Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 60

๗๖

บทที่ ๔
ผลงานการออกแบบสถาปตยกรรมของหลวงวิศาลศิลปกรรม

สถาปตยกรรมในการออกแบบของหลวงวิศาลศิลปกรรม

ผลงานการออกแบบสถาปตยกรรมของหลวงวิศาลศิลปกรรมทั้งหมดนัน้ มีลักษณะ
การจัดรูปพื้นที่หลากหลายรูปแบบ เพื่อตอบสนองการใชงานในประเภทตางๆ สําหลับการศึกษา
ในครั้งนี้ ผูศึกษาไดมุงเนนไปที่สถาปตยกรรมประเภทอาคารสาธารณะและอาคารทางศาสนา โดย
ในสวนนี้ ไดกลาวถึงมูลเหตุในการกอสรางและบรรยายลักษณะรูปแบบทางสถาปตยกรรม ซึ่ง
เรียงลําดับตามระยะเวลาการออกแบบกอสราง สําหรับเปนขอมูลพืน้ ฐานการอธิบายและวิเคราะห
ผลงานในสวนตอไป
๑. ตึกนิภานภดล วัดเทพศิรินทราวาส
มูลเหตุ ตึกนิภานภดลนี้ สมเด็จพระเจานองนางเธอเจาฟานิภานภดล ไดทรง
สละทรัพยสวนพระองคสรางประทาน ใหเปนศึกษาสถานฝายพระปริยัติธรรมและนักธรรม ใหเปน
สมบัติของวัดเทพศิรินทราวาส ดวยเห็นวาการเลาเรียนศึกษาเปนทางเกื้อกูลแกฝายศาสนปฏิบัติ
เมื่อการเจริญรุงเรือง ก็เปนไปเพื่อประโยชนแกประชาชน และอุทิศถาวรวัตถุทานการกุศลนี้ ถวาย
แดสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสนิ ทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั และสมเด็จพระเทพ
ศิรินทราบรมราชินี ซึง่ ทําพิธีการเปดตึกเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ ในวันคลายวันประสูติ
ของพระองค๑ (ออกแบบและสราง พ.ศ. ๒๔๖๖ – ๒๔๖๗)
ปจจุบันไดใชเปนตึกเรียนของโรงเรียนเทพศิรินทร
ลักษณะทางสถาปตยกรรม ผังอาคารเปนรูปตัว I อันเปนลักษณะผังแบบ
ตะวันตก คือ มีมุขขวางดานทิศตะวันออกและดานทิศตะวันตก รูปทรงอาคารแบบไทยประยุกต
โดยมีหลังคาเปนจั่วทรงสูงแบบไทย ตัวอาคารกออิฐถือปูน ๒ ชั้นพืน้ และออกแบบเสาแทรกหรือ
เสาอิงผนังรับคานคอนกรีต


วัดเทพศิรินทรทราวาสราชวรวิหาร, ประวัติ [ออนไลน], เขาถึงเมื่อ ๑๑ ธันวาคม
๒๕๔๙. เขาถึงไดจาก http : //www. Watdebsirin.com / history/
๗๗

การจัดรูปแบบผังอาคารนี้เพือ่ ใหสอดรับกับการใชเปนหองเรียนไดเปนอยางดี คือการ


วางตัวอาคารตามแนวแกนเหนือ-ใต เพื่อหลีกเลี่ยงแสงแดดสาดเวลากลางวันขณะใชหองเรียน
และไดมีการใชปกนกหรือกันสาดรอบตลอดอาคารดวย สวนตัวอาคารหรือผนังใชเสาเปนสวนยืน่
ออกมาเพื่อใชรับน้ําหนักและตกแตงไปดวยในตัวเนื่องจากสวนหัวเสาและเชิงเสาไดเนนดวยชุดบัว
ซอน ๒ ชั้น สวนฐานอาคารไดทําเปนฐานปทมลูกแกวอกไกรับตัวอาคาร มุขขวางดานตะวันออก
และดานตะวันตก ขนาดกวางมุขละ ๙ เมตร แบงเปนระเบียงทางดานเหนือกวาง ๒.๕๐ เมตร พืน้
ชั้นลางจากระดับพื้นดินสูง ๑.๕๕ เมตร แตพื้นชั้นลางถึงพืน้ ชัน้ บนสูง ๕ เมตร จากพืน้ ชัน้ บนจด
ทองชื่อ ๕.๑๐ เมตร แตระดับพื้นดินสูงขาดยอด ๑๗.๐๕ เมตร มีถนนเล็กเชื่อมฐานตึก เวนดานใต
มีเขตลอมดวยกําแพงรั้วคอนกรีตโดยรอบ ภายในตึกชัน้ ลางมี ๖ หอง ชั้นบนมี ๕ หอง บันไดขึ้นชั้น
บนทางมุขดานตะวันตก บันไดคูลงพืน้ ทีม่ ุขตรงประตูกําแพงทั้งสองดานเหนือ๒

ภาพที่ ๗๒ ตึกนิภานภดล(ดานหลัง)
ที่มา : สมภพ ภิรมย, น.อ.,ร.น.,ผูรวบรวม, อนุสรณสาร เนื่องในงานฉลองอายุครบรอบเกาสิบเอ็ด
ป ของศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม(เชื้อ ปทมจินดา) (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย,
๒๕๑๙. พิมพในงานฉลองอายุครบรอบเกาสิบเอ็ดป ของศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม
(เชื้อ ปทมจินดา) กุมภาพันธ ๒๕๑๙), ไมปรากฎเลขหนา.


วัดเทพศิรินทรทราวาสราชวรวิหาร, ประวัติ [ออนไลน], เขาถึงเมื่อ ๑๑ ธันวาคม
๒๕๔๙. เขาถึงไดจาก http : //www. Watdebsirin.com / history/
๗๘

ในส ว นหลั ง คาหน า บั น ที่ มุ ข ขวาง ออกแบบเป น รู ป ลายกระหนกและกรอบสิ น เทา


ลอมรอบตราสัญลักษณอักษร น,น อันเปนอักษรยอ ของสมเด็จพระเจานองนางเธอ เจาฟานิภา
นภดล ผูทรงสละทรัพยสวนพระองค สําหรบสรางอาคารหลังนี้
โครงสรางอาคารเครื่องบนใชไมตะแบก นอกนั้นใชไมสัก หลังคามุงกระเบื้องซีเมนต
แบบไทย๓

ภาพที่ ๗๓ ดานหนาตึก แสดงการใชเสาเปน ภาพที่ ๗๔ มุขขวางดานทิศตะวันตก


สวนประดับตัวอาคาร ตึกนิภานภดล
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจยั


วัดเทพศิรินทรทราวาสราชวรวิหาร, ประวัติ [ออนไลน], เขาถึงเมื่อ ๑๑ ธันวาคม
๒๕๔๙. เขาถึงไดจาก http : //www. Watdebsirin.com / history/
๗๙

ภาพที่ ๗๕ ปายชื่ออาคาร และรูปแบบกรอบซุมประตู ตึกนิภานภดล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๗๖ สวนมุขชัน้ สองหลังอาคารดานทิศตะวันตก ภาพที่ ๗๗ ประตูดานหนาอาคาร


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจัย
๘๐

ลายเสนที่ ๙ สวนหนาบันที่ออกแบบเปนซุมโคง บรรจุลายกระหนกประกอบอักษรยอ น , น


นามผูสราง ตึกนิภานภดล
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๗๘ ตัวเหงาหรือหางหงสสว นประกอบหนาบันตึกนิภานภดล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๘๑

ภาพที่ ๗๙ การตกแตงผนังชั้นสองดวยเสาอิงและกรอบหนาตางตึกนิภานภดล
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๘๐ บัวเชิงเสาและกระจังปูนปดชายกระเบื้องของกันสาดตึกนิภานภดล
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๘๒

ภาพที่ ๘๑ บัวประดับเชิงเสาแบบบัวซอนชั้น คือบัวปากปลิง ๒ ชัน้ และบัวคว่าํ ๒ ชั้น


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๘๒ เสาพนักบันไดทางขึ้นและฐานอาคารแบบชุดฐานสิงหตกึ นิภานภดล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๘๓

แบบลายเสนสถาปตยกรรม ตึกนิภานภดล วัดเทพศิรินทราวาส

ลายเสนที่ ๑๐ แสดงรูปผัง ตึกนิภานภดล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๑๑ แสดงรูปดานหนา ตึกนิภานภดล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๘๔

ลายเสนที่ ๑๒ แสดงรูปดานขาง ตึกนิภานภดล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๑๓ แสดงรูปดานหลัง ตึกนิภานภดล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๘๕

๒. ตึกมนุษยนาควิทยาทาน วัดบวรนิเวศ
มูลเหตุ เมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไดสิ้นพระชนม
แลว มีบรรดาศิษยานุศิษยและผูมีความเคารพนับถือในพระองคทาน ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ
ปรารถนาจะรวมกันบําเพ็ญกุศลถวายสนองพระเดชพระคุณเปนสวนกุศลถาวรวัตถุ เพื่อเปน
อนุสาวรียเฉลิมพระเกียรติคุณ เมื่อความนี้ทราบถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวก็ทรง
พระโสมนัสอนุโมทนา และมีพระราชประสงคจะทรงบําเพ็ญพระราชกุศลรวมดวย จึงทรงพระ
กรุณาโปรดพระราชทานพระบรมราชูปถัมภในการบําเพ็ญกุศล และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให
สมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟากรมหลวงนครสีมารับหนาที่เปนผูอํานวยการ ใหพระเจาพี่ยาเธอ
กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ทรงรับหนาที่เปนเหรัญญิก
การสรางถาวรวัตถุนั้น ไดรับพระราชทานหารือกัน ตกลงเปนอันใหสรางสถานศึกษา
หลังใหญขึ้นหลังหนึ่ง ที่คณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหาร สวนการกอสรางนั้นมอบถวายพระเทพกวีเปน
ผูอํานวยการ ใหเหมาะสมที่จะใชเปนสถานศึกษา เมื่อการกอสรางแลวเสร็จ พระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนามวา “มนุษยนาควิทยาทาน”
อันเปนพระนามเดิมของสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ปจจุบัน ใชเป น
พิพิธภัณฑของวัดบวรนิเวศวิหาร๔ (ออกแบบและสราง พ.ศ. ๒๔๖๖ – ๒๔๖๗)
ลักษณะทางสถาปตยกรรม มีลักษณะเปนตึกแบบโกธิก ศิลปสถาปตยกรรม
แบบตะวันตก มีสองชั้น หันหนาออกทางทิศตะวันออก มีมุขกลาง เปนหองบันไดทางดานหนา
และเปนหองประชุมทางดานหลัง กวาง ๑๑ เมตร ยาว ๒๖ เมตร ตอจากมุขกลางนี้ มีหองเรียนติด
ระเบียงหลังรวมกวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๒ เมตร เชื่อมติดตอกับหองเรียน ซึ่งตั้งเปนมุขสกัดริมกวาง
๗ เมตร ยาว ๑๘ เมตร พื้นชั้นลางสูงจากระดับดิน ๑ เมตร พื้นชั้นบนสูงจากพื้นชั้นลาง ๔ เมตร
๕๐ เซนติเมตร เพดานสูงจากพื้นชั้นบน ๔ เมตร ๗๐ เซนติเมตร มีประตูเขาเปนทางใหญ ๒ ทาง ๆ
ดานถนนพระสุเมรุทําเปนมุขนอยยื่นออกจากระดับหองเรียน ดานตะวันออกเปนประตูใหญอยูใน
มุขกลางระหวางหอสูง
ชั้นบนมีหองเรียนขนาดกวาง ๗ เมตร ยาว ๙ เมตร ๖ หอง ชั้นลางมีหองเรียนขนาด
กวาง ๗ เมตร ยาว ๙ เมตร ๔ หอง ขนาดกวาง ๗ เมตร ยาว ๘ เมตร ๒ หอง มีระเบียงทางเดิน
กวาง ๒ เมตรติดตอกันไดทุกหอง มีหองประชุมกวาง ๑๑ เมตร ยาว ๑๕ เมตร เปนหองชั้นเดียว


ตํานานวัดบวรนิเวศวิหาร (กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๔๖. พิมพในวโรกาส
งานฉลองพระชนมายุ ๙๐ พรรษา สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆ
ปรินายก ตุลาคม ๒๕๔๖), ๑๑๖ - ๑๑๗.
๘๖

สู ง ตั้ ง แต พื้ น ชั้ น ล า งตลอดถึ ง เพดานชั้ น บน มี ร ะเบี ย งเสมอระดั บ ชั้ น บน กว า ง ๑ เมตร ๕๐
เซนติเมตร ๓ ดาน ดานตะวันตกจัดเปนที่ประดิษฐานพระรูป อีก ๒ ดานใชเปนทางเดินและที่นั่ง
ประชุม

ภาพที่ ๘๓ ตึกมนุษยนาควิทยาทาน เมือ่ แรกสรางเสร็จ


ที่มา : หอจดหมายเหตุแหงชาติ

ภาพที่ ๘๔ มุขกลางดานหนาตึกมนุษยนาควิทยาทาน ในปจจุบัน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๘๗

ภาพที่ ๘๕ หองโถงมุขกลางสวนดานหลัง ออกแบบเปนสวนโปรงเชื่อมระหวางชัน้ ตึกมนุษยนาค


วิทยาทาน
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

การกอสรางตึกหลังนี้ ไดขุดรากลึกลงไปจากระดับดิน ๑ เมตร ๕๐ เซนติเมตร ใชตอก


เข็ ม ไม แข็ ง ขนาดใหญใ ตผนั ง ทั่ ว ไปทั้ ง หลั ง เวน แตที่ ห อสูง และผนัง มุ ขหน า ไดใ ชรากอย า งวิ ธี
คอนกรีตเสริมเหล็กโดยเฉพาะ และมีเสาแกนขึ้นไปจนถึงยอดเพื่อใหตานน้ําหนักไดเทากับสวนที่มี
น้ําหนักนอยกวา ตามผนังอิฐทั่วไปมีกันครากคอนกรีตเสริมเหล็กทับหลังตลอดทุก ๆ ระดับพื้นและ
เพดานหลังคามุงดวยกระเบื้องซีเมนตขนาดกลาง ตัวไมหลังคาใชไมตะแบกและมีไมสักปนใชเปน
ขื่อและจันทัน ไมคานไมตงและไมพื้นใชไมสัก เวนแตหองบันได ซึ่งเปนพื้นคอนนกรีตเสริมเหล็กใช
ปูดวยกระเบื้องกรวดหินออน เพดาน ประตู หนาตาง ลูกกรง ใชไมสักทั้งหมด บันไดภายในใชไม
สัก บันไดภายนอกใชคอนกรีตเสริมเหล็กและปูดวยกระเบื้องกรวดหินออน บรรดาตัวไมตาง ๆ
ภายในที่มองเห็นได ใชทาดวยน้ํามันแชลแลคชักมัน ตัวไมภายนอกทาดวยสีน้ํามัน๕


ตํานานวัดบวรนิเวศวิหาร, ๑๑๘.
๘๘

ภาพที่ ๘๖ มุขดานทิศเหนือ ภาพที่ ๘๗ ประตูมุขดานทิศเหนือ


ตึกมนุษยนาควิทยาทาน ตึกมนุษยนาควิทยาทาน
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ทีม่ า : จากการสํารวจของผูว จิ ัย

ภาพที่ ๘๘ แสดงดานในของประตูกลางดานหนา ตึกมนุษยนาควิทยาทาน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๘๙

ภาพที่ ๘๙ โถงสวนพักบันไดขึ้นชั้นบนตึกมนุษยนาควิทยาทาน
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๙๐ แสดงมุมมองตึกมนุษยนาควิทยาทาน
ที่มา : สมภพ ภิรมย, น.อ.,ร.น.,ผูรวบรวม, อนุสรณสาร เนื่องในงานฉลองอายุครบรอบเกาสิบเอ็ด
ป ของศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม(เชื้อ ปทมจินดา) (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย,
๒๕๑๙. พิมพในงานฉลองอายุครบรอบเกาสิบเอ็ดป ของศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม
(เชื้อ ปทมจินดา) กุมภาพันธ ๒๕๑๙), ไมปรากฎเลขหนา.
๙๐

แบบลายเสนสถาปตยกรรม ตึกมนุษยนาควิทยาทาน วัดบวรนิเวศวิหาร

ลายเสนที่ ๑๔ แสดงรูปผัง ตึกมนุษยนาควิทยาทาน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๑๕ แสดงรูปดานหนา ตึกมนุษยนาควิทยาทาน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๑๖ แสดงรูปดานขาง ตึกมนุษยนาควิทยาทาน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๙๑

๓. พระอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย
มูลเหตุ เนื่องจากพระอุโบสถเกาชํารุดทรุดโทรม และไดดําเนินการบูรณ
ปฏิสังขรณมานาน ตั้งแตสมัยรัชการที่ ๕ และยืดเยื้อมาจนถึงสมัยรัชการที่ ๗ จึงไทรงพระกรุณา
โปรดเกลาฯ ใหสรางใหม๖ โดยไดใหกระทรวงธรรมการเปนผูออกแบบ แตเนื่องจากแบบที่เขียนขึ้น
มีความวิจิตรมากจึงไมไดนําไปสรางจริง (ออกแบบ พ.ศ. ๒๔๖๙ ไมไดสราง)
ลักษณะทางสถาปตยกรรม ผังอาคารแบบกากบาทหรือจัตุรมุข หลังคาลดซอน
สองชั้นตอมุขหนายาวลดอีกหนึ่งชั้น ซึ่งมุขหนาหลังออกแบบเปนแบบมุขประเจิด สวนคอสองยืด
และตอลงมาดวยหลังคาคลุมโดยรอบ หนาบันแบบกระเทเซร๗ ไมมีไขราหนาจั่ว ปานลมออกแบบ
ซุมโคง ประกอบดวย ชอฟาใบระกาและหางหงส กลางหนาบันมีซุมยอแนบเรียนแบบหนาบันใหญ
แตมีเสารองรับหางหงส และวางตัวลงบนสันของหลังคาคลุมอาคาร สวนลายประกอบเปนลาย
ชนิดชอหางโต ในสวนชายกระเบื้องออกแบบเปนกระจังหรือกระเบื้องอุด อันเนื่องจากหลังคาใช
กระเบื้องกาบูหรือกระเบื้องกาบ ซึ่งการออกแบบชุดหลังคานี้ นาจะไดอิทธิพลทางรูปแบบจาก
ศาลารายหนาพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรฯ
ตัวอาคารประดับดวยชุดเสาอิงยอมุม ที่หัวเสาและเชิงเสาออกแบบเปนกาบลายและ
กระจังปฏิญาณหุมอยู มีหนาตางดานละสี่ชอง ประตูสี่ชองอยูดานขาง ในชวงมุขหนาและมุขหลัง
ซุมประตูหนาตางเปนแบบซุมบันแถลง มีลักษณะคลายกับหนาบันปานลม ที่ผนังมีซุมเสมาแนบ
ผนัง ๖ ซุม ภายในพระอุโบสถยกพื้นสูง ผนังสกัดดานหลังออกแบบซุมสําหรับประดิษฐานพระ
ประธานของพระอุโบสถ ฐานอาคารแบบชุดฐานสิงห


สุรศักดิ์ เจริญวงศ, สมเด็จฯเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ “สมเด็จครู” นายชาง
ใหญ แหงกรุงสยาม (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมติชน, ๒๕๔๙), ๑๒๐.

กระเทเซร หมายถึง ชื่อหนาจัว่ หรือหนาบันที่เปนเครื่องกอ ทําทึบไมเปนคูหาหรือซุม
ลึกเขาไปใตหลังคา ดูรายละเอียดใน ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพทศิลปกรรม (กรุงเทพฯ :
โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, ๒๕๒๖), ๑๗.
๙๒

แบบลายเสนสถาปตยกรรม พระอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย

ลายเสนที่ ๑๗ แสดงรูปผังพระอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕.พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๙๓

ลายเสนที่ ๑๘ รูปตัดดานหนาพระอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕.พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๙๔

ลายเสนที่ ๑๙ แสดงลายละเอียดรูปหนาบันและรูปทรงหนาตาง
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕.พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๙๕

ลายเสนที่ ๒๐ รูปดานขางพระอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕.พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๙๖

๔. ศาลาทาน้ํา โรงพยาบาลศิริราช
มูลเหตุ มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร (Rockefeller) ไดใหทุนในการสรางตึกอาคาร
แกโรงพยาบาลศิริราช ในระหวางป พ.ศ. ๒๔๖๖-๒๔๘๘ โดยกระทรวงธรรมการไดมอบหมาย
ใหพระสาโรชรัตนนิมมานก และหลวงวิศาลศิลปกรรม ออกแบบอาคารในโรงพยาบาลรวมถึง
ศาลาทาน้ําของโรงพยาบาลดวย ทั้งนี้ไดสรางเสร็จและใชในโอกาส รับเสด็จพระบาทสมเด็จ
พระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๗ และพระบรมราชินี ครั้งเสด็จเยือนโรงพยาบาลศิริราช ในป
พ.ศ. ๒๔๗๐ รวมถึงตึกพยาบาลอัษฎางค และเรือนนอนพยาบาล ซึ่งสรางเสร็จในป พ.ศ.
๒๔๗๑ และ ๒๔๗๕ ตามลําดับ๘ (สรางเสร็จ พ.ศ. ๒๔๗๐)
ลักษณะทางสถาปตยกรรม ศาลาตั้งอยูริมแมน้ําเจาพระยา มีลักษณะเปน
อาคารโถงโปร ง ผั ง รู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส รู ป แบบสถาป ต ยกรรมแบบฟ น ฟู วิ ท ยาการ
(Renaissance)ของตะวันตก โดยมีการประดับหัวเสาแบบไอโอนิค รองรับซุมโคง ทั้ง ๔ ดาน
ในสวนผนังบริเวณคอสอง ออกแบบเปนชองตะแกรงโปรง รอบอาคารประดับดวยพนักลูกแกว
โปรงโดยรอบ

ภาพที่ ๙๑ ศาลาทาน้ําโรงพยาบาลศิริราช
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย


วีระ อินพันทัง,”ทางสายชางของหลวงวิศาลศิลปกรรม,” ใน สถาปตยกรรมไทยเฉลิม
พระเกียรติ, การแสดงนิทรรศการเนื่องในวโรกาส สมเด็จพรเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เจริญพระชนมายุครบ ๕๐ พรรษา และครบรอบ ๕๐ ป แหงการสถาปนาคณะสถาปตยกรรม
ศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ หอศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ, ๓ - ๑๗ มิถุนายน
๒๕๔๘ (กรุงเทพฯ : อัมรินทรพริ้นติ้งฯ, ๒๕๔๘), ๗๘.
๙๗

ภาพที่ ๙๒ แสดงรูปภายในศาลาทาน้าํ โรงพยาบาลศิรริ าช


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๙๓ แสดงลายละเอียดศาลาทาน้ํา ภาพที่ ๙๔ แสดงรูปหัวเสาแบบไอโอนิค


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ของศาลาทาน้ํา
ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจัย

ภาพที่ ๙๕ แสดงลายละเอียดการตกแตงฝาเพดานและภายใน
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๙๘

แบบลายเสนสถาปตยกรรม ศาลาทาน้ําโรงพยาบาลศิริราช

ลายเสนที่ ๒๑ แสดงรูปผังศาลาทาน้ําโรงพยาบาลศิริราช
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๒๒ รูปดานขางศาลาทาน้ําโรงพยาบาลศิริราช
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๙๙

๕. ตึกคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
มูลเหตุ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เมื่อครั้งยัง
ทรงดํารงพระอิสริยศักดิ์เปนสมเด็จพระเจานองยาเธอ กรมขุนสงขลานครินทร ทรงกําหนดใหสราง
อาคารขึ้นสําหรับการจัดการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตรแกนิสิตคณะแพทยศาสตรและคณะ
วิศวกรรมศาสตร ทั้งนี้เปนไปตามขอตกลงเกี่ยงกับความรวมมือระหวางประเทศไทยกับมูลนิธิ
Rockefeller วา ประเทศไทยจะตองสรางตึกทดลองวิทยาศาสตรหนึ่งหลัง อาคารนี้สรางเสร็จเมื่อ
พ.ศ.๒๔๗๐ และเริ่มใชงานในปลายป พ.ศ. ๒๔๗๑๙ (สรางเสร็จ พ.ศ. ๒๔๗๑)
ลักษณะทางสถาปตยกรรม มีลักษณะผังอาคารสมมาตรแบบตะวันตก หลังคา
ไดลดทอนแบงเปน ๒ ตับ และมีปกนก ๑ ตับ เพื่อเปนการลดขนาดพื้นหลังคาที่มีขนาดใหญ หนา
บันแบบเรียบเกลี้ยงไมมีการประดับตกแตง สวนปานลมทําเปนสันปูนครอบปดขอบกระเบื้อง ตรง
ปลายปนเปนตัวเหงา กอดกับตัวสันปูน สวนตัวอาคารเปน ๒ ชั้น ชั้นบนสวนผนังมีหนาตางรอบตัว
อาคาร เหนือชองหนาตาง สวนคอสองทําเปนชองแสง เจาะเปนรูปซุมยอดโคงแหลมชักรูปแตง
ขอบคิ้ว สวนชั้นลางมีบันดานหนาตรงกลางอาคารมีพนักบันไดแบบพลสิงหเรียบกลมกลืน พื้นชั้น
ลางยกสู งขึ้ นเพื่ อผนังส วนฐานเจาะทําเปน ชองแสงใหชั้น ใตดิน สวนผนังอาคารชั้นลางมีชอง
หนาตางโดยรอบและเจาะชองเสาที่สวนคอสอง เชนเดียวกับชั้นสอง
การตกแตงโถงบันไดภายในทําเปนราวลูกกรง เสาหัวเม็ดเหลี่ยมกั้นบริเวณ สวนลงชั้น
ใตดินซุมทางเดินระหวางหองโถง ในแตละสวนทําฟนคิ้วโคงชักบัวเล็บมือโดยรอบ


สวัสดิ์ จงกล, “ขอมูลเกี่ยวกับอาคารจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,” เอกสารหอประวัติ
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๑.(อัดสําเนา)
๑๐๐

ภาพที่ ๙๖ แสดงรูปดานขางตึกวิทยาศาสตรเมื่อแรกสราง
ที่มา : ชาตรี ประกิตนนทการ. การเมืองและสังคมในศิลปสถาปตยกรรม สยามสมัย ไทยประยุกต
ชาตินิยม. (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมติชน, ๒๕๔๗), ๒๔๑.

ภาพที่ ๙๗ แสดงรูปดานหนาตึกวิทยาศาสตรเมื่อแรกสราง
ที่มา : สมภพ ภิรมย,น.อ.,ร.น., ผูรวบรวม, อนุสรณสาร เนื่องในงานฉลองอายุครบรอบเกาสิบเอ็ด
ป ของศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม(เชื้อ ปทมจินดา) (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย,
๒๕๑๙. พิมพในงานฉลองอายุครบรอบเกาสิบเอ็ดป ของศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม
(เชื้อ ปทมจินดา) กุมภาพันธ ๒๕๑๙), ไมปรากฏเลขหนา.
๑๐๑

แบบลายเสนสถาปตยกรรม ตึกคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ลายเสนที่ ๒๓ แสดงรูปผังตึกวิทยาศาสตร
ที่มา : หอจดหมายเหตุแหงชาติ

ลายเสนที่ ๒๔ แสดงรูปดานหนาตึกวิทยาศาสตร
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕. พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๑๐๒

ลายเสนที่ ๒๕ แสดงรูปดานขางตึกวิทยาศาสตร
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕. พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๑๐๓

ลายเสนที่ ๒๖ แสดงรูปดานหนาสวนโถง ตึกวิทยาศาสตร


ที่มา : “แปลนบันไดหนาโถง ตึกคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,” แผนที่สว นบุคคล,
ผ. สบ. ๖.๖/๔,หอจดหมายเหตุแหงชาติ.

ลายเสนที่ ๒๗ แสดงลายละเอียดประตู พนักลูกกรง และเสาหัวเม็ด ตึกวิทยาศาสตร


ที่มา : “แปลนบันไดหนาโถง ตึกคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,” แผนที่สวนบุคคล,
ผ. สบ. ๖.๖/๔,หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๐๔

๖. ตึกพยาบาล วชิราวุธวิทยาลัย
มูลเหตุ โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย เดิมชื่อวา “โรงเรียนมหาดเล็กหลวง” กอตั้งขึ้น
ตามพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวในการที่จะสรางโรงเรียนแทนการ
สรางวัดประจํารัชกาลดังรัชกาลกอนๆ เปดดําเนินการเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๕๔ ขณะนั้น
อาคารตางๆ ยังเปนกลุมเรือนไม หลังคามุงจาก อีก ๔ ปตอมาจึงไดจัดสรางอาคารอยางถาวรขึ้น
เปนรุนแรก ประกอบดวยหอสวด (หอประชุม) และอาคารเรียนรวมทั้งที่พัก ๔ คณะ ไดแก คณะผู
บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรลดา และคณะพญาไท พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาฯทรง
พระราชทานแนวความคิดใหออกแบบอาคารเปนแบบไทย เพื่อใดสอดคลองกับวัดเบญจมบพิตรที่
ตั้งอยูอีกฝงหนึ่งของสวนสัตวดุสิต นายเอ็ดวารด ฮีลี (Edward Healey) และพระสมิทธิ์เลขา
(ปลั่ง) เปนสถาปนิกโครงการเริ่มกอสรางในป พ.ศ.๒๔๕๘ อาคารดังกลาวไดกอสรางเสร็จ และ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวไดเสร็จพระราชดําเนินทรงเหยียบอาคารเปนครั้งแรก เมื่อ
วันที่ ๒๓ มกราคม ๒๔๖๐ อาคารกลุมนี้นับเปนอาคารรุนบุกเบิกที่นําลักษณะสถาปตยกรรมไทย
มาใชกับอาคารหลายชั้น
ตอมาในพ.ศ.๒๔๖๙ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจ า อยูหัวเกิ ดเหตุ การณ
เศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก จึงโปรดเกลาฯใหยายโรงเรียนราชวิทยาลัย (กอตั้งขึ้นในรัชกาลที่ ๕) มา
รวมกับโรงเรียนมหาดเล็กหลวงเพื่อประหยัดงบประมาณ ในการนี้ทรงพระราชทานนามใหมวา
“โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย”
เมื่อโรงเรียนขยายตัวขึ้น ดังนั้นจึงไดมีการกอสรางอาคารเพิ่มเติม ไดแก ตึกวชิรมงกุฎ
เปนอาคารเรียนถาวร และตึกพยาบาล และออกแบบโดยพระสาโรชรัตนนิมมานก (สาโรช ร. สุข
ยางค) และ หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) กอสรางขึ้นในป ๒๔๗๔ แลวเสร็จป ๒๔๗๕
ลักษณะสถาปตยกรรมเปนแบบไทยเชนเดียวกับอาคารในรุนแรก กรมขุนชัยนาทนเรนทรเสด็จ
แทนพระองค พระบาทสมเด็จพระปกเลาเจาอยูหัวทรงเปดตึกพยาบาลพรอมกับตึกวชิรมงกุฎ เมื่อ
วันอาทิตยที่ ๒๖ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๗๕๑๐
ลักษณะทางสถาปตยกรรม เปนอาคารทรงไทยประยุกตมีลักษณะผังเปนรูป
สี่เหลี่ยมผืนผา หันหนาอาคารสูทิศตะวันออก โดยมีแนวแคบสันหลังคาวางตัวทิศเหนือ – ใต สวน
หนาบันทั้ง ๒ ดานออกแบบเปนมุขประเจิด สวนปานลมเปนใบระกา หางหงส หรือหัวนาค หนา
บันใหญเปนลายชอหางโต ปูนปนถอดพิมพหลอ หนาบันมุขประเจิดเปนลายกรอบประกอบหนา
๑๐
วชิราวุธวิทยาลัย, ประวัติ [ออนไลน], เขาถึงเมื่อ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๙. เขาถึงได
จาก http : // www.vajiravudh.ac.th/history/
๑๐๕

กาล ทรงสามเหลี่ยมสัมพันธกับกรอบปานลม สําหรับตัวอาคารแบงเปน ๒ ชั้น กอผนังเรียบเจาะ


ชองหนาตางและมีประตูออกดานหนาและหลัง ดานหนาตรงกลางอาคารออกแบบใหมีสวนยื่น
ออกมาสําหรับเปนหลังคาคุมทางเดินเขาอาคาร แตดานบนใชเปนระเบียงเปดโลงสามารถเดิน
ออกมาไดและลอมดวยราวระเบียงเสาหัวเม็ดแบบสี่เหลี่ยมชักราวโดยรอบ ๓ ดาน สวนประดับ
ผนังไดทําเปนเสาอิงยื่นออกจากผนัง ประดับ ชุดบัว ทั้งหัวเสาและเชิงเสา แบบเรียงเกลี้ยง อันมี
ลักษณะคลายกับตึกนิภานภดล ณ วัดเทพศิรินทร ชั้น ๑ มีหลังคาปกนกทําเปนกันสาดรอบตัว
อาคาร
ดานหลังอาคารออกแบบใหมีบันไดดานนอก สามารถเดินขึ้นชั้นบนไดพื้นที่ใชสอย
ภายใน ชั้น ๑ สวนกลางออกแบบเปนโถงลอมดวยหองทั้ง ๓ ดาน และออกแบบเปนบันไดสําหรับ
ขึ้นลง ชั้นบนดานทิศเหนือ สวนผังพื้นชั้นบนตรงกลางเปนหองโถงเชื่อมติดกับหองทั้งคา ๓ ดาน
และมีประตู สําหรับออกสูระเบียงดานหนา
ปจจุบันใชเปนหอประวัติของวชิราวุธวิทยาลัย

ภาพที่ ๙๘ แสดงมุมมองตึกพยาบาล
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๙๙ แสดงดานหนา(ทิศตะวันออก)ตึกพยาบาล
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๐๖

ภาพที่ ๑๐๐ แสดงดานขาง(ทิศเหนือ)ตึกพยาบาล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๐๑ แสดงมุมมองตึกพยาบาล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๐๒ แสดงดานหลัง(ทิศตะวันตก)ตึกพยาบาล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๐๗

ภาพที่ ๑๐๓ แสดงการประดับตกแตงหนาบันตึกพยาบาล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๐๔ แสดงโถงกลางชั้นลางตึกพยาบาล ภาพที่ ๑๐๕ แสดงลักษณะชองแสง


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๐๘

ภาพที่ ๑๐๖ แสดงบันไดขึ้นชั้นบนตึกพยาบาล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๐๗ แสดงรูปแบบประตูหองตึกพยาบาล


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๐๙

แบบลายเสนสถาปตยกรรม ตึกพยาบาล วชิราวุธวิทยาลัย

ลายเสนที่ ๒๘ แสดงผังพืน้ ชั้นลางตึกพยาบาล


ที่มา : “แบบที่ ๓ ตึกพยาบาล โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนที่สว นบุคคล, ผ. สบ. ๖.๕/๘,
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๑๐

ลายเสนที่ ๒๘ แสดงผังพืน้ ชั้นบนตึกพยาบาล


ที่มา : “แบบที่ ๓ ตึกพยาบาล โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนที่สว นบุคคล, ผ. สบ. ๖.๕/๘,
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๑๑

ลายเสนที่ ๒๙ แสดงรูปดานหนาและโครงสรางฐานรากตึกพยาบาล
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕. พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๑๑๒

ลายเสนที่ ๓๐ แสดงรูปดานขางและโครงสรางฐานรากตึกพยาบาล
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕. พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๑๑๓

ลายเสนที่ ๓๑ แสดงรูปดานหลังและรูปตัดโครงสรางหลังคาตึกพยาบาล
ที่มา : “แบบที่ ๓ ตึกพยาบาล โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนที่สว นบุคคล, ผ. สบ. ๖.๕/๘,
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๑๔

ลายเสนที่ ๓๒ แสดงลายละเอียดหลังประตูและหนาตางตึกพยาบาล
ที่มา : “แบบที่ ๓ ตึกพยาบาล โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนที่สว นบุคคล, ผ. สบ. ๖.๕/๘,
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๑๕

ลายเสนที่ ๓๓ แสดงรูปตัดดานขางและโครงสรางฐานรากตึกพยาบาล
ที่มา : “แบบที่ ๓ ตึกพยาบาล โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนที่สว นบุคคล, ผ. สบ. ๖.๕/๘,
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๑๖

๗. หอนาฬิกา,ระฆัง วชิราวุธวิทยาลัย
มูลเหตุ คณะละครไทยเขษม สรางอุทศิ ถวายแด พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา
เจาอยูห ัว รัชการที่๖ ในป พ.ศ.๒๔๗๑ - ๒๔๗๒๑๑
ลักษณะทางสถาปตยกรรม มีลักษณะเปนอาคารทรงจตุรมุขผังรูปสี่เหลี่ยม
จัตุรัส แบบหอโปรงสูง ๒ ชั้น ประกอบดวยเสาแบบยอมุม ๔ ตน หลังคาจัตุรมุข หนาบันทั้ง ๔ ดาน
เปนลายหลอปูนซีเมนตรูปหนากาลคาบตัวนาคที่ลอมนาฬิกากลม เหนือหนากาลเปนรูปวัชระ
ลอมรอบดวยรัศมี เปนกรอบสินเทาทรงซุมแหลม ตัวอาคารเปนเสา ๔ ดานไมมีผนัง แตที่ชั้น ๒ กั้น
ดวยพนักลูกกรง รองรับดวยชุดบัวฐานสิงห สวนเสาชั้นลางเปนเสา ๔ ตนตั้งบนฐานเขียงสี่เหลี่ยม
จัตุรัส ๓ ชั้นไมมีผนังและราวลูกกรง ตัวเสาประดับดวยชุดบัวหัวเสาและเชิงเสา ๒ ชุด ภายในหอ
ชั้น ๒ แขวนระฆังโลหะ ๑ ใบ
การออกแบบหอนาฬิกา อันมีรูปลักษณแบบแวนฟาหรือแวนสุริยกานต เปนการ
ออกแบบใหมลี ักษณะการรวมเครื่องบอกเวลา แบบตะวันตกกับการเคาะตีระฆังบอกเวลาแบบ
ไทย และคติแฝงรูปหนากาลอันเปนตัวกาลเวลากลืนกินนาคที่ลอมรอบนาฬิกา รวมถึงรูปวัชระ อัน
หมายเปนสัญลักษณขององคพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห ัว ผูกอตั้งโรงเรียนแหงนี้
โครงสรางอาคารเปนคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคากระเบื้องดินเผาเคลือบ

ภาพที่ ๑๐๘ หอนาฬิกา วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

๑๑
วชิราวุธวิทยาลัย, ประวัติ [ออนไลน], เขาถึงเมื่อ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๙. เขาถึงได
จาก http : // www.vajiravudh.ac.th/history/
๑๑๗

ภาพที่ ๑๐๙ สวนหนาบันของหอนาฬิกา


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๑๐ ปายจารึกคณะละครไทยเขษมสรางอุทิศถวายแด พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดี


ศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๑๘

ภาพที่ ๑๑๑ สวนเรือนชั้น ๒ ของหอนาฬิกา


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๑๒ รูปดานหอนาฬิกา วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๑๙

แบบลายเสนสถาปตยกรรมหอนาฬิกา,ระฆัง วชิราวุธวิทยาลัย

ลายเสนที่ ๓๔ แสดงรูปตัดผังพืน้ หอนาฬิกา


ที่มา : “แปลนหอระฆัง โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนที่สวนบุคคล, ผ. สบ. ๖.๕/๗, หอจดหมาย
เหตุแหงชาติ.
๑๒๐

ลายเสนที่ ๓๕ แสดงรูปดานหอนาฬิกา
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจนั วาณิชย, ๒๕๒๕. พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๑๒๑

ลายเสนที่ ๓๖ รูปตัดแสดงโครงสรางหอนาฬิกา
ที่มา : “แปลนหอระฆัง โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนที่สวนบุคคล, ผ. สบ. ๖.๕/๗, หอจดหมาย
เหตุแหงชาติ.
๑๒๒

๘. ตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย
มูลเหตุ พระสาโรชรัตนนิมมานกกับหลวงวิศาลศิลปกรรม เปนผูอ อกแบบ กรม
ขุนชัยนาทนเรนทรเสด็จแทนพระองค พระบาทสมเด็จพระปกเลาเจาอยูหวั ทรงเปดตึก เมื่อวัน
อาทิตยที่ ๒๖ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๗๕๑๒
ลักษณะทางสถาปตยกรรม ผังอาคารแบบสมมาตรรูปตัว I โดยวางอาคาร
ยาวตามแกนทิศเหนือ – ใต หันหนาอาคารสูทิศตะวันออก ตัวอาคาร ๒ ชั้น สวนลักษณะหลังคา
ทรงไทย มีผืนหลังคา ๓ ตับ มุขดานหนาทิศเหนือและใตเปนมุขลดสองชั้น ดานหนาอาคารมีมุขลด
แบบเสาคู มุขละ ๒ คู สวนมุขแบบโถงมีบันไดขึ้นดานขางของมุขทั้ง ๒ ดาน ดานหนาอาคารตรง
สวนกลางออกแบบเปนบันไดขึ้นสูตัวอาคาร มุขดานหลังอาคารทั้งสองขางไมมมี ุขลด
ในสวนผังพื้นชั้นลางยกพืน้ สูง มีระเบียงทางเดินดานหนาเปนตัวเชื่อมระหวางหลังเรียน
สวนกลางอาคารเปนโถงบันไดเชื่อมตอกับชั้น ๒
การประดับตกแตง สวนหลังคา ปานลมแบบเครื่องลํายอง ประกอบดวย ชอฟาใบระกา
หางหงส ชายคามีคันทวยรับโดยรอบอาคาร หนาบันมุขโถง ลายประธานเปนรูปวัชระประดิษฐาน
บนฐานปทม ลอมรอบดวยกรอบรัศมีเสนสันเทา สวนลายประกอบเปนลายกระหนกเถาแบบกาน
ขดมียอดลายเปนรูปหัวนาค ตัวหนาบันประธานเปนรูปกระบวนลายกนก เชนเดียวกับ ลาย
ประกอบของหนาบันมุขโถง การออกแบบลายหนาบันใหมีลกั ษณะเปน ๓ มิตกิ ลมกลืน ในรูป
สัญลักษณ ไดใชรูปวัชระและนาคในสวนประกอบของการออกแบบลายนั้นอันเปนชื่อและปพระ
ราชสมภาซึ่ง คือ ปมะโรงขององคพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลารัชกาลที่ ๖ สวนหนาบันมุข
ดานหลัง

ภาพที่ ๑๑๓ ตึกวชิรมงกุฎ(ตึกขาว) ดานหนา


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

๑๒
วชิราวุธวิทยาลัย, ประวัติ [ออนไลน], เขาถึงเมื่อ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๙. เขาถึงได
จาก http : // www.vajiravudh.ac.th/history/
๑๒๓

ภาพที่ ๑๑๔ ตึกวชิรมงกุฎ(ตึกขาว) ดานหลัง


ที่มา : วิมลสิทธิ์ หรยางกูร และคนอื่นๆ, พัฒนาการแนวความคิดและรูปแบบของงาน
สถาปตยกรรม อดีต ปจจุบัน และอนาคต (กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยาม, ๒๕๓๖), ๘๕.

ภาพที่ ๑๑๕ ตึกวชิรมงกุฎ ดานขาง ภาพที่ ๑๑๖ มุขดานหนา ตึกชิรมงกุฎ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ทีม่ า : จากการสํารวจของผูว จิ ัย
๑๒๔

ภาพที่ ๑๑๗ หนาบันปน ปูนรูปวัชระ ประดิษฐานอยูในซุมเรือนแกวตึกวชิรมงกุฎ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๑๘ ระเบียงทางเดินหนาหอง ภาพที่ ๑๑๙ ระเบียงทางเดินหนาหองชัน้ บน


ชั้นลางตึกวชิรมงกุฎ ตึกวชิรมงกุฎ
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจัย
๑๒๕

ภาพที่ ๑๒๐ โถงบันไดกลางอาคาร ภาพที่ ๑๒๑ พระมนูแถลงสาร


ตึกวชิรมงกุฎ ตราสัญลักษณของโรงเรียน
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจยั

ภาพที่ ๑๒๒ ลายตกแตงเพดานโถงบันได ภาพที่ ๑๒๓ บัวประดับหัวเสาโถงบันได


ตึกวชิรมงกุฎ ตึกวชิรมงกุฎ
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๒๖

ภาพที่ ๑๒๔ คันทวยแบบเทพนมตึกวชิรมงกุฎ ภาพที่ ๑๒๕ ลายปูนปนเชิงสาหรายรวงผึง้


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจัย

ภาพที่ ๑๒๖ ซุมกันสาดระเบียง ภาพที่ ๑๒๗ ลักษณะหองเรียน ในตึกวชิรมงกุฎ


ดานหนาตึกวชิรมงกุฎ ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจยั
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๒๗

ภาพที่ ๑๒๘ บันไดมุขดานหนาตึกวชิรมงกุฎ ภาพที่ ๑๒๙ บันไดมุขดานหลังตึกวชิรมงกุฎ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจยั

ภาพที่ ๑๓๐ มุขดานหลังตึกวชิรมงกุฎ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๒๘

แบบลายเสนสถาปตยกรรมตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย

ลายเสนที่ ๓๗ แสดงรูปผังตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๓๘ แสดงรูปดานหนาตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๓๙ แสดงรูปดานขางตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๒๙

ลายเสนที่ ๔๐ แสดงรูปผังพื้นชัน้ ลาง ตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : “แปลนพืน้ ชัน้ ลาง ตึกเรียนโรงเรียน วชิราวุธวิทยาลัย,” แผนทีส่ วนบุคคล, ผ. สบ. ๖.๕/๔.
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.

ลายเสนที่ ๔๑ แสดงรูปดานขางและรูปตัดโครงสรางอาคาร ตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, แบบโรงเรียนวชิราวุธ วิทยาลัย, ลายเสนพิมพเขียว, ๒๔๗๕.
๑๓๐

ลายเสนที่ ๔๒ แสดงรูปดานหนาและโครงสรางจั่ว ตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : “แปลนดานหนาแสดงโครงเหล็ก ตึกเรียนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนที่สวนบุคคล,
ผ. สบ. ๖.๕/๒, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๓๑

ลายเสนที่ ๔๓ แสดงรูปดานขางและรูปตัดโครงสรางจัว่ ตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : “แปลนดานหนาแสดงโครงเหล็ก ตึกเรียนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนทีส่ วนบุคคล,
ผ. สบ. ๖.๕/๒, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๓๒

ลายเสนที่ ๔๔ แสดงรูปตัดโครงสรางจั่ว ตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : “แปลนดานหนาแสดงโครงเหล็ก ตึกเรียนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนทีส่ วนบุคคล,
ผ. สบ. ๖.๕/๒, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๓๓

ลายเสนที่ ๔๕ แสดงรูปหนาบันและรูปตัดโครงสรางหนาบัน ตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : “แปลนดานหนาแสดงโครงเหล็ก ตึกเรียนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนทีส่ วนบุคคล,
ผ. สบ. ๖.๕/๒, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๓๔

ลายเสนที่ ๔๖ แสดงรูปหนาบันและเครือ่ งประดับตกแตงจั่ว ตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : “แปลนดานหนาแสดงโครงเหล็ก ตึกเรียนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนทีส่ วนบุคคล,
ผ. สบ. ๖.๕/๒, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๓๕

ลายเสนที่ ๔๗ แสดงรูปหนาบันและเครือ่ งประดับตกแตงจั่ว ตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : “แปลนดานหนาแสดงโครงเหล็ก ตึกเรียนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนทีส่ วนบุคคล,
ผ. สบ. ๖.๕/๒, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.

You might also like