Fetal Growth and Development - 1-2561

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 70

jirawan deeluea 1

พัฒนาการของทารกในครรภ์

อ.ดร.จิราวรรณ ดีเหลือ

สานักวิชาพยาบาลศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

jirawan deeluea 2
OUT LINE

1. กาเนิดของเซลล์เพศ
2. พัฒนาการของทารกในครรภ์
3. สรีระวิทยาของทารกในครรภ์
4. Supportive structure

jirawan deeluea 3
1. การกาเนิดของเซลล์เพศ

 ไข่และอสุจเิ กิดมาจากไหน?
 มีลักษณะอย่างไร? ต่างกันตรงไหน?
jirawan deeluea 4
การกาเนิดของไข่

jirawan deeluea 5
การกาเนิดของอสุจิ

jirawan deeluea 6
เปรียบเทียบความแตกต่างของไข่และอสุจิ
การสร้างไข่ (oogenesis) การสร้างอสุจ ิ (spermatogenesis)
1. เกิดทีร่ ังไข่ 1. เกิดทีล
่ ก
ู อัณฑะ
2. เซลล์ต ้นกำเนิดของไข่เกิด 2. อสุจเิ ริม ่ เข ้ำสูว่ ัยรุน
่ สร ้ำงเมือ ่ และมีกำร
ตัง้ แต่กอ
่ นคลอดจนถึงวัยรุน่ สร ้ำงต่อเนือ ่ งจนถึงวัยชรำ
และคงอยูน ่ ำน 35-40 ปี จนถึง
วัยหมดประจำเดือน
3. ได ้ไข่ทส
ี่ มบูรณ์ 1 ใบ (23,X) 3. ได ้ spermatids 4 ตัว (23,X 2 ตัว
23,Y 2 ตัว)
4. ไข่สก ุ พร ้อมผสม ไม่สำมำรถ 4. Spermatid ต ้องเปลีย่ นรูปเป็ น
เคลือ ่ นไหวเองได ้ sperm ทีส ่ ำมำรถเคลือ่ นไหวได ้
5. มีชวี ต ิ 24 ชม. หลังไข่ตก 5. มีชวี ต
ิ 72 ชม. หลังหลั่งออกมำ
6. มีควำมสำมำรถในกำรผสม 6. มีควำมสำมำรถในกำรผสม 48 ชม.
8-12 ชม.

jirawan deeluea 7
จานวนโครโมโซม
 Gametes = germ cells = sex cells: Haploid (n)
Sperm = 23, Y (22Y) or 23, X (22X)
Ovum = 23, X (22X)
Who determines
fetal sex?

 Soma cells : Diploid (2n)


Male = 46, XY (44XY)
Female = 46, XX (44XX)

jirawan deeluea 8
จงเปรียบเทียบความแตกต่างของไข่และอสุจิ

jirawan deeluea 9
2. พัฒนาการของทารกในครรภ์

Pre-embryonic Embryonic Fetal period


(ovum period) period
2 wk 8 wk 38 wk

อายุครรภ์
ปฏิสนธิ
ครบกาหนด

jirawan deeluea 10
Pre-embryonic (ovum period): 0-2 wk

1. การปฏิสนธิ (fertilization)

2. การแบ่งตัว (cleavage)

3. การฝังตัว (implantation)

jirawan deeluea 11
Zona pellucida Corona radiata
อสุ จิลอกบางชั้น
ของส่ วนหัวออกไป
(capacitation)

เกิด acrosomal reaction


และมีการปล่อย hyaluro-
nidase enzyme ออกมา
ช่ วยให้ ตัวอสุ จิสามารถ
เจาะผนังของไข่ เข้ าไปได้
เกิด zona reaction ทาให้ ตัว
อสุ จิอื่นๆ ผ่ านเข้ าไปไม่ ได้ อกี

กระบวนการปฏิสนธิระหว่ างอสุ จิ (spermatozoa) กับไข่ (oocyte)


jirawan deeluea
แบ่งตัวอย่างไร?

jirawan deeluea 13
ประมาณวันที่ 14 หลัง fertilization “endometrium”
จะเปลี่ยนแปลงเป็น“decidua” Decidua

ฝังลึกถึงชัน
้ ใด?
Compacta

Functional zone

Spongiosa

มีเลือดออกไหม?
Implantation bleeding Basalis
jirawan deeluea 12
ส่วนไหนกลายเป็นเด็ก? ส่วนไหนกลายเป็นรก?
Blastocyst Day 7-8

1. 1................ เจริญเป็น ............

2. 2................ เจริญเป็น ............

2.
เด็ก
Day 7-8

Day 9 รก
1.
jirawan deeluea 15
จงอธิบายการเปลีย
่ นแปลงในระยะ ovum period

jirawan deeluea 16
Embryonic period (3-8 wk)

สร้างอวัยวะจาก germ layers


3 ชั้น
- Ectoderm
- Mesoderm
- Endoderm

Period of organogenesis  critical period


jirawan deeluea 17
อวัยวะต่างๆในร่างกายทารกเจริญมาจากไหน?

jirawan deeluea 18
ภาพแสดงโครงสร้ าง เนื้อเยื่อ และอวัยวะต่ างๆ ของตัวอ่อน

เมื่อสิ้นสุ ดสั ปดาห์ ที่ 8 ตัวอ่ อนจะมีอวัยวะครบทั้งหมด


jirawan deeluea 19
jirawan deeluea 20
Fetal period (9-38 wk)

สั ปดาห์ ที่ 9 จนถึงครบกาหนดคลอด


jirawan deeluea 21
ศีรษะมีขนาดเป็ น
สั ปดาห์ ที่ 9-12 ครึ่งหนึ่งของทารกทั้งตัว

แขนยาวเกือบเท่ าปกติ
ใบหน้ ากว้ าง นัยน์ ตาห่ าง
หูอยู่ต่ากว่ าระดับปกติ
สั ปดาห์ ที่ 12 ทารกเคลื่อน
ไหวร่ างกายอย่ างอิสระ
ปลายสั ปดาห์ ที่ 9 เริ่มแยก
เพศได้ และเห็นชัดเจนใน
ขาสั้ นกว่ าปกติ สั ปดาห์ ที่ 12
22
jirawan deeluea
สั ปดาห์ ที่ 13-16

ศีรษะมีขนาดเล็กลง เมื่อ
เทียบกับลาตัว

ขาทั้งสองข้ างยาวขึน้
กระดูกมี ossification
jirawan deeluea 23
สั ปดาห์ ที่ 17-20 : การเจริญเติบโตเริ่มช้ าลง

เริ่มมีขนคิว้ ขนตา ผม ขนอ่ อน


(lanugo hair)
มีไข (vernix caseosa) คลุมผิวหนัง
เริ่มมี brown fat สร้ างความร้ อน
มารดาเริ่มรู้ สึกถึงการเคลื่อนไหวของ
ทารกเพศชาย ลูกอัณฑะเริ่มเคลื่อนลง ทารกเป็ นครั้งแรก (quickening)
มาจากช่ องท้ องแต่ ยงั ไม่ ลงสู่ ถุงอัณฑะ เริ่มได้ ยนิ เสี ยงหัวใจทารกในครรภ์ จาก
ขายาวเท่ ากับขนาดปกติ การฟังด้ วย fetoscope
jirawan deeluea 24
สั ปดาห์ ที่ 21-25
Alveolar cell ภายในปอดเริ่มสร้ างสาร
เคลือบผิว (surfactant) ถ้ าทารกเกิดในระยะนี้
มักจะเสี ยชีวติ เนื่องจากระบบทางเดินหายใจ
ยังเจริญไม่ เต็มที่

ร่ างกายเริ่มได้ สัดส่ วน ผิวหนังย่ นเป็ นสี ชมพูจนถึงสี แดง มองดูโปร่ งใส


และเห็นเส้ นเลือดฝอยชัดเจน
25
jirawan deeluea
สั ปดาห์ ที่ 26-29

ระบบประสาทส่ วนกลางเริ่มทางาน
ระบบไหลเวียนโลหิตทางานได้ ดีขนึ้
เริ่มมี subcutaneous fat เกิดขึน้
ผิวหนังย่ นน้ อยลง
ถ้ าคลอดในระยะนี้ อาจมีชีวติ รอดได้
แต่ มีอตั ราการตายสู ง เนื่องจากระบบ
ทางเดินหายใจล้มเหลว
jirawan deeluea 26
สั ปดาห์ ที่ 30-34

ทารกเริ่มตอบสนองต่ อแสง

ผิวหนังเริ่มเรียบและเป็ นสี
ชมพู
แขนและขากลมขึน้ มี
กล้ ามเนื้อมากขึน้

jirawan deeluea 27
สั ปดาห์ ที่ 35-38 มีการสะสมของไขมันมาก
เส้ นรอบท้ องใกล้ เคียงกับศีรษะ
ปอดค่ อนข้ างสมบูรณ์

อายุครรภ์ ครบกาหนด
เต้ านมทั้งสองข้ างนูนขึน้ ชัดเจน
ผิวหนังสี ขาวหรื อชมพูอ่อน
ลายฝ่ ามือ ฝ่ าเท้ าชัดเจน เล็บยาวพอดี
เพศชายลูกอัณฑะลงถุงเรียบร้ อย
เพศหญิง แคมใหญ่ คลุมแคมเล็ก
jirawan deeluea 28
เต้นแล้ว อวัยวะครบ เหมือนมนุษย์

เริ่ มสร้างสาร
เคลือบถุงลม
เห็นเพศชัดเจน

มีชีวิตรอด
แต่… 5.รู ้สึกได้เมื่อลูกดิ้น
นอน-หลับ กลืน
ขนอ่อน ไข

8.สารเคลือบถุงลมมีมาก 9. ได้ภูมิคุม้ กัน


เมื่อคลอดมักหายใจเองได้ จากแม่
ระยะของการตั้งครรภ์ปกติ

First day Ovulation First


of LMP Fertilization EDC
amenorrhea

Days 1 2 3 4 5 14 28 70 280
Menstruation Ovum p. Embryonic p. Fetal period

GA = 1 d.

GA = 2 wk. GA = 4 wk. GA = 10 wk. GA = 40 wk.


CA = 1 d. CA = 2 wk. CA = 8 wk. CA = 38 wk.

1. EDC-expected date of confinement 2. First day of LMP 3. Ovulation


4. Fertilization 5. Amenorrhea 6. Fetal period 7. Embryonic period
8. Pre-embryonic period (ovum period)
jirawan deeluea 30
สรุป stages of fetal growth and development
Conception Gestational
age (CA) age (GA)
Stages of development wk. after wk. after 1st
fertilization day of LMP
1. Pre-embryonic (ovum period): ปฏิสนธิ 0-2 2-4
จนฝังตัวสมบูรณ์
- Fertilization, cellular division and
implantation
2. Embryonic (critical period): ระยะแบ่ง 3-8 5-10
เซลล์ และสร้างอวัยวะจนครบ
- Cell differentiation-3 germ cell layers:
ectoderm, mesoderm, endoderm
- At the end, all organ system and
structures are present = human being
3. Fetal period: ร่างกายเติบโต อวัยวะและ 9-38 11-40
ระบบต่างๆ สมบูรณ์
jirawan deeluea 31
How sperms meet egg?
https://www.youtube.com/watch?v=vFfqLs94iHc

1. Where the sperm meets the egg? Fallopian tube

2. How many eggs are there for each ovulation? One

3. How many sperms are there in semen? 300 M.

4. What is it called after 24 hour fertilization? Zygote

5. Which day does implantation occur? Day 7

jirawan deeluea 32
Developing in the womb.
https://youtu.be/OD1gW88Lm-Y

1. 24 days, the heart starts beating


2. 40 days, form the placenta
3. 16 weeks, use hands to explore the body
4. 18 weeks, perceive sound

jirawan deeluea 33
3. สรีระวิทยาของทารกในครรภ์

ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบทางเดินหายใจ

ระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบต่ อมไร้ ท่อ
jirawan deeluea 34
ระบบไหลเวียนโลหิต

 เริ่มทางานประมาณปลาย
สั ปดาห์ ที่ 3 หลังการปฏิสนธิ
 มีหน้ าที่นาเลือดที่มีออกซิเจน
และอาหารไปให้ ตัวอ่ อนและ
รับของเสี ยจากตัวอ่ อนกลับไป
 ถือเป็ นระบบแรกทีเ่ ริ่มทาหน้ าที่ ยังมารดา
ในร่ างกายทารก

jirawan deeluea 35
การไหลเวียนโลหิตของทารกในครรภ์
มี 3 shunts 3.ทางลัด
เลือดแดงจาก
ห้ องล่างขวา
P. artery ไป
2. รู เปิ ดระหว่ าง aorta (ผู้ใหญ่
หัวใจห้ องบน ไปปอด)
ขวาและซ้ าย
1. ทางลัดเลือดแดง
จาก u. vein ไปยัง
inferior vena cava
ระบบทางเดินหายใจ

 สั ปดาห์ ที่ 11 ทรวงอกของทารกเริ่มเคลื่อนไหว


 เดือนที่ 4 สามารถเคลื่อนไหวทรวงอกเพื่อให้
นา้ คร่าเข้ าออกในทางเดินหายใจได้
 สั ปดาห์ ที่ 24 alveolar cell ภายในปอดเริ่ม
สร้ างสารเคลือบผิว (surfactant) และถุงลม
(alveoli) ในปอดเริ่มทางาน
 หลังอายุครรภ์ 35 สั ปดาห์ พบอัตราส่ วนของ lecithin ต่ อ
sphingomyelin มากกว่ า 2 แสดงว่ าปอดของทารกเจริญเต็มที่
jirawan deeluea 38
ระบบทางเดินอาหาร
 สั ปดาห์ ที่ 10-12 ทารกเริ่มกลืนได้ และลาไส้ เล็ก
เริ่มเคลื่อนไหวพร้ อมทั้งดูดซึมกลูโคสได้
 สั ปดาห์ ที่ 16 เริ่มมีขเี้ ทา (meconium) ในลาไส้
 ตับมีหน้ าที่สร้ างเม็ดเลือดในระยะแรก และนา้ ย่ อย
 ตับของทารกครบกาหนดจะมี glycogen ประมาณ 2-3 เท่ าของตับ
ผู้ใหญ่ แต่ หลังเกิดจะลดลงอย่ างรวดเร็ว
 ตับอ่ อนสร้ างนา้ ย่ อยได้ บ้างแต่ ไม่ เต็มที่
 สั ปดาห์ ที่ 13 พบ insulin ในตับอ่ อนและเพิม่ ขึน้ เรื่ อยๆ ตามอายุครรภ์
jirawan deeluea 39
ระบบทางเดินปัสสาวะ
 ปลายเดือนที่ 3 ไตของทารก
ในครรภ์ เริ่มสร้ างปัสสาวะ
และขับถ่ ายออกไปในนา้ คร่า
 หน้ าที่สาคัญของไตทารก คือ
การควบคุมปริมาณนา้ คร่า
 ปัสสาวะที่ขบั จากไตของทารกมีความเข้ มข้ นต่าเนื่องจากมี
electrolyte น้ อยแต่ จะมี urea, creatinin และ uric acid สู ง
 การวัดค่ าของ creatinin ในนา้ คร่าจึงมีประโยชน์ ในการ
ประเมินภาวะ maturity ของทารกในครรภ์ ได้
jirawan deeluea 40
ระบบต่ อมไร้ ท่อ
 สั ปดาห์ ที่ 10 พบ ACTH สร้ างจากต่ อม
ใต้ สมองส่ วนหน้ า และทาหน้ าที่ควบคุม
การเจริญเติบโตของต่ อมหมวกไต
 พบ steroid hormone เช่ น dihydroiso-
androsterone ซึ่งจะถูกสลายที่ตบั แล้ วเปลีย่ นเป็ น estriol ที่รกและ
ถูกขับออกมาในปัสสาวะของมารดา
 ฮอร์ โมนอื่นๆ ที่พบในทารกในครรภ์ ได้ แก่ growth hormone,
thyroid hormone และ ADH ซึ่งสร้ างจากต่ อมใต้ สมองส่ วนหลังแต่
ยังทาหน้ าที่ได้ น้อยมากจึงทาให้ ปัสสาวะของทารกเจือจางมาก
41
jirawan deeluea
Fetal brain development
until 3 years old =golden period
Critical period นานกว่ าอวัยวะอื่นๆ CA 16 wk.

natural fat, iodine, no chemicals and dangerous substances


Supportive structure

jirawan deeluea 43
1 ถุงน้าคร่า (amniotic sac) และ
เยื่อหุม
้ ทารก (membranes)

เยื่อหุ้มทารกด้านแม่ (chorion) เยื่อหุ้มทารกด้านลูก (amnion)


jirawan deeluea 44
เยื่อหุ้มทารกด้าน
รอยแตกห่าง >7 cm
ลูก (amnion)

เยื่อหุ้มทารกด้านแม่ (chorion)

jirawan deeluea 45
A: รกเกำะปกติ B, C, D: รกเกำะต้ำ (placenta previa)

รอยแตกของถุงน้ำคร้ำ > 7 ซม. เกำะอยู่ด้ำนบนของมดลูก


< 7 ซม. เกำะด้ำนล่ำง  ตกเลือด ติดเชือง่ำย
2 น้าคร่า (amniotic fluid)

น้าคร่า สร้างจาก เยื่อหุ้มทารก


เลือดแม่ ปัสสาวะลูก ปอดทารก

น้าคร่าประกอบด้วย….
น้า, electrolytes, ของเสีย,
หน้าที่ของน้าคร่า hormones, hair, vernix
1) ป้องกันอันตรายหรือ caseosa , fetal cell, lung
การกระทบกระเทือน surfactant
2) ควบคุมอุณหภูมิ
3) ทารกเคลือ่ นไหว
4) ทารกเจริญสมมาตร
jirawan deeluea 47
ลักษณะของน้าคร่า
- ใสมาก >> ก่อนกาหนด
- ขุ่น ข้น สีเหลืองเข้ม-น้าตาล >> เกินกาหนด
- เขียว จาก meconium stain (ขี้เทา) รกด้านลูกเป็นสีเขียว
แสดงว่าทารกในครรภ์มภ ี าวะขาดออกซิเจน (fetal distress)
- ถ้าสาลักขีเ้ ทา (meconium aspiration) >> ปอดอักเสบ/บวม
- ถ้าน้าคร่าน้อย (oligohydramnios) ทารก
อาจเกิด amniotic band syndrome
- ถ้าน้าคร่ามาก (polyhydramnios) อาจ
พบร่วมกับทารกพิการ

Meconium stained
Amniotic band
jirawan deeluea
48
3 สายสะดือ (umbilical cord)

มีเส้ นเลือดในสายสะดือ 3 เส้ น

สายสะดือยาวประมาณ 35-
100 ซม. เฉลีย่ 50 ซม.
49
jirawan deeluea
Insertio centralis

สายสะดือเกาะอยู่บน
chorionic plate ตรง
กลาง หรื อ ด้ านข้ าง

Insertio lateralis

50
jirawan deeluea
 จานวนเส้ นเลือดในสายสะดือผิดปกติ

เส้ นเลือดในสาย
สะดือผิดปกติมกั
สั มพันธ์ กบั ภาวะ
fetal anomaly

Single umbilical artery


jirawan deeluea 51
 สายสะดือสั้ นกว่ าปกติ

สายสะดือยาว < 35 ซม. สายสะดือสั้ นมาก สั มพันธ์ กบั ภาวะ


IUGR, fetal distress, พิการแต่ กาเนิด

jirawan deeluea 52
 สายสะดือยาวกว่ าปกติ

CASE อายุครรภ์ 34 สั ปดาห์ สายสะดือยาว 104 ซม. (ปกติไม่ ควร


เกิน 100 ซม. เมื่ออายุครรภ์ ครบกาหนด)
jirawan deeluea 53
ถ้ าสายสะดือยาวกว่ าปกติ
จะส่ งผลให้ เกิด...

True knot
สายสะดือพันคอ jirawan deeluea 54
 ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือดในสายสะดือ
๏ มีปมของสายสะดือ
False jelly knot False vascular knot

ไม่ มีความสาคัญทางคลินิก
เป็ น pseudoknot ไม่ มีความสาคัญ
ทางคลินิก
jirawan deeluea 55
True knot

๏ สายสะดือพันคอ (nuchal cord)

jirawan deeluea 56
๏ สายสะดือบิด (torsion of cord)

 ถ้ าสายสะดือไม่ ตีบไม่ มีความสาคัญทางคลินิก


 แต่ ถ้าสายสะดือตีบด้ วยอาจทาให้ ทารก
เสี ยชีวติ ในครรภ์

jirawan deeluea 57
๏ สายสะดือตีบ (stricture of cord)

สายสะดือตีบเกิดจากมีการหายไปของ Wharton’s jelly และมีการ


ตีบของเส้ นเลือดในสายสะดือ อาจทาให้ ทารกเสี ยชีวติ ในครรภ์
jirawan deeluea 58
 สายสะดือเกาะผิดตาแหน่ ง

marginal insertion
(battledore placenta)

สั มพันธ์ กบั การเจ็บครรภ์


คลอดก่ อนกาหนด
jirawan deeluea 59
Velamentous insertion
(membranous insertion)

Vasa previa

ถ้ ามีการฉีกขาดของเส้ นเลือด
ทารกอาจเป็ นอันตรายถึงชีวิตได้
60
jirawan deeluea
4 รก (placenta)
Function
1) Exchange
2) barriers
3) endocrine gland:
- progesterone,
- estrogen,
- human placental
lactogen (hPL),
- human chorionic
ถ้ารกผิดปกติสง่ ผลให้ทารกเกิดภาวะ gonadotropin (hCG)
แท้ง (abortion), เจริญเติบโตช้าใน
ครรภ์ (IUGR), ได้รับออกซิเจนไม่
เพียงพอ (fetal distress), เสียชีวต
ิ ใน
ครรภ์ (DFIU)
jirawan deeluea 61
ระบบไหลเวียนของรก
(placental circulation)

jirawan deeluea 62
ลักษณะรกปกติเมื่ออายุครรภ์ ครบกาหนด
ด้ านทารก รู ปร่ างแบนกลมหรื อรี
เส้ นผ่ าศูนย์ กลาง 15-20 ซม.

หนา 2-3 เซนติเมตร


ด้ านมารดา
นา้ หนักเป็ น 1/5-1/6 ของนา้ หนัก
ทารก หรื อเฉลีย่ ประมาณ 500-600
กรัม
มี cotyledon ประมาณ 15-20 ก้อน jirawan deeluea 63
รกผิดปกติ

รกน้อย
สำยสะดือเกำะทีเยือหุ้มทำรก

circumvalate infarction calcification


Hydatidiform mole

65
ฝังลึกถึง ฝังลึกถึงชั้น ทะลุผ่านชั้น
ชั้น basalis myometrium myometrium

 รกฝังตัวลึกผิดปกติหรื อรกติด (abnormal placenta adherens)

jirawan deeluea 66
มึนอ่ะ !
วัตถุประสงค์: นักศึกษาสามารถ

อธิบายการกาเนิดของเซลล์เพศหญิง (ไข่) และ


เซลล์เพศชาย (อสุจ)ิ ได้ถูกต้อง
อธิบายลักษณะของไข่และอสุจิได้ถูกต้อง
อธิบายระยะของการตัง้ ครรภ์ การนับอายุครรภ์
จากประจาเดือนครัง้ สุดท้ายและจากวันปฏิสนธิ
ได้ถก
ู ต้อง

jirawan deeluea 68
วัตถุประสงค์: (ต่อ)
อธิบายการเปลีย่ นแปลงของทารกในครรภ์
ตั้งแต่การปฏิสนธิ การแบ่งตัว การฝังตัว และ
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ได้ถูกต้อง
อธิบายสรีระวิทยาของทารกในครรภ์ได้ถก
ู ต้อง
(โดยเฉพาะระบบไหลเวียนโลหิต สมอง)
อธิบายลักษณะปกติของทารก รก น้าคร่า เยื่อ
หุ้มทารก และสายสะดือได้ถก
ู ต้อง

jirawan deeluea 69

You might also like