่งที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Environment) หรือ สิง่ แวดล้อมทาง
กายภาพ อาจจะมองเห็นหรือมอง ไม่เห็น เช่น แร่ธาตุ อากาศ เสียง
2. สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึน
้ (Man-Made Environment) ได้
จากทรัพยากรดัง้ เดิม แล้วมนุษย์เป็ นผู้ดัดแปลง เช่น ถนน บ้านเมือง
ซึ่งเป็ นสิ่งแวดล้อมเป็ นนามธรรม (Abstract หรือ Social
Environment) เช่น วัฒนธรรม ประเพณี การเมือง ศาสนา กฎหมาย

มนุษย์มีความสัมพันธ์กันสิง่ แวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติอย่างไร


.........................................................................................................................................................................
.................
.........................................................................................................................................................................
.................
.........................................................................................................................................................................
สถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมใน
ประเทศไทย
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย
ปั จจุบันสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ
ไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วทัง้ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรป่ าไม้และสัตว์ป่า แร่พลังงาน เป็ นต้น การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
ได้ส่งผมกระทบต่อการดำเนินชีวิตของคนไทยเป็ นอย่างมาก

1.  ที่ดินและทรัพยากรดิน
ประเทศไทยมีพ้น
ื ที่ทงั ้ หมดประมาณ
320,696,886 ไร่ หรือ 513,115 ตาราง
กิโลเมตร พื้นที่เป็ นทิวเขา เชิงเขา หุบเขา
ส่วนใหญ่จะอยู่ในภาพเหนือและภาคตะวัน
ตกของประเทศส่วนในภาคใต้จะมีพ้น
ื ที่เป็ น
เขาสูงแล้วลาดไปสู่ชายฝั่ งทัง้ ในด้านของอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ใน
ภาคตะวันออกมีทิวเขาสลับเนินเขาและที่ราบโดยรอบทิวเขาส่วนบริเวณ
ภาคกลาง นัน
้ มีพ้น
ื ที่เป็ นที่ราบลุ่ม มีภูเขาโดดอยู่ประปราย โดยเฉพาะใน
ภาคกลางตอนบน
1.1 การใช้ประโยชน์ของดิน  แบ่งออกได้ ดังนี ้
1.2  การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน เนื่องจากที่ดินไม่สามารถเพิ่มได้ ดัง
นัน
้ การเพิ่มขึน
้ ของพื้นที่ขอการใช้พ้น
ื ดินอย่างหนึ่งจะมีผลกระทบต่อการ
ใช้ประโยชน์ที่ดินอีกอย่างหนึ่ง

1.3 สาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินแต่ละ
ประเภท มีดังนี ้
- ความต้องการเพิ่มพื้นที่เกษตรกรรม เนื่องจากความต้องการก้านของ
ผลผลิตเพิ่มมาขึน
้ และแสวงหาที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ ทำให้ต้อง
บุกรุกพื้นที่ป่าไม้
- การขยายตัวของชุมชนที่เพิ่มขึน
้ อย่างต่อเนื่องจากการเพิ่มขึน
้ ของ
ประชากรทำให้ต้องมีการเปลี่ยนแปลงการใช้พ้น
ื ที่ เช่น จากที่เคยเป็ น
พื้นที่เกษตรกรรมก็เปลี่ยนแปลงเป็ นพื้นที่การสร้างที่อยู่อาศัย สร้าง
ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เช่นถนน ไฟฟ้ า แหล่งน้ำ เป็ นต้น
- พื้นที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ลกลง เนื่องจากการเข้าไปใช้พ้น
ื ที่ของทา
ราชการการบุกรุกเข้าไปทำกิน สร้างที่อยู่อาศัย การปลูกป่ าเพื่อขยาย
พื้นที่ป่าไม้
- ความต้องการใช้น้ำมากขึน
้ จากการขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูร้อนของ
ทุกปี ความต้องการพื้นที่มาสร้างที่กักเก็บน้ำจึงเพิ่มขึน
้ เช่น สร้างเขื่อน
อ่างเก็บน้ำ คลองเก็บน้ำ คลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรและผลผลิตกระแส
ไฟฟ้ า เป็ นต้น
1.4 วิกฤตการณ์เกี่ยวกับที่ดินและทรัพยากรดิน
จากความจำกัดของที่ดิน การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดิน การใช้
ที่ดินไม่เหมาะสมกับสมรรถนะของที่ดิน และการจัดระเบียบการใช้ที่ดินที่
ไม่ถูกต้องของผู้ครองที่ดินสาเหตุต่างๆ เหล่านีล
้ ้วนเป็ นวิกฤตการณ์เกี่ยว
กับที่ดิน และจะเป็ นปั ญหาของประเทศมากยิ่งขึน
้ หากไม่มีมาตรการแก้ไข
ที่ถูกต้องเหมาะสม โดยวิกฤตการณ์เกี่ยวกับที่ดินของประเทศไทย มีดังนี ้
1. ความจำกัดของจำนวนที่ดิน  ประเทศไทยมีพ้น
ื ที่อยู่ประมาณ
320 ล้านไร่ โดยเป็ นทัง้ พื้นที่ที่ใช้เป็ นที่อาศัย เป็ นพื้นที่ทำการเกษตรและ
อุตสาหกรรม เป็ นพื้นที่ป่าและที่ดินร้างว่างเปล่า ในขณะที่จำนวน
ประชากรของประเทศเพิ่มขึน
้ จาก 18 ล้านคน ใน พ.ศ. 2490 เป็ น 64
ล้านคนใน  พ.ศ. 2552 การพัฒนาประเทศทำให้ชุมชนเมืองขยายตัว
เข้าไปในพื้นที่เกษตรกรรม เช่น การขยายของกรุงเทพ ทำให้บริเวณพื้นที่
ฝั่ งธนบุรีที่เคยเป็ นสวนผลไม้และนาข้าวหมดไป เป็ นต้น และในส่วนของ
การพัฒนาเศรษฐกิจที่มีการเร่งเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเช่น ข้าว
ยางพารา อ้อย มันสำปะหลัง เป็ นต้น ทำให้มีการบุกรุกพื้นที่ป่า โดย
เฉพาะในพื้นที่ภาคเหลือ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่ และน่าน
พื้นที่ไม้บริเวณเหล่านัน
้ กลายพื้นที่เกษตรกรรม ความต้องการที่ดินทัง้ ใช้
เป็ นต้น ที่อยู่อาศัย ชุมชน และใช้เพื่อการเพาะปลูกจึงสูงขึน
้ อย่างต่อเนื่อง
ในขณะที่ที่ดินหรือพื้นที่ของประเทศไม่สามารถเพิ่มขึน
้ ได้
2. การเปลีย
่ นสภาพการใช้ที่ดิน ปริมาณพื้นที่ทางการเกษตรของ
ประเทศที่เพิ่มมากขึน
้ โดยการเปลี่ยนสภาพที่ดินที่เป็ นป่ าไม้โดยใน พ.ศ.
2523 มีพ้น
ื ที่ทำการเกษตรเพียง 147.1 ล้านไร่ ครัง้ ต่อมาใน พ.ศ. 2551
พื้นที่ ทำการเกษตรได้เพิ่มขึน
้ เป็ น 170.2 ล้านไร่  จึงเป็ นไปได้ว่าพื้นที่
ทำการเกษตรที่เพิ่มขึน
้ ประมาณ 23 ล้านไร่นน
ั ้ เป็ นบุกรุกเข้าไปในพื้นที่
ป่ าไม้ ดังจะเห็นได้จากพื้นที่ป่าไม้ในภาคเหนือ เช่น จังหวัดเชียงราย
ลำปาง แพร่ น่าน เป็ นต้น ล้วนนำมาเป็ นพื้นที่ทำสวน ทำไร่ และทำนา
เป็ นส่วนมาก ในส่วนของที่ดินที่ใช้เป็ นชุมชน ก็เช่นเดียวกัน พ.ศ. 2523 มี
พื้นที่ชุมชนเพียง 1.4 ล้านไร่ และต่อมาใน พ.ศ. 2551 ได้เพิ่มพื้นที่เป็ น
14.4 ล้านไร่ การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินดังกล่าวทำให้พ้น
ื ที่ป่าไม้
และพื้นที่ว่างเปล่าลดลง ซึ่งจะมีผลกระทบต่อระบบนิเวศและวิกฤตการณ์
โลกร้อนที่อยู่ในปั จจุบัน
3. การพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชนและสาธารณูปโภค การพัฒนา
อุตสาหกรรมนับตัง้ แต่การเปลี่ยนแปลงที่ตงั ้ ของโรงงานจากในเมืองไปอยู่
เมืองนอก เช่น จากในกรุงเพทมหานครไปอยู่บริเวณรังสิต บริเวณจังหวัด
ปทุมธานี และอำเภอบางปะอิน อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
รวมทัง้ การไปจัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรมต่างๆ เช่นบริเวณแหลงฉบัง จังหวัด
ชลบุรี และบริเวณมาบตาพุด จังหวัดระยอง ล้วนเป็ นการเข้าไปบุกรุก
พื้นที่เกษตรกรรมที่มีอยู่ก่อน เมื่อมีการขยายตัวของการใช้พ้น
ื ที่
อุตสาหกรรมออกไป ชุมชนก็ขยายตามไปด้วย คือ เป็ นบ้านจักสรรร้านค้า
สถานบริการรวมทัง้ สาธารณูปโภค เช่น ถนน น้ำประปา ไฟฟ้ า การ
สื่อสารและสถานที่ราชการต่างก็ต้องขยายตามไปด้วย การพัฒนาดังกล่าว
ล้วนทำให้ที่ดินที่มีอยู่อย่างจำกัดยิ่งขาดแคลนยิ่งขึน
้ หรือไม่ก็เกิดการบุกรุก
ไปใช้พ้น
ื ที่ป่าไม้และพื้นที่ว่างเปล่าต่อไปอีก
์ ือครองที่ดิน ผู้ที่ถือครองที่ดินที่เป็ นผู้มี
4. การขาดกรรมสิทธิถ
์ ี่ดินตามกฎหมายนัน
กรรมสิทธิท ้ มีเป็ นส่วนน้อย ผู้ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมมักเป็ นผู้เช่าที่ดินทำกิน หรือไม่ก็เข้าไปใช้ประโยชน์จากที่ดิน
์ ี่ดินให้ได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย
โดยรัฐยังไม่สามารถมอบกรรมสิทธิท
ทำให้ไม่สามารถพัฒนาที่ดินที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้เต็มศักยภาพ หรือ
ไม่ก็ขาดความรู้ความเข้าใจในการครอบครองที่ดิน จนเกิดการฟ้ องร้องให้
ออกจากพื้นที่ เช่น กรณีของชาวบ้านจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ถูกศาล
ตัดสินให้ออกจากที่ดิน เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 เป็ นต้น นอกจาก
นีย
้ ังมีกรณีการออกโฉนดที่ดินมนที่สาธารณะ ซึ่งมีตัวอย่างที่จังหวัดลำพูน
จำนวนหลายพันไร่ กรณีดังกล่าวก่อให้เกิดความขัดแย่งและการร้องเรียง
ของชาวบ้านเกิดขึน
้ ในหลายพื้นที่โดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
5. ปั ญหาการถือครองที่ดิน การบุกรุกที่ดินของรัฐทัง้ ที่เป็ นพื้นที่ป่า
ไม้และที่สาธารณะประโยชน์ ประชาชนเข้าไปอยู่อาศัยและประกอบ
อาชีพโดยขาดสิทธิในการครอบครองที่ดินตามกฎหมาย หรือการที่
ประชาชนเข้าไปครอบครองอย่างถูกต้องแต่รัฐประกาศให้เป็ นที่ดินของรัฐ
ในภายหลัง ทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในภายหลัง ทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐและ
ประชาชนเกิดความขัดแย้งกัน และนอกจากนีท
้ ี่ดินที่เป็ นที่อยู่อาศัยมัน
์ ย่างถูกต้อง เมื่อระยะเวลาผ่านมานาน ทำให้ไม่
ไม่มีการโอนกรรมสิทธิอ
สามารถระบุสิทธิข์ องผู้ถือครองได้อย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
ระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกันเองนอกจากนัน
้ ในการจัดรังวัด
ตรวจสอบที่ดินตามเอกสารดัง้ เดิมมักจะปรากฏพื้นที่ดินทับซ้อนกันซึ่ง
ทำให้เกิดความขัดแย้งได้เช่นกัน
6. การเกิดภัยธรรมชาติ  ภัยธรรมชาติที่มักเกิดขึน
้ ในประเทศไทย
และก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ที่สำคัญ
ได้แก่ น้ำท่วมรวมทัง้ การพัดเอาดินโคลนไหลไปทำความเสียหายแก่ชีวิต
บ้านเรือน สาธารณูปโภค และผลผลิตทางการเกษตร เช่น ใน พ.ศ. 2548
ทีอำ
่ เภอลับแล อำเภอน้ำปาด และอำเอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ทำให้เกิด
ความเสียหายนับพันล้านบาท ส่วนในพื้นที่อ่ น
ื ๆ เช่น จังหวัดเพชรบูรณ์ 
น่าน แพร่ สุโขทัย พิจิตร เป็ นต้น ก็เกิดน้ำท่วมสร้างความเสยหายทุกปี
นอกจากนีพ
้ ายุฤดูร้อนก็มักจะเกิดในช่วงเดือนเมษายน ที่อากาศร้อนจัด
จนเป็ นภัยต่อบ้านเรือนและทรัพย์สินเป็ นจำนวนมาก
7. แผ่นดินทรุดตัว บริเวณพื้นที่ที่มีการใช้นำบาดาลมาก เช่น พื้นที่
กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี และปทุมธานี ได้มีการนำน้ำ
บาดาลขึน
้ มาใช้อย่างต่อเนื่องมากว่า 30 ปี โดย เฉพาะพื้นที่บริเวณย่าน
รามคำแหง บางนา และในจังหวัดสมุทรปราการ แผ่นดินได้ทรุดตัวลง
แล้วกว่า 1 เมตร และยังทรุดตัวลงอย่างต่อเนื่อง จนทำให้ภาครัฐต้อง
กำหนดมาตรการห้ามขุดเจาะน้ำบาดาลขึน
้ มาใช้ และให้ใช้น้ำผิวดิน (น้ำ
ในแม่น้ำ) มาทำประปาให้บริการเพิ่มมากขึน

พื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดการทรุดตัวหรือดินถล่มระดับสูงมีอยู่ทั่ว
ภูมิภาคและหลายหมู่บ้าน เช่น จังหวัดเพชรบูรณ์ที่อำเภอเมือง อำเภอ
ชนแดน และอำเภอบึงสามพัน จังหวัดเชียงรายที่อำเภอเมือง อำเภอ
แม่จัน และอำเภออื่นๆ จังหวัดน่านที่อำเภอปั ว อำเภอท่าวังผาอำเภอ
เมือง และอำเภออื่นๆ จังหวัดกาญจนบุรี อำเภอทองผาภูมิ จังหวัด
อุดรธานี ที่อำเภอนายูง และอำเภอน้ำโสม จังหวัดนราธิวาส ที่อำเภอ
สุคิริน อำเภอศรีสาคร อำเภอสุไหงปาดี และอำเภออื่นๆ
8. ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ หมายถึงดินที่มีธาตุอาหารสำหรับพืช
ต่ำ หรือมีธาตุอาหารแต่พืชไม่สามารถนำสารอาหารไปใช้ได้ทงั ้ นีอ
้ าจจะ
เกิดการยึดตัวแน่น การเกิดสภาวะกรดจัด เค็มจัด การถูกชะล้างการใช้
ที่ดินโดยขาดการบำรุงรักษา และการปลูกพืชผักซ้ำซาก
- ดินเปรีย
้ วเป็ นดินที่มีค่า pH ต่ำมาก ทำให้ธาตุอาหารพืชไม่
สามารถละลายออกมาใช้ประโยชน์ได้ ประโยชน์ได้ ประเทศไทยมีดิน
เปรีย
้ วประมาณ 9.4 ล้านไร่ อยู่ในภาคกลางประมาณ 5.6 ล้านไร่ เช่น
บริเวณจังหวัดปทุมธานี นครนายก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และชลบุรี
และเป็ นบริเวณพื้นที่ฝั่งทะเลตะวันออกเฉียงใต้และฝั่ งทะเลตะวันออก
ของภาคใต้อีกประมาณ 3.8 ล้านไร่
- ดินเค็มเป็ นดินที่มีปริมาณเกลือที่ละลายน้ำได้มากเกินไป บริเวณ
พื้นที่ดินเค็มส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 4.3 ล้านไร่
เช่น จังหวัดนครราชสีมา ขอนแก่น มหาสารคาม เป็ นต้น ส่วนดินเค็ม
บริเวณชายฝั่ งทะเลภาคใต้และภาคตะวันออก มีพ้น
ื ที่ประมาณ 3.7 ล้าน
ไร่
- ดินเสื่อมโทรม เป็ นดินที่ต้องมีการจัดการปรับปรุงเป็ นพิเศษจึงจะ
ใช้เพาะปลูกได้ เช่นดินทรายมีพ้น
ื ที่ประมาณ 6 ล้านไร่ อยู่ในภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือ  3 ล้านไร่ นอกนัน
้ กระจายอยู่ในภาคต่างๆ ดินทรายดาน
มีพ้น
ื ที่ประมาณ 6 แสนไร่ พบมากในภาคใต้และภาคตะวันตก ดินลูกรัง
และดินตื้นมีอยู่ประมาณ 52 ล้านไร่ เป็ นดินที่ไม่อุ้มน้ำและขาดอุดม
สมบูรณ์ และดินเมืองร้างเป็ นดินที่ในบริเวณที่ทำเหมือนมาก่อน พบมาก
ในภาคใต้ เช่นจังหวัดพังงา ภูเก็ต ระนอง และสงขลา ภาคตะวันออกพบ
ทั่งหวัดจันทบุรีและตราด

แนวทางแก้ไขปั ญหาวิกฤตของทรัพยากรดิน
1. การแก้ไขปั ญหาการชะล้างพังทลายของดิน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………

2. การแก้ไขปั ญหาดินขาดความอุดมสมบูรณ์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………

3. การแก้ไขปั ญหาดินเค็ม

2. น้ำ
น้ำบนพื้นโลกประกอบด้วยน้ำทะเล
ประมาณร้อยละ 97 และน้ำจืดมีประมาณ
ร้อยละ 3 แหล่งน้ำที่อำนวยประโยชน์ต่อ
มนุษย์ มีดังนี ้
- แหล่งน้ำผิวดิน ....................................................................
- แหล่งน้ำใต้ดิน………………………………………………………………
- แหล่งน้ำจากฟ้ า คือ น้ำฝน
- แหล่งน้ำเค็มจากทะเลหรือมหาสมุทรซึ่งมีปริมาณมหาศาล

ประโยชน์ของน้ำ
- ใช้ในการอุปโภคบริโภค เช่น ใช้เพื่อการดื่ม ชำระล้างทำความสะอาด
เป็ นต้น
- ใช้ในการเพาะปลูก เช่น ใช้ในการทำนา ทำสวน ทำไร่ ปลูกผัก เป็ นต้น
- ใช้ในภาคอุตสาหกรรม เช่น ใช้เป็ นส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์ ใช้ในการ
ระบายความร้อนให้กับเครื่องจักร ใช้ในภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
และบริการ เป็ นต้น
- ใช้ในการผลิตน้ำประปาและการผลิตกระแสไฟฟ้ า ซึง่ เป็ นการผลิตที่มี
ต้นทุนต่ำ ทัง้ ไม่ก่อให้เกิด มลพิษต่อสิง่ แวดล้อม
- ใช้ในการคมนาคมขนส่ง แม้ว่าปั จจุบันการคมนาคมทางน้ำจะลดลงมา
แล้วแต่ยังมีบางชุมชนยังคงใช้ในการเดินทางและการขนส่งทางน้ำอยู่ โดย
เฉพาะการขนส่งระหว่างประเทศ เช่น แม่น้ำโขง
- ใช้การเพาะเลีย
้ งสัตว์น้ำ แหล่งน้ำนอกจากจะเป็ นแหละเพาะพันธุ์สัตว์
น้ำแล้วยังใช้ในการเพาะเลีย
้ งสัตว์ย้ำเพื่อสร้างรายได้
- ใช้ในด้านของการนันทนาการ เพื่อพักผ่อนหย่อนใจ และการเล่นกีฬา
เช่นการแข่งขันกีฬาทางน้ำ ใช้เป็ นที่พักผ่อนทางชายหาด

วิกฤตการณ์ทรัพยากรน้ำ เกิดจากสาเหตุหลักๆ ดังนี ้


               1. การขาดแคลนน้ำ การเพิ่มจำนวนประชากร การเพิ่ม
ผลผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรม รวมถึงการเพิ่มปริมาณการใช้น้ำ
ของครอบครัวและชุมชน ทำให้เกิดการขาดแคลนน้ำ โดยเฉพาะในฤดูแล้ง
พบว่า เกิดการขาดแคลนน้ำที่จะใช้ทำน้ำประปาในหลายพื้นที่ รวมทัง้
ขาดแคลนน้ำในการใช้เพาะปลูกและอุตสาหกรรมด้วยเช่น ในจังหวัด
ชลบุรี จันทบุรี ตราด ระยอง ปราจีนบุรี เป็ นต้น
              2. น้ำเสียและสารพิษในน้ำ การทิง้ น้ำเสียจากบ้านเรือนและ
โรงงานอุตสาหกรรมลงสูแ
่ หล่งน้ำ ทำให้น้ำเน่าเสีย สัตว์น้ำไม่สามารถ
ดำรงชีวิตอยู่ได้ รวมถึงไม่สามารถนำมาใช้อุปโภคบริโภคหรือใช้ใน
การเกษตรได้ เช่นน้ำ ในแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำท่าจีน และลำคลองต่างๆ
ในกรุงเทพมหานคร เป็ นต้น
             3. น้ำท่วม เป็ นปั ญหาที่เกิดขึน
้ กับพื้นที่ต่างๆ ของ
ประเทศไทยเป็ นประจำทุกปี โดนเฉพาะ.ในช่วงฤดูฝนที่ได้รับอิทธิพลจาก
พายุต่างๆ ในทะเลจีนใต้ ทำให้พ้น
ื ที่ทางการเกษตรบ้าเรือน และทรัพย์สิน
เสียหาย ในบริเวณและพื้นที่ที่เกิดน้ำท่วมเป็ นประจำ ได้แก่ จังหวัดน่าน
แพร่ สุโขทัย และพิจิตร นอกจากนีย
้ ังเป็ นพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา
คือ จังหวัดสิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และ
กรุงเทพฯ ที่เกิดปั ญหาน้ำท่วมเป็ นประจำ
              4. น้ำทะเลหนุน ในช่วงฤดูร้อนของทุกปี เป็ นเวลาที่ปริมาณ
น้ำจากแม่น้ำไหลลงสู่อ่าวไทยน้อยลง ทำให้ทะเลหนุนเข้ามาในลำน้ำสาย
หลัก เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำท่าจีน เป็ นต้น การที่น้ำทะเลหนุนมาสูง
หมายถึง น้ำเค็มจะเข้ามาปะปนกับน้ำจืด ทำให้สัตว์น้ำจืดตายสวนผลไม้
และบ้านเรือนเสียหาย รวมถึงประชาชนไม่สามารถใช้น้ำได้โดยเกิดขึน
้ ริม
แม่น้ำเจ้าพระยา ในจังหวัดสมุทรปาการ และกรุงเทพฯ อยู่ทุกปี
             5. น้ำบาดาลลงระดับ น้ำบาดาลหรือน้ำใต้ดินได้ลดระดับต่าง
ลงในทุกปี ของพื้นที่ จนกลายเป็ นที่วิตกกว่าน้ำเค็มจากทะเลไหลเข้ามา
แทนที่ทำไม่สามารถนำน้ำบาดาลขึน
้ มาใช้ได้ เช่น ในจังหวัด
สมุทรปราการ นนทบุรี กรุงเทพมหานคร มีการขุดเจาะน้ำบาดาลขึน
้ มา
ใช้ทำให้เกิดปั ญหาแผ่นดินทรุดตามมาอีกด้วย
            6. ความตื้นเขินของแหล่งน้ำ  เกิดจากตะกอน ดินทราย ที่ถูก
พัดมากับกระแสน้ำ เป็ นสาเหตุทำให้แหล่งน้ำตื้นเขิน น้ำไหลผ่านไปได้ช้า
ทำให้ในช่วงฤดูฝนจะมีปริมาณน้ำมากจะทำให้เกิดน้ำท่วม เช่น ลำน้ำมูล
ในจังหวัดบุรีรัมย์ ลำน้ำอิง จังหวัดเชียงราย เป็ นต้น นอกจากนีว้ ัชพืชที่อยู่
ในแหล่งน้ำ เช่น ผักตบชวาจะเป็ นอุปสรรคต่อการไหลของน้ำ และทำให้
แหล่งน้ำตื้นเขิน บริเวณที่มีผักตบชวาจำนวนมากจนก่อให้เกิดปั ญหา
เช่น แม่น้ำท่าจีน จังหวัดนครปฐม แม่น้ำปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี
เป็ นต้น

แนวทางแก้ไขปั ญหาวิกฤตทรัพยากรน้ำในประเทศไทย
...............................................................................................................................................................................
.... ..........................................................................................................................................................................
......... .....................................................................................................................................................................
.............. ................................................................................................................................................................
................... ...........................................................................................................................................................
........................ ......................................................................................................................................................
............................. .................................................................................................................................................
.................................. ............................................................................................................................................
.......................................

3. ทรัพยากรป่ าไม้และสัตว์ป่า
ป่ าไม้เป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของ
มนุษย์ เนื่องจากเป็ นแหล่งอาหาร ยารักษาโลกและ
ยังสามารถนำมาสร้างเป็ นที่อยู่อาศัย อุปกรณ์เครื่อง
ใช้อีกด้วย ประเทศไทยตัง้ อยู่ในภูมิภาคของโลกที่
อุดมสมบูรณ์ ไปด้วยป่ าไม้ ดังจะเห็นได้ว่าเมื่อ
ประมาณ 40 ปี ที่แล้ว ประเทศไทยมีพ้น
ื ที่ป่าไม้อยู่
ถึง 171 ล้านไร่ (ร้อยละ 53 ของพื้นที่ประเทศทัง้ หมด 320 ล้านไร่)
กระทั่งจากรายงานของกรมป่ าไม้ใน พ.ศ. 2551 พื้นที่ป่าไม้ลดลงเหลือ
99.15 ล้านไร่ เท่านัน
้ และการลดลงของพื้นที่ป่าไม้นน
ั ้ ยังส่งผงกระทบต่อ
การลดลงของจำนวนสัตว์ป่าอีกด้วย
        จากนัน
้ นโยบายเพิ่มปริมาณป่ าไม้ด้วยการเพิ่มพื้นที่อนุรักษ์และส่ง
เสริมการปลูกป่ า อีกทัง้ การประกาศปิ ดป่ า ตัง้ แต่ พ.ศ. 2532 เป็ นต้นมา
ส่งผลให้พ้น
ื ที่ป่าไม้มีปริมาณเพิ่มขึน
้ แต่การลักลอบตัดไม้และล่าสัตว์ก็ยัง
มีอยู่อย่างต่อเนื่อง
ตารางแสดงชนิดของป่ าไม้ในประเทศไทย
ชนิด บริเวณที่พบ พืชพรรณธรรมชาติ
ป่ าดิบชื้น บริเวณฝนตกชุก ภาคใต้ ยาง ตะเคียง ปาล์ม หวาย ไผ่
และภาคตะวันออก เถาวัลย์
ป่ าดิบแล้ง ทุกภาคของประเทศ มะค่าโมง ตะเคียงหิน ปาล์ม หวาย
ขิง ข่า
ป่ าดินเขา ภาคเหนือและภาคตะวัน ไม้วงศ์ก่อ สน สามพันปี พญาไม้
ออกเฉียงเหนือ อบเชย
ป่ าสน ภาคเหนือและภาคตะวัน สน พลวง เต็ง รัง
ออกเฉียงเหนือ
ป่ าชาย บริเวณชายทะเลที่เป็ น โกงกาง แสม ลำพู
เลน โคลน คือ ชายฝั่ งอ่าวไทย
ชายฝั่ งทะเลตะวันออก
และตะวันตก
ป่ า ภาคเหนือ ภาคกลาง และ สัก แดง ประดู่ มะค่าโมง กก ไผ่
เบญจพรร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ป่ าพรุ ริมฝั่ งทะเลที่มีน้ำขังและ จิก อินทนิลน้ำ อบเชย หวาย หมาก
บริเวณปากแม่น้ำในภาค แดง
ใต้ (โดนเฉพาะจังหวัด
นราธิวาส)

ประโยชน์ของป่ าไม้ มนุษย์ร้จ
ู ักใช้ประโยชน์จากป่ าไม้มาเป็ นเวลา
ยาวนาน และได้รับประโยชน์จากป่ าไม้ ทัง้ โดยตรงและโดยอ้อม ดังนี ้
1. การใช้ไม้เป็ นวัสดุก่อสร้างและใช้สอย การใช้ไม้สร้างบ้านเรือน
อุปกรณ์ใช้สอย อื่นๆเช่น ตู้ โต๊ะ และเครื่องมือเครื่องครัวใช้ในชีวิตประจำ
วัน นอกจากนัน
้ ยังรวมถึงการใช้ผลผลิต อื่นๆ จากต้นไม้ เช่น ยางไม้ สี
จากเปลือก ราก ใบ เมล็ดของพืช เป็ นต้น
2. ใช้เป็ นอาหารและยารักษาโรค ส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ราก
ลำต้น ใบ ดอกและผลได้ใช้เป็ นอาหารและยารักษาโรค รวมทัง้ ยังสกัดเอา
ยางหรือส่วนสำคัญของพืชมาผลิตเป็ นยารักษาโรคได้ด้วย
3. ใช้เป็ นเชื้อเพลิง ต้นไม้ ถูกตัดมาใช้เป็ นเชื้อเพลิงสำหรับหุงต้ม
ประกอบอาหารและเป็ นเชื้อเพลิงเพื่อกิจการอื่นๆ เช่น ที่พัก เผาไล่แมลง
รวมทัง้ นำไม้และยางมาเป็ นแสงสว่างในเวลากาลคืน
4. ช่วยลดโลกร้อน ต้นไม้จะช่วยนำคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศมา
ใช้ และให้ออกซิเจนออกไป จึงช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ นอกจากนัน
้ ต้นไม้
ยังให้ความชุ่มชื่นแก่อากาศ จึงมีส่วนช่วยให้มีฝนตกด้วย
5. ช่วยป้ องกันภัยธรรมชาติ ต้นไม้ช่วยลดชะลอความเร็วของลม
และชะลอความเร็วของกระแสน้ำ หากเกิดพายุและน้ำไหลท่วมที่รุนแรง
ทัง้ ยังลดความสูญเสียของหน้าดินและการสูญเสียทรัพยากรจากป่ าอื่นๆ
จากการไหลของกระแสน้ำได้ด้วย
6. เป็ นที่อยู่อาศัยของสัตว์ ต้นไม้หรือป่ าไม้เป็ นที่อยู่หรือบ้านของ
สัตว์ป่า และยังเป็ นอาหารแก่สัตว์ที่อาศัยในป่ าด้วย
ประโยชน์ของสัตว์ป่า ดังนี ้
1. อาหารและยา เนื้อและอวัยวะส่วนต่างๆ ใช้เป็ นอาหาร และ
อวัยวะ เช่น เลือด เขา หนัง นำมาทำยารักษาโรคหรือยาบำรุงกำลัง
2. เครื่องนุ่งห่มและเครื่องประดับใช้หนังหรือขนมาทำเป็ นเครื่องนุ่ง
ห่ม เขา กระดูก ขน หนัง นำมาทำเครื่องประดับ เป็ นต้น
3. สร้างความสมดุลให้กับระบบนิเวศ สัตว์ป่าจะช่วยกำจัดศัตรูพืช
เช่น หนอน แมลง หนู ที่ทำลายพืชป่ า ทัง้ ยังกระจายพันธุ์พืชจากการกิน
เมล็ดพืช แล้วถ่ายมูลไว้ที่อ่ น
ื ก็จะกระจายพันธุ์พืชต่อไป และมูลของสัตว์
ยังช่วยให้ดินอุดมสมบูรณ์ด้วย
4. สัญญาเตือนภัยธรรมชาติ สัตว์ป่าจะมีสัญชาตญาณรับรู้ภัย
ธรรมชาติ ที่เกิดขึน
้ ล้วงหน้า เช่นการส่งเสียงร้อง การอพยพย้ายถิ่นเมื่อจะ
เกิดภัยธรรมชาติ ทำให้มนุษย์ได้สังเกตและเรียนรู้จากการหนีภัยของสัตว์
นำมาใช้ป้องกันภัยที่จะเกิดขึน
้ กับตนเอง

การสูญเสียป่ าไม้และสัตว์ป่า
ในอดีตโลกมีพ้น
ื ที่ป่าไม้อยู่ประมาณร้อยละ 40 ของพื้นที่ทงั ้ หมด
หรือประมาณ 37,800 ล้านไร่ แต่ในปั จจุบันลดลงเหลือเพียงร้อยละ 20
ของพื้นที่ทงั ้ หมด หรือประมาณ 22,500 ล้านไร่เท่านัน
้ โดยการสูญเสียป่ า
ไม้นน
ั ้ มีสาเหตุมาจากการตัดไม้ไปใช้เป็ นสิน
้ ค้า สร้างที่อยู่อาศัย ความ
ต้องการพื้นที่ในการเพาะปลูก และการเกิดไฟป่ า ซึ่งปั จจุบันเนื่องจากโลก
มีอุณหภูมิสูงขึน
้ ทำให้เกิดไฟป่ าขึน
้ บ่อยครัง้ ทัง้ ในประเทศสหรัฐอเมริกา
แดนาดา ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส และอินโดนีเซีย นอกจากนี่ การสูญเสียป่ า
ไม้เท่ากับเป็ นการทำลายแหล่งที่อยู่อาศัยและอาหารของสัตว์ป่าการลดลง
ของพื้นที่ป่าจึงทำให้สัตว์ป่าลดลงหรือสูญพันธุ์ไป อีกทัง้ การจับสัตว์ป่าไป
ขายเป็ นสินค้าหรืออาหารก็ทำให้สัตว์ป่าลดลงเช่นกัน
ป่ าไม้และสัตว์ป่าเป็ นองค์ประกอบที่สำคัญของระบบนิเวศ และป่ า
ไม้ก็มีความสัมพันธ์ กับทรัพยากรธรรมชาติ อื่นๆ เช่น ความชุ่มชื่นของดิน
ฟ้ าอากาศ ช่วยควบคุมปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ ทำให้
ฝนตกช่วยลดการพังทลายของดิน เป็ นต้น การสูญเสียป่ าไม้จึงเป็ นจุดเริ่ม
ต้นของปั ญหาสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ด้วย

วิกฤตการณ์ ผลกระทบ แนวทางแก้ไข


1. ทรัพยากร
ป่ าไม้

2. ทรัพยากร
สัตว์ป่า
4.  แร่และพลังงาน
       ในประเทศไทยได้มีการนำแร่มาใช้เป็ นเวลานาน โดยเฉพาะดีบุก
ตะกั่ว เหล็ก ทองแดงและทอง ในปั จจุบันก็ได้มีการนำแร่ต่างๆ มาใช้ ทัง้
แร่โลหะ อโลหะ และเชื้อเพลง ดังตาราง

ตารางแสดงชนิดแหล่งแร่และประโยชน์ของแหล่งแร่ในประเทศไทย

ชนิดของแร่ แหล่งผลิตแร่สำคัญ ประโยชน์


แร่โลหะสำคัญ
ดีบุก (Tin) จังหวัดภูเก็ต พังงา ใช้ในการเคลือบโลหะต่างๆ เช่น
ยะลา เชียงใหม่ ฉาบแผ่นเหล็กทำกระป๋องบรรจุ
กาญจนบุรี และ อาหาร ใช้ทำอุปกรณ์ใน
นครศรีธรรมราช อุตสาหกรรมไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์ ชุบสังกะสีมุง
หลังคา เป็ นต้น
ตะกั่ว (Lead) จังหวัดกาญจนบุรี และ ใช้ทำขัว้ และแผ่นเซลล์แบตเตอรี่
เลย ตะกั่วบัดกรี ท่อน้ำ กระสุนปื น
สะพานไฟ เคลือบภาชนะ
เป็ นต้น
สังกะสี (Zinc) จังหวัดตาก กาญจนบุรี ทำสังกะสีมุงหลังคา เคลือบแผ่น
เชียงใหม่ และ เหล็ก กระป๋ อง เป็ นต้น
แม่ฮ่องสอน
เหล็ก (Iron) จังหวัดนครสวรรค์ ใช้ในอุตสาหกรรมเหล็กกล้า และ
เพชรบูรณ์ อุทัยธานี เหล็กแปรรูป
นครราชสีมา เลย
ประจวบคีรีขันธ์ และ
นครศรีธรรมราช
แมงกานีส จังหวัดเลย เชียงราย ใช้ในอุตสาหกรรมเหล็กกล้า
(Manganese เชียงใหม่ ลำพูน โลหะผสม โลหะเชื่อม ถ่าน
) ไฟฉาย เป็ นต้น
พลวง จังหวัดกาญจนบุรี ตาก ใช้ผสมตะกั่วทำแผ่นกริด
(Antimony) ลำปาง แพร่ และสตูล แบตเตอรี่ ผสมตะกั่วและดีบุก
ทำตัวพิมพ์ และโลหะผสมบัดกรี
หุ้มสายโทรศัพท์ สายขนาดใหญ่
ทำหมึกพิมพ์โรเนียว ใช้ในการ
แพทย์ เป็ นต้น
ทองแดง จังหวัดฉะเชิงเทรา และ ใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น
(Copper) เลย สายไฟฟ้ า วิทยุ โทรทัศน์
เครื่องจักรกล เครื่องมือ
วิทยาศาสตร์โทรเลข
ทังสเตนหรือ จังหวัดกาญจนบุรี ตาก ใช้ผสมเหล็กกล้า ทำเครื่องจักร
วุลแฟรม และเพชรบุรี กล ใบมีด ตะไบ ใส้หลอดไฟฟ้ า
(Tungsten)
ทองคำ จังหวัดพิจิตร และ ใช้ทำเครื่องประดับ ใช้แทนเงิน
(Gold) นราธิวาส ตรา ใช้เป็ นหลักประกันทางการ
คลัง ทำเครื่องมือวิทยาศาสตร์
และทันตกรรม
ยิปซัม จังหวัดนครสวรรค์ ใช้ทำปูนซีเมนต์ ปูนปลาสเตอร์
(Gypsum) พิจิตร สุราษฎร์ธานี ดินสอ แผ่นยิปซัม ปุ๋ย อัดยาง
และนครศรีธรรมราช
หินปูน จังหวัดสระบุรี ใช้ในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
(Limestone) นครศรีธรรมราช อุตสาหกรรมฟอกหนัง หิน
เพชรบุรี ราชบุรี และ ก่อสร้าง อุตสาหกรรมแก้ว สาร
นครศรีธรรมราช เคมีผงซักฟอก เป็ นต้น
หินดินดาน จังหวัดสระบุรี ใช้ในอุตสาหกรรมรมปูนซีเมนต์
(Shale) นครราชสีมา เป็ นส่วนใหญ่
นครศรีธรรมราช และ
สงขลา
แร่อโลหะสำคัญ
ดินขาว จังหวัดลำปาง อุตรดิตถ์ ใช้ในอุตสาหกรรม
(Kaolin) ลพบุรี ปราจีนบุรี เครื่องปั ้ นดินเผา กระเบื้อง
เพชรบุรีราชบุรี ระยอง เคลือบ เครื่องสุขภัณฑ์ เป็ นต้น
นครศรีธรรมราช ระนอง
และนราธิวาส
โดโลไมต์ จังหวัดแพร่กาญจนบุรี ใช้ในการผลิตแมกนีเซียม ซึ่งใช้
(Dolomite) สุราษฎร์ธานี เป็ นวัสดุทนไฟหรือฉนวน ใช้ใน
นครศรีธรรมราช และ อุตสาหกรรมแก้วและกระจก
ตรัง ใช้ปรับสภาพดินในการเกษตร
กร
รัตนชาติ จังหวัดกาญจนบุรี ใช้เป็ นเครื่องประดับ ใช้ใน
(Gemstone) จันทบุรี และตราด อุตสาหกรรมการทำนาฬิกา
ขนาดเล็ก
แร่เชื่อเพลิงและพลังงานสำคัญ
ลิกไนต์ จังหวัดลำปาง เชียงใหม่ ใช้เป็ นเชื้อเพลิงธรรมชาติที่นำ
(Lignite) พะเยา ลำพูน ตาก มาใช้ทดแทนน้ำมัน
เพชรบุรี เลย และกระบี่
ปิ โตรเลียม แหล่งแม่สูน แหล่ง ใช้เป็ นพลังงานเชื้อเพลิง
(Petroleum) สันทราย จังหวัด แหล่ง ประกอบด้วยน้ำมันดิบ แก๊ส
บึงหญ้า แหล่งบึงม่วง ธรรมชาติ และแก๊สธรรมชาติ
จังหวัดกำแพงเพชรและ เหลว
สุโขทัย แหล่งวิเชียรบุรี
จังหวัดเพชรบูรณ์ และ
พื้นที่อ่าวไทย สตูล
ตราด ปะการัง และสุ
ราษฎร์
    
แร่เป็ นทรัพยากรที่เกิดขึน
้ เองตามธรรมชาติ เมื่อนำมาใช้แล้วก็จะ
หมดไปไม่สามารถเกิดขึน
้ ทดแทนได้อีก นอกจากว่าเมื่อเรานำมาใช้แล้วจะ
นำไปดัดแปลง ปรับปรุงเพื่อนำไปใช้ได้อีกแต่ในปั จจุบันความต้องการใน
การใช้ภายในในประเทศมีเพิ่มมากขึน
้ โดยเฉพาะในระยะที่ประเทศมีการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจทำให้แร่ที่มีอยู่ขาดแคลน ซึ่งจะเกิดผลกระทบต่อ
เศรษฐกิจของประเทศสำหรับพลังงานซึ่งเป็ นปั จจัยที่สำคัญทางเศรษฐกิจ
และการดำเนินชีวิตในปั จจุบัน ดังจะเห็นได้จากในช่วงที่ขาดแคลน
พลังงานทีการควบคุมปริมาณการผลิตพลังงาน ทำให้สินค้าราคาสูงเพราะ
ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตที่ใช้พลังงานเป็ นเชื่อเพลิง เป็ นต้น
พลังงานที่ใช้ในประเทศไทยแบ่งเป็ นประเภทต่างๆ ได้แก่
1. พลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ มีใช้ในท้องถิ่นที่ห่าง
ไกลและหาเชื้อเพลิงอื่นได้ยาก เนื่องจากมีต้นทุนการผลิตสูง พลังงาน
น้ำใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้ า โดยมีแหล่งผลิตที่สำคัญ เช่น เขื่อน
ศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรี เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก เป็ นต้น
พลังงานความร้อนใต้พิภพ สามารถนำมาพัฒนาใช้ในการผลิตกระแส
ไฟฟ้ า แหล่งที่สำคัญ เช่น แหล่งบ้านโป่ งนก-โป่ งฮ่อม อำเภอสันกำแพง
แหล่งบ้านโป่ งน้ำร้อน อำเภอบ้านโป่ งน้ำร้อน อำเภอฝาง จังหวัด
เชียงใหม่ เป็ นต้น พลังงานชีวมวล เป็ นพลังงานที่ได้และสัตว์ เช่น การ
ใช้ฟืนและถ่านการหุงต้มแก๊สชีวภาพ แอลกอฮอล์ น้ำมัน เป็ นต้น ซึ่งใน
อนาคตประเทศไทยสามารถจะพัฒนาเพื่อนำไปใช้ได้มากยิ่งขึน

เนื่องจากมีผลผลิตทางการเกษตรซึ่งเป็ นต้นกำเนิดของพลังงานชีวมวล
อยู่มากมาย
2.   พลังงานที่ใช้แล้วหมดไป เป้ นพลังงานที่เกิดจากการทับถมของพืช
และสัตว์ที่อยู่ใต้ผิวโลกนับร้อยล้านปี ซึ่งเป็ นพลังงานหลักที่ใช้ใน
ปั จจุบัน เช่น ถ่านหิน ปิ โตรเลียม เป็ นต้น
3. พลังงานไฟฟ้ า ในระยะแรกมีการผลิตไฟฟ้ าจากปิ โตรเลียม ต่อมา
พัฒนามาใช้ถ่านหิน พลังงานน้ำ แก๊สธรรมชาติ แสงอาทิตย์ และ
พลังงานความร้อนใต้พิภพไฟฟ้ าทีความสำคัญต่อวิธีการดำเนินชีวิต
และไฟฟ้ าในระบบใหญ่ที่ผลิตขึน
้ ได้ถูกนำไปใช้อย่างกว้างขวาง ทัง้ การ
ใช้ภายในอาคารบ้านเรือน ใช้เพื่อการเกษตร อุตสาหกรรม การ
คมนาคม การแพทย์ เป็ นต้น
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับแร่และพลังงาน
แร่และพลังงานมีความจำเป็ นต่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของ
ประเทศ ในปั จจุบันมีการใช้แร่และพลังงานมากขึน
้ ซึ่งวิกฤตแระและ
พลังงาน มีดังนี ้
          - การขาดแคลนพลังงาน แร่และพลังงานเป็ นทรัพยากรที่ใช้
แล้วหมดไป คือ ไม่สามารถเกิดขึน
้ มาใหม่ได้ใหม่กว่าจะเกิดขึน
้ ใหม่ต้องใช้
เวลานานมาก ทำให้แร่และพลังงานที่ใช้แล้วหมดไปในอนาคตอันใกล้ เช่น
ถ่านหิน ถ้ามีอัตราการใช้เช่นปั จจุบัน ถ่านหินก็จะหมดไปภายในระยะ
เวลาไม่นานเมื่อเกิดการขาดแคลนพลังงาน ทำให้ต้องนำเข้าพลังงานจาก
ต่างประเทศ เช่น น้ำมัน แก๊สธรรมชาติ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเงินของ
ประเทศ ทำให้ไทยต้องเสียดลการค้ากับต่างประเทศ และนอกจากนีร้ าคา
ของแร่และพลังงานจะมีความผันผวนไปตามกระแสเศรษฐกิจและ
การเมือง ในส่วนของประชาชนก็จะได้รับผลกระทบจากราคาสินค้าที่แพง
ขึน
้ ตามวัตถุดิบและต้นทุนการผลิต
             - ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  การนำแร่และพลังงานมาใช้
จะมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหากไม่มีระบบป้ องกันที่ดี เช่น การทำ
เหมืองแร่ถ่านหิน ทำให้เกิดฝุ ่นละอองในอากาศหรือปนเปื้ อนในน้ำใต้ดิน
หรือการทำเหมืองตะกั่วทำให้แหล่งน้ำใกล้เคียงมีปริมาณตะกั่วสูงกว่า
ปกติ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนที่อยู่บริเวณใกล้เคียง
เช่น สารกำมะถันจากการผลิตไฟฟ้ าด้วยถ่านหิน ทำให้เกิดโรคทางเดิน
หายใจ ระคายเคืองตา เป็ นต้น
นอกจากนีว้ ิกฤตพลังงานยังส่งผลกระทบต่อสังคม เช่น การก่อสร้าง
โรงไฟฟ้ าที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทำให้เกิดปั ญหาความขัดแย้งระหว่าง
ประชาชนกับประชาชน กับผู้สนับสนุนผู้คัดค้านการก่อสร้าง โดยฝ่ ายหนึ่ง
ต้องการให้ท้องถิ่นได้รับการพัฒนา ส่วนฝ่ ายหนึ่งก็เกรงว่าจะเกิดปั ญหา
ด้านสิ่งแวดล้อมตามมา นอกจากนีม
้ ีการเกิดความขัดแย่งระหว่าง
ประชาชนกับหน่อยงานของรัฐ จนในที่สุดรัฐบาลต้องระงับโครงการ
ก่อสร้าง  เป็ นต้น

5. ทรัพยากรอากาศ
โลกของเรามีชน
ั ้ ของบรรยากาศห่อหุ้มอยู่โดยรอบหนาประมาณ 15
กิโ ลเมตร ชัน
้ ของบรรยากาศดัง กล่า วนี ้ ประกอบด้ว ย แก๊ส ไนโตรเจน
ออกซิเจน ฝุ ่นละอองไอน้ำ และเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ ในจำนวนแก๊สเหล่านี ้
แก๊สที่สำ คัญที่สุดต่อการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตในโลก คือ แก๊สออกซิเจน
และชัน
้ ของบรรยากาศที่ม ีแ ก๊ส ออกซิเ จนเพีย งพอ ต่อ การดำรงชีว ิต มี
ความหนาเพียง 5 - 6 กิโลเมตรเท่า นัน
้ ซึ่ง ปกติจะมีส ่วนประกอบ ของ
แก๊ส ต่า ง ๆ ค่อ นข้า งคงที่ คือ แก๊ส ไนโตรเจน 78.09% แก๊ส ออกซิเ จน
20.94% แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สเฉื่อ ย 0.97%ในปริมาณคงที่
ของแก๊ส ดัง กล่า วนี ้ เราถือ ว่า เป็ นอากาศบริส ุท ธิแ์ ต่เ มื่อ ใดก็ต ามที่ส ่ว น
ประกอบของอากาศเปลี่ยนแปลงไปมีปริมาณ ของฝุ ่นละออง แก๊ส กลิ่น
หมอกควัน ไอ ไอน้ำ เขม่าและกัมมันตภาพรังสีอยู่ในบรรยากาศมากเกิน
ไปเราเรียกสภาวะดังกล่าวว่า อากาศเสีย หรือ มลพิษทางอากาศ
มลพิษ ทางอากาศ หมายถึง ภาวะอากาศที่ม ีส ารเจือ ปนอยู่ใ น
ปริม าณที่ส ูง กว่าระดับ ปกติเ ป็ นเวลานานพอที่จ ะทำให้เ กิด อัน ตรายแก่
มนุษย์ สัตว์ พืช หรือทรัพย์สินต่าง อาจเกิดขึน
้ เองตามธรรมชาติ เช่น ฝุ ่น
ละอองจากลมพายุ ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว ไฟไหม้ป่า แก๊สธรรมชาติ
อากาศเสียที่เกิดขึน
้ โดยธรรมชาติเป็ นอันตรายต่อมนุษย์น้อยมากเพราะ
แหล่งกำเนิดอยู่ไกลและปริมาณที่เข้าสูส
่ ภาพแวดล้อมของมนุษย์และสัตว์
มีน้อย กรณีที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ได้แก่ มลพิษจากท่อไอเสีย
ของรถยนต์จากโรงงานอุตสาหกรรมจากขบวนการผลิตจากกิจกรรมด้าน
การเกษตรจากการระเหยของแก๊ส บางชนิดซึ่งเกิดจากขยะมูลฝอยและ
ของเสีย เป็ นต้น
แหล่งกำเนิดสารมลพิษทางอากาศ
แหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศที่สำคัญของประเทศไทย แบ่งเป็ น 2
กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี ้
1. แหล่งกำเนิดจากยานพาหนะ ในบริเวณที่ใกล้ถนนที่มีการ
จราจรติดขัด จะมีปัญหามลพิษทางอากาศที่รุนแรงกว่าในบริเวณที่มีการ
จราจรคล่องตัว สารมลพิษที่ระบายเข้าสู่บรรยากาศที่เกิดจากการ
คมนาคมขนส่ง ได้แก่ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ แก๊สออกไซด์ของ
ไนโตรเจน สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ฝุ ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10
ไมครอน สารตะกั่วและแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์
2. แหล่งกำเนิดจากโรงงานอุตสาหกรรม มลพิษทางอากาศจาก
แหล่ง กำเนิดอุตสาหกรรม เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงและกระบวนการ
ผลิตซึง่ เป็ นตัวการสำคัญที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพอากาศใน
บรรยากาศและอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนใน
ชุมชนโดยทั่วไปหรือก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญ
สารมลพิษทางอากาศที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ
ได้แก่ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ฝุ่นละออง แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และ
แก๊สออกไซด์ของไนโตรเจนซึ่งพบว่ามีปริมาณการระบายออกสู่
บรรยากาศเพิ่มมากขึน
้ ทุกปี ตามปริมาณการใช้เชื้อเพลิงที่เพิ่มขึน

วิกฤตการณ์ด้านสิง่ แวดล้อมในภูมิภาคต่างๆ ของโลก


ปั ญหาสิ่งแวดล้อมของโลกได้สะสมขึน
้ นับตัง้ แต่ยุคปฏิวัติ
อุตสาหกรรมเมื่อราว 200 ปี ที่ผ่านมา โดยการสร้างโรงงานอุตสาหกรรม
ในทวีปยุโรปและประเทศสหรัฐอเมริกานัน
้ ทำให้มีการนำพลังงานถ่านหิน
และน้ำมันมาใช้มากขึน
้ เป็ นการเพิ่มมลพิษให้แก่สิ่งแวดล้อมจากสารที่
ผสมอยู่ในน้ำมัน ต่อมาในกลางศตวรรษที่ 20 การพัฒนาเกษตรยุคใหม่ได้
หันมาใช้ปุ๋ยเคมีและยาฆ่าแมลง ซึง่ ส่งผลให้สารเคมีเกิดการแพร่กระจาย
ไปในน้ำ อากาศ ดิน และในห่วงโซ่อาหาร
ปั ญหาด้านสิง่ แวดล้อมที่สะสมทำให้เริ่มตระหนักว่าปั ญหาของโลก
คือ การเกิดภาวะฝนแล้งและอุณหภูมิของโลกที่ร้อนขึน
้ ก่อให้เกิดผลกระ
ทบต่อระบบนิเวศและการดำรงชีวิตของมนุษย์ ทำให้เมื่อประมาณ 20 ปี
ที่ผ่านมาโลกได้หันมาสนใจเรื่องสิ่งแวดล้อม ในปั จจุบันปั ญหาสิ่งแวดล้อม
ที่เข้าสู่ภาวะวิกฤต มีดังนี ้
               1. การเกิดภาวะโลกร้อน อุณหภูมิของโลกได้ร้อนอย่างต่อ
เนื่องในช่วงเวลา 50 ปี ที่ผ่านมา การที่อุณหภูมิของโลกร้อนขึน
้ นัน
้ เนื่อง
มาจากการเพิ่มขึน
้ ของแก๊สเรือนกระจกในชัน
้ บรรยากาศ โดยเฉพาะการ
เพิ่มขึน
้ ของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ คลอไรฟลูออไรคาร์บอน มีเทน และ
ไนตรัสออกไซด์ โดยมนุษย์เป็ นตัวการสำคัญในการปล่อยแก๊สเรือนกระจก
ออกสู่บรรยากาศ เช่น การทำอุตสาหกรรม การคมนาคม ขนส่งการเผา
ขยะ รวมถึงการตัดไม้ทำลายป่ า เป็ นต้น บริเวณที่มีการปล่อยแก๊สเรือน
กระจกในปริมาณมาก คือ ประเทศที่มีโรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมาก
เช่น สหรัฐอเมริกา จีน เยอรมนี เป็ นต้น อุณหภูมิของโลกที่ร้อนขึน

นอกจากจะทำให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์แล้ว ยังเกิดความเสียหายต่อ
ระบบนิเวศของโลกเช่น ทำให้ปะการังตามแนวชายฝั่ งมหาสมุทรอินเดีย
เกิดไฟฟ้ าทำให้สูญเสียป่ าไม้และสัตว์ป่า อีกทัง้ ทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึน

อย่างน้อย 17 เซนติเมตร เป็ นต้นนอกจากนี ้ อุณหภูมิ ที่สูงขึน
้ ของโลกยัง
ก่อให้เกิดโรคระบาดที่เป็ นอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์เลีย
้ งซึ่งมีผลกระทบ
ต่อเศรษฐกิจของโลกอีกด้วย
               2. น้ำเสียและการขาดแคลนน้ำ จากภาวะโลกร้อนแม้จะ
ทำให้ปริมาณน้ำผิวดินเพิ่มขึน
้ แต่ก็ไม่อยู่ในสภาพที่สามารถนำมาใช้
อุปโภคบริโภค เนื่องจากอยู่ในรูปของน้ำเค็ม ในขณะเดียวกันน้ำในแหล่ง
ที่ใช้อุปโภคบริโภคกลับมีสารพิษเพิ่มขึน
้ ไม่สามารถนำมาใช้ได้อีก อีกทัง้ ยัง
มีความต้องการใช้น้ำมันขึน
้ เนื่องจากการเพิ่มขึน
้ ของประชากรโลก การ
ขยายตัวของอุตสาหกรรม และใช้สำหรับการเพาะปลูก

แหล่งที่มาของน้ำมันเสียนอกจากจะเกิดขึน
้ โดยการชะล้างสารพิษ
ในอากาศของน้ำฝนหรือหิมะแล้วยังเกิดจากสารพิษในน้ำทิง้ จากโรงงาน
อุตสาหกรรม โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนาที่ขาดระบบบำบัดและ
ควบคุมการทิง้ ของเสีย แม้ปัจจุบันในประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น ประเทศ
แคนนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศในทวีปยุโรป มีการปรับปรุง
คุณภาพน้ำในแม่น้ำให้ดีขน
ึ ้ แล้ว แต่ในหลายประเทศยังประสบปั ญหาน้ำ
เสียจนไม่สามารถนำมาอุปโภคบริโภคได้ เช่น แม่น้ำยมุนาในประเทศ
อินเดีย แม่น้ำวิสตูลา ในประเทศโปแลนด์ แม่น้ำในประเทศจีน มาเลเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์ ไทย เป็ นต้น
การขาดแคลนน้ำใช้รุนแรงขึน
้ ในฤดูร้อน โดยทวีปแอฟริกา
ขาดแคลนน้ำมากที่สุดรองลงไปเป็ นภูมิภาคตะวันออกกลาง ประเทศ
อินเดีย และบริเวณที่ราบตอนเหนือของประเทศจีนเนื่องจากน้ำในแหล่ง
น้ำมีน้อยทัง้ ประเภทน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน
          3. อากาศเสีย อากาศเสียหรืออากาศเป็ นพิษนับวันจะมีปัญหา
เพิ่มมากขึน
้ และจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยโดยตรงของมนุษย์
โดยตรง ในแต่ละปี ทั่วโลกจะมีผู้ที่เสียชีวิตเพราะอากาศเป็ นพิษนับแสน
คน โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกา ส่วนภูมิภาคตะวันออกและประเทศ
จีนอากาศเป็ นพิษเกิดจากการทำเหมืองถ่านหินและการใช้ถ่านหินและ
การใช้ถ่านหินในโรงงานอุตสาหกรรม เกิดสารซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ เขม่า
ควันเข้าสู่บรรยากาศ ทำให้เกิดโรคหอบหืด หลอดลมอักเสบ และถุงลม
โป่ งพอง
สารพิษที่เกิดจากการใช้น้ำมันในรถยนต์ ได้แก่ ไนโตรเจนไดออกไซด์
คาร์บอนมอนอกไซด์ ตะกั่ว และไฮโดรคาร์บอน มีผลต่อสุขภาพอนามัย
โดยเฉพาะโรคระบบทางเดินหายใจ ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบประสาท
และอาจเป็ นสาเหตุของโรคมะเร็ง
เมืองสำคัญหลายแห่งที่มีซัลเฟอร์ไดออกไซด์และสารแขวนลอยใน
อากาศเกินมาตรฐาน ได้แก่นิวเดลี ซีอาน เป่ ย์จิง (ปั กกิ่ง) เตหะราน
กรุงเทพฯ มาดริด กัวลาลัมเปอร์ ซาเกร็บ เซาเปาลู ปารีส นิวยอร์ก   มิ
ลาน และโซล
4. การขาดแคลนพลังงาน พลังงานเป็ นปั จจัยที่สำคัญต่อการ
ดำรงชีวิตในปั จจุบัน โดยมีการใช้พลังงานกับยานพาหนะเครื่องจักร
เครื่องใช้ในบ้านเรือง เครื่องใช้ในครัวเรือน ใช้ในภาคอุตสาหกรรม
เกษตรกรรม ในขณะที่ความต้องการพลังงานเพิ่มขึน
้ แต่ปริมาณพลังงานมี
อยู่อย่างจำกัด จึงทำให้ราคาสูงขึน
้ มีผลกระทบต่อฐานะทางเศรษฐกิจไป
ทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศผู้บริโภคน้ำมันที่ต้องซื่อน้ำมันในราคาที่แพง
ทำให้สินค้าในประเทศราคาแพงตามไปด้วย ปั ญหาของการใช้พลังงาน
นอกจากเป็ นทรัพยากรที่มีจำกัดและราคาแพงแล้ว การใช้พลังงานยังก่อ
ให้เกิดสารพิษในสิ่งแวดล้อม เกิดการเปลี่ยนแปลงของดินฟ้ าอากาศ และ
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติอ่ น
ื ๆ ตามมา

ผลของการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพ
ต่อการเกิดภูมิสังคมใหม่ของคนไทยและของโลก
คำสัง่ ให้นักเรียนติดภาพและยกตัวอย่าง การเกิดภูมิสังคมใหม่ของไทย
และ การเกิดภูมิสังคมใหม่ของโลก

การเกิดภูมิสังคมใหม่ของไทย สถานที่
…………………………………………………………….
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
ติดรูปภาพประกอบ ………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
…………

การเกิดภูมิสังคมใหม่ของโลก สถานที่
…………………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
ติดรูปภาพประกอบ ……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
………

การจัดการด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของโลก

……………………………………………………………………
1. องค์การสิง่ แวดล้อมโลก (UNEP)
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
2. องค์กรกรีนพีซ (GREENPEACE)
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………

3. กองทุนสัตว์ป่าโลก (WWF)
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………

กฎหมายและความร่วมมือทางด้านสิ่งแวดล้อมของโลก

ความร่วมมือ สาระสำคัญ
แนวปฏิบัติการ 21 ………………………………………………………………………
(ปฏิญญาริโอ) …......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
พิธีศาลเกียวโต ………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
พิธีศาลมอนทรีออล ………………………………………………………………………
(อนุสญ
ั ญาเวียนนา) …......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
อนุสัญญาบาเซิล ………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
อนุสญ
ั ญาแรมซาร์ ………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
อนุสัญญาไซเตส ………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
ความร่วมมือ สาระสำคัญ
อนุสัญญาสหประชาชาติว่า ………………………………………………………………………
ด้วยการเปลี่ยนแปลง …......................................
สภาพภูมิอากาศ ………………………………………………………………………
(UNFCCC) …......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................

อนุสัญญาว่าด้วยความ ………………………………………………………………………
หลากหลายทางชีวภาพ …......................................
(CBD) ………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................

โปรแกรมสงวนชีวมณฑล ………………………………………………………………………
ของ UNESCO (MAB) …......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
ความตกลงปารีส Paris ………………………………………………………………………
Agreement …......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................

กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อมของไทย

กฎหมาย สาระสำคัญ
กฎหมายเกี่ยวกับป่ าสงวน ………………………………………………………………………
แห่งชาติ …......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
กฎหมายเกี่ยวกับการสงวน ………………………………………………………………………
และการคุ้มครองสัตว์ป่า …......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
กฎหมายเกี่ยวกับอุทยาน ………………………………………………………………………
แห่งชาติ …......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
กฎหมายส่งเสริมและรักษา ………………………………………………………………………
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่ง …......................................
ชาติ ………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................
………………………………………………………………………
…......................................

วันสิ่งแวดล้อมไทย :
………………………………………………………………………….
วันสิ่งแวดล้อมโลก
: ...............................................................................

หน่วยงานที่มีบทบาทในการจัดการสิ่งแวดล้อมของ
ไทย

ภาครัฐบาล

หน่วยงาน ภารกิจ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ …………………………………………………………
และสิ่งแวดล้อม .………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
กระทรวงอุตสาหกรรม …………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
องค์กรเอกชน

หน่วยงาน ภารกิจ
มูลนิธิสืบ นาคะเสถียร …………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..

มูลนิธิเพื่อนช้าง …………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..

มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าและ …………………………………………………………
พรรณพืช ในพระบรม .………………………..
ราชินูปถัมภ์ …………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
สมาคมสร้างสรรค์ไทย …………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..

สมาคมหยาดฝน …………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..
…………………………………………………………
.………………………..

พื้นที่สงวนชีวมณฑล

1. พื้นที่สะแกราช
……………………………………………………………………......................
………………………………………………………………………………………………………
………………………………......................
………………………………………………………………
2. พื้นที่แม่สา-ห้วยคอกม้า
……………………………………………………………………......................
………………………………………………………………………………………………………
………………………………......................
………………………………………………………………
3. พื้นที่ห้วยทาก
……………………………………………………………………......................
………………………………………………………………………………………………………
………………………………......................
………………………………………………………………
4. พื้นที่ระนอง
……………………………………………………………………......................
………………………………………………………………………………………………………
………………………………......................
………………………………………………………………

แนวทางการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
อย่างยั่งยืน
1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนา
ทรัพยากร
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 (2530-2534)
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 (2535-2539)
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 (2540-2544)
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (2545-2549)
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………

2. หลักการ 7R ในการทิง้ ขยะเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

3. เทคโนโลยีสะอาด หมายถึง การพัฒนา ปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง


กระบวนการผลิตหรือผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การใช้วัตถุดิบ
พลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิด
ผลกระทบ ความเสี่ยงต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็ นไป
ได้ โดยการลดมลพิษที่แหล่งกำเนิด และมีของเสียเกิดขึน
้ น้อยที่สุดหรือ
ไม่มีเลย ด้วยการเปลี่ยนวัตถุดิบ การใช้ซ้ำและการนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่ง
เป็ นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและลดต้นทุนการผลิตควบคู่กันไป
  เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดเป็ นหลักการป้ องกันมลพิษ (Pollution
Prevention) ที่ใช้หลักการลดของเสียเหลือน้อยที่สุด (Waste
Minimization) โดยวิธีการแยกสารมลพิษที่เกิดจากกระบวนการผลิตทุก
ขัน
้ ตอน ซึ่งประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตหรือการ
เปลี่ยนวัตถุดิบที่ทำให้เกิดผลพลอยได้ที่ไม่เป็ นอันตราย รวมทัง้ การลด
ปริมาณและความเข้มข้นขององค์ประกอบในของเสียด้วยการนำไปใช้ซ้ำ
(Reuse) หรือการนำกลับไปใช้ใหม่ (Recycle) จนไม่สามารถนำของเสีย
ไปใช้ประโยชน์ได้แล้ว ก็จะนำไปบำบัดให้ถูกต้องตามหลักวิชาการต่อไป
โดยมีการดำเนินการอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง นอกจากนีใ้ นการดำเนิน
การเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายได้นน
ั ้ ยังต้องประกอบด้วยทัศนคติที่ดีและการ
ร่วมมือกันอย่างเต็มที่จากบุคคลากรทุกฝ่ ายอีกด้วย
หลักการจัดการของเสียในเทคโนโลยีสะอาด

4. ฉลากเขียว
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………

5. ถังขยะแยกสี

6. ภูมิปัญญาไทยในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
- วนเกษตร
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
- เกษตรอินทรีย์
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
7. คาร์บอนฟุตพริน
้ ท์ (Carbon footprint)

ความหมาย
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
ประโยชน์
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
……………………………………………………………………......................
…………………………………………………………………
สำหรับประเทศไทย องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
(องค์การมหาชน) และสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ได้จัดทำโครงการฉลาก
คาร์บอนขึน
้ โดยมีการแบ่งระดับคล้าย ๆ ฉลากไฟ เบอร์ 5 โดยแบ่งออก
เป็ น 5 สี 5 เบอร์ ตามปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ลดลงในสินค้า
แต่ละชนิด คือ
• ฉลากคาร์บอนเบอร์ 1 จะมีพ้น
ื ฉลากสีแดง เป็ นสินค้าที่เกิดจาก
กระบวนการผลิตที่ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้น้อยที่สุด ที่
10%
• ฉลากคาร์บอนเบอร์ 2 สีส้ม ลดการปล่อยก๊าซฯ ได้ 20%
• ฉลากคาร์บอนเบอร์ 3 สีเหลือง ลดการปล่อยก๊าซฯ ได้ 30%
• ฉลากคาร์บอนเบอร์ 4 สีน้ำเงิน ลดการปล่อยก๊าซฯ ได้ 40%
• ฉลากคาร์บอนเบอร์ 5 มีพ้น
ื สีเขียว เป็ นสินค้าที่เกิดจาก
กระบวนการผลิตที่ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากที่สุด คือ
50%

8. โครงการพระราชดำริอันเนื่องมาจากพระราชดำริเกี่ยวกับการจัดการ
ทรัพยากร
การจัดการ โครงการ
ป่ าไม้ โครงการป่ า 3 ………......................
อย่าง ประโยชน์ 4 ……………………………………………………………
อย่าง ……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
โครงการพัฒนา ………......................
พื้นที่ห้วยลาน ……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
ศูนย์วิจัยป่ าพรุสิริน ………......................
ธร ……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
น้ำ โครงการแก้มลิง ………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
โครงการฝายแม้ว ………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
โครงการ 4 น้ำ 3 ………......................
รส ……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
น้ำเสีย โครงการน้ำดีไล่น้ำ ………......................
เสีย ……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
โครงการบึง ………......................
มักกะสัน ……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
กังหันน้ำชัยพัฒนา ………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
โครงการแหลมผัก ………......................
เบีย
้ ……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
ดิน โครงการแกล้งดิน ………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
โครงการชั่งหัวมัน ………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
โครงการหญ้าแฝก ………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
การเกษตร โครงการก่อกวน ………......................
เลีย
้ งให้อ้วน โจมตี ……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
โครงการเกษตร ………......................
ทฤษฎีใหม่ ……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
โครงการส่วน ………......................
พระองค์สวน ……………………………………………………………
จิตรลดา ……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
โครงการพื้นที่ลุ่ม ………......................
น้ำปากพนัง ……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……
………......................
……………………………………………………………
……

You might also like