Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

โคลนติดล้อ

ตอน ความนิ ยมเป็นเสมียน


กลุ่ม C
นาย สรวิศ เฉลิมนั ย เลขที่ 7
นางสาวปุณยนุช จิรพงษ์ธนาเวช เลขที่ 10
นางสาว ศิ รภัสสร กนกนั นทพงศ์ เลขที่ 11
นางสาว วิภาดา ทิพย์อารักษ์วงศ์ เลขที่ 22
นาย ภีมวัศ สั ตตวัชราเวช เลขที่ 19
นาย พสธร ศุจิพิศุทธิ์ เลขที่ 20
ผู้แต่ง
เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓

มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ

เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

เสด็จขึ้นครองสิ รร
ิ าชสมบัติ เมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓

ได้ทรงตราพระราชบัญญัติ ประถมศึ กษาให้เป็นการศึ กษาภาคบังคับ

ทรงตัง
้ กระทรวงการทหารเรือ กองเสื อป่า และกองลูกเสื อ

ทรงเปลี่ยนการใช้ รัตนโกสิ นทร์ศก (ร.ศ.) เป็นพุทธศั กราช (พ.ศ.)

ทรงเป็นผู้นําในการประพันธ์วรรณคดีไทย ทัง
้ ร้อยแก้วและร้อยกรอง
สรุป
ผูท
้ ี่มีการศึ กษาทําหน้ าที่เกี่ยวกับหนั งสื อนิ ยมเป็นเสมียน นิ ยมเข้ารับราชการเพราะสนใจทํา
ประโยชน์ ให้ประเทศ แทนที่จะกลับไปทําการเกษตรในภูมิลําเนาของตน แล้วก็สนใจทัง ้ นิ ยมใช้
ชีวิตอยู่ในเมือง

คนพวกนี้ เห็นว่างานอย่างอื่นไม่สมเกียรติยศ คนที่มีการศึ กษาไม่ควรเสี ยเวลาไปทํางาน


ประเภทที่คนไม่มีการศึ กษาก็ทําได้ และพวกเขาก็ทนอยู่ในกรุ งเทพฯต่อเพราะเสี ยดายความรู ท ้ ี่
เรียนมา ทัง
้ ที่เงินเดือนไม่มาก แต่ก็ซอ
ื้ ของตามฌอกาสต่างๆได้ เช่น นุ่ งผ้าม่วงสี ดูหนั ง กินข้าว
ตามกุ๊กช้อป คนแบบนี้ ไม่เข้าใจว่าการทํางานอะไรก็ตามก็มีเกียรติเท่ากันหมด

ถือเป็นความผิดของพวกเราที่มันออกมาแบบนี้ ถ้ายังเห็นว่าการเป็นเสมียนสูงกว่าชาวนาชาว
สวนก็จะมีแต่คนอยากเป็น ทางกระทรวงก็มีการตัดเสมียนที่เกินจํานวนออก พวกที่ถูกตัดออก
ก็เป็นชาวนาไม่ได้ก็ต้องอยู่แต่ในเมือง ยิ่งอายุมากขึ้น โอกาสก็น้อยลง เหมือนคํากล่าวว่า “การ
ทํางานอื่นๆก็สามารถทําประโยชน์ ได้ดีกว่าการเป็นเสมียน จึงเห็นว่าการทํางานอื่นก็มี
เกียรติยศเหมือนเสมียนเช่นกัน”
ความนิ ยมเป็นเสมียน
-การที่มีความนิ ยมในการเป็นเสมียนนั้ นทําให้อาชีพอื่นถูกลดค่าลง
-คนเห็นแก่ตําแหน่ งและยศศั กดิ์มากขึ้น
-การเป็นเสมียนนั้ นไม่ได้แปลว่าได้เงินเยอะมาก แต่ทําให้คนรู ส ้ ึ กมีเกียรติและไม่อยากทิ้ง
งานไปถึงแม้ว่าจะเลี้ยงตนไม่ได้
-เกียรติท่ไี ด้มาทําให้ต้องรักษาภาพลักษณ์ ของผูม
้ ีชนชัน
้ และใช้จ่ายเกินเงินที่ได้รบ ั มา
-ไม่มีคนรุ น่ ต่อไป ไปทํางานอย่างเกษตรกรหรือพ่อค้าต่อ ทําให้เมืองเกิดไม่พัฒนาไปด้วย
-เมื่อให้ความสํ าคัญกับอาชีพเดียว ทําให้มองข้ามว่าอาชีพอื่นนั้ นก็ยังมีความสํ าคัญในการ
พัฒนาประเทศ
คุณค่า
เป็นตัวอย่างของบทความที่ดี
เสนอข้อคิดเกี่ยวกับปัญหาของ
บ้านเมืองในเรือ
่ งค่านิ ยมที่ ด้ด้าานเนื
นเนื้ อ้ อหา
หา
เป็นอุปสรรคในการพัฒนา
ประเทศให้เจริญ
ให้แนวคิดที่เป็นประโยชน์ ว่า
อาชีพอื่นก็สามารถทํา
ประโยชน์ ให้ประเทศชาติได้

สะท้อนภาพชีวิตและค่านิ ยม
ของสั งคมไทยในอดีต

ทราบปัญหาสั งคมที่เกิดขึ้นใน ด้ด้าานสั


นสังงคม
คม
อดีต

สะท้อนข้อคิดที่สามารถนํ าไป
ใช้ในการดําเนิ นชีวิต
แนวคิดของผู้เขียน
ทุกอาชีพมีความสํ าคัญเหมือนกัน

ความนิ ยมเป็นเสมียน

การใช้ชว
ี ิตฟุ้งเฟ้อ

ความสํ าคัญของการเกษตร

การมองข้ามความสํ าคัญของท้องถิ่น

ค่านิ ยมเกี่ยวกับอาชีพ

อิทธิพลของสื่ อมวลชน
ความไม่มน
ั่ คงในอาชีพทําให้เกิดปัญหาใน
สั งคมตามมา
คําศัพท์
เสมียน (ในเรื่อง) กุ๊กช็อป เกียรติยศ บ้านนอกขอกนา
อาชีพที่ทํางานใน ภัตตาคาร (มาจาก เกรียติโดยฐานะ เรียกคนที่เป็นชาวไร่
บริษัท สํานักงาน
sคําว่า Cook shop)
ตําแหน่ งหน้าที่ ชาวนาอยู่นอกกรุง

ผ้าม่วง พู ดอย่างละม่อม ยากจนข้นแค้น ยาตรา


ผ้านุ่งแบบโจงกระเบน พูดอย่างสุภาพ อัตคัดขัดสน เดิน
ของข้าราชการสมัยก่อน ไร้ทรัพย์

ศาลราชอาญา สาธารณชน หมวกสั กหลาด ออฟฟิศ


ได้รับโทษ คนทั่วไป หมวกที่ตัดเย็บด้วย สํานักงาน (มาจาก
ผ้าสักหลาด คําว่า office)
ขอบคุณค่ะ/ครับ
มีคําถามไหมคะ/ครับ?

CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, including


icons by Flaticon,
CREDITS: and infographics
This presentation & images
template by Freepik.
was created
by Slidesgo, including icons by Flaticon, and
infographics & images by Freepik.
References

■ https://sites.google.com/site/wannakadeem5/kholn-tid-lx
■ https://sites.google.com/site/aphichitsuthawa/kholn-tid-lx-txn-niym-khwam-pen-semiyn
■ https://sites.google.com/site/phasathiy05/bth-thi5-kholn-tid-lx-txn-khwam-niym-pen-semiyn
■ https://writer.dek-d.com/toshirou/writer/view.php?id=630807
■ https://blog.startdee.com/โคลนติดลอ-ความนิยมเปนเสมียน-ม5-ภาษาไทย
■ https://ppk-thai-online.blogspot.com/p/blog-page_4.html
■ https://www.oocities.org/tokyo/shrine/6611/a008_04.htm

You might also like