Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 167

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ

เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )

โครงการก่อสร้างอาคารที่ทาการสานักงาน ป.ป.ช. แห่งใหม่ ( ระยะที่ 2 )


( The Office of the National Counter Corruption Commission )

เจ้าของโครงการ
สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา
นาย ชาย แสงไสว สามัญวิศวกรโยธา เลขทะเบียน สย.8611
1

สารบัญ
หน้า
1. รายละเอียดโครงการ 2
2. ความเป็นมาของโครงการ 3
3. แผนที่โครงการ 4
4. วัตถุประสงค์ของโครงการ 5
5. ลักษณะอาคาร และพื้นที่ใช้สอย ( ระยะที่ 2 ) 6
6. ตาแหน่งและหน้าที่ปฏิบัติงานทางด้านวิศวกรรมโยธา 8
7. ขั้นตอนในการดาเนินงาน และการนาความรู้เชิงวิศวกรรมมาประยุกต์ใช้ในงาน 10

7.1 ปัญหา / อุปสรรค และแนวทางวิธีการแก้ไขทางด้านวิศวกรรมโยธา 11


- การก่อสร้างชั้นใต้ดิน ที่มีความยาว 156 m 11
- ปัญหาการก่อสร้างห้องจัดเลี้ยง และห้องประชุมขนาดใหญ่ 23
- ปัญหาการก่อสร้างสระน้าพุ และศาลายุติธรรม 32

7.2 ผลสาเร็จ และจุดเด่นของโครงการเชิงวิศวกรรม 42


- ประโยชน์ที่ได้รับจากการดาเนินงาน 43

7.3 ข้อกาหนด และมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง 45

ภาคผนวก ก. เอกสารประกอบ
ภาคผนวก ข. รายการคานวณที่เกี่ยวข้อง
ภาคผนวก ค. พัฒนาการประวัติงานก่อสร้าง

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


2

1. รายละเอียดโครงการ

ชื่อโครงการ : โครงการก่อสร้างอาคารที่ทาการสานักงาน ป.ป.ช. แห่งใหม่ ( ระยะที่ 2 )


( The Office of the National Counter Corruption Commission )

เจ้าของโครงการ : สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ผู้ออกแบบ : บริษัท ที.พี.เอฟ.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด

ที่ปรึกษาและควบคุมงาน : บริษัท ที.พี.เอฟ.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด

ผู้รับเหมาก่อสร้าง : บริษัท เอ็นแอล ดีเวลลอปเมนต์ จากัด ( มหาชน )

สัญญาเลขที่ : 40 / 2552 ลงวันที่ 9 กันยายน 2552


ค่าปรับ 0.05% : วันละ 617,000. บาท

ระยะเวลาปฏิบัติงาน : เริ่มวันที่ 10 กันยายน 2552 แล้วเสร็จ วันที่ 12 ธันวาคม 2555

มูลค่างานตามสัญญาเดิม : 617,000,000 บาท ระยะเวลา : 850 วัน


มูลค่างานแก้ไขสัญญาเพิ่มเติม วันที่ 13 กรกฏาคม 2555 612,581,841.56 บาท ระยะเวลารวม
1,189 วัน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


3

2. ความเป็นมาของโครงการ

สืบเนื่องจาก สานักงาน ป.ป.ช. พิจารณาเห็นว่าพื้นที่ที่จัดไว้ให้ในศูยน์ราชการ ฯ มีไม่เพียงพอ


กับภารกิจของสานักงาน และบุคลากรที่จะมีเพิ่มเติมในอนาคต ดังนั้นประธานกรรมการ ป.ป.ช. จึงได้มี
หนังสือ ขอความร่วมมือกับกรมธนารักษ์ ในการจัดหาที่ราชพัสดุ เพื่อเป็นสถานที่ก่อสร้างอาคารที่ทาการ
สานักงาน ป.ป.ช. โดยมีเหตุผล 3 ประการคือ

2.1 ) อาคารที่ทาการเดิมมีพื้นที่ จานวน 11,000 ตารางเมตร ไม่เพียงพอรองรับบุคลากรที่อยู่


เดิม และส่วนที่บรรจุอัตราใหม่เพิ่มเติม ทาให้สานักงาน ป.ป.ช. ต้องเช่าพื้นที่อาคารของเอกชน
จานวน 7,000 ตารางเมตร รวมค่าเช่าปีละประมาณ 26 ล้านบาท ซึ่งมีที่ทาการตั้งอยู่ 3 แห่ง และ
อยู่ไกลก่อให้เกิดปัญหาการบริหารจัดการองค์กรที่ไม่เป็นเอกภาพ และยากแก่การประสานงาน
2.2 ) เพื่อให้สานักงาน ป.ป.ช. มีอาคารที่ทาการแห่งใหม่ที่มีความสง่างามแสดงถึงเอกลักษณ์
ความเป็นสถาบันกึ่งตุลาการของประเทศไทยในการทาหน้าที่ตรวจสอบการใช้อานาจรัฐให้เป็นไปด้วยความ
โปร่งใส และการตรวจสอบทรัพย์สินของผู้บริหารระดับสูงและนักการเมืองตามที่รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้บัญญัตไิ ว้
2.3 ) เพื่อให้เป็นอาคารที่ทาการที่มีระบบรักษาความปลอดภัยสูง และมีการติดตั้งอุปกรณ์
เทคโนโลยีสารสนเทศและโสตทัศนูปกรณ์ที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรของสานักงาน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


4

และต่อมากรมธนารักษ์ได้พิจารณาอนุญาตให้สานักงาน ป.ป.ช. ใช้ที่ราชพัสดุแปลงหมายเลข


ทะเบียนที่ นบ 828 จานวน 42-2-21 ไร่ ตั้งอยู่บริเวณถนนนนทบุรี – สนามบินน้า ( สาย 3110 ) ตาบล
ท่าทราย อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ตามหนังสืออนุญาตให้ใช้ที่ราชพัสดุสารบัญลาดับที่ 0112 – 003 -47
ออกให้ ณ. วันที่ 10 กันยายน 2547 เพื่อเป็นสถานที่ก่อสร้าง และได้จ้างบริษัท ที.พี.เอฟ.ซี. อินเตอร์
เนชั่นแนล จากัด เป็นผู้ออกแบบอาคารวางผังแม่บทและระบบสาธารณูปโภค ตามสัญญาเลขที่ 18/2547
ลงวันที่ 25 มิถุนายน 2547 โดยได้จัดให้มีการประกวดราคาจ้างเหมาก่อสร้างอาคารที่ทาการสานักงาน
ป.ป.ช. ระยะที่ 1 ผู้รับเหมาก่อสร้างที่เสนอราคาในวงเงินต่าสุด 621 ล้านบาท ระยะเวลาก่อสร้าง
840 วัน ส่วนงานก่อสร้างในระยะที่ 2 ผู้รับเหมาก่อสร้างที่เสนอราคาในวงเงินต่าสุด 617 ล้านบาท
ระยะเวลาก่อสร้าง 1,129 วัน ทั้งโครงการ ระยะ 1 และ 2 ได้จัดจ้างที่ปรึกษาควบคุมงานก่อสร้างคือ
บริษัท ที.พี.เอฟ.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด เพื่อทาหน้าที่ควบคุมงานก่อสร้างให้ถูกต้องตามรูปแบบ
รายการและสัญญา

3. แผนที่โครงการ

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


5

4. วัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการก่อสร้างอาคารที่ทาการสานักงาน ป.ป.ช. แห่งใหม่ ตั้งอยู่ ณ. ตาบลท่าทราย ถนน


สนามบินน้า จังหวัดนนทบุรี ได้รับการออกแบบ เพื่อให้เป็นอาคารที่ทาการที่มีความสง่างาม แสดงถึง
เอกลักษณ์ความเป็นสถาบันกึ่งตุลาการ ของประเทศ ในการปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบการใช้อานาจรัฐให้
เป็นไปด้วยความโปร่งใส และการตรวจสอบทรัพย์สินของผู้บริหารระดับสูงและนักการเมืองตามที่
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้บัญญัติไว้ มีการจัดสรรการใช้พื้นที่อย่าง
เหมาะสมตามประโยชน์ใช้สอย ดังนี้คือ

1. เพื่อใช้เป็นอาคาร สานักงานของสถาบัน และห้องจัดเลี้ยงขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถจุคนได้ 600 คน


ห้องประชุมทางลาด จุคนได้ 200 คน และห้องประชุมย่อย จุคนได้ 100 คน รวมถึงห้องอาหาร
ขนาดใหญ่ ภายในอาคาร
2. เพื่อใช้เป็นอาคาร สาหรับจอดรถยนต์ที่ชั้นใต้ดิน และอาคาร 7 ชั้น รวมถึงที่จอดรถกลางแจ้ง
3. เพื่อใช้เป็นสถานที่เล่นกีฬา และสันทนาการ

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


6

5. ลักษณะอาคาร และพื้นที่ใช้สอย ( ระยะที่ 2 )


อาคาร 3 : ฝ่ายป้องกันการทุจริต/ฝ่ายตรวจสอบทรัพย์สินฯ
(พื้นที่ 9,885.00 ตร.ม.) อาคาร ค.ส.ล. สูง 4 ชั้น ชั้นใต้ดิน 1 ชั้น
เป็นที่ทางานกลุ่มภารกิจด้านการป้องกันการทุจริต สาหรับบุคลากร จานวน 295 อัตรา
o ห้องประชุม ขนาดความจุ 12, 25 คน 3 ห้อง
o ห้องเก็บแบบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินฯ 6 ห้อง
o ห้องควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ใหญ่พร้อม Serverใหญ่ 1 ห้อง
อาคาร 4 : หอประชุม/ห้องสมุดและที่จอดรถยนต์ 400 คัน
(พื้นที่ 19,774.00 ตร.ม.)อาคาร ค.ส.ล. 3 ชั้นสาหรับห้องประชุม,ห้องอาหาร,ห้องสมุดฯลฯ พร้อมที่จอดรถ
ใต้ดิน 1 ชั้นและอาคารที่จอดรถสูง 7 ชั้น,
o ห้องประชุมสัมมนา ขนาดความจุ 100 คน 1 ห้อง
o ห้องประชุมทางลาดและห้องล่าม ขนาดความจุ 200 คน 1 ห้อง
o ห้องจัดเลี้ยง ขนาดความจุ 600 คน 1 ห้อง
o ห้องอาหารสาหรับเจ้าหน้าที่และผู้มาติดต่อสานักงานขนาดจุ 200 ที่นั่ง
o ห้องสมุด, ห้องกีฬา – สันทนาการ 2 ห้อง
o อาคารที่จอดรถยนต์ จอดรถได้ประมาณ 400 คัน
งานระบบสาธารณูปโภค และภูมิสถาปัตยกรรม ( OUTSIDE UTILITIES AND LAND SCAPE )
o งานระบบระบายน้า และถนน
o ระบบประปาและดับเพลิง
o งานระบบรวบรวมน้าเสีย และระบบรดน้าต้นไม้
o งานระบบไฟฟ้าและสื่อสาร
o งานระบบรักษาความปลอดภัย
o งานระบบทาน้าเย็นส่วนกลาง
o ลานจอดรถยนต์กลางแจ้ง สามารถจอดรถได้ 75 คัน
o คอร์ทระหว่างอาคาร ประกอบด้วย สระน้าพุ ศาลายุติธรรม ลานกิจกรรม รั้วรอบบริเวณ
o สนามกีฬาออกกาลังกาย ประกอบด้วย
สนามบอล 1 สนาม
สนามเทนนิส 2 สนาม พร้อมสนามน๊อคบอร์ด 1 สนาม
ลานเครื่องเล่นสวนสุขภาพและสนามเบตอง 2 สนาม

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


7

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


8

6. ตาแหน่งและหน้าทีป่ ฏิบัติงานทางด้านวิศวกรรมโยธา

ตาแหน่ง : ผู้จัดการโครงการ ( Project Manager )

หน้าที่ปฏิบัติงาน : ดูแลโครงการ ให้ทาการก่อสร้างตามหลักวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม


ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2550 ข้อ 3(4) ในส่วนของบริษัทผู้รับจ้าง

7.1 ศึกษา รวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับโครงการ และจัดทาแบบรายละเอียดสาหรับก่อสร้าง พร้อม


ตรวจสอบ รวมถึงมาตรฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
7.2 ออกแบบงานทางด้านวิศวกรรมโยธา ตามรายละเอียดในภาคผนวก ข.
7.3 จัดทาขั้นตอนการก่อสร้างอาคาร METHOD STATEMENT OF CONSTRUCTION
7.4 วางแผนเรื่องการจัดการโครงการก่อสร้างให้เป็นไปตามข้อกาหนดในสัญญา โดยแล้วเสร็จ
ตามระยะเวลา และงบประมาณที่กาหนด ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ซึ่งแผนงานที่ต้องตรวจสอบ
ได้แก่
7.4.1 แผนงานหลักของโครงการ แผนงานก่อสร้างในแต่ละช่วง
7.4.2 แผนการจัดทาแบบขยายก่อสร้าง (Shop Drawing) และแบบรวมระบบ (Combine
Service Drawing)
7.4.3 แผนงานคัดเลือกวัสดุ ทดสอบวัสดุ อนุมัติวัสดุ อุปกรณ์ก่อสร้าง
7.4.4 แผนการจัดซื้อ จัดส่ง การติดตั้งอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร เข้าหน่วยงาน
7.4.5 แผนงานในการประสานงาน ,แผนงานในการจัดแรงงาน และการจัดหาผู้รับเหมาช่วง
7.5 ประสานงานระหว่าง ที่ปรึกษาโครงการ ผู้ควบคุมงาน ตัวแทนเจ้าของโครงการ ทาให้การ
ดาเนินงานเป็นไปด้วยความราบรื่น และถูกต้องตามหลักวิศวกรรม รวมถึงการแก้ไขปัญหาทางด้านเทคนิค
วิศวกรรม ระหว่างก่อสร้าง
7.6 ตรวจสอบ และควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง รวมถึงงานทดสอบวัสดุ ตามมาตราฐานงาน
ก่อสร้าง

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


9

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


10

7. ขั้นตอนในการดาเนินงาน และการนาความรู้เชิงวิศวกรรมมาประยุกต์ใช้ในงาน

รูปแสดง ผังบริเวณโครงการก่อสร้าง

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


11

7.1 ปัญหา / อุปสรรค และแนวทางวิธีการแก้ไขทางด้านวิศวกรรมโยธา

เนื่องจากโครงการนี้เป็นการก่อสร้างโดยใช้เงินของทางรัฐบาล และเป็นสถาบันที่มีหน้าที่ตรวจสอบ
การใช้อานาจของรัฐ การก่อสร้างทุกขั้นตอนต้องผ่านเรื่อง เข้าคณะกรรมการตรวจการจ้างอนุมัติก่อน
ดาเนินการ ส่วนปัญหาด้านวิศวกรรมโยธาที่เกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติงาน สามารถแยกเป็นข้อได้ดังนี้

1) การก่อสร้างชั้นใต้ดิน ที่มีความยาว 156 m พื้นที่รวม 5,000 ตารางเมตร ที่อาคาร 4


เนื่องจากโครงการนี้มีการก่อสร้างชั้นใต้ดิน ทั้งอาคาร 3 และอาคาร 4 ขุดดินลึกถึงระดับ
-3.80 และ - 1.75m ตามลาดับ และเมื่อพิจารณาดูแล้วที่อาคาร 3 จาเป็นต้องทาการ
ออกแบบระบบป้องกันดินพัง โดยใช้ เข็มพืด ( Sheet pile system ) ซึ่งเป็นระบบที่ใช้กัน
ทั่วไป แต่ที่เป็นปัญหาก็คือการทางานชั้นใต้ดินของอาคาร 4 ที่มีความยาวมาก ถ้าเลือกใช้
ระบบป้องกันดินพังระบบปกติ จะต้องใช้เวลามากขึ้น รวมถึงขั้นตอนในการทางานจะยุ่งยาก
มากขึ้น และค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างเพิ่มมากขึ้นมาก ประกอบกับที่อาคาร 4 ค่าระดับท้อง
พืน้ ชัน้ ใต้ดินอยูท่ ่ี - 1.80 m ส่วนระดับท้องของฐานรากจะอยู่ที่ – 2.90 m เมิ่อพิจารณาแล้ว
สามารถวิเคราะห์ ออกแบบการขุดดิน โดยอาศัยเสถียรภาพความลาด ของดิน

ข้าพเจ้าจึงพิจารณาวิธีการก่อสร้างตามหลักวิศวกรรม เพื่อเป็นทางเลือกในการทางาน
และขออนุมัตขิ ั้นตอนในการทางาน ดังนี้

1.1) เลือกระบบป้องกันดินพัง โดยใช้เข็มพืด ยาว 12.00 m Sheet pile with 1st Bracing
1.2) ตอกเสาเข็ม และทาการเปิด Cut Slope โดยคานวณ เสถียรภาพความลาดดิน แล้วทา
การก่อสร้างฐานราก สลับกันในทุกๆ 2 Grid line
1.3) ขุดและปรับดินออก 80 cm แล้วทาการตอกเข็ม และทาการเปิด Cut Slope เพื่อ
ทาการก่อสร้างฐานราก สลับกันในทุกๆ 2 Grid line

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


12

รูปแสดงระบบป้องกันดินพัง Sheet pile with 1st Bracing system ( แนวทางที่ 1 )

รูปแสดงระบบ Cut slope โดยพิจารณาจาก Stability of Soil Slope ( แนวทางที่ 2 & 3 )

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


13

ตารางเปรียบเทียบข้อดี และข้อเสีย ของแต่ละแนวทาง

แนวทาง ข้อดี ข้อเสีย


1. Sheet pile with 1 stBracing ปลอดภัย และสามารถทางาน ขั้นตอนการทางานยุ่งยาก
หน้าฝนได้ ค่าใช้จ่ายสูงมาก
ระยะเวลาการทางานเพิ่มขึ้น

2. Open cut slope 1 : 2 ขั้นตอนการทางานไม่ยุ่ง ทางานหน้าฝนจะลาบาก


หลังจากตอกเสาเข็มเสร็จ ค่าใช้จ่ายน้อยกว่า 1 มาก การทางานต้องระวังเรื่อง
เครื่องจักรยืนใกล้เสาเข็ม
เสถียรภาพลาดดินน้อยกว่า ข้อ 3
3. เปิดหน้าดินออก 80 cm ปรับดิน ขั้นตอนการทางานไม่ยุ่ง ทางานหน้าฝนจะลาบาก
ก่อนทาการตอกเสาเข็ม และทาการ เพิ่มเสถียรภาพของลาดดิน F.S การทางานต้องระวังเรื่อง
Open cut slope 1 : 1 เนื่องจากมีการขุดดินออก 80 เครื่องจักรยืนใกล้เสาเข็ม
cm ก่อนตอกเข็ม
ค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด

แนวทางที่ขา้ พเจ้าเลือก คือแนวทางที่ 3 ซึ่งสามารถลดขั้นตอนในการก่อสร้างชั้นใต้


ดิน ในส่วนของระบบป้องกันดินพัง Sheet pile ทาให้เร่งเวลาในการก่อสร้างขึ้นได้มากถึง 2 เดือน
และลดค่าใช้จ่ายได้ถึง 10 ล้านบาท และได้จัดทารายการคานวณเสถียรภาพความลาดของดิน
เสนอขออนุมัติ ต่อคณะกรรมการตรวจการจ้าง ดังเอกสารในภาคผนวก ข (2)

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


14

โดยทฤษฎีของการคานวณเสถียรภาพความลาดของดิน ไม่ยุ่งยาก คือเมื่อดินมีความลาดเอียง


ความลาดนั้นไม่ว่าจะเกิดจากการขุด หรือการถมก็ตาม ก็จะมีแรงเกิดขึ้นพยายามจะทาให้ดินเคลื่อน
ตัวจากจุดที่สูงกว่ามายังจุดที่ต่ากว่า แรงกระทาเหล่านี้ที่สาคัญได้แก่ แรงดึงดูดของโลกและแรงที่เกิด
จากการไหลซึมของน้า ซึ่งทาให้เกิดหน่วยแรงเฉือนขึ้นในดิน ส่วนในดินก็จะมีแรงต้านทานต่อแรง
เฉือนของดิน ที่สาคัญได้แก่ แรงเสียดทานภายใน และแรงเชื่อมแน่นของดิน
ถ้าแรงต้านทานมีมากกว่าแรงกระทา ดินก็จะไม่เกิดการเลื่อนตัวและพังทลาย เสถียรภาพความ
ลาดของดิน ก็คือการหาส่วนปลอดภัย ( Factor of Safety ) ต่อการพังทลาย

ส่วนปลอดภัย ; F.S. = แรงต้านทาน หรือโมเมนต์ของแรงต้านทาน


แรงกระทา หรือโมเมนต์ของแรงกระทา

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


15

ขั้นตอนในการก่อสร้าง

ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่นค่าระดับดินปัจจุบัน , ผลการเจาะสารวจดิน Borling


log รวมถึงกาหนดลักษณะชั้นดิน และคุณสมบัติดิน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


16

ลักษณะชั้นดินบริเวณโครงการก่อสร้างอาคารสานักงาน ป.ป.ช. จากการเจาะสารวจชั้นดิน จานวน


4 หลุม ลึกประมาณ 30.45 เมตร ดังผล Boring log สามารถจาแนกชั้นดินเพื่อเตรียมข้อมูลในการ
วิเคราะห์ออกแบบในส่วนของงานระบบป้องกันดินพัง ( Sheet pile with 2nd Bracing ) และงานออกแบบ
ตรวจสอบเสถียรภาพของดินขุด ( Slope Stability of Soil ) ได้ดังนี้

ที่ผิวดินถึงระดับความลึก 1 เมตร เป็นทรายถมปนดิน ซึ่งในการทางานได้เลือกที่จะขุดปรับดินออกไป


ถัดลงมาจนถึงระดับความลึก 3.50 เมตร เป็นชั้นดินเหนียวปนทราย สีเทา น้าตาลอ่อนสภาพความมั่นคง
ของชั้นดินอ่อนถึงปานกลาง มีค่า Unconfine Compressive Strength (Su) อยู่ระหว่าง 2 ถึง 4.30
ตันต่อตารางเมตร ใช้สัญลักษณ์ของดินด้วย CH.
ถัดลงมาถึงความลึกประมาณ 12 เมตร เป็นชั้นดินเหนียวปนทราย สีเทา ดา สภาพความมั่นคงของ
ชั้นดินเพิ่มขึ้นเป็นลาดับตามความลึกจากอ่อนถึงอ่อนปานกลางมีค่า Unconfine Compressive Strength
(Su) อยู่ระหว่าง 2 ถึง 4.0 ตันต่อตารางเมตร ใช้สัญลักษณ์ของดินแทนด้วย CH
ถัดลงมาถึงความลึกประมาณ 17.50 เมตร เป็นชั้นดินเหนียวปนทรายละเอียด สีน้าตาล สภาพความ
มั่นคงของชั้นดินแน่นถึงแน่นมาก มีค่า SPT อยู่ระหว่าง 12 ถึง 30 ครั้งต่อฟุต ใช้สัญลักษณ์ของดิน
แทนด้วย CH / CL
ถัดลงมาถึงความลึกประมาณ 24.30 เมตร เริ่มเป็นชั้นดินทรายปานกลางถึงละเอียด สีน้าตาลอ่อน
สภาพความมั่นคงของชั้นดินปานกลางถึงแน่น มีค่า SPT อยู่ระหว่าง 12 ถึง 25 ครั้งต่อฟุต ใช้
สัญลักษณ์ของดินแทนด้วย SM
ระดับน้าใต้ดินวัดในหลุมเจาะภายหลังการเจาะแล้วเสร็จ 24 ชั่วโมง มีค่า 0.50 - 1.00 เมตร ต่า
กว่าระดับผิวดินที่ปากหลุมเจาะ ทั้งนี้ระดับน้าใต้ดินที่ผิวดินนี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาโดยชินกับ
ฤดูกาลและปริมาณน้าฝนที่ตกในระหว่างปี

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


17

รูปแสดง การกาหนดชั้นดิน และคุณสมบัติดินแต่ละชั้น ( Soil Properties & Geometry )

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


18

ขั้นตอนที่ 2 ทาการวิเคราะห์ และออกแบบความลาดของดินขุด STABILITY OF SOIL SLOPE


โดย ใช้โปรแกรม KU slope ตามข้อกาหนดสาหรับการขุดดินที่ลึกมากกว่า 1.50
เมตร โดยไม่มีระบบป้องกันดินพังทลาย จะต้องคานวณออกแบบความลาด
โดยใช้คุณสมบัติของดินตามที่เจาะสารวจ ประเมิณค่าความปลอดภัย ( Factor of
Safety ) ไม่น้อยกว่า 1.50 ผลการวิเคราะห์ ออกแบบความลาดของดินขุด ตาม
ที่แสดงรายการคานวณใน ภาคผนวก ข. ( ข้อ 5 หน้า 30 )

สรุปผลการคานวณและออกแบบความลาดดิน STABILITY OF SOIL SLOPE


1.) เลือกการวิเคราะห์แบบเป็นส่วนโค้งวงกลม CIRCULAR FAILURE โดยวิธี GRID
SEARCH ของ SPENCER โดยใช้โปรแกรม KUslope

2.) วิเคราะห์โดยพิจารณาผลกระทบของน้าใต้ดิน โดยเส้นระดับน้าใต้ดิน PHREATIC


SURFACE ( WL. -1.20m ) และคิดผลกระทบของแรงภายนอก EXTERNAL LOAD
กรณี STRIP LOAD 2t / m2

3.) SEARCH CONDITION


3.1) CIRCULAR SEARCH : BY GRID ( NO. OF CIRCLE = 4 ,NO. OF SLICE = 40)
3.2) NON-CIRCULAR SEARCH : : BY RANDOM ( NO. OF SLICE = 20 )

4.) ส่วนปลอดภัย FACTOR OF SAFETY = โมเมนต์ของแรงต้านทาน


โมเมนต์ของแรงกระทา
F.S. = 2.022 มากกว่า 1.50 …..( OK )
X , CENTER = 24.2808
Y , CENTER = 25.4231
RADIUS = 8.147
FAILURE AREA = 59.1042

5) เลือกวิเคราะห์ที่ความลาด 1 : 1 พิกัดแนวราบ = 3 เมตร (X) ขุดดินลึก 3 เมตร (Y)


ขั้นตอนที่ 3 กาหนดขั้นตอนในการก่อสร้างงานชั้นใต้ดิน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


19

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


20

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


21

รูปแสดง การทางานตามขันตอนการก่
้ อสร้ างที่ขออนุมตั ิ โดยคานวณเสถียรภาพความลาด
ของดินขุด และเปิ ดงานก่อสร้ างฐานรากครัง้ ละ 2 line

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


22

ผลสาเร็จของแนวทางที่เลือก ประสบผลสาเร็จรุร่วงไปด้วยดี สามารถเร่งรัดเวลา


การก่อสร้างชั้นใต้ดินขึ้นมาได้ถึง 2 เดือนกว่า โดยที่คุณภาพของงานเรียบร้อยดีมาก
การก่อสร้าง Basement Slab และ Basementg wall ทาได้โดยสะดวกไม่ต้องมีการ
Block out . ในตาแหน่งของ King post และ Bracing ลดปัญหาในการรั่วซึมของน้า
ใต้ดิน แถมลดค่าใช้จ่ายในส่วนของระบบป้องกันดินพังได้กว่า 10 ล้านบาท

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


23

2.) ปัญหาการก่อสร้างห้องจัดเลี้ยง และห้องประชุมขนาดใหญ่ เนื่องจากการก่อสร้าง


จาเป็นต้องมีโครงสร้างเหล็กรับ ส่วนประกอบของงานระบบเหนือฝ้าเพดาน ,CAT WALK และ
น้าหนักของฝ้าเพดานตกแต่ง รวมถึงอุปกรณ์รางม่าน ซึ่งทุกรายการมีน้าหนักค่อนข้างมาก
แต่รายละเอียดในแบบคู่สัญญาไม่ครบถ้วน ข้าพเจ้าจึงต้องมีการศึกษารายละเอียดขั้นตอนการติดตั้ง
ตามรายการในแบบก่อสร้าง และคานวณออกแบบ โครงเหล็กรับ ฝ้าเพดาน และ CAT WALK
รวมถึงตรวจสอบโครงเหล็กหลังคาเดิมที่ออกแบบไว้ ว่าสามารถรับน้าหนักที่เพิ่มขึ้นมาได้หรือ ไม่
และทางานวิเคราะห์ ออกแบบโครงสร้างคาน อะเส โดยออกแบบเป็นคานหล่อสาเร็จขึ้นไปติด ตั้ง
เนื่องจากโครงสร้างชั้นหลังคามีความสูงจากพื้นห้องจัดเลี้ยงมาก และสลับซับซ้อน รวมไปถึงการเขียน
ขั้นตอน เรียงลาดับการก่อสร้างให้สอดคล้องกันในทุกสาระงานที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งกระผมได้ทาการ
วิเคราะห์ และออกแบบเพื่อให้ได้ตามวัต ถุประสงค์ของโครงการ ผลการดาเนินการได้ผลเป็นที่น่า
พอใจอย่างยิ่ง แสดงในภาคผนวก ข. ( ข้อ 10 หน้า 50 )

2.1 งานวิเคราะห์ ออกแบบโครงเหล็กรับฝ้าเพดาน

โดยพิจารณาน้าหนักบรรทุกแนวดิ่งที่กระทาต่อโครงสร้างหลังคาดังนี้

น้าหนักบรรทุกจร 150 กก / ตร.ม.


น้าหนักวัสดุมุงหลังคา 15 กก / ตร.ม.
น้าหนักฉนวนกันความร้อน 15 กก / ตร.ม.
น้าหนัก SOUND BLOCK 2x12 มม. 50 กก / ตร.ม.
น้าหนักฝ้าเหดานฉาบเรียบ 12 มม. 25 กก / ตร.ม.
น้าหนักงานระบบประกอบอาคาร 80 กก / ตร.ม.

รวมน้าหนักบรรทุกทั้งหมด 335 กก / ตร.ม.

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


24

รูปแสดงตาแหน่ง Support ยึดโครงเหล็ก Cat walk

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


25

รูปตัดแสดงแนวโครงสร้างเหล็กรับ ฝ้าเพดาน อุปกรณ์งานระบบ และ Cat walk

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


26

รูปแสดงการวิเคราะห์ ออกแบบโครงเหล็กรับฝ้าเพดาน , อุปกรณ์งานระบบ และ


Cat walk โดยใช้โปรแกรม Midas Gen

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


27

2.2 วิเคราะห์ ออกแบบคานคอนกรีตสาเร็จรูปชั้นหลังคา

เนื่องจากเมื่อกระผมได้ทาการตรวจสอบแบบคู่สัญญา ในส่วนของงานโครงสร้างชั้นหลังคา
ซึ่งเกี่ยวพันกับงานในห้องจัดเลี้ยง 600 คน ,ห้องประชุมทางลาด 200 คน ,ห้องประชุมย่อย 100 คน และ
โถงพักคอย ซึ่งเป้นโครงสร้างหลังคาขนาดใหญ่ และสูง การทางานทาได้ลาบาก เพราะต้องมีการจัดลาดับ
การทางาน ผมในฐานะผู้รับเหมา ต้องพิจารณาออกแบบขั้นตอนการก่อสร้างให้สอดคล้องกับทุกสาระงาน
โดยเลือกออกแบบคานชั้นหลังคาเป็น คานหล่อสาเร็จ ยกขึ้นไปติดตั้งหลังจากโครงสร้างเหล็กเสร็จแล้ว
และได้ทาการจาลองโครงสร้างในโปรแกรม Midas Gen เพื่อทาการวิเคราะห์ และออกแบบ
ทางผู้ออกแบบโครงสร้าง ได้ทาการออกแบบคาน คสล. B58 (25x60) เพื่อรับน้าหนักคาน B57
(20x60) และน้าหนักหลังคา โดยให้ปลายไปฝากไว้ที่โครงถักเหล็ก รายละเอียดที่จุดต่อได้ระบุให้เหล็ก
เสริมหักฉากเข้าไปเชื่อมกับ TRUSS ดังรูปข้างล่าง แต่กระผมพิจารณาดูแล้วเหล็กเส้น DB25 ต้องทาการ
ดัดงอ และเชื่อมด้วยความร้อน ทาให้ค่า Elongration ของเหล็กเสียไป และเกิดจุดอ่อนขึ้น กระผมจึง
ออกแบบ Shear Key เชื่อมติดกับโครงเหล็กเพิ่มเติม

V = 3.6 ton

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


28

รูปแสดง การจาลองโครงสร้างเหล็กหลังคา และคานคอนกรีตหล่อสาเร็จ B57

ในส่วนของคานชั้นหลังคา B57 (20x60 ผมได้ออกแบบแก้ไขเป็นคานหล่อสาเร็จ


และออกแบบจุดต่อ โดยใช้เหล็กรูปพรรณ C - Chanel เชื่อมติดกับโครงถัก เพื่อขออนุมัติ
ต่อคณะกรรมการตรวจการจ้าง

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


29

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


30

รูปแสดง งานติดตั้งคานคอนกรีตหล่อสาเร็จ ตามรายการคานวณที่ขออนุมัติ

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


31

รูปแสดง งานติดตั้งคานคอนกรีตหล่อสาเร้จ แล้วเสร็จ

สรุป ผลการปรับปรุงแก้ไขงานในส่วนโครงเหล็กรับฝ้าเพดาน CAT WALK รวมถึงคานคอนกรีตสาเร็จ


สามารถที่จะลดขั้นตอนในการก่อสร้างได้มากกว่า 30 วัน โดยไม่กระทบต่อกาลังรับแรงของโครงสร้าง และ
ผลสาเร็จของงานนี้ บ่งชี้ถึงความรอบรู้พื้นฐานในหลักวิศวกรรมถือว่าได้ประโยชน์สูงสุดกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนปกติก่อนทาการก่อสร้างที่ต้องมีการตรวจสอบแบบรายละเอียด และวิเคราะห์ขั้นตอน
การก่อสร้าง เพื่อทา METHOD STATEMENT OF CONSTRUCTION เสนอต่อคณะกรรมการตรวจการจ้าง
ก่อนดาเนินการก่อสร้าง

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


32

3. ปัญหาการก่อสร้างสระน้าพุ และศาลายุติธรรม เนื่องจากในแบบรูปรายการตามสัญญา


ระบุไว้ว่าผู้รับผิดชอบในการออกแบบ ต้องเป็นผู้ที่มีความชานาญในการออกแบบสถาปัตยกรรมไทย
และมีผลงานเป็นที่ยอมรับในฐานะศิลปินแห่งชาติ ทางบริษัทผู้รับจ้างและตัวกระผมได้เรียนเชิญท่าน
ศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี และได้รับเกียรติจากท่านและทีมงาน ส่วนตัวกระผมได้เข้าไปมีส่วนร่วมใน
การออกแบบโครงสร้าง พระวิหาร และระบบโครงสร้างของสระน้าพุ ตามงบประมาณที่กาหนดไว้
รายการคานวณออกแบบโครงสร้างพระวิหาร ตามรายละเอียดในภาคผนวก ข. หน้า 60

ในส่วนของตัวโครงสร้างสระน้าพุ กระผมได้พิจารณาดูจากแบบรายละเอียดโครงสร้างแล้ว
เพื่อลดขั้นตอนการก่อสร้าง จึงเสนอวิธีการหล่อผนังสระ เป็นระบบคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อสาเร็จมา
ประกอบเชื่อมต่อกัน แล้วจึงทาการเทคอนกรีตคานรัดที่โครงสร้างส่วนบน ทาให้สามารถทางานเริม่
ก่อสร้างในส่วนของพื้นด้านบนสระไปพร้อมๆ กันได้เลย เพื่อลดขั้นตอนในการก่อสร้างลง เนื่องจาก
เป็นการทางานในชั้นต่ากว่าระดับดิน ซึ่งมีน้าใต้ดินซึมไหลออกมาเหตุผลอีกข้อคือ ถ้าไม่เลือกก่อสร้าง
โดยวิธีนี้ ต้องทาการขุดเปิดดินออกอีก เพื่อทาการก่อสร้างผนังสระ แล้วจึงถมดินกลับไป และก่อสร้าง
พื้นด้านบนต่อไป ขั้นตอนการก่อสร้างก็จะซับซ้อน และเสียเวลามากขึ้น

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


33

เนื่องจากมีงบประมาณจากัด ไม่สามารถออกแบบสระน้าพุ ที่มีลักษณะเป็นโครงสร้างบ่อน้า


คอนกรีตเสริมเหล็กตามข้อกาหนดได้ ตามแบบคู่สัญญาโครงสร้างพื้นสระน้าระบุว่า ปูแผ่นพลาสติกดาด
คอนกรีตทับ หนา 5 ซม. ซึ่งพิจารณาดูแล้ว ถ้าทางานไปตามแบบโครงสร้างพื้นสระ ต้องแตกเสียหาย
แน่นนอน ทางกระผมจึงต้องคิดหาแนวทางในการออกแบบตัวสระน้าพุให้สามารถใช้งานได้ดีที่สุด โดย
เริ่มต้นจากศึกษาข้อมูลด้าน วิศวกรรมปฐพี ในส่วนของแรงดันน้าใต้ดิน เพื่อทาการออกแบบ ควบคุม
แรงดันน้า ที่กระทาต่อพื้นสระน้า โดยพิจารณาจากความสามารถในการซึมน้าของดิน Soil Permeability

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


34

มวลดินเป็นวัสดุที่มีช่องว่างต่อเนื่องในระหว่างเม็ดดิน ดังนั้นเมื่อมีน้าที่มีความดันต่างกันระหว่าง 2
จุดในมวลดิน ก็จะมีการไหลของน้าผ่านช่องว่างเหล่านี้ ความสามารถที่มวลดินให้น้าซึมผ่านไปได้นี้
เรียกว่า ความซึมน้าของดิน ( ค่า K ) ถ้ามวลดินที่น้าซึมผ่านได้ยาก ค่า K ก็จะสูง เรามักเรียกว่า
Pervious Soil ถ้าน้าซึมผ่านได้มาก ค่า K ต่า จะเรียกว่า Impervious Soil ค่าความซึมน้าของดิน
กระผมเลือกใช้วิธีสร้างเส้นทางระบายให้น้าเดินได้สะดวก โดยใช้วัสดุประเภทกรวดสะอาด ฝังด้วย
ท่อ พีวีซี เจาะรู ติดตั้งทะลุผ่านโครงสร้างพื้นสระ เพื่อให้น้าใต้ดินสามารถเดินทางผ่านเข้ามาในตัวสระน้า
ได้มีค่าสัมประสิทธิ์การไหลซึมผ่านได้ของน้ามีค่า Coefficient of Permeability , K = 10-1 - 102
โดยห่อด้วยแผ่นผ้า GEOTEXTILE เพื่อกรองสิ่งสกปรกและป้องกันการอุดตันของระบบระบายน้าและทา
หน้าที่ลดแรงดันน้าที่กระทาต่อพื้นสระ ได้บางส่วน เพื่อป้องกันพื้นสระแตกร้าว ซึ่งในแบบคุ่สัญญาไม่ได้
ระบุไว้ เนื่องจากออกแบบในลักษณะปูแผ่นพลาสติกดาดปูนหนาแค่ 5 ซม.

รูปแสดง การติดตั้งระบบลดแรงดันน้า โดยใช้วัสดุกรวดสะอาดห่อแผ่นผ้า GEOTEXTILE

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


35

รูปแสดงแนวร่องระบายน้า เพื่อลดแรงดันน้าที่กระทาต่อพื้นสระ

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


36

การวิเคราะห์โครงสร้าง พระวิหารด้วยโปรแกรม MIDAS GEN ( ภาคผนวก ข. หน้า 60 )

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


37

ขั้นตอนการก่อสร้าง พระวิหารและ สระน้าพุ

1. ตอกเสาเข็ม และเริ่มก่อสร้างในส่วนผนังคอนกรีตสาเร็จรูป

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


38

2. เมื่อติดตั้ง ผนังคอนกรีตสาเร็จรูปแล้วเสร็จ เริ่มทาการก่อสร้างฐานราก และคานรัดยึดผนังเข้า


กับฐานราก ทาการปรับดินเทคอนกรีตหยาบของพื้นสระ และในส่วนของโครงสร้างพระวิหาร
ก็ทาการก่อสร้างควบคู่กันไป

3. เมื่อเทคอนกรีตหยาบเสร็จ จะเริ่มตัด และขุดร่องดินเพื่อติดตั้งระบบระบายน้าลดความดัน


ตามที่ออกแบบไว้

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


39

4. ติดตั้งระบบระบายน้า เพื่อลดความดันน้าที่กระทาต่อพื้นสระ และปูแผ่นพลาสติก


POLYETHELENE ชนิด LDPE หนา 0.5 มม. ในส่วนของพื้นและผนัง

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


40

5. หลังจากนั้นเริ่มเทคอนกรีตดาดพื้นสระ และทาการตัด Joint

ผลสาเร็จของการก่อสร้างพระวิหาร และสระน้าพุ บรรลุตามที่ออกแบบไว้อย่างดียิ่ง สามารถ


ลดขั้นตอนในการก่อสร้างได้มากกว่า 30 วัน โดยไม่ทาให้โครงสร้างมีความแข็งแรงลดลง และผมมี
ความภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้ทางานร่วมกับ ท่าน ศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ ปัจจุบัน
ได้มีการขอพระราชทานนามของพระพุทธรูปที่ท่านออกแบบขึ้นมาเพื่อสถาบันแห่งนี้เรียบร้อย

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


41

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


42

7.2 ผลสาเร็จ และจุดเด่นของโครงการเชิงวิศวกรรม

โครงการนี้ได้รับการออกแบบ เพื่อให้เป็นอาคารที่ทาการที่มีความสง่างามแสดงถึงเอกลักษณ์
ความเป็นสถาบันกึ่งตุลาการ ที่มีความสาคัญระดับประเทศ ในการปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบการใช้อานาจ
ของรัฐให้ป็นไปด้วยความโปร่งใส ปัจจุบันได้ทาการเปิดใช้อาคารเป็นที่เรียบร้อยและได้รับความสาเร็จ
เป็นอย่างดียิ่ง เกิดจากความร่วมแรงร่วมใจของทุก ๆ ฝ่าย นับตั้งแต่กลุ่มตัวแทนของคณะกรรมการ
ป.ป.ช. ,ที่ปรึกษาโครงการ , ผู้ออกแบบ และผู้รับเหมา ซึ่งกระผมเป็นตัวแทนของบริษัท โดยงาน
นี้นับว่าเป็นงานที่มีความท้าทายในเชิงวิศวกรรมเป็นอย่างมาก มีการออกแบบ และกาหนดขั้นตอนการ
ก่อสร้างชั้นใต้ดินโดยไม่เลือกระบบป้องกันดินพัง Sheet pile แต่เลือกที่จะวิเคราะห์ออกแบบ ในส่วน
ของเสถียรภาพของดินขุด Slope stability of soil ซึ่งผลสาเร็จที่ได้สูงสุด คือสามารถลดขั้นตอนการ
ก่อสร้างลง ได้มากกว่า 60 วัน และลดค่าใช้จ่ายได้มากกว่า 10 ล้านบาท คุณภาพของงานดีเป็นที่น่า
พอใจมาก อีกทั้งโครงการนี้เป็นงานแนวราบที่มีพื้นที่ใช้สอยในอาคารมากกว่า 30,000 ตารางเมตร
รวมถึง ส่วนของงานระบบสาธารณูปโภค ภูมิสถาปัตยกรรม ในส่วนฐานะวิศวกรของผู้รับจ้าง ต้องมี
ความรอบรู้ในศาสตร์หลายๆ แขนง จีงจะนาไปสู่ความสาเร็จของงาน และถือเป็นการบูรณาการ
( Integration ) ขององค์ความรู้หลายๆ ด้านเข้าด้วยกันได้แก่
7.2.1 ความรู้พื้นฐานด้านวิศวกรรมปฐพี
7.2.2 ความรอบรู้และความเข้าใจในทฤษฎีการออกแบบโครงสร้างเหล็ก และคอนกรีต
7.2.3 ความรอบรู้และความเข้าใจในขั้นตอนการก่อสร้างชั้นใต้ดิน
7.2.4 ความรอบรู้และความเข้าใจในการวิเคราะห์ ออกแบบงานโครงสร้างชั่วคราว
7.2.5 ความรอบรู้และความเข้าใจในขั้นตอนการก่อสร้างห้องจัดเลี้ยงขนาดใหญ่
7.2.6 ความรอบรู้และความเข้าใจในขั้นตอนการก่อสร้างสนามกีฬา
7.2.7 ความรอบรู้และความเข้าใจในขั้นตอนการก่อสร้างถนนและลานจอดรถกลางแจ้ง
7.2.8 ความรอบรู้และความเข้าใจในขั้นตอนของงานระบบประกอบอาคารทุกระบบ
7.2.9 การจัดทาแบบเพื่อการก่อสร้าง ( Shop drawing )

ซึ่งจากความสาเร็จของโครงการนี้ สามารถนาประสบการณ์ต่างๆ มาเพื่อใช้ประโยชน์ในอนาคตได้

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


43

ประโยชน์ที่ได้รับจากการดาเนินงาน

ประโยชน์ที่ได้รับจากการดาเนินงานโครงการสามารถสรุปได้ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. ได้รับประสบการณ์การดาเนินการออกแบบ Temporary Structure และการทา Method
Statement of Construction ดังนี้ ( ภาคผนวก ก.)
1.1 ออกแบบการขุดดิน Slope Stability และเขียนขั้นตอนการทางานชั้นใต้ดิน
1.2 ออกแบบ Temporary Structure ระบบกาแพงกันดินชั่วคราว ขุดดิน ลึก -5.50 m
เพื่อเชื่อมต่อกับชั้นใต้ดินอาคาร 2 เดิม และเขียนขั้นตอนการทางานชั้นใต้ดิน
1.3 ออกแบบ และกาหนดความยาวเสาเข็มที่ใช้ในครงการ โดยวิธี PILOT PILE
1.4 ออกแบบฐานราก TOWER CRANE ซึ่งในโครงการใช้ทั้งหมด 3 ตัว
1.5 ออกแบบคานวณระบบไม้แบบผนังชั้นใต้ดิน และนั่งร้านรับพื้น คอนกรีตเสริมเหล็ก
1.6 ออกแบบแก้ไขฐานราก กรณีเสาเข็มหนีศูยน์
1.7 ออกแบบโครงสร้างฐานเครื่องจักร COOLLING TOWER บนชั้นดาดฟ้า
1.8 ได้รับเกียรติให้ทาการออกแบบโครงสร้างศาลายุติธรรม ร่วมกับ ศาสตราจารย์ ดร. ภิญโญ
สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาสถาปัตยกรรม

2 ได้รับประสบการณ์ในการออกแบบ / วางระบบระบาย และลดแรงดันน้าใต้ดิน ที่กระทาต่อพื้น


สระน้า เนื่องจากงบประมาณมีจากัด สระน้าถูกออกแบบมาให้ก่อสร้างโดยปูแผ่นพลาสติกแล้ว
ดาดคอนกรีตหนา 5 ซม.

3 ได้รับประสบการณ์ในการก่อสร้าง และประสานงานกับงานระบบ อาคารห้องประชุม จัดเลี้ยง


ขนาดใหญ่ 600 คน, 200 คน และ 100 คน ในการออกแบบโครงสร้างส่วนโครงหลังคา
โดยพิจารณา แก้ไขออกแบบ คานคอนกรีตหล่อสาเร็จ ขึ้นไปติดตั้ง เพื่อลดขั้นตอนในการทางาน
และออกแบบโครงสร้างเหล็กรับฝ้าเพดาน เนื่องจากไม่มีระบุไว้ในแบบคู่สัญญา

4 ได้รับประสบการณ์ในการบริหารจัดการงานก่อสร้าง และบริหารสัญญาก่อสร้างในช่วงวิกฤต
การเมือง ปี 2553 ซึ่งทางหน่วยงานได้รับผลกระทบโดยตรง เนื่องจากมีการชุมนุมปิดล้อม
รวมถึงโยนระเบิด M79 และวิกฤตอุทกภัยน้าท่วม กรุงเทพ ปี 2554

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


44

5 ได้รับประสบการณ์ในการวางแผนก่อสร้าง ร่วมกับทุกๆ ส่วนงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด


ปัญหาระหว่างก่อสร้าง

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


45

7.3 ข้อกาหนด และมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง

1. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และกฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัติ


ฉบับนี้
2. การคานวณออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริม โดยวิธีกาลัง ( STRENGTH DESIGN METHOD )
อ้างอิงมาตรฐาน ว.ส.ท. 1008 – 38
3. การคานวณออกแบบโครงสร้างอาคมารเหล็กรูปพรรณ โดยวิธีหน่วยแรงที่ยอมให้
( ALLOWABLE STRESS DESIGN ) อ้างอิงมาตรฐานของ ว.ส.ท. 1003 – 18
4. มาตรฐานงานเชื่อมเหล็ก AMERICAN WELDING SOCIETY ( AWS)
5. มาตรฐานการตรวจสอบรอยเชื่อม โครงเหล็กรูปพรรณ ด้วยวิธีการทดสอบแบบไม่ทาลาย
มยผ. 1561 – 51 วิธีตรวจพินิจ
มยผ. 1562 – 51 UT
มยผ. 1564 – 51 มาตราฐาการตรวจสอบรอยเชื่อม โครงเหล็กรูปพรรณ ด้วยวิธีการทดสอบ
ด้วยสารแทรกซึม ( STANDARD FOR WELDMENT EXAMINATION IN STEEL STRUCTURE WITH
PENETRANT TESTING METHOD )

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


ภาคผนวก ก
เอกสารประกอบ
2

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


3

ภาคผนวก ข
รายการคานวณที่เกีย่ วข้อง

1. พิจารณาเลือกความยาวเสาเข็ม

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


4

รูปแสดงตำแหน่ง PILOT PILE 20 ต้ น

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


5

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


6

2) การทดสอบการรับน้้าหนักบรรทุกของเสาเข็ม

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


7

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


8

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


9

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


10

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


11

ผลทดสอบ DYNAMIC LOAD TEST

อาคาร 3

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


12

อาคาร 4

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


13

3) ออกแบบฐานรากทาวเวอร์เครน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


14

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


15

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


16

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


17

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


18

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


19

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


20

แบบรายละเอียด ฐานราก TOWER CRANE

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


21

nd
4) รายการค้านวณโครงสร้างกันดินพัง ( SHEET PILE With 2 BRACING SYSTEM )

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


22

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


23

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


24

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


25

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


26

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


27

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


28

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


29

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


30

5.) รายการค้านวณเสถียรภาพของลาดดิน ( SLOPE STABILITY OF CUT SLOPE )

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


31

สรุปผลการค้านวณและออกแบบความลาดดิน STABILITY OF SOIL SLOPE

1.) เลือกการวิเคราะห์แบบเป็นส่วนโค้งวงกลม CIRCULAR FAILURE โดยวิธี GRID


SEARCH ของ SPENCER โดยใช้โปรแกรม KUslope
2.) วิเคราะห์โดยพิจารณาผลกระทบของน้าใต้ดิน โดยเส้นระดับน้าใต้ดิน PHREATIC
SURFACE ( WL. -1.20m ) และคิดผลกระทบของแรงภายนอก EXTERNAL LOAD
กรณี STRIP LOAD 2t / m2
3.) SEARCH CONDITION
3.1) CIRCULAR SEARCH : BY GRID ( NO. OF CIRCLE = 4 ,NO. OF SLICE = 40)
3.2) NON-CIRCULAR SEARCH : : BY RANDOM ( NO. OF SLICE = 20 )
4.) ส่วนปลอดภัย FACTOR OF SAFETY = โมเมนต์ของแรงต้านทาน
โมเมนต์ของแรงกระทา
F.S. = 2.022 มากกว่า 1.50 …..( OK )
X , CENTER = 24.2808
Y , CENTER = 25.4231
RADIUS = 8.147
FAILURE AREA = 59.1042
5) เลือกวิเคราะห์ที่ความลาด 1 : 1 พิกัดแนวราบ = 3 เมตร (X) ขุดดินลึก 3 เมตร (Y)

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


32

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


33

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


34

6.) รายการค้านวณแก้ไขฐานราก เนื่องจากเสาเข็มหนีศูยน์

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


35

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


36

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


37

7.) รายการค้านวณไม้แบบรับพื้น FLAT SLAB และไม้แบบผนังชั้นใต้ดิน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


38

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


39

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


40

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


41

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


42

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


43

8.) รายการค้านวณโครงสร้างรับ COOLLING TOWER 3 unit

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


44

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


45

9.) รายการค้านวณโครงสร้างเหล็กที่จอดรถกลางแจ้ง

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


46

พิจารณาโมเมนต์เนื่องจากแรงลม

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


47

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


48

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


49

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


50

10.) รายการค้านวณโครงสร้างเหล็กรับฝ้าเพดาน และ CAT WALK

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


51

รูปแสดงตาแหน่ง ROD SUPPORT และ C-SUPPORT

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


52

รูปตัดแสดงแนวโครงสร้างเหล็กรับ ฝ้าเพดาน อุปกรณ์งานระบบ และ Cat walk

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


53

โดยพิจารณาน้าหนักบรรทุกแนวดิ่งที่กระทาต่อโครงสร้างหลังคาดังนี้

น้าหนักบรรทุกจร 150 กก / ตร.ม.


น้าหนักวัสดุมุงหลังคา 15 กก / ตร.ม.
น้าหนักฉนวนกันความร้อน 15 กก / ตร.ม.
น้าหนัก SOUND BLOCK 2x12 มม. 50 กก / ตร.ม.
น้าหนักฝ้าเหดานฉาบเรียบ 12 มม. 25 กก / ตร.ม.
น้าหนักงานระบบประกอบอาคาร 80 กก / ตร.ม.

รวมน้าหนักบรรทุกทั้งหมด 335 กก / ตร.ม.

รูปแสดง น้าหนักที่กระทาต่อโครงเหล็กรับฝ้า DL 30 kg/m2 , LL 150 kg/m2

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


54

รูปแสดงค่าการแอ่นตัวของโครงเหล็กรับฝ้าเพดาน

รูปแสดงค่าแรงดึงที่เกิดขึ้นใน ROD สูงสุด 3.14 tons

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


55

รูปแสดงค่าโมเมนต์ที่เกิดขึ้นในโครงเหล็กรับฝ้าเพดาน Mmax = -1.67 t-m

Moment max -1.67 ton-m , +0.96 ton-m

Shear max 1.65 ton

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


56

ออกแบบคานหลักเหล็ก C – 125x65x6/8

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


57

ออกแบบคานรอง เหล็กกล่อง Box 100x50x4.5

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


58

11.) รายการค้านวณโครงสร้าง คาน คสล. หล่อส้าเร็จ และ SHEAR KEY คาน B58

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


59

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


60

12.) รายการค้านวณโครงสร้าง พระวิหาร

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


61

วิเคราะห์ ออกแบบด้วยโปรแกรม MIDAS GEN

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


ผลการวิเคราะห์ และออกแบบโครงสร้าง

รูปแสดง ผลการวิเคราะห์ MOMENT max 1067.25 kg-m , SHEAR max 1672 kg


64

ค่าการแอ่นตัวสูงสุด -0.35 mm

REACTION max 6.83 Tons

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


65

ออกแบบคาน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


66

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


67

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


68

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


ภาคผนวก ค.
โครงการก่อสร้างอาคารที่ทาการสานักงาน ป.ป.ช. แห่งใหม่ (ระยะที่ 2 )

กันยายน 2552
สานักงาน ป.ป.ช. ลงนามสัญญาจ้างโครงการก่อสร้างอาคารที่ทาการสานักงาน ป.ป.ช. แห่งใหม่
(ระยะที่ 2) กับบริษัท เอ็นแอล ดีเวลลอปเมนต์ จากัด (มหาชน) ผู้รับจ้างตามสัญญาเลขที่ 40/2552
ลงวันที่ 9 กันยายน 2552 ณ. อาคารสานักงาน ป.ป.ช. ถนนพิษณุโลก โดยมีการแบ่งงวดงานออกเป็น
200 งวด ระยะเวลาก่อสร้าง 850 วัน เริ่มมีผลตามสัญญาตั้งแต่วันที่ 10 กันยายน 2552 สานักงาน
ป.ป.ช. มีคาสั่งที่ 223/2552 ลงวันที่ 15 กันยายน 2552 แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการจ้าง และ
ประชุมเตรียมความพร้อมเปิดงาน ระหว่างที่ปรึกษาควบคุมงาน ผู้รับจ้างระยะที่ 1 ผู้รับจ้างระยะที่ 2
2

ตุลาคม 2552
มีการประชุมคณะกรรมการตรวจการจ้างครั้งที่ 1/2552 วันพุทธที่ 14 ตุลาคม 2552 สานักงาน
ป.ป.ช. ทาสัญญาจ้างที่ปรึกษาควบคุมงาน ( บริษัท ทีพีเอฟซี อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด ) ตาม
สัญญาเลขที่ 1/2553 ลงวันที่ 7 ตุลาคม 2552 เพื่อทาหน้าที่ควบคุมงานก่อสร้างอาคารที่ทาการ
ระยะที่ 2 ให้ถูกต้องตามรูปแบบรายการและสัญญา ที่ปรึกษาให้ความเห็นชอบแบบผังบริเวณแสดง
หมุดการทางาน รวมทั้งแบบผังเสาเข็มอาคาร 3 และอาคาร 4 ขออนุมัติทดสอบการรับน้าหนักของ
เสาเข็มโดยวิธี STATIC LOAD และวิธี DYNAMIC LOAD TEST เพื่อใช้ในการรับน้าหนัก และเริ่ม
ทาการตอกเข็ม

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


3

พฤศจิกายน 2552
มีการประชุมคณะกรรมการตรวจการจ้าง ครั้งที่ 2/2552 วันจันทร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2552 มติที่
ประชุมอนุมัติให้เริ่มงานตอกเข็ม PILOT PILE อาคาร 3 และอาคาร 4 และทาการทดสอบกาลังรับ
น้าหนักของเสาเข็ม โดยวิธี DYNAMIC LOAD TEST จานวน 3 ต้น รวมถึงเริ่มงานตอกเสาเข็ม
อาคาร 3 (จานวน 241 ต้น) และอาคาร 4 (จานวน 397 ต้น)

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


4

ธันวาคม 2552
มีการประชุมคณะกรรมการตรวจการจ้างครั้งที่ 3/2552 วันพฤหัสบดีที่ 24 ธันวาคม 2552 เพื่อตรวจ
รับงานก่อสร้างครั้งที่ 1 และวันที่ 9 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการด้านเทคนิคงาน โครงสร้างเข้า
ตรวจสอบงานวางผังก่อสร้าง และวันที่ 17 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการป้องกันการปราบปราม
การทุจริตแห่งชาติเข้าตรวจเยี่ยมโครงการ งานตอกเข็มแล้วเสร็จ เริ่มงานตอก SHEET PILE ป้องกัน
ดินพัง อาคาร 3 เพื่อก่อสร้างชั้นใต้ดิน และเริ่มงานก่อสร้างฐานรากอาคาร 4

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


5

มกราคม 2553
งานระบบป้องกันดินพัง อาคาร 3 แล้วเสร็จ งานฐานรากอาคาร 3 และ 4 แล้วเสร็จ รวมถึงงานขอ
อนุมัติปรับปรุงแก้ไขฐานราก เนื่องจากกรณีตอกเสาเข็มหนีศูยน์ และเริ่มก่อสร้างชั้นใต้ดินอาคาร 4

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


6

กุมภาพันธ์ 2553
มีการประชุมคณะกรรมการตรวจการจ้างครั้งที่ 4-1/2553 วันศุกร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553 เพื่อตรวจรับ
งานก่ อ สร้ างครั้ง ที่ 2 และตรวจการจ้ า งครั้ ง ที่ 5-2/2553 วั น พฤหั ส บดี ที่ 25 กุ ม ภาพั น ธ์ 2553
คณะกรรมการตรวจการจ้าง ตรวจเยี่ยมชมสถานที่ก่อสร้าง ที่ปรึกษาตรวจเยี่ยมชมโรงเก็บเหล็ก
เสริมคอนกรีต

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


7

มีนาคม 2553
ที่ปรึกษาการควบคุมงาน ตรวจสอบแหล่งลูกรัง หินคลุก โรงงานคอนกรีตผสมเสร็จ และตรวจสอบ
งานระบบกันซึม อาคาร 3 และ 4 รวมถึงงานเทคอนกรีตพื้นชั้นใต้ดิน เริ่มงานก่อสร้างระบบ
สาธารณูปโภค เช่น งานลานจอดรถกลางแจ้ง, รั้ว และถนนรอบโครงการ

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


8

เมษายน 2553
ที่ปรึกษาควบคุมงานตรวจสอบการรับแรงกดของท่อระบายน้า และทดสอบกาลังรับแรงอัดของ
คอนกรีต เริ่มงานกาแพงคอนกรีตชั้นใต้ดิน อาคาร 3 และ 4 และงานวางท่อระบายน้าโครงการ
รวมถึงติดตั้งครุภัณฑ์ อาคาร 1

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


9

พฤษภาคม 2553
มีการประชุมตรวจการจ้างครั้งที่ 6-3/2553 วันศุกร์ที่ 14 พฤษภาคม 2553 เพื่อตรวจรับงวดงาน
ครั้งที่ 3 เริ่มงานพื้นชั้นที่ 1 อาคาร 3 และ 4 ,ตรวจสอบงานท่อระบายน้า บดอัดถนนรอบโครง
การ และลานจอดรถกลางแจ้ง

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


10

มิถุนายน 2553
มีการประชุมตรวจการจ้างครั้งที่ 7-4/2553 วันจันทร์ที่ 28 มิถุนายน 2553 เพื่อตรวจรับ งวดงาน
ครั้งที่ 4 ตรวจงานเทคอนกรีตชั้น 1 อาคาร 3 , ชั้น 1 และชั้น 3 อาคาร 4

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


11

กรกฎาคม 2553
มีประชุมตรวจการจ้างครั้งที่ 8-5/2553 วันพุธที่ 7 กรกฎาคม 2553 ตรวจสอบอาคาร 3 งานเทคอน
พื้นชั้น 2 , อาคาร 4 งานเทคอนกรีตพื้นชั้น 3 , อาคารจอดรถเทคอนกรีตชั้น 3A และ 3B
เริ่มงานระบายน้าและรั้วเหล็กรอบโครงการ

สิงหาคม 2553
มีการประชุมตรวจการจ้างครั้งที่ 9-6/2553 วันอังคารที่ 10 สิงหาคม 2553 และ ครั้งที่ 10-7/2553
วันอังคารที่ 31 สิงหาคม 2553 ตรวจสอบอาคาร 3 งานเทคอนกรีตพื้นชั้น 2 และ อาคาร 4 พื้น
ชั้น 3 อาคารจอดรถเทคอนกรีตชั้น 5A และ 5B

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


12

กันยายน 2553
ตรวจสอบอาคาร 3 งานเทคอนกรีตพื้นชั้น 3 และอาคาร 4 งานพื้นชั้น 5 , อาคารจอดรถเริ่มงาน
ชั้น 6A และร่วมตรวจสอบงานก่ออิฐ

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


13

ตุลาคม 2553
มีการลงนามบันทึกเพิ่มเติมต่อท้ายสัญญาจ้างก่อสร้าง ลงวันที่ 28 ตุลาคม 2553 (ครั้งที่ 1) เรื่องแก้ไข
เปลี่ยนแปลงผู้แทนจาหน่าย ผลิตภัณฑ์กันซึมชั้นใต้ดิน ตรวจสอบงานเทคอนกรีตพื้นชั้น 4 อาคาร 3
งานเทรางน้าชั้นหลังคา อาคาร 4 , อาคารจอดรถเริ่มงานชั้น 7A

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


14

พฤศจิกายน 2553
มีการประชุมตรวจการจ้างครั้งที่ 11-8/2553 วันพุธ.ที่ 24 พฤศจิกายน 2553 และครั้งที่ 12-9/2553
วันพฤหัสบดี ที่ 25 พฤศจิกายน 2553 เพื่อตรวจรับงวดงานครั้งที่ 5 และ 6 ตรวจสอบ งานชั้น
หลังคา อาคาร 3 และเริ่มงานก่ออิฐชั้นที่ 1 , เริ่มก่ออิฐอาคาร 4 และอาคารจอดรถยนต์

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


15

ธันวาคม 2553
มีการลงนามบันทึกเพิ่มเติมต่อท้ายสัญญาก่อสร้าง ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2553 (ครั้งที่2) เรื่องขอ
เปลี่ยนแปลงเสาเข็ม งานทางเชื่อมอาคาร 1-4 จากเข็มตอก SPUN PILE เป็นเข็มเจาะ , อาคาร 3
เริ่มงานโครงเหล็กหลังคา ตรวจสอบงานติดตั้งโครงหลังคาเหล็กอาคาร 4 และอาอาคารจอดรถยนต์

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


16

มกราคม 2554
เริ่ ม งานตอกเข็ ม สระน้ าและศาลายุ ติ ธ รรม และเจาะเสาเข็ ม ทางเชื่ อ มอาคาร 1 และ 4 และ
ตรวจสอบงานอาคาร 3 เทคอนกรีตชั้นดาดฟ้า งานระบบตรวจสอบ ท่อร้อยสายไฟและ DUCT AIR
ระบบท่อน้าสุขาภิบาล , ตรวจสอบงานติดตั้งโครงหลังคาเหล็ก อาคาร 3 และ 4

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


17

กุมภาพันธ์ 2554
มีการประชุมคณะกรรมการตรวจการจ้าง ครั้งที่ 13-1/2554 วันจันทร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554
เพื่อทาการตรวจรับงวดงานครั้งที่ 7 วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2554 กรรมการ ป.ป.ช. โดย ท่าน
ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ ประธานกรรมการ ป.ป.ช ประชุมร่วมกับท่านศาสตราจารย์ ดร.
ภิญโญ สุวรรณคีรี มีมติให้ปั้นพระพุทธรูป เพื่อขอพระราช ทานนาม , ตรวจสอบอาคาร 3
งานระบบประกอบอาคาร และงานก่ออิฐชั้น 2 ก่ออิฐชั้นที่ 1 อาคาร 4

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


18

มีนาคม 2554
มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการตรวจการจ้ า ง ครั้ ง ที่ 14-2/2554 วั น ศุ ก ร์ . ที่ 18 มี น าคม 2554
ตรวจสอบเครื่อง AHU และ FCU เข้าหน่วยงาน , ตรวจสอบอาคาร 3 งานระบบประกอบอาคาร
และงานก่ออิฐชั้น 3 , อาคาร 4 งานก่ออิฐชั้น 3 และชั้น 5 , อาคารจอดรถก่ออิฐชั้น 1 – 7

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


19

เมษายน 2554
ตรวจสอบอาคาร 3 และ 4 งานมุงหลังคา และงานฉาบปูนภายในภายนอก เริ่มงานติดตั้ง โครงเหล็ก
Walk way และรับฝ้าเพดาน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


20

พฤษภาคม 2554
มีการประชุมคณะกรมการตรวจการจ้าง ครั้งที่ 15-3/2554 วันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม 2554 เริ่มงานปู
กระเบื้อง ,พื้นผนัง อาคาร 3 และอาคาร 4 และงานประตู หน้าต่าง อลูมิเนียม

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


21

มิถุนายน 2554
มีก ารลงนามบั น ทึ ก เพิ่ ม เติ ม ต่ อ ท้ ายสั ญ ญาจ้ า ง ลงวั น ที่ 1 มิ ถุ น ายน 2554 (ครั้ ง ที่ 3) เรื่ อ งแก้ ไ ข
เปลี่ยนแปลง รุ่นของ JOCKEY PUMP และบันทึกเพิ่มเติมต่อท้ายสัญญาจ้าง ลงวันที่ 17 มิถุนายน
2554 (ครั้งที่ 4) เรื่องแก้ไขเปลี่ยนแปลงแบบโครงสร้าง คสล. อาคาร 4 ในส่วนของอาคารที่จอด
รถยนต์แ ละส่ว นอาคารหอประชุ ม ที่ ป รึก ษาควบคุ ม งานตรวจสอบงานตอกเข็ ม สระน้ า ศาลา
ยุติธรรม

กรกฎาคม 2554 ตรวจสอบเครื่องกาเนิดไฟฟ้าอาคาร 2

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


22

สิงหาคม 2554
ตรวจสอบเครื่องกาเนิดไฟฟ้า อาคาร 3 COOLING TOWER และ BOOTER PUMP เข้าหน่วยงาน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


23

กันยายน 2554
มีการประชุมคณะกรรมการตรวจจ้างครั้งที่ 18-5/2554 วันอังคารที่ 27 กันยายน 2554 เพื่อทาการ
ตรวจรั บ งวดงานครั้ ง ที่ 10 และตรวจการจ้ า งครั้ ง ที่ 19-6/2554 วั น พุ ธ ที่ 28 กั น ยายน 2554
ตรวจสอบปั๊ ม น้ าเย็ น เข้ า หน่ ว ยงาน มี ก ารลงนามบั น ทึ ก เพิ่ ม เติ ม ต่ อ ท้ า ยสั ญ ญาจ้ า ง ลงวั น ที่ 6
กันยายน 2554 (ครั้งที่ 5) เรื่องขยายระยะเวลา การก่อสร้างตามมติคณะรัฐมนตรี เป็นเวลา 45 วัน
จากเดิม 850 วันเป็น 895 วัน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


24

ตุลาคม 2554 มีการประชุมคณะกรรมการตรวจการจ้าง ครั้งที่ 20-8/2554 วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม


2554 เพื่อทาการตรวจรับงวดงานครั้งที่ 11 ตรวจสอบ MDB อาคาร 3 และ อาคาร 4 และหม้อแปลง
ไฟฟ้า เข้าหน่วยงาน

พฤศจิกายน 2554 ตรวจสอบ RMU, BD และ SUBMERSIBLE PUMP เข้าหน่วยงาน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


25

ธันวาคม 2554
มีการประชุมตรวจการจ้างครั้งที่ 21-9/2554 วัน ที่ 14 ธัน วาคม 2554 และครั้ง ที่ 22-10/2554
วันที่ 20 ธันวาคม 2554 เพื่อทาการตรวจรับงวดงานครั้งที่ 12 มีการลงนามบันทึกเพิ่มเติมต่อท้าย
สัญญาจ้าง ลงวันที่ 19 ธันวาคม 2554 (ครั้งที่ 6) เรื่องเปลี่ ยนแปลงตาแหน่งติดตั้งครุภัณฑ์ ระบบ
รักษาความปลอดภัย อาคาร 1 และอาคาร 5 และบันทึก เพิ่ม เติม ต่อท้า ยสัญ ญาจ้ าง ลงวัน ที่ 27
ธันวาคม 2554 (ครั้งที่ 7) เรื่องขยายระยะเวลา ตามมติคณะรัฐมนตรี ที่ นร.0506/ว 66 เป็นเวลา 24
วัน จากเดิม 895 วันเป็น 919 วัน , ตรวจสอบอุปกรณ์ระบบโสตฯ และเสาไฟฟ้ารอบโครงการ

มกราคม 2555
ที่ปรึกษาตรวจสอบงานระบบ ตู้ควบคุม AMCC 1,2,3 และเสาไฟสูง 30 และ 2 เมตร เข้าหน่วยงาน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


26

กุมภาพันธ์ 2555
มีการประชุมคณะกรรมการตรวจการจ้าง ครั้งที่ 23-1/2555 วันพฤหัสบดีที่ 2 กุมภาพันธ์ 2555
และครั้งที่ 24-2/2555 วันที่จันทร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2555 เพื่อตรวจรับงวดงานครั้งที่ 13 ตรวจสอบ
เครื่องทาน้าเย็น, ปั๊มระบบรดน้าต้นไม้ เข้าหน่วยงาน มีการลงนามบันทึกเพิ่มเติมต่อท้ายสัญญาจ้าง
ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2555 เรื่องานแก้ไขเปลี่ยนแปลง เพิ่ม -ลด รูปแบบ 9 รายการ และขยาย
ระยะเวลาออกไปอีก 30 วันจาก 919 วันเป็น 949 วัน ฝึกอบรมการใช้งานเครื่องตรวจสอบอาวุธ
แบบ X – RAY ร่วมกับเจ้าหน้าที่ ป.ป.ช. วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2555

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


27

มีนาคม 2555
มีการประชุมคณะกรรมการตรวจการจ้างครั้งที่ 25-3/2555 วันพฤหัสบดีที่ 8 มีนาคม 2555 และลง
นามบันทึกเพิ่มเติมต่อท้ายสัญญาจ้าง ลงวันที่ 13 มีนาคม 2555 (ครั้งที่ 9) เรื่องเปลี่ยนแปลงระบบกัน
ซึมสาหรับงานดาดฟ้า อาคาร3 และอาคาร 4

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


28

เมษายน 2555
มีการประชุมคณะกรรมการตรวจการจ้างครั้งที่ 26-4/2555 วันอังคารที่ 3 เมษายน 2555 และลง
นามบันทึกเพิ่มเติมต่อท้ายสัญญาจ้าง ลงวันที่ 10 เมษายน 2555 (ครั้งที่ 10) เรื่องแก้ไขเปลี่ยนแปลง
รูปแบบรายการก่ อสร้าง ครั้งที่ 1 – 3 รวม 10 รายการ ตรวจสอบอุปกรณ์ UPS และ GAS
STATION เข้าหน่วยงาน

พฤษภาคม 2555
มีการลงนามบันทึกเพิ่มเติมต่อท้ายสัญญาจ้าง (ครั้งที่ 11) ลงวันที่ 15 พฤษภาคม 2555 เรื่องขยาย
ระยะเวลาตามมติคณะรัฐมนตรี ออกไปอีก 180 วัน เดิม 1009 วันเป็น 1189 วัน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


29

มิถุนายน 2555
มีการประชุมคณะกรรมการตรวจการจ้างครั้งที่ 28-5/2555 วันอังคารที่ 5 มิถุนายน 2555 ครั้งที่ 29-
7/2555 วันเสาร์ที่ 30 มิถุนายน 2555 เพื่อทาการตรวจรับงวดงาน ครั้งที่ 16 วันที่ 13 มิถุนายน
2555 ท่านปานเทพ กล้าณรงค์ราญ ประทานกรรมการ ป .ป.ช. และท่านอภินันทน์ อิศรางกูร ณ
อยุธยา เลขาธิการคณะกรรมการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตรวจเยี่ยมโครงการที่ปรึกษาควบคุมงานร่วม
ตรวจสอบการทดสอบงานระบบประกอบอาคารในสภาพใช้งานเต็มประสิทธิภาพ อาคาร 3 วันที่
21 มิถุนายน 2555 อาคาร 4 และงานสาธารณูปโภค วันที่ 27 มิถุนายน 2555

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


30

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


31

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


32

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


33

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


34

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


35

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


36

กรกฎาคม 2555
มีการลงนามบันทึกเพิ่มเติมต่อท้ายสัญญาจ้าง(ครั้งที่ 12 และ 13 ) ลงวันที่ 2 กรกฎาคม 2555 เรื่อง
แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการอุปกรณ์ระบบรดน้าต้นไม้ และวันที่ 31 กรกฏาคม 2555 เรื่องแก้ไข
เปลี่ยนแปลงรูปแบบ และรายการจานวน 5 รายการ วันที่ 18 กรกฎาคม 2555 กรรมการ ป.ป.ช.
ท่านวิชา มหาคุณ รองเลขาธิการ ท่านณรงค์ รัฐอมฤนต และคณะเข้าตรวจเยี่ยมโครงการ ที่
ปรึกษาควบคุมงานร่วมตรวจสอบ ระบบรักษาความปลอดภัยพิเศษ วันที่ 25 กรกฏาคม 2555
คณะกรรมการตรวจการจ้าง ที่ปรึกษาควบคุมงาน ท่านอุดมศักดิ์ ดุลประพันธ์ ตรวจสอบงานงวด
สุดท้าย วันที่ 31 กรกฎาคม 2555 สานักงาน ป.ป.ช. ขอใช้สถานที่ห้องจัดเลี้ยง 600 คนเพื่อใช้
จัดงานเลี้ยง อาลา ศาสตราจารย์เมธี ครองแก้ว กรรมการ ป.ป.ช. พ้นจากวาระ

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


37

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


38

สิงหาคม 2555
วันที่ 8 สิงหาคม 2555 ท่านปานเทพ กล้าณรงค์ราญ ประธานกรรมการ ป.ป.ช. และ
ท่านกล้าณรงค์ จันทิก กรรมการ ป.ป.ช. และคณะทาพิธีตั้งศาลบริเวณต้นโพธิ์

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


39

ภาพระหว่างก่อสร้าง

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


40

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


41

ภาพงานแล้วเสร็จ หลังส่งมอบงาน

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


42

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


43

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


44

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


45

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


46

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


47

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


48

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


49

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


50

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


51

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )


52

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เป็นวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเด่นลาดับที่ 2 )

You might also like