Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1105

ฉบับร่าง..

คูมือวิปสสนาจารย
ฉบับลัดสั้น
___________________________________________
หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้นบรรลุธรรมในชาตินี้

พระภาวนาพิศาลเมธี วิ. (ประเสริฐ มนฺตเสวี)


นธ.เอก, ป.ธ.๘, พธ.บ. (บาลีพุทธศาสตร), พธ.ม. (วิปสสนาภาวนา)
ผูชวยเจาอาวาสวัดพิชยญาติการาม วรวิหาร คลองสาน กรุงเทพมหานคร
พระวิปสสนาจารยหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตร ๗ เดือน)
สาขาวิชาวิปสสนาภาวนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
www.facebook.com/pm.montasavi/
หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต

ศึกษาคัมภีรพ
ระไตรปฎก ภาษาบาลี
อรรถกถาฎีกา

สถิติการวิจัย ภาษาอังกฤษ

ปฏิบัติวิปสสนาภาวนา 7 เดือนเต็ม
กอนจบหลักสูตร

เปดรับสมัครผูจบปริญญาตรีทุกสาขา
เขาศึกษา ทุกเดือนมีนาคมและเมษายน ทุกๆ ป

www.pali.mcu.ac.th 086-036-3899, 094-967-2299


[๒]

ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ
National Library of Thailand Cataloging in publication Data

พระภาวนาพิศาลเมธี พรหมจันทร
คูมือวิปสสนาจารยฉบับลัดสั้น: —
กรุงเทพฯ : ประยูรสาสนไทย การพิมพ, 2564. 1,100 หนา.
1. คูมือวิปสสนาจารยฉบับลัดสั้น. I ชื่อเรื่อง.
294.3122
ISBN : 978-616-497-440-1
ผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบ :
พระมหาสุรชัย วราสโภ,ผศ.ดร. ป.ธ.๗ , M.A., Ph.D.
พระมหาชิต านชิโต,ผศ.ดร. ป.ธ.๗, ศน.บ., M.A., Ph.D.
พระครูพิพิธวรกิจจานุการ,ผศ.ดร. ศน.บ., M.A., Ph.D.
พระมหาโกมล กมโล ผศ. ป.ธ.๘, พธ.บ., ศศ.ม
ผศ.ดร. วิโรจน คุมครอง ป.ธ.๙, พธ.ม., พธ.ด.
จัดทําโดย : พระภาวนาพิศาลเมธี พรหมจันทร
ออกแบบปก : ปณิธาน นาคพุทธิกุล
เดือน/ป พิมพ : ๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๔
จํานวนพิมพ : ๓,๐๐๐ เลม (แจกเปนธรรมทาน)
จัดรูปเลมโดย : พระมหาประเสริฐ มนฺตเสวี

พิมพที่ : หางหุนสวนจํากัด ประยูรสาสนไทย การพิมพ


๔๔/๑๓๒ หมู ๖ ถ. กํานันแมน บางขุนเทียน จอมทอง กรุงเทพมหานคร
โทร./โทรสาร. ๐๒-๘๐๒-๐๓๗๙ มือถือ ๐๘๑-๕๖๖-๒๕๔๐
E-mail : doramon.1914@yahoo.com
[๓]

เกียรติคุณประกาศ
หลวงพอสมเด็จพระพุทธชินวงศ ทานเปนผูที่ทําใหขาพเจาไดรูวา
“ที่แทแลว พระพุทธเจาตรัสรูอะไรกันแน” ทานเปนมหากัลยาณมิตรในชีวิต
ของขาพเจา ทานชวยจัดหาทุนการศึกษาและสรางตําราใหขาพเจาไดศึกษา
จนจบหลั กสู ตรบาฬีพุทธศาสตร และวิ ปส สนาภาวนา พอจะมีความรู
ความสามารถเปนพระวิปสสนาจารยบอกบทกรรมฐานอยูทุกวันนี้
บุญกุศลใดๆ ที่เกิดจากการเขียนและเผยแผหนังสือเลมนี้ ขออุทิศ
เปนอาจริยบูชาแดหลวงพอสมเด็จพระพุทธชินวงศ(สมศักดิ์ อุปสมมหาเถระ)
และทานพระครู ปกาศิตพุทธศาสตร ผูใหป ฏิป ทาทางธรรมและโอกาส
ทางการศึกษาแกผูเขียน และอุทิศใหแกพระธรรมวิมลโมลี (รุน ธีรปฺโญ)
พระศีลาจารพิพัฒน พระครูวิสุทธิธีรญาณ อาจารยนิมิตร โพธิพัฒน อาจารย
มงคล ทัตตะโสภณ ตลอดถึงบูรพาจารย และบรรพบุรุษทุกๆ ทาน
ขอมูลใด ๆ ในหนังสือเลมนี้จะมีไมไดเลยหากผูเขียนไมไดรับการสั่ง
สอนฝกฝนอบรมจากพระมหาเถระ ๔ รูปนี้ คือ ๑. พระธรรมโกศาจารย
(หลวงพอปญญานันทะ) ๒. สมเด็จพระพุทธชินวงศ (สมศักดิ์ อุปสมมหา
เถระ) ๓. สยาดอภัททันตะ วิโรจนะ (วัดงุยเตาอูกัมมัฏฐาน) ๔. พระครูศรี
คณาภิรักษ (เจาคณะอําเภอระโนด)
ผูเขียน
[๔]

คํานํา
พระพุ ทธเจ าทรงเป น พระสั พ พัญ ูผู รู แ จ ง ทุก สรรพสิ่ ง แล ว ด ว ย
ความที่พระองคทรงรูทุกอยางนี่เอง ทําใหทรงเห็นแจงวา ถาหากบอกความ
จริ ง ทั้ ง หมดที่ ท รงรู จ ะก อ ให เ กิ ด โทษ เกิ ด หายนะแก ม วลสรรพสั ต ว เ สี ย
มากกวา พระองคจึงเลือกที่จะสอนเฉพาะเรื่องที่เปนไปเพื่อความดับทุกข
เพื่อคลายโศกเพียงเทานั้น มุงสอนแตในประเด็นวา ทําอยางไรจึงจะหลุดพน
จากกฎเกณฑทั้งปวงได ไมยอมสยบอยูกับอํานาจใดๆ ทั้งสิ้น หนทางนั้นก็คือ
การปฏิบัติวิปสสนาภาวนาที่ผูปฏิบัติสามารถพิสูจนใหเห็นจริงไดดวยตนเอง
ในชาตินี้ ไมตองรอใหตายเสียกอน ซึ่งมีพระอริยเจาสามารถพิสจู นทราบจน
เห็นประจักษแจงดวยตนเองและนําออกเผยแผ สืบทอดกันมาจนถึงปจจุบัน
เปาหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือ การเรงพัฒนาจิตวิญญาณ
ตามแนวศีล สมาธิ ปญญา เพื่อใหบรรลุมรรค ผล เขาถึงพระนิพพานที่ไม
ตองกลับมาทุกขอีก บรรลุเปนพระอริยบุคคล ๔ จําพวก คือ พระโสดาบัน
พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต แตความเขาใจของคนทั่วไป
มักนําพระอริยบุคคลทั้ง ๔ จําพวกไปผูกติดกับการแสดงอิทธิปาฏิหาริย วา
ตองเหาะได รูใจคนอื่นได เสกมนตคาถาได ไลผีได ถึงขั้นรูอนาคตได ซึ่งเปน
ความเขาใจที่คลาดเคลื่อนจากแนวคําสอนของพระบรมศาสดา และของพระ
อรหันตทั้งหลาย ที่ปรากฏในคัมภีรในพระไตรปฎก อรรถกถา ฎีกา เพราะ
ความเปนพระอริยบุคคลนั้น ไมไดวัดกันที่สิ่งที่ไดมาหรือสิ่งที่ไดรู แตขึ้นอยู
กับสิ่งที่ละไดแลว ก็คือ ละกิเลสตัณหาและสังโยชน ละไดมากเทาใดก็ยิ่ ง
บรรลุธรรมขั้นสูงขึ้นเทานั้น
ข า พเจ า เองรั บ หน า ที่ เ ป น วิ ป ส สนาจารย บ อกบทกรรมฐาน สอน
ปฏิ บัติ วิป สสนาภาวนามา ๗ ป โดยการให ผูป ฏิบั ติไดศึกษาพระไตรป ฎ ก
อรรถกถา ฎี กา และวิ สุ ท ธิ มรรค เป น เวลา ๑ ป ค รึ่ งก อน จากนั้ น ปฏิ บั ติ
ภาวนาแบบกําหนดอาการพอง-ยุบเปนอารมณหลัก เปนเวลาอีก ๗ เดือน
เต็ม จึ งจะจบหลักสูต รการศึกษาได ซึ่งผู เขียนเองก็ได เคยผ านการปฏิบั ติ
[๕]

ภาวนาในหลักสูตรนี้มาเชนกัน แมความรูสึกสวนตัวจะนิยมชมชอบในการ
ปฏิบัติแบบกําหนดลมหายใจเขา-ออกมากกวา แตก็ไมอาจปฏิเสธความจริงที่
เกิดขึ้นไดวา การเจริญสติกําหนดรูลักษณะอาการของวาโยธาตุ(พอง-ยุบ)ใน
ทอง เปนการเจริญวิปสสนาที่ถูกตรงตามหลักสติปฏฐาน ๔ ไดเชนกัน เพราะ
ในขณะปฏิบั ตินั้น มิใชกําหนดรูอาการของวาโยธาตุ (อาการพอง-ยุบ )แต
เพียงอยางเดียว หากมีอารมณอื่น ๆ แทรกเขามาชัดเจนกวา หรือจิตเคลื่อน
ไปรับรูอารมณนั้นๆ ก็ใหตามกําหนดรูจนอาการนั้นๆ ดับไปจากจิต หรือจิต
ดับไปจากอารมณนั้นๆ เสียกอน จึงกลับมากําหนดรูอาการวาโยธาตุที่ทอง
อีก และเมื่อเจริญภาวนาจนสภาวญาณสูงขึ้น จนสภาวะอาการของวาโยธาตุ
ดับไปสิ้นแลว ก็ใหตามกําหนดรูอารมณที่ปรากฏชัดอื่นๆ ตอไป โดยเฉพาะ
สภาวะธรรมารมณ ที่ ป รากฏกั บ จิ ต อาการของจิ ต และตั ว จิ ต เอง ที่ รั บ รู
ธรรมารมณ นั้ น ๆ จนกว า สภาวะทั้ ง ที่ เ ป น ธรรมารมณ และจิ ต ที่ รั บ รู
ธรรมารมณนั้นๆ ดับหมดสิ้นไป จากนั้นจะหนวงเอาพระนิพพาน มาเปน
อารมณไดเองโดยอัตโนมัติ ดังไดอธิบายรายละเอียดไวในหนังสือเลมนี้แลว

(พระภาวนาพิศาลเมธี วิ. ประเสริฐ มนฺตเสวี)


พระวิปสสนาจารยสํานักปฏิบัติธรรม “ธรรมโมลี”
ผูชวยเจาอาวาส วัดพิชยญาติการาม วรวิหาร กรุงเทพมหานคร

อนุโมทนาบุญกับผูชวยตรวจอักษร
พระมหาบุญเลิศ อินฺทปฺโ และคณะนิสิตดุษฎีบัณฑิต (วิปสสนาภาวนา)
แมชีนวพร ทองศรีเพชร
แมชีจันทรจิรา ชินศรี
คุณสุกัญญา วโรทัย
[๖]

สารบัญ
เรื่อง
เกียรติคุณประกาศ [๓]
คํานํา ก
สารบัญ จ
คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ ฎ
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้ ๑
๑. อริยบุคคลในพุทธศาสนา ๓
๒. ลักษณะของผูบ รรลุโสดาบัน ๑๔
๓. กําลังสมาธิในการบรรลุโสดาบัน ๓ แบบ ๒๗
๔. การเห็นแจงอริยสัจ ๔ ของพระโสดาบัน ๓๙
๔.๑ กระบวนการของอริยสัจ ๔ ๔๕
- ตารางวิเคราะห ๔๗
๔.๒ เห็นแจงนิโรธสัจบรรลุวิปสสนาญาณ ๔๗
๔.๓ พิจารณาอริยสัจ ๔ ตามลําดับปฏิจจสมุปบาท ๔๘
๕. ญาณ ๑๖ ตามลําดับอริยสัจ ๔ ๕๒
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้นตามลําดับญาณ ๑๖ ๕๙
ขั้นที่ ๑ เห็นรูปเห็นนาม ๖๐
ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ ๖๒
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม ๖๓
ญาณที่ ๒ ปจจยปริคคหญาณ ๖๔
ญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ ๖๖
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูป-นาม ๖๗
ญาณที่ ๓ สัมมนสญาณ (ชวงปลาย) ๖๙
ญาณที่ ๔ อุทยัพพยญาณ ๗๒
[๗]

ญาณที่ ๕ ภังคญาณ ๗๘
ขั้นที่ ๔ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูป-นาม ๘๑
ญาณที่ ๖ ภยญาณ หรือ ภยตูปฏฐานญาณ ๘๓
ญาณที่ ๗ อาทีนวญาณ ๘๗
ญาณที่ ๘ นิพพิทาญาณ ๘๙
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูป-นาม ๙๑
ญาณที่ ๙ มุญจิตุกัมยาญาณ ๙๒
ญาณที่ ๑๐ ปฏิสังขาญาณ ๙๔
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม ๙๖
ญาณที่ ๑๑ สังขารุเปกขาญาณ ๙๘
ขั้นที่ ๗ สลัดคืนรูป-นาม ๑๑๒
ญาณที่ ๑๒ อนุโลมญาณ ๑๑๗
ญาณที่ ๑๓ โคตรภูญาณ ๑๒๕
ญาณที่ ๑๔ มรรคญาณ ๑๒๘
ญาณที่ ๑๕ ผลญาณ ๑๒๘
ญาณที่ ๑๖ ปจจเวกขญาณ ๑๒๙
บทที่ ๓ การปฏิบัติวิปสสนาแบบลัดสั้น ๑๓๑
๑. ความรู ๖ ระดับในการพัฒนาญาณปญญา ๑๓๑
๒. วิปสสนาภาวนา ๑๓๕
๒.๑ วิปสสนาญาณ ๑๓๙
๑) สภาวญาณของสมถยานิก ๑๔๑
- ตารางเปรียบเทียบ ๑๔๒
๒) สภาวญาณของวิปสสนาญานิก ๑๔๓
๒.๒ ญาณ ๑๖ แบงออกเปน ๕ ระดับ ๑๔๔
๒.๓ การบรรลุธรรม ๗ แบบ ๑๔๗
๓. การเจริญวิปสสนาของสมถยานิก ๑๕๔
[๘]

๓.๑ สมถยานิกผูบรรลุอรหันตเปนปญญาวิมุตติ ๑๕๘


๑) ใชสมาธิระดับรูปฌาน ๔ ๑๕๘
๒) ใชสมาธิระดับอรูปฌาน ๔ ๑๖๐
๓.๒ สมถยานิกผูบรรลุอรหันตเปนอุภโตภาควิมุตติ ๑๖๑
๔. การเจริญวิปสสนาของวิปสสนายานิก ๑๖๓
๔.๑ ขณิกสมาธิในการเจริญวิปสสนา ๑๖๔
๔.๒ การพัฒนาขณิกสมาธิดวยการปรับอินทรีย ๕ ๑๖๗
๔.๓ การบรรลุธรรมของวิปสสนายานิก ๑๖๘
๔.๔ วิปสสนายานิกบรรลุเปนพระอรหันตปญญาวิมุตติ ๑๗๒
๕. วิถีจิตรับรูอารมณในการเจริญวิปสสนา ๑๗๓
๕.๑ การรับรูอารมณผานทวาร ๖ - ธาตุ ๖ ๑๗๓
๕.๒ อารมณที่ถูกรับรู ๑๗๕
๕.๓ วิถีจิตในการรับรูอารมณ ๑๗๖
๕.๔ อัตราวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๑๙๒
๖. สุทธวิปสสนาภาวนา ๑๙๔
๖.๑ อารมณหลักในการเจริญวิปสสนา ๑๙๕
๖.๒ การกําหนดดวยบริกรรมภาวนา ๑๙๗
๖.๓ การกําหนดรูปริญญา ๓ ตามลําดับญาณ ๑๖ ๒๐๒
- ตารางญาณ ๑๖ ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ๒๐๗
๗. การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น ๒๑๐
๘. วิปสสนาดับภพชาติไดอยางไร ๒๑๕
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลส ในญาณ ๑๖ ๒๑๗
๑. อารมณเปนที่ตั้งของอุปกิเลส ๑๐ ๒๑๙
๒. เหตุปจจัยแหงการเกิดวิปสสนูปกิเลส ๒๒๗
๒.๑ เพราะมนสิการโดยความไมเที่ยง ๒๒๗
๒.๒ เพราะมนสิการโดยความเปนทุกข ๒๒๘
[๙]

๒.๓ เพราะมนสิการโดยความเปนไตรลักษณ ๒๒๘


๓. เหตุที่ทําใหเกิดวิปสสนูปกิเลส ๒๓๑
๓.๑ อุทธัจจะ ความฟุงในสภาพธรรม ๒๓๒
๓.๒ อโยนิโสมนสิการ ๒๓๓
๔. ขั้นตอนการเกิดขึ้นของวิปสสนูปกิเลส ๒๔๐
๔.๑ การเกิดขึ้นของตรุณอุทยัพพยญาณ ๒๔๐
๔.๒ การปรากฎของวิปสสนูปกิเลส ๒๔๓
๔.๓ ลักษณะการเกิดวิปสสนูปกิเลส ๒๔๓
๔.๔ ตัวอยางอาการการเกิดวิปสสนูปกิเลส ๒๔๘
๕. วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดวิปสสนูปกิเลส ๒๕๗
๖. ความสัมพันธ : ญาณ ๑๖ กับวิปสสนูปกิเลส ๒๖๖
๗. การปฏิบัติตออุปกิเลส ๑๐ ๒๘๐
บทที่ ๕ สมาทานกรรมฐาน กําหนดรูพอง-ยุบ ๒๘๗
๑. วิธสี มาทานกรรมฐาน ๒๘๗
๒. วิธีกราบสติปฏฐาน ๒๘๒
๓. วิธฝี กนั่งกําหนดรูพองยุบ ๒๘๔
๔. คําบริกรรมวา "หนอ" ๒๙๐
๕. การสง-สอบอารมณ ๒๙๓
๖. วินิจฉัย : ทองพอง-ยุบไมใชวิปสสนา ๒๙๔
๗. อาการรูพอง-ยุบเปนธาตุปรมัตถ ๒๙๖
๘. กําหนดรูพอง-ยุบเปนวาโยธาตุกรรมฐาน ๓๐๑
๙. กําหนดรูพอง-ยุบเจริญวิปสสนา ๓๐๓
๑๐. กําหนดรูพอง-ยุบเจริญสติปฏฐาน ๔ ๓๐๕
๑๑. อริยสัจ ๔ ในการกําหนดรูพอง-ยุบ ๓๐๘
๑๒. สัมมัปปธาน ๔ ในการกําหนดรูพอง-ยุบ ๓๑๐
๑๓. โพชฌงค ๗ ในการกําหนดรูพอง-ยุบ ๓๑๒
[๑๐]

๑๔. หลักการปรับอินทรียใหสมดุลย ๓๑๔


๑๕. ลําดับการสืบทอดวิปสสนาวงศอรหันต ๓๒๑
๑๖. การปฏิบัติสุทธวิปสสนาแบบพอง-ยุบ ๓๕๐
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔ ๓๕๓
๑. การเดินจงกรม ๓๕๘
๒. การเดินจงกรมในการปฏิบัติวิปสสนา ๓๔๓
๓. พิจารณาธาตุในในอิริยาบถเดิน ๓๔๗
๔. วิธฝี กเดินจงกรม ๖ ระยะ ๓๖๗
๕. การเจริญสติปฏฐาน ๔ ในการเดินจงกรม ๓๖๓
๖. เห็นอริยสัจ ๔ ในการกําหนดจงกรม ๓๖๓
๗. ประวัติการบรรลุธรรม ๓๘๓
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔ ๓๘๕
๑. สภาพธรรมของเวทนา ๓๘๕
๒. ความสําคัญของการกําหนดรูเวทนา ๓๘๙
๓. กําหนดรูเวทนาตามหลักสติปฏฐาน ๔ ๓๙๒
๔. เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ๓๙๕
๕. วิธีกําหนดรูเวทนา ๔๐๓
๖. อริยสัจ ๔ ในการกําหนดรูเวทนา ๔๑๒
๗. อริยสัจ ๔ ในญาณ ๑๖ ๔๑๕
๘. ประวัติการบรรลุธรรม ๔๒๑
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถพิจารณาอริยสัจ ๔ ๔๒๕
๑. การกําหนดรูอิริยาบถ ๔๒๕
๒. การกําหนดรูดวยโยนิโสมนสิการ ๔๒๗
๓. อิริยาบถเปนอารมณวิปสสนา ๔๒๕
๔. วิธีกําหนดรูอิริยาบถยอย (สัมปชัญญะ) ๔๓๒
[๑๑]

๕. การเจริญสติสัมปชัญญะตออารมณภายนอก ๔๓๙
๖. การกําหนดอิริยาบถยอย สํานักตางๆ ๔๔๗
๗. ประวัติผูบรรลุธรรม ๔๗๑
บทที่ ๙ ขั้นที่ ๑ เห็นรูปเห็นนาม ๔๘๗
๑. วิธีกําหนดกราบและกําหนดอิริยาบถ ๔๘๙
๒. วิธีจงกรม แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน ๔๘๙
๓. วิธีกําหนดรูพอง-ยุบ ๔๘๕
๔. วิธีกําหนดรูอิริยาบถ ๔๘๙
๕. วิธีเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ๔๙๐
๖. วิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ๔๙๑
๗. วิธีเจริญธัมมนุปสสนาสติปฏฐาน ๔๙๔
๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๑ สมบูรณ ๔๙๕
ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ ๕๙๖
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๔๙๗
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๕๐๐
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๕๐๑
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๕๐๒
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๕๐๓
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อายตนะ ๑๒ ๕๐๕
- ปริญญา ๓ และอริยสัจในนามรูปปริจเฉทญาณ ๕๐๖
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๕๐๗
- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๕๐๗
บทที่ ๑๐ ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม ๕๑๗
๑. วิธีกําหนดกราบ ๕๑๘
๒. วิธีจงกรม แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน ๕๑๘
๓. วิธีกําหนดรูพอง-ยุบ ๕๑๙
[๑๒]

๔. วิธีกําหนดรูอิริยาบถ ๕๑๒
การกําหนดรับประทานอาหาร ๕๑๒
๕. วิธีเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ๕๑๓
๖. วิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ๕๑๗
๗. วิธีเจริญธัมมนุปสสนาสติปฏฐาน ๕๑๙
๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๒ สมบูรณ ๕๒๑
ญาณที่ ๒ ปจจยปริคคหญาณ ๕๒๑
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๕๒๒
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๕๒๔
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๕๒๔
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๕๒๕
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๕๒๖
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม ๕๒๗
- ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในปจจยปริคคหญาณ ๕๒๘
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๕๒๙
- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๕๓๑
ญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ ๕๓๒
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๕๓๓
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๕๓๓
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๕๓๔
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๕๓๕
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๕๓๖
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม ๕๓๘
- ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในสัมมสนญาณ ๕๓๙
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๕๔๑
- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๕๔๖
[๑๓]

บทที่ ๑๑ ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม ๕๔๙


๑. วิธีกําหนดกราบ ๕๔๘
๒. วิธีจงกรม ๕๔๔
๓. วิธีกําหนดรูพอง-ยุบ ๕๔๗
๔. วิธีกําหนดรูอิริยาบถ ๕๕๐
อิริยาบถตื่นนอน ๕๕๐
อิริยาบถรับประทานอาหาร ๕๕๑
อิริยาบถนอน ๕๕๒
๕. วิธีเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ๕๕๒
๖. วิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ๕๕๓
๗. วิธีเจริญธัมมนุปสสนาสติปฏฐาน ๕๕๓
๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๓ สมบูรณ ๕๕๙
ญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ (ชวงปลาย) ๕๖๐
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๕๖๑
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๕๖๒
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๕๖๒
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๕๖๓
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๕๖๔
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม ๕๖๔
- ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในสัมมสนญาณ ๕๖๖
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๕๖๗
- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๕๖๘
ญาณที่ ๔ อุทยัพพยญาณ ๕๖๙
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๕๗๔
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๕๗๕
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๕๘๑
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๕๘๑
[๑๔]

จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๕๘๒


ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม ๕๘๓
- ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในอุทยัพพยญาณ ๕๘๕
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๕๘๖
- ความสมดุลของพละ ๕ ๕๘๗
ญาณที่ ๕ ภังคญาณ ๕๘๙
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๕๙๐
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๕๙๒
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๕๙๓
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๕๙๔
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๕๙๔
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม ๕๙๖
- ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในภังคญาณ ๕๙๘
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๖๙๙
- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๖๐๐
บทที่ ๑๒ ขั้นที่ ๔ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม ๖๐๓
๑. วิธีกําหนดกราบ ๖๐๓
๒. วิธีจงกรม ๖๐๗
๓. วิธีกําหนดรูพอง-ยุบ ๖๐๘
๔. วิธีกําหนดรูอิริยาบถ ๖๐๗
๕. วิธีเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ๖๐๘
๖. วิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ๖๐๙
๗. วิธีเจริญธัมมนุปสสนาสติปฏฐาน ๖๑๐
๘. สภาวะญาณทีเ่ กิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๒ สมบูรณ ๖๑๔
ญาณที่ ๖ ภยญาณ ๖๑๗
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๖๑๘
[๑๕]

ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๖๑๘


ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๖๒๐
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๖๒๑
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๖๒๒
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม ๖๒๔
- ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในภยญาณ ๖๒๕
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๖๒๖
- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๖๒๗
ญาณที่ ๗ อาทีนวญาณ ๖๒๗
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๖๒๘
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๖๒๙
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๖๓๐
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๖๓๑
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๖๓๒
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม ๖๓๓
- ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในอาทีนวญาณ ๖๓๔
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๖๓๔
- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๖๓๕
ญาณที่ ๘ นิพพิทาญาณ ๖๓๖
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๖๓๗
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๖๓๘
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๖๓๘
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๖๓๙
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๖๔๐
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม ๖๔๒
- ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในนิพพิทาญาณ ๖๔๑
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๖๔๔
[๑๖]

- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๖๔๗
บทที่ ๑๓ ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม ๖๔๗
๑. วิธีกําหนดกราบ ๖๔๗
๒. วิธีจงกรม ๖๔๘
๓. วิธีกําหนดรูพอง-ยุบ ๖๔๙
๔. วิธีกําหนดรูอิริยาบถ ๖๕๐
๕. วิธีเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ๖๕๒
๖. วิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ๖๕๓
๗. วิธีเจริญธัมมนุปสสนาสติปฏฐาน ๖๕๔
๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๒ สมบูรณ ๖๕๖
ญาณที่ ๙ มุญจิตุกัมยตาญาณ ๖๕๗
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๖๕๙
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๖๖๐
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๖๖๑
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๖๖๒
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๖๖๒
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม ๖๖๓
- ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในมุญจิตุกัมยาญาณ ๖๖๔
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๖๖๕
- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๖๖๕
ญาณที่ ๑๐ ปฏิสังขาญาณ ๖๖๖
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๖๖๗
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๖๖๗
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๖๖๙
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๖๖๙
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๖๗๐
[๑๗]

ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม ๖๗๑


- ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในปฏิสังขาญาณ ๖๗๓
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๖๗๔
- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๖๗๕
บทที่ ๑๔ ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูปนาม ๖๗๕
๑. วิธีกําหนดกราบ ๖๗๕
๒. วิธีจงกรม แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน ๖๗๙
๓. วิธีกําหนดรูพอง-ยุบ ๖๘๑
๔. วิธีกําหนดรูอิริยาบถ ๖๘๒
๕. วิธีเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ๖๘๔
๖. วิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ๖๘๕
๗. วิธีเจริญธัมมนุปสสนาสติปฏฐาน ๖๘๖
๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๒ สมบูรณ ๖๘๗
ญาณที่ ๑๑ สังขารุเปกขาญาณ ๖๘๗
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๖๙๒
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๖๙๓
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๖๙๗
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๖๙๗
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๖๙๙
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม ๗๐๑
- ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในปจจยปริคคหญาณ ๗๐๒
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๗๐๕
ญาณที่ ๑๑ สังขารุเปกขาญาณ (ชวงปลาย) ๗๐๖
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๗๐๖
- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๗๐๔
บทที่ ๑๕ ขั้นที่ ๗ สลัดคืนรูปนาม ๗๐๗
๑. พิจารณาสภาพธรรมขณะกําหนดกราบ ๗๑๒
[๑๘]

๒. พิจารณาสภาพธรรมขณะจงกรม ๗๑๕
๓. พิจารณาสภาพธรรมขณะกําหนดรูพอง-ยุบ ๗๑๗
๔. พิจารณาสภาพธรรมขณะกําหนดรูอิริยาบถ ๗๒๐
- ขณะรับประทานอาหาร ๗๒๐
- ขณะนอน ๗๒๑
๕. พิจารณาสภาพธรรมขณะเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ๗๒๒
๖. พิจารณาสภาพธรรมขณะเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ๗๒๓
๗. พิจารณาสภาพธรรมขณะเจริญธัมมนุปสสนาสติปฏฐาน ๗๒๔
๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๒ สมบูรณ ๗๒๖
ญาณที่ ๑๑ สังขารุเปกขาญาณ (ชวงปลาย) ๗๓๐
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๗๓๑
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๗๓๑
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๗๓๒
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๗๓๒
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๗๓๓
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม ๗๓๕
- ปริญญา ๓ ในสังขารุเปกขาญาณ (ชวงปลาย) ๗๓๖
- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๗๓๗
- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๗๓๘
ญาณที่ ๑๒ อนุโลมญาณ ๗๓๙
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม ๗๔๓
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ ๗๔๕
ค. สภาวธรรมที่ปรากฏ : รับประทานอาหาร ๗๔๗
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา ๗๔๘
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต ๗๕๑
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : โพชฌงค, อริยสัจ ๔ ๗๕๑
- ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในอนุโลมญาณ ๗๕๕
[๑๙]

- อัตราการพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%) ๗๕๙


- ความสมดุลของอินทรีย ๕ ๗๖๐
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล ๗๕๕
๑. ความปรากฏขึ้นของญาณ ๗๕๕
๒. โคตรภูญาณ ๗๗๔
๓. มรรคญาณ ๗๙๐
๔. ผลญาณ ๘๐๕
๕. ปจจเวกขณญาณ ๘๑๑
๖. การปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรค/ผลสูงขึ้นไป ๘๒๑
๗. ญาณในวิมุตติสุข ๘๒๔
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ ๘๒๗
๑. สมาบัติ ๗๒๗
๒. การเขาผลสมาบัติ ๘๕๒
๒.๑ ผลสมาบัติ ๘๕๒
๒.๒ กระบวนการเขาผลสมาบัติ ๘๕๘
๓. วิธีเขาผลสมาบัติตามแนวทางครูบาอาจารย ๘๖๘
๔. การเขานิโรธสมาบัติ ๘๘๐
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ ๘๘๑
๑. ความสําคัญของเมตตาเจโตวิมุตติตอการเจริญวิปสสนา ๘๘๒
๒. วิธีการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ ๘๘๕
๒.๑ ความหมาย ๘๘๕
๒.๒ วิธีการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ(เต็มรูปแบบ) ๘๘๘
๑) การแผเมตตาภาวนา ๘๘๘
๒) การแผเมตตาเจโตวิมุตติ ๘๙๑
๓) การแผเมตตาอินทรีย ๘๙๒
๔) การแผเมตตาอินทรียขั้นสูง ๘๙๕
๒.๓ สมาธิ ๙ ระดับดวยการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ ๘๙๖
[๒๐]

๑) สมาธิ ๙ ระดับที่ปรากฏในพระไตรปฎก ๘๙๘


๒) การแผเมตตาเจโตวิมุตติเขาสูสมาธิ ๙ ระดับ ๙๐๐
๒.๑) ปฐมฌาน ๙๐๑
๒.๒) ทุติยฌาน ๙๐๒
๒.๓) ตติยฌาน ๙๐๒
๒.๔) จตุตถฌาน ๙๐๓
๒.๕) อากาสานัญจายตน ๙๐๔
๒.๖) วิญญาณัญจายตน ๙๐๕
๒.๗) อากิญจัญยายตน ๙๐๕
๒.๘) เนวสัญญานาสัญญายตน ๙๐๖
๒.๙) สัญญาเวทยิตนิโรธ ๙๐๘
๓. วิธียกอารมณฌานขึ้นสูวิปสสนา ๙๑๒
๔. ความแตกตาง ฌานสมาบัติ ผลสมาบัติ และนิโรธสมาบัติ ๙๑๓
๔.๑ ฌานสมาบัติ ๙๑๔
๔.๒ ผลสมาบัติ ๙๑๔
๔.๓ นิโรธสมาบัติ ๙๑๖
๕. การเจริญเมตตาเพื่อเปนบาทฐานขึ้นสูมรรคผลเบื้องสูง ๙๑๗
๕.๑ ผูปฏิบัติเพื่อเขาสูสกทาคามี ๙๑๙
๕.๒ ผูปฏิบัติเพื่อเขาสูอนาคามี ๙๑๙
๕.๓ ผูปฏิบัติเพื่อเขาสูอรหันต ๙๒๐
๖. การรักษาสมดุลยอินทรีย ๕ เพื่อพัฒนาญาณ ๙๒๔
๗. ประสบการณปฏิบัติธรรมของแมชีนวพร ทองศรีเพชร ๙๒๕
๗.๑ ประสบการณเจริญวิปสสนายานิก ๙๒๕
๗.๒ ประสบการณเจริญสมถยานิก (เมตตาเจโตวิมุตติ) ๙๒๙
๗.๓ ประวัติการปฏิบัติธรรม ป ๒๕๕๗- ๒๕๖๓ ๙๓๓
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ ๙๓๕
๑. ประวัติการปฏิบัติสมถะและวิปสสนา ๙๓๖
[๒๑]

๒. ประสบการณการเจริญวิปสสนายานิก ๙๓๗
๓. ประสบการณการเจริญสมถยานิก ๙๔๐
๓.๑ สภาวธรรมการปฏิบัติครั้งแรก (๔ เดือน) ๙๔๕
๓.๒ สภาวธรรมการปฏิบัติครั้งที่ ๒ (๔ เดือน) ๙๔๗
๓.๓ สภาวธรรมการปฏิบัติครั้งที่ ๓ (๑ เดือน) ๙๕๔
๓.๔ สภาวธรรมการปฏิบัติครั้งที่ ๔ (๗ เดือน) ๙๖๐
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ ๙๗๑
๑. นิโรธสมาบัติ ๙๗๑
๑.๑ ประเภทวิปสสนาเพื่อบรรลุสมาบัติ ๙๗๔
๑.๒ ผลสมาบัติ ๙๗๗
๑.๓ นิโรธสมาบัติ ๙๗๗
๑.๔ การดับขันธเขาสูปรินิพพาน ๙๗๘
๒. นิโรธสมาบัติในตําราวิชาการยุคปจจุบัน ๙๘๑
๒.๑ ทัศนะของพระภัททันตะ อาสภมหาเถระ ๙๘๑
๒.๒ ทัศนะของพระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ ๙๘๓๓
๒.๓ ทัศนะของพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต) ๙๘๗
๒.๔ ทัศนะของเสถียร โพธินันทะ ๙๘๘
๓. หลักธรรมที่เกี่ยวของกับนิโรธสมาบัติ ๙๙๓
๓.๑ สัญญาเวทยิตนิโรธ ๙๙๓
๓.๒ อภิสัญญานิโรธ ๙๙๗
๓.๓ สัญญาเวทยิตนิโรธธาตุ ๙๙๙
๓.๔ อสัญญาสมาบัติ ๑,๐๐๐
๓.๕ โมเนยยธรรม ๑,๐๐๓
๓.๖ สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติวิโมกข ๑,๐๐๕
๓.๗ สมถพละ ๑,๐๐๕
๓.๘ สมาธิจริยา ๙ ๑,๐๐๗
๓.๙ ญาณจริยา ๑๖ ๑,๐๐๗
[๒๒]

๓.๑๐ สุญญตผัสสะ อนิมิตตผัสสะ อัปปณิหิตผัสสะ ๑,๐๐๙


๔. บุคคลที่เขานิโรธสมาบัติได ๑,๐๑๑
๔.๑ พระอริยบุคคลทีส่ ามารถเขานิโรธสมาบัติได ๑,๐๑๑
๔.๒ ภูมิที่สามารถเขานิโรธสมาบัติได ๑๐๑๖
๕. การเขานิโรธสมาบัติ ๑๐๑๗
๕.๑ ทัศนะของนักวิชาการ ๑๐๐๘
๕.๒ บุรพกิจแหงการเขานิโรธสมาบัติ ๑๐๒๖
๕.๓ ขั้นตอนในการเขานิโระสมาบัติ ๑๐๒๗
๕.๔ การตั้งอยูในนิโรธสมาบัติ ๑๐๓๕
๕.๕ ขั้นตอนในการออกจากนิโรธสมาบัติ ๑๐๓๗
๕.๖ ความแตกตาง คนตายกับผูเขานิโรธสมาบัติ ๑๐๓๘
๖. นิโรธสมาบัติกับการบรรลุธรรม ๑๐๔๒
๖.๑ หลักธรรมที่สนับสนุนนิโรธสมาบัติ ๑๐๔๒
๖.๒ ฌานสมาบัติกับการบรรลุธรรม ๑๐๔๓
๖.๓ การบรรลุอริยผลกับนิโรธสมาบัติ ๑๐๔๕
๖.๔ ความแตกตาง ของนิโรธสมาบัติกับการบรรลุ ๑๐๔๗
อริยผล
๗. อานิสงสของนิโรธสมาบัติ ๑๐๕๑
๗.๑ ผลโดยตรงแกผูเขานิโรธสมาบัติ ๑๐๕๑
๗.๒ ผลแกบุคคลอืน่ ๆ ที่เกี่ยวของ

บรรณานุกรม ๑๐๕๗
[๒๓]

คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ
ก. คํายอเกี่ยวกับพระไตรปฎก
หนังสือเลมนี้ ใชขอมูลจากคัมภีรพระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬา-
ลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๓๙ และพระไตรปฎกภาษาบาลี ฉบับมหา
จุฬาเตปฏกํ ๒๕๐๐ โดยใชคํายอชื่อพระไตรปฎก เริ่มจากอักษรยอชื่อคัมภีร ตาม
ดวยวงเล็บฉบับที่ใชแลวตามดวยเลม/ขอ/หนา ตามลําดับ เชน
ที.สี. (บาลี) ๙/๓/๓๖ หมายถึง สุตฺตนฺตปฏก ทีฆนิกาย สีลกฺขนฺธวคฺค
พระไตรปฎก ภาษาบาลี เลมที่ ๙ ขอที่ ๓ หนา ๓๖.
ที.สี. (ไทย) ๙/๑๗๐/๕๖ หมายถึง สุตตันตปฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
พระไตรปฎกภาษาไทย เลมที่ ๙ ขอที่ ๑๗๐ หนา ๕๖ เปนตน
พระวินัยปฎก (ไทย)
เลม คํายอ ชื่อคัมภีร
๑-๒ วิ.มหา. (ไทย) = วินัยปฎก มหาวิภังค (ภาษาไทย)
๔-๕ วิ.ม. (ไทย) = วินัยปฎก มหาวรรค (ภาษาไทย)
๖-๗ วิ.จู. (ไทย) = วินัยปฎก จูฬวรรค (ภาษาไทย)

พระสุตตันตปฎก (บาลีและไทย)
เลม คํายอ ชื่อคัมภีร
๙ ที.สี. (ไทย) = สุตตันตปฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค (ภาษาไทย)
๑๐ ที.ม. (ไทย) = สุตตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค (ภาษาไทย)
๑๑ ที.ปา. (ไทย) = สุตตันตปฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย)
๑๒ ม.มู. (ไทย) = สุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก (ภาษาไทย)
๑๓ ม.ม. (ไทย) = สุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณาสก (ภาษาไทย)
๑๔ ม.อุ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปฏก มชฺฌิมนิกาย อุปริปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี)
ม.อุ. (ไทย) = สุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปณณาสก (ภาษาไทย)
๑๕ สํ.ส. (ไทย) = สุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค (ภาษาไทย)
๑๖ สํ.นิ. (ไทย) = สุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค (ภาษาไทย)
๑๗ สํ.ข. (ไทย) = สุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค (ภาษาไทย)
[๒๔]

๑๘ สํ.สฬา. (ไทย) = สุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค (ภาษาไทย)


๑๙ สํ.ม. (บาลี) = สุตฺตนฺตปฏก สํยุตฺตนิกาย มหาวารวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
สํ.ม. (ไทย) = สุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค (ภาษาไทย)
๒๐ องฺ.เอกก. (ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เอกกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.ทุก. (ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.ติก. (ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต (ภาษาไทย)
๒๑ องฺ.จตุกฺก.(ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต (ภาษาไทย)
๒๒ องฺ.ปฺจก.(ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย ปญจกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.ฉกฺก. (ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต (ภาษาไทย)
๒๓ องฺ.สตฺตก. (ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.นวก. (ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย นวกนิบาต (ภาษาไทย)
๒๔ องฺ.ทสก. (ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต (ภาษาไทย)
๒๕ ขุ.ธ. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท (ภาษาไทย)
ขุ.อุ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปฏก ขุทฺทกนิกาย อุทานปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.อุ. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย อุทาน (ภาษาไทย)
ขุ.อิติ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปฏก ขุทฺทกนิกาย อิติวุตฺตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.อิต.ิ (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ (ภาษาไทย)
ขุ.สุ. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต (ภาษาไทย)
๒๖ ขุ.เถร. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา (ภาษาไทย)
๒๗ ขุ.ชา.ติก. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ติกนิบาต ชาดก (ภาษาไทย)
๒๘ ขุ.ชา.สตฺตก.(ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย สัตตกนิบาต ชาดก (ภาษาไทย)
๒๙ ขุ.ม. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย มหานิเทส (ภาษาไทย)
๓๐ ขุ.จู. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย จูฬนิเทส (ภาษาไทย)
๓๑ ขุ.ป. (บาลี) = สุตฺตนฺตปฏก ขุทฺทกนิกาย ปฏิสมฺภิทามคฺคปาลิ(ภาษาบาลี)
ขุ.ป. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ภาษาไทย)
๓๒ ขุ.อป. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย อปาทาน (ภาษาไทย)
๓๓ ขุ.พุทฺธ. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย พุทธวงศ (ภาษาไทย)
พระอภิธรรมปฎก (บาลีและไทย)
เลม. คํายอ ชื่อคัมภีร
๓๓ อภิ.สงฺ. (ไทย) = อภิธรรมปฎก ธรรมสังคณี (ภาษาไทย)
[๒๕]

๓๔ อภิ.วิ. (ไทย) = อภิธรรมปฎก วิภังค (ภาษาไทย)


๓๖ อภิ.ธา. (ไทย) = อภิธรรมปฎก ธาตุกถา (ภาษาไทย)

ปกรณวิเสส (บาลีและไทย)
มิลินฺท. (บาลี) = มิลินฺทปฺหปกรณ (ภาษาบาลี)
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) = วิสท
ุ ฺธิมคฺปกรณ (ภาษาบาลี)
วิสุทฺธ.ิ (ไทย) = วิสทุ ธิมรรคปกรณ (ภาษาไทย)

ข. คํายอเกี่ยวกับคัมภีรอรรถกถา
หนังสือเลมนี้ใชอรรถกถาภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยใน
การอางอิง โดยระบุ เลม/ขอ/หนาหลังคํายอชื่อคัมภีร เชน ที.ม.อ. (บาลี) ๑/๔๑๔/
๓๐๘ หมายถึง ทีฆนิกาย สุมงฺคลวิลาสินี มหาวคฺคอฏกถา อรรถกถา ภาษาบาลี
เลมที่ ๑ ขอที่ ๔๑๔ หนา ๓๐๘ หรือ หากเปนตําราเลมเดียว ระบุเพียง ขอ/หนา
อรรถกถาพระสุตตันตปฎก (บาลี)
ที.ม.อ. (บาลี) = ทีฆนิกาย สุมงฺคลวิลาสินี มหาวคฺคอฏกถา
ที.ปา.อ. (บาลี) = ทีฆนิกาย สุมงฺคลวิลาสินี ปาฏิกวคฺคอฏกถา
ม.ม.อ. (บาลี) = มชฺฌิมนิกาย ปปฺจสูทนี มชฺฌิมปณฺณาสกอฏกถา
สํ.สฬา.อ. (บาลี) = สํยุตฺตนิกาย สารตฺถปฺปกาสินี สฬายตนวคฺคอฏกถา
องฺ.จตุกฺก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี จตุกฺกนิปาตอฏกถา
องฺ.ปฺจก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี ปฺจกนิปาตอฏกถา
องฺ.ฉกฺก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี ฉกฺกนิปาตอฏกถา
องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี สตฺตกนิปาตอฏกถา
องฺ.อฏก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี อฏกนิปาตอฏกถา
องฺ.นวก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี นวกนิปาตอฏกถา
องฺ.ทสก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี ทสกนิปาตอฏกถา
ขุ.ขุ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ปรมตฺถโชติกา ขุทฺทกปาอฏกถา
ขุ.ธ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทอฏกถา
ขุ.ป.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย สทฺธมฺมปฺปกาสินี ปฏิสมฺภิทามคฺคอฏกถา
ขุ.พุทฺธ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย มธุรตฺถวิลาสินี พุทฺธวํสอฏกถา
[๒๖]

อรรถกถาภาษาไทย อางอิงฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยระบุ เลมที่/


หน า ที่ เช น ที .ม.อ. (ไทย) ๑๓/๕๕. หมายถึง ที ฆ นิ กายมหาวรรค อรรถกถา
ภาษาไทย เลมที่ ๑๓ หนาที่ ๕๕.
หรือ อรรถกถาภาษาไทย อางอิงฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยระบุ
เลม/ภาค/ตอน/หนา เชน ที.ม.อ. (ไทย) ๑/๓/๒/๕๕. หมายถึง ทีฆนิกายมหาวรรค
อรรถกถาภาษาไทยฉบับมหามกุฏฯ เลมที่ ๑ ภาคที่ ๓ ตอนที่ ๒ หนา ๕๕.
เลมที่ เลม ภาค ตอน คํายอ ชื่ออรรถกถา
๑๑ ๑ ๑ - ที.สี.อ. (ไทย) สุมังคลวิลาสินี สีลขันธวรรคอรรถกถา
๑๔ ๒ ๒ - ที.ม.อ. (ไทย) สุมังคลวิลาสินี มหาวรรคอรรถกถา
๑๙ ๑ ๓ - ม.มู.อ. (ไทย) ปปญจสูทนี มูลปณณาสกอรรถกถา
๒๑ ๒ ๒ - ม.ม.อ. (ไทย) ปปญจสูทนี มัชฌิมปณณาสกอรรถกถา
๒๓ ๓ ๒ - ม.อุ.อ. (ไทย) ปปญจสูทนี อุปริปณณาสกอรรถกถา
๒๔ ๑ ๑ - สํ.ส.อ. (ไทย) สารัตถปกาสินี สคาถวรรคอรรถกถา
๒๙ ๔ ๒ - สํ.สฬา.อ. (ไทย) สารัตถปกาสินี สฬายตนวรรค
๓๑ ๕ ๒ - สํ.ม.อ. (ไทย) สารัตถปกาสินี มหาวารวรรคอรรถกถา
๓๒ ๑ ๑ - องฺ.เอก.อ. (ไทย) มโนรถปูรณี เอกนิบาตอรรถกถา
๓๓ ๑ ๒ - องฺ.ทุก.อ. (ไทย) มโนรถปูรณี ทุกนิบาตอรรถกถา
๓๔ ๑ ๓ - องฺ.ติก.อ. (ไทย) มโนรถปูรณี ติกนิบาตอรรถกถา
๓๕ ๒ - - องฺ.จตุกฺก.อ. (ไทย) มโนรถปูรณี จตุกกนิบาตอรรถกถา
๓๖ ๓ - - องฺ.ปฺจก.อ. (ไทย) มโนรถปูรณี ปญจกนิบาตอรรถกถา
๓๖ ๓ - - องฺ.ฉกฺก.อ. (ไทย) มโนรถปูรณี ฉักกนิบาตอรรถกถา
๓๗ ๔ - - องฺ.สตฺตก.อ. (ไทย) มโนรถปูรณี สัตตกนิบาตอรรถกถา
๓๗ ๔ - - องฺ.อฏก.อ. (ไทย) มโนรถปูรณี อัฏฐกนิบาตอรรถกถา
๓๗ ๔ - - องฺ.นวก.อ. (ไทย) มโนรถปูรณี นวกนิบาตอรรถกถา
๓๕ ๕ - - องฺ.ทสก.อ.(ไทย) มโนรถปูรณี ทสกนิบาตอรรถกถา
๔๐ ๑ ๒ ๑ ขุ.ขุ.อ. (ไทย) ปรมัตถโชติกา คาถาธรรมบท
๔๑ ๑ ๒ ๒ ขุ.ขุ.อ. (ไทย) ปรมัตถโชติกา คาถาธรรมบท
๔๗ ๑ ๖ - ขุ.สุ.อ. (ไทย) ปรมัตถโชติกา สุตตนิบาตอรรถกถา
๔๕ ๑ ๔ - ขุ.อิติ.อ. (ไทย) ปรมัตถโชติกา อิติวุตตกอรรถกถา
๔๘ ๒ ๑ - ขุ.วิ.อ. (ไทย) ปรมัตถทีปนี วิมาณวัตถุอรรถกถา
[๒๗]

๕๐ ๒ ๓ ๑ ขุ.เถร.อ. (ไทย) ปรมัตถโชติกา เถรคาถาอรรถกถา


๕๔ ๒ ๔ - ขุ.เถรี.อ. (ไทย) ปรมัตถโชติกา เถรีคาถาอรรถกถา
๖๓ ๔ ๒ - ขุ.ชา.อ. (ไทย) มหานิบาต ชาตกอรรถกถา
๖๔ ๔ ๓ - ขุ.ชา.อ. (ไทย) มหานิบาต ชาตกอรรถกถา
๖๘ ๗ ๑ - ขุ.ป.อ. (ไทย) สัทธัมมโชติกา ปฏิสัมภิทามรรคอรรถกถา
๖๙ ๗ ๒ - ขุ.ป.อ. (ไทย) สัทธัมมโชติกา ปฏิสัมภิทามรรคอรรถกถา
๗๐ ๘ ๑ - ขุ.อป.อ. (ไทย) วิสุทธชนวิลาสินี อปทานอรรถกถา
๗๒ ๙ ๑ - ขุ.อป.อ. (ไทย) วิสุทธชนวิลาสินี อปทานอรรถกถา
๗๓ ๙ ๒ - ขุ.พุทธ.อ. (ไทย) มธุรัตถวิลาสินี พุทธวังสอรรถกถา
๗๔ ๙ ๓ - ขุ.จริยา.อ. (ไทย) ปรมัตถทีปนี จริยาปฎกอรรถกถา

อรรถกถาพระอภิธรรมปฎก (บาลี)
อภิ.สงฺ.อ. (บาลี) = อภิธมฺมปฏก ธมฺมสงฺคณี อฏสาลินีอฏกถา (ภาษาบาลี)
อภิ.ปฺจ.อ. (บาลี) = อภิธมฺมปฏก ปฺจปกรณอฏกถา (ภาษาบาลี)
อรรถกถาพระอภิธรรมปฎก ภาษาไทย ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
เลมที่ เลม ภาค ตอน คํายอ ชื่ออรรถกถา
๗๕ ๑ ๑ - อภิ.สํ.อ. (ไทย) ธัมมสังคณี อัฏฐสาลินีอรรถกถา
๗๗ ๒ ๑ - อภิ.วิ.อ. (ไทย) วิภังค สัมโมหวิโนทนีอรรถกถา
๗๘ ๒ ๒ - อภิ.วิ.อ. (ไทย) วิภังค สัมโมหวิโนทนีอรรถกถา
๗๙ ๓ - - อภิ.ปุ.อ. (ไทย) ปุคคลปญญัติ ปญจปกรณอรรถกถา
ค. คํายอเกี่ยวกับคัมภีรฎีกา
หนังสือเลมนี้ใชฎีกาภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในการ
อางอิง โดยระบุ เลม/ขอ/หนา หลังคํายอชื่อคัมภีร เชน วิมติ.ฏีกา (บาลี) ๒/๒๔๑/
๑๑๐ หมายถึง วิมติวิโนทนีฏีกา เลมที่ ๒ ขอที่ ๒๔๑ หนา ๑๑๐
หรือ หากเปนตําราเลมเดียว ระบุเพียง ขอ/หนา
วชิร.ฏีกา (บาลี) = วชิรพุทฺธฏิ ีกา (ภาษาบาลี)
สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) = สารตฺถทีปนีฏีกา (ภาษาบาลี)
[๒๘]

สารตฺถ.ฏีกา (ไทย) = สารัตถทีปนีฎีกา (ภาษาไทย)


วิมติ.ฏีกา (บาลี) = วิมติวิโนทนีฏีกา (ภาษาบาลี)
กงฺขา.ฏีกา (บาลี) = กงฺขาวิตรณีปุราณฏีกา (ภาษาบาลี)
มูล.ฏีกา (บาลี) = มูลสิกฺขาฏีกา (ภาษาบาลี)
ที.สี.ฏีกา (บาลี) = ทีฆนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสนี สีลกฺขนฺธวคฺคฏีกา (ภาษาบาลี)
ที.ม.ฏีกา (บาลี) = ทีฆนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสนี มหาวคฺคฏีกา (ภาษาบาลี)
ที.สี.อภินวฏีกา (บาลี) = ทีฆนิกายสาธุวลิ าสินี สีลกฺขนฺธวคฺคอภินวฏีกา (ภาษาบาลี)
ขุ.ธ.ฏีกา (บาลี) = ธมฺมปทมหาฏีกา (ภาษาบาลี)
อภิ.สงฺ.มูลฏีกา (บาลี) = อภิธมฺมปฏก ธมฺมสงฺคณีมูลฏีกา (ภาษาบาลี)
อภิ.วิ.มูลฏีกา (บาลี) = อภิธมฺมปฏก วิภงฺคมูลฏีกา (ภาษาบาลี)
ม.ฏีกา (บาลี) = มณิทีปฏีกา (ภาษาบาลี)

ง. คํายอเกี่ยวกับคัมภีรปกรณวิเสส
หนังสือเลมนี้ใชปกรณวิเสส วิสุทธิมรรค ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในการอางอิงโดยระบุ เลม/ขอ/หนา หลังยอชื่อคัมภีร เชน วิสุทฺธิ. (บาลี) ๒/๕๗๘/
๑๗๐. หมายถึง คัมภีรวิสุทธิมรรคภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เลมที่ ๒ ขอที่ ๕๗๘ หนาที่ ๑๗๐ หรือ หากเปนตําราเลมเดียว ระบุเพียง ขอ/หนา
เนตฺติ. (บาลี) = เนตฺติปกรณ (ภาษาบาลี)
มิลินฺท. (บาลี) = มิลินฺทปฺหปกรณ (ภาษาบาลี)
สงฺคห. (บาลี) = อภิธมฺมตฺถสงฺคห (ภาษาบาลี)
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) = วิสุทฺธิมคฺคปกรณ (ภาษาบาลี)
วิสุทฺธ.ิ มหาฏีกา (บาลี) = ปรมตฺถมฺชูสา วิสุทฺธิมคฺคมหาฏีกา (ภาษาบาลี)
วิภาวิน.ี (บาลี) = อภิธมฺมตฺถวิภาวินีฏีกา (ภาษาบาลี)
จ. คํายอภาษาไทย
ม.ป.ป. = ไมปรากฏปที่พิมพ
ม.ป.ท. = ไมปรากฏสถานที่พิมพ
บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ผลจากการเจริญสมถะไมวาจะเปนฌานหรืออภิญญาก็ตาม ยังเปน
โลกีย เสื่อมถอยได เชน ฤทธิ์ที่พระเทวทัตได๒ เจโตวิมุตติของพระโคธิกะ๓

มีมากอนการตรัสรูของพระพุทธเจา๔ เปนของมีไดในลัทธิภายนอก๕ และผู


ปฏิบัติเองก็ยังเปนเพียงปุถุชนที่ยังตองเวียนวายตายเกิด ยังตองตกอบายภูมิ
ทรมานในนรกไดอีกเรื่อยๆ มิใชจุดหมายของพระพุทธศาสนา เพราะไมทํา
ใหหลุดพนจากกิเลสไดอยางแทจริง นักบวชบางลัทธิไดสมาบัติ ๘อยางสม
บุรณ แตกย็ ังมีมิจฉาทิฏฐิเกี่ยวกับเรื่องอัตตา และยังยึดถือในอรูปฌานนั้นวา
เป น นิ พ พานก็ มี ๖ ลั ท ธิ เ ช น นี้ พ ระพุ ท ธเจ า ทรงปฏิ เ สธ ส ว นการปฏิ บั ติ
วิปสสนาลวนๆ ทําเชนนั้นไมได แตถึงอยางไรก็ตาม สวนผูปฏิบัติวิปสสนานั้น
ถึงแมบางทานจะเหาะไมได เสกคาถาไมขลัง แตก็เหลือภพชาติเพียงแค ๗
ชาติเปนอยางยิ่ง และตั้งแตชาตินี้เปนตนไปก็จะไมตกอบายภูมิอีกเลย ไมวา
อดีตเคยทําบาปเคยทําชั่วไวมากมายปานใดก็ตาม
ปจจุบันนี้วิทยาศาสตรกาวหนา ตัดแตงพันธุกรรม(GMO) สัตวและ
พืชได นํายีนดอยออกไปทําใหสัตวและพืชทนโรคทนแลงไดดี ..แลว ในชีวิต
เราที่เคยทําผิดทําพลาดกันมาทุกคน อะไรคือยีนดอยในจิตวิญญาณที่ทําให
เรายังตองไปตกนรกหมกไหมไดอีก และจะกําจัดยีนดอยชนิดนี้ไดอยางไร?
ตอบคําถามนีด้ วยหลักฐานในคัมภีรพระไตรปฎก คือ กิเลสที่ทําใหสรรพสัตว
ยั ง ต อ งตกนรกได อี ก ก็ คื อ มิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ ดั ง ที่ พ ระพุ ท ธเจ า ตรั ส ว า “ผู เ ป น


ดูรายละเอียด วิสุทฺธิ. (บาลี )๒/๑๙๕,๑๙๗.

ดูรายละเอียด วิ.ม. (บาลี) ๗/๓๕๕/๑๖๑.

ดูรายละเอียด วิสุทฺธิ. (บาลี) ๓/๓๔๓, ขุ.ชา.อ. (บาลี) ๔/๕.

ดูรายละเอียด ม.มู. (ไทย) ๑๒/๓๑๗/๒๘๓, ม.มู.(ไทย) ๑๒/๓๑๗/๓๒๐.

ดูใน ม.อุ.อ. (บาลี) ๓/๕๗๓.

ที.สี. (บาลี) ๙/๕๐/๒๒, ที.สี.(ไทย) ๙/๕๐/๔๗, ขุ.จริยา.อ. (บาลี) ๔๔/๖๙.
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
มิจฉาทิฏฐิ เรากลาววามีคติ ๑ ใน ๒ อยาง คือ นรก หรือกําเนิดเดรัจฉาน๗
เหลาสัตวที่ประกอบดวยมิจฉาทิฏฐิ หลังจากตายแลวยอมไปเกิดในอบาย
ทุคติ วินิบาต นรก๘ บุคคลผูมีปญญาทรามประกอบดวยมิจฉาทิฏฐิ หลังจาก
ตายแลว จะไปเกิดในนรก”๙
อนึ่ง มิจฉาทิฏฐินี้สามารถกําจัดใหสิ้นซากไดดวยการเจริญวิปสสนา
ภาวนาเพียงเทานั้น๑๐ดังที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา “บุคคลเมื่อรู เมื่อเห็น
จักขุโ ดยความไมเที่ย ง ..เห็น รูปโดยความไมเที่ย ง ..เห็น จักขุวิญญาณโดย
ความไมเที่ยง ..เห็นจักขุสัมผัสโดยความไมเที่ยง จึงละมิจฉาทิฏฐิได ฯลฯ
เมื่อรูเห็นแมความเสวยอารมณที่เปนสุข หรือทุกข หรือมิใชสุขมิใชทุกข ที่
เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเปนปจจัย โดยความไมเที่ยง จึงละมิจฉาทิฏฐิได”๑๑
เมื่อบรรลุโสดาบันแลว เปนผูมีความเห็นถูกตองตามความเปนจริง
เปนมนุ ษยที่ส มบูรณ เพราะเปน ผูสมบูร ณดวยศีล ๕ ประหาณมิจ ฉาทิฏ ฐิ
และวิจิกิจฉาไดอยางเด็ดขาด เจตนาที่จะละเมิดศีล ๕ ไมมีอีกแลว๑๒ เปรียบ
เหมือนพืช GMO ที่ถูกตัดแตงยีนดอยออกไปเลว งูพิษที่ถูกถอดเขี้ยวแลว ถึง
จะมีความเกรี้ยวกราดอยู แตก็ทํารายใครไมไดอีก
พระโสดาบันแมจะมีความโกรธอยู แตก็ไมคิดอาฆาตทํารายใคร แม
มี ค วามโลภอยู ก็ ไ ม คิ ด จะขโมยของใคร ถึ ง จะมี ค วามหลงอยู แ ต ก็ ไ ม คิ ด
แสวงหาโลกียสุขดวยการเสพสุราของมึนเมา แมยั งตองอยู ทามกลางโลก
ธรรม ๘๑๓ แตก็จะไมถูกเขี้ยวเล็บของโลกขบกัดอีกตอไป การดํารงชีวิตอยูใน
โลกของพระโสดาบั น เปรี ย บเหมื อ นกั บ ลิ้ น งู ใ นปากงู เพราะแม ต อ งอยู

ดูใน ที.สี. (ไทย) ๙/๕๐๙/๒๒๔.

ดูใน องฺ.เอก. (ไทย) ๒๐/๓๐๔/๓๙.

ดูใน ขุ.อิติ. (ไทย) ๒๕/๓๒/๓๗๙.
๑๐
ดูใน องฺ.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๒/๓๘/๓๓๙, องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๕๔/๑๙๐.
๑๑
ดูใน สํ.ส. (ไทย) ๑๘/๑๖๕/๒๐๐.
๑๒
ดูใน องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๙๕/๓๒๘.
๑๓
โลกธรรม คือ เรื่องราวที่เกิดขึ้นประจําโลก ๘ ประการ คือ มีลาภ เสื่อมลาภ
มียศ เสื่อมยศ สรรเสริญ นินทา สุข ทุกข ดูใน องฺ.อฏก. (ไทย) ๒๓/๙๖/๑๕๙.


บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ทามกลางเขี้ยวพิษ แตไมเคยโดนพิษทํารายเลยแมสักครั้ง หรือเปรียบเหมือน
ฝามือที่ไมมีแผล คนลงในหมอยาพิษ ยอมไมเกิดโทษ๑๔
พระโสดาบันจะบรรลุอรหันตอีกไมเกิน ๗ ชาติโดยอัตโนมัติ เมื่อ
บรรลุอรหันตแลว ก็จะไดประสบสุขในพระนิพพานอยางถาวร ชนิดที่ไม
ตองกลับมาทุกขอีก เพราะเปนบรมสุขที่ไมเจือดวยกามคุณ ๕ อีกตอไป๑๕
๑. อริยบุคคลในพุทธศาสนา
เปาหมายอันสูงสุดในการปฏิบัติธรรม คือการเกิดปญญาเห็นแจง
โลกุตตรธรรม ๙ (อริยมรรค ๔ สามัญผล ๔ และนิพพาน ๑) สําเร็จเปนพระ
อริยบุคคลขั้นตางๆ
อริยบุคคล หมายถึง บุคคลผูมีความบริสุทธิ์ประเสริฐกวาบุคคลทั้ง
ปวง ทั้งในโลกนี้และโลกหนา๑๖ เปนผูทําลายบาปอกุศลที่ที่กอใหเกิดความเรา
รอนและความเศราหมอง และนําไปเกิดในภพใหม (ใหมีชาติ ชรา มรณะตอไป)
คือ กิเลส ๑๐ ประการไดแลว๑๗ ไดแก
๑) มิจฉาทิฏฐิกิเลส เศราหมองและเรารอน เพราะความเห็นผิดจาก
เหตุผลตามความเปนจริงวา บาป-บุญไมมี นรก-สวรรคไมมี เปนตน
๒) วิจิกิจฉากิเลส เศราหมองและเรารอน เพราะความลังเลสงสัยใน
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนตน
๓) โลภกิเลส เศราหมองและเรารอน เพราะยินดีอยากได
๔) โทสกิเลส เศราหมองและเรารอน เพราะไมพอใจ ขุนเคือง
๕) โมหกิเลส เศราหมองและเรารอน เพราะความมัวเมาลุมหลง
๖) มานะกิเลส เศราหมองและเรารอน เพราะความทะนงตนถือตัว
๗) ถีนกิเลส เศราหมองและเรารอน เพราะหดหูทอถอยจากความ
๑๔
ดูใน ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๑๒๔/๗๐.
๑๕
ดูใน องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๓๔/๕๐๐.
๑๖
อภิ.ปุ.อ. (ไทย) ๓/-/-/๒๑๕.
๑๗
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๓๔/๔๖๓.


บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
เพียร
๘) อุทธั จจกิเลส เศร าหมองและเรารอน เพราะเกิดฟุงซานไปใน
อารมณตางๆ
๙) อหิริกิเลส เศราหมองและเรารอน เพราะไมละอายในการกระทํา
บาป
๑๐) อโนตตัปปกิเลส เศราหมองและเรารอน เพราะไมเกรงกลัวผล
ของการกระทําบาป๑๘ที่นําไปเกิดในภพใหม (มีชาติ ชรา มรณะ) ไดแลว๑๙
นอกจากนี้พระอริยบุคคลเปนผูรูแจงในอริยสัจ ๔ สามารถปฏิบัติ
ธรรมตามมรรคมีองค ๘ จนประหาณกิเลสที่ทําใหตองเศราหมองและเรา
รอน เขาถึงอบายภูมิ ๔ ทั้ง ๑๐ ประการใหลดลง หรือหมดไป หรือที่นิยม
กลาววาสามารถดับกิเลสที่ผูกมัดจิตใจมนุษยทั้งหลายทั้ง ๑๐ อยางได กิเลสที่
ผูกมัดใจสัตวไวกับทุกข เรียกวา สังโยชน มี ๑๐ ประการ คือ
๑) สักกายทิฏฐิ ความเห็นวาเปนตัวตน
๒) วิจิกิจฉา ความลังเล สงสัย เคลือบแคลงตางๆ เชน สงสัยในพระ
ศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ เปนตน
๓) สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลและพรต คือความยึดถือผิดไป
วา จะบริสุทธิ์ จะหลุดพนไดเพียงดวยศีลและพรต
๔) กามฉันทะหรือกามราคะ ความติดใจในกาม ความอยากไดใฝหา
ในเรื่องรูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่ชอบใจ
๕) พยาบาทหรือปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งในใจ ความหงุดหงิดขัด
เคืองหรืองุนงาน
๖) รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต เชนติดใจในอารมณ
แหงรูปฌาน เปนตน
๗) อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม เชนติดใจในอารมณแหงอรูป

๑๘
อภิ.ปุ.อ. (ไทย) ๓/-/-/๒๑๕.
๑๙
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๓๔/๔๖๓.


บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ฌาน เปนตน
๘) มานะ ความถือตัว ความสําคัญตน
๙) อุทธัจจะ ความฟุงซาน จิตใจไมสงบ
๑๐) อวิชชา ความไมรู ไมรูอริยสัจ ๕
ขอต น ชื่ อโอรั มภาคิย สั งโยชน ๕ ขอหลั งชื่ ออุทธั มภาคิย สั งโยชน
พระโสดาบันละสังโยชน ๓ ขอตนได พระสกทาคามีทําสังโยชนที่ ๔ และที่
๕ให เ บาบาง พระอนาคามี ล ะสั ง โยชน ๕ ข อ ต น ได ห มด พระอรหั น ต ล ะ
สั ง โยชน ไ ด ห มดทั้ ง ๑๐ ข อ ๒๐ ให ล ดลงหรื อ หมดไป เป น ผู ที่ สั ต บุ รุ ษ
สรรเสริ ญ๒๑ เปน สาวกของพระพุทธเจา เป นผูควรแกทักษิณา ทานที่เขา
ถวายในบุ คคลเหลานี้มีผ ลมาก มีผ ลไพบูลย๒๒ ผูประกอบดวยปญญาเป น
เครื่องพิจารณาเห็นความเกิดและความดับ๒๓
นอกจากนี้ ในพระไตรปฎ ก พระสั มมาสั มพุทธเจ าไดตรั สว า พระ
อริยบุคคล หมายถึงผูเปนอยูดวยธรรม ๑๐ ประการ คือ
๑. เปนผูละองค ๕ ได คือ เปนผูละกามฉันทะได เปนผูละพยาบาท
ได เปนผูละถีนมิทธะไดเปนผูละอุทธัจจกุกกุจจะได เปนผูละวิจิกิจฉาได
๒. เปนผูประกอบดวยองค ๖ คือ ๑) เห็นรูปทางตาแลวไมดีใจ ไม
เสียใจ มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยู๒) ฟงเสียงทางหู แลวไมดีใจ ไมเสียใจ
มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยู ๓)ดมกลิ่นทางจมูกแลวไมดีใจ ไมเสียใจ มี
อุ เ บกขา มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะอยู ๔) ลิ้ ม รสทางลิ้ น แล ว ไม ดี ใ จ ไม เ สี ย ใจ มี
อุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยู ๕) ถูกตองโผฏฐัพพะทางกายแลวไมดีใจ ไม
เสียใจ มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยู ๖) รูธรรมารมณทางใจแลวแลวไมดีใจ
ไมเสียใจ มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะอยู
๓. เปนผูมีธรรมเปนเครื่องรักษาอยางเอก คือ เปนผูประกอบดวยใจ
๒๐
องฺ.ทสก.(ไทย) ๒๔/๑๓/๒๑.
๒๑
ขุ.ขุ.(ไทย) ๒๕/๖/๑๐.
๒๒
อฺง.นวก.(ไทย) ๒๓/๒๓๑/๔๘๘.
๒๓
ที.ปา.(ไทย) ๑๑/๒๙๓/๓๐๗.


บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ที่รักษาดวยสติ
๔. เปนผูมีอปสเสนธรรม ๔ ประการ คือ ๑)เปนผูพิจารณาแลวเสพ
หมายถึงพิจารณาแลวเสพปจจัย ๔ มีจีวรเปนตน ๒)เปนผูพิจารณาแลวอด
กลั้น หมายถึงพิจารณาแลวอดกลั้นตอความหนาวเปนตน ๓) เปนผูพิจารณา
แลวเวนหมายถึงพิจารณาแลวเวนชางดุราย หรือคนพาลเปนตน ๔) เปนผู
พิจารณาแลวบรรเทา หมายถึงพิจารณาแลวบรรเทาอกุศลวิตก มีกามวิตก
(ความตรึกในทางกาม) เปนตน
๕. เปนผูมีปจเจกสัจจะ๒๔บรรเทาได คือ ปจเจกสัจจะเปนอันมาก
คือเห็นวาโลกเที่ยงบาง โลกไมเที่ยงบาง ‘โลกมีที่สุดบาง โลกไมมีที่สุดบาง
ชีวะกับสรีระเปนอยางเดียวกันบาง ชีวะ๒๕กับสรีระเปนคนละอยางกันบาง
หลังจากตายแลวตถาคต๒๖เกิดอีกบาง หลังจากตายแลวตถาคตไมเกิดอีกบาง
หลั ง จากตายแล ว ตถาคตเกิ ด อี ก ก็ มี ไม เ กิ ด อี ก ก็ มี บ า ง หลั ง จากตายแล ว
ตถาคตเกิ ด อี ก ก็ ไ ม ใ ช ไม เ กิ ด อี ก ก็ ไ ม ใ ช บ า ง เหล า นั้ น ทั้ ง หมดของสมณ
พราหมณจํานวนมากอันภิกษุในธรรมวินัยนี้บรรเทาไดกําจัดได สละได คลาย
ได ปลอยวางได ละได สละคืน
๖. เปนผูมีการแสวงหาอันสละไดดี คือ เปนผูละการแสวงหากามได
ละการแสวงหาภพได ระงับการแสวงหาพรหมจรรยได
๗. เปนผูมีความดําริอันไมขุนมัว คือ เปนผูละความดําริในกามได
เปนผูละความดําริในพยาบาทได เปนผูละความดําริในวิหิงสาได
๘. เป น ผู มี ก ายสั ง ขารอั น ระงั บ ได คื อ เพราะละสุ ข และทุ ก ข ไ ด
เพราะโสมนัสและโทมนัสดับไปกอนแลว บรรลุจตุตถฌานที่ไมมีทุกข ไมมีสุข
มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา

๒๔
หมายถึง ความเห็นของแตละคนที่แตกตางกันไปโดยยึดถือวา “ความเห็นนี้
เทานั้นจริง ความเห็นนี้เทานั้นจริง” (องฺ.ทสก.อ. (ไทย) ๕/๒/-/๓๒๔.X
๒๕
หมายถึงวิญญาณอมตะ หรืออาตมัน อภิ.ปุ.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๑๒๙.
๒๖
ตถาคต ในที่นี้เปนคําที่ลัทธิอื่นใชมากอนพุทธกาล หมายถึงอัตตา (อาตมัน)
ไมไดหมายถึงพระพุทธเจา อรรถกถาอธิบายวาหมายถึงสัตว ที.สี.อ.(ไทย) ๑/๒/-/๑๐๘.


บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๙. เปนผูมีจิตหลุดพนไดดี คือ เปนผูมีจิตหลุดพนจากราคะ หลุดพน
จากโทสะ และหลุดพนจากโมหะ
๑๐. เปนผูมีปญญาหลุดพนไดดี คือ รูชัดวา ราคะ เราละไดเด็ดขาด
ตัดรากถอนโคนเหมือนตนตาลที่ถูกตัดรากถอนโคนไปแลว เหลือแตพื้นที่
เกิด ขึ้น ตอไปไมได รูชัด วา โทสะ ฯลฯ รู ชัดว า โมหะ เราละไดเด็ ดขาด ..
เกิดขึ้นตอไปไมได๒๗
พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสถึงพระอริยบุคคลวา
๑. ผูเปนอสมยวิมุตตะ (ผูที่อาสวะ สิ้นไปเพราะเห็นดวยปญญา) ใน
อริยวิโมกข (อริยวิโมกข๒๘วิโมกข แปลวา ความหลุดพน หมายถึงภาวะที่จิต
หลุดพนจากสิ่งรบกวนและนอมดิ่งไปในอารมณนั้นหมายถึง โลกุตตระ)
๒. ผูเปนอกุปปธรรม (บุคคลผูไดสมาบัติมีรูปหรืออรูปเปนอารมณ
ตามที่ตองการ โดยไมยาก ไมลําบาก จะเขาหรือออกจากสมาบั ติได ตาม
สมาบัติที่ตอ งการ ตามกําหนดเวลาที่ตองการ) ในอริยวิโมกข
๓. ผู เ ป น อปริ ห านธรรม (บุ ค คลผู ไ ด ส มาบั ติ มี รู ป หรื อ อรู ป เป น
อารมณ ตามที่ตองการ โดยไมยาก ไมลําบากจะเขาหรือออกจากสมาบัติได
ตามสมาบัติที่ตองการตามกําหนดเวลาที่ตองการ) ในอริยวิโมกข๒๙
พระอริยบุคคลเปน ๔ ชั้น คือ
๑) พระโสดาบัน ผูเขาถึงกระแสพระนิพพาน คือเขาสูมรรคโสดาบัน
หมายถึงผูประกอบด วยอริย มรรคมีองค ๘ เพราะคําว า โสตะเปน ชื่อของ
อริยมรรคมีองค ๘ ๓๐
๒) พระสกทาคามี ผูจะกลับมาเกิดในโลกมนุษยหรือเทวโลกอีกครั้ง
๓๑
เดียว

๒๗
องฺ.ทสก.(ไทย) ๒๔/๒๐/๓๙-๔๒.
๒๘
องฺ.อฏก.อ. (ไทย) ๔/-/-/๒๗๒.
๒๙
อภิ.ปุ.(ไทย) ๓๖/๑๘-๒๒/๑๔๙-๑๕๐.
๓๐
สํ.ม.(ไทย) ๑๙/๑๔๓๐-๑๔๓๓/๔๙๕.
๓๑
สํ.ม.อ.(ไทย) ๕/๒/-/๓๐๐.


บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๓) พระอนาคามี ผูไมกลับมาถือปฏิสนธิในกามาวจรภูมิอีกหรือกาม
โลก คือมนุษยโลก และเทวโลก๓๒
๔) พระอรหันต ผูหางไกลจากกิเลสโดยสิ้นเชิง๓๓
พระพุทธศาสนาถือวา พระอริยบุคคลเหลานี้เปนบุคคลผูประเสริฐ
กวาบุคคลทั้งปวง ทั้งในโลกนี้และเทวโลก รูแจงอริยสัจ ๔ อันเกิดจากการ
บําเพ็ญไตรสิกขาหมายถึงศีล สมาธิ และปญญา๓๔ จนใหทําศีล สมาธิ ปญญา
บริบูรณ สามารถละกิเลสคือสังโยชน ที่ผูกมัดจิตใจมนุษยไวกับความทุกขให
ลดหรือหมดไป กาวลวงพนจากภาวะปุถุชนเปนพระอริยบุคคล พระโสดาบัน
พระสกทาคามี พระอนาคามี สามารถทําใหศีล สมาธิ ปญญาสําเร็จไดเพียง
บางสวน กิเลสบางสวนยังคงเหลืออยูบาง หรือเบาบาง สวนพระอรหันตเปน
ผู สิ้ น กิ เ ลสคื อ สั ง โยชน แ ละความทุ ก ข ไ ด ห มดสิ้ น บริ บู ร ณ ด ว ยศี ล สมาธิ
ปญญา๓๕ สิ้นภพสิ้นชาติ ไมผุดไมเกิด หลุดพนจากสังสารวัฎ ไมตองเวียน
วายตายเกิดอีกตอไป๓๖ บรรลุเปาหมายของพุทธศาสนาคือพระนิพพานอัน
เปนประโยชนสูงสุด ในขณะเดียวกัน ความเปนพระอริยบุคคลชั้นสูงสุดมี
ความบริสุทธิ์จากอกุศลธรรมทั้งหลาย๓๗และปดกั้นจากอกุศลธรรมทั้งทาง
กาย ทางวาจา และทางใจ มุงทําประโยชนเพื่อสังคมมากกวาตนเอง
ประเภทของพระอริยบุคคล
ธรรมที่องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาไดตรัสไวนั้น เปนธรรมงาย
เป ดเผย ปรากฏ ไมมีเ งื่อนปม สงผลใหผู ปฏิ บัติ เป นพระอริย บุคคลหลาย
ประเภทตามกําลังแหงอินทรียแปลวาความเปนใหญในกิจ หมายถึงธรรมที่
เปนเจาการ ในการครอบงําหรือกําราบสิ่งที่เปนปฏิปกษในการปฏิบัติธรรม
๓๒
ขุ.อิต.ิ อ.(ไทย) ๑/๔/-/๖๐๐.
๓๓
วิ.มหา.(ไทย) ๑/-/๑.
๓๔
ขุ.อป.(ไทย) ๓๒/๕๒/๕๓๑.
๓๕
องฺ.ติก.(ไทย) ๒๐/๕๒๘/๓๑๗-๓๑๘.
๓๖
ขุ.ม.(ไทย) ๒๙/๖/๒๗.
๓๗
ม.มู.(ไทย) ๑๒/๔๓๔/๔๖๓.


บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
คือความขาดศรัทธา ความเกียจคราน ความเพิกเฉยปลอยปละละเลย ความ
ฟุงซาน และการขาดความรู ความหลงผิดหรือการไมใชปญญา มี ๕ อยาง
คือ สัทธา (ความเชื่อ) วิริยะ (ความเพียร) สติ (ความระลึกได หรือครองใจไว
กับ กิจ ที่ทํา ) สมาธิ (ความมีจิ ต ตั้ งมั่ น ) และป ญญา (ความรู ชั ด หรื อ ความ
เข า ใจ)และกํ า จั ด กิ เ ลสคื อ สั ง โยชน ที่ ผู ก มั ก ใจมนุ ษ ย ไ ว กั บ ทุ ก ข ทั้ ง ๑๐
ประการไดเพียงบางสวน หรือไดสําเร็จบริบูรณ ดังพระพุทธพจนที่พระผูมี
พระภาคไดตรัสไววา
พระศาสดาผูแสวงหาคุณอันยิ่งใหญจัดเปนบุคคลจําพวกที่ ๑
ในโลกพระสาวกผูต รัสรูตามพระศาสดาพระองคนั้น ผูอบรมตนแล ว
จัดเปนบุคคลจําพวกที่ ๒ พระสาวกอื่นๆ นอกจากนี้ ผูยังเปนพระเสขะ
กําลั งปฏิ บั ติ อยู เป น พหู สู ต ถึงพร อมด ว ยศีล และวั ต ร จั ด เป น บุ คคล
จําพวกที่ ๓ บุคคล ๓ จําพวกนี้เปนผูประเสริฐที่สุดในเทวดาและมนุษย
เปนผูสองแสงสวาง เผยแผสัจธรรมอยู ยอมเปดประตูสูนิพพาน ชวย
ปลดเปลื้องขนจํานวนมากออกจากโยคะ๓๘
พระอริยบุคคล ๒ จําพวก
๑. พระเสขะ ผูยังตองศึกษา คือ ศึกษาอธิสีลสิกขาบาง อธิจิตตสิก
ขาบาง อธิปญญาสิกขาบาง ผูศึกษาเพื่อกําจัด บรรเทา ละ สงบ ระงับ๓๙
๒. พระอเสขะ ผูไมตองศึกษา ผูศึกษาสิกขาเรียบรอยแลวผูงดเวน
เพราะหมดสิ้นราคะ เพราะหมดสิ้นโทสะ เพราะหมดสิ้นโมหะแลว อยูใน(อริ
ยวาสธรรม) แลว ประพฤติจรณธรรมแลว๔๐และพบอีกวาพระผูมีพระภาค
เจา ทรงตรัสเรียกอริยบุคคลทั้ง ๒ จําพวกวา ทักขิไณยบุคคลคือเปนผูควร
แกของที่เขานํามาถวาย ควรแกของตอนรับ ควรแกทักษิณา ควรแกการทํา
อั ญ ชลี เ ป น นาบุ ญ อั น ยอดเยี่ ย มของโลก ๔๑ ดั ง พุ ท ธพจน ว า “ในโลกนี้ มี
๓๘
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๘๓/๒๘๙.
๓๙
องฺ.ติก.(ไทย) ๒๐/๕๒๕/๓๑๒.
๔๐
วิ.ป.(ไทย) ๘/๒/๕.
๔๑
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๘๙/๑๐๔.


บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ทักขิไณยบุคคล ๒ จําพวก ไดแก พระเสขะ และพระอเสขะ เปนผูควรแก
ทักษิณาของทายกผูบูชาอยูเปนคนตรงทั้งทางกาย ทางวาจา ทางใจ”๔๒
พระเสขะ หมายถึงพระอริยบุคคล ๗ จําพวกคือ ๑) พระโสดาปตติ
มรรค ๒) พระโสดาปตติผล ๓) พระสกทาคามิมรรค ๔) สะสกทาคามิผล ๕)
พระอนาคามิ มรรค ๖) พระอนาคามิ ผ ล ๗) พระอรหั ต ตมรรค ๔๓ มีพ ระ
โสดาบัน เปนตนคือผูยังตองศึกษาตามไตรสิกขา คือศีล สมาธิ และ ปญญา
เพื่อละสังโยชน หรือประหาณกิเลส ยังไมบรรลุอรหัต ยังปรารถนาธรรมที่
เกษมจากโยคะอยางยอดเยี่ยมอยู๔๔ เพื่อบรรลุธรรมสูงขึ้น จนถึงเปนพระ
อรหันต คือ ผูประกอบดวยสัมมาทิฎฐิที่เกิดพรอมกับผล ๓ และมรรค ๔๔๕
ฯลฯ ประกอบดวยสัมมาสมาธิสัมมาทิฎฐิที่เกิดพรอมกับผล ๓ และมรรค ๔
เพราะเปนผูไดเจริญสติปฏฐาน ๔ ประการคือ
๑) พิจารณาเห็นกายในกายอยู มีความเพียร มีสั มปชั ญญะ มีส ติ
กําจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกได
๒) พิจารณาเปนเวทนาในเวทนาทั้งหลาย ฯลฯ
๓) พิจาณาเปนจิตในจิต ฯลฯ
๔) พิ จ ารณาเห็ น ธรรมในธรรมทั้ ง หลายอยู มี ค วามเพี ย ร มี
สัมปชัญญะ มีสติ กําจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกได๔๖
บางขอ เปนผูอาศัยแลวตั้งอยูในเสขภูมิ คือ
๑) รู ชั ด ตามความเป น จริ ง ว า นี้ ทุ กข นี้ ทุก ขสมุทั ย นี้ ทุ กขิ โ รธ นี้
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
๒) พิจารณา รูชัดวาสมณะหรือพราหมณอื่นนอกศาสนานี้ผูที่แสดง
ธรรมจริงแทแนนอนเหมือนพระผูมีพระภาคไมมีเลย
๔๒
องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๒๘๐/๗๙.
๔๓
ที.ปา. ๑๑/๓๓๓/๒๒๔.
๔๔
ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๓๖/๔๐., ม.อุ.(ไทย) ๑๔/๑๐๐/๘๑.
๔๕
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๒๕/๑๘.
๔๖
สํ.ม.(ไทย) ๑๙/๗๘๔/๒๕๑.

๑๐
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๓) รูชัดวา อินทรีย ๕ ประการคือ ๑) สัทธินทรีย ๒) วิริยนทรีย ๓)
สตินทรีย ๔) ปญญินทรีย อันมีคติ มีความเปนเลิศ มีผล และมีที่สุด ทานยัง
ไมถูกตองด วยนามกาย แต ทานเห็ น แจ งแทงตลอดด ว ยปญญา๔๗ เป น ผู มี
ธรรม ๖ ประการของพระเสขะ คือ ๑) ความเปนผูไมชอบการงาน ๒) ความ
เปนผูไมชอบการพูดคุย ๓) ความเปนผูไมชอบการนอนหลับ ๔) ความเปนผู
ไมชอบการคลุกคลีดวยหมู ๕) ความเปนผูคุมครองทวารในอินทรียทั้งหลาย
(สํารวมระวังอายตนะ ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ) ๖) ความเปนผูรู
จักประมาณในการบริโภค๔๘
พระอเสขะ หมายถึงพระอรหันตเป นผูศึกษาสิกขาเรียบร อยแล ว
เปนพระอรหั นตขีณาสพ อยูจบพรหมจรรยแลว ทํากิจที่ควรทําเสร็จแล ว
ปลงภาระไดแลว บรรลุประโยชนตนโดยลําดับแลว สิ้นภวสังโยชนแลวสิ้นภว
สังโยชนแลว หมายถึง สิ้นสังโยชน ๑๐ ประการ คือ ๑) กามราคะ ๒) ปฏิฆะ
๓) มานะ ๔) ทิฏฐิ ๕) วิจิกิจฉา ๖) สีลัพพตปรามาส ๗) ภวราคะ ๘) อิสสา
๙) มัจฉริยะ ๑๐) อวิชชา สังโยชนเหลานี้เรียกวา ภวสังโยชน เพราะผูกพัน
หมูสัตวไวในภพนอยภพใหญ๔๙
พระอริยบุคคล ๔ คู คือ ๘ บุคคล
พระผูมีพระภาคเจ าทรงตรั สว าในพระธรรมวิ นัย นี้มีรั ตนะมาก มี
รัตนะหลายชนิด คือสติปฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย ๕
พละ ๕ โพชฌงค ๗ อริยมรรคมีองค ๘๕๐มากเปนที่อยูของพระอริยบุคคล ๘
จําพวกเปรียบดวยมหาสมุทรเปนที่อยูของสัตวขนาดใหญแลวยังคุณใหพระ
ศาสนาดํารงอยู๕๑
 คือ

๔๗
สํ.ม.(ไทย) ๑๙/๑๐๓๒/๓๓๗.
๔๘
องฺ.ฉกฺก.(ไทย) ๒๒/๓๐๒/๔๗๗.
๔๙
ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๘/๔๗.
๕๐
องฺ.อฏก.(ไทย) ๒๓/๑๐๙/๒๕๑.
๕๑
วิ.จู.(ไทย) ๗/๕๑๒/๓๐๙.

๑๑
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
พระอริยบุคคล ๔ คู ๘ บุคคล หมายถึงพระอริยบุคคล ๔ คู๕๒ จัด
ตามขั้นการบรรลุมรรค ๔ ผล ๔ จึงรวมเปน ๘ บุคคล ซึ่งจําแนกตามกิเลสคือ
สังโยชนที่ละไดในแตละขั้นพรอมไปกับความกาวหนาในการบําเพ็ญไตรสิกขา
คือศีล สมาธิ ปญญา อันเปนบุคคลผูควรแกของที่เขานํามาถวาย ควรแกของ
ตอนรับ ควรแกทักษิณา ควรแกการทําอัญชลี เปนนาบุญอันยอดเยี่ยมของ
โลก ไดแก
๑. พระผูดํารงอยูในโสดาปตติมรรค และพระผูบรรลุโสดาปตติผล
๒. พระผูดํารงอยูในสกทามิมรรค และพระผูบรรลุสกทามิผล
๓. พระผูดํารงอยูในอนาคามิมรรค และพระผูบรรลุอนาคามิผล
๔. พระผูดํารงอยูในอรหัตตมรรค และพระผูบรรลุอรหัตตผล๕๓
โสดาปตติมรรคบุคคล คือบุคคลในขณะที่มรรคจิตเกิดขึ้นเปนครั้ง
แรก ที่เรียกวาโสดาปตติมรรคจิต โสดาปตติมรรคบุคคลนี้นับเปนอริยบุคคล
ขั้นแรกและไดชื่อเปนผูเขาถึงกระแสนิพพาน มรรคจิตในขั้นนี้จะทําลายกิเลส
ไดดังนี้คือ (ในที่นี้จะใชกิเลส ๑๐ ประกอบ อันเปนรูปแบบประเภทหนึ่งของ
การแบงประเภทของกิเลส เปนหลัก) มิจฉาทิฏฐิกิเลส และวิจิกิจฉากิเลส
โสดาปตติผลบุคคล หรือเรียกกันทั่วไปวา โสดาบัน คือผูที่ผานโสดา
ปตติมรรคมาแลว โดยคุณสมบัติที่สําคัญของโสดาบันคือ ปดกั้นอบายภูมิโดย
เด็ดขาด มีความแนนอนที่จะบรรลุพระอรหันตในวันขางหนา
สกทาคามิมรรคบุคคล คือบุคคลในขณะมรรคจิตเกิดขึ้นเปนครั้งที่
๒ ละกิเลสไดเทากับพระโสดาบัน แตกิเลสที่เหลือใหเบาบางลง(ราคะ โทสะ
และโมหะ)
สกทาคามีผลบุคคล คือผูที่ผานสกทาคามีมรรคมาแลว คุณสมบัติที่
สําคัญของสกทาคามีผลบุคคล คือ ถายังไมสามารถบรรลุธรรมที่สูงขึ้นไปได
ในชาตินี้ก็จะกลับมาเกิดในโลกมนุษยหรือเทวโลกอีกเพียงครั้งเดียว
อนาคามิมรรคบุคคล คือ บุคคลในขณะมรรคจิตเกิดขึ้นเปนครั้งที่ ๓

๕๒
องฺ.จตุกฺก.(ไทย) ๒๑/๓๔/๕๔.
๕๓
อภิ.ปุ.(ไทย) ๓๖/๑๕๐/๒๒๙.

๑๒
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ที่เรียกวาอนาคามิมรรคจิตเพราะ สามารถทําลายกิเลสไดเด็ดขาดเพิ่มอีก ๒
ตัวคือกามฉันทะ และปฏิฆะ
อนาคามิผลบุคคล คือผูที่ผานอนาคามิมรรคมาแลว คุณสมบั ติ ที่
สําคัญของอนาคามิผลบุคคล คือ เมื่อหมดอายุขัยแลวไปเกิดในพรหมโลกชั้น
สุทธาวาส เปนรูปพรหมชั้นสูงอันเปนที่อยูของผูที่ไดบรรลุเปนพระอริยเจา
ชั้นอนาคามี
อรหัตตมรรคบุคคล คือบุคคลในขณะมรรคจิตเกิดขึ้นเปนครั้งที่ ๔
ที่เรียกวาอรหัตตมรรคจิต เพราะทําลายกิเลสที่เหลือทุกตัวไดอยางหมดสิ้น
จนไมมีกิเลสใดๆ เหลืออีกเลย
อรหัตผลบุคคล หรือที่เรียกกันทั่วไปวา พระอรหันต คือ ผูที่หางไกล
จากบาปที่กอใหเกิดความเศราหมอง ละกิเลสที่นําไปสูภพใหมไดแลว

๒. ลักษณะของผูบรรลุโสดาบัน
โสดาบัน จึงแปลวา ถึงกระแส หมายถึง ผูเขาถึงกระแสที่จะนําไปสู
พระนิพพาน๕๔ จะตองไดบรรลุพระอรหัตผลในอนาคตอยางแนนอน เปน
บุคคลผูประกอบดวยอริยมรรคมีองค ๘ ทางอันประเสริฐ ๘ ประการ ไดแก
๑) สัมมาทิฎฐิ เห็นชอบ ๒) สัมมาสังกัปปะ ดําริชอบ ๓) สัมมาวาจา เจรจา
ชอบ ๔) สัมมากัมมันตะ ทําการงานชอบ ๕) สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ ๖)
สัมมาวายามะเพียรชอบ ๗) สัมมาสติ ระลึกชอบ ๘) สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมั่น
ชอบ ๕๕ เพราะคํ า ว า โสตะ เป น ชื่ อ ของอริ ย มรรคมี อ งค ๘ ๕๖ ดั ง ที่
พระพุทธเจาได ต รัส กับ พระสารี บุต รว า “สารี บุต ร ที่เรี ยกว า โสดา โสดา
โสดา เป น อย า งไร” พระสารี บุ ต รกราบทู ล ว า “ข า แต พ ระองค ผู เ จริ ญ
อริยมรรคมีองค ๘...เปนโสดา”๕๗ พระพุทธเจาตรัสวา“สารีบุตรที่เรียกวา ผู
๕๔
พระพรหมคุ ณ าภรณ (ป.อ. ปยุ ตฺ โ ต), พจนานุ ก รมพุ ท ธศาสน ฉบั บ
ประมวลศัพท, พิมพครั้งที่ ๑๒, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, ๒๕๕๑), หนา ๔๔.
๕๕
สํ.ม. (บาลี) ๑๙/๑๐๐๑/๓๐๐.สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๑๐๐๑/๔๙๕.
๕๖
ม.มู(ไทย) ๑๒/-/๕๘.

๑๓
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๕๗
๘...เปนโสดา” พระพุทธเจาตรัสวา“สารีบุตรที่เรียกวา ผูบรรลุโสดาคือ
ใคร”พระสารี บุ ต รกราบทูล ว า “ขาแต พระองคผู เ จริ ญ ผู ใดประกอบด ว ย
อริยมรรคมีองค ๘ นี้เรียกวา ผูบรรลุโสดา...”๕๘
ตามคัมภีรอรรถกถาเรียกวา ธุวสีโล(ผูมีศีลประจํา) บาง ตสีโล(ผูมี
ศีลมั่นคง) บาง โสตาปนฺโน(ผูเขาถึงผลดวยมรรคที่ เรียกวา โสตะ) บาง อวินิ
ปาตธมฺโม(มีอันไมตกไปในอบายภูมิ ๔ เปนสภาพ) บาง นิยโต(ผูเที่ยวดวย
คุณธรรมเครื่ องกําหนดคือโสดาป ตติ มรรค) บาง สมฺพฺปรายโน(มีปญญา
เครื่องตรัสรูพรอม คือ มรรค ๓ เบื้องสูง ที่เปนไปในเบื้องหนา) บาง๕๙
ทิฏสมฺปนฺโน ไดแก พระอริยสาวก คือพระโสดาบันผูถึงพรอมดวย
ปญญาในมรรค พระโสดาบันนั้นมีชื่อมาก เชน ชื่ อวา ทิฏส มฺปนฺโน ผูถึง
พรอมดวยทิฏิทสฺสนนมฺปนฺโน ผูถึงพรอมดวยทัสสนะ อาคโต อิมํสทฺธมฺมํ ผู
มาถึงพระสัทธรรม ปสฺสตฺอิมํสทฺธมฺมํ ผูเห็นพระสัทธรรมอยู เสกฺขานาเณร
สมนฺนาคโต ผูประกอบดวยญาณของพระเสกขะ เสกฺขาย วิชฺชาย สมนฺนาค
โค ผูประกอบดวยวิชชาของพระเสกขะ ธฺมโสตสมาปนฺโน ผูถึงพรอมดวย
กระแสธรรม อริ โ ย นิ พฺ เ พธิ ก ปฺ โ  ผู มี ป ญ ญาเครื่ อ งชํ า แรกกิ เ ลสอั น
ประเสริฐ อมตทฺวารํอาหจฺจติฎ ติ ผูตั้งอยูใกลประตูพระนิพพาน๖๐
พระโสดาบัน๖๑ หมายถึง ผูเขาถึงกระแสพระนิพพาน คือเขาสูมรรค
เป น ผู ป ระกอบด ว ยอริ ย มรรคมี อ งค ๘ เพราะคํ า ว า โสตะ เป น ชื่ อ ของ
อริ ยมรรคมีองค ๘ ๖๒ คือเดิ นทางถูกต องตามอริ ยมรรคอย างแทจ ริง รู ชั ด
ความเกิด ความดับ คุณ โทษ และเครื่องสลัดออกจากอินทรีย ๕ ประการ

๕๗
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๑๔๓๐/๔๙๕.
๕๘
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๑๔๓๒/๔๙๕.
๕๙
องฺ.ติก.อ.(ไทย) ๑/๓/-/๔๕๗.
๖๐
องฺ.ทุก.อ.(ไทย) ๑/๒/-/๑๔๘.
๖๑
ม.มู.(ไทย) ๑๒/๕๔/๕๘.
๖๒
องฺ.ทสก.(ไทย) ๒๔/๖๔/๑๔๒.

๑๔
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
อินทรีย ๕ ประการ คือ ๑) สัทธินทรีย ๒) วิริยินทรีย ๓) สตินทรีย ๔) สมาธิ
นทรี ย ๕ ) ป ญ ญิน ทรี ย ๖๓ตามความเป น จริ ง เป น ผู ไ มต กไปในอบายภู มิ ๔
อบายภูมิ ๔ คือนรก กําเนิดสัตวดิรัจฉาน แดนเปรต และพวกอสูรกาย๖๔ มี
ความแนนอนที่จะบรรลุเปนพระอรหันตในวันขางหนา ดังปรากฏขอความใน
คัมภีรสังยุตตนิกาย มหาวารวรรควา
พระโสดาบันเปนผูมั่นคง เลื่อมใสยิ่งในพระพุทธเจาวา แมเพราะ
เหตุ นี้ พระผู มีพ ระภาคพระองคนั้ น ฯลฯ เป น ศาสดาของเทวดาและ
มนุ ษ ย ทั้ ง หลาย เป น พระพุ ท ธเจ า เป น พระผู มี พ ระภาคเป น ผู มั่ น คง
เลื่อมใสยิ่งในพระธรรม ฯลฯ ในพระสงฆ ฯลฯ ไมมีหาสปญญามีปญญา
ราเริง เพราะเปนผูทําสติปฎฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย
๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ และอริ ย มรรคมีองค ๘ ให เ จริ ญ ๖๕ ไมมีช วน
ปญญาชวนปญญา มีปญญารวดเร็ว เพราะแลนไปเร็วในรูปที่เปนอดีต
อนาคต และปจจุบัน และแลนไปเร็วในนิพพาน อันเปนที่ดับชาติ ชรา
มรณะ โดยพิจารณาทําใหแจมแจง วามีความดับไปเปนธรรมดา๖๖ ทั้งไม
ถึงพรอมดวยวิมุตติ เขาจึงเปนพระโสดาบัน ไมมีทางตกต่ํา มีความแนน
นอนที่จะสําเร็จสัมโพธิในวันขางหนา เพราะสังโยชน ๓ ประการสิ้นไป
แมบุคคลนี้ก็พนจากนรก กําเนิดสัตวดิรัจฉาน ภูมิแหงเปรต อบาย ทุคติ
และวินิบาต๖๗
พระโสดาบัน คือผูรูชัดคุณ โทษ และเครื่องสลัดออกจากอินทรีย ๕
อิน ทรี ย ๕ ประการ คื อ ๑) สั ท ธิ น ทรี ย ๒) วิ ริ ย นทรี ย ๓) สติ น ทรี ย ๔)
สมาธิทรีย ๕) ปญญินทรีย ซึ่งเปนตามความเปนจริง ปดกั้นอบายภูมิ ๔ มี
ความแนนอนที่จะสําเร็จมรรคเบื้องสูง ๓ (สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค
๖๓
สํ.ม.(ไทย) ๑๙/๘๔๕/๒๘๓.
๖๔
ม.มู.อ.(ไทย)๑/-/-/๔๒๖.
๖๕
ม.อุ.อ.(ไทย) ๓/๒/-/๕๗.
๖๖
ม.อุ.อ.(ไทย) ๓/๒/-/๕๘.
๖๗
สํ.ม.(ไทย) ๑๙/๑๕๔๓/๕๓๔.

๑๕
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
และอรหัตตมรรค) รูแจงอริยสัจ๖๙ ไมถือกําเนิดในภพที่ ๘ไมถือกําเนิดใน
๖๘

ภพที่ ๘ หมายถึ ง ไม เ กิ ด ในภพที่ ๘ เพราะท า นเหล า นั้ น ละสั ง โยชน ๓


ประการ(สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส) ไดแลว และจะเวียนเกิด
เวี ย นตายในเทวโลกและมนุ ษ ยโลกอย า งมากไม เ กิ น ๗ ครั้ ง แล ว บรรลุ
อรหัตตผล เพราะนามรูปดับไปในภพที่ ๗ นั้นเอง๗๐ ไมทําอภิฐาน ๖อภิฐาน
๖ หมายถึงฐานะอันหนัก ๖ ประการ ไดแก ๑) ฆามารดา ๒) ฆาบิดา ๓) ฆา
พระอรหันต ๔) ทําโลหิตของพระพุทธเจาใหหอ ๕) ทําใหสงฆแตกกัน ๖)
เข า รี ต ศาสดาอื่ น ๗๑เข า ถึ ง กระแสแห ง พระนิ พ พาน เดิ น ทางถู ก ต อ งตาม
อริ ย มรรคอย า งแท จ ริ ง เป น ครั้ ง แรก ละสั ง โยชน ๓ ประการ ๗๒ คื อ
สักกายทิฎฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส พรอมกับการบรรลุโสดาปตติมรรค
ไดแลวจะปรินิพพานภายในไมเกิน ๗ ชาติ๗๓
เรียกบุคคลผูเปนโสดาบันวา บรรลุโสดาปตติผล ก็เพราะผูไดบรรลุ
เกิดธรรมจักษุ (ดวงตาเห็นธรรม) ที่ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน คือรูวา สิ่ง
ใดสิ่งหนึ่ง มีการเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดมีการดับไปเปนธรรมดา๗๔
อีกนัยหนึ่ง พระโสดาบัน คือผูทีสมบูรณดวยอริยมรรคมีองค ๘ อัน
เปนทางสายกลางคือ มัชฌิมาปฏิปทาหมายถึง อริยมรรคมีองค ๘๗๕ดังเชน
พระอัญญาโกณฑัญญะ ผูเกิดธรรมจักษุธรรมจักษุ หมายถึงดวงตาเห็นธรรม
คือ โสดาปตติมรรคญาณ๗๖ อันปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน วา “สิ่งใดสิ่ง

๖๘
สํ.ม.(ไทย) ๑๙/๘๔๕/๒๘๓.
๖๙
ขุ.สุ.(ไทย) ๒๕/๒๓๒/๕๕๕.
๗๐
ขุ.สุ.อ. (ไทย) ๑/๖/-/๑๖๓-๑๖๔.
๗๑
ขุ.สุ.อ. (ไทย) ๑/๖/-/๑๖๖.
๗๒
ม.มู.อ.(ไทย)๑/๒/-/๑๕.
๗๓
ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/๑๕๑/๒๓๐.
๗๔
สํ.ม.(ไทย) ๑๙/๑๖๗๑/๕๙๕.
๗๕
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๑๖๖๔/๕๙๒.
๗๖
สํ.ม.(ไทย) ๑๙/๑๖๗๑/๕๙๕.

๑๖
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
หนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้นทั้งปวงมีความดับไปเปนธรรมดา” เมื่อ
ไดฟงธัมมจักกัปปวัตตนสูตร สําเร็จเปนพระโสดาบันองคแรก และนอกจากนี้
พระผู มีพระภาคเจ ายังตรั ส ถึงพระโสดาบัน ไว อีกว า พระโสดาบั นคือผู ล ะ
ธรรม ๓ ประการไดอยางสิ้นเชิง คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรา
มาส๗๗ผูไมถือกําเนิดในภพที่ ๘หมายถึงไมเกิดในภพที่ ๘ เพราะทานนั้นละ
สังโยชน ๓ ประการ (สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส) ไดแลว และ
จะเวียนเกิดเวียนตายในเทวโลกและมนุษยโลกอยางมากไมเกิน ๗ ครั้ง แลว
บรรลุอรหัตตผล เพราะนามรูปพนไปในภพที่ ๗ นั่นเอง๗๘ไมทําอภิฐาน ๖
หมายถึงฐานะอันหนัก ๖ ประการ ไดแก ๑) ฆามารดา ๒) ฆาบิดา ๓) ฆา
พระอรหันต ๔) ทําโลหิตของพระพุทธเจาใหหอ ๕) ทําใหสงฆแตกกัน ๖)
เขารีตศาสดาอื่น๗๙ ผูประกอบดวยธรรม ๔ ประการ ไมมีทางตกต่ําไมมีทาง
ตกต่ํา หมายถึงไมตกไปในอบาย ๔ คือ นรก กําเนิดสัตวดิรัจฉาน แดนเปรต
และพวกอสู ร๘๐ มีความแนนอนที่จ ะสํ าเร็ จสัมโพธิสัมโพธิ ในที่นี้ หมายถึง
มรรค ๓ เบื้องสูง (สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค)๘๑ ใน
วันขางหนา ดังปรากฏขอความในคัมภีรสังยุตตนิกายวา
โสดาบันเปนผูมั่นคง เลื่อมใสยิ่งในพระพุทธเจาวา ‘แมเพราะเหตุนี้
พระผู มีพระภาคพระองคนั้ น ฯลฯ เป น ศาสดาของเทวดาและมนุ ษย
ทั้งหลาย เปนพระพุทธเจา เปนพระผูมีพระภาค’ เปนผูมั่นคง เลื่อมใส
ยิ่งในพระธรรม ฯลฯ ในพระสงฆ ฯลฯ ไมมีหาสปญญา๘๒ ไมมีชวน

๗๗
ขุ.สุ.(ไทย) ๒๕/๒๓๓/๕๕๕.
๗๘
ขุ.สุ.อ. (ไทย) ๑/๖/-/๑๖๓-๑๖๔.
๗๙
ขุ.สุ.อ. (ไทย) ๑/๖/-/๑๖๖.
๘๐
สํ.ม.(ไทย) ๑๙/๓๕๘/๒๘๓.
๘๑
ที.ม.อ. (ไทย) ๒/๑/-/๑๔๕.
๘๒
หาสปญญา มีปญญาราเริง เพราะเปนผูทําสติปฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิ
บาท ๔ อินทรีย ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ และอริยมรรคมีองค ๘ ใหเจริญ (ม.อุ.อ.
(บาลี) ๓/๙๒/๕๗)

๑๗
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๘๓
ปญญา ทั้งยังไมถึงพรอมดวยวิมุตติ เขาจึงเปนพระโสดาบัน ไมมีทาง
ตกต่ํา มีความแนนอนที่จะสําเร็จสัมโพธิในวันขางหนา เพราะสังโยชน ๓
ประการสิ้นไป แมบุคคลนี้ก็พนจากนรก กําเนิดสัตวดิรัจฉาน ภูมิแหง
เปรต อบาย ทุคติ และวินิบาต๘๔
การละสังโยชนของพระโสดาบัน
พระโสดาบันละสังโยชน ได ๓ ประการ คือ
๑) สักกายทิฏฐิ ความเห็นผิดวาเปนตัวเรา ของเรา ยังติดแนนใน
สมมติวาเปนตัวตน เรา เขา
๒) วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัยในพระรัตนตรัย ในความเปนไปของ
ชีวิต เปนตน ทําใหไมมั่นใจที่จะดําเนินชีวิตไปตามหลักธรรม
๓) สี ลั พ พตปรามาส ความถื อ มั่น ในศีล พรต คื อ ความยึ ด ถื อ ใน
กฎระเบียบอยางงมงาย เห็นวาจะบริสุทธิ์หลุดพนไดเพียงเพราะศีล๘๕
พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา “ผูเปนพระโสดาบันยอมมีจิตสงัดจาก
สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ทิฏฐานุสัย วิจิกิจฉานุสัย และเหลา
กิเลสที่อยูในพวกเดียวกับสักกายทิฏฐิ เปนตนนั้น”๘๖
พระโสดาบันสามารถประหาณอกุศลกรรมบถ ๖ ประการไดแลว
คือ ฆาสัตว ลักทรัพย ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ พูดสอเสียดและมิจฉาทิฏฐิ
ไดเด็ดขาดแลว๘๗ ชื่อวาผูถึงพรอมดวยทัสสนะ ประกอบดวยวิชชาของพระ
เสขะ ผูเขาถึงกระแสธรรม ผูยืนจรดประตูอมตะ๘๘

๘๓
ชวนปญญา มีปญญารวดเร็ว เพราะแลนไปเร็วในรูปที่เปนอดีต อนาคต และ
ปจจุบัน และแลนไปเร็วในพระนิพพาน อันเปนที่ดับชาติ ชรา มรณะ โดยพิจารณาทํา
ใหแจมแจง วามีความดับไปเปนธรรมดา (ม.อุ.อ. (บาลี) ๓/๙๒/๕๗-๕๘)
๘๔
สํ.มหา. (ไทย) ๑๙/๑๐๒๑/๕๓๔.
๘๕
องฺ.ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๓๖๑/๔๘๘. ขุ.ม.อ. (บาลี) ๗/๙๘.
๘๖
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๓๒/๒๒๓., ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๗/๓๓.
๘๗
องฺ.ติก. อ. (ไทย) ๑/๓/-/๔๕.
๘๘
องฺ.ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๙๐/๖๑๕, องฺ.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๒๖๘/๔๐๒,

๑๘
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
นอกจากนี้ยังสามารถกําจัดราคะ โทสะ โมหะอยางหยาบที่จะทําให
ไปตกอบายภูมิได และละอุปาทาน ๓ คือ ทิฏุปาทาน สีลัพพตุปาทาน
และอัตตวาทุปาทานไดเด็ดขาด๘๙
ประเภทของพระโสดาบัน
แมพระโสดาบันบุคคลจะสามารถละกิเลสได เพียง ๒ อยาง แตทานก็
ตัดสังสารวัฏลงไดมาก ตามประเภทแหงพระโสดาบัน ๓ ประเภท ดังนี้
๑) เอกพีชี โ สดาบั น ได แ ก พระโสดาบั น ที่ ส ร า งบารมีม าแก ก ล า
มากดวยปญญาเจริญสมถภาวนามานอย เจริญวิปสสนามามาก เมื่ออินทรีย
แกกลาก็สามารถบรรลุมรรค ผลไดอยางรวดเร็ว พระโสดาบันประเภทนี้จะ
ปฏิ ส นธิ อี กเพีย งชาติ เ ดี ย วก็จ ะบรรลุ อรหั ต ตผล ๙๐ เป น พระอริ ย บุ คคลใน
พระพุทธศาสนาแลวดับขันธเขาสูปรินิพพาน๙๑
๒) โกลังโกลโสดาบัน ไดแก พระโสดาบันที่สรางบารมีมาปานกลาง
มีปญญาและสมาธิเทาๆ กัน เจริญวิปสสนาภาวนาและสมถภาวนามาพอๆ
กัน เมื่ออินทรียแกกลาก็สามารถบรรลุมรรคผลไดอยางปานกลาง ประเภทนี้
จะปฏิ สนธิในมนุษยภู มิห รือเทวภู มิอีก ๒-๖ ชาติเ ปน อย างมากก็จะบรรลุ
อรหัตตผล เปนพระอริยบุคคลแลวดับขันธเขาสูปรินิพพาน๙๒
๓) สั ต ตั กขัต ตุ ป รมโสดาบั น ได แก พระโสดาบั น ที่ส ร างบารมีม า
อยางออน มีสมาธิมาก แตปญญานอย เจริญวิปสสนาภาวนามานอย เมื่อ
อินทรียแกกลาก็สามารถบรรลุมรรคผล อยางเชื่องชา อยางไรก็ตามพระโสดาบัน
ประเภทนี้ จะปฏิ สนธิ ในมนุ ษยภู มิหรื อเทวภู มิอี กเพี ยง ๗ ชาติ ๙๓ ก็ จะบรรลุ
อรหัตตผล เปนพระอริยบุคคลในพุทธศาสนาแลวดับขันธเขาสูปรินิพพาน๙๔
๘๙
ดูใน ขุ.อิต.ิ อ. (ไทย) ๑/๔/-/๔๑๕., ขุ.อุ.อ. (ไทย) ๑/๓/-/๓๗๒.
๙๐
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๕๑/๒๓๐.
๙๑
ดูใน องฺ.ติก.อ. (บาลี) ๒/๘๘/๒๔๒, องฺ.ติก.ฏีกา (บาลี) ๒/๘๘/๒๓๗.
๙๒
ดูใน อภิ.ปุ. (บาลี) ๓๖/๓๒/๑๒๒-๑๒๓, อภิ.ปฺจ.อ. (บาลี) ๓๒/๕๔.
๙๓
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๕๑/๒๓๐.
๙๔
ดูใน อภิ.ปุ. (บาลี) ๓๖/๓๑/๑๒๒, องฺ.ติก.อ. (บาลี) ๒/๘๗/๒๔๒.

๑๙
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้

ศีล สมาธิ ปญญาของพระโสดาบัน


พระโสดาบันเปนผูมีอริยกันตศีลบริบูรณ๙๕ คือศีลที่บริสุทธิ์ ไมมีราคี
ดวยตัณหาและทิฏฐิ เพราะเปนศีลที่เกิดจากคุณธรรมภายใน ไมมีกิเลสเปน
เหตุให ละเมิด เป น ไปเองตามปกติ ธ รรมชาติ โดยไมต องคอยยึ ด ถือเอาไว
เรียกวา “อปรามัฏฐศีล”๙๖ มีสมาธิพอประมาณ มีปญญาพอประมาณ ไมมี
ทางตกต่ํา๙๗”ไดอีก ดังที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไววา
ภิ ก ษุ ใ นธรรมวิ นั ย นี้ มี ป กติ ทํ า ศี ล ให บ ริ บู ร ณ มี ป กติ ทํ า สมาธิ พ อ
ประมาณ มีปกติทําปญญาพอประมาณ ภิกษุนั้นลวงละเมิดสิกขาบท
เล็กนอย๙๘บาง ออกจากอาบัติบาง ขอนั้นเพราะเหตุไร เพราะในการ
ตองอาบัติและการออกจากอาบัติเล็กนอยนี้ เราไมกลาวความเปนคนไม
เหมาะสม (แก ม รรคผล) ไว แต สิ ก ขาบทเหล า ใด เป น เบื้ อ งต น แห ง
พรหมจรรย๙๙ สมควรแกพรหมจรรย ภิกษุนั้นมีศีลประจําตัวและมีศีล
มั่นคงในสิกขาบทเหลานั้น ศึกษาในสิกขาบททั้งหลาย เพราะสังโยชน ๓
ประการสิ้นไป เธอจึงเปนโสดาบัน ไมมีทางตกต่ํา มีความแนนอนที่จะ
สําเร็จสัมโพธิ๑๐๐ ในวันขางหนา๑๐๑
“เมือ่ ใด อริยสาวกระงับภัยเวร ๕ ประการไดแลวประกอบดวยองค
เครื่องบรรลุโสดาบัน ๔ ประการ เห็นแจงแทงตลอดอริยญายธรรม๑๐๒..
๙๕
คือ ศีลที่พระอริยะชื่นชม หมายถึง ศีลที่ประกอบดวยมรรคและผล คือ
ความสํารวมทุกชนิด ที.ม.อ. (บาลี) ๑๕๙/๑๔๖, องฺ.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๒/๕๒/๓๔๙.
๙๖
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๓๗/๕๗. เปนศีลที่ตัณหาและทิฏฐิไมเกาะเกี่ยว และใครๆ
ไมสามารถปรามาสไดวา ทานเคยตองอาบัตินี้มา
๙๗
ไมตกไปในอบาย ๔ อีกแลว ดูใน องฺ.ติก.อ. (บาลี) ๒/๘๗/๒๔๒.
๙๘
อาบัติที่เหลือ เวนปาราชิก ๔ ดูใน องฺ.ติก.อ. (บาลี) ๒/๘๗/๒๔๑.
๙๙
อาบัติปาราชิก ๔ ดูใน องฺ.ติก.ฏีกา (บาลี) ๒/๘๗/๒๓๔.
๑๐๐
สัมโพธิ หมายถึง มรรค ๓ เบื้องสูง คือ สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และ
อรหัตตมรรค) (องฺ.ติก.อ. (บาลี) ๒/๘๗/๒๔๒, องฺ.ติก.ฏีกา. (บาลี) ๒/๘๗/๒๓๕)
๑๐๑
องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๘๓/๓๑๓.
๑๐๒
มรรคพรอมทั้งวิปสสนา ดูใน องฺ.ทสก.อ. (บาลี)๓/๙๑-๙๒/๓๖๗.

๒๐
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
เมื่อนั้น อริยสาวกนั้น เมื่อหวังอยูพึงพยากรณตนเองวา เรามีนรกสิ้นแลว
มีกําเนิดสัตวดิรัจฉานสิ้นแลว มีภูมิแหงเปรตสิ้นแลว มีอบาย ทุคติและ
วินิบาต๑๐๓ สิ้นแลว เปนโสดาบันแลว ไมมีทางตกต่ํา มีความแนนอนที่
จะสําเร็จสัมโพธิ ในวันขางหนา”
พระโสดาบันระงับภัยเวร ๕ คือ
๑. ระงับจากการฆาสัตว เพราะการฆาสัตวเปนปจจัย จึงประสบภัย
เวรที่เปนไปใน ปจจุบันบาง ในสัมปรายภพบาง เสวยทุกขโทมนัสทางใจบาง
บุคคลผูเวนขาดจากการฆาสัตว ยอมไมประสบภัยเวรที่เปนไปในปจจุบัน ที่
เปนไปในสัมปรายภพ ทั้งไมตองเสวยทุกขโทมนัสทางใจ บุคคลผูเวนขาดจาก
การฆาสัตวแลว ยอมระงับภัยเวรนั้นได อยางนี้
๒. ระงับจากการลักทรัพย ...
๓. ระงับจากการประพฤติผดิ ในกาม ...
๔. ระงับจากการพูดเท็จ ...
๕. ระงับจากการเสพของมึนเมา คือ สุราและเมรัย๑๐๔...
พระโสดาบันประกอบดวยองคเครื่องบรรลุโสดาบัน ๔ ประการ คือ
๑) ประกอบด วยความเลื่อมใสอันไมห วั่น ไหวในพระพุทธเจ า ว า
“แมเพราะเหตุนี้ พระผูมีพระภาคพระองคนั้น เปนพระอรหันต ตรัสรูดวย
พระองคเองโดยชอบ ฯลฯ เปนพระพุทธเจา เปนพระผูมีพระภาค”
๒) ประกอบดวยความเลื่อมใสอันไมหวั่นไหวในพระธรรมวา “พระ
ธรรมเป นธรรมที่พระผู มีพระภาคตรั สไวดี แล ว ผู ปฏิ บัติ จะพึงเห็ นชั ดด ว ย
ตนเอง ไมประกอบดวยกาล ควรเรียกใหมาดู ควรนอมเขามาในตน ฯ”
๓) ประกอบดวยความเลื่อมใสอันไมหวั่นไหวในพระสงฆ วา “พระ
สงฆ ส าวกของพระผู มี พ ระภาค เป น ผู ป ฏิ บั ติ ดี ปฏิ บั ติ ต รง ฯลฯ ควรแก
ทักษิณา ควรแกการทําอัญชลี เปนนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก”

๑๐๓
ทั้ง ๓ คํานี้เปนไวพจนของนรก (องฺ.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๔๓/๕๐)
๑๐๔
สุราและเมรัย ดูใน ขุ.ขุ.อ. (บาลี) ๑/๑๗-๑๘.

๒๑
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๔) ประกอบดวยศีลที่พระอริยะชื่นชม ไมขาด ไมทะลุ ไมดางพรอย
ทานผูรูสรรเสริญ ไมถูกตัณหาและทิฏฐิครอบงํา เปนไปเพื่อสมาธิ๑๐๕
ทิฏฐิของพระโสดาบัน
พระโสดาบัน ถึงพรอมดวยทิฏฐิ มีความเห็นชอบ ๖ ประการ คือ
๑. เปนผูไมอาจยึดถือสังขารวาเปนของเที่ยง
๒. เปนผูไมอาจยึดถือสังขารวาเปนสุข
๓. เปนผูไมอาจยึดถือธรรมวาเปนอัตตา
๔. เปนผูไมอาจทําอนันตริยกรรม
๕. เปนผูไมอาจเชื่อความบริสุทธิ์โดยถือมงคลตื่นขาว
๖. เปนผูไมอาจแสวงหาเขตบุญนอกศาสนานี๑๐๖ ้
เมื่อบรรลุโสดาบัน๑๐๗แลว เปนผูมีความเห็นถูกตองตามความเปน
จริง เปนมนุษยที่สมบูรณ เพราะเปนผูสมบูรณดวยศีล ๕ สามารถประหาณ
มิจฉาทิฏฐิ และวิจิกิจฉาไดอยางเด็ดขาด เจตนาที่จะละเมิดศีล ๕ ไมมีอีก
แลว๑๐๘ เปรียบเหมือนงูพิษที่ถูกถอดเขี้ยวแลว ถึงจะมีความเกรี้ยวกราดอยู
แตก็ทํารายใครไมไดอีก
พระโสดาบันแมจะมีความโกรธอยู แตก็ไมคิดอาฆาตทํารายใคร แม
จะมีความโลภอยู ก็ไมคิด จะขโมยของใคร ถึงจะมีความหลงอยู แตก็ไมคิด
แสวงหาโลกียสุขดวยการเสพของมึนเมา แมยังตองอยูทามกลางโลกธรรม
๘๑๐๙ แตก็จะไมถูกเขี้ยวเล็บของโลกขบกัดอีกตอไป การดํารงชีวิตอยูในโลก
ของพระโสดาบันเปรียบเหมือนลิ้นงูในปากงู เพราะแมตองอยูทามกลางเขี้ยว
พิษ แตไมเคยโดนพิษทํารายเลยแมสักครั้ง หรือเปรียบเหมือนมือที่ไมมีแผล
๑๐๕
องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๙๒/๒๑๒.
๑๐๖
องฺ.ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๙๒/๖๑๖.
๑๐๗
ผูเขาถึงกระแสธรรม ผูยืนจรดประตูอมตะ’องฺ.เอกก.อ.(บาลี)๑/๒๖๘/๔๐๒.
๑๐๘
ดูใน ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๑๐/๑๒.
๑๐๙
โลกธรรม คือ เรื่องราวที่เกิดขึ้นประจําโลก ๘ ประการ คือ มีลาภ เสื่อมลาภ
มียศ เสื่อมยศ สรรเสริญ นินทา สุข ทุกข ดูใน องฺ.อฏก. (ไทย) ๒๓/๙๖/๑๕๙.

๒๒
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
คนลงในหมอยาพิษ ก็ไมเ กิด โทษ จะบรรลุอรหัน ตอีกไมเ กิน ๗ ชาติ โดย
อัตโนมัติ เมื่อบรรลุอรหันตแลว ก็จะไดประสบสุขในพระนิพพาน ชนิดที่ไม
ตองกลับมาทุกขอีก เพราะเปนบรมสุขที่ไมเจือดวยกามคุณ ๕ อีกตอไป๑๑๐
การพยากรณพระโสดาบัน
การที่จะรูไดวาใครเปนพระอริยบุคคลชั้นไหนนั้น ตองเปนผูที่มีภูมิ
ธรรมเสมอกันหรือสูงกวาจึงจะรูได๑๑๑ แตคนธรรมดาที่ไมใชพระอริยเจาก็ยัง
พอสังเกตไดวาใครเปนพระโสดาบัน โดยการอนุมานเอา อาจจะถูกหรือผิดก็
ได มีห ลั กในการอนุ มานดั งนี้ คือ ผู ที่บ รรลุ เ ปน พระโสดาบัน แลว เป น ผู มี
ศรัทธาไมหวั่นไหว เปนผูที่ยอมมอบกายถวายชีวิตแดพระรัตนตรัย ถึงจะถูก
ฆาตายก็ไมยอมกลาวดูหมิ่นพระรัตนตรัย หรือมีคนเอาเงินเอาทองมากองไว
ขางหนา แลวบอกวา เงินทองทั้งหมดนี้จะเปนของทาน ถาทานยอมกลาว
"พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆไมดีจริง" พระโสดาบันจักไมพูดอยาง
เด็ดขาด ดังเชน นายสุปปพุทธกุฏฐิ๑๑๒
บางทานไมรูวาตนเองบรรลุโสดาบันแลว
พระอริยบุคคลผูบรรลุมรรคเบื้องตนบางทานที่ไมฉลาดในบัญญัติ
ธรรม ก็อาจมีขอสงสัยอยูวาตนไดบรรลุแลวหรือยัง เชน พระเจามหานามะ
ทรงบรรลุโสดาบัน เปนพระอริยบุคคลผูมีคติอันแนนอนแลว แตก็ยังไมรูตัว
วาไดบรรลุธรรมแลว ดังปรากฏเรื่องราวในพระคัมภีรวา
พระเจามหานามะกราบทูลพระผูมีพระภาคเจาวา สมัยนั้น หมอม
ฉันลืมสติปรารภพระผูมีพระภาค พระธรรม และพระสงฆ หมอมฉันคิดวา
“หากเราพึงถึงแกกรรมในเวลานี้ คติของเราจะเปนอยางไร อภิสัมปรายภพ
จะเปนอยางไร”
พระผูมีพระภาคตรัสวา “อยาทรงกลัวเลย มหาบพิตร การสวรรคต

๑๑๐
ดูใน ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๑๒๔/๗๐., องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๓๔/๕๐๐.
๑๑๑
ดูรายละเอียดใน องฺ.ติก.อ. (ไทย) ๑/๓/-/๒๖๖.
๑๑๒
ดูประวัติใน ขุ.อุทาน. (ไทย) ๒๕/๔๓/๒๕๖.

๒๓
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ของพระองคจั กไม เลวทราม กาลกิริ ยาก็จั กไมเ ลวทราม มหาบพิตร อริ ย
สาวกผูประกอบดวยธรรม ๔ ประการยอมนอมไปสูนิพพาน โนมไปสูนิพพาน
โอนไปสูนิพพาน
ธรรม ๔ ประการ อะไรบาง คือ อริยสาวกในธรรมวินัยนี้
๑. ประกอบดวยความเลื่อมใสอันไมหวั่นไหวในพระพุทธเจา
๒. ประกอบดวยความเลื่อมใสอันไมหวั่นไหวในพระธรรม
๓. ประกอบดวยความเลื่อมใสอันไมหวั่นไหวในพระสงฆ
๔. ประกอบดวยศีลที่พระอริยะชอบใจ..เปนไปเพื่อสมาธิ๑๑๓
พระโสดาบันกับคุณคาของทรัพย ๗ ประการ
เรื่องชายโรคเรื้อนชื่อสุปปพุทธะเปนโสดาบัน ... ขณะนั้น ทาวสักก
เทวราชทรงทราบวา สุปปพุทธกุฏฐินี้ มีความประสงคจะประกาศคุณที่ตน
ได รั บ ในศาสนาของพระศาสดาให ป รากฏ คิ ด จั กทดลองเธอ จึ ง เสด็ จ ไป
ประทับอยูในอากาศ ไดตรัสคํานี้วา สุปปพุทธะ เธอเปนคนขัดสน เปนคน
กําพรา เปนคนยากไร เราจะใหทรัพยอันหาประมาณมิไดแกเธอ แตเธอจง
พูด ว า พระพุ ท ธไม ใช พระพุท ธ พระธรรมไม ใช พ ระธรรม พระสงฆ ไม ใ ช
พระสงฆ เราพอกันทีดวยพระพุทธ ดวยพระธรรม ดวยพระสงฆ
ลําดั บนั้ น สุ ปปพุทธะจึ งกลาวกะทาวสักกะนั้นว า ทานเป นใคร?
ตอบวา เราเปนทาวสักกเทวราช สุปปพุทธกุฏฐิกลาววา ดูกอนอันธพาลผูไม
มีย างอาย ทานกลาวคําที่ไมควรจะกลาวอย างนี้ ไมส มควรพูดกับ เราเลย
เพราะเหตุไรทานจึงพูดกับเราวา เปนคนเข็ญใจ ขัดสน กําพรา เราเปนโอรส
บุตรของพระโลกนาถมิใชหรือ เราไมใชคนเข็ญใจขัดสนกําพรา ที่จริงแล เรา
ไดรับความสุขดวยความสุขอยางยิ่ง มีทรัพยมาก อนึ่ง บุคคลใดไมเลือกวาจะ
เปนหญิงหรือชาย มี ทรัพย ๗ อยางคือ ทรัพยคือศรัทธา ทรัพยคือศีล ทรัพย
คือหิ ริ ทรั พย คือโอตตั ป ปะ ทรั พย คื อสุ ต ะ ทรั พย คือจาคะ และทรั พย คื อ
ปญญา บัณฑิตเรียกบุคคลนั้นวาไมเข็ญใจ และชีวิตของเขาไมเปลา ดังนั้น

๑๑๓
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๑๐๑๘/๕๒๓.

๒๔
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
เราจึ งชื่ อว ามีอริ ย ทรั พย ๗ ประการนี้ เพราะบุ คคลผู มีอริ ย ทรั พย เ หล านี้
พระพุทธเจาหรือพระปจเจกพุทธเจาไมตรัสเรียกวา เปนคนเข็ญใจ๑๑๔
ตัวอยางขางตน จะเห็นวาพระอริยบุคคลขั้นพระโสดาบันนอกจาก
จะมีคุณลักษะพิเศษ ๔ ประการ คือศรัทธาอยางไมหวั่นไหวในพระพุทธ พระ
ธรรม พระสงฆ และมีมีศีล ๕ ขอบริสุทธิ์แลว ผูเปนพระโสดาบันจะเปนผูที่
ไมใหคุณคากับวัตถุนิยมตางๆ ไมวาจะเปนเงิน ทอง เปนตน แตทานเหลานั้น
ใหคุณคากับทรัพยภายในที่เรียกวา อริยทรัพย ๗ ประการ
ลักษณะบางประการของพระโสดาบัน
๑) พระโสดาบันบางทานไมรูวาตนเองบรรลุธรรมแลว
พระเจามหานามะ ทรงบรรลุโสดาบันแลว แตก็ยังไมรูตัว จึงเกิดขอ
สงสัยในคติของตน ดังปรากฏเรื่องราวในคัมภีรพระไตรปฎกวา
พระเจามหานามะทูลพระผูมีพระภาคเจาวา ครั้งหนึ่ง หมอมฉันลืม
สติปรารภพระผูมีพระภาค พระธรรมและพระสงฆ หมอมฉันคิดวา “หากเรา
พึงถึงแกกรรมในเวลานี้ คติของเราจะเปนอยางไรหนอ?”
พระผูมีพระภาคตรัสวา “อยาทรงกลัวเลยมหาบพิตร การสวรรคต
ของพระองคจักไมเลวทราม กาลกิริยาก็จักไมเลวทรามยอมนอมไปสูนิพพาน
โนมไปสูนิพพาน โอนไปสูนิพพาน”๑๑๕
๒) พระโสดาบันยังมีครอบครัว
ความเปนอยูของพระโสดาบันเหมือนกันกับคนทั่วไป เพราะยังมี
ความโลภ โกรธ หลงอยู ยังมีครอบครัว มีลูกมีหลานอยู เชน นางวิสาขา เปน
พระโสดาบันตั้งแตยังเปนเด็ก เมื่อโตเปนสาวไดแตงงาน ใหกําเนิดลูกชาย
๑๐ คน ลู กสาว ๑๐ คน เมื่ อ นางไปวั ด ก็จ ะมีทั้ ง ลู กทั้ ง หลานไปด ว ย คน
ทั้งหลายก็จะถามวา “นางวิสาขาคนไหน”๑๑๖ นี้ก็แสดงใหเห็นวาโสดาบัน

๑๑๔
ดูรายละเอียดใน ขุ.อุ.อ. (ไทย) ๑/๓/๕๐๓-๕๐๔.
๑๑๕
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๑๐๑๘/๕๒๓.
๑๑๖
ดูรายละเอียดใน ขุ. อุทาน. (ไทย) ๒๕/๗๘/๓๔๐.

๒๕
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
นั้นก็เหมือนกับคนทั่วไป อยางแยกไมออก
๓) โสดาบันยังมีความประมาทอยู
โสดาบั น แม เ ป น พระอริ ย บุ ค คลมี ทิ ฏ ฐิ ที่ ส มบู ร ณ แ ล ว แต ยั ง ไม
สมบูรณดวยสติและปญญา ยังมีความประมาทอยูบาง ดังที่พระผูมีพระภาค
เจาตรัสไววา “พระโสดาบันเหลาใด รูแจงอริย สัจที่พระศาสดาผูมีปญญา
ลึกซึ้งแสดงแลว ถึงแมวาพระโสดาบันจะประมาทไปบาง แตทานเหลานั้นก็
จะไมถือกําเนิดในภพที่ ๘”๑๑๗
“โสดาบั น พ น แล ว จากอบายทั้ ง ๔ และจะไม ทํ า อภิ ฐ าน ๖๑๑๘
ถึงแมวาโสดาบันนั้นจะทําบาปกรรม๑๑๙ทางกาย ทางวาจา หรือทางใจไป
บ า ง ท า นก็ ไ ม ป กป ด บาปกรรมนั้ น ไว ผู เ ห็ น บท ๑๒๐แล ว ไม อ าจทํ า อย า ง
นั้น”๑๒๑
๒. กําลังสมาธิในการบรรลุโสดาบัน ๓ แบบ
ในการปฏิ บั ติ วิ ป ส สนาภาวนาเพื่ อบรรลุ โ สดาบั น แม ล ว งละเมิ ด
สิกขาบทเล็กนอยบ าง และสมาธิไมสมบูรณ ก็สามารถพอกพูน อินทรีย ๕
เจริญสติปฏฐาน ๔ ได เพราะจิตที่สงบชั่วขณะๆ ดวยอํานาจของสติ และ
สัมปชัญญะอยางตอเนื่อง สามารถนํามาเปนพื้นฐานเจริญวิปสสนาได คัมภีร
ฎีกาอธิบายวา “น หิ ขณิกสมาธึ วินา วิปสฺสนา สมฺภวติ”๑๒๒ คือ ตองอาศัย
๑๑๗
ไมเกิดในภพที่ ๘ เพราะทานละสังโยชน ๓ ประการ (สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา
สีลัพพตปรามาส) ไดแลว และจะเวียนเกิดเวียนตายในเทวโลกและโลกมนุษยอยางมาก
ไมเกิน ๗ ครั้ง แลวบรรลุอรหัตตผล (ขุ.ขุ.อ. (บาลี) ๖/๑๖๓-๑๖๔)
๑๑๘
อภิฐาน ๖ คือ ไมทํากรรมหนัก ๖ ประการ ไดแก ๑) ฆามารดา ๒) ฆาบิดา
๓) ฆาพระอรหันต ๔) ทําโลหิตของพระพุทธเจาใหหอ ๕) ทําใหสงฆแตกกัน ๖) เขารีต
ศาสดาอื่น (ขุ.ขุ.อ. (บาลี) ๖/๑๖๖)
๑๑๙
บาปกรรม หมายถึง การตองอาบัติเบา มิไดหมายถึงอาบัติหนัก ดูใน ขุ.ขุ.อ.
(บาลี) ๖/๑๖๗ และดู วิ.มหา. (ไทย) ๒/๕๐/๒๓๘.
๑๒๐
บท หมายถึง ทางแหงนิพพาน ขุ.ขุ.อ. (บาลี) ๖/๑๖๗.
๑๒๑
ขุ.ขุ. (ไทย) ๒๕/๑๑/๑๒.
๑๒๒
ดูใน ม.มู.ฏีกา (บาลี) ๑/๔๙/๒๕๗. ดูเพิ่มเติมหนา ๔๐๙.

๒๖
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ขณิกสมาธิเปนบาทฐานจึงจะเจริญวิปสสนาได มีพระพุทธวจนะยืนยันไววา
ภิกษุในธรรมวินัยนี้มีปกติทําศีลใหบริบูรณ มี
ปกติ ทํ า สมาธิ พ อ ประมาณ มี ป กติ ทํ า ป ญ ญา
พอประมาณ ภิ ก ษุ นั้ น ล ว งละเมิ ด สิ ก ขาบท
เล็กนอย๑๒๓บาง ออกจากอาบัติบาง ขอนั้นเพราะ
เหตุ ไร เพราะในการต องอาบั ติและการออกจาก
อาบัติเล็กนอยนี้ เราไมกลาวความเปนคนไมเหมาะสม(แกมรรคผล)ไว
แต สิ ก ขาบทเหล า ใดเป น เบื้ อ งต น แห ง พรหมจรรย ๑๒๔ สมควรแก
พรหมจรรย ภิกษุนั้นมีศีลประจําตัวและมีศีลมั่นคงในสิกขาบทเหลานั้น
ศึกษาในสิกขาบททั้งหลาย เพราะสังโยชน ๓ ประการสิ้นไป เธอจึงเปน
โสดาบั น ไม มี ท างตกต่ํ า มี ค วามแน น อนที่ จ ะสํ า เร็ จ สั ม โพธิ ในวั น
ขางหนา๑๒๕
พระโสดาบัน แมยังไมสมบูรณดวยสมาธิ และปญญา แตก็เปนผูมี
สัมมาทิฏฐิสมบูรณแลว๑๒๖ และไดบรรลุธรรมแลว๑๒๗ หนวงนิพพานมาเปน
อารมณไดแลว และเปนนิยตบุคคลที่มีความแนนอน คือ ไมตกไปในอบายภูมิ
๔ อีกแลว และจะบําเพ็ญใหบริบูรณในสมาธิ และปญญาใหยิ่ง ๆ ขึ้นไป
บรรลุเปนพระอรหันตในภพเบื้องหนา อีกไมเกิน ๗ ชาติ อยางแนนอน๑๒๘
หากมีผูคัดคานวา “ตองไดฌานกอนเทานั้นจึงจะบรรลุธรรมได”
ก็นาสงสัยวา “ผูที่บรรลุธรรมขณะที่ฟงธรรม เขาใชฌานอะไรเปนบาท

๑๒๓
อาบัติที่เหลือ เวนปาราชิก ๔ ดูใน องฺ.ติก.อ. (บาลี) ๒/๘๗/๒๔๑.
๑๒๔
อาบัติปาราชิก ๔ ดูใน องฺ.ติก.ฏีกา (บาลี) ๒/๘๗/๒๓๔.
๑๒๕
องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๘๓/๓๑๓.
๑๒๖
ความถึงพรอมดวยสัมมาทิฏฐิ ๕ ประการ คือ (๑) กัมมัสสกตาสัมมาทิฏฐิ
(๒) ฌานสัมมาทิฏฐิ (๓) วิปสสนาสัมมาทิฏฐิ (๔) มัคคสัมมาทิฏฐิ (๕) ผลสัมมาทิฏฐิ
(องฺ.ทุก.อ. (บาลี) ๒/๑๗๕/๗๑)
๑๒๗
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๓๗/๕๗. ชื่อวา อปรามัฏฐะ เพราะตัณหาและทิฏฐิไมเกาะ
เกี่ยว และเพราะใครๆ ไมสามารถปรามาสไดวา ทานเคยตองอาบัตินี้มา
๑๒๘
ไมตกไปในอบาย ๔ อีกแลว ดูใน องฺ.ติก.อ. (บาลี) ๒/๘๗/๒๔๒.

๒๗
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ฐาน?” นั่นหมายความวา แมไมไดสมาธิระดับฌานก็สามารถเจริญวิปสสนา
ได!
อนึ่ง ปจจุบันนี้ มีผูสนใจคนควาพระไตรปฎกดวยโปรแกรมคอม-
พิวเตอรกันมากขึ้น จนพบวา คําวา ขณิกสมาธิ ไมมีเขียนไวในพระไตรปฎก
ไมใชพุทธวจนะ ..ในเรื่องนี้ ขออรรถาธิบาย ดังนี้
พระพุทธเจาตรัสสอนวิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน๑๒๙ ไววา
พระพุทธวจนะ แปลเปนภาษาไทย

อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ สราค วา จิตฺต ภิกษุในธรรมวินัยนี้ จิตมีราคะก็รู


สราค จิตฺตนฺติ ปชานาติ... ชัดวา ‘จิตมีราคะ’ ฯลฯ..
วิ กฺ ขิ ตฺ ต  วา จิ ตฺ ต  วิกฺ ขิ ตฺ ต  หรือ จิต ฟุง ซา น ก็รูชัด วา ‘จิ ต
จิตฺตนฺติ ปชานาติ ฟุงซาน’
อิติ อชฺฌ ตฺ ต วา จิ ตฺเต จิตฺ ต า ดวยวิธีนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นจิต
นุปสฺสี วิหรติ ในจิตภายในอยู
พหิทฺธา วา จิตฺเต จิตฺตานุปสฺสี พิจารณาเห็นจิตในจิตภายนอก
วิหรติ อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา จิตฺเต อยู หรือพิ จารณาเห็นจิ ตในจิ ตทั้ ง
จิตฺตานุปสฺสี วิหรติ ภายในทั้งภายนอกอยู
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา จิตฺตสฺมึ พิจารณาเห็นธรรมเปนเหตุเกิด
วิหรติ วยธมฺมานุปสฺสี วา จิตฺตสฺมึ ในจิตอยู พิจารณาเห็นธรรมเปนเหตุ
วิหรติ ดับในจิตอยู
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา พิ จ ารณาเห็น ทั้ ง ธรรมเป น เหตุ
จิตฺตสฺมึ วิหรติ. เกิดทั้งธรรมเปนเหตุดับในจิตอยู

การเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน เปนการเจริญวิปสสนาที่พระผู
มีพระภาคเจาตรัสไวดวยพระองคเอง โดยใหกําหนดพิจารณาจิตที่มีราคะ
บาง จิตที่ฟุงซานบาง เปนอารมณในการเจริญวิปสสนา

๑๒๙
ดูใน ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๘๑/๓๕๕.

๒๘
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
กอใหเกิดขอสงสัยวา “จิตที่มีราคะ จิตที่ฟุงซานไมมีในผูเจริญฌาน
อย า งแน น อน แต เ หตุ ไ ฉนพระพุ ท ธเจ า จึ ง ให เ จริ ญ วิ ป ส สนากํ าหนดจิ ต ที่
ฟุงซานเปนอารมณ?”
ตอบวา “นั่นก็เพราะ ถึงไมไดฌานสมาธิก็เจริญวิปสสนาได” คัมภีร
อรรถกถาอธิบายวา ขอวา สราคมสฺส จิตฺตํ ไดแกจิตของเขาผูนั้นมีราคะ ทาน
กลาววาเปนการเจริญภาวนาแบบวิปสสนาลวนๆ ที่เรียกวาสุทธวิปสสนา๑๓๐
เรื่องนี้มีขอวินิจฉัยเพิ่มเติมวา พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา“คจฺฉนฺโต
คจฺฉามีติ ปชานาติ” เดินอยูก็รูชัดวา “เดินอยู”
หลายคนบอกวา การเจริญวิปสสนาไมตองบริกรรม แครูก็พอ จึงนา
สงสัยวา แลวพระพุทธพจนวา “คจฺฉามีติ” (อิติ) มีไวเพื่ออะไร นั่นบงบอก
วาใหบริกรรมในใจ อันเปนสัมมาวาจา ..มิใชหรือ?
นายสุ ป ปพุ ทธกุฏ ฐิ คนขอทานโรคเรื้ อ นจะเขา ไปขอทานขณะที่
พระพุทธเจากําลังแสดงธรรม จึงแอบนั่งฟงอยูดวย จนไดบรรลุโสดาบัน๑๓๑
..นาสงสัยวา เขาใชกําลังฌานอะไรเปนบาทฐานในการบรรลุธรรม
ในขณะนั่งฟงธรรม เขาเขาฌานอะไรอยู? (ก็..หามิได)
จิ ต ที่ ส งบชั่ ว ขณะๆ ด ว ยอํา นาจสติ แ ละสั ม ปชั ญ ญะที่ เ พิ่ ม พู น ขึ้ น
สามารถนํามาเปนพื้นฐานเจริญวิปสสนาได คัมภีรมูลปณณาสกฎีกากลาววา
“น หิ ขณิ ก สมาธึ วิ น า วิ ป สฺ ส นา สมฺ ภ วติ ”๑๓๒ “หากขาดขณิ ก สมาธิ
วิป ส สนาก็เ กิด ไมได ” คือ ต องอาศัย ขณิกสมาธิ เ ป น บาทฐานจึ งจะเจริ ญ
วิปสสนาได เมื่อวิปสสนาญาณสูงขึ้นตามลําดับ การเพงลักษณะอารมณก็จะ
แนบแนนขึ้นตามลําดับเชนกัน เมื่อมรรคจิตเกิดขึ้นก็ยอมบริบูรณพรอมดวย
องคฌานทั้ง ๕ (วิตก วิจาร ปติ สุข สมาธิ) จัดเปนปฐมฌานโสดาปตติมรรค
จิต สกทาคามิมรรคจิต อนาคามิมรรคจิต อรหัตตมรรคจิต ของสุกขวิปสสก
บุคคล ก็จัดเขาเปนปฐมฌานดวยกันทั้งสิ้น ดังที่ปรากฏในคัมภีรอรรถกถาวา

๑๓๐
ดูใน อภิ.วิ.อ. (ไทย) ๒/๒/-/๑๒๒.
๑๓๑
ดูใน ขุ.อุ. (ไทย) ๒๕/๔๓/๒๕๕.
๑๓๒
ม.มู.ฏีกา (บาลี) ๑/๔๙/๒๕๗. ดูอธิบายที่หนา ๓๔๑.

๒๙
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
"มรรคที่เกิดขึ้นแกพระสุกขวิปสสกโดยกําหนดวิปสสนาก็ดี มรรคที่ภิกษุทํา
ฌานใหเปนบาทฐานแลวพิจารณาสังขารเล็กๆ นอยๆ ใหเกิดขึ้นก็ดี ในมรรค
ทั้งหมดนั้น มีโพชฌงค ๗ องคมรรค ๘ และองคฌาน ๕ อยูดวย"๑๓๓
แสดงวา แมมรรค๑๓๔ ที่เกิดขึ้นแกผูเจริญวิปสสนาลวนๆ ก็ประกอบ
ดวยองคฌาน ๕ ประการอยางครบถวน จึงเปนฌานจิตเชนกัน ดังพุทธพจน
วา “ฌานยอมไมมีแกผูไมมีปญญา ปญญาก็ยอมไมมีแกผูไมมีฌาน”๑๓๕
การพัฒนาขณิกสมาธิดวยการปรับอินทรีย ๕
ขณิกสมาธิใชในการเจริญวิ ปสสนา๑๓๖ เป นความตั้งมั่นรูรู ป-นาม
ทุ ก ๆขณะที่ เ กิ ด -ดั บ เมื่ อ จิ ต มี ส ติ ร ะลึ ก รู อ ารมณ ป รมั ต ถ อ ย า งต อ เนื่ อ ง
ปราศจากนิ ว รณ ในขณะที่อิน ทรี ย ๕ คื อ ศรั ทธา วิ ริ ย ะ สติ สมาธิ และ
ปญญามีกําลังสม่ําเสมอแกผูเจริญวิปสสนาภาวนา
การเจริญอินทรีย ๕ ใหเพิ่มพูนและสมดุลยกันอยางตอเนื่องทําให
วิ ป ส สนาญาณเจริ ญ ก า วหน า และโน ม ไปสู ม รรค ผล นิ พ พาน ดั ง ที่
พระพุทธเจาตรัสไววา
“ดูกอนภิกษุทั้งหลาย แมน้ําคงคาไหลไปสูทิศปราจีน หลั่งไปสูทิศ
ปราจีน บาไปสูทิศปราจีน แมฉันใด ภิกษุเจริญอินทรีย ๕ กระทําให
มากซึ่งอินทรีย ๕ ยอมเปนผูนอมไปสูนิพพาน โนมไปสูนิพพาน โอนไป
นิพพาน ฉันนั้นเหมือนกัน. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุเจริญอินทรีย ๕
กระทําใหมากซึ่งอินทรีย ๕ อยางไรเลา ..ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอมเจริญ
สัทธินทรีย อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ นอมไปในการสละ
ยอมเจริญวิริยินทรีย...สตินทรีย..สมาธินทรีย..ปญญินทรีย อันอาศัยวิเวก
อาศั ย วิ ร าคะอาศั ย นิ โ รธ น อ มไปในการสละ..ภิ ก ษุ เ จริ ญ อิ น ทรี ย ๕
กระทําใหมากซึ่งอินทรีย ๕ อยางนี้แล ยอมเปนผูนอมไปสูนิพพาน โนม
๑๓๓
ดูใน ขุ.ป.อ. (บาลี) ๑/๓๒๔.
๑๓๔
ดูอธิบายที่หนา ๑๒๕, ๓๐๑,
๑๓๕
ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๓๗๒/๑๔๙.
๑๓๖
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๓๖๘.

๓๐
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ไปสูนิพพาน โอนไปสูนิพพาน”๑๓๗
อนึ่ง ผู เจริ ญอินทรีย ๕ ให แกกลาและสมดุล อยางต อเนื่อง จะได
บรรลุอนาคามี ในชาติปจจุบัน ดังที่พระพุทธเจาตรัสไววา “อินทรีย ๕ อัน
บุคคลเจริญแลว กระทําใหมากแลว มีอานิสงส คือ จะไดบรรลุอรหัตผลใน
กาลปจจุบัน ถาไมไดบรรลุอรหัตผลในกาลปจจุบัน จะไดบรรลุในเวลาใกล
ตาย ถ าไมได บ รรลุ อรหั ต ผลในเวลาใกล ต ายใซร จะได เ ป น พระอนาคามี
เพราะสังโยชนอันเปนสวนเบื้องต่ํา ๕ ประการ สิ้นไป”๑๓๘
อินทรีย แปลวา สภาพที่เปนใหญในกิจของตน๑๓๙ คือ ธรรมที่เปน
เจาการในการทําหนาที่กําจัดกวาดลางอกุศลธรรม ซึ่งเปนฝายตรงขาม เชน
ความศรัทธากําจัดความไมเชื่อเสียได ความเพียรจํากัดความเกียจคราน ทํา
ใหเกิดความพรอมในการปฏิบัติธรรมใหกาวหนา
ลักษณะแหงอินทรีย ๕ และ พละ ๕
อินทรีย ๕ กับพละ ๕ นี้มีขอธรรมะเปนอยางเดียวกัน แตวาหมวด
หนึ่งมุงเปนอินทรียคือเปนใหญเหนืออกุศลธรรมทั้งหลายที่ตรงกันขาม อีก
หมวดหนึ่งคือพละ มุงถึงเปนกําลังหรือเปนพลังในอันที่จะปราบปรามกิเลส
หรืออกุศลธรรมที่ตรงกันขาม มีลักษณะที่แตกตางกัน ดังนี้
๑) สัทธินทรียมีการนอมใจเชื่อเปนลักษณะ สัทธาพละมีการไม
หวั่นไหวในอารมณเปนที่ตั้งแหงความไมเชื่อเปนลักษณะ ศรัทธานั้น เปน
ใหญเ หนื อความไมเ ชื่อ เปน กําพลั งที่ปราบปรามความไมเชื่ อลงได กําจั ด
ความไมเชื่อได
๒) วิ ริ ยิ น ทรี ย มี ก ารประคองเป น ลั ก ษณะ วี ริ ย พละมี ก ารไม
หวั่นไหวในอารมณเปนที่ตั้งแหงความเกียจครานเปนลักษณะ วิริยะความ
เพียร เปนใหญเหนือความเกียจคราน เปนพลังเปนกําลังสําหรับปราบปราม
ความเกียจคราน
๑๓๗
สํ.มหา. (ไทย) ๑๙/๕๔๑/๓๕๒.
๑๓๘
สํ.มหา. (ไทย) ๑๙/๕๓๖/๓๔๗.
๑๓๙
สํ.ม.อ. (ไทย) ๕/-/๒/๙.

๓๑
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๓) สตินทรี ยมีการบํารุงเป นลักษณะ สติพละมีการไมหวั่นไหวใน
อารมณเปนที่ตั้งแหงความมีสติฟนเฟอนเปนลักษณะ สติเปนใหญเหนือความ
หลงลืมสติความเผลอสติ เปนเครื่องปราบปรามความหลงลืมสติ
๔) สมาธินทรี ยมีความไมฟุงซานเป นลักษณะ สมาธิพละมีการไม
หวั่นไหวในอารมณเปนที่ตั้งแหงความฟุงซานเปนลักษณะ สมาธิเปนใหญ
เหนือความฟุงซานแหงจิต เปนเครื่องปราบปรามความฟุงซานแหงจิต
๕) ปญญินทรียมีการรูอารมณตางๆ เปนลักษณะ ปญญาพละมีการ
ไมหวั่นไหวในอารมณเปนที่ตั้งแหงอวิชชาเปนลักษณะ๑๔๐ ปญญา เปนเครื่อง
เป น ใหญ เ หนื อ อวิ ช ชาความไม รู โมหะความหลงถื อ เอาผิ ด เป น เครื่ อ ง
ปราบปรามทําลายอวิชชาโมหะ
เพราะฉะนั้น จึงตองแบงเปน ๒ หมวด เปนอินทรียหมวด ๑ เปน
พละหมวด ๑ เมื่อพิจารณาดูถึงบุคคลในโลกนี้ บุคคลผูเปนใหญก็จะตองมี
พละคือกําลัง ถาไมมีพละคือกําลังก็เปนใหญไมได และถาไมมีความเปนใหญ
ก็มีพละกําลังไมได เพราะฉะนั้น ในการปฏิบัติธรรมะจะตองตอสูกับกิเลส
มาร คือกิเลสในจิตใจ ดวยธรรมในหมวดโพธิปกขิยธรรม ปฏิบัติในหมวดสติ
ป ฏ ฐานทั้ง ๔ เป น หลั ก โดยที่ ต อ งอาศัย สั ม มั ป ปธานและอิ ท ธิ บ าท เป น
อุปการะธรรมในการปฏิบัติสติปฏฐาน และเมื่อพบเกาะคือเครื่องขัดขวาง
การปฏิบัติ ซึ่งเปรียบเหมือนเกาะที่เกิดกลางแมน้ํา ทําใหแมน้ําแยกเปนสอง
สาย จึงตองแยกธรรมะนี้ออกเปนสองสาย สายอินทรียที่เปนใหญ คือตอง
รักษาศรัทธาเปนตนใหเปนใหญเหนือกิเลส และตองมีพละคือกําลัง หรือมี
ศรัทธาเปนตนนั้นเองเปนกําลัง สําหรับที่จะบําราบกิเลสมารลงไป เมื่อเปน
ใหญก็ชื่อวามี พละ(กําลัง) และเมื่อมีพละคือกําลังก็ชื่อวาเปนใหญความเปน
ใหญกับความมีพละคือกําลังตองคูกันไป ในคราวที่พบกิเลสมารอันจะตอง
ปราบปราม ซึ่งขัดขวางการปฏิบัติธรรมะ ก็ตองมีความเปนใหญ ตองมีพละ
คือกําลัง คือตองมีความเปนใหญเหนือกิเลสมาร ตองมีพละกําลังที่จะปราบ
กิเลสมารลงไปได จึงจะหลุดรอดจากกิเลสมารที่มาขัดขวาง แลวก็ดําเนินการ

๑๔๐
ขุ.ม.อ. (ไทย) ๕/-/๑/๓๙๒.

๓๒
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ปฏิบัติตอไป คือตองมีธรรมะ ๕ ขอนี้เอง ตองมีศรัทธา มีวิริยะ มีสติ มีสมาธิ
มีปญญา
ในการปฏิ บั ติ ธ รรมะจะต อ งต อ สู กั บ มาร คื อ กิ เ ลสในจิ ต ใจด ว ย
ธรรมะ และเมื่อพบเกาะ คือเ ครื่องขัดขวางการปฏิ บัติ ซึ่งเปรียบเหมือน
เกาะที่เ กิด กลางแมน้ํ า ทําให แมน้ํ าแยกเป น สองสาย จึ งต องแยกธรรมะนี้
ออกเปนสองสาย สายอินทรียที่เปนใหญ คือ ตองรักษาศรัทธาเปนตน ให
เป น ใหญเ หนือกิเ ลส และต องมีพละ คือ กําลั งมีศรั ทธาเป นต น เป น กําลั ง
สําหรับที่จะบําราบกิเลสมารลงไป คือ ตองมีความเปนใหญเหนือกิเลสมาร
ตองมีพละกําลังที่จะปราบกิเลสมารลงใหได จึงจะปลอดภัยจากกิเลสมาร
ที่มาขัดขวาง แลวก็ดําเนินการปฏิบัติตอไป
การบรรลุโสดาบัน ๓ รูปแบบ
คัมภีรปฏิสัมภิทามรรคแสดงถึงโสดาปตติมรรค หรือการเขาถึงความ
เปนพระโสดาบัน ไว ๓ ประเภท ดังนี้
๑) สัทธานุสารี คือ ผูแลนตามไปดวยศรัทธา คือ ทานผูปฏิบัติเพื่อ
บรรลุโสดาปตติผลที่มีสัทธินทรียแกกลา อบรมอริยมรรคโดยมีศรัทธาเปน
ตัวนํา ทานผูนี้บรรลุเปนอนิมิตตะวิโมกขเพราะเห็นอารมณเปนอนิจจัง๑๔๑
เมื่ อ มนสิ ก าร ๑๔๒ โดยความเป น สภาพไม เ ที่ ย ง เต็ ม เป ย วด ว ย
สัทธินทรีย
๑๔๑
ดูรายละเอียดใน สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๓๐๒/๓๒๐.
๑๔๒
โยนิโสมนสิการ แปลวา ทําไวในใจโดยอุบายอันแยบคาย เปนธรรม
อยางเอกที่เปนเหตุใหธรรมตางๆ ที่เปนกุศลที่ยังไมเกิดขึ้น ไดเกิดขึ้น และทําใหละ
บาปอกุศลที่เกิดขึ้นแลวได เปนเหตุทําใหโพชฌงคเกิดขึ้นและเจริญบริบูรณ เพื่อ
ความดํารงมั่นแหงพระสัทธรรม” เปนธรรมเครื่องละวิปลาส ๔ ประการ คือ
๑. ทําไวในใจโดยแยบคายวา “สังขารรางกายเปนอสุภะ ลวนแตไมสวย
ไม ง าม” เมื่ อโยนิ โ สมนสิ ก ารในอสุ ภ นิ มิ ต เช น นี้ กามฉั น ทะที่ ยั ง ไม เกิด ขึ้น ก็ไ ม
เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลวก็ละได ยอมรูชัดตามความเปนจริงในสังขารรางกายที่เปนอสุ
ภะวา “ไมงาม” ละสุภวิปลาส (สําคัญวา “เปนของสวยงาม”) ได
๓๓
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
เพราะสัทธินทรียมีประมาณยิ่ง บุคคลนั้นจึงไดโสดาปตติมรรค เพราะเหตุนั้น
ทานจึงกลาววาเปนสัทธานุสารีบุคคล อินทรียที่เปนไปตามสัทธินทรียนั้นมี ๔
ทั้งเปนสหชาตปจจัย อัญญมัญญปจจัย นิสสยปจจัยสัมปยุตตปจจัย
๒) กายสักขี คือ หมายถึงผูแลนไปตามสมาธิ หรือผูแลนตามไปดวย
สมาธิ คือ ทานผูปฏิบัติเพื่อบรรลุโสดาปตติผลที่มีสมาธินทรียแกกลา อบรม
อริยมรรคโดยมีสมาธิเปนตัวนํา ทานผูนี้ถาบรรลุผลแลวกลายเปนกายสักขี
เปนผูเห็นประจักษกับตัว สัมผัสวิโมกข ๘ ดวยนามกายที่เปนสันตวิโมกข
หลุดพนดวยอัปปณิหิตวิโมกขเพราะเห็นอารมณเปนทุกข๑๔๓
เมื่อมนสิการโดยความเปนทุกขสมาธินทรียมีประมาณยิ่ง เพราะสมาธิ
นทรียมีประมาณยิ่งบุคคลจึงไดโสดาปตติมรรคเพราะเหตุนั้นทานจึงกลาววา
เป น กายสั ก ขี บุ ค คลอิ น ทรี ย ที่ ไ ปตามสมาธิ น ทรี ย นั้ น มี ๔ ทั้ ง เป น สหชาต
ปจจัยอัญญมัญญปจจัยนิสสยปจจัยสัมปยุตตปจจัย

๒. ทําไวในใจโดยแยบคายวา “รูป-นามสังขารทั้งปวง เปนทุกข ลวนแต


ไมสุข ไมสบาย ไมคงสภาพ” เมื่อโยนิโสมนสิการเชนนี้ ยอมเกิดปราโมทย เมื่อมี
ปราโมทยยอมเกิดปติ เมื่อใจมีปติ กายยอมสงบ จิตยอมเปนสมาธิ ผูมีจิตเปน
สมาธิยอมรูชัดตามความเปนจริง ในสิ่งที่เปนทุกขวา “เปนทุกข” ละสุขวิปลาส
(สําคัญวา “เปนสุข”) ได
๓. ทําไวในใจโดยแยบคายวา “รูป-นามสังขารทั้งปวงเปนอนิจจัง ลวน
แต ไ ม เ ที่ ย ง ไม ยั่ ง ยื น ” เมื่ อ โยนิ โ สมนสิ ก ารเช น นี้ ย อ มเกิ ด ปราโมทย เมื่ อ มี
ปราโมทยยอมเกิดปติ เมื่อใจมีปติ กายยอมสงบ จิตยอมเปนสมาธิ ผูมีจิตเปน
สมาธิยอมรูชัดตามความเปนจริง ในสิ่งที่ไมเที่ยงวา “ไมเที่ยง ไมยั่งยืน”ละนิจจ
วิปลาส (สําคัญวา“เที่ยงแท”) ได
๔. ทําไวในใจโดยแยบคายวา “รูปธรรม-นามธรรมเปนอนัตตา ลวนแต
ไม ใ ช ตั ว ไม ใ ชต นที่ จ ะบั ง คั บ บั ญชาใหเป น ไปตามใจปรารถนาได ” เมื่อโยนิ โ ส
มนสิการเชนนี้ ยอมเกิดปราโมทย เมื่อมีปราโมทยยอมเกิดปติ เมื่อใจมีปติ กาย
ยอมสงบ จิตยอมเปนสมาธิ ผูมีจิตเปนสมาธิยอมรูชัดตามความเปนจริงในสิ่งที่
ไมใชตัวตนวา“ไมใชตัวตน” ละอัตตวิปลาส (วาเปนอัตตา) ได
๑๔๓
ดูรายละเอียดใน ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๓๑/๓๐๑.

๓๔
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๓) ธรรมานุสารี คือ ผูแลนไปตามธรรม หรือผูแลนตามไปดวยธรรม
คื อ ท า นผู ป ฏิ บั ติ เ พื่ อ บรรลุ โ สดาป ต ติ ผ ล ที่ มี ป ญ ญิ น ทรี ย แ ก ก ล า อบรม
อริยมรรคโดยมีปญญาเปนตัวนํา๑๔๔ทานผูนี้บรรลุเปนสุญญติวิโมกขเพราะ
เห็นอารมณเปนอนัตตา
เมื่อมนสิการโดยความเปนอนัตตาปญญินทรีย มีประมาณยิ่งเพราะ
ปญญินทรียมีประมาณยิ่งบุคคลจึงไดโสดาปตติมรรคเพราะเหตุนั้นทานจึง
กลาววาเปนธรรมานุสารีบุคคลอินทรียที่เปนไปตามปญญินทรียนั้นมี๔ทั้ง
เปนสหชาตปจจัยอัญญมัญญปจจัยนิสสยปจจัยสัมปยุตตปจจัย๑๔๕
เห็นแจงไตรลักษณ บรรลุโสดาบัน ๓ แบบ
เมื่อมนสิการโดยความเปนสภาพไมเที่ยง ใจเต็มเปยมดวยศรัทธา
เพราะสัทธินทรียมีประมาณยิ่ง บุคคลจึงไดโสดาปตติมรรค เพราะเหตุนั้นจึง
กลาววา เปนสัทธานุสารีบุคคล
เมื่อมนสิการโดยความเปนทุกข ในเต็มเปยมดวยฌานสมาธิ บุคคล
จึงไดโสดาปตติมรรค เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา เปนกายสักขีบุคคล
เมื่อมนสิการโดยความเปนอนัตตา ใจเต็มเพียวดวยปญญาเห็นเกิด-
ดับ บุคคลจึงไดโสดาปตติมรรค เพราะเหตุนั้นจึงกลาววา เปนธรรมานุสารี
ประเภทของพระอริยบุคคลผูเ ห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
๑) พระอริ ย บุ ค คลผู ไ ด อ นิ จ จานุ ป ส สนาสั ง ขารุ เ ปกขาญาณ ๒
ประเภท คือ สัทธานุสารี ๑ สัทธาวิมุต ๑
๒) พระอริยบุคคลผูไดทุกขานุปสสนาสังขารุเปกขาญาณ ๒ จําพวก
คือ กายสักขี ๑ อุภโตภาควิมุต ๑
๓) พระอริ ย บุ ค คลผู ไ ด อ นั ต ตานุ ป ส สนาสั ง ขารุ เ ปกขาญาณ ๓
จําพวก คือ ธัมมานุสารี ๑ ทิฏฐิปตตะ ๑ ปญญาวิมุต ๑

๑๔๔
ดูใน องฺ.สตฺตก.อ.(บาลี) ๓/๑๔/๑๖๒.
๑๔๕
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒๑/๓๗๑-๓๗๓.

๓๕
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
พระอริยบุคคลผูเปนสัทธาธิมุตก็ดี กายสักขีก็ดี ทิฏฐิปตตะก็ดี ทั้ง ๓
ทานนี้บางทีก็เปนสัทธาธิมุต บางทีก็เปนกายสักขี บางทีก็เปนทิฏฐิปปตตะ
อนึ่ง สัทธานุสารีและธัมมานุสารี หมายถึงมรรคจิตของบุคคลผู มี
อินทรียแกรอบ วิปสสนาญาณแกรอบ โพชฌงคแกรอบ เขาถึงอนุโลมญาณ
โคตรภูญาณ เกิดมรรคจิตขึ้น ปญญาประหารกิเลสบางเหลา(สังโยชน ๓)
ขณะถัด มากิเ ลสบางเหล าถูกประหารเป นผลจิ ต ผลนั้น เกิด ขึ้น ติด กันไมมี
ระหวาง มรรคจิตนั้นวาโดยสภาวธรรม คือจิตที่สมังคีดวยมรรคมีองค๘ เปน
โลกุตร ถาวาโดยปุคคลาทิฏฐาน คือ สัทธานุสารี หรือธัมมานุสารี นั่นเอง
สัทธานุสารีและธัมมานุสารีนี้ จึงหมายถึงมรรคจิตนั้ นและที่ไมได
หมายความรวมถึ ง ปุ ถุ ช นชนที่ กํ า ลั ง เจริ ญ ปุ พ พภาคมรรคอยู ดั ง ที่
พระพุทธเจาตรัสอธิบายไววา
“ภิกษุ ท. ..สัทธานุสารี กาวลงสูอริยมรรค หยั่งลงสูภูมิของสัตบุรุษ
ผานภูมิของปุถุชนไดแลว ..ไมสมควรตายตราบเทาที่ยังไมทําใหแจงโสดา
ปตติผล ..ธัมมานุสารี กาวลงสูอริยมรรค หยั่งลงสูภูมิของสัตบุรุษ ผานภูมิ
ของปุ ถุ ช นได แ ล ว ..ไม ส มควรตายตราบเท า ที่ ยั ง ไม ทํ า ให แ จ ง โสดาป ต ติ
ผล”๑๔๖พระพุทธเจาทรงรับรองไวชัดเจนอีกดวยวา กอนที่บุคคลนี้จะตาย
จะตองเขาถึงโสดาปฏิผลคือสําเร็จเปนพระโสดาบันแนนอน ทั้งนี้เพราะมรรค
จิ ต และผลจิ ต นั้ น เป น อกาลิ โ ก ให ผ ลไมจํ ากัด กาล ให ผ ลในทัน ที เกิด ขึ้ น
ติดกันไมมีในระหวาง เกิดขึ้นในวิถีจิตเดียวกันนั่นเอง
อะไรคือความเหมือนและความตางระหวางสัทธานุสารีและธัมมานุ
สารี การที่ ม รรคจิ ต จะเกิ ด ขึ้ น ได นั้ น จะต อ งผ า นการเจริ ญ สติ ป ฏ ฐาน ๔
มาแลวทั้งสิ้น ถาไมไดปฏิบัติในชาตินี้ ก็ตองเคยปฏิบัติมาแลวในชาติกอนๆ
อยางเชนบุคคลในสมัยพุทธกาล เพียงฟงธรรมแลวบรรลุธรรมเลย มีทั้งสัทธา
นุสารีและธัมมานุสารี อินทรียแกรอบแลว วิปสสนาญาณแกรอบแลว และ
โพชฌงค แ ก ร อบแล ว จึ ง เข า ถึ ง มรรคจิ ต ได ทั้ ง คู เ ห็ น อริ ย สั จ ๔ ทํ า ลาย
ความเห็นผิ ดวาเปนตั วตนคือสักกายทิฐิ ละวิจิกิจฉา ละศีลปตปรามาสได

๑๔๖
ม.ม. (ไทย) ๑๗/๓๐๒/๓๒๐.

๓๖
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
เหมือนกัน และประกอบดวยสัทธินทรีย วิริยินทรีย สตินทรีย สมาธินทรีย
และปญญินทรียเหมือนกัน
ความต าง คือ สั ทธานุ สารี แลน ไปถึงมรรคจิต นั้ นโดยมีศรั ทธานํ า
แตธัมมานุสารีแลนไปถึงมรรคจิตนั้นโดยมีปญญานํา ดังที่พระพุทธเจาทรง
ตรัส วา “ภิกษุ ท. ตา ..หู ..จมูก ..ลิ้ น ..กาย ..ใจ เป นสิ่งไมเ ที่ยง มีความ
แปรปรวนเปนปกติ มีความเปลี่ยนเปนอยางอื่นเปนปกติ ..ภิกษุ ท. บุคคลใด
มีความเชื่ อน อมจิต ไปในธรรม ๖ อย างนี้ ด ว ยอาการอยางนี้ บุ คคลนี้ เ รา
เรียกวาเปน สัทธานุสารี ..ภิกษุ ท. ! ธรรม ๖ อยางเหลานี้ ทนตอการเพง
โดยประมาณอันยิ่งแหงปญญา ของบุคคลใด ดวยอาการอยางนี้ บุคคลนี้เรา
เรียกวา ธัมมานุสารี”๑๔๗
สัทธานุสารีเมื่อฟงธรรมแลวอาศัยเพียงศรัทธาในพระตถาคตนอม
จิตเลื่อมใสเชื่อวา ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจไมเที่ยง ทําใหเขาถึงมรรคจิตได
แตธัมมานุสารีเมื่อฟงธรรมมีศรัทธาในตถาคตแลว ยังมีการเพงดวยปญญา
อันยิ่งวา ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นั้นไมเที่ยงดวย เขาถึงมรรคจิตได
จากที่พระพุทธเจาตรัสลําดับของอริยบุคคล เปนที่สังเกตไดวา ทรง
เรียงลําดับจากผูมีอินทรียสมบรูณไปหาผูที่มีอินทรียนอยลงไปตามลําดับ ใน
ที่นี้ แสดงให เ ห็ น ว า ธั มมานุ ส ารี ที่อ าศั ย ป ญ ญาอัน ยิ่ ง แล น สู ม รรคจิ ต นั้ น มี
อินทรียที่แกกวาสัทธานุสารีผูอาศัยเพียงศรัทธานําแลนสูมรรคจิต ทั้งนี้ไมได
กลาวถึงความเร็วชาแหงการบรรลุ เพราะบุคคลมีปญญานอยบรรลุชาก็มี
บรรลุ เ ร็ว ก็มี บุคคลมีปญญามากบรรลุช าก็มี บรรลุ เร็ วก็มี กลาวถึงแต ว า
สัทธานุสารีผูมีศรัทธากลาเมื่อบรรลุผลแลวกลายเปนสัทธาวิมุติ สวนธัมมานุ
สารีที่มีอินทรียคือปญญากลาเมื่อบรรลุผลแลวจะเปนทิฏฐิปตตะ
โสดาปตติมรรค นอกจากธัมมานุสารี สัทธานุสารี มีอีกชื่อวา กาย
สักขีอีกดวย โดยพระสารีบุต รไดอธิ บายในอรรถกถาวา เมื่อมนสิการโดย
ความไมเที่ยง อนิจจัง สัทธินทรียมีประมาณยิ่ง เพราะสัทธินทรียมีประมาณ
ยิ่งจึงไดโสดาปตติมรรค บุคคลนี้เรียกวา สัทธานุสารี เมื่อ มนสิการโดยความ

๑๔๗
ดูรายละเอียดใน ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๗๘/๔๖๙.

๓๗
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
เปนทุกข สมาธินทรียมีประมาณยิ่ง เพราะสมาธินทรียมีประมาณยิ่งจึงได
โสดาปตติมรรค บุคคลนี้เรียกวา กายสักขี เมื่อมนสิการโดยความไมใชตัวตน
อนัตตา ปญญินทรียมีประมาณยิ่ง เพราะปญญินทรียมีประมาณยิ่งจึงไดโดส
ดาปตติมรรค บุคคลนี้เรียกวา ธัมมานุสารี๑๔๘

๔. การเห็นแจงอริยสัจ ๔ ของพระโสดาบัน
พระพุทธองคตรัสถึงธรรมจักรอันยอดเยี่ยมที่ตถาคตไดประกาศแลว
อันสมณะพราหมณ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆ ในโลก ใหหมุนกลับไมได คือ
การบอก ๑๔๙การแสดง การบั ญญั ติ ๑๕๐ การกํ าหนด ๑๕๑ การเป ด เผย การ
จํ า แนก ๑๕๒ การทํ าให ง า ย ๑๕๓คื อ อริ ย สั จ ๔ ประการได แ ก ทุ ก ขอริ ย สั จ
ทุกขสมุทยอริยสัจ ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ พระองค
ทรงตรัสกับภิกษุทั้งหลายทรงยกยองพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ ใหคบ
กับทั้งสองทานเพราะวาเป นภิกษุผู ฉลาด เปนผู อนุ เคราะหเพื่อนพรหมจารี
ทั้งหลาย พระสารี บุ ตรเปรี ยบเหมือนผู ให กํ าเนิ ด พระโมคคั ลลานะเปรี ยบ
เหมือนผูบํารุงเลี้ยงทารกที่เกิดแลว พระสารีบุตรยอมแนะนําในโสดาปตติผล
โมคคัลลานะยอมแนะนําในประโยชนที่สูงสุด สารีบุตรสามารถที่จะบอก แสดง
บัญญั ติ กําหนด เปดเผย จําแนก ทําใหงายซึ่งอริยสัจ ๔ได โดยพิสดาร เมื่อ
พระองคทรงลุกขึ้นจากพุทธอาสน เสด็จเขาไปยังที่ประทับ ตอมาพระสารีบุตร
๑๔๘
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป.อ. ๖๙/๔๙๓/๓๔๒-๓๔๔
๑๔๙
การบอก หมายถึง การบอกอริยสัจ (ม.อุ.อ. (บาลี) ๓/๓๗๑/๒๒๓., องฺ.
จตุกฺก.อ. (บาลี) ๒/๑๗๒/๓๙๕., องฺ.จตุกฺก.ฏีกา (บาลี) ๒/๑๗๒/๔๓๔.)
๑๕๐
การบัญญัติ หมายถึง การตั้งสัจจะ มีทุกขสัจ เปนตน (ม.อุ.อ. ๓/๓๗๑/๒๒๓.)
๑๕๑
การกําหนด หมายถึง การใหเนื้อความนั้นดําเนินไปโดยประการตางๆ (ม.อุ.อ.
๓/๓๗๑/๒๒๓,องฺ.จตุกฺก.ฏีกา ๒/๑๗๒/๔๓๕.)
๑๕๒
การจําแนก หมายถึง การจําแนกประเด็นทีเ่ ปดแลว (ม.อุ.อ. ๓/๓๗๑/๒๒๓, องฺ.
จตุกฺก.ฏีกา ๒/๑๗๒/๔๓๕.)
๑๕๓
การทําใหงาย หมายถึง การแสดงประเด็นที่จําแนกไวใหชัดเจนดวยการชี้เหตุ
และยกอุทาหรณตางๆ มาประกอบ (ม.อุ.อ. ๓/๓๗๑/๒๒๓, องฺ.จตุกฺก.อ. ๒/๑๗๒/๓๙๙)

๓๘
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ก็ไดขยายความเรื่องอริยสัจ ๔ ใหภิกษุทั้งหลาย
อริยสัจ คือ ความจริงอยางประเสริฐ, ความจริงของพระอริยะ,
ความจริงที่ทําคนใหเปนพระอริยะ มี ๔ อยาง คือ ทุกข (ทุกขสัจจะ) สมุทัย
(สมุทัยสัจจะ) นิโรธ (นิโรธสัจจะ) มรรค (มัคคสัจจะ)๑๕๔ หรือสัจจะที่พระ
อริยะแทงตลอดอยางนี้ก็ได
คําวา อริยสัจ มาจากคําวา อริย+สัจจะ สองคํารวมกัน แปลวา เปน
สัจจะที่พระอริยะแทงตลอด อริยสัจ ๔ คือ ความจริงแทที่นําไปสูความสิ้น
ทุกขไดจริง๑๕๕ ธรรมอันทําใหเปนพระอริยะ๑๕๖ พระผูมีพระภาคเจาตรัสไว
๔ ประการ คือ
๑) ทุกขอริยสัจ ไดแก ชาติเปนทุกข ชราเปนทุกข มรณะ เปนทุกข
โสกะ ปริเทวะ ทุกข โทมนัส อุปายาสเปนทุกข การไมไดสิ่งที่ตองการ เปนทุกข
โดยยอก็คือ อุปาทานขันธนั่นเอง ๑๕๗
ชาติคือ ความเกิด ความเกิดพรอม ความหยั่งลง ความบังเกิด ความ
บังเกิดเฉพาะความปรากฏแหงขันธ ความไดอายตนะ ในหมูสัตวนั้ นๆ ของ
เหลาสัตวนั้นๆ
ชราคื อ ความแก ความคร่ํ าคร า ความมี ฟนหลุ ด ความมีผมหงอก
ความมีหนังเหี่ยวยน ความเสื่อมอายุ ความแกหงอมแหงอินทรีย ในหมูสัตว
นั้นๆ ของเหลาสัตวนั้นๆ๑๕๘
มรณะ คือ ความจุติ ความเคลื่อนไป จากหมูสัตวนั้นๆ ความทําลาย
ไป ความหายไปความตายกล าวคือมฤตยู การทํากาละ ความแตกแห งขั นธ
ความทอดทิ้งรางกายความขาดสูญแหงชีวิตินทรียของสัตวเหลานั้นๆ
โสกะ คือ ความเศราโศก กิริยาที่เศราโศก ภาวะที่เศราโศก ความแหง
๑๕๔
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับ
ประมวลศัพท, พิมพครั้งที่ ๑๕,(กรุงเทพ:บริษัท สหธรรมิก จํากัด, ๒๕๕๓), หนา ๕๖๙.
๑๕๕
อภิ.วิ.มูลฎีกา (บาลี) ๑/๑๘๙/๕๘.
๑๕๖
ขุ.เถร. (บาลี) ๒/๓๖/๑๕๘.
๑๕๗
วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๔/๒๑, ม.มู. (ไทย) ๑๒/๙๑/๘๖
๑๕๘
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๗๓/๔๑๘.

๓๙
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ผากภายในความแหงกรอบภายใน ของผู ที่ประกอบดวยความเสื่อมอยางใด
อยางหนึ่ง (หรือ)ผูที่ถูกเหตุแหงทุกขอยางใดอยางหนึ่งกระทบ
ปริเทวะ คือ ความรองไห ความคร่ําครวญ กิริยาที่รองไห กิริยาที่คร่ํา
ครวญ ภาวะที่รองไห ภาวะที่คร่ําครวญ ของผูที่ประกอบดวยความเสื่อมอยาง
ใดอยางหนึ่ง (หรือ)ผูที่ถูกเหตุแหงทุกขอยางใดอยางหนึ่งกระทบ
ทุกข๑๕๙ คือ ความทุกขทางกาย ความไมสําราญทางกาย ความเสวย
อารมณที่เปนทุกขไมสําราญ อันเกิดจากกายสัมผัส
โทมนัส คือ ความทุกขทางใจ ความไมสําราญทางใจ ความเสวย
อารมณที่เปนทุกขไมสําราญ อันเกิดจากมโนสัมผัส
อุปายาส คือ ความแคน ความคับแคน ภาวะที่แคน ภาวะที่คับแคน
ของผูที่ประกอบดวยความเสื่อมอยางใดอยางหนึ่ง (หรือ) ผูที่ถูกเหตุแหงทุกข
อยางใดอยางหนึ่งกระทบ
การไมได สิ่ งที่ ต องการเป นทุ กข คื อ ความปรารถนาว า ความเกิ ด
ความแกความเจ็บความตายความเศร าโศก ความคร่ําครวญ ความทุกขกาย
ความทุกขใจและความคับแคนใจ ไมพึงมีแกเราทั้งหลาย แตความปรารถนานี้
ไมพึงสําเร็จไดตามความปรารถนา คือ ๑) อุปาทานขันธคือรูป ๒) อุปาทาน
ขันธ คือเวทนา ๓) อุ ปาทานขันธ คือสั ญญา ๔) อุ ปาทานขั นธ คื อสั งขาร ๕)
อุปาทานขันธคือวิญญาณ เรียกโดยยอวา อุปาทานขันธ ๕ เปนทุกข นี้เรียกวา
ทุกขอริยสัจ๑๖๐
๒. ทุกขสมุทัย เรียกสั้นๆ วา สมุทัย แปลวา เหตุเกิดแหงทุกข หรือ
สาเหตุให ทุกขเ กิด ขึ้น ได แก ความอยาก ที่ยึ ดถือเอาตั ว ตนเป น ที่ตั้ง โดย
อาการที่มีเรา ซึ่งจะเสพ ที่จะได จะเปน จะไมเปน อยางนั้นอยางนี้ ทําให
ชีวิ ต ถูกบี บคั้น ดว ยความเร าร อน ร านรน กระวนกระวาย ความหวงแหน
เกลียดชัง หวั่นกลัว หวาดระแวง ความเบื่อหนาย หรือความคับของติดขัด
ในรูปใดรูปหนึ่ง อยูตลอดเวลา ไมอาจปลอดโปรงโลงเบา เปนอิสระ สดชื่น

๑๕๙
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๗๓/๔๑๙.
๑๖๐
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๗๓/๔๒๐-๔๒๑.

๔๐
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
เบิกบานได อยางบริสุทธิ์สิ้นเชิง ไมรูจักความสุข ชนิดที่เรียกวา ไรไฝฝา และ
ไมอืดเฟอ เมื่อบุคคลผูปฏิบัติเขาถึงสัจจละอวิชชาไดยอมรูสิ่งที่เปนสาเหตุ
เกิดของทุกข ซึ่งตองจะตองกําจัดเสีย ถาจัดเปนขั้น ไดแก สืบคน วิเคราะห
และวินิจฉัยมูลเหตุของปญหา ซึ่งจะตองแกไขกําจัดใหหมดสิ้นไป
สมุ ทั ย อริ ย สั จ ความจริง แทที ่ว า ความทุก ขทั ้ง มวลที ่ส รรพสัต ว
ประสบอยู หรือรับ รูทางอายตนะ ๖ อยูนั้น ลว นเกิดจากเหตุปจ จัยนั้น คือ
อวิช ชา ตัณหาและอาสวะกิเ ลส ที่ห มักดองอยูในขันธสันดานของสัต ว๑๖๑
แตละตนนั่นเอง ตัณหานั้นมีอยู ๓ ประการ คือ
๑. กามตัณหา คือ ความอยากไดอยางโนนอยางนี้ ซึ่งเกิดจากตา
หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เชน ตาเห็นรูปสวยงาม ก็เกิดความอยากได อยาก
ไดบานสวยๆ ราคาแพง อยากไดเสื้อผาสวยๆ อยากไดรถยนตคันงาม เปน
ตน ความอยากทํานองนี้เป นความอยากในสิ่งที่รักใคร และนาพอใจ เป น
ความอยากที่ไมรูจบ เมื่อไมไดตามความประสงคก็จะเกิดทุกข
๒. ภวตัณหา คือ ความยากเปนอยางโนนอยางนี้ เปนความ
อยากไดในตําแหนงฐานะที่สูงขึ้นตามที่ตนรักใครและพอใจ เชน อยากเปน
ขาราชการในตําแหนงสูงๆ อยากเป นมหาเศรษฐี และอยากเป นบุคคลที่มี
ชื่อเสียง เปนตน เมื่อไมไดดังใจปรารถนาก็เปนทุกข
๓. วิภวตัณหา คือ ความอยากไมเปนความอยากไมมี จัดเปน
ความอยากที่ประกอบกับความเบื่อหนายในสภาพที่เปนอยูในปจจุบัน โดย
ตองการจะหลีกหนีใหพนจากสภาพนั้นไป เชน อยากไมเปนคนโง อยากไม
เป น คนพิการ และอยากไมเ ป น คนยากจน เป น ต น ซึ่งความอยากไมเ ป น
นี้ ถาไมเปนไปตามที่ตนตองการแลวก็จะทําใหเกิดทุกข เชนเดียวกัน
๓. ทุก ขนิ โ รธ เรี ย กสั้ น ๆ ว า นิ โ รธ แปลว า ความดั บ ทุกข ได แก
ภาวะที่เขาถึง เมื่อกําจัดอวิชชา สํารอกตัณหาสิ้นแลว ไมถูกตัณหายอมใจ
หรือฉุดลากไป ไมถูกบีบคั้นดวยความรูสึกกระวนกระวาย ความเบื่อหนาย
หรื อ ความคั บ ข องติ ด ขั ด อย างใดๆ หลุ ด พน เป น อิส ระ ประสบความสุ ข ที่
๑๖๑
ขุ.อุ.อ.(ไทย)๔๔/๓๖๓.

๔๑
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
บริสุทธิ์ สงบ ปลอดโปรงโลงเบา ผองใสเบิกบาน เรียกสั้นๆ วานิพพาน เมื่อ
บุคคลเขาถึงสัจจะยอม ละอวิชชา รูภาวะของการดับทุกข ซึ่งจะตองกระทํา
ใหประจักษแจง ถาจัดเปนขั้น ก็ไดแก ขั้นเล็งเห็นรูภาวะที่หมดปญหาที่เอา
เปนจุดหมาย ใหเห็นวาการแกปญหาเปนสิ่งที่เปนไปได และจุดหมายนั้นควร
เขาถึง ซึ่งจะตองทําใหสําเร็จดวยมรรค
ลักษณะอาการของนิโรธมี ๕ ระดับ ดังนี้
๑) วิกขัมภนนิโรธ คือ การดับดวยการขมไว เปนการดับกิเลสของ
ทานผูบําเพ็ญฌาน ยอมขมนิวรณไวได ตลอดเวลาที่อยูในฌานนั้น
๒. ตทังคนิโรธ คือ การดับดวยองคนั้นๆ คือ ดับกิเลสดวยธรรมที่
เปนคูปรับหรือธรรมที่ตรงขาม เชน ดับสักกายทิฏฐิดวยความรูที่กําหนดแยก
นามรูปออกได เปนการดับชั่วคราวในกรณีนั้นๆ (เมื่อกําหนดรูรูปนามตาม
ความเปนจริงจนสติมีกําลัง สมาธิมั่นคง ปญญาในวิปสสนาญาณแกกลาจน
เห็นอารมณกับจิตตัวรูอารมณดับพรอมกันในทีละขณะนั้นๆ สงเคราะหได
ตั้งแต ภังคญาณ ขึ้นไป)
๓. สมุจเฉทนิโรธ คือ การดับดวยตัดขาด ดับกิเลสเสร็จสิ้นเด็ดขาด
ดวยโลกุตตรมรรคในขณะแหงมรรคนั้น ชื่อสมุจเฉทนิโรธ (มัคคญาณ)
๔. ปฏิปสสัทธินิโรธ คือ การดับดวยสงบระงับ อาศัยโลกุตตรมรรค
ดับกิเลสเด็ดขาดไปแลว บรรลุโลกุตตรผล กิเลสเปนอันสงบระงับไปหมดแลว
ไมตองขวนขวายเพื่อดับอีกในขณะแหงผลนั้นชื่อ ปฏิปสสัทธินิโรธ (ผลญาณ)
๕. นิสสรณนิโรธ (ดับดวยสลัดออกได หรือดับดวยปลอดโปรงไป
คือ ดับกิเลสเสร็จสิ้นแลว ดํารงอยูในภาวะที่กิเลสดับแลวนั้นยั่งยืนตลอดไป
ภาวะนั้นชื่อนิสสรณนิโรธ ไดแกอมตธาตุ คือ นิพพาน
ดังนั้น นิโรธ คือ ความดับกิเลส, ภาวะไรกิเลสและไมมีทุกขเกิดขึ้น
หรือเรียกวากระบวนการปฏิจจสมุปบาทสายดับ
๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เรียกสั้นๆ วา มรรค แปลวา ขอปฏิบัติ
ให ถึ ง ความดั บ ทุ ก ข ได แ ก อริ ย อั ฏ ฐั ง คิ ก มรรค หรื อ ทางอั น ประเสริ ฐ มี
องคประกอบ ๘ คือ สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิ ที่เรียกวา มัชฌิมาปฏิปทา
เพราะเปนทางสายกลาง ซึ่งดํ าเนิ นไปพอดี ที่จ ะให ถึงนิ โรธ โดยไมติด ของ
๔๒
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
หรือเอียงไปหาที่สุดสองอยาง คือ กามสุขัลลิกานุโยค (ความหมกมุนในกาม
สุข) และอัตตกิลมถานุโยค (การประกอบความลําบากแกตน คือ บีบคั้น
ทรมานตนเองใหเดือดรอน) แตเมื่อบุคคลผูปฏิบัติเขาถึงสัจะละอวิชชา รู
มรรคาคือขอปฏิ บัติใหถึงซึ่งความดับแหงทุกข ซึ่งจะตองฝกฝนปฏิบัติ ถา
จัดเปนขั้น ก็ไดแก ขั้นกําหนดวางแบบแผน หรือรับทราบวิธีการ ขั้นตอน
และรายละเอียดทั้งหลายในการแกไขปญหากําจัดสาเหตุของปญหานั้น ซึ่ง
จะตองลงมือปฏิบัติหรือดําเนินการตอไปอยางเปนรูปธรรม๑๖๒
๔.๑ กระบวนการของอริยสัจ ๔
กระบวนการของอริยสัจ ๔ ไดแกการกําหนดรูทุกข ละสมุทัย แจง
นิโรธ และเจริญมรรค๑๖๓ ซึ่งกิจทั้ง ๔ นี้สําเร็จพรอมกันในขณะเดียวกัน การ
กําหนดรูทุกขกค็ ือการมีสติกําหนดรูอุปาทานขันธ ๕ อันไดแก อาการของรูป
นามที่ปรากฏแตล ะขณะๆ สภาวะอาการเหล านั้ นไมเ ที่ย ง เป นทุกข เป น
อนัตตา ไมใชตัวใชตนของเรา เปนเพียงสภาวะที่เกิดขึ้นแลวก็ดับไปเทานั้น
การที่สติไปกําหนดรูสภาวะอาการนั้นเรียกวา กําหนดรูทุกขอริยสัจ ขณะที่มี
สติเขาไปกําหนดรูอาการกระทบคือผัสสะ ทําใหเกิดเวทนาตางๆ เชน สุข
ทุกข อุเบกขา และความกําหนัดในอาการนั้นๆ ก็ถูกละไป เรียกวาสมุทยสัจ
สวนความดับแหงสมุทัย (ความดับแหงการที่สติเขาไปรูสภาวะอาการเกิด
เวทนาและตัณหาที่เกิดขึ้น) นั้นเรียกวาแจงนิโรธ เมื่อทั้ง ๓ อยาง (คือทุกข
สมุทัย นิโรธ) เกิดขึ้นพรอมกัน ก็เรียกไดวาเปนการเจริญมรรค คืออริยมรรค
มี อ งค ๘ อั น มี สั ม มาทิ ฏ ฐิ สั ม มาสั ง กั ป ปะ สั ม มาว า จา สั ม มากั ม มั น ตะ
สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ เกิดขึ้นพรอมทั้งหมด การ
ทําใหมีสติกําหนดรูทุกขสัจ ละสมุทัยและมีนิโรธเปนอารมณ เปนมรรคสัจ
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ไดแสดงถึงกระบวนการของอริยสัจ ๔ วาดวย
อาการ ๑๒ ดังนี้ “ภิกฺขเว อิเมสุ จตูสุ อริยสจฺเจสุ เอวนฺติปริวฏฏํ ทฺวาทสาการํ
๑๖๒
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย), หนา
๘๔๙-๘๕๐.
๑๖๓
ดูรายละเอียดใน สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๑๐๙๘/๖๑๐

๔๓
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ยถาภูตํ ญาณทสฺสนํ สุวิสุทฺธํอโหสิ อถาหํ ภิกฺขเว สเทวเก โลเก สมารเก
สพฺรหฺมเกสสฺสมณพฺราหฺมณิยา ปชาย สเทวมนุสฺสาย อนุตฺตรํ สมฺมาสมฺโพธึ
อภิสมฺพุทฺโธปจฺจฺญาสึ.”
“ภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดญาณทัสสนะตามเปนจริงของเราในอริยสัจ ๔
๓ รอบ ๑๒ อาการ อยางนี้ หมดจดดีแลว เมื่อนั้น เราจึงยืนยันไดวา เปนผูตรัส
รูสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยมในโลก กับทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ใน
หมูสัตวพรอมทั้งสมณพราหมณ เทวดาและมนุษย”๑๖๔
ญาณทัสสนะ หมายถึง สัจจญาณ(หยั่งรูสัจจะ) กิจจญาณ(หยั่งรูกิจ)
กตญาณ(หยั่งรูการอันทําแลว)
๓ รอบ ๑๒ อาการ หมายถึง สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ เกิดขึ้น
เวียนไปในอริยสัจ ๔ ขอ ขอละ ๓ รอบ รวมเปน ๑๒ รอบ ดังนี้
สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ
ก. (๑) นี้ทุกข (๒) ทุกขนี้ควรกําหนดรู (๓) ทุกขนี้กําหนดรูแ ลว
ข. (๑) นี้สมุทัย (๒) สมุทัยนี้ควรละ (๓) สมุทัยนี้ละแลว
ค. (๑) นี้นิโรธ (๒) นิโรธนี้ควรทําใหแจง (๓) นิโรธนี้ทําใหแจงแลว
ง. (๑) นี้มรรค (๒) มรรคนี้ควรทําใหเจริญ (๓)มรรคนี้ทําใหเจริญแลว๑๖๕
สฬายตนวิ ภั งคสู ต ร ๑๖๖ พระพุ ทธเจ า ตรั ส ถึ งแนวทางปฏิ บั ติ ควร
กระทําดวยปญญาอันยิ่ง ดังนี้
๑) ทุ กข : ธรรมที่ ควรกํ าหนดรู ด วยป ญญาอั นยิ่ ง (ปริ ญญา) ได แก
อุปาทานขันธ ๕
๒) สมุทัย : ธรรมที่ควรละดวยปญญาอันยิ่ง (ปหานะ) ไดแก อวิชชา
และ ภวตัณหา
๓) มรรค : ธรรมที่ควรเจริญดวยปญญาอันยิ่ง (ภาวนา) ได แ ก สมถะ
และ วิปสสนา

๑๖๔
วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๖/๒๑., วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๖/๒๓.
๑๖๕
สํ.ม.อ. (บาลี) ๓/๑๐๘๑/๓๘๐, สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๓/๑๖/๒๑๙.
๑๖๖
ม.อุ. (ไทย) ๑๔ /๓๐๔/๓๖๘

๔๔
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๔) นิโรธ : ธรรมที่ควรทําใหแจงดวยปญญาอันยิ่ง (สัจฉิกิริยา) ไดแก
วิชชา และวิมุตติ๑๖๗
พระสูตรนีจ้ ะเรียงลําดับของมรรคไวกอนนิโรธ เนื่องจากนิโรธ ไดแก
วิชชา คือ อรหัตตมรรค และวิมุตติ คือผลวิมุตติ๑๖๘ และมีการกลาวเปรียบ
กับทุกขสัจเปนดังโรคสมุทยสัจเปนดังสมุฏฐานของโรคนิโรธสัจเปนดังความ
สงบของโรคมรรคสัจเปนดังเภสัช๑๖๙
ญาณ ๓, วิปสสนาญาณ ๑๖, ปริญญา ๓, วิสุทธิ ๗, อริยสัจ ๔
วิปสสนาญาณ ปริญญา โพธิปกขิย
ญาณ วิสุทธิ ๗ อริยสัจ ๔
๑๖ ๓ ธรรม ๓๗
สัจจ ปญญารูจากการ ศีลวิสุทธิ
ญาณ ฟงและการศึกษา - จิตตวิสุทธิ
๑.นามรูปปริจเฉท ญาต ทิฏฐิวิสุทธิ ทุกข สติปฏฐาน ๔
๒. ปจจัยปริคคห ปริญญา กังขาวิตรณ สมุทัย
๓. สัมมสนญาณ ตีรณ มัคมัคคญาณ วิกขัมพนนิโรธ สัมมัปธาน ๔
๔. อุทยัพพยญาณ ปริญญา ทัสสนวิสุทธิ สมุทัย,ตทังคนิโรธ
๕. ภังคญาณ ปหาน อิทธิบาท ๔
๖. ภยญาณ ปริญญา แจงนิโรธ
กิจจ ๗. อาทีนวาณ (ตทังคนิโรธ) อินทรีย ๕
มรรค

ญาณ ๘. นิพพิทาญาณ
๙. มุจจิตุกัมยตา ปฏิปทาญาณ พละ ๕
๑๐. ปฏิสังขา ทัสสนวิสุทธิ
๑๑. สังขารุเปกขา
โพชฌงค ๗
๑๒. อนุโลมญาณ
๑๓. โคตรภูญาณ
๑๔. มัคคญาณ อริยสัจ ๔ สมบูรณ อริยมรรค
กต ญาณทัสสนวิ สมุทเฉทปหาน
ญาณ ๑๕. ผลญาณ สุทธิ มีองค ๘
๑๖. ปจจเวกขณ

๑๖๗
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๔๓๒/๔๙๑.
๑๖๘
ม.อุ.อ. (ไทย)๒๓/๘๓๑/๕๐๘.
๑๖๙
อภิ.วิ.อ. (ไทย) ๗๗/๑๗๐/๓๐๖.

๔๕
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๔.๒ เห็นแจงนิโรธยสัจ บรรลุวิปสสนาญาณ
ภังคานุปสสนาญาณ(ที่ ๕) พระสารีบุตรเถระระบุวาเปน "วิปสสนา
ญาณ" เพราะเปนญาณที่เกิดปญญาเห็นความดับที่เปนจุดจบสิ้นของอารมณ
และจิตรู เห็นแตอาการที่สิ่งทั้งหลายดับไปๆ เห็นวาสิ่งทั้งหลายทั้งปวงลวน
จะตองดับสลายไปทั้งหมด ดังที่ทานอธิบายวา
จิตมีรูปเปนอารมณเกิดขึ้นแลวยอมดับไป พระโยคาวจรพิจารณา
อารมณ นั้นแลวพิจารณาเห็นความดับแหงจิตนั้น พิจารณาเห็นโดยความ
ไมเที่ยง ไมพิจารณาเห็นโดยความเที่ยง พิจารณาเห็น โดยความเปนทุกข
ไมพิจารณาเห็นโดยความเปนสุข พิจารณาเห็นโดยความ เปนอนัตตา ไม
พิ จ ารณาเห็ น โดยความเป น อั ต ตา ย อ มเบื่ อ หน า ย ไม ยิ น ดี ย อ มคลาย
กําหนัด ไมกําหนัด ยอมทําราคะใหดับ ไมใหเกิด ไมยึดถือ
เมื่ อ พิ จ ารณาเห็ น โดยความไม เ ที่ ย ง ย อ มละนิ จ จสั ญ ญาได เมื่ อ
พิจารณาเห็นโดยความเปนทุกข ยอมละสุขสัญญาได เมื่อพิจารณาเห็นโดย
ความเปนอนัต ตา ยอมละอัต ตสัญญาได เมื่อเบื่อหนาย ยอมละนันทิได
เมื่อคลายกําหนัด ยอมละ ราคะได เมื่อทําราคะใหดับ ยอมละสมุทัยได
เมื่อสละคืน ยอมละอาทานะได๑๗๐
จุดมุงหมายของการบรรลุวิปสสนาญาณ
๑. เพื่อพัฒนาจิตสูอริยภาวะ การพัฒนาจิตไปสูความเปนอริยภาวะ
หมายถึ ง การพั ฒ นาจิ ต ตามลํ า ดั บ ขั้ น แห ง วิ ป ส สนาญาณที่ ไ ด บ รรลุ ถึ ง
สามารถยกจิ ต ของตนเกิ ด ความบริ สุ ท ธิ์ ล ะอนุ สั ย กิ เ ลสหรื อ สั ง โยชน ไ ด
ตามลําดับขั้นจากขั้นที่ละไดบางสวน จนถึงการละไดทั้งหมด ในพุทธปรัชญา
เถรวาท อริยบุคคลคือผูที่บ รรลุธรรมชั้นสูงตั้งแตโสดาปตติมรรคขึ้นไปถึง
อรหั ต ตผล ท านจะกํา หนดจากระดั บ ของกิ เลสที่ เหลื ออยู ในจิ ตและระดั บ
คุณภาพของจิต ที่สามารถเขาถึงกระบวนการในลําดับของวิปสสนาญาณ แตละ
ระดับดังนี้

๑๗๐
ขุ.ป.(บาลี) ๓๑/๑๑๒/๘๓.

๔๖
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๑) จิตของอริยบุคคลระดับโสดาบันภาวะ ผูที่จะสามารถขามพน
โคตรปุ ถุ ช น ไปสู อ ริ ย ชน ต อ งรู แ จ ง แทงตลอดในระดั บ แห ง ญาณ ตั้ ง แต
อุทยัพยญาณ จนถึงสัจจานุโลมิกญาณจนผานโคตรภูญาณ มรรคญาณ ผล
ญาณ ถือ นิพ พานเปน อารมณ พิจ ารณากิเ ลสที่ล ะไดแ ลว และกิเ ลสที่ย ัง
เหลืออยู เกิดมรรคญาณครั้งที่ ๑ จะสามารถละสังโยชน ๓ เบื้องตน คือ สัก
กายทิฏฐิ ,วิ จิ กิจ ฉา และสีลั พพตปรามาสได เด็ ดขาด (กําจั ดทิฏฐานุสั ยและ
วิจิกิจฉานุสัยได) อันเปนสังโยชนเบื้องต่ําได จิตมีความสะอาดในระดับหนึ่ง แต
ยังไมสามารถลดแรงของราคะโทสะ และโมหะไดมากนัก พระอริยบุคคลผูได
บรรลุโสดาปตติผลนั้น เปนภาวะที่ตัดอนุสัยกิเลสไดบางสวนทําใหตองวนเวียน
ตอในสังสารวัฏนี้อีก โดยแบงตามประเภท ดังนี้
(๑) เอกพี ชี คื อ ผู ที่ ผ า นวิ ป ส สนาญาณตามลํ า ดั บ และยกจิ ต
พิ จ ารณามรรค ผลนิ พ พาน สามารถละสั ง โยชน เ บื้ อ งต น ๓ ได และลด
กระแสกิเลสไดมาก จึงตองเกิดอีกเพียงครั้งเดียว
(๒) โกลั งโกละ คือ ผู ที่ผ านวิ ป ส สนาญาณตามลํ าดั บ และยกจิ ต
พิ จ ารณามรรค ผลนิ พ พาน สามารถละสั ง โยชน เ บื้ อ งต น ๓ ได และลด
กระแสกิเลสพอประมาณ จะตองมาเกิดอีก ๒-๓ ครั้ง
(๓) สัตตักขัตตุปรมะ คือ ผูที่ผานวิปสสนาญาณตามลําดับ และยก
จิตพิจารณามรรค ผล นิพพาน สามารถละสังโยชนเบื้องตน ๓ ได และลด
กระแสกิเลสไดเบาบาง เพราะบารมีธรรมยังไมมากพอ จะตองมาเกิดอีก ๗
ครั้งเปนอยางมาก
๒) จิตของอริยบุคคลระดับพระสกทาคามีภาวะ ผูที่ผานการทวน
ญาณ จนรู แจ งแทงตลอดในระดั บแห งวิ ป สสนาญาณ ตั้ งแต อุทยั พยญาณ
จนถึงสัจจานุโลมิกญาณ จนผานโคตรภูญาณ มรรคญาณ ผลญาณ ถือนิพพาน
เปนอารมณ พิจารณากิเลสที่ละไดแลวและกิเลสที่ยังเหลืออยู จนเกิดมรรค
ญาณครั้งที่ ๒ สามารถละสังโยชน ๓ เบื้องตน คือ สั กกายทิฏฐิ วิจิ กิจฉา
และสี ลั พพตปรามาสได เด็ ด ขาด พรอ มสามารถลดแรงของราคะ โทสะ
โมหะไดม ากกวา โสดาบัน สามารถกํา จัด กามราคานุสัย และปฏิฆานุสัย
สวนหยาบๆได จิตสะอาดมากขึ้น แตยังไมสะอาดหมดจดถึงที่สุด
๔๗
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๓) จิต ของอริย บุคคลระดั บ พระอนาคามีภ าวะ ผูที่ผานการทวน
ญาณ สามารถรูแ จง แทงตลอดในระดับแหงญาณ ตั้งแตอุทยัพยญาณ จนถึง
สัจจานุโลมิกญาณ จนผานโคตรภูญาณ มรรคญาณ ผลญาณ ถือนิพพานเปน
อารมณ พิจารณากิเลสที่ละไดแลวและกิเลสที่ยังเหลืออยู จนเกิดมรรคญาณ
ครั้งที่ ๓ สามารถละสังโยชน ๓ และละเพิ่มอีก ๒ อยางคือ กามราคะและ
ปฏิฆะ (ความขัดเคือง) สามารถกําจัดกามราคานุสัย และปฏิฆานุสัยสวนที่
ละเอียดได จิตมีความสะอาดมากขึ้น มีความสะอาดมากวาพระสกทาคามี
แตยังไมหมดจดถึงที่สุดแลว๑๗๑
๔) จิตของพระอริยบุคคลระดับพระอรหันตภาวะ ผูสามารถผาน
การทวนญาณ สามารถรูแจงแทงตลอดในระดั บแหงญาณ ตั้งแต อุทยั พย
ญาณ จนถึง สัจจานุโลมิกญาณ จนพิจารณามรรค ผล นิพพาน กิเลสที่ละได
แลวและกิเลสที่ยังเหลืออยู จนเกิดมรรคญาณครั้งที่ ๔ สามารถละสังโยชนที่
เหลืออีก ๕ อยาง คือ รูปราคะ, อรูปราคะ, มานะ, อุจธัจจะ และอวิชชา
สามารถกําจัดมานานุสัย, ภวราคานุสัยและอวิชชานุสัยใหเด็ดขาด ถือเปนผูมี
จิตที่หางไกล สะอาดบริสุทธิ์ หมดจดถึงที่สุด มีคําอธิบายเพิ่มเติมวา เปนจิต
ที่มีความเปนอิสระคือความหลุดพนจากอาสวะทั้งหลาย เหมือนผาขาว
สะอาด ปราศจากมลทิน ควรรับ น้ํา ยอ มไดเ ปน อยา งดี๑๗๒ ไมมีค วาม
หวาดเสีย ว ไมสะดุง ไมสะทาน ไมหวั่นไหว มีความหนักแนนเหมือนภูเขา
หินใหญ มีสภาพเหมือนแผนดินที่ไมวาใครทิ้งของสะอาดหรือไมสะอาดลงไป
ก็รองรับไดโดยไมขัดเคือง๑๗๓ ตลอดเวลามีความผองใส เยือกเย็น อิ่มเอิบ
และมีแตความสุข จิตของพระอรหันตถือวาเปนจิตที่สมบูรณที่สุด
๒. เพื่อความหลุดพนจากทุกข การหลุดพนจากการยึดมั่นถือมั่นใน
๑๗๑
อางใน พระมหาอิสรเชษฐ ปฺาวชิโร (ใจมาสุข), “การศึกษาเปรียบเทียบ
แนวคิ ดเรื่ องวิ ป สสนาญาณในพุ ท ธปรั ชญาเถรวาทกับ อัช ฌัต ติก ญาณของโอโช” ,
วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓), หนา ๔๒-๔๓.
๑๗๒
ที.ม.(ไทย) ๑๐/๗๕/๔๓.
๑๗๓
ดูรายละเอียดใน อง.ฉกฺก.(ไทย) ๒๒/๕๕/๕๓๘-๕๓๙.

๔๘
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
กายในใจนี้ หรือละความยึด มั่นถือมั่นในอุป าทานขันธ ๕ คือ รูปนามนี้ได
วิปสสนาญาณจึงเปนปจจั ยสําคัญในการทําใหสามารถเห็นแจงทุกขในรู ป
นาม ดังนั้น ทุกขที่วิปส สนาญาณเขาไปเห็นคือ สภาวะทุกขในไตรลักษณ
และทุกขในอริยสัจ ๔ เมื่อศึกษาจะเห็นไดวา อริยสัจ ๔ เปนเปาหมายเบื้อง
หนาของวิปสสนาญาณ ที่สามารถทําผูปฏิบัติขามพนจากโคตรปุถุชน ไปสู
โคตรอริยชนได คือ ตองอาศัยญาณที่เขาไปพิจารณารูปนาม โดยความเปน
อริยสัจ ๔ ซึ่งปรากฏชัดใน สังขารุเปกขาญาณ ที่เห็นอริยสัจเปนเบื้องหนา และ
สัจจานุโลมิกญาณ มีการอนุโลมแก วิปสสนาญาณทั้ง ๘ เปนเบื้องตน และ
มีก ารคลอ ยตามโพธิป ก ขิย ธรรม ๓๗ หรือ มรรคสั จ จะ ในส ว นเบื้ อ ง
ปลาย๑๗๔ ดังนั้น การคลอยตามโพธิปกขิยธรรม ๓๗ หรือมรรคสัจ คือ การ
มองเห็นหนทางไปสูการดับทุกขในอริยสัจ ๔ พระผูมีพระภาคตรัสไวในอาส
วักขยสูตรวา
“ภิกษุทั้งหลาย เรากลาวความสิ้ นไปแหงอาสวะทั้งหลาย วามีได
สําหรับผูรูผูเห็นอยูเทานั้น หาไดกลาววา มีไดสําหรับผูไมรูไมเห็นอยู ในกรณี
นี้ สําหรับผูรูผูเห็นอยูซึ่งสัจจะวา ทุกขเปนอยางนี้ เหตุใหเกิดทุกขเปนอยางนี้
ความดับทุกขเปนอยางนี้ และขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกขเปนอยางนี้”๑๗๕
๓. เพื่อการบรรลุพระนิพพาน จุดมุงหมายที่สําคัญของการเจริ ญ
วิปสสนา คือ การมีญาณหยั่งรูแจงเห็นจริง จนสามารถละความยึดมั่นถือมั่น
ในตั ว ตนได อย างเด็ ด ขาด จึ งชื่ อว า บรรลุ ถึงนิ พพาน ดั งนั้ น นิ พพาน เป น
เปาหมายที่วิปสสนาญาณตองเขาไปถึง และถือเปนอารมณ ดังปรากฏในวิสุทธิ
มรรคว า อนุ โลมญาณสามารถกําจั ดกิ เลสที่ ป ดบั งอริ ยสั จออกไปได แต ไม มี
นิพพานเปนอารมณ ในโคตรภูญาณ จิตสามารถนอมอารมณไปสูนิพพานได
แต ไ ม ส ามารถทํ า ลายกิ เ ลสได เมื่ อ โคตรภู ญ าณเกิ ด ขึ้ น ทํ า หน า ที่ ข องตน

๑๗๔
อางใน พระมหาอิสรเชษฐ ปฺาวชิโร (ใจมาสุข), “การศึกษาเปรียบเทียบ
แนวคิ ดเรื่ องวิ ป สสนาญาณในพุ ท ธปรั ช ญาเถรวาทกั บ อั ช ฌั ต ติ ก ญาณของโอโช ” ,
วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, หนา ๔๔.
๑๗๕
สํ.ม.(ไทย) ๑๙/๑๐๙๕/๖๐๘.

๔๙
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
หมดแลวก็ดับไป ญาณในโลกุตตระ คือ มรรคญาณ ผลญาณโดยมีนิพพาน
เปนอารมณก็เกิดขึ้นติดตอกันไป อุปมาเหมือน บุรุษจะขามคลองน้ํา วิ่งมา
ดวยกําลังแรงจับเถาไมที่ผูกติดอยูกับตนไม แลวเหวี่ยงตัวใหขามไปถึงอีกฝง
หนึ่ง แลวปลอยเถาไมเสีย แลวมาตั้งตัวใหเปนปกติก็สบาย รูสึกวาตัวเองได
ขามพ นคลองน้ํ าสํ าเร็ จแล วการปล อยเถาไม นั้ นก็ คือ ตั ดเชื้ อชาติ ปุ ถุชนไปสู
อริยชน ไปสูฝงคือพระนิพพาน๑๗๖
๔.๓ พิจารณาอริยสัจ ๔ ตามลําดับปฏิจจสมุปบาท
พระสารีบุตรเถระอธิบายไววา การรูแจง ดวยการละสุขโสมนัสที่
อาศัย รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิ ญญาณ (วิ ปส สนาภูมิ ๖) เปน ตน เป น
อารมณ เกิดขึ้นวา “นี้เปนคุณแหงรูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)”
จัดเปนสมุทยสัจ
การรู แ จ งด ว ยการกํา หนดรู รู ป เวทนา สั ญญา สั ง ขาร วิ ญ ญาณ
(วิปสสนาภูมิ ๖) ที่ไมเที่ยง เปนทุกข มีความแปรผันเปนธรรมดาวา “นี้เปน
โทษแหงรูป” เปนทุกขสัจ
การรูแจงดวยการทําใหแจงธรรมเปนที่กําจัดฉันทราคะ ธรรมเปนที่
ละฉันทราคะในรูป เปนตน วา “นี้เปนเครื่องสลัดออกจากรูป” เปนนิโรธสัจ
การรู แจ งด ว ยการเจริ ญทิฏ ฐิ สั งกัป ปะ วาจา กัมมัน ตะ อาชี ว ะ
วายามะ สติ สมาธิ ในการรูแจงทั้ง ๓ นี้เปนมัคคสัจ
ชราและมรณะเปนทุกขสัจ ชาติเปนสมุทยสัจ การสลัดชรามรณะ
และชาติเปนนิโรธสัจ การรูชัดความดับแหงชรามรณและชาติเปนมัคคสัจ
ชาติเปนทุกขสัจ ภพเปนสมุทยสัจ การสลัดออกจากชาติและภพแม
ทั้งสองเปนนิโรธสัจ การรูชัดความดับแหงชาติและภพเปนมัคคสัจ
ภพเปนทุกขสัจ อุปาทานเปนสมุทยสัจ การสลัดออกจากภพและ
อุปาทานทั้งสองเปนนิโรธสัจ การรูชัดความดับภพและอุปาทานเปนมัคคสัจ
๑๗๖
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, แปลโดย สมเด็จพระพุฒาจารย
(อาจ อาสภมหาเถร), พิมพครั้งที่ ๑๐, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ บริษัท ธนาเพรส
จํากัด, ๒๕๕๔), หนา ๑๑๓๒-๑๑๓๓.

๕๐
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
อุ ป าทานเป น ทุ ก ขสั จ ตั ณ หาเป น สมุ ท ยสั จ การสลั ด ออกจาก
อุปาทานและตัณหาทั้งสองเปนนิโรธสัจ การรูชัดความดับแหงอุปาทานและ
ตัณหาเปนมัคคสัจ
ตัณหาเปนทุกขสัจ เวทนาเปนสมุทยสั จ การสลัดจากตัณหาและ
เวทนาสองเปนนิโรธสัจ การรูชัดความดับแหงตัณหาและเวทนาเปนมัคคสัจ
เวทนาเป นทุกขสั จ ผัส สะเปน สมุทยสั จ การสลั ด จากเวทนาและ
ผัสสะทั้งสองเปนนิโรธสัจ การรูชัดความดับแหงเวทนาและผัสสะเปนมัคคสัจ
ผัสสะเปนทุกขสัจ สฬายตนะเปนสมุทยสัจ การสลัดออกจากผัสสะ
และสฬายตนะทั้งสองเปนนิโรธสัจ การรูชัดความดับแหงผัสสะและสฬายต
นะเปนมัคคสัจ
สฬายตนะเป น ทุก ขสั จ นามรู ป เป น สมุ ท ยสั จ การสลั ด ออกจาก
สฬายตนะและนามรูปแมทั้งสองเปนนิโรธสัจ การรูชัดความดับแหงสฬายต
นะและนามรูปเปนมัคคสัจ
นามรูปเปนทุกขสัจ วิญญาณเปนสมุทยสัจ การสลัดออกจากนามรูป
และวิ ญ ญาณแม ทั้ ง สองเป น นิ โ รธสั จ การรู ชั ด ความดั บ แห ง นามรู ป และ
วิญญาณเปนมัคคสัจ
วิ ญ ญาณเป น ทุ ก ขสั จ สั ง ขารเป น สมุ ท ยสั จ การสลั ด ออกจาก
วิญญาณและสังขารแมทั้งสองเปนนิโรธสัจ การรูชัดความดับแหงวิญญาณ
และสังขารเปนมัคคสัจ
สังขารเปนทุกขสัจ อวิชชาเปนสมุทยสัจ การสลัดออกจากสังขารละ
อวิชชาเปนนิโรธสัจ การรูชัดความดับแหงสังขารและอวิชชาเปนมัคคสัจ๑๗๗
การเจริ ญวิ ป ส สนากรรมฐาน อัน เป น วิ ธี เ ขาถึงพระรั ต นตรั ย ด ว ย
วิปสสนาวิธีนี้ แสดงใหเห็นถึงการไดเห็นอริยสัจ ๔ ไปในตัว กลาวคือ
๑. ขันธ ๕ อันเปนอารมณของวิปสสนาที่ผูปฏิบัติพิจารณามาตั้งแต
ตนจนถึงอนุโลมญาณเปนที่สุดนั้นเปนตัวทุกขสัจ ผูบรรลุมรรคญาณนั้นจึงได
ชื่อวาเปนผูเห็นแจงทุกขสัจ

๑๗๗
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๖/๔๔๑.

๕๑
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๒. ตัณหาอันเปนเหตุใหเกิดขันธ ๕ นั้นเปน สมุทยสัจ ผูบรรลุมรรค
ญาณจึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงสมุทยสัจ
๓. มรรคจิตที่ไดนิพพานเปนอารมณ นิพพานนั้นก็ไดแก นิโรธสัจ
นั่นเอง ผูบรรลุมรรคญาณจึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงนิโรธสัจ
๔. ปญญาเจตสิกที่เกิดรวมกับมรรคจิตนั้น เปนตัวสัมมาทิฏฐิเปน
องคธรรมของอริยมรรคที่ ๑ และในขณะมรรคจิตเดียวกันนั้นมีวิตกเจตสิก
อันเปนสัมมาสังกัปปะเปนองคอริยมรรคที่ ๒, มีสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ
สัมมาอาชี ว ะเจตสิ ก อัน เปน องคอริ ย มรรคที่ ๓-๔-๕, มีวิ ริ ย ะสติ และ
เอกัคคตาเจตสิก อันเปนตัวสัมมาวิริยะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ อันเปนองค
อริ ย มรรคที่ ๖-๗-๘ เกิ ด ร ว มกั น ประกอบพร อ มกั น โดยมี นิ พ พานเป น
อารมณอยางเดียวกัน องคอริยมรรค ๘ ประการนี้เปน มรรคสัจ ดังนั้นผูได
บรรลุมรรคญาณนั้น จึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงมรรคสัจ
ผูป ฏิบัติ กรรมฐานจนไดบรรลุถึงมรรคญาณแลว ชื่อว าได เห็น แจ
งอริยสัจ ๔ คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค ดวยมรรคญาณหรือมรรคปญญา
คัมภีรอรรถกถาอธิบายวา สติที่กําหนดรูอารมณ เปนทุกขสัจ
ตัณหาที่เปนตัวเหตุอันยังทุกขสัจนั้นใหตั้งขึ้นเปนสมุทัยสัจ ความไมเปนไป
(ความดับ)แหงสัจจะทั้ง ๒ นั้นเปนนิโรธสัจ อริยมรรคที่กําหนดรูทุกขสัจ ละ
สมุทัยสัจ มีนิโรธเปนอารมณเปนมัคคสัจ โยคาวจรขวนขวายอยูดวยอํานาจ
สัจจะ ๔ อยางนี้ ยอมบรรลุความดับทุกขได ดวยหนทางนี๑๗๘ ้

๕. ญาณ ๑๖ ตามลําดับอิริยสัจ ๔
อริยสัจ ๔ เปนหลักธรรมสําคัญ ถือเปนหัวใจของพระพุทธศาสนา
ครอบคลุ มหลั กธรรมคําสอนทั้งหมด มีความหมายว า สั จจที่จ ริงแท เป น
ธรรมที่พระพุทธเจายกย องว าเปน ยอดธรรม เปน เสมือนรอยเทาช าง คือ
ธรรมทั้งหลายรวมลงไดในธรรมนั้น

๑๗๘
ที.ม.อ. (บาลี) ๒/๓๘๐.

๕๒
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
๑) ทุกขอริยสัจ คือ ความจริงแทที่ปรากฏใหจิตรับรูคือทุกข
ทุกขในที่นี้ หมายถึง สภาพธรรมที่ปรากฏ คือ ธรรมชาติทั้งปวงที่
รับรูทางตา หู จมูก ลิ้นกาย หรือใจ ซึ่งลวนตกอยูในสภาพที่เปลี่ยนแปลงไป
ตามเหตุปจจัยอยูตลอดเวลา คงทนสภาพอยูไมไดและบังคับบัญชาไมได อัน
ไดแก รูป เสียง กลิ่น รส อารมณสัมผัส และความรูสึกนึกคิดตางๆ แมแต
ความสุข ก็เปนทุกข เพราะเกิดแลวก็มีอาการเปลี่ยนแปลง ดับไปทุกครั้ง
ความทุกขหรือสภาพที่ทนไดอยาก กลาวใหลึกลงไปอีก หมายถึง
สภาวะของสิ่งทั้งหลายที่ตกอยูในกฎแหงความไมเที่ยง ซึ่งประกอบดวยภาวะ
บีบคั้น กดดัน ขัดแยง ขัดของ มีความบกพรอง ไมสมบูรณในตัว ขาดแกน
สาร และความเที่ยงแท ไมอาจใหความพึงพอใจเต็มแทจริงสรุป คือ การที่
กําหนดเห็นรูปนามเปนทุกข คือ เห็นอารมณชัด เพราะอารมณที่ปรากฏลวน
เปนสิ่งที่ถูกปรุงแตง สภาพที่ไมคงที่ เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ
(คํ า ว า ทุ ก ข เป น คํ า ศั พ ท สํ า คั ญ ในพระพุ ท ธศาสนา และใช ใ น
ความหมายที่กวางและลึกกวาในภาษาไทยมาก โดยปกติในภาษาไทยเราใช
คําวา ทุกข กับ ความรูสึกที่ไมนาพอใจ หรือความทุกขระทมขมขื่น แตใน
ภาษาบาลี ทุกข โดยยอจะหมายถึง ความคงสภาพอยูไมไดของสิ่งตางๆใน
โลกดังกลาว การทําความเขาใจศัพทคําว า ทุกข ให กระจาง จะช วยให ผู
ศึกษาไมเกิดความรูสึกวาพระพุทธศาสนามองโลกในแงราย เมื่ออานเนื้อหา
บางตอน เชน “การเกิดเปนทุกข” “ทั้งในกาลกอนและบัดนี้ เราสอนแตทุกข
และนิโรธแหงทุกข” เปนตน ทั้งนี้เพราะทานชี้ไปที่ตัวสภาวะที่คงสภาพอยู
ไมได มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลานั่นเอง)
กลาวโดยยอ ทุกข (ในไตรลักษณ) คือ ความคงสภาพอยูไมได
พระพุทธเจาบอกกิจ ที่พึงจะทําต อทุกขอริย สั จ วา ทุกขํ อริย สจฺ จํ
ปริฺเญยฺยํ ทุกขอริยสัจควรกําหนดรู ดังนั้น กิจญาณในทุกขอริยสัจ คือ
กําหนดรูรูสภาวะที่เปนทุกข รูสภาพอันเปนที่ตั้งแหงทุกข รูตําแหนงแหงที่
ของทุกข ซึ่งจะตองรูตามสภาพที่แทจริงของมัน (คือ ไมใชรูตามสภาพที่เรา
อยากใหมันเปนหรือตามที่เราเกลียดชังมัน เปนตน) ถาจัดเปนขั้น ไดแก ขั้น
แถลง หรือสํารวจปญหาที่จะตองทําความเขาใจ และรูขอบเขต
๕๓
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
เมื่อทํากิจ สมบู ร ณแล ว ญาณที่ป รากฎ คือ นามรู ปปริ เ ฉทญาณ
กําหนดรูดูอาการทองพอง ทองยุบ พองใหญ ยุบ ใจที่รูสึกกับทองพอง ทอง
ยุบใหเทากันใหตรงกันพอดี อยาใหกอนหรือหลังกัน จิตที่รูพรอมกันเชนนี้
วินิ จฉัย วา นามรู ป ปริ เ ฉทญาณ จิ ต กําหนดพร อมกัน ทีเ ดี ยว ความรู สึกถึง
ความมีอยูตัวตนขณะนั้น ยอมไมปรากฏนี้เรียกวา นามรูปปริ เฉทญาณ๑๗๙
จัดเปนทุกข(จินตาญาณ)”
๒) สมุทยอริยสัจ คือ ความจริงแทที่วา ความทุกขทั้งมวลที่สรรพ
สัตวประสบอยู หรือรับรูทางอายตนะ ๖ อยูนั้น ลวนเกิดจากเหตุทั้งสิ้น ไมได
เกิดขึ้นเอง หรือใครบันดาลใหเกิดขึ้น เหตุปจจัยนั้นคือ ตัณหา และอาสว
กิ เ ลส ที่ ห มั ก ดองอยู ใ นขั น ธสั น ดานของสั ต ว แ ต ล ะตนนั่ น เอง หรื อ
กระบวนการปฏิจจสมุปบาทสายเกิด
เหตุเบื้องตน คือ อวิชชาและตัณหาที่ทําใหวางใจ วางตัว แสดงออก
สัมพันธตอชีวิตและโลกอยางไมถูกตอง ไมเปนไปดวยความรูตามเปนจริง แต
เป น ไปด ว ยความยิ น ดี ยิ น ร า ย ชอบชั ง เป น ต น ตลอดจนกิเ ลสทั้งหลายที่
สืบเนื่องมา เชน ความกลัว ความถือตัว ความริษยา ความหวาดระแวง ฯลฯ
นั่นแหละ คือที่ไหลเนืองมาแหงปญหาความทุกขของมนุษย ตัณหาเปนตัวบง
การ อวิชชาคอยหนุนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เปนสิ่งที่มีอยูตามธรรมดา และ
ดํ า เนิ น ไปตามกฎธรรมชาติ การที่ ค นเขา ไปเกี่ ย วข อ งกับ สิ่ ง ใดก็ต าม ถ า
เกี่ยวของโดยมีกิเลส มีความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งนั้นดวยกิเลส ก็จะเกิดปญหา
มีทุกขขึ้นมา คือ กาวจากทุกขในสิ่ งทั้งหลายที่มีอยู ตามธรรมชาติ มาเป น
ทุกขในใจเรากลาวโดยยอ สมุทัย คือ กิเลสทั้งหลายประดามี
สภาพธรรมของสมุทัย คือ เจตนาที่เขาไปกําหนดรู ตัณหาที่อยาก
กําหนด เปนกระบวนการเกิดขึ้นของรูปนาม คือ ปฏิจจสมุปบาทสายเกิด
ปจจยาการ เปนหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดขึ้นพรอมแหงธรรมทั้งหลาย

๑๗๙
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธ)ิ , คูมือสอบอารมณกรรมฐานวิชาครู,
พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท ช. โฆษิตพิพัฒน จํากัด, ๒๕๔๓.), หนา ๘๓.

๕๔
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
เพราะอาศัยซึ่งกัน และกัน การที่สิ่ งทั้งหลายอาศัย ซึ่งกัน และกัน เกิด มีขึ้น
เพราะมี ปจจัย ๑๒ ประการ เกิดขึ้นสืบเนื่องกันมาตามลําดับ ดังนี้ คือ
เพราะอวิชชาเปนปจจัย สังขารจึงมี
เพราะสังขารเปนปจจัย วิญญาณจึงมี
เพราะวิญญาณเปนปจจัย นามรูปจึงมี
เพราะนามรูปเปนปจจัย สฬายตนะจึงมี
เพราะสฬายตนะเปนปจจัย ผัสสะจึงมี
เพราะผัสสะเปนปจจัย เวทนาจึงมี
เพราะเวทนาเปนปจจัย ตัณหาจึงมี
เพราะตัณหาเปนปจจัย อุปาทานจึงมี
เพราะอุปาทานเปนปจจัย ภพจึงมี
เพราะภพเปนปจจัย ชาติจึงมี
เพราะชาติเปนปจจัย ชรามรณะจึงมี
ความโศก ความคร่ําครวญ ทุกข โทมนัส และความคับแคนใจ ก็มี
พรอม ความเกิดขึ้นแหงกองทุกขคืออุปาทานขันธจึงมีตอไป
อนึ่ง พระพุทธเจาบอกกิจที่พึงจะทําตอทุกขอริยสัจวา ทุกขสมุทโย
อริยสจฺจํ ปหาตพฺพํ ทุกขสมุทัยอริยสัจควรละ กิจญาณในสมุทัยคือรูสิ่งที่เปน
สาเหตุแหงทุกขที่ตองกําจัดเสีย ถาจัดเปนขั้นๆ ไดแก ขั้นสืบคน วิเคราะห
และวินิจฉัยมูลเหตุของปญหาซึ่งจะตองแกไขกําจัดใหหมดสิ้นไป
เมื่อทํากิจสมบูรณแลว ญาณที่ปรากฎ คือ ปจจยปริคหญาณ เปน
ญาณที่เกิดปญญารูแจงในสภาวะของรูปกับนาม ที่กําหนดอยูวาทั้งรูปและ
นาม เปนเหตุ เปนผลซึ่งกันและกัน คือรูชัดในอาการตางๆ พรอมกับจิตที่เขา
รูทุกอารมณที่กระทบจิตจัดเปนอริยสัจ ๔ คือ “สมุทัย(จินตาญาณ)”
๓) นิ โ รธอริ ยสั จ ความจริ ง อัน ประเสริ ฐ คือ ความดั บ แห งทุ ก ข
ไดแก ความดับของทุกขสัจที่เปนรูปนามทั้งหมดนี้ เมื่อกําจัดอวิชชาสํารอก
ตัณหาซึ่งเปนเหตุสิ้นแลว ทุกขที่เปนผลก็ดับสิ้นไป ไมถูกตัณหายอมใจหรือ
ฉุดลากไป ไมถูกบีบคั้นดวยความรูสึกกระวนกระวาย ความเบื่อหนายหรือ

๕๕
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
ความคับของติดขัดอยางใดๆ หลุดพนเปนอิสระ ประสบความสุขที่บริสุทธิ์
สงบ ปลอดโปรงโลงเบา ผองใส เบิกบาน หรือเรียกวานิพพาน
ถาเรารูทันความจริงของโลกและชีวิต แลวเปลี่ยนวิธีสัมพันธเสียใหม
โดยไมสัมพันธดวย อวิชชา ตัณหา อุปาทาน (กิเลสตางๆ) เปนสัมพันธกับสิ่ง
ทั้งหลายดวยปญญา เมื่อพัฒนาปญญาจนถึงที่สุด สมุทัยก็หายไป กลายเปน
นิโรธ ความคับของติดขัดใดๆภายในจิตใจ กลายเปนความหลุดพนเปนอิสระ
ปลอดโปรงโลงเบากลาวโดยยอ นิโรธ คือ นิพพาน
เมื่อมีสติ สมาธิ และปญญาญาณสมบูรณ ยอมพนไปจากสังขารที่
เป น ทุก ข (รู ป -นามอัน เป น สั ง ขตธรรม) ได และพน จากกิเ ลสตั ณหาอย า ง
สิ้นเชิง ชนิดที่ไมอาจเปนทุกขไดอีกเลย นั่นคือ “พระนิพพาน๑๘๐”
พระพุ ท ธเจ า บอกกิ จ ที่ พึ ง จะทํ า ต อ นิ ธ รธอริ ย สั จ ว า ทุ กฺ ข นิ โ รโธ
อริยสจฺจํ สจฺฉิกาตพฺพํ ทุกขนิโรธอริยสัจควรทําใหแจง กิจญาณในนิโรธคือรู
ภาวะความดับทุกข ซึ่งตองทําใหประจักษแจง ถาจัดเปนขั้น ไดแก ขั้นเล็ง
ภาวะหมดปญหา ที่เอาเปนจุดหมาย ใหเห็นวา การแกไขปญหาเปนไปได
และจุด หมายนั้นควรเขาถึง ซึ่งจะต องทําใหสําเร็จ โดยรู เขาใจอยูว า การ
เขาถึงจุดหมายนั้นจะสําเร็จ หรือเปนไปไดอยางไร
เมื่อทํากิจสมบูรณแลว ญาณที่ปรากฎ คือ
ญาณที่ ๓ สั มมสนญาณ ป ญญาพิจารณาเห็ น อาการเกิด ตั้ ง ดั บ
ความเกิดเปนตัณหา สภาวะที่ทรงตัวเปนทุกข สภาวะที่ดับไปจัดเปนอริยสัจ
๔ คือ “นิโรธ (ตทังคนิโรธ)”
ญาณที่ ๔ อุทยัพพยญาณ ปญญาที่เห็นเนืองๆ ในความแปรผันของ
ปจจุบันธรรมทั้งหลาย คือรูปที่เกิดแลวเปนปจจุบันลักษณะแหงความเกิดของ
รูปนั้ นเปน อุทยั พ๑๘๑(ความเกิดขึ้ น) ลั กษณะแห งความแปรผั นเป น วยะ๑๘๒

๑๘๐
วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๔/๒๑, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๔๐๑/๓๓๔.
๑๘๑
ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๙๒๒-๙๒๔/๗๒๒.
๑๘๒
องฺ.ปญจก. (ไทย) ๒๒/๓๐๗/๔๐๙.

๕๖
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
(ความดับไป) สภาวะนิมิตตางๆ หายไปเร็ว แสงสวางแจมใสคลายไฟฟาจัดเปน
อริยสัจ ๔ คือ “สมุทัย(ตทังคนิโรธ)”
๔) มรรคอริ ยสัจ คือ ความจริ งแทที่วา ทางปฏิบั ติใหเ ขาถึงพระ
นิพพานมีอยูจริง และสามารถปฏิบัติใหรูแจงเห็นจริงไดในปจจุบันขณะนี้ นั่น
คือ การเจริญปญญา ศีลและสมาธิ ทํามรรคมีองค ๘ ใหเจริญขึ้น๑๘๓
ปฏิปทาหรือขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข มีองค ๘ ที่เรียกวา เปน
ทางสายกลาง ซึ่งดําเนินไปพอดีที่จะใหถึงนิโรธ โดยไมติดของหรือเอียงไปหา
ที่สุดสองอยาง คือ ความหมกมุนในกามสุข และการบีบคั้นทรมานตนเองให
เดือดรอน เปนกระบวนวิธีพัฒนามนุษยไปสูการมีปญญา จนกระทั่งไมตอง
อาศัย อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ในการดําเนินชีวิต กาวขามการดําเนินชีวิต
โดยอาศัยแรงจูงใจจากกิเลส อันเปนเหตุแหงทุกข ไปสูการอยูดวยปญญา
ดําเนินชีวิตดวยแรงจูงใจจากความปรารถนาในสิ่งดีงาม
พระพุทธเจาบอกกิจที่พึงจะทําตอมรรคอริยสัจ วา ทุกฺขนิโรธคามินี
ปฏิปทา อริยสจฺจํ ภาเวตพฺพํ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจควรเจริญ กิจ
ญาณในมรรคคือรูขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ซึ่งจะตองฝกฝนปฏิบัติพัฒนา
เจริญเดินหนาตอไปถาจัดเปนขั้น ไดแก ขั้นกําหนดวาง หรือรับทราบวิธีการ
ขั้นตอนและรายละเอียดทั้งหลายในการแกไขกําจัดสาเหตุของปญหานั้น ซึ่ง
จะตองลงมือปฏิบัติและดําเนินตอไป พูดใหเขาใจงายๆ คือ รูวา ทุกขหรือ
ปญหาของเราคืออะไร, ทุกขนั้นเกิดจากอะไร, เราตองการหรือพึงตองการ
ผลสําเร็จอะไร และจะเปนไปไดอยางไร,เราจะตองทําอะไรบาง
เมื่อทํากิจสมบูรณแลว ญาณที่ปรากฎ คือ ญาณที่ ๕ - ๑๓๑๘๔
ในญาณนี้ อารมณและจิตที่กําหนดไดดับหายไปพรอมๆ กันทุกครั้ง
นั้น คือ ปญญาพิจารณาเฉพาะความดับไปของรูปนามอยูเนืองๆ กําหนดจนจิต
ดับไปพรอมอารมณ อาการเผลอบอยๆ แลวจิตเกาะกับนิวรณ เพราะความดับ
ไปของจิตกับอารมณ จิตจึงไปเกาะอารมณที่เคยชิน คือกิเลส พบแตการดับ

๑๘๓
สํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๖๗/๕๗., สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๑๐๘๔/๕๙๙.
๑๘๔
ดูรายละเอียดใน บทที่ ๒

๕๗
บทที่ ๑ บรรลุโสดาบันในชาตินี้
นิ มิ ต หรื ออาการปรากฏรวดเร็ ว ตามไม ทั น สติ ตั้ งมั่ น อยู ในนิ โ รธ เห็ น ว า
“สั งขารเกิ ดขึ้นอย างนี้ แล วดั บไปอย างนี้ เป นธรรมดาเนื องๆ”คือ ทางอั น
ประเสริฐ ที่ทําใหผูปฏิบัติพนทุกขได เมื่อทํามรรคมีองค ๘ ใหสมบูรณซึ่งเปน
กระบวนการเกิดจากการกําหนดรู รูป-นาม ที่ประกอบดวยปชานาติ (ใสใจ)
มรรคนี้ เ ป น เบื้ อ งต น ซึ่ ง เป น โลกี ย ะ ๑๘๕ ได แ ก สติ ป ฏ ฐาน ๔
สัมมั ปปธาน ๔ เปนตน ที่จะนําไปสู อริยมรรคที่ เปนโลกุตระ ประหารกิเลส
อยางสิ้นเชิง โดยที่พัฒนาวิปสสนาญาณตามลําดับจนถึงมรรคญาณ องคมรรค
ทั้ง ๘๑๘๖ ยอมเกิดขึ้นพรอมกัน คือ สัมมาทิฏฐิ๑๘๗สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา
สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ทําหนาที่ละ
สมุทัย ดับกิเลสโดยสมุจเฉทประหาร บรรลุเปนพระอริยบุคคลโดยลําดับของ
อริยมรรค จัดเปนอริยสัจ ๔ คือ “ในญาณที่ ๑๔, ๑๕, ๑๖ แจงนิโรธอริยสัจ ๔
เกิดขึ้นตามลําดับจนสมบูรณ”

๑๘๕
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๒๕๓/๑๗๘.
๑๘๖
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๖/๔๖๘.
๑๘๗
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๙๐/๒๒๔.

๕๘
บทที่ ๒

หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖


เมื่อฟงชื่อหลักสูตรนี้แลว แมแตผูเขียนเองก็รูสึกวามีความเปนไปได
นอยมาก แตก็ตองการจะหาความเปนไปไดในพระพุทธพจนที่วา “ผูเจริญสติ
ปฏฐาน ๔ อยางนอยที่สุดแมเพียง ๗ วันก็บรรลุอรหันตได”๑ ยิ่งกวานั้น ใน
คัมภีรบอกวา “แคฟงธรรมคนขี้เรื้อนก็บรรลุโสดาบันได”๒ ซึ่งขาพเจาเอง
เคยไดรับหนาที่เปนพระวิปสสนาจารยสอนวิปสสนาโครงการระยะยาว ๒-๓
เดือนหลายครั้ง ครั้งหนึ่งไดสอบอารมณพระบวชใหมในโครงการเฉลิมพระ
เกียรติ ๑๐ วัน ขาพเจาคอนขางมั่นใจวา ในวันสิ้นสุดโครงการ พระทานหนึ่ง
ไดสังขารุเปกขาญาณอยางแนนอน และมีสภาวะบางอยางสูงกวานั้นเสียอีก
ขอเท็จจริงในเรื่องนี้จะเปนเพราะความเขลาของขาพเจาเองหรืออยางไร? ก็
ขอใหผูอานไดพิจารณาตัดสิน หลังจากอานหนังสือเลมนี้จบแลว ก็แลวกัน!
ผูที่ตองการทดลองปฏิบัติใหประสบผลสําเร็จตามหลักสูตรนี้ จะตอง
มีพื้นฐานดังนี้
๑) เปนผูรักษาศีล ๘ ทุกวันพระและนั่งสมาธิ ๑ ชั่วโมงเปนประจํา
หรือ เคยสิ้นเนื้อประดาตัวมากอน หรือ เคยพยายามฆาตัวตายมาแลว หรือ
เคยออกเดินทางผจญภัยในที่กันดารดวยลําพังตัวคนเดียวมาแลว
๒) มีความเชื่อวา ในปจจุบันนี้ยังมีพระอรหันตอยูจริง
๓) สติปญญาดี ไมกลัวตาย กลัวผีแตอยากเห็นผี (ชอบพิสูจน)
๔) แมรูวาพอแมเสียชีวิต ก็ไมเลิกกรรมฐาน เพราะเชื่อวา “บุญกุศล
ที่ตนกําลังทํายิ่งใหญกวาบุญกุศลใดๆ ที่จะอุทิศใหแกผูมีพระคุณได”
๕) ตองมีคุณสมบัตคิ รบทั้ง ๔ ขอแรก


ที.ม. (ไทย) ๑๐/๔๐๔/๓๔๐.

ขุ.อุ. (ไทย) ๒๕/๔๓/๒๕๕.
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖

ตารางหลักสูตร ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖


บันได ๗ ขั้น วิปสสนาญาณ ๑-๑๖ ปริญญา ๓ อริยสัจ ๔
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป-เห็นนาม ๑.นามรูปปริจเฉทญาณ ๑.ญาต ทุกข
๒.ปจจยปริคคหญาณ ปริญญา สมุทัย
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
๓.สัมมสน แบบออน สมุทัย
๒.ตีรณ
ญาณ แบบแก ตทังคนิโรธ
ปริญญา
ขั้นที่ ๓ เห็นความไมเที่ยง ๔.อุทยัพพย ตรุณ สมุทัย
ของรูป-นาม ญาณ พลว (ตทังคนิโรธ)
๕.ภังคญาณ
แจงนิโรธ

มรรค มีองค ๘
๖.ภยญาณ
ขั้นที่ ๔ เห็นความเปน ๓.ปหาน (อริยสัจ ๔
๗.อาทีนวญาณ
ทุกขของรูป-นาม ปริญญา เกิดโดย
๘.นิพพิทาญาณ
แบบ สมบูรณขึ้น
ขั้นที่ ๕ เห็นความไมใช ๙.มุญจิตุกัมยตาญาณ ตทังคปหาน ตามลําดับ)
ตัวตนของรูป-นาม ๑๐.ปฏิสังขาญาณ ทุกข, สมุทัย,
ขั้นที่ ๖ วางเฉยตอรูป- ๑๑. ตน นิโรธ, มรรค
นาม สังขารุเปก
ขาญาณ ปลาย วุฏฐาน
คามินี อริยสัจ ๔
๑๒.อนุโลมญาณ
สมบูรณ
ขั้นที่ ๗ สลัดคืนรูป-นาม ๑๓.โคตรภูญาณ
๑๔.มรรคญาณ สมุทเฉทปหาน
๑๕.ผลญาณ ปฏิปสสัทธิปหาน
๑๖.ปจจเวกขณญาณ
นิสสรณปหาน เปนพระนิพพานหาใชเปนปจจเวกขณญาณ ไม..

ขั้นที่ ๑ เห็นรูปเห็นนาม
คําวา "เห็น" ในที่นี้หมายถึง ปญญารูวาอะไรเปนอะไรตามธรรมชาติ
เดิมแท ในขณะตาเห็นรูป หูไดยินเสียง จมูกไดกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายถูกตอง
สัมผัส และใจนึกคิดคือภาวะเดิมแทของสิ่งที่ถูกรับรูนั้น หากไมเปนรูปก็เปน
นาม หากไมเปนนามก็เปนรูป และเมื่อรูวาอะไรเปนอะไรจริงๆ แลว ยอมไม

๖๐
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ปฏิบัติผิดตอสิ่งทั้งปวง เมื่อโยคี๓ปฏิบัติถูกแลวก็เปนอันแนนอนวา ความทุกข
จะเกิดขึ้นไมได การปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา คือ ปฏิบัติเพื่อใหรูวาสิ่ง
ทั้งปวง คืออะไร เมื่อรูแจงแทจริงก็ยอมหมายถึงการบรรลุมรรคผล เพราะ
ความรู (ปญญาญาณ) นั่นเอง เปนตัวทําลายกิเลสไปในตัว เมื่อรูวาสิ่งทั้งปวง
เปนอะไรจริงๆ แลวความเบื่อหนายคลายความอยาก และความหลุดพนจาก
ทุกขยอมจะเกิดขึ้นเองโดยธรรมนั้น
รูป ไดแก อารมณสัมผัสที่ถูกรับรูทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ซึ่งก็คือ สี
เสียง กลิ่น รสและสัมผัสตางๆ มีอาการแตกสลายอยูเสมอ เพราะความรอน
บาง ความเย็นบาง เพราะเหตุนั้น ธรรมชาตินั้นเรียกวา รูป๔


โยคี หรือ โยคาวจร หมายถึง ผูประกอบความเพียรในกรรมฐาน เปนผูฉลาด
เฉียบแหลมในการประคองจิต ขมจิต ทําจิตใหราเริง ทําจิตใหตั้งมั่น และวางเฉยได
ประคองจิตใหตั้งอยูดวยธัมมวิจยสัมโพชฌงค วิริยสัมโพชฌงค ปติสัมโพชฌงค
ขม จิต เมื่อ จิ ตฟุ งซ านก็ข ม ดว ยป สสั ท ธิสั มโพชฌงค สมาธิสั มโพชฌงค และ
อุเบกขาสัมโพชฌงค
ทํา จิ ต ให รา เริง ดว ยการพิ จ ารณาสัง เวควัต ถุ ๘ ประการ (ชาติ ชรา พยาธิ
มรณะ ทุกขในอบาย ทุกขมีวัฏฏะเปนมูลในอดีต ทุกขมีวัฏฏะเปนมูลในอนาคต ทุกขมี
การแสวงหาอาหารเปนมูลในปจจุบัน) หรือดวยการระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย
จิตตั้งมั่น ทําจิตใหเวนจากความหดหูและฟุงซาน ดวยผูกใจไวกับวิริยะและ
สมาธิ หรืออุปจารสมาธิและอัปปนาสมาธิ
วางเฉย พระโยคีรูความหดหู ฟุงซานแหงจิต จิตอภิรมยในอารมณกสิณเปนตน
หรือจิตสัมปยุตดวยฌานแลว ไมพึงขวนขวายในการประคองจิต ขมจิต ทําจิตใหราเริง
ควรกระทําการวางเฉยอยางเดียว (ขุ.ม.อ.(บาลี) ๒๑๐/๔๗๙-๔๘๐).

องฺ.เอก.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๓๓. รูป หมายถึง มหาภูตรูป ๔ และรูปที่อาศัย
มหาภูตรูปนั้น คือ รูปใหญ รูปตนเดิม คือ ธาตุ ๔ ไดแก (๑) ปฐวีธาตุ สภาวะที่แผไป
หรือกินเนื้อที่สภาพอันเปนหลักที่ตั้งที่อาศัยแหงสหชาตรูป เรียกสามัญวา ธาตุแขนแข็ง
หรือธาตุดิน (๒) อาโปธาตุสภาวะที่เอิบอาบหรือดูดซึม ซานไป ขยายขนาด ผนึก พูน
เขาดวยกัน เรียกสามัญ วา ธาตุเหลว หรือธาตุน้ํา (๓) เตโชธาตุ สภาวะที่ทําใหรอน
เรียกสามัญวา ธาตุไฟ (๔) วาโยธาตุ สภาวะที่ทําใหสั่นไหว เคลื่อนที่ ค้ําจุนเรียกสามัญ
วา ธาตุลม (ที.สี. (ไทย) ๙/๔๘๗-๔๙๙/๒๑๖-๒๒๐, ขุ.จู. (ไทย) ๓๐/๕/๕๘.).
๖๑
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
นาม คือ สภาวะที่รับรูทางใจและความรูสึกนึกคิดตางๆ มีการนอม
ไปสูอารมณเปนลักษณะมีหนาที่ประกอบกับจิตและเจตสิกดวยกันมีวิญญาณ
เปนเหตุใหเกิด ไดแก นามขันธ ๔ คือ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ
และวิ ญญาณขัน ธ คัมภี ร อรรถกถาอธิบ ายว า ธรรมชาติ ใด ย อมน อมไปรู
อารมณ ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อวานาม คือ นอมไปสูอารมณ๕
เมื่อโยคีกํ าหนดรู จนเห็ น รู ป เห็ น นาม ว าเป น คนละส ว น คนละ
ความรูสึกกัน ไมไดปนกัน การรูจักจําแนกรูปและนามอันเปนสิ่งที่รูหรือเปน
อารมณเครื่องระลึกของสติ ออกจากจิ ตผู รู หมายถึง ความรูจักรูป ธรรม-
นามธรรม วาสิ่งที่มีอยู ที่เปนของจริง ก็มีแตรูปธรรมและนามธรรมเทานั้น
จึงเกิดเปนปญญาญาณขั้นที่ ๑ ทีเ่ รียกวา นามรูปปริจเฉทญาณ
โยคีผูเปนวิปสสนายานิก (เจริญวิปสสนาลวน) เมื่อกําหนดรูธาตุ ๔
โดยสังเขป หรือโดยพิสดาร ดวยมุงในการกําหนดธาตุเหลานั้นๆ ครั้นรวมรูป
แมทั้งหมดเหลานั้นเขาเปนอันเดียวกันโดยลักษณะ คือ ความเสื่อมสลาย ก็
เห็ น ว า นี่ คื อ รู ป เมื่ อ โยคาวจรนั้ น กํ า หนดเห็ น รู ป อย า งนี้ แ ล ว อรู ป ธรรม
ทั้งหลายก็ปรากฏทางทวาร และกําหนดเชนนี้ ดวยธาตุ ๑๘ ดวยอายตนะ
๑๒ ทางขันธ ๕ โดยยนยอแตอยางเดียวอยางนี้วา “รูปอยางใดอยางหนึ่ง รูป
ทั้งปวง ก็คือ มหาภูตรูป ๔ และรูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔” ดังนี้ แลวกําหนด
มนายตนะ ดวย และเอกเทศของ ธัมมายตนะ ดวยวา “นาม” แลวกําหนด
นามและรูปโดยสังเขปวา นามนี้ดวย รูปนี้ดวย เรียกวา “นาม-รูป”
การเห็ น นามและรู ป ตามเป น จริ ง ซึ่ ง ครอบงํ า สั ต ตสั ญ ญา (คื อ
ความสํ า คั ญ หมายรู ว า มี สั ต ว ) เสี ย ได แล ว ตั้ ง อยู ใ นภู มิ ที่ ไ ม ลุ ม หลงของ
โยคาวจรผูกําหนดรูนามและรูป แมคําวา “นามรูปววัฏฐาน การกําหนดรู
นามและรูป” ก็ด๖ี คําวา “สังขารปริจเฉท(การกําหนดรูสังขาร)” ก็ดี เปนชื่อ


ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๒๔๘. นาม หมายถึง ขันธที่มิใชรูป ๔ อยาง (เวทนา
สัญญา สังขาร และวิญญาณ (ขุ.จู. (ไทย) ๓๐/๕/๕๘.).

นามรูปววัฏฐาน และสังขารปริจเฉท นี้เรียกอีกซื่อหนึ่งวา นามรูปปริจเฉท
ญาณ เปนญาณอันดับแรก หรือญาณที่ ๑ ในญาณ ๑๖
๖๒
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ของการเห็นนามและรูปตามเปนจริงนี้เหมือนกัน
เมื่อศึกษาในปฏิสัมภิทามรรคพบวา ญาณนี้มีอรรถเดียวกันกับวัตถุ
นานั ตตญาณ๗ โคจรนานัต ตญาณ๘ ภูมิน านานั ต ตญาณ และธั มมนานั ต ต
ญาณ๙” เปนญาณที่รูความเปนจริงของธรรมชาติทั้งปวงวา เปนเพียงรูปกับ
นามเทานั้น คือ มองเห็นความตางกันของธรรมชาติ ๒ อยาง คือ เห็นรูปก็
เปนลักษณะธรรมชาติอยางหนึ่ง เห็นนามก็เปนลักษณะธรรมชาติอยางหนึ่ง
เชนวา เห็นวาการเคลื่อนไหวก็เปนธรรมชาติอยางหนึ่งที่ไมสามารถจะรับรู
อะไรไดดว ยตัวเอง เปนเพียงแตธรรมชาติที่เกิดขึ้นมาแลวก็สลายตัวไป จัดวา
เปนรูปธรรมสวนตัวที่เขาไปรูเปนธรรมชาติที่สามารถจะรับรูอะไรได จัดเปน
นามธรรม สภาวะที่เห็นความตางกันของธรรมชาติ ๒ อยางนี้คือ เห็นวารูปก็
อยางหนึ่งเห็นวานามก็อยางหนึ่งอยางนี้เรียกวาสามารถแยกรูป

ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
การพิจารณาในชวงตน ยังไมถึงขั้น "พิจารณาเห็น" เปนเพียงการใส
ใจกําหนดดวยโยนิโสมนสิการ๑๐ ลงไปในทุกๆ การรับรู ขณะที่ตาเห็นรูป หู
ไดยินเสียง จมูกรูกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายถูกตองสัมผัส ใจคิดนึกเทานั้น ยังไม
เห็นสภาวธรรมเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เปนเพียงการเห็นสิ่งนั้นๆ ตาม
ลักษณะที่เปนสภาวะของมันเอง ขณะเกิดผัสสะเทานั้น
การกําหนดรูผัสสะ คือรูเห็นวา นี้ตาสัมผัส นี้หูสัมผัส นี้จมูกสัมผัส
นี้ลิ้นสัมผัส นี้กายสัมผัส นี้ใจสัมผัส ...นี้ผัสสะเปนอดีต นี้ผัสสะเปนอนาคต นี้
ผัสสะเปนปจจุบัน นี่เปนการกําหนดรูขั้นรูจัก เรียกวา ญาตปริญญา
เมื่อเขาสูชวงปลายของขั้นนี้ จะเปนการ "พิจารณาเห็นพระไตร

ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๖๖/๗๘-๘๐, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๖/๑๐๙-๑๑๑.

ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๖๗/๘๑-๘๒, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๗/๑๑๒-๑๑๔.

ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๗๒/๘๗-๘๘, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๗๒/๑๒๑-๑๒๒.
๑๐
โยนิโสมนสิการ แปลวา ทําไวในใจโดยอุบายอันแยบคาย เปนธรรมอยางเอก
ที่เปนเหตุใหธรรมตางๆ ที่เปนกุศลที่ยังไมเกิดขึ้น ไดเกิดขึ้น และทําใหละบาปอกุศลที่
เกิดขึ้นแลวได เปนเหตุทําใหโพชฌงคเกิดขึ้นและเจริญบริบูรณ เปนไปเพื่อบรรลุธรรม
๖๓
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ลักษณ" แตก็ยังเปนจินตาญาณ (ยังไมถึงขั้นปจจักขญาณ) เปนการกําหนดรู
สังขารดวยการพิจารณาเห็นไตรลักษณ วาสิ่งนั้นๆ มีลักษณะไมเที่ยง เปน
ทุกข เปนอนัตตา๑๑ การพิจารณาโดยความไมเที่ยง โดยความเปนทุกข เปน
โรค..ดั งหั ว ฝ ดั ง ลู ก ศร ลํ า บาก อาพาธ เป น อย า งอื่ น ไมมี อํ า นาจ ชํ า รุ ด
เสนียด อุบาทว ภัย อุปสรรค หวั่นไหว แตกพังไมยั่งยืน ไมมีที่ตานทาน ไมมี
ที่ซอนเรน ไมมีที่พึ่ง วาง เปลา สูญ เปนโทษ มีความแปรไปเปนธรรมดา ไมมี
แกนสาร มูลแหงความลําบาก ดังเพชฌฆาต ปราศจากความเจริญ มีอาสวะ
มีเหตุปจจัยปรุงแตงเหยื่อมาร มีชาติเปนธรรมดา มีชราเปนธรรมดา มีพยาธิ
เปนธรรมดา มีมรณะเปนธรรมดา มีโสกะปริเทวะ ทุกขโทมนัสและอุปายาส
เปนธรรมดา มีความเศราหมองเปนธรรมดา...พิจารณาเห็นเหตุเกิดแหงทุกข
ดับไป ชวนใหแชมชื่น เปนอาทีนวะ เปนนิสสรณะ เรียกวา ตีรณปริญญา
การปฏิบัติวิปสสนาในบันไดขั้นที่ ๒ นี้ ตองเพิ่มสติในการกําหนดรู
ทวารทั้ง ๖ เพื่อใหเห็นสภาวธรรมใหชัดขึ้น สภาวธรรมที่ปรากฏคือญาณที่ ๒
และญาณที่ ๓ ช ว งต น สั งเกตเห็ น จิ ต ที่เ ขาไปรู อารมณ ขณะกําหนดเดิ น
กําหนดเวทนา กําหนดจิต โยคีจะเริ่มเห็นพระไตรลักษณ คือการอนุมานถึง
ความไมเที่ยง เปนทุกข บังคับบัญชาไมได ยอมทําใหวิปสสนาญาณแกกลา
เห็นสภาวธรรมตางๆ ละเอียดขึ้น
ญาณที่ ๒ ปจจยปริคคหญาณ
ปจจย แปลวา เหตุและผล ปริคคห แปลวา กําหนดรู ญาณ แปลวา
ปญญา รวมความวา ปญญาที่กําหนดรูเห็นในสภาวะของรูปกับนามเปนเหตุ
ปจจัยซึ่งกันและกัน คือ ทั้งรูปและนามเปนเหตุเปนผลซึ่งกันและกันอยูทุก
ขณะ มีปญญากําหนดรูทั้งเหตุและผล เหตุคือสิ่งที่เกิดกอน ผลคอยเกิดที
หลัง เชน รูปเกิดกอนนามเกิดทีหลัง นามเกิดกอนรูปเกิดที่หลัง เปนตน๑๒

๑๑
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท
, หนา ๑๐๓.
๑๒
พระธรรมธีรราชมหามุนี(โชดก ญาณสิทฺธิ), ลําดับโสฬสญาณ, หนา ๕๙.
๖๔
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
บางทีเ่ รียกวา ธัมมัฏฐิติญาณบาง ยถาภูตญาณบาง สัมมาทัสสนะบาง๑๓และ
ผูประกอบดวยญาณขั้นนี้ เรียกวาเปน “จูฬโสดาบัน” คือพระโสดาบันนอย
เปนผูมีคติในทางกาวหนาที่แนนอนในพระพุทธศาสนา เมื่อวาตามชื่อญาณนี้
ปรากฏแตในคัมภีรวิสุทธิมรรค ในคัมภีรปฏิสัมภิทามรรคเนื้อหาสาระของ
ญาณนี้ตรงกับธัมมัฏฐิติญาณ (ญาณในการกําหนดที่ตั้งแหงธรรม)๑๔
กําหนดรูเหตุและปจจัยของนามและรูปวา “นามและรูปนี้จะไมมี
เหตุหามิได เพราะนามและรูปทุกอยาง ถึงความเปนอยางหนึ่งอยางเดียวกัน
ทั้งหมดในที่ทุกแหงและในกาลทุกเมื่อ (นามและรูปนั้น) จะมีเทพเจาเปนเหตุ
หามิได เพราะนอกไปจากนามและรูปแลว หามีเทพเจาใดๆ ไม เพราะถึงแม
ศาสดาพวกใดจะกลาว (ทึกทักเอา) วา นามรูปเปนประมาณนั่นแหละ คือ
เทพเจามีพระอิศวรเปนตน นามและรูปที่เขากลาววาคือเทพเจามีพระอิศวร
เปนตนของพวกศาสดาเหลานั้น ก็ถึงภาวะเปนของหาเหตุมิได เพราะฉะนั้น
นามและรูปนั้นตองมีเหตุมีปจจัย เหตุและปจจัยเหลานั้นคืออะไรหนอแล”๑๕
เห็นเหตุปจจัยของรูป-นาม คือเห็นวารูป-นามนี้เปนเหตุเปนปจจัย
ซึ่งกัน และกัน มีความเกี่ยวของเปน ป จ จั ยกัน เช น ขณะที่การกาวไป การ
เคลื่อนไหวตางๆ เปนไปเพราะวามีธรรมชาติอยางหนึ่งเปนตัวเหตุปจจัย คือ
มีจิตปรารถนาจะใหกายเคลื่อนไหว กายก็เคลื่อนไหว จิตปรารถนาจะยืนกาย
ก็ยืน จิต ปรารถนาจะเดิน กายก็เดิ น ธาตุล มที่ไปผลั กดัน ใหกายนั้ นเป นไป
อยางนี้เรียกวา นามเปนปจจัยใหเกิดรูป นามคือจิตใจเปนปจจัยใหเกิดรูป
รูปที่กาวไปรูปที่เคลื่อนไหว เกิดขึ้นมาไดเพราะวาจิตเปนปจจัย
สว นรู ป บางอย าง รู ป เป น ป จ จั ย ใหเ กิด นาม เช น เสี ย ง เสี ย งมีมา
กระทบประสาทหู เสียง เปนรูป เมื่อกระทบประสาทหู ซึ่งเปนรูปดวยกัน ก็
เกิดการไดยินขึ้น เกิดการรับรูทางหูขึ้น ก็จะมองเห็นวามันเปนเหตุปจจัยกัน

๑๓
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒๗/๓๘๓.
๑๔
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔๕/๗๐.
๑๕
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, แปลโดย สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ
อาสภมหาเถร), พิมพครั้งที่ ๗, (กรุงเทพ :บริษัท ธนาเพรส จํากัด, ๒๕๕๑), หนา ๙๙๕.
๖๕
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
เสียงมากระทบจึงเกิดการไดยินขึ้น เรียกวา รูปเปนปจจัยใหเกิดนาม เย็น
รอน ออนแข็ง หย อนตึ ง เป น รูป มากระทบกายก็เ กิด การรั บ รูซึ่งเปน นาม
เกิดขึ้น เมื่อผูปฏิบัติธรรมมีความเพียร ดูรูปนาม เห็นความเกิดดับ เห็นความ
เปนเหตุเปนปจจัยของรูปนามอยูเสมอก็จะ กาวขึ้นสูญ  าณที่ ๓ สัมมสนญาณ
ญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ
อตี ต านาคตปจฺ จุ ปฺป นฺ น านํ ธมฺมานํ สงฺขิป ตฺ ว า ววตฺ ถาเน ปา
สมฺมสเนาณํ. ปญญารูแจงในขณะกําหนดสภาวะลักษณะของรูป-นามโดย
อาการ ๓ อยางคือ โดยความเปนอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา
ปญญาที่กําหนดจนเห็นไตรลักษณ เห็นความเกิดดับของรูปนาม แต
ที่รวู ารูปนามดับไปก็เพราะเห็นรูปนามใหมเกิดสืบตอแทนขึ้นมา คือสันตติยัง
ไมขาด และยังอาศัยจินตามยปญญาอยู อีกนัยหนึ่ง เปนญาณที่ยกรูปนามขึ้น
สูไตรลักษณวา รูปนามทั้งปวงนั้นปรากฏเปนคราวๆ เมื่อถูกรู และรูปนามทั้ง
ปวงนั้นลวนหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงไปตามเหตุปจจัยตกอยูใตกฎไตรลักษณ
ปญญารูแจงในขณะกําหนดสภาวะลักษณะของรูป-นามโดยอาการ
๓ อยาง คือ โดยความเปนอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา๑๖ เปนปญญาเครื่อง
พิจารณาเห็นรูปนามเปนไตรลักษณเพราะเหตุวามีลักษณะ ๓ อยาง คือ
๑. อนิจจัง ลักษณะความแปรปรวนไมยั่งยืน ความไมเที่ยง
๒. ทุกขัง ลักษณะความบีบคั้น ความทนไดยาก เปนทุกข
๓. อนัตตา ลักษณะความไมใชตัวตน
เมื่อวาตามชื่อ ญาณนี้ปรากฏทั้งในคัมภีรปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่
๕) และคัมภีรวิสุทธิมรรค สาระสําคัญของญาณนี้คือ ผูปฏิบัติรูวารูปนามดับ
ไปและเห็นรูปนามใหมเกิดขึ้นสืบตอกันไปแตสันตติ (ความสืบตอ) ยังไมขาด
เพราะเป น เพีย งความรูด ว ยจิ น ตาญาณ (ความนึกพิจ ารณา) หลั กฐานใน
คัมภีรสัทธัมมปกาสินี : อิทานิ ยสฺมา เหฏฐา สรูเปน นามรูป ววตฺถานญาณํ
น วุตฺตํ, ตสฺมา ปฺจธา นามรูปปฺเภทํ ทสฺเสตุ อชฺฌตฺตววตฺถาเนปฺญาวตฺถุ

๑๖
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕/๑.
๖๖
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
นานตฺเต ญาณนฺติอาทีนิ ปฺจ ญาณานิ อุทฺทิฏฐานิ๑๗
ปญญาญาณที่ประจักษแจงการเกิดดับสืบตอกันอยางรวดเร็วของ
นามและรูปแยกออกเปน ๔ นัยคือ
๑) กลาปสัมมสนนัย เห็นชัดถึงรูปอดีต รูปปจจุบัน รูปอนาคต รูป
ภายใน รูปภายนอก รูปหยาบ รูปละเอียด รูปใกล รูปไกล รูปเลว รูปประณีต
ทั้งหมดเปนอนิจจังสิ้นไปฝายเดียวไมมีกลับ
๒) อัทธานสัมมสนนัย เห็นรูปนามในอดีตไมเปนปจจุบันรูปนาม
ปจจุบันไมเปนอนาคต รูปภายในไมเปนรูปภายนอกเปนตน มีเหตุปจจัยกัน
อยู ปจจุบันดี อนาคตดี ปจจุบันชั่ว อนาคตไมดี
๓) สันตติสัมมสนนัย พิจารณาเห็นรูปรอนหายไป รูปเย็นเกิด รูป
เย็นดับ-รูปรอนเกิด รูปนามไมเที่ยงเปนอนัตตา
๔) ขณสัมมสนนัย เห็นความเกิดดับกันอยูเรื่อยไปไมวาจะยืน เดิน
นั่ง นอน เห็นวาขันธ ๕ เกิดเพราะอวิชชาเกิด ขันธ ๕ ดับเพราะอวิชชาดับ
ตั้งแตญาณ ๑ ถึงญาณ ๓ นี้เรียกวา “ญาตปริญญา” คือปญญาที่ประจักษ
ลั ก ษณะของนามธรรมและรู ป ธรรมที่ ป รากฏโดยสภาพไม ใ ช ตั ว ตน เป น
พื้นฐานใหนอมพิจารณาลักษณะของรูปนามอื่นเพิ่มขึ้น๑๘
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูป-นาม
ขั้นนี้เปนขั้นพิจารณาเห็นพระไตรลักษณ ดังที่พระสารีบุตรเถระ
อธิบายวิธีพิจาณารูปที่เปนอารมณของจิตยกขึ้นสูพระไตรลักษณ ในลําดับ
ของวิปสสนาญาณวา
“วิ ป ส สนาญาณเป น อย า งไร คือ ป ญ ญาในการพิจ ารณาอารมณ
แลวพิจารณาเห็นความดับ ไดแก จิตมีรูปเปนอารมณเกิดขึ้นแลวยอมดับไป
เมื่ อ พิ จ ารณาอารมณ นั้ น แล ว พิ จ ารณาเห็ น ความดั บ ไปแห ง จิ ต นั้ น ด ว ย
พิจารณาเห็นอยางไรชื่อวาพิจารณาเห็น คือ พิจารณาเห็นโดยความไมเที่ยง
๑๗
ขุ.ป.อ. (บาลี) ๑/๓๖.
๑๘
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, พิมพครั้งที่ ๗, หนา ๑๐๐๙.
๖๗
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ไมพิจารณาเห็นโดยความเที่ยง พิจารณาเห็นโดยความเปนทุกข ไมพิจารณา
เห็นโดยความเปนสุข พิจารณาเห็นโดยความเปนอนัตตา ไมพิจารณาเห็น
โดยความเปนอัตตา ยอมเบื่อหนาย ไมยินดี ยอมคลายกําหนัด ไมกําหนัด
ยอมทําราคะใหดับ ไมใหเกิด ยอมสละคืน ไมยึดถือ เมื่อพิจารณาเห็นโดย
ความไมเที่ยง ยอมละนิจจสัญญาได เมื่อพิจารณาเห็นโดยความเปนทุกข
ยอมละสุขสัญญาได เมื่อพิจารณาเห็น โดยความเป นอนัตตาย อมละอัต ต
สัญญาได เมื่อเบื่อหนาย ยอมละนันทิ (ความยินดี) ได เมื่อคลายกําหนัดยอม
ละราคะได เมื่อทําราคะใหดับ ยอมละสมุทัยได เมื่อสละคืน ยอมละอาทา
นะ (ความยึดถือ) ได”๑๙
การกําหนดรูขันธ ๕ โดยอาการ ๔๐๒๐ พิจารณาเห็นอนิจจลักษณะ
โดยอาการ ๑๐ ประการ ดังนี้
๑. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนอนิจจัง มีความไมเที่ยง
๒. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนปโลกะ มีความแตกทําลาย
๓. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนจละ มีความหวั่นไหว เปลี่ยนแปลง
๔. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนปภังคุ มีความผุพังไป
๕. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนอัทธุวะ ความไมยั่งยืน
๖. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนวิปริณามธัมมะ มีความแปรผันไป
เปนธรรมดา
๗. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนอสารกะ ความไมมีแกนสาร
๘. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนวิภวะ ปราศจากความเจริญ
๙. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนสังขตะ เปนของถูกปจจัยปรุงแตง
๑๐. พิ จ ารณาเห็ น ขั น ธ ๕ ว า เป น มรณธั ม มะ มี ค วามตายเป น
ธรรมดา
ในชวงตนเปนภูมิแหงตีรณปริญญา กําหนดรูขั้นพิจารณาคือ รูดวย
ปญญาที่หยั่งลึกซึ้งไปถึงสามัญญลักษณะ ไดแกรูถึงการที่สิ่งนั้นๆ เปนไปตาม

๑๙
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕๒/๘๒.
๒๐
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๖๐,หนา ๑๐๑๘.
๖๘
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
กฎธรรมดา โดยพิจารณาเห็นความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตาภูมิแหงตี
รณปริญญา เริ่มตั้งแตการพิจารณากองสังขาร จนถึงอุทยัพพยานุปสสนา
(การพิจารณาเห็นความเกิดและความดับ) และเมื่อสติ สมาธิ ปญญาแกกลา
ขึ้นเปนภูมิแหงปหานปริญญา กําหนดรูถึงขั้นละได คือ รูถึงขั้นที่ทําใหถอน
ความยึดติดเปนอิสระจากสิ่งนั้นๆไดถูกตองจัดเขาในนิโรธอริยสัจ (ตทังค
นิโรธ ดับดวยองคนั้นๆ คือ ดับกิเลสดวยธรรมที่เปนคูปรับ หรือธรรมที่ตรง
ขาม เชน ดับสักกายทิฏฐิดวยความรูที่กําหนดแยกรูป-นามออกได เปนการ
ดับชั่วคราวในกรณีนั้นๆ) การพิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูป-นาม นี้นับ
สงเคราะหเขาในญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ (ตอนปลาย) ญาณที่ ๔ อุทยัพพย
ญาณ และญาณที่ ๕ ภังคญาณ
ญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ(ชวงปลาย)
ป ญ ญาเป น เครื่ อ งพิ จ ารณาเห็ น รู ป -นามเป น ไตรลั ก ษณ เ หตุ ว า มี
ลั ก ษณะ ๓ อย า ง มากด ว ยอํ า นาจของสมาธิ คื อ ไตรลั ก ษณ เป น อาการ
ปรากฏแหงปรมัตถธรรมมิใชสมมติบัญญัติ ในอนิจจังและทุกขัง ๒ ประการ
แรก มีการรูและสอนกันมากอนแลว แตอนัตตานั้นเปนวิสัยของพระพุทธเจา
เกิดจากพระสัพพัญุตญาณแลวทรงนํามาสั่งสอน ดังที่พระผูมีพระภาคตรัส
ในอนัตตลักขณสูตร เมื่อกลาว “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่ง
นั้นทั้งหมดลวนมีความดับไปเปนธรรมดา” เปนการกลาว “สังขารทั้งปวงไม
เที่ยง” และรวมไปถึง “สิ่งใดไมเที่ยง สิ่งนั้นก็ตองเปนทุกข มีความแปรผันไป
เปนธรรมดา”เสมอ เริ่มดวย รูป เวทนา สัญญา สังขารและวิญญาณ ในขันธ
๕ เที่ ย งหรื อ ไม เ ที่ ย งก อ นเสมอ ตรั ส เน น อนั ต ตาในอนั ต ตลั ก ขณสู ต ร ๔
ประการ เพื่อ แสดงให เ ห็ น การละอุป าทานขั น ธ ๕ มิจ ฉาทิ ฏ ฐิ ๑๐๒๑
สักกายทิฏฐิ ๒๐๒๒ และอัตตานุทิฏฐิ ๒๐๒๓ คือ
๑) ตรัสขันธ ๕ เปนอนัตตา เปนไปเพื่ออาพาธ ไมสามารถใหเปน
๒๑
ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๑๓๖/๑๕๗, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๓๖/๒๑๑.
๒๒
ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๑๓๗/๑๕๗-๑๕๘, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๓๗/๒๑๒.
๒๓
ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๑๓๐-๕/๑๔๗-๑๕๖, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๓๐-๕/๒๐๐-๒๑๐.
๖๙
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
อยางนี้ อยาไดเปนอยางนั้น
๒) ตรัสถามใหตอบ วา ขันธ ๕ เที่ยงหรือไมเที่ยง เมื่อไมเที่ยง เปน
ทุกขหรือเปนสุข สิ่งใดไมเที่ยง เปนทุกข มีความแปรผันเปนธรรมดา ควร
หรือที่จะเห็นสิ่งนั้นวา นั่นของเรา เราเปนนั่น นั่นเปนอัตตาของเรา ซึ่งตอบ
วาไมควรเห็น
๓) ตรัสขันธ ๕ ทั้งในอดีต อนาคต และปจจุบันภายในหรือภายนอก
หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล ทั้งหมดนั่น นั่นไมใชของ
เรา เราไมเปนนั่น นั่นไมใชอัตตาของเรา
๔) ตรั สผู ได ส ดับ เห็ น อยู อยางนี้ ยอมเบื่ อหน ายคลายกําหนั ด จิ ต
หลุดพน มีญาณรูชัดวา “ชาติสิ้นแลว พรหมจรรยไดอยูจบแลว กิจที่ควรทํา
ไดทําเสร็จแลว กิจอื่นเพื่อความเปนอยางนี้มิไดม”ี ๒๔
สัมมสนญาณเปน ญาณที่เ ห็ นไตรลั กษณ คือเห็น อนิจ จัง ความไม
เที่ยงของรูปนาม เห็นทุกขัง คือความทนอยูในสภาพเดิมไมไดของรูปนาม
เห็นอนัตตา ความบังคับบัญชาไมไดของรูปนาม แตวาการเห็นอนิจจัง ทุกขัง
อนัตตาในญาณที่ ๓ นี้ยังเอาสมมุติบัญญัติมาปน ยังมีสุตมยปญญา ปญญาที่
เกิดจากการไดฟงมา เอาจินตามยปญญาความตรึกนึกคิดมาปนอยูดวย
๑) อนิจจสัมมสนะ (การพิจารณาเห็นความไมเที่ยง)
ผูปฏิบัติที่สามารถกําหนดรูเทาทันปจจุบันไดยอมรูเห็นวา สภาวะ
พอง สภาวะยุบ สภาวะนั่ง สภาวะเหยียด สภาวะคู สภาวะเคลื่อนไหว เปน
ตน เกิดขึ้นแลวดับไป อยางเชน สภาวะพองปรากฏขึ้นแลวดําเนินไปชั่วขณะ
จึงสิ้นสุดลง แลวจึงเกิดสภาวะยุบ หลังจากสภาวะพองจึงเกิดขึ้นอีก จะเห็น
ไดวาสภาวะยุบไมมีในสภาวะพอง และสภาวะพองก็ไมมีในสภาวะยุบ แม
สภาวะยก ยาง และเหยียบ ก็เกิดขึ้นแลวสิ้นสุดลงในแตละขณะ สภาวะยก
ไมมีในสภาวะยาง สภาวะยางก็ไมมีในสภาวะเหยียบ ดังนี้เปนตน เขายอม
เขาใจวารูปที่กําหนดอยูนั้นไมเที่ยงเขายอมอนุมานรูวา
๒๔
ดูรายละเอียดใน วิ.ม. (บาลี) ๔/๒๐-๒๔/๒๗-๓๑, วิ.ม. (ไทย) ๔/๒๐-๒๔/
๒๗-๓๑.
๗๐
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๑. รูปทั้งหมดในอดีตไมเที่ยง
๒. รูปทั้งหมดในอดีตยอมดับ
๓. รูปทั้งหมดในอนาคตไมเที่ยง
๔. รูปทั้งหมดในปจจุบันไมเที่ยง
๕. ในขณะหายใจออก เห็นวารูปภายในดับไปในภายใน ไมดํารงอยู
ภายนอก จึงไมเที่ยง
๖. ในขณะหายใจเขา เห็นวารูปภายนอกทั้งหมดดับไปในภายนอก
ไมดํารงอยูภายนอก จึงไมเที่ยง
๗. รูปหยาบที่ปรากฏในภายนอกในขณะที่สี เสียง กลิ่น รส หรือ
สัมผัส มีสภาวะดับไปไมเที่ยง ไมถึงรูปที่ละเอียด
๘. รูปละเอียดที่ปรากฏในภายนอกในขณะที่สี เสียง กลิ่น รส หรือ
สัมผัส มีสภาวะดับไปไมเที่ยง ไมปะปนกันในรูปหยาบ
๙. ในขณะสุขภาพดี คือรูปเลวทั้งหมดสิ้นไปดับไป ไมถึงรูปประณีต
จึงมีสภาวะไมเที่ยง
๑๐. ในขณะรูสึกไมสบายสุขภาพทรุดโทรม รูปประณีตหมดสิ้นไป
ดับไป จึงมีสภาวะไมเที่ยง
๑๑. ในขณะเหยียดแขน ขา สภาวะเหยียดสิ้นไป รูปไกลดับไป ไม
ตั้งอยูในรูปใกล จึงมีสภาวะไมเที่ยง
๑๒. ในขณะคูแขน ขา การคูสิ้นไป รูปไกลดับไป ไมถึงรูปใกล จึงมี
สภาวะไมเที่ยง
๒) ทุกขสัมมสนะ (พิจารณาเห็นความเปนทุกข)
ผูที่อายุยังนอยคบหาสมาคมกับคนวัยใกลเคียงกันอยูอยางรื่นเริง
ยอมยากที่จะเขาใจวารูปนามของตนเปนสิ่งที่นากลัว แตผูที่อายุมากขึ้นแลว
พบกับศพคนสูงอายุที่เสียชีวิตดวยโรคภัย อีกทั้งตนเองก็เจ็บปวยไมสบายคิด
ไดวาจะตองตาย ยอมสําคัญรูปนามของตนวานากลัว ในกรณีเดียวกัน ผูที่ไม
รูเห็นความเกิดดับของรูปนามโดยประจักษยอมไมสําคัญวารูปนามนากลัว
ตอเมื่อไดรูเห็นความเกิดดับของรูปนามวาไมไดตั้งอยูเพียงชั่วพริบตาเดียว

๗๑
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ยอมเขาใจวารูปนามนากลัว เพราะเกิดขึ้นแลวดับสูญไป หรือเขาใจวารูป
นามนากลัว นารังเกียจ ไมดีงาม เปนทุกขเพราะถูกบีบคั้นโดยความเกิดดับ
ดวยเหตุนี้ ผูที่รูเห็นความเกิดดับของสภาวะพอง-ยุบ นั่ง เหยียด คู
เคลื่อนไหวฯลฯ ยอมเขาใจวารูปดังกลาวนากลัว ไมดีงาม เปนทุกขเพราะถูก
บีบคั้นโดยความเกิดดับ หรือเพราะดับสูญอยูเสมอ หรือเพราะเปนที่ตั้งแหง
ทุกขที่ทนไดยาก
๓) อนัตตสัมมสนญาณ (พิจารณาเห็นความไมใชตัวตน)
มักปรากฏขึ้นในขณะเหลานี้ คือ
๑. เมื่อพบความเกิดขึ้นของรูปที่ไมตองการใหเกิดขึ้น
๒. เมื่อพบความดับไปของรูปที่ไมตองการใหดับไป
๓. เมื่อพบความเกิดขึ้นและความดับไปของรูปนามในปจจุบันขณะ
๔. ปญญาในการกําหนดรวม (สภาวธรรม) วาเปนอนัตตาเพราะเปน
สภาพไรแกนสาร ชื่อวา สัมมสนญาณ
ญาณที่ ๔ อุทยัพพยญาณ
ปญญาเห็นความเกิดขึ้นและการแปรไปของรูป-นาม หรือญาณที่
เปนไปดวยอํานาจการพิจารณาเห็น ความเกิดขึ้นและความดับแหงสังขาร
ทั้งหลาย มี ๒ อยาง คือ
๑) ตรุณอุทยัพพยญาณ คือ อุทยัพพยญาณอยางออน
ยั ง มี วิ ป ส สนู ป กิ เ ลส ๑๐ ประการปะปนอยู เรี ย กว า มั ค คามั ค ค
ญาณทั ส สนวิ สุ ท ธิ วิ ป ส สนู ป กิ เ ลส ๑๐ ประการ คื อ โอภาส ญาณ ป ติ
ปสสัทธิ สุข อธิโมกข ปคคหะ อุปฏฐานะ อุเบกขา และนิกันติ เมื่อขาดสติก็
จะเขาไปยึดถือวา “โอภาสเกิดขึ้นแกเราแลว” ก็จะเกิดวิปสสนูปกิเลสขึ้น
โดยการยึ ด ถื อ ๓ ทาง คื อ ยึ ด ถื อโดย ทิฏ ฐิ มานะ และตั ณ หา ที่เ รี ย กว า
อุปกิเลสเพราะเปนวัตถุ (ที่ตั้ง)ของอุปกิเลส มิใชเพราะเปนอกุศล สวนนิกันติ
เปนทั้งอุปกิเลสและเปนที่ตั้งของอุปกิเลสดวย เปนกิเลสในระดับผูมีวิปสสนา
ญาณ เมื่ อ เป น วิ ป ส สนาก็ จ ะมี ป รมั ถ ต เ ป น อารมณ ซึ่ ง หมายความว า
วิปสสนูปกิเลสเปนอารมณประเภทธรรมารมณ โดยมีอุปกิเลส ๑๐ เปนสิ่ง
๗๒
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
เราใหเกิดวิปสสนูปกิเลส โดยการยึดถือ ๓ ทางคือยึดถือโดยทิฏฐิ ยึดถือโดย
มานะ และยึ ด ถื อ โดยตั ณ หา และเกิ ด แก บุ ค คลผู ป ฏิ บั ติ ช อบ ผู มี ค วาม
พากเพียรในการปฏิบัติอยายิ่งยวด
๒) พลวอุทยัพพยญาณ คือ อุทยัพพยญาณอยางแก
ป ญ ญาที่ เ ห็ น ความเกิ ด -ดั บ ของรู ป นาม ผ า นอุ ป สรรคคื อ ผ า น
วิปสสนูปกิเลสไปไดดําเนินไปตามมรรคโดยตรง๒๕ เปนญาณที่เห็นไตรลักษณ
อย า งชั ด แจ ง ทุ ก ขณะที่ กํ า หนด สั น ตติ ไ ม ส ามารถป ด บั ง ให ค งเห็ น นิ จ จั ง
อิริยาบถไมสามารถปดบังใหคงเห็นสุข ฆนสัญญาไมสามารถปดบังใหคงเห็น
อัตตา จึงปหานมิจฉาทิฏฐิ ซึ่งผูปฏิบัติจะพนไปจากอํานาจของวิปสสนูปกิเลส
ในสัจจกถากลาวสรุปไดวา“วิปสสนูปกิเลสจะไมเกิดขึ้นแก ๑) ผูบรรลุปฏิเวธ
แลว ๒) ผูปฏิบัติผิด ๓) ผูละทิ้งกรรมฐาน ๔) ผูเกียจครานการปฏิบัติ๒๖
จําแนกโดยสภาวะลักษณะ
อุท ยั พพยญาณในเบื้ อ งต น ไม ส ามารถกํ า หนดรู น ามรู ป อัน เป น
สภาวะธรรมพระไตรลักษณตามความเปนจริงได เพราะถูกอุปกิเลส ๑๐ ทํา
ใหมัวหมองลงฉะนั้น ผูปฏิบัติตองทําความเพียรตอไปอีกจนสามารถพนจาก
อุปกิเลส ๑๐ แลวอุทยัพพยญาณอยางแกที่พนจากอุปกิเลส ๑๐ ก็จะเกิดขึ้น
จนสามารถกําหนดรูพระไตรลักษณไดอยางมั่นคงชัดเจน๒๗
ลักษณะทั้งหลายไมปรากฏเฉพาะการที่ไมมนสิการ(ไมใสใจ) คือ
อนิจจลักษณะถูกสันตติปดบังไว เพราะไมมนสิการความเกิดและ
ความดับ
ทุกขลักษณะถูกอิริยาบถทั้งหลายปดบังไว เพราะไมมนสิการความ
เบียดเบียนเฉพาะหนา ดวยความเกิดขึ้นและความดับไป

๒๕
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒ วิปสสนา
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร : หจก. ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๕๔), หนา ๑๑๖.
๒๖
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖-๗/๓๑๕-๓๑๗, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖-๗/๔๒๕-๔๒๖.
๒๗
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๔๐.
๗๓
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
อนัตตะลักษณะถูก(ฆนสัญญ) ความเปนกลุมกอนปดบังไว เพราะ
ไมมนสิการถึงความสลายตัวของธาตุตางๆ
เมื่อผูปฏิบัติเจริญวิปสสนาภาวนาจนบรรลุถึงอุทยัพพยญาณ อยาง
แกกลาแลวพิจารณากําหนดรูในไตรลักษณะ ๓ ปรากฏชัด ดังนี้
อนิจจลักษณะ คือ การเห็นความเกิดขึ้นและดับไปโดยขณะ และรู
ถึงความมีแลวไมมีรูความวางเปลาในเบื้องตนและที่สุด
ทุก ขลัก ษณะ คือการรู ถึงความเบี ยดเบีย นเฉพาะหน าด ว ยความ
เกิดขึ้น และดับไป แมสภาวะลักษณะก็ปรากฏชัดดวย เพราะมุงลงไปที่ตัว
ธรรมะ (รูปนาม) ที่เกิดขึ้นและดับไป แมสังขตลักษณะที่เปนไปชั่วขณะนั้นก็
ปรากฏชัด ในสภาวะลั กษณะ เพราะรู ว าไมมีความดับ ไปไหนขณะที่กําลั ง
เกิดขึ้น และรูวาไมมีความเกิดขึ้นในขณะที่กําลังดับไป
อนัตตลักษณะ คือ การเห็นคลื่นโดยปจจัย และรูวาธรรมทั้งหลาย
เปนไปตอเนื่องดวยปจจัยปราศจากผูกระทํา๒๘
เมื่ อ ผู ป ฏิ บั ติ ธ รรม กํ า หนดในลั ก ษณะดั ง กล า วมาแล ว ชื่ อ ว า
อุทยัพพยญาณอยางแกไดดําเนินไปตามวิถขี องตน ความตามความเปนจริง
ดวยเหตุนี้ อุทยัพพยญาณจึงเปนญาณที่สําคัญของปฏิปทาญาณทัส
สนวิ สุ ทธิ อัน เป น หนทางปฏิ บั ติ เ พื่อที่ จ ะให ถึงวิ สุ ทธิ ธ รรม ซึ่ง มีทางเดี ย ว
เทานั้น ดังพระพุทธพจนวา ผูใดมาเห็นสังขาร คือความเกิดขึ้นและดับไป
ของนามรู ป ว าไมเที่ยง เป นทุกข เปนอนั ตตา แมมีชีวิ ตอยู เพีย งวัน เดีย ว
ประเสริ ฐ กว า ผู ไม เ ห็ น ความเกิด และความดั บ ที่มีชี วิ ต อยู ตั้ งร อยป ด ว ย
ปญญานี้เปนหนทางอันบริสุทธิ์ ซึ่งไดแก อุทยัพพยญาณ๒๙
อนึ่ง วิปสสนาญาณนี้ เปนไปเนื่องดวยกับสติปฏฐาน คือ เห็นความ
เกิดขึ้นของนามรูปอันไดแกปจจยปริคคหญาณ เห็นความดับไปของนามรูป
อันนี้ไดแกสัมมสนญาณ เห็นทั้งความเกิดขึ้นและดับไปของนามรูปอันนี้ไดแก
อุทยัพพยญาณ ซึ่งเปนตีรณปริญญา และตอจากนั้นก็จะละความยึดมั่นถือ

๒๘
เรื่องเดียวกัน. หนา ๑๐๔๒.
๒๙
ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๑๑๓/๖๕.
๗๔
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
มั่น ดวยตัณหาและทิฏฐิ ซึ่งมาในมหาสติปฏฐานสูตรวา ตัณหาและทิฏฐิ ไม
อาศัย แลวอันนี้เปนปหานปริญญา ไดแก ญาณที่ตอจาก อุทยัพพยญาณขึ้น
ไป ตั้งแต ภังคานุปสสนาญาณเปนตนไปจนถึงมรรคญาณ๓๐
วิปสสนาจารยจะรูไดจากลักษณะของญาณนี้ดังตอไปนี้
๑. รูไดจากอัชฌัตติการมณ คืออารมณภายใน เชนบางโยคีจะบอก
เองวาเวลานี้ การกําหนดพองยุบไมเ หมือนแตกอนแลว รู สึกวาหายไปเร็ ว
เหลือเกิน อาการที่พองยุบหายไปเร็ว เกิดดับเร็ว นั้นเปนลักษณะของญาณ
นี้ เมื่อวิปสสนาจารยประสงคจะทราบวาถึงญาณนี้แลวหรือยัง แตโยคีก็ยัง
ไมบอกถึงอาการเหลานี้ เชนนี้ตองถามควบกันทั้ง ๒ ญาณ คือถามวาเวลานี้
การกําหนดเปนอยางไรบาง อาการพองยุบหายไปชาๆ หรือวาหายไปเร็วๆ
ถาตอบวาหายไปชาๆ ก็แสดงวาโยคียังไมถึงญาณนี้ ยังอยูเพียงสัมมสนญาณ
เทานั้น แตถาบอกวาหายไปเร็วๆ เกิดดับเร็ ว ก็แสดงวา โยคีถึงอุทยัพพย
ญาณแลว ลักษณะของญาณนี้เกิดดับเร็ว แตนั้นอาการพองยุบจึงปรากฏชัด
แตเพียง ๒ ขณะเทานั้น คือ ขณะแรกของอาการพองยุบ (อุปปาทะ) และ
ขณะสุดทายของอาการพองยุบ (ภังคะ) สวนฐีติขณะปรากฏเร็วมาก โยคีเห็น
ไมชัด จนรูสึกเหมือนกับวาไมปรากฏ
๒. รูไดจาก พหิทธารมณ คือ อารมณภายนอก ไดแก นิมิตตางๆ
ที่ปรากฏ ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นแลวก็หายไปอยางรวดเร็ว เพื่อแสดงความเกิดดับให
ปรากฏชัดเจน ฉะนั้นจึงปรากฏชัดแตเพียง ๒ ขณะ คือ อุปปาทะ (ขณะเกิด)
และภังคะ (ขณะดับ) ดังกลาวมาแลว เปรียบไดกับทอนไมที่โยนขึ้นไปใน
อากาศ พอสุดกําลังที่โยนขึ้นไปก็จะตกลงมาทันที ถาจะมีคําถามวา ทอน
ไม นั้ น เมื่ อ ขึ้ น ไปสู งสุ ด กํ าลั ง ที่ โ ยนไปแล ว ไม ตั้ ง อยู ก ลางอากาศหรื อ แก ว า
ตั้งอยูแตอาการที่ตั้งอยู (ฐีติขณะ) นั้นเร็วมาก จนไมสามารถกําหนดได จะ
กํา หนดได แต เ วลาโยนขึ้ น (อุป ปาทขณะ) และเวลาตกลงมา (ภั ง คขณะ)
เทานั้น สรุปวาอาการเกิดดับของนิมิตตางๆ ในญาณนี้เกิดเร็วแลวก็หายเร็ว
๓. รูไดจากอาการของเวทนา ทุกขเวทนาในญาณนี้ก็ยังมีอยูบาง

๓๐
ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๑๐-๑๔/๔๘-๗๓.
๗๕
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
แตเมื่อเกิดขึ้นพอกําหนดก็ดับไปเร็ว แลวก็เกิดขึ้นอีก ตั้งอยูไมนานก็ดับไป
เกิดขึ้นดับ ไปอยูอย างนี้เสมอ โยคีที่เคยนึกคร ามตอทุกขเวทนาในสัมมสน
ญาณนั้น เมื่อถึงระยะนี้จะไมรูสึกหวาดเกรงอีกตอไป เพราะรูลวงหนาอยู
แลววา เมื่อเวทนาเกิดไมชาก็ตองดับไป การที่เกิดขึ้นแลวดับไปอยูเชนนี้ ก็
เพื่ อ แสดงสภาวะเกิ ด ดั บ ให ป รากฏชั ด นั่ น เอง นี้ แ หละเป น ลั ก ษณะของ
อุทยัพพยญาณที่วิปสสนาจารยจะพึงรู
การเห็นรูปนามโดยปจจัยและขณะ
ผู ป ฏิ บั ติ จ ะเห็ น ความเกิ ด ขึ้ น และดั บ ไป ๒ ทางคือ โดยป จ จั ย ๑
และโดยขณะ ๑ ดวยการเห็นความเกิดขึ้นและดับไปของรูปนาม โดยอาศัย
อวิชชาเปนตนนั้น เปนการเห็นโดยปจจัย สวนการเห็นลักษณะแหงความเกิด
เฉพาะในขณะเกิดเทานั้น หรือการเห็นลักษณะ ของความแปรปรวน เฉพาะ
ในขณะดับเทานั้น เปนการเห็นโดยขณะ เมื่อผูปฏิบัติเห็นรูปนาม โดยปจจัย
และขณะอยูอยางนี้ อริยสัจ ๔ ปฏิจจสมุปบาท นัย ๔ อยาง และลักษณะ ๓
อยาง ก็จักปรากฏ คือ
ก) อริยสัจ ๔ ปรากฏชัด
๑. การเห็นความเกิดขึ้นโดยปจจัย สมุทยสัจยอมปรากฏ เพราะรู
ถึงปจจัยใหเกิด
๒. การเห็นความเกิดขึ้นโดยขณะ ทุกขสัจจยอมปรากฏ เพราะรู
วาความเกิดเปนทุกข หรือการเห็นความดับไป โดยขณะ และรูวาความดับไป
เปนทุกข ทุกขสัจยอมปรากฏ
๓. การเห็นความดับไปโดยปจจัย นิโรธสัจยอมปรากฏ เพราะรูวา
ธรรมทั้งหลาย ไมเกิดเพราะไมมีปจจัย
๔. การเห็นความเกิดขึ้นและดับไปโดยปจจัย โดยขณะ และกําจัด
เสียซึ่งความฟนเฝอในความเกิดขึ้นและความดับไป เปนมรรคสัจ ฝายโลกิยะ
ข) ปฏิจจสมุปบาท ๔ นัยยะ ปรากฏชัดดังนี้
ฝายอนุโลมเมื่อเห็นความเกิดขึ้นโดยปจจัยเพราะรูลงไปวา สิ่งนี้มีอยู
สิ่งนี้จึงมี ฝายปฏิโลม เมื่อเห็นความดับไปโดยปจจัยเพราะรูลงไปวา เพราะ
๗๖
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
สิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ๓๑
๑. เอกัตตนัย นัยแหงความเปนธรรมรวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
คือการเห็นความเกิดขึ้นโดยปจจัย และรูถึงความไมขาดสาย และสืบตอของ
เหตุและผล ก็ละอุจเฉททิฏฐิ
๒ . มานั ต ตนั ย นั ย แห ง ความเป น ธรรมต า งกัน คื อการเห็ น ความ
เกิดขึ้นโดยขณะ และรูถึงความเกิดขึ้นของสังขารใหมๆ ละสัสสตทิฏฐิ
๓. อัพยาปารนัย ในแหงความไมขวนขวาย คือการเห็นความเกิดขึ้น
และดั บ ไป โดยป จ จั ย และรู ว า ธรรมทั้ ง หลาย ไม เ ป น ไปตามอํ า นาจ
ละอัตตทิฏฐิ
๔. เอวังธัมมตานัย นัยแหงความเปนธรรมดา ของธรรมทั้งหลาย
อยางนี้เอง คือการเห็นความเกิดขึ้นโดยปจจัย และรูถึงความเกิดขึ้นของผล
ตามสมควรแกปจจัย ละอกิริยทิฏฐิ๓๒
ค) ลักษณะ ๓ อยางปรากฏชัดดังนี้
๑. อนันตลักษณะ คือการเห็นความเกิดขึ้นโดยปจจัย และรูวาธรรม
ทั้งหลายเปนไปตอเนื่อง โดยปราศจากผูกระทํา
๒. อนิจจลักษณะ คือการเห็นความเกิดขึ้นและความดับไปโดยขณะ
และรูถึงความมีและไมมี เกิดแลวดับ รูถึงความวางเปลาในเบื้องตนและที่สุด
๓. ทุกขลักษณะ คือรูถึงความเบียดเบียนเฉพาะหนา ดวยความ
เกิดขึ้นความดับไป แมสภาวะลักษณะตามความเปนจริง เชน ไฟ รอน น้ํา
เหลว ก็ปรากฏชั ดดว ย แมสังขตลั กษณะ ที่เป นไปชั่วขณะก็ปรากฏชั ดใน
สภาวะลักษณะ เพราะรูวาความไมมีดับไปในขณะที่กําลังเกิดขึ้น และรูวาไม
มีความเกิดขึ้นในขณะที่กําลังดับไป

๓๑
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔๙-๕๒/๗๗-๘๓, ขุ.ป.อ. (ไทย) ๖๘๗/๖๘๘.
๓๒
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔๙-๕๒/๗๗-๘๓, ขุ.ป.อ. (ไทย) ๖๘๙, พระสัทธัมมโชติกะ
ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒ วิปสสนากรรมฐาน, หนา ๑๑๗-๑๑๙.
๗๗
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ญาณที่ ๕ ภังคญาณ
ภังคญาณ ญาณที่พิจารณาเห็นการดับไปของรูปนามโดยสวนเดียว
ดังมีวจนัตถะแสดงวา อุทยํ มุฺจิตฺวา วเย ปวตฺตํ ญาณํ ภงฺคญาณํ แปลวา
ญาณที่ปลอยความเกิด แลวเปนไปในความเสื่อมชื่อวา ภังคญาณ องคธรรม
ไดแก ปญญาเจตสิกในมหากุศลญาณสัมปยุตตจิต๓๓
ปญญาของผูที่เจริญวิปสสนากรรมฐาน จนถึงภังคญาณคือ ญาณที่
๕ เปนตนไป จึงจะไดนามวา อธิปญญา มีองค ๓ คือ
๑. อารมฺ ม ณปฏิ ส งฺ ขา พิจ ารณารู ป นามที่ เ กิด ขึ้ น เฉพาะหน า ซึ่ ง
เรียกวา “ปจจุบัน”
๒. ภงฺคานุปสฺสนา ตามเห็นเฉพาะความดับไปของรูปนามฝายเดียว
๓. สุฺญโต อุปฏฐานํ เห็นรูปนามปรากฏโดยความเปนของสูญ คือ
ว างเปล าจากสั ต ว บุ ค คล ตั ว ตน เรา เขา มีเ พีย งรู ป นามเทา นั้ น ถาใคร
พิจารณาเห็นอยางนี้จะละอัตตานุทิฏฐิเสียไดและพญามัจจุราชก็จะไมตาม
ทัน ซึ่งปรากฏอยูในพระไตรปฎกวา สุฺญโต โลกํ อเวกฺขสฺสุ โมฆราช สทา
สโต อตฺตานุทิฏฐ ี โอหจฺจ เอวํ มจฺจุตฺตโร เอวํ โลกํ อเวกฺขนฺตํ มจฺจุราชา น
ปสฺสติ. “ดูกอนโมฆราช เธอจงมีสติทุกเมื่อ พิจารณาเห็นโลกโดยความเปน
ของสูญถอนอัตตานุทิฏฐิ คือ ความตามเห็นวาเปนตัวตนเสียไดเมื่อพิจารณา
เห็นอยางนี้ จึงจะขามพนพญามัจจุราชได เพราะพญามัจจุราชไมสามารถจะ
พบเห็นบุคคลผูพิจารณาเห็นโลกโดยอาการอยางนี้ได ดังนี”้ ๓๔
ภังคญาณนีเ้ ปนภูมิแหงปหานปริญญา คือเปนการกําหนดรูถึงขั้นละ
ได คือ รูถึงขั้นที่ทําใหถอนความยึดติดเปนอิสระจากสิ่งนั้นๆ ไดถูกตอง จัด
เขาในนิโรธสัจและมรรคสัจ คือ เปนตทังคนิโรธที่ดับตัณหาและอุปาทานดวย
องคนั้นๆ คือ ดับกิเลสดวยธรรมที่เปนคูปรับ หรือธรรมที่ตรงขาม เชน ดับ
สักกายทิฏฐิดวยความรูที่กําหนดแยกรูป-นามออกได เปนการดับชั่วคราวใน

๓๓
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒ วิปสสนา
กรรมฐาน, หนา ๑๓๒.
๓๔
ขุ.สุ. (ไทย) ๒๕/๑๑๒๖/๗๗๒, อัตตานุทิฏฐิ หมายถึงสักกาทิฏฐิ.
๗๘
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
กรณีนั้นๆ และเริ่มแจงนิโรธ
นิโรธ แปลวา ความดับ นั้นมีอยู ๒ อยาง คือ
๑. อุปฺปาทนิโรธ ความดับของรูปนาม ในภังคญาณ
๒. อนุปฺปาทนิโรธ ความดับสนิทของขันธ ๕ คือ นิโรธสมาบัติ
นิโรธ แปลวา ความดับ มีอยู ๒ อยาง คือ ๑) ขณิกนิโรธ ความดับ
ชั่วขณะ หมายเอาความสิ้น ความเสื่อมไปของรู ปนาม ๒) อนุปฺป าทนิโรธ
การดับของอวิชาในสันดานของพระอรหันต
ญาณของผูเจริญวิปสสนาเมื่อถึงภังคญาณแลวเปนญาณมีกําลังแก
กล า ดํ า เนิ น ไปอยู เมื่ อ เป น เช น นี้ รู ป นามจึ งปรากฏเกิ ด ดั บ รวดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น
เพราะรูปนามเกิดดับเร็วนี้เองเปนตนเหตุ สติจึงกาวลวงความเกิดแลวจดจอ
อยูเฉพาะความดับไปฝายเดียว ซึ่งจัดเปนภังคญาณ
อีกประการหนึ่งเพราะผูปฏิบัติธรรมนอมใจไปสูความดับจึงละความ
เกิดแลวเอาสติจดจอ เฉพาะความดับไปฝายเดียว ดังนั้น ญาณนี้จึงไดชื่อวา
ภังคญาณ
เมื่อวิปสสนาญาณไดเกิดขึ้นดังนี้แลว จิตไดอารมณปรมัตถ จึงทิ้ง
อารมณบัญญัติ ทั้งอารมณที่กําหนดและจิตที่รูจะปรากฏวาหายไปๆ แตผู
ปฏิบัติจะเห็นวา รูปหายไปกอน จิตหายไปทีหลัง อันที่แทนั้นหายไปพรอม
กัน การที่เปนเชนนั้น เพราะจิตกอนดับไปจิตหลังตามรู ดังหลักฐานรับรองไว
วา เยน จิตฺเตน ตํ รูปารมฺมณํ ขยโต ทิฏฐ ตสฺส จิตฺตสฺส ปเรน จิตฺเตน ภงฺคํ
อนุปสฺสติ. “จิตใดเห็นรูปารมณนั้น โดยความสิ้นไปเสื่อมไป ผูปฏิบัติธรรม
ยอมตามเห็นความดับไปของจิตนั้นดวยจิตอื่น”
บุรุษผูมีตาดี ยืนอยูที่ริมสระโบกขรณี หรือยืนอยูที่ริมแมน้ําแลดู
ฟองน้ําใหญๆ บนหลังน้ําในเมื่อฝนเม็ดใหญๆ ตกลงมา ซึ่งเกิดขึ้นแลวๆ ก็
แตกไป ฉันใด ผูเจริญวิปสสนาเมื่อถึงญาณที่ ๕ นี้แลวยอมพิจารณาเห็นรูป
นามดับไปฉันนั้นเหมือนกัน ดังพระบาลีวา ยถา ปุพฺพุฬฺกํ ปสฺเส ยถา ปสฺเส
มรีจิกํ เอวํ โลกํ อเวกฺขนฺตํ มจฺจุ ราชา น ปสฺสติ.

๗๙
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
“บุคคลพึงเห็น ฟองน้ําและพยับแดดที่เกิดขึ้นแลวดับ ไปฉันใด พึง
พิจารณาเห็นรูปนามฉันนั้น พระยามัจจุราชจึงจะไมตามทัน” ดังนี้
เมื่อผู ใดปฏิ บัติถึงญาณที่ ๕ นี้ ผู นั้นจะไดรับ อานิ สงส ๘ ประการ
ตามหลักฐานดังตอไปนี้วา ตสฺเสวํ สพฺเพ สงฺขาเร ภิชฺชนฺตีติ อภิณฺหํ ปสฺสโต
อฏฐานิสํสํ สปริวารํ ภงฺคานุปสฺสนาญาณํ พลปฺปตฺตํ โหติ.
เมื่อผูปฏิบัติธรรมพิจารณาอยูเนืองๆ เห็นแตความดับไปของรูปนาม
อยูอยางนี้ ภังคานุปสสนาญาณ มีกําลังแกกลายอมไดรับอานิสงสบริวาณถึง
๘ ประการ คือ:-
๑. ภวทิฏฐิปฺปหานํ ละสัสสตทิฏฐิ คือความเห็นวารูปนามเปนของ
เที่ยงเสียได
๒. ชีวิตนิกนฺติปริจฺจาโค ทอดอาลัยในชีวิต หมายความวา ยอมสละ
ชีวิตบูชาพระรัตนตรัยได เพราะมีศรัทธาแกกลา
๓. สทา ยุตฺตปฺปยุตฺโต ขยันหมั่นเจริญภาวนาบอยๆ
๔. วิ สุ ทฺ ธ าชี วิ ต า มี อ าชี พ อั น บริ สุ ท ธิ์ มี ค วามเป น อยู บ ริ สุ ท ธิ์ คื อ
ครองชีพโดยสุจริตธรรม หางไกลจากความอิสสาริษยากัน หางไกลจากความ
ประพฤติชั่วทางไตรทวาร
๕. อุสฺสุกฺกปฺปหานํ ละความหวงใยกิจนอยใหญเสียไดเพราะมีความ
สังเวชกลา โดยไดพิจารณาเห็นสังเวคธรรม ๘ ประการคือ ชาติ ชรา พยาธิ
มรณะ นรก ดิรัจฉาน เปรตอสุรกาย
๖. วิคตภยา ปราศจากภัย คือหมดภัย เพราะไมมีความเยื่อใยในตน
ตองการจะใหหลุดพนจากภัยในวัฏฏสงสารทั้งปวง
๗. ขนฺติโสรจฺจปฏิลาโภ มีความอดทน และสงบเสงี่ยม สัมมาคารวะ
ออนนอม สุภาพเรียบรอยดี
๘. อรติ ร ติ ส หนตา อดทนต อ ความไม ยิ น ดี ใ นเสนาสนะอั น สงั ด
ครอบงําความยินดีในกามคุณ และยินดีแตในอธิศีล อธิจิต อธิปญญา๓๕

๓๕
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ. ๙) คูมือสอบอารมณกรรมฐาน,
พิมพครั้งที่ ๕ (กรุงเทพ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐), หนา ๓๑–๓๒.
๘๐
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖

ขั้นที่ ๔ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูป-นาม
การพิจารณาธรรมในขั้นนี้เปนผลจากภังคญาณ ทําใหเกิดปญญา
เห็นโทษเห็นภัยของรูป-นาม ซึ่งคือการที่รูปไมปรากฏชัดแกโยคีหรืออารมณ
ที่เคยกําหนดหายไป จนเห็นเปนภัย บางขณะรูปหายไปหมดเลยมีความรูสึก
ทุกขที่จิตมากเพราะอาการของจิตปรากฏชัดเจน กิเลสอนุสัยปรากฏชัด เห็น
รู ป -นามเป น โทษ เกิด อาการเบื่ อหน าย เซื่อ งๆ ซึม ๆ บางคนรู สึ ก ขี้เ กีย จ
กําหนดอารมณที่กระทบทางทวารทั้ง ๖ จัดเปนสภาวธรรมของบันไดขั้นนี้
การกําหนดรู๓๖ขันธ ๕ โดยอาการ ๔๐ พิจารณาเห็นทุกขลักษณะ
โดยอาการ ๒๕ ประการ๓๗ ดังนี้
๑. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนทุกข ทนอยูไมได ถูกบีบคั้นเนืองๆ
๒. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนโรค เสียดแทง เบียดเบียนอยูเสมอ
๓. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนคัณฑ เปนดุจหัวฝที่กลัดหนอง มีทั้ง
เลือด ทั้งหนอง ทั้งเจ็บ ทั้งปวด เชน เปนแผลเปอยเนา เปนมะเร็ง ขี้เรื้อนกุด
ถัง ผด ผื่น หนอคุดทะราด พุพอง เปนตน
๔. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนสัลละ เปนลูกศรปกเสียบ ทิ่มแทง
อยูเสมอ เชน เจ็บ ปวด เมื่อย คัน แสบ รอน หนาว หิว กระหาย เปนตน
๕. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนอฆะ คับแคบ เบียดเบียน เดือดรอน
๖. พิจ ารณาเห็ น ขัน ธ ๕ ว า เป น อฆมูล เป น รากเหงาเคามูล แห ง
ความคับแคบ แหงความเดือดรอน เพราะโรคภัย และกิเลสทั้งหลาย
๗. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนอาพาธ เจ็บปวย เชน ถูกยิง ถูกแทง
ถูกไฟ เปนไข เปนอัมพาต เปนหืด เปนหอบ เปนริดสีดวง เปนตน
๘. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนอีติ ความหายนะ
๙. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนอุปททวะ เชน ถูกรถทับ ถูกรถชน
ประสบกับอุปททวะเหตุอื่นๆ อีก สุดแทแตจะเกิด

๓๖
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕๒/๘๒.
๓๗
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, พิมพครั้งที่ ๑๒, หนา ๑๐๑๘.
๘๑
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๑๐. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนภัยเปนของนากลัว เพราะจะตอง
เผชิญกับภัยนานาชนิด เชน อัคคีภัย อุทกภัย วาตภัย โจรภัย ทุพภิกขภัย
ชาติภัย ชราภัย มรณภัย เปนตน
๑๑. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนอุปสัค สิ่งที่ขัดขวางกีดกันกางกั้น
ไมใหชีวิตดําเนินไปไดโดยราบรื่น
๑๒. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนอตาณะ ไมมีอะไรจะมาตานทาน
ไวได ตองเปนไปตามเหตุตามปจจัยของเขา เชน เจ็บ ตาย เปนตน
๑๓. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนอเลณะ ปองกันอะไรไมได จะหลีก
เรนอยูที่ไหนๆ ก็ไมพนทุกขไปได
๑๔. พิจ ารณาเห็ น ขั น ธ ๕ ว า เป น อสรณะ ไม มี ที่พึ่ ง เพราะต อ ง
แตกดับไป ทําลายไป สลายไป ทนอยูไมได
๑๕. พิจารณาเห็ นขันธ ๕ วาเป นอาทีนวะ มีทุกข มีโทษมาก ทั้ง
ภายนอกภายใน
๑๖. พิ จ ารณาเห็ น ขั น ธ ๕ ว า เป น วธกะ ผู ฆ า เพราะเป น ดุ จ นาย
เพชรฆาตคอยถือดาบเขนฆาสรรพสัตวอยูตลอดเวลาไมมียกเวนใครๆ
๑๗. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนสาสวะ เปนบอเกิดแหงอาสวะทั้ง
๔ คือ กามาสวะ อาสวะคือ กาม ภวาสวะ อาสวะคือ ภพ อวิชชาสวะ อา
สวะคืออวิชชา ทิฏฐาสวะ อาสวะคือ ทิฏฐิ
๑๘. พิจารณาเห็น ขัน ธ ๕ วาเป นมารามิส เป นเหยื่ อหลอก เป น
เหยื่อลอใหสรรพสัตวหลงติดบวง ดุจพรานเบ็ดตกปลาฉะนั้น
๑๙. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนชาติธัมมะ เกิดมารับกองทุกขเปน
ธรรมดา ไมลวงพนจากความเกิดไปได เกิดมาเมื่อใดก็หอบเอาทุกขมาเมื่อ
นั้น ดุจเห็นหัวงูโผลจากดินเมื่อใด ก็ดันเอาฝุนมาพรอมกันเมื่อนั้น ฉะนั้น
๒๐. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนชราธัมมะ มีความแก มีความเสื่อม
มีความทรุดโทรมเปนธรรมดา ไมมีใครหามและแกไขไดเลย
๒๑. พิจารณาเห็ นขันธ ๕ ว าเป นพยาธิธัมมะ มีความเจ็บไขเป น
ธรรมดา ไมมีใครลวงพนความเจ็บไขไปไดเลย

๘๒
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๒๒. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนโสกธัมมะ มีความเศราโศกเปน
ธรรมดา เศราโศกเพราะเสื่อมญาติ เสื่อมทรัพย เปนโรค เปนตน ไมมีใครลวง
พนไปไดเลยแมแตคนเดียว เวนพระอริยเจาเทานั้น
๒๓. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนปริเทวธัมมะ มีความรองไหบ น
เพอเปนธรรมดา เพราะถูกความเสื่อมตางๆ ครอบงํา
๒๔. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนอุปายาสธัมมะ มีความคับแคนใจ
เปนธรรมดา คับแคนเพราะเหตุ ๕ ประการ มีความเสื่อมญาติ เปนตน โดย
องคธรรม ไดแก โทสะ นั่นเอง
๒๕. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนสังกิเลสกธัมมะ มีความเศราหมอง
เปนธรรมดา เศราหมองเพราะกิเลสทั้ง ๑๐ คือ โลภะ โทสะ โมหะ มานะ
ทิฏฐิ วิจิกิจฉา ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ
สภาวธรรมในขั้นนี้โยคีจะเห็นโทษเห็นภัยของรูป-นาม ซึ่งเปนผล
จากภังคญาณ คือการที่รูปไมปรากฏชัดแกโยคี หรืออารมณที่เคยกําหนด
หายไปเปนญาณที่ ๖ คือเห็นเปนภัย และโยคีกําหนดแลวรูปหายไปหมดเลย
หรื อ มีความรู สึ ก ทุกข ที่จิ ต มากเพราะอาการของจิ ต ปรากฏชั ด เจน กิ เ ลส
อนุสัยปรากฏชัดคือโทษ จัดวาเปนญาณที่ ๗ เห็ นโทษของรูป-นาม โยคีมี
อาการเบื่อหนาย เซื่องๆ ซึมๆ ในชีวิต เปนตน จัดเปนญาณที่ ๘ นิพพิทา
ญาณ หรือมีสภาวะที่โยคีรูสึกขี้เกียจกําหนดอารมณที่กระทบทางทวารทั้ง ๖
เปนตน จัดเปนสภาวธรรมของบันไดขั้นนี้ มีรายละเอียดดังนี้
ญาณที่ ๖ ภยญาณ หรือ ภยตูปฏฐานญาณ
ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นวารูปนามนี้เปนภัย เปนที่นากลัวเหมือน
คนกลัวสัตวรายเชน เสือ เปนตน ผูปฏิบัติจะเห็นวา ภพชาติทั้งปวง (คือการ
ที่จิตเขาไปอิงอาศัยอารมณตางๆนั้น) เปนของไมปลอดภัย เนื่องจากอารมณ
ทั้งปวงล วนแต เ กิด ดับ เปน ปญญาที่กําหนดจนรูเ ห็น วารู ป-นามนี้เ ปน ภั ย
เปนที่นากลัวเหมือนคนกลัวสัตวราย ผูปฏิบัติจะเห็นวาภพชาติทั้งปวง (คือ
การที่จิตเขาไปอิงอาศัยอารมณตางๆ นั้น) เปนของไมปลอดภัย เนื่องจาก

๘๓
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
อารมณทั้งปวงลวนแตเกิด-ดับ๓๘
คําวา “สภาพการณที่นากลัว” นั้น แบงออกเปน ๒ อยางคือ
๑) มูลวัตถุ ที่ตั้งอันเปนเคามูลแหงกองทุกข มีอยู ๕ อยาง คือ
๑. อุปปาทะ ไดแก ความเกิดขึ้นแหงขันธ ๕ อาศัยอดีตกรรม
ถาไมมีอดีตกรรม คือกรรมเกาที่ไดทําไวในภพกอนแลว ขันธเดี๋ยวนี้ก็จะไมมี
ขันธนี้จึงเปนของที่นากลัวมาก เพราะประกอบไปดวยทุกขนานาประการ
๒. ปวัตตะ ไดแก ความเปนไปไมขาดสายของรูปนามในรูปภพ
อรูปภพ เปนของที่นากลัว เพราะเปนทุกข ถูกทุกขตางๆ เบียดเบียนบีบคั้น
อยูเนืองๆ
๓. นิมิตตะ ไดแก รูปนามที่เปนอดีต ปจจุบัน เปนของไมเที่ยง
เปนทุกขทนอยูไมได เปนของบังคับบัญชาไมได ไมอยูในอํานาจของใครๆ
ทั้งสิ้น เปนของนิดหนอย วางเปลา ไมมีเจาของ ไมมีสาระแกนสาร มีแตตาย
ไปฝายเดียว ดังนั้น รูปนามจึงเปนของที่นากลัวสําหรับผูที่มีปญญาพิจารณา
๔. อายู ห นะ ได แก กรรมเป น เหตุ ใ ห ถือ ปฏิ ส นธิ อี กต อ ไปคื อ
กุศลกรรมนําไปเกิด ในสุคติโลกสวรรค อกุศลกรรมนําไปเกิดในอบายภูมิทั้ง
๔ ดังนั้น รูปนามจึงเปนของที่นากลัว
๕. ปฏิสนธิ ไดแก การเกิดอีก เพราะผลกรรมที่ทําไวดังกลาวมา
นั้น เมื่อเกิดเปนรูปนามขึ้นมาเมื่อใด ทุกขก็ตองติดตามมาเมื่อนั้น ดุจเห็นหัวงู
ดันดินขึ้นมาเมื่อใด ฝุนก็ติดขึ้นมาเมื่อนั้น ดังนั้นรูปนามจึงเปนของที่นากลัว
๒) ปริยายวัตถุ ที่ตั้งแหงกองทุกขโดยออม มีอยู ๑๐ อยาง คือ
๑. คติ ทางเปนที่ดําเนินไปแหงชีวิต เมื่อแตกตายทําลายขันธไป
แลว มี ๒ ทาง คือ ทุคคติ (ทางที่ไมดี คือไปเกิดในอบายภูมิ ๔ เพราะอํานาจ
ความโลภ ความโกรธ ความหลง) สุคติ (ทางไปที่ดี คือไปเกิดเป นมนุ ษย
เทวดา พรหม เพราะอํานาจแหงกามาวจรกุศล รูปาวจรกุศล อรูปาวจรกุศล)
๒. นิพพัตติ ไดแก ความปรากฏแหงขันธ แยกเปน ๓ อยางคือ

๓๘
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ. อานาปานสติภาวนา ลําดับการบรรลุธรรมของ
พระพุทธเจา, หนา ๓๓๐.
๘๔
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ก. นามนิพฺพตฺติ ไดแก วิบากปฏิสนธิในรูปภูมิ
ข. รูปนิพฺพตฺติ ไดแก วิบากปฏิสนธิในอสัญญสัตตภูมิ
ค. นามรูปนิพฺพตฺติ ไดแก วิบากปฏิสนธิใน ๒๖ ภูมิที่เหลือ
๓. อุปปตติ ไดแก ภพทีจ่ ะตองเกิด คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ
๔. ชาติ ไดแก ปฏิสนธิ มี ๓ คือ
ก. เอกโวการชาติ ไดแก ปฏิสนธิในอสัญญสัตตภูมิ
ข. จตุโวการชาติ ไดแก ปฏิสนธิในอรูปภูมิ
ค. ปฺจโวการชาติ ไดแก ปฏิสนธิใน ๒๖ ภูมิที่เหลือ
๕. ชรา ไดแก ความคร่ําครา ความแก ความเสื่ อมไปของรู ป
นามมีอยู ๓ อยางคือ
ก. สัมมติชรา แกตามสมมติโวหารของชาวโลก เชน ผมหงอก
ฟนหัก เปนตน
ข. สันตติชรา แกไปตามลําดับของรูปนาม นับตั้งแตปฏิสนธิ
จนกระทั่งถึงตาย มีความสืบตอ คือ สันตติอยูตลอดไป
ค. ขณิกชรา แกชั่วขณะหนึ่งๆ ไดแก ฐีติขณะ คือ อุปปาทะ
เกิด ฐีติ แก และภังคะ ตาย
๖. พยาธิ ไดแก ความเจ็บไข คือ ทุกขเวทนาเพราะถูกโรค ๔๙
อยางเบียดเบียน โรคในตา ในหู ในจมูก ในลิ้น ในกาย โรคในศีรษะ โรคใน
ปาก โรคฟน โรคไอ โรคหู โรคหืด (โรคสะอึก) โรคหวัด โรครอนใน (ไขพิษ)
ไขเชื่อม โรคในทอง ลมจับ โรคบิด จุกเสียด (ตะคริว) โรคลงราก โรคเรื้อน
โรคฝ โรคกลาก โรคมังครอ โรคลมบาหมู หิดเปอน หิดดาน คุดทะราด หูด
ละลอก อาเจี ย น โลหิ ต โรคดี เ ดื อ ด โรคเบาหวาน เริ ม พุ พ อง ริ ด สี ด วง
อาพาธมี ดี เ ป น สมุ ฏ ฐาน อาพาธมี เ สมหะเป น สมุ ฏ ฐาน อาพาธมี ล มเป น
สมุฏฐาน ไขสันนิบาต คือความเจ็บที่เกิดแตดี เสมหะ และลมทั้ง ๓ นี้เจือกัน
ความเจ็ บ เกิดแตฤดู แปรปรวน ความเจ็ บเกิด แตการผลัด เปลี่ย นอิริ ยาบถ
ความเจ็บเกิดแตความเพียรกลา ความเจ็บเกิดแตวิบากกรรม ความเจ็บเกิด
เพราะความเย็น ความรอน ความหิว กระหาย เกิดเพราะอุจจาระ ปสสาวะ
๗. มรณะ คือความตาย แบงออกเปน ๓ อยาง คือ
๘๕
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ก. สัมมติมรณะ ตายโดยสมมติ เชน นาย ก. ตาย
ข. ขณิกมรณะ ตายชั่ว ขณะหนึ่งๆ ตายอยูทุกฝกาว ทุกขณะ
หายใจเขาออก ทุกขณะตาเห็นรูป หูไดยินเสียง จมูกไดกลิ่น ลิ้นไดรส กาย
ถูกเย็นรอนออนแข็ง ใจคิดธรรมารมณ
ค. สมุจเฉทมรณะ ตายโดยตัดขาดจากวัฏฏสงสาร ไดแก การ
ตายของพระอรหันต
๘. โสกะ แปลวา ความเศราโศก มีลักษณะเรารอนอยูภายใน มี ๕
ประการ ไดแก พยสนะ คือความเสื่อม ๕
ก. ญาติพยสนโสกะ โศกเศราเพราะเสื่อมญาติ
ข. โภคพยสนโสกะ โศกเศราเพราะเสื่อมโภคะ
ค. โรคพยสนโสกะ โศกเศราเพราะโรคเบียดเบียน
ง. สีลพยสนโสกะ โศกเศราเพราะศีลวิบัติ
จ. ทิฏฐิพยสนโสกะ โศกเศราเพราะเห็นผิด
๙. ปริเ ทวะ การร่ําไห บน เพอ จําแนกออกเปน ๕ เช นกันคือ
โศกเศราเพราะเสื่อมญาติ เพราะเสื่อมโภคะ เปนตน
๑๐. อุปายาส ความคับแคนใจ ไดแก ความเศราโศกอยางสุดซึ้ง
องคธรรม ไดแก โทสเจตสิก มี ๕ อยางเหมือนกัน เชน ญาติพยสนอุปายาส
คับแคนใจเพราะเสื่อมญาติ คับแคนใจเพราะเสื่อมโภคะ คับแคนใจเพราะถูก
โรคเบียดเบียน เปนตน
โสกะ ปริเทวะ อุปายาส มีอุปมาดังนี้
โสกะ เปรียบเหมือนน้ํากะทิที่กําลังเดือด
ปริเทวะ เปรียบเหมือนน้ํากะทิที่เดือดเต็มที่แลว ลนกะทะออกมา
ขางนอก
อุปายาส เปรียบเหมือนน้ํากะทิที่ลนออกมานั้นเหือดแหงไป
พยสนะ คือ ความเสื่อมทั้ง ๕ ขอนี้ เปนเหตุ โสกะ ปริเทวะ
อุปายาส เปนผล

๘๖
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
มูลวัตถุ ๕ ปริยายวัตถุ ๑๐ นี้ เปนของที่นากลัวมาก เมื่อผูปฏิบัติ
พิจารณาเห็นวา รูปนามเปนของนากลัวเชนนี้ ก็จัดเปน ภยญาณ๓๙
ญาณที่ ๗ อาทีนวญาณ
อาทีน วญาณ หมายถึง ปญญาพิจ ารณาเห็ นทุกขเห็ นโทษของรู ป
นาม คือเมื่อเห็นวารูปนามปรากฏเปนของนากลัวแลว ก็จะเห็นทุกขเห็นโทษ
ของรูปนามเปนลําดับที่ ๗ ในวิปสสนาญาณ ๑๖ เห็นทุกขเห็นโทษของรูป
นาม คือปญญารูวารูปนามมีแตทุกข มีแตโทษ ไมมีคุณเลย เห็นสังขารธรรม
เปนโทษ มีแตความบกพรอง อยูดวยทุกขเสมอโดยอาการเห็นรูปนามซึ่งมีแต
ความดับไป หายไปวาไมดี มีโทษ เรียกวา อาทีนวญาณ๔๐
ปญญาที่กําหนดจนรูเห็น วารูป -นามนี้เปน โทษ เหมือนผูที่เ ห็นไฟ
กําลังไหมเรือนตนอยู จึงคิดหนีจากเรือนนั้นในระหวางที่อิงอาศัยอารมณนั้น
จิตไมไดมีความสุขจริง เพราะภพชาติทั้งปวงลวนแตมีทุกขมีโทษในตัวเอง
การเห็นทุกขโทษดวยปญญา ๑๕ อยาง คือ
๑. อุปปาอาทีนวญาณ เห็นทุกข โทษ ในการเกิดของรูปนาม
๒. ปวัตตอาทีนวญาณ เห็นทุกข โทษ คือ ความเปนของไมเที่ยง
เปนทุกข เปนอนัตตา ของรูปนามที่กําลังเปนไปอยู
๓. นิมิตตอาทีนวญาณ เห็นทุกข โทษ ของรูปนามที่เปนสัญลักษณ
บอกใหรูไดอยางชัดเจน เชน ผมหงอก ฟนหัก เปนตน
๔. อายูหนอาทีนวญาณ เห็นทุกข โทษ ของรูปนามที่สั่งสมเอากรรม
ตางๆ มาไว แลวนําใหเกิดวนเวียนอยูในภพตางๆ ลวนแตเปนอนิจจัง ทุกขัง
อนัตตา ทั้งนั้น หาสาระแกนสารอะไรมิไดเลย
๕. ปฏิส นธิอาทีนวญาณ เห็ นทุกข โทษ ในการถือปฏิสนธิ จะถือ
ปฏิสนธิในภูมิไหนๆ ก็เปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ทั้งนั้น
๓๙
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ. ๙) วิปสสนากรรมฐาน
ภาค ๑ เลม ๒, (กรุงเทพมหานคร: บริษัทสหธรรมิก จํากัด, ๒๕๔๘ ),หนา ๑๘๓-๑๙๕.
๔๐
สยาดอภัททันตวิโรจนะ, วิธีเจริญมหาสติปฏฐาน เลม ๒, พิมพครั้งที่ ๑,
(กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพดีเอ็มจี, ๒๕๕๕), หนา ๒๑๖.
๘๗
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๖. คติอาทีนวญาณ เห็นทุกข โทษ ในคติทั้ง ๕ คือ นรก ดิรัจฉาน
ปตติวิสัย มนุษย เทวดา จะเปนคติใดก็ลวนแตเปนทุกขทั้งนั้น
๗. นิพพัตติอาทีนวญาณ เห็นทุกข โทษ ในภพที่จะไปเกิด คือจะไป
เกิดในภพไหนๆ ก็ไมพนไปจากทุกขได
๙. ชาติอาทีนวญาณ เห็นทุกขโทษของรูปนามที่กําลังเกิดอยู
๑๐. ชราอาที น วญาณ เห็ น ทุ ก ข โทษ ในความแก ความเสื่ อ ม
ความทรุด โทรมของรูปนาม เชน ผมหงอก ฟน หัก หนั งเหี่ย ว ตามัว หูตึ ง
แรงนอยถอยกําลัง นั่งก็งวย จะลุกเดินไปไหนก็ไมสะดวก เปนตน
๑๑. พยาธิอาทีนวญาณ เห็ นทุกข โทษ ของรูปนาม เพราะถูก
โรคภัยหลายรอยหลายพันอยางเบียดเบียน มีอวัยวะที่ไหนก็เจ็บที่นั้น เชน
มีปากก็เจ็บปาก มีทอง มีไส มีแขน มีขา มีตา มีมือ ก็เจ็บปวดขึ้นได ในเมื่อ
ถูกโรคเบียดเบียน ตองวิ่งหาโอสถมาชวยปลดทุกข มีผาตัดเปนตนบาง สู
ไมไดก็ตายไป ถึงไมตายก็ตองนอนทุกขทรมานไปอีกนาน คือ เห็นวาจะตอง
แตกสลายพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ไมวันใดก็วันหนึ่ง
๑๓. โสกอาทีนวญาณ เห็นทุกข โทษ ในความโศกเศราตางๆ นานา
เพราะรูปนามแตกดับไป เสื่อมไป วิบัติไป เชน ญาติตายไป ทรัพยสูญหายไป
โรคภัยเบียดเบียน เปนตน
๑๔. ปริเทวอาทีนวญาณ เห็นทุกขโทษ ในการร่ําไห เพราะถูกความ
เสื่อมทั้ง ๕ มีเสื่อมญาติเปนตน ครอบงําอยูทุกรูปทุกนาม
๑๕. อุปายาสอาทีนวญาณ เห็นทุกข โทษ ของรูปนาม เพราะถูก
ความคับแคนใจครอบงํา
ญาณนี้ ปรากฏทั้งในคัมภี ร ป ฏิ สัมภิ ทามรรค (ญาณที่ ๘)๔๑ และ
คัมภีรวิสุทธิมรรค สาระสําคัญของญาณนี้ก็คือ ผูปฏิบัติจะเห็น (ภาพนิมิต)
รางกายที่คอยๆ พองขึ้นอืดที่บริเวณทอง ลําตัว แขน หลังมือ หลังเทา เปน
ตน สักระยะหนึ่งอาการพองอืดก็จะคอยๆ ยุบลงตามปกติ๔๒ เปนปญญาที่

๔๑
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕๓/๘๔.
๔๒
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๓๒๒.
๘๘
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
กําหนดจนรูเห็นวารูป-นามนี้เปนโทษ เหมือนผูที่เห็นไฟกําลังไหมเรือนตนอยู
จึงคิดหนีจากเรือนนั้นในระหวางที่อิงอาศัยอารมณนั้น จิตไมไดความสุขจริง
เพราะภพชาติทั้งปวงลวนแตมีทุกขมีโทษในตัวเอง๔๓
ญาณที่ ๘ นิพพิทาญาณ
สภาวะของญาณนี้ : เมื่อ เห็น รูป -นามเปน ภัย และเปน โทษดว ย
ประการตา งๆ ทั้ง พิจ ารณาเห็น ซ้ํา เห็น ซากอยูอ ยา งนี้ ก็ยิ่ง เห็น ภัย เห็น
โทษชัดขึ้นก็เ ปนธรรมดาที่จะตองเกิด ความเบื่อหนายตอรูป-นามทั้งปวง
อัน เกิด จากปญ ญาที่เ ห็น แจง ถึง ภัย และโทษ ของสัง ขารรูป -นามทั้ง ปวง
มิใ ชเ บื ่อ หนา ยในอารมณอ ัน ไมเ ปน ที ่น า ชื ่น ชมยิน ดีอัน เนื ่อ งดว ยโทสะ
เพราะความเบื่อหนายอันเนื่องจากโทสะนั้นเปนการเลือกเบื่อหนายสิ่งใดที่
ไมชอบก็เบื่อหนาย แตสิ่งใดที่ยังชอบ อยูก็ไมเบื่อหนาย เปนตน แตวาการ
เบื ่อ หนา ยดว ยปญ ญาเปน การเบื ่อ หนา ยตอ สิ ่ง ทั ้ง ปวงไมใ ชเ ลือ กเบื ่อ
เหมือนอยางเนื่องดว ยโทสะ นิพพิทาญาณนี้เบื่อหนายตอสังขารรูป-นาม
ในทุก ๆ ภูมิ ที่เ บื่อ หนา ยสัง ขารรูป -นามในทุก ๆ ภูมิ ก็เ พราะสังขารรูป -
นามไมวาจะอยูในภูมิไหนก็เปนภัยเปนโทษทั้งนั้น
นิพพิทานญาณ ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นวา เกิดความเบื่อหนายใน
รูป-นาม เบื่อหนายในขันธ ๕ จิตคลายความเพลิดเพลินพึงพอใจในภพชาติ
ตางๆ ในขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค นิพพิทาญาณ ๘ ประการ คือ
๑. ชื่อวานิพพิทาญาณ เพราะพิจารณาเห็นวาไมเที่ยงหายใจเขารู
เห็นตามความเปนจริง
๒. ชื่อวานิพพิทาญาณ เพราะพิจารณาเห็นวาไมเที่ยงหายใจออกรู
เห็นตามความเปนจริง
๓. ชื่ อ ว า นิ พ พิ ท าญาณ เพราะพิ จ ารณาเห็ น ความคลายออกได
หายใจเขารูเห็นตามความเปนจริง
๔. ชื่ อ ว า นิ พ พิ ท าญาณ เพราะพิ จ ารณาเห็ น ความคลายออกได
หายใจออกรูเห็นตามความเปนจริง
๔๓
ขุ.จู.อ. (ไทย) ๖/๘๒๑/๖๕๑.
๘๙
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๕. ชื่อวานิพพิทาญาณ เพราะพิจารณาเห็นความดับไปหายใจเขารู
เห็นตามความเปนจริง
๖. ชื่อวานิพพิทาญาณ เพราะพิจารณาเห็นความดับไปหายใจออกรู
เห็นตามความเปนจริง
๗. ชื่อวานิพพิทาญาณ เพราะพิจารณาเห็นความสละคืนหายใจเขารู
เห็นตามความเปนจริง
๘. ชื่อวานิพพิทาญาณ เพราะพิจารณาเห็นความสละคืนหายใจออก
รูเห็นตามความเปนจริง๔๔
แตเมื่อจะกลาวโดยภาคปฏิบัติแลว ยอสรุปลงมาดังนี้ คือ:-
๑. ผูปฏิบัติเบื่อหนายตอรูปนามทางทวารทั้ง ๖
๒. รูสึกใจคอเหี่ยวแหง คลายๆ กับขี้เกียจ แตก็ยังกําหนดรูปนาม
ไดดีอยู
๓. ใจไมเบิกบาน มีอาการเศราโศกดุจพลัดพรากจากของรัก ของ
ชอบใจ ฉะนั้น
๔. มีใจเอือมๆ เบื่อๆ เมื่อกอนเห็นวาอบายภูมิ ๔ เทานั้น เปนของ
ไมดี สวนมนุษย เทวดา ยังเห็นวาดีอยู แตบัดนี้รูสึกวาพระนิพพานเทานั้นดี
ที่สุด นอกนั้นไมดีเลย
๕. มีใจนอมไป โอนไปสูพระนิพพาน
๖. กําหนดรูปนามไมเพลิดเพลิน
๗. ทุกๆ อยางที่กําหนดรู ไมเห็นมีดีที่ตรงไหนเลย มีแตไมดีทั้งนั้น
และไมมีความสนุกเพลิดเพลิน
๘. ไมอยากพูดจาปราศรัย กับใครๆ ไมอยากพบใคร อยากอยูใน
หองคนเดียวเทานั้น
๙. เมื่อกอนไดยิ น เขาพูด วาเบื่ อ แต ยั งไมเ คยเห็ นว าจะน าเบื่ อ
ตรงไหน แตบัดนี้รูแลววาเบื่อจริงๆ

๔๔
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๘๓/๒๘๘.
๙๐
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๑๐. มีความรูสึกแหงแลงในใจคลายๆ กับอยูกลางสนามหญากวางๆ
ซึ่งแหงแลงเต็มทนมีแตแดดเผาใหหญาเหี่ยวแหงอยูตลอดเวลา
๑๑. ไมพอใจยินดีในโลกธรรม อยากจะใหถึงสันติเร็วๆ
๑๒. ทานอาหารนอย นอนนอย พูดนอย๔๕

ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูป-นาม
การพิจ ารณาเห็ น สั งขารทั้ ง หลายเป น อนั ต ตา โดยเป น สิ่ งไม ใ ช
ตัวตน โดยเปนฝายอื่น โดยเปนของวาง๔๖ โดยเปนของเปลา โดยเปนของสูญ
โดยเปนของไมมีใครเปนเจาของ โดยเปนของไมมีใครเปนใหญ โดยเปนของ
ไมอยูในอํานาจใคร ผูพิจารณาเห็นดังนี้ ชื่อวา ไดยกขึ้นสูไตรลักษณแลว๔๗
การกําหนดรูขันธ ๕ โดยอาการ ๔๐๔๘ เห็นพระไตรลักษณ เฉพาะ
อนัตตลักษณะมี ๕ ประการ ดังนี้
๑. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนอนัตตา ไมใชตัวตน บังคับบัญชา
ไมได ไมอยูในอํานาจของใครๆ ทั้งสิ้น
๒. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนประ โดยความเปนปรปกษ
๓. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนริตตะ โดยความเปนของเปลา
๔. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนตุจฉ โดยเปนของวาง
๕. พิจารณาเห็นขันธ ๕ วาเปนสุญญะ โดยเปนของสูญ
เมื่อโยคีไดผานวิปสสนาญาณที่ ๖-๗-๘ เห็นภัย เห็นโทษ ตลอดจน
กระทั่งเกิดความเบื่อหนายในรูป-นามที่กําลังกําหนดอยูนั้นแลว จะเกิดความ
กลัดกลุมรําคาญอยางยิ่ง จึงอยากใครที่จะไปใหพนเสียจากรูป-นามที่กําหนด
อยูนั้น จากนั้นจะเกิดปญญาพิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูป-นาม อาการ

๔๕
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ. ๙), วิปสสนากรรมฐาน ภาค
๑ เลม ๒, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมิก จํากัด, ๒๕๔๘), หนา ๒๐๕-๒๒๒.
๔๖
วิสุทฺธ.ิ (ไทย) ๓/๒/๑๕๗.
๔๗
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕๒/๘๒.
๔๘
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, พิมพครั้งที่ ๑๒, หนา ๑๐๑๘.
๙๑
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
พอง-ยุ บจะกลั บมาปรากฏชั ดอี กครั้ ง แต มี ความแปรปรวนของอารมณ ใน
ลักษณะของอนัตตา บังคับไมได๔๙ เห็นความเปนอนัตตา คือความไมใชตัวตน
ของรูป-นาม จึงทําใหจิตอยากพน อยากหนี เพราะกะเกณฑในอารมณไมได
ญาณที่ ๙ มุญจิตุกัมยตาญาณ
อิ มิ น าปน นิ พฺ พ ทาญาเณน อมสฺ ส กุ ล ปุ ตฺ ต สฺ ส นิ พฺ พิ นฺ ท นฺ ต สฺ ส
อุกฺกณฺฐนฺตสฺส อนภิรมนฺตสฺส สพฺพภวโยนิคติวิฺญาณฏฐิติสตฺตาวาสคเตสุ
สเภทเกสุ สงฺขาเรสุ สงฺขาเรสุ เอกสงฺขาเรป จิตฺตํ น สชฺชติ น ลคฺคติ น
พชฺฌติ, สพฺพสฺมา สงฺขารคตา มุจฺจิตุกามํ นิสฺสริตุ กามํ โหติ. ฯลฯ.๕๐
เมื่อเบื่อหนายเอือมระอาไมยินดีอยูดว ยนิพพิทาญาณ จิตไมของไม
เกาะไมติดอยูในสังขารที่มีความแตกดับ ที่ดําเนินไปอยูในภพ ๓ กําเนิด ๔
คติ ๕ วิญญาณฐิติ ๗ และสัตตาวาส ๙ แมอยางหนึ่ง เปนจิตที่ปรารถนาจะ
พนสลัดออกไปจากสังขารทั้งปวง โบราณขนานนามวา “ญาณมวนเสื่อ”
สภาวะของญาณนี้ คือ มีความรูสึกใครจะหนีใหพน เมื่อมันเบื่อแลวก็
ใครจะหนี มีความรูสึกอยากจะหนีไป เหมือนบุคคลที่อยูใน กองเพลิง มันก็
อยากจะไปใหพนจากกองเพลิงเหลานี้ จากนั้นเมื่อเพียรพยายามตอไปก็จะขึ้น
ญาณที่ โยคีบุคคลผูเจริญวิปสสนากรรมฐาน จนเกิดปญญาถึงกับมีความเบื่อ
หนายตอรูปธรรมนามธรรมอันเปนสังขารธรรม ตั้งหนาเจริญภาวนาตอไปโดย
ปราศจากความทอถอย มีความเบื่อหนายในรูป-นามยิ่งขึ้น ก็เกิดความมุง
หมาย ที่จะใหพนสิ่งที่ไมดี สิ่งที่ชั่ว เปนภัย เปนโทษ นาเบื่อหนาย คือสังขาร
รูป-นาม ที่มุงจะใหพนจากสังขารรูป-นาม ที่จะหนีจากสังขาร รูป-นามนี่
แหละเรียกวา มุญจิตุกมยตาญาณ การพนจากรูป-นาม การหนีจากรูป-นาม ก็
คือ การพนจากทุกขโทษภัยนั่นเอง เปนความมุงมั่นที่จะพนอยางแรงกลา อัน
เกิดจากปญญาที่เรียกวา ภาวนามยปญญา ไมใชนึกจะพนอยางเลื่อนลอย
โดยไมไดมีการเจริญภาวนาแตอยางใด

๔๙
สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๙๐/๑๗๑.
๕๐
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๓๒๖, อางแลว, คัมภีรว ิสุทธิมรรค, หนา ๗๕๖, ๑๐๙๑.
๙๒
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
เปนปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากฐานะทั้ง ๕ คือ ๑) ความเกิดขึ้น
ความบังเกิด ความเกิด ๒) ความเปนไป ความอุบัติ คติ ๓) นิมิต ความแก
ความเจ็บไข ความตาย ความเศร าโศก ความรําพัน ความคับแคนใจ ๔)
กรรมเปนเครื่องประมวลมา ๕) ปฏิสนธิ โดยการพิจารณาและดํารงมั่นอยู
ใน ๔ วาระ คือ (๑) เปนภัย - ปลอดภัย (๒) เปนทุกข - เปนสุข (๓) เปน
อามิส - ไมเปนอามิส (๔) เปนสังขาร (สังขารและอุเบกขา) – เปนนิพพาน
เปนปญญาความรูที่ปรารถนาจะปลดเปลื้อง(สังขารทั้งหลาย)ไปเสีย
เพราะในเวลานั้นทุกขเวทนาชนิดตางๆ ก็ปรากฏขึ้นในกายของโยคีผูนั้นดวย
และความไมตองการจะอยูในอิริยาบถอันหนึ่งอันเดียวนานๆ ก็ปรากฏขึ้น
โดยมากดวย ถึงแมความคิดเหลานั้นจะไมเกิดขึ้น แตความไมสะดวกสบาย
ของสังขารทั้งหลายก็ปรากฏชัดเจนยิ่งขึ้น เพราะฉะนั้น ในระหวางที่กําหนดอยู
เปนระยะๆ นั้น บุคคลผูปฏิบัติผูนั้นจะปรารถนาอยูอยางนี้วา ทําไฉน ฉันจะ
พนจากอิริยาบถนี้ไปเสียไดโดยเร็ว จะบรรลุสถานที่สงบของสังขารทั้งหลาย
เหลานี้ จะสลัดสังขารทั้งหลายนี้ออกไปเสียโดยสิ้นเชิง ดังนี้บาง
ในเวลานั้ น จิ ต ของผู ป ฏิ บั ติ จ ะปรารถนาอยู อ ย า งนี้ ทุ ก ๆ ครั้ ง ที่
กําหนดอยูวา (๑) ทําไฉน ฉันจะพนจากอิริยาบถนี้ไปเสียไดโดยเร็ว (๒) ทํา
ไฉน ฉันจึงจะบรรลุสถานที่สงบของสังขารทั้งหลายเหลานี้ (๓) ทําไฉน ฉันจึง
จะสลัดสังขารทั้งหลายนี้ออกไปเสียโดยสิ้นเชิง สามารถละติดการของอยูใน
กามภาวะได”๕๑
ในคัมภีรวิสุทธิมรรค กลาวถึง มุญจิตุกัมยตาญาณ๕๒ ไวดังนี้
แตเมื่อกุลบุตรผูนี้ เบื่อหนายอยู เอือมระอาอยู ไมอภิรมยยินดีอยู
ดวยนิพพิทาญาณนี้ จิตก็ไมของ ไมเกาะ ไมติดอยู ในสังขารทั้งหลาย ซึ่งมี
ความแตกดับ ที่ดําเนินไปอยูใน ภพ ๓ กําเนิด ๔ คติ ๕ วิญญาณฐิติ ๗
และสัตตาวาส ๙ ทุกหนทุกแหงแมแตสังขารเดียว เป นจิตที่ใครจะพนไป
ปรารถนาจะออกไปเสียจากสังขารทั้งปวง

๕๑
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ),วิปสสนานัยเลม ๒,๒๕๕๐, หนา ๓๐๔.
๕๒
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๕๔, หนา ๑๐๙๑- ๑๐๙๒.
๙๓
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
- ภพ ๓ ไดแก กามภพ รูปภพ อรูปภพ
- กําเนิด ๔ ไดแก อัณฑชะ ชลาพุชะ สังเสทชะ โอปปาติกะ
- คติ ๕ ไดแก นรก สัตวเดรัจฉาน เปรต มนุษย เทวดา
- วิญญาณฐิติ ๗ ไดแก
๑. มนุ ษยและเทวดาชั้ น กามาวจร เป น สัต ว จํ าพวกที่มีร างกาย
ตางกันมีปฏิสนธิตางกัน จึงเรียกวา นานัตตกายนานัตตสัญญี
๒. พรหมชั้นปฐมฌานและสัตวในอบายภูมิ เปนสัตวจําพวกที่มี
รางกายตางกัน แตมีปฏิสนธิเหมือนกัน จึงเรียกวา นานัตตกายเอกัตตสัญญี
๓. พรหมชั้นทุติยฌาน เปนสัตวจําพวกที่มีรางกายหมือนกัน แตมี
ปฏิสนธิตางกัน จึงเรียกวา เอกัตตกายนานัตตสัญญี
๔. พรหมชั้นตติยฌาน และเวหัปผลา เปนสัตวจําพวกที่มีรางกาย
และปฏิ ส นธิ เ หมื อ นกั น จึ ง เรี ย กว า เอกั ต ตกายเอกั ต ตสั ญ ญี แม พ รหม
สุทธาวาส ก็จัดเขาในขอนี้
๕. อากาสานัญจายตนพรหม ชื่อวา อากาสานัญจายตนสัญญี
๖. วิญญาณัญจายตนพรหม ชื่อวา วิญญาณัญจายตนสัญญี
๗. อากิญจัญญายตนพรหม ชื่อวา อากิญจัญญายตนสัญญี
- สัตตาวาส ๙ คือ วิญาณฐิติ ๗ ที่เพิ่ม อสัญญีสัตตพรหม และ เนว
สัญญานาสัญญายตนพรหม เขาไปดวย
ญาณที่ ๑๐ ปฏิสังขาญาณ
ปญญาเห็นสังขารทั้งหลายเปนทุกข โดยเหตุทั้งหลายวา โดยถูกบีบ
คั้นอยูเนืองนิตย โดยเปนสิ่งที่ทนยาก (คือทนอยูไมได) โดยเปนที่ตั้งของทุกข
โดยเป น โรค โดยเป น แผลฝ โดยเป นลู กศร โดยเป น ของชั่ ว ร าย โดยเป น
อาพาธ โดยเปนอุบาทว โดยเปนภัย โดยเปนอุปสรรค โดยไมมีที่ตานทาน
โดยไมมีที่กําบัง โดยไมมีที่พึ่ง โดยเปนโทษ โดยเปนมูลของความลําบาก โดย
เปนผูฆา โดยเปนสิ่งเปนไปกับอาสวะ โดยเปนเหยื่อของมาร โดยเปนสิ่งมี
ชาติ เ ป น ธรรมดา โดยเป น สิ่ ง มีช ราเป น ธรรมดา โดยเป น สิ่ งมี พ ยาธิ เ ป น
ธรรมดา โดยเปนสิ่งมีมรณะเปนธรรมดา โดยเปนสิ่งมีโสกะเปนธรรมดา โดย

๙๔
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
เปน สิ่งมีอุป ายาสเปน ธรรมดา โดยเป นสิ่งมีความเศราหมองเปนธรรมดา
ย อมเห็ น ไดโ ดยเป น ของไมงาม อัน เป น บริ ว ารแห ง ทุก ขลั ก ษณะโดยเหตุ
ทั้งหลายเชนวา โดยเปน สิ่งไมงาม โดยเปน สิ่งมีกลิ่นเหม็น โดยเปน สิ่งน า
รังเกียจ โดยเปนสิ่งปฏิกูล โดยเปนสิ่งมิใชกําจัด (ความปฏิกูล) ไดดวยการตบ
แตง โดยเปนสิ่งนาเกลียด โดยเปนสิ่งนาขยะแขยง
ปฏิสังขาญาณ คือ การเห็นสังขารทั้งหลายเปนอนัตตา โดยเปนสิ่ง
ไมใชตัวตน โดยเปนฝายอื่น โดยเปนของวาง โดยเปนของเปลา โดยเปนของ
สูญ โดยเปนของไมมีใครเปนเจาของ โดยเปนของไมมีใครเปนใหญ โดยเปน
ของไมอยูในอํานาจใคร ผูเห็นตามความเปนจริงดังกลาวมานั้นไดยกขึ้นสูไตร
ลักษณแลว เพราะเหตุไร จึงกําหนดสังขารทั้งหลายอยางนั้น การกําหนด
อยางนั้น เพื่อทําวิธีแหงการปลดเปลื้องใหสําเร็จ ๕๓
ยอมกําหนดเห็นความวางเปลา ๖ อยาง คือ
- กําหนดอายตนะภายในเปนของวางเปลาจากตัวตน
- วางเปลาจากความไมเที่ยง ยั่งยืน มั่นคง
- รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และธรรมารมณก็เปนของสูญ
- วิญญาณที่อาศัย ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็วางเปลา
- สัมผัสทางทวารก็เปนของวางเปลา
พิจ ารณาความว า งเปล า อี ก ๙ ประการ คือ รู ป เวทนา สั ญ ญา
สังขาร วิญญาณ จักขุ ชรา มรณะ ไมมีแกนสาร ปราศจากสาระ เพราะไม
เทีย่ งเปนทุกข ไมใชตัวตน ไมยงั่ ยืน ไมตั้งมั่น เปนของแปรผัน๕๔
ผูที่เจริญวิปสสนาบรรลุถึงปฏิสังขานุปสสนาญาณนี้แลว เมื่อญาณมี
ความแกกลาจึงรูสึกวากําหนดไดดีกวาเดิม มีความคลายคลึงกับอุทยัพพย
ญาณและภังคญาณ เมื่อผูปฏิบัติบรรลุถึงญาณนี้แลว ยอมมีความกลาหาญ
อยางไมทอถอย ในขณะที่มีความพยายามอยางไมทอถอยนั้นอินทรีย ๕ ปรับ
เสมอกันดวยความสมดุลดี เปนเหตุใหบรรลุเขาสูวิปสสนาญาณเบื้องสูง
๕๓
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๓๒๘.
๕๔
วิสุทธิ. (บาลี) ๒/๓๓๑.
๙๕
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
เมื่อวาตามชื่อญาณ นี้ปรากฏทั้งในขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
(ญาณที่ ๙) และคัมภีรวิสุทธิมรรค สาระสําคัญของญาณนี้ก็คือ ผูปฏิบัติได
เห็ น ไตรลั กษณชั ด เจนที่ สุ ด กว า ทุก ญาณที่ ผ านมา การหยั่ ง รู ไ ตรลั ก ษณ มี
ประโยชนมากเพื่อจะไดยกจิตขึ้นสูไตรลักษณตอไป๕๕
ลั กษณะขางต น ที่กล าวมานั้ น ปรากฏชั ด ในวิ ป ส สนามรรคขั้น สู ง
แตในวิปสสนาของมรรคแรกเกิดขึ้นบาง คือบุคคลที่รูเห็นอนิจจลักษณะเปน
ตนอยางใดอยางหนึ่ ง ดวยวุฏ ฐานคามินี วิปสสนาแลวจะบรรลุมรรคญาณ
ตอจากนั้นการรูเห็นในลักษณะอยางใดอยางหนึ่งจึงนับวาบริบูรณ เพราะทํา
ใหบรรลุมรรคญาณได๕๖

ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
อุเบกขา แปลวา ความวางเฉย ความวางใจเปนกลาง คือ ความวาง
เฉยแบบวางใจเปนกลางๆ ไมเอนเอียงเขาขางเพราะชอบ เพราะชัง เพราะ
หลง เพราะกลัว เชน ไมเสียใจเมื่อคนที่ตนรักถึงความวิบัติ ไมดีใจเมื่อศัตรูถึง
ความวิบัติ มิใชวางเฉยแบบไมไมรูไมชี้ ทั้งที่สามารถชวยเหลือได เปนตน๕๗
อุเบกขามี ๑๐ ประการ คือ๕๘
๑. ฉฬั ง คุ เ ปกขา อุ เ บกขาในอารมณ ๖ ภิ ก ษุ ผู เ ป น พระอรหั น ต
ขี ณ าสพเห็ น รู ป ด ว ยจั ก ษุ แ ล ว ย อ มไม ดี ใ จ ย อ มไม เ สี ย ใจ เป น ผู มี ส ติ มี
สัมปชัญญะเห็นเสมอกันอยู๕๙  อุเบกขานี้ชื่อวา ฉฬังคุเปกขา
๒. พรหมวิหารุเบกขา อุเบกขาอันใดคืออาการอันเปนกลางๆ ใน
๕๕
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, พิมพครั้งที่ ๑๒, หนา ๑๐๙๒ - ๑๐๙๔.
๕๖
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนานัยเลม ๒, หนา ๓๑๘.
๕๗
พระธรรมกิตติวงศ (ทองดี สุรเตโช), พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน
ฉบับคําวัดที่ชาวพุทธควรรู, (กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม,
๒๕๕๑), หนา ๑๓๘๙.
๕๘
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๒๘๓., วิ.มหา.อ. (ไทย) ๙/๒๖๕.
๕๙
องฺ.ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๑/๑๔๒, สํ.ม.อ. (ไทย) ๕/๖๐๐/๓๑๘.
๙๖
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
สัตวทั้งหลาย ซึ่งมาแลวอยางนี้วา ภิกษุมีจิตประกอบดวยอุเบกขาแผไปทาง
ทิศหนึ่งอยู๖๐
 อุเบกขานี้ชื่อวา พรหมวิหารุเปกขา
๓. โพชฌั ง คุ เ ปกขา อุ เ บกขาอั น ใดคื อ อาการอั น เป น กลางๆ ใน
สหชาตธรรมทั้งหลาย ซึ่งมาแลวอยางนี้วา ภิกษุยอมยังอุเบกขาสัมโพชฌงค
อันอาศัยวิเวก อันอาศัยนิพพานใหเกิดขึ้น อุเบกขานี้ชื่อวาโพชฌังคุเปกขา๖๑
๔. วิ ริ ยุ เ ปกขา อุ เ บกขาอัน ใดกล าวคื อความเพีย รที่ไ มตึ งเครี ย ด
เกินไป และที่ไมหยอนยานเกินไป ซึ่งมาแลวอยางนี้วา ภิกษุผูโยคีบุคคล ยอม
มนสิการถึงอุเปกขานิมิตตลอดกาลโดยกาล อุเบกขานี้ชื่อวา วิริยุเปกขา๖๒
๕. สังขารุเปกขา อุเบกขาที่พิจารณาสภาพธรรมนิวรณเปนตน ลง
ความเห็นเปนกลางๆ ในการยึดถือสังขารอันมาแลวอยางนี้ วา สังขารุเปกขา
เกิดขึ้นดวยอํานาจสมถะมี ๘ สังขารุเปกขาเกิดขึ้นดวยอํานาจวิปสนสนามี
๑๐ อุเบกขานี้ชื่อวา สังขารุเปกขา๖๓
๖. เวทนุเปกขา อุเบกขาอันใดที่รูสึกไมทุกขไมสุข (คือเฉยๆ) ซึ่ง
มาแลวอยางนี้วา สมัยใดกามาวจรกุสลจิตอันประกอบดวยอุเบกขาเวทนา
เกิดขึ้น อุเบกขานี้ชี่อวา เวทนุเปกขา๖๔
๗. วิ ป ส สนุ เ ปกขา อุ เ บกขาอั น ใดคื อ ความเป น กลางๆ ในการ
พิจารณา ซึ่งมาแล วอย างนี้ วา ขันธ ๕ ใดมีอยู ขันธ ๕ ใดปรากฏชัด โยคี
บุคคลยอมละขัน ธ ๕ นั้ น ย อมได อุเ บกขาในขัน ธ ๕ นั้น อุเบกขานี้ ชื่ อว า
วิปสสนุเปกขา๖๕
๘. ตัตรมัชฌัตตุเปกขา อุเบกขาอันใดที่ยังสหขาตธรรมทั้งหลายให
เป น ไปเสมอกั น ซึ่ ง มาแล ว ในเยวาปนกธรรมทั้ ง หลายมี ฉั น ทะเป น ต น
อุเบกขานี้ชื่อวา ตัตรมัชฌัตตุเปกขา
๖๐
ที.สี. (ไทย) ๙/๕๕๖/๒๔๕.
๖๑
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๒๗/๒๖.
๖๒
อง.ติก. (ไทย) ๒๐/๑๐๓/๓๔๕.
๖๓
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕๗/๒๖.
๖๔
อภิ.สง. (ไทย) ๓๔/-/๑๕๑.
๖๕
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๑๗/๗๖, องฺ.สตฺตก. (ไทย) ๒๓/๕๕/๙๙-๑๐๐.
๙๗
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๙. ฌานุเปกขา อุเบกขาอันใดที่ไมใหเกิดความเอนเอียงไปในฝาย
แมในฝายสุขอันเลิศนั้นก็ตาม ซึ่งมาแลวอยางนี้วา และเปนผูมีสัมปชัญญะ
เห็นเสมอกันอยู อุเบกขานี้ชื่อวา ฌานุเปกขา๖๖
๑๐. ปาริสุ ทธุเ ปกขา อุเบกขาอันใดที่บริสุ ทธิจ ากนิว รณและวิต ก
วิจารเปนตนมีอันไมขวนขวายแมในการสงบแหงธรรมอันเปนขาศึก เพราะ
ธรรมอันเปนขาศึกเหลานั้นสงบไปแลว ซึ่งมาแลวอยางนี้วา จตุตถฌาน อันมี
สติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา อุเบกขานี้ชื่อวา ปาริสุทธุเปกขา๖๗
อนึ่ง มุญจิตุกมยตาญาณเปนปญญาที่ใครหนีจากรูป-นาม ปฏิสังขา
ญาณเปนปญญาที่ไตรตรองมองหาอุบายหนีจากรูป-นาม และสังขารุเปกขา
ญาณเปนปญญาที่วางเฉยตอรูป-นาม รวม ๓ ญาณนี้ พยัญชนะตางกันจริง
แตวาอรรถเหมือนกัน คือจะหนีจากรูป-นาม ดังมีบาลีวา ยา จ มุฺจิตุกมฺย
ตา ยา จ ปฏิสงฺขานุปสฺสนา ยา จ สงฺขารุเปกฺขา อิเม ธมฺมา เอกตฺถา พย
ฺชนเมวนานํ. มุญจิตุกมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ และสังขารุเปกขาญาณทั้ง
๓ ญาณนี้มีอรรถเดียวกัน แตชื่อพยัญชนะนั้นตางกัน๖๘
ญาณที่ ๑๑ สังขารุเปกขาญาณ
ป ญ ญาที่ ป รารถนาจะพ น ไป พิ จ ารณาดํ า รงมั่ น อยู ชื่ อ ว า
สังขารุเปกขาญาณ เปนอยางไร๖๙ คือ
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากความเกิดขึ้น พิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากความเปนไป พิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากนิมิต พิจารณาดํารงมั่นอยู
ป ญ ญาที่ ป รารถนาจะพ น ไปจากกรรมเป น เครื่ อ งประมวลมา
พิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากปฏิสนธิ พิจารณาดํารงมั่นอยู
๖๖
ที.สี. (ไทย) ๙/๒๓๐/๗๖.
๖๗
ที.สี. (ไทย) ๙/๒๓/๗๓.
๖๘
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒๗/๓๘๔.
๖๙
ขุ.ป (ไทย) ๓๑/๕๔/๘๖-๘๗.
๙๘
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากคติ พิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากความบังเกิด พิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากความอุบัติ พิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากความเกิด พิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากความแก พิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากความเจ็บไข พิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากความตาย พิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากความเศราโศก พิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากความรําพัน พิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไปจากความคับแคนใจพิจารณาดํารงมั่นอยู
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไป พิจารณาดํารงมั่นอยูวา ความเกิดขึ้น
เปนทุกข เปนตน..... ฯลฯ จนถึง...ความคับแคนใจเปนทุกข
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไป พิจารณาดํารงมั่นอยูวา ความเกิดขึ้น
เปนภัย เปนตน..... ฯลฯ จนถึง...ความคับแคนใจเปนภัย
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไป พิจารณาดํารงมั่นอยูวา ความเกิดขึ้น
เปนอามิส เปนตน..... ฯลฯ จนถึง...ความคับแคนใจเปนอามิส
ปญญาที่ปรารถนาจะพนไป พิจารณาดํารงมั่นอยูวา ความเกิดขึ้น
เปนสังขาร เปนตน.... ฯลฯ จนถึง...ความคับแคนใจเปนสังขาร แมแต สังขาร
และอุเบกขา ก็เปนสังขาร
ความเปนไปในสังขาร ญาณเพงเฉยสังขารเหลานั้น เพราะเหตุนั้น
จึงชื่อวา สังขารุเปกขาญาณ
อุปมาดวยงูเหา : มีบุรุษคนหนึ่งอยากจะไดปลามาเปนอาหารจึงเอา
สุมๆ ลงไปในน้ําแลวงมตามไป เผอิญไปถูกงูเหาเขาจึงจับคองูภายในน้ําไวได
นึกกระหยิ่มอยูในใจวา เราจับปลาใหญได ครั้นยกขึ้นมาดูจริงๆ จึงรูวาเปน
งูเหาเพราะเห็นดอกจัน เขาหวาดกลัวมากเห็นโทษในการจับ เพราะเกรงจะ
ถูกงูกัดตายตองการปลอยใหพนไปจากตัวโดยเร็ว จึงหาอุบายปลอยคือจับ
หางงู คลายขนดจากแขนของตนแลวยกงูขึ้นแกวงไปวนมาอยู ๒ - ๓ รอบ ทํา
ใหงูอิดโรยออนกําลัง กอนแลวจึงโยนไป ตัวเองก็รีบขึ้นมาสูขอบบึงยืนดูทาง
๙๙
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
มาโดยหมายวา เราพนจากปากงูเหาแลว อุปมานี้เ ปรียบเทีย บไดกับญาณ
ตางๆ ไดดังนี๗๐
้ คือ
อุปมา เปรียบเหมือน
๑) ผูปฏิบัติไดอัตภาพมาเปน ตอนที่ บุ รุษ นั้ นจั บ งูเ ห าได แล ว เข า ใจว าเป นปลา
คนตั้งแตตน รูสึกวามีความยินดี แลวดีใจมาก
๒) นามรูปปริ จเฉทญาณ ถึ ง บุรุษนั้นดึงงูออกมาจากสุมแลเห็นจึงรูวาเปนงูแลว
ภยญาณ กลัว
๓) อาทีนวญาณ บุ รุ ษ คนนั้ น เห็ น โทษของงู ว า ถ า ถู ก งู ตั ว นั้ น กั ด ก็
จะตองมีอันตรายแกชีวิต
๔) นิพพิทาญาณ บุรุษนั้นเห็นทุกขโทษอันจะเกิดขึ้น เพราะถูกงูกัด
แลวเบื่อหนาย ไมอยากใหงูอยูในมือของตนอีก
๕) มุญจิตุกัมยตาญาณ บุรุษนั้นอยากจะปลอยงูใหพนไปจากตัว
๖) ปฏิสังขาญาณ บุรุษนั้นทําอุบายเพื่อปลอยงู
๗) สังขารุเปกขาญาณ บุ รุ ษ นั้ น จั บ งู แ กว ง ทํ า ให ห มดกํ า ลั ง ลง จนไม
สามารถจะเอี้ยวมากัดเขาได ใจก็วางเฉยอยู
๘) อนุโลมญาณ บุรุษนั้นกําลังจะปลอยงู และแนใจ มั่นใจวา ตน
ตองพนอันตรายโดยอุบายอยางนี้
๙) โคตรภูญาณ การปลอยงูใหพนจากมือของบุรุษนั้นแลวรีบไปยืน
๑๐) มรรคญาณ อยูขอบบึ
การยื นอยูงบนขอบบึงของบุรุษนั้น
๑๑) ผลญาณ การไปยืนอยูในที่ไมมีภัยยืนอยูในที่ปลอดภัย ยืน
อยูในที่ไมมีอันตรายแลว
๑๒) ปจจเวกฃณญาณ การแลดูทางมาของบุรุษ

๗๐
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, พิมพครั้งที่ ๕, หนา ๑๐๘๓ ,
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒ วิปสสนา
กรรมฐาน, หนา ๒๐๑.
๑๐๐
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ความสืบเนื่องกันของญาณทั้ง ๓๗๑
มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ สังขารุเปกขาญาณ ทั้ง ๓ ญาณ
นี้โดยใจความเปนอันเดียวกัน ดังที่ปรากฏอยูในปฏิสัมภิทามรรค คือ
๑. ปญญาพิจารณาเห็นความเกิดดับของรูปนามแลวอยากหลุดพน
จากรูปนาม จัดเปนมุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตั้งใจพิจารณาดูความเกิดดับของรูปนาม จัดเปนปฏิสังขา
ญาณ
- ความวางเฉยตอความเกิดดับของรูปนาม จัดเปนสังขารุเปกขา
ญาณ
๒. ปญญาพิจารณาเห็นความเปนไปของรูปนามที่กําลังดับอยูแลว
อยากหลุดพนจากรูปนาม จัดเปน มุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตั้ ง ใจพิ จ ารณาดู รู ป นาม ที่ กํ า ลั ง เกิ ด ดั บ อยู นั้ น จั ด เป น
ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามที่กําลังเกิดดับอยูนั้น จัดเปน สังขารุเปก
ขาญาณ
๓. ปญญาที่พิจารณาเห็นนิมิต คือ ความไมเที่ยงไมยั่งยืน เปนตน
ของรูปนามทั้งปวง แลวอยากหลุดพนจากรูปนามนั้น จัดเปน มุญจิตุกัมยตา
ญาณ
- ความตั้งใจพิจารณาดูรูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามนั้น จัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
๔. ปญญาที่พิจารณาเห็นกรรมที่เปนเหตุใหรูปนามเกิดอีกแลวอยาก
หลุดพน จัดเปน มุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตั้งใจพิจารณาดูรูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามนั้น จัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
๕. ปญญาที่พิจารณาเห็นรูปนามปฏิสนธิ คือเห็นการเกิดขึ้นตอไป

๗๑
พระมหาณัชพล นราวงษ (ผูเรียบเรียง), คูมือการสอบอารมณสําหรับพระ
วิปสสนาจารย สภาวะของวิปสสนาญาณ ๑๖, (๒๕๕๓), หนา ๔๕๓.
๑๐๑
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
อีกของรูปนาม แลวอยากหลุดพนจัดเปน มุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตั้งใจพิจารณาดูรูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยตอรูปนามนั้น จัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
๖. ปญญาพิจารณาเห็นคติของรูปนาม แลวอยากหลุดพนจัดเปน
มุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตั้งใจพิจารณารูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามนั้น จัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
๗. ปญญาพิจารณาเห็นความบังเกิดขึ้นของขันธทั้งหลายแลวอยาก
หลุดพน จัดเปน มุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตั้งใจพิจารณารูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามนั้น จัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
๘. ปญญาพิจารณาเห็นอุปปตติ คือ ความเปนไปแหงวิบากของรูป
นามที่กําลังเกิดดับอยู แลวอยากหลุดพนจากรูปนามนั้น จัดเปน มุญจิตุกัมย
ตาญาณ
- ความตั้งใจพิจารณาดูรูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามนั้น จัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
๙. ปญญาพิจารณาเห็นชาติ คือ ความเกิดขึ้นของรูปนามแลวอยาก
หลุดพนจากรูปนาม จัดเปน มุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตั้งใจพิจารณาดูรูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามนั้นจัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
๑๐. ป ญญาที่พิจ ารณาเห็ นความชรา ของรู ปนามนั้น แลว อยาก
หลุดพนจากรูปนาม จัดเปน มุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตั้งใจพิจารณาดูรูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามนั้น จัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
๑๑. ปญญาพิจารณาเห็นความเจ็บไขของรูปนามแลวอยากหลุดพน
จากรูปนาม จัดเปนมุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตั้งใจพิจารณาดูรูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามนั้น จัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
๑๐๒
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๑๒. ปญญาที่พิจารณาเห็นความตายของรูปนามแลวอยากหลุดพน
จากรูปนาม จัดเปน มุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตั้งใจพิจารณาดูรูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามนั้น จัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
๑๓. ปญญาที่พิจารณาเห็นความเศราโศก คือความเรารอนแหงใจ
เพราะประสบกับความเสื่อมญาติ เสื่อมทรัพย ถูกโรคภัยเบียดเบียน แลว
อยากหลุดพนจากรูปนามจัดเปน มุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตั้งในพิจารณาดูรูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามนั้น จัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
๑๔. ปญญาที่พิจารณาเห็นปริเทวะ คือ ความพิไรรําพันบนเพอไป
ตางๆ นานา เพราะประสบกับ ความเสื่ อม ๕ ประการ มีความเสื่ อมญาติ
เปนตน แลวอยากหลุดพนจากรูปนาม จัดเปน มุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตัง้ ใจพิจารณาดูรูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามนั้น จัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
๑๕. ปญญาที่พิจารณาเห็นอุปายาส คือ ความคับแคนใจ เพราะได
ประสบกับความทุกขแหงใจขนาดหนัก เนื่องจากญาติตายบาง ทรัพยสมบัต
วิบัติไปบาง ถูกโรคภัยไขเจ็บเบียดเบียนบาง เห็นผิดบาง ศีลวิบัติบาง โดย
องคธรรมไดแก โทสะนั้นเอง จัดเปน มุญจิตุกัมยตาญาณ
- ความตั้งใจพิจารณาดูรูปนามนั้น จัดเปน ปฏิสังขาญาณ
- ความวางเฉยในรูปนามนั้น จัดเปน สังขารุเปกขาญาณ
อาการที่ไดพรรณนามาทั้ง ๑๕ ขอนี้ จัดเปนลักษณะของญาณทั้ง ๓
แยกใหละเอียดออกอีก เพื่อประโยชนแกนักศึกษาและนักปฏิบัติ
ยอดของวิปสสนา
ธรรมดาต น ไม แ ละพื ช พั น ธุ ธั ญ ญาหารต า งๆ ต อ งมี ย อดฉั น ใด
วิปสสนาก็ฉันนั้น ตองมียอดเชนกัน ยอดของวิปสสนานั้นมีอยู ๒ อยาง คือ
๑.สิกฺขาปตฺตํ วิปสสนาที่ถึงยอด ถึงปลาย ถึงความสุดยอด ไดแก
สังขารุเปกขาญาณ ที่ครบองค ๖ เมื่อครบองค ๖ แลวผูนั้นก็มีหวังจะได
๑๐๓
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
บรรลุมรรค ผล นิพพาน อยางแนนอน
๒.วุฏฐานคามินี วิปสสนาที่ถงึ การออกไป คือ ไปสืบตอกันกับมรรค
ดังมีหลักรับรองไดวา “มคฺเคน สทฺธึฆฏิยติ. สืบตอกันกับมรรค”
วุฏฐานะ แปลวา ออกไป ไดแก มรรค ดวยเหตุ ๒ ประการคือ
๑. นิมิตฺตภูตโต อภินิวิฏฐวตฺถุโต ออกจากนิมิต ออกจากวัตถุ ที่
เปนเหตุใหยึดมั่นถือมั่น ไดแกขันธ ๕ ซึ่งเปนอารมณของวิปสสนานั่นเอง
๒. อชฺฌตฺตปฺปวตฺตนโต ออกจากความเปนไปแหงมิจฉาทิฏฐิใน
ภายในขันธสันดานของตน และออกจากกองกิเลสที่เปนไปตามมิจฉาทิฏฐินั้น
เพราะเหตุทั้ง ๒ ประการนี้ วิปสสนา นั้น จึงไดชื่อวา “วุฏฐานคามิน”ี
วิธีออกจากความยึดมั่นมี ๑๘ นัย
๑. ยึดมั่นรูปนามภายใน ออกเพราะรูปนามภายใน เชน บุคคลบาง
คนพิจารณารูปนามภายใน แลวพิจารณารูปนามภายนอก คือ รูปนามของ
ผูอื่น กับสังขารที่ไมมีใจครอง เห็นชัดวา เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล ว
กลับมาพิจารณารูปนามภายใน มรรคก็จะเกิดขึ้นดังนี้หลักฐานรับรองไววา
ตสฺเสวํ สมฺมสโตอชฺฌตฺตํ สมฺมสนกาเล วิปสฺสนา มคฺเคนสทฺธึฆฏิยติ.
เมื่อผู ป ฏิบั ติ พิจ ารณารูป นามอยูอยางนี้ ในเวลาพิจารณารู ปนาม
ภายใน วิปสสนาก็สืบตอกันกับมรรค มรรคจะเกิดก็เพราะวิปสสนา
๒. ยึดมั่นรูปนามภายใน ออกเพราะรูปนามภายนอก เชน พิจารณา
รูปนามภายในบาง พิจารณารูปนามภายนอกดังที่กลาวมาแลวนั้นบาง แต
ขณะทีพ่ ิจารณารูปนามภายนอก วิปสสนาก็สืบตอกับมรรคคือมรรคเกิด ก็ถา
หากวาผูปฏิบัตินั้นพิจารณารูปนามภายนอก วิปสสนาก็สืบตอกันกับมรรค
ตัวอยางเชน พระสารีบุตรไดฟงธรรมจากพระอัสสชิเพียงยอๆ วา
เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต
เตสฺจ โย นิโรโธ จ เอวํวาที มหาสมโณ.
“ธรรมเหลาใดเกิดแตเหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแหงธรรมเหลานั้น
และตรัสความดับแหงธรรมเหลานั้น” ดังนี้

๑๐๔
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
พอฟ ง เท า นี้ ท า นก็ ส ามารถเข า ใจได ดี ว า “ยงฺ กิ ฺ จิ สมุ ท ยธมฺ มํ
สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺม.ํ “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวล
ลวนมีความดับไปเปนธรรมดา”
ถาพิจารณาเห็นอยางนี้แลวออกจากขันธ ๕ คือมรรคเกิดชื่อวาออก
จากขันธ ๕ โดยประหาณคราวเดียว
๓. พิ จ ารณารู ป นามภายนอก ออกเพราะรู ป นามภายนอก เช น
พิจารณารูปนามของผูอื่นและสังขารที่ไมมีใจครอง แลวมรรคเกิด
๔. พิ จ ารณารู ป นามภายนอก ออกจากรู ป นามภายใน เช น
พิจารณารูปนามของคนอื่น และสังขารที่ไมมีใจครอง แลวกลับมาพิจารณา
รูปนามภายใน จึงไดบรรลุมรรค
๕. พิจารณารูป ออกเพราะรูป เชน พิจารณามหาภูตรูป อุปาทาย
รูป ทําใหเปนกองๆ แลวพิจารณาเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เห็นแนชัด
วาไมใชรูปเปนแตนามเทานั้น แลวกลับมาพิจารณารูปอีก มรรคก็เกิดขึ้น ดัง
มีหลักฐานรับรองไววา “ตสฺเสวํ สมฺมสโต รูปสมฺมสนกาเล วิปสฺสนา มคฺเคน
สทฺธึฆฏิยติ. เมื่อผูปฏิบัติธรรมนั้น พิจารณาอยูอยางนี้ ในเวลาพิจารณารูป
วิปสสนาก็สืบตอกันกับมรรค คือ มรรคเกิด
๖. พิจารณารูปออกเพราะนาม เชน พิจารณารูป พิจารณานาม
ครั้นกลับมาพิจารณานาม มรรคก็เกิด ดังมีหลักฐานรับรองไววา สเจ ปนสฺส
อรูปสมฺมสนกาเล วิปสฺสนา มคฺเคน สทฺธึฆฏิยติ. ถาหากวา ผูปฏิบัติพิจารณา
รูปและนามอยู ครั้นกลับมาพิจารณานาม วิปสสนาก็เกิดสืบตอกันกับมรรค”
๗. พิจารณานามออกเพราะนาม เชน พิจารณานามแลวมรรคเกิด
๘. พิจารณาออกเพราะรูป เชน พิจารณาขันธ ๕ แลวพิจารณารูป
มรรคเกิด
๙. พิจารณารูปนามออกเพราะรูปนามพรอมกัน เชนพิจารณาวา
ยงฺ กิ ฺ จิ สมุ ทยธมฺ มํ ส พฺ พ นฺ ตํ นิ โ รธธมฺ มํ . สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง มี ค วามเกิ ด ขึ้ น เป น
ธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลลวนมีความดับไปเปนธรรมดา ดังนี้แลวมรรคก็เกิด

๑๐๕
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๑๐. พิจารณาอนิจจัง ออกทางอนิจจัง เชนเมื่อแรกพิจารณาอนิจจัง
กอน ตอมาพิจารณาทุกขัง และอนัตตา เวลาจะออกจริงๆ เห็นอนิจจัง ดัง
หลักฐานรับรองไววา ตสฺเสวํปฏิปนฺนสฺส อนิจฺจโต สมฺมสนกาเลวุฏฐานํ โหติ.
“เมื่อนักปฏิบัติธรรมนั้นปฏิบัติอยางนี้ เวลาพิจารณาอนิจจัง ยอม
ออกคือมรรคเกิด”
๑๑. พิจารณาอนิจจัง ออกทางทุกขัง เชน ครั้งแรกพิจารณาเห็น
อนิจจังครั้นจะถึงมรรคเห็นทุกขัง พอเห็นทุกข มรรคก็เกิด
๑๒. พิ จ ารณาอนิ จ จั ง ออกทางอนั ต ตา เช น ครั้ ง แรกพิ จ ารณา
อนิจจังกอน ตอมาพิจารณาเห็นทุกขัง ครั้นจะถึงมรรคอนัตตาปรากฏ แลว
มรรคก็เกิด ดังมีหลักฐานรับรองไววา “สเจ ปนสฺส ทุกฺขโต อนตฺตโต สมฺมสน
กาเลวุฏฐานํ โหติ. ก็ถาหากวา นักปฏิบัติธรรมนั้น ครั้งแรกพิจารณาเห็น
อนิจจัง ตอมาเห็นทุกขัง พิจารณาเห็นอนัตตา มรรคก็เกิด
๑๓. พิจารณาเห็นทุกข ออกทางทุกข เชน เมื่อแรกพิจารณาเห็นทุก
ขัง ต อมาเห็ น อนิ จ จั ง และอนั ต ตาครั้ น จวนจะถึงมรรค ทุ กขก็ป รากฏชั ด
แลวมรรคก็เกิด
๑๔. พิจารณาเห็นทุกขัง ออกทางอนิจจัง เชน เบื้องแรก เห็นทุกข
ตอมาเห็นอนิจจัง และอนัตตา ครั้นจวนจะถึงมรรค อนิจจังปรากฏชัด แลว
มรรคก็เกิด
๑๕. พิจ ารณาเห็นทุกข ออกทางอนัต ตา เช น เบื้องแรกเห็นทุกข
ตอมาเห็นอนิจจัง และอนัตตา เมื่อจวนจะถึงมรรคอนัตตาปรากฏชัด แลว
มรรคก็เกิด
๑๖. พิจ ารณาเห็ น อนั ต ตา ออกทางอนั ต ตา เช น เบื้ องแรกเห็ น
อนัตตา ตอมาเห็นอนิจจังและทุกขัง ครั้นจวนจะถึงมรรคอนัตตาปรากฏชัด
แลวมรรคก็เกิด
๑๗. พิจารณาเห็นอนัตตา ออกทางทุกขัง เชน เบื้องแรกเห็นอนัตตา
ตอมาเห็นอนิจจังและทุกขัง ครั้นจวนจะถึงมรรค ทุกขปรากฏชัดมรรคก็เกิด
๑๘. พิจารณาเห็นอนัตตา ออกทางอนิจจัง เชน เบื้องแรกเห็น
อนัตตา ตอมาอนิจจังและทุกขังปรากฏ ครั้นจวนจะถึงมรรคอนิจจังปรากฏ
๑๐๖
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ชัด แลวมรรคก็เกิด

วุฏฐานคามินีวิปสสนา
สังขารุเปกขาญาณ แปลวา ปญญาพิจารณาเห็นรูปนาม เปนทุกข
เปนโทษ เกิดความเบื่อหนายอยากหลุดพน ตั้งใจปฏิบัติ วางเฉยตอรูปนาม
เรี ย กว า วิ ป ส สนาญาณที่ แกก ล า ถึงความเป น ยอด เรี ย กว า วุ ฏ ฐานคามิ นี
วิปสสนา แปลวา เตรียมกําลังออกจากกิเลสและกองทุกขดวยอํานาจแหง
มรรค ดังที่ไดบรรยายมาแลว จึงสรุปผลไดเปน ๔ ขอ ดังนี้ คือ
๑. ผูที่เห็นรูปนามเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ในเบื้องตนแตเวลาถึง
มรรค ก็เห็นอนิจจังชัด ผูนั้นมากดวยอธิโมกข คือ มีสัทธามาก ไดสัทธินทรีย
ยอมหลุดพน คือถึงพระนิพพานดวยอนิมิตตวิโมกข เปนสัทธานุสารีในขณะ
มรรคที่ ๑ คือ โสดาปตติมรรค เปนสัทธาวิมุต ในฐานะ ๗ คือ โสดาปตติผล
๑ สกิทาคามิมรรค ๑ สกิทาคามิผล ๑ อนาคามิมรรค ๑ อนาคามิผล ๑ และ
อรหัตตมรรค ๑
๒. ถ า ออกทางทุ ก ข คื อ เมื่ อ ถึ ง มรรค เห็ น แจ ง ทุ ก ข ผู นั้ น มาก
ด ว ยป ส สั ท ธิ คือ ความสงบ ได ส มาธิ น ทรี ย ย อ มหลุ ด พน ด ว ยอั ป ปณิ หิ ต
วิโมกข เปนกายสักขีในที่ทุกแหง
๓. ถาผูใดเจริญสมถกรรมฐาน จนไดอรูปฌานแลว เอาเปนบาท
ของวิปสสนา เจริญวิปสสนาตอ จนไดบรรลุอรหัตตมรรค อรหัตตผล ผูนั้น
เปนอุภโตภาควิมุตในผลอันเลิศ คือ อรหัตตผล
๔. ถาออกทางอนัตตา ผูนั้นมากดวยเวทะ คือความรูยอมไดปญญิ
นทรีย หลุดพนดวยสุญญวิโมกข เปนธัมมานุสารีในขณะมรรคที่ ๑ คือ โสดา
ปตติมรรค เปนทิฏฐิปตตะในฐานะ ๖ คือ ในขณะโสดาปตติผล ๑ สกิทาคามิ
มรรค ๑ สกิ ท าคามิ ผ ล ๑ อนาคามิ ม รรค ๑ อนาคามิ ผ ล ๑ และ
อรหัตตมรรค ๑ เปนปญญาวิมุต ในผลอันเลิศ คือ อรหัตตผล
เพื่อให วุ ฏ ฐานคามินี วิ ป ส สนานี้ แจ มแจ ง พร อมกับ ญาณต น คือ ภยญาณ
อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ สังขารุเปกขา

๑๐๗
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ญาณ อนุโลมญาณ กับญาณสุดทาย คือ โคตรภูญาณ จึงมีอุปมาตอไปนี้ คือ
:-
อุปมาคางคาว
ยังมีคางคาวตัวหนึ่งจับแอบอยูที่ตนมะปรางที่มีกิ่ง ๕ กิ่ง โดยตั้งใจ
วาจะไดด อกผลในตนไมนั้น ครั้นไปจับกิ่งที่ ๒-๓-๔-๕ ก็ไมมีอะไร ไมพบ
อะไรอีกเชนกัน จึงไดทอดอาลัยในตนไมนั้นวา ตนไมนี้ไมมีดอก ไมมีผลอะไร
ที่ควรถือเอาไดเลย แลววิ่งไปตามกิ่งตรงยอดโผลศีรษะตรงระหวางคาคบ
แหงนดู ข า งบนแล ว บิ น ไปในอากาศ ไปแอบอยู ที่ ต น มี ผ ลต น อื่ น ๆ พึ ง
เปรียบเทียบกับ การปฏิบัติดังนี้ คือ :-
ผูปฏิบัติวิปสสนา เปรียบเหมือนคางคาว
อุปทานขันธทั้ง ๕ เหมือนตนมะปรางมี ๕ กิ่ง
การยึดมั่นขันธ ๕ เหมือนกับการไปแอบจับที่กิ่งทั้ง ๕ ของคางคาว
ผูปฏิบัติ พิจารณาขันธที่ ๑ ไมเห็นมีอะไรที่ควรยึด มั่นจึงพิจารณา
ขันธที่ ๒-๓-๔-๕ ก็ไมพบอะไรอีก เปรียบเหมือนคางคาวนั้น ไปจับกิ่งที่ ๑
ไมเห็นมีอะไร จึงบินไปจับกิ่งที่ ๒-๓-๔-๕ ก็ไมเห็นมีอะไรอีกฉะนั้น
การที่ผูปฏิบัติเบื่อหนาย เพราะเห็นวาขันธ ๕ เปนอนิจจัง ทุกขัง
อนัตตา แลวเกิดญาณทั้ง ๓ คือ มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ และสัง
ขารุเปกขาญาณ เปรี ยบเหมือนคางคาวนั้ นสละความอาลัย ทอดอาลัยใน
ตนไมนั้นวา ตนไมนี้ไมมีดอกผลอะไรเลย
อนุโลมญาณของผูปฏิบัติ เปรียบเหมือนการไตขึ้นขางบน โดยกิ่ง
ตรงของคางคาว
โคตรภู ญ าณ เปรี ย บเหมื อ นการชะโงกศี ร ษะแลดู เ บื้ อ งบนของ
คางคาว
มรรคญาณ เปรียบเหมือนการบินไปในอากาศของคางคาว
ผลญาณ เปรียบเหมือนการบินไปจับอยูที่ตนไมมีผลตนอื่น
ปจจเวกขณญาณ เปรียบเหมือนการแลดูทางมาของคางคาว

๑๐๘
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
อุปมาโค
ความว า โคของชาวนาคนหนึ่ ง เมื่อเจ าของนอนหลั บ ไปในเวลา
กลางคืน แหกคอกหนีออกไป พอตอนจวนสวาง เจาของโคไปที่คอกแลดูก็ไม
เห็น รูวาโคหนีไป ออกติดตามรอยเทาไป พบโคของหลวงเขาใจวา เปนโค
ของตัว จึงจับจูงมา พอเวลาสวางจําไดวาโคนี้มิใชของตัว เปนโคของหลวง
รูสึกกลัว คิดวาถาพวกตํารวจยังไมจับเรา เรายังไมถึงความฉิบหายเพียงใด
เราจักหนีไปเพียงนั้น จึงทิ้งโคแลวหนีไปโดยเร็วหยุดอยูในที่พนภัย
ในขอนั้น มีอุปมาอุปมัยกับขอปฏิบัติดังนี้ คือ
การยึดมั่นขันธ ๕ วา เรา ของเรา ของปุถุชนคนโง เปรียบเหมือน
การจับโคของหลวง โดยเขาใจผิดคิดวา โคของตน
การรู ขันธ ๕ ว ามีแต รูปนาม เกิดมาเพราะเหตุปจ จัย เปนของไม
เที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา มีแตความเกิด-ดับ และดับไปฝายเดียว ไดแก
ญาณที่ ๑-๒-๓-๔-๕ ซึ่งเปรียบเทียบเหมือนกันกับการจําไดวาเปนโคของ
หลวง ฉะนั้น
ญาณที่ ๖-๗-๘ เปรียบเหมือนเวลากลัวเห็นโทษ และเกิดความเบื่อ
ของชายคนนั้น
ญาณที่ ๙-๑๐-๑๑ เปรียบเหมือนความอยากหนีไปของชายคนนั้น
หาหนทางหนี แลวเดินไปเฉยเหมือนไมมีอะไรเกิดขึ้น
ญาณที่ ๑๒ เปรียบเหมือนการเตรียมเดินตรงไปตามทางของชาย
คนนั้น เพราะรูแนแลววาตองไปทางนี้
ญาณที่ ๑๓ เปรียบเหมือนการสละโค
ญาณที่ ๑๔ เปรียบเหมือนการหนีไป
ญาณที่ ๑๕ เปรียบเหมือนการหนีไปยืนอยูในที่ปลอดภัย
ญาณที่ ๑๖ เปรียบเหมือนการดูทางมาของตน ฉะนั้น

อุปมายักษิณี
ความว า บุ รุ ษคนหนึ่ งไดอยู รว มกัน กับนางยักษิณี นางยั กษิณีนั้ น
ครั้นเวลากลางคืน พอรูวาผัวหลับแลวก็ไปสูปาชาผีดิบกินเนื้อมนุษยอยู ชาย
๑๐๙
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ผูเปน ผัวตื่น ขึ้นคิดวา นางนี้ไปไหน จึงออกติดตามไปพบนางกําลังกินเนื้ อ
มนุษยอยู รูวาเปน อมนุษยจึงกลัวแล วรีบหนีไปโดยเร็ว หยุดยืนในที่เกษม
ปลอดภัย
ในขอนั้น มีการเปรียบเทียบกับญาณในการปฏิบัติดังนี้ คือ
การยึดมั่นขันธ ๕ วา เรา ของเรา เปรียบเหมือนการอยูรวมกันกับ
นางยักษิณี
การเห็นรูปนาม เห็นพระไตรลักษณ รูวาขันธ ๕ เปนของไมเที่ยง
ไดแก ญาณที่ ๑-๒-๓-๔-๕ เปรียบเหมือนการเห็นนางยักษีณีเคี้ยวกินเนื้อ
มนุษยอยูในปาชา จึงรูวา นี้เปนนางยักษิณี
ญาณที่ ๖-๗-๘ เปรียบเหมือนเวลากลัวนางยักษิณี เห็นโทษเบื่อ
ญาณที่ ๙-๑๐-๑๑ เปรียบเหมือนเวลาตองการหนี หาทางหนีแลว
ทําใจเฉยๆ
ญาณที่ ๑๒-๑๓ เปรียบเหมือนการละนางยักษิณี
ญาณที่ ๑๔ เปรียบเหมือนการหนีไปโดยเร็ว
ญาณที่ ๑๕ เปรียบเหมือนการหยุดยืนอยูในที่พนภัย
ญาณที่ ๑๖ เปรียบเหมือนการยืนแลดูทางมาของตน
ผลที่เกิดขึ้นในเมื่อถึงสังขารุเปกขาญาณ มีอยูอีก ๙ ประการ คือ
๑. ปฏิสฺสติ มีสติชัดขึ้น องคธรรมคือ อโลภะ อโทสะ อโมหะ เพราะ
เมื่อสติมีกําลังแกกลาแลว ความโลภ ความโกรธ ความหลงไมมี ใจก็วางเฉย
อยูก ับรูปนาม อุปมาเหมือนไฟฟาที่มีกําลังกลาปรากฏชัดดี ความมืดก็ไมมี
๒. วิ ร ตฺ ต จิ ตฺ ต จิ ต ไมยึ ด มั่ น ไมถือ มั่น ไมผู กพัน ไมเ กี่ย วเกาะ ไม
กําหนัดพอใจ อยูก ับรูปนาม จึงมีความวางเฉย
๓. นชฺโฌสติฏฐน ไมรับไวเปนอารมณ คือไมรับเบญจขันธวาเปน
ของเที่ย ง เป น สุ ข เป น ตั ว ตน เป น ของสวยงาม เพราะเห็ น แน ชั ด แล ว ว า
เบญจขันธเปนของไมเที่ยง เปนทุกข ไมสวยงาม เปนอนัตตา สัญญาวิปลาส
จึงหายไป ไมเขาใจผิด ไมหลงติดอยู ใจจึงวางเฉยอยูกับรูปนามเทานั้น

๑๑๐
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๔. ทุกฺขอปน ไมสั่งสมทุกขไว ทุกขตางๆ ไดสลายลงไปใจจึงวางเฉย
อยูกับรูปนามเทานั้น
๕. นิพฺพานสนฺติก ชื่อวาไดอยูใกลพระนิพพาน เพราะเมื่อมีสติชัด
ขึ้ น ศี ล สมาธิ ป ญ ญาแก ก ล า ขึ้ น วิ ป ส สนาญาณสู ง ขึ้ น มาโดยลํ า ดั บ ๆ ก็
สามารถทําลายตัวโมหะ คือ ความไมรูทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค ลงไปได แม
โลภะ โทสะ โมหะก็เบาบางลงไปไดเชนเดียวกัน เมื่อทําลายกองกิเลสใหเบา
บางลงไปไดมากเทาใด ผูปฏิบัติก็ชื่อวา ไดอยูใกลพระนิพพานเขาไปเทานั้น
๖. จิตฺตปฏิลียติ จิตถอยออกจากภพ ๓ กําเนิด ๔ วิญญาณฐิติ ๗
สัตตาวาส ๙ มีแตความวางเฉยอยูกับรูปนามเทานั้น
๗. นิพฺพานเมว ปกฺขนฺทติ. ญาณนี้เมื่อเห็นสันติบทแลวก็แลนไปสู
พระนิพพานฝายเดียวเทานั้น
๘. ติวิธานุปสฺสนาวเสน ติฏฐติ. ตั้งมั่นอยูดวยอํานาจอนุปสสนาทั้ง
๓ ประการ
๙. เมื่อวิปสสนาไดเขาถึงยอดแลว เรียกวา วุฏฐานคามินีวิปสสนา
หรื อ สิ ก ขาป ต ตวิ ป ส สนา ได แ ก ญาณทั้ ง ๓ คื อ สั ง ขารุ เ ปกขาญาณ ๑
อนุโลมญาณ ๑ โคตรภูญาณ ๑ ญาณทัง้ ๓ นี้เปนยอดแหงโลกิยญาณ
วุฏฐานคามินี แปลวา ญาณที่ทําใหถึงมรรค ดวยการหลุดพนจาก
กิเลสทั้งหลาย
สิ กขาป ต ตะ แปลว า ถึ งยอดแห งโลกีย ญาณ ที่ได ชื่ อว า ยอดนั้ น
เพราะเหตุ ๔ ประการ คือ
๑. วาโดยญาณ ก็เปนญาณที่สูงสุด เปนยอดของโลกียญาณ
๒. วาโดยฐาน ก็เปนฐานของญาณที่สูงสุดเปนยอดของโลกียญาณ
๓. วาโดยยอด ก็ไดแกยอดที่สูงสุด คือสุดยอดของญาณนัน่ แหละ
เพราะฉะนั้น จึงเรียกวา วุฏฐานะ หรือสิกขาปตตะ
๔. วาโดยใจ ก็เปนใจที่สูงสุด คือถึงยอดของญาณโลกีย
ปญญาทีพ่ ิจารณาเห็นรูปนามเปนทุกขโทษ นาเบื่อหนาย อยากหลุด
พน ตั้งใจปฏิบัติ ใจวางเฉยอยูกับรูปนาม โดยมีความเพียร มีสติสัมปชัญญะดี

๑๑๑
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
จัดเปนสังขารุเปกขาญาณ เมื่อญาณนี้แกกลาแลว สามารถจะเปนพลวปจจัย
ใหไดบรรลุมรรคผล นิพพาน สําเร็จเปนพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา
สังขารุเปกขาญาณนี้ เมื่อจะกลาวโดยภาคปฏิบัติและสภาวะที่เกิด
แกผูปฏิบัติแลว ยอมมีลักษณะอาการเปนดังนี้ คือ
๑. เมื่อทานผูใดปฏิบัติถึงญาณนี้แลว จะไมมีความกลัว ไมมีความ
ยินดี เวลาตาเห็นรูป หูไดยินเสียง จมูกไดกลิ่น ลิ้นไดรส กายถูกเย็นรอนออน
แข็ง จะมีใจเฉยๆ คือ กําหนดทันรูปนามมีใจเฉยอยูกับรูปนามเทานั้น
๒. ผูนั้นจะไมมีความดีใจ ไมมีความเสียใจ มีความเพียรดี มีสติ มี
สัมปชัญญะดี ไมคอยเผลอจากรูปนาม ถึงจะมีจิตออกไปก็เปนบางครั้ง
๓. กําหนดไดสะดวกสบายดี ไมมีอะไรมารบกวน ใจคอเบิกบาน
ปลอดโปรง ไมมีกังวลอะไรเลย มีแตใจเฉยอยู
๔. สมาธิดี ใจสงบแนวแนไปไดนานๆ คือใจอยูกับรูปนามไดนาน
เชนอยูกับพอง-ยุบ ไดนาน เพงดูความเกิดดับของรูปนาม เฉยอยูไดปจจุบัน
มากที่สุด อุปมาเหมือนรถยนตที่วิ่งไปในถนนดีๆ เรียบๆ ผูขับจะรูสึกวาสบาย
ปลอดโปร ง ขั บ ง า ย ฉั น ใด ผู ป ฏิ บั ติ เ มื่ อ ถึ ง ญาณนี้ แ ล ว ก็ ฉั น นั้ น จะรู สึ ก
เพลิดเพลินจนลืมเวลาไป เชน ตั้งใจจะนั่งเพียง ๓๐ นาที หรือ ๑ ชั่วโมงนั่ง
เลยเวลาไปจนถึงครึ่งตอครึ่งเชนเลยไปจนถึง ๑ ชั่วโมง ๑ ชั่งโมงครึ่ง เปนตน
๕. เวทนา คือ การเจ็บ ปวด เมื่อย เปนเหน็บไมมีมารบกวนเลย นั่ง
ไดนาน ใจไมกระวนกระวาย โรคภัยไขเจ็บหายไปหมดสิ้น
๖. ยิ่งนานยิ่งละเอียด ยิ่งประณีตสุขุม ดุจคนรอนแปง ยิ่งรอนนาน
แปงก็ยิ่งละเอียดฉะนั้น
๗. ใจไมฟุงซาน ไมรําคาญ เมื่อกอน เวลาไดยิ นเสียง ไดกลิ่น จะ
รูสึก พอใจ ไมพอใจมีอยู แตเมื่อถึงญาณนี้แลวจะไมสนใจอยางอื่นเลย จะมี
แตตั้งใจปฏิบัติ จิตจับอยูกับรูปนามดูความเกิดดับของรูปนามเฉยอยู เทานั้น
๘. ใจถอยกลับมาจับรูปนาม จับพระไตรลักษณนอมไปในสันติบท
ไมติดอยูในภพ กําเนิด คติ วิญญาณฐิติ สัตตาวาส อุปมาดุจเอาขนไกไปจี้ไฟ
๙. เมื่อถึงญาณนี้แลว จะรูสึกวาไมงวงนอน แมจะไมหลับไมนอน
เลยทั้งคืนทัง้ วันก็อยูได ไมรูสึกเมื่อย ไมรูสึกเพลีย มีกําลังใจดีมาก
๑๑๒
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๑๐. เมื่อคุณสมบัติเหลานี้เกิดขึ้นแลว ผูปฏิบัติมีหวังจะไดผลดีในไม
ชา เพราะฉะนั้น จึงตองระมัดระวังประคองอารมณใหดีที่สุด อุปมาดุจคนถือ
ขัน ที่เ ต็ มเป ย มไปดว ยน้ํ า มัน จะต องประคองให ดี ที่สุ ด มิให น้ํ ามัน ล น ไหล
ออกมาจากขัน ฉะนั้น

ขั้นที่ ๗ สลัดคืนรูป-นาม
ปฏิบัติเหมือนขั้นที่ ๖ ใหสมบูรณ มีหลักสําคัญในการปฏิบัติ ดังนี้
๑. กําหนดรูอารมณตามที่จิตรู โดยใหจิตเลือกอารมณเอง แลวรูไป
ตามอาการรูนั้นๆ จนดับ ตั้งแตจิตแรกที่ตื่น จนถึงจิตสุดทายที่หลับ
๒. ต อ งกํ าหนดจนเห็ น อาการดั บ ของทุก ๆ สภาวะ ที่จิ ต เขา ไปรู
บางครั้งอารมณดับไปจากจิต บางครั้งจิตรูดับไปจากอารมณ
โยคีบางคนสงสัยวา “ทําไมตองกําหนดอิริยาบถยอยใหมากมาย ดู
สับสนวุยวาย นารําคาญ” ตอบวา : ก็เปรียบเหมือนนักมวยสากล ตั้งคําถาม
วา “มวยสากลเขาใชมือตอยกัน ทําไมตองซอมวิ่ง เหนื่อยเปลาๆ เอาเวลาไป
ซอมชก ซอมตอยอยางเดียว ไมดีกวาหรือ?”
๓. บริกรรมภาวนาไปตามอาการที่เกิดขึ้นจริง ในขณะปจจุบัน อยู
ตลอดเวลา แมแตในฝนก็กําหนด แตถารูสึกวาคําบริกรรมไปทับสภาวะ (จิต
เพงที่คําบริกรรมเกินไป) ถาเชนนั้น ไมตองบริกรรม ตามรูอยางเดียว
๔. ถาเห็น แสงสวาง (ไมใชแสงสี) ให กําหนดจนกวาจะดับ แตถา
กําหนด ๒-๓ นาทีแลวยังไมดับ ใหทําเปนไมใสใจ แลวไปกําหนดอารมณที่
ปรากฏชัดตอไป แตถาเห็นแสงสี หรือเห็นนิมิตเรื่องราว แสดงวาญาณตก
(มาที่ญาณที่ ๔) แกโดย : เพิ่มการกําหนดตนจิตใหได ๙๐% ขึ้นไป
๕. เพิ่มการสังเกตรู–เห็นอาการดับของจิต (ตัวรู) ที่เขาไปกําหนด
ใหได ๑–๒ ขณะจิต กอนที่จะดับสิ้นลง คือ ดับไปทั้งอารมณ และจิต (ผูรู)
โยคีบ างคน กํ า หนดอยู ดี ๆ อาการพอง-ยุ บ รั ว เร็ ว ขึ้น มา ปรากฏ
อาการเกิดดับอยางถี่ยิบ บางคนแรงมากเหมือนกับเครื่องจักร เหนื่อยหอบ
๑๑๓
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
แทบขาดใจ ก็ให ต ามรู ไปตามอาการนั้ น กําหนดเพีย งว า “รู ๆๆๆๆ” ไป
เรื่อยๆ จนกวาจิตจะละคําบริกรรมไปเอง อยาดัดแปลงแกไขสภาวะใดๆ
เด็ดขาด ..ขอย้ําวา “หามดัดแปลงแกไขสภาวะในชวงนี้ อยางเด็ดขาด” ถา
พอง-ยุบเร็วแรงแทบขาดใจ ก็ใหตามรูไปตามนั้นจนกวาจะขาดใจตายไปเลย
เมื่ออาการพอง-ยุบ กลับมาเปนปกติ ใหเพิ่มการกําหนดอิริยาบถ
ยอย และเจาะลึกสภาวะธัมมานุปสสนาใหมากขึ้น โดยเฉพาะ “ตัณหาหนอ”
(อยากหนอ) “มานะหนอ”(ยึดหนอ) “ทิฏฐิหนอ”(นึกหนอ : อาการคิด-นึก
ชวงนี้ จะเปนเรื่องปจจุบัน เราเปนผูคิด-นึกเสียเอง เปนสวนมาก)
เมื่ออารมณที่เปนรูป-นามดับไปสิ้นแลว ก็จะหนวงเอานิพพานมา
เปนอารมณไดเอง อยางเปนปจจัตตัง ที่ไมขึ้นกับกาลเวลาอีกตอไป
ในบันไดขั้นที่ ๗ ถือวาเปนขั้นสุดทายของการปฏิบัติวิปสสนา เปน
วิถีของการออกเรียกวา “วุฏฐานคามินีวิปสสนา”๗๒ คือการออกจากรูปนาม
จนหนวงนิพพานเปนอารมณ ซึ่งเปนชื่อของ ๓ ญาณ คือสังขารุเปกขาญาณ
ตอนปลาย อนุโมญาณ และโคตรภูญาณ วุฏฐานคามินีอีกความหมายหนึ่งคือ
สวนสืบตอของอริยมรรค๗๓ อริยมรรคชื่อวาวุฏฐานะ คือการสลัดคืนรูปนาม
สวนการกําหนดในขั้นนี้ ตองปฏิบัติเหมือนขั้นที่ ๖ ใหสมบูรณกอนจึงจะ
ไดผล การกําหนดมีดังนี้
สภาวธรรมในขั้นนี้เปนสภาวธรรมที่สูงสุด เขาสูอริยมรรค อริยผล
โดยจะแบงสภาวธรรมออกเปน ๒ สวน คือ
๑) สวนที่หนึ่งเปนวุฏฐานคามินีวิปสสนา คือสังขารุเปกขาญาณ
ตอนปลาย อนุโลมญาณ และโครตรภูญาณ
๒) สวนที่สองเป นความสื บต อของญาณขางต น คือมรรคญาณ ผล
ญาณและปจจเวกขณญาณ มีรายละเอียดดังนี้
วิปสสนาของผูไดสังขารุเบกขาญาณ ชื่อวา “วุฏฐานคามินีวิปสสนา
ที่ถึงที่สุด” คําวา “สิขาปตตวิปสสนาและวุฏฐานคามินีวิปสสนา” เปนชื่อ
๗๒
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๑๐/๓๗๗.
๗๓
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๗๘๒/๓๓๙.
๑๑๔
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ของญาณ ๓ นี้ คือ สังขารุเบกขาญาณ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ
วิปสสนานี้ชื่อวา “สิขาปตตวิปสสนา”เพราะถึงยอด คือความสูงสุด
แหงโลกิยญาณ ชื่อวา วุฏฐานคามินีวิปสสนา เพราะไปสูวุฏฐานะ(การออก)
สวนมรรค ชื่อวา “วุฏฐานะ” เพราะออกจากวัตถุที่ยึดคือขันธ ๕
อันเปนอารมณของวิปสสนาในภายนอก และจากกิเลสขันธที่เปนไปตามขันธ
๕ นั้นในสันดานของตนมีมิจฉาทิฏฐิเปนตนในภายในดวย๗๔ วิปสสนานี้ไปสู
มรรคจึงไดชื่อวา “วุฏฐานคามินีวิปสสนา” หมายความวาสืบตอกับมรรค๗๕
ดังนั้น วุฏฐานคามินีวิปสสนาก็คือวิปสสนาทีน่ ําไปสูมรรคหรือสืบตอกับมรรค
มรรคยอมเกิดขึน้ ดวยการพิจารณาโดยความไมเที่ยง โดยความเปนทุกข หรือ
โดยความเปนอนัตตา ดังนั้น โยคีจึงตองพิจารณาโดยความไมเที่ยง โดยความ
เปนทุกข และโดยความเปนอนัตตา๗๖
วิปสสนาของผูไดสังขารุเบกขาญาณ ชื่อวา วุฏฐานคามินีวิปสสนาที่
ถึงที่สุด คําวา สิขาปตตวิปสสนาและวุฏฐานคามินีวิปสสนา นี้เปนชื่อของ
ญาณ ๓ นี้ คือ สังขารุเบกขาญาณ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ วิปสสนานี้ชื่อ
วา “สิขาปตตวิปสสนา” เพราะถึงยอด คือความสูงสุดแหงโลกิยญาณ ชื่อวา
“วุฏฐานคามินีวิปสสนา” เพราะไปสูวุฏฐานะ (การออก) สวนมรรค ชื่อวา
“วุฏฐานะ” เพราะออกจากวัตถุที่ยึดคือขันธ ๕ อันเปนอารมณของวิปสสนา
ในภายนอก และจากกิเลสขันธที่เปนไปตามขันธ ๕ นั้นในสันดานของตนมี
มิจฉาทิฏฐิเปนตนในภายในดวย๗๗ วิปสสนานี้ไปสูมรรคจึงไดชื่อวา “วุฏฐาน
คามินีวิ ปสสนา” หมายความวาสืบ ตอกับ มรรค๗๘ ดังนั้น วุฏฐานคามินี
วิปสสนา ก็คือวิปสสนาที่นําไปสูมรรคหรือสืบตอกับมรรค
มรรค ยอมเกิดขึ้นดวยการพิจารณาโดยความไมเที่ยง โดยความเปน

๗๔
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ ฏีกา (บาลี) ๒/๗๘๒/๕๑๘.
๗๕
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๗๘๒/๓๓๙.
๗๖
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๗๘๗/๓๔๐.
๗๗
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ ฏีกา (บาลี) ๒/๗๘๒/๕๑๘.
๗๘
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๗๘๒/๓๓๙.
๑๑๕
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ทุกข หรือโดยความเปนอนัตตา ดังนั้น โยคีจึงตองพิจารณาโดยความไมเที่ยง
โดยความเปนทุกข และโดยความเปนอนัตตา๗๙
ยอดของวิปสสนา คือ ธรรมดาเจดียตองมียอดฉันใด วิปสสนาก็มี
ยอดฉันนั้น ยอดของวิปสสนามี ๒ ประการ คือ๘๐
๑) สิขาปตตะ วิปสสนาที่ถึงยอดสูงสุด ไดแก สังขารุเปกขาญาณที่
มีสภาวะลักษณะครบองค ๖ คือ
๑. สามารถละความกลัวและความยินดีในการวางเฉยตอปวง
สังขาร
๒. ไมดีใจและไมเสียใจ (หากแตมีสติสัมปชัญญะ) ในการวางเฉย
ตอปวงสังขาร
๓. มีจิตเปนกลางในการกําหนดรูป-นามนั้น กําหนดไดงายโดยไม
จําตองขะมักเขมน
๔. แนว แนอยูได นาน คือ มีป ญญาเห็น รูป-นามเกิดดั บเป นไป
ติดตอกันไดดี
๕. ยิ่งนานยิ่งละเอียดสุขุม ดุจรอนแปง
๖. พนจากอารมณที่ฟุงซาน คือ ไมฟุงซาน
เมื่อมีสภาวะลักษณะครบทั้ง ๖ แลวผูนั้นก็มีหวังที่จะไดบรรลุมรรคผล
นิพพาน อยางแนนอน๘๑
๒) วุฏฐานคามินี วิปสสนาที่ออกจากนิมิต จากวัต ถุที่เ ปน เหตุ ให
ยึดมั่นถือมั่น ไดแก อุปาทานขันธ ๕ ซึ่งเปนอารมณของวิปสสนา
วุ ฏ ฐานคามิ นี แปลว า ที่ ตั้ ง ของการออก เป น เครื่ อ งออก เป น
ทางออก คือ ออกจากวิปสสนาญาณ อันหมายไปถึงการออกจากกิเลส ออก
จากทุ ก ข ออกจากสั ง สารวั ฏ และที่ ว า ถึ ง แล ว ซึ่ ง ความเป น ยอดนั้ น

๗๙
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๗๘๗/๓๔๐.
๘๐
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒ วิปสสนา
กรรมฐาน, หนา ๑๙๔-๑๙๕.
๘๑
ดูใน ขุ.จู.อ. (ไทย) ๖/-/-/๖๕๓.
๑๑๖
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
หมายความวา ถึงที่สุดแหงวิปสสนาญาณ คือปญญาที่เห็นการเกิด-ดับของ
รู ป -นาม ผละออกจากการเห็ น รู ป -นามเกิ ด ดั บ ในตอนนี้ ทิ้ ง อารมณ ไ ตร
ลักษณที่ญาณนี้ เพราะญาณตอไป คือโคตรภูญ าณนั้น มีพ ระนิพ พานเปน
อารมณแ ลว สัง ขารุเ ปกขาญาณและอนุโ ลมญาณทั ้ง ๒ ญาณเปน
วิปส สนาที่ถึงแลว ซึ่งความเปน ยอด จึงมีชื่อวา วุฏ ฐานคามินี เปน เครื่อ ง
ออกไปจากทุก ข กําหนดรูอารมณตามที่จิต รู โดยให จิต เลื อกอารมณเ อง
แลวรูไปตามอาการรูนั้นๆ จนดับ ตั้งแตจิตแรกที่ตื่น จนถึงจิตสุดทายที่หลับ
ญาณที่ ๑๒ อนุโลมญาณ
ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นใหคลอยไปตามอริยสัจ เรียกวา สัจจานุโล
มิกญาณ ก็ได เปนญาณที่รูอารมณรูป-นามเปนครั้งสุดทายกอนที่จะไดบรรลุ
มรรค ผล หรือเรียกวา “อนุตตญาณ”
ญาณที่อนุโลมแกวิปสสนาญาณเบื้องตน ๘ ไปตามลําดับ โดยมีรูป
นามเปนอารมณ เมื่อไดกําลังคืออินทรีย ๕ แกกลาแลว ก็เขาเขตอนุโลมไป
ตามโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการในเบื้องสูง๘๒
ปญญาที่พิจารณาอนุโลมคือคลอยตามสภาพแหงอริยสัจจ ๔ โดยไม
ขัด กัน เป น วิ ป ส สนาญาณที่เ กิด ต อ จากสั ง ขารุ เ ปกขาญาณ เป น ญาณที่
อนุโลมใหเห็นอริยสัจจทั้ง ๔ ประการโดยประจักษแจง๘๓
ญาณอันเปนไปโดยอนุโลมแกการหยั่งรูอริยสัจจ คือ เมื่อวางใจเปน
กลางต อสั งขารทั้งหลาย ไมพะวง และญาณแลน มุงตรงไปสู นิ พพานแล ว
ญาณอันคลอยตอการตรัสรูอริยสัจจ ยอมเกิดขึ้นในลําดับถัดไป
ปญญาที่เปนไปตามลําดับแหงอริยสัจจธรรมทั้ง ๔ คือ เปนปญญาที่
อนุโลมจากญาณต่ําไปหาญาณสูงอยางหนึ่ง และอนุโลมตามโพธิปกขิยธรรม
๓๗ อี ก อย า งหนึ่ ง ญาณอั น เป น ไปโดยอนุ โ ลมแก สติ ป ฏ ฐานทั้ ง ๔
๘๒
พระสั ท ธั ม มโชติ ก ะ ธั ม มาจริ ย ะ: วิ ป ส สนากรรมฐาน, พิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๗,
กรุงเทพมหานคร: หจก.ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๕๙, หนา ๒๑๑.
๘๓
พระมหาชินวัฒนจกฺกวโร: วิปสสนาโชติกะ, พิมพครั้งที่ ๑, กรุงเทพมหานคร:
อภิธรรมมหาวิทยาลัย, ๒๕๖๐, หนา ๒๘๕.
๑๑๗
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ และมรรคมีองค
๘ นี้เปนการอธิบายโดยพิศดาร๘๔
พิจารณารูปนามวาเปนไตรลักษณ ตั้งแตอุทยัพพยญาณ(ญาณที่ ๔)
ถึง สังขารุเปกขาญาณ (ญาณที่ ๑๑) ดังที่ทานพระสารีบุตรนําธรรม ๒๐๑
ประการ มาจําแนกเปนขันติญาณ เชน รูปที่รูชัดโดยความไมเที่ยง รูปที่รูชัด
โดยความเปนทุกข รูปที่รูชัดโดยความเปนอนัตตา รูปใดๆ ที่พระโยคีรูชัด
แลว รูปนั้นโยคียอมพอใจ เพราะฉะนั้นปญญาที่รชู ัดจึงชื่อวา ขันติญาณ๘๕
ญาณนี้อนุโลมแกวิปสสนาญาณทั้ง ๘ ในสวนเบื้องตน และอนุโลม
แกโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ในสวนเบื้องปลาย หากอนุโลมญาณไมเกิดขึ้น โคตร
ภูญาณก็ไมอาจจะหนวงเอานิพพานเปนอารมณได เมื่อโคตรภูญาณไมเกิดขึ้น
มรรคญาณก็เกิดขึ้นไมได๘๖ ก็เพราะอนุโลมแกมรรคสัจ ๔๘๗ จึงไดชื่อวา “สัจ
จานุโลมิกญาณ” อนุโลมญาณนี้เปนญาณสุดทายแหงวุฏฐานคามินิวิปสสนา
อัน มีสั งขารเป น อารมณ แต ต ามความเป น จริ ง แล ว โคตรภู ญาณเป น ที่สุ ด
แหงวุฏฐานคามินีวิปสสนา เพราะยังอยูในกระแสของวิปสสนา อนุโลมญาณ
นี่ในสฬายตนวิภังคสูตร๘๘ ตรัสเรียกวา “อตัมมยตา”๘๙ เปนตน๙๐
กําหนดรูอารมณตามที่จิตรู โดยใหจิตเลือกอารมณเอง แลวรูไปตาม
อาการรูนั้นๆ จนดับ ตั้งแตจิตแรกที่ตื่น จนถึงจิตสุดทายที่หลับ

๘๔
พระธรรมธีรราชมุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ):วิปสสนากรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๓,
กรุงเทพมหานคร: บริษัท ประยูรวงศพริ้นทติ้งจํากัด, ๒๕๕๔,หนา ๕๗๘.
๘๕
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๙๒/๑๕๓.
๘๖
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ ฏีกา (บาลี) ๒/๘๐๔/๕๓๑.
๘๗
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๘๐๔-๘๐๕/๓๔๙-๓๕๑.
๘๘
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๓๐๔-๓๑๒/๒๗๘-๒๘๖, ม.อุ.(ไทย)๑๔/
๓๐๔-๓๑๒/๓๖๘-๓๘๐.
๘๙
อตัมมยตา แปลวา ความไมมีตัณหา ในที่นี้หมายถึงวิปสสนาเปนเครื่องนํา
สัตวออกจากความยึดมั่น คือ ตัณหานั้น (ม.อุ.อ. (บาลี) ๓/๓๑๐/๑๙๔).
๙๐
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๘๐๔-๘๐๕/๓๔๙-๓๕๒.
๑๑๘
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ญาณที่ป รากฏ คือ ญาณที่ ๑๑ สั งขารุเ ปกขาญาณ (ตอนปลาย)
เปนการวางเฉยตอรูปนามที่อยูในวิถีของการออกจากรูปนาม หรือเรียกวา
สิขาปตตวิปสสนา คือยอดแหงวิปสสนา โดยเปนฐานของการออก ๓ ฐาน
คือ๑) อนิจจานุปสสนา ๒) ทุกขานุปสสนา ๓) อนัตตานุปสสนาญาณที่ ๑๒
อนุโลมญาณ ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นใหคลอยไปตามอริยสัจจ เรียกวา สัจ
จานุโลมิกญาณ ก็ได, เปนญาณที่รูอารมณรูป-นามเปนครั้งสุดทายกอนที่จะ
ไดบรรลุมรรค ผล หรือเรียกวา“อนุตตญาณ”ญาณที่ ๑๓โคตรภูญาณจิตเห็น
พระนิพพาน ตัด ขาดจากโคตรปุ ถุช นเปน โคตรอริ ย ชน เมื่อจิ ตหมดความ
อยาก (ไมมีตัณหา) จิ ตก็ปล อยวางอารมณทั้งปวง ถอยเขาหาจิ ตผู รูอยาง
อัตโนมัติญาณที่ ๑๔ มรรคญาณจิตเห็นพระนิพพาน และตัดขาดจากกิเลส
ญาณที่ ๑๕ ผลญาณ จิต เห็นพระนิพพานโดยเสวยผลแหงสันติ สุขญาณที่
๑๖ ปจจเวกขณญาณจิตเห็นใน มรรคจิต, ผลจิต, นิพพาน, กิเลสที่ละแลว
และกิเลสที่ยังคงเหลืออยู
เปนภูมิแหงปหานปริญญา กําหนดรูถึงขั้นละได คือ รูถึงขั้นที่ทําให
ถอนความยึดติดเปนอิสระจากสิ่งนั้นๆ(ละวิปลาส) ได และปฏิบัติตอสิ่งตางๆ
ไดถูกตองภูมิแหงปหานปริญญาแบงเปนขั้นๆ เริ่ มตั้งแตพิจารณาเห็นโดย
ความเปนของไมเที่ยงยอมละนิจจสัญญาเสียได พิจารณาเห็นโดยความเปน
ทุกขย อมละสุ ขสั ญญา (ความสํ าคัญว าเป นสุ ข) เสี ยได พิจ ารณาเห็ น โดย
ความไมเปนตัว ตนละอัตตสัญญา (สําคัญวาเปนตัวตน) เสี ยได เบื่อหนาย
ความเพลิดเพลิน สํารอกราคะดับตัณหา สละคืนความยึดถือเสียไดจัดเขาใน
อริ ย สั จ ๔ คือ “แจ งนิ โ รธ(อริ ย สั จ ๔เกิด โดยสมบู ร ณขึ้น ตามลํ าดั บ )ทุกข ,
สมุทัย,นิโรธ, มรรค, ในญาณที่ ๑๔เปนสมุจเฉทประหาณคือ ดับดวยตัดขาด
คือ ดับกิเลสเสร็จสิ้นเด็ดขาด ดวยโลกุตตรมรรค ในขณะแหงมรรคนั้นสติ
สมาธิปญญา และธรรมฝายการตรัสรูทั้งปวง รวมลงที่จิตดวงเดียวเปนมรรค
สมังคี, ในญาณที่ ๑๕ เปนปฏิปสสัทธินิโรธ ดับดวยสงบระงับ คือ อาศัยโล
กุตตรมรรค ดับ กิเ ลสเด็ด ขาดไปแลว บรรลุ โลกุตตรผล กิเลสเป นอัน สงบ
ระงับไปหมดแลว ไมตองขวนขวายเพื่อดับอีก ในขณะแหงผลนั้น, ในญาณที่
๑๖ เปน นิสสรณนิโรธ ดับดวยสลัดออกได หรือดับดวยปลอดโปรงไป คือ
๑๑๙
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ดับ กิเ ลสเสร็ จสิ้ นแล ว ดํารงอยูในภาวะที่ดั บกิเ ลสแล ว นั้น ยั่ งยื น ตลอดไป
ไดแกอมตธาตุ คือ นิพพาน”อริยสัจ ๔ สมบูรณ.
กําหนดความสลัดคืนความยึดมั่นถือมั่นในรูป-นาม และขันธ ๕ ซึ่ง
เปนผลมาจากความดับลงแหงความยึดถือ กลาวคือ เมื่อกําหนดความดับลง
แหงความยึดมั่นถือมั่นจนจิตปลอยวางสิ่งที่เคยยึดมั่นถือมั่นไดแลว ก็ให
กําหนดความสลัดคืนนั้น การเจริญวิปสสนาภาวนาโดยมีสติกําหนดรูอาการ
พอง-ยุบจนเห็นความดับลงแหงความยึดมั่นถือมั่น จนจิตปลอยวางสิ่งที่เคย
ยึดมั่นถือมั่นไดแลว ก็ใหกําหนดความสลัดคืนนั้นวา สลัดคืนแลวหนอๆ อัน
เปนขั้นสุดทาย๙๑
พระสารีบุตรนําธรรม ๒๐๑ ประการ มาจําแนกขันติญาณ เชน รูป
ที่รูชัดโดยความไมเที่ยง รูปที่รูชัดโดยความเปนทุกข รูปที่รูชัดโดยความเปน
อนัตตา รูปใดๆ ที่พระโยคาวจรรูชัดแลว รูปนั้นๆ พระโยคาวจรยอมพอใจ
เพราะฉะนั้น ปญญาที่รูชัด จึงชื่อวาขันติญาณ (ญาณในความพอใจ)
เวทนาที่รูชัดโดยความไมเที่ยง ฯลฯ ชรามรณะที่รูชัดโดยความเปน
ทุกข ชรามรณะที่รูชัดโดยความเปนอนัตตา ชรามรณะใดๆ อันพระโยคาวจร
รูชัดแลว ชรามรณะนั้นๆ อันพระโยคาวจรยอมพอใจ เพราะฉะนั้น ปญญาที่
รูชัด จึงชื่อวาขันติญาณ๙๒
ความสามารถ ความคิดอาน ความพอใจ ความกระจาง ความเพง
พินิจ ปญญาที่สามารถไตรตรองสภาวธรรมอันเหมาะสม ซึ่งมีลักษณะเห็นวา
“รูปไมเที่ยง เวทนาไมเที่ยง ฯลฯ สัญญาไมเที่ยง ฯลฯ สังขารไมเที่ยง ฯลฯ
หรือวิญญาณไมเที่ยง” ดังนี้บาง นี้เรียกวา สัจจานุโลมิกญาณ๙๓
ชื่อ (ที่เรียก) นี้เปนชื่อเฉพาะของชวนจิต ๓ ดวงเหลานั้น แตจิตทั้ง
๓ อยางนี้ จะเรียกวา “อาเสวนะ”บาง วา“บริกรรม” บาง วา “อุปจาร”

๙๑
พุทธทาสภิกขุ, วิธีฝกสมาธิวิปสสนา ฉบับสมบูรณ, พิมพครั้งที่ ๘, (โอเอ็นจี
การพิมพ จํากัด สํานักพิมพสุนทรสาสน), หนา ๓๗๗-๔๐๗.
๙๒
ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/๑.๔๑/[๘๒-๘๓]
๙๓
อภิ.วิ.(ไทย) ๓๕/๗๙๓/๕๐๙
๑๒๐
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
บาง วา “อนุโลม”บาง โดยไมแตกตางกันก็สมควร
ที่วาเปนอนุโลม หมายถึง เปนอนุโลมของญาณทั้งหลายที่เปนสวน
เบื้องหนา และของธรรมทั้งหลายที่เปนสวนเบื้องหลัง เพราะวาอนุโลทนั้น
คลอยตามวิปสสนาญาณ ๘ เบื้องหนา เพราะมีกิจเหมือนกัน และคลอยตาม
โพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการเบื้องบน (เบื้องหลัง) จริงอยู อนุโลมญาณนั้น
เพราะเหตุ ป รารถสั ง ขารทั้ ง หลายแล ว ดํ า เนิ น ไปโดยมี ลั กษณะ มี อ นิ จ จ
ลักษณะเปนตน จึงอนุโลมคลอยตามญาณทั้ง ๘ ประการเหลานี้ เพราะมีกิจ
(กําหนดพิจารณาพระไตรลักษณ) เหมือนกัน ประหนึ่งจะพูดโดยความวา
อุทยพยญาณ ไดเห็นแลวซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไปของธรรม
ทั้งหลาย ที่มีความเกิดและความดับอยูเปนปกตินั่นแลหนอ และวา๙๔
ภังคานุปสสนาญาณ ไดเห็นความดับของธรรมทั้งหลาย ที่มีแตความ
ดับอยูอยางเดียว แลวละหนอ และวา
สิ่งซึ่งมีแตความนากลัวแตอยางเดียวหนอ ปรากฏโดยเปนที่นากลัว
แก ภยตุปฏฐาณญาณ แลว และวา
อาที น วานุ ป ส สนาญาณ ได เ ห็ น โทษเลวร า ยในธรรมที่ มี แ ต โ ทษ
เลวรายอยางเดียว แลวละหนอ และวา
นิพพิทาญาณ ก็เบื่อหนายแลว ในธรรมที่นาเบื่อหนายเสียจริงๆ ละ
หนอ และวา
มุญจิตุกัมยตาญาณ ก็เกิดปรารถนาเพื่อจะพนไปเสียจากธรรมที่ควร
จะพนไปโดยแทจริง แลวละหนอ และวา
สิ่งที่ควรทบทวนกําหนดรูแลวหนอ เราไดกําหนดรูดวย ปฏิสังขา
ญาณ แลว และวา
สิ่งที่ควรวางเฉยนั่นแลหนอ เราไดวางเฉยดวย สังขารุเปกขาญาณ
แลวดังนี้
และอนุโลมแกปกขิยธรรม ๓๗ ประการในเบื้องบน เพราะตอง

๙๔
พระพุ ท ธโฆสเถระ รจนา: คั ม ภี ร วิ สุ ท ธิ ม รรค, พิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๑๒
กรุงเทพมหานคร บริษัท ธนาเพรส จํากัด,๒๕๖๐, หนา ๑๑๒๕-๑๑๒๖.
๑๒๑
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
บรรลุดวยการปฏิบัติ (วิปสสนาญาณทั้งหลาย) นั้น๙๕
การเกิดของอนุโลมญาณ
เมื่อผูปฏิบัติธรรมไดมีวิปสสนาญาณเกิดขึ้นมาโดยลําดับๆ จนถึงสัง
ขารุเปกขาญาณแลว พยายามทําตอเนื่องกันไป จะปรากฏผลดังนี้
๑. มีความเชื่อและความเลื่อมใสในพระรัตนตรัยแกกลามากขึ้น
๒. ประคองความเพียรไดดีมากขึ้น สามารถกําจัดปฏิปกษ คือ ความ
เกียจคราน และความโลภ โกรธ หลง ไดดีขึ้น
๓. สติตั้งมั่นดี คือ มุงตรงตออารมณที่กําหนดอยางกลาแข็ง
๔. จิตตั้งมั่นไดดีมาก
๕. สังขารุเปกขาญาณอยางแกกลายอมเกิดขึ้น สามารถเปนปจจัยให
อนุโลมญาณเกิดขึ้นได
๖. ปญญาในการพิจารณารูปนาม ก็เปนกลางๆ คือ วางเฉยอยูกับรูป
นาม ยอมเกิดขึ้น
๗. สังขารุเปกขาญาณของผูนั้นยอมเกิดขึ้นวา “บัดนี้มรรคจักเกิด”
พิจารณารูปนามวา “ไมเทีย่ ง เปนทุกข หรือเปนอนัตตา” แลวหยั่งลงสูภวังค
๘. ในลําดับภวังค มโนทวาราวัชชนจิตกระทํารูปนามใหเปนอารมณ
ว า “ไมเ ที่ย ง เป น ทุกข หรื อเป น อนั ต ตา” ตามนั ย อัน สั งขารุ เ ปกขาญาณ
กระทําแลว ยอมเกิดขึ้น๙๖
ตอจากนั้ น ชวนจิ ตดวงที่ ๑ (ปริ กรรม) ยอมหนว งเอาอารมณไตร
ลักษณอยางใดอยางหนึ่งตามมโนทวารวัชชนกิจเหมือนอยางนัน้ แลวดับลง
ตอจากนั้น ชวนจิตดวงที่ ๒(อุปาจาร) เมื่อไดปจจัยจากชวนจิตดวงที่
๑ ยอมเกิดขึ้นขณะหนึ่ง โดยมีไตรลักษณแหงนามรูปเปนอารมณเชนเดียวกัน
เพราะยังปลอยอารมณอันเปนไตรลักษณไมได เกิดขึ้นแลวดับไป
ตอจากนั้น ชวนจิตดวงที่ ๓ (อนุโลม) เมื่อไดปจจัยจากชวนจิตดวงที่
๙๕
พระพุ ท ธโฆสเถระ รจนา: คั ม ภี ร วิ สุ ท ธิ ม รรค, พิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๑๒,
กรุงเทพมหานคร บริษัท ธนาเพรส จํากัด,๒๕๖๐, หนา ๑๑๒๖-๑๑๒๗.
๙๖
พระธรรมธีรราชมุนี (โชดก ญาณสิทฺธ)ิ :วิปสสนากรรมฐาน,หนา ๕๗๘-๕๗๙.
๑๒๒
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๒ ยอมเกิดขึ้นหนึ่งขณะ โดยมีไตรลักษณ(นามรูป)เหมือนกัน แลวดับไป
การดับของอนุโลมชวนนี้ หาใชดับไปแตจิตเทานั้น หากแตยังทําให
อารมณที่เปนไตรลักษณ ซึ่งเปนอารมณของวิปสสนาญาณที่เปนโลกียญาณ
นั้นดับสิ้นไปดวย พรอมกับการดับของอนุโลมชวนดวงที่ ๓ นี่เอง เพื่ออนุโลม
ชวยเหลือใหโคตรภูญาณ สามารถหนวงเอาพระนิพพานมาเปนอารมณและ
เปนปจจัยสงตอใหแกมรรคญาณได๙๗
ชวนทั้ง ๓ นี้ เรียกวา อาเสวนะบาง ปริกรรมบาง อุปจารบาง และ
อนุโลมบาง
เรียกวา อาเสวนะ เพราะเสพบอยๆ เพื่อมรรค
เรียกวา ปริกรรม เพราะบริกรรม คือ พิจารณาเพื่อมรรค
เรียกวา อุปจาร เพราะใกลตอมรรค
เรียกวา อนุโลม เพราะเปนไปตามญาณต่ําและญาณสูง
ดวยกําลังที่ไมเพียงพอที่จะสลัดทิ้งรูปนาม ในการเขาสูอารมณพระ
นิพพาน จึงตองอาศัยความบริบู รณในการทบทวนญาณ โดยถอยกลั บไป
เริ่มตนในญาณต่ําขึ้นไปสูญาณสูง ตั้งแตพลวอุทยัพพยญาณ จนถึงสังขารุ-
เปกขาญาณ ที่ผานมาแลวหนหนึ่ง โดยมีรูปนามเปนอารมณ และจะไมถอย
กลับสูญาณเบื้องต่ําอีกแลว จากนั้นจิตก็จะรวบรวมพลังเปนครั้งสุดทายดวย
โพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ ที่ประชุมพรอมกันเต็มเปยมจากธรรมสมังคี
เสมอกันในขณะจิตเดียว เพื่อเปนฐานผลักดันจิตใหเขาสูพระนิพพาน
กิจของอนุโลมิกญาณ
อนุโลมิกญาณ วาโดยกิจมี ๒ อยาง คือ
(๑) ลักขณัตตยสัมมสนกิจ อนุโลมญาณมีหนาที่พิจารณาลักษณะทั้ง
๓ คือ ลักษณะไมเที่ยง เปนทุกข และเปนอนัตตา
(๒) สัมโมสาทิปฏิปกขวิธมนกิจ อนุโลมญาณมีหนาที่กําจัดปฏิปกษ
คือขาศึกทั้งหลาย มี โลภะ โทสะ โมหะ เปนตน, กิเลสตมวิโนทนกิจ ไดแกมี
๙๗
พระธรรมธีรราชมหามุนี(โชดก ญาณสิทฺธิ), คูมือสอบอารมณกรรมฐานวิชา
ครู, หนา ๗๑.
๑๒๓
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
หนาที่กําจัดความมืด คือ กิเลสนั่นเอง เพราะโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ
มาประชุมพรอมกัน เพื่อทํางานละกิเลสใหเปนสมุจเฉทปหาน๙๘
การมีสติกําหนดรูปนาม (ขันธ ๕) จะเปนการสกัดกั้นกระแสของ
กิเลสในทุกครั้งที่กําหนดรู ซึ่งผูปฏิบัติจะเห็นศักยภาพของสติในขอนี้มาโดย
ตลอด พอมาถึงขั้นอนุโลมญาณ ความคมกลาของปญญา ก็จะเห็นมากกวาที่
เคยเห็น กลาวคือแทนที่จะเห็นเพียงแตวาสติเปนเครื่องกั้นกระแส (กิเลส)
ในโลกเหมือนเมื่อกอน กลับเห็นไปถึงวา สติเกิดขึ้นกําหนดรูรูปนามครั้งหนึ่ง
อริยสัจ ๔ จะปรากฎพรอมกันในวาระนั้นครั้งหนึ่ง คือเห็นวา
๑. รูปนาม ขันธ ๕ นี้เปนทุกข
๒. ดําหริและตัณหานี้ เปนสมุทัย
๓. ความดับกิเลสในขณะหนึ่งๆ เปนนิโรธ
๔. สติ (ที่สกัดกั้นการปรุงแตงนั้น) เปนมรรค๙๙
ผลของอนุโลมญาณ ยอมสามารถกําจัดความมืด คือ กิเลสอันปกปด
อริยสัจ ๔ เสียได๑๐๐
ญาณทั้ง ๙ นี้ คือ อุทยัพพยญาณ ภังคญาณ ภยญาณ อาทีนวญาณ
นิ พ พิ ท าญาณ มุ ญ จิ ตุ กั ม ยตาญาณ ปฏิ สั ง ขาญาณ สั ง ขารุ เ ปกขาญาณ
อนุโลมญาณ ชื่อวา ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ เพราะเหตุ ๖ ประการ คือ
๑. เปนขอปฏิบัติเพื่อญาณทัสสนวิสุทธิ คือ มรรค
๒. รูพระไตรลักษณ
๓. ปรากฏชัด
๔.เปนเครื่องเห็นพระไตรลักษณ และอริยสัจ ๔
๕. เปนปฏิปกษตอธรรมที่ผิด

๙๘
พระสั ท ธั ม มโชติ ก ะ ธั ม มาจริ ย ะ: วิ ป ส สนากรรมฐาน, พิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๗,
กรุงเทพมหานคร: หจก.ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๕๙, หนา ๒๑๓-๒๑๔.
๙๙
นวองคุลี : วิปสสนาญาณ, พิมพครั้งที่ ๑, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ เม็ด
ทราย, ๒๕๔๖, หนา ๑๖๘-๑๖๙
๑๐๐
พระธรรมธีรราชมุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ):วิปสสนากรรมฐาน, หนา ๕๙๔.
๑๒๔
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๖. บริสุทธิ์วิเศษ๑๐๑
ญาณที่ ๑๓ โคตรภูญาณ
จิตเห็นพระนิพพาน ตัดขาดจากโคตรปุถุชนเปนโคตรอริยชน เมื่อ
จิตหมดความอยาก (ไมมีตัณหา) จิตก็ปลอยวางอารมณทั้งปวง ถอยเขาหา
จิตผูรูอยางอัตโนมัติ
ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นพระนิพพาน ตัดขาดจากโคตรปุถุชนเปน
โคตรอริยชน เมื่อจิตหมดความอยาก(ไมมีตัณหา) จิตก็ปลอยวางอารมณทั้ง
ปวง ถอยเขาหาจิตผูรูอยางอัตโนมัติ มีความหมายวา เมื่อจิตของพระโยคี
ตั้งอยูแลวในอนุโลมญาณ ตอจากนั้นก็กาวขึ้นสูโคตรภูญาณ ทําหนาที่โอน
จากโคตรปุ ถุช น ที่ห นาแน นไปด วยกิเ ลส ไปสู โคตรอริ ยชนที่หางไกลจาก
กิเลส กลาวโดยวิถีจิต เมื่ออนุโลมชวนะ ซึ่งมีไตรลักษณคือความเกิดดับแหง
รูปนามเปนอารมณนั้นดับไปแลวก็เปนปจจัยใหเกิดโคตรภูจิต ยึดหนวงพระ
นิพพานเปนอารมณ นํามาซึ่งปญญาที่รูยิ่งในสันติลักษณะ คือพระนิพพาน
ตามลําดับแหงวิถีจิตที่ชื่อวามรรควิถ๑๐๒

โยคีผูปฏิบัติที่มีอนุโลมญาณเกิดขึ้นแลว เมื่ออนุโลมญาณแมทั้ง ๓
(หรือ ๒) เหลานั้น ไดทําลายความมืด (คือกิเลส) ชนิดหนาๆ ที่ปดบัง (อริยะ)
สัจจะอยู ใหอันตรธานไปตามสมควรแกกําลังของตน จิตของโยคีนั้น ก็ไม
แลนไป ไมตั้งมั่น ไมนอมไป ไมของ ไมติด ไมเกาะ ในสังขารทั้งปวง (แต)
ถอยกลับ งอกลับ วกกลับ เหมือนหยาดน้ํา กลอกกลิ้งกลับจากใบบัว นิมิต
(คือสังขาร) ที่เปนอารมณทั้งปวงก็ดี ความเปนไป (ของสังขาร) ที่เปนอารมณ
ทั้งปวงก็ดี ยังปรากฏโดยปริโพธ (คือสิ่งขัดขวาง)อยูในทันที เมื่ออารมณคือ
นิมิตและความเปนไป (ของสังขาร) ทุกประการ ปรากฏโดยปริโพธอยูนั้น ณ
ตอนทายสุด แห งอาเสวนะ (๓ หรื อ ๒ ครั้ ง)๑๐๓ ของอนุ โลมญาณ โคตรภู
๑๐๑
เลมเดียวกัน หนา ๕๘๓.
๑๐๒
พระภาวนาพิ ศ าลเมธี วิ . , เอกสารประกอบการสอนวิ ช า : สั ม มนา
วิปสสนาภาวนา, ๒๕๕๑, หนา ๕๗๘.
๑๐๓
บริกรรม อุปจาร และอนุโลม
๑๒๕
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ญาณ ที่เปนญาณถึงยอด เปนที่สุดของวิปสสนาก็เกิดขึ้น ทํานิโรธคือพระ
นิพพานอันปราศจากสังขาร ไมมีนิมิต ไมมีความเปนไป ใหเปนอารมณ ขาม
พนโคตรปุถุชน พนการเรียกวาปุถุชน กาวลงสูโคตรพระอริยะ สูการเรียก
ขานวา พระอริยะสูภูมิพระอริยะ ซึ่งเปนการรําพึงถึงครั้งแรก คํานึงถึงเปน
ครั้งแรก ในอารมณพระนิพพาน ทําใหสําเร็จความเปนปจจัยของ (อริยะ)
มรรค โดยอาการ ๖ คือโดย อนันตรปจจัย ๑ สมนันตรปจจัย ๑ อาเสวนา
ปจจัย ๑ อุปนิสสยปจจัย ๑ นัตถิปจจัย ๑ และวิคตปจจัย ๑ ไมหวนกลับมา
อีก ซึ่ง (เปนญาณที)่ ทานกลาวระบุถึงไววา
“ปญญาในการหวนกกลับดวยการออกจากสังขารภายนอก เรียกวา
โคตรภู เ พราะครอบงํา ความเกิด ขึ้น ความเป น ไป ความคับ แคน ใจ (ของ
สังขารทั้งหลาย) เพราะครอบงํานิ มิต คือสั งขารภายนอก เพราะแล นไปสู
ความไมเกิดขึ้น แลนไปสูความไมเปนไป ฯลฯ สูความไมคับแคนใจ สูนิโรธ
สูพระนิ พพาน เรีย กวา โคตรภู เพราะครอบงําความเกิด ขึ้น (ของสั งขาร)
แลวแลนไปสูความไมเกิดขึ้น (คือนิพพาน)”๑๐๔
ในโคตรภูญาณ อารมณที่ปรากฏกอนที่จะเคลื่อนเขาสูความดับขอ
รูปนาม หรือ ทางเขาสูพระนิพพาน ๓ ประเภท มีดังนี้
๑) รูปนามแสดงใหเห็นถึงความไมเที่ยง โดยการเกิดดับของรูปนาม
จะมีมาก, เร็ว และสั้นจนถึงที่สุด สําหรับผูที่เคยสะสมบารมีทางศีลมากอน
เรียกวา เขาทางอนิจจัง ดวยการหลุดพนทาง อนิมิตตวิโมกข
๒) รูปนามแสดงใหเห็นถึงความเปนทุกข โดยทุกขเวทนา(คัน แนน
หรือปวด) จะเกิดมากขึ้นเรื่อยๆ จนถึงที่สุด สําหรับผูที่เคยสะสมบารมี ทาง
สมาธิมากอน เรียกวา เขาทางทุกขัง ดวยการหลุดพนทาง อัปปณิหิตวิโมกข
๓) รูปนามแสดงใหเห็นถึงความไมมีตัวตน โดยรูปนามจะแผวเบา
ละเอียดจนถึงที่สุด สําหรับผูที่เคยสะสมบารมีทางปญญามากอน เรียกวาเขา
ทางอนัตตาดวยการหลุดพนทาง สุญญตวิโมกข

๑๐๔
พระพุ ท ธโฆสเถระ รจนา: คั ม ภี ร วิ สุ ท ธิ ม รรค, พิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๑๒,
กรุงเทพมหานคร บริษัท ธนาเพรส จํากัด,๒๕๖๐, หนา ๑๑๓๑-๑๑๓๒.
๑๒๖
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
โคตรภูธรรมแบงเปน ๒ ฝาย ฝายกุศล ๑๕ ประการ ฝายอัพยากฤต
๓ ประการ ฝายอกุศล ไมม๑๐๕

สมถะ วิปสสนา
ครอบงํา ผลลัพธ ครอบงํา ผลลัพธ
๑. นิวรณ ปฐมฌาน ๑. รูปนาม โสดาปตติมัค
๑๖ ประการ
๒. วิตก วิจารณ ทุติยฌาน ๒. “ โสดาปตติผลสมาบัติ
๓. ปติ ตติยฌาณ ๓. “ สกทาคามิมัค
๔. สุข จตุตถฌาน ๔. “ สกทาคามิผลสมาบัติ
๕.รูปสัญญา อากาสานัญจา ๕ “ อนาคามิมัค
ปฏิสัญญา ๖. “ อนาคามิผลสมาบัติ
นานัตตสัญญา ๗. “ อรหัตตมัค
๖.อากาสานัญจา วิญญานัญจา ๘. “ อรหัตตผลสมาบัติ
๗. วิญญาณัญจา อากิญจัญญา ๙. “ อนิมิตตวิหารสมาบัติ
๘. อากิญจัญญา เนวสัญญานา ๑๐. “ สุญญตาวิหารสมาบัติ
สัญญา
กุศล ขอ๑-๘ (๘ ขอ) กุศล ขอ๑-๗ (๗ ขอ)
อัพยากฤติ ขอ๘-๑๐ (๓ ขอ)
โคตรภูญาณนี้เปนอาวัชชนะของมรรคญาณ ฉะนั้น จะจัดเขาไปใน
ปฏิป ทาญาณทัสสนวิสุ ทธิ ก็เ ขาไมได และจะจั ดเขาในญาณทัส สนวิสุ ทธิ ก็
ไมได เพราะปราศจากลักษณะของวิสุทธิทั้ง ๒ อยางนี้ ฉะนั้น โคตรภูญาณ
จึงอยูในระหวางกลาง เปนอัพโพหาริก แตวาตกอยูในกระแสของวิปสสนา
จึงเรียกวา วิปสสนาญาณเชนกัน๑๐๖

๑๐๕
พระสั ทธั ม มโชติ ก ะ ธัม มาจริย ะ: วิ ปส สนากรรมฐาน, พิ มพ ค รั้ง ที่ ๗,
กรุงเทพมหานคร: หจก.ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๕๙, หนา ๒๒๖.
๑๐๖
พระภัททันตะ อาสภมหาเถระ:วิปสสนาทีปนีฎีกา, พิมพครั้งที่ ๑, วัดภัททัน
ตะ อาสภาราม, ๒๕๑๓, หนา ๑๘๒.
๑๒๗
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
ญาณที่ ๑๔ มรรคญาณ
จิตเห็นพระนิพพานและตัดขาดจากกิเลส เปนสมุจเฉทประหาณ๑๐๗
สติ สมาธิ ปญญาและธรรมฝายการตรัสรูทั้งปวงรวมลงที่จิตดวงเดียว เปน
มรรคสมังคี กําลังของมรรคแหวกมโนวิญญาณซึ่งหอหุมปดบังธรรมชาติอัน
บริสุทธิ์ออก
ญาณนี้เปนโลกุตตรญาณ จะทําหนาที่ประหาณกิเลสระดับอนุสัย
กิเลส ทําหนาที่รูทุกข ละเหตุแหงทุกข แจงนิโรธความดับทุกข เจริญตนเอง
เต็มที่คือองคมรรค ๘ มีการประชุมพรอมกัน ทําหนาที่ละอนุสัยกิเลสแลวก็
ดับลง มีนิพพานเปนอารมณขณะที่จิตเปนโคตรภูนั้น เปนเวลาที่เริ่มดับวับลง
ไป เพราะไดนิพพานคือความดับเปนอารมณจิตจึงดับวับไป ตอจากนั้นมรรค
จิตก็เกิดรับนิพพานที่โคตรภูจิตรับแลวนั้นเปนอารมณตอไปชั่วขณะจิตหนึ่ง
ญาณที่เกิดรวมกับมรรคจิตนั้น เรียกวา มรรคญาณ๑๐๘
ญาณที่ ๑๕ ผลญาณ
จิตเห็นพระนิพพานโดยเสวยผลแหงสันติสุข สาระสําคัญของญาณนี้
ก็คือ ผูปฏิบัติถึงญาณนี้แมกิเลสจะถูกประหาณไปไดอยางเด็ดขาดดวยมรรค
ญาณ แตอํานาจของกิเลสก็ยังเหลืออยู เชนเดียวกับที่เอาน้ําไปรดถานไฟ ไอ
รอนยังเหลืออยูในฟนที่ไฟไหม แตไฟนั้นดับแลว การประหาณกิเลสดวยผล
ญาณก็มีนัยเชนนี้๑๐๙
ญาณนีเ้ ปนโลกุตตรญาณ เกิดขึ้นมา ๒ ขณะ เปนผลของมรรคญาณ
ทําหนาที่รับนิพพานเปนอารมณ ๒ ขณะ แลวก็ดับลง อรรถกถาแสดงไววา
-โยคีทานใดมีอนุโลมจิต ๒ (อุปจาร และอนุโลม) ชวนจิตที่ ๓ ของ
โยคีทานนั้นเปนโคตรภู ชวนจิตที่ ๔ เปนมรรคจิต มีผลจิต ๓ ชวนะ
-โยคีทานใด มีอนุโลมจิต ๓ (บริกรรม อุปจารและอนุโลม) ชวนจิตที่
๑๐๗
สํ.นิ.อ. (บาลี) ๒/๗๐/๑๔๓
๑๐๘
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๑๓๕.
๑๐๙
พระภาวนาพิ ศ าลเมธี วิ . , เอกสารประกอบการสอนวิ ช า : สั ม มนา
วิปสสนาภาวนา, ๒๕๕๑, หนา ๕๘๓.
๑๒๘
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
๔ ของโยคีทานนั้นเปนโคตรภู ชวนจิตที่ ๕ เปนมรรคจิต มีผลจิต ๒ ชวนะ
ญาณที่ ๑๖ ปจจเวกขณญาณ
ญาณนี้เปนญาณที่เกิดขึ้นตอจากผลญาณ คือ เมื่อไดเขาสูความดับ
แลว ครั้งเมื่อรูสึกตัวก็มาพิจารณาวาตนเองนั้นเปนอะไรไป ขอมูลในคัมภีร
ปฏิสัมภิทามรรคอธิบายวา ตทา สมุทาคเต ธมฺเม ปสฺสเน ปฺญา. ปญญาใน
การพิจารณาเห็นธรรมที่เขามาประชุมในขณะนั้น๑๑๐ เปนญาณรูดวยการ
พิจารณาทบทวน คือสํารวจรูมรรคผลและกิเลสที่ละไดแลว กิเลสที่เหลืออยู
และนิพพาน(เวนพระอรหันต ไมมีการพิจารณากิเลสที่ยังเหลืออยู) ๑๑๑
จิตเห็นในมรรคจิต ผลจิต นิพพาน กิเลสที่ละแลว และกิเลสที่ยังคง
เหลืออยู เปนญาณหยั่งรู ดวยการพิจารณา ทบทวน คือสํารวจรูมรรค ผล
กิเลสที่ละไดแล ว กิเลสที่เหลื ออยู และนิพพาน(เวนพระอรหันต ไมมีการ
พิจารณากิเลสที่ยังเหลืออยู) ๑๑๒
พระอริยบุคคลทานนั้นสํารวจทบทวนดูมรรควา “ขาพเจามาดวย
มรรคนี้แนแลว”
จากนั้นก็สํารวจทบทวนดูผลวา “อานิสงสดังนี้ขาพเจาไดรับแลว”
สํารวจทบทวนดูกิเลสทั้งหลายที่ละไดแลว
จากนั้นสํารวจทบทวนดูกิเลสทั้งหลายที่ตองฆาดวยมรรค ๓ เบื้อง
สูงวา “กิเลสทั้งหลายชื่อนี้ๆ ของขาพเจายังเหลืออยู” และในที่สุด ก็สํารวจ
ทบทวนดูพระอมตนิพพานวา “พระธรรมนี้ ขาพเจาแทงตลอดโดยอารมณ
แลว”
พระโสดาบันอริยสาวกมีปจจเวกขณะ (คือการสํารวจทบทวน) ๕
ประการดั ง กล า วนี้ และพระโสดาบั น มี ป จ จเวกขณะ ๕ ฉั น ใด แม พ ระ
สกทาคามีและพระอนาคามีทั้งหลายก็มีปจจเวกขณะ ๕ ฉันนั้น แตของพระ

๑๑๐
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/๖๕/๑๐๖-๑๐๙
๑๑๑
ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/๖๕/๑๐๖-, วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๖๖๒-๘๐๔/๒๕๐-๓๕๐.
๑๑๒
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๕/๑๐๖, วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๖๖๒-๘๐๔/๒๕๐-๓๕๐.
๑๒๙
บทที่ ๒ หลักปฏิบัติวิปสสนา ๗ ขั้น ตามลําดับญาณ ๑๖
อรหันตไมมกี ารสํารวจทบทวนดูกิเลสที่เหลือแล เพราะทานละกิเลสทั้งหลาย
หมดแลว๑๑๓
กิเลสที่พระอริยบุคคลประหาร
พระอริยบุคคลและการละกิเลสแตละประเภท สามารถสรุปไดวา
๑. พระโสดาบัน คือ ผูยังโสดาปตติมรรคใหเกิดแลว ยอมละการ
ไปในอบายไดการละทิฏฐิและวิจิกิจฉา
๒. พระสกทาคามี คือ ผู ยั งสกทาคามีมรรคให เ กิด แล ว ย อมทํ า
ราคะ โทสะ และโมหะให เ บาบางลง จะมาสู โ ลกนี้ อี ก เพี ย งครั้ ง เดี ย ว
(ประหารใหเปนตนุกระ คือ เบาบางลง)
๓. พระอนาคามี คือ ผูยังอนาคามิมรรคใหเกิดแลว ยอมละกาม
ราคะและพยาบาทไดโดยไมมีเหลือ ไมกลับมาสูความเปนสัตวในกามภพอีก
(ประหารแบบสมุจเฉท)
๔. พระอรหันตคือ ผูยังอรหัตมรรคใหเกิดแลว ยอมละกิเลสไมมี
สวนเหลือเปนพระขีณาสพเปนพระทักขิไณย ผูเลิศในโลก
ทิฏฐิและวิจิกิจฉา ๒ อยางนี้โสดาปตติมรรคประหาณไดโดยเด็ดขาด
โทสะนั้น อนาคามีมรรคประหาณไดโดยเด็ดขาด โลภะ โมหะ มานะ ถีนะ
อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ นั้นอรหัตตมรรคประหาณไดโดยเด็ดขาด”๑๑๔

๑๑๓
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๑๓๗.
๑๑๔
พระพุทธโฆสเถระ รจนา, คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๖๐, หนา ๑,๑๕๖
๑๓๐
บทที่ ๓
การปฏิบัติวิปสสนาแบบลัดสั้น
ความเห็นแจงตามความเปนจริงของรูป-นาม(ขันธ ๕) โดยที่ยังไมได
เจริญสมถะมากอนและยังไมไดฌานสมาบัติ เริ่มปฏิบัติวิปสสนาเลยทีเดียว
ใชสมาธิเพียงระดับขณิกสมาธิ คือ รูทันปจจุบันทุกขณะของรูปนามโดยความ
เปนไตรลักษณ จนไดบรรลุมรรค ผล นิพพาน เรียกวาวิปสสนายานิก และ
เมื่อสิ้นอาสวะกิเลสสําเร็จเปนพระอรหันตมีชื่อเรียกวา สุกขวิปสสกบุคคล
หรือปญญาวิมุตติบุคคล คือ บุคคลที่หลุดพนดวยความสามารถแหงปญญา๑
๑. ความรู ๖ ระดับ ในการพัฒนาญาณปญญา
ปฺา แปลวา ความรู ความเขาใจ ความรูชัด มาจาก า ธาตุใน
ความรู ป บทหนา กฺวิ ปจจัย เปนอิตถีลิงค อาการันต วิเคราะหวา ปฺาย
เต เอตายาติ ปฺา. สภาวะที่ชวยใหรูชัด รูทั่วถึงได ชื่อวาปญญา๒
คัมภีรอังคุตตรนิกายอธิบายวา ปญญา หมายถึง ความรูธรรมที่เปน
กุศล อกุศล ธรรมที่มีโทษ ไมมีโทษ ธรรมดํา (ธรรมที่ใหผลเปนทุกข) ธรรมขาว
(ธรรมที่ใหผลเปนสุข) ธรรมที่ควรเสพ ธรรมที่ไมควรเสพ ธรรมที่ไมสามารถทํา
ใหเปนพระอริยะ และธรรมที่สามารถทําใหเปนอริยะ๓ หมายถึง ปญญาระดับ
โลกิยะ เปนความรูที่เกิดจากการฟง และการคิดพิจารณา
คัมภีรอังคุตตรนิกายอธิบายวา ปญญา หมายถึง เครื่องพิจารณาเห็น
ทั้งความเกิด และความดับอันเปนอริยะ ชําแรกกิเลส ใหถึงความสิ้นทุกขโดย
ชอบ๔ หมายถึง ปญญาระดับโลกุตตระ เปนความรูที่เกิดจากการเจริญวิปสสนา

ดูรายละเอียดใน องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๙๐/๗๙, วิสุทฺธ.ิ มหาฏีกา (บาลี) ๑/๒๑.

พระมหาสมปอง มุทิโต, คัมภีรอภิธานวรรณนา, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ
ธรรมสภา, ๒๕๔๒), หนา ๒๐๙.

องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๕/๔๓๙.

องฺ.สตฺตก. (ไทย) ๒๓/๔/๗.
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น

ตั้งแตเริ่มตนจนกระทั่งบรรลุมรรคผล๕
มนุ ษ ย จึ ง ต อ งอาศั ย ป ญ ญาเป น เครื่ อ งมื อ ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ให
ปราศจากความทุกขมากที่สุด ใหสามารถอยูรอดอยางดีงาม มีความสุข๖ มีความ
เขาใจในเหตุผล ดี ชั่ว รูคิด รูวินิจฉัย และรูที่จะจัดการ สิ่งใดเปนประโยชน มิใช
ประโยชน๗ การเรีย นรู เป นความหมายหนึ่ งของการศึกษา ที่จ ะฝ กตั วเอง
พัฒนาชีวิตตนเองใหมีความสามารถที่จะเปนอยูไดอยางดี
ป ญญาตามหลั กศาสนาพุ ทธอาศั ยระบบการรั บรู ที่ เกิ ดขึ้ งเองตาม
ธรรมชาติ แล ว จากระดั บเบื้ องต น (โลกิยป ญญา) ไปสู ความรู ระดั บสู งขึ้ นไป
(โลกุตตรปญญา) แบงได ๖ ระดับ ดังตอไปนี้
๑) ปญญาระดับวิญญาณ คือ ความรูแจงอารมณอันเปนความรู
เริ่ ม แรกเมื่ อ เห็ น ได ยิ น ได ก ลิ่ น ลิ้ ม รส กายถู ก ต อ งสํ า ผั ส เป น ต น ซึ่ ง จะ
กลายเปนเวทนาตอไป เปนความรูที่เกิดขึ้นโดยอาศัยทวารทั้ง ๖ เปนฐาน
ขณะตาสัมผัสกับรูปเกิดความรูขึ้น เรียกวา จักขุวิญญาณ ขณะหูสัมผัสกับ
เสียงเกิดความรูขึ้น เรียกวา โสตวิญญาณ ขณะจมูกสัมผัสกับกลิ่นเกิดความรู
ขึ้น เรียกวา ฆานวิญญาณ ขณะลิ้นสัมผัสกับรสเกิดความรูขึ้น เรียกวา ชิวหา
วิญญาณ ขณะกายสัมผัสกับโผฏฐัพพะเกิดความรูขึ้น เรียกวา กายวิญญาณ
ขณะทีใ่ จสัมผัสกับธรรมเกิดความรูขึ้น นี่เรียกวา มโนวิญญาณ๘
ความรูระดับวิญญาณนี้ เปนความรูที่มีความบริสุทธิ์เนื่องจากเปน
การรูโดยตรง ในระยะแรกยังไมมีรายละเอียดหรือความหมายอะไร เมื่อตา

พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภ
มหาเถร) แปลและเรียบเรียง, (พิมพครั้งที่ ๙, ๒๕๕๓.) หนา ๗๓๑

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), หัวใจพระพุทธศาสนา, พุทธจักร, ปที่
๖๑ ฉบับที่ ๔ (เมษายน ๒๕๕๐), หนา ๑๐.

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวล
ธรรม, พิมพครั้งที่ ๑๑, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอส อาร พริ้นติ้ง แมส โปรดักส
จํากัด, ๒๕๕๑), หนา ๑๗๔.

ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๒๓/๓๑๖.
๑๓๒
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
เห็นรูปก็รูเพียงวาเห็นเทานั้นแตไมรูวาเปนรูปอะไร การเกิดขึ้นของความรู
ระดั บ วิ ญ ญาณนี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น ได ต อ งมี อ งค ป ระกอบ ๓ อย า งคื อ อายตนะ
อารมณ และจิตทําหนาที่จดจอในอารมณ ๖
๒) ปญญาระดับสัญญา หมายถึง การจํ าได ห มายรู เป นความรู
ระดับรูอาการเครื่องหมายลักษณะตางๆ อันเปนเหตุใหจําอารมณนั้นๆ ได มี
ความละเอียดกว าความรูระดับ วิญญาณ เกิด ขึ้นโดยอาศัยการเทีย บเคีย ง
ระหวางประสบการณเดิม หรือความรูเกากับความรูใหม แบงออกเปน ๖
อยางตามทางแหงการรับรู คือ รูปสัญญา สัททสัญญา คันธสัญญา รสสัญญา
โผฏฐัพพสัญญา และธัมมสัญญา ความรูระดับสัญญานี้เปนกระบวนการเก็บ
รวบรวม และสะสมขอมูลของการเรียนรูและวัตถุดิบสําหรับความคิดนั่นเอง๙
๓) ปญญาระดับทิฏฐิ หมายถึง ความเห็นซึ่งรวมถึงความเชื่อถือ
ความเขาใจตามนัยเหตุผล ความรูที่เปนทรรศนะแนวคิดหรือทฤษฎีตางๆ ที่
เกิดขึ้นหลังจากการฟง การคิด ที่เปนไปตามกระบวนการทางเหตุผลหรือ
อนุมาน เปนการเห็นความจริงรวบยอดที่อยูเบื้องหลังปรากฏการณตางๆ ซึ่ง
เปนความรูที่ไดจากการคิดแบบวิเคราะหเปรียบเทียบ แลวทําการสังเคราะห
สรุปรวบยอดกลายเปนทรรศนะ มโนภาพ หรือความเขาใจ เปนความรู ที่
เกิดขึ้นจากการฟง หรือสุตมยปญญา และการคิดที่เรียกวา จินตามยปญญา
ตามทรรศนะของพุทธปรัชญาแบงความรูระดับทิฏฐิออกเปน ๒ ประเภท คือ
มิจฉาทิฏฐิ คือ ความเห็นที่ผิดจากความเปนจริงเปนไปเพื่อสรางโลกสราง
กิเ ลส และสัมมาทิฏ ฐิ คือ ความเห็ นชอบเห็ น ความจริ ง ได แก การเห็ น ที่
ถู ก ต อ งตามอริ ย สั จ ๔ ดั ง พระผู มี พ ระภาคตรั ส ว า ดู ก รภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย
สัมมาทิฏฐิคืออะไร คือความรูในทุกข ความรูในสมุทัย ความรูในทุกขนิโรธ
ความรูในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา นี้เรียกวา สัมมาทิฏฐิ๑๐ สัมมาทิฏฐิเทานั้น
จึงจะถือวา เปนปญญาที่ตรงตามทรรศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท


เดือน คําดี, พุทธปรัชญา, (กรุงเทพมหานคร: โอ เอส พริ้นติ้ง เฮาส, ๒๕๓๔),
หนา ๑๒๙.
๑๐
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๓๕/๑๒๖–๑๒๘.
๑๓๓
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๔) ปญญาระดับอภิญญา คือ ความรูที่เกิดขึ้นจากความสามารถ
พิเ ศษทางจิ ต โดยการฝกจิต ให มีพลังโดยไมต องอาศัย ประสาทสัมผัส ใดๆ
ทั้งสิ้น เปนสิ่งที่สามารถรับรูไดโดยไมขึ้นกับกาลเวลา การรับรูระดับนี้เมื่อ
เกิดขึ้นสามารถที่จะรับรูสิ่งตางๆ ไดเกินวิสัยสามัญของมนุษย เรียกความรู
แบบนี้วา อภิญญา มี ๖ ประการ คือ
(๑) อิทธิวิธี คือ ความสามารถแสดงฤทธิ์ไดหลายอยาง เชน คน
เดียวทําใหเปนหลายคน ทําที่มืดใหสวาง
(๒) ทิพพโสตะ คือ ความสามารถในการไดยินเสียงทั้งเสียงทิพย
เสียงมนุษยทั้งระยะใกลไกล
(๓) เจโตปริยญาณ คือ การรูใจคนอื่น สามารถบอกไดวาเขาคิด
อยางไร
(๔) ปุ พเพนิ ว าสานุ ส สติ ญาณ คือ ความสามารถระลึ กชาติ ใน
อดีตได
(๕) ทิพพจักขุ คือ ความสามารถในการมองเห็นสัตวทั้งหลายผู
จุติเปนอันมาก
(๖) อาสวักขยญาณ คือ ความรูที่ทําใหสิ้นอาสวะกิเลส๑๑
ความรู ร ะดั บ อภิ ญ ญาทั้ ง ๖ นี้ อภิ ญ ญา ๕ ข อ แรกจั ด เป น โลกี ย
อภิญญา เปน ความรูระดั บสามั ญทั่วไป ผูที่ไดอภิ ญญานี้ อาจเปนสัมมาทิฏฐิ
หรือมิจฉาทิฏฐิก็ได สวนอภิญญาขอที่ ๖ คือ อาสวักขยญาณ จัดเปนโลกุตตร
อภิญญา เปนความรูระดับสูง ผูไดอภิญญาขอนี้จะเปนสัมมาทิฏฐิเทานั้น
๕) ปญญาระดั บญาณ คือ ความหยั่ งรู ด ว ยป ญญาประจักษแจ ง
เปนความรูที่เกิดขึ้นจากการหยั่งรูสภาวะแหงความจริงทั้งหลาย ตามความ
เปนจริง เปนความรูที่เกิดขึ้นเฉพาะภายในตัวของผูรูเทานั้น เปนการเรียนรู
โดยประสบการณต รง ตามหลั กไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ป ญญา ความรู
ระดับญาณนีไ้ ดแก "ญาณ ๑๖"๑๒

๑๑
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๕๖/๓๙๔–๓๙๖.
๑๒
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๐๕/๒๗๒., ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑-๖๕/๗-๑๐๙.
๑๓๔
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๖) ปญญาระดั บตรั สรู หรื อ สัมโพธิ คือ ความรูร ะดับ ญาณขั้น
สูงสุดในพุทธปรัชญา เปนญาณที่รูวาตนหลุดพนจากสภาวธรรมฝายสังขตะ
ทั้งปวง และเมื่อไดบรรลุโลกุตตรธรรมก็รูวาตนไดอยูจบพรหมจรรยแลว กิจ
ที่จะพึงทําทุกอย างก็ได ทําเสร็ จแลว ไดบรรลุถึงความเปน อิสระจากโลกิย
ธรรมทั้งมวลโดยสมบูรณ ไมมีกิจที่ตองทําอีกตอไป ความรูระดับนี้จะเกิดขึ้น
ไดตองมีเงื่อนไข ๓ ประการ คือ ไดปฏิบัติตามอริยมรรคมีองค ๘ บริบูรณ
ด ว ยดี มี ค วามรู ร ะดั บ ญาณเกิ ด ขึ้ น แล ว โดยสมบู ร ณ และเกิ ด ความ
เปลี่ ย นแปลง ๕ ประการคือ เปลี่ ย นแปลงทางป ญ ญา เปลี่ ย นแปลงทาง
คุ ณ ภาพจิ ต เปลี่ ย นแปลงทางอารมณ เปลี่ ย นแปลงทางทั ศ นคติ และ
เปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม๑๓
ความรูระดับวิญญาณ ระดับสัญญา ระดับทิฏฐิ ระดับอภิญญา ๕
ขอแรก และระดับญาณตั้งแตนามรูปปริเฉทญาณ จนถึงสัจจานุโลมิกญาณ
และปจจเวกขณญาณ จัดเปนความรูระดับโลกียะ สวนอภิญญาขอที่ ๖ คือ
อาสวักขยญาณ กับความรูระดับญาณเบื้องสูง ตั้งแต มรรคญาณ ผลญาณ
และความรูระดับตรัสรูหรือสัมโพธิ จัดเปนความรูระดับโลกุตตระ การแบง
ความรูออกเปนอยางนี้ เพื่อจําแนกระดับภูมิความรูของแตละบุคคลตามหลัก
คําสอนในพระพุทธศาสนาเถรวาท

๒. วิปสสนาภาวนา
วิปสสนา แปลวา ปญญาหยั่งรูรูปธรรมและนามธรรมตามความเปน
จริง วาสภาวธรรมทั้งหลายไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตาไมใชตัวตน ไดแก
ภาวนาปญญา๑๔ มีศัพทวิเคราะหวา อนิจฺจาทิวเสน วิวิเธน อากาเรน ธมฺเม
ปสฺสตีติ วิปสฺสนา๑๕ ปญญาใดยอมเห็นสังขตธรรมมีขันธเปนตน ดวยอาการ
๑๓
บุญมี แทนแกว, ญาณวิทยา, (กรุงเทพมหานคร: ธนะการพิมพ, ๒๕๓๕),
หนา ๕๕.
๑๔
วิภาวิน.ี ฎีกา (บาลี) หนา ๒๖๗.
๑๕
ขุ.ป.อ. (บาลี) ๑/๑๕๕/๓๒๘, อภิ.สงฺ.อ. (บาลี) ๑/๑๐๐/๑๐๐.
๑๓๕
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ตางๆ มีความไมเที่ยงเปนตน ฉะนั้นปญญานั้น ชื่อวา วิปสสนา
ความเห็นแจ งในอารมณต างๆ โดยความเปนรูปนามที่พิเศษนอก
ออกไปจากบัญญัติ โดยการละทิ้งสัททบัญญัติ อัตถบัญญัติเสียสิ้น และเห็น
แจงในอารมณตางๆ โดยอาการเปนอนิจจะ ทุกขะ อนัตตะ อสุภะ ที่พิเศษ
นอกออกไปจากนิจจสัญญาวิปลาส สุขสัญญาวิปลาส อัตตสัญญาวิปลาส สุภ
สัญญาวิปลาสเสีย ไดแก ปญญาเจตสิกที่ในมหากุศลจิต มหากริยาจิต๑๖
วิปสสนาภาวนาเปนการอบรมปญญาใหเกิดความรูแจงชัดในขันธ ๕
ตามความเปนจริง วาไมเที่ยง มีสภาวะทนไดยาก ที่ไมใชตัวตนจะบังคับ
บัญชาได ปฏิบัติเพื่อใหเกิดญาณรูแจงอริยสัจ ๔๑๗ ที่เรียกวา “ญาณ” เปน
การใครครวญธรรม เพงพินิจพิจารณาเห็นธรรมโดยความเปนไตรลักษณ๑๘
แตที่เราไมเห็นรูป-เห็นนามตามความเปนจริง (โดยความเปนไตรลักษณ) ได
โดยงาย นั่นก็เพราะวามีธรรม ๓ ประการ๑๙ เปนเครื่องขวางกั้นเอาไว ก็คือ
สันตติปดบังอนิจจัง อิริยาบถปดบังทุกข ฆนสัญญาปดบังอนัตตา
๑) สันตติ หมายถึง การเกิดขึ้นติดตอสืบเนื่องกันของรูปและนาม
อยางรวดเร็ว คือความสืบตอแหงกรรม ฤดู จิต อาหาร ตัวอยางที่เขาใจได
งาย เชน ขนเกาหลุดลวงไป ขนใหมเกิดขึ้นแทน ความคิดเกาดับไปความคิด
ใหมมาแทน มาปดบังไมใหเห็นความเปนอนิจจัง จึงเปนเครื่องปดบังไมให
เห็นความไมเที่ยงของรูปและนาม ทําใหเห็นเหมือนกับวา รูปและนามนี้ยังมี
อยูเรื่อยๆ ไป เมื่อเห็นความจริงของรูปและนามไมไดก็เกิดความสําคัญผิดใน
รูป-นามวา “เปนของเที่ยง” เรียกวา นิจจวิปลาส

๑๖
พระสัทธัมมโชติกะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๑ สมถกรรมฐานทีปนี
, พิมพครั้งที่ ๕ (กรุงเทพมหานคร: บริษัท วี.อินเตอร พริ้นท จํากัด, ๒๕๔๗), หนา ๑๕.
๑๗
ดูใน ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๕๒/๒๔๒, องฺ.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๒/๒๕๔/๔๔๗.
๑๘
องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๒๐/๑๖๕, องฺ.สตฺตก.ฏีกา (บาลี) ๓/๒๐/๑๙๒.
๑๙
ดูใน องฺ.สตฺตก.ฏีกา (บาลี) ๑/๓๔๑.
๑๓๖
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๒) อิริยาบถ หมายถึงการเปลี่ยนอิริยาบถมาปดบังทุกข ตัวอยาง
เชน เมื่อเราเดินเมื่อยเราก็เปลี่ยนเปนนั่ง นั่งเมื่อยก็เปลี่ยนเปนนอน ทําใหคิด
วาขันธ ๕ ของเราเปนสุข การที่ไมไดพิจารณาอิริยาบถจึงไมเห็นความจริง
ของรูปและนามวา มีทุกขเบียดเบียนบีบคั้นอยูตลอดเวลา เมื่อไมเห็นทุกข ก็
เขาใจผิดวาเปนสุข เรียกวา “สุขวิปลาส”เปนปจจัยแกตัณหาทําใหปรารถนา
ดิ้น รนไปตามอํานาจของตัณหาที่อาศัย รูป -นามเกิด ขึ้น เพราะเหตุที่ไมได
พิจารณาอิริยาบถ จึงทําใหไมเห็นทุกข
๓) ฆนสัญญาปดบังอนัตตา ฆนสัญญา แปลวาความสําคัญวาเปน
กลุมกอน คือความสําคัญผิดในสภาวธรรมที่รวมกันอยูเปนกลุมเปนกอนของ
ขันธ ๕ วาเปนตัวเปนตน วามีสาระแกนสาร จึงทําใหไมเห็นความแยกกัน
ของรูป-นามเปนคนละอยางได เมื่อไมสามารถกระจายความเปนกลุมกอน
(ฆนสัญญา)ใหแยกออกจากกันได จึงไมมีโอกาสที่จะเห็นความไมใชตัวตนได
ทําใหหลงยึดถือวาเปนตัวเปนตน แตแทจริงแลวเปนเพียงธาตุที่ประกอบขึ้น
เปนคน ถาแยกออกแลวไมมีความเปนคนเลย ตอเมื่อรวมกันเขาจึงสมมติชื่อ
ว า เป น สิ่ ง นั้ น สิ่ ง นี้ เมื่ อ ไม เ ห็ น อนั ต ตา วิ ป ลาสที่ เ รี ย กว า “อั ต ตวิ ป ลาส”
(ความสําคัญผิดวาเปนตัวตน) ก็ตองเกิดขึ้น และเปนปจจัยแกตัณหา๒๐
วิธีทําลายเครื่องปดบังไตรลักษณทั้ง ๓ ประการนี้ได มีอยูเพียงทาง
เดียวเทานั้น นั่นคือปฏิบัติตามหลักสติปฏฐาน ๔๒๑ นี้เทานั้น ที่สามารถ
ทําลายวิปลาสและทําใหเกิดปญญาเห็นความจริงของรูป-นามได
อีกนัยหนึ่ง วิปสสนา หมายถึง เห็นตามเหตุตามการณดวยปญญา
ตามความเปน จริ ง๒๒ แต ที่มนุ ษย เ ห็ น ผิด ไปจากความเป น จริ งนั้ น ก็เ พราะ
วิปลาสธรรม ๓ ประการ คือ ทิฏฐิวิปลาส (ความเห็นผิด) จิตตวิปลาส (รูผิด)
และสัญญาวิปลาส (จําผิด) องคของวิปลาส มี ๔ คือ
๑) สุภวิปลาส สําคัญวารูป-นามสวยงาม
๒๐
วิสุทธฺ .ิ (บาลี) ๓/๒๗๕, วิสุทธฺ .ิ มหาฏีกา (บาลี) ๓/๕๒๒.
๒๑
ดูรายละเอียดใน ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๑๐๖/๒๕๔.
๒๒
ม.อุ.อ. (บาลี) ๓/๓๙๙/๒๔๗.
๑๓๗
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๒) สุขวิปลาส สําคัญวารูป-นามเปนสุข
๓) นิจจวิปลาส สําคัญวารูป-นามเที่ยง
๔) อัตตวิปลาส สําคัญวารูป-นามเปนตัวตน๒๓
วิปลาสธรรมนี้ เกิด ขึ้นเพราะไมไดกําหนดรูความจริงของรู ป-นาม
การที่จะละวิปลาสธรรมนี้ไดก็โดยการกําหนดรูป-นามตามนัยของสติปฏฐาน
๔ เทานั้น ในคัมภีรอรรถกถากลาววา สติปฏฐาน ๔ มุงแสดงการละหรือ
ทําลายวิปลาสธรรมทั้ง ๔ เปนหลัก คือ
๑) สุภวิปลาส กําจัดไดดวยการเจริญกายานุปสสนาสติปฏฐาน คือ
ละความสําคัญผิดวารูป-นามเปนของสวยงามเสียได
๒) สุขวิปลาส กําจัดไดดวยการเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน คือ
ละความสําคัญผิดวารูป-นามเปนสุขเสียได
๓) นิจจวิปลาส กําจัดไดดวยการเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน คือ
ละความสําคัญผิดวารูป-นามเปนของเที่ยงเสียได
๔) อัตตวิปลาส กําจัดไดดวยการเจริญธรรมานุปสสนาสติปฏฐาน
คือ ละความสําคัญผิดวารูป-นามเปนตัวเปนตนเสียได๒๔
ดวยเหตุผลดังกลาวนี้ จึงกลาวไดวาวิปสสนาและสติปฏฐานเปนสิ่ง
เดียวกันโดยความเปนเหตุเปนผลกัน คือวิปสสนาญาณจะมีขึ้นไมไดเลย หาก
ขาดกระบวนการพิจารณาธรรมตามแนวสติปฏฐาน ๔
ผลสําเร็จของการเจริญวิปสสนา คือ ไดบรรลุมรรค ผล นิพพาน ซึ่ง
เปนผลมาจากการปฏิบัติตามแนวทางที่ถูกตองเพียงหนึ่ งเดียวเทานั้น คือ
การเจริ ญ สติ ป ฏ ฐาน ๔ (เอกายนมรรค ๒๕) โดยการพิ จ ารณาธรรมตาม
กระบวนการอริยสัจ ๔ ปรากฏผลเปนสภาวญาณเปนขัน้ ๆ ไป ดังนี้

๒๓
ดูรายละเอียดใน องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๔๙/๔๔, วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๓๖๖.
๒๔
ที.ม.อ. (บาลี) ๒/๓๖๙, ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๑๐๖/๒๕๔, วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๓๖๑.
๒๕
องฺ.ทุกฺก. (ไทย) ๒๐/๘๘/๓๑๕, ขุ.ม.อ. (บาลี) ๓/๕๐.
๑๓๘
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๒.๑ วิปสสนาญาณ
ญาณ แปลวา ความรูอยางแจมแจง ความเห็นแจง๒๖ มีการตรัสรู
สภาวธรรมเป น ลั กษณะ มีการกําจั ด เสี ย ซึ่งโมหะอัน ป ด บังสภาวธรรม
ทั้งหลายเป น รส มีค วามหายหลงเป น ผล สมาธิ จั ด เป น เหตุ ใ กล ของญาณ
นั้น”๒๗ เปนธรรมชาติที่รูแจงตามความจริง ที่เรียกวา รูอริยสัจ ๔ คือ ทุกข
สมุทัย นิโรธ มรรค มีลักษณะแหงการรูสภาวธรรมดาแหงธรรมทั้งหลาย คือ
ลักษณะ ๓ มี อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา มีลักษณะสองแสงใหความสวาง และ
กําจัดความมืด หรือกําจัดอวิชชา คือ ความไมรู ซึ่งเปนเหมือนกับความมืด
อั น ทํ า ให ห ลงให สิ้ น สู ญ ไปขณะเดี ย วกั น ก็ ทํ า วิ ช ชา คื อ ความรู ซึ่ ง
เปรียบเสมือนความสวางใหเกิดขึ้น ทําใหหายจากความหลงมีลักษณะรูทั่วถึง
ธรรมทั้งหลายมีลักษณะการแทงตลอดสภาวธรรมทั้งปวง
ญาณ คื อ ป ญ ญาหรื อ อโมหะ มี อ งค ธ รรมเป น อั น เดี ย วกั น คื อ
ปญญาเจตสิก (จิตที่ประกอบกับปญญาเจตสิกเรียกวาญาณสัมปยุตต๒๘ หรือ
ปญญินทรีย) คือ ภาวะที่รูชัด ภาวะที่ฉลาด ความรูอยางแจมแจง ความเห็น
แจง ความรูดี)๒๙” ในคัมภีรวิสุทธิมรรคแสดงลักษณะแหงญาณไวดังนี้วา
“ญาณมีการตรัสรูสภาวะแหงธรรมเปนลักษณะ มีการกําจัดเสียซึ่ง
ความมืด คือโมหะ อันปดบังสภาวะแหงธรรมทั้งหลายเปนรส มีความ
หายหลงเป น ผล ส ว นสมาธิ จั ด เป น ปทัฏ ฐาน(คื อ เหตุ ใ กล ) ของญาณ
นั้น”๓๐ ซึ่งมีพระบาลีรับรองวา “สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ ปสฺสติ. ผูมี
จิตตั้งมั่นแลว(เปนสมาธิ) ยอมรูเห็นตามเปนจริง” ๓๑

๒๖
อภิ.สงฺ. (ไทย) ๓๔/๓๔/๓๓.
๒๗
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๗๖.
๒๘
มหามกุ ฎ ราชวิ ท ยาลั ย , อภิ ธั ม มั ต ถวิ ภ าวิ นี ฎี ก าแปล, พิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๕ ,
(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕), หนา ๙๖.
๒๙
อภิ.สงฺ. (ไทย) ๓๔/๓๔/๓๓.
๓๐
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๗๖.
๓๑
องฺ.ทสก. (บาลี) ๒๔/๒/๓.
๑๓๙
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ญาณ เปนปญญาเครื่องรูในอริยสัจ ๔ รูตามความเปนจริงในอริยสัจ
วา นี้เปนทุกข นี้เปนเหตุแหงทุกข นี้เปนการดับทุกข นี้เปนขอปฏิบัติใหถึง
ความดับทุกข และรูวา ทุกขควรกําหนดรู สมุทัยควรละ นิโรธควรทําใหแจง
มรรคควรเจริญ จนถึงที่สุดรูวา ทุกขไดรูแลว สมุทัยไดละแลว นิโรธไดทําให
แจงแลว และมรรคไดเจริญแลวดังปรากฏในธัมมจักกัปปวัตตนสูตรวา
ภิกษุทั้งหลาย ญาณทัสสนะ(สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ)๓๒ตาม
เปนจริงของเราในอริยสัจ ๔ เหลานี้ ๓ รอบ ๑๒ อาการ (หมายถึง สัจจ
ญาณ กิจจญาณ กตญาณ เกิดขึ้นเวียนไปในอริยสัจ ๔ ขอขอละ ๓ รอบ
(๔ x ๓ = ๑๒) รวมเปน ๑๒ รอบดังนี้
ก. (๑) นี้ทุกข (๒) ทุกขนี้ควรกําหนดรู (๓) ทุกขนี้กําหนดรูแลว
ข. (๑) นี้สมุทัย (๒) สมุทัยนี้ควรละ (๓) สมุทัยนี้ละแลว
ค. (๑) นี้นิโรธ (๒) นิโรธนี้ควรทําใหแจง (๓) นิโรธนี้ทําใหแจงแลว
ง. (๑) นี้มรรค (๒) มรรคนี้ควรทําใหเจริญ (๓) มรรคนี้ทําใหเจริญแลว)๓๓
อยางนี้ยังไมหมดจดดีตราบใด เราก็ยังไมยืนยันวา เปนผูตรัสรูสัมมา
สัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยมในโลก กับทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ใน
หมู สั ต ว พร อ มทั้ ง สมณพราหมณ เ ทวดา และมนุ ษ ย ต ราบนั้ น ภิ ก ษุ
ทั้งหลาย เมื่อใดความรูเห็นตามเปนจริงของเราในอริยสัจ ๔ เหลานี้ ๓
รอบ ๑๒ อาการอยางนี้หมดจดดีแลว เมื่อนั้นเราจึงยืนยันไดวาเปน ผู
ตรั ส รู สั มมาสั มโพธิ ญาณอัน ยอดเยี่ ย มในโลก กับ ทั้งเทวโลก มารโลก
พรหมโลก ในหมู สั ต ว พ ร อ มทั้ ง สมณพราหมณ เทวดา และมนุ ษ ย
ญาณทัสสนะเกิดขึ้นแกเราวาความหลุดพนของเราไมกําเริบ ชาตินี้เปน
ชาติสุดทาย บัดนี้ ภพใหมไมมีอกี ๓๔

๓๒
สํ.ม.อ. (ไทย) ๓/๑๐๘๑/๓๘๐., สารตฺถ.ฏีกา ๓/๑๖/๒๑๙.
๓๓
สํ.ม.อ. (ไทย) ๓/๑๐๘๑/๓๘๐., สารตฺถ.ฏีกา ๓/๑๖/๒๑๙.
๓๔
วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๖/๒๓-๒๔.
๑๔๐
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
วิป ส สนาญาณ คือ ปญญาหยั่ งรู หยั่งเห็ นโดยประการตางๆ ใน
สภาวะลักษณะของรูปและนามตามความเปนจริง วาสภาวธรรมทั้งหลายไม
เที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา ไมใชตัวตน เปนธรรมชาติที่รูแจงความจริง ๔
ประการ คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค๓๕ มีลักษณะรูสภาวธรรมดา ๓
ประการแหงธรรมทั้งหลาย คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา สองแสงใหความสวาง
และกําจัดความมืด คืออวิชชา (ความไมรู) ขณะเดียวกันก็ทําวิชชา คือ
ความรู ซึ่งเปรียบเสมือนความสวางใหเกิดขึ้น ทําใหหายจากความหลง รู
ทั่วถึงและแทงตลอดสภาวธรรมทั้งปวง สวนสมาธิจัดเปนเหตุใกลของญาณ
นั้น”๓๖
สภาวะญาณในการเจริญวิ ปสสนา จําแนกประเภทตามที่รู จักกัน
ทั่วไปออกไดเปน ๒ กลุมใหญๆ คือ วิปสสนาญาณ ๙ (สมถยานิก) และญาณ
๑๖ (วิปสสนายานิก)๓๗ ดังนี้
๑) สภาวญาณของสมถยานิก
ในคัมภี ร พระไตรป ฎ กแสดงวิ ป ส สนาญาณไว ๙ ขั้น มุงหมายถึ ง
ญาณที่นับเขาในวิปสสนา นําบุคคลผูปฏิบัติใหไปสูโลกุตตระปญญา หลุดพน
จากกิเลสอาสวะทั้งปวง นับตั้งแตญาณที่ ๔ อุทยัพพยญาณจนถึงญาณที่ ๑๒
อนุ โ ลมญาณ เพราะอุทยั พพยญาณเป น ญาณแรกที่ รู เ ห็ น ไตรลั ก ษณ ด ว ย
ปญญาชนิดที่เรียกวา ภาวนามยปญญาโดยตรง ไมตองอาศัยจินตามยปญญา
เขามาชวย เปนสภาวะญาณที่ปรากฏแกผูเจริญวิปสสนาแบบสมถยานิก๓๘
เมื่ อ เกิ ด วิ ป ส สนาญาณ ๙ แล ว จะเกิ ด ความรู แ จ ง เห็ น จริ ง คื อ
ญาณทัส สนวิสุ ทธิ และในระหว างนั้นจะเกิด ญาณครอบโคตร (ญาณที่อยู
ทามกลางระหวางเปนปุถุชนกับอริยชน) เปรียบเหมือนคนขามเรือ เมื่อเรือ
๓๕
อภิ.สงฺ. (ไทย) ๓๔/๓๔/๓๓.
๓๖
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๗๖.
๓๗
ข.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/๕๕.
๓๘
ดูรายละเอียดใน องฺ.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๒/๑๖๒/๓๘๗, องฺ.จตุกฺก.ฏีกา (บาลี)
๒/๑๖๒/๔๒๕.
๑๔๑
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น

ตารางเปรียบเทียบ วิปสสนายานิก กับ วิปสสนายานิก


วิปสสนายานิก สมถยานิก วิสุทธิ ๗ ไตรสิกขา
(ญาณ ๑๖) (วิปสสนาญาณ ๙ )
ศีล/ สีลวิสุทธิ ศีล
ศีล/ขณิกสมาธิ
อุปจารสมาธิ จิตตวิสุทธิ สมาธิ
และ
๑.นามรูปปริจเฉท ทิฏฐิวิสุทธิ
อัปปนาสมาธิ
๒. ปจจยปริคคห กังขาวิตรณวิสุทธิ
๓. สัมมสนญาณ มัคคามัคคญาณ
๔. ตรุณอุทยัพพย ทัสสนวิสุทธิ
๔.พลวอุทยัพพย ๑. อุทยัพพย
ขณิกสมาธิ

๕. ภังคญาณ ๒. ภังคญาณ

ศีล และสมาธิ?
๖. ภยญาณ ๓. ภยญาณ
๗. อาทีนวญาณ ๔. อาทีนว
อัปปนาสมาธิ

ปฏิปทาญาณ ปญญา
๘. นิพพิทาญาณ ๕. นิพพิทา ทัสสน
๙. มุญจิตุกัมยตา ๖.มุญจิตุกัมยตา- วิสุทธิ
๑๐. ปฏิสังขาญาณ ๗. ปฏิสังขาญาณ
๑๑. สังขารุเปกขา ๘. สังขารุเปกขา-
๑๒. อนุโลมญาณ ๙. อนุโลมญาณ
๑๓. โคตรภูญาณ
อัปปนาสมาธิสมบูรณ
อัปปนาสมาธิ

๑๔. มัคคญาณ
กอนบรรลุมรรค ผล ญาณทัสสนวิ
๑๕. ผลญาณ สุทธิ
๑๖. ปจจเวกขณ

เขาเทียบทาแลวกาวขาขางหนึ่งลงไปเหยียบบนเรือ สวนขาขางหนึ่งยังอยูบน
บก จะกล าวว าบุ รุษผู นี้อยูบ นบกหรื อในน้ําอยางใดอย างหนึ่ง เพียงอย าง
เดียวยอมไมได เพราะตามสภาพที่เปนจริง บุรุษคนนี้ไดอยูในทั้งน้ําและบน
บก สภาพจิ ต ของผู เขาถึงโคตรภูญาณนี้เ ป นเบื้ องต นแห งโสดาป ต ติมรรค
ญาณ เปรียบเหมือนแสงเงินแสงทอง เปนนิมิตหมายแหงพระอาทิตยกําลัง
๑๔๒
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
จะขึ้น ตัววิปสสนาญาณ ๙ และโคตรภูญาณนี้จะเรียงลําดับขั้นตอนที่จะให
จิต เขาถึงมรรค ผู ป ฏิ บัติ เ มื่อได ผ านขั้นตอนมาโดยลํ าดั บแล ว จะไดบ รรลุ
มรรคผล นิพพาน อันเปนเปาหมายสูงสุดแหงชีวิต
๒) สภาวญาณของวิปสสนายานิก
ญาณ ๑๖ นับตั้งแตนามรูปปริจเฉทญาณ จนถึง ปจจเวกขณญาณ
ซึ่งบังเกิดแกผูเจริญวิปสสนาแบบวิปสสนายานิก หรือสุทธวิปสสนา
ญาณ ๑๖ คือ ลําดั บญาณที่เกิดขึ้น ตามความเปน จริ งแกผูป ฏิบั ติ
วิปสสนาลวน หรือที่เรียกวา การเจริญสุทธญาณิกวิปสสนา ตามลําดับมี ๑๖
ประการ แบงออกเปน ๓ ระดับ คือ
๑. ญาณระดับตน เปนญาณเห็นรูป-เห็นนาม ไดแก นามรูปปริจเฉท
ญาณ ปจจยปริคคหญาณและสัมมสนญาณ ยังเปนญาณที่เปนไปดวยอํานาจ
สุตมยปญญา และจินตามยปญญาอยู ยังมีอารมณเปนสมถะ คือ เปน
บัญญัติอารมณผสมอยูมาก
๒. ญาณระดับกลาง เปนญาณเห็นไตรลักษณในรูป-นาม ไดแก
อุทยัพพยญาณ เปนญาณที่เปนไปดวยอํานาจภาวนามยปญญา แตยัง
มีจินตามยปญญาผสมอยูบาง มีอารมณเปนวิปสสสนา คือ มีรูป-นาม
ปรมัตถเปนอารมณ
๓. ญาณระดับสูง เปนญาณรูแจงพระไตรลักษณ เห็นความ ไมเที่ยง
เห็นความทนสภาพอยูไมได เห็นความไมใชตัวตนในทุกรูป-ทุกนามที่
กําหนดรู ไดแก ภังคญาณเปนตนไป เปนไปดวยอํานาจภาวนามยปญญา
โดยแท มีอารมณเปนปรมัตถลวน๓๙
ญาณ ๑๖ แบงออกเปน ๓ ระดับ คือ
๑. ญาณระดั บ ต น เป น ญาณ เห็ น รู ป เห็ น นาม ได แ ก นามรู ป
ปริจเฉทญาณ ปจจยปริคคหญาณ และสัมมสนญาณ ยังเปนญาณที่เปนไป
๓๙
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนานัย เลม ๑, พระพรหมโมลี
(สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.๙, M.A., Ph.D.) ตรวจชําระ, หนา ๖๙.
๑๔๓
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ดวยอํานาจสุตมยปญญา และจินตามยปญญา ยังมีอารมณสมถะ คือ เปน
บัญญัติอารมณผสมอยูมาก
๒. ญาณระดั บ กลาง เป น ญาณเห็ น ไตรลั ก ษณ ใ นรู ป นาม ได แ ก
อุทยัพพยญาณ เปนญาณที่เปนไปดวยอํานาจภาวนามยปญญา แตยังมีจิน
ตามยปญญาผสมอยูบาง
๓. ญาณระดับสูง เปนญาณรูแจงพระไตรลักษณ เห็นความไมเที่ยง
เห็นความทนสภาพอยูไมได เห็นความไมใชตัวตนในทุกรูปนามที่กําหนดรู ได
แก ภั ง คญาณ เป น ต น ไป เป น ไปด ว ยอํ า นาจภาวนามยป ญ ญาโดยแท มี
อารมณปรมัตถลวน การแบงญาณ ๑๖ ออกเปน ๓ ระดับ คือ ตน กลาง สูง
หรือเรียกอีกอยางวา ออน กลาง แก ก็เพื่อใหเห็นวา การพัฒนาปญญา หรือ
ญาณ นั้น เปนไปแบบคอยเปนคอยไป มีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงจากหยาบ
ไปสูความละเอียด ประณีต คือ เริ่มตนเห็นดวยตาเนื้อเห็นเปนบัญญัติจน
พัฒนาเปนเห็นดวยตาปญญา เห็นเปนปรมัตถ และมีการพัฒนาอินทรีย ๕
พละ ๕ ใหกลาแข็ง ขึ้นไปเปนลําดับๆ
๒.๒ ญาณ ๑๖ แบงออกเปน ๕ ระดับ คือ
๑. ทิฏฐิวิสุทธิ นามรูปานํ ยถาวทสฺสนํ ทิฏวิสุทฺธิ นาม๔๐ ปญญาที่
กําหนดรูเห็นลักษณะเฉพาะของสภาวธรรมทางกาย (รูป) และทางใจ(นาม)
แยกออกจากกันไดตามความเปนจริง คือ รูปมีสภาพเปลี่ยนแปลงชํารุดทรุด
โทรม นามมีสภาพนอมไปสูอารมณหรือรูอารมณนั้น ชื่อวา ทิฏฐิวิสุทธิ๔๑
ทิฏฐิวิสุทธิประกอบดวยญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ เปนปญญา
ที่กําหนดรูเห็น รูปนาม ตามสภาวะที่เปนจริง ที่ชื่อวา ทิฏฐิวิสุทธิ เพราะ
ชําระใจของโยคีบุคคลใหปราศจากสักกายทิฏฐิหรืออัตตทิฏฐิ
๒. กังขาวิตรณวิสุทธิ เอตสฺเสว ปน นามรูปสฺส ปจฺจยปริคฺคหเณน
ตีสุ อทฺธาสุ กงฺขํ วิตริตฺวา ิตํ าณํ กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ นาม.๔๒ ปญญาที่
๔๐
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๒๕๐.
๔๑
วิภาวิน.ี ฏีกา (บาลี) หนาที่ ๒๖๘. (มหามกุฏฯ)
๔๒
วิสุทธฺ .ิ (บาลี) ๒/๒๖๓.
๑๔๔
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
กําหนดรูเห็นในสภาวะของกาย(รูป) กับใจ(นาม) เปนเหตุปจจัยซึ่งกันและกัน
คือ ทั้งรู ปและนามเป น เหตุ เ ปน ผล ซึ่งกัน และกัน อยู ทุกขณะ” เป น ความ
บริสุทธิ์แหงปญญาเครื่องขามพนความสงสัย ไดแก ความบริสุทธิ์เพราะหาย
สงสัย คือ ขณะที่พิจารณาอยูพบเพียงเหตุและผล ที่ลวงมาแลวก็เพียงเหตุ
และผล ตอไปก็มีเพียงเหตุและผลเทานั้น ความรูนี้อยูในขั้นตีรณปริญญา คือ
รูสามัญญลักษณะ (อุปาทะ ฐีติ ภังคะ) ของไตรลักษณ
กั ง ขาวิ ต รณวิ สุ ท ธิ ป ระกอบด ว ยญาณที่ ๒ ป จ จยปริ ค คหญาณ
ปญญาที่กําหนดรูเห็นเหตุปจจัยของรูปนาม ที่เกิดภายในตน ชื่อวา กังขา
วิตรณวิสุทธิ เพราะกาวขามความสงสัย ๘ ประการ คือ
๑) พุทฺเธกงฺขติ สงสัยในพระพุทธคุณทั้ง ๙
๒) ธมฺกงฺขติ สงสัยในพระธรรมคุณทั้ง ๖
๓) สํฆกงฺขติ สงสัยในสังฆคุณทั้ง ๙
๔) สิกฺขาย กงฺขติ สงสัยในสิกขา คือ ขอปฏิบัติใน ศีล สมาธิ ปญญา
๕) ปุพฺพนเต กงฺขติ สงสัยในขันธ ๕ ที่เปนอดีต
๖) อปรนฺกงฺขติ สงสัยในขันธ ๕ ที่เปนอนาคต
๗) ปุพฺพนตาปรนฺเต กงฺขติ สงสัยในขันธ ๕ ที่เปนอดีตและอนาคต
๘) อิ ท ปฺ ป จฺ จ ยตาปฏิ จฺ จ สมฺ ปฺ ป นฺ เ นสุ ธมฺ เ มสุ กงฺ ข ติ . สงสั ย ใน
ปฏิจจสมุปบาท
๓. มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความเห็นอันบริสุทธิ์ที่เกิดขึ้นวา
เปนทางหรือมิใชทาง คือสามารถตัดสินใจไดวา การยินดีในนิมิตเปนทางผิด
การกําหนดเทานั้นจึงจะเปนทางถูก ญาณจึงจะแจมชัดขึ้นอีก๔๓
มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ประกอบดวย ญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ
คือ ญาณที่ไตรตรองในลักษณะทั้ง ๓ ของรูปนาม และอุทยพยญาณเบื้องตน
คื อ ป ญ ญาที่ เ ห็ น ความเกิ ด ขึ้ น และดั บ ไปของรู ป นาม แต ยั ง อ อ นอยู ใน
ระหวางนั้นเปน มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ เพราะวาวิปสสนาญาณทั้งสอง
นี้ชําระใจใหพนจากคาหะทั้ง ๓ คือ ความยึดมั่นโดยตัณหา มานะ ทิฏฐิใน

๔๓
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๒๙๘/๒๙๕.
๑๔๕
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
อุ ป กิ เ ลส ๑๐ อย า ง ซึ่ ง เป น หนทางผิ ด เสี ย ได ฉะนั้ น เมื่ อ อุ ท ยั พ ยญาณ
เบื้ องต น (อย างออน) ของโยคีที่เ ห็ น ความเกิด ดั บ ของรู ปนามนั้ น เกิด ขึ้น
ติดตอกันไมขาดสายโดยสะดวกสบาย แมวาจะมีอุปกิเลส ๑๐ อยาง อยางใด
อยางหนึ่งเกิดขึ้นรบกวนขัดของอยูก็ตาม ใจก็ไมเขาไปเกาะเกี่ยวยุงอยูกับ
อุปกิเลส ๑๐ นี้ แตประการใด คงเห็นอยูแตความเกิดดับของรูปนาม ตอไป
อยางไมหยุดหยอนเวลานั้นแลไดชื่อวา มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ
๔. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ปญญาที่บริสุทธิ์เขาถึงทางที่ถูก ตรง
สูพระนิพพานโดยถูกตองแลว หมายถึง อารมณอันเปนปฏิปทาที่ถูกตอง
ตัณหาและทิฏฐิไมสามารถเขาไปในอารมณนั้นได มีไตรลักษณในนาม-รูป
เปนอารมณ เปนตัวถูกรู สวนปญญาเปนตัวรูอารมณไตรลักษณนั้น ความรู
เชนนี้ เปนปจจัยแกวิปสสนาญาณเบื้องสูงตอเนื่องไปถึงโคตรภูญาณ มีดังนี้
ปฏิ ป ทาญาณทัส สนวิ สุ ทธิ ประกอบด ว ย ๙ ญาณ คือ ญาณที่ ๔
อุทยัพพยญาณ ญาณที่ ๕ ภังคญาณ ญาณที่ ๖ ภยญาณ ญาณที่ ๗ อาทีนว-
ญาณ ญาณที่ ๘ นิพพิทาญาณ ญาณที่ ๙ มุญจิตุกัมยตาญาณ ญาณที่ ๑๐
ปฏิ สังขาญาณ ญาณที่ ๑๑ สังขารุเ ปกขาญาณ ญาณที่ ๑๒ อนุ โลมญาณ
เพราะวาวิปสสนาญาณทั้ง ๙ นี้ ชําระใจใหพนจากความสําคัญผิดทั้ง ๓ มี
นิจจสัญญา สุขสัญญา อัตตสัญญา จึงไดชื่อวา ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ
๕. ญาณทัสสนวิสุทธิ ความบริสุทธิ์แหงปญญาในมรรคญาณ ที่เห็น
แจงพระนิพพาน เปนปญญาขั้นสูงสุดของการเจริญวิปสสนาจนเห็นอริยสัจ
ทั้ง ๔ ครบถวน คือ ตั้งแตวิสุทธิที่ ๑ ถึงวิสุทธิที่ ๖ นั้นรูอริยสัจเพียง ๒
สัจจะ คือ รูทุกขสัจกับสมุทัยสัจ สวนญาณทัสสนวิสุทธิเปนโลกุตตรวิสุทธิ
เพราะรูแจงอริยสัจทั้ง ๔ ทั้งนี้วิสุทธิแตละอยางจะเปนปจจัยแกกันและกัน
ตามลําดับ ไมมีการขามขั้น
ญาณทัสสนวิสุทธิประกอบดวยญาณที่ ๑๔ มรรคญาณ ญาณที่ ๑๕
ผลญาณ ญาณที่ ๑๖ ปจจเวกขณญาณ ที่ชื่อวา ญาณทัสสนวิสุทธิ เพราะ
ชําระใจใหพนจากมลทิน คือ โมหะความหลง ความไมรูเรื่อง ๘ อยางเสียได
เรื่ อง ๘ อย างนั้ น คือ ๑) ไมรู ว ากายใจนั้ นเป นทุกข ๒) ไมรู ว าความยิ น ดี
พอใจนั้นเปนเหตุใหเกิดทุกข ๓) ไมรูวาพระนิพพานนั้นเปนธรรมที่ดับทุกข
๑๔๖
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๔) ไมรูวาองคมรรค ๘ นั้นเปนขอปฏิบัติใหถึงซึ่งพระนิพพาน ๕) ไมรูในภพ
ชาติที่เคยมีมา หมายถึง ไมมีความเชื่อในภพกอนๆ ๖) ไมรูภพชาติที่จะมีใน
ขางหนา หมายถึง ไมเชื่อในการที่จะเกิดตอไป ๗) ไมรูในภพชาติที่เคยมีมา
และจะมีตอไป หมายถึง ไมมีความเชื่อทั้งในภพกอนและภพหนา คงเชื่ออยู
แตในปจจุบันภพนี้วา มีการกําเนิดขึ้นมาจากบิดามารดา เมื่อตายแลวก็หมด
เรื่องกัน และ ๘) ไมรูในความเปนไปแหงสัตวทั้งหลายวา ไดแก ธรรมที่เปน
เหตุ และ เป น ผล มี อวิ ช ชา ตั ณ หา เป น ที่ อาศัย และเกิด ขึ้น ติ ด ต อ เกี่ ย ว
เนื่องกัน ในระหวางที่ยังไมเขาถึงพระนิพพานนั้นวา ไมใชธรรมที่เปนเหตุเปน
ผลแตอยางใด คงเกิดขึ้นและเปนไปตามอํานาจของพระเจาที่ไดจัดสรางขึ้น
การแบงญาณ ๑๖ ออกเปน ๕ ระดับ ตามวิสุทธิ ๕ ก็เ พื่อแสดงใหเห็นใน
มุมมองของพัฒนาการทางปญญาที่คอยๆ พัฒนาขึ้นเปนลําดับ โดยเห็นรูป
นามตามความเปนจริงครบทั้ง ๕ ระดับที่เรียกวา วิสุทธิ ๕ ซึ่งหมายความวา
กิเลสจะคอยๆ ลดลงๆ ตามปญญาที่พัฒนาขึ้นเปนลําดับๆ รูจักทางที่ถูกตอง
ของการปฏิบัติมากขึ้นๆ และมีความเห็นที่ถูกตองเพิ่มมากขึ้นๆ จนถึงที่สุด
หมดกิเลสอยางสิ้นเชิง
๒.๓ การบรรลุธรรม ๗ แบบ
การบรรลุธรรม คือ การเกิดปญญาเห็นแจงโลกุตตรธรรม ๙๔๔ และ
อริยสัจ ๔๔๕ ขั้นสูงสุดก็คือ การบรรลุวิชชา๔๖และวิมุตติ๔๗นั่นเอง สําเร็จเปน
พระอริยบุคคล ๔ จําพวก คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี

๔๔
โลกุตตรธรรม ๙ คือ อริยมรรค ๔ สามัญญผล ๔ และนิพพาน ๑ ดูใน ม.มู.อ.
(บาลี) ๒/๓๑๑/๑๓๙. และดู ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๔๗๘/๓๖๑. (อริยมรรค ๔ คือ โสตาปตติ
มรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตมรรค ดูในองฺ.ปฺจก.อ. (บาลี) ๓/๕๗/
๓๑. สามัญญผล (ผลแหงความเปนสมณะ) ๔ ไดแก ๑. โสดาปตติผล ๒. สกทาคามิผล
๓. อนาคามิผล ๔. อรหัตผล ดูใน ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๕๔/๓๗๘.)
๔๕
ดูใน สํ.ม. (บาลี) ๑๙/๑๐๙๑/๓๗๖, สํ.ม. (ไทย)๑๙/๑๐๙๑/๖๐๕.
๔๖
วิชชา หมายถึง ความรูแจงอรหัตมรรค, สํ.สฬา.อ. (บาลี) ๓/๕๓-๖๒/๑๔.
๔๗
วิมุตติ หมายถึง ผลวิมุตติ, ม.อุ.อ. (บาลี) ๓/๔๓๓/๒๕๔.
๑๔๗
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๔๘
และพระอรหั น ต โดยการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก ไตรสิ ก ขา เจริ ญ สมถะและ
วิปสสนา ตามหลักการเจริญสติปฏฐาน ๔ จนเห็นแจงพระไตรลักษณตาม
ความเปนจริง เมื่อวิปสสนาญาณแกกลาดําเนินตามวิปสสนาวิถี ผูปฏิบัติ
สามารถรูแจงแทงตลอดอริยสัจ ๔ ละสังโยชนและอนุสัย ไดตามกําลังของ
มรรค บรรลุมรรคผล นิพพาน สําเร็จเปนพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา
คัมภีรอรรถกถาอธิบายวา “อภิสมโยติ สจฺจานํ อภิมุเขน สมาคโม
ปฏิเวโธ.”๔๙ การบรรลุ คือ การแทงตลอดสัจจะทั้งหลายเฉพาะหนา ชื่อวา
การตรัสรู มีปรากฏทั้งคฤหัสถและบรรพชิตทีม่ ีอายุไมต่ํากวา ๗ ป๕๐
บุคคลผูไดบรรลุธรรมแลว จําแนกเปน ๗ ประเภท๕๑ ดังนี้
๑. ทานผูเปนอุภโตภาควิมุตติ คือ ผูหลุดพนทั้งสองสวน ไดแกหลุด
พน จากรู ปกายด ว ยอรู ปสมาบั ติ และหลุ ดพน จากนามกายดว ยอริ ย มรรค
ไดแก พระอรหันตผูบําเพ็ญสมถภาวนาไดสัมผัสวิโมกข ๘ หมายถึง สมาบัติ
๘๕๒ และนิโรธสมาบัติดวยนามกาย ไดเจโตวิมุตติขั้นอรูปสมาบัติ และสิ้นอา-
สวะเพราะเห็นอริยสัจ ๔ ดวยปญญาแลว ไดปญญาวิมุตติดวย๕๓
ผูปฏิบัติสมถภาวนาดวยกสิณ ๑๐ อานาปานาสติ หรืออัปปมัญญา
๔ เมื่อไดรูปฌานสมบูรณ แลวตอดวยเจริญอรูปสมาธิ ๔ จนจิตหลุดพนจาก
รูปกาย ดวยนามกายเปนเจโตวิมุตติ ไดสัมผัสสันตวิโมกข๕๔ นําเอาสภาพ
ธรรมที่ประกอบกับจิตนั้นมาเปนพื้นฐานเจริญวิปสสนา ในหมวดธัมมานุปสส

๔๘
ดูในวิสุทธิ. (บาลี) ๒/๘๑๑-๘๑๕/๓๕๖-๓๕๙.
๔๙
ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๑๙/๓๕๒.
๕๐
ดูรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๑/๕๒,๑๑๑/๒๘๕, ๕๐๘.
๕๑
ดูใน องฺ.สตฺตก. (บาลี) ๒๓/๑๔/๙, องฺ.สตฺตก. (ไทย) ๒๓/๑๔/๒๐-๒๑.
๕๒
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๒๙/๗๕, องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๐.
๕๓
ดูใน องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๐, องฺ.นวก.อ. (บาลี) ๓/๔๕/๓๑๖.
๕๔
สันตวิโมกข หมายถึง อรูปสมาธิที่พนไดอยางสิ้นเชิง เพราะพนจากธรรมที่
เป น ข า ศึ ก กล า วคื อ นิ ว รณ ๕ ประการ และเพราะไม เ กี่ ย วข อ งในอารมณ เป น ต น
(องฺ.ทสก.อ. (บาลี) ๓/๙/๓๒๐)
๑๔๘
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
นาตอไป คือ พิจารณาธรรมที่ปรากฏชัด จนพิจารณาเห็นธรรมที่เปนอารมณ
ดับไป และเห็นจิตนั้นดับไปดวย เกิดวิปสสนาญาณไปตามลําดับ จนไดบรรลุ
มรรค ผล นิพพาน
โยคาวจรผูบรรลุโสดาปตติมรรคแลว และกําลังปฏิบัติเพื่อทําใหแจง
ซึ่งโสดาปตติผล มีศรัทธาแกกลาเปนตัวนํา ชื่อวาสัทธานุสารี ทานผูเปน
สัทธานุสารีนี้ภายหลังบําเพ็ญสมถภาวนาจนสมาบัติ ๘ สมบูรณพรอมกับได
บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เปนเจโตวิมุตติ๕๕ที่หลุดพนจากอารมณฌานอยาง
สิ้นเชิง ไดสัมผัสสันตวิโมกข นําเอาสภาพธรรมที่ประกอบกับจิตนั้นมาเปน
พื้นฐานเจริญวิปสสนาตอไป จนหลุดพนจากนามกาย ดวยอริยมรรค๕๖ เมื่อ
บรรลุโสดาปตติผลแลว กําลังปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรคผลเบื้องสูง เปนกายสักขี
และเมื่อบรรลุอรหัตผลกลายเปนอุภโตภาควิมุตติ๕๗ ดังที่พระพุทธเจาตรัส
กับพระอานนทวา
อานนท วิโมกข๕๘ ๘ ประการนี้ คือ
๑) บุคคลผูมีรูป เห็นรูปทั้งหลาย นี้เปนวิโมกขประการที่ ๑
มีรูป หมายถึงไดรูปฌานโดยเจริญกสิณที่กําหนดวัตถุในกายของตน
เชน สีผม เห็นรูปทั้งหลาย หมายถึงเห็นรูปฌาน ๔๕๙
๒) บุ คคลผู มีอรู ปสั ญญาภายใน เห็ นรู ป ทั้งหลายภายนอก นี้เ ป น
วิโมกขประการที่ ๒
เห็นรูปทั้งหลายภายนอก หมายถึงเห็นรูปทั้งหลายมี นีลกสิณ เปน
ตน ดวยญาณจักขุ
๓) บุคคลผูนอมใจไปวา ‘งาม’ นี้เปนวิโมกขประการที่ ๓

๕๕
ดูใน องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๐, องฺ.นวก.อ. (บาลี) ๓/๔๕/๓๑๖.
๕๖
ดูใน ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๖๙/๑๗๗.
๕๗
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔๗๔-๗๗/๓๕๘-๓๖๑, ที.ม.อ. (ไทย) ๒/๑๔๔.
๕๘
ที.ปา. ๑๑/๓๓๙/๒๓๑, ๓๕๘/๒๗๑-๒๗๒, ม.ม. ๑๓/๒๔๘/๒๒๓, องฺ.อฏฐก.
(ไทย) ๒๓/๖๖/๓๖๘-๓๖๙.
๕๙
ที.ม.อ. (บาลี) ๑๒๙/๑๑๒-๑๑๓.
๑๔๙
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ผู น อมใจไปว างาม หมายถึงผู เ จริ ญวั ณณกสิ ณ กําหนดสี ที่งาม๖๐
๔) บุคคลบรรลุอากาสานัญจายตนฌานโดยกําหนดวา ‘อากาศหา
ที่สุดมิได’อยู เพราะลวงรูปสัญญา ดับปฏิฆสัญญา ไมกําหนดนานัตตสัญญา
โดยประการทั้งปวง นี้เปนวิโมกขประการที่ ๔
๕) บุคคลลวงอากาสานัญจายตนฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุ
วิญญาณัญจายตนฌานโดยกําหนดวา ‘วิญญาณหาที่สุดมิได’ อยู นี้เปน
วิโมกขประการที่ ๕
๖) บุคคลลวงวิญญาณัญจายตนฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุอา
กิญจัญญายตนฌานโดยกําหนดวา ‘ไมมีอะไร’ อยู นี้เปนวิโมกขประการที่ ๖
๗) บุคคลลวงอากิญจัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุเนว
สัญญานาสัญญายตนฌานอยู นี้เปนวิโมกขประการที่ ๗
๘) บุ คคลล ว งเนวสั ญญานาสั ญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง
บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยู นี้เปนวิโมกขประการที่ ๘
ผูเขาวิโมกข ๘ ประการนี้ ทั้งโดยอนุโลมและปฏิโลมบาง เขาหรือ
ออกไดตามโอกาสที่ตองการ ตามชนิดสมาบัติที่ตองการ และตามระยะเวลา
ที่ตองการ ทําใหแจงเจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ อันไมมีอาสวะเพราะอาสวะสิ้น
ไป ดวยปญญาอันยิ่งเองเขาถึงอยูในปจจุบัน เรียกวา ผูเปนอุภโตภาควิมุตติ
อานนท อุภโตภาควิมุตติอยางอื่นที่ดีกวาหรือประณีตกวาอุภโตภาควิมุตตินี้
ไมม”ี ๖๑

๖๐
ที.ม.อ. (บาลี) ๑๒๙/๑๑๒-๑๑๓.
๖๑
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๒๙-๑๓๐/๗๕-๗๖, องฺ.สตฺตก.อ.(บาลี) ๓/๑๔/๑๖๐,
องฺ.นวก.อ. (บาลี) ๓/๔๕/๓๑๖.
๑๕๐
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
วิโมกข ๘ คือ การแสดงสมาบัติทั้งหลาย โดยดํ าเนินไปจนครบถึงอนุ
ปุพพวิหารสมาบัติ ๙
วิโมกข ที่ ๑
วิโมกข ที่ ๒ รูปฌาน ๔
วิโมกข ที่ ๓
วิโมกข ที่ ๔ สมาบัติ ๘
วิโมกข ที่ ๕
วิโมกข ที่ ๖ อรูปสมาธิ ๔ อนุปุพพวิหาร (สมาบัติ) ๙
วิโมกข ที่ ๗
วิโมกข ที่ ๘ = นิโรธสมาบัติ
ผูเป นอุภโตภาควิมุตติ เปน อย างไร คือ บุคคลบางคนในโลกนี้ ได
สัมผัสสันตวิโมกข๖๒ ซึ่งไมมีรูปเพราะลวงรูปฌานไดดวยกายอยู และอาสวะ
ทั้งหลายของผูนั้นสิ้นไปเพราะเห็นดวยปญญานี้เรียกวาเปนอุภโตภาควิมุตติ๖๓
๒. ทา นผูเ ปน ปญญาวิมุต ติ คือ ผู ห ลุ ด พน ด ว ยป ญญา หมายถึ ง
พระอรหันตผูบําเพ็ญวิปสสนาลวนๆ หรือผูบําเพ็ญรูปฌาน ๔ อรูปสมาธิ ๔
แตมิไดสัมผัสสันตวิโมกข สิ้นอาสวะเพราะเห็นอริยสัจ ๔ ดวยปญญา๖๔
๓. ทานผูเปนกายสักขี คือ ผูเปนพยานดวยนามกาย หรือ ผู
ประจักษกับตัว คือ ทานที่ไดสัมผัสวิโมกข ๘ ดวยกาย และอาสวะบางสวนก็
สิ้นไปเพราะเห็นอริยสัจ ๔ ดวยปญญา๖๕ หมายเอาพระอริยบุคคลผูบรรลุ

๖๒
สันตวิโมกข หมายถึง อรูปสมาธิที่พนไดอยางสิ้นเชิง เพราะพนจากธรรมที่
เปนขาศึกกลาวคือ นิวรณ ๕ (องฺ.ทสก.อ. (บาลี) ๓/๙/๓๒๐.)
๖๓
ม.ม. (ไทย) ๑๓/๑๘๒/๒๐๘.
พระอรหั นตอุภโตภาควิมุ ตตินี้ ยอ มไดทั้งเจโตวิมุ ตติและป ญญาวิมุต ติ เจโต
วิมุตติเปนผลของสมถะขั้นอรูปสมาธิขึ้นไป ปญญาวิมุตติเปนผลของวิปสสนา อปเจตฺถ
สมถผลํ เจโตวิมุตฺติ, วิปสฺสนาผลํ ปฺาวิมุตฺตีติ เวทิตพฺพา. (ขุ.อิติ.อ. (บาลี) ๘๒/
๒๘๘), อง.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๘๗/๙๙, อง.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๘๗/๑๓๓.
๖๔
ดูใน องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๑, อภิ.ปฺจ.อ. (บาลี) ๒๕/๔๙.
๖๕
องฺ.ทุก.อ.(บาลี) ๒/๔๙/๕๕, องฺ.สตฺตก.อ.(บาลี) ๓/๑๔/๑๖๑.
๑๕๑
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
โสดาปตติผลขึ้นไป และจนถึงผูกําลังปฏิบัติเพื่ออรหัตผล ที่มีสมาธินทรียแก
กลายิ่ง คือ ไดแกอรูปสมาธิขั้นใดขั้นหนึ่ง ในการปฏิบัติ๖๖ จัดอยูในผูมีศรัทธา
แกกลาดวย ทานผูนี้ถาบรรลุอรหัตผลกลายเปนอุภโตภาควิมุตติ๖๗
๔. ทานผูเปนทิฏฐิปตตะ คือ ผูบรรลุสัมมาทิฏฐิ หมายถึง ทานผู
เขาใจอริยสัจถูกตองและอาสวะบางสวนก็สิ้นไปเพราะเห็นดวยปญญา ไดแก
พระอริยบุคคลผูบรรลุโสดาปตติผลขึ้นไปจนถึงผูปฏิบัติเพื่อพระอรหันต ที่
มีปญญินทรียแกกลาในการปฏิบัต๖๘ ิ
๕. ทานผูเปนสัทธาวิมุต คือ ผูหลุดพนดวยศรัทธา หมายถึง ทานผู
เขาใจอริยสัจถูกตอง ไดแก พระอริยบุคคลผูบรรลุโสดาปตติผลขึ้นไป จนถึงผู
ปฏิบัติเพื่อบรรลุพระอรหันตที่มีสัทธินทรียแกกลา
๖. ทานผูเปนธัมมานุสารี คือ ผูแลนไปตามธรรม(ปญญา) หมายถึง
พระอริยบุคคลผูดํารงอยูในโสดาปตติมรรค กําลังปฏิบัติเพื่อบรรลุโสดาปตติ
ผล มีปญญาแกกลาเปนตัวนํา อริยบุคคลผูปฏิบัติเพื่อทําใหแจงซึ่งโสดาปตติ
ผล มีปญญาแกกลาเปนตัวนํา ชื่อวา ธัมมานุสารี
อริยบุคคลผูตั้งอยูแลวในผล คือ โสดาปตติผล สกทาคามิผล หรือ
อนาคามิผล มีปญญาแกกลาเปนตัวนํา ชื่อวาทิฏฐิปตตะ ถาบรรลุอรหัตผล
โดยมีสมาธิระดับอรูปสมาธิ ๔ เปนบาทฐานกลายเปนอุภโตภาควิมุตติ ถา
บรรลุ อรหั ต ผลโดยมีส มาธิ ร ะดั บรู ป ฌาน ๔ หรื อขณิกสมาธิ เ ป นบาทฐาน
กลายเปนปญญาวิมุตติ
๗. ทานผูเปนสัทธานุสารี คือ ผูแลนไปตามศรัทธา หมายถึง พระ
อริยบุคคลผูดํารงอยูในโสดาปตติมรรค กําลังปฏิบัติเพื่อบรรลุโสดาปตติผล มี
ศรัทธาแกกลาเปนตัวนํา๖๙
อริยบุคคลผูปฏิบัติเพื่อทําใหแจงซึ่งโสดาปตติผล มีศรัทธาแกกลา

๖๖
ดูใน องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๑, อภิ.ปฺจ.อ. (บาลี) ๒๖/๔๙.
๖๗
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔๗๔-๗๗/๓๕๘-๓๖๑, ที.ม.อ. (ไทย) ๒/๑๔๔.
๖๘
ดูใน องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๑, อภิ.ปฺจ.อ. (บาลี) ๒๗/๔๙-๕๐.
๖๙
ดูใน องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๒, อภิ.ปฺจ.อ. (บาลี) ๓๐/๕๐-๕๓.
๑๕๒
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
เปนตัวนํา ชื่อวา สัทธานุสารี
อริยบุคคลผูตั้งอยูแลวในผล คือ โสดาปตติผล สกทาคามิผล หรือ
อนาคามิผล มีศรัทธาแกกลาเปนตัวนํา ชื่อวา สัทธาวิมุต๗๐
ทานผูนี้ถาบรรลุอรหัตผล โดยมีสมาธิระดับอรูปสมาธิ ๔ หรือ นิโรธ
สมาบัติ เปนบาทฐาน กลายเปนอุภโตภาควิมุตติ ถาบรรลุอรหัตผล โดยมี
สมาธิระดับรูปฌาน ๔ เปนบาทฐาน กลายเปนปญญาวิมุตติ
อนึ่ง อริยบุคคล ๗ จําพวกในเบื้องตนนี้ ในลําดับที่ ๑ ถึง ๕ จัดเปน
พระเสขบุคคล และลําดับที่ ๖ ถึง ๗ จัดเปนพระอเสขบุคคล สามารถแสดง
ใหเห็นเปนลําดับอยางตอเนื่องไดดังนี้
๑. สัทธานุสารี ๓. สัทธาวิมตุ ๖. ปญญาวิมุตติ
๒. ธัมมานุสารี ๔. ทิฏฐิปตตะ
+ วิโมกข ๘ ๕. กายสักขี ๗. อุภโตภาควิมุตติ
กลาวโดยสรุปบุคคลประเภทที่ ๑ และ ๒ (อุภโตภาควิมุตติ และ
ปญญาวิมุตติ) ไดแกพระอรหันต ๒ ประเภท บุคคลประเภทที่ ๓, ๔ และ ๕
(กายสักขี ทิฏฐิปปตตะ และสัทธาวิมุตติ) ไดแกพระโสดาบัน พระสกทาคามี
พระอนาคามี และทานผูตั้งอยูในอรหัตมรรค จําแนกเปน ๓ พวกตาม
อินทรียที่แกกลา เปนตัวนําในการปฏิบัติ คือ สมาธินทรีย หรือปญญินทรีย
หรือสัทธินทรียบุคคลประเภทที่ ๖ และ ๗ (ธัมมานุสารี และสัทธานุสารี)
ไดแก ทานผูตั้งอยูในโสดาปตติมรรค จําแนกตามอินทรียที่เปนตัวนําในการ
ปฏิบัติ คือ ปญญินทรีย หรือสัทธินทรีย
พระสารีบุตรเถระเรียกผูที่ปฏิบัติโดยมีสัทธินทรียเปนตัวนําวาเปน
สัทธาวิมุตติ และตั้งแตบรรลุโสดาปตติผลไปจนบรรลุอรหัตผลปฏิบัติโดยมี
สมาธินทรียเปนตัวนํา เรียกวาเปนกายสักขี ตั้งแตบรรลุโสดาปตติมรรคไปจน
บรรลุ อรหั ต ผล เรี ย กผู ที่ ป ฏิ บั ติ โ ดยมีป ญ ญิน ทรี ย เ ป น ตั ว นํ าว า เป น ทิฏ ฐิ ป
ปตตะ ตั้งแตบรรลุโสดาปตติผลไปจนบรรลุอรหัตผล โดยนัยนี้จึงมีคําเรียก
๗๐
องฺ.ทุก.อ. (บาลี) ๒/๔๙/๕๕, องฺ.สตฺตก.อ.(บาลี) ๓/๑๔/๑๖๒.
๑๕๓
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
พระอรหันตวา สัทธาวิมุตติ หรือกายสักขี หรือทิฏฐิปตตะ ไดดวย๗๑
คัมภีรมหาฎีกาอธิบายวา ผูไมไดวิโมกข ๘ เมื่อตั้งอยูแลวในโสดา
ปตติมรรค เปนสัทธานุสารี หรือธัมมานุสารี ตอจากนั้น เปนสัทธาวิมุตติ
หรือทิฏฐิปปตตะ จนไดสําเร็จอรหัตผล จึงเปนประเภทปญญาวิมุตติ
ผูไดวิโมกข ๘ เมื่อตั้งอยูในโสดาปตติมรรค เปนสัทธานุสารี หรือ
ธัมมานุสารี อยางใดอยางหนึ่ง ตอจากนั้นเปนกายสักขี เมื่อสําเร็จอรหัตผล
จึงเปนพระอริยบุคคลประเภท อุภโตภาควิมุตติ๗๒
บุคคลประเภทกายสักขีนี่เองที่ไดชื่อวา สมถยานิก สวนคําวา
ปญญาวิมุตติ บางแหงมีคําจํากัดความแปลกออกไปจากนี้วา ไดแกผูที่บรรลุ
อรหันต โดยไมไดโลกียอภิญญา ๕ และอรูปสมาธิ ๔๗๓

๓. การเจริญวิปสสนาของสมถยานิก
ภิกษุผูบรรลุฌานแลวควรเขาฌานบอยๆ เมื่อเกิดความชํานาญใน
การเข า ฌานแล ว จึ ง ยกองค ฌ าน (ป ติ สุ ข ) ขึ้ น สู พ ระไตรลั ก ษณ เจริ ญ
วิปสสนา เพื่อใหฌานเปนบาทตามลําดับ เรียกวา อนุปทธัมมวิปสสนา การ
หยั่งเห็นธรรมตามลําดับสมาบัติและองคฌาน๗๔
การเจริญวิปสสนาโดยมีสมถะนําหนา อรรถกถาพระวินัยอธิบายวา
“ผูบํ าเพ็ญเพีย รทําให จตุ ต ถฌานเกิดแล ว ใคร จ ะเจริ ญกรรมฐาน
โดยวิธี สัลลักขณา (คือวิปสสนา) และวิวัฏฏนา (คือมรรค) แลวบรรลุปาริ
สุทธิ (คือผล) ในอานาปานสติภาวนานี้ตอไป ยอมทําฌานนั้นแลใหถึง
ความเป น วสี ด ว ยอาการ ๕ แคล ว คล อ งแล ว กํ า หนดรู ป -นามเจริ ญ
วิปสสนา”๗๕
๗๑
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒๑/๓๗๑.
๗๒
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ มหาฎีกา (บาลี) ๒/๗๗๒/๕๑๓-๕๑๕.
๗๓
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๓๒/๓๓๗.
๗๔
ม.อุ.อ. (บาลี) ๔/๕๘.
๗๕
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒/๔๑๔, ๓๑/๕๓๕/๔๓๓.
๑๕๔
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ถามวา เริ่มตั้งอยางไร? ตอบวา อันภิกษุนั้นออกจากสมาบัติแลว
ยอมเห็นไดวา กรัชกาย๗๖และจิตดวย เปนสมุทัยแหงลมอัสสาสะปสสาสะ
ทั้งหลาย เปรียบเหมือนเมื่อเตาสูบของชางทอง ถูกชักสูบอยู ลมอาศัยสูบ
และความพยายามที่ควรแกการนั้นของบุรุษประกอบกัน ยอมเขา-ออกไดฉัน
ใดลมอัสสาสะปสสาสะก็อาศัยกายและจิตประกอบกัน เขา-ออกไดฉันนั้น
เหมือนกัน จากนั้นยอมกําหนดลงไดวา ลมอัสสาสะปสสาสะและกายดวย
เปนรูป จิตและธรรมที่สัมปยุตกับจิตนั้น เปนอรูป ครั้นกําหนดรูป-นามได
อยางนี้แลวก็หาปจจัยของรูป-นามดู เมื่อหาดูเห็นเหตุปจจัยแลวก็ขามความ
สงสัยปรารภความเปนไปแหงรูป-นามในกาลทั้ง ๓ เสียได ผูขามความสงสัย
ไดแลว ยกขึ้นสูไตรลักษณโดยพิจารณาเปนกลาป ละวิปสสนูปกิเลสทั้ง ๑๐
อันเกิดขึ้นในสวนเบื้องตนแหงอุทยัพพยานุปสสนาเสีย กําหนดเห็นปฏิปทา
ญาณอันพนจากอุปกิเลสแลววาเปนทาง ละการพิจารณาขางเกิดแลวก็ถึงภัง
คานุปสสนา ดูแตขางดับ แลวก็เบื่อหนายหายรักในสังขารที่ปรากฏโดยความ
เปนของนากลัว เพราะเห็นแตขางดับหาระหวางมิได หลุดพนไปถึงอริยมรรค
๔ ตามลําดับ ตั้งอยูในอรหัตผลถึงที่สุดแหงปจจเวกขณญาณ๗๗
คัมภีรอังคุตตรนิกายอธิบายการปฏิบัติของสมถยานิกบุคคล วา
“ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในศาสนานี้สงัดแลวจากกามคุณ สงัด
แลวจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌานที่มีวิตก มีวิจาร มีปติ และสุขเกิดแต
วิเวกอยู เธอยอมหยั่งเห็นธรรมเหลานั้น คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
และวิ ญญาณ ในขณะเกิดปฐมฌานนั้ นว าไมเที่ยง เป นทุกข เหมือนโรค
เหมือนฝ เหมือนหนาม ไมดีงาม เหมือนโรค เปนสภาพอื่น (จากตัวตน)
แตกสลาย วางเปลา ไมใชตัวตน”๗๘
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ) อธิบายรายละเอียดวา ภิกษุผู

๗๖
กรชกาย หมายถึง รางกายที่เกิดจากธุลีคือราคะ (ขุ.ม. ๒๙/๒๐๙/๔๓๑, ขุ.จู.
๓๐/๗๔/๑๖๒, ที.สี.ฏีกา (อภินว) ๔๕/๕๑๘.)
๗๗
วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๕๐๕, ขุ.ป.อ. (บาลี) ๒/๑๐๗.
๗๘
อง.นวก. (บาลี) ๒๓/๓๖/๓๔๗.
๑๕๕
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
บรรลุปฐมฌานแลว ควรเขาปฐมฌานกอนจะเจริญวิปสสนาเพื่อใหฌานเปน
บาท เมื่อออกจากฌานแลวจึงเจริญวิปสสนาตอมา แมการหยั่งเห็นก็เปนการ
กําหนดรูขันธ ๕ ซึ่งปรากฏในปฐมฌานนั้น ผูที่บรรลุ รูปฌานอื่นหรื ออรู ป
สมาธิ ก็ควรปฏิบัติตามนัยนี้เชนเดียวกัน ผูบรรลุฌานตองเขาฌานกอนแลว
ออกจากฌาน หลังจากนั้นจึงกําหนดรูรูป-นามที่ปรากฏในฌานนั้นๆ มีสาธก
เกี่ยวกับเรื่องนี้ในคัมภีรวิสุทธิมรรควา
“การหยั่งเห็นรูป-นามตามความเปนจริง ชื่อวา ทิฏฐิวิสุทธิ (ความ
หมดจดแหงความเห็น) ผูปฏิบัติฝายสมถยานิกถาตองการใหสําเร็จทิฏฐิ-
วิสุทธินั้น พึงกําหนดองคฌานมีวิตกเปนตน และธรรม [มีผัสสะ สัญญา
เจตนา จิ ต เป น ต น ] ที่ ป ระกอบกั บ องค ฌ านนั้ น โดยประเภทแห ง
ลักษณะและหนาที่เปนตน เมื่อออกจากรูปฌานหรืออรูปสมาธิอยางใด
อยางหนึ่งแลว ยกเวนเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน” ๗๙
การกําหนดรูองคฌานและสัมปยุตตธรรม คือ จิตพรอมดวยเจตสิก
คือ การกําหนดสภาวลักษณะที่เปนลักษณะพิเศษของธรรมนั้นๆ และหนาที่
เปนตน มิใชการรับรูชื่อ รูปรางสัณฐานหรือจํานวน พระพุทธองคจึงตรัสสอน
ใหกําหนดรูรูปธรรมกอนนามธรรม แตถานามธรรมปรากฏชัดในบางขณะ ก็
อาจกําหนดนามธรรมไดเชนกัน โยคีไมอาจกําหนดรูปธรรมและนามธรรม
พรอมกันได จึงทรงแสดงการกําหนดรูหทัยรูปอันเปนที่อาศัยของฌานดังมี
สาธกวา “อรูเป วิปสฺสนาภินิเวโส เยภุยฺเยน สมถยานิกสฺส โหติ. ฌานงฺคานิ
ปริคฺคณฺหาติ อรูปมุเขน วิปสฺสนํ อภินิวิสนฺโต.”๘๐ การเจริญวิปสสนาใน
นามธรรมยอมมีแกสมถยานิกเปนสวนใหญ ผูที่เจริญวิปสสนาโดยมีนามธรรม
เปนหลักยอมกําหนดรูองคฌาน
เมื่อกําหนดรูนามธรรมเปนหลักแลว แมจะไมกําหนดรูปธรรมก็จัด
วาไดกําหนดรูป-นามทั้งสองไดโดยปริยาย แมวิปสสนายานิกผูกําหนดรูปเปน
หลักก็จัดวาไดกําหนดรูปและนามทั้งสองโดยปริยายเชนเดียวกัน เพราะรูป-

๗๙
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๒๕๐.
๘๐
วิสุทฺธ.ิ มหาฎีกา (บาลี) ๒/๕๑๙, ที.ม.ฎีกา (บาลี) ๒/๓๗๖
๑๕๖
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
นามก็มีลักษณะทั่วไป คือไตรลักษณเหมือนกัน ดังมีสาธกวา รูเป วิปสฺสนาภิ
นิเวโส เยภุยฺเยน วิปสฺสนายานิกสฺส. อสฺสาสปสฺสาเส ปริคฺคณฺหาติ รูปมุเขน
วิปสฺสนํ อภินิวิสนฺโต, โย อสฺสาสปสฺสาสกมฺมิโกติ วุตฺโต.๘๑
“การเจริญวิปสสนาในรูปธรรม ยอมมีแกวิปสสนายานิกเปนสวน
ใหญ ผูที่เจริญวิปสสนาโดยมีรูปธรรมเปนหลักซึ่งเรียกวาผูเพงลมหายใจเขา-
ออก ยอมกําหนดรูลมหายใจเขา-ออก”
บางคนสําคัญวา การเจริญวิปสสนาตองอาศัยสมถะเปนบาทอยาง
แนนอน โดยตองบรรลุฌานกอนแลวจึงมาเจริญวิปสสนาได โดยอางขอความ
ในคัมภีรวิสุทธิมรรคที่กลาวถึงการเจริญอานาปานสติแบบสมถะ๘๒ และ
อางอิงสาธกจากคัมภีรพระบาลีวา “โส ฌานา วุฏหิตฺวา อสฺสาสปสฺสาเส
วา ปริคฺคณฺหาติ ฌานงฺคานิ วา.”๘๓ “ภิกษุนั้นออกจากฌานนั้นแลว ยอม
กําหนดรูลมหายใจเขา-ออกหรือองคฌาน”
ความจริงแลวขอความขางตนกลาวระบุถึงบุคคลผูบรรลุฌานดวย
การเจริญอานาปานสติแลวเจริญวิปสสนาดวยการกําหนดรูลมหายใจเขา-
ออกหรื อ องค ฌ าน มิ ไ ด มุ ง แสดงว า ถา ไม บ รรลุ ฌานก็ เจริ ญวิ ป สสนาไม ได
เพราะธรรมที่เปนกามาวจรเปนอารมณของสมถยานิกและวิปสสนายานิกทั้ง
สองจําพวก แตบุคคลทั้งสองนี้มีวิธีปฏิบัติตางกัน สมถะกําหนดรูสัณฐานยาว
สั้นของลมหายใจเขา-ออก ซึ่งจัดเปนบัญญัติ สวนวิปสสนากําหนดรูสภาวะ
เคลื่อนไหวของลมหายใจที่กระทบจมูกหรือริมฝปากบน โดยโผฏฐัพพารมณ
นับเขาในธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน มีอรรถาธิบายวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย
ตถาคตกลาววา ลมหายใจเขา-ออกเปนกองรูปอยางหนึ่ง [วาโยธาตุ] ในกอง
รูปทั้งหลาย กลาวคือเปนกองวาโยธาตุ ในบรรดากองรูปเหลานั้น ลมหายใจ
เขา-ออกเปนกองรูปอยางหนึ่ง เพราะนับเขาในโผฏฐัพพายตนะ”๘๔

๘๑
ที.ม.ฎีกา (บาลี) ๒/๓๗๖, วิสุทฺธ.ิ มหาฎีกา (บาลี) ๒/๕๑๙.
๘๒
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๑/๓๑๓.
๘๓
ที.ม.อ. (บาลี) ๒/๓๙๗.
๘๔
ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๑๔๙/๑๓๔, ม.อุ.อ. (บาลี) ๔/๑๐๐
๑๕๗
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
กองรูป คือ วาโยธาตุที่นับเขาในโผฏฐัพพายตนะในรูป ๒๕ ประการ
มีจักขายตนะเปนตน๘๕ แตในขณะปฏิบัติภาวนา ไมอาจตามรูรูปธรรมและ
นามธรรมพรอมกันได เพราะทั้ง ๒ อยางนั้นมีลักษณะตางกัน กลาวคือ รูปมี
ลั ก ษณะไมรั บ รู อ ารมณ ส ว นนามมีลั กษณะรั บ รู อารมณ และจิ ต ก็รั บ เอา
อารมณอยางเดียวในแตละขณะ ไมอาจรับรูเรื่องสองเรื่องในขณะเดียวกันได
ดังมีสาธกวา “ควรหยั่งเห็นรูปในบางคราว ควรหยั่งเห็นนามในบางคราว
เพราะไมอาจหยั่งเห็นพรอมกัน เนื่องจากรูปธรรมตรงกันขามกับนามธรรม
โดยแท และไมประสงคการหยั่งเห็นในเรื่องที่ตางกัน” ๘๖
สรุปความวา สมถยานิกบุคคลพึงกําหนดรูอารมณที่ปรากฏชัด เมื่อ
ออกจากฌานแลว อันไดแก นามธรรมคือฌานจิตตุปบาทในปจจุบันขณะนั้น
หทัย รู ป อัน เป น ที่ตั้ ง ของจิ ต หรื อรู ป อย างใดอย า งหนึ่ ง ที่เ กิด จากจิ ต ส ว น
วิปสสนายานิกพึงกําหนดรูรูป-นามในปจจุบันขณะนั้นๆ เพียงตางกันที่สมถ
ยานิกเปนผูบรรลุฌานแลว จึงกําหนดรูฌานเปนตนได แตวิปสสนายานิก
มิไดบรรลุฌาน จึงกําหนดรูป-นามในขณะเห็นเปนตน
ในขณะเห็นเปนตนนั้น วิปสสนายานิกพึงเจริญสติรูเทาทันสภาวะ
การเห็นซึ่งเปนจิตและเจตสิก รูปอันเปนที่ตั้งของนามธรรมเหลานั้น และสีที่
พบเห็น แมในขณะไดยิน รูกลิ่น ลิ้มรส สัมผัส ก็มีนับเดียวกันนี้ สวนในขณะ
นึ ก คิ ด พึ ง รู เ ท า ทั น สภาวะคิ ด ที่ เ ป น จิ ต และเจตสิ ก รู ป อั น เป น ที่ ตั้ ง ของ
นามธรรมเหลานั้น และรูปที่เกิดจากจิตที่คิดฟุงซาน โดยรับรูสภาวธรรมที่
ปรากฏชัดในขณะนั้นๆ ตามสมควร๘๗ ผูที่เจริญวิปสสนาโดยมีรูปธรรมเปน
หลักซึ่งเรียกวาผูเพงลมหายใจเขา-ออก ยอมกําหนดรูลมหายใจเขา-ออก”
สวนผูที่เจริญวิปสสนาโดยมีนามธรรมเปนหลัก ยอมกําหนดรูองคฌาน” ๘๘

๘๕
อภิ.สงฺ. (บาลี) ๓๔/๕๙๕/๑๘๑, ม.ม.อ. (บาลี) ๒/๑๖๘-๖๙.
๘๖
วิสุทฺธ.ิ มหาฎีกา (บาลี) ๒/๔๔๑
๘๗
ม.ม.ฎีกา (บาลี) ๓/๓๒๖.
๘๘
ที.ม.ฎีกา (บาลี) ๒/๓๗๖.
๑๕๘
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๓.๑ สมถยานิก ผูบรรลุอรหัตผลเปนปญญาวิมุตติ
๑) ใชสมาธิระดับรูปฌาน ๔
พระผู มีพระภาคเจ าตรั ส ถึงรู ป ฌานที่เ กิด ขึ้น จากการเจริ ญสมถะ
ตามลําดับวา “ภิกษุทั้งหลาย เราไดปรารภความเพียร มีความเพียรไมยอ
หยอนแลวมีสติมั่นคง ไมเลอะเลือน มีกายสงบไมกระสับกระสาย มีจิตตั้งมั่น
มีอารมณเปนหนึ่ง
๑. เรานั้นสงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแลว บรรลุปฐมฌาน
ที่มีวิตก วิจาร ปติ และสุขอันเกิดจากวิเวกอยู
๒. เพราะวิตกวิจารสงบระงับไป เราบรรลุทุติยฌานที่มีความผองใส
ในภายใน มีภาวะที่จิตเปนหนึ่งผุดขึ้น ไมมีวิตก ไมมีวิจาร มีแตปติและสุขอัน
เกิดจากสมาธิอยู
๓. เพราะปติจางคลายไป เรามีอุเบกขามีสติสัมปชัญญะเสวยสุข
ดวยนามกาย บรรลุตติยฌานที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญวา ผูมีอุเบกขามี
สติ อยูเปนสุข’
๔. เพราะละสุขและทุกขได เพราะโสมนัสและโทมนัสดับไปแลว เรา
บรรลุจตุตถฌานที่ไมมีทุกขและไมมีสุข มีสติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขาอยู”๘๙
เมื่อมีศีลบริสุทธิ์บริบูรณดีแลว ชื่อวามีรากฐานมั่นคงที่จะทําสมาธิ
เพื่อชําระใจใหบริสุทธิ์ สมาธิที่เกิดจากศีลบริสุทธิ์นี้ยอมมีกําลังมาก เปนบาท
ฐานในการเจริ ญปญญาต อไป ดั งที่พระพุทธเจ าตรั ส วา “สมาธิ อัน บุ คคล
อบรมโดยมีศีลเปนฐาน ยอมมีผลมาก มีอานิสงสมาก ปญญาอันบุคคลอบรม
โดยมีสมาธิเปนฐาน ยอมมีผลมาก มีอานิสงสมาก จิตอันบุคคลอบรมโดยมี
ปญญาเปนฐาน ยอมหลุดพนโดยชอบจากกิเลสอาสวะทั้งหลาย”๙๐
ผู บํ า เพ็ ญ สมถภาวนาได รู ป ฌานขั้ น ใดขั้ น หนึ่ ง ก อ นแล ว หรื อ ได
อุปจารสมาธิแลว จึงเจริญวิปสสนาทีหลัง คือผูไดรูปฌาน ออกจากรูปฌาน
นั้นๆ แตจิตยังทรงอารมณฌานนั้นอยู พิจาณาสภาพธรรมที่ประกอบอยูกับ
๘๙
อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๖๒๓/๔๑๓.
๙๐
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๕๙/๘๖, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๗๖/๙๖.
๑๕๙
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๙๑
ฌานนั้น ตามแนวการพิจารณาในหมวดเวทนานุปสสนาสติปฏฐานก็ดี จิต
ตานุปสสนาสติปฏฐานก็ดี หรือธัมมานุปสสนาสติปฏฐานก็ดี ที่ปรากฏเปน
ปจจุบันอารมณ๙๒ คือ พิจารณารูป-นามที่ปรากฏชัด จนเห็นรูป-นามที่เปน
อารมณ ดั บ ไป และเห็ น จิ ต ตั ว รู นั้ น ดั บ ไปด ว ยเกิ ด วิ ป ส สนาญาณ ๙๓ไป
ตามลําดับจนไดบรรลุมรรคผล นิพพาน บุคคลนั้นเรียกวา สมถยานิกบุคคล
ผูปฏิบั ติตามแนวทางนี้ เมื่อบรรลุโสดาปตติ มรรคแลว และกําลั ง
ปฏิบัติเพื่อทําใหแจงซึ่งโสดาปตติผล โดยมีอัปปนาสมาธิขั้นรูปฌานเปนบาท
ฐาน มีศรัทธาแกกลาเปนตัวนํา ชื่อวาสัทธานุสารี เมื่อบรรลุโสดาปตติผล
แล ว และกําลั งปฏิ บั ติ เพื่อบรรลุ มรรคผลเบื้ องสู งตอไป โดยมีศรั ทธาและ
สมาธิแกกลาเปนตัวนํา จะบรรลุสกทาคามีหรืออนาคามี เปนประเภทสัทธา
วิมุต ทานผูนี้เมื่อบรรลุอรหัตผลกลายเปนปญญาวิมุตติ๙๔
๒) ใชสมาธิระดับอรูปสมาธิ ๔
อรูปสมาธิ เปน สภาวะที่อัปปนาจิตพน จากอารมณที่เ ปนรูป เป น
สภาวะที่ใชการเพงสติตัดกระแสรูปารมณ ซึ่งในการเพงฌานนี้ สติที่เหลืออยู
จะมีเพียงอรูปสัญญาเทานั้น อรูปสมาธิมี ๔ ระดับคือ
๑. อากาสานัญจายตนะ ไดแก ฌานที่กําหนดอากาศ(ชองวาง) ไมมี
ที่สิ้นสุดเปนอารมณ จัดเปนอรูปสมาธิ
๒. วิญญาณัญจายตนะ ไดแก ฌานที่กําหนดวิญญาณไมมีที่สุดเปน
๙๕
อารมณ
๓. อากิญจัญญายตนะ ไดแก ฌานที่กําหนดภาวะที่ไมมีอะไรๆ เปน
อารมณ หรือภพของผูเขาถึงอรูปสมาธิ๙๖

๙๑
ดูรายละเอียดใน องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๓๖/๕๐๘.
๙๒
อภิ.สงฺ. (ไทย) ๓๔/๑๘/๔, อภิ.สง. (ไทย) ๓๔/๑๐๔๖/๒๖๘.
๙๓
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕๑/๘๒. ดูรายละเอียดใน ภังคานุปสสนาญาณนิทเทส.
๙๔
วิสุทฺธ.ิ ฏีกา (บาลี) ๒/๗๗๒/๕๑๓-๕๑๕, องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๑.
๙๕
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๙๔/๑๑๓.
๙๖
ดูรายละเอียดใน ม.อุ.(ไทย) ๑๔/๙๕/๑๑๔.
๑๖๐
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๔. เนวสัญญานาสัญญายตนะ ไดแก ฌานที่เลิกกําหนดสิ่งใดๆ โดย
ประการทั้งปวง เขาถึงภาวะที่มีสัญญาก็ไมใช ที่ไมมีสัญญาก็ไมใช๙๗
สภาวะของอรูปสมาธิ เปนการกําหนดของสภาวะสิ่งที่ไมใชรูปธรรม
เปนอารมณ สิ่งที่ใชเปนอารมณในการกําหนดคือนามธรรม ในการกําหนด
สภาวธรรม พิจารณาเห็นโดยความเปนไตรลักษณ วาเกิดขึ้นแลว ก็ดับไป
หากบุคคลใดไดปฏิบัติสมถภาวนา ชนิดที่สามารถทํารูปฌานทั้ง ๔
ใหสมบูรณได เชน กสิณ ๑๐ อานาปานาสติ อัปปมัญญา ๔ (เมตตา กรุณา
มุทิตา อุเบกขา) เปนตน เมื่อไดรูปฌาน ๔ สมบูรณ แลวตอดวยเจริญอรูป
สมาธิ ๔ เมื่อออกจากสมาธินนั้ ๆ แลว นําเอาสภาพธรรมที่ประกอบกับจิตนั้น
ขณะนั้น มาเปนอารมณในการเจริญวิปสสนา ในหมวดเวทนานุปสสนา จิต
ตานุปสสนา หรือธัมมานุปสสนาตอไป คือ พิจารณาธรรมที่ยังเหลืออยู จน
พิ จ ารณาเห็ น ธรรมที่ เ ป น อารมณ ดั บ ไป และเห็ น จิ ต นั้ น ดั บ ไปด ว ย เกิ ด
“วิ ป ส สนาญาณ”ไปตามลํ าดั บ จนได บ รรลุ ม รรค ผล นิ พ พาน บุ คคลนั้ น
เรี ย กว าสมถยานิ กบุ คคล และเมื่อบรรลุ ธ รรมแล ว จั ด เป น พระอริ ย บุ คคล
ประเภทสัทธานุสารีหรือธัมมานุสารี อยางใดอยางหนึ่ง ตอจากนั้นเปนกาย
สักขี๙๘ เมื่อบรรลุพระอรหันต เปนประเภท “ปญญาวิมุตติ”
โดยทั่ว ไปมั กเขาใจกั น ว า ผู ได อรู ป สมาบั ติ เ มื่ อบรรลุ อหั ต ผล จะ
สําเร็จเปนพระอรหันตประเภทอุภโตภาควิมุตติ แตในพระไตรปฎกระบุไว
ชัดเจนวา ผูไดสัญญาเนวสัญญายตนะเมื่อออกจากสมาธินั้นแลว พิจารณา
สภาพธรรมนั้นจนรูถึงความเกิด-ดับ คุณ โทษ และอุบายสลัดออกตามความ
เปนจริง ยอมหลุดพนเพราะไมถือมั่น๙๙ เปนปญญาวิมุตติ๑๐๐
๙๗
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๙๖/๑๑๔. อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๖๐๕-๖๒๐/๔๑๐-๔๑๒.
๙๘
วิสุทธิ.มหาฏีกา (บาลี) ๒/๗๗๒/๕๑๓-๕๑๕.
๙๙
หลุดพนเพราะไมถือมั่น หมายถึง ไมถือมั่นในอุปาทาน ๔ คือ ๑) กามุปาทาน
(ถือมั่นในกาม) ๒) ทิฏุปาทาน (ถือมั่นในทิฏฐิ) ๓) สีลัพพตุปาทาน (ถือมั่นในศีลพรต)
๔) อัตตวาทุปาทาน (ถือมั่นในวาทะวามีอัตตา) (ที.ม.อ. (บาลี) ๑๒๘/๑๑๒.)
๑๐๐
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๒๙/๗๕, ผูเปนปญญาวิมุตติ หมายถึง ผูหลุดพนดวย
กําลังปญญา โดยไมไดบรรลุสมาธิชั้นสูงคือวิโมกข ๘ (ที.ม.ฏีกา (บาลี) ๑๒๘/๑๔๔.)
๑๖๑
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๓.๒ สมถยานิก ผูบรรลุอรหันตเปนอุภโตภาควิมุตติ
หากบุคคลใดไดปฏิบัติสมถภาวนา ชนิดที่สามารถทํารูปฌานทั้ง ๔
ใหสมบูรณได เชน กสิณ ๑๐ อานาปานาสติ หรืออัปปมัญญา ๔ เมื่อไดรูป
ฌาน ๔ สมบูรณ แลวตอดวยเจริญอรูปสมาธิ ๔ จนจิตหลุดพนจากรูปกาย
ด ว ยนามกาย เป น เจโตวิ มุต ติ ที่ห ลุ ด พน จากอารมณ ฌานอย างสิ้ น เชิ ง ได
สัมผัสสันตวิโมกข๑๐๑ นําเอาสภาพธรรมที่ประกอบกับจิตนั้นมาเปนพื้นฐาน
เจริญวิปสสนา ในหมวดธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน (ลวงเวทนานุปสสนาสติ
ปฏฐาน จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน)ตอไป คือ พิจารณาธรรมที่ปรากฏชัด จน
พิจ ารณาเห็น ธรรมที่เ ปน อารมณจิ ตดั บไป และเห็น จิ ตนั้ นดั บ ไปดว ย เกิด
“วิปสสนาญาณ” ไปตามลําดับ จนไดบรรลุมรรค ผล นิพพาน บุคคลนั้น
เรียกวา สมถยานิกบุคคล
วิปสสนายานิกบางทาน เมื่อบรรลุโสดาปตติมรรคแลว และกําลัง
ปฏิบัติเพื่อทําใหแจงโสดาปตติผล มีปญญาแกกลาเปนตัวนําโดยการเจริญ
วิปสสนาภาวนากอน หรือสลับกับการเจริญสมถภาวนา ชื่อวาธัมมานุสารี
หากทานผูเปนธัมมานุสารีประเภทนี้ ภายหลังบําเพ็ญสมถภาวนาจนสมาบัติ
๘ สมบูรณพรอมกับไดบรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เปนเจโตวิมุตติ๑๐๒ทีไ่ ดสัมผัส
สั น ตวิ โ มกข นํ า เอาสภาพธรรมที่ ป ระกอบกั บ จิ ต ที่ ยั ง เหลื อ อยู นั้ น มาเป น
พื้นฐานเจริญวิปสสนาตอไป จนหลุดพนจากนามกาย ดวยอริยมรรค๑๐๓ เมื่อ
บรรลุโสดาปตติผลแลว กําลังปฏิบัติเ พื่อบรรลุมรรคผลเบื้องสูง เปนกาย
สักขี๑๐๔ และเมื่อบรรลุอรหัตผล กลายเปนอุภโตภาควิมุตติ๑๐๕

๑๐๑
สันตวิโมกข หมายถึง อรูปสมาธิที่พนไดอยางสิ้นเชิง เพราะพนจากธรรมที่
เป น ข า ศึ ก กล า วคื อ นิ ว รณ ๕ ประการและเพราะไม เ กี่ ย วข อ งในอารมณ เป น ต น
(องฺ.ทสก.อ. (บาลี) ๓/๙/๓๒๐.)
๑๐๒
ดูใน องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๐, องฺ.นวก.อ. (บาลี) ๓/๔๕/๓๑๖.
๑๐๓
ดูใน ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๖๙/๑๗๗.
๑๐๔
วิสุทธิ.มหาฏีกา (บาลี) ๒/๗๗๒/๕๑๓-๕๑๕.
๑๐๕
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔๗๔-๗๗/๓๕๘-๓๖๑, ที.ม.อ. (ไทย) ๒/๑๔๔.
๑๖๒
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
สวนผูบรรลุโสดาปตติมรรคแลว และกําลังปฏิบัติเพื่อทําใหแจงซึ่ง
โสดาปตติผล มีศรัทธาแกกลาเปนตัวนํา ชื่อวาสัทธานุสารี หากทานผูเปน
สัทธานุสารีนี้ ภายหลังบําเพ็ญสมถภาวนาจนสมาบัติ ๘ สมบูรณพรอมกับได
บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ เปนเจโตวิมุตติ๑๐๖ที่หลุดพนจากอารมณฌานอยาง
สิ้นเชิง ไดสัมผัสสันตวิโมกข นําเอาสภาพธรรมที่ประกอบกับจิตที่ยังเหลืออยู
นั้ น มาเป น พื้ น ฐานเจริ ญ วิ ป ส สนาต อ ไป จนหลุ ด พ น จากนามกาย ด ว ย
อริยมรรค๑๐๗ เมื่อบรรลุโสดาปตติผลแลว กําลังปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรคผล
เบื้องสูงเปนกายสักขี และเมื่อบรรลุอรหัตผลกลายเปนอุภโตภาควิมุตติ๑๐๘
๔. การเจริญวิปสสนาของวิปสสนายานิก
วิปสสนายานิก หมายถึง ผูมีวิปสสนาเปนยาน ผูเริ่มปฏิบัติดวย
เจริญวิปสสนาทีเดียว โดยไมเคยฝกหัดเจริญสมาธิใดๆ มากอน เมื่อเจริญ
วิปสสนา คือ ใชปญญาพิจารณาความจริงเกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายอยางถูกทาง
แลว จิตก็จะสงบขึ้น เกิดมีสมาธิตามมาเอง๑๐๙ มีวิปสสนาลวนๆ เปนเครื่อง
นําทาง หรื อบุ คคลผู ไปสูมรรค ผล นิพพานโดยอาศัย วิป สสนาลว นๆ เป น
ยานพาหนะ๑๑๐ โดยมีปรมัตถเปนอารมณ คือกําหนดรูปและนามหรือขันธ ๕
อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๖ หรือธาตุ ๑๘ เปนตน เปนอารมณโดยทางพระไตร
ลักษณ จนบรรลุมรรค ผล นิพพาน ดังที่พระสารีบุตรเถระอธิบายวา
สภาวะพิจ ารณาเห็ น โดยความไมเ ที่ย ง ชื่ อวา วิ ป ส สนา เพราะมี
สภาวะพิจ ารณาเห็ น โดยความเป น ทุกข ชื่ อวา วิ ป ส สนา เพราะมีส ภาวะ

๑๐๖
ดูใน องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๐, องฺ.นวก.อ. (บาลี) ๓/๔๕/๓๑๖.
๑๐๗
ดูใน ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๖๙/๑๗๗.
๑๐๘
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔๗๔-๗๗/๓๕๘-๓๖๑, ที.ม.อ. (ไทย) ๒/๑๔๔. ผูหลุดพน
ทัง้ ๒ สวน คือ ๑) หลุดพนจากรูปกายดวยอรูปสมาบัติ ๒) หลุดพนจากนามกายดวย
อริยมรรค (ที.ม.อ. (บาลี) ๑๓๐/๑๑๓.)
๑๐๙
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย, หนา ๔๔๙.
๑๑๐
พระโสภณมหาเถระ (มหาสี สยาดอ), วิ ปส สนาชุ นี หลั กการปฏิ บั ติ
วิปสสนา, หนา ๖๐.
๑๖๓
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
พิจารณาเห็นโดยความเปนอนัตตา สภาวะที่จิตปลอยธรรมทั้งหลายที่เกิดใน
วิปสสนานั้นเปนอารมณ และสภาวะที่จิตเปนเอกัคคตารมณ ไมฟุงซานเปน
สมาธิ วิปสสนาจึงมีกอน สมถะมีภายหลัง ดวยประการดังนี้ เพราะเหตุนั้น
ทานจึงกลาววา “เจริญสมถะมีวิปสสนานําหนา”
การพิจารณาเห็นเวทนาชื่อวาวิปสสนาเพราะมีสภาวะพิจารณาเห็น
ชรา และมรณะโดยความไมเที่ยง ชื่อวา วิปสสนาเพราะมีสภาวะพิจารณา
เห็นชราและมรณะโดยความเปนทุกข ชื่อวา วิปสสนา สภาวะที่จิตปลอย
ธรรมทั้งหลายที่เกิดในภาวนานั้นเปนอารมณ และสภาวะที่จิตเปนเอกัคคตา
รมณ ไมฟุงซาน เปนสมาธิ วิปสสนาจึงมีกอน สมถะมีภายหลัง ดวยประการ
ดังนี้ เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา “เจริญสมถะมีวิปสสนานําหนา”๑๑๑
๔.๑ ขณิกสมาธิในการเจริญวิปสสนา
วิปสสนายานิก คือ ผูเจริญวิปสสนาดวยการอาศัยขณิกสมาธิเปนฐาน
ในการปฏิ บั ติ ทํ า ให ดํ า เนิ น ไปสู ม รรค ผล และนิ พ พาน ด ว ยการเจริ ญ
วิปสสนาลวนๆ บุคคลประเภทนี้มีขณิกสมาธิอยางเดียวเปนจิตตวิสุทธิ๑๑๒
เมื่อขณิกสมาธิแกกลามากขึ้น ความตั้งมั่นแหงจิตเหมือนฌานใน
สมถภาวนาย อ มเกิด ขึ้ น แมอ ารมณ ที่เ ป น รู ป นามจะเปลี่ ย นแปลงไปตาม
สภาพที่ป รากฏชั ด ความตั้ งมั่ น ก็คงอยู อย า งนั้ น ลํ าดั บ จิ ต ที่เ กิด กอนและ
ลําดับจิตที่ภายหลังมีกําลังทัดเทียมกัน สมาธิดังกลาวตางจากฌานในสมถ
ภาวนาคือฌานในสมถภาวนารับรูอารมณบัญญัติอยางเดียว ไมปรากฏความ
เปนรูปนาม ทั้งปราศจากสภาวะของพระไตรลักษณ แตสมาธิของวิปสสนา
รับรูอารมณปจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไดบาง ทั้งปรากฏความเปนรูปนาม เมื่อ
ญาณแกกลาขึ้นก็จะหยั่งเห็นพระไตรลักษณที่รูเห็นความเกิดดับเปนตน
ในคัม ภี ร ม หาฎี ก าว า “คํา ว า ขณิ ก จิ ตฺ เ ตกคฺค ตา มีค วามหมายว า
สมาธิ ที่ตั้ งอยู ชั่ ว ขณะ โดยแทจ ริ งแล ว สมาธิ นั้ น ดํ าเนิ น ไปในอารมณด ว ย

๑๑๑
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔/๔๑๘-๔๑๙.
๑๑๒
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนานัย เลม ๑, หนา ๖๑.
๑๖๔
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
อาการเดียวอยางตอเนื่อง ไมถูกนิวรณที่เปนปฏิปกษกันครอบงํา ยอมตั้งจิต
ไวมั่นเหมือนฌานสมาธิที่หยั่งลงแลว”๑๑๓
ขณิกสมาธิใชในการเจริญวิปสสนา๑๑๔ เปนความตั้งมั่นของจิตขณะ
พิจารณารูป -นามทุกๆ ขณะที่เ กิด-ดั บ เมื่อจิต มีสติ ระลึกรู อารมณปรมัต ถ
อยางตอเนื่อง ปราศจากนิวรณ ในขณะนั้นมีอินทรีย ๕ คือ ศรัทธา วิริยะ สติ
สมาธิและปญญามีกําลังสม่ําเสมอ สวนอุปจารสมาธิและอัปปนาสมาธิใชเปน
บาทฐานเพื่อการเจริญวิปสสนาของผูเปนสมถยานิก คือ เมื่อจิตมีความตั้งมั่น
ปราศจากความฟุงซาน ออนควรแกการงาน เมื่อจิต ถอนออกจากอุป จาร
สมาธิหรืออัปปนาสมาธิแลว ก็เจริญวิปสสนาดวยจิตที่มีขณิกส-มาธิตอไป๑๑๕
ขณิกสมาธินี้ สงบชั่วขณะๆ ก็จริง แตเมื่อมีกําลังแกกลา ก็สามารถ
บรรลุถึงโลกุตตรอัปปนาสมาธิ คือมรรค ผล นิพพานได อุปมาเหมือนกับเม็ด
งา มีขนาดเล็กมาก มีน้ํามันนอยยังไมพอใช แตวาหลายเม็ดรวมกันแลวก็ได
น้ํามันมาก ขอนี้ฉันใด วิปสสนาขณิกสมาธิ ก็ฉันนั้น โยคีบุคคลมีจิตไปรู
อารมณใด ก็ตั้งสติกําหนดที่นั้น ไดขณิกสมาธิเกิดขึ้นมาทันที บางคนเขาใจวา
วิปสสนานี้ตองตั้งสติกําหนดเพงอารมณอยูเพียงอารมณเดียวใจจึงจะสงบมี
สมาธิดี เมื่อมีอารมณอื่นเชน การเห็น การไดยิน การเจ็บปวด การคิด การ
นึก เปนตน แทรกเขามาก็ไมยอมกําหนด เพราะเกรงวาถากําหนดตาม ใจจะ
ฟุงซานเสียสมาธิ การเขาใจอยางนี้เปนการเขาใจผิด เพราะขณิกสมาธิ มาก
ไปดวยสติสัมปชัญญะ ไมอาจใหฟุงซานได
เมื่อขณิกสมาธิแกกลามากขึ้น ความตั้งมั่นแหงจิตดุจฌานในสมถ
ภาวนายอมเกิดขึ้น แมอารมณที่เปนรูป-นามจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพที่

๑๑๓
วิสุทฺธิ.ฏีกา (บาลี) ๑/๔๐๙, บาลีวา ขณิกจิตฺเตกคฺคตาติ ขณมตฺตฏฐิติโก
สมาธิ. โสป หิ อารมฺมเณ นิรนฺตรํ เอกากาเรน ปวตฺตมโน ปฏิปกฺเขน อนภิภูโต อปฺปโ ต
วิย จิตฺตํ นิจฺจลํ ฐเปติ.
๑๑๔
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๓๖๘.
๑๑๕
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนานัย เลม ๑, หนา ๕๙.
๑๖๕
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ปรากฏชัด ความตั้งมั่นก็คงอยูอยางนั้น ลําดับจิตที่เกิดกอนและลําดับจิตที่
เกิดภายหลังมีกําลังทัดเทียมกัน สมาธิดังกลาวตางจากสมาธิในสมถภาวนา
สมถสมาธิรับรูอารมณบัญญัติอยางเดียว แตไมปรากฏความเปนรูป-
นาม ทัง้ ปราศจากสภาวะของพระไตรลักษณ สวนสมาธิของวิปสสนานั้นรับรู
อารมณปจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไดตลอด ทั้งปรากฏความเปนรูป-นาม เมื่อ
ญาณแกกลาขึ้นก็จะหยั่งเห็นพระไตรลักษณที่รูเห็นความเกิดดับ ดังขอความ
ในคัมภีรมหาฎีกาวา “สมาธิที่ตั้งอยูชั่วขณะ โดยแทจริงแลว สมาธินั้นดําเนิน
ไปในอารมณดวยอาการเดียวอยางตอเนื่อง ไมถูกนิวรณที่เปนปฏิปกษกัน
ครอบงํา ยอมตั้งจิตไวมั่นเหมือนฌานสมาธิที่หยั่งลงแลว” ๑๑๖
ขณิกสมาธิก็สามารถตั้งจิตไวมั่น มีกําลังมากเทากับอุปจารสมาธิได
เพราะขณะกําหนดอารมณอันหนึ่งกับอีกอันหนึ่งนั้นระหวางกลางอารมณทั้ง
สองกิเลสนิวรณเขาไมได เมื่อกําหนดติดตอกันอยูเรื่อยไป ขณะนั้นใจสงบก็
ตั้งอยูไดนานเหมือนกัน และเมื่อผูปฏิบัติเขาถึงอุทยัพพยญาณ ภังคญาณ
เปนตน วิปสสนาขณิกสมาธิแกกลายิ่งขึ้น มีกําลังมากเทียบเทากับอัปปนา
สมาธิ เพราะปราศจากปฏิปกษ คือกิเลสนิวรณ ฉะนั้น ขณิกสมาธิ คือการที่
ใจสงบตั้งอยูนานๆ ได นี้ก็เรียกวา จิตตวิสุทธิ๑๑๗
เมื่อมีศีลบริสุทธิ์บริบูรณดีแลว ชื่อวามีรากฐานมั่นคงที่จะทําสมาธิ
เพื่อชําระใจใหบริสุทธิ์อีกตอไป แตถาศีลยังไมบริสุทธิ์ มีขาด ดางพรอย ทะลุ
อยู ก็ยากที่จะทําใหบังเกิดมีสมาธิขึ้นมาได อนึ่ง สมาธิที่เกิดจากศีลบริสุทธิ์นี้
ยอมมีกําลังมาก๑๑๘ยอมปรากฏขึ้นเมื่อจิตตั้งมั่นในอารมณปจจุบันที่เปนรูป
นามอยางตอเนื่องปราศจากนิวรณ ในขณะที่อินทรีย ๕ คือ ศรัทธา วิริยะ
สติ สมาธิ และปญญา มีกําลังสม่ําเสมอกันแกผูเจริญวิปสสนาภาวนา ขณิก-
สมาธิใชในการเจริญวิปสสนา เปนความตั้งมั่นอยูชั่วขณะเมื่อจิตมีสติระลึกรู

๑๑๖
วิสุทฺธ.ิ มหาฏีกา (บาลี) ๑/๔๐๙.
๑๑๗
พระภัททันตะอาสภมหาเถระ อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ, วิปสสนาทีปนี
ฎีกา, พิมพครั้งที่ ๙, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพเลี่ยงเซียง จํากัด), หนา ๗๐.
๑๑๘
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๕๙/๘๖, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๗๖/๙๖.
๑๖๖
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
อารมณปรมัตถ สวนอุปจารสมาธิ และอัปปนาสมาธิใชเปนบาทฐานเพื่อการ
เจริญวิปสสนาของผูเปนสมถยานิก โดยในเบื้องตนใหผูปฏิบัติมีสติรูอารมณ
บัญญัติอันใดอันหนึ่งที่ถูกจริต จนเกิดปฏิภาคนิมิตและรูนิมิตนั้นตอไปจนจิต
มีอุปจารสมาธิและอัปปนาสมาธิ จิตจะมีความตั้งมั่น มีสติ ปราศจากกิเลส
และอุปกิเลส ออน ควรแกการงาน เมื่อจิตถอนออกจากอุปจารสมาธิหรือ
อัปปนาสมาธิแลว ก็เจริญวิปสสนาดวยจิตที่มี ขณิกสมาธิตอไป สวนอาการที่
จิตเคลิบเคลิ้มลืมตัวและขาดสติ ไมใชอุปจารสมาธิและอัปปนาสมาธิอยางที่
พวกเราบางคนเขาใจกัน เพราะจิตที่ขาดสติ ลืมเนื้อลืมตัว ใชในการเจริญ
วิปสสนาไมไดอยางมากก็เปนแคมิจฉาสมาธิเทานั้น๑๑๙
วิปสสนาขณิกสมาธินี้มีอารมณเปนปรมัตถ (รูป-นาม) ตั้งสติกําหนด
ทุกสิ่งทุกอยาง อาการตางๆ เชน การเห็น การไดยิน การเจ็บ การปวด การ
คิด การนึก เปนตน อารมณใดปรากฏชัดเจน ก็ตั้งสติกําหนดอารมณนั้นจน
ไดสมาธิชั่วขณะหนึ่ง สมาธิชั่วขณะนี้แหละเรียกวาขณิกสมาธิ เมื่อผูปฏิบัติ
ธรรมมีศีลบริสุทธิ์บริบูรณดีแลว ชื่อวา มีรากฐานมั่นคงที่จะทําสมาธิ เพื่อ
ชําระใจใหบริสุทธิ์ สมาธิที่เกิดจากศีลบริสุทธิ์นี้ยอมมีกําลังมาก เปนบาทฐาน
ในการเจริญปญญาตอไป ดังที่พระพุทธเจาตรัสวา “สมาธิอันบุคคลอบรม
โดยมีศีลเปนฐาน ยอมมีผลมาก มีอานิสงสมาก ปญญาอันบุคคลอบรมโดยมี
สมาธิเปนฐาน ยอมมีผลมาก มีอานิสงสมาก จิตอันบุคคลอบรมโดยมีปญญา
เปนฐาน ยอมหลุดพนโดยชอบจากกิเลสอาสวะทั้งหลาย”๑๒๐
๔.๒ การพัฒนาขณิกสมาธิดวยการปรับอินทรีย ๕
ขณิกสมาธิใชในการเจริญวิ ปสสนา๑๒๑ เป นความตั้งมั่นรูรู ป-นาม
ทุ ก ๆขณะที่ เ กิ ด -ดั บ เมื่ อ จิ ต มี ส ติ ร ะลึ ก รู อ ารมณ ป รมั ต ถ อ ย า งต อ เนื่ อ ง
ปราศจากนิ ว รณ ในขณะที่อิน ทรี ย ๕ คื อ ศรั ทธา วิ ริ ย ะ สติ สมาธิ และ
ปญญามีกําลังสม่ําเสมอแกผูเจริญวิปสสนาภาวนา
๑๑๙
พระโสภณมหาเถระ(มหาสีสยาดอ), วิปสสนานัย เลม ๑, ๒๕๔๘, หนา๕๙.
๑๒๐
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๕๙/๘๖, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๗๖/๙๖.
๑๒๑
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๓๖๘.
๑๖๗
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
กอนปฏิบัตโิ ยคีมักพูดวา “ที่มาปฏิบัตินี้ไมไดหวังอะไรมาก ขอให
ใจสงบ อยูปฏิบัติไดครบกําหนดเวลาก็พอแลว” แตเมื่อไดลงมือปฏิบัติไป ๓-
๔ วั น จะมี คํ า ถามเกิ ด ขึ้ น ในใจแทบทุ ก คนว า “ทํ า อย า งไร จึ ง จะมี
ความก าวหน าในการปฏิ บั ติ วิ ป ส สนาญาณจะเกิด ขึ้น ได อย างไร?” พระ
วิปสสนาจารย พึงใหคําตอบวา “ความกาวหนาในการปฏิบัติวิปสสนาขึ้นอยู
กั บ การปรั บ อิ น ทรี ย ๕ ให ส มดุ ล และเพิ่ ม กํ า ลั ง พละ ๕ ให แ ก ก ล า ขึ้ น
ตามลํ าดั บ” ซึ่งนั้ นหมายความวา พระวิป สสนาจารยจ ะต องอธิ บายให ผู
ปฏิบัติเขาใจความหมายและความสําคัญของการปรับอินทรียใหสมดุลยกัน
พรอมทั้งมีกระบวนการบมเพาะอินทรียและพอกพูนกําลังพละใหเกิดขึ้นใน
ขันธสันดานของโยคีผูปฏิบัติใหแกกลาขึ้นตามลําดับ ตามจํานวนระยะเวลาที่
ปฏิบัติเพิ่มขึ้น ดังที่พระพุทธเจาตรัสวา “ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุอาศัยศีล
ตั้งอยูในศีลแลว เจริญ ทําใหมากซึ่งอินทรีย ๕ ยอมถึงความเจริญงอกงาม
ไพบูลยในธรรมทั้งหลาย”๑๒๒
๔.๓ การบรรลุธรรมของวิปสสนายานิก
วิปสสนายานิก มีรูปแบบในการเจริญวิปสสนาภาวนา ๔ แบบ ดังนี้
๑. รูปแบบการเจริญวิปสสนาภาวนาแบบวิปสสนายานิก สําหรับผู
ตัณหาจริต ศรัทธาแกกลา (กายานุปสสนา)
๒. รูปแบบการเจริญวิปสสนาภาวนาแบบวิปสสนายานิก สําหรับผู
ตัณหาจริต ปญญาแกกลา (เวทนานุปสสนา)
๓. รูปแบบการเจริญวิปสสนาภาวนา แบบวิปสสนายานิกสําหรับ
ผูทิฏฐิจริต ศรัทธาแกกลา (จิตตานุปสสนา)
๔. รูปแบบการเจริญวิปสสนาภาวนา แบบวิปสสนายานิก สําหรับ
ผูทิฏฐิจริต ปญญาแกกลา (ธรรมานุปสสนา)

๑๒๒
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/๗๑๓/๓๔๔.
๑๖๘
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น

บันได ๗ ขั้น ญาณ ๑-๑๖ อินทรีย ๕


ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา
ขั้นที่ ๑ ๑. นามรูปปริจเฉทญาณ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
เห็นรูปเห็นนาม
๒. ปจจยปริคคหญาณ
ขั้นที่ ๒ ๓. สัมมสน แบบออน
พิจารณารูปนาม ญาณ
แบบแก
ขั้นที่ ๓ ๔. ตรุณ
เห็นความไมเที่ยง อุทยัพพย พลว
ของรูปนาม ญาณ
๕. ภังคาญาณ
๖. ภยญาณ
ขั้นที่ ๔ ๗. อาทีนวญาณ
เห็นความเปน ๘. นิพพิทาญาณ
ทุกขของรูปนาม
ขั้นที่ ๕ ๙. มุญจิตุกัมยตาญาณ
เห็นความไมใช ๑๐. ปฏิสังขาญาณ
ตัวตนของรูปนาม
ขั้นที่ ๖ ๑๑. ตน
วางเฉยตอรูปนาม สังขารุ
เปกขา วุฏฐาน
ขั้นที่ ๗ ญาณ ปลาย คามินี
สลัดคืนรูปนาม ๑๒. อนุโลม
ญาณ
๑๓. โคตรภูญาณ
วิปสสนายานิกนี้เมื่อบรรลุโสดาปตติมรรคแลวปฏิบัติเพื่อบรรลุโสดา
ปตติผล จัดเปนพระอริยบุคคลประเภทธัมมานุสารี เมื่อบรรลุโสดาปตติผล
แลวกลายเปนทิฏฐิปตตะ๑๒๓ และเมื่อสิ้นอาสวะกิเลสสําเร็จเปนพระอรหันต
บุคคล มีชื่อเรียกวา ปญญาวิมุตติ๑๒๔

๑๒๓
ดูรายละเอียดใน องฺ.สตฺตก.อ. (ไทย) ๔/-/๑๔/๑๙ - ๒๒.
๑๒๔
ดูรายละเอียดใน องฺ.ทุก. (ไทย)๒๐/๙๐/๗๙, วิสุทฺธ.ิ ฏีกา (บาลี) ๑/๒๑.
๑๖๙
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
อนึ่ง พระอรหันตปญญาวิมุตติมี ๕ ประเภท คือ (๑) พระปญญา
วิมุตติ ผูไดจตุตถฌาน (๒) พระปญญาวิมุตติ ผูไดตติยฌาน (๓) พระปญญา
วิมุตติ ผูไดทุติยฌาน (๔) พระปญญาวิมุตติ ผูไดปฐมฌาน (ไดกอนทํา
วิปสสนา) (๕) พระปญญาวิมุตติ ผูไดสุกขวิปสสก (พระวิปสสนายานิก)๑๒๕
พระอรหั น ต ป ระเภทวิ ป ส สนายานิ ก นี้ หมายถึ ง พระอรหั น ต ผู
บําเพ็ญวิ ปสสนาล วนๆ มิไดสัมผัสวิ โมกข ๘ แต สิ้นอาสวะเพราะเห็น ดว ย
ป ญ ญา ๑๒๖ ซึ่ ง ในชั้ น คั ม ภี ร อ รรถกถาได บั ญ ญั ติ ชื่ อ พิ เ ศษเรี ย กว า พระ
สุกขวิปสสก เปนอันดับสุดทายในพระปญญาวิมุตติ๑๒๗
อริ ย บุ ค คลประเภทนี้ ปฏิ บั ติ เ พื่ อทํ าให แจ งซึ่ งโสดาป ต ติ ผ ล โดย
มีขณิก-สมาธิเปนบาทฐาน ปฏิบัติสุทธวิปสสนาตามแนวสติปฏฐาน ๔ เพื่อ
บรรลุโสดาปตติผล ดวยกําลังของปญญินทรีย เปนธัมมานุสารี คือ ผูแลนไป
ตามธรรม หรื อผูแลนตามไปดว ยธรรม มีปญญาเป นตัว นํา๑๒๘ ทานผูนี้ถา
บรรลุโสดาปตติผลแลว กลายเปนทิฏฐิปปตตะ๑๒๙ เมื่อบรรลุพระอรหันต
เปนประเภท “ปญญาวิมุตติ”๑๓๐ ดังที่พระพุทธเจาตรัสวา
“ภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหลานี้ของผูใด ประจักษชัดโดยยิ่งดวยปญญา
อยางนี้ ผูนี้เราเรียกวา ธัมมานุสารี กาวลงสูอริยมรรค หยั่งลงสูภูมิของ
สัตบุรุษ ผานภูมิของปุถุชนไดแลวไมควรทํากรรมที่ทําแลวไปเกิดในนรก
กําเนิดสัตวดิรัจฉาน หรือภูมิแหงเปรตไมสมควรตายตราบเทาที่ยังไมทําให
แจงโสดาปตติผล ภิกษุทั้งหลาย ผูใดรูเห็นธรรมเหลานี้อยางนี้ ผูนี้เราเรียกวา
“อริยสาวกผูเปนโสดาบันไมมีทางตกต่ํา มีความแนนอนที่จะสําเร็จสัมโพธิใน
๑๒๕
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม,๒๕๕๒), หนา ๓๓๒.
๑๒๖
ดูรายละเอียดใน องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๑.
๑๒๗
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรมฉบับปรับขยาย,หนา ๔๕๐.
๑๒๘
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวล
ศัพท, หนา ๑๕๒.
๑๒๙
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๓๑.
๑๓๐
ดูรายละเอียดใน สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๓๐๒ - ๓๑๑/๓๒๐ - ๓๒๗, สํ.ส. (ไทย)
๑๘/๗๐/๖๐.
๑๗๐
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๑๓๑
วันขางหนา”
ป ญ ญาวิ มุ ต ตบุ ค คล มี ๕ ประเภทดั ง กล า วแล ว พระอรหั น ต ผู
บําเพ็ญวิ ปสสนาล วนๆ มิไดสัมผัสวิ โมกข ๘ แต สิ้นอาสวะเพราะเห็น ดว ย
ปญญา๑๓๒ เปนปญญาวิมุตตบุคคลที่เรียกวา สุกขวิปสสก
พระสุกขวิปสสก(ผูที่เจริญวิปสสนาลวน) จะไดสมาธิถึงระดับฌาน
ก็ต อ เมื่อ ถึง ขณะแห งมรรค ๑๓๓ คือ จิ ต ที่ส งบชั่ ว ขณะก็ ส ามารถนํ ามาเป น
พื้นฐานในการเจริญวิปสสนาได แตถาหากขาดขณิกสมาธิ วิปสสนาก็เกิดขึ้น
ไมได ต องอาศัย ขณิกสมาธิเ ป นบาทจึงจะเจริญวิ ปส สนาได เมื่อวิ ปส สนา
ญาณสูงขึ้นตามลําดับ การเพงลักษณะอารมณก็จะแนบแนนขึ้นเชนกัน เมื่อ
มรรคจิตเกิดขึ้นก็ยอมบริบูรณพรอมดวยองคฌานทั้ง ๕ จัดเปนปฐมฌานโส
ตาปตติมัคคจิต สกทาคามิมรรคจิต อนาคามิมรรคจิต และอรหัตมรรคจิต
ของสุกขวิปสสกบุคคล จัดเขาเปนปฐมฌานดวยกันทั้งสิ้น พระผูมีพระภาค
ตรัสถึงสภาวะจิตของพระอรหันตผูเปนพระสุกขวิปสสกวา ภิกษุในธรรมวินัย
นี้ เมื่อมนสิการสักกายะ จิตของเธอยอมไมแลนไป ไมเลื่อมใส ไมตั้งอยู ไม
นอมไปในสักกายะ แตเมื่อมนสิการถึงความดับสักกายะ จิตของเธอจึงแลน
ไป เลื่อมใส ตั้งอยู นอมไปในความดับสักกายะ จิตนั้นของเธอชื่อวาเปนจิต
ดําเนินไปดีแลว เจริญดีแลว ตั้งอยูแลว หลุดพนดีแลว พรากออกดีแลวจาก
สักกายะ เธอหลุดพนแลวจากอาสวะ และความเรารอนที่กอความคับแคนซึ่ง
เกิดขึ้นเพราะสักกายะเปนปจจัย ยอมไมเสวยเวทนานั้น เรียกวา ธาตุที่สลัด
สั กกายะ ในคั มภี ร อ รรถกถาอธิ บ ายเสริ มว านี่ เ ป น วิ ธี การที่พระอรหั น ต ผู
บําเพ็ญวิปสสนาลวน สงจิตในอรหัตผลสมาบัติไปยังอุปาทานขันธทั้ง ๕ เพื่อ
ทดสอบดูวาความยึดมั่นในขันธทั้ง ๕ วาเปนอัตตายังมีอยูหรือไม๑๓๔

๑๓๑
ดูรายละเอียดใน สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๓๐๒ - ๓๑๑/๓๒๐ - ๓๒๗.
๑๓๒
ดูใน องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๑.
๑๓๓
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรมฉบับปรับขยาย,หนา ๔๑๘.
๑๓๔
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย (ประเสริฐ มนฺตเสวี), วิปสสนาภาวนาที่
ไมถูกเขียนไวในพระไตรปฎก, หนา ๔๐๐-๔๐๑.
๑๗๑
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๔.๔ วิปสสนายานิกบรรลุเปนพระอรหันตปญญาวิมุตติ
ทานผูเปนปญญาวิมุตติ คือ ผูหลุดพนดวยปญญา ในกรณีนี้หมายถึง
พระอรหั น ต ผู บํ าเพ็ญ วิ ป ส สนาล ว นๆ มิ ได สั ม ผั ส วิ โ มกข ๘ แต สิ้ น อาสวะ
เพราะเห็นดวยป ญญา๑๓๕ ไดเจริญสติปฏฐาน ๔ มีสติ พิจารณาในอาการ
ดวยอิริยาปถปพพะและสัมปชัญญปพพะ หรือปฏิบัติในหมวดปฏิกูลปพพะ
ธาตุมนสิการปพพะเลยทันที ดวยการตามพิจารณารูปกายดวยกําลังปญญิ
นทรีย ตามความเปนจริง โดยที่ยังไมไดฌาน๑๓๖ เริ่มปฏิบัติวิปสสนาเลยใช
สมาธิเพียงระดับขณิกสมาธิ คือ พิจารณาเห็นรูป-นามปจจุบันโดยความเปน
ไตรลักษณ เกิดวิปสสนาญาณไปตามลําดับจนอรหัตผล เรียกวา วิปสสนายา
นิก บุคคลนี้เมื่อบรรลุโสดาปตติมรรคแลว กําลังปฏิบัติเพื่อบรรลุโสดาปตติ
ผล จัดเปนพระอริยบุคคลประเภทธัมมานุสารี เมื่อบรรลุโสดาปตติผลแลว
กลายเปนทิฏฐิปตตะ๑๓๗ และเมื่อสิ้นอาสวะกิเลสสําเร็จเปนพระอรหันต
บุคคล มีชื่อเรียกวา ปญญาวิมุตติ๑๓๘
ปญญาวิมุต ติเ ปน ความหลุด พน ทางด านปญญา เปน ความหลุด
พนดวยปญญา เปนความหลุดแหงปญญา เปนปญญาที่มีความบริสุทธิ์หมด
จด เพราะเป น ป ญญาที่ ไม มี กิเ ลสและความทุ กข ทั้ง ปวงบดบั ง หรื อ ทํา ให
ผิดเพี้ยนไป ปญญานี้สามารถปรากฏขึ้นไดแกบุคคลที่กําจัดอวิชชาออกได
หมดแลว ซึ่งจะทําใหบุคคลนั้นหลุดพนจากกิเลสและความทุกขที่เปนเครื่อง
ผูกมัดตางๆ ได บุคคลผูที่เปนปญญาวิมุตตินั้น มีผลมาจากการเจริญวิปสสนา
ลวน บุคคลผูที่เจริญวิปสสนาลวนโดยมิไดสัมผัสวิโมกข ๘ แตสามารถสิ้น
กิเ ลสและกองทุ กข ทั้ งปวงได ด ว ยป ญ ญา บุ ค คลที่เ จริ ญ วิ ป ส สนาล ว นนั้ น
เรียกวา เปนสุกขวิปสสก แตโดยตามจริง ยอมไดเจโตวิมุตติดวย เพราะการ
๑๓๕
ดูใน องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) ๓/๑๔/๑๖๑.
๑๓๖
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย (ประเสริฐ มนฺตเสวี), อานาปานสติ
ภาวนา, หนา ๑๙๘.
๑๓๗
ดูรายละเอียดใน องฺ.สตฺตก.อ. (ไทย) ๔/-/๑๔/๑๙ - ๒๒.
๑๓๘
ดูรายละเอียดใน องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๙๐/๗๙, วิสุทฺธ.ิ ฏีกา (บาลี) ๑/๒๑.
๑๗๒
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
เจริญปญญาวิมุตติสอความคลุมถึงอยูแลววาตองไดเจโตวิมุตติดวย ถามีแต
ปญญาวิมุตติอยางเดียว หมายถึง พระอรหันตเทานั้น “อานนท ภิกษุผูรูถึง
ความเกิด ความดับ คุณ โทษของวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ และอุบาย
สลัดออกจากวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ นี้ตามความเปนจริง ยอมหลุด
พนเพราะไมถือมั่น”๑๓๙ ภิกษุนี้เรียกวา ผูเปนปญญาวิมุตติ
ดังนั้น เมื่อกลาวถึงบุคคลผูบรรลุอรหัตผล โดยแบงเปนปญญาวิมุตติ
กับอุภโตภาควิมุตตินั้น พึงเขาใจวา ปญญาวิมุตติ ซึ่งดูเหมือนจะใหแปลวา ผู
ไดปญญาวิมุตติอยางเดียวนั้น อันที่จริงยอมไดเจโตวิมุตติดวย เพราะการได
ป ญ ญาวิ มุ ต ติ ส อ ความคลุ ม ถึ ง อยู แ ล ว ว า ต อ งได เ จโตวิ มุ ต ติ ด ว ย เป น แต
หมายถึ ง เจโตวิ มุ ต ติ แ บบอาศั ย สมาธิ เ พี ย งเท า ที่ จํ า เป น ซึ่ ง จะต อ งมี เ ป น
ธรรมดาอยูแลวกอนที่จะไดปญญาวิมุตติ ผูที่เจริญวิปสสนาอยางเดียว แต
ความจริงก็ตองอาศัยสมถะ เพื่อใชสมาธิเทาที่จําเปนดวยนั่นเอง๑๔๐
๕. วิถีจิตรับรูอารมณ ในการเจริญวิปสสนา
การทําใหปญญาเกิดขึ้นนั้น มีความเกี่ยวของกับกระบวนการรับรู
อารมณทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มีลําดับขั้นตอนการรับรู ดังตอไปนี้
๕.๑ การรับรูอารมณผานทวาร ๖ วัตถุรูป ๖ อายตนะ ๖ ธาตุ ๖
ทวาร แปลวา ประตูสําหรับเปนที่เขาออกของอารมณ มีประสาทตา
เปนตน มี ๖ ทวาร๑๔๑
วัตถุรูป ๖ มี ตา หู เปนตน ยอมเปนที่อาศัยของจิตและเจตสิกและ
รองรับจิตและเจตสิกทั้งหลายนั้น ตามสภาพของตนเชนเดียวกัน
อายตนะ ๖ คือ อายตนะภายนอก อายตนะภายใน เมื่อมากระทบ
๑๓๙
ที.ม.อ. (บาลี) ๑๒๘/๑๑๒.
๑๔๐
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย, หนา ๔๓๑.
๑๔๑
พระสั ทธั มมโชติ กะ ธัม มาจริย ะ, ปรมัต ถโชติก ะ ปริจ เฉทที่ ๓ และ ๗
หลักสูตรจูฬอภิธรรมิกโท, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ ทิพยวิสุทธิ์
จํากัด, ๒๕๔๔), หนา ๓๑.
๑๗๓
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
กันเขาแลว วิถีจิตตาง ๆ มีจักขุทวารวิถี เปนตนยอมเกิดขึ้น๑๔๒
ธาตุ ๖ มีจักขุปสาท เปนตน ชื่อวา ธาตุ เพราะมีเนื้อความวา ไมใช
สัตว ไมใชชีวะ เปนแตสภาวะแท ๆ นั้นเอง
ทวาร ๖ วัตถุรูป ๖ อายตนะ ๖ ธาตุ ๖ เหลานี้ เรียกวา อุปกรณใน
การรับรู มีรายละเอียด ดังนี้
(๑) จั ก ขุ ท วาร เป น จั ก ขุ ป สาทรู ป ที่ ซึ ม ซาบอยู บ ริ เ วณตาดํ า มี
ลักษณะที่สามารถกระทบกับรูปารมณไดคือ สิ่งที่สามารถรูไดทางตา แลว
เกิดการรับรูข ึ้นมา เปนการมองเห็นรูป
(๒) โสตทวาร เปนโสตปสาทรูปที่ซึมซาบอยูบริเวณชองหู มีลักษณะ
ที่สามารถกระทบกับสัททารมณ คือ เสียงที่สามารถรูไดทางหู แลวเกิดการ
รับรูขึ้นมา เปนการไดยินเสียง
(๓) ฆานทวาร เปนฆานปสาทรูปที่ซึมซาบอยูบริเวณโพรงจมูก มี
ลั กษณะที่ส ามารถกระทบกั บ คั น ธารมณ คือ กลิ่ น ที่ ส ามารถรู ไ ด ท างจมู ก
แลวเกิดการรับรูขึ้นมา เปนการดมกลิ่น
(๔) ชิวหาทวาร เปนชิวหาปสาทรูปที่ซึมซาบอยูบริเวณปลายลิ้น มี
ลักษณะที่สามารถกระทบกับรสารมณ คือ รสที่สามารถรูไดทางลิ้น แลวเกิด
การรับรูขึ้นมา เปนการลิ้มรส
(๕) กายทวาร เปนกายปสาทรูปที่ซึมซาบอยูทั่วรางกาย มีลักษณะที่
สามารถกระทบกับโผฏฐัพพารมณ คือ ความเย็น รอน ออน แข็ง ตึงไหว ที่
สามารถถูกตองไดทางกาย แลวเกิดการรับรูขึ้นมา เปนการถูกตองสัมผัส
(๖) มโนทวาร เปนจิตในการรับรูอารมณในทางทวารทั้ง ๖๑๔๓
กระบวนการรับอารมณ มีอุปกรณในการรับอารมณที่สําคัญ เชน
การรับ รูอารมณทางจักขุ มีเครื่องมือในการรั บอารมณ คือ “จั กขุปสาท”
จั กขุป สาททําหน าที่ห ลายประการด ว ยกัน หน าที่การทํางานในด านแรก
เรียกวา ทวารหรือทางผาน เรียกวา จักขุทวาร, ทําหนาที่เปนวัตถุหรือเปนที่
๑๔๒
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๕๓.
๑๔๓
สุภีร ทุมทอง, การพัฒนาอินทรียสังวร, พิมพครั้งที่ ๑, (๒๕๕๔), หนา ๑๕๒.
๑๗๔
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
อาศัยของจิตและเจตสิก เรียกวา จักขุวัตถุ, ทําหนาที่เปนอายตนะภายใน
เรียกวาจักขายตนะทําหนาที่เปนธาตุ เรียกวา จักขุธาตุ เปนตน กระบวนการ
รับอารมณทางทวารอื่นก็เปนไปในทํานองเดียวกันนี้
๔.๒ อารมณที่ถูกรับรู
อารมณ (อารมฺมณ) หมายถึง ธรรมชาติเครื่องยึดเหนี่ยวจิต ใหจิตไป
รับรู (อาลมฺพ อาลมฺพน โคจร วิสย) (อา บทหนา รุม ธาตุ ในความหมายวา
ยินดี ยุ ปจจัย ซอน ม แปลง ยุ เปน อน = น เปน ณ)๑๔๔
วิเคราะหวา อา อภิมุขํ รมนฺติ เอตฺถาติ อารมฺมณํ. จิตและเจตสิก
ทั้งหลาย มายินดีพรอมหนากันในธรรมชาตินี้ ฉะนั้น ธรรมชาตินี้ชื่อวา
อารมณ มีความหมายวา เปนที่ยึดหนวงจิตและเจตสิกทั้งหลาย เหมือนคน
แกที่ทุพพลภาพ ยอมตองอาศัยไมเทาหรือเชือกเปนเครื่องยึดเหนี่ยวใหทรง
ตัวลุกขึ้นและเดินไปไดฉันใด จิตและเจตสิกทั้งหลายก็เชนเดียวกัน ตองมี
อารมณเปนเครื่องอาศัยยึดเพื่อเกิดขึ้นติดตอกัน ดังที่ทานแสดงวจนัตถวา
จิตฺตเจตสิเกหิ อาลมฺพตีติ อาลมฺพณํ แปลวา ธรรมชาติอันจิตและเจตสิกยึด
หนวง ฉะนั้นจึงชื่อวา อาลัมพณะ ไดแก อารมณ ๖๑๔๕
คําวา อารมณ วิเคราะหวา อาคนฺตฺวา จิตฺตเจตสิกา รมนฺติ เอเตสูติ
อารมฺมณานิ. รูปเปนตนเปนที่จิตและเจตสิกมายินดี จึงชื่อวา อารัมมณะ๑๔๖
โดยนัยนี้ หมายถึง รูปนามที่เปนที่ยึดเหนี่ยวของจิต ในการปฏิบัติวิปสสนา
ภาวนา อารมณของวิปสสนาภาวนา เรียกวา วิปสสนาภูมิ
สิ่งที่ถูกรับรูเรียกวา “อารมณ” เปนสิ่งที่ยึดเหนี่ยวของจิต เพราะจิต
นั้นเปนธรรมชาติที่รับรูอารมณ หากไมมีอารมณ จิตก็เกิดไมได อารมณแยก
เปน ๖ ประเภท ตามกระบวนการรับรู คือ
(๑) รูปารมณ หรือ รูปายตนะ องคธรรมไดแก สีตางๆ ที่สามารถ
๑๔๔
พระธรรมกิตติวงศ (ทองดี สุรเตโช,ราชบัณฑิต), พจนานุกรมเพื่อการศึกษา
พุทธศาสน ชุด ศัพทวิเคราะห, หนา ๑๐๒.
๑๔๕
พระสัทธัมมโชติกะธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๓, ๗, หนา ๓๓.
๑๔๖
พระมหาสมปอง มุทิโต, คัมภีรอภิธานวรรณนา, พิมพครั้งที่ ๒, หนา ๑๕๑.
๑๗๕
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
รับรูไดดวยจักขุวิญญาณจิต ๒ เทานั้น
(๒) สัทธารมณ หรือ สัทธายตนะ องคธรรมไดแก เสียงตางๆ ที่
สามารถรับรูไดดวยโสตวิญญาณจิต ๒ เทานั้น
(๓) คั น ธารมณ หรื อ คัน ธายตนะ องคธ รรมได แ ก กลิ่ น ต างๆ ที่
สามารถรับรูไดดวยฆานวิญญาณจิต ๒ เทานั้น
(๔) รสารมณ หรือ รสายตนะ องคธรรมไดแก รสตาง ๆ ที่สามารถ
รับรูไดดวยชิวหาปสาทเทานั้น
(๕) โผฏฐัพพารมณ หรือ โผฏฐัพพายตนะ องคธรรมไดแก เย็น รอน
ออน แข็ง หยอน ตึงที่สามารถรับรูไดดวยกายวิญญาณจิต ๒ เทานั้น
(๖) ธั มมารมณ หรื อ ธั ม มายตนะ ได แ กจิ ต เจตสิ ก ปสาทรู ป ๕
สุขุมรูป ๑๖ นิพพาน บัญญัติ ที่สามารถรับรูไดดวยมโนวิญญาณเทานั้น
กระบวนการรับรูอารมณโดยอายตนะภายในและภายนอกนั้น เปน
ธรรมที่เปนเหตุเปนผลกัน ดังตอไปนี้
๑. จักขายตนะกับรูปายตนะทั้งสองเปนเหตุ การเห็นเปนผล
๒. โสตายตนะกับสัททายตนะทั้งสองเปนเหตุ การไดยินเปนผล
๓. ฆานายตนะกับคันธายตนะทั้งสองเปนเหตุ การไดกลิ่นเปนผล
๔. ชิวหายตนะกับรสายตนะทัง้ สองเปนเหตุ การรูรสเปนผล
๕. กายายตนะกับโผฏฐัพพายตนะเปนเหตุ การรูสัมผัสเปนผล
๖. มนายตนะกับธัมมายตนะทั้งสองเปนเหตุ การรูสัมผัสเปนผล
๕.๓ วิถีจิต ในการรับรูอารมณ
วิถีจิต คือ จิตพรอมดวยเจตสิกที่เกิดขึ้นโดยลําดับติดตอกันเปนแถว
เปนจิตที่กําลังเกิดขึ้นรับอารมณใหม๑๔๗ ไดแก สีตางๆ เสียงตางๆ กลิ่นตางๆ
รสตางๆ เย็น รอน ออนแข็ง หยอน ตึง และธัมมารมณ อันไดแก จิตเจตสิก
ปสาทรูป สุขุมรูป ๑๖ นิพพาน และบัญญัต๑๔๘ ิ
๑๔๗
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ,ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๓, ๗,หนา ๓๗.
๑๔๘
วรรณสิทธิ ไวทยเสวี, คูมือการศึกษาพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉทที่ ๔
วิถีสังคหวิภาค, พิมพครั้งที่ ๕, (นครปฐม, ๒๕๔๗), หนา ๑๗.
๑๗๖
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
วิถีจิต หมายถึง จิตที่เกิดขึ้นเปนลําดับติดตอกันเปนแถว นับตั้งแต
การปรากฏของอารมณ (รูป เสียง..) ที่มากระทบทางทวาร (ตา หู..) ในทุกๆ
ความรูสึกนึกคิดอันมีที่มาและที่ไป ที่มาของความรูสึกนึกคิดในเบื้องตน คือ
อารมณหรือสิ่งเรา เมื่อมีอารมณมากระทบทางทวารตางๆ (ประสาทสัมผัส)
จะเกิดจิตชนิดตางๆ เพื่อทําหนาที่รับรูและตอบสนองสิ่งเรานั้น
จิตตุปปาทะ คือ จิตที่เกิดขึ้นพรอมกับเจตสิกที่ ในวิถีจิตนั้นๆ
วิ ถี จิ ต คื อ ความเป น อยู หรื อ ความเป น ไปของจิ ต และเจตสิ ก
ตามลําดับที่เกิดกอนและหลัง ในปวัตติกาล(กาลที่เปนไปถัดจากปฏิสนธิกาล)
ในเมื่อประสบกับอารมณใหมในวาระหนึ่งๆ เปนการทํางานของจิตเมื่อมีการ
รับรูอารมณทางตา หู จมูก ลิน กายใจ การทํางานของจิตเมื่อประกอบ
เจตสิกนัน มี ๑๔ กิจดวยกัน คือปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ อาวัชชนกิจสวนกิจ
ฆายนกิจ สายนกิจ ผุสสนกิจ สัมปฏิจฉนกิจ สันตีรณกิจ โวฏฐัพพนกิจ ชวน
กิจ ตทาลัมพนกิจ (ตทารัมมณกิจ) และจุติกิจ
ในขณะเจริญวิปสสนาภาวนานั้น “ผูปฏิบัติไมสามารถนําเอาจิตตุป
บาทแตละดวงมากําหนดรูหรือพิจารณาแยกเปนดวงๆ ไดเลย จึงตองกําหนด
โดยวิถีจิตทั้งวิถี”๑๔๙ เชน เมื่อจิตรับอารมณใหมที่ผานเขามาทางจักขุทวาร
และจิตขึ้นสูวิถีหรือจักขุทวารวิถี การกําหนดรูรูปารมณนี้ เปนการกําหนดรู
ทั้งวิถีจิตที่กําลังเกิดขึ้น มิใชกําหนดรูจิตแตละดวงที่กําลังดําเนินอยู “โดยวิถี
จิตยอมปรากฏแกผูปฏิบัติธรรมเหมือนเปนเพียงหนวยเดียว”๑๕๐
หนาที่ของจิต
อนึ่ง จิตมีธรรมชาติเกิด-ดับสืบตอกัน การเกิด-ดับของจิตนี้เปนไปใน
๒ ลั กษณะ คือ เกิด-ดับในภวังคจิต และเกิด-ดั บในวิ ถี คือ เมื่อรับ อารมณ
การทํางานของจิตก็เชนกัน ทํางานใน ๒ ลักษณะ คือ ทําในวิถีจิต และใน
๑๔๙
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนาชุนี หลักการปฏิบัติวิปสสนา,
หนา ๒๑๓.
๑๕๐
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), ปฏิจจสมุปบาท เหตุผลแหงวัฏสงสาร,
หนา ๑๑๔.
๑๗๗
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๑๕๑
ภวังคจิต การเกิดดับตอเนืองของจิตเปนอยูหลายภพชาติยาวนาน จึง
เหมือนจิตเปนกระแส เปนแถวแนวไมขาดสาย จึงเรียกวา กระแสจิต
ภวังคจิต คือ จิตที่เกิดดับอยูในกระแสภวังค ไมไดรับรูโลกภายนอก
ทางตา หู จมูก ลิน กาย ใจ รวมทั้งเวลานอนหลับแลวไมฝน แสดงวาจิตอยู
ในภวังค เวลาหลับภวังคจิตก็เกิด-ดับเชนเดียวกับจิตดวงอืนๆ เชนกัน และมี
อารมณติดมาตังแตปฏิสนธิ
คําวา ภวังค หมายถึง องคแหงภพ เปนจิตตั้งแตปฏิสนธิ จนถึงจุติ
(ตาย) ขณะใดที่จิตไมไดขึ้นสูอารมณทางตา หู จมูก ลิน กาย ใจ จิตขณะนั้น
เปนภวังค แตเมื่อจิตรับอารมณทางตา หู จมูก ลิน กาย ใจ(ทวาร ๖) แลว
ขณะนันจิตก็ไมใชภวังค จัดวาพนไปจากภวังคแลว เมื่อจิตรับอารมณทาง
ทวาร ๖ เห็นหรือไดยินตางๆ เรียกวา จิตขึ้นวิถีรับอารมณ เมื่อขึ้นวิถีรับ
อารมณแลว ก็จะมีภวังคจิตคันสลับตลอด จิตขึ้นวิถีรับอารมณใหมจบแลว ก็
มีภวังคจิตคั้นอีก สลับกันอยูเชนนี้ตลอดที่เรายังตื่นอยู การทํางานของจิต
รวดเร็วมาก เราจึงไมรูสึก แมจิตเปนภวังคไมไดขึ้นวิถีรับอารมณแตจิตก็
ทํางานตลอดเวลา คือเกิด-ดับ และมีอารมณทตี่ ิดมาตังแตปฏิสนธิ (เกิด)
นอกจากธรรมชาติของจิตดังกลาวแลว จิตยังมีหนาที่ที่เปนไปตาม
กระบวนการธรรมชาติเปนขั้นตอนตอเนื่อง การกระทําทุกอยางที่เกิดขึ้นทาง

๑๕๑
ภวังคจิต คือจิตที่ทําหนาที่ รักษาองคแหงภพ หมายความถึงรักษา
กรรมวิบากของรูปธรรม นามธรรม สืบตอจากปฏิสนธิวิบากจิต และปฏิสนธิกัมมชรูป
ใหดํารงอยูไดในภพนั้นๆ ตราบเทาอํานาจแหงชนกกรรมจะสงผลใหเปนไปเทาที่อายุ
สังขารจะพึงตั้งอยูได ภวังคจิตนี้เปนหนาที่ตามธรรมดาของจิต ที่จะตองทํากิจนี้อยูเสมอ
จิตจะหยุดทํากิจนี้ ก็ตอเมื่อขณะที่มีอารมณใหม ในปจจุบันมาคั่นตอนใหจิตขึ้นวิถีรับ
อารมณใหมในปจจุบันเสียเทานั้น พนจากการขึ้นวิถีรับอารมณใหมแลว จิตจะตองทํา
หนาที่ในการรักษาองคแหงภพนี้อยูเสมอตลอดเวลา
พระอนุรุ ทธเถระ,พระอภิธัมมัต ถสังคหะ ปริเฉทที่ ๓ ปกิ ณกสังคหวิภาค,
รวบรวมโดย วรรณสิทธิ์ ไวทยะเสรี, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพทิพยวิสุทธิ์, ๒๕๕๑),
หนา ๓๓-๔๐.

๑๗๘
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
กาย วาจา ใจ จะสําเร็จลุลวงไดก็ตองอาศัยจิต และเจตสิกที่เกิดขึ้นทํากิจ
หนาที่ของตนๆ จิตเกิดขึ้นและดับไปรวดเร็วดุจแลนไปในอารมณ อยู
ตลอดเวลา และยังสามารถทํากิจตางๆ ใหสําเร็จไปไดอีกดวย หนาที่การงาน
ของจิตเรียกวา กิจ ในคัมภีรอภิธัมมัตสังคหะ ดแสดงหนาที่ของจิตไว ๑๔
อยาง๑๕๒ ดังนี้
(๑) ปฏิสนธิ คือทําหนาที่เกิดขึ้นสืบตอไปในภพใหม เปนขณะจิต
แรกที่ปรากฏขึ้นในภพใหมนั้น และจะปรากฏขึ้นเพียงขณะจิตเดียวเทานั้น
ในภพชาติหนึ่งๆ
(๒) ภวังคจิต คือ จิตที่ทําหนาที่รักษาองคแหงภพ หมายความถึง
รักษากรรมวิบากของรูปธรรม นามธรรม สืบตอจากปฏิสนธิวิบากจิต และ
ปฏิสนธิกัมมชรูป ใหดํารงอยูไดในภพนั้นๆ ตราบเทาอํานาจแหงชนกกรรม
จะสงผลใหเปนไปเทาที่อายุสังขารจะพึงตั้งอยูได ภวังคจิตนี้เปนหนาที่ตาม
ธรรมดาของจิต ที่จะตองทํากิจนี้อยูเสมอ จิตจะหยุดทํากิจนี้ ก็ตอเมื่อขณะที่
มีอารมณใหม ในปจจุบันมาคั่นตอนใหจิตขึ้นวิถีรับอารมณใหมในปจจุบันเสีย
เทานั้น พนจากการขึ้นวิถีรับอารมณใหมแลว จิตจะตองทําหนาที่ในการ
รักษาองคแหงภพนี้อยูเสมอตลอดเวลา
(๓) อาวัชชนกิจ คือ จิตทําหนาที่พิจารณาอารมณ ๖ ที่มาถึงตน ทั้ง
ทางปญจทวารหรือทางมโนทวาร เปนจิตขณะแรกที่ทิ้งจากภวังคกิจ แลว
จะตองทําหนาที่อาวัชชนกิจนี้ทันที่ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา เปนจิตที่ทํา
หนาที่ตอนรับอารมณใหมในปจจุบันภพ กลาวไดวา เปนจิตดวงที่ขึ้นวิถีรับ
อารมณใหม
(๔) ทัสสนกิจ คือ จิตที่ทําหนาที่เห็นรูปารมณ จิตนี้มีชื่อเรียกวาจักขุ
วิญญาณจิตเพราะอาศัยจักขุวัตถุรูเห็นรูปารมณ ถาไมมีจักขุปสาททําหนาที่
เปนจักขุวัตถุแลว ทัสสนกิจ คือจิตที่ทําหนาที่เห็นจะเกิดขึ้นไมได และจิตที่

๑๕๒
พระอนุรุทธเถระ,พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉทที่ ๓ ปกิณกสังคหวิภาค,
รวบรวมโดย วรรณสิทธิ์ ไวทยะเสรี, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพทิพยวิสุทธิ์, ๒๕๕๑),
หนา ๓๓-๔๐.
๑๗๙
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ทําหนาที่เห็นนี้ ในวิถีจิตหนึ่งๆ ทัสสนกิจ จะมีไดเพียงขณะจิตเดียว คือ
ขณะที่จักขุวิญญาณจิตเกิดขึ้นในจักขุทวารวิถีเทานั้น
(๕) สวนกิจ คือ จิตที่ทําหนาที่ไดยินสัททารมณ จิตนี้มีชื่อวา โสต
วิญญาณจิตเพราะอาศัยโสตวัตถุเกิด เพื่อรูไดยินสัททารมณ ถาไมมีโสต
ปสาททําหนาที่เปนโสตวัตถุแลว สวนกิจคือจิตที่ทําหนาที่ไดยินจะเกิดขึ้น
ไมได และจิตที่ทําหนาที่ไดยินนี้ในวิถีจิตหนึ่งๆ สวนกิจจะมีไดเพียงขณะจิต
เดียว คือขณะที่โสตวิญญาณจิตเกิดขึน้ ในโสตทวารวิถี
(๖) ฆายนกิจ คือ จิตที่ทําหนาที่รูกลิ่นคันธารมณ จิตนี้ชื่อวา ฆาน
วิญญาณจิต เพราะอาศัยฆานวัตถุรูกลิ่นคันธารมณ ถาไมมีฆานปสาททํา
หนาที่เปนฆานวัตถุแลว ฆายนกิจ จิตที่ทําหนาที่รูกลิ่นก็มีขึ้นไมได และกิจที่
ทําหนาที่รูกลิ่นนี้ ในวิถีจิตหนึ่งๆ ฆายนกิจ จะมีไดเพียงขณะจิตเดียว คือ
ขณะที่ฆานวิญญาณจิตเกิดขึ้นในฆานทวารวิถี
(๗) สายนกิจ คือ จิตที่ทําหน าที่รูรสารมณ จิตนี้เรียกวา ชิวหา
วิญญาณจิตเพราะอาศัยชิวหาวัตถุรูรสารมณ ถาไมมีชิวหาปสาททําหนาที่
เปนชิวหาวัตถุแลว สายนกิจ จิตที่ทําหนาที่รูรสารมณก็จะมีขึ้นไมได และจิต
ที่ทําหนาที่รูกลิ่นนี้ ในวิถีจิตหนึ่งๆ สายนกิจ จะมีไดเพียงขณะจิตเดียว คือ
ชิวหาวิญญาณจิตที่เกิดในชิวหาทวารวิถี
(๘) ผุสนกิจ คือ จิตที่ทําหนาที่รูการกระทบโผฏฐัพพารมณ จิตนี้ชื่อ
วา กายวิญญาณจิต เพราะอาศัยกายวัตถุ เพื่อทํากิจรูการกระทบถูกตอง
สัมผัสโผฏฐัพพารมณ ถาไมมีกายปสาทเพื่อทําหนาที่เปนกายวัตถุแลว ผุสน
กิจ จิตที่ทําหนาที่รูการกระทบโผฏฐัพพารมณก็จะมีขึ้นไมได และจิตที่ทํา
หนาที่ผุสนกิจนี้ในวิถีจิตหนึ่งๆ ผุสนกิจจะมีไดเพียงขณะจิตเดียวคือขณะกาย
วิญญาณจิตเกิดในกายทวารวิถีเทานั้น
(๙) สัมปฏิจฉนกิจ คือ จิตที่ทําหนาที่รับปญจารมณตอจากทวิปญจ
วิญญาณจิต ในปญจทวารวิถีหนึ่งๆ สัมปฏิจฉนกิจจะเกิดขึ้นเพียงขณะจิต
เดียวเทานั้น
(๑๐) สันตีรณกิจ คือจิตที่ทําหนาที่ไตสวนปญจารมณตอจากสัมปฏิ
จฉนกิจ ในปญจทวารวิถีจิตหนึ่งๆ สันตีรณกิจจะเกิดขึ้นขณะจิตเดียวเทานั้น
๑๘๐
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
(๑๑) โวฏฐัพพนกิจ คือจิตที่ทําหนาที่ตัดสิ้นปญจารมณ โดยความ
เปนกุศล อกุศล เปนตน จิตนี้ ชื่อวา มโนทวาราวัชชนจิต ทําหนาที่โวฏฐัพ
พนกิจ ทางปญจทวารวิถีในวิถีจิตที่สมบูรณ วิถีจิตหนึ่งๆ ยอมเกิดไดขณะจิต
เดียว ในวิถีจิตที่ไมสมบูรณคือ ในโวฏฐัพพนวาระ อาจเกิดได ๒-๓ ขณะ
(๑๒) ชวนกิจ คือจิตที่ทําหนาที่เสพอารมณ ๖ ดวยกุศลจิต อกุศล
จิต สเหตุกกิริยาจิต หสิตุปาทจิต และโลกุตตรวิบากจิต ในวิถีจิตหนึ่งๆ ที่
เปนกามวิถีแลว สวนมากเกิดติดตอกัน ๗ ขณะ และในอัปปนาวิถี อาจเกิด
ไดมากมายจนประมาณมิไดก็มี
(๑๓) ตทาลัมพนกิจ คือจิตที่ทําหนาที่รับอารมณที่เหลือจากชวนจิต
เสพแลว ในกามอารมณหรือวิภูตารมณ ซึ่งมีจิตที่ชื่อวาตทาลัมพนจิต แลวจะ
ทําตทาลัมพนกิจ และเปน ๒ ขณะจิตสุดทายในวิถีจิตที่เปนตทาลัมพนวาระ
(๑๔) จุติกิจ คือจิตที่ทําหนาที่สิ้นจากภพปจจุบัน เปนจิตดวงสุดทาย
ที่จะปรากฏในภพชาตินั้น และจะปรากฏไดเพียงขณะจิตเดียว ในภพชาติ
หนึ่ง คลายคลึงกับปฏิสนธิกิจ จิตที่ทําหนาที่จุตินี้ เปนจิตประเภทเดียวกับ
ปฏิสนธิจิตและภวังคจิตนั่นเอง
การทํางานที่นั บ ว าเป น วิ ถีจิ ต เกิดเมื่อมีการรั บ อารมณ ทางตา หู
จมูก ลิน กาย ใจ เชน เห็น คิด ไดยิน เปนตน จิตจะรับอารมณก็เมื่อผัสสะ
เกิดขึ้น คือ รูปกระทบตาจึงเห็น เสียงกระทบหูจึงไดยิน เมื่อเกิดผัสสะจิตรับ
อารมณทางทวาร ๖ เรียกวา จิตขึ้นวิถี การทํางานของจิตในวิถีจิตนัน มีดังนี้
ขณะที่ ๑ อดี ตภวังค เป นภวังคจิตที่กระทบกับอารมณทางตา หู
จมูก ลิน กาย เปนครั้งแรก ภวังคจิตนี้มีอารมณที่รับตอจากภพที่แลว เปน
อารมณเกา(อดีตอารมณ) ไดแก กรรมอารมณ กรรมนิมิตอารมณ คตินิมิต
อารมณ อยางใดอยางหนึง อารมณทั้ง ๓ นี้เปนอารมณกอนตายที่ตองมา
ปรากฏกับทุกคนอยางใดอยางหนึ่ง เปนอารมณที่มาจากภพที่แลวตอมายัง
ภพนี้ ซึ่งจิตจะรับมาตังแตปฏิสนธิวิญาณเกิดขึ้น (คือเมื่อเกิด) แลวดับไป เมื่อ
ดับแลวภวังคจิตดวงแรกก็รับอารมณสืบตอมาจากปฏิสนธิวิญญาณ และรับ
อารมณเรือยไป จนสิ้นชีวิต(จุติจิต) ระหวางมีชีวิต(ระหวางปฏิสนธิจิตถึงจุติ
จิต)จะมีการรับอารมณเกิดขึ้นเรือยๆ ถาไมมีอารมณใหมมากระทบภวังคจิต
๑๘๑
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ใหหวันไหว จิตก็จะรับอารมณเกา(ภวังคจิต) ภวังคจิตดวงแรกที่กระทบ
อารมณใหม ก็จะไมปลอยอารมณเกาจึงเรียกวา อดีตภวังค ขณะนันจิตยังไม
ขึ้นวิถี ฉะนั้น อดีตภวังคเปนภวังคจิตเกา เปนดวงที่ ๑
ขณะที่ ๒ ภวังคคจลนะ(ภวังคไหว) เกิดตอจากอดีตภวังค ยังมีภวังค
จิตทีเ่ สพอารมณเกาอยู แตตางจากอดีตภวังค(ดวงแรก) ที่ภวังคคจลนะมีการ
กระทบอารมณใหม แล วมีความหวั นไหวเพราะการกระทบภวังคคจลนะ
หรือขณะที่ ๒ นี้ จิตยังไมขึ้นวิถี การขึ้นวิถีขึ้นทีด่ วงที่ ๔ หรือขณะที่ ๔
ขณะที่ ๓ ภวังคคุปจเฉทะ(ตัดกระแสภวังค) ยังเปนภวังคจิต แต
ปลอยอารมณเกา จิตนี้ยังไมขึ้นวิถี
ขณะที่ ๔ ปญจทวาราวัชชนะ ทําหนาที่รับอารมณใหมที่มากระทบ
ทางตา หู จมูก ลิน กาย (ปญจทวาร) เปนจิตดวงแรกที่ขึ้นวิถีรับอารมณใหม
แลวเปนปจจัยแกจิตดวงตอๆ ไป ใหรับอารมณจนสุดวิถี
ขณะที่ ๕ ปญจวิญญาณ(จิต ๕ ดวง) ทีเ่ กิดขึ้นรับปญจารมณ โดยจะ
เกิดทีละดวงเทานั้น คือ
จักขุวิญญาณ ปรากฏขึ้นรับรูปารมณ คือ เห็นรูปารมณนัน
โสตวิญญาณ ปรากฏขึ้นรับสัททารมณ คือ ไดยินสัทธารมณนัน
ฆานวิญญาณ ปรากฏขึน้ รับคันธารมณ คือ รูกลินคันธารมณนัน
ชิวหาวิญญาณ ปรากฏขึ้นรับรสารมณ คือ รูรสารมณนัน
กายวิญญาณ ปรากฏขึ้นรับโผฏฐัพพารมณ คือ รูสึกสัมผัส ถูกตอง
ขณะที่ ๖ สัมปฏิจฉันนะเกิดขึ้นรับอารมณจากปญจวิญญาณ แลว
สงตอใหจิตดวงตอไป คือ สันตีรณะ
ขณะที่ ๗ สันตีรณะรับอารมณมาจากสัมปฏิจฉันนะ แลวทําหนาที่
ไตสวนอารมณ กอนทีจ่ ะสงตอไปใหโวฏฐัพพนะ
ขณะที่ ๘ โวฏฐัพพนะทําหนาที่ตัดสิ้นอารมณที่รับมาวาดี-ชัว เปน
กุศล-อกุศล ตามแตการมนสิการ(พิจารณา) ของบุคคล ฉะนั้น จิตขณะนี้จึง
สําคัญมาก เพราะดวงตอไป คือชวนะจิตทําหนาที่เสพอารมณ การเสพ
อารมณนี้เปนไปถึง ๗ ขณะ จะเปนบุญ-บาปอยูที่ชวงนี้ ฉะนั้นถาโวฏฐัพพนะ
ตัดสิ้นวาเปนกุศล มนสิการวาเปนกุศล ชวนะก็คลอยตามไป
๑๘๒
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ขณะที่ ๙-๑๕ ชวนะ จิต ทําหนาที่เ สพอารมณทั้ง ๗ ขณะ เป น
อารมณเดียวกัน ถาเปนกุศลก็เปนกุศลทั้ง ๗ ดวง ถาเปนอกุศลก็เปนอกุศล
ทั้ง ๗ ดวง บุญ-บาปปรากฏทีช่ วนจิตนี้
ขณะที่ ๑๖ - ๑๗ ตทาลัมพนะเปนจิตที่รับเศษของอารมณที่เหลือ
จากชวนะอีก ๒ ขณะ แลวหนวงอารมณสูภวังคจิตตอไป ถือวาสิ้นสุดวิถี
ตอจากนี้จิตก็เปนภวังครับอารมณเกาตอไป จนกระทั้งไดรับกระทบ
อารมณใหม จึงขึ้นวิถีใหม ตามนัยที่ไดกลาวมาแลวขางตน การรับอารมณใน
ลักษณะขางตนนี้ นับเปนวิถีจิตที่รับอารมณชัดเจนที่สุด มีจิตเกิดถึง ๑๗
ขณะ เปนการรับอารมณทางทวาร ๕
วิถีจิตที่แสดงนี้ เปนอติมหันตารมณ ปญจารมณ หรืออารมณทั้ง ๕
(รูป เสียง กลิน รส โผฏฐัพพะ) มีกําลังแรงกลามากที่สุด มีเหตุปจจัยที่ชวย
ใหจิตรับอารมณ และมีความเดนชัด เชน ถาในแงรูปารมณจะชัดเจน เพราะ
มีจักขุปสาทดี มีแสงพอเพียง หรือถาเปนสัททารมณจะชัดเจน เพราะโสต
ปสาทดี มีคลืนเสียง มีความสันสะเทือน มีชองวางหรืออากาศเปนตน ถาขาด
มนสิการหรือการรับอารมณไมชัดเจน ขณะจิตจะไมถึง ๑๗ ขณะ
อติมหันตารมณนี้เปนกามวิถี คือ เปนวิถีจิตที่เปนไปกับอารมณ
ทางปญจาทวารที่เกี่ยวกับกาม จิตที่เกี่ยวของก็เปนกามาวจรจิต มีขณะจิต
เกิดมากที่สุด ถึง ๑๗ ขณะ จึงแจมชัดมาก แตตองเปนไปในรูปปจจุบัน
เทานั้น คือตองกําลังมีอยู กําลังปรากฏอยู จึงเปนอารมณแกปญจทวารวิถีได
นอกจากอติ ม หั น ตารมณแ ล ว ยั งมี วิ ถี จิ ต ที่เ ป น ไปกับ อารมณ
ทางปญจทวาร ทีม่ ีกําลังออนไปตามลําดับ
จําแนกวิถีจิตทีเ่ ปนไปกับอารมณทางปญจทวาร ไว ๔ แบบ คือ
๑. อติมหันตารมณ จิตขึ้นสูวิถี รับรูอารมณที่กําลังแรงมากที่สุด ถึง
๑๗ ขณะ
๒. มหันตารมณ จิตขึ้นสูวิถีรับรูอารมณ มีกําลังออนกวาอติมหันตา
รมณ มหันตารมณวิถีมีได ๒ นัย คือจิตเกิดดับ ๑๖ และ ๑๕ ขณะ
๓. ปริตตารมณ จิตขึ้นวิถีรับรูอารมณมีกําลังออน วิถีนี้เกิดได ๖ นัย
คือ จิตเกิดดับ ๑๔, ๑๓, ๑๒, ๑๑, ๑๐ และ ๙ ขณะ
๑๘๓
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๔. อติปริตรตารมณ จิตขึ้นวิถีรับรูอารมณมีกําลังออนที่สุด วิถีนี้เกิด
ได ๖ นัย คือ จิตเกิดดับ ๘, ๗, ๖, ๕, ๔ และ ๓ ขณะ
นอกจากการรับรูอารมณทางปญจทวาร มีวิถีจิตที่เกิดขึ้น ดังที่ได
ยกตัวอยางไปแลว คือ อติมหันตารมณ ก็ยังมีการรับรูอารมณของจิตทางมโน
ทวาร การรับอารมณทั้ง ๖ ในทางมโนทวาร สามารถรับรูอารมณทั้ง ๖ ได
ทั้งในอดี ต ป จจุ บั น อนาคต อารมณที่ปรากฏทางมโนทวารปรากฏได ทุก
อารมณ ไมจํากัดกาลของอารมณนัน
วิถีจิตทางมโนทวารนี้ไว มี ๔ นัย คือ
๑. อติวิดภูตารมณ อารมณปรากฏชัดเจนทางใจมากทีส่ ุด
๒. วิภูตารมณ อารมณปรากฏชัดทางใจ แตไมเทาอติวภูตารมณ
๓. อวิภูตารมณ อารมณไมปรากฏชัดทางใจ ไมมีชวนะ ยังไมเสพ
อารมณ
๔. อติอวิภูตารมณ อารมณไมปรากฏทางใจเลย เพียงแตทําให
ภวังคจิตไหวเทานั้น จิตไมขึ้นวิถีรับอารมณใหมเลย เกิดไดในฝนของปุถุชน
เรียกไดวา จิตไมขึ้นวิถีรับอารมณเลย
การอธิบายวิถีจิตทางปญจทวาร และทางมโนทาวรที่แสดงแลวนี้
เปนกามวิถีเทานั้น คือ วิถีจิตที่ปรากฏรับอารมณทั้ง ๖ รูป เสียง กลิน รส
สัมผั ส และธรรมารมณที่เ กี่ย วของกับ กามและแสดงเพีย งวิ ถีที่รับ อารมณ
โดยทัวไป ยังมีวิถีซึ่งเปนวิถีจิตที่เกิดใกลตาย แตไมไดแสดงไวในที่นี้ คือ
มรณาสันนวิถี
นอกจากกามวิถีแลว ยังมีวิถีจิตที่เปนอัปปนาวิถี เปนวิถีจิตที่แนบ
แนนกับอารมณเดียว
คําวาอัปปนาวิถี แปลวาทําลาย คือทําลายกิเลส มีนิวรณ เปนตน
อัปปนาวิถีจะเปนมโนทวารวิถีเพียงอยางเดียว และเมื่อจิตตองแนบแนนกับ
อารมณอยางเดียว ก็มีวิถีเดียว คือวิภูตารมณวิถีอารมณตองชัดเจนจริงๆ จึง
เปนอัปปนาวิถี แตอัปปนาวิถี จะไมมีตทาลัพนจิต เพราะไมใชกามชวนะ อีก
ทั้งเปนวิถีที่มีแตกุศล วิบาก และกิริยา มีแตโสภณจิต ไมมีอกุศลจิตเลย ไมมี
การสังสมกิเลส มีแตประหารกิเลส ทั้งในลักษณะขมไว และทําลายกิเลสให
๑๘๔
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
สิ้นซาก นอกจากนี้ ชวนจิตของอัปปนาวิถีเกิดได ๑ ขณะจิต ขึ้นไปจนนับไม
ถวน เมื่ออัปปนาวิถีไมมีอกุศลจิต มีแตโสภณจิต และเปนชวนจิตทีย่ าวมาก
อัปปนาวิถี และโลกุตตรอัปปนาวิถี มีความแตกตาง คือ โลกียอัปป
นาวิถีหรือฌานจิต คือ วิถีที่มีฌานจิต ๑๘ ดวงเกิดขึ้น(ฌานจิต หรือมหัคคต
จิตนี้ มี ๑๘ คือ ทีเ่ ปน มหัคคตกุศลจิต ๙ มหัคคตกิริยาจิต ๙ เชน เมื่อเจริญ
สมถกรรมฐาน จิตสงบ ไดปฐมฌาน หรือฌานระดับอืนๆ เปนตน)
โลกุตตรอัปปนาวิถี คือ วิถีทมี่ ีโลกุตตรจิตเกิดขึ้น ๘ หรือ ๔๐ ดวง
ตามแตจําแนกหยาบละเอียด คือ มัคคจิต๔(๒๐) ผลจิต ๔ (๒๐) โลกิตตรจิต
ทั้งหมดนี้ มีพระนิพพานเปนอารมณอยางเดียวกันทั้งสิ้น โลกุตตรอัปปนาวิถี
นี้ บางทีเ่ รียกวา มรรควิถี เพราะเปนวิถีจิตทีเ่ ขาถึงมรรค
วิถีจิตเมื่อจำแนกโดยประเภทใหญๆ มี ๒ ประเภท คือ
(๑) ปญจทวารวิถี คือ ความเปนไปของจิตและเจตสิก ที่เกิดทาง
ทวารทั้ง ๕ ไดแก จักขุทวารวิถี โสตทวารวิถี ฆานทวารวิถี ชิวหาทวารวิถี
กายทวารวิถี มีลําดับการแสดงดังตอไปนี้
เมื่อมีอารมณมากระทบกับภวังคจิตเปนครั้งแรก จึงเรียกจิตดวงนี้วา
“อตีตภวังค” อารมณมากระทบกับภวังคจิต ทาง ๕ ทวาร เรียกวา “ปญ
จารมณ” ไดแก รูปารมณ สัทธารมณ คันธารมณ รสารมณ และโผฏฐัพพา
รมณ (อยางใดอยางหนึ่งที่เปนประธาน) เมื่อภวังคอตีตดับลงแลว จิตที่ทํา
หนาที่เกิดตอ เรียกวา “ภวังคจลนะ” คือจิตที่หวั่นไหวดวยอํานาจอารมณที่
ถูกรับรู และเมื่อภวังคจลนะดับลงแลว จิตที่ทําหนาที่เกิดตอ เรียกวา “ภวัง
คุ ป จ เฉทะ” ซึ่ ง ได แ ก ภวั ง คจลนะดวงที่ ๒ ทํ า หน า ที่ ตั ด กระแสภวั ง ค
ในขณะที่ยังเปนภวังคจิตอยูยังไมขึ้นสูวิถี
เมื่อภวังคุปจเฉทะดับลงแลว จิตที่ทําหนาที่เกิดตอ เรียกวา “ปญจ-
ทวาราวัชชนจิต” ทําหนาที่ ๒ อยาง คือ ๑) ทําหนาที่พิจารณา (หรือรับ..)
อารมณ ๕ อยาง ๒) ทําหนาที่ตัดกระแสภวังคไมใหเกิดขึ้นเลยเขาไปในวิถี
เมื่อปญจทวาราวัชชนจิต ดับลงแลว จิตที่ทําหนาที่เกิดตอ เรียกวา
“ทวิปญจวิญญาณจิต” คือ จิตที่ทําหนาที่รูอารมณวาเปนอารมณชนิดไหน
๑๘๕
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
เชน จักขุวิญญาณจิตทําหนาที่รูรูปารมณ โสตวิญญาณจิตทําหนาที่รูสัทธา
รมณ เปนตน การที่จะรูวาเปนอารมณชนิดไหน อารมณนั้นจะตองปรากฏชัด
กวาอารมณอื่นๆ จึงจะรูอารมณนั้น ๆ ได
เมื่อทวิปญจวิญญาณจิตดับลงแลว จิตที่ทําหนาที่เกิดตอ เรียกว า
“สัมปฏิจฉนจิต” คือ จิตที่ทําหนาที่เกิดตอจากทวิปญจวิญญาณจิต และจิตที่
ทําหนาที่สัมปฏิจฉนจิต รับอารมณ ๕ อยางเหมือนกันกับปญจทวาราวัชชน
จิต จึงรวมเรียกวา จิต ๓ (ปญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิฉนจิต ๒) ดวงนี้วา
มโนธาตุ คือจิตที่รับอารมณ ๕ อยางโดยแนนอน
เมื่อสัมปฏิจฉนจิตดับลงแลว จิตที่ทําหนาที่เกิดตอเรียกวา “สันตีรณ
จิต” คือจิตที่ทําหนาที่ไตสวนอารมณ
เมื่อสันตีรณจิตดับลงแลว จิตที่ทําหนาที่เกิดตอ เรียกวา “โวฏฐัพ
พนจิต” คือจิตที่ทําหนาที่ตัดสินอารมณ (เปนจิตที่สําคัญที่สุดในปญจทวาร
วิถี คือมโนทวาราวัชชนจิต จิตดวงนี้ทําหนาที่ตัดสินอารมณที่ไมดีใหเปนดีได
เมื่อโวฏฐัพพนจิตดับลงแลว จิตที่ทําหนาที่เกิดตอ เรียกวา “ชวน
จิ ต” คือ จิ ต ที่ทําหน า ที่เ สพอารมณ (หรื อ เรี ย กอีกอย างหนึ่ งว า “เป น ตั ว
กรรม” ก็ได) เกิดขึ้น ๗ ขณะ
เมื่ อ ชวนจิ ต ดวงที่ ๗ ดั บ ลงแล ว จิ ต ที่ ทํ า หน า ที่ เ กิ ด ต อ เรี ย กว า
“ตทารั ม มณจิ ต ” คื อ จิ ต ที่ ทํ า หน า ที่ ต อ จากชวนะ (เหตุ ที่ ต ทารั ม มณจิ ต
เกิดขึ้น ๒ ขณะนั้น เพราะการดับลงของอารมณนั้นยังมีกําลังมาก)
ดังนั้น กระบวนการเกิดปญญาทางทวารตาง ๆ นั้น เมื่อมีรูปารมณ
มากระทบจักขุปสาท และสงตอใหจักขุวิญญาณเกิดขึ้น ทําหนาที่ในการเห็น
การเห็นนั้นมีทั้งดีและไมดี กรณีที่เห็นไมดีก็พิจารณาอยางแยบคายใหเปนดี
ไดทําใหปญญาเกิด เชน การเห็นสุนัขเนาจัดเปนอารมณที่ไมดีสําหรับบุคคล
ทั่วไป แตสําหรับผูเจริญกรรมฐานกลับเปนอารมณที่ดี โดยพิจารณาวา ตัว
เราและสัตวทั้งหลายที่เกิดอยูในโลกนี้เวลาตายแลวก็มีสภาพเชนเดียวกับ
สุนัขเนาเหมือนกัน เปนเหตุใหปญญาเกิดได๑๕๓
๑๕๓
พระสัทธัมมโชติกะธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๓, ๗, หนา ๑๗.
๑๘๖
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ปญจทวารวิถีเปนวิถีจิตในกามภูมิเทานั้น สวนมโนทวารวิถี เปนวิถี
จิตในกามภูมิ และในภูมิที่สูงขึ้นไปอีก คือ อัปปนามโนทวารวิถี หรือฌานวิถี
(จําแนกออกเป นโลกียอัป ปนาวิ ถี และโลกุตตรอัปปนาวิถี) ป ญจทวารวิ ถี
เกิดขึ้นเมื่อมีอารมณ ๕ มาปรากฏทางทวาร ๕ คือ รูปารมณกระทบกับจักขุ
ประสาท สั ททารมณกระทบกับ โสตประสาท คัน ธารมณกระทบกับ ฆาน
ประสาท รสารมณกระทบกับชิวหาประสาท และโผฏฐัพพารมณกระทบกับ
กายประสาท อารมณทั้ง ๕ ก็มากระทบถึงจิต จิตที่ยังอยูในภวังคนั้นก็ตื่น
จากภวังค เกิดเปนจิตที่เขาอยูในวิถีแหงการรับรู ที่เรียกวา วิถีจิต
(๒) มโนทวารวิถี คือ ความเปนไปของจิตและเจตสิกที่เกิดขึ้นทาง
ใจ เปนวิถีจิตของอารมณทางใจ
มโนทวารวิถี หมายถึง กระแสทํางานภายในจิต สืบตอมาจาก
กระบวนการทางปญจทวารวิถีอีกทีหนึ่ง ทําใหจิตมีกระบวนการแหงความ
นึกคิดพิจารณา ทําใหเกิดจินตภาพ และมโนภาพตางๆ ขึ้นมา โดยมีการทํา
หนาที่รับรู เสพ เสวยผลแหงอารมณนั้นๆ
ในชวงภวังคจิตและชวงวิถีจิต จิตยอมเกิดและดับไปตามลําดับ โดย
มีชื่อเรียกตางๆ ตามหนาที่ตอ ๆ กันไปดังนี้
๑) ชวงภวังคจิต มี ๓ ขณะ ไดแก ๑. อดีตภวังค คือ ภวังคจิตที่สืบ
ตอมาจากกอน ๒. ภวังคจลนะ คือ ภวังคไหวตัวจากอารมณใหมมากระทบ
๓. ภวังคุปจเฉทะ คือ ภวังคตัดขาดจากอารมณเกา หรือตัดกระแสของภวังค
ใหขาดไปโดยสิ้นเชิง
๒) ช ว งวิ ถี จิ ต มี ๑๔ ขณะ ได แ ก ๑. อาวั ช ชนะ คื อ การคํ า นึ ง
อารมณใหมทางทวาร ๕ เรียกวา ปญจทวาราวัชชนะ หรือเรียกตามทวาร
เช น ขณะที่เ กิ ด ทางจั กขุ ทวาร เป น จั ก ขุทวาราวั ช ชนะ เป น ต น ๒. ป ญ จ
วิญญาณ คือ การรูอารมณในอารมณทั้ง ๕ ถารูปมากระทบก็ไดเห็นอารมณ
นั้นเปนจักขุวิญญาณ ถาเสียงมากระทบก็ไดยินอารมณนั้นเปนโสตวิญญาณ
เปนตน ๓. สัมปฏิจฉนะ คือ การรับอารมณจากปญจวิญญาณ เพื่อเสนอแก
สันตีรณะเทานั้น ๔. สันตีรณะ คือ การพิจารณาไตรตรองอารมณที่รับมา ๕.
โวฏฐัพพนะ คือ การกําหนดอารมณ หรือการตัดสินอารมณ ๖.– ๑๒. ชวนะ
๑๘๗
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
คือ การแลนไปในอารมณที่โวฏฐัพพนะกําหนดไวแลว ดวยความเร็วเหมือน
อสนีบาตติดตอกัน ๗ ขณะจิต ๑๓.–๑๔. ตทาลัมพนะ คือ การหนวงอยูกับ
อารมณหรือเก็บอารมณตอจากชวนะติดตอกัน ๒ ขณะจิต แลวก็สิ้นสุดวิถี
คือ เปนอันจบกระบวนการของวิถีจิต ๑ วิถี อารมณก็ดับไป แลวจิตก็ตกไป
ในภวังค๑๕๔ เมื่อนับตลอดทั้งสองชวง คือ ตั้งแตอดีตภวังคจุดเริ่มมาจนจบ
วิถีจิต รวมทั้งหมดเปน ๑๗ ขณะจิต๑๕๕
สําหรับผูเจริญวิปสสนาภาวนา จนวิปสสนาญาณแกกลาแลว อาจ
ทําใหเกิดความรูสึกวาชวงของจิตที่กําหนดขางหนาและขางหลังดูเหมือนวา
จะทิ้งชวงหางกันมากขึ้น ตัวอยางเชน ในการคูแขนเขาแตละครั้งอาจตองใช
จิตกําหนดหลายรอบ ซึ่งในการกําหนดรูอาการดังกลาว จิตที่กําหนดหลังๆ
จะดูหางจากจิตที่กําหนดกอนๆ จึงอาจทําใหผูปฎิบัติคิดวา อารมณที่กําหนด
นั้นนอยไปหรือหางไป ซึ่งความจริงแลว อารมณนั้นไมไดนอยหรือหางอยางที่
คิดแตอยางใด แตเนื่องจากการกําหนดของผูปฎิบัตินั้นเปนไปดวยความเร็ว
จึงทําใหภวังคจิตทั้งหลาย ปรากฏออกมาในระหวางแหงวิถีจิตทั้งหลายดวย
ในช ว งเวลาเช น นั้ น การเขา ไปรู ส ภาวะความขาดช ว งของวิ ถีจิ ต
ทั้งหลายเรี ยกวา เปน การรู ภวั งคมโนทวาร แต สําหรั บการรูอาวั ชชนมโน
ทวารนั้น เปนการรูลักษณะของมโนทวาร การรูวาอาวัชชนะนั้นมีหนาที่ทํา
กิจคือการพิจารณา เปนการรูรสะ รูการเอาใจใสในอารมณนั้น เรียกวา เปน
การรูปจจุปฏฐาน รูวาเนื่องจากภวังคจิตขาดชวงไป จึงไดเกิดการเริ่มตนเอา
ใจใสอารมณ จัดเปนการรูปทัฏฐานของอาวัชชนมโนทวารนั้น ก็การรูมโน
ทวาร เปรียบเหมือนกับการรูหทัยวัตถุรูปหรือรูปหัวใจ หมายความวา เมื่อรู
รูปหัวใจ โดยถูกตองตรงตามความเปนจริง ยอมทําใหรูไดวา รูปหัวใจนั้นเปน
นิสสยะกลาว คือ ที่ตั้งที่อาศัยของจิตที่ทําการกําหนดพิจารณา จากนั้น ก็จะ
ทําใหรูตอไปวา จิตเริ่มตนนึกคิดตั้งแตตรงเริ่มตนกําหนดตั้งแตจุดเริ่มตน ก็
การรูเชนนี้จัดเปนการรูลักษณะของอาวัชชนมโนทวาร
๑๕๔
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๗๖๔-๗๖๘.
๑๕๕
เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๗๘.
๑๘๘
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ในมโนทวารวิถีนี้ จิตสามารถรับอารมณทั้ง ๖ ไดหมด ไมจํากัดวาจะ
เปนปจจุบัน อดีต หรืออนาคต แมแตในกาลวิมุตตารมณ (คือพระนิพพาน
และบัญญัติ) ในมโนทวารวิถีก็รับ ได มโนทวารวิ ถีมีอารมณได ๖ คือ รูป า
รมณ สัททารมณ คันธารมณ รสารมณ โผฏฐัพพารมณ และธัมมารมณ ทั้งที่
เป น ปรมั ต ถ แ ละบั ญ ญั ติ ธั ม มารมณ จึ ง ไม จํ า กั ด ว า จะเป น ป จ จุ บั น อดี ต
อนาคต หรือกาลวิมุต ก็เปนอารมณแกมโนทวารวิถีไดทั้งสิ้น
มโนทวารวิถี มี ๓ อยาง๑๕๖ ดังนี้
๑) มโนทวารวิถีผสม คือ มโนทวารวิถีที่มาปรากฏพรอมกับปญจ
ทวารวิถี ดังความวา “อารมณหนึ่ง ๆ ยอมมาปรากฏในทวารอยางละสองๆ
...การที่รูปารมณปจจุบันเปนตนกระทบในจักขุประสาทเปนตน และการมา
ปรากฏในมโนทวารดวยการยังภวังคจิตใหไหว ยอมมีไดในขณะเดียวกันไม
กอนไมหลัง”
๒) มโนทวารวิถีที่ติดตามปญจทวารวิถี คือ เมื่อทวาร ๕ ถูกอารมณ
กระทบแลวครั้งหนึ่ง ครั้นวิถีจิตที่ดําเนินไปในทวาร ๕ ดับไปแลว อารมณ ๕
ที่ผานมาแลวก็มาปรากฏในมโนทวารตามสภาวะ กระแสภวังคที่เปนทวาร
ของกระแสวิถีจิต ชื่อวา มโนทวารที่ติดตามปญจทวาร และจิตเหลานั้นก็เปน
วิถีจิตที่ติดตาม
๓) มโนทวารวิถีที่สําเร็จเฉพาะ คือ เมื่อภวังคจิตที่มีอารมณ ๖ มา
ปรากฏโดยประการนั้นๆ ปราศจากการติดตาม โดยกระทบในทวาร ๕ ไดแก
อารมณมาปรากฏไดดวยเหตุตางๆ ดังตอไปนี้ อารมณที่เคยพบ คือ อารมณ
๕ ที่ ท วาร ๕ เคยรั บ มาก อ น, อารมณ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ อารมณ ที่ เ คยพบ,
อารมณที่เคยสดับคืออารมณ ๖ ที่เคยสดับจากคนอื่นแลวรับเอามา, อารมณ
ที่เกี่ยวเนื่องกับอารมณที่เคยสดับ, ความเชื่อตอบุคคลอื่น, ความพอใจคือ
ความเห็นของตน, ความดําริอาการ คือความดําริโดยประการนั้นๆ โดยอาศัย
เคามูลของอรรถ เคามูลของพยัญชนะ และเคามูลของเหตุ, ความเหมาะสม
๑๕๖
พระอนุรุทธะและพระญาณธชนะ, อภิธัมมัตถสังคหะและปรมัตถทีปนี,
หนา ๓๙๖., ๓๘๕-๓๘๖.
๑๘๙
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
แกก ารใคร ค รวญด ว ยความรู , แรงกรรมต างๆ, อานุ ภ าพของฤทธิ์ ต า งๆ,
อํานาจของธาตุแปรปรวน, อํานาจของการที่เทวดานํามาแสดง, อํานาจของ
การตามรูอ ริยสัจ, และอํานาจของการรูแจง (ดวยโลกุตตรญาณ) เปนตน
การดําเนินไปของอารมณทางมโนทวารวิถีมี ๔ วาระเชนเดียวกัน
กับปญจทวารวิถี คือ ตทารัมมณวาระ ชวนวาระ โวฏฐัพพนวาระ และโมฆะ
วาระ ตามลําดับอารมณที่ปรากฏชัด ดังนี้ ๑) อติวิภูตารมณ คือ อารมณที่
ปรากฏเดนชัด มีวิถีจิตที่บริบูรณ ๑๒ ขณะจิต ๒) วิภูตารมณ คือ อารมณที่
ปรากฏชัดมาก เมื่อวิถีจิตมาถึงชวนะ ๗ ขณะจิต ก็ตกภวังคไปเลย ๓) อวิภู
ตารมณ คือ อารมณที่ปรากฏชัดนอย มีเพียงอาวัชชนะ จากนั้นก็ตกภวังคไป
และ ๔) อติอวิภูตารมณ คืออารมณที่ปรากฏไมชัด มีเพียงภวัคจลนะ ไมมี
การเกิดขึ้นของวิถีจิต
ดังนั้น สันตติปจจุบันของนามที่นับเนื่องดวยชวนวาระ ๒-๓ วิถีจิต
จึงยอมเปนไปใน ๒ วาระ คือ ตทารัมมณวาระและชวนวาระ ซึ่งอารมณที่
ปรากฏเดน ชั ดและชั ด มาก การที่จิ ตรั บ อติ วิ ภูต ารมณและวิภู ต ารมณได ดี
เพราะจิตจะรื่นรมยในอารมณที่ปรากฏชัดเทานั้น๑๕๗ ความสัมพันธระหวาง
มโนทวารวิถีกับปญจทวารวิถีที่สําคัญ คือ ปญจทวารวิถีจะสําเร็จกิจการรับรู
ของทวาร ๕ ได ตองอาศัยมโนทวารวิถี ดังคัมภีรปรมัตถทีปนีฎีกาอธิบาย
จักขุทวารวิถีที่เปนอติมหันตารมณ และอติวิภูตารมณในมโนทวารวิถี ดังนี้
เมื่อจั กขุทวารวิ ถี [ที่ ๑] ดํ าเนิ น ไปกอนวิ ถี จิ ต ทั้งหมด ต อมามโน
ทวารวิถี [ที่ ๒] ที่ติดตามจักขุทวารวิถีจึงดําเนินไป หลังจากนั้น มโนทวารวิถี
[ที่ ๓] ที่รับเอากลุมกอนของสัณฐานยอมดําเนินไป จากนั้น มโนทวารวิถี [ที่
๔] ที่กําหนดหมายสียอมดําเนินไป ในขณะดําเนินไปอยู บุคคลยอมกําหนด
หมายสีไดโดยนัยวา เราเห็นสีเขียว เปนตน ตอแตนั้น มโนทวารวิถี [ที่ ๕]
รับเอารูปร างยอมดําเนิ นไป จากนั้น มโนทวารวิถี [ที่ ๖] ที่กําหนดหมาย
รูปรางยอมดําเนินไป ในขณะดําเนินไปอยู บุคคลก็กําหนดหมายสัณฐานได

๑๕๗
ดูรายละเอียดใน พระอนุรุทธะและพระญาณธชนะ, อภิธัมมัตถสังคหะและ
ปรมัตถทีปนี, หนา ๓๙๙.
๑๙๐
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
หลั งจากนั้ น มโนทวารวิถี [ที่ ๗] ที่รั บเอาชื่ อย อมดํ าเนิ นไป จากนั้ น มโน
ทวารวิถี [ที่ ๘] ที่กําหนดหมายชื่อยอมดําเนินไป ในขณะดําเนินไปอยู ยอม
กําหนดหมายชื่อได ครั้ น วิ ถีจิต ที่กําหนดหมายอารมณนั้ น ๆ ดํ าเนิน ไปอยู
บุคคลยอมรูวาเราเห็นอารมณนั้นๆ ดวยประการฉะนี้
เมื่อมโนทวารวิถีที่ ๓ รับเอารูป ธรรมโดยความเปนกลุมกอนของ
สัณฐาน ที่ถูกวิถีจิต ๒ วิถีแรกรับเอาหลายครั้งแลว ยอมเปนเหมือนจับดุนไฟ
หมุนเปนวงกลม จึงชื่อวา วิถีจิตที่รับเอากลุมกอนของสัณฐาน เพราะไมมี
การรับเอาสีที่ประจักษโดยปราศจากการรับเอากลุมกอน๑๕๘
การกํ า หนดรู อ ารมณ ห รื อ สภาวธรรมอย า งเท า ทั น ป จ จุ บั น มี
ความสํ า คัญยิ่ งในการเจริ ญวิ ป ส สนาภาวนา โดยต อ งกํา หนดรู ใ ห เ ท าทั น
สันตติปจจุบัน คือ ปจจุบันของกระแสรูปที่นับเนื่องดวยปญจทวารวิถี ๑-๒
วิถีจิต และปจจุบันของกระแสนามที่นับเนื่องดวยมโนทวารวิถีที่ดําเนินถึง
ที่สุดของชวนจิต ๒-๓ วิถีจิต๑๕๙
ในขณะเจริญวิปสสนาภาวนานั้น “ผูปฏิบัติไมสามารถนําเอาจิตตุป
บาทแต ล ะดวงมากํ า หนดรู ห รื อ พิ จ ารณาแยกเป น ดวง ๆ ได เ ลย จึ ง ต อ ง
กําหนดโดยวิถีจิตทั้งวิถ”ี ๑๖๐ เชน เมื่อจิตรับอารมณใหมที่ผานเขามาทางจักขุ
ทวาร และจิตขึ้นสูวิถีหรือจักขุ-ทวารวิถี การกําหนดรูรูปารมณนี้ เปนการ
กําหนดรูทั้งวิถีจิตที่กําลังเกิดขึ้น มิใชกําหนดรูจิตแตละดวงที่กําลังดําเนินอยู
“โดยวิถีจิตยอมปรากฏแกผูปฏิบัติธรรมเหมือนเปนเพียงหนวยเดียว”๑๖๑

๑๕๘
เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๙๐.
๑๕๙
พระภัททันตะอาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ, ปฐม
วิปสสนาวงศในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร: ๒๕๕๔), หนา ๗๗.
๑๖๐
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนาชุนี หลักการปฏิบัติวิปสสนา,
หนา ๒๑๓.
๑๖๑
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), ปฏิจจสมุปบาท เหตุผลแหงวัฏสงสาร,
หนา ๑๑๔.
๑๙๑
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๕.๔ อัตราวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๑. นามรูป ๕ (จิตอกุศล)
๖๐ ๑๐ (ทุกขเวทนา) ๑๐ (นิวรณ) ๑๐
ปริจเฉทญาณ ๕ (จิตกุศล)
๒. ปจจยปริคคห ๔๐ (ทุกขเวทนา) ๕ (จิตอกุศล)
๒๐ ๕ (นิวรณ) ๒๐
ญาณ ๕ (สุขเวทนา) ๕ (จิตกุศล)
๒๐ (ทุกขเวทนา)
๓. สัมมสนญาณ ๓๐ ๙ (จิตกุศล) ๐-๑ (นิวรณ) ๓๐
๑๐ (สุขเวทนา)
๕ (ทุกขเวทนา)
๔. ตรุณอุทยัพพย ๑๐ (สุขเวทนา)
๒๐ ๑๐ (จิตกุศล) ๕ (ฟุง-นิวรณ) ๓๕
ญาณ ๑๐ (โสมนัสส)
๕ (อุเบกขา)
๐-๑ (นิวรณ)
๐-๑ (ทุกขเวทนา)
๓ (ขันธ ๕)
๔. พลวอุทยัพพย ๔ (สุขเวทนา)
๒๐ ๑๐ (จิตกุศล) ๒ (อายตนะ) ๔๐
ญาณ ๕ (โสมนัสส)
๒ (โพชฌงค)
๑๐ (อุเบกขา)
๒ (อริยสัจ)
๕ (ขันธ ๕)
๐-๑ (สุขเวทนา)
๕ (อายตนะ)
๕.ภังคญาณ ๑๐ ๔ (โสมนัสส) ๑๐ (จิตกุศล) ๕๐
๕ (โพชฌงค)
๕ (อุเบกขา)
๕ (อริยสัจ)
๐-๑ (นิวรณ)
๒ (ทุกขเวทนา)
๖. ภยญาณ ๕ (ขันธ ๕)
๑๐ (โทมัสสเวทนา) ๑๐ (จิตกุศล)
๑๐ ๕ (อายตนะ) ๔๐
0 (สุขเวทนา) ๓ (จิตอกุศล)
๕ (โพชฌงค)
๓ (อุเบกขา)
๖ (อริยสัจ)
๐-๑ (นิวรณ)
๒ (ทุกขเวทนา)
๕ (ขันธ ๕)
๑๐ (โทมัสสเวทนา) ๑๐ (จิตกุศล)
๗.อาทีนวญาณ ๑๐ ๕ (อายตนะ) ๔๐
0 (สุขเวทนา) ๓ (จิตอกุศล)
๕ (โพชฌงค)
๓ (อุเบกขา)
๖ (อริยสัจ)
๒ (ทุกขเวทนา) ๑๐ (จิตกุศล) ๐-๑ (นิวรณ)
๘.นิพพิทาญาณ ๑๐
๑๐ (โทมัสสเวทนา) ๓ (จิตอกุศล) ๕ (ขันธ ๕) ๔๐

๑๙๒
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
0 (สุขเวทนา) ๕ (อายตนะ)
๓ (อุเบกขา) ๕ (โพชฌงค)
๖ (อริยสัจ)
๐-๑ (นิวรณ)
๒ (ทุกขเวทนา) ๕ (ขันธ ๕)
๙.มุญจิตุกัมยตา ๑๕ (จิตกุศล)
๑๕ ๑๐ (โทมัสส) ๕ (อายตนะ) ๓๐
ญาณ ๒ (จิตอกุศล)
๓ (อุเบกขา) ๕ (โพชฌงค)
๖ (อริยสัจ)
๐-๑ (นิวรณ)
๑๐ (ทุกขเวทนา) ๕ (ขันธ ๕)
๒๐ (จิตกุศล)
๑๐.ปฏิสังขาญาณ ๑๐ ๕ (โทมัสส) ๕ (อายตนะ) ๒๐
๐-๑ (จิตอกุศล)
๑๐ (อุเบกขา) ๖ (โพชฌงค)
๗ (อริยสัจ)
๐-๑ (นิวรณ)
๕ (ทุกขเวทนา) ๑๐ (ขันธ ๕)
๒๕ (จิตกุศล)
ตน ๗ ๒ (โทมัสส) ๑๐ (อายตนะ) ๑๐
๐-๑ (จิตอกุศล)
๑๐ (อุเบกขา) ๑๐ (โพชฌงค)
๙ (อริยสัจ)
๑๑. ๐-๑ (นิวรณ)
สังขารุ ๙ (ขันธ ๕)
๐-๑ (ทุกขเวทนา) ๑๔ (จิตกุศล)
เปกขา กลาง ๕ ๑๐ (อายตนะ) ๕
๔ (อุเบกขา) ๐-๑ (จิตอกุศล)
ญาณ ๓๐ (โพชฌงค)
๒๐ (อริยสัจ)
๕ (ขันธ ๕)
๕ (จิตกุศล) ๑๐ (อายตนะ)
ปลาย ๒ ๕ (อุเบกขา) ๓
๔๐ (โพชฌงค)
๓๐ (อริยสัจ)
๐-๑ (ขันธ ๕)
๑๒. ๐-๑ (อายตนะ)
๐-๑ ๐-๑-๐ ๐-๑-๐
อนุโลมญาณ ๓ (โพชฌงค) ๐-๑-๐
๙๐ (อริยสัจ)
๐ (ขันธ ๕)
๑๓. ๐ (อายตนะ)
00 00 00 00
โคตรภูญาณ ๐ (โพชฌงค)
๑๐๐ (อริยสัจ)

๑๙๓
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น

๖. สุทธวิปสสนาภาวนา
การเจริญวิปสสนาลวนๆ ผูปฏิบัติจนบรรลุมรรค ผลไดแลว เรียกวา
สุกขวิปสสกบุคคล หรือวิปสสนายานิก๑๖๒ เพราะแมแตจิตที่สงบชั่วขณะก็
สามารถนํามาเปนพื้นฐานเจริญวิปสสนาได๑๖๓ ดังคัมภีรมูลปณณาสกฎีกา
กลาววา “น หิ ขณิกสมาธึ วินา วิปสฺสนา สมฺภวติ”๑๖๔ หากขาดขณิกสมาธิ
วิปสสนาก็เกิดไมได คือตองอาศัยขณิกสมาธิเปนบาทจึงจะเจริญวิปสสนาได
เมื่อวิ ป ส สนาญาณสูงขึ้น ตามลํ าดั บ การเพงลักษณะอารมณก็จ ะ
แนบแนนขึ้นเชนกัน เมื่อมรรคจิตเกิดขึ้นก็ยอมบริบูรณพรอมดวยองคฌาน
ทั้ง ๕ จัดเปนปฐมฌานโสตาปตติมรรคจิต สกทาคามิมรรคจิต อนาคามิมรรค
จิต อรหัตมรรคจิต ของสุกขวิปสสกบุคคล จัดเขาเปนปฐมฌานดวยกันทั้งสิ้น
ดังอรรถาธิบายในคัมภีรอรรถกถาวา
“วิปสฺสนานิยเมน หิ สุกฺขวิปสฺสกสฺส อุปฺปนฺนมคฺโคป สมาปตฺติลาภิ
โน ฌาน ปาทก อกตฺ ว า อุ ปฺ ป นฺ น มคฺ โ คป ปมชฺ ฌ าน ปาทก กตฺ ว า
ปกิณฺณกสงฺขาเร สมฺมสิตฺวา อุปฺปาทิตมคฺโคป ปมชฺฌานิโกว โหติ สพฺ
เพสุ สตฺตโพชฺฌงฺคานิ อฏมคฺคงฺคานิ ปฺจ ฌานงฺคานิ โหติ.”๑๖๕
มรรคที่เกิดขึ้นแกพระสุกขวิปสสกโดยกําหนดวิปสสนา ก็ดี, มรรคที่
ไมทําฌานให เ ป น บาท เกิด ขึ้น แกผู ได ส มาบั ติ ก็ดี , มรรคที่ภิ กษุทํ า
ปฐมฌานใหเปนบาทแลวพิจารณาสังขารเล็กๆ นอยๆ ใหเกิดขึ้นก็ดี, ใน
มรรคทั้งหมดนั้น มีโพชฌงค ๗ องคมรรค ๘ องคฌาน ๕ อยูดวย
แสดงวา แมมรรคที่เกิดขึ้นแลวแกผูเจริญวิปสสนาลวนๆ ก็ยอม
ประกอบดวยองคฌาน คือ วิตก วิจาร ปติ สุข เอกัคคตา อยางครบถวน๑๖๖
พระอริยะที่เปนสุกขวิปสสกบุคคล เรียกอีกชื่อหนึ่งวา ปญญาวิมุตติ
๑๖๒
องฺ.จตุกฺ.อ. (ไทย) ๒/-/-/๒๕๕,๓๕๕ , ขุ.เถร.อ. (ไทย) ๒/๓/๔/๕๖๗.
๑๖๓
ดูใน ขุ.เถร.อ. (บาลี) ๒/๑๒๘๘/๖๐๓.
๑๖๔
ม.มู.ฏีกา (บาลี) ๑/๔๙/๒๕๗, วิสุทฺธ.ิ มหาฏีกา (บาลี) ๑/๓/๑๕.
๑๖๕
ขุ.ป.อ. (บาลี) ๑ /๓๒๔, อภิ.สงฺ.อ. (บาลี) ๑/๔๔๓.
๑๖๖
ดูใน องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๙๕/๓๒๘.
๑๙๔
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
มีจํานวนมากกวาพระอริยะ ที่เปนฌานลาภีบุคคล นั้นมากมาย เรียกอีกชื่อ
หนึ่งวาเจโตวิมุตติ ในคัมภีรสังยุตตนิกายพระพุทธเจาตรัสกับพระสารีบุตรวา
“อิเมสํ หิ สารีปุตฺต ปฺจนฺนํ ภิกฺขุสตานํ สฏิภิกฺขู เตวิชฺชา สฏิ ภิกฺขู
ฉฬภิฺา สฏ ิ ภิ กฺขู อุภ โตภาควิ มุตฺ ตา อถ อิต เร ปฺาวิ มุตฺ ตา.”
ดูกอนสารีบุตร ในพระภิกษุ ๕๐๐ รูป ๖๐ รูปเปนเตวิชชบุคคล
๖๐ รูปเปนฉฬภิญญาบุคคล ๖๐ รูปเปนอุภโตภาควิมุตติบุคคล นอกนั้น
ทั้งหมดเปนปญญาวิมุตติบุคคล๑๖๗
พระพุทธเจาตรัสสภาวะจิตของพระอรหันตผูสุกขวิปสสกวา
“ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อมนสิการสักกายะ จิตของเธอยอมไมแลน
ไป ไมเลื่อมใส ไมตั้งอยู ไมนอมไปในสักกายะ แตเมื่อมนสิการถึงความดับสัก
กายะ จิตของเธอจึงแลนไป เลื่อมใส ตั้งอยู นอมไปในความดับสักกายะ จิต
นั้นของเธอชื่อวาเปนจิตดําเนินไปดีแลวเจริญดีแลว ตั้งอยูดีแลว หลุดพนดี
แลว พรากออกดีแลวจากสักกายะ เธอหลุดพนแลวจากอาสวะ และความเรา
ร อนที่ กอความคับ แคน ซึ่ งเกิ ด ขึ้น เพราะสั กกายะเป น ป จ จั ย ย อมไม เ สวย
เวทนานั้น เรียกวา ธาตุที่สลัดสักกายะ”๑๖๘
คั ม ภี ร อ รรถกถาอธิ บ ายเสริ ม ว า “นี่ เ ป น วิ ธี ก ารที่ พ ระอรหั น ต ผู
บําเพ็ญวิปสสนาลวน สงจิตในอรหัตผลสมาบัติไปยังอุปาทานขันธ ๕ เพื่อ
ทดสอบดูวา ความยึดมั่นในขันธ ๕ วาเปนอัตตา ยังมีอยูหรือไม”๑๖๙
๖.๑ อารมณหลักในการเจริญวิปสสนา
การเจริญวิปสสนามีอารมณหลักในการตามรู ๒ ประการ คือ
๑.๑) ตามรูรูปเปนหลัก คือตามรูอาการของธาตุ ๔ ธาตุใดธาตุหนึ่ง
ที่ปรากฏชัดเจนในขณะจิตปจจุบัน คือ ธาตุดินมีลักษณะแข็งปรากฏชัดใน
รูปทั้งหมด แตขณะที่แสงจันทรแสงอาทิตยปรากฏ มีลักษณะออนมีความ

๑๖๗
สํ.ส. (บาลี) ๑๕/๒๑๕/๒๓๐, สํ.ส. (ไทย) ๑๕/๒๑๕/๓๑๓.
๑๖๘
องฺ.ปฺจก. (บาลี) ๒๒/๒๐๐/๒๓๐, องฺ.ปฺจก. (ไทย) ๒๒/๒๐๐/๓๔๑.
๑๖๙
องฺ.ปฺจก.อ. (บาลี) ๓/๒๐๐/๘๓.
๑๙๕
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
แข็งน อ ย ธาตุ น้ํ า มีลั ก ษณะเกาะกุม ทําให วั ต ถุที่แข็ งอยู ร วมกัน กอ ตั ว เป น
รูปรางได (ทําใหวัตถุที่ออนไหลไปได) ธาตุไฟมีลักษณะเย็นหรือรอน ธาตุลม
มีลักษณะหยอนหรือตึง และปรากฏสภาวะเคลื่อนไหว๑๗๐
การตามรูรูปเปนหลัก เปนการเจริญวิปสสนาลวนๆ ใชขณิกสมาธิ
พิจารณาอาการของรูป โดยเฉพาะธาตุลมที่เคลื่อนไหว๑๗๑ โดยลักษณะ ๗
ประการ คือ ๑) อนิจ จานุป สสนา พิจ ารณาเห็ นความไมเ ที่ย ง ๒) ทุกขา
นุปสสนา พิจารณาเห็นความเปนทุกข ๓) อนัตตานุปสสนา พิจารณาเห็น
ความไม มี ตั ว ตน ๔) นิ พ พิท านุ ป ส สนา พิ จ ารณาเห็ น ความน า เบื่ อ หน า ย
๕) วิราคานุปสสนา พิจารณาเห็นความคลายกําหนัด ๖) นิโรธานุปสสนา
พิจารณาเห็นความดับกิเลส ๗) ปฏินิสสัคคานุปสสนา พิจารณาเห็นความ
สลัดทิ้งกิเลส๑๗๒ นี่เปนการเจริญวิปสสนาของวิปสสนายานิก
๑.๒) ตามรูนามเปนหลัก คือ ตามรูเวทนา จิต หรือสภาพธรรม๑๗๓
ที่ปรากฏในขณะจิตปจจุบัน ไดแก บุคคลผูบรรลุฌานแลว ควรเขาฌานนั้น
บอยๆ เมื่อเกิดความชํานาญในการเขาฌานแลว จึงยกองคฌานที่ปรากฏชัด
คือ ปติ สุข หรืออุเบกขาขึ้นสูพระไตรลักษณเจริญวิปสสนา พิจารณาเห็น
สภาพธรรมตามลําดับสมาบัติและองคฌาน๑๗๔ โดยลักษณะ ๗ ประการ คือ
๑) พิจารณาเห็นความไมเที่ยง ๒) พิจารณาเห็นความเปนทุกข ๓) พิจารณา
เห็นความไมมีตัวตน ๔) พิจารณาเห็นความนาเบื่อหนาย ๕) พิจารณาเห็น
ความคลายกําหนัด ๖) พิจารณาเห็นความดับกิเลส ๗) พิจารณาเห็นความ
สลัดทิ้งกิเลส๑๗๕ นี่เปนการเจริญวิปสสนาของสมถยานิก
คัมภีรฏีกาอธิบายการกําหนดอารมณที่แตกตางกันของสมถยานิก

๑๗๐
ดูใน พระญาณธชเถระ (แลดีสยาดอ), อานาปานทีปนี, หนา ๓๗.
๑๗๑
ดูรายละเอียดใน ขุ.เถร.อ. (บาลี) ๒/๑๒๘๘/๖๐๓.
๑๗๒
ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๖๕/๑๖๙.
๑๗๓
ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๑๔๘/๑๓๓.
๑๗๔
ม.อุ.อ. (บาลี) ๔/๕๘.
๑๗๕
ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๖๕/๑๖๙.
๑๙๖
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
บุคคลและวิปสสนายานิกบุคคลวา สมถยานิกกําหนดรูองคฌานเปนอารมณ
ซึ่งเปนนามธรรมที่ปรากฏชัดเมื่อออกจากฌาน คือกําหนดรูฌานจิตตุปบาท
ในขณะปจจุบัน มีหทัยรูปเปนที่ตั้ง๑๗๖ สวนวิปสสนายานิกกําหนดรูรูป-นาม
(ขัน ธ ๕) ที่ป รากฏชั ด ในขณะป จ จุ บั น สติ รู เ ท าทัน สภาวะจิ ต เจตสิ กและ
อายตนะภายนอกเปนที่ตั้ง การหยั่งรูไมอาจกําหนดรูสังขารธรรมในอัตภาพ
ของตนโดยสิ้นเชิงได๑๗๗ จึงกําหนดเฉพาะอารมณที่จิตรูชัด๑๗๘
๖.๒ การกําหนดดวยบริกรรมภาวนา
การกํ าหนด คื อ การเอาจิ ต (น อ มจิ ต ,ส ง จิ ต ,ส องจิ ต ) เข าไปรั บ รู
อารมณ ห รื อ ความรู สึ ก ต า งๆ ที่เ กิ ด ขึ้ น ในป จ จุ บั น ขณะอย า งจดจ อ เฝ า ดู
สภาวะปจจุบันอารมณ อันเปนสภาพธรรมที่ปรากฏขึ้นตามความเปนจริง
ดวยความเชื่อมั่นในแนวปฏิบัติ มีวิริยะ สติ สมาธิ และปญญา โดยปราศจาก
การคิดนึกพิจารณา ปรุงแตง หรือเพิ่มเติมสิ่งใดๆ ลงไปในทุกๆ ขณะที่มีการ
กําหนดรูในอานาปานสติภาวนานี้ มีศัพทบาลีแสดงการกําหนดรูอยู ๒ ศัพท
คือ ปชานาติ และ สิกฺขติ มีอธิบายดังนี้
๑) บทวา ปชานาติ แปลวา รูชัด เปนผลเกิดขึ้นจากการกําหนดรู
รูป-นามปจจุบัน อันอาศัยการบริกรรมภาวนาเปนเครื่องประคับประคอง
คัมภีรอรรถกถาอธิบาย๑๗๙วา แมสัตวดิรัจฉาน เชน สุนัขบาน สุนัข
จิ้งจอก เมื่อเดินไปก็รูวา ตัวเดินไปก็จริงอยู แตพระพุทธเจามิไดตรัสหมาย
เอาความรูเชนนั้น เพราะความรูเชนนั้นละความเห็นวาสัตวไมได เพิกถอน
ความเขาใจวาสัตวไมได ไมเปนกรรมฐานหรือสติปฏฐานภาวนา สวนการรู
ของผูเจริญภาวนายอมละความเห็นวาสัตว เพิกถอนความเขาใจวาสัตวได
เปนทั้งกรรมฐานและเปนสติปฏฐานภาวนา และคําที่ตรัสหมายถึงความรูชัด
อยางนี้วา ใครเดิน การเดินของใคร เดินไดเพราะอะไร
๑๗๖
ที.ม.ฏีกา (บาลี) ๒/๓๗๖.
๑๗๗
ม.อุ.ฏีกา (บาลี) ๓/๓๒๖.
๑๗๘
วิสุทธิ.มหาฏีกา (บาลี) ๒/๔๓๒.
๑๗๙
ที.ม.อ. (บาลี) ๒/๓๗๕/๓๘๑.
๑๙๗
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ตอบวา ไมใชสัตว หรือบุคคลไรๆ เดิน ไมใชการเดินของสัตวหรือ
บุคคลไรๆ เดิน เดินไดเพราะการแผไปของวาโยธาตุอันเกิดจากจิตปรารถนา
เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นยอมรูชัดวา จิตคิดวาจะเดิน จิตนั้นก็ทําใหเกิดวาโยธาตุ
ทําใหเกิดความเคลื่อนไหว การนําสกลกายใหกาวไปขางหนาดวยความไหว
ตัวแหงวาโยธาตุ อันเกิดจากจิตปรารถนา เรียกวาเดิน แมในอิริยาบถอื่นก็
เหมือนกัน เกิดจิตปรารถนาขึ้นวาเราจะนั่ง จิตนั้นก็ทําใหเกิดวาโยธาตุๆ ก็ทํา
ใหเกิดความจงใจในความเคลื่อนไหว ความคูกายเบื้องลางลง ทรงกายเบื้อง
บนขึ้น ดวยความไหวตัวแหงวาโยธาตุอันเกิดแตการทําของจิต เรียกวานั่ง
กายเปรียบเหมือนเกวียน เพราะอรรถวาไมรู ธาตุลมที่เกิดจากจิต
เปรียบเหมือนโค จิตเปรียบเหมือน สารถี เมื่อจิตเกิดขึ้นวา จะเดิน จะยืน
วาโยธาตุที่ทําใหเกิดความเคลื่อนไหวก็เกิดขึ้น อิริยาบถมีเดินเปนตน ยอม
เปนไปเพราะความไหวตัวแหงวาโยธาตุอันเกิดแตการทําของจิต๑๘๐
๒) บทว า สิ กฺขติ แปลว า สํ าเหนี ย ก คือ เพีย รพยายามกําหนดรู
อารมณ ที่ ป รากฏในขณะป จ จุ บั น อย า งใส ใ จ ก อ เกิ ด เป น ไตรสิ ก ขาอย า ง
ครบถวน คือ ความสํารวมของผูเพียรพยายามใสใจกําหนด จัดเปนอธิศีล
สิกขา ความตั้งใจมั่นของผูเพียรพยายามใสใจกําหนด จัดเปนอธิจิตตสิกขา
ความรูทั่วถึงของผูเพียรพยายามใสใจกําหนด จัดเปนอธิปญญาสิกขา๑๘๑
การบริกรรมภาวนา
คําวา บริกรรม มาจากคําวา ปริกมฺม หมายถึง การจัดแจง,การทอง
บน, การบําเพ็ญ๑๘๒ เปนการกระทําขั้นตนในการเจริญภาวนา คือ กําหนดใจ
เพงวัตถุ หรือนึกถึงอารมณที่กําหนดนั้นซ้ําๆ อยูในใจ เพื่อทําใจใหสงบ๑๘๓
๑๘๐
ที.ม.อ. (บาลี) ๒/๓๗๕/๓๘๑.
๑๘๑
วิสุทธฺ .ิ (บาลี) ๑/๒๒๐/๒๙๘.
๑๘๒
พระอุดรคณาธิการ (ชวินทณ สารคํา), รศ. ดร. จําลอง สารพัดนึก,
พจนานุกรม บาลี-ไทย, ISBN ๙๗๔-๘๗๕๓๙-๑-๓ ครั้งที่ ๓/๑๐/๒๕๓๘, หนา ๓๓๖.
๑๘๓
ป. อ. ประยุตฺโต, พจนานุกรมพุทธศาสนฉบับประมวลศัพท,
(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖), หนา ๑๐๘.
๑๙๘
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
บริกรรมภาวนาในการเจริญสมถะ คือ การกําหนดเพงอารมณ นึก
ภาวนาในใจซ้ําแลวซ้ําเลา จนกระทั่งจิตถูกดึงมาเกาะติดกับนิมิต สวนการ
บริกรรมภาวนาในการปฏิบัติ วิปสสนานั้น ไมใชการทองบ น,หรือสาธยาย
เหมื อ นสมถะ แต เ ป น การเอาจิ ต (โน ม จิ ต ,น อ มจิ ต ) เข า ไปรั บ รู อ ารมณ
ความรูสึกตางๆ ที่เกิดขึ้นในปจจุบันขณะอยางจดจอ เฝาดูสภาวะปจจุบัน
อารมณอันเปนสภาพธรรมที่ปรากฏขึ้นตามความเปนจริง โดยปราศจากการ
คิ ด นึ ก พิ จ ารณาปรุ ง แต ง หรื อ เพิ่ ม เติ ม สิ่ ง ใดๆ ลงไปในทุ ก ๆ ขณะที่ มี ก าร
กําหนดรู ดวยสติที่ประกอบพรอมดวยความเชื่อมั่นในแนวปฏิบัติ อันสงผล
ใหมีวิริยะ สมาธิ และปญญาเพิ่มพูนขึ้นอยางตอเนื่อง เปนการระลึกรูเทาทัน
อารมณปจจุบัน การบริกรรมมีความสําคัญตอการปฏิบัติวิปสสนาอยางยิ่ง
โดยเฉพาะการปฏิบัติแบบสุทธวิปสสนา จัดเปนวิชชมานบัญญัติ คือบัญญัติ
แสดงเนื้อความที่ปรากฏ สื่อใหรูสภาวธรรมนั้นๆ ไดอยางชัดเจน ในเรื่องนี้
ทานมหาสีสยาดอ (พระโสภณมหาเถระ) อธิบายไววา ผูปฏิบัติตองทําความ
เขาใจในความแตกตางกันของปจจุบันธรรมและปจจุบันอารมณ
- ปจจุบันธรรม คือ รูปนามที่เกิดเปนปจจุบันอยูเรื่อยไป
- ปจจุบันอารมณ คือ รูปนามที่ปรากฏในปจจุบันเฉพาะหนา
อารมณที่มีความสําคัญตอการปฏิบัติวิปสสนา คือ ปจจุบันอารมณ
เพราะอภิชฌาโทมนัสจะเกิดขึ้นไดหรือไมไดอยูที่วา ผูปฏิบัติสามารถกําหนด
ไดเทาทันตามความเปนจริงหรือไม หากกําหนดไดทัน วามีรูปอะไร นาม
อะไรเกิดขึ้นในอารมณปจจุบัน ขณะนั้นอภิชฌาและโทมนัสยอมเกิดขึ้นไมได
เทากับวาในขณะนั้นสมุทัยอันเปนเหตุที่ทําใหเกิดทุกขยอมถูกละไป(ทําลาย
ตัณหา) ดังนั้น ความสําคัญจึงอยูตรงที่วาตองคอยสังเกตใหไดทันในปจจุบัน
อารมณ
หลายคนสงสัยวา : การปฏิบัติแบบนี้มากไปดวยคําบริกรรม มีแต
คําบัญญัติ จะเปนวิปสสนาไดอยางไร? ตอบวา : การเจริญวิปสสนาเปนการ
ระลึกรูสภาวธรรมปจจุบัน คําบริกรรมจะทําใหรับรูคําบัญญัติเปนอารมณก็
จริง แตก็ชวยใหจิตจดจออารมณมากขึ้นในเบื้องตน จากนั้นจึงสามารถหยั่ง

๑๙๙
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
เห็นรูปนามตามสภาวธรรมนั้นๆ โดยความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตาได
เมื่อวิปสสนาญาณมีกําลังมากขึ้นแลว ก็ไมจําเปนตองใชคําบริกรรมอีกตอไป
เพราะในขณะตอจากนั้นจะสามารถรูรูปนามไดชัดเจน จนเห็นความเกิด-ดับ
อยางรวดเร็วของสภาวธรรมที่ กําลังกําหนดอยู ดังขอความในคัมภีรมหาฎีกา
วา “นนุ จ ตชฺชาปฺตฺติวเสน สภาวธมฺโม คยฺหตีติ. สจฺจํ คยฺหติ ปุพฺพภาเค
ภาวนาย ปน วฑฺฒมานาย ปฺ ตฺตึ สมติกฺกมิตฺว า สภาเวเยว จิตฺ ตํ ติฎ 
ติ.”๑๘๔ “ถามวา บุคคลยอมรับรูสภาวธรรมโดยเนื่องดวยชื่อบัญญัติไดหรือ?
ตอบว า จริ ง อยู ใ นเบื้ อ งแรกย อ มรั บ รู เ นื่ อ งด ว ยบั ญ ญั ติ (คื อ คํ า บริ ก รรม
สลับกันไป) แตในเมื่อภาวนาเจริญขึ้น จิตยอมล วงบัญญัติแล วดํารงอยูใน
สถานะเดียว (ไมมีคําบริกรรมอีก)”
มีหลักฐานที่เ กี่ยวกับการใชคําบริกรรมที่เปนบัญญัติดังนี้ “มนสา
สชฺฌาโย ลกฺขณปฏิเวธสฺส ปจฺจโย โหติ. ลกฺขณปฏิเวโธ มคฺคผลปฏิเวธสฺส
ปจฺจโย โหติ.”๑๘๕การสาธยายทางจิต เปนปจจัยแกการแทงตลอดไตรลักษณ
การแทงตลอดไตรลักษณเปนปจจัยแกการแทงตลอดมรรคผล
เมื่อโยคีบุคคลมีอารมณบัญญัติ พรอมดวยกําหนดอารมณปรมัตถ
และปฏิบัติตอเนื่องไดดียิ่งขึ้น สติ สมาธิจะเริ่มมีกําลังเรียกวา สมาธิญาณแก
กลา ก็จะรูรูปปรมัตถและนามปรมัตถแทๆ วามีสภาวลักษณะ คือ เย็น รอน
ออน แข็งเคลื่อนไหวปรากฏใหกําหนดรูได เรียกวา ความจริงปรากฏ เมื่อ
ความจริงปรากฏ สมมุติก็หาย สมมุติเปนเพียงสื่อใหเขาถึงความจริง เปน
อุปกรณรวมทําใหเห็นความจริงเทานั้น เชนกันกอนที่จะเขาถึงปรมัตถก็ตอง
ผานบัญญัติกอน ไมผานบัญญัติ จะเขาถึงปรมัตถไดอยางไร เหมือนจะเขา
บานตองเปดประตูกอน ไมเปดประตูจะเขาบานไดอยางไร ฉะนั้นแล๑๘๖
ในเบื้องตนของการปฏิบัติจะใหเห็นปรมัตถลวนๆ เลยทีเดียวยอม
เปนไปไมได ในที่นี้จึงใหมีอารมณบัญญัติพรอมดวยกําหนดอารมณปรมัตถ

๑๘๔
วิสุทฺธ.ิ มหาฎีกา (บาลี) ๑/๓๑๖.
๑๘๕
อภิ.วิ.อ. (บาลี) ๒/๒๔๓, วิสุทธิ. (บาลี) ๑/๒๖๕.
๑๘๖
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนานัย เลม ๑, หนา ๖๙.
๒๐๐
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
เปนขอปฏิบัติโดยตรง
บัญญัตินั้นวาโดยหลักใหญมีอยู ๒ อยาง คือ วิชชมานบัญญัติ และ
อวิชชมานบัญญัติ การบัญญัติตั้งชื่อวารูป เวทนา สัญญา ฯลฯ อาโปธาตุ
วาโยธาตุตามสภาพความเปนจริง ขันธมีอยู ธาตุ ๔ ก็มีอยู เปนปรมัตถแทๆ
เพียงแตนําปรมัตถนั้นมาตั้งชื่อเรียกเพื่อใชสื่อสารความหมายใหรับรูรวมกัน
การบัญญัติตั้งชื่ออยางนี้เรียกวา วิชชามานบัญญัติ (บัญญัติที่มีอยู) สวน
บัญญัติที่ไมมีปรมัตถสภาวะ คือปราศจากความเปนจริง
ปรากฏตัวอยาง การใชคําบริกรรมภาวนาในคัมภีรอรรถกถาวา
พระจูฬปนถกนั่งแลดูพระอาทิตย พลางลูบทอนผาขาว บริกรรมวา
“รโชหรณ รโชหรณ” เมื่อทานลูบ ทอนผานั้นอยู ทอนผาไดเศราหมองไป
ตามลําดับ จึงเกิดปญญาเห็นสภาพธรรมวา “ทอนผานี้สะอาดอยูแตเดิม มา
ถูกเขากับอัตภาพนี้ จึงละปกติเดิมเสีย กลายเปนของเศราหมองอยางนี้ไปได
สังขารทั้งหลายไมเที่ยงหนอ ครั้นแลวเริ่มกําหนดรูความสิ้นและความเสื่อม
เจริญวิปสสนา”
พระศาสดาทรงทราบวา “จิตของพระจูฬปนถกขึ้นสูวิปสสนาแลว”
จึงตรั ส ว า “จู ฬป น ถก เธออย าทําความหมายเฉพาะทอนผ านั้ น ว า 'เศร า
หมองแลวติดธุลี ก็ธุลีทั้งหลายมีธุลี คือราคะเปนตน มีอยูในภายในของเธอ
เธอจงกําจัดมันออกเสีย” ดังนี้แลว ในกาลจบคาถา พระจูฬปนถกบรรลุพระ
อรหันต พรอมดวยปฏิสัมภิทา๑๘๗
๑๘๗
องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๑๗๒/๑๘๓-๑๘๔, ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๔๐/๓๓๐.
ปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑) อรรถปฏิสัมภิทา ปญญาแตกฉานในอรรถ ไดแก ความ
เขาใจแจมแจงในความหมายของถอยคําตางๆ ๒) ธรรมปฏิสัมภิทา ปญญาแตกฉานใน
ธรรม ไดแก ความเขาใจแจมแจงในขอธรรมตางๆ สามารถอธิบายโดยพิสดารได ๓)
นิรุตติปฏิสัมภิทา ปญญาแตกฉานในภาษา คือ รูภาษาตางๆ และรูจักใชถอยคําชี้แจง
แสดงอรรถและธรรมใหคนอื่นเขาใจได ๔) ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ปญญาแตกฉานใน
ปฏิภาณ ไดแก ความมีไหวพริบ สามารถเขาใจคิดเหตุผลไดเหมาะสมทันการ และมี
ความรูความเขาใจชัดในความรูตางๆ (องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๑๗๒/๑๘๓-๑๘๔, ขุ.ปฏิ.
(บาลี) ๓๑/๑๑๐/๑๒๓, อภิ.วิ. (บาลี) ๓๕/๗๑๘/๓๕๙.)
๒๐๑
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
จะเห็นไดวา การบริกรรมก็คือการเจริญสติปฏฐานพิจารณาดูสิ่งใด
สิ่งหนึ่งที่มีอยูจริง จนเกิดปญญารูแจงขึ้นมาในสิ่งนั้นจริงๆ เชน พระจูฬปน
ถก ที่บริกรรมลูบผาขาว จนเกิดปญญาขึ้นในขณะจิตเดียวก็บรรลุอรหันตได
แสดงใหเห็นวา การบริกรรมดวยจิตจดจอตอเนื่องในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีอยู
ในปจจุบันตามความเปนจริงก็จะเกิดปญญาแว็บขึ้นมาประดุจสายฟาแลบ
และพิจารณาเห็นความเกิดดับของรูปนาม แลวก็หลุดพนดวยขณะจิตเดียว
เทานั้น เพราะวากิริยาที่ทําบริกรรมในขณะเจริญกรรมฐานอยางใดอยาง
หนึ่ง มีลักษณะคลายกับการทองบนในใจ การสาธยาย การใครครวญ หรือ
การไตรตรอง การเพงวัตถุ หรือนึกถึงอารมณที่กําหนดนั้นวาซ้ําๆ อยูในใจ
เปนการเพิ่มวิริยะทางใจ คือทําใหจิตสงบจากนิวรณ โดยอาศัยการบริกรรม
เปนเครื่องชวยใหรูตัวในขณะปจจุบันแลวพัฒนาการ เกิดเปนโยนิโสมนสิการ
อันเปนตัวปญญาพิจารณาเห็นความเสื่อมสิ้นดับสูญของสรรพสิ่งโดยความไม
มีอะไรเปนแกนสารเปนเหตุใหละอุปาทานขันธ ๕ เสียได
๖.๓ การกําหนดรู ตามลําดับญาณ ๑๖
ปริญญา แปลวา กําหนดรู หรือทําความรูจัก หมายถึง การทําความ
เขาใจสิ่งตางๆ โดยครบถวนหรือรอบดาน๑๘๘ แบงออกเปน ๓ ขั้น
๑) ญาตปริญญา กําหนดรูขั้นรูจัก คือ รูตามสภาวะลักษณะ ไดแก
รูจักจําเพาะตัวของสิ่งนั้นตามสภาวลักษณะแท วารูปมีลักษณะสลาย เวทนา
มีลักษณะเสวยอารมณ สัญญามีลักษณะกําหนดไดหมายรู ดังนี้เปนตน
ภูมิแหงญาตปริญญา เริ่มตั้งแตกําหนดสังขาร จนถึงกําหนดปจจัย
ปริญญานี้ก็คือการตามกําหนดอยางจดจอตอเนื่อง จนแจงลักษณะเฉพาะ
ของอารมณที่กําหนดนั่นเอง
กําหนดรูขั้นรูจั ก คือ กําหนดรูสิ่งนั้ นๆ ตามลักษณะที่เปน สภาวะ
ของมันเอง พอใหแยกออกจากสิ่งอื่นๆ ได การกําหนดรูผัสสะ คือ รูเห็นวา นี้
ตาสัมผัส นี้หูสัมผัส นี้จมูกสัมผัส นี้ลิ้นสัมผัส นี้ที่ตั้งแหงเวทนาที่เปนทุกข นี้

๑๘๘
ดูรายละเอียดใน ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๖๒/๖๐, วิสุทฺธ.ิ มหาฎีกา (บาลี) ๓/๒๓๐.
๒๐๒
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
สัมผัสเปนที่ตั้งแหงเวทนาเปนอทุกขมสุข...นี้ผัสสะอันประกอบดวยกุศลจิต นี้
ผั ส สะอัน ประกอบด ว ยอกุศลจิ ต นี้ ผั ส สะอัน ประกอบด ว ยอัพยากตจิ ต นี้
ผัสสะอันประกอบดวยกามาวจรจิต นี้ผัสสะอันประกอบดวยรูปาวจรจิต นี้
ผัสสะอันประกอบดวยอรูปาวจรจิต...นี้ผัสสะเปนของวางเปลา นี้ผัสสะเปน
ศีล นี้ผัสสะเปนสมาธิ นี้ผัสสะเปนโลกิยะ นี้ผัสสะเปนโลกุตตระ นี้ผัสสะเปน
อดีต นี้ผัสสะเปนอนาคต นี้ผัสสะเปนปจจุบัน ญาณที่ปรากฏ คือ ญาณที่ ๑
นามรูปปริจเฉทญาณ และญาณที่ ๒ ปจจยปริคหญาณ
ญาณที่ปรากฏ คือ ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ ปญญารู ว า
อะไรเปนรูป อะไรเปนนาม และสามารถแยกรูปแยกนามออกจากกันได เห็น
ปรมัตถอารมณไดอยางชัดเจน คือปญญารูแจงรูปนาม ปญญารูวา อะไรเปน
รูป อะไรเปนนาม รูปนามแทจริงเปนอยางไรและสามารถแยกรูปแยกนาม
ออกจากกันไดไมปะปนกันอยางชัดเจน ญาณนี้ กำหนดจนรูเห็นรูปเห็นนาม
วาเปนคนละสวนซึ่งไมไดปนกัน
ญาณที่ ๒ ปจจยปริคคหญาณ ปญญาที่กําหนดรูเห็นในสภาวะของ
รูป กับนามเปนเหตุปจจัยซึ่งกันและกัน คือทั้งรูปและนามเปนเหตุ เปนผลซึ่ง
กันและกันอยูทุกขณะ และญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ(แบบออน) ปญญาที่
กําหนดจนรูเห็นไตรลักษณ คือ ความเกิดดับของรูป-นามแตที่รูวารูป-นาม
ดับไปก็เพราะ เห็นรูป-นามใหมเกิดสืบตอแทนขึ้นมาแลว เห็นอยางนี้เรียกวา
สันตติยังไมขาดและยังอาศัยจินตามยปญญาอยู
เป น ภู มิ แ ห ง ญาตปริ ญ ญา คื อ เริ่ ม ตั้ ง แต กํ า หนดสั ง ขารจนถึ ง
กําหนดปจจัย ปริญญานี้ก็คือการตามกําหนดอยางจดจอตอเนื่อง จนแจง
ลั ก ษณะเฉพาะของอารมณ ที่ กํ า หนดจั ด เข า ใน ทุ ก ขอริ ย สั จ (จิ น ตาญาณ
ความรูที่เปนไปกับความดําริ วิปสสนาญาณที่ยังออน ตรุณวิปสสนา)
๒) ตีรณปริญญา กําหนดรูขั้น "พิจารณา" คือ รูดวยปญญาที่หยั่ง
ลึกซึ้งไปถึงสามัญลักษณะ๑๘๙ไดแก รูถึงการที่สิ่งนั้นๆ เปนไปตามกฎธรรมดา
๑๘๙
ตีรณฏเ าณํ แปลวา ปญญามีความหมายวาใครครวญ ไดแก ปญญามี
การเขาใครครวญเปนสภาวะหรือมีการพิจารณาเปนสภาวะ.
๒๐๓
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
โดยพิจารณาเห็นความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา เชน เวทนาและสัญญา
นั้น ไมเที่ยงมีความแปรปรวนเปนธรรมดาไมใชตัวตน
ภู มิ แ ห ง ตี ร ณปริ ญ ญา เริ่ ม ตั้ ง แต ก ารพิ จ ารณากองสั ง ขาร จนถึ ง
อุทยัพพยานุปสสนา (เห็นความเกิดและดับ) ปริญญานี้ ก็คือการตามกําหนด
อยางจดจอตอเนื่องจนแจงสามัญลักษณะของอารมณที่กําหนดนั่นเอง
กําหนดรูขั้นพิจารณา คือ กําหนดรูสังขารดวยการพิจารณาเห็นไตร
ลักษณ วาสิ่งนั้นๆ มีลักษณะไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา พิจารณาโดย
ความไมเที่ยง โดยความเปนทุกข เปนโรค... ดังหัวฝ ดังลูกศร ลําบาก อาพาธ
เปนอยางอื่น ไมมีอํานาจ ชํารุด เสนียด อุบาทว ภัย อุปสรรค หวั่นไหว แตก
พังไมยั่งยืน ไมมีที่ตานทาน ไมมีที่ซอนเรน ไมมีที่พึ่ง วาง เปลา สูญ เปนโทษ
มีความแปรไปเปนธรรมดาไมมีแกนสาร มูลแหงความลําบาก ดังเพชฌฆาต
ปราศจากความเจริ ญ มีอาสวะ มีเ หตุ ปจจั ยปรุ งแตงเหยื่อมาร มีชาติ เป น
ธรรมดา มีชราเปนธรรมดา มีพยาธิเปนธรรมดา มีมรณะเปนธรรมดา มีโสกะ
ปริ เ ทวะ ทุ ก ข โ ทมนั ส และอุ ป ายาสเป น ธรรมดา มี ค วามเศร า หมองเป น
ธรรมดา...พิจารณาเห็นเหตุเกิดแหงทุกขดับไป ชวนใหแชมชื่น เปนอาทีนวะ
เปนนิสสรณะ ญาณที่ปรากฏ คือ ญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ และญาณที่ ๔
อุทยัพพยญาณ
ญาณที่ ป รากฏ คื อ ญาณที่ ๓ สั ม มสนญาณ (แบบแก ) ป ญ ญาที่
กําหนดจนรูเห็นไตรลักษณ คือ ความเกิดดับของรูป-นามแตที่รูวารูป-นาม
ดับไปก็เพราะ เห็นรูป-นามใหมเกิดสืบตอแทนขึ้นมาแลว เห็นอยางนี้เรียกวา
สันตติยังไมขาดและยังอาศัยจินตามยปญญาอยูญาณที่ ๔ อุทยัพพยญาณ
ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นไตรลักษณชัดเจน โดยสันตติขาด คือเห็นรูป-นาม
ดับไปในทันทีที่ดับและเห็นรูป-นามเกิดขึ้นในขณะที่เกิด หมายความวา เห็น
ทันทั้งในขณะที่เกิดและขณะที่ดับ เปนญาณที่เห็นรูป-นามเกิดดับตามความ
เปนจริง
ภูมิแหงตีรณปริญญา กําหนดรูขั้นพิจารณา คือ รูดวยปญญาที่หยั่ง
ลึกซึ้งไปถึงสามัญลักษณะ ไดแกรูถึงการที่สิ่งนั้นๆ เปนไปตามกฎธรรมดา
โดยพิจารณาเห็นความไมเที่ยงเปนทุกข เปนอนัตตาภูมิแหงตีรณปริญญา
๒๐๔
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
เริ่มตั้งแตการพิจารณากองสังขาร จนถึงอุทยัพพยานุปสสนา (การพิจารณา
เห็ น ความเกิดและความดั บ ) ปริ ญญานี้ ก็คือ การตามกําหนดอย างจดจ อ
ตอเนื่องจนแจงสามัญลักษณะของอารมณที่กําหนดจัดเขาใน อริยสัจ ๔ คือ
“สมุทัย(จินตาญาณความรูที่เปนไปกับความดําริ หมายถึง วิปสสนาญาณ
ขั้นตนที่ยังออน ตรุณวิปสสนา) และนิโรธ (ตทังคนิโรธ ดับดวยองคนั้นๆ คือ
ดับกิเลสดวยธรรมที่เปนคูปรับ หรือธรรมที่ตรงขาม เชน ดับสักกายทิฏฐิดวย
ความรูที่กําหนดแยกรูปนามออกได เปนการดับชั่วคราวในกรณีนั้นๆ)”
๓) ปหานปริญญา๑๙๐ กําหนดรูถึงขั้นละได คือ รูถึงขั้นที่ทําใหถอน
ความยึดติดเปนอิสระจากสิ่งนั้นๆ ได (ละวิปลาสได) และปฏิบัติตอสิ่งตางๆ
ไดถูกตองภูมิแหงปหานปริญญาแบงเปนขั้นๆ เริ่ มตั้งแตพิจารณาเห็นโดย
ความเปนของไมเที่ยงยอมละนิจจสัญญาเสียได พิจารณาเห็นโดยความเปน
ทุกขย อมละสุ ขสั ญญา (ความสํ าคัญว าเป นสุ ข) เสี ยได พิจ ารณาเห็ น โดย
ความไมเปนตัว ตนละอัตตสัญญา (สําคัญวาเปนตัวตน) เสี ยได เบื่อหนาย
ความเพลิดเพลิน สํารอกราคะดับตัณหา สละคืนความยึดถือเสียไดจัดเขาใน
อริยสัจ ๔ คือ “แจงนิโรธ (อริยสัจ ๔ สมบูรณขึ้น) ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค
ในญาณที่ ๑๔ เปนสมุจเฉทประหาณ คือ ดับดวยตัดขาด คือ ดับ
กิเลสเสร็ จสิ้นเด็ด ขาด ดวยโลกุตตรมรรค ในขณะแหงมรรคนั้น สติ สมาธิ
ปญญา และธรรมฝายการตรัสรูทั้งปวง รวมลงที่จิตดวงเดียวเปนมรรคสมังคี
ในญาณที่ ๑๕ เปนปฏิปสสัทธินิโรธ ดับดวยสงบระงับ คือ อาศัย
โลกุตตรมรรค ดับกิเลสเด็ดขาดไปแลว บรรลุโลกุตตรผล กิเลสเปนอันสงบ
ระงับไปหมดแลว ไมตองขวนขวายเพื่อดับอีก ในขณะแหงผลนั้น
เมื่อเขาสูพระนิพพาน เปนนิสสรณนิโรธ ดับดวยสลัดออกได หรือ

๑๙๐
คําว า ปหาเน ปฺา แปลวา ป ญญาในการละ ป ญญาเปนเครื่องละ
วิปลาสทั้งหลายมีนิจจสัญญาวิปลาสเปนตน หรือธรรมชาติใดยอมละนิจจสัญญาวิปลาส
เปนตนได ฉะนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่ อวา ปหานาปญญา คือ “ญาณเปน เครื่องละนิ จ
สัญญาวิปลาส” อีกอยาง “คําวา ปริจฺจาคฏเ าณํ ญาณในอรรถวาสละ ไดแก มีการ
สละนิจสัญญาวิปลาสเปนตน เปนสภาวะ” ดูใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๙๓.
๒๐๕
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ดับดวยปลอดโปรงไป คือ ดับกิเลสเสร็จสิ้นแลว ดํารงอยูในภาวะที่
ดับกิเลสแลวนั้น ยั่งยืนตลอดไป ไดแก อมตธาตุ คือ นิพพาน
ภูมิแหงปหานปริญญาแบงตามการประหาณวิปลาส๑๙๑ ดังนี้
๑. เมื่อโยคี พิจารณาเห็นความดับของรูป-นาม (ในภังคญาณ) แลว
จากนั้นพิจารณาเห็นโดยความเปนของไมเที่ยง ยอมละนิจจสัญญาเสียได
๒. พิจารณาเห็นโดยความเปนทุกข เห็นความบีบคั้นใหคงสภาพเดิม
อยูไมได ยอมละสุขสัญญา (ความสําคัญผิดวาเปนสุข) เสียได
๔. พิจารณาเห็นโดยความไมใชตัวตน ไมอยูในอํานาจบังคับบัญชา
ของใคร ยอมละอัตตสัญญา (ความสําคัญผิดวาเปนตัวตน) เสียได
๕. เมื่อนั้น ยอมเบื่อหนายความเพลิดเพลิน สํารอกราคะ ดับตัณหา
สละคืนความยึดถือ (ละอุปาทานในขันธ ๕) ได๑๙๒
กํา หนดรู ถึ งขั้ น ละได คื อ กํา หนดรู สั งขารว า เป น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง
อนัตตา จนถึงขั้นละนิจสัญญา เปนตน๑๙๓ การกําหนดละจากกิเลสโดยการ
บรรเทา ทําฉันทะราคะในผัสสะใหสิ้นไปดังที่พระผูมีพระภาคตรัสวา “ดูกร
ภิกษุทั้งหลาย ฉันทะราคะในผัส สะใด ทานทั้งหลายจงละฉันทะราคะนั้ น
ฉันทะราคะนั้นจักเปนของอันทานทั้งหลายละแลว มีมูลรากอันตัดขาดแลว
ทําใหไมมีที่ตั้งดุจตาลยอดดวนถึงความไมมีในภายหลัง มีความไมเกิดขึ้นใน
อนาคตเปนธรรมดา โดยประการอยางนี”้
ญาณที่ปรากฏจัดเขาใน อริยสัจ ๔๑๙๔ คือ “นิโรธ (ตทังคนิโรธ ดับ
ดวยองคนั้นๆ คือ ดับกิเลสดวยธรรมที่เปนคูปรับ หรือธรรมที่ตรงขาม เชน
ดับสักกายทิฏฐิดวยความรูที่กําหนดแยกรูปนามออกได เปนการดับชั่วคราว
๑๙๑
ปญญาเครื่องละวิปลาส ชื่อวา ปหานปญญา (ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๙๓.)
วิปลาสธรรม คือ ธรรมที่มาปดบังพระไตรลักษณ ทําใหสรรพสัตวไมเห็นความ
จริงของรูป-นาม มี ๓ ประการ คือ ๑) ทิฏฐิวิปลาส ความเห็นผิดๆ ๒) จิตตวิปลาส
ความคิดผิดๆ ๓) สัญญาวิปลาส ความจดจํามาผิดๆ (วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๓๖๖.)
๑๙๒
ดูรายละเอียดใน ขุ.จู.อ. (ไทย) ๖/-/-/๖๔๕, ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๙๑.
๑๙๓
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๒๓.
๑๙๔
ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๑๓/๖๓.
๒๐๖
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ในกรณีนั้นๆ), สมุทัย(ตทังคนิโรธ ดับดวยองคนั้นๆ คือ ดับกิเลสดวยธรรมที่
เปนคูปรับ หรือธรรมที่ตรงขาม เชน ดับสักกายทิฏฐิดวยความรูที่กําหนด
แยกรูป นามออกได เปน การดั บ ชั่ว คราวในกรณีนั้ น ๆ), และเริ่ มแจ งนิ โ รธ
(อริยสัจ ๔เกิดโดยสมบูรณขึ้นตามลําดับ) ทุกข, สมุทัย,นิโรธ, มรรค”
ตารางญาณ ๑๖ ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔
บันได ๗ ขั้น วิปสสนาญาณ ๑-๑๖ ปริญญา ๓ อริยสัจ ๔
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป-เห็นนาม ๑.นามรูปปริจเฉทญาณ ๑.ญาต ทุกข (จินตาญาณ)
๒.ปจจยปริคคหญาณ ปริญญา สมุทัย(จินตาญาณ)
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
๓.สัมมสน แบบออน
นิโรธ(ตทังคนิโรธ)
ญาณ แบบแก ๒.ตีรณ
ตรุณอุทยัพพย ปริญญา
ขั้นที่ ๓ เห็นความไมเที่ยง ๔.อุทยัพพย ญาณ
ของรูป-นาม สมุทัย(ตทังคนิโรธ)
ญาณ พลวอุทยัพพย
ญาณ
๕.ภังคญาณ
๖.ภยญาณ
ขั้นที่ ๔ เห็นความเปนทุกข ๓.ปหาน
๗.อาทีนวญาณ
ของรูป-นาม ปริญญา
๘.นิพพิทาญาณ
แจงนิโรธ
ขั้นที่ ๕ เห็นความไมใช ๙.มุญจิตุกัมยตาญาณ
(อริยสัจ ๔
ตัวตนของรูป-นาม ๑๐.ปฏิสังขาญาณ เกิดโดยสมบูรณ
ขั้นที่ ๖ วางเฉยตอรูป-นาม ๑๑. ตน ขึ้นตามลําดับ)
สังขารุ ปลาย ทุกข, สมุทัย,
วุฏฐาน
เปกขา นิโรธ, มรรค
คามินี
ญาณ
๑๒.
อนุโลม
ญาณ
ขั้นที่ ๗ สลัดคืนรูป-นาม ๑๓.โคตรภูญาณ
๑๔.มรรคญาณ สมุจเฉทปหาน
๑๕.ผลญาณ ปฏิปสสัทธิปหาน
๑๖.ปจจเวกขณญาณ นิสสรณปหาน

๒๐๗
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ญาณที่ ๕ ภังคญาณ ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นความดับของรูป-นาม
สังขารแตฝายเดียว โดยยึดเอาความแตกดับของสังขารนั้นเปนอารมณวา ทุก
สิ่งทุกอยางยอมแตกดับไปอยางนี้
ญาณที่ ๖ ภยญาณ บ า งก็ เ รี ย กว า ภยตู ป ฏ ฐานญาณ ป ญ ญาที่
กําหนดจนรูเห็นวารูป-นามนี้เปนภัยเปนที่นากลัว เหมือนคนกลัวสัตวราย
เชน เสือ เปนตน
ญาณที่ ๗ อาทีนวญาณ ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นวารูป-นามนี้เปน
โทษ เหมือนผูที่เห็นไฟกําลังไหมเรือนตนอยู จึงคิดหนีจากเรือนนั้น
ญาณที่ ๘ นิพพิทาญาณ ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นวาเกิดเบื่อหนาย
ในรูป-นาม เบื่อหนายในปญจขันธ
ญาณที่ ๙ มุญจิตุกัมยตาญาณ ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นวาใครจะ
หนีจากรูป-นาม อยากพนจากการครองรูป-นาม ใครจะพนจากปญจขันธ
เปรียบดังปลาเปนๆ ที่ใครจะพนจากที่ดอนที่แหง
ญาณที่ ๑๐ ปฏิสังขาญาณ ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นเพื่อ หาอุบายที่
จะเปลื้องตนใหพนจากปญจขันธ เปนญาณที่ขมักเขมน เพื่อใหพนจากการ
ครองรูป-นาม
ญาณที่ ๑๑ สังขารุเปกขาญาณ (ตอนตน)ปญญาที่กําหนดจนรูเห็น
วา จะหนีไมพนจึงเฉยอยูไมยินดียินราย เปนญาณที่พิจารณารูป-นามดวย
อาการวางเฉย ดุจบุรุษอันเพิกเฉยในภริยาที่ทิ้งขวางหยารางกันแลว
ญาณที่ ๑๑ สังขารุเปกขาญาณ (ตอนปลาย) เปนการวางเฉยตอรูป
นามที่อยูในวิถีของการออกจากรูปนาม หรือเรียกวา สิขาปตตวิปสสนา คือ
ยอดแหงวิปสสนา โดยเปนฐานของการออก ๓ ฐาน คือ ๑) อนิจจานุปสสนา
๒) ทุกขานุปส สนา ๓) อนัตตานุปสสนา
ญาณที่ ๑๒ อนุโลมญาณ ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นใหคลอยไปตาม
อริยสัจจ เรียกวา สัจจานุโลมิกญาณ ก็ได เปนญาณที่รูอารมณรูป-นามเปน
ครั้งสุดทายกอนที่จะไดบรรลุมรรค ผล หรือเรียกวา “อนุตตญาณ”

๒๐๘
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ญาณที่ ๑๓ โคตรภู ญาณ จิ ต เห็ น พระนิ พพาน ตั ด ขาดจากโคตร
ปุถุชนเปนโคตรอริยชน เมื่อจิตหมดความอยาก (ไมมีตัณหา) จิตก็ปลอยวาง
อารมณทั้งปวง ถอยเขาหาจิตผูรูอยางอัตโนมัติ
ญาณที่ ๑๔ มรรคญาณ จิตเห็นพระนิพพาน และตัดขาดจากกิเลส
ญาณที่ ๑๕ ผลญาณ จิตเห็นพระนิพพานโดยเสวยผลแหงสันติสุข
ญาณที่ ๑๖ ปจจเวกขณญาณ จิตเห็นใน มรรคจิต ผลจิต นิพพาน
กิเลสที่ละแลว และกิเลสที่ยังคงเหลืออยู
อานิสงสของการกําหนดมี ๗ ประการ ไดแก
๑) สักกายทิฏฐิหาย เนื่องจากขณะที่เขาไปกําหนดรูนั้น ก็จะรูวาใน
ตัวเรา มิใชเรา สัตว บุคคล ตัวตน เราเขา เมื่อเขาใจอยูอยางนี้ก็ชื่อวา ขจัด
สักกายทิฏฐิ ได
๒) สัมมาทิฏฐิมรรคเกิด เมื่อขณะกําหนดรูอยูนั้น ความสําคัญมั่น
หมายวาเปนเรา เปนของของเราไมมี ความรูสึกยินดียินรายไมเกิด และ ไมมี
ความรูสึกยินดียินราย ในโลภะ โทสะ โมหะ ผลคือ กิเลสก็ไมเขามาเจือในจิต
๓) ตทังคปหานดับกิเลสชั่วขณะ เมื่อกําหนดรูอยูกิเลสดับไปชั่วขณะ
ดับไปหายไป ชั่วขณะหนึ่ง จึงเปนตทังคปหาน คือ ประหาณกิเลส หรือ ดับ
กิเลสชั่วขณะหนึ่ง มิใชตลอดกาล
๔) เกิดอนิจจานุปสสนา ในขณะกําหนด จะเกิดการเห็นถึงความ
ตั้งอยูไมได ไมเที่ยง โดยมีการเกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไปเปนธรรมดา
๕) ทุกขสัจ เมื่อกําหนดรูอาการนั้นๆ จะแสดงสภาวลักษณะใหเห็น
พระไตรลักษณ เห็นอาการเกิด-ดับ เกิดความเบื่อหนายในรูปนาม
๖) สัสสตทิฏฐิหาย ผลการจากกําหนดรู ทําใหเห็นวา แตละรูปแต
ละนาม ลวนเกิด-ดับ มิไดเนื่องเปนอันเดียวกัน เมื่อเขาใจอยางนี้ เรียกวา
สันตติขาด คือ ความสืบตอขาดไป
๗) อุจเฉททิฏฐิหาย เมื่อเขาใจวา พอง-ยุบ มิไดเปนอันเดียวกันรูป
นามสังขารมิไดสืบตอเนื่องกันเปนอันเดียวกัน ก็ทําใหเขาใจวา รูปนาม แต

๒๐๙
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
กาลกอนไมมี แตเดี๋ยวนี้เกิดมี ถึงเกิดมีมาก็จริง แตก็ตองแตกสลายไปดับไป
เปนธรรมดามิไดสูญสิ้นไปหากรูปนามยังมีกิเลสอยู๑๙๕ 

๗. การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ความเห็นแจงตามความเปนจริงของรูป-นาม ขันธ ๕ โดยที่ยังไมได
เจริญสมถะมากอนและยังไมไดฌานสมาบัติ เริ่มปฏิบัติวิปสสนาทีเดียว ใช
สมาธิเพียงระดับขณิกสมาธิ คือ รูทันปจจุบันทุกขณะของรูปนามโดยความ
เปนไตรลักษณ จนไดบรรลุมรรค ผล นิพพาน เรียกวาวิปสสนายานิก และ
เมื่อสิ้ น อาสวะกิเ ลส มีชื่ อ เรี ย กว า สุ ก ขวิ ป ส สกบุ คคล หรื อป ญญาวิ มุต ติ
บุคคล คือ บุคคลที่หลุดพนดวยความสามารถแหงปญญา๑๙๖
ในคัมภีรปฏิสัมภิทามรรค พระสารีบุตรอธิบายวิธีพิจารณาโดยนัย
วิปสสนาตั้งแตขนั้ แรกวา
ภิกษุพจิ ารณาเห็นกายนั้นอยางไร คือพิจารณาเห็นโดยความไมเที่ยง
ไม พิ จ ารณาเห็ น โดยความเที่ ย ง พิ จ ารณาเห็ น โดยความเป น ทุ ก ข ไม
พิจ ารณาเห็ น โดยความเป น สุ ข พิจ ารณาเห็ น โดยความเป น อนั ต ตา ไม
พิจารณาเห็นโดยความเปนอัตตา ยอมเบื่อหนายไมยินดี ยอมคลายกําหนัด
ไม กํ า หนั ด ย อ มทํ า ราคะให ดั บ ไม ใ ห เ กิ ด ย อ มสละคื น ไม ยึ ด ถื อ เมื่ อ
พิจารณาเห็นโดยความไมเที่ยงยอมละนิจจสัญญาได เมื่อพิจารณาเห็น
โดยความเปนทุกข ยอมละสุขสัญญาได เมื่อพิจารณาเห็นโดยความเปน
อนัตตา ยอมละอัตตสัญญาได เมื่อเบื่อหนาย ยอมละนันทิ(ความยินดี)ได
เมื่อคลายกําหนัดยอมละราคะได เมื่อทําราคะใหดับยอมละสมุทัยได เมื่อ
สละคืนยอมละความยึดถือได พิจารณาเห็นกายนั้นอยางนี๑๙๗ ้
แทจริงแลว การปฏิบัติวิปสสนานั้นไมตองการปฏิบัติใหถึงขั้นฌานก็

๑๙๕
พระภัททันตะ อาสภมหาเถระ อัครมหากัมมัฏฐานาจริยะ, วิปสสนาธุระ,
(กรุงเทพมหานคร: บจก. C100 Co., Ltd., ๒๕๓๖), หนา๒๐-๒๔.
๑๙๖
ดูรายละเอียดใน องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๙๐/๗๙, วิสุทฺธ.ิ มหาฏีกา (บาลี) ๑/๒๑.
๑๙๗
ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๑๖๗/๒๕๘.
๒๑๐
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ปฏิ บั ติ วิ ป ส สนาได เ ลยทัน ที ดั ง มีข อความว า “ลมหายใจในขณะที่ไ มไ ด
กําหนดรูก็ยั งหยาบอยู ตอเมื่อกําหนดรูสภาวะของมหาภูตรูป(อาการเย็ น
รอน ออน แข็ง หยอน ตึง เคลื่อนไหวไปมา เปนตน) จึงละเอียดลง แมลม
หายใจในตอนที่กําหนดมหาภูตรูปนั้นก็นับวายังหยาบอยู เมื่อกําหนดอุปา
ทายรูป(รูปละเอียด) จึงละเอียดเขา ลมหายใจตอนที่กําหนดอุปาทายรูปนั้น
ยังหยาบอยู เมื่อกําหนดรูรูปทั้งสิ้นจึงละเอียดเขา ลมหายใจตอนที่กําหนดรู
รูปทั้งสิ้นก็นับวายังหยาบ ตอเมื่อที่กําหนดทั้งรูปทั้งนามจึงละเอียดเขา
แมลมหายใจในตอนที่กําหนดทั้งรูปทั้งนามนั้นก็นับวายังหยาบ ใน
ตอนที่กําหนดปจจัยของนามรูปจึงละเอียดเขา กายสังขารในตอนที่กําหนด
ปจจัยนั้นก็ยังนับวายังหยาบ ตอเมื่อเห็นนามรูปพรอมทั้งปจจัยจึงละเอียด
เขา แมกายสังขารในตอนที่เห็นนามรูปพรอมทั้งปจจัยนั้นก็นับวายังหยาบ
ถึงตอนที่เปนวิปสสนาอันมีไตรลักษณเปนอารมณจึงละเอียดเขา ในทุรพล
วิปสสนา(วิปสสนากําลังออน)ก็นับวายังหยาบ ในพลววิปสสนา(วิปสนากําลัง
กลา) จึงละเอียดเขา”๑๙๘
วิธีปฏิบัติของวิปสสนายานิกบุคคล โดยการเปลี่ยนการกําหนดให
กลายเปนการพิจารณารูป-นาม ดิ่งไปในทางของปญญาอยางเดียว๑๙๙ พระ
สารีบุตรเถระอธิบายวิธีเจริญวิปสสนาโดยการพิจารณารูป เวทนา สัญญา
สัขาร วิญญาณ (วิปสสนาภูมิ ๖) ดวยหลักอนุปสสนา ๗ ประการ วา
ภิกษุพิจารณากายนั้นโดยความไมเที่ยง ไมพิจารณาโดยความ
เที่ ย ง พิ จ ารณาโดยความเป น ทุ ก ข ไม พิ จ ารณาโดยความเป น สุ ข
พิจารณาโดยความเปนอนัตตา ไมพิจารณาโดยความเปนอัตตา ยอมเบื่อ
หนาย ไมยินดี ยอมคลายกําหนัด ไมกําหนัด ยอมใหราคะดับไป ไมให
เกิด ยอมสละคืน ไมยึดถือ เมื่อพิจารณาโดยความไมเที่ยงยอมละนิจจ
สั ญ ญาได เมื่ อพิ จ ารณาโดยความเป น ทุ กข ย อ มละสุ ข สั ญ ญาได เมื่ อ
พิจารณาโดยความเปนอนัตตายอมละอัตตสัญญาได เมื่อเบื่อหนาย ยอม
๑๙๘
ขุ.ป.อ. (บาลี) ๒/๑๐๗.,วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๑/๓๐๐,
๑๙๙
พุทธทาสภิกขุ, อานาปานสติสมบูรณแบบ, หนา ๙๕.
๒๑๑
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ละความยินดีได เมื่อคลายกําหนัดยอมละราคะได เมื่อใหราคะดับ ยอม
ละสมุทัยได เมื่อสละคืนยอมละความยึดถือได”๒๐๐ ...พิจารณาเวทนา
สัญญา สังขาร วิญญาณ (วิปสสนาภูมิ ๖๒๐๑ ก็มีนัยดุจเดียวกัน)๒๐๒
และอธิ บ ายป ญ ญาญาณในการชํ า แรกกิ เ ลสตามลํ า ดั บ ขั้ น ตอน
อนุปสสนา ๗ ประการ ดังนี้
๑. อนิจจานุปสสนา ในรูป (ขันธ ๕) ที่บุคคลเจริญ ทําใหมากแลว
ยอมทําปญญาแลนไปใหเต็มรอบ อนิจจานุปสสนาในรูปที่เปนอดีต อนาคต
และปจจุบันที่บุคคลเจริญ ทําใหมากแลว ยอมทําปญญาแลนไปใหเต็มรอบ
๒. ทุ ก ขานุ ป ส สนา ในรู ป ที่ บุ ค คลเจริ ญ ทํ า ให ม ากแล ว ย อ มทํ า
ปญญาชําแรกกิเลสใหเต็มรอบ ทุกขานุปสสนาในรูปที่เปนอดีต อนาคต และ
ปจจุบันที่บุคคลเจริญทําใหมากแลว ยอมทําปญญาแลนไปใหเต็มรอบ

๒๐๐
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๖๖/๑๘๘.
๒๐๑
การเจริญวิปสสนาตองอาศัยอารมณวิปสสนา หรือวิปสสนาภูมิ ๖ เปน
ปรมั ต ถ อ ารมณ ได แ ก ขั น ธ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อิ น ทรี ย ๒๒ อริ ย สั จ ๔
ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ ถามวา เพราะเหตุอะไรพระผูมีพระภาคเจาตรัสขันธ ๕ แลว จึง
ตรั ส อายตนะ๑๒, ธาตุ ๑๘ อิ น ทรี ย ๒๒ ซ้ํ า อี ก ทั้ ง ที่ มี ส ภาวธรรมไม ต า งกั น กั น ?
อภิธัมมัตถสังคหะแกวา เพราะทรงประสงคอนุเคราะหสัตว ๓ เหลา คือ
๑. ทรงจําแนก นามและรูปไวในขันธ ๕ สําหรับอนุเคราะหสัตวผูหลงงมงายใน
นาม(โดยเฉพาะ) มีอินทรียแกกลา สอนเพียงเล็กนอย ก็เขาใจ
๒. ทรงจําแนก นามและรูปไวในธาตุ ๑๘ สําหรับอนุเคราะหสัตวผูหลงงมงาย
ในรูป(โดยเฉพาะ)มีอินทรียไมแกกลานัก ตองอธิบายขยายความจึงจะเขาใจ
๓. ทรงจําแนก นามและรูปไวในอินทรีย ๒๒ สําหรับอนุเคราะหสัตวผูหลงงม
งายในทั้งรูปทั้งนาม มีอินทรียออน ตองอธิบายและพร่ําสอนบอยๆ จึงจะเขาใจ
ดูใน ติสฺสทตฺตตฺเถโร, อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม
อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา, พิมพครั้ง ที่ ๘, (กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพม หามกุฏราช
วิทยาลัย, ๒๕๔๒), หนา ๒๓๑.
๒๐๒
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๖๖/๑๘๘., ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒/๕๔๑.
๒๑๒
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
๓. อนัต ตานุ ปส สนา ในรู ปที่บุคคลเจริ ญ ทําใหมากแลว ย อมทํา
ป ญ ญามากให เ ต็ ม รอบ อนั ต ตานุ ป ส สนาในรู ป ที่ เ ป น อดี ต อนาคต และ
ปจจุบันที่บุคคลเจริญทําใหมากแลว ยอมทําปญญาแลนไปใหเต็มรอบ
๔. นิพพิทานุ ปสสนา ในรู ปที่บุคคลเจริ ญ ทําใหมากแลว ยอมทํา
ปญญาเฉีย บแหลมให เต็มรอบ นิพพิทานุป สสนาในรู ปที่เ ปนอดี ต อนาคต
และปจจุบันที่บุคคลเจริญทําใหมากแลว ยอมทําปญญาแลนไปใหเต็มรอบ
๕. วิ ร าคานุ ป ส สนา ในรู ป ที่บุ ค คลเจริ ญ ทํา ให มากแล ว ย อมทํ า
ปญญากวางขวางใหเต็มรอบ วิราคานุปสสนาในรูปที่เปนอดีต อนาคต และ
ปจจุบันที่บุคคลเจริญทําใหมากแลว ยอมทําปญญาแลนไปใหเต็มรอบ
๖. นิโรธานุปสสนา ในรูปที่บุคคลเจริญ ทําใหมากแลว ยอมทํา
ป ญ ญาลึ ก ซึ้ ง ให เ ต็ ม รอบ นิ โ รธานุ ป ส สนาในรู ป ที่ เ ป น อดี ต อนาคต และ
ปจจุบันที่บุคคลเจริญทําใหมากแลว ยอมทําปญญาแลนไปใหเต็มรอบ
๗. ปฏินิสสัคคานุปสสนา ในรูปที่บุคคลเจริญ ทําใหมากแลว ยอม
ทําปญญาไมใกลใหเต็มรอบ ปฏินิสสัคคานุปสสนาในรูปที่เปนอดีต อนาคต
และปจจุบันที่บุคคลเจริญ ทําใหมากแลว ยอมทําปญญาแลนไปใหเต็มรอบ
ฯลฯ.. อนิจจานุปสสนาในเวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ วิญญาณ
(ก็มีนัยดุจเดียวกัน)๒๐๓
การเจริญวิปสสนาลวนเรียกวา สุทธวิปสสนา ผูบรรลุมรรคผลดวย
การเจริญสุทธวิปสสนาเรียกวา สุกขวิปสสกบุคคล๒๐๔ พุทธทาสภิกขุเรียก
การเจริญอานาปานสติแบบวิปสสนาลวน ๆ วา อานาปานสติแบบลัดสั้น ซึ่ง
มีวิธีการปฏิบัติตดังนี้
เริ่มตนดวยกายใชสติกําหนดลมหายใจเขาและลมหายใจออกโดย
นึกในใจตามอาการของลมหายใจเขา-ออกวา ออกหนอ-เขาหนอ,ออกหนอ-
เขาหนอ เมื่อกําหนดลมหายใจเขา-ออกตามสมควรแลวใหเลื่อนมาสังเกตลม

๒๐๓
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒/๕๔๑.
๒๐๔
ดูรายละเอียดใน ขุ.เถร.อ. (บาลี) ๒/๑๒๘๘/๖๐๓
๒๑๓
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
หายใจเขา-ออก ยาว หรือสั้น และกําหนดรูตามอาการที่หายใจนั้น ถาจะ
กําหนดให ล ะเอียดยิ่งขึ้นไป ให กําหนดลมหายใจหยาบหรื อละเอีย ด โดย
กําหนดรูตามอาการที่หายใจนั้นวา หยาบหนอ-ละเอียดหนอ, หยาบหนอ-
ละเอียดหนอ แนวปฏิบั ติสําหรับ บุคคลผูไมประสงคจะทําใหเต็ มที่ในฝาย
สมถะ แตมีความประสงคจะลัดตรงไปสูวิปสสนาไดเลย ก็สามารถที่จะยัก
ยายหรือเปลี่ยนการกําหนดใหกลายเปนการพิจารณา และพิจารณารูป-นาม
โดยความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ดวยอํานาจของการพิจารณาดิ่งไป
ในทางของปญญาอยางเดียว โดยไมหวงหรือไมตองการบรรลุฌานเปนตนไป
แตอยางใด ซึ่งหมายความวาไมตองการสมาธิถึงขนาดบรรลุฌาน ตองการ
สมาธิเพียงเทาที่จะเปนบาทฐานของวิปสสนาเทานั้น โดยเพงเล็งเอาความดับ
ทุกขเ ป น ที่มุงหมาย แต ไม ป ระสงค ส มรรถภาพหรื อคุ ณสมบั ติ พิ เ ศษ เช น
อภิญญาเปนตน มีลําดับพิจารณารูป-นาม๒๐๕
พระสารีบุตรเถระอธิบายวา ยอมทําธรรมทั้งหลาย (โพธิปกขิยธรรม
๓๗ ประการ๒๐๖) ใหประชุมลง คือ บุคคลยอมทําอินทรียทั้งหลายใหประชุม
ลงดวยการเปนใหญ ทําพละทั้งหลายใหประชุมลงดวยการไมหวั่นไหว ทํา
โพชฌงคทั้งหลายใหประชุมลงดวยการเปนธรรมเครื่องนําออก ทํามรรคให
ประชุมลงดวยการเปนเหตุ ทําสติปฏฐานใหประชุมลงดวยการเขาไปตั้งไว
ทําสัมมัปปธานใหประชุมลงดวยการเริ่มตั้งความเพียร ทําอิทธิบาทใหประชุม
ลงดวยการใหสําเร็จ ทําสัจจะใหประชุมลงดวยการถองแท ทําสมถะให
ประชุมลงดวยการไมฟุงซาน ทําวิปสสนาใหประชุมลงดวยการพิจารณาเห็น
ทําสมถะและวิปสสนาใหประชุมลงดวยการมีกิจเปนอันเดียวกัน ทําธรรม
เปนคูกันใหประชุมลงดวยการไมลวงเกินกัน

๒๐๕
พุทธทาสภิกขุ, สมถวิปสสนายุคปรมาณู, หนา ๗๒-๘๖.
๒๐๖
โพธิปกขิยธรรม(ธรรมอันเปนฝายแหงการตรัสรู) ๓๗ ประการ ไดแก สติ
ปฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ มรรคมีองค ๘
ดูใน ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๕๐/๑๗๔, อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๕๒๒/๓๙๒, องฺ.ทสก.ฏีกา (บาลี)
๓/๑๑๓-๑๑๖/๔๓๘.
๒๑๔
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ทําสีลวิสุทธิใหประชุมลงดวยการสํารวม ทําจิตตวิสุทธิใหประชุมลง
ดวยการไมฟุงซาน ทําทิฏฐิวิสุทธิใหประชุมลงดวยการเห็นถูก ทําวิโมกขให
ประชุมลงดวยความหลุดพน ทําวิชชาใหประชุมลงดวยการแทงตลอด ทํา
วิมุตติใหประชุมลงดวยการสละรอบ ทําญาณในความสิ้นไปใหประชุมลงดวย
การตัดขาด ทําญาณในความไมเกิดขึ้นใหประชุมลงดวยการเห็นเฉพาะ ทํา
ฉันทะใหประชุมลงดวยการเปนมูลเหตุ ทํามนสิการใหประชุมลงดวยการเปน
สมุฏฐาน ทําผัสสะใหประชุมลงดวยการประสบ ทําเวทนาใหประชุมลงดวย
การรูสึก ทําสมาธิใหประชุมลงดวยการเปนประธาน ทําสติใหประชุมลงดวย
การเปนใหญ ทําสติสัมปชัญญะใหประชุมลงดวยการเปนธรรมที่ยิ่งกวานั้น
ทําวิมุตติใหประชุมลงดวยการเปนสาระ ทํานิพพานอันหยั่งลงในอมตะให
ประชุมลงดวยการเปนที่สุด๒๐๗

๘. วิปสสนาดับภพชาติไดอยางไร
เมื่อรูแจงอารมณขณะเกิดผัสสะทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จิตก็จะ
ไมเกิดสังขารปรุงแตง เมื่อไมปรุงแตงก็ไมเกิดตัณหาอุปาทาน เมื่อไมเกิด
ตั ณ หาอุป าทานก็ ไม เ กิด ภพ-ชาติ เมื่ อไม มีค วามเกิ ด อี ก ก็ ไ มมี ความแก
ความเจ็บ และความตายอีกตอไป นี่แลคือการดับภพ-ชาติในขณะจิตปจจุบัน
การดับภพ-ชาติในขณะจิตปจจุบันนี้ เปรียบเหมือนการดับไฟที่กน
บุหรี่ หรือที่กานไมขีด กําจัดตนตอที่จะลุกลามเผาบานเผาเมืองในที่สุด
หากไม เ กิด ป ญ ญารู แจ ง เมื่อ ตาเห็ น เสื้ อสวย ไมมี ส ติ รู เ ท าทั น จิ ต
ปญญาไมรูแจงอารมณ ก็จะเกิดสังขารปรุงแตงวา “เสื้อสวย นาจะเปนของ
เรา” แลวยึดมั่นในจิตนั้นวา “เราอยากได” ภพ-ชาติเกิดขึ้นทันที โดยความ
เปนผูอยากไดเสื้อตัวนั้น ทุกขยอมเกิดตามมา ฯลฯ
แตเมื่อฝกวิปสสนา เกิดปญญารูแจงอารมณแลว ขณะตาเห็นเสื้อ
สวย รูทันจิตวา “วิญญาณกําลังรู กําลังเห็น” สิ่งที่เห็นจึงเปนเพียงสีที่ถูกเห็น

๒๐๗
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๗๐/๒๖๖.
๒๑๕
บทที่ ๓ การเจริญวิปสสนาแบบลัดสั้น
ไมเกิดสังขารปรุงแตง วาเปนเสื้อ ความรูสึกวาสวยหรือไมสวยจึงไมเกิดขึ้น
ตัณหาอุปาทานที่อยากไดอยากมี ก็เกิดไมได ภพ-ชาติก็ถูกระงับไป
เมื่อภพ-ชาติถูกระงับไปทุกๆ ขณะ ที่มีสติและสัมปชัญญะรูเทาทัน
ผัสสะ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เชนนี้ ทําใหหมดเชื้อที่กอใหเกิดภพ-ชาติ
อันเปนที่มาของทุกข เปรียบเหมือนเชื้อไฟที่ถูกดับตั้งแตปลายไมขีดแลว เมื่อ
ไมเกิดภพ-ชาติในทุกขณะจิตที่รับรูอารมณ ทําใหหมดเชื้อที่จะใหไปเกิดใหม
เมื่อจริมจิต ๒๐๘ดับในขณะตาย ไมหน วงใหเกิด ปฏิสนธิจิต อีกตอไป ไมถือ
กําเนิดในภพใหมอีกแลว ยอมปรินิพพาน ณ ขณะนั้น

๒๐๘
จิตสุดทาย หมายถึง จุติจิตของพระอรหันต ขณะปรินิพพาน (ขุ.จู.อ.(บาลี)
๖/๗.)
๒๑๖
บทที่ ๔

วิธีพิจาณาอุปกิเลส ในญาณ ๑๖
อุปกิเลส แปลวา สิ่งที่ทําใหจิตเศราหมอง ขุนมัว รับคุณธรรมไดยาก
ในทางพระพุทธศาสนาถือวา กิเลสเปนภัยรายแหงจิต ทําใหคนตัดสินใจทํา
ผิด ทําใหจิตไมอาจบรรลุนิพพาน ฉะนั้น วิปสสนูปกิเลสจึงหมายถึงสิ่งที่ทําให
วิปสสนาหมนหมอง๑ สภาพที่ใจถูกอุทธัจจะในธรรมกั้นไว ความฟุงซานใน
ธรรม๒ สิ่งที่ทําใหวิปสสนาหมนหมอง และใหรายละเอียดเพิ่มเติมวา สาเหตุ
ที่ทําใหวิปสสนาหมนหมองเกิดจากใจที่ถูกความฟุงซานในธรรม คืออุปกิเลส
ครอบงํา และเกิดแกผูที่ไดตรุณวิปสสนาอันดับแรก มีชื่อเรียกวา อุทยัพยา
นุปสสนาญาณ๓
คัมภีรพุทธศาสนาหลายคัมภีรระบุวา วิปสสนูปกิเลส ๙ ประการ
แรกเปนที่ตั้งของอุปกิเลส มิใชอุปกิเลส สวนนิกันติเปนอุปกิเลส (โดยตรง)
เมื่อผูปฏิบัติยินดีในญาณ เปนตนนั้นๆ ภาวนายอมเสื่อมไป คนที่มีการสดับ
นอยยอมสําคัญวาไดบรรลุธรรมแลวในธรรมที่ยังมิไดบรรลุ เปนอารมณที่ตั้ง
ของอุ ป กิ เ ลส คื อ เครื่ อ งเศร า หมอง ๓ ประการอั น ได แ ก ตั ณ หา มานะ
และทิฏฐิ จึงชื่อวา อุปกิเลส โดยออม สวนนิกันติเปนตัณหาที่ทําใหวิปสสนา
เศราหมอง จึงชื่อวา อุปกิเลส โดยตรง และชื่อวา อุปกิเลสวัตถุ (ที่ตั้งของ
อุปกิเลส) เพราะเปนอารมณที่ตั้งของตัณหาเปนตน ๓ ประการ๔

ดูรายละเอียดใน พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, แปลและเรียบเรียง
โดย สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภมหาเถระ), พิมพครั้งที่ ๖, 2550) หนา ๑๐๖๑.

ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖-๗/๔๒๕-๔๒๗.

พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค,หนา ๑๐๖๐-๖๑.

พระพุทธทัตตเถระ, อภิ ธั ม มาวตาร, พิมพครั้งที่ ๓, พระธัมมานันทมหา
เถระ อั ค รมหาบั ณ ฑิ ต ตรวจชํ า ระ, พระคั น ธสาราภิ ว งศ แปลและอธิ บ าย,
(กรุงเทพมหานคร: หจก. ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๕), หนา ๔๓๐-๔๓๒.
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
อุปกิเลสมี ๑๐ คือ โอภาส ญาณ ปติ ปสสัทธิ สุข อธิโมกข ปคคหะ
อุป ฏฐานะ อุเ บกขาและนิ กัน ติ เมื่อขาดสติ ก็จ ะเขาไปยึด ถือว า “โอภาส
เกิดขึ้นแกเราแลว” ก็จะเกิดวิปสสนูปกิเลสขึ้น โดยการยึดถือ ๓ ทาง คือ
ยึดถือโดย ทิฏฐิ มานะ และตัณหา ที่เรียกวาอุปกิเลสเพราะเปนวัตถุ (ที่ตั้ง)
ของอุปกิเลส มิใชเพราะเปนอกุศล สวนนิกันติเปนทั้งอุปกิเลสและเปนที่ตั้ง
ของอุปกิเลสดวย เปนกิเลสในระดับผูมีวิปสสนาญาณ เมื่อเปนวิปสสนาก็จะ
มีปรมัถตเปนอารมณ ซึ่งหมายความวาวิปสสนูปกิเลสเปนอารมณประเภท
ธรรมารมณ โดยมีอุปกิเลส ๑๐ เปน สิ่งเราใหเกิดวิ ปสสนูป กิเลส โดยการ
ยึดถือ ๓ ทางคือยึดถือโดยทิฏฐิ ยึดถือโดยมานะ และยึดถือโดยตัณหา และ
เกิดแกบุคคลผูปฏิบัติชอบ ผูมีความพากเพียรในการปฏิบัติอยายิ่งยวด
อนึ่ง เนื่องดวยวิปสสนูปกิเลสจะเกิดในผูที่ปฏิบัติวิปสสนาภาวนา
ซึ่งมีปรมัต ถเป นอารมณ ในปรมัตถโชติก๕ ได แสดงไวว า วา ธรรมชาติใด
ยอมเห็นแจงในอารมณตางๆ มีรูปารมณ เปนตน โดยความเปนนามรูป ที่
พิเศษนอกออกไปจากบัญญัติ โดยการละทิ้งสัททบัญญัติ๖ อัตถบัญญัติ๗ เสีย
สิ้น และยอมเห็นแจงในอารมณตางๆ มีรูปารมณ เปนตน โดยอาการเปน
อนิจจะ ทุกขะ อนัตตะ อสุภะ ที่พิเศษนอกออกไปจากนิจจสัญญาวิปลาส
สุขสัญญาวิปลาส อนัตตสัญญาวิปลาสเสียฉะนั้น ธรรมชาตินั้นชื่อวาวิปสสนา
ไดแก ปญญาเจตสิก ที่ในมหากุศล มหากิริยา


พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริเฉจที่ ๙ เลม ๑ สมถกร
รมฐานทีปนี, พิมพครั้งที่ ๕, (กรุงเทพมหานคร: วี อินเตอร พริ้น, ๒๕๔๗), หนา๑๗.

สั ท ทบั ญ ญั ติ เรี ย กอี ก ชื่ อ ว า นามบั ญ ญั ติ บั ญ ญั ติ ใ นแง เ ป น เครื่ อ งให รู กั น
บัญญัติที่เปนชื่อ แยกยอยออกเปน ๖ ดูรายละเอียดใน พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺ
โต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม,พิมพครั้งที่ ๑๘, (กรุงเทพมหานคร:
บริษัท เอส อาร พริ้นติ้ง แมส โปรดักส จํากัด, ๒๕๕๓), หนา๖๖-๖๗.

เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๑.
๒๑๘
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖

๑. อารมณเปนที่ตั้งของอุปกิเลส ๑๐
อารมณเปนที่ตั้งที่ทําใหมีวิ ปสสนู ปกิเลส มี ๑๐ ชนิด คือ โอภาส
ญาณ ปติ ปสสัทธิ สุข อธิโมกข ปคคาหะ อุปฏฐานะ อุเบกขา และนิกันติ
การจะรูจักวิปสสนูปกิเลสในเบื้ องตน ก็ดว ยการดูลักษณะเฉพาะ
ของวิปสสนูปกิเลสนั้น เพื่อที่จะรูจักลักษณะพิเศษ หรือลักษณะเฉพาะของ
เขาแตละชนิด เปรียบเหมือนจะรูจักใครสักคนก็ตองรูจักนิสัยใจคอ หนาที่
การงาน ความสามารถ ของเขาคนนั้นวาเปนอย างไร ลักษณะเฉพาะของ
สภาวธรรมทั้ง ๑๐ มีดังนี้
๑. โอภาส หมายถึง แสงสวาง ไดแก แสงสวางในวิปสสนา แตกตาง
กันไปบางทานโอภาสเกิดขึ้นสองสวางเพียงฐานบัลลังกเทานั้น สําหรับบาง
ทานสองสวางตลอดภายในหอง สําหรับบางทาน สองสวางภายนอกหองดวย
สําหรั บบางทานส องสว างไปทั่ว วิห าร สํ าหรับ บางทานสองสวางไปตลอด
คาวุตตลอดครึ่งโยชน ตลอด ๑ โยชน ตลอด ๒ โยชนตลอด ๓ โยชน เปน
ตน๘ เมื่อเกิดความสวางขึ้นในใจ จิตใจของบุคคลนั้นจะรูสึกเกิดความพอใจ
กับสิ่งอัศจรรยในใจ ที่ปรากฏขึ้น มีความสวางในจิตในใจขึ้น มีเหมือนเปน
แสงสวางอยูทั่วตัว เกิดความยินดีพอใจ จึงมองไมเห็นรูป-นาม เพราะมัวติด
อยูกับแสง สวางเหลานั้น เรียกวามีนิกันติ
๒. ญาณ หมายถึง การรูน ามรูปที่เกิดดับอยางรวดเร็วในทวารทั้ง ๖
ที่เกิดขึ้นตามที่กําหนด ซึ่งหมายความวา ขณะที่กําหนดไปก็จะรูซึ้งถึงความ
เปนอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาของรูปนามที่กําลังเกิดดับอยูและในการรูนี้จะ
ไมรูสึกวาเปนการพิจารณา แตจะรูสึกวาเปนการรูโดยธรรมชาติ๙ สงเคราะห
เขาในปญญินทรียเจตสิก ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ดังนี้


พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๒.

พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนาชุนี หลักการปฏิบัติวิปสสนา
(ฉบับสมบรูณ), แปลโดย จํารูญ ธรรมดา, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพทิพยวิสุทธิ์,
๒๕๕๓), หนา ๕๒๐.
๒๑๙
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
- ธมฺมสภาวปฏิเวธลกฺขณา มีการรูแจงสภาวธรรม เปนลักษณะ
- ธมฺมานํ สภาวปฏิจฺฉาทกโมหนฺธการวิทฺธสนรสา (วา) มีการกําจัด
ความมืด(โมหะ) อันปกปดมิใหเห็นสภาวธรรมตามความเปนจริง เปนกิจ
- ตถปฺปกาสนรสา (วา) หรือมีการประกาศความจริง เปนกิจ
- ปรมตฺถปกาสนรสา (วา) หรือมีการประกาศปรมัตถธรรม เปนกิจ
- จตุสจฺจวิภาวนกิจฺจุปฏฐานา มีการยังอริยสัจ ๔ ใหแจมแจงเปนกิจ
- อสมฺโมหปจฺจุปฏฐานา มีความไมหลงจากความจริง เปนผล
- สมาธิปทฏฐานา มีสมาธิ เปนเหตุใกล
แตความรู ในขั้นนี้มีความรูสึกวาตั วเองนั้น รูอะไรทะลุป รุโปรงไป
หมด จะคิดจะนึก จะพิจารณาอะไร มันเขาใจไปหมด ในขณะที่ผูปฎิบัติกําลัง
ปฏิบั ติ เทียบเคีย งไตรตรองรู ปธรรมและนามธรรมทั้งหลายอยู นั้นญาณมี
กระแสอันปราดเปรียวแหลม คมแกกลาชัดแจง ก็บังเกิดขึ้นประดุจดังวชิระ
ของพระอินทรที่ทรงซัดออกไป
๓. ปติ หมายถึง ความอิ่มใจ ความดื่มด่ํา๑๐ ปติมี ๕ อยาง คือ
๑. ขุททกาปติ ความเอิบอิ่มเล็กนอย
๒. ขณิกาปติ ความเอิบอิ่มเพิ่มพูนขึ้นทุกขณะ
๓. โอกกันติกาปติ ความเอิบอิ่มซาเซ็น
๔. อุพเพงคาปติ ความเอิบอิ่มโลดแลน
๕. ผรณาปติ ความเอิบอิ่มซาบซาน๑๑
ปติสงเคราะหเขาในปติเจตสิก มีลักษณะเฉพาะ๑๒ ดังนี้
- สมฺปยายนลกฺขณา มีความแชมชื่นใจในอารมณ เปนลักษณะ
๑๐
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวล
ธรรม, พิมพครั้งที่ ๑๓,(กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอส อาร พริ้นติ้ง แมส โปรดักส
จํากัด, ๒๕๔๘), หนา ๒๒๖.
๑๑
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๔-๑๐๖๕.
๑๒
วรรณสิทธิ ไวทยะเสวี รวบรวม, คูมือการศึกษาพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริ
เฉจที่ ๒ เจตสิกสังคหวิภาค, หนา ๓๐.
๒๒๐
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
- กายจิตฺตปนฺนรสา (วา) มีการทําใหอิ่มกายอิ่มใจ(หรือ) เปนกิจ
- ผรณรสา มีการทําใหซาบซานทั่วรางกาย เปนกิจ
- โอคยฺยปจฺจุปฏฬฐานา มีความฟูใจ เปนผล
- เสสขนฺธตฺตยปทฏฐานา มีเวทนาขันธ สัญญาขันธ วิญญาณขัน ธ
เปนเหตุใกล
เมื่อมีความอิ่มเอิบใจอยางมาก จิตใจมีความปลื้มอกปลื้มใจ ปรากฏ
ในขณะปฏิบัติ ธรรม เมื่อเกิดขึ้นแลวมี ๕ อยาง คือ ขุททกาปติ (ความอิ่มใจ
เล็กนอย) ขณิกาปติ (ความเอิบอิ่มที่เพิ่มพูนทุกขณะ) โอกกันติกาปติ (ความ
เอิบอิ่มซานเซ็นเปนพักๆ) อุพเพงคาปติ (ความเอิบอิ่มโลดแลน) ผรณาปติ
(ความเอิ บ อิ่ ม ซาบซ า น)ป ติ อิ่ ม เอิ บ อย า งมากจนก็ เ กิ ด ความยิ น ดี พ อใจ
วิปสสนาก็ไมเจริญ
๔. ปส สัท ธิ หมายถึ ง ความสงบเย็ น กายใจ ความผ อ นคลายรื่ น
๑๓
สบาย ป ส สั ท ธิ ใ นวิ ป ส สนา ทราบว า เมื่ อ โยคี นั่ ง อยู ใ นที่ พั ก กลางคื น ก็ ดี
กลางวันก็ดี ในสมัยนั้น ทั้งกายและจิตไมมีความกระวนกระวาย ๑ ไมมีความ
หนัก ๑ ไมมีความกระดาง ๑ ไมมีความไมควรแกงาน (ในการปฏิบัติ) ๑ไมมี
ความเจ็บไข ๑ ไมมีความคดโกง ๑ แตทวาในสมัยนั้นแล กายและจิตของ
โยคีนั้น สงบ ๑ เบา ๑ ออน ๑ ควรแกงาน ๑ ผองใส ๑ เที่ยงตรง ๑ เปนแท
เลย โยคีนั้ น เป น ผู มีกายและใจอัน ธรรมทั้งหลายมีป ส สั ทธิ เ ป น ต น เหล า นี้
อนุ เ คราะห แ ล ว ในสมัย นั้ น ก็ เ สวยความยิ น ดี ที่เ รี ย กว า มิใ ช ข องมี อยู ใ น
มนุ ษย ๑๔ ป ส สั ทธิ ส งเคราะห เ ขาใน กายป ส สั ทธิ เ จตสิ ก และจิ ต ตป ส สั ท ธิ
เจตสิก มีลักษณะเฉพาะ ดังนี้
- กายจิตฺตานํ ทรถวูปสมลกฺขณา มีการทําใหจิตเจตสิกสงบจาก
ความเรารอน เปนลักษณะ
- กายจิตฺตทรถนิมฺมทฺทนรสา มีการกําจัดความเรารอนของจิต
๑๓
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวล
ธรรม, หนา ๑๖๕.
๑๔
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๕.
๒๒๑
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
เจตสิก เปนกิจ
- กายจิตฺตานํ อปริปฺผนฺทนสีติภาวปจฺจุปฏฐานา มีความเยือกเย็นไม
ดิ้นรน เปนผล
- กายจิตฺตปทฏฐานา มีจิตและเจตสิก เปนเหตุใกล
จิตใจมีความสงบอยางมาก มีความนิ่ง ความ สงบ ลงไปอยางมาก
ปราศจากความซั ด ส า ยฟุ ง ซ า นในขณะมี ป ส สั ท ธิ ป รากฏมี ส ภาวธรรม
บางอยางเกิดรวมคือลหุตา มุทุตา กัมมัญญตา ปาคุญญตา แลอุชุกตา
๕. สุข หมายถึง ความสุขจากการประกอบวิปสสนา เปนความสุข
อั น ประณี ต ยิ่ ง เกิ ด ขึ้ น ท ว มท น ไปในสรี ร กายทั้ ง สิ้ น ๑๕ ความสุ ข ประกอบ
วิปสสนา สงเคราะหเขาในสุขเวทนาเจตสิกและโสมนัสเวทนาเจตสิก
สุขเวทนาเจตสิกมีลักษณะเฉพาะ ดังนี้
- อิฏฐโผฏฐพฺพานุภวนลกฺขณา มีการสัมผัสกับโผฏฐัพพารมณที่ดี
เปนลักษณะ
- สมฺปยุตฺตานํ พยุหนรสามีการทําใหสัมปยุตธรรมเจริญ เปนกิจ
- กายิกอสฺสาทปจฺจุปฏฐานา มีความยินดีทางกาย เปนผล
- กายินฺทฺริยปทฏฐานา มีกายปสาท เปนเหตุใกล
โสมนัสเวทนาเจตสิกมีลักษณะเฉพาะ๑๖ ดังนี้
- อิฏฐารมฺมณานุภวนลกฺขณา มีการเสวยอารมณที่ดี เปนลักษณะ
- อิฏฐาการสมฺโภครสา มีการประจวบกับอาการที่นาปรารถนา
เปนกิจ
- เจตสิกอสฺสาทปจฺจุปฏฐานา มีความแชมชื่นยินดีทางใจ เปนผล
- ปสฺสทฺธิปทฏฐานา มีความสงบกายใจ เปนเหตุใกล
เมื่อมีความสบายมากในขณะที่ผูปฏิบัติบําเพ็ญวิปสสนากําลังปฏิบัติ
อยูนั้น ความสุขอันประณีตยิ่งก็บังเกิดขึ้นทวมทนไปทั่วสรีระกายเปนสุขทวม

๑๕
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๖.
๑๖
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๐.
๒๒๒
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ทนหัวใจ ไมสามารถจะบรรยายใหถูกตองได เพราะเปนสุขที่มีรสอันล้ําลึก
แปลกประหลาดทําใหผูปฏิบัติเขาใจผิดวา เปนนิพพานหรือทําใหยินดีพอใจ
(นิกันติ)เปนโลภะ สงผลใหการเจริญสติไมตอเนื่องและรูป- นามไมชัดเจน
จัดเปนวิปสสนูปกิเลส
๖. อธิ โ มกข หมายถึง ตั ด สิ น ใจเชื่ อ หรื อศรั ทธาที่ สั มปยุ ต ตด ว ย
วิปสสนา เปนความผองใสยิ่ง ของจิตและเจตสิกที่เปนศรัทธาที่มีกําลังกลา
พาใหคิดไปใหญโต เชน คิดถึงคนทั้งหลายอยากใหเขาไดเขากรรมฐานอยาง
ตนบาง เมื่อนึกใกลเขามาถึงอาจารยผูใหกรรมฐานแกตนในปจจุบันก็เกิด
ศรัทธาในตัวทานนึกถึงบุญคุณของทานตลอดจนบุญคุณของพระพุทธศาสนา
เปนอยางยิ่งเชื่อถือลงไป แลวก็ติดใจในความเชื่อถือเหลานั้น ไมเห็นรูป-นาม
อีกเหมือนกัน๑๗ สงเคราะหเขาในอธิโมกขเจตสิก มีลักษณะเฉพาะ ดังนี้
- สนฺนิฏฐานลกฺขโณ มีการตัดสินใจเด็ดขาด เปนลักษณะ
- อสํสปฺปนรโส มีการตั้งมั่นไมรวนเรในอารมณ เปนกิจ
- วินิจฺฉยปจฺจุปฏฐาโน มีการตัดสิน เปนผล
- สนฺนิฏเฐยฺยธมฺมปทฏฐาโน มีธรรมที่ตองตัดสินใจ เปนเหตุใกล
๗. ปคคหะ หมายถึง วิริยะ คือความเพียร เพราะวา ความเพียรที่
สัมปยุตดวยวิปสสนานั่นแล เปนความเพียรที่ไมหยอนเกินไป ไมตึงเกินไป
ประคับประคองไวเปนอยางดี ก็เกิดขึ้นแกโยคีนั้น๑๘
ปคคหะสงเคราะหเขาในวิริยะเจตสิก มีลักษณะเฉพาะ ดังนี้
- อุสฺสาหนลกฺขณํ มีความอดทนตอสูกับความลําบาก เปนลักษณะ
- สหชาตานํ อุปตฺถมฺภนรสํ มีการอุดหนุนธรรมที่เกิดพรอมกับตนไม
ใหถอยหลังเปนกิจ
- อสีสํทนปจฺจุปฐานํ มีการไมถอย เปนผล
- สํเวควตฺถุ ปทฏฐานํ มีความสลด คือสังเวควัตถุ ๘ เปนเหตุใกล๑๙
๑๗
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๖.
๑๘
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๖.
๑๙
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๙.
๒๒๓
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
- วิริยารมฺภ วตฺถุ ปทฏฐานํ หรือ วิริยารัมภวัตถุ ๘๒๐ เปนเหตุใกล
เมื่อผูปฏิบัติจะเกิดความเพียรอยางมาก เปนความเพียรที่สัมปยุต
ดวยวิปสสนาซึ่งเปนความเพียรที่ไมตึงเกินไปไมหยอนเกินไปประคับประคอง
ไวเปนอยางดีพยายามในการปฏิบัติอยางไมรูจักเหน็ดเหนื่อย เกิดความขยัน
ขึ้นเปนพิเศษจนทําใหตนเองแปลกใจวาเหตุใดตนจึงไดมีวิริยะมากไมรูจัก
เหน็ดเหนื่อยในการปฏิบัติเชนนี้และเมื่อมนสิการไมดีก็จะเขาใจตนเองผิดไป
วาไดมรรคผลนิพพานแลว ทําใหไมมี คิดจะปฏิบัติวิปสสนาตอไป
๘. อุ ป ฏ ฐาน หมายถึ ง สติ ที่ ป รากฏขึ้ น เหมื อ นกั บ ว า รู ป นาม
ทั้งหลายที่เกิดขึ้นนั้นไดแลนเขามาสูภายในจิต หรือเหมือนกับวาดวงจิตที่
กําหนดนั้นแหละ แลนเขาไปหารูปนามเหลานั้น ดวยอํานาจของสติที่เรียกวา
อุป ฏฐาน นี้แหละที่ส ามารถกําหนดอาการของรู ป นามทั้งหลายได แมจ ะ
ละเอียดออนเพียงไรก็ตาม อารมณและการกําหนด จะปรากฏเปนจังหวะเขา
กันไดดีมาก๒๑
อุปฏฐานสงเคราะหเขากับสติเจตสิก มีลักษณะเฉพาะ ดังนี้
- อปลาปนลกฺขณา มีความระลึกไดในอารมณเนืองๆ เปนลักษณะ
- อสมฺโมหรสา มีความไมหลงลืม เปนกิจ
- วิสยาภิมุขภาวปจฺจุปฏฐานา มีความจดจอตออารมณ เปนผล
- ถิรสฺญา ปทฏฐานา (วา) มีความมั่นคง (หรือ) เปนเหตุใกล
- กายาทิสติปฏฐาน ปทฏฐานา มีสติปฏฐาน ๔ (กาย เวทนา จิต
ธรรม) เปนเหตุใกล
เมื่อมีความรูสึกวาสตินี้คลองวองไวที่ จะกําหนดรูส ภาวธรรมตางๆ
อารมณตางๆ ที่มากระทบในสวนตางๆ สติมีความรับรูวองไวมาก เปนสติที่
ทําใหอารมณปรากฏชัดเจนนี้ทําใหสภาวะรูป-นามที่แมจะละเอียดก็เปนสิ่งที่
ประจักษ ชัดเจนแกผูปฏิบัติ จนเกิดความพอใจในสติที่มีสติระลึกรูไดเทาทัน
๒๐
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๙.
๒๑
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ) , วิปส สนาชุนี หลักการปฏิบตั วิ ปิ ส สนา
(ฉบับสมบรูณ) ,หนา๕๒๖.
๒๒๔
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ที่จริงสติเปนเรื่องดี เปนสิ่งที่ ควรเจริญ ใหเกิดขึ้น แตมันไปเสียตรงที่มีนิกันติ
คือมีความยินดีพอใจในสติที่เกิดขึ้น วิปสสนาก็ กาวไปไมได
๙. อุเบกขาหมายถึง ความมีจิตเปนกลาง๒๒ อุเบกขา หมายถึง “ทั้ง
วิปสสนูเปกขา และอาวัชชนูเปกขา เพราะวา ในสมัยนั้น ทั้งวิปสสนูเปกขา
ซึ่งมีความเปน กลางในสังขารทั้งปวง ทั้งอาวัขขนูเปกขา ในมโนทวาร ก็มี
กําลัง เกิดขึ้นแกโยคีนั้น ความจริงเมื่อโยคีรําพึงถึงฐานะนั้นๆอยูอุเบกขานั้นก็
ดํ า เนิ น อย า งแก ก ล า แหลมคม ประดุ จ ดั ง วชิ ร ะของพระอิ น ทร ที่ ท รงซั ด
ออกไป และประดุจดังลูกศรที่เผารอน แลวยิงออกไปในกองใบไม”๒๓
อุเบกขาสงเคราะหเขาในตัตตรมัชฌัตตตาเจตสิก มีลักษณะดังนี้
- จฺตตเจตสิกานํ สมวาหิตลกฺขณามีการทําจิต เจตสิ กใหเ ปนไป
สม่ําเสมอ เปนลักษณะ
- อูนาธิกตานิวารณรสา (วา) มีการหามจิตเจตสิก ไมยิ่งและหยอน
เปนกิจ
- ปกฺขปาตุปจฺเฉทนรสา มีการตัดขาดการตกไปในความยิ่งและ
หยอนของจิตเจตสิก
- มชฺฌตฺตภาวปจฺจุปฏฐานา มีความฉลาดเปนกลาง โดยเพงเฉยตอ
จิตเจตสิก เปนผล
- สมฺปยุตฺตปทฏฐานา มีสัมปยุตธรรม เปนเหตุใกล
เมื่อจิตใจมีความเฉยมาก ไมรูสึกดีใจเสียใจ มีความเฉยเปนกลางใน
สังขารทั้งปวง และอาวัชชนูเปกขา(ความเปนกลางที่เกิดขึ้นในมโนทวาร)
อุเบกขาทั้ง ๒ นี้เกิดแกผูเริ่มตนบําเพ็ญวิปสสนา และเมื่ออุเบกขาดําเนินไป
ผูปฏิ บัตินึ กถึงอารมณใด อุเบกขานั้ นก็ดําเนินไปอย างแกกล าแหลมคมไม
ยินดียินรายตอทุกสิ่งเหมือนคนไมมีกิเลส อุเบกขานี้แทจริงเปนของดี แตถา
ไมมนสิการใหดี มีตัณหา มานะ ทิฏฐิเขามาแทรกก็กลายเปนวิปสสนูปกิเลส
๒๒
พระพรหมคุณ าภรณ (ป.อ.ปยุตฺ โ ต) , พจนานุ กรมพุท ธศาสตร ฉบั บ
ประมวลธรรม, หนา ๒๔๓.
๒๓
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๖.
๒๒๕
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
๑๐. นิกันติ หมายถึง ความใครในวิปสสนา เพราะวานิกันติมีอาการ
สงบสุ ขุ ม ก็ เ กิ ด แก โ ยคี นั้ น ทํ าความอาลั ย อยู ใ นวิ ป ส สนาอั น ประดั บ ด ว ย
อุปกิเลสมีโอภาส เปนตน๒๔
นิกันติสงเคราะหเขาในโลภเจตสิก มีลักษณะเฉพาะ ดังนี้
- อารมฺมณฺคฺคณ ลกฺขโณ มีความยึดอารมณ เปนลักษณะ
- อภิสงฺค รโส มีความของติดอยูในอารมณ เปนกิจ
- อปริจาค ปจฺจุปฏฐาโน มีความไมยอมละ เปนผล
- สํโ ยชนิย ธมฺเ มสุ อสฺส าททสฺ สน ปทฏ ฐาโน มีความเห็ นความ
สําราญในสังโยชนธรรมเปนเหตุใกล
เมื่อเกิดกับผูปฏิบัติแลวยอมยึดมั่นความ ยินดีพอใจดวยตัณหามานะ
และทิฏฐิทําใหวิ ปสสนาไมเจริ ญกาวหนาตอไปเป นที่เขาใจวา สิ่ งตางๆ ที่
เกิดขึ้นเหลานี้ ที่จริงเปนเรื่องดี ปติก็ดี ความสุขก็ดี ความสงบก็ดี ความรูสติก็
ดี มัน เปนเรื่องดีเกิดขึ้นมา แตเสียตรงที่มีนิกันติ คือความเขาไปยินดีติดใจ
ทําใหการเจริญ วิปสสนานั้น ไมกาวหนา ไปติดอยูแคนั้น
นิกันตินี้มีความของติดอยูในอารมณเปนกิจ มีความไมยอมละเปน
ผล และมีความเห็น ความสํ าราญในสั งโยชน ธรรมเปน เหตุใกล ซึ่งจัด เป น
กิเลสโดยแท ตางกับอีก ๙ ชนิดขางตนที่มีลักษณะเฉพาะที่พึงประสงค และ
ในคั ม ภี ร วิ สุ ท ธิ ม รรค พระพุ ท ธโฆสเถระได แ สดงไว ว า “นิ กั น ติ ห มายถึ ง
วิปสสนานิกันติ (ความใครในวิปสสนา) เพราะวานิกันติ มีอาการ สงบ สุขุม
ก็เกิดขึ้นแกโยคีนั้น ทําความอาลัยอยูในวิปสสนาอันประดับดวยอุปกิเลสมี
โอภาสเปนตน ดวยประการดังกลาวนี้ ซึ่งเปนความใครที่ใครๆไมสามารถ
แมแตกําหนดรูไดวาเปนกิเลส”๒๕

๒๔
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๗.
๒๕
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวสิ ุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๗.
๒๒๖
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖

๒. เหตุปจจัยแหงการเกิดวิปสสนูปกิเลส
สาเหตุที่ทําให เกิด วิปสสนูปกิเลสไดแกนิว รณ คือ ใจมีอุทธัจ จะใน
ธรรมกั้นไว๒๖ หมายความวา อุทธัจจนิวรณจะมากั้นขัดขวางปญญาญาณใน
วิปสสนาตั้งแตญาณ ๔ อยางแกขึ้นไป เมื่อนิวรณคืออุทธัจจเกิดขึ้นในขณะ
ปฏิบัติวิปสสนาญาณโดยเฉพาะในญาณ ๔ อยางออนแลววิปสสนาจึงเศรา
หมองไมใชเศราหมองเพราะเหตุอื่น ไมใชเปนวิปสสนูปกิเลสเพราะเหตุอื่น
แตที่เศราหมองหรือเปนวิปสสนูปกิเลสนั้นก็เพราะความฟุงในธรรมกลาวคือ
อุปกิเลส ๑๐ ประการที่เกิดจากการเจริญวิปสสสนาเทานั้น ดังมีหลักฐาน
ในขุททกนิกายปฏิสัมภิทามรรค วา
(ภิกษุ) มีใจถูกอุทธัจจะในธรรมกั้นไว เปนอยางไร คือ เมื่อภิกษุ
มนสิ การโดยความไมเที่ย ง โอภาสยอมเกิดขึ้น ภิกษุนึกถึงโอภาสว า
“โอภาสเปนธรรม” เพราะนึกถึงโอภาสนั้น ความฟุงซานเปนอุทธัจจะ
ภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะนั้นกั้นไว ยอมไมรูชัดความปรากฏโดยความไม
เที่ย งตามความเปน จริ งไมรู ชัด ความปรากฏโดยความเป น ทุกขต าม
ความเปนจริง ไมรูชัดความปรากฏโดยความเปนอนัตตาตามความเปน
จริง เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา มีใจถูกอุทธัจจะในธรรมกั้นไว ใน
เวลาที่จิตตั้งมั่นสงบอยูภายใน มีภาวะที่จิตเปนหนึ่งผุดขึ้น ตั้งมั่นอยู
มรรคก็เกิดแกเธอ มรรคยอมเกิดอยางไร ฯลฯ มรรคยอมเกิดอยางนี้
ภิกษุยอมละสังโยชน ไดอยางนี้ อนุสัยยอมสิ้นไปอยางนี๒๗ ้
พระพุ ท ธองค ท รงตรั ส ว า การมนสิ ก ารโดยไม เ ที่ ย งเป น ต น ทํ า ให
วิปสสนูปกิเลสเกิดซึ่งตั้งเปนประเด็นไว ๓ ประเด็น คือ
๒.๑ เพราะมนสิการโดยความไมเที่ยง
เมื่อมนสิการโดยความไมเที่ยง ญาณ (ความรู)ยอมเกิดขึ้น ปติ(ความ
อิ่ ม ใจ)ย อ มเกิ ด ขึ้ น ป ส สั ท ธิ (ความสงบกายสงบใจ) ย อ มเกิ ด ขึ้ น สุ ข
๒๖
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/ ๖/ ๔๒๕-๖.
๒๗
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/ ๖/ ๔๒๕.
๒๒๗
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
(ความสุ ข) ย อมเกิดขึ้น อธิ โ มกข (ความนอมใจเชื่ อ) ย อมเกิดขึ้น ป คคหะ
(ความเพียรที่พอดี) ยอมเกิดขึ้นอุปฏฐาน (สติแกกลา) ยอมเกิดขึ้น อุเบกขา
(ความมีใจเปนกลาง) ยอมเกิดขึ้นนิกันติ (ความติดใจ) ยอมเกิดขึ้น ภิกษุนึก
ถึงนิ กัน ติ ว า“นิ กั น ติ เ ป น ธรรม”เพราะนึ กถึงนิ กัน ติ นั้ น ความฟุงซานเป น
อุทธัจจะ ภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะนั้นกั้นไวอยางนี้ ยอมไมรูชัดความปรากฏ
โดยความไมเที่ยงตามความเปนจริง ไมรูชัดความปรากฏโดยความเปนทุกข
ตามความเปนจริง ไมรูชัดความปรากฏโดยความเปนอนัตตาตามความเปน
จริง เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา มีใจถูกอุทธัจจะในธรรมกั้นไวในเวลาที่
จิตตั้งมั่นสงบอยูภายใน มีภาวะที่จิตเปนหนึ่งผุดขึ้น ตั้งมั่นอยู มรรคก็เกิดแก
เธอ มรรคยอมเกิดอยางไร ฯลฯ มรรคยอมเกิดอยางนี้ ภิกษุยอมละสังโยชน
ไดอยางนี้ อนุสัยยอมสิ้นไปอยางนี๒๘ ้
๒.๒ เพราะมนสิการโดยความเปนทุกข
เมื่อมนสิการโดยความเปนทุกข ฯลฯ โอภาสยอมเกิดขึ้น ฯลฯ ญาณ
ยอมเกิดขึ้น ปติยอมเกิดขึ้น ปสสัทธิยอมเกิดขึ้นสุขยอมเกิดขึ้นอธิโมกขยอม
เกิดขึ้นปคคหะยอมเกิดขึ้น อุปฏฐานยอมเกิดขึ้นอุเบกขายอมเกิดขึ้น นิกันติ
ยอมเกิดขึ้น ภิกษุนึกถึงนิกันติวา“นิกันติเปนธรรม”เพราะนึกถึงนิกันตินั้น
ความฟุงซานเปนอุทธัจจะ ภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะนั้นกั้นไวยอมไมรูชัดความ
ปรากฏโดยความเป น อนั ต ตาตามความเปน จริง ไมรู ชัด ความปรากฏโดย
ความไมเที่ยงตามความเปนจริงไมรูชัดความปรากฏโดยความเปนทุกขตาม
ความเปนจริง เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา มีใจถูกอุทธัจจะในธรรมกั้นไว
ฯลฯภิกษุยอมละสังโยชนไดอยางนี้ อนุสัยยอมสิ้นไปอยางนี๒๙ ้
๒.๓ เพราะมนสิการโดยความเปนไตรลักษณ
เมื่อมนสิการรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณโดยความเปน
อนัตตาอยูก็ดี เมื่อมนสิการชราและมรณะโดยความไมเที่ยงเปนตน โอภาสก็

๒๘
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖/๔๒๖.
๒๙
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖/๔๒๖.
๒๒๘
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ดี ญาณก็ดี ปติก็ดี ปสสัทธิก็ดี สุขก็ดี อธิโมกขก็ดี ปคคหะก็ดี อุปฏฐานก็ดี
อุเบกขาก็ดี นิกันติยอมเกิดขึ้น ภิกษุนึกถึงนิกันติวา“นิกันติเปนธรรม”เพราะ
นึกถึงนิกันตินั้น ความฟุงซานเปนอุทธัจจะ ภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะนั้นกั้นไว
ยอมไมรูชัดชราและมรณะตามความเปนจริงโดยไตรลักษณ เพราะเหตุนั้น
ทานจึงกลาวว ามีใจถูกอุทธัจ จะในธรรมกั้น ไว ในเวลาที่จิ ตตั้ งมั่น สงบอยู
ภายในมีภาวะที่จิตเปนหนึ่งผุดขึ้น ตั้งมั่นอยู โดยความไมเที่ยง มรรคก็เกิด
แกเธอ มรรคยอมเกิด๓๐
ในคัมภีรปฏิสัมภิทามรรคไดกลาวถึงวิปสสนูปกิเลส ไววา
โอภาเส เจว าเณ จ ปติยา จ วิกมฺปติ
ปสฺสทฺธิยา สุเข เจว เยหิ จิตฺตํ ปเวธติ.
อธิโมกฺเข จ ปคฺคเห อุปฏาเน จ กมฺปติ
อุเปกฺขาวชฺชนายฺจ อุเปกฺขาย นิกนฺติยา.๓๑
จิตยอมกวัดแกวง หวั่นไหวเพราะโอภาส เพราะญาณ เพราะปติ
เพราะปสสัทธิ เพราะสุข เพราะอธิโมกข เพราะปคคหะ เพราะอุปฏ
ฐาน เพราะอุเบกขาเพราะนอมนึกถึงอุเบกขาและนิกันติ๓๒
นอกจากนี้ในบาลีขุททกนิกายปฏิสัมภิทามรรคไดกลาวถึงผูที่ผานพน
จากวิปสสนูปกิเลสดังกลาวไววา
อิมานิ ทส านานิ ปฺา ยสฺส ปรีจิตา
ธมฺมุทฺธจฺจกุสโล โหติ น จ วิกฺเขป คจฺฉติ.๓๓
ภิกษุนั้นกําหนดฐานะ ๑๐ ประการนี้ ดวยปญญาแลว
ยอมเปนผูฉลาด ในอุทธัจจะในธรรมและยอมไมถึงความหลงใหล
จิตกวัดแกวง เศราหมองจิตภาวนา ยอมเคลื่อน
จิตกวัดแกวง ไมเศราหมองจิตภาวนายอมเสื่อมไป

๓๐
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖/๔๒๖.
๓๑
ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/ ๗/ ๓๑๗.
๓๒
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๗/๔๒๖.
๓๓
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๗/๔๒๗.
๒๒๙
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
จิตบริสุทธิ์ ไมเศราหมองจิตภาวนายอมไมเสื่อมไป
จิตไมฟุงซาน ไมเศราหมองจิตภาวนายอมไมเคลื่อน
ดวยฐานะ ๔ ประการนี้ ภิกษุยอมรูชัดความที่จิตกวัดแกวง ฟุงซาน
ถูกโอภาสเปนตนกั้นไว ดวยฐานะ ๑๐ ประการนี้ ฉะนี้แล๓๔
วิปสสนูปกิเลส คือ อุปกิเลสแหงวิปสสนา เปนธรรมารมณที่เกิดแกผูได
ตรุณวิปสสนา หรือวิปสสนาออนๆ ทําให เขาใจผิดวา ตนบรรลุมรรคผลแลว
เปนเหตุขัดขวางใหไมกาวหนาตอไปในวิปสสนาญาณพบในวิสุทธิ ๗ โดยเฉพาะ
ขอ ๕ คือ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ๓๕ หมายถึง ความหมดจดแหงญาณที่รู
เห็นวาเปนทางหรือมิใชทาง เปนการเริ่มเจริญวิปสสนาดวยพิจารณากลาป จน
มองเห็ น ความเกิ ด ขึ้ น และความเสื่ อ มไปแห ง สั ง ขารทั้ ง หลาย เรี ย กว า
อุ ท ยั พ พยานุ ป ส สนา หรื อ ตรุ ณ วิ ป ส สนา คื อ วิ ป ส สนาญาณอ อนๆ ซึ่ ง มี
วิปสสนูปกิเลสเกิดขึ้น การกําหนดอุปกิเลสทั้ง ๑๐ แหงวิปสสนานั้น มิใชทาง
สวนวิปสสนาที่เริ่มดําเนินเขาสูวิถีนั่นเปนทาง เตรียมที่จะประคองจิตไวในวิถี
คือ วิปสสนาญาณนั้นตอไป ขอนี้จัดเปนขั้นกําหนดมัคคสัจจ๓๖
ตรุ ณวิ ปสสนา หรื อตรุ ณอุทยั พพยญาณนี้เป นญาณแรกในวิป สสนา
ญาณ ๙ อันเปนตัววิปสสนา คือ ปญญาความรูที่ทําใหเกิดความรูแจง เขาใจ
สภาวะของสิ่งทั้งหลายตามเปนจริง ความจริงญาณนี้ชื่อวา อุทยัพพยานุปสส
นาญาณ คือ ญาณที่ต ามเห็ น ความเกิด และความดั บ ของสั งขาร โดยการ
พิจารณาเห็นความเกิดขึ้นและดับไปในขันธ ๕ (รูปนาม) อยางชัดเจนวา ขันธ
๕ ที่เกิดขึ้นแลวก็ตองแตกดับไปเหมือนกันหมด๓๗
เมื่ อ ผู ป ฏิ บั ติ ม าถึ ง อุ ท ยั พ พยญาณใหม ๆ (อ อ นๆ) เริ่ ม ปรากฏ
วิป สสนู ปกิเลสคือ สิ่ งที่ทําให วิป ส สนาหมนหมอง ทําให วิป ส สนาเสื่ อมไป
๓๔
ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๒๕๒ – ๖๐/๒๗๓ – ๘๔. ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/
๗/๔๒๗.
๓๕
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวล
ธรรม, หนา ๒๔๓.
๓๖
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๐๘.
๓๗
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๒๖.
๒๓๐
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
เพราะผูปฏิบัติธรรมที่พบเห็นสิ่งเหลานี้อาจสําคัญผิดวา ตนไดบรรลุมรรคผล
นิพพานแลวหยุดปฏิบัติ หรือ แมจะไมสําคัญผิดอยางนั้น ก็อาจยินดีพอใจ
สงผลใหการเจริญสติขาดชวง และความกาวหนาลดลง แตถาผูปฏิบัติธรรม
เขาใจวา เปนเพียงทางผานเหมือนปายบอกทาง แลวกําหนดรูตามความเปน
จริงก็ไมอาจทําใหวิปสสนาเสื่อมมี ๑๐ ประการ๓๘
วิปสสนูปกิเลส ๑๐ ประการนี้ จะเกิดแกผูเจริญวิปสสนาภาวนา ใน
เมื่อไดบรรลุถึงอุทยัพพยญาณที่ยังออนอยู ถามีผูมีความเพียรนั้นพลาดพลั้ง
หลงกลตอวิปสสนูปกิเลสเหลานี้แลว ยอมจะเขาถึงสภาวะที่เรียกวา ตกเหว
ตายอยูเพียงนี้ คือ ไมสามารถจะบําเพ็ญความเพียรในวิปสสนาตอไป เพราะ
เขาใจผิดคิดวา ตนสําเร็จเปนพระอรหันตแลว แตถามีอุปนิสัยบารมีดีใน
อดีตชาติ คือ ผูที่ควรบรรลุมรรคผล เพราะปฏิสนธิดวยไตรเหตุ และสามารถ
พาตนให ผ านวิ ป ส สนู ป กิเ ลสไปได แ ล ว วิ ป ส สนาญาณก็จ ะดํ าเนิ น ไปตาม
แนวทางแหงรูปนาม (สังขาร) มีอาการเกิดดับชัดเจนขึ้น จนพบสภาวะใน
ญาณตอๆ ไป๓๙
๓. เหตุที่ทําใหเกิดวิปสสนูปกิเลส
เมื่อภิกษุมนสิการโดยความไมเที่ยง ญาณยอมเกิดขึ้น และเมื่อภิกษุ
นึกถึงญาณวา “ญาณเปนธรรม” เพราะอาการและเจตนาที่นึกถึงญาณนั้น
(นิกันติ) ความฟุงซาน(อุทธัจจะ)ก็เกิดขึ้น
เมื่อภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะนั้นกั้นไว ยอมไมรูชัดความปรากฏโดย
ความไมเที่ยงตามความเปนจริง ยอมไมรูชัดความปรากฏโดยความเปนทุกข
ตามความเปนจริง และยอมไมรูชัดความปรากฏโดยความเปนอนัตตา ตาม
ความเปนจริง เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา มีใจถูกอุทธัจจะในธรรมกั้นไว

๓๘
สมเด็จพระพุทธชินวงศ (สมศักดิ์ อุปสมมหาเถระ), อริยวังสปฏิปทา, หนา
๑๒๘.
๓๙
พระอาจารย ภั ททัน ตะ อาสภเถระ ธั มมาจริย ะ, วิปส สนาทีปนี ฎีกา,
หนา ๕๙ – ๖๐.
๒๓๑
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
จิตยอมกวัดแกวง หวั่นไหว และยอมถึงความหลงใหล จิตภาวนายอมเคลื่อน
ยอมเสื่อม และยอมถึงความเศราหมอง เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา มีใจ
ถูกอุทธัจจะในธรรมกั้นไว ในเวลาที่จิตตั้งมั่นสงบอยู๔๐ ดังนั้น ตนเหตุแหง
วิปสสนูปกิเลส คือ อุทธัจจะ พึงทําความเขาใจวา แมนิกันติหรือความยินดี
พอใจจะเปนเหตุใหตัณหา ทิฏฐิและมานะเกิดขึ้น ซึ่งจัดเปนอุปกิเลสโดยออม
แตนิกันติก็ถูกนับเนื่องเขาเปน ๑ ใน ๑๐ ของวิปสสนูปกิเลส และถือวาเปน
อุ ป กิ เ ลสโดยตรง พึ ง สั ง เกตว า ในขณะที่ วิ ป ส สนาญาณกํ า ลั ง ดํ า เนิ น ไป
ถึงแมวาจะอยูในระดับจินตาญาณก็ตาม เมื่อมีนิกันติเกิดขึ้น แตผูปฏิบัติไมได
กําหนดรู อุทธัจจะคือความกวัดแกวงหรือความฟุงซานแหงจิตยอมตามมา
เป น เหตุ ให การมนสิ การถึงความเป นพระไตรลั กษณอยางใดอย างหนึ่ งไม
ปรากฏ ในคั ม ภี ร พ ระไตรป ฎ กจึ ง กล า วถึ ง อุ ท ธั จ จะในฐานะต น เหตุ แ ห ง
วิปสสนูปกิเลส เพราะทําใหวิปสสนาเศราหมอง ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้
๓.๑ อุทธัจจะ ความฟุงในสภาพธรรม
ภาวะแหงความฟุงซานชื่อวา อุทธัจจะ มีลักษณะคือความไมสงบ
อุปมาเหมือนน้ํากระเพื่อมเพราะถูกลมตี มีความไมตั้งมั่นในอารมณเปนกิจ
อุปมาเหมือนธงที่สะบัดเพราะถูกลมพัด มีความพลุงพลานไปเปนผลปรากฏ
เหมือนขี้เถาที่ฟุงขึ้นเพราะถูกกอนหินปา มีอโยนิโสมนสิการเปนเหตุใกล๔๑
อโยนิโสมนสิการ คือการตรึกถึงอกุศลวิตกอันเลวทราม ไดแก
กามวิตก (ความตรึกเกี่ยวกับกาม) พยาบาทวิตก (ความตรึกเกี่ยวกับพยาบาท)
และวิหิงสาวิตก (ความตรึกเกี่ยวกับวิหิงสา)๔๒ คือการคิดฟุงซาน คิดเรื่องราว
ตางๆ ในชีวิตประจําวัน การคิดฟุงซานทําใหมีอาการเผลอสติ
อาการของอุทธัจจะ เรื่องมีอยูวา พระภาคิเนยยสังฆรักขิตเถระ ทาน
ไดผามา ๒ ผืน จึงนําผืนที่ยาวที่สุดไปถวายหลวงลุง แตหลวงลุงไมรับเพราะ
ทานมีพอใชแลว ทําใหทานภาคิเนยยะนอยใจอยากจะลาสิกขา ในขณะที่กําลัง
๔๐
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖/๔๒๕.
๔๑
พระพุทธทัตตเถระ, อภิธัมมาวตาร, หนา ๗๓-๗๔.
๔๒
สํ.ส. (ไทย) ๑๕/๒๓๑/๓๓๒., สํ .ส. (บาลี) ๑๕/๒๓๑/๒๔๔-๒๔๕.
๒๓๒
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ถวายงานพัดใหกับหลวงลุงอยูนั้น จึงคิดฟุงซานตอไปวาจะนําผาผืนที่ยาวที่สุด
ไปขาย แลวซื้อแมแพะมาเลี้ยง จะขายลูกแพะเลี้ยงชีวิตเก็บเงินแตงงาน เมื่อ
ภรรยาคลอดลูกจะพาลูกและภรรยามาหาหลวงลุง ในระหวางที่นั่งเกวียนมา
กับภรรยา สองสามีภรรยาแยงกันอุมลูก ภรรยาไมยอมสงลูกใหอุมแตทิ้งลูกที่
รอยลอเกวียน สามีโกรธภรรยาจึงใชดามปฏักตีภรรยา ในขณะที่ยกดามปฏักตี
ภรรยานั้นปรากฏวาไดตีหัวหลวงลุง เพราะในขณะนั้นกําลังคิดฟุงซาน๔๓
อุทธัจจะและกุกกุจจะ การที่อุทธัจจะจะเกิดขึ้นตองมีอาหารทําให
เกิดดังขอความวา อาหารที่ทําใหอุทธัจจกุกกุจจะที่ยังไมเกิดใหเกิดขึ้น หรือ
ทําอุทธัจจกุกกุจจะที่เกิดขึ้นแลวใหเจริญไพบูลยยิ่งขึ้น คือ ความไมสงบจิตมี
อยู การทํามนสิการโดยไมแยบคายในความไมสงบจิตนั้นใหมาก นี้เปนอาหาร
ที่ทํา อุทธัจจกุกกุจจะที่ยังไมเกิดใหเกิดขึ้นหรือทําอุทธัจจกุกกุจจะที่เกิดขึ้น
แลวใหเจริญไพบูลยยิ่งขึ้น๔๔
เพราะเหตุนี้ อุทธัจจะ คือ ความกวัดแกวงหรือความฟุงซานแหงจิต
เปนเหตุใหการมนสิการถึงความเปนพระไตรลักษณอยางใดอยางหนึ่งไมปรากฏ
เมื่อจิตกวัดแกวง หวั่นไหวอยูเชนนี้ ยอมถึงความหลงใหล จิตภาวนายอม
เคลื่อน ยอมเสื่อม และยอมถึงความเศราหมอง พึงสังเกตวา ในเวลาที่จิตตั้งมั่น
สงบอยูภายใน มีภาวะที่จิตเปนหนึ่งผุดขึ้น ตั้งมั่นอยู แสดงใหเห็นถึงสภาวะ
ของจิตที่เปนสมาธิอยางแรงกลา ถากําลังสติไมเพียงพอ การมนสิการหรือการ
กําหนดรู อย างจดจ อและต อเนื่ องย อมขาดช วง อกุ ศลธรรมจึ งเข าครอบงํ า
ดังนั้น อโยนิโสมนสิการ ถือวาเปนเหตุใกลแหงอุทธัจจะ มีความสัมพันธกันกับ
เหตุของการเกิดขึ้นของญาณ อันเปนวิปสสนูปกิเลส ดังตอไปนี้
๓.๒ อโยนิโสมนสิการ
อโยนิโสมนสิการ คือ การพิจารณาโดยไมแยบคาย ถือวาเปนอาหาร
หรื อเครื่ องสนั บสนุนให อุทธั จจะที่ยั งไม เกิดใหเกิดขึ้น และที่เกิดขึ้ นแล วให
๔๓
ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๒๗/๔๑๒-๔๑๗.อภิ.สง. (ไทย) ๓๔/๔๒๗/๑๒๓., อภิ.สง.
(บาลี) ๓๔/๔๒๗/๔๖.
๔๔
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๒๓๒/๑๖๒., สํ.ม. (บาลี) ๑๙/๒๓๒/๙๑-๙๖.
๒๓๓
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
เจริ ญไพบู ลยยิ่ งขึ้น ซึ่งคําว า อโยนิ โสมนสิ การนี้ ตรงขามกับ คําว า โยนิ โ ส
มนสิการ และเมื่อสงเคราะหลงสูภาคสวนของการปฏิบัติ ไดแกการกําหนดรู
อย า งจดจ อ และต อ เนื่ อ งไม ข าดสายนั่ น เอง ดั ง นั้ น ในที่ นี้ จึ ง จะแสดง
รายละเอีย ดในคําว า โยนิ โ สมนสิ การ เพื่อเป น กรณีศึกษา เพราะจะเป น
ประโยชนในทางปริยัติ และเสริมสรางเทคนิคในการปฏิบัติสืบตอไป
มนสิการ มาจากโยนิโสมนสิการ เปนคําที่ปรากฏในพระไตรปฎก
หมายถึง ความคิด หรือการพิจารณาในใจโดยอุบายอันแยบคาย๔๕
โยนิโสมนสิการ หมายถึง การใชความคิดถูกวิธี คือ การทําในใจโดย
แยบคาย มองสิ่งทั้งหลายดวยความคิดพิจารณาสืบคนถึงตนเคา สาวหาเหตุผล
จนตลอดสาย แยกแยะออกพิเคราะหดูดวยปญญาที่คิดเปนระเบียบและโดย
อุบายวิธี ใหเห็นสิ่งนั้นๆ ตามสภาวะและตามความสัมพันธแหงเหตุปจจัย พระ
พุทธองคตรัสวา “เราไมเห็นแมธรรมอยางหนึ่งที่เปนเหตุใหกุศลธรรมที่ยังไม
เกิดขึ้นก็เกิดขึ้น หรือเปนเหตุให อกุ ศลธรรมที่เกิดขึ้นแลวเสื่อมไปเหมือน
โยนิโสมนสิการนี้ ”๔๖ สามารถแสดงรายละเอียดใหเห็นเปน ๓ ประการ ตาม
ลักษณะ ไดดังตอไปนี้
๑) การมนสิการโดยความไมเที่ยง (อนิจฺจํ) คําวา อนิจจัง (อนิตยะ
ในภาษาสันสกฤต) เปนลักษณะที่ ๑ ในไตรลักษณ ซึ่งโดยทั่วไปถือวาเปน
รากฐานของลักษณะที่ ๒ และ ที่ ๓ คือ ทุกขังและอนัตตา๔๗ เพราะวาสิ่งใดไม
เที่ยง สิ่งนั้นเปนทุกขและสิ่งใดไมเที่ยง จึงไมควรถือสิ่งนั้นวาเปนตัวตนและของ
ตน หมายถึง อนิจจัง คือ ความไมคงที่ ความเปลี่ยนแปลง ทุกสิ่งทุกอยางไม
คงที่ ทุกสิ่งทุกอยางเปลี่ยนแปลงไป “สุทฺธิ ธมฺมา ปวตฺตนฺติ” ธรรมชาติโดยแท
ยอมเปลี่ ยนแปลงไป คือมีการเปลี่ ยนแปลงทั้งในทางปริ มาณและในทาง
คุณภาพ โดยเปลี่ยนแปลงจากสภาวธรรมอยางหนึ่ง ไปสูสภาวธรรมอีกอยาง

๔๕
พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร: ฉบับประมวล
ธรรม, พิมพครั้งที่ ๑๒, กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๖), หนา ๕๗.
๔๖
องฺ.เอก. (ไทย) ๒๐/๖๗/๑๒.
๔๗
ดูรายละเอียดใน องฺ.ติก. (ไทย) ๒๐/๑๓๗/๓๘๕., สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๓๑/๔๔.
๒๓๔
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
หนึ่งเรื่อยไป จนกวารูปธรรมนามธรรมนั้นๆ จะสิ้นสุดยุติลงตามอายุขัยของสิ่ง
นั้นๆ ความเปลี่ยนแปลงดังกลาวนี้ เปนปรากฏการณ หรือความประจักษแหง
สภาพภายนอกของสิ่งนั้นๆ “พหิทฺธา ธมฺมา” ความเปลี่ยนแปลงดังกลาวนี้ มี
ลักษณะที่แตกตางกันสําหรับรูปธรรมและนามธรรม กลาวคือ
(๑) รูปธรรม คือ ความเปลี่ยนแปลงเริ่มขึ้นจาก การเกิดขึ้น
(อุปจย) การเจริญสืบตอ (สนฺตติ) การเสื่อมสลาย (ชรตา) และการดับสูญสิ้นไป
(อนิจฺจตา) ในที่สุด เชน มนุษยเราเริ่มบังเกิดชีวิตจากการปฏิสนธิขึ้นในครรภ
มารดา แลวเจริญเติบโตจนกระทั่งคลอดออกมาเปนทารก ตอจากนั้น ก็จะเจริญวัย
เติบโตเปนเด็ก เปนหนุมสาว เปนวัยกลางคน วัยชรา แลวก็แกตายไปในที่สุด แต
เพื่อใหมีความหมายครอบคลุมถึงรูปธรรมทั้งหลายทั้งปวง ทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต
อโห, อนิจฺจา สงฺขารา โอสังขารทั้งหลายเอย ชางไมหยุดนิ่งเลย
เต กาลิกา อสณฺจิตา. ดํารงอยูเพียงชั่วคราวเทานั้น ไมมั่นคงถาวร
เสียเลย. สกาลา กาลิกา สพฺเพ ลวนถูกกําหนดดวยกาลเวลา ใหคงอยูเพียงชั่วคราว
(๒) นามธรรม คือ จิตกับเจตสิก ซึ่งมีความเปลี่ยนแปลง เปน
๓ จังหวะดวยกัน คือ อุปาท (เกิดขึ้น) ฐีติ (ตั้งอยู) ภงฺค (ดับไป) สภาวะของ
นามธรรมเหลานี้ยอมเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาหามีแกนสารสาระไม๔๘
เพราะเหตุ นี้ เมื่ อมนสิ การโดยความไม เที่ ยง ญาณ (ความรู ) ย อม
เกิดขึ้น ภิกษุนึกถึง นิกันติวา “นิกันติเปนธรรม” เพราะนึกถึงนิกันตินั้น ความ
ฟุงซานเปนอุทธัจจะ ภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะนั้นกั้นไวอยางนี้ ยอมไมรูชัดความ
ปรากฏโดยความไมเที่ยงตามความเปนจริง ไมรูชัดความปรากฏโดยความเปน
ทุกขตามความเปนจริง ไมรูชัดความปรากฏโดยความเปนอนัตตาตามความเปน
จริง เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา มีใจถูกอุทธัจจะในธรรมกั้นไวในเวลาที่จิต
ตั้งมั่นสงบอยูภายในมีภาวะที่จิตเปนหนึ่งผุดขึ้น ตั้งมั่นอยู๔๙

๔๘
ดูรายละเอียดใน พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับขยายความ
,พิมพครั้งที่ ๖.(กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๘),หนา
๖๘.
๔๙
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖/๔๒๖.
๒๓๕
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
๒) การมนสิการโดยความเปนทุ กข (ทุกฺขํ ) คํ าว า ทุกขั ง แปลว า
สภาวะที่บีบคั้น ของธรรมชาติ หมายความวา สิ่งทั้งหลายทั้งปวงมีลักษณะที่
เปนทุกขมองดูแลวนาสังเวชใจ นําใหเกิดความทุกขใจแกผูมีความเห็นอยาง
แจมแจงในสิ่งนั้นๆ เชน “สภาวะของขันธ ๕ เปนตัวทุกข อันมีตัณหาเปน
มูลเหตุแหงทุกข” อีกนัยหนึ่ง คําวา ทุกขัง หรือ ทุกฺขตา เปนลักษณะที่ ๒ ของ
ไตรลักษณ ซึ่งเปนผลเกี่ยวของกับลักษณะที่ ๑ คือ อนิจจัง กลาวคือ สิ่งใดไม
เที่ยง สิ่งนั้นเปนทุกข หรือสิ่งที่เปนทุกขเพราะความไมเที่ยง โดยทั่วไปคําวา
ทุกข ถูกแปลเปนภาษาอังกฤษวา Suffering และมักใชใน ๓ ความหมาย
ใหญๆ คือ
(๑) ความหมายธรรมดา หมายถึง ความไมสบายกายไมสบายใจ
ซึ่งตรงขามกับ คําวา ลักษณะของสุขหรือทุกขนี้ หมายถึง ทุกขเวทนา ซึ่งเปน
หนึ่งในขันธ ๕
(๒) ความสําคัญทางปรัชญาที่ลึกซึ้ง หมายถึง ทุกขลักษณะซึ่งเปน
ทุกขในไตรลักษณ
(๓) ความหมายทางปรั ชญาและจิ ตวิ ทยาที่ ลึ กซึ้ ง หมายถึ ง
ประสบการณทางจิต ที่เจ็บปวดทรมาน หรือสภาวะที่บีบคั้นซึ่งเกิดมาจากความ
ยึดมั่นถือมั่นในขันธ ๕ วาเปนตัวตน๕๐
อีกนัยหนึ่ง ถามองลึกเขาไปถึงเนื้อหาภายในของสรรพสิ่ง “อชฺฌตฺติกา
ธมฺมา” วาภายในของสรรพสิ่งทั้งหลายทั้งปวงนี้ มีธรรมชาติอยู ๓ ชนิด คือ
ธรรมชาติที่เปนบวก ธรรมชาติที่เปนลบและธรรมชาติที่เปนกลาง ธรรมชาติฝาย
บวก (Positive aspect) หมายถึง ธรรมชาติที่เกิดขึ้นใหม ที่กําลังพัฒนา กําลัง
กาวหนา กําลังเจริญเติบโต ธรรมชาติฝายลบ (Negative aspect) หมายถึง
ธรรมชาติที่เกาแก ที่ลาหลัง กําลังผุพัง กําลังเสื่อมสลาย ธรรมชาติทั้งสองฝายนี้
จะขัดแยงกันปะทะกัน ลักษณะนี้เรียกวา สภาวทุกข หรือทุกขํ(Contradiction)
แลวก็กลับเขาสูสภาวะไมมีบวกไมมีลบ เปนอัพยากตาธัมมา แลวก็เริ่มขัดแยง

๕๐
องฺ.ติก. (ไทย) ๒๐/๑๓๗/๓๘๕., สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๓๑/๔๔., ม.อุ. (ไทย) ๑๔/
๘๖-๙๐/ ๙๖-๑๐๓.
๒๓๖
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
กันอีก แลวก็กลับเขาสูสภาวะอยางเดิมอีกจะเปนอยางนี้เรื่อยไปจนกวาจะ
สิ้นสุดอายุขัยของสิ่งนั้นๆ
พึงทําความเขาใจวา ความขัดแยงของธรรมชาติฝายบวกและฝายลบ หรือ
ตัวทุกขัง นี่เองที่เปนตัวผลักดัน (Expulsion force) ใหสรรพสิ่งทั้งหลายเกิดความ
เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ (Qualitativechange) จากคุณภาพที่ดอยกวา ไปสู
คุณภาพที่ดีกวาเรื่อยๆ ไป เพราะฉะนั้น อัพยากตะ มีลักษณะเปนเพียง สัจธรรม
สัมพัทธ (Relative truth) เทานั้น สวนสภาวะทุกขหรือทุกขนั้นเปนสัจธรรม
สมบูรณ (Absolute truth) พุทธศาสนาจําแนกทุกขออกเปน ๓ ชนิด คือ
(๑) ทุก ขทุก ขตา คือ ทุก ขที่เ ปน ความรูสึก ทุก ขคือ
ความทุกขก ายทุก ขใจไมส บาย เจ็บ ปวดเมื่อ ยขบ โศกเศรา เปน ตน
อยา งที่เ ขา ใจกัน โดยสามัญ ตรงตามชื่อ ตามสภาพ ที่เ รีย กกัน วา
ทุกขเวทนา (ความทุกขอยางปกติที่เกิดขึ้น เมื่อประสบอนิฏฐารมณ)
(๒) วิปริณามทุกขตา คือ ทุกขเนื่องดวยความผันแปร หรือ
ทุกขที่แฝงอยูในความผันแปรของสุข คือความสุขที่กลายเปนความทุกขหรือ
ทําใหเกิดทุกขเพราะความแปรปรวนกลับกลายของมันเอง (ภาวะที่ตามปกติ
ก็สบายดีเฉยอยูไมรูสึกทุกขอยางใดเลย แตครั้นไดเสวยความสุขบางอยาง
พอสุขนั้นจางลงหรือหายไป ภาวะเดิมที่เคยรูสึกสบายเปนปกตินั้น กลับ
กลายเปนทุกขไป เสมือนเปนทุกขแฝง ซึ่งจะแสดงตัวออกมาในทันทีที่
ความสุขนั้นจืดจางหรือเลือนลางไป ยิ่งสุขมากขึ้นเทาใดก็กลับกลายเปนทุกข
รุนแรงมากขึ้นเทานั้น เสมือนวาทุกขที่แฝงขยายตัวตามขึ้นไปถาความสุขนั้น
ไมเกิดขึ้น ทุกขเพราะสุขนั้นก็ไมมีแมเมื่อยังเสวยความสุขอยู พอนึกวาสุขนั้น
อาจจะตองสิ้นสุดไปก็ทุกขดวยหวาดกังวล ใจหาย ไหวหวั่น ครั้นเวลาแหง
ความสุขผานไปแลว ก็หวนระลึกดวยความละหอยหาวา เราเคยมีสุขอยาง
นี้ๆ บัดนี้สุขนั้นไมมีเสียแลวหนอ)
(๓) สังขารทุกขตา คือ ทุกขตามสภาพสังขาร คือ สภาวะ
ของตัวสังขารเอง หรือ สิ่งทั้งหลายที่เกิดจากเหตุปจจัย ไดแกขันธ ๕ (รวม
มรรค ผล ซึ่งเปนโลกุตตรธรรม) เปนทุกข คือ เปนสภาพที่ถูกบีบคั้นดวยปจจัย
ที่ขัดแยง มีการเกิดขึ้น และการสลายหรือดับไป ไมมีความสมบูรณในตัวของ
๒๓๗
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
มันเอง อยูในกระแสแหงเหตุปจจัย จึงเปนสภาพซึ่งพรอมที่จะกอใหเกิดทุกข
แกผูไมรูเทาทันตอสภาพและกระแส ทั้งเขาไปฝนกระแสดวยความอยากความ
ยึดถืออยางโงๆ จึงไมเขาไปเกี่ยวของและปฏิบัติตอมันดวยปญญา๕๑
ดังนั้น เมื่อมนสิการโดยความเปนทุกข ญาณ (ความรู) ยอมเกิดขึ้น
ภิกษุนึกถึงนิกันติวา “นิกันติเปนธรรม” เพราะนึกถึงนิกันตินั้น ความฟุงซาน
เปนอุทธัจจะ ภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะนั้นกั้นไวอยางนี้ ยอมไมรูชัดความปรากฏ
โดยความไมเที่ยงตามความเปนจริง ไมรูชัดความปรากฏโดยความเปนทุกขตาม
ความเป นจริ ง ไมรูชั ดความปรากฏโดยความเป นอนั ตตาตามความเปนจริ ง
เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา มีใจถูกอุทธัจจะในธรรมกั้นไวในเวลาที่จิตตั้งมั่น
สงบอยูภายในมีภาวะที่จิตเปนหนึ่งผุดขึ้น ตั้งมั่นอยู๕๒
๓) การมนสิการโดยความเปนอนัตตา (อนตฺตา) คําวา อนัตตา เปน
ลักษณะที่ ๓ และลักษณะสุดทายของไตรลักษณ หรือสามัญลักษณะ
เชนเดียวกับอริยสัจ ๔ อนัตตา เปนคําสอนเฉพาะของพระสัมมาสัมพุทธเจา
ทั้งหลายเทานั้น (พุทฺธานํ สามุกํสิกา ธมฺมเทสนา, สามุกกังสิก-เทศนา)๕๓ และ
เปนหลักคําสอนในพุทธศาสนาที่ปฏิเสธ อัตตา หรืออาตมัน ของศาสนา
พราหมณ ฮินดูโดยตรง คําสอนเรื่อง อนัตตานี้แหละที่มีความแตกตางจาก
ศาสนาพราหมณ ฮินดู โดยสิ้นเชิง ตามนิรุกติศาสตรคําวา อนัตตา มาจากคํา
วา น+อัตตา วิเคราะหวา อตฺตโน อภาโว แปลวา ความไมมีแหงอัตตาหรือ
ตัวตน คําวา อัตตา ในภาษาบาลีมีใชอยู ๒ แบบ คือ อัตตา และ อัตตะ ซึ่งถูก
ใชเปนเอกพจนเทานั้นในพระไตรปฎก
อนึ่ง บรรดาสิ่งทั้งหลายทั้งปวงที่มีอยู ในทางปรมัตถใหเราไดสัมผัสและ
รับรูนั้น มันมีอยูในสภาพของการเปน “สังขาร” คือ มีอยูอยางปรุงแตงประกอบ
กันของหลายสิ่งหลายอยาง มิไดมีอยูอยางโดดเดี่ยว สังขารนั้นๆ จึงตองมี

๕๑
พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับขยายความ, หนา ๘๗,.
๕๒
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖/๔๒๖.
๕๓
ที.สี. (ไทย) ๙/๒๙๘,๓๕๕/๑๐๙,๑๔๙., ขุ.อุ. (ไทย) ๒๕/๔๓/๒๕๖., ขุ.อุ.
(บาลี) ๒๕/๑๑๒/๑๔๗.
๒๓๘
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
สัมพัทธกัน เกี่ยวพันกัน และพึ่งพิงกัน ทั้งตองถูกจํากัดดวยกาลเวลาคือ มี
อายุขัยแหงการดับ ไมมีสิ่งใดที่มีอยูเปนอนันตกาล ก็มีแตความวางเปลาหรือ
ความไมมีนั่นเอง จะเห็นไดวา ในที่สุดของสิ่งที่สุดนั้น สิ่งที่มีอยูจริง ก็คือความไม
มี บรรดาสรรพสิ่งทั้งหลายทั้งปวงที่มีอยูในภาววิสัยนั้น ไมวา รูปธรรมก็ดี
นามธรรมก็ดี (นอกจากนิพพาน) ลวนมีอยูอยางเปน สังขาร คือ เปนสังขตธรรม
ทั้งสิ้น ก็เมื่อสรรพสิ่งทั้งหลายทั้งปวงที่มีอยูนั้น ลวนมีอยูอยางเปนสังขารที่ปรุง
แตงประกอบกันเขา สิ่งนั้นๆ ทั้งหลาย ก็ยอมตกอยูภายใตกฎแหง “ไตรลักษณ”
คือ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาทั้งสิ้น ดังนั้น อนัตตาเปนกฎของธรรมชาติโดย
สัจจะ จะทํางานรวมกับอนิจจะและทุกขะเพื่อปรุงแตงความเปนโลก และ
ทํางานเปนเอกเทศในความเหนือโลก
เพราะเหตุนี้ เมื่อมนสิการรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
โดยความเปนอนัตตาอยูก็ดี เมื่อมนสิการชราและมรณะโดยความไมเที่ยง
เปนตน ญาณ (ความรู) ยอมเกิดขึ้น ภิกษุนึกถึงนิกันติวา “นิกันติเปนธรรม”
เพราะนึกถึงนิกันตินั้น ความฟุงซานเปนอุทธัจจะ ภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะนั้น
กั้นไวอยางนี้ ยอมไมรูชัดความปรากฏโดยความไมเที่ยงตามความเปนจริง ไม
รูชัดความปรากฏโดยความเปนทุกขตามความเปนจริง ไมรูชัดความปรากฏ
โดยความเปนอนัตตาตามความเปนจริง เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา มีใจ
ถูกอุทธัจจะในธรรมกั้นไวในเวลาที่จิตตั้งมั่นสงบอยูภายในมีภาวะที่จิตเปน
หนึ่งผุดขึ้น ตั้งมั่นอยู๕๔

ดวยเหตุผลดังกลาว การโยนิโสมนสิการโดยไมแยบคาย เรียกอีก
อยางหนึ่งวา อโยนิโสมนสิการ คือ การพิจารณาในสภาวะของรูปธรรมและ
นามธรรมที่ตกอยูภ ายใตอํานาจของพระไตรลักษณไมตอเนื่อง จึงเปนเหตุให
อุทธัจจะเขาครอบงํา ซึ่งอโยนิโสมนสิการนี้เปรียบเหมือนอาหารหรือเครื่อง
สนับสนุนใหอุทธัจจะที่ยังไมเกิดไดเกิดขึ้น และที่เกิดขึ้นแลวใหพัฒนายิ่งขึ้น
พึงสังเกตวา เมื่อผูปฏิบัติไมเห็นสังขารธรรมโดยความเปนพระไตรลักษณ
อยางใดอยางหนึ่งแลว ความคิดหรืออารมณก็จะพอกพูนทําใหจิตเศราหมอง

๕๔
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖/๔๒๖.
๒๓๙
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ซัดสายไปตามอํานาจของกิเลส ไดแก ตัณหา ทิฏฐิ และมานะ ดังนั้น อโยนิ
โสมนสิการจึงมีความสัมพันธกับการเกิดขึ้นของ อุทธัจจะ อันเปนเหตุที่ทําให
วิปสสนูปกิเลสเฉพาะญาณเกิดขึ้น ดังที่ไดแสดงมาในเบื้องตน
ในคัมภีรอรรถกถา อธิบายวา เปนอุปกิเลสเพราะเปนที่ตั้งแหงความ
เศราหมอง แตไมใชอกุศล สวนนิกันติเปนอุปกิเลสดวยเปนที่ตั้งแหงความ
เศราหมองดวย อุปกิเลสเหลานั้นมี ๑๐ อยาง แตดวยสามารถแหงวัตถุมี ๓๐
อยาง กลาวคือ เมื่อพระโยคาวจร ถือวา ญาณเกิดแลวแกเรา ยอมเปนการ
ถือเอาดวยทิฏฐิ เมื่อถือวา ญาณนาพอใจจริงหนอ ยอมเปนการถือเอาดวย
มานะ และเมื่อยินดีในญาณ ยอมเปนการถือเอาดวยตัณหา การถือเอา ๓
อยางดวยสามารถแหงทิฏฐิ มานะ และตัณหาในญาณดวยประการดังนี้ แม
ในอุปกิเลสที่เหลือก็อยางนั้น อุปกิเลส ๓๐ อยาง ดวยอํานาจแหงการถือเอา
ยอมมีดวยประการฉะนี้๕๕

๔. ขั้นตอนการเกิดขึ้นของวิปสสนูปกิเลส
การเกิดขึ้นของวิปสสนูปกิเลสนั้น จะอยูในชวงมัคคามัคคญาณทัสสน
วิสุทธิ คือ ความบริสุทธิที่เกิดขึ้นจากการไดรูวาทางไหนเปนทางหรือทางไหน
มิใชทาง กลาวคือในระหวางวิปสสนาญาณที่ ๓ ตอนปลาย คือ สัมมสนญาณที่
กํ าลั งก าวย างเข าสู วิ ป สสนาญาณที่ ๔ คื อ ตรุ ณอุ ทยั พพยญาณ จึ งทํ าให
วิปสสนูปกิเลสเกิดขึ้น สามารถแสดงรายละเอียดใหเห็นไดดังตอไปนี้
๔.๑ การเกิดขึ้นของตรุณอุทยัพพยญาณ
เมื่อผูปฏิบัติไมไดศึกษาพระธรรมที่ทรงแสดงไวโดยละเอียดใหเขาใจ
อยางถูกตอง ยอมไมสามารถอบรมเจริญปญญาที่จะประจักษแจงลักษณะ
ของสภาพธรรมและดับกิเลสได การที่ปญญาจะประจักษแจงลักษณะของ
สภาพธรรมตามความเปนจริงไดนั้น มหากุศลญาณสัมปยุตตจะเกิดขึ้นระลึก
ศึก ษา รู ลั ก ษณะนามธรรมและรู ป ธรรมไปแต ล ะชาติ ๆ จนกว าป ญ ญาที่
สังเกตรูลักษณะของนามธรรมและรูปธรรมจะเพิ่มขึ้น เมื่อปญญาสมบูรณ
๕๕
ขุ.ป.อ.(ไทย) ๓๑/๕๔๓/๔๗๘.
๒๔๐
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
มั่น คงถึ ง ขั้ น ใด มหากุศ ลญาณสั มปยุ ต ตจิ ต ที่เ ป น วิ ป ส สนาญาณก็ เ กิ ด ขึ้ น
ประจักษแจงลักษณะของนามธรรมและรูปธรรม ตามลําดับขั้นของวิปสสนา
ญาณทางมโนทวาร
เมื่อผูปฏิบัติเจริญสติปฏฐาน ๔ เพื่อพัฒนาศีล สมาธิ และปญญา
ของตนใหเกิดความบริสุทธิ์แลวก็ไดชื่อวา สีลวิสุทธิ จิตวิสุทธิ และทิฏฐิวิสุทธิ
ไดเกิดขึ้นแลว วิปสสนาญาณที่ ๑ ก็ปรากฏ และเปนบาทฐานใหวิปสสนา
ญาณลํ าดับ ที่ ๒ เกิด ขึ้นพร อมกับ วิสุ ทธิลํ าดับที่ ๔ คือ กังขาวิตรณวิสุทธิ
หมายถึง ความบริสุทธิ์ที่เกิดจากการขามพนความลังเลสงสัยในรูปธรรมและ
นามธรรม และเมื่อวิปสสนาญาณที่ ๒ สมบูรณจึงทําใหวิปสสนาญาณที่ ๓
เกิด ขึ้น พร อมกับ วิสุ ทธิ ลํ าดับ ที่ ๕ คือ มัคคามัคคญาณทัส สนวิ สุทธิ และ
ดําเนินไปจนถึงญาณที่ ๔ อยางออน ไดแก ตรุณอุทยัพพยญาณ ดังนี้
ตรุณอุทยัพพยญาณ คือ วิปสสนาญาณขั้นเริ่มแรกจึงเปนวิปสสนา
ที่ ยังออน ซึ่งยังมีการตรึกถึงนามธรรมและรูปธรรมที่กําลังประจักษแจงแม
โดยอาการที่วางเปลาจากโลกที่เคยรวมกัน เมื่อมีการตรึกถึงนามธรรม และ
รูปธรรมที่กําลังประจักษจึงชื่อวา จินตาญาณ เพราะยังมีการระลึก สังเกตรู
ลักษณะของนามธรรมและรู ปธรรมทางมโนทวารนั้ นอยู ว าจะเกิด ขึ้น โดย
ความเปนอนัตตา ณ สถานที่ใด ขณะใด และจะมีนามธรรมใดปรากฏเปน
อารมณกี่อารมณบาง เปนตน๕๖
การปรากฏขึ้น ของตรุ ณ อุท ยั พ พยญาณ หรื อวิ ป ส สนาญาณที่ ๔
อย า งอ อ นนี้ เป น ลั ก ษณะของจิ น ตาญาณ คื อ ความรู ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการ
เทียบเคียง หรืออนุมานตามสภาพธรรมที่ไดประสบพบเจอ ซึ่งกําลังจะกาวสู
ภาวนาญาณ อาจารยสุจินต บริหารวนเขตต ไดอธิบายความเขาใจของบุคคล
วา อาจมีความแตกตางกัน ๓ ประการ ไดแก
ประการที่ ๑ ขณะที่ผูปฏิบัติกําลังระลึกรู พิจารณาสังเกตรูลักษณะ
ของนามธรรมและรูปธรรม และคิดวารูชัดแลวนั้นเปนนามรูปปริจเฉทญาณ
แลว ที่เขาใจอยางนี้เพราะยังไมรูวา วิปสสนาญาณตองเกิดขึ้น ปรากฏโดย

๕๖
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔๙/๗๗.
๒๔๑
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ความเปนอนัตตาเชนเดียวกับนามธรรมอื่นๆ และเปนการประจักษลักษณะ
ของนามธรรมและรูปธรรมสืบตอกันทางมโนทวาร โดยลักษณะที่ทวารอื่น
เสมือนถูกมโนทวารปดบังไว โดยนัยตรงกันขามกับขณะที่วิปสสนาญาณไม
เกิด ซึ่งแมมโนทวารวิถีจิตเกิดคั่นปญจทวารวิถีจิตทุกวาระ แตมโนทวารวิถีก็
ไมปรากฏ เพราะอารมณของปญจทวารวิถีจิตปดบังไว
ประการที่ ๒ ขณะที่ผูปฏิบัติพิจารณารูวานามนี้เกิดจากรูปนี้ รูปนั้นเกิด
จากนามนั้นจนเขาใจไดอยางแจมแจง และหมดความลังเลสงสัยแลวนั้น ชื่อวา
เปนวิปสสนาญาณ คือ ปจจยปริคคหญาณ แตเมื่อนามรูปปริจเฉทญาณยังไมเกิด
วิปสสนาญาณอื่นๆ ก็เกิดไมได และเมื่อนามรูปปริจเฉทญาณเกิดแลว จะไมเขาใจ
ผิดเลยวาขณะที่ไมใชวิปสสนาญาณนั้นเปนวิปสสนา ผูที่มีวิปสสนาญาณเกิดแลว
ยอมรูความเปนอนัตตาของวิปสสนาญาณวา วิปสสนาญาณจะเกิดขึ้นตามทีม่ รรค
มีองค ๘ (ปกติมีองค ๕) ปรุงแตงไปจนถึงความสมบูรณของวิปสสนาญาณนั้นๆ
วิปสสนาญาณนั้นๆ จึงเกิดขึ้นตามเหตุปจจัย ฉะนั้นจึงเปนผูอบรมเจริญเหตุ คือ
สติปฏฐาน ระลึก ศึกษา พิจารณา สังเกต รูลักษณะของนามธรรมและรูปธรรม
เปนปกติ เพิ่มขึ้น และละเอียดขึ้น
ประการที่ ๓ เมื่อสัมมสนญาณเกิดขึ้นนั้น ผูปฏิบัติจะพิจารณาเห็น
นามธรรมเกิดขึ้นและดับตอๆ กันไป และนามธรรมก็ไมใชรูปธรรม แตเมื่อไม
รูลักษณะของนามธรรมซึ่งเปนธาตุรู เพราะไมไดอบรมเจริญสติปฏฐานระลึก
รู ลั ก ษณะของนามธรรมแต ล ะประเภท ก็ คิ ด ว า นามธรรมที่ เ กิ ด ดั บ นั้ น มี
ลักษณะเหมือนกับรูปอยางใดอยางหนึ่ง ผูที่ใจรอนอยากใหวิปสสนาญาณ
เกิ ด เร็ ว ๆ นั้ น ย อ มพยายามทํ า อย า งอื่ น แทนการระลึ ก พิ จ ารณาสั ง เกต
ลักษณะของนามธรรมและรูปธรรมที่เกิดขึ้นปรากฏตามเหตุปจจัยตามความ
เปนจริง แตก็ไมมีทางจะเรงรัดปญญาไดเลย เพราะเหตุที่จะคอยๆ อบรม
ป ญ ญาให เ จริ ญ ขึ้ น ได นั้ น มี ห นทางเดี ย ว คื อ สติ ป ฏ ฐานตามปกติ ใ น
ชีวิตประจําวันเทานั้น ถาทําอยางอื่นที่ผิดไปจากนี้ ก็แน นอนที่ผลตองผิดไป
ตามเหตุที่ผิดดวย การปฏิบัติผิดนั้น เกิดจากการหวังผลอยางรวดเร็วเพราะไม
เขาใจหนทางปฏิบัติที่ถูก โลภมูลจิตก็เกิดรวมกับความเห็นผิดจึงเปนมิจฉา
มรรคที่นําไปสูมิจฉาวิมุตติ คือการพนอยางผิดๆ เพราะไมใชการพนจากกิเลส
๒๔๒
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
อยางถูกตองแตก็เขาใจผิดวาพนจากกิเลสแลวจัดเปนวิปสสนูปกิเลส คือ สิ่งที่
ทําใหวิปสสนาเศราหมอง๕๗
๔.๒ การปรากฏของวิปสสนูปกิเลส
เมื่อกังขาวิตรณญาณวิสุทธิเกิดขึ้นแลว ปญญาที่เจริญขึ้นจากสติปฏ
ฐานที่พิจารณาลักษณะของนามธรรมและรูปธรรมทั่วขึ้นจนชิน รูวาเปนแต
เพียงนามธรรมและรูปธรรมเทานั้นเสมอกันหมดทุกประเภท ทําใหละคลาย
การใสใจแสวงหายึดมั่นในนามหนึ่งนามใดรูปหนึ่งรูปใดโดยเฉพาะ และนอม
พิจารณาการเกิดดั บ ความไมเที่ยง ความเป นทุ กข ความเป นอนั ตตาของ
นามธรรมและรู ป ธรรมที่ ป รากฏจนประจั ก ษ ก ารเกิ ด ดั บ สื บ ต อ กั น ของ
นามธรรมและรูปธรรมเปนสัมมสนญาณและอุทยัพพยญาณตามลําดับ เมื่อ
อุทยัพพยญาณดั บไปแล ว กิเลสที่ยังไมไดดับเปนสมุจเฉทก็ทําใหเกิดความ
ยินดีพอใจในวิปสสนูปกิเลส และญาณหรือความรูยอมเกิดจากจิตที่สงบถึงขั้น
เปนปจจัยใหเกิดความยินดีในความคมกลาของปญญาที่ประจักษการเกิดดับ
ของนามธรรมและรูปธรรมอยางคมชั ด แกลวกล า และวองไวดุ จอสนี บาต
(ฟ าผ า, สายฟ า ) เมื่ อเป น เช น นี้ จึ งทํ าให จิ ต หลุ ด ออกไปจากป จ จุ บั น ขณะ
วิปสสนาก็ถึงความเศราหมองเนื่องจากไมไดพิจารณาความเกิดดั บ ไมเที่ยง
เปนทุกข เปนอนัตตา ไมใชตัวตนของสภาพธรรมในขณะนั้น๕๘ เพราะผูปฏิบัติ
ถูกอุทธัจจะครอบงําไวดวยความฟุงซานในธรรม คือ ญาณ หรือความรูที่กําลัง
ปรากฏในขณะนั้นวาเปนความรูที่วิเศษ ประณีต หรือ เขาใจผิดวาเปนพระ
นิพพาน วิปสสนาที่ดําเนินมาจึงเศราหมองลง เพราะอุทธัจจะเปนเหตุ
๔.๓ ลักษณะการเกิดวิปสสนูปกิเลส
พระสารีบุ ตรเถระได แสดงเหตุ การณเกิดวิ ปสสนูป กิเ ลส ไวในธั ม
มุทธั จ จวารนิ ทเทส ว า เมื่อมนสิ ก ารธรรมหรื อ รู ป นามโดยความเป น ไตร

๕๗
สุจินต บริหารวนเขตต, ปรมัตถธรรมสังเขป จิตสังเขปและภาคผนวก,
หนา ๔๗๒-๔๗๔.
๕๘
เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๘๕-๔๘๘.
๒๔๓
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ลักษณวิปสสนูปกิเลสก็จะเกิดขึ้น ดังแสดงไวดังนี้วาเมื่อภิกษุมนสิการโดย
ความไมเที่ยง โอภาสยอมเกิดขึ้น ญาณยอมเกิดขึ้น ปติยอมเกิดขึ้นปสสัทธิ
ยอมเกิดขึ้น สุขยอมเกิดขึ้น อธิโมกขยอมเกิดขึ้น ปคคหะยอมเกิดขึ้น อุปฏ
ฐานย อ มเกิ ด ขึ้ น อุ เ บกขาย อ มเกิ ด ขึ้ น นิ กั น ติ ย อ มเกิ ด ขึ้ น และเมื่ อ ภิ ก ษุ
มนสิการโดยความเปนทุกข โดยความเปนอนัตตา เมื่อมนสิการรูปโดยความ
ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา เมื่อมนสิการเวทนา ฯลฯ สัญญาฯลฯ สังขาร
ฯลฯ วิญญาณ ฯลฯ จักขุ ฯลฯ มนสิการชราและมรณะโดยความไมเที่ย ง
ฯลฯ มนสิ การชราและมรณะโดยความทุกข มนสิ การชราและมรณะโดย
ความเปนอนัตตา โอภาสยอมเกิดขึ้น ญาณยอมเกิดขึ้น ฯลฯ๕๙
พระพุทธโฆสเถระไดแสดงเหตุของการเกิดวิปสสนูปกิเลสไปในทาง
เดียวกันกับพระไตรปฎก คือ “เมื่อผูปฏิบัติเห็นความแตกตางกันของสัจจะ๖๐
ของปฏิจจสมุปบาทของนัย๖๑ และของลักษณะ๖๒” และคัมภีรวิสุทธิมรรค
ไดแสดงเหตุเกิดวิปสสนูปกิเลสละเอียดเพิ่มมากขึ้นวา วิปสสนูปกิลสจะเกิด
กับบุคคลประเภท “อารทฺธวิปสฺสโก แปลวา ผูที่เริ่มตนบําเพ็ญวิปสสนา” คือ
เปนผูที่เริ่มตนรูวิธีการปฏิบัติวิปสสนาถูกวิธีและลงมือปฏิบัติไดผล จนสมาธิ
แกกลากาวขามนิวรณ ๕ ไปได๖๓
พระโสภณมหาเถระ ก็ไดแสดงในทํานองเดียวกัน ดังนี้ “สําหรับ
บุคคลผูปฏิบัติตามวิธีที่ไดแสดงไวในปริเฉจที่ ๕ จนมีสมาธิแกกลา นิวรณ
ทั้ ง หลายก็ จ ะไม เ กิ ด ขึ้ น บ อ ยนั ก การกํ า หนดก็ จ ะเป น ไปได ต อ เนื่ อ ง” ก็
สามารถที่จะบรรลุญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ ญาณที่ ๒ ปจจยปริคคห
ญาณ ญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ และ “จนบรรลุตรุณวิปสสนาญาณ (วิปสสนา

๕๙
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖/๔๒๕–๔๒๖.
๖๐
สัจจะ หมายถึง รูปนาม.
๖๑
นัย มี ๔ แบบ คือ เอกัตตนัย นานัตตนัย อัพยาปารนัย เอวังธัมมตานัย ดู
รายละเอียดใน พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๕๙.
๖๒
ลักษณะ หมายถึง อนิจจลักษณะ ทุกขลักษณะ อนัตตลักษณะ.
๖๓
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๐.
๒๔๔
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
อยางออน) อันดับแรก มีชื่อวา อุทยพยานุปสสนาญาณ” ๖๔
อุปกิเลส ๑๐ เปนสภาวธรรมที่เปนที่ตั้งของอุปกิเลส ก็จะเกิดขึ้นเอง
และเปนเหตุปจจัยทําใหเกิดวิปสสนูปกิเลส
พระอาจารย ภั ท ทั น ตะ อาสภมหาเถระ ธั ม มาจริ ย ะ อั ค คมหา
กัมมัฏฐานาจริยะ ไดกลาวไปในแนวทางเดียวกันวา สมาธิเปนสาเหตุใหเกิด
วิปสสนูปกิเลส โดยไดแสดงไวดังนี้ “ถาจะมีปุจฉาวา? เมื่อโยคีบุคคลบรรลุถึง
อุทยพยญาณอยางออนนี้แลว เหตุไฉนจึงตองมี วิปสสนูปกิเลสเกิดขึ้นเลา?
คําวิ สั ช นาก็คือ วิ ป ส สนู ป กิเ ลสเหล านั้ น เกิด ขึ้น โดยอํานาจสมาธิ คือ โยคี
บุคคลปฏิบัติมาถึงขั้นนี้แลวกําลังสมาธิจะดีขึ้นมาก ทําใหจิตใจผองใส เปน
เหตุใหไดพบเห็นสิ่งที่แปลกประหลาดมหัศจรรยที่ตนไมเคยพบเห็นมากอน
เชนโอภาสเปนตน๖๕
เหตุ ที่ เ กิ ด วิ ป ส สนู ป กิ เ ลส เป น เพราะผู ป ฏิ บั ติ เ กิ ด การยึ ด ถื อ ใน
อุปกิเลส ๑๐ เชน “แสงสวางเห็นปานนี้ไมเคยเกิดขึ้นแกฉันในกาลกอนแตนี้
เลยหนอ ฉันเปนผูบรรลุมรรคแลว ฉันเป นผูบรรลุผลเป นแน๖๖” โดยการ
ยึดถือ (คาหะ)๖๗ นี้เกิดจาก ๑) ทิฏฐิ คือความเห็นผิดวามีตัว มีตน มีเรา เรา
เปนผูเห็นแสงสวาง ๒) มานะ คือ ถือตัว วาตัววิเศษกวาคนอื่นๆ และ ๓)
ตัณหา คือ ความทะยานอยากอยากเห็นแสงสวาง เพราะความถูกใจ ชอบใจ
ยินดี ในแสงสวาง
พระโสภณมหาเถระไดแสดงใหชัดเจนเพิ่มมากขึ้นไปอีกในประเด็น
การเรียกชื่ออุปกิเลส ๑๐ เปนอุปกิเลสวัตถุ ๙ โดยการอางถึงคัมภีรวิสุทธิ
มรรควาเอตฺถ จ โอภาสาทโย อุปกฺกิเลสวตฺถุตาย อุปกฺกิเลสาติ วุตฺตา, นอ
๖๔
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนาชุนี หลักการปฏิบัติวิปสสนา
(ฉบับสมบรูณ) ,หนา ๔๓๕.
๖๕
ดร.ภัททันตะ อาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อุคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ, ปฐม
วิปสสนาวงศ ในประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร: บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิช
ชิ่ง จํากัด (มหาชน), ๒๕๕๔), หนา๑๔๖.
๖๖
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๖๒.
๖๗
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๖๗.
๒๔๕
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
กุสลตฺตา.นิกนฺติ ปน อุปกฺกเลสโส เจว อุปกฬกิเลสวตฺถุ จ. วตฺถุเสเนว เจเต
ทส, คาหวเสน ปนสมตฺตึส โหนตฺติ๖๘
อนึ่ง ในบรรดาอุปกิเลส ๑๐ อยางนี้ ตั้งแตโอภาสถึงอุเบกขา ทาน
เรียกวาอุปกิเลส เพราะเปนที่ตั้งของตัณหา มานะ และทิฏฐิ อันเปนเครื่อง
เศราหมอง ไมไดเรียกวาอุปกิเลสเพราะเปนอกุศล สวนนิกันติเปนทั้งอุปกิเลส
ตัวจริง และที่ตั้งแหงอุปกิเลส จริงอยู โดยวัตถุแลวอุปกิเลสมี ๑๐ อยาง แต
โดยเคหะกลาวคือตัณหา มานะ และทิฏฐิ แลวมี ๓๐หมายความวา อุปกิเลส
วัตถุ ๙ มีโอภาสเปนตน จนถึงอุเบกขานั้น ทานเรียกวาอุปกิเลส ไดก็ตอเมื่อ
ถูกตัณหา มานะ และทิฏฐิเขาครอบงําแลวเทานั้น๖๙
มีเรื่องที่ตองทําความเขาใจใหชัดเจนจากการใชศัพทอุปกิเลส ๑๐
ในคัมภีรวิสุทธิมรรค และ หนังสือวิปสสนาชุนี อาจจะเกิดความสับสนได จึง
ขอสรุปคําศัพทที่เกี่ยวของดังนี้
วิ ป ส สนู ป กิเ ลสเป น กิ เ ลสในระดั บ วิ ป ส สนาญาณระดั บ อุท ยั พ พย
ญาณอยางออน
อุปกิเลส ๑๐ (วิสุทธิมรรค) ตรงกับ อุปกิเลสวัตถุ ๙ (วิปสสนาชุนี
ตั ด นิ กัน ติ ออก) ที่ตั้ ง ของอุป กิเ ลส ไมเ ป น อกุศ ลอุป กิเ ลส เป น กิเ ลสอย า ง
ละเอียดที่นอนนิ่งในสันดาน (อกุศลมูล คือ โลภะ โทสะ โมหะ)
กระบวนการเกิด วิ ปส สนู ปกิเ ลส เริ่มจาก เกิด อุปกิเ ลส ๑๐ หรื อ
อุปกิเลสวัตถุ ๙ เปนอารมณมากระทบ ทําใหอุปกิเลส ที่นอนนิ่งในสันดาน
ปรุงแตงขึ้น เรียกวาเกิด วิปสสนูปกิเลส
พระอาจารย ภั ท ทั น ตะ อาสภมหาเถระ ธั ม มาจริ ย ะ อั ค คมหา
กัมมัฏฐานาจริยะ ไดแสดงตัวอยางเปรียบเทียบ ใหเห็นฐานะของวิปสสนูปกิ
เลสเปน ดังนี้ ยังมีอุบาสกผูหนึ่งเปนคนดีมีศีลธรรม เปนหัวหนามรรคนายก
วัดแหงหนึ่ง เปนที่นับถือของคนทั่วไปทั้งพระภิกษุสามเณรและชาวบาน วัน
หนึ่งมีเพื่อนขี้เมา ๓ คน มาชวนไปเที่ยวตลาด และ พากันเขาไปในรานสุรา

๖๘
วิสุทฺธ.ิ ๒/๓๐๙.
๖๙
เรื่องเดียวกัน.
๒๔๖
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
เมื่อนั่งลงแลวเพื่อนทั้ง ๓ ก็สั่งสุรามารับประทานจนเมา และคุยกันเอะอะ
ฝูงชนเดิน ผานไปมาได ยินเสี ยงดั งตางก็เ หลีย วดู เห็นอุบาสกผูนั้ นนั่งในวง
เหลา ก็นึกติฉินนินทา พากันเขาใจผิดคิดวา อุบาสกที่ตนนับถือในคุณธรรม
นั้น กลายเปนคนกินสุร าเสียแลว เพราะเห็ นอยูวา อุบาสกนั้นนั่งอยูในวง
เหลา และ สถานที่นั้นเปนโรงเหลา แมอุบาสกผูนั้นยังมั่นอยูในศีลไมดื่มเลย
นั่งเฉยๆ อยูแทๆ กลับตองถูกนินทาเสียชื่อ เพราะเพื่อนขี้เมา ๓ คนนั้น เปน
ผู ก อ เหตุ ข อ นี้ ฉั น ใด ธรรมชาติ ทั้ ง ๙ ประการ คื อ ตั้ ง แต โอภาสจนถึ ง
อุเ บกขาก็ เ หมือ นกั น ทั้ง ๆที่ เ ป น ของดี เป น กุ ศลแท ๆ แต ก็ต องมาเสี ย ชื่ อ
กลายเปนอุปกิเลสไป เพราะเพื่อนขี้เมาทั้ง ๓ คือ ตัณหามานะ ทิฏฐิ เปน
ตัวการกอเหตุแทๆ แตพอผานญาณนี้ไปแลว ตัณหา มานะ ทิฏฐิ จากไปแลว
ธรรมทั้ง๙ ก็กลั บ มาเป น ของดี ต ามเดิ ม และ ดี วิ เ ศษเสี ย ด ว ย เพราะเป น
โพชฌงค คือองคคุณสําคัญของเหตุใหไดมรรค ผล สวนขอสุดทาย คือ นิกัน
ติ เปนตัวอกุศล เปนอุปกิเลสแทอยางไมตองสงสัย๗๐
และหนั ง สื อ วิ ป ส สนาชุ นี พระโสภณมหาเถระยั ง ได อ ธิ บ าย
รายละเอียดลักษณะการเกิดของวิปสสนูกิเลสวา อาจจะเกิดขึ้นทีละอยางๆ
ในแตละขณะของจิตดวงหนึ่งๆ หรืออาจเกิดหลายๆอยาง พรอมๆกันก็ได
โดยอ า งถึ ง คั ม ภี ร วิ สุ ท ธิ ม รรคว า “น วาป หิ อุ ป กฺ กิ เ ลสา เอกกฺ ข เณป
อุ ปฺ ป ชฺ ช นฺ ติ ,ปจฺ จ เวกฺ ข ณา ปน วิ สํ วิ สํ โหติ ๗๑” แปลว า จริ ง อยู อุ ป กิ เ ลส
นอกจากนิ กั น ติ แม ทั้ ง ๙ ย อ มเกิ ด ขึ้ น ได แ ม ใ นขณะเดี ย วกั น ส ว นการ
พิจารณานั้นแยกพิจารณา
สรุปในหัวขอนี้ คือ เมื่อสามารถกาวขามนิวรณ ๕ จิตผองใส มีสมาธิ
สามารถกํ า หนดรู ป นามได ต อ เนื่ อ ง ก็ จ ะก า วข า มญาณเบื้ อ งต น จนถึ ง อุ
ทยัพยานุปสสนา ญาณอยางออน อุปกิเลส ๑๐ ก็จะเกิดขึ้น ซึ่งเปนการพบ
เจอครั้งแรก ไมรูเทาทัน เปนสิ่งเรา ทําใหเกิดตัณหา หลงเพลินในอุปกิเลส

๗๐
พระอาจารย ดร.ภัททันตะ อาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อุคคมหากัมมัฏฐา
นาจริยะ, ปฐมวิปสสนาวงศ ในประเทศไทย, หนา ๑๔๗.
๗๑
เรื่องเดียวกัน, หนา ๕๒๘.
๒๔๗
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
๑๐ เกิดเปนวิปสสนูปกิเลส และลักษณะการเกิดของวิปสสนูกิเลส อาจจะ
เกิด ขึ้น ทีล ะอย างๆ ในแต ล ะขณะของจิ ต ดวงหนึ่ งๆ หรื ออาจเกิด หลายๆ
อยางพรอมๆ กันก็ไดหมายเหตุทายหัวขอ ๒.๓ ผูปฏิบัติบางคนอาจจะไมเกิด
วิ ป ส สนู ป กิ เ ลส เมื่ อ ปฏิ บั ติ ถึ ง อุ ท ยั พ พยญาณอย า งอ อ น ด ว ยสาเหตุ ว า
“บุ คคลนั้ น เป น ทวิ เ หตุ กบุ คคล คือ บุ คคลที่ถือ ปฏิ ส นธิ ด ว ยเหตุ ๒ ได แ ก
อโลภเหตุ (ความไมโลภ) และอโทสเหตุ (ความไมโกรธ) จึงเปนผูไมมีปญญา
(อโมหเหตุ) มาตั้งแตเกิด ทําใหไมสามารถที่จะเจริญฌานหรือมรรคผลให
สําเร็ จในชาติ นี้ได เมื่อปฏิบั ติบุ คคลพวกนี้จึ งไมเ กิด วิป สสนูป กิเ ลส ส วนติ
เหตุกบุคคลมีเหตุ ๓ ไดแก อโลภเหตุ อโทสเหตุ และอโมหเหตุ จึงมีปญญา
มาตั้งแตเกิด๗๒”
๔.๔ ตัวอยางอาการการเกิดวิปสสนูปกิเลส
ในหั ว ข อ นี้ จะแสดงให เ ห็ น ๒ ส ว น คื อ ส ว นภายใน และส ว น
ภายนอก สวนภายในหมายถึงสภาพหรือสภาวะของอุปกิเลสทั้ง ๑๐ ที่เปน
สิ่งเรา ทํางานรวมกันอยางไร ในขณะเกิดวิปสสนูปกิเลส และสวนภายนอก
หมายถึง ผู ที่เ กิดวิ ป ส สนูป กิเ ลส มีความคิด มีอาการ และพฤติ กรรมการ
แสดงออกอยางไร
ตั ว อย า งที่ ๑. เมื่ อ ผู นั้ น พยายามกํ า หนด ที นี้ ใ นการที่ ผู นั้ น จะ
พยายามกําหนดไปแลว จากนั้ นจิ ตใจของผู ปฏิ บัติ นั้น จะรู สึกวามัน มีความ
ปลาบปลื้ มป ติ เบาขึ้น มา รูสึ กว ามีแสงระยิ บระยั บ เกิด ขึ้น มาทัน ที จะมีสี
เขี ย วๆ แดงๆ จะปรากฏขึ้ น ทั น ที ๗๓ และ แสงสว า งนี้ มั น จะเกิ ด อาการ
ระยิบ ระยั บขึ้น มากอน จะเป นประกายเขีย วๆ แดงๆ ต อจากนั้ น ก็จ ะเกิด
ความรูสึกเสมือนหนึ่งมีบุคคลเอาไฟเขามาฉาย หรือประหนึ่งเกิดความสวางมี
อยูในหองกรรมฐาน ประดุจดังวาเปนเวลากลางวัน จะมีอาการรูสึกแจมชัด
ทีเ ดี ย ว สิ่ ง เหล านี้ คือ อะไร ก็ คื ออํ านาจของโอภาส อัน เป น แสงสว า ง ซึ่ ง
จัดเปนวิปสสนูปกิเลส เพราะวาในขณะที่แสงสวางปรากฏขึ้นนั้น ผูปฏิบัติ
๗๒
เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๐๘.
๗๓
เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๐๐.
๒๔๘
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ยอมไมสามารถกําหนดธรรมะใดๆได ถึงกับตกตะลึงงันในแสงสวางนั้น และ
คิดไดในทันทีวาธรรมะที่ตัวไดเสาะแสวงหามานานนั้นเราไดประสบเสียแลว
ในครั้งนี้ ผูปฏิบัตินั้นก็ตีความหมายเขาใจเอาเองเลยที่เดียววา เราไดรูธรรม
วิเศษเบื้องสูงแลว สมประสงคดังที่ไดตั้งใจไว การเขาใจนั้น จึงทําใหบุคคล
นั้นตะลึงงันไป ไมสามารถกําหนดไดฉะนั้นโอภาสหรือแสงสวางที่ปรากฏใน
ครั้งนี้ จึงจัดเปนวิปสสนูปกิเลสประการหนึ่ง๗๔
ตัวอยางแรกนี้แสดงใหเห็นวา อุปกิเลส ๑๐ สามารถเกิดพรอมกัน
หลายชนิด คือ ปติปสสัทธิ สุข โอภาส และรวมกันสงผล ผูปฏิบัติจะรูสึกวา
เห็น แสงสวาง ทั้งๆ ที่หลับตาอยู พรอมกันนั้นยังรูสึกรับรูความรูสึกทางกาย
คือ รูสึกวากายเบา สบาย ผอนคลายทั่วทั้งตัว และรูสึกรับรูทางใจคือรูสึกถึง
ความสงบ สุ ข ป ติ ป สสั ทธิ เปน ผลทําใหเ กิดแรงดึ งดูด ผู ปฏิ บั ติอย างมาก
อยางที่ไมเคยพบเจอหรือรูสึกมากอน จนสามารรถทําใหผูปฏิบัติขาดสติหยุด
กําหนด มัวหลงเพลินในแสงสี ในปติ ในสุข เกิดเปนวิปสสนูปกิเลส ตัวอยาง
นี้เดนที่โอภาส โอภาสมีกําลังแรงชัดเจนมาก
ตั ว อย า งที่ ๒. ความปลาบปลี้ ม ป ติ นี้ เ วลาเกิ ด ขึ้ น แล ว จะเกิ ด
ความรูสึกวาตัวของเรา มีอาการขนลุกขนพองขึ้นมา บางครั้งจะรูสึกหัวโต
ผมคลายๆ กับมันชันขึ้นมา แตความจริงนั้นไมใช มันเปนเพราะอํานาจของ
การสรางแหง “ปติชรูป” ทั่วสกลกาย ดังนั้นจึงทําใหเราเขาใจผิด คิดวาที่มี
อาการขนลุกขนพองขึ้นมานั้น มันเปนประการหนึ่งที่เราจะไดธรรม เราไป
เขาใจดังนี้
ขณะที่นั่งภาวนาอยู จะมีอาการขนลุกเกรียวๆ ขึ้นมาทีเดียว คลาย
กับคนเราเดินผานสถานที่แหงใดแหงหนึ่ง และ มีผูกลาวกันวาตรงนั้นตรงนี้ผี
ดุ เคยหลอกคนมาแลว ดังนี้เปนตน พอเราไปถึงตรงนั้น ก็เกิดความกลัว มี
อาการตัวพองขึ้นมา การที่เปนเชนนี้นั่นแหละเรียก “ขุททกาปติ”ตอจากนั้น
มัน ก็จ ะมี อาการเกิ ด ขึ้ น อี ก ในคราวนี้ ที่ป รากฏนั้ น มัน จะมี อาการเหมื อ น
อยางไร มันจะมีอาการเสมือนหนึ่งฟาแลบ ที่เราไมสามารถจะมองใหรูไดวา

๗๔
เรื่องเดียวกัน.
๒๔๙
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ทางไหนหัวทางไหนหางทาง หรือวามันสวางแลบมาจากทางไหน เราไมรูได
เลยมันจะมีอาการแวบเดียว แวบเดียวแลวก็หายไป ปติชรูป สรางบอยครั้ง
แลวมันก็จะกอใหเรารูสึกอาการปราโมทยยินดี จากขางลางขึ้นขางบน จาก
ขางบนลงมาขางลาง อะไรทํานองนี้ ก็เนื่องดวยอํานาจของ “ขณิกาปต๗๕ ิ ”
เพราะการซานของปติชรูปนั่นเอง ทานจึงรูสึกอาการ วาบๆ หวามๆ
เสมือนหนึ่งทานไดเห็นคลื่นในแมน้ํา หรือคลื่นในทะเล เวลามันไลตอนกันมา
ซอนๆ กัน พอมาถึงฝงคลื่นนั้นก็หายวาบไปฉันใดในที่นี้ก็คลายกัน มีการเห็น
ไลกันมา แตอีกประการหนึ่งพูดยาก อาการนี้คือมันมีความรูสึกคลายมีอะไร
มาดันๆ เขามาแลวก็หายวาบๆ ไป ที่เปนเชนนี้ก็เพราะอํานาจของ “โอกกัน
ติกาปต”ิ
“อุพเพงคาปติ” เปนปติที่สามารถทําใหตัวลอยได บางคนสามารถ
ลอยไดคืบเดียว บางคนลอยไดศอกหนึ่ง บางคนเพียง ๒-๓ นิ้ว บางคนจะ
รู สึ กร างกายถู ไปถูม าเท านั้ น คือรู ว าถู ไปกั บ พื้น บางคนตั ว ลอยไมไ ด ก็ มี
อาการโอนเอนโยนตัว คือตัวโยกเยกไปมาคลายๆ กับลม หรือมิลมแหล และ
“ผรณาปตินั้น” จะมีอาการรูสึกเสมือนหนึ่งเรา ไมอยากจะกระดุกกระดิก
ขยับเขยื้อนตัวฉะนั้นแมแตเปลือกตาที่เราปดเอาไว รูสึกวาไมอยากจะเปดตา
เลย ที่เปนเชนนี้ก็เพราะความซาบซานของความปรีดาปราโมทยนั้น ยังให
เราหมดความรูสึกที่เราอยากจะกระดุกกระดิก บอกกันไมถูกเลยจะบรรยาย
ใหกันฟง ก็แสนยากที่จะเขาใจ ผรณาปตินี้ เมื่อเกิดแกทานผูใดแลว ทานผู
นั้นมักจะคิดเอาวาเปนธรรมะวิเศษที่ตัวไดเฝาใฝหามานั้น บัดนี้ไดปรากฏแก
ตนแล ว เลยตั ด สิ น ใจเอาง า ยๆว า อั น นี้ เ องก็ เ ลยทํ า ให ผู นั้ น ไม ส ามารถ
กําหนดใหกา วหนาตอไปได๗๖
ตัวอยางนี้ แสดงใหเห็นอาการของปติทั้ง ๕ ชนิด ปติเดนชัด มีกําลัง
มาก มากจนแสดงออกมาทางรางกายในรูปแบบตางๆ เชนรูสึกหัวโต ขนลุก
เสียวสั่น โยกเยก ตัวหมุน ตัวลอยได เปนตน สวนทางใจ ก็รูสึกถึงปติ สุข

๗๕
เรื่องเดียวกัน, หนา๔๐๑.
๗๖
เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๐๒ – ๔๐๓.
๒๕๐
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
อยางมาก สงผลทําใหเกิด “ทิฏฐิวิปลาส” คิดวาตัวเองไดธรรมะวิเศษเกิด
การยึดติด โดยเคหา ๓ เปน “วิปสสนูปกิเลส” ละเลยการกําหนดอารมณ
ปจจุบันตามความเปนจริง ตัวอยางนี้แสดงใหเห็นวา ปติเดนชัดกวาโอภาส
ตัวอยางที่ ๓. ที่กลาวถึงปสสัทธิวา เปนการสงบจิตสงบและกาย ที่
ถึง กั บ ทํ า ให พ ระอาจารย เ ข า ใจผิ ด ไป แต ส ว นศิ ษ ย ภู มิ ใ จคิ ด ไปว า ถึ ง พระ
นิพพานแลวนั้น ในที่นี้ก็เนื่องมาจากสหชาติของปสสัทธิ ไดแก ลหุตา มุทุตา
กัมมัญญตา ปาคุญญตา อุชุกตา เปนตน ไดเกิด พรอมกัน มานั่นเองฉะนั้ น
ความสงบกายและอาการสงบใจนั้น จึงไดกอใหเ กิดความเขาใจผิด ความ
เขาใจผิดอันนี้แหละที่พระกรรมฐานจารยสวนมากตีความเร็วไป เพราะวา
อํานาจของสหธรรมของปสสัทธิตัวนี้ ซึ่งไดแกลหุตา ลหุตานี้ไดแก กายลหุตา
รูปลหุตา จิตลหุตา นั่นเอง คือความเบาไดเกิดขึ้นแลว ความรูสึกทางกาย
และใจนั้นเบามาก คือเวลาเรากําหนด ซายยางหนอ ขวายางหนอ ยกหนอ
ยางหนอ เหยียบหนออะไรเหลานี้ เปนตน แทนที่เราจะตองพยายามทําใหได
จั งหวะนั้ น เมื่อเกิด ลั กษณะของป ส สั ทธิ แล ว จั งหวะนั้ น จะได เ กิด ขึ้น เองมี
อาการเบาๆ และนุมนวลไปทีเดียว ที่เรียกวาเบาและนุมนวลนี้ เบานั้นเบา
เพราะอะไร เบาเพราะอํานาจแหงลหุตา ที่นุมนวลนั้น นุมนวลเพราะอะไร
นุมนวลเพราะอํานาจมุทุตา ที่กลาววานุมนวลในที่นี้ไมเกิดเพียงแตนุมนวลใน
การเดิน หรือในการนั่งกําหนด แมแตไปสอบ
อารมณ ถาหากวาอาจารยตะเพิด หรือพูดเสียงดังๆ เขาหนอย ใจ
นอยไปเลย อยากจะรองไหเสียแลวทําไมจึงอยากจะรองไห ทีนี้ใจนอยหรือไม
นอย แตจิตขณะนั้นมันนุมนวลเหลือเกิน มันเปนจิตมุทุตามุทุตามันเกิดอยู
แลว รางกายของเราก็นุมนวลไปดวย เพราะฉะนั้นเมื่อฟงคําพูดเสียงแข็งๆ
หรือเสียหนักๆ ของพระอาจารยเขา ศิษยก็เกิดอาการไมพอใจ ถาเปนหญิงก็
มีอาการคอนขวับๆ เอาดื้อๆ ถาเปนชายไมตองหรอก ลุกหนีไปเลย หมดการ
คาราวะ ลุกไปเสียเฉยๆ อยางนั้นเอง มักจะมีอาการดังกลาวนี้ ทีนี้ กัมมัญญ
ตา มักจะมีอาการแชมชอย ไมวาจะทําอะไร คือ รูจักที่สูงที่ต่ํา ถากลาวถึง
กาลทั่วไป แตจะกลาวถึงอาการแชมชอยคือหมายความวา เมื่อขณะจะเดิน
เมื่อแรกนั้น เราจะเดินไดจังหวะเดียว ถาไมเขาจังหวะเราก็จะไมเดินทีเดียว
๒๕๑
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
จะทําอะไรตองใหไดจังหวะตองไดฉากเสมอกัน แตพอเกิด กัมมัญญตาขึ้น
แลว ความแชมชอยนั้นๆ เราจะแลดูไมเปนฉากเสียแลว คลายๆ กับวาการ
เดินจะกาวจะยางอะไรนั้น อาการที่จะเกิดจังหวะนั้นดูประหนึ่งวามีอะไรมา
กระตุนเตือนใหเกิดขึ้นเองมันจะเปนดังที่กลาวมานี้ ฉะนั้นการที่เกิดอาการ
แชมชอยนี้ก็เพราะอะไร ก็เพราะอํานาจของ กัมมัญญตา ปาคุญญตา อุชุกตา
เหลานี้เอง มันคอยบันดาลดลเอาไวให เพราะฉะนั้นจึงเกิดอาการนุมนวล แช
ชอย ออนโยน เมื่อเราจะทําอะไรโดยมาก มักชอบประกอบการงาน
นั้น อยางสุภาพเรียบรอย ใครมาทําเสียงดังตึงตังไมชอบ เพราะขณะนั้นจิต
ของเรากําลังเกิดปสสัทธิอยู ดังนั้นสหชาติของปสสัทธิ จึงทําใหทางกายและ
จิตใจของผูปฏิบัติเขาสูความสงบ ในวิปสสนูปกิเลสนี้๗๗
ตัวอยางนี้ แสดงใหเห็นถึงอาการของปสสัทธิเดนชัด สงผลทั้ง กาย
และใจ ผูที่เกิดปสสัทธิจะรูสึก รางกายและจิตใจจะสงบ นุมนวล ออนโยน
สละสลวย ผองใส เที่ยงตรง อาการทุกขทรมารตางๆ เชน ปวดเมื่อย ปวดหัว
เบื่อหนาย ฟุงซาน หงุดหงิด หดหู ทอถอย จากการปฏิบัติกัมมัฏฐานที่รูสึก
วาปฏิบัติยากจะกลายเปนปฏิบัติงาย ขณะปฏิบัติจะรูสึกวาทั้งกายและจิตไม
มีความกระวนกระวาย ไมมีความหนัก ไมมีความกระดาง ไมมีความไมควร
แกงาน ไมมีความเจ็ บไข ไมมีความคดโกงปฏิบั ติได ทั้งงายและมีความสุ ข
อยางมากที่สุ ดในระดั บที่ไมเ คยพานพบมากอนในชี วิต ทําใหผู ปฏิ บัติ เกิด
ความหลงใหล เพลิน ยึดติด จนเกิดเปนวิปสสนูปกิเลส เมื่อพบเจอครั้งแรก
ยากที่จะรูเทาทัน ไมสามารถตานทาน ทําใหการเจริญสติตองหยุดลง
ตั ว อย า งที่ ๔ เมื่ อ แรกเข า สู วิ ป ส สนาสถานนั้ น ท า นได มี ค วาม
ประสงคและมีจุดประสงคอยางไรก็ได เขามาดวยศรัทธาตัวนี้ นึกเสียวาถาได
เขามาปฏิบัติแลว เราจะตองไดธรรมวิเศษ เราจะตองถึงพระนิพพานอยาง
แนนอน เราเอาพระนิพพานเปนจุดยึดมั่น พอเรามาไดปฏิบัติสักขณะหนึ่ง
จนกระทั่งเราไดเห็นในความจริงที่เกิดขึ้นแลว ศรัทธาตัวนั้น คือ ศรัทธาตัว
แรกดําริในการจะมาเรียนพระกรรมฐานเปนทุนเดิมนั่นแหละ จะทวีความแก

๗๗
เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๐๔–๔๐๕.
๒๕๒
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
กลาขึ้นทันที อาการทวีความแกกลาขึ้นนั้น จะยังใหผูปฏิบัติไมสามารถที่จะ
กําหนดอารมณที่ตั้งใจไวได คือจิตก็คิดแตจะสรางสรรคนานาประการเชนนั่ง
คิดนั่งนึกไปวา ธรรมะนี้ทําไมจึงวิเศษประเสริฐสุดดังนี้หนอ จะไปแสวงหา
ธรรมประเสริ ฐ เลิ ศ ไปกว านี้ ไ มมี อี กแล ว เรานี้ ว าสนาดี เ หลื อเกิ น ถ าไม มี
วาสนาเราก็ คงมิ ได เ ขามาปฏิ บั ติ ดี ใจเกิด อาการหั ว เราะ ร าเริ งเอาเฉยๆ
อาการดังกลาวนี้เรียกวา หัวเราะโดยไมมีปมีขลุยนั่นเอง นอกจากนี้บางคน
นึกวา เอ เราจะตองไปเชิญชวนบิดา มารดา ปูยา ตายาย พี่ปา นาอา ของ
เราใหเขามาปฏิบัติ บางครั้งก็นึกนั่งคิดไปตางๆ เชน ดําริจะซื้อของชนิดนั้น
ชนิดนี้ ไปถวายพระอาจารยเปนการบูชาคุณ และเปน
การบูชาพระธรรม สรางภาพสรางเมืองในอากาศจนลืม มิไดกําหนด
อะไรเลย นี่เปนเรื่องของฆราวาสฝายอุบาสกอุบาสิกา ถาเปนฝายบรรพชิต
พอมาเจอกับศรัทธานี้แลว ความดีอกดีใจในการปฏิบัติ เกิดความภาคภูมิใจ
นึกวาในคราวนี้ ตัวอาตมาคงไดชดใชขาวกอนเกลือเม็ดที่ญาติโยมทั้งหลายได
อุปการะ นับตั้งแตไดบรรพชาอุปสมบท คงจะไดทดแทนคุณหมดแนในคราว
นี้เอง เมื่อบริโภคอาหารของญาติโยมทั้งหลายแลว บางคราก็ยถา อนุโมทนา
ในทานให บางคราวก็มิไดกลาวคําอนุโมทนากถาถากินไปกินมาคงลางหนี้สิน
ไดหมดครั้งนี้ บางครั้งนั่งวาดภาพคิดจะสรางวิปสสนาสถาน เชิญชวนใหญาติ
โยมทั้งหลาย ให มาปฏิ บัติ กัน ให เต็ มที่ทีเ ดีย ว ตั้งตัว เป นพระอาจารย สอน
กรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ทันที เมื่อไดสําเร็จเปนผลแลว แตเมื่อมา
มองดูตัวแลวก็ยังไมไดไปแคไหนเลย นี่เพราะอะไร ก็เพราะอํานาจตัวศรัทธา
ที่เกิดประกอบกับความปติโสมนัสนั่นเอง อีกดานหนึ่งเมื่อคฤหัสถทั้งหลาย
ไดพยายามเห็นความจริงของธรรมะเชนนี้แลว เกิดการนอยใจรองไหโฮๆ ขึ้น
เฉยๆ ครั้นไปถามวารองไหทําไมโยม? มักจะไดรับคําตอบวา เสียดายครับ
เสี ย ดายเจ า คะ คื อ บิ ด า มารดา ปู ย า ตายาย พี่ ป า น าอา ไมได มาเห็ น
ธรรมะอันประเสริฐ กระผมเห็นแลว ดิฉันไดเห็นแลว รองไหฮื้อๆ ไมรูจะทํา
ประการใด นึกก็ไมอยากนึกเสียแลว เลยรองไหเจาคะ เออ ไมไดความหมาย
อะไรเลย นี่เพราะอะไร? ก็เพราะตัวศรัทธาเกิดนั่นเอง ดวยเหตุนี้ ตัวศรัทธา
เมื่อเกิดขึ้นแลว ไมกอใหเกิดความดี ใหกาวถึงธรรมเบื้องสูงได ฉะนั้นพระ
๒๕๓
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
อาจารย เมื่อทานไปสั่งสอนปวงสานุศิษยของทาน เมื่อพบศิษยที่มีศรัทธา
ดังกลาวแลวนั้น ทานยังไดชวยสงเสริม ถาเราสงเสริมเขาก็เทากับปล้ําผีลุก
ปลุกผีนั่ง คือคนหนึ่งเกิดศรัทธากําลังแกกลา เราไปบอกวาดีและชมเชย เมื่อ
พระอาจารยไปสงเสริมใหการสนับสนุนผูปฏิบัติของทานมีหวังเปนบารอย
เปอรเซ็นต ทําไมจึงบา? ก็เราเปนอาจารยควรตัดไมใหศรัทธาเกิดจะตองขม
ใหตกไปแทนที่จะชม กลับไปสงเสริมบอกวาดี ชมวาเปนคนหายาก ดีมาก
ทีเดียวที่เรียกวาปล้ําผีลุกปลุกผีนั่ง ผลสุดทายผีตัวนั้นเอง เลยทําใหคนนั้น
เปนบาไปเลย เรียนวิปสสนาแลวเปนบาเปนเพราะเหตุนี้แหละ๗๘
ตัวอยางนี้ แสดงใหเห็นวา การปฏิบัติที่ถูกตองในเบื้องตน ทําให
ไดรับผลของการปฏิบัติเกิดอุปกิเลส ๑๐ เชน โอภาส ปติ ปสสัทธิ สุข เปน
ตน กอใหเกิดศรัทธาอยางแรงกลาได จะสังเกตไดวาในตัวอยางนี้ วิปสสนูปกิ
เลส ไมไ ด เ กิ ด จาก โอภาส ป ติ ป ส สั ท ธิ และสุ ข โดยตรง แต ส ภาวธรรม
เหล านี้ รว มกัน สงผลให ผูป ฏิ บั ติ เกิด ศรั ทธาในการปฏิ บั ติ อย างแรงกล าแต
ประเด็นสําคัญ คือ ศรัทธาที่เกิดขึ้น ไมใชสงผลดีดานเดียว แตสงผลเสียได
เช น กัน เมื่อเกิด เป น วิ ป ส สนู ป กิเ ลส สามารถทําให ผู ป ฏิ บั ติ มีพฤติ กรรมที่
ผิดเพี้ยนไปจากการดําเนินชีวิตที่เปนปกติมีพฤติกรรมแปลกๆ อาจถึงขั้นเสีย
สติเปนบา สงผลเสียตอการทําหนาที่ ที่ตนตองรับผิดชอบอยู สงผลตอคน
รอบกายไมวาจะเปน คนในครอบครัว ญาติสนิทมิตรสหาย เพื่อนรวมงาน
ตลอดจนถึงผูที่จะตองมีปฏิสัมพันธตอกันทําใหเห็นวา เมื่อไดของดี ของวิเศษ
ในขณะที่ ส ติ ป ญญาไมแ ก กล า พอ ก็ส ามารถทํา ให เ กิ ด ผลเสี ย ได ในการ
ดําเนินชีวิตเราก็เห็นไดอยูบอยๆ ตัวอยางเชน เด็กที่ไดโทรศัพทมือถือรุนดีๆ
แตเอาใชไปในทางที่ผิด เพลินกับการดูหนัง ฟงเพลง เลนเกมส หรือคนจนหา
เช ากิน ค่ําการศึกษาน อย พอถูก สลากกิน แบ งรางวั ล ที่ ๑ ร่ํ ารวยเงิน ทอง
ขึ้นมาทันตาเห็น ก็ใชเงินทองไปในทางที่ผิด เที่ยวเตร กินเหลา เมายา เลน
การพนัน จับจายใชสอยอยางฟุมเฟอย จนเกิดผลรายกับตนเองทั้งทางกาย
และใจ ไม ส ามารถเพิ่ ม พู น และรั ก ษาเงิน ทองไว ไ ด และอีก หนึ่ ง ตั ว อย า ง

๗๘
เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๐๕–๔๐๖.
๒๕๔
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
นักการเมืองที่ได อํานาจบริ หารประเทศ ก็ห ลงอํานาจใช อํานาจไปในทาง
เสื่อมเสีย เปนตน ถาบุคคลในตัวอย างเหลานี้ ไดมีโอกาสปฏิบั ติวิปสสนา
กัมมัฏฐานจนมีประสบการณ รูเทาทันวิปสสนูปกิเลส ไดรับการเรียนรูมา
กอนแลวคงจะเกิดภูมิคุมกัน ไมหลงประพฤติตนไปในทางเสื่อมเสีย ในอีก
มุมมอง ถามองยอนกลับไปในการปฏิบัติ จะเห็นวากอนจะเกิดวิปสสนูปกิ
เลสจะตองผานความยากลําบากในการกาวขามนิวรณมากอน สามารถพูดได
วา เมื่อผานความยากลําบาก(จากนิวรณ) แลว ก็จะไดรับรางวัล (อุปกิเลส
๑๐) คือ วิปสสนูปกิเลส ถามองในแงมุมของการดําเนินในชีวิตประจําวัน ก็
สามารถเห็นวงจรนี้ได เชน เมื่อเราทํางานสักชิ้นหนึ่ง อยางทุมเท ไมกลั ว
ความยากลําบาก เมื่อสามารถทํางานนั้นสําเร็จ ก็จะเกิดความภูมิใจ ปลาบ
ปลื้ม ปติ เกิดความสุขเปนรางวัลภายใน บวกกับรางวัลภายนอก คือผลงาน
ถึ ง ตรงนี้ ก็ เ กิ ด เป น จุ ด อ อ นได ถ า มั ว หลงเพลิ น ในความสํ า เร็ จ เกิ ด ความ
ประมาท อาจจะทํ าให เ กิด ป ญ หา หรื อความทุก ขขึ้น มาได ถึ งตรงนี้ ทําให
เห็นชัดวา มนุษยเกิดมาพรอมกับอวิชชา มีวิปลาส ๔ ติดตัว ซอนตัวอยูพรอม
ที่จะแสดงออกมาไดทุกขณะ ที่ขาดสติ และแสดงออกอยางเดนชัดรุนแรง
เมื่อเกิดความทะยานอยากและอุปาทานยึดติดอยางรุนแรงทั้งในขณะที่ลืมตา
ดําเนินชีวิตในปจจุบัน หรือ แมกระทั่งนั่งหลับตาปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน
ตัวอยางที่ ๔ เรื่องทานพระมหานาคเถระผูอยูในอุจจังกวาลิก เรื่อง
มีอ ยู ว า พระเถระพระนามว า พระธั ม มทิ น นเถระ เป น พระขี ณาสพ ผู มี
ปฏิสัมภิทาแตกฉาน มีญาณหยั่งรูวา พระอาจารยที่สอนตนพระนามวาพระ
มหานาคเถระ ยั งเป น ปุถุช น ยั งไมบ รรลุ เ ป น พระอรหั น ต จึ งคิด ช ว ยพระ
อาจารยของตน วันหนึ่งจึงไดเหาะไปหาพระอาจารยของตน ทําความเคารพ
แลงนั่งลงดานขางกลาวกับอาจารยวา “นิมนตเนรมิตชางขึ้นสักเชือกขอรับ“
เมื่ออาจารยเนรมิตชางมาแลว ทานก็กลาวกับอาจารยวา “ทานขอรับ คราว
นี้ โปรดทําให ช างตัว นี้นั้ นหู กาง หางเหยีย ด เอางวงใสไวในปาก ทําเสี ย ง
โกญจนาทอยางนากลัว หันหนาเดินตรงมาหาทานอาจารย“ เมื่อพระเถระ
ทําดังนั้น ครั้นเห็นอาการอันนากลัวของชางซึ้งเดินมาโดยเร็ ก็ลุกขึ้นเริ่มจะ
เดิ น หนี ไ ป พระลู กศิ ษ ย จึ ง ยื่ น มือ เหนี่ ย วชายจี ว รไว แล ว กราบเรี ย นท า น
๒๕๕
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
อาจารยวา “ทานขอรับ ชื่อวาความหวาดกลัวยังมีอยูแกพระขีณาสพหรือ”
พระเถระนั้นจึงมีสติรูในเวลานั้นวา ตนยังเปนปุถุชน๗๙
ตัวอยางนี้แสดงใหเห็นวา จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมี กัลยาณมิตร
เมื่อมีทิฏฐิวิปลาสไปแลวก็ยากมากที่จะสามารถรูตัวเอง ไมสารถอานตัวออก
บอกตัวไดแมแตคนที่เปนระดับอาจารยก็ยังหลงได
ตั ว อย า งที่ ๕ เกิ ด ความขยั น ขึ้ น อย า งผิ ด ปกติ พยายามปฏิ บั ติ
วิ ป ส สนาอย า งไม รู จั ก เหน็ ด เหนื่ อ ย แต ก อ นแม อ าจารย จ ะคอยเตื อ นให
พยายามทําความเพียร ก็รูสึกวายาก เหน็ดเหนื่อยออนเพลีย จนเกือบจะตาย
อยู แ ล ว ซึ่ ง ไม มี ใ ครในโลกนี้ อี ก แล ว จะเหมื อ นกั บ ตน อาจารย ก็ ค อยจู จี้
เคี่ย วเข็ญตลอดเวลา แต บั ด นี้ความคิดเช น นั้น หายไป เกิดความขยัน เป น
พิเศษ จนทําใหตนเองแปลกใจว า เหตุใดตนจึ งมีวิ ริยะ มาก ไมรูจักเหน็ ด
เหนื่อยในการปฏิบัติเชนนี้ และเมื่อมนสิการไมดี ก็จะเขาใจตนเองผิดไปวา
ไดมรรค ผล นิพพานแลวจึงเปนวิปสสนูปกิเลส
ตัวอยางที่ ๖ วิปสสนูเปกขา เกิดความวางเฉยในสังขารอารมณทั้ง
ปวง ไมยินดียินราย เหมือนคนไมมีกิเลส ไมสะดุงสะเทือนตออารมณทุกชนิด
เปนอุเปกขาที่มีกําลังแรงกลา แมจะมีอารมณใดมากระทบก็ไมหวั่นไหว วาง
เฉยเสียไดทุกประการ จนตนเองก็แปลกใจ ในภาวะที่เปลี่ยนแปรไปเชนนี้
เปนยิ่งนัก ถามนสิการไมดี ก็ทําใหเขาใจผิดคิดวาตนเองเปนพระอรหันตแลว
เพราะวางเฉยได ไมยินดียินรายอะไรเลย หมดกิเลส ไดมรรค ผล นิพพาน
เปนอยางนี้เองหนอ นี้เนื่องจากมีทิฏฐิเขามาแทรก และยังคิดตอไปอีกวาตน
มีบุญวาสนามาก ปฏิบัติไมนานเทาใดก็ไดมรรค ผลงายๆ ไมมีใครจะเหมือน
ตน นี้เนื่องจากมีมานะเขาแทรก ตอไปก็มีความคิดวา ตนสบายแลว ไมตอง
ยินดียินรายอะไรทั้งหมดอีกตอไป ถึงออกจากกัมมัฏฐานแลวก็จะอยูในโลกนี้
อยางสงบสบายไมตองรัก ไมตองชังไมตองดีใจเสียใจใหวุนวาย เหมือนคน
ทั้งหลายที่กําลังเปนกันอยู ขอใหตนไดเปนอยูอยางนี้ตลอดไปเถิด นี้เรียกวา

๗๙
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๓
๒๕๖
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
มีตัณหาเขาแทรก รวมความวา อุเปกขานี้แทจริงเปนของดี แตถามนสิการไม
ดี มีตัณหามานะ ทิฏฐิเขามาแทรก ก็จะกลายเปนวิปสสนูปกิเลสไปเลย๘๐
อุ เ บกขา หรื อ ความวางเฉย เมื่ อ เกิ ด ขึ้ น แล ว ก็ ยั ง ต อ งเรี ย นรู
โดยเฉพาะการเกิดขึ้นในครั้งแรกๆ มีกําลังมาก ไมเคยไดพบเจอมากอน ก็
สามารถเปนสิ่งเรา ใหหลงเพลิน จนขาดสติ หลุดจากการปฏิบัติ หยุดการ
เจริ ญ สติ แ ต ก็ ส ามารถทํ า ให เ กิ ด ประโยชน ไ ด เมื่ อ ผู ป ฏิ บั ติ มี ส ติ กลั บ มา
กําหนดก็จะทําใหสามารถเห็นความแตกตางของรูปนามระหวางความปกติ
กับความพิเศษ ไมวาจะเห็นในขณะที่เกิดความพิเศษนั้น หรือเห็นหลังจาก
ความพิเศษนั้นเปลี่ยนแปรไป สิ่งเหลานี้เปนองคประกอบทําใหเกิดปญญา
เกิดปญญาขึ้นไดอยางไร

๕. วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดวิปสสนูปกิเลส
เมื่อเกิดวิ ปส สนู ปกิเลส ในคัมภีรพุทธศาสนาเถรวาททานได บอก
วิธีการปฏิบัติไว วาจะตองปฏิบัติอยางไร เพื่อปองกันไมใหเกิดผลเสีย จนถึง
ขั้น สติ วิป ลาส เป นบ า ไมส ามารถดํ าเนิ น ชีวิ ต เปน ปกติป ระการหนึ่ง และ
สามารถกาวขามวิปสสนูปกิเลส มีความกาวหนาในการปฏิบัติอีกประการ
หนึ่งดังนี้
พระสารีบุตรเถระไดแสดงวิธีปฏิบัติเมื่อเกิดวิปสสนูปกิเลสไวดังนี้จิต
ยอมกวัดแกวง หวั่นไหว เพราะโอภาส เพราะญาณ เพราะปติ เพราะปสสัทธิ
เพราะสุ ขเพราะอธิ โมกข เพราะปคคหะ เพราะอุป ฏฐาน เพราะอุเ บกขา
เพราะนอมนึกถึงอุเบกขาและนิกันติ ภิกษุนั้นกําหนดฐานะ ๑๐ ประการนี้
ดวยปญญาแลว ยอมเปนผูฉลาด ในอุทธัจจะในธรรม และยอมไมถึงความ
หลงใหล จิตกวัดแกวง เศราหมอง จิตภาวนายอมเคลื่อน จิตกวัดแกวง ไม
เศราหมอง จิตภาวนายอมเสื่อมไป จิตบริสุทธิ์ ไมเศราหมอง จิตภาวนายอม
ไมเสื่อมไปจิตไมฟุงซาน ไมเศราหมอง จิตภาวนายอมไมเคลื่อน ดวยฐานะ ๔

๘๐
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๔๕.
๒๕๗
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ประการนี้ ภิกษุยอมรูชัดความที่จิตกวัดแกวง ฟุงซาน ถูกโอภาสเปนตนกั้นไว
ดวยฐานะ ๑๐ ประการนี้ ฉะนี้แล๘๑
แสดงใหเห็นวา จิตภาวนากอนที่จะเกิดวิปสสนูปกิเลส จะเปนจิต
ภาวนาที่ตั้งมั่น สงบบริสุทธิ์ ผองใส เปนสมาธิ สามารถกาวขามนิวรณ ๕ มา
ได หลังจากนั้นเมื่อวิปสสนูปกิเลสเกิดขึ้นจิตจึงกวัดแกวง ฟุงซาน หวั่นไหว
เศร าหมอง เมื่ อผู ป ฏิ บั ติ พ ยายามตั้ งมั่ น มีส ติ กําหนด อุ ป กิ เ ลส ๑๐และ
วิปสสนูปกิเลส ที่เกิดขึ้นปจจุบันขณะตามความเปนจริง โดยเห็นเปนพระไตร
ลักษณเกิดประสบการณ เกิดปญญา ทําใหเห็นฐานะ ๔ ประการ คือ ๑. จิต
กวัดแกวง เศราหมอง จิตภาวนายอมเคลื่อน ๒. จิตกวัดแกวง ไมเศราหมอง
จิตภาวนายอมเสื่อมไป ๓. จิตบริสุทธิ์ ไมเศราหมอง จิตภาวนายอมไมเสื่อม
ไป ๔. จิตไมฟุงซาน ไมเศราหมอง จิตภาวนายอมไมเคลื่อน ดวยเห็นฐานะ ๔
ประการนี้ ด วยปญญา เปนผูฉลาดในธรรม ทําใหไมหลงใหล ขาดสติ จิ ต
ภาวนาก็จะไมเคลื่อน ไมเสื่อม
พระพุทธโฆสเถระไดแสดงไว เปนไปในทางเดียวกันกับพระไตรปฎก
โดยการกําหนดอุปกิเลส ๑๐ และวิปสสนูปกิเลส ตามความเปนจริง คือเห็น
เปนพระไตรลักษณ ไดแสดงไวดังนี้
“แต โ ยคาวจรผู ฉ ลาด ผู เ ป น บั ณ ฑิ ต เฉี ย บแหลม ถึ ง พร อ มด ว ย
ความรู ใครครวญเห็นมันดวยปญญาดังนี้วา “โอภาสนี้แลเกิดขึ้นแกเราแลว
แตโอภาสนี้นั้นแล ไมเที่ยง ปจจัยปรุงแตงไว อาศัยปจจัยเกิดขึ้น มีความสิ้น
ไปเปนธรรมดา” ดวยประการฉะนี้บาง”๘๒ แลวแสดงรายละเอียดเพิ่มเติมใน
สวนที่วา เห็นเปนพระไตรลักษณ เห็นในแงมุมไหน อยางไร โดยแสดงไวดังนี้
“ก็หรือวาโยคาวจรนั้นมีความคิดในลักษณะอยางนี้วา ‘ถาโอภาสนี้
พึงเปนอัตตาไซร การถือโอภาสวาเปนอัตตาก็ควร แตโอภาสนี้มิใชอัตตาเลย
ถือวาเปนอนัตตา เพราะฉะนั้น โอภาสนั้นเปนอนัตตา โดยความหมายวา ไม
เปนไปในอํานาจ เปนอนิจจังโดยความหมายวา มีแลวหามีไม เปนทุกขังโดย

๘๑
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๗/๔๒๖–๔๒๗.
๘๒
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๘.
๒๕๘
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ความหมายวา เบียดเบียนเฉพาะหนาดวยความเกิดและดับ๘๓’”และไดขยาย
ความทั้ ง ปวงให ล ะเอี ย ด พิ ส ดาร โดยแสดงไว ในเรื่ อ ง “ยกขึ้ น สู พ ระไตร
ลักษณทางอรูปสัตตกะ๘๔” นอกจากนี้ ยังมีเงื่อนไขเพิ่มเติมวา จะตองเห็นอยู
อยางเสมอเนืองๆ ดังไดแสดงไวดังนี้
“โยคาวจรทานนั้นใครครวญเห็นอยางนี้แลว ก็เห็นอยูเสมอเนืองๆ
ซึ่งโอภาสวา ‘นี้มิใชของฉัน ฉันมิใชสิ่งนี้ นี้มิใชอัตตาของฉัน’ ดังนี้ เห็นอยู
เสมอเนืองๆ ซึ่งญาณ..ฯลฯ...ซึ่งนิกันติวา ‘มิใชของฉัน ฉันมิใชสิ่งนี้ นี้มิใช
อัตตาของฉัน’ ดังนี้ เมื่อโยคาวจรนั้นเห็นอยูเสมอเนืองๆ อยางนี้ ทานก็ไม
หวั่ น ไหว ไม สั่ น คลอนในเพราะอุ ป กิ เ ลสทั้ ง หลาย มี โ อภาสเป น ต น
เพราะฉะนั้น ทานโบราณาจารยทั้งหลายจึงกลาวไววา
อิมานิ ทส ฐานานิ ปฺญา ยสฺส ปริจฺจิตา
ธมฺมุทฺธจฺจกุสโล โหติ น จ วิกฺเขป คจฺฉติ.๘๕
โยคีใดมีฐานะ ๑๐ (มีโอภาส เปนตน) เหลานี้อบรมดวยปญญาแลว
โยคีนั้น เปนผูฉลาดในธัมมุทธัจจะ และไมถึงความฟุงซาน”๘๖
ขยายความรายละเอียดเพิ่มเติมเรื่อง ยกขึ้นสูพระไตรลักษณทาง
อรู ป สั ต ตกะ แสดงได ดั ง นี้ ย กขึ้ น สู พ ระไตรลั ก ษณ แ ล ว กํ า หนดรู สั ง ขาร
ทั้งหลาย โดยทางอรูปสัตตกะ ในคํานั้นมีมาติกาดังนี้ คือ
๑. กลาปโต โดยความเปนกลุม แสดงไววา “เมื่อโยคีกําหนดรูอยูซึ่ง
จิตที่เปนไปอยูวา รูปใน ๗ ฐานะในรูปสัตตกะ๘๗ เปนของไมเที่ยง เปนทุกข
เปนอนัตตา ดวยจิตอีกดวงหนึ่งวา จิตดวง (ที่เปนไปอยู)นั้น ก็ไมเที่ยง เปน
ทุกข เปนอนัตตา ดังนี้ชื่อวา กําหนดรูโดยความเปนกลุม”๘๘

๘๓
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๖๘-๑๐๖๙.
๘๔
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๔๗.
๘๕
ขุ.ป.(บาลี) ๓๑/๗/๓๑๗.
๘๖
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๙.
๘๗
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๓๒.
๘๘
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๔๘.
๒๕๙
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
๒. ยมกโต โดยความเปนคู แสดงไววา “พระภิกษุในพระศาสนานี้
กําหนดรูรูประหวางความยึดถือ (ปฏิสนธิ) และ ความปลอยวาง (จุติ) วาไม
เที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา แลวกําหนดรูจิตแมดวงนั้นเอง ดวยจิตอีกดวง
หนึ่งวา (แมจิตดวงนั้น)ก็ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา ดังนี้ พระภิกษุนั้นชื่อ
วา กําหนดรู(นามธรรมและรูปธรรม) โดยความเปนคูกัน ดวยอาการดังนี”้ ๘๙
๓. ขณิกโต โดยความเปนไปในขณะจิต แสดงไววา “ภิกษุกําหนดรู
รูปที่ถึงความแตกดับ ดวยการเติบโตขึ้นตามวัย ๑ รูปเกิดดวยอาหาร ๑ รูป
เกิดดวยฤดู ๑ รูปเกิดจากกรรม ๑ รูปมีจิตเปนสมุฏฐาน ๑ รูปธรรมดา ๑ วา
ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา ดังนี้แลว ควรกําหนดรูจิตดวงที่๑ นั้นดวยจิต
ดวงที่ ๒ กําหนดรูจิตดวงที่ ๒ ดวยจิตดวงที่ ๓ กําหนดรูจิตดวงที่ ๓ ดวยจิต
ดวงที่ ๔กําหนดรูจิตดวงที่ ๔ ดวยจิตดวงที่ ๕ วา แมจิตดวงนี้แตละดวงก็ไม
เที่ยง เปน ทุกข เปน อนัตตาพระภิกษุเมื่อกําหนดรูจิต ที่ละ ๔ ดวง เริ่มต น
ตั้งแตจิ ตที่กําหนดรูรู ป(กอน)อยางนี่ ชื่อวา กําหนดรูโ ดยความเปน ไปโดย
ขณะ(จิต)”๙๐
๔. ปฏิ ป าฏิ โ ต โดยลํ า ดั บ ได แ สดงไว ว า “พระภิ ก ษุ กํ า หนดรู รู ป
ระหวางความยึดถือไวและความปลอยวาง วา ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา
ดังนี้ กําหนดรูรูปที่ถึงความแตกดับ ดวยการเติบโตขึ้นตามวัย ๑ รูปเกิดดวย
อาหาร ๑ รูปเกิดดวยฤดู ๑ รูปเกิดจากกรรม ๑ รูปมีจิตเปนสมุฏฐาน ๑ รูป
ธรรมดา ๑ วา ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา ดังนี้แลว ควรกําหนดรูจิตดวง
ที่ ๑ นั้นดวยจิตดวงที่ ๒กําหนดรูจิตดวงที่ ๒ ดวยจิตดวงที่ ๓ กําหนดรูจิต
ดวงที่ ๓ ดวยจิตดวงที่ ๔ ...ฯลฯ กําหนดรูจิตดวงที่๑๐ ดวยจิตดวงที่ ๑๑ วา
แมจิตดวงนี้ก็ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา ดังนี้ แตวา ทั้งรูปกัมมัฏฐาน๙๑
ทั้งอรู ป กัมมัฏ ฐาน ๙๒ เพีย งกําหนดรู รู ถึงจิ ต ดวงที่ ๑๐ ก็เ ป น การเพีย งพอ

๘๙
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๔๘–๑๐๔๙.
๙๐
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๔๙.
๙๑
รูปกัมมัฏฐาน = กัมมัฏฐานมีรูปเปนอารมณ.
๙๒
อรูปกัมมัฏฐาน = กัมมัฏฐานมีอรูปเปนอารมณ.
๒๖๐
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
เพราะฉะนั้น ทานจึงกลาวไว(ในอริยวังสกถา) วา ควรพักไวแคในจิตดวงที่
๑๐ เทานั้น กําหนดรูดวยอาการดังกลาวนี้ ชื่อวากําหนดรูโดยลําดับ”๙๓
๕. ทิฏฐิอุคฆาฏนโต โดยเพิกความเห็นผิด
๖. มานสมุคฆาฏนโต โดยเพิกถอนมานะ และ
๗. นิกันติปริยาทานโต โดยความสิ้นไปแหงความใคร แสดงรวมกัน
ไมสามารถแยกออกจากกัน แสดงไวดังนี้ “ในอาการ ๓ อยางคือ โดยเพิก
ถอนความเห็นผิด ๑ โดยเพิกถอนมานะ ๑ โดยความสิ้นไปแหงความใคร ๑
เหลานี้ชื่อวา นัยแหงการกําหนดรูแยกกันหามีไม (ตองกําหนดรูรวมกัน)”๙๔
อนึ่ง พระภิกษุผูเห็นอยูซึ่งรูป (ที่กําหนดรูแลว) ขางตนนั้นก็ดีและ
อรูปที่กําหนดรูในที่นี้ก็ดี นี้นั้น จะไมเห็นสิ่งอื่นที่เรียกวา สัตว นอกไปจากรูป
และอรูป จําเดิมแตไมเห็นสัตว ก็เปนอันเพิกถอน สัตตสัญญา (ความสําคัญ
วามีสัตว) ไดแลว เมื่อพระภิกษุกําหนดรูสังขารทั้งหลายดวยจิตที่ถอนสัตต
สั ญ ญาได แ ล ว ทิ ฏ ฐิ ก็ ไ ม เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ ทิ ฏ ฐิ ไ ม เ กิ ด ขึ้ น ก็ ชื่ อ ว า เป น อั น เพิ ก
ถอนทิ ฏ ฐิ ไ ด แ ล ว เมื่ อ พระภิ ก ษุ กํ า หนดรู สั ง ขารทั้ ง หลาย ด ว ยจิ ต ที่ เ พิ ก
ถอนทิฏ ฐิ ได แล ว มานะก็ไมเ กิด เมื่อมานะไมเ กิด ขึ้ น ก็ชื่ อว า เป น อัน ถอน
มานะไดแลว เมื่อภิกษุกําหนดรูสังขารทั้งหลาย ดวยจิตที่เพิกถอนมานะได
แลว ตัณหาก็ไมเกิดขึ้น เมื่อตัณหาไมเกิดขึ้น นิกันติ (ความใคร) ก็ชื่อวาเปน
อันสิ้นไปฉะนี้แล ทานกลาวไวในสุทธิกถากอน”๙๕
พระโสภณมหาเถระได แ สดงให เ ห็ น ว า ผู ป ฏิ บั ติ ต อ งรู เ ท า ทั น
สภาวธรรมที่เกิดขึ้น โดยมีครูอาจารยคอยใหคําแนะนํา ตองมีสติกําหนดรู
สภาวธรรมใหทันปจจุบันตามเปนจริง เห็นเปนพระไตรลักษณ แสดงไวดังนี้
“อนึ่ ง สํ าหรั บ โยคี ที่ได รั บ การชี้ แนะจากอาจารย ผู ป ฏิ บั ติ กัมมัฏ ฐานโดย
ถูกตองนั้น เวลาที่โอภาส ปติ ญาณ เปนตนเกิดขึ้น ก็จะสามารถตัดสินใจได
ทันที่วา นี่เปนเพียงสิ่งลอลวงใหจิตใจเราหลงเทานั้น หากสนใจแลวจะเปน

๙๓
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๔๙–๑๐๕๐.
๙๔
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๕๐.
๙๕
เรื่องเดียวกัน.
๒๖๑
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
อันตรายตอวิปสสนาเปนอยางยิ่ง นี้มิใชทางดําเนินที่ถูกตอง สิ่งเหลานี้เปน
เพียงสภาวธรรมที่เกิดขึ้น ตั้งอยู แลวก็ดับไป ไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตน
อยางใด เปนธรรมที่บุคคลจะตองกําหนดใหทัน อยาไดหลงใหลเปนอันขาด
เพราะจะไมทําใหคุณธรรมวิเศษใดๆเกิดขึ้น ครั้นพิจารณาตัดสินไดอยางนี้
แลว ก็จะสามารถกําหนดอาการของรูปนามทุกอยางที่เกิดขึ้น ถาสามารถ
กําหนดไดอยางนี้โดยตอเนื่อง ก็จะเห็นความเกิดดับของรูปนามอยางชัดเจน
และไตรลักษณก็จะปรากฏชัดเจน ที่เปนเชนนี้ เพราะอุทยัพพยญาณนั้นได
หลุดพนจากอุปกิเลสแลวนั่นเอง”๙๖
พระภัททันตะอาสภมหาเถระธัมมาจริยะไดแสดงวิธีปฏิบัติเมื่อเกิด
วิ ป ส สนู ป กิ เ ลสไปในแนวทางเดี ย วกัน กับ หนั ง สื อ วิ ป ส สนาชุ นี ในกรณี ที่
จะตองมีครูอาจารย คอยกํากับ ดูแล อยางเขมงวด ดังไดแสดงไวดังนี้
วิป สสนูป กิเ ลสทั้ง ๑๐ ประการนี้ ยอมเกิด แกโยคีผู ปฏิ บัติ ทุกคน
เมื่อบรรลุถึงอุทยัพพยญาณอยางออน ฉะนั้น พอถึงระยะนี้วิปสสนาจารยพึง
คอยตักเตือน คอยใหสติ อยาใหโยคีหลงผิด อยูในวิปสสนูปกิเลสเปนอันขาด
ควรดุก็ตองดุ ควรวาก็ตองวา อยาไดเกรงใจเลย ตองมุงประโยชนเบื้องหนา
ของโยคีบุคคลเปนสําคัญ๙๗
แลวยังมีขอควรทราบ ใหระวัง ในกรณีพระวิปสสนาจารย อาจจะ
เกิดความเขาใจผิด ดูอาการลักษณะ สภาวธรรมของโยคีผูเปนศิษยผิดพลาด
ดังไดแสดงไวดังนี้มีขอควรทราบอีกอยางหนึ่งก็คือ วิปสสนูปกิเลสบางขอมี
สภาวะคลายๆ กับ โคตรภูญาณมรรคญาณ ผลญาณ ความคลายๆ กันนี้ เปน
เหตุใหเขาใจผิด มิใชแตโยคีเทานั้นที่เขาใจผิด แมแตอาจารยเองก็อาจเขาใจ
ผิดไปดวย คือเมื่อโยคีเลาใหฟงถึงสภาวะที่เกิดขึ้นกับตน ซึ่งคลายกับสภาวะ
ของโคตรภูญาณ มรรคญาณ ผลญาณเปนอยางยิ่ง อาจารยมิไดพิจารณาใหดี

๙๖
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนาชุนี หลักการปฏิบัติวิปสสนา
(ฉบับสมบรูณ) ,หนา ๕๓๐.
๙๗
พระอาจารย ดร. ภัททันตะ อาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อัคคมหากัมมัฏฐา
นาจริยะ, ปฐมวิปสสนาวงศ ในประเทศไทย, หนา ๑๔๕.
๒๖๒
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ไมรอบคอบ ยินดีวาศิษยของตนไดบรรลุถึงผลสูงสุดของการปฏิบัติแลว จึง
ตัดสินใจใหโยคีบุคคลผูนั้นเลิกปฏิบัติ โดยไมคํานึงถึง
ว าระยะที่แล ว มาศิษย ของตนได ผ านญาณอะไรมาบ างแล ว และ
จะตองผานญาณใดตอไปอีก ไมไดสอบสวนผลลําดับญาณใหถูกตอง ดวน
ตัดสินงายๆ เชนนี้เปนอันตรายแกโยคีผูปฏิบัติเปนอยางยิ่งเพราะเปนการดับ
มรรค ดับผล โดยตรงทีเดียว ฉะนั้น วิปสสนาจารยพึงระวังวิปสสนูปกิเลสนี้
ไวใหมาก เพราะเคยทําใหทั้งศิษยทั้งอาจารยพากันกอดคอตกลงไปในหวง
เหวแหงความเขาใจผิดมามากตอมากแลว รวมความวาญาณที่ ๔ อุทยัพพย
ญาณนี้ มีวิปสสนูปกิเลสเกิดขึ้นอยางประหลาดมหัศจรรยโยคีมากคนก็พูด
มากอย างตามอาการตางๆ ของวิป สสนู ปกิเลสนั้น แต ขอสําคัญต องใหได
ลักษณะ คือรูปนามเกิดดับเร็วๆ ก็เปนอันวาใช อุทยัพพยญาณแนนอน๙๘
และใหรายละเอียดในการปฏิบัติเพิ่มเติม ผูปฏิบัติตองกําหนดรูวา
วิปสสนูปกิเลสเหลานี้เปนทางแหงวิปสสนา เรียกวา มรรค หรือไมเปนทาง
แหงวิปสสนาเรียกวา อมรรค ดวยการกําหนดขันธ ๕ ใน ๔ ลักษณะ จนเห็น
พระไตรลักษณ โดยไดแสดงไวดังนี้
วิปสสนูปกิเลสทั้ง ๑๐ นี้ ยอมเกิดขึ้นแกโยคาวจรบุคคลผูปรารภนัย
ของวิปสสนาภูมิ มีขันธ ๕ เปนตน ในสังขารอันเปนไปในภูมิ ๓ อันแตกตาง
ดวยขันธที่เปนอดีต เปนตน พรอมทั้งปจจัยอันตนไดกําหนดรูแลวตามเปน
จริงตอจากกังขาวิตรณวิสุทธินั้น แลวประมวลพิจารณาดวย สามารถกลาป
(กลาปสั ม มสนะ คื อ พิ จ ารณาแต ล ะขั น ธ โ ดยไม แ ยกกาล) ด ว ยสามารถ
อัทธาน คือ กาลไกลก็ได(อัทธานสัมมสนะ คือ พิจารณาแตละขันธแยกตาม
กาลไกล คือ อดีตภพ ปจจุบันภพ อนาคตภพ) ดวยสามารถสันตติ คือ ความ
สืบตอของรูปนามก็ได (สันตติสัมมสนะ คือ พิจารณาแตละขันธที่ตอเนื่องกัน
ในภพเดียวกัน เชน ความเย็นตั้งแตเริ่มตนจนถึงที่สุด หรือความทุกขใจตั้งแต
เริ่ ม ต น จนถึ ง ที่ สุ ด เป น ต น ) ด ว ยสามารถขณะ คื อ อุ ป ปาทะ ฐี ติ ภั ง คะ
(ขณสัมมสนะ คือ พิจารณาแตละขันธดวยขณะทั้ง ๓คือ ขณะเกิดขึ้น ตั้งอยู

๙๘
เรื่องเดียวกัน
๒๖๓
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
และดับไป) จนเห็นพระไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ดังนี้ ชื่อวา
อนิ จ จะ เพราะอรรถว าสิ้ นไป ชื่อว า ทุกขะ เพราะอรรถว าน ากลั ว ชื่ อว า
อนัตตะ เพราะอรรถวาไมมีสาระแกนสาร ดวยสัมมสนญาณ แลวพิจารณา
เห็นความเกิดดับ ของรู ปนามเหลานั้น ดวยสามารถปจจั ย ๑ขณะ ๑ ดว ย
อุทยัพพยญาณอธิบายคําวา มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ แยกออกเปน ๕
บท คือ มัคฺค แปลวา หนทาง
อมคฺค แปลวา ไมใชหนทาง ญาณ แปลวา ความรู ทสฺสน แปลวา
ความเห็น วิสุทฺธิ แปลวา ความบริสุทธิ์ รวมทั้ง ๕ บท แปลวา เปนวิสุทธิ์
องคหนึ่งที่มีความรูความเห็นหนทางของพระนิพพาน และ ความรูความเห็น
วาไมใชห นทางของพระนิพพาน หมายความวา เปน ญาณที่รูห นทางและ
ไมใชหนทางของวิปสสนา คือ รูปนามซึ่งเปนสังขารที่อยูในไตรภพ ที่ไดรูมา
จากทิฏฐิวิสุทธิ์และกังขาวิตรณวิสุทธิ์ที่อธิบายมาแลว กําหนดโดยเปนกลาป
เปนหมวดวา อนิจฺจํขยฏเฐน เพราะดับสูญฉิบหายจึงเปนอนิจจัง ทุกฺขํ ภยฏ
เฐน เพราะเปนภัยจึงเปนทุกข อนตฺตาอสารกฏเฐน เพราะปราศจากแกนสาร
จึงเปนอนัตตา หรือกําหนดโดย อัทธานนัย สันตตินัย ขณนัย ก็ดี ผูที่เห็นการ
เกิ ด ดั บ ของรู ป นามทั้ ง สองโดยอุ ท ยั พ พยญาณ แล ว ย อ มจะต อ งพบกั บ
วิปสสนูปกิเลสเหลานี้อยางแนนอน โยคาวจรกําหนดรูวา เปนทางแหง
วิปสสนา หรือ ไมเปนทางแหงวิปสสนา
อีกนัยหนึ่ง อภิธัมมัตถวิภาวนีฎีกาจารย ไดกลาวไววา
อิเม โอภาสาทโย ตณฺหามานวตฺถตาย น มคฺโค.
แปลวา วิปสสนูปกิเลส ๑๐ ประการ มีโอภาส เปนตน เปนที่อาศัย
ของตัณหา มานะ ทิฏฐินั่นเอง โยคาวจรตองมีความรูวา อมรรค หรือไมใช
หนทาง เปนเรื่องของกิเลส เพียงแตเปนอุปกิเลสของวิปสสนาเทานั้น
ตพฺพิวิมุตฺตํ ปน วีถิปปนฺนํ วิปสฺสนาญาณํ มคฺโคติ เอวํ
มคฺคามคฺคสฺส ชานนโต ทสฺสนโต อมคฺโค
มคฺคสญญาวิโสธนโต จ มคฺคามคฺคญาณทสฺสนวิสุทฺธิ นาม.

๒๖๔
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
เมื่ อพ น จากวิ ป ส สนู ป กิ เ ลส ๑๐ ซึ่ง เป น หนทางปฏิ ป ทา เรี ย กว า
มรรค ดังนี้ และปญญาที่ส ามารถรูมรรค อมรรค และประหาณสัญญาใน
มรรค เรียกวา มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ๙๙
วิ ธี ป ฏิ บั ติ เ มื่ อ เกิ ด วิ ป ส สนู ป กิ เ ลสตามคั ม ภี ร พุ ท ธศาสนาเถรวาท
สามารถกลาวโดยสรุปไดดังนี้ เมื่อเกิดอุปกิเลส ๑๐ ขึ้นมาแลว ตองรูวาไมใช
ทางแหงวิปสสนา ถาไมสามารถรูไดดวยตนเอง ก็ตองอาศัยครูอาจารยคอย
ให คํ าชี้ แ นะ เมื่ อรู ว า ไม ใ ช ทาง ก็มี ใ ห ส ติ พยายามกํ า หนดขั น ธ ๕ ให ทั น
ปจจุบัน จนเห็นพระไตรลักษณ ก็จะสามารถกาวขามวิปสสนูปกิเลสไปได
กิเลสในวิปสสนาญาณระดับอุทยัพพยญาณอยางออน เมื่อผูปฏิบัติ
สามารถกา วข ามนิ ว รณ ๕ ผู ป ฏิ บั ติ จ ะมี จิ ต ผ อ งใส มี ส มาธิ และสามารถ
กําหนดรูปนามไดตอเนื่อง ผูปฏิบัติก็จะกาวขามญาณเบื้องตน สูอุทยัพยา
นุปสสนาญาณอยางออน อุปกิเลส ๑๐ ก็จะเกิดขึ้น ซึ่งเปนการพบเจอครั้ง
แรก ทําใหผูปฏิบัติรูไมเทาทัน ทั้งๆ ที่อุปกิเลส๑๐ (ยกเวน นิกันติ) เปนสิ่งที่ดี
แตถาผูปฏิบัติมีสติและปญญาไมแกกลาพอ อุปกิเลส ๑๐ ก็จะเปนสิ่งเราทํา
ใหผูปฏิบัติเกิดตัณหา หลงเพลินในอุปกิเลส ๑๐ เกิดเปนวิปสสนูปกิเลส และ
ลักษณะการเกิดของวิปสสนูกิเลส อาจจะเกิดขึ้นทีละอยางๆ หรืออาจเกิด
หลายๆ อยางพรอมๆ กันก็ได
วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดวิปสสนูปกิเลส ตามคัมภีรพุทธศาสนาเถรวาท มี
ดังนี้ คือ เมื่อเกิด อุปกิเ ลส ๑๐ ขึ้น มาแล ว ผู ปฏิ บั ติ ตองรู วาไมใช ทางแห ง
วิป สสนา ถาไมสามารถรูไดด ว ยตนเอง ก็ต องอาศัยครู อาจารย คอยให คํา
ชี้แนะ เมื่อรูวาไมใชทาง ก็มีใหสติ พยายามกําหนดขันธ๕ ใหทันปจจุบันจน
เห็นพระไตรลักษณ ผูปฏิบัติก็จะสามารถกาวขามวิปสสนูปกิเลส ไปได

๙๙
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๔๙–๑๕๐.
๒๖๕
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖

๖. ความสัมพันธ : ญาณ ๑๖ กับวิปสสนูปกิเลส


ความสัมพันธญาณ ๑๖ กับวิปสสนูปกิเลส เห็นวา ญาณ ๑๖ ในแต
ละญาณตั้งแต นามรูปปริจเฉทญาณ ไปจนถึง ปจจเวกขณญาณ มีอุปกิเลส
๑๐ หรื อ วิ ป ส สนู ป กิ เ ลส เกิ ด ขึ้ น หรื อ ไม อย า งไรโดยประเด็ น ที่ ว า นี้ มี
ความสํ าคัญเพราะเป นหลักฐาน ชี้ชั ด แสดงใหเห็ นถึงสภาวธรรมในญาณ
นั้นๆวา ประกอบไปดวยอารมณอะไรบาง หรือสังขารเจตสิกที่เกิดประกอบ
กับจิต มีอะไรบางซึ่งใชเปนอารมณในการกําหนดรู ในการปฏิบัติเจริญสติปฏ
ฐาน ๔ หรื อสามารถสงเคราะหเขาในฐานกายเวทนา จิ ต ธรรม เพื่อการ
เจริญสติปฏฐาน ๔
๑) นามรูปปริจเฉทญาณ ปจจยปริคคหญาณ และสัมมสนญาณ
กับวิปสสนูปกิเลสจาก
การศึ ก ษาคั ม ภี ร นามรู ป ปริ จ เฉทญาณ ป จ จยปริ ค คหญาณ
และสัมมสนญาณในญาณทั้งสามนี้ ซึ่งเปนญาณระดับตนผูปฏิบัติจะไมเกิด
วิปสสนูปกิเลส โดยมีหลั กฐานอางอิงจากคัมภีรวิ สุทธิมรรค ไดแสดงไวว า
วิปสสนูปกิเลสจะเกิดตั้งแตอุทยพยญาณ ในชวงแรกของการเกิดญาณ ซึ่ง
เป น ญาณระดั บ อ อ น มี ชื่ อ เรี ย กว า ตรุ ณ วิ ป ส สนาญาณ ๑๐๐ หรื อ หนั ง สื อ
วิ ป ส สนาชุ นี ก็ แ สดงไว ไ ปในแนวทางเดี ย วกั น ๑๐๑ แต เ มื่ อ ศึ ก ษา ค น คว า
เพิ่มเติม จะมีหลักฐาน อางอิง แสดงใหเห็นวา มีสภาวธรรมที่อยูในกลุมของ
อุปกิเลส ๑๐ เกิดขึ้นในญาณทั้งสาม ดังนี้
พระโสภณมหาเถระ ไดแสดงใหเห็นวา ในญาณทั้งสาม ปติปสสัทธิ
สุข และศรัทธา สามารถเกิดขึ้นได และเกิดในระดับออนไมรุนแรง ขึ้นอยูกับ
สมาธิของผูปฏิบัติ ดังแสดงไวดังนี้ ในชวงที่ไดนามรูปปริจเฉทญาณ ปจจย
ปริคคหญาณ และสัมมสนญาณ ทั้ง ๓นี้ พึงทราบวา ปติ ปสสัทธิ สุข และ

๑๐๐
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๑.
๑๐๑
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนาชุนี หลักการปฏิบัติวิปสสนา
(ฉบับสมบูรณ),หนา ๕๑๖.
๒๖๖
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ศรัทธาอาจเกิดขึ้นไดตามสมควร ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประสิทธิภาพของสมาธิจิต
ของแตละบุคคล๑๐๒
และยังแสดงเพิ่มเติมวา โอภาส และนิมิต ก็สามารถเกิดขึ้นในญาณ
ทั้งสามนี้ เกิด ขึ้น โดยอํานาจของสมาธิ ในนามรู ป ปริ จ เฉทญาณ เริ่ มเห็ น
โอภาสในลั ก ษณะ เป น แสงสว า งแวบๆ แวมๆ หรื อ บางคนเริ่ ม เห็ น ตั้ ง
แตปจจยปริคคหญาณ โดยเห็นเปนแสงสีตางๆ เชน สีเขียว สีแดง สีน้ําเงิน สี
เหลืองเปนตน สวนนิมิตนั้น ก็จะเริ่มเห็น รูปทรงสัณฐานตางๆ นานาเชน
เห็ น เป น รู ป ทรงพระพุ ทธเจ า รู ป ทรงพระอรหั น ต เป น ต น โดยในนามรู ป
ปริ เ ฉทญาณ ไมส ามารถเห็ น ความเกิด ดั บ ของรู ป ทรงสั ณฐานเหล านั้ น ได
ชัดเจน สวนในปจจยปริคคหญาณ เห็นความเกิดไดชัด แตเห็นความดับของ
รูปทรงสัณฐานเหลานั้นไมชัด และในสัมมสนญาณ สามารถมองเห็นรูปทรง
สัณฐานเหลานั้นไดอยางชัดเจน๑๐๓
พระอาจารย ดร. ภัททันตะ อาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อัคคมหา
กัมมัฏฐานาจริยะ ไดแสดงอาการนิมิตในปจจยปริคคหญาณ ไวดังนี้นิมิตที่
ปรากฏในญาณนี้ที่กลาวมานี้ เปนการแสดงออกของญาณนี้โดยอัชฌัตติกา
รมณ คืออารมณภายในเทานั้น ยังมีอาการที่ญาณนี้ แสดงออกภายนอกที่
เรียกวา พหิทธารมณ อีกดวยเชน บางโยคีจะบอกวา เวลานี้เมื่อกําหนดไป
เรื่อยๆ ก็เห็นภาพตางๆ นานา เชนเห็นสีเขียวของตนไม ภูเขา พระพุทธรูป
เจดีย วัดวาอาราม ภู ต ผี ปศาจ ฯลฯ ปรากฏขึ้น เมื่อกําหนดก็หายไปไม
ปรากฏมาอีก เกิดความรูสึกวาเมื่ออารมณมีอยูก็กําหนดได ถาอารมณไม
ปรากฏก็ กํ าหนดไมไ ด อย า งนี้ ก็แ สดงว า รู ป (นิ มิต ต า งๆ) เป น เหตุ นาม
(ความรูสึก) เปนผล เมื่อกลาวตามสภาวะแลว พอบรรลุหรือถึงญาณนี้ ยอมมี
นิ มิ ต เกิ ด ขึ้ น แต อ าการที่ เ กิ ด ขึ้ น ไม เ หมื อ นกั น ต า งคนก็ ต า งกั น ไป เป น
สวนมากเมื่อเห็นนิมิตแลวมักหลงใหลเพลิดเพลินชอบใจอยากดูอยากเห็นไม

๑๐๒
เรื่องเดียวกัน, หนา ๕๑๙.
๑๐๓
เรื่องเดียวกัน,หนา ๕๑๘-๕๑๙.
๒๖๗
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
หยุดหยอนเมื่อนิมิตไมเกิดขึ้น ก็คอยจองอยู เมื่อไมเกิดตามใจปรารถนาก็
เสียใจ๑๐๔
พระธรรมธี ร ราชมหามุนี ได แสดงลั ก ษณะอาการนิ มิ ต ในป จ จย
ปริคคหญาณ ไวดังนี้ มีนิมิตเกิดขึ้นแตปรากฏไมชัดเจน ลักษณะของนิมิตที่
ปรากฏ เชนเปนเหมือนฝุนละอองขาวนวล แผกระจายลอยเคลื่อนไหวไปมา
อยูขางหนา คลายกลุมควัน หรือหมอกบางๆ หรือกลุมไอน้ําแผกระจายลอย
อยู ถาสมาธิไมมั่นคง กลุมควันหรือหมอกก็จะลอยไปมาแตถาสมาธิมั่นคงดีก็
จะปรากฏเหมือนเคลื่อนไหวชาๆ หรือมีอาการปรากฏวานิ่งอยู บางคนมีนิมิต
มารบกวนมาก เชน เห็นเปนรูปสัตว ปา ภูเขา แมน้ํา ลําธาร ตนไม สถานที่
คนที่ตายไปแลว ทองฟากอนเมฆ ดวงดาว ดวงจันทร ดวงอาทิตย เม็ดทราย
ทอง เพชร แกวสี รุง เทวดา นรก สวรรค เจดียพระพุทธรูป และนิมิตอื่นๆ
อีกมากมาย เกิดขึ้นดวยอํานาจของสมาธิ ที่มีเหตุมาจากสัญญาของจิตและมี
ทุกขเวทนา อาการปวดขา ชา เหน็บ หิว รอน เย็น เปนตน บางครั้งเวทนาก็
มาก บางครั้งเวทนาก็นอย๑๐๕
พระอาจารยดร. ภัททันตะ อาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อัคคมหา
กัมมัฏฐานาจริ ยะ ไดแสดงไววา มีลักษณะของนิมิตที่ปรากฏวา นิมิตของ
ญาณนี้คอยๆ เกิด ขึ้น แล วก็ตั้ งอยูน าน เมื่อหายไปก็คอยๆ หายไปเห็ นได
ชัดเจน เชนเห็นนิมิตที่เปนแสงสวางดวงใหญเกิดตรงหนาใกลๆ แลวคอยๆ
ลอยหางออกไปๆ จนเห็นดวงเล็กลงๆ แลวหายไป เห็นแสงสวางปรากฏในที่
ไกลแลวคอยๆ ลอยใกลๆ เขามาๆ แลวหายไป ดังนี้เปนตน ซึ่งตรงขามกับ
นิมิตของปจจยปริคคหญาณ เพราะในปจจยปริคคหญาณนั้น เมื่อเกิดนิมิต
๑๐๔
ดร.ภัททันตะอาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะอัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ, ๑๐๐
ป อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ, หนา ๑๓๕–๑๓๖, อางใน พระมหาบุญเลิศ ธมฺมทสฺสี
(โอฐสู), “การสรางตัวชี้วัดเพื่อวิเคราะหอินทรีย ๕เปรียบเทียบกับญาณ ๑๖ ในผูปฏิบัติ
วิปสสนากัมมัฏฐาน”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรดุษฎีบัณทิต, (บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕), หนา ๗๗.
๑๐๕
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธิ ป.ธ.๙), คูมือสอบอารมณ
กัมมัฏฐาน, หนา ๕, อางในเรื่องเดียวกัน, หนา ๗๘-๗๙.
๒๖๘
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ขึ้นมาอยางหนึ่ง ยังไมทันจะหายไปหมด นิมิตอยางใหมก็เกิดซอนขึ้นมาอีก
แลว๑๐๖
พระธรรมธีรราชมหามุนีแสดงไววา สวนเวทนาในสัมมสนญาณ จะ
ปรากฏทุ ก ขเ วทนาเกิด ขึ้ น ตามร า งกายอย า งมากมาย หรื อ บางส ว นของ
รางกาย มีอาการรอนตามสวนตางๆ ของรางกาย เชน รอนตามผิวหนัง ตาม
เนื้อตัว ตามมือ ขา แขน เทา เหมือนถูกน้ํารอนลวก รอนเหมือนอยูใกลเตา
ไฟ ในขณะนั่งปรากฏอาการปวดขา ปวดเขา ปวดลําแขง หรือปวดขอเทา
อยางแรงกลาจนเกือบทนไมได๑๐๗
ขอทําความเขาใจเรื่องที่กลาวถึงเวทนาไวในที่นี้ เนื่องจากผูปฏิบัติ
จะตองเกิดเวทนา ไมอยางใดอยางหนึ่ง และรับรูเวทนาไดที่ละอยาง จาก
เวทนา ๓ อยางคือ ทุกขเวทนา สุขเวทนา และอุเบกขาเวทนา ในยอหนา
ขางบนแสดงใหเห็นทุกขเวทนาโดยตรง เมื่อทุกขเวทนาดับ ก็จะเปลี่ยนเปน
สุขเวทนา หรืออุเบกขาเวทนา ซึ่งสภาวธรรมของสุขเวทนา หรือ อุเบกขา
เวทนาจะทําใหโยคีผูปฏิบัติรูสึกวาเปนสุข หรือเปนกลาง คือเฉยๆ
ญาณที่ ๑ ญาณที่ ๒ และญาณที่ ๓ ในญาณ ๑๖ คื อ นามรู ป
ปริจเฉทญาณ ปจจยปริคคหญาณ และสัมมสนญาณ ญาณทั้งสามระดับนี้ ไม
เกิดวิปสสนูปกิเลส เนื่องจากอุปกิเลส ๑๐ ที่เกิดขึ้น มีกําลังไมรุนแรงมาก
โยคีผูปฏิบัติยังสามารถประคับประคองสติสามารถกําหนดรูรูปนามไดอยาง
ตอเนื่องเปนสว นใหญ อุปกิเลส ๑๐ ที่เกิดขึ้น สวนใหญจะเปนโอภาส ซึ่ง
แสดงออกเป น นิมิต คือเห็ นเปน รู ปร างสั ณฐาน เนื่ องจากยั งมีบัญญัติเ ป น
อารมณ และมีปติปสสัทธิ สุข ศรัทธา เกิดขึ้นบาง ยังไมเปนอารมณเดนชัดให
๑๐๖
พระอาจารย ดร.ภัททันตะอาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะอัคคมหากัมมัฏฐานาจ
ริยะ, ๑๐๐ ป อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ, หนา ๑๔๐–๑๔๑, อางใน พระมหาบุญเลิศ
ธมฺมทสฺสี(โอฐสู), “การสรางตัวชี้วัดเพื่อวิเคราะหอินทรีย ๕ เปรียบเทียบกับญาณ ๑๖
ในผู ปฏิ บัติวิ ปส สนากัม มัฏฐาน”, วิทยานิ พนธ พุท ธศาสตรดุษ ฎีบั ณทิต ,(บั ณฑิ ต
วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕), หนา ๘๐.
๑๐๗
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธิ ป.ธ.๙), คูมือสอบอารมณ
กัมมัฏฐาน, หนา ๙.
๒๖๙
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
โยคี ผู ป ฏิ บั ติ หั น มากํ า หนดเป น อารมณ ห ลั ก โดยอุ ป กิ เ ลสที่ เ กิ ด ขึ้ น จะมี
แนวโนม คอยๆเดนชัดขึ้น คอยๆมีกําลังมากขึ้น เรียงจากญาณที่ ๑ ไปญาณ
ที่ ๒ และ ญาณที่ ๓ กลาวคือ โยคีผูปฏิบัติ จะคอยๆ ตกอยูในอํานาจการ
ครอบงําของอุปกิเลส๑๐ เพิ่มมากขึ้นๆ เรียงจากญาณที่ ๑ ไป ๒ และ ๓
๒) อุทยพยญาณ กับวิปสสนูปกิเลส
ในอุ ท ยพยญาณ ถื อ เป น จุ ด หั ว เลี้ ย วหั ว ต อ ของโยคี ผู ป ฏิ บั ติ
เนื่ อ งจากอุ ป กิ เ ลส ๑๐ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในญาณนี้ มี กํ า ลั ง แรง ส ง ผลร ว มกั น
แสดงออกในภาวะปรมัตถ เปนธรรมารมณ โดยไดแสดงรายละเอียดไวในบท
ที่ ๒สามารถสงผลใหโยคีผูปฏิบัติ เกิดวิปลาสออกนอกเสนทางการปฏิบัติได
โดยแสดงออกทางพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคตางๆ จึงถือเปนจุด เปลี่ยนที่
สําคัญสรุปไดวา อุทยพยญาณแบงออกเปนสองชวง ชวงแรก คือ อุทยพย
ญาณอยางออน เปนตรุณวิปสสนาญาณ เปนวิปสสนาญาณอยางออน ใจที่
ผองใสของโยคีผูปฏิบัติเกิดดวอํานาจสมาธิ ทําใหเกิดวิปสสนูกิเลส ในชวงนี้
ถือเปนการเรียนรูเพื่อรูจัก วิปสสนูปกิเลส คือรูรสชาติที่ทําใหเกิดความพึง
พอใจ (อสฺ ส ารท) รู โ ทษของการที่ ยึ ด ติ ด กั บ ความพึ ง พอใจในรสชาติ นั้ น
(อาทีนว) รูเทาทันสามารถหลุดพนจากการยึดติดที่เกิดจากความพึงพอใจใน
รสชาตินั้น (นิสฺสรน) โยคีผูปฏิบัติไดปฏิบัติจนเกิดทักษะ เกิดความชํานาญ
ทั้ ง อิ น ทรี ย ๕ พละ ๕ และวิ ป ส สนาญาณจะแก ก ล า ขึ้ น เรื่ อ ยๆ จนเป น
อุทยัพพยญาณอยางแก เปนพลววิปสสนาญาณ เปนวิปสสนาญาณอยางแก
เกิด ป ญ ญารู ว า เมื่ อพ น จากการครอบงํ าของวิ ป ส สนู ป กิเ ลส ๑๐ ซึ่ง เป น
หนทางปฏิปทา เรียกวา มรรค และปญญาที่สามารถรูมรรค อมรรค และ
ประหารสัญญาในมรรค เรียกวา มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ
๓) ภังคญาณ กับวิปสสนูปกิเลส
ในภั งคญาณ ยั ง มี ป ติ แ ละป ส สั ท ธิ ดั ง ที่พ ระโสภณหมาเถระ ได
แสดงไวในหนังสือวิปสสนาชุนีวาความยินดีในสภาวธรรมนั้น ยอมเหนือกวา
ความยินดีใดๆ โยคีสามารถสังเกตเห็นไดวา ในทุกเวลานั้นดีอยูเสมอ จิตดีอยู
ในทุ ก ขณะนั้ น เอง เพราะเนื่ อ งจากว า มี สุ ข เวทนาในทุ ก กิ ริ ย าอาการทั้ ง
๒๗๐
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ทางดานกายและจิต ไมวาจะเปนการเดิน การยืน การนั่ง การนอน การคูเขา
การเหยียดออก และการกําหนดรู ก็ลวนแตมีสุขเวทนาปรากฏอยู จึงทําใหมี
ความรูสึกดีในทุกเวลาทุกที่ ทุกสถาน ดวยอํานาจของปตินั้น จึงทําใหโยคี
เปนราวกับวา ไดนั่งอยูบนเปลหรือชิงชารูสึกซาบซานไปทั่ว และดวยอํานาจ
ของปสสัทธินั้น โยคีจะรูสึกเปนเหมือนกับนิ่งอึ้งราวกับวาไมไดทําการกําหนด
อะไรเลย เป น ความสงบ เป น ความร มเย็ น แต จ ะอย า งไรก็ต ามในช ว งที่
เขาถึงภั งคญาณ เป น ต นนั้ น ทั้งป ติ และป สสั ทธิ จะปรากฏในบางครั้ งบาง
คราวเทานั้น ไมเหมือนกับในตอนที่อยูในขั้นของอุทยพยญาณตน๑๐๘ๆ
จากคํากล าวขางบน ยังแสดงใหเห็นว า มีสุข เกิดขึ้นดว ย โดยสุ ข
เกิ ด ขึ้ น จากการที่ มี ป ติ แ ละป ส สั ท ธิ เป น ป จ จั ย ส ง เสริ ม ให เ กิ ด คื อ ป ติ
และป ส สั ท ธิ เ ป น ป จ จั ย ให เ กิ ด สุ ข เวทนา แต อุ ป กิ เ ลสเหล านี้ ไ ม ก อ ให เ กิ ด
วิปสสนูปกิเลส แตโยคีผูปฏิบัติยังตกอยูภายใตอิทธิพลของอุปกิเลส ๑๐ อยู
ยังขาดสติกําหนดเปนบางขณะ เปนชวงๆ ทําใหสมาธิเคลื่อนขึ้นๆ ลงๆ
๔) ภยญาณ อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ กับวิปสสนูปกิเลส
ญาณทั้ง ๓ นี้ ไมปรากฏวามี อุปกิเลส ๑๐ และวิปสสนูปกิเลส แต
โยคีผูปฏิบัติจะมีความรูสึกวาเปนทุกข ไมยินดี ฟุงซาน เบื่อหนาย ทอแท ซึ่ง
เปนสภาวธรรมที่ตรงขามกับอุปกิเลส ๑๐ ดังสามารถแสดงการอางอิงไดดังนี้
พระโสภณมหาเถระไดแสดง สภาวะจิ ตใจของโยคีผูปฏิ บัติในภย
ญาณ ไว ดังนี้อีกอยางหนึ่ งบางทีอาจไตร ตรองในลักษณะเปนเชิงตําหนิใน
ระหวางที่กําหนดอยูก็ได เชนตําหนิวา “นามรูปที่เกิดแลว ดับไปนี้ไมดีเอา
เสียเลย คือเริ่มตั้งแตเกิดก็ไมดี เกิดอยูอยางไมมีการจบสิ้นก็ไมดี ความคิด
ที่วามีตัวมีตนในสิ่งที่ไมมีตัวมีตนก็ไมดี การพยายามทําใหสิ่งเหลานี้มีอายุยืน
ยาวไปก็ไมดี การได เ กิดในภพใหมก็ไมดี มีแต กองทุกขไมมีความสงบเอา
เสียเลย”ดังนี้เปนตน ในภาวะที่เกิดความคิดเชนนี้ จิตของโยคีผูปฏิบัติถึงแม
จะกําหนดรู ป นามตามลํ าดั บ ของความเกิด ดั บ ได ก็จ ริ ง แต ก็จ ะไมมีความ
๑๐๘
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนาชุนี หลักการปฏิบัติวิปสสนา
(ฉบับสมบูรณ), หนา๓๓๑.
๒๗๑
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
เพลิดเพลินยินดีในรูปนามเหลานั้น ถึงแมจะสามารถกําหนดรูปนามไดอยาง
ดี แตกําลังใจจะไมคอยมีปรากฏเหมือนอยางแตกอน คงมีแตความเบื่อหนาย
เทานั้นที่เหลืออยู๑๐๙

พระธรรมธีร ราชมหามุนี ได แสดงลักษณะและสภาวะของอาทีน ว
ญาณ ดังนี้ “เปนทุกขทางทวาร ๖ คือ
- ทวารตามีอาการ ตาเจ็บ ปวดที่ตา คันที่ตา แสบรอน ออนลา ขี้ตา
มีมากกวาปกติ
- ทวารหู มีอาการ ในหู เ หมือนมีน้ํ าอะไร คัน บ าง อะไรไต อยู บ าง
รอนในหู ปวดเปนพักๆเหมือนหูตึง หูอื้อ เหมือนมีลมเขาออก เหมือนมีอะไร
ไตตามใบหูเปนตน
- ทวารจมูกมีอาการ จมูกเหมือนเปน หวัด แน นเหมือนหายใจไม
สะดวก ปวด มีกลิ่นเหม็นแปลกๆ เปนแผล บวมแดง เปนตน
- ทวารลิ้นมีอาการ ลิ้นเหมือนไมรูรสอาหาร บวมแดงเปนเม็ดในลิ้น
เหมือนรอนใน รอนในปาก เปนแผลที่มุมปาก เหงือกบวม ปวดฟน เปนตน
- ทวารกายมีอาการ กายเหมือนคนไมมีกําลัง ออนเพลียมาก ปวด
ตามเนื้อตัว เหมือนคนจะเปนไข ปสสาวะบอย แตไมคอยออก ปวดที่อวัยวะ
เพศ เปนเหมือนมีอะไรปกคาอยูในทวารหนักและทวารเบา มีอาการบวม
เหมือนเป น ริด สี ดวงทวารหนั ก เหมือนมีพยาธิ ไขอยู เหมือนมีอะไรคาอยู
เหมือนขับถายไมสุด หรือรูสึกวาถายไมหมด อะไรทํานองนี”้ ๑๑๐
สภาวะของจิตนิพพิทาญาณ มีลักษณะดังนี้ “เมื่อกอนไดยินวาเบื่อ
แตไมรูวาเบื่ออยางไรเดี๋ยวนี้รูวาเบื่ออยางไร เบื่อหนายในอารมณ เบื่อหนาย
ในโลกทั้งหลายยิ่งนัก เบื่อหนายในการปฏิบัติวิปสสนายิ่งนัก เหมือนอยูในที่
แลง ซึ่งมีแดดแผดเผาเรารอน รูสึกหงอยเหงาเศราๆ ไมเบิกบาน ไมราเริง

๑๐๙
เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๑๙.
๑๑๐
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธิ ป.ธ.๙), คูมือสอบอารมณ
กัมมัฏฐาน, หนา ๓๖.
๒๗๒
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
และแสดงวา ภยญาณ อาทีนวญาณ และนิพพิทาญาณ ญาณทั้ง ๓ นี้ จะเกิด
ดวยกัน”๑๑๑
๕) มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ กับวิปสสนูปกิเลส
ลักษณะและสภาวะของ มุญจิตุกัมยตาญาณ มีดังนี้
- กําหนดไดไมดี อยากหนี อยากออก ไมอยากทํา ใจหงุดหงิด
- บางคนคิดกลับบาน นึกวาตนหมดบุญวาสนาบารมีแลว “ถึงญาณ
มวนเสื่อแลว”
- มีเวทนารบกวนมาก เห็นขาดหายเปนทอนๆเสี่ยงๆ
- คันยุบๆ ยิบๆ หลายที่ จนเหลือที่จะอดกลั้นได
- จิตอยากหนีอยากหลุด อยากพน เพราะมีทุกขมาคอยกอกวน
- ไดเห็นความเสื่อมกับไดรับเวทนา ที่เปนสังขารทุกข จนเปนเหตุให
จิตเริ่มนอมไป เอียงไปสูพระนิพพานทันที
- ไมตองการอยากไดรูปนามอีกตอไปแลว อยากจะออกไปจากภพ
๑๑๒
ภูมิ
ลักษณะและสภาวะของปฏิสังขาญาณ มีดังนี้มี
- อาการดุจเข็มแทง เหมือนมีเหล็กแหลมมาจี้ตามรางกาย
- มีอาการซึมๆ ตัวแข็งดุจเขาผลสมาบัติ แตใจยังรูอยู
- บางที่มีอาการตึงๆหนักๆรอนทั้งตัว อึดอัด เหมือนใจจะขาด
- ไมสามารถกําหนดไดอยางกระฉับกระเฉง
- ผูปฏิบัติตองมีจิตหนักแนนตอการกําหนด ยอมสูตาย มาทอถอย
จิตลังเลจะคอยๆคลายลง อารมณกับจิตก็จะคืนสูสภาพเดิม
- ต องย อ นกลั บ ไปพิจ ารณาพระไตรลั กษณอีก เพราะคื อหนทาง
เดียวที่จะเขาไปสูพระนิพพาน
- ตองใชวิริยะอุตสาหะอยางเครงครัดเพื่อปลุกตนใหปฏิบัติตอกันไป
ดุจดายสนเข็ม

๑๑๑
รื่องเดียวกัน, หนา ๔๐ – ๔๑, อางในเรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๑.
๑๑๒
เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๒ – ๔๖, อางในเรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๒.
๒๗๓
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
- เมื่อถึงญาณนี้จะไมมีใจรวนเรคิดจะเลิกปฏิบัติเหมือนญาณที่ผาน
มา ตั้งใจจริง ปฏิบัติจริง สูตาย
- ผู ป ฏิ บั ติ ย อ มเห็ น ความว างเปล า โดยทาง ทวาร ๖ และ ขัน ธ
๑๑๓

๖) สังขารุเปกขาญาณ กับวิปสสนูปกิเลส
พระธรรมธีรราชมหามุนี ไดแสดงลักษณะและสภาวะของสังขารุเปก
ขาญาณ มีดังนี้
– ไมยินดียินราย กําหนดรูปนามไดงายที่สุด สม่ําเสมอ ไมเผลอจาก
รูปนาม
– รูสึกเพลิดเพลิน จนลืมเวลาไปก็มี ไมอยากไปไหน หรือพบเห็น
ใคร และไมนึกคิดอะไรทั้งสิ้น นิวรณทั้งหลายสงบลง เพราะสมาธิดีใจสงบ
แนวแนไปไดนานๆ
– รูปนามไมคอยเห็นชัดแตกําหนดไดดี มีใจสงบดีเปนที่สุด ความ
เพียรไมถอยลดลง
– ไมฟุงซานรําคาญใจ แมจะมีเสียงมารบกวน
– เวทนาไมมารบกวน โรคภัยไขเจ็บตางๆก็หาย จะหายไปโดย
เด็ดขาดบาง เชนโรคอัมพาต โรคประสาท โรคหืด โรคกระเพาะ โรคความ
ดันโลหิ ตสูง เปน ตน บางโรคหายไปชั่วคราวก็มี หรือ บางโรคหายไปเลย
จริงๆก็มี
– จิตไมแลบไปหาอารมณอื่น แนวแนอยูกับรูปนาม ไมจําเปนตอง
เปลี่ยนอิริยาบถ นึกวานั่งครูเดียว แตที่แทนั่งไดนานอยู๑๑๔
จะเห็นวา จะมีความเปนกลางหรือเฉยตออารมณที่มากระทบ คือ
ไมยินดียินราย ไมเกิดทุกขเวทนา ไมฟุงซาน ไมมีนิวรณ ไมนึกคิด แตยังมี
ความเพลิ ดเพลิน ในหนังสื อวิป สสนาชุนี ไดแสดงวา ในญาณนี้ ก็ยังมี ป ติ
และปสสัทธิ โดยไดแสดงไวดังนี้ “โยคีจะรูสึกเหมือนกับนิ่งอึ้ง ราวกับวาไมได

๑๑๓
๐เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๖–๔๙, อางในเรื่องเดียวกัน, หนา๑๐๓.
๑๑๔
เรื่องเดียวกัน, หนา ๕๒–๕๕, อางในเรื่องเดียวกัน, หนา๑๐๔.
๒๗๔
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ทําการกําหนดอะไรเลย เปนความสงบ เปนความรมเย็น แตจะอยางไรก็ตาม
ในชวงที่เ ขาถึงภังคญาณเป นตนนั้น ทั้งปติและปสสัทธิ นี้ จะปรากฏชัดใน
บางครั้งบางคราวเทานั้น ไมเหมือนกับตอนที่อยูในขั้นของอุทยพยญาณตนๆ
แตกระนั้นก็ตาม เมื่อโยคีเขาถึงสังขารุเปกขาญาณแลว ในบางครั้งอาจเกิด
อาการแหงปติและปสสัทธิ นี้อยูอยางตอเนื่องนานทีเดียว”๑๑๕
อีกหนึ่งตัวอยางที่แสดงไว ดังนี้
นั่นเปนเพราะการไดรูไดเห็นตามสภาพที่เปนจริงของรูปนามสังขาร
ทั้งหลาย ไม มีอ ะไรที่ น า เพลิ ด เพลิ น เลยแม แต น อ ย หรื อเป น เพราะยั งไม
สามารถกําหนดโดยอาการปลอยวางประดุจสังขารุเปกขาญาณ จึงทําใหเรา
ไมมีเรี่ยวแรงที่จะกําหนด ถึงแมจะกําหนดไดสมาธิดี แตก็ไมสมดังมโนรสของ
ตน....บางที่อารมณจ ะไมคอยปรากฏจนทําใหการกําหนดเปน ไปโดยสงบ
เยื อกเย็ น และบางครั้ งก็ เ ห็ น แต จิ ต ที่เ กิ ด ดั บ อยู เ หมือนกั บ อาการพองยุ บ
อาการนั่งไดยินเปนตน หายไปหมด บางครั้งก็เกิดปติเหมือนกับถูกพรมดวย
น้ําไปทั่ว ตั ว บางทีก็เ กิดป ส สั ทธิ ความสงบทั่ว ทั้งกายและใจ บางทีก็เ ห็ น
โอภาส แสงสวาง สวางไสวไปทั่ว แตถึงจะเห็นพิเศษอยางไร จิตก็จะไมมีการ
ดีใจมากเหมือนแตกอน จะเกิดก็เปนแตเพียงความยินดี โดยธรรมดาสามัญ
ทั่วๆไปเทานั้น ซึ่งหากเกิดความยินดีเชนนี้ก็ใหตามกําหนดความยินดีนี้ดวย
และใหตามกําหนดปติ ปสสัทธิ และโอภาสเหลานั้นดวย๑๑๖
ตัวอยางนี้แสดงใหเห็นวา ในสังขารุเปกขาญาณ ยังมี โอภาส ปติ
ปสสัทธิ สุข แตไมรุนแรงมีความละเอียด เบาบาง ไมสามารถทําใหหลงไป
นานๆ การเผลอสติเกิดความยินดี ก็ยังมีแตไมมากและสามารถกลับมามีสติ
กําหนดไดโดยงาย
พระอาจารย ดร. ภัททันตะ อาสภมหาเถระธัมมาจริยะ อัคคมหา
กัมมัฏฐานาจริยะไดแสดงไปในทํานองเดียวกันกับหนังสือวิปสสนาชุนี โดยได

๑๑๕
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนาชุนี หลักการปฏิบัติวิปสสนา
(ฉบับสมบูรณ),หนา ๓๓๑.
๑๑๖
เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๒๑–๔๒๒.
๒๗๕
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
แสดงใหเห็นวา ในสังขารุเปกขาญาณ ก็ยังมี นิกันติ แสดงไวดังนี้
บางคนก็ยังขึ้นๆ ลงๆ อยูในญาณนี้เปนเวลาแรมอาทิตย หรือแรม
เดื อ นก็ มี มาเกิ ด ลุ ม ๆดอนๆ ขึ้ น ๆ ลงๆ อยู ใ นสั ง ขารุ เ ปกขาญาณนี้ ก็
เนื่องมาจากการกําหนดอารมณพองหนอ-ยุบหนอ ของเรานั่นเอง เชนขณะ
เมื่อเรารูสึกวาอาการของพอง-ยุบเกิดมีความไว หรือความประณีตละเอียด
สุขุมขึ้นมา ตอจากนั้น เมื่อเราเห็นความประณีตละเอียดสุขุมนั้นเอง ใจเรา
เริ่มนอมเอาไปคิดแลวมักพิจารณาวา เอะ พอง-ยุบ มีอาการชนิดนี้ ประเดี๋ยว
มัน จะเกิ ด อะไรขึ้ น มากระมั งหนอ แต พ อเรานึ ก ขึ้ น มาเท านั้ น เอง มั น ก็ มี
อาการวูบเขาไปเลย ตกเลย ตองทําสมาธิกันใหม แตบางทานก็ไมรูเรื่องพระ
อภิธรรม พอเห็นอาการพอง-ยุบไวขึ้นมาหนอยเทานั้นก็คิดวา เอะ จะเปน
อะไรตอไปอีกหนอ เพราะมีอาการผิดปกติเกิดขึ้น เพราะอาการผิดปกติของ
พอง-ยุบนี่เอง ทานก็นึกคิดวา เอะ นี่มันจะเกิดอะไรขึ้น ที่ทานคิดนึกวามันจะ
เปนอะไร นั่นคืออะไร? ขออธิบายวานั่นคือตัว “นิกันติ” อันเกิดจากความ
ยินดี ประกอบโลภะขึ้นแลวแกทาน หรืออีกประการหนึ่งที่ทานคิดวา เอะ นี่
มันเปนอะไร ถาเราจะไดมรรค-ผล-นิพพานแลวกระมัง หรืออาการจองดูและ
ระวังตัวนี้ก็คือตัว “นิกันติ”นั่นเอง เกิดจากการจองระวังนั้น จองแลวระวัง
อะไร? จองดูมรรค-ผล-นิพพานจะเกิดขึ้นแลวกระมัง? เมื่อทานไปจองเขา
เทานั้น อาการวูบก็เกิดขึ้นมาทันที๑๑๗
แตเมื่อปฏิบัติ จนอินทรียแกกลา วิปสสนาญาณแกกลา ก็จะไมเกิด
ความยินดี ยินรายสามารถกาวขามสังขารุเปกขาญาณไดโดยหนังสือ ปฐม
วิปสสนาวงศ ในประเทศไทย แสดงไวดังนี้เมื่อไมมีความกลัวในทางโลกและ
ทางธรรมเชนนี้แลว แตความยินดีเลาจะมีไหม ถาจะกลาวถึงความยินดีก็ไมมี
อีก ที่วาไมมีนั้น ไมมีอยางไร? ความยินดีทางโลกถาหากวาถูกล็อตเตอรี่ ทาน
จะรูสึกเปนอยางไร? ก็จะเกิดความสบายใจ นี่กลาวในดานคฤหัสถ เราจะ
กระโดดโลดเตนทันที แตถาเรามาปฏิบัติอยูแลว บังเอิญซื้อล็อตเตอรี่ทิ้งไว

๑๑๗
พระอาจารย ดร ภัททันตะ อาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อุคคมหากัมมัฏฐา
นาจริยะ, ปฐมวิปสสนาวงศ ในประเทศไทย, หนา ๔๒๑–๔๒๒.
๒๗๖
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
สัก ๑ ใบ จะมีใครผูหนึ่งมาบอกวาตัวเรานั้นถูกล็อตเตอรี่ รางวัลที่ ๑ แลว
ถาเปนคนธรรมดาจะรูสึกอยางไร? กระโดดโลดเตน คิดจะซื้อของนั่นของนี่
ทีเดียว แตผูปฏิบัติไมรูสึกอยางนั้น ไมยินดีเลย ไมยินดีนั้น ทําไมจึงไมยินดี?
เพราะวาญาณของผูปฏิบัตินั้นไดกาวเขามาสูสังขารุเปกขาญาณนี้แลวนั่นเอง
ดังนั้นความยินดีจึงไมเกิด ก็เมื่อความยินดีทางโลกไมเกิดแลว ทางธรรมเลา
จะเกิดหรือไม? ความยินดีในทางธรรมเชนอุทยพยญาณที่ออน ความยินดีที่
เราเคยมีมา ถึงกับไมยอมผละออกไปงายๆ อาจารยตองหนักใจเปนพิเศษนั้น
พอมาถึงสังขารุเปกขาญาณนี้ ความยินดีทั้งหลายที่เราประสบมาตลอดเวลา
นั้นๆ ก็ไมไดกอความยินดีอะไรใหเราเลย ดังนั้น ความยินดี ไมวาจะเปนทาง
โลกซึ่งจะไดพบกันอยู หรือ ความยิ นดีทางธรรมที่ได พบมาจากการเจริ ญ
ภาวนา เราก็ไมมีแลว ในสังขารุเปกขาญาณนี้
ถึงตอนนี้ มีขอมูลมากพอ ที่จะกลาวสรุปทายหัวขอ ๓.๔.๖ ไดวา
ในสั ง ขารุ เ ปกขาญาณ มีอุ ป กิ เ ลสเกิ ด ขึ้ น แต ไ มส ามารถส ง ผล มี อิ ท ธิ พ ล
ครอบงําตอ โยคีผูปฏิบัติ จนเกิดเปนวิปสสนูปกิเลส จนเกิดวิปลาสออกนอก
เสนทางปฏิบัติ แตสามารถสงผลใหเกิดความหลง ขาดสติ หยุดกําหนดได
เปนระยะเวลาสั้นๆ เปนเหตุใหสมาธิเคลื่อน ขึ้นๆลงๆ แตก็สามารถประคอง
ตัว กลับมามีสติในการกําหนดได และปฏิบัติเจริญสติปฏฐาน ๔ ตอไปได
๗) อนุ โ ลมญาณ โคตรภู ญาณ มรรคญาณ ผลญาณ และปจ จ
เวกขณญาณ
พระโสภณมหาเระไดแสดงใหเห็นวา ในญาณที่ ๑๒ อนุโลมญาณยัง
มีอธิโมกขคือศรัทธาอยู เมื่อสังขารุเปกขาญาณแกกลาบริบรูณเต็มที่พอที่จะ
ยังอนุโลมญาณใหเกิดขึ้นได อธิโมกขคือศรัทธาก็มีกําลังดีขึ้น และดวยอํานาจ
ของศรัทธานี้แหละ ที่ทําใหจิตเกิดความผองใสเปนพิเศษ พรอมทั้งยังความ
เพียรใหดําเนินไปอยางสม่ําเสมอ สติที่กําหนดอยูมีความมั่นคง จิตใจเป น
สมาธิแนวแน”๑๑๘
๑๑๘
พระอาจารย ดร ภัททันตะ อาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อุคคมหากัมมัฏฐา
นาจริยะ, ปฐมวิปสสนาวงศ ในประเทศไทย, หนา ๔๒๑–๔๒๒.
๒๗๗
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
พระอาจารยภัททันตะ อาสภมหาเถระธัมมาจริยะ ไดแสดงใหเห็น
ว า ในอนุ โ ลมญาณยั ง มี ป ติ ป ส สั ท ธิ อุ เ บกขาอยู โ ดยท า นได แ สดงไว ดั ง นี้
“ความรูครั้งสุดทายก็จะขาดพรึบลงไปทันที พอขาดเชนนี้แลว ความรูครั้ง
สุดทายนั้นคืออะไร? ความรูครั้งสุดทายนั้นคือ อนุโลมญาณ”๑๑๙และอธิบาย
เพิ่มเติมวา
ในไมชาโยคีผูปฏิบัติก็จะบรรลุถึงจุดหมายปลายทางอันยิ่งใหญ นั้น
คือการเขาสูความดับอันความดับนี้วิปสสนาจารยพึงเขาใจใหดี เพราะเปน
จุ ด สํ า คั ญ ที่ สุ ด ถ า รู เ ท า ไม ถึ งการณ ข าดความรอบครอบแล ว ทั้ ง ศิ ษ ย ทั้ ง
อาจารยอาจกอดคอกันตกลงไปในหวงเหวแหงการเขาใจผิดซึ่งเปนอันตราย
อยางหนักที่สุดของการปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน เพราะความดับที่ไมแทนั้น
อาจเกิดขึ้นไดโดยเหตุหลายประการ คือ ๑. ดับดวยปติ ๒. ดับดวยปสสัทธิ
๓. ดับดวยสมาธิ๔. ดับดวยถีนมิทธะ ๕. ดับดวยอุเบกขา ทั้ง ๕ นี้เปนความ
ดับเทียม ใชไมได สวนมากเกิดขึ้นใน อุทยัพพยญาณอยางออน ๑ ในมุญจิ
ตุกัมยตาญาณ ๑ ในสังขารุเปกขาญาณ ๑ ถาเกิดขึ้นในญาณเหลานี้พึงตัดสิน
เลยวาเปนของเทียมใชไมได๑๒๐
พระสารีบุตรเถระไดแสดงใหเห็นวาในญาณที่ ๑๓ โคตรภูญาณ ยังมี
ปติ มีสุข โดยการวิเคราะหจากประโยคที่ไดแสดงไววา “๓ ญาณที่ครอบงํา
ปติ เพื่อไดตติยฌาน ชื่อวา โคตรภู และ ๔ ญาณที่ครอบงําสุขและทุกขเพื่อ
ไดจตุตถฌาณชื่อวา โคตรภู”๑๒๑
ในญาณที่ ๑๔ มรรคญาณ มีอุปกิเลส ๑๐ คือ ความสงบและเปน
กลาง หรือ อุเบกขาที่เกิดจากสมาธิ โดยสามารถวิเคราะหจากประโยคที่ได
แสดงไววา “ญาณที่ชื่อวาสัมมาสมาธิ เพราะมีสภาวะไมฟุงซาน ยอมออก
จากมิจฉาสมาธิ ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาสมาธินั้น จากขันธ

๑๑๙
พระอาจารย ดรภัททันตะ อาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อุคคมหากัมมัฏฐา
นาจริยะ, ปฐมวิปสสนาวงศ ในประเทศไทย, หนา ๔๒๖.
๑๒๐
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๖๔.
๑๒๑
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๐/๙๖–๙๗.
๒๗๘
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ทั้งหลาย และออกจากสรรพนิมิตภายนอก เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา
ปญญาในการออกและหลีกไปทั้งจากกิเลสขันธ และจากนิมิตภายนอก ชื่อวา
มัคคญาณ”๑๒๒
ในญาณที่ ๑๕ ผลญาณ มีอุปกิเลส ๑๐ คือ ความสงบและเปนกลาง
หรือ อุเบกขา ที่เกิดจากสมาธิ โดยสามารถวิเคราะหจากประโยคที่ไดแสดง
ไว ว า “ญาณที่ชื่อว าสั มมาสมาธิ เพราะมีส ภาวะไมฟุงซาน ย อมออกจาก
มิ จ ฉาสมาธิ ออกจากเหล า กิ เ ลสที่ เ ป น ไปตามมิ จ ฉาสมาธิ นั้ น จากขั น ธ
ทั้งหลาย และออกจากสรรพนิมิตภายนอก สัมมาสมาธินั้นยอมเกิดขึ้นเพราะ
ยุดความพยายามนั้น การหยุดความพยายามนั้นเปนผลของมรรค”๑๒๓
และในญาณที่ ๑๖ ป จ จเวกขณญาณ มี อุ ป กิ เ ลส ๑๐ คื อ ป ติ
ปสสัทธิ อุเบกขา โดยสามารถวิเคราะหจากประโยคที่ไดแสดงไววา “ปญญา
ในการเห็นธรรมที่มารวมกันในขณะนั้น ชื่อวาปจจเวกขณญาณ คือ ญาณที่
ชื่อวา สติสัมโพชฌงค เพราะมีสภาวะตั้งมั่น มารวมกันในขณะนั้นญาณที่ชื่อ
วา ธั มมวิจ ยสั มโพชฌงค เพราะมีส ภาวะเลือกเฟน มารว มกันในขณะนั้ น
ญาณที่ชื่อวาวิริยสัมโพชฌงค เพราะมีสภาวะแผซาน มารวมขณะนั้น ญาณที่
ชื่อวา ปติสัมโพชฌงค เพราะมีสภาวะสงบระงับ มารวมในขณะนั้น ญาณที่
ชื่อวา สมาธิสัมโพชฌงค เพราะมีสภาวะไมฟุงซาน มารวมในขณะนั้น ญาณที่
ชื่อวา อุเบกขาสัมโพชฌงค เพราะวามีสภาวะพิจารณา มารวมในขณะนั้น๑๒๔
สรุปทายหัวขอจะเห็นวาโยคีผูปฏิบัติสามารถปลอยวางอุปกิเลส ๑๐
เชน โอภาสปติ ปสสัทธิ เปนตน ไดมากขึ้น จนเกิดเปนอุเบกขา ไดมากขึ้นๆ
และมีปญญาสามารถใชอุปกิเลส ๑๐เปนประโยชนใน๒ ระดับ คือ ๑. ใช
ครอบงํา นิ ว รณห รื อทุ กขเวทนา (ในอนุ โ ลมิก ญาณ โยคีส ามารถกํา หนด
ทุกขเวทนาดว ยความยิ นดี และสามารถครอบงําทุกขเวทนาได ในโคตรภู
ญาณ) และ ๒. ใชอยูอยางเปนสุข เพราะเปนผลของการปฏิบัติ (ในผลญาณ)

๑๒๒
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๑/๑๐๐.
๑๒๓
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๓/๑๐๓.
๑๒๔
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๕/๑๐๖.
๒๗๙
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
จะแสดงรายละเอียดการปฏิบัติการใชประโยชนจากอุปกิเลส ๑๐ เชน ปติ
ป ส สั ท ธิ สุ ข อุ เ บกขา เป น ต น การปรั บ อิน ทรี ย กั บ โพชฌงค ๗ ถึ ง ตรงนี้
วิปสสนูปกิเลสจะมีอยูในญาณสูงๆ เชน ภังคญาณ หรือสังขารุเปกขาญาณ
หรือไม เนื่องจากในพระไตรปฎกไมมีเรื่องวิปสสนูปกิเลสโดยตรง และคําภีรวิ
สุมธิมรรคไมไดกลาวถึงวิปสสนูปกิเลสอีกเลยเมื่อกาวขามอุทยพยณาณอยาง
ออนไปแลว แตในหนังสือวิปสนาชุนี ทานไดแสดงไวชัดเจนเลยวา จะไมเกิด
วิปสสนูปกิเลสอีกเลยตั้งแตนิพพิทาญาณเปนตนไป๑๒๕
จากขอมูลไดยืนยันเปนไปตามคัมภีร คือ วิปสสนูปกิเลสจะเกิดและ
เด น ชั ด ที่ สุ ด ในอุ ท ยั พ พพยญาณอย า งอ อ นเท า นั้ น หลั ง จากนั้ น จะไม เ กิ ด
วิปสสนูปกิเลสและสามารถปฏิบัติตอวิปสสนูปกิเลสไดถูกทาง ถูกวิธี เมื่อ
ปฏิบัติถึง อุทยัพพยญาณอยางแก
๗. การปฏิบัติตออุปกิเลส ๑๐
ตั้งแตอุทยัพพยญาณอยางแกเปนตนไป จะไมเกิดวิปสสนูปกิเลสอีก
เลย สภาวธรรมที่ เ รี ย กว า อุ ป กิ เ ลส จั ด เป น ธรรมารมณ สามารถใช เ ป น
อารมณในการเจริญสติปฏฐาน ๔ ได และเปนองคธรรมที่อยูในอินทรีย ๕
หรือกลายเปนสติสัมโพชฌงค
การเจริ ญสติ ป ฏ ฐาน ๔ เพื่ อเป น การปู พื้ น ฐานสร า งความเขา ใจ
เพื่อใหเห็นภาพรวมของการปฏิบัติเจริญสติปฏฐาน ๔ ในแงมุมตางๆ เพื่อทํา
ใหผูอานสามารถเขาใจกระบวนการปฏิบัติตออุปกิเลส หรือการบรรลุ มรรค
ผล นิพพาน นั่นเอง โดยแสดงรายละเอียดดังตอไปนี้
การเจริญสติปฏฐาน ๔ เปน หนทางปฏิบั ติ ที่ทําใหผู ปฏิบัติ บรรลุ
มรรค ผล นิพพานไดโดยไดแสดงไวในสวน อุทเทสของมหาสติปฏฐานสูตร
ว า “ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ทางนี้ เ ป น ทางสายเดี ย ว เป น ทางสายเอก เพื่ อ ความ

๑๒๕
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนาชุนีหลักการปฏิบัติวิปสสนา
(ฉบับสมบูรณ),หนา ๕๑๖.
๒๘๐
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
บริสุทธิ์ของเหลาสัตว เพื่อลวงโสกะและปริเทวะ เพื่อดับทุกขและโทมนัส
เพื่อบรรลุอริยมรรค เพื่อทําใหแจงนิพพาน ทางสายนี้คือสติปฏฐาน”๑๒๖
พระพุทธโฆสเถระอธิบาย สติปฏฐาน ไววาในโพธิปกขิยธรรม๑๒๗
ทั้งหลายนั้น ชื่อวา ปฏฐาน เพราะรุดแลนเขาไปตั้งอยูในอารมณทั้งหลายสติ
นั่นแหละเปนปฏฐาน ชื่อ สติปฏฐาน แตทวา สติ นั้น จําแนกโดย ๔ สวน
เพราะดําเนินไปดวยการถือโดยอาการวา ไมงาม เปนทุกข ไมเที่ยง และเปน
อนัตตา และดวยการทํากิจใหสําเร็จในการละเสีย ซึ่งความสําคัญ วางาม วา
เป น สุ ข ว า เที่ ย ง ว า มี อั ต ตา ในกาย ในเวทนา ในจิ ต และในธรรม
เพราะฉะนั้น ทานจึงกลาววา สติปฏฐาน ๔๑๒๘
สติปฏฐาน แปลวา ธรรมเปนที่ตั้งแหงสติ หรือการปฏิบัติสติเปน
ประธาน๕๑๒๙ หรือ อีกนัยหนึ่ง แปลวา ธรรมอันเปนอารมณของสติ๖๑๓๐
การเจริญสติปฏฐาน ๔ คือการปฏิบัติสมถะและวิปสสนากรรมฐาน
สามารถแยกยอยใหเห็นวา การปฏิบัติสมถะกรรมฐานก็เพื่อใหเกิดจิตตวิสุทธิ
และการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานก็เพื่อใหเกิดปญญาวิสุทธิ นั่นเอง
๑๒๖
ทางสายเอก หมายถึง เปนทางที่บุคคลผูละการเกี่ยวของกับหมูคณะ พึง
ประพฤติธรรมอยูแตผูเดียวเปนทางของบุคคลผูคนพบผูเดียว คือ พระพุทธเจาเทานั้น
เปนทางปฏิบัติในศาสนาเดียว คือ พระพุทธศาสนาเทานั้น และเปนทางสายเดียวที่
ดําเนินไปสูจุดหมายเดียว คือ พระนิพพาน ดูใน ที.ม.อ.(บาลี) ๑/๓๗๓/๓๕๙.
๑๒๗
ธรรมอันเปนฝกฝายแหงความตรัสรู คือ เกื้อกูลแกการตรัสรู ธรรมที่เกือ้ หนุน
แกอริยมรรค อางในพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับ
ประมวลธรรม, พิมพครั้งที่ ๑๘,(กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอส อาร พริ้นติ้ง แมส โปร
ดักส จํากัด, ๒๕๕๓), หนา ๒๗๓.
๑๒๘
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, แปลและเรียบเรียงโดย สมเด็จพระ
พุฒาจารย (อาจอาสภมหาเถระ), พิมพครั้งที่ ๖, (Taipae: The Corporate Body of
Buddha Education Foundation,๒๕๕๐), หนา ๑๑๔๒.
๑๒๙
ที.ม.อ.(บาลี) ๓๗๖–๓๗๘., ที.ม.ฎีกา (บาลี) ๓๕๗–๓๕๙.
๑๓๐
พระสัทธัมมโชติกะธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะปริเฉทที่ ๗, พิมพครั้งที่ ๕,
(กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสัทธัมมโชติกะ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๓๘), หนา ๑๓๑.
๒๘๑
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
การเจริ ญ สติ ป ฏ ฐาน ๔ เป น รายละเอี ย ดวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ข อง
กระบวนการไตรสิกขา๑๓๑ คือ ศีลสมาธิ ปญญา การปฏิบัติเพื่อใหเกิดปญญา
สูงสุดเพื่อการพนทุกขนั้น พระพุทธเจาพระองคทรงวางรู ปแบบไวอยางดี
เพื่อให ส ามารถเรี ย นรู ฝ กหัด ขัดเกลาพัฒ นาจิ ต เพื่อการลด ละ เลิ ก กิเ ลส
ตัณหาและอุปาทากระบวนการไตรสิกขาใหมุมมอง ในรูปแบบที่กวางที่สุดทํา
ใหเห็นภาพรวมแบบกวางๆ
ส ว นรายละเอีย ดของวิ ธี ก าร และ ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ จ ะปรากฏ
แสดงไวในรูปแบบกระบวนการปฏิบัติแบบสติปฏฐาน ๔
มีประเด็นสําคัญ ๒ประเด็นที่ควรทราบเกี่ย วกับไตรสิกขา คือ ๑.
เปนการบําเพ็ญศีลสมาธิ ปญญา การที่ใชคําวาบําเพ็ญก็เพื่อตองการสื่อสาร
ใหเขาใจวาเปนวิถีชีวิต คือการใชสติสัมปชัญญะและความเพียรดวยความ
อดทน คือ ขันติในการดําเนินชีวิตตลอดเวลาตั้งแตตื่นจนกระทั่งถึงเวลานอน
อยูภายใตกรอบการปฏิบัติศีล สมาธิ ปญญา ปฏิบัติไปตลอดตอเนื่องกันไม
ขาดสาย เมื่อ เริ่ มต น ปฏิ บั ติ ใ หมๆ ก็ จ ะปฏิ บั ติ ได ไม ส มบรู ณ ต ลอดเวลา มี
ข อ บกพร อ งต า งๆ เช น ผิ ด ศี ล บางข อ บางเรื่ อ งบางเวลา สมาธิ ไ ม ตั้ ง มั่ น
โดยเฉพาะเวลาที่เผชิญกับปญหาตางๆ สูกําลังของกิเลสไมไหว ขาดสติขาด
ปญญาในการปฏิบัติตนใหถูกตองตามเหตุปจจัยเพื่อใหเกิดประโยชนทาน
และตน เปนตน
การปฏิบัติไตรสิกขาจนเปนวิถีชีวิตนั้น จะตองปฏิบัติมากนอยขนาด
ไหน มีโยนิโสมนสิการอยางไรสามารถเห็นไดจาก “คัทรภสูตร”๑๓๒ พระพุทธ
องคทรงตรัสไววา
ภิกษุทั้งหลาย ลาติดตามฝูงโคไปขางหลังรองวา แมตัวเราก็เปนโค
แมตัวเราก็เปนโค แตมันไมมีสี

๑๓๑
มรรคมีองค ๘ รวมอยูในไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปญญา, องฺ.ติก.อ.
(บาลี) ๒/๓๐/๑๐๘., ดูในม.ม. (ไทย) ๑๓/๒๐/๑๙๒.
๑๓๒
อง.ทุก.(ไทย) ๒๐/๘๓/๓๐๙.
๒๘๒
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
เหมือนโค ไมมีเสียงเหมือนโค ไมมีรอยเทาเหมือนโค มันเพียงแต
ติดตามไปขางหลังเทานั้น รองวา แม
ตัวเราก็เปนโค แมตัวเราก็เปนโค แมฉันใด ภิกษุบางรูปในธรรมวินัย
นี้ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ติดตามไป
ขางหลังหมูภิกษุประกาศตนวา แมเราก็เปนภิกษุ แมเราก็เปนภิกษุ
แตเธอไมมีความพอใจในการ
สมาทานอธิสีลสิกขาเหมือนภิกษุอื่น ไมมีความพอใจในการสมาทาน
อธิจิตตสิกขาเหมือนภิกษุอื่น ไมมี
ความพอใจในการสมาทานอธิปญญาสิกขาเหมือนภิกษุอื่นภิกษุนั้น
เพียงแตติดตามไปขางหลังหมูภิกษุ
ประกาศตนวาแมเราก็เปนภิกษุ แมเราก็เปนภิกษุเทานั้น เพราะเหตุ
นั้น แลเธอทั้งหลายพึงสําเหนียก
อยางนี้วา เราจักมีความพอใจอยางยิ่งในการสมาทานอธิสีลสิกขา
เราจักมีความพอใจอยางยิ่งในการ
สมาทานอธิจิตตสิกขา เราจักมีความพอใจอยางยิ่งในการสมาทาน
อธิปญญาสิกขา
ประเด็ น ที่ ๒ คือ การปฏิ บั ติ ศีล สมาธิ ป ญญา จะต องปฏิ บั ติ ไ ป
พรอมกันทั้งสามสวนเนื่องจากทั้งสามสวนจะสงผลถึงกัน คือเมื่อมีศีลที่มั่นคง
ก็จะสงเสริมใหเกิดสมาธิ เมื่อมีสมาธิที่ตั้งมั่นก็จะสงเสริมใหเกิดปญญา เมื่อมี
ปญญาก็จะสามารถรักษาศีลและมีสมาธิ เพราะฉะนั้นจะตองพยายามปฏิบัติ
ในแตละสวนใหถึงพรอมใหสมบรูณ และปฏิบัติใหครบทั้งสามสวนไปพรอมๆ
กัน สงเสริมกันและกัน เมื่อปฏิบัติตามนี้ก็จะทําใหเกิดพละ คือมีแรงสงทําให
สามารถปฏิบัติไดถูกตองมากขึ้นๆ ไปตามลําดับ
เมื่อศึกษาวิจัยความสัมพันธญาณ ๑๖ ที่เกี่ยวของกับวิปสสนูปกิเลส
ทั้งจากคัมภีร มีความสอดคลองไปในทิศทางเดียวกัน จะพบวา ญาณ ๑๖
หมายถึงภาวนามยปญญาที่เกิดจากการปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน หรือเจริญ
สติปฏฐาน ๔ ญาณจะเกิดแกผูบําเพ็ญวิปสสนาเปน ๑๖ ขั้นโดยลําดับ ตั้งแต
ตนจนถึงจุดหมาย คือ มรรค ผล นิพพาน ซึ่งเริ่มจากนามรูปปริจเฉทญาณ
๒๘๓
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
ไปถึงปจจเวกขณญาณ ตามคัมภีรพุทธศาสนาเถรวาท ญาณ ๑๖ สามารถ
นํามาใชวัดผลของการปฏิบัติ โดยพระวิปสสนาจารย ผูซึ่งมีประสบการณ
ผานการปฏิบัติมากอนจึงสามารถรูไดวา โยคีผูปฏิบัติ ปฏิบัติอยูในขั้นตอน
ไหน และยังเปนการแสดงใหรูวา จิตของโยคีผูปฏิบัติบริสุทธิ์ ผองใส ระดับ
ไหน
ในญาณที่ ๑ ถึง ๓ คือ นามรูปปริจเฉทญาณ ปจจยปริคคหญาณ
และสั มมสนญาณ ผู ป ฏิ บั ติ กํ าหนดอารมณที่ เ ป น อารมณบั ญญั ติ มากกว า
อารมณปรมัตถ จึงไมจัดวาเปนวิปสสนาอยางเต็มที่ จึงไมเรียกวา วิปสสนูปกิ
เลส เพราะวิปสสนูปกิเลสจะเกิดในขณะที่เจริญวิปสสนา ในญาณที่ ๔ คือ
อุทยัพพยญาณอยางออน วิปสสนูปกิเลสเกิดเดนชัดที่สุด สงผลขัดขวางการ
เจริญสติของผูปฏิบัติ เรียกไดวาเปนจุดหัวเลี้ยวหัวตอ เมื่อพนมาไดจนถึง
อุทยัพพยญาณอยางแกผูปฏิบัติมีอินทรียแกกลามากขึ้น เกิดญาณที่เรียกวา
มัคคามัคคญาณทัส สนวิสุ ทธิ คือเกิด ปญญาสามารถรู ว า หนทางไหนเป น
หนทางที่ปฏิบัติไดถูกตอง ในญาณที่ ๕-๑๖ เกิดอุปกิเลส ๑๐ แตไมจัดเปน
วิปสสนูปกิเลส เพราะผูปฏิบัติรูจักหนทางปฏิบัติที่ถูกตองแลว ไมยึดติดและ
กา วข า มวิ ป ส สนู ป กิ เ ลสไปได แ ล ว เมื่ อผ า นอุ ท ยั พ พยญาณอย า งแก และ
เกิดมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิแลว หัวขอธรรมเรื่องวิปสสนูปกิเลส ก็หมด
ความสํ า คั ญ คื อ หมดเรื่ อ งที่ จ ะต อ งเรี ย นรู แ ล ว เพราะรู จั ก วิ ป ส สนู ป กิ เ ล
สเป น อย างดี แล ว ว าให โ ทษ ให คุณ อย างไร และสามารถรู เ ทาทัน จึ งไม
จําเป นต องพูดถึงอีกในมุมมองนี้ แต ถึงกระนั้ นอุป กิเ ลส ๑๐ ก็ยังสงผล มี
อิท ธิ พ ลครอบงํา โยคี ผู ป ฏิ บั ติ ไ ด เ ป น ระยะๆ เป น ช ว งๆ ทํ าให ส มาธิ ของผู
ปฏิ บั ติ เ คลื่ อนขึ้น ๆ ลงๆ ส งผลให อิน ทรี ย ๕ ไมส ม่ําเสมอ เพราะฉะนั้ น ผู
ปฏิบัติยังตองกําหนดสภาวธรรมเหลานี้ เมื่อสภาวธรรมเหลานี้เกิดขึ้นในปจ
จุบัณขณะ
ประเด็ น ที่ ๑. สภาวธรรมที่ เ รี ย กว า อุ ป กิ เ ลส ๑๐ จั ด เป น
ธรรมารมณ สามารถใชเปนอารมณในการเจริญสติปฏฐาน ๔ ได และเปน
องคธรรมในหัวขอธรรมที่มีชื่อเรียกตางออกไปเชน สติที่อยูในอุปกิเลส ๑๐
กลายเปน สติ ที่อยูในอินทรีย ๕ หรือสติที่อยูในโพชฌงค ๗ กลายเปนสติ
๒๘๔
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
สัมโพชฌงค เปนตนโดยจะมีวิธีการและรายละเอียดในการปฏิบัติตออารมณ
เหลานี้ดังนี้ คือ ผูปฏิบัติจะตองมีความเพียร มีสัมปชัญญะ และมีสติ ในการ
กําหนดอารมณที่เกิดขึ้นในปจจุบันขณะ อยางตอเนื่องไมขาดสายถือวาเปน
กุญแจไขสูความสําเร็จ (key Success) และยังตองเจริญอานาปานสติ ดวย
เหตุผลดังนี้ “อานาปานสติที่ภิกษุเจริญทําใหมาก ยอมมีผลอานิสงสมาก เมื่อ
เจริญทําใหมากแลว ยอมทําสติปฏฐาน ๔ ใหบริบูรณ สติปฏฐาน ๔ ที่เจริญ
ทําใหมากแลว ยอมทําใหโพชฌงค ๗ ใหบริบูรณโพชฌงค ๗ ที่เจริญทําให
มากแล ว ย อ มทํ า วิ ช ชาและวิ มุ ติ ใ ห บ ริ บู ร ณ ”โดยสามารถแสดงการเกิ ด
“ญาณ ๑๖” ในการปฏิบัติในขั้นที่ ๑๓ ถึง ๑๖ ของการเจริญอานาปานสติ
หรือ ธัมมานุปส สนาสติปฏ ฐาน ไดดั งนี้ คือผูป ฏิบัติ มีสติกําหนดรู ป ติ สุ ข
จิตตสังขาร วาไมเที่ยง มีความเกิดขึ้น เสื่อมไปและเปนอยางอื่นไป หรือวามี
แลวก็ไมมี ก็จะเห็นวาเปนทุกข เปนอนัตตา และเบื่อหนายไปดวย จัดเปน
อุทยัพพยญาณ ภังคานุปสสนาญาณ ภยญาณ อาทีนวญาณนิพพิทาญาณ
ตามขั้นที่ ๑๓ การที่ผูปฏิบัติมีสติเห็นความคลายออกได คลายความยินดีใน
ปติ สุขจิตตสังขาร ที่มีความเกิดขึ้น เสื่อมไป และเปนอยางอื่นไป หรือ วามี
แลวก็ไมมีจากผลที่กลาวแลวนั้นจัดเปน มุญจิตุกัมยตญาณ ปฏิสังขาญาณ สัง
ขารุเปกขาญาณ ตามขั้นที่ ๑๔ การที่ผูปฏิบัติมีสติเห็นปติ สุข จิตตสังขาร ที่
มีความดั บไป เพราะวามีความเกิดดับๆ อยูได ปลอยวางหลุดพน จัดเป น
อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ ตามขั้นที่ ๑๕ การที่ผูปฏิบัติมีสติเห็นความ สละ
คืน ละความยึดมั่นถือมั่น ใน ปติสุข และจิตตสังขาร แลนไปในนิพพาน มี
นิพพานเปนอารมณ จัดเปนมรรคญาณ ตามขั้นที่ ๑๖ เมื่อมรรคญาณเกิดขึ้น
ผลญาณ ปจจเวกขณญาณ ยอมเกิดตามลําดับ ก็จะบรรลุธรรมสําเร็จเปน
พระอริยบุคคล
ประเด็นที่ ๒.ความสําคัญของอินทรีย ๕ คือ สามารถใชเปนตัวชี้วัด
ตัวบงชี้ วาบุคคลใดสามารถจะบรรลุธรรมได อินทรีย ๕ ของผูปฏิบัติจะตอง
เสมอกัน และ กลาแข็ง ขึ้น ไปเปนลําดับๆถึงจะทําใหผูปฏิบัติ สามารถกาว
ขามวิปสสนาญาณ จากญาณที่ ๑...ไปญาณที่ ๒...ญาณที่ ๓...๔...๕...จนครบ
ญาณ ๑๖ หมายความว า อิน ทรี ย ๕ จะมีจุ ด ที่ เสี ย สมดุ ล และจะมีจุ ด ที่
๒๘๕
บทที่ ๔ วิธีพิจารณาอุปกิเลสในญาณ ๑๖
สมดุลกัน สลับกันไปไป ในการปฏิบัติ ทําใหผูปฏิบัติตองมีสติในการกําหนด
รูปนาม ตามความเปนจริง และวางทาทีใหถูกตองตามเหตุปจจัย ที่เกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงไป ของอินทรีย ๕ประเด็นที่ ๓.การเจริญโพชฌงค ๗ ก็ถือ
วาเปนทั้งการเจริญอินทรียและเปนทั้งการปรับอินทรียไปในตัว โพชฌงค ๗
เปนหัวขอธรรมที่ใชอธิบายวา เมื่อผูปฏิบัติเจริญสติปฏฐาน ๔ และปฏิบัติ
ตามวิธี การปรั บอินทรีย ๕ แลวจะทําให อินทรีย ๕ สมดุลได อยางไร และ
ประเด็นที่ ๔. ผลของการเจริญสติปฏฐาน ๔ ไดบริบูรณ จะทําใหผูปฏิบัติ มี
สติสัมปชัญญะกําหนดอารมณไดเปนอัตโนมัติ ไมตองใชความเพียรพยายาม
เกิดมีปติ เกิดสมาธิ กายและใจ สงบ เบา ออน ควรแกงาน และเที่ยงตรง ทํา
ใหเกิดความเปนกลางตออารมณที่มากระทบ ไมหวั่นไหวเปนลําดับไป

๒๘๖
บทที่ ๕
สมาทานกรรมฐาน
กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏฐาน ๔
๑. วิธีสมาทานกรรมฐาน
ในวันที่จะเขาปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานนั้น ผูมีความประสงคจะ
สมาทานกรรมฐานพึงปฏิบัติดังตอไปนี้ คือ
๑.๑ จัดเตรียมดอกไมธูปเทียนไปทําวัตรพระเถระผูเปนประธานใน
สถานที่นั้นๆ คําขอขมาโทษแบบอุกาสะ วา
อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต,
มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง
ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ.
ขาพเจาขอกราบไหว ขอทานจงอดโทษแกขาพเจา บุญที่ขาพเจาทํา
แลว ขอทานพึงอนุโมทนาเถิด บุญที่ทานทํา ทานก็พึงใหแกขาพเจาดวย สาธุ
สาธุ ขาพเจาขออนุโมทนา
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะเม ภันเต, อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ
กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะเม ภันเต, อุกาสะ ขะมามิ ภันเต (กราบ)
ขอทานจงอดโทษทั้งปวงใหแกขาพเจาดวยเถิด ขอทานจงอดโทษทั้ง
ปวงที่ขาพเจาทําดวยทวาร (กาย วาจา ใจ) ทั้งสามแกขาพเจาดวยเถิด
ขาพเจาก็อดโทษใหแกทานดวย
๒.๒ ถาเปนพระภิกษุใหแสดงอาบัติกอน ถาเปนสามเณร หรือ
อุบาสกอุบาสิกาใหสมาทานศีลเสียกอน
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
วิธีแสดงอาบัติ
หันหนาเขากัน พระภิกษุพรรษาออน กราบ ๑ หน
(พรรษาออนวา) สัพพา ตา อาปตติโย อาโรเจมิ (วา ๓ หน)
สัพพา คะรุละหุกา อาปตติโย อาโรเจมิ (วา ๓ หน)
อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปตติโย
อาปชชิง ตา ตุมหะ มูเล ปะฏิเทเสมิ
(พรรษาแกรับวา) ปสสะสิ อาวุโส ตา อาปตติโย
(พรรษาออนวา) อุกาสะ อามะ ภันเต ปสสามิ
(พรรษาแกรับวา) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ
(พรรษาออนวา) …….. สาธุ สุฏุ ภันเต สังวะริสสามิ
ทุติยัมป สาธุ สุฏุ ภันเต สังวะริสสามิ
ตะติยัมป สาธุ สุฎุ ภันเต สังวะริสสามิ
นะ ปุเนวัง กะริสสามิ
นะ ปุเนวัง ภาสิสสามิ
นะ ปุเนวัง จินตะยิสสามิ (จบพรรษาออน)
(พรรษาแกวา) สัพพา ตา อาปตติโย อาโรเจมิ (วา ๓ หน)
สัพพา คะรุละหุกา อาปตติโย อาโรเจมิ (วา ๓ หน)
อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปตติโย
อาปชชิง ตา ตุยหะ มูเล ปะฏิเทเสมิ
(พรรษาแกออนรับวา) อุกาสะ ปสสะถะ ภันเต ตา อาปตติโย
(พรรษาแกวา) อามะ อาวุโส ปสสามิ
(พรรษาออนรับวา) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ
(พรรษาแกวา) สาธุ สุฎุ อาวุโส สังวะริสสามิ
ทุติยัมป สาธุ สุฏุ อาวุโส สังวะริสสามิ
ตะติยัมป สาธุ สุฏุ อาวุโส สังวะริสสามิ
นะ ปุเนวัง กะริสสามิ. ๓ หน (จบพรรษาแก)
(พรรษาออน) เริ่มตนวาอีก ๑ รอบ เสร็จแลว กราบ ๑ หน

๒๘๘
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
๑.๓ จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย คฤหัสถพึงกลาวคําขอบวช
รักษาศีล ๘ ดังนี้
เอสาหัง ภันเต สุจิระปะรินิพพุตัมป, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง
คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ปพพัชชัง มัง ภันเต, สังโฆ ธาเรตุ,
อัชชะตัคเค ปาปุเณตัง สะระณัง คะตัง.
ขาแตทานผูเจริญ ขาพเจาขอถึงพระผูมีพระภาคเจา แมเสด็จดับ
ขันธปรินิพพานนานแลว กับทั้งพระธรรมและพระสงฆวาเปนที่พึ่งที่ระลึก
ขอพระสงฆจงจําขาพเจาไววา เปนผูบวชในพระธรรมวินัย ผูถึงพระรัตนตรัย
เปนสรณะตลอดชีวิต ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป
คําอาราธนาศีล ๘
มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ. ทุติยัมป
...ตติยัมป...(ถาคนเดียววา อะหัง ภันเต ....สีลานิ ยาจามิ) (วา ๓ ครั้ง)
คํานอบนอมพระรัตนตรัย
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (วา ๓ ครั้ง)
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
(พระทานวา) ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง (รับวา) อามะ ภันเต
คําสมาทานศีล
๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

๒๘๙
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ขาพเจาสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เวนจากฆาสัตวดวยตนเอง และ
ไมใชใหผูอื่นฆา
๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ขาพเจาสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เวนจากลัก ฉอ ของผูอื่นดวย
ตนเอง และไมใชใหผูอื่นลัก ฉอ
๓. อะพรหมจริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ขาพเจาขอสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เวนจากการเสพเมถุนธรรม
กรรมอันเปนขาศึกแกพรหมจรรย
๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ขาพเจาสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เวนจากพูดเท็จ คําไมเปนจริง
และคําลอลวง อําพรางผูอื่น
๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง
สะมาทิยามิ
ขาพเจาขอสมาทานซึ่งสิกขาบทคือ เวนจากการดื่มสุราและเมรัย
เครื่องดองของเมาทําใจใหคลั่งไคลตางๆ
๖. วิกาละโภชนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ขาพเจาขอสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เวนจากบริโภคอาหารใน
เวลาวิกาล
๗. นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนะ มาลาคันธะวิเลปะนะ ธา
ระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ขาพเจาสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เวนจากการดู ฟง ฟอนรํา ขับ
รองและประโคมเครื่องดนตรีตางๆ ดูการเลนที่เปนขาศึกแกกุศล และทัดทรง
ตบแตงรางกายดวยเครื่องประดับและดอกไมของหอมเครื่องทาเครื่องยอม
ผัดผิวใหงามตางๆ
๘. อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง
สะมาทิยามิ. ขาพเจาสมาทานซึ่งสิกขาบทคือ เวนจากนั่งนอนเหนือเตียงตั่ง
มีเทาสูงเกิน ประมาณ และที่นั่ง ที่น อนอันสูงใหญภายในใสนุน และสําลี
อาสนะอันวิจิตรไปดวยลวดลายงามดวยเงินทองตางๆ
๒๙๐
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
อิมานิ อัฏฐะสิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ (วา ๓ ครั้ง)
พระวิปสสนาจารยกลาวสรุปศีลวา
สีเลน สุคตึ ยนฺติ สีเลน โภคสมฺปทา
สีเลน นิพฺพุตึ ยนฺติ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย.
สีเลน สุคตึ ยนฺติ ผูรั กษาศีล ยอมไปดี คือ ปราศจากโทษภัย มีคน
สรรเสริญตอนรับ และเปนที่อบอุนใจของผูพบเห็น
สีเลน โภคสมฺปทา ผูรักษาศีลจะไดโภคสมบัติ คนมีศีลเทานั้นจึงจะ
สามารถรักษาทรัพยไวได
สีเลน นิพฺพุตึ ยนฺติ ผูมีศีลยอมเขาถึงความอยูเย็นเปนสุข เขาถึง
ความดับคือนิพพาน
ตสฺมา สีลํ วิโสธเย เพราะฉะนั้น ทานพึงชําระศีลใหหมดจด
(สิกฺขํ ปจฺจกฺขามิ คิหีติ มํ ธาเรถ. ขาพเจาขอบอกลาสิกขา ทานทั้งหลายจํา
ขาพเจาไววา เปนคฤหัสถ)
๑.๔ ปฏิญาณตนมอบกายถวายชีวิตตอพระพุทธเจา ขอปฏิบัติสติ
ปฏฐานเพื่อความพนทุกขอยางเต็มที่ เต็มเวลา ดวยการเอาชีวิตเขาแลก
ขอขมาพระรัตนตรัย นอมจิตขอขมาวา “หากแมนขาพเจา เคยสบ
ประมาทพลาดพลั้งลวงเกินตอพระพุทธเจา พระธรรมเจา พระสังฆเจา ดวย
กายกรรมก็ดี ดวยวจีกรรมก็ดี ดวยมโนกรรมก็ดี รูตัวก็ดี ไมรูตัวก็ดี ขอโทษ
ลวงเกินนั้นจงหมดสิ้นไปอยาไดเปนบาปกรรมขวางกั้นการปฏิบัติ และขอให
ขาพเจาสามารถปฏิบัติธรรมตามทางสติปฏฐาน ๔ ไดราบรื่น และบรรลุถึง
มรรคผลนิพพานโดยเร็ว ดวยเทอญ”
- ขอขมาครู อุปชฌาย อาจารย
- ขอขมาบิดามารดา (ภิกษุไมตองขอขมา) ตั้งอธิษฐานจิตวา
“ขาพเจา ขอขมาซึ่งโทษลวงเกินที่มีตอครูบาอาจารย บิดามารดา ที่
ได ก ระทํ า มาในอดี ต ชาติ นั บ ตั้ ง แต สั ง สารวั ฏ ที่ ห าเบื้ อ งต น มิ ไ ด ม าจนถึ ง
ปจจุบันชาติในปจจุบันขณะนี้ หากแมนขาพเจาไดเคยลวงเกินดวยกายก็ดี

๒๙๑
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี ขอทานเหลานั้นจงยกโทษลวงเกิน และอโหสิกรรม
ใหแกขาพเจา ขอโทษลวงเกินเหลานั้นจงหมดสิ้นไปดวยเถิด”
ขอขมาผู มีคุณศีล คุณธรรม หรือบุคคลอื่นๆ ที่รูตั วว าอาจจะเคย
ลวงเกินไว
หมายเหตุ หากเป น โทษล ว งเกิ น ที่ได กระทําต อครู อาจารย บิ ด า
มารดาในชาตินี้ หากบุคคลผูนั้นยังมีชีวิตอยูใหไปขอขมาตอหนาทานดว ย
ตนเอง หากไมมีชีวิตอยูแลวก็ใหขอขมา ณ ที่อยูของตนโดยนอมจิตสงไป
๑.๕ ถวายสักการะและขอขมาโทษตอพระอาจารยผูใหกรรมฐาน
การขอขมาโทษหรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา ขมาปนกิจ คือการนํา
ดอกไม ธูป เทียน ตั้งจิตอธิฐานกลาวคําขอขมาโทษ พระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ ที่ไดเคยประมาทลวงเกินไวในอดีต อนาคต หรือปจจุบัน เพื่อความ
บริสุทธิ์ทางกาย วาจา ใจ ของผูเจริญกรรมฐาน จะไดไมเปนอุปสรรคปดกั้น
กุศลธรรมในการเจริญกรรมฐาน ไมเปนกรรมเปนเวรแกผูเจริญกรรมฐาน
หรือปดกั้นไมใหเห็นพระนิพพาน
การขอขมาถือวามีความสําคัญมากอยางหนึ่งสําหรับนักปฏิบัติ จะ
หลีกเลี่ยงหรือคิดวาไมสําคัญไมไดเด็ดขาด เพราะจะทําใหพระวิปสสนาญาณ
ไมกาวหนาแลว อาจจะทําให ถอยลงอีกด วย ยิ่งกวานั้ นอาจจะลมเลิกการ
ปฏิบัติลง โดยคิดวาตนเองนั้นไมมีบุญไมมีวาสนาในการปฏิบัติ จึงหลีกหนีไป
เลยก็ได สาเหตุมาจากเราอาจเคยลวงเกินทานทั้งหลายเหลานั้นมาหลายภพ
หลายชาติแลว จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองทํา เมื่อทําแลวจะรูสึกโลงใจ เบา
กาย เบาใจ การปฏิบัติธรรมมีสภาวะกาวหนาขึ้นเปนลําดับๆ จิตใจสงบเย็น
รูสึกมีความมั่นใจในความบริสุทธิ์แหงศีลของตนมากขึ้น ดวยการจัดเตรียม
พานดอกไม ธูปเทียนแพ โดยกลาววา
“อาจริเย ปมาเทน ทวฺารตฺตเยน กตํ สพฺพํ อปราธํ ขมตุ โน ภนฺเต”
ขาแตพระอาจารยผูเจริญ หากแมวาขาพเจาทั้งหลายไดพลาดพลั้ง
ลวงเกินทานทั้งหลาย ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี ทั้งเจตนาและไม
เจตนา ทั้งตอหนา และลับหลัง ขอพระอาจารย จงอโหสิกรรมนั้น แก

๒๙๒
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ขาพเจาทั้งหลาย ขอใหขา พเจาทั้งหลายจงประสบแตความสุข ความเจริญใน
ชีวิต มีความเจริญงอกงามในพระธรรม ตามคําสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธ
เจา ตลอดกาลนานเทอญฯ (หลายคนเปลี่ยน เม เปน โน)
พระเถระรับ วา “อหํ ขมามิ ตยาป เม ขมิต พฺพํ” (ถาหลายคน
เปลี่ ย น ตยาป เป น ตุ ม เหหิ ป ) ผู ข อรั บ ว า “ขมามิ ภนฺ เ ต”(ถ า หลายคน
เปลี่ยน มิ เปน ม)
๑.๕ เจริ ญ จตุ ร ารั ก ขกรรมฐาน คื อ เจริ ญ พระพุ ท ธคุ ณ ๒ นาที
เจริญเมตตาภาวนา ๕ นาที เจริญอสุภะ (กายคตาสติ) ๒ นาที เจริญมรณา
นุสสติ ๒ นาที
แผเมตตาสงจิตออกไปวา “ขอเทพยดาที่ปกปกรักษาขาพเจา บิดา
มารดา ครูบาอาจารย ผูมีพระคุณทุกทาน ตลอดจนสรรพสัตวทั้งหลายจงพน
จากภัยอันตรายทั้งปวง ปราศจากความทุกขใจ ปราศจากความทุกขกาย ขอ
จงอยูเปนสุขๆ เถิด”
หมายเหตุ ใหนอมจิตแผเมตตาออกไปยังสัตวทั้งหลายทั้งหมด ทุก
ชั้ น ทุ ก ภพ ทุ ก ภู มิ ทั้ ง ที่ เ ป น ศั ต รู ที่ เ ป น มิ ต ร และที่ เ ป น กลางๆ อย า งไม
แบงแยก อยางไมมีจํากัด ไมมีประมาณ ดวยเมตตาจิต คือจิตปรารถนาให
เปนสุขอยางแทจริง
คําอธิษฐานตั้งจิตปรารถนา : “ดวยบุญกุศลที่ขาพเจาไดถวายทาน
รักษาศีล เจริญสมถะ และปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ที่ไดกระทําแลวจนถึง
วันนี้ ขอจงเปนปจจัยอุดหนุนใหขาพเจาบรรลุมรรค ผล นิพพานดวยเทอญ”
๑.๖ วันแรก หลังจากการนั่งแตละบัลลังก หากตองการอุทิศสวน
กุศล/แผเมตตาก็ทําได อุทิศสวนกุศลวา : “ขาพเจา ขออุทิศสวนกุศลที่
ขาพเจาไดกระทํามาแลวทั้งหมดในวันนี้ ทั้งทานกุศล ศีลกุศล และภาวนา
กุศล ใหแกบิดามารดา ครูบาอาจารย เปนตน ตลอดจนสรรพสัตวทั้งหลาย
ขอจงมีสวนในกุศลนี้เสมอกัน เมื่อไดรับแลวขอจงมีความสุขกาย สุขใจ อยู
เปนสุขๆ เถิด สาธุ สาธุ สาธุ”

๒๙๓
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
หมายเหตุ ให อุ ทิศ ส ว นกุ ศ ลไปยั งสรรพสั ต ว ทั้ง หลายอย างไม มี
จํากัด ไมมีประมาณ ดวยเมตตาจิตปรารถนาใหสัตวทั้งหลาย เปนสุข พน
ทุกขอยางจริงใจพระพุทธเจาตรัสวา “บุคคลผูเจริญสติปฏฐาน ๔ ตลอด ๗
วัน พึงหวังไดผลอยางใดอยางหนึ่งใน ๒ อยาง คือ อรหัตตผล หรือจักเปน
อนาคามี”๑ และยิ่งไปกวานั้น ในคัมภีรพระไตรปฎกยังปรากฏอีกวา แคนั่ง
แอบฟงธรรม คนขอทานเปนโรคเรื้อน ก็สามารถบรรลุโสดาบันได๒
ภายใน ๓ วันแรก พึงปฏิบัติดังนี้
๑) กอนนั่งเจริญภาวนา ตั้งนะโม ๓ จบ ขอขมาพระรัตนตรัย และ
ขอขมาครู อุปชฌาย อาจารย บิดามารดา ตั้งอธิษฐานจิตวา
“ขาพเจา ขอขมาซึ่งโทษลวงเกินที่มีตอครูบาอาจารย บิดามารดา
ที่ได กระทํามาในอดี ต ชาติ นั บ ตั้ งแต สั งสารวั ฏ ที่ ห าเบื้ องต น มิได ม าจนถึ ง
ปจจุบันชาติในปจจุบันขณะนี้ หากแมนขาพเจาไดเคยลวงเกินดวยกายก็ดี
ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี ขอทานเหลานั้นจงยกโทษลวงเกินอโหสิกรรมใหแก
ขาพเจา ขอโทษลวงเกินจงหมดสิ้นไปดวยเถิด”
๒) ในวันแรก กอนนั่งภาวนาทุกบัลลังก ตองเจริญจตุรารักข-
กรรมฐานกอน คือ เจริญพุทธคุณ ๕ นาที เจริญเมตตา ๕ นาที เจริญ อสุภะ
๕ นาที เจริญมรณานุสสติ ๕ นาที
๓) ในชวง ๓ วันแรก หลังจากการนั่งแตละบัลลังก หากตองการ
อุทิศสวนกุศล/แผเมตตาก็ทําได อุทิศสวนกุศล : “ขาพเจา ขออุทิศสวนกุศล
ที่ขาพเจาไดกระทํามาแลวทั้งหมดในวันนี้ ทั้งทานกุศล ศีลกุศล และภาวนา
กุศล ใหแกบิดามารดา ครูบาอาจารย เจากรรมนายเวร ตลอดจนสรรพสัตว
ทั้งหลาย ขอจงมีสวนในกุศลนี้เสมอกัน เมื่อไดรับแลวขอจงมีความสุขกาย
สุขใจ อยูเปนสุขๆ เถิด สาธุ สาธุ สาธุ”


ดูใน ที.ม. (ไทย) ๑๐/๔๐๔/๓๔๐.

ดูใน ขุ.อุ. (ไทย) ๒๕/๔๓/๒๕๕.
๒๙๔
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
๑.๗ บทสมาทานพระกรรมฐาน
๑. อิมาหํ ภควา อตฺตภาวํ ตุมฺหากํ ปริจฺจชามิ.
ขาแตองคสมเด็จพระผูมีพระภาคเจา ขาพเจาขอมอบกายถวาย
ชีวิตนี้แดพระพุทธเจา แดพระธรรมเจา แดพระสงฆเจา เพื่อเจริญพระ
กรรมฐาน ณ โอกาสตอไป
๒. อิมาหํ อาจริย อตฺตภาวํ ตุมฺหากํ ปริจฺจชามิ.
ขาแตพระอาจารย ขาพเจาขอมอบกายถวายชีวิตนี้แกทาน
เพื่อเจริญกรรมฐาน ณ โอกาสตอไป
๓. นิพฺพานสฺส เม ภนฺเต สจฺฉิกรณตฺถาย กมฺมฏานํ เทหิ.
ขาแตทานผูเจริญ ขอทานจงใหพระกรรมฐานแกขาพเจา เพื่อ
ประโยชนแกการทําใหแจงซึ่งมรรค ผล พระนิพพาน ณ โอกาสตอไปนี้
๔. แผเมตตาแกตนเอง อหํ สุขิโต โหมิ, นิทฺทุกฺโข โหมิ, อเวโร
โหมิ, อพฺยาปชฺโฌ โหมิ, อนีโฆ โหมิ, สุขี อตฺตานํ ปริหรามิ.
ขอใหขาพเจามีความสุข ปราศจากทุกข ไมมีเวร ไมมีภัย ไมมี
ความเบียดเบียน ไมมีความเดือดรอน ขอใหมีความสุข รักษาตนอยูเถิด
๕. แผเมตตาแกสรรพสัตว สพฺเพ สตฺตา อเวรา โหนฺต,ุ
อพฺยาปชฺฌา โหนฺตุ, อนีฆา โหนฺตุ, สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ.
ขอสัตวทั้งหลายทั้งปวง จงเปนผูไมมีเวร ไมมีความเบียดเบียน ไมมี
ความเดือดรอน มีความสุขรักษาตนอยูเถิด
๒) สพฺเพ สตฺตา สพฺพทุกฺขา ปมุฺจนฺตุ.
ขอสัตวทั้งปวง จงพนจากทุกขทั้งปวงเถิด
๓) สพฺเพ สตฺตา ลทฺธสมฺปตฺติโต มา วิคจฺฉนฺตุ.
ขอสัตวทั้งปวงจงอยาไดพลัดพรากจากสมบัติอันตนไดแลวเลย
๔) สพฺเพ สตฺตา กมฺมสฺสกา กมฺมทายาทา กมฺมโยนี กมฺมพนฺธู
กมฺมปฏิสรณา ยํ กมฺมํ กริสฺสนฺติ กลฺยาณํ วา ปาปกํ วา ตสฺส ทายาทา
ภวิสฺสนฺติ. สัตวทั้งหลายทั้งปวงเปนผูมีกรรมเปนของของตน เปนผูมีกรรม
๒๙๕
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
เปนเครื่องใหผล เปนผูมีกรรมเปนเครื่องใหเกิด เปนผูมีกรรมเปนเผาพันธุ
เปนผูมีกรรมเปนที่พึ่งอาศัย เราจักทํากรรมใดไว กรรมดีก็ตาม กรรมชั่วก็
ตาม เราจะเปนทายาทรับผลของกรรมนั้นสืบไปฯ
๖. เจริญมรณานุสสติ
อธุวํ เม ชีวิตํ ชีวิตของเราเปนของไมยั่งยืน
ธุวํ มรณํ ความตายเปนของยั่งยืน
อวสฺสํ มยา มริตพฺพํ อันเราจะพึงตายเปนแท
มรณปริโยสานํ เม ชีวิตํ ชีวิตของเรามีความตายเปนที่สุดรอบ
ชีวิตํ เม อนิยตํ ชีวิตของเราเปนของไมเที่ยง
มรณํ เม นิยตํ ความตายของเราเปนของเที่ยง
เปนโชคอันดีของเราแลวหนอ ที่ไดมีโอกาสมาสมาทาน ปฏิบั ติ
พระ-กรรมฐาน ณ บัดนี้ ไมเสียทีที่เราไดเกิดเปนมนุษย พบพระพุทธศาสนา
๗. ตั้งสัจจาธิษฐาน
เยเนว ยนฺติ นิพฺพานํ พุทฺธา เตสฺจ สาวกา
เอกายเนน มคฺเคน สติปฏานสฺญินา.
พระพุทธเจาและเหลาพระอริยสาวก ยอมดําเนินไปสูพระนิพพาน
ดวยหนทางสายนี้ อันเปนทางสายเอก ซึ่งนักปราชญราชบัณฑิตทั้งหลายรู
ทั่วถึงกันแลววา ไดแก สติปฏฐาน ๔ ขาพเจาขอตั้งสัจจาธิษฐาน ปฏิญาณตน
ตอพระรัตนตรัย ตอครูอาจารย วาจะตั้งอกตั้งใจประพฤติปฏิบัติจริงๆ เทาที่
ตนสามารถ เทาที่ตนมีโอกาสจะประพฤติปฏิบัติได เพื่อบูชาพระรัตนตรัย
๘) ตั้งความปรารถนา
อิมาย ธมฺมานุธมฺมปฏิปตฺติยา รตนตฺตยํ ปูเชมิ.
ขาพเจาขอบูชา ซึ่งพระพุทธเจา ซึ่งพระธรรม ซึ่งพระสงฆ ดวยการ
ปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมนี้
อทฺธา อิมาย ปฏิปตฺติยา ชาติชราพฺยาธิมรณาทีหิ ปฏิมุจฺจิสฺสามิ.
ขาพเจาจักพนจากชาติทุกข ชราทุกข พยาธิทุกข และมรณ
ทุกข ดวยการปฏิบัติธรรมนี้แนนอน
๒๙๖
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
อุกาสะ อุกาสะ ณ โอกาสบั ดนี้ ขาพเจ า ขอสมาทานพระ
กรรมฐานขอขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ และวิปสสนาญาณ ขอ
จงบั ง เกิ ด ขึ้ น ในขั น ธสั น ดานของข าพเจ า ข าพเจ า จะตั้ ง สติ กํ าหนดรู ไ ว ที่
อาการพอง อาการยุบ สามหน และเจ็ดหน รอยหน และพันหน ดวยความ
ไมประมาท ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป.
๑.๘ ตารางปฏิบัติในแตละวัน ดังนี้
เวลา ๐๓.๓๐น. ตื่นทําความสะอาดรางกาย ไมตองอาบน้ํา
๐๔.๐๐ น. (ปลงอาบัต)ิ ขอขมาโทษ นั่งเจริญภาวนา เดินจงกรม
๐๖.๓๐ น. รับประทานขาวยาคู
๐๗.๓๐ น. สวดมนต ๑๕-๒๐ นาที เดินจงกรม สลับนั่งภาวนา
๑๑.๐๐ น. รับประทานอาหาร
๑๒.๐๐ น. เดินคลายอิริยาบถ เอนกายนอนกําหนด อาบน้ํา
๑๓.๐๐ น. นั่งเจริญภาวนา สลับเดินจงกรม
๑๗.๐๐ น. พัก ดื่มน้ําปานะ
๑๘.๐๐ น. สวดมนต ฟงธรรม
๒๐.๐๐ น. เดินจงกรม นั่งภาวนา อุทิศสวนบุญ
๒๒.๐๐ น. กําหนดพักผอน นอนหลับ
วิถีแหงการเจริญสุทธวิปสสนา
ผูเจริญวิปสสนา จะไมกลัวกิเลส ผูกลัวกิเลสไมชื่อวาปฏิบัติวิปสสนา
สวนผูนั่งสมาธิ..มักกลัวกิเลส กลัวฟุง จึงตองเขาเงียบหลบอยูในฌานบอยๆ
วิปสสนากลัวอะไร? : ทหารที่กลัวขาศึก ไมชื่อวาทหาร!
ทหารกลัวอะไร? : “กลัวไมเห็นขาศึก” ..ผูปฏิบัติวิปสสนาก็เชนกัน
“กลัวไมเห็นกิเลส กลัวเห็นกิเลสไมชัด” ฉะนั้น ยิ่งปฏิบัติวิปสสนายิ่งรูสึกวา
ตนเองมีกิเลสมากขึ้น ก็เหมือนกับทหารหาญที่เห็นขาศึกอยูตรงหนา อยาง
ชัดเจน ถลมไดทันที! แตถาเขาฌานเสีย ก็เหมือนกับทหารที่หลบอยูในหลุม
หลายทานบอกวา “ยังสูไมได ตองหลบอยูในหลุมหลบภัยกอน” ก็
เหมือนกับนักกีฬาที่กลัว แพ เขาไมมีวันจะเอาชนะใครได เลย นักกีฬาที่
๒๙๗
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
แทจริง ไมกลัวความพายแพ แตหวังใหไดชนะสักครั้งหนึ่งในอนาคตอันใกล
แมตนเองกําลังพายแพอยูเรื่อยๆ ก็ตาม โยคีผูปฏิบัติวิปสสนาไมกลัวทุกข
แตหวังที่จะเผชิญหนากับทุกข แลวเอาชนะมันใหไดสักวัน
ถาเอาแตเขาสมาธิไมยอมกําหนดรูทุกข ก็เหมือนกับกองทัพที่มีแต
ปนใหญแตไมมีทหารราบ จะรูไดอยางไรวา ฐานปนใหญของขาศึกมีที่ตั้ง
ตรงไหน? หากอางวา “ใชดาวเทียมดูเอาก็ได” ก็เทากับวา คุณมีบุญบารมี
เพียบพรอมเกิดยุคเดียวกับพระพุทธเจา มีสาวกบารมีญาณ ...ซึ่งมันไมใช!
๒. วิธีกราบสติปฏฐาน
ทุกครั้งกอนที่จะปฏิบัติภาวนาก็ตองกราบเสียกอน เปนการนอมจิต
อยูกับอารมณปจจุบัน กราบอยางมีสติระลึกรูตามดูอาการซึ่งเปนการสํารวม
อิน ทรี ย สติ ร ะลึ กรู ถึงอาการของรู ป และนาม ในการเจริ ญสติ ซึ่ งเป น การ
กําหนดอิริยาบถใหญอิริยาบถยอยไดดี เปนการเพิ่มกําลังความเพียร เพิ่ม
กําลังสติ เพิ่มกําลังสมาธิ เมื่อมีการกําหนดอยางตอเนื่องเปนเวลานาน รูปนาม
(กายใจ) ได ปรากฏชั ดเจน และการพิจารณาไตรลั ก ษณ ก็จ ะปรากฏขึ้ น
ตามลําดับ จากนั้นก็สามารถเห็นแจงในอริยสัจ ๔ เกิดขึ้น ดังที่พระพุทธองค
ตรัสวา บุคคลใดเจริญสติปฏฐาน ๔ ยอมเขาถึงอริยสัจ ๔
วิ ธี การกราบสติ ป ฏ ฐาน คือ ผู ป ฏิ บั ติ จ ะต อ ง
นั่งคุกเขาทั้งสอง เตรีย มกราบ สน เทาราบกับ พื้น ทั้งชาย
และหญิง (เพราะใหเวลาในการกราบนาน) เอามือขวา-
ซายวางคว่ําไวที่เขาขวา-ซาย แลวคอยๆ พลิกฝามือขึ้นทีละ
ขาง โดยพลิกขางขวากอน พร อมทั้งกํา หนด๓ ดว ยสติว า


กําหนดรูอารมณที่ปรากฏในขณะปจจุบันอยางใสใจ กอเกิดเปนไตรสิกขา (ศีล
สมาธิ ปญญา) อยางครบถวน คือ ความสํารวมของผูเพียรพยายามใสใจกําหนด จัดเปน
อธิสีลสิกขา ความตั้งใจมั่นของผูเพียรพยายามใสใจกําหนด จัดเปนอธิจิตตสิกขา
ความรูทั่วถึงของผูเพียรพยายามใสใจกํา หนด จัดเปนอธิปญญาสิกขา ดูใน วิสุทธิ .
(บาลี) ๑/๒๒๐/๒๙๘.
๒๙๘
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
“พลิกหนอๆๆ” โดยจะตองเอาจิตเขาไปรูดวยวากําลังพลิกฝามือ เสร็จแลว
ใหยกมือขางขวาขึ้นชาๆ พรอมกําหนดวา “ขึ้นหนอๆ” เมื่อยกมาถึงอกก็ให
กําหนดวา “ถูกหนอ” ตอจากนั้นเริ่มพลิกมือขางซาย ทําเชนเดียวกับขาง
ขวา ยกมือทั้งสองขึ้นพนมไวระหวางอก แลวยกขึ้นจรดที่หนาผากระหวางคิ้ว
ทั้งสอง เมื่อเวลาจรดที่ระหวางคิ้วแลว ตอจากนั้น โนมตัวลง (หัวแมมือยังติด
หนาผาก) พรอมกับกําหนดวา “กมหนอๆ” กําหนดวา “ลงหนอๆ” เมื่อถูกที่
พื้นกําหนดวา “ถูกหนอ” กําหนดเคลื่อนมือขวาไปทางขวา เคลื่อนมือซายไป
ทางซ า ย “เคลื่ อ นหนอๆ” พลิ ก ฝ า มื อ คว่ํ า ลงที ล ะข า ง กํ า หนดว า “คว่ํ า
หนอๆ” มือห างกัน ๔ นิ้ว แล ว กมศีร ษะลง กําหนดว า “กมหนอๆ” เมื่อ
ศี ร ษะจรดพื้ น กํ า หนดว า “ถู ก หนอ” โดยมี นิ้ ว หั ว แม มื อ ทั้ ง สองข า งอยู
ระหวางคิ้ว ตอจากนั้นนิ่งสงบอยูในอาการนั้น แลวนอมจิตเจริญพุทธคุณ ใช
เวลาประมาณ ๑-๓ นาที แล ว กํ า หนดจิ ต “อยากเงยหนอ” เวลาเงยก็
กําหนดวา “เงยหนอๆ” ต อจากนั้น ก็กราบแบบเดิมอีก ครั้งที่ ๒ นอมจิ ต
เจริญธรรมคุณ ครั้งที่ ๓ นอมจิตเจริญสังฆคุณ
การกราบแบบสติปฏฐาน๔ มีผลดีตอสุขภาพอยางไร? ตอบวา ขณะ
ศีรษะจรดพื้นนั้น...มีคุณประโยชน ดังนี้
๑. ชวยเพิ่มความยืดยุนของขอตอตางๆ ในรางกาย รักษาอาการ
ปวดหลังและสวนลาง ไสเลื่อน ริดสีดวงทวาร
๒. รักษาตอโรคเกี่ยวของกับความผิดปกติของระบบเสนประสาท
กลามเนื้อและโครงกระดูก
๓. เมื่อกมกราบ เลือดจะสูบฉีดไปยังสมองเพื่อเลี้ยงเสนประสาท
และบริเวณใบหนา ไดดีกวาขณะที่ยืน
รั ก ษาอาการมึ น ศี ร ษะ ไมเกรน ผ อนคลายสมอง ควบคุ ม ระบบ
หายใจ กระชับ มดลู ก ปรั บ ตําแหนงลู กในทองใหถูกตํ าแหนง ไซนัส แผล
น้ําเหลืองตามมือและเทา
๔. ตามปกติ คนเรามักจะหายใจเอาอากาศออกมาเพียง ๒ ใน ๓
ของปอด อีกสวนยังคงคางอยูในปอด แตเมื่อกมกราบอากาศทีค่ างอยูจ ะถูก

๒๙๙
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ดันออกมา ทําใหปอดแข็งแรง มีโอกาสนอยที่จะเปนโรคปอด
๕. อัตราการเตนของหัวใจต่ําที่สุด เมื่อนอนราบและการกมกราบ
๖. คลื่นแมเหล็กไฟฟา จากโทรศัพท คอมพิวเตอร ทีวี หรือแสงไฟ
จากหลอดไฟฟา ถายเทประจุไฟฟา เปนการเพิ่มประจุไฟฟา+ ใหกับรางกาย
โดยไมรูสึกตัว การกมกราบศีรษะจรดพื้น เปนการถายเทประจุลงดิน
หมายเหตุ ขณะกราบควรจะหลับตากราบจะดีมาก และใหทําชาๆ
กําหนดถี่ๆ ตั้งแต ๕-๑๐ หนอขึ้นไปจึงจะดี สติตามรูอาการเคลื่อนไหวของ
มือและลําตัว ไมตองสนใจสิ่งรอบขาง ไมตองสนใจวาจะเสียเวลาไปเทาไร
เพราะขณะที่เรากราบพระอยู ก็ถือวาเปนการปฏิบัติธรรมเหมือนกัน ไดสติ
สมาธิ ปญญา และกั้นกิเลสไดเหมือนกัน
๓. วิธีฝกนั่งกําหนดรูพอง-ยุบ
เมื่อเดินครบเวลาที่กําหนดไว ก็กําหนดเดินไปยืนที่อาสนะสําหรับนั่ง
ใหมีสติกําหนดพิจารณารูรูปยืน แลวใหนั่งลง : โดยเวลานั่ง ใหขยับเทาขวา
ไปขางหนา คอยๆ ยอตัวลง เอาเขาซายลงถึงพื้นกอนตามดวยเขาขวา จะ
อยูในทาคุกเขา สําหรับภิกษุ สามเณรและอุบาสก ใหเอาสนเทาซายทับสน
เทาขวา แลวนั่งทับสนลงไป เอามือขวาจับขอเทาขวา ขึ้นมาวางทับเทาซาย
เอามือขวาวางทับมือซาย หัวแมมือชนกันหรือหัวแมมือขวาทับหัวแมมือซาย
ก็ได ตั้งกายใหตรง ดํารงสติใหมั่น ทอดสายตาลงต่ําประมาณ ๑ วา หนาของ
ผูปฏิบัติจะไมกม ไมเงยจนเกินไป จะพอดี และศีรษะ ลําคอไมควรใหเอียง
ซาย หรือเอียงขวา ควรตั้งใหตรง ถาเปนอุบาสิกาใหนั่งพับเพียบ สําหรับ
คนชรามาก และผูมีรางกายไมพรอมก็ใหนั่งเกาอี้ได
ขอสําคัญ : ตั้งแตเริ่มนั่ง ยอตัวลงจนกวาจะนั่งเสร็จนี้ ใหภาวนาวา
“ยอหนอ” “ลงหนอ” “นั่งหนอๆๆ” ไปเรื่อยๆ พรอมกับใหมีสติกําหนด
พิจารณา รูอาการนั่งนั้น ทุกขณะๆ ไปจนกวาจะนั่งเรียบรอย
เมื่อนั่งเรียบรอยแลว ใหหลับตาเอาสติมาจับอยูที่อาการเคลื่อนไหว
ภายในทอง ตรงที่รูสึกไดชัดที่สุด (เหนือสะดือประมาณ ๒ นิ้ว) เวลาหายใจ

๓๐๐
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
เขาทองพองใหภาวนาตามอาการของทองที่พองขึ้นวา “พองหนอ” ใจที่รูสึก
กับทองที่พองตองใหทันกัน ใหตรงกันพอดีอยาใหกอนหรือหลังกัน พรอมกับ
ใหมีสติกําหนดพิจารณารูอาการของทองพองวา ตนพอง กลางพอง สุดพอง
นั้น วามีอาการอยางไรพรอมกันไปในขณะเดียวกันดวย เวลาหายใจออกทอง
ยุบลง ใหภาวนาตามอาการของทองที่ยุบลงวา “ยุบหนอ” ใจที่รูสึกกับทองที่
ยุบนั้น ตองใหทันกัน ใหตรงกันพอดีอยาใหกอนหรือหลังกัน พรอมกับใหมี
สติกําหนดพิจารณารูอาการของทองยุบวา ตนยุบ กลางยุบ สุดยุบ นั้นมี
อาการอยางไรพรอมกันไปในขณะเดียวกันดวย
วิธีนั่ง
๑. นั่งขัดสมาธิ (ควรนั่งแบบเรียงขา) ตั้งกายตรง คอตรง แตไมเกร็ง
๒. เพงความรูส ึกไปที่อาการเคลื่อนไหวของทอง
๓. จิตใจจดจอและแนบชิดที่อาการขึ้นๆ ลงๆ ของทองพอง - ยุบ
๔. วางจิตกําหนดที่ตรงสะดือขณะที่กําหนดควรหลับตา
๕. ใชจิตเพียรดูอาการเคลื่อนไหวบริเวณทอง โดยปลอยใหทอง
เคลื่อนไหวไปเอง ตามธรรมชาติ ไมเกร็งทอง
๖. ขณะที่ทองพองขึ้นกําหนด บริกรรมในใจวา "พองหนอ"
๗. ขณะที่ทองแฟบลงกําหนด บริกรรมในใจ วา "ยุบหนอ"
๘. จิตที่รูอาการพอง-ยุบ กับคําบริกรรม และสติที่ระลึกรูควรให
พรอมกัน
สิ่งที่พึงเวนขณะนั่งกําหนด
๑. ไมนั่งตัวงอ เอนเอียง หรือกมศีรษะ (เวนแตมีรางกายเชนนั้น)
๒. ไมเปลงเสียงหรือบนพึมพําในขณะกําหนดอาการพอง - ยุบ
๓. ไมควรลืมตาเพื่อสอดสายหาอารมณภายนอก
๔. ไมควรพยายามเคลื่อนไหวรางกายบอยจนเกินไป
๕. ไมควรนั่งพิงเกาอี้ พนักพิง เสา (เวนแกสภาวะหรือที่จําเปน)
๖. ไมควรนําคําบริกรรมที่ไมตรงตามสภาวธรรมที่เปนจริงมาใช
๗. ไมควรบังคับลมหายใจเขา-ออก หวังใหเห็นอาการพอง-ยุบชัด
๓๐๑
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ขอหามขณะนั่งกําหนด๔
๑. หามเคลื่อนไหวขณะที่นั่งสมาธิ (นั่งนิ่งๆ)
๒. หามลืมตา เพื่อสอดสายสายตา หาอารมณภายนอก
๓. หามนั่งตัวงอ ตัวเอียง พิงฝา-เสา นั่งทาวแขนหรือกมศีรษะ
๔. หามเปลงเสียงหรือบนพึมพําในขณะนั่งภาวนาพองหนอ-ยุบหนอ
๕. หามบังคับลมหายใจเขา–ออกแรงๆ หรือยาว, (ซึ่งผิดธรรมชาติ)
ผูปฏิบัติที่กําหนดรูอาการพอง - ยุบไดยาก ควรกระทํา ดังนี้
กอนนั่งภาวนา ควรเดินจงกรมกอนทุกครั้ง เพราะการเดินจงกรม
สงผลใหเกิดสมาธิเร็ว สมาธิอตั้งยูไดนานกวาการนั่งภาวนา ในขณะยอตัวลง
นั่งพึงกําหนดรูส ภาวะยอตัวโดยบริกรรมวา ลงหนอๆ พึงกําหนดรูสภาวะการ
เคลื่อนไหวของกายทุกขณะๆ อิริยาบถที่มีการเคลื่อนไหว กําหนดจิตรูรูปนั่ง
ภาวนาว า นั่ ง หนอๆ จิ ต แนบแน น อยู กั บ อาการปรากฏทางกาย กํ าหนด
รูสึกตัวทั่วพรอมสม่ําเสมอ พรอมกับกําหนดวา “นั่งหนอ นั่งหนอ”
สําหรับผูกําหนดพอง/ยุบไมได มีวิธีปฏิบัติดังนี้
๑. นั่งขัดสมาธิตามแบบที่ตนชอบ
๒. กําหนด นั่งหนอ พรอมทําความรูสึกตัววา ตนกําลังนั่งอยู คือ รู
อาการที่ตัวนั่งอยู
๓. ขณะกําหนดรูปนั่ง ไมใหตามดูรูปพรรณสัณฐาน เชน ศีรษะ คอ
หรือขา สวนใดสวนหนึ่ง ใหกําหนดรูอาการนั่งเทานั้น
๔. กําหนดวา ถูกหนอ พรอมสงความรูสึกถูกตองไปที่กนยอย
ดานขวา (หรือตรงที่กายสัมผัสชัดเจนสวนใดสวนหนึ่ง)
๕. ไมตองสนใจลมหายใจ หรืออาการพอง-ยุบ เพราะนั่งหนอ ถูก
หนอไมเกี่ยวกับลมหายใจ หรืออาการพอง-ยุบ
๖. นั่งหนอ ถูกหนอ จะใชตอเมื่อกําหนดอาการพอง-ยุบไมชัดเจน

พระมหาทองมั่น สุทฺธจิตฺโต. คูมือการเจริญสติปฏฐาน ๔. (ฉบับปรับปรุง
ใหม)., ๒๕๔๙,หนา ๗๓.
๓๐๒
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
หรือพอง-ยุบไมมี
๗. ขณะที่กําหนด "นั่งหนอ ถูกหนอ" คําบริกรรมและความรูสึกใน
อาการนั่งและอาการถูก ตองไปพรอมกัน ไมใชทองแตปาก ตองรูอาการดวย
๘. ตองกําหนดใหไดจังหวะพอดี ไมเร็วเกินไป ไมชาเกินไป ใหเปน
ธรรมชาติ
๙. สําหรับผูที่เคยทํา อานาปานสติ (กําหนดลมหายใจมากอน) ถา
กําหนดพอง-ยุบไมได ใหกําหนดนั่งหนอ ถูกหนอไปกอน แลวคอยกลับมา
กําหนดพอง-ยุบทีหลัง
๑๐. ถาพอง-ยุบปกติ ใหกําหนดวา พองหนอ ยุบหนอ ถาพอง-ยุบ
เร็วขึ้นมาใหกําหนดเพียงวา พอง-ยุบ ไมตองใส “หนอ” ถาพอง-ยุบ
เร็วมาก ใหกําหนดวา รูหนอๆ หรือ รูๆๆ เพียงแครูไมตองเรงคําบริกรรมตาม
อาการพอง/ยุบที่เร็วนั้น
เมื่อโยคีนั่งปฏิบัติไดครบ ๓๐ นาที ทุกบัลลังก พระวิปสสนาจารย
ผูใหกรรมฐานควรใหบทพระกรรมฐานเพิ่มเติม ดังนี้
ใหนั่งเพิ่มขึ้นบัลลังกละ ๑๐ นาที คือ ตั้งแต ๓๐ นาทีเพิ่มเปน ๔๐
– ๕๐ – ๖๐ นาที ตามลําดับ
การนั่ง ใหมีสติกําหนดพิจารณารูความเคลื่อนไหวทุกขณะของทอง
ตั้งแตตนพอง กลางพอง สุดพอง, ตนยุบ กลางยุบ สุดยุบ ของอาการ
เคลื่อนไหวของธาตุลมในชองทองในปจจุบันวา มีอาการที่แทจริงอยางไร
ใหมีสติกําหนดพิจารณารูอาการพอง อาการนูน อาการยุบ อาการแฟบ ของ
ทองเทานั้น อยาแกลงตะเบ็งทอง อยาไปดูลมหายใจเขา-ลมออก อยาบังคับ
ลมหายใจใหผิดจากอาการหายใจปกติ (คือ เรายืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทํา
พูด คิด ฯลฯ เรามีอาการหายใจเปนปกติอยางไร เราก็หายใจตามปกติอยาง
นั้น แตตองใหมีสติกําหนดพิจารณารูอาการที่เปนปจจุบันนั้นๆ) ใหภาวนา
อยางนี้ตลอดไปจนครบเวลาที่กําหนดไว อยางต่ําประมาณ ๓๐ นาที อยาง
กลาง ๑ ชั่วโมง อยางสูง ๒ ชั่วโมง หรือมากกวานั้น แลวแตความเหมาะสม
แกสติปญญา บุญวาสนาบารมี แกการทรมานกิเลสของบุคคลผูเขาปฏิบัติ

๓๐๓
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
โยคี บ างคน อาการพอง-ยุ บ สั้ น แผ ว เบา ให เ พิ่ ม สติ จ ดจ อ งไปที่
อาการพอง-ยุบนั้น บริกรรมเพียงวา “พอง-ยุบ” ไมตองใส “หนอ” ตอทาย
ถามีแคอาการเคลื่อนไหวภายใน จําแนกเปนพอง-ยุบไมได ก็ใหกําหนดรูรูป
นั่งใหญแทน คือกําหนดรูอาการนั่ง แตไมตองนึกถึงรูปนั่งวา “นั่งหนอ” รวด
เดียว จากนั้นสงจิตจี้ไปที่กนยอยขางขวาถูกพื้น “ถูกหนอ” แลวกลับมาดู
อาการนั่งอีก “นั่งหนอ” จากนั้นสงจิตจี้ไปที่กนยอยขางซายถูกพื้น “ถูก
หนอ” ทําอยางนี้สลับกันไปเรื่อยๆ จนกวาอาการพอง-ยุบจะชัดขึ้นตามปกติ
๔. คําบริกรรมวา “หนอ”
การกําหนดวา “หนอ” เปนการเพิ่มกําลังใหแก
ขณิกสมาธิ คือ ถากําหนดเพียงพอง-ยุบ คําบริกรรมกับ
อาการไมพรอมกัน ขณะกําหนดวาพอง อาการพองยังไม
หมดแตคําบริกรรมหมดแลว ทําใหจิตฟุงออกไปขางนอก ถา
ใสคําวา“หนอ”ตอทาย ก็จะพอดีกับอาการ สมาธิที่ไดก็จะมีกําลัง พระธรรม
ธีรราชมหามุนี (โชดก าณสิทฺธิ) วัดมหาธาตุฯ ทาพระจันทร กรุงเทพฯ ได
บัญญัติใชกอนและสอนศิษยยานุศิษยสืบตอมา ในภาษาพมาใชคําวา “พอง
แด-เปงแด” ซึ่งแปลเปนภาษาไทยวา “พองอยู-ยุบอยู” โดยเหตุที่ภาษาพมา
มักประกอบกิริยาคุมพากยเหมือนภาษาบาลี จึงใช แด (อยู) ควบคูไปกับ
คําวา พอง-เปง ดังนั้น คําบริกรรมนั้นจึงมีสองคําวา พองแด-เปงแด (พอง
อยู-ยุบอยู) อยางไรก็ตามคนไทยทั้งประเทศคุนเคยกับคําวา พองหนอ-ยุบ
หนอ คําบริกรรมนั้นมีประโยชนเพื่อใหจิตจดจอมากขึ้น เปนการเพิ่มวิริยะ
ทางใจเพื่อไมใหตามรูอยางผิวเผิน เปรียบเหมือนกอนดินเหนียวที่ขวางใส
ผนังดวยกําลังแรง ยอมกระทบถูกผนังและติดแนน ถาถูกขวางดวยกําลังไม
เพียงพอ ก็อาจพุงไปไมถึงผนัง หรือแมกระทบผนังก็ไมติดแนน๕
พระธรรมธีรราชมหามุนี(โชดก าณสิทฺธิ) ทานอธิบายวา คําวา
“หนอ” มาจากคําบาลีวา “วต” แปลวา “หนอ” ก็ได แปลวา ธรรมที่ทํา


พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสะยาดอ), วิปสสนานัย เลม ๑, หนา ๑๗๔.
๓๐๔
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
สรรพสัตวใหขามพนวัฏฏสงสาร ก็ได วิเคราะหวา วฏฏสํสารํ ตาเรตีติ วโต
(ธมฺโม) แปลวา ธรรมใด ยอมยังสรรพสัตวใหขามวัฏฏสงสาร ฉะนั้น ธรรม
นั้นชื่อวา “หนอ” หมายถึง สติปญญา๖
อนึ่ง ทานเคยอธิบายวา คําวา “หนอ” ที่นํามาประกอบคําภาวนา
นั้น หมายถึง “สักแตวา” เชน เห็นหนอ หมายถึง สักแตวาเห็น เมื่อเห็นแลว
ก็ไมไดมีจิตใจผูกพันเกาะเกี่ยว สิ่งที่เห็นเปนเพียงรูป การรูในใจเปนนาม แต
การกําหนดรูปนามนั้นยังชาไป หากใชคําวา หนอ จะเกิดสติรูไดเทาทันเร็ว
กวา หรืออยางคําวา เจ็บหนอ ก็หมายถึงสักแตวาเจ็ บ ทั้งนี้ยอมโยงไปถึง
ความเขาใจที่วา ความเจ็บยอมมีกับแตละบุคคลเปนธรรมดา จะไดไมถือมั่น
ไมใสใจ ความเจ็บจิตมุงจะเขาสูสภาวธรรมที่เกิดขึ้น จึงเปนวิถีทางที่จะทําให
มีความเจริญกาวหนาในการปฏิบัติขั้นสูงตอไปได๗
คําวา “หนอ”มีประโยชนอยางไร
เรื่อง “การกําหนดหนอ” นี้ถายอนกลับไปแหลงเดิม คือ ประเทศ
พมา ซึ่งเปนสถานที่พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ.๙) ไป
ปฏิบัติวปิ สสนากัมมัฏฐานที่ประเทศพมา จะพบวา ใชคําวา “แด” เชน พอง
แด เบงแด เปนกิริยาที่กําลังกระทําอยู
พระธรรมธีรราชมหามุนี จะพยายามอธิบายดวยหลักเหตุผล ก็ไม
สามารถคลายความแคลงใจเกี่ยวกับเรื่อง หนอ หนอ ได และพองหนอ ยุบ
หนอ ก็ไมใชเปนภาษาพมา แตเปนภาษาไทยที่ทุกคนเขาใจความหมายของ
คํานี้ดี ดังนั้น ทานไดกลาวถึงประโยชนของ “หนอ” ไววา
๑. คําวา “หนอ” มีประโยชนสําหรับเพิ่มขณิกสมาธิ (สมาธิชั่วขณะ)
ใหมีกําลังกลาเพื่อจะใหผูปฏิบัติเห็นรูปนาม เห็นพระไตรลักษณ (อนิจจัง ทุก
ขัง อนัตตา) เห็นปจจุบันธรรมไดดีดุจไฟนีออน ตามธรรมดา ไฟนีออนก็มี


พระครูประสาทสังวรกิจ, ธรรมะภาคปฏิบัติ, (กรุงเทพ : โรงพิมพมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย , ๒๕๔๓), หนา ๔๓.

วริยา ชินวรรโณและคณะ. วิวัฒนาการการตีความคําสอนเรื่องสมาธิในพุทธ
ศาสนาฝายเถรวาทในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๗. หนา ๒๕๒.
๓๐๕
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
แสงสวางดีอยูแลว แตถาเพิ่มหมอไฟเขาไปอีกยิ่งมีแสงสวางมากขึ้นกวาเดิม
อีกหลายเทา การที่จะเพิ่มขณิกสมาธิก็เชนเดียวกัน ตามปกติเวลากําหนดยก
ยาง เหยียบ ก็มีขณิก สมาธิอยูแลว ถาเพิ่มหนอเขาไปอีกจะเปนการถวงเวลา
ใหชาลงอีก สมาธิจึงมีกําลังแรงขึ้นกวาเดิมอีกหลายเทา เมื่อสมาธิมีกําลังแรง
ขึ้นก็เปนเหตุใหเกิดปญญาไดงาย เพราะปญญามีสมาธิเปนบรรทัดฐาน หรือ
การมีสมาธิเปนเหตุใหไดใกลชิดที่จะใหปญญาเกิดขึ้น
๒. คําวา “หนอ” มีประโยชนสําหรับคั่นรูป คั่นนามใหขาดตอน ให
ขาดจังหวะ เพื่อจะใหผูปฏิบัติไดเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ใหชัดเจนยิ่งขึ้น
๓. ขณะที่ผูปฏิบัติกําหนด “ยกหนอ ยางหนอ เหยียบหนอ” อยู
กายสุ จ ริ ต ความไม ป ระพฤติ ชั่ ว ทางกาย คื อ ไมฆ า สั ต ว ไม ลั ก ทรั พ ย ไม
ประพฤติ ผิ ด ประเวณี วจี สุ จ ริ ต ความไม ป ระพฤติ ชั่ ว ทางวาจา คือ ไม พู ด
สอเสียด ไมพูดคําหยาบ ไมพูดเพอเจอ มโนสุจริต ความไมประพฤติชั่วทางใจ
คือ จิตไมมีความโลภ จิตไมมีความพยาบาท จิตไมมีความเห็นผิด มีความ
บริ สุ ทธิ์ ดี ทั้ งไตรทวาร อั น นี้ จั ด เป น ศี ล ใจไมเ ผลอจากขณะเดิ น ยก ย า ง
เหยียบ เปนสมาธิ เห็นรูปนามเปนสิ่งที่ตกอยูในไตรลักษณ เปนปญญา

๕. วิปสสนาจารยสอบอารมณ
๕.๑ วิปสสนาจารย
ปุคคลสัปปาย คือ บุคคลที่เกื้อกูลที่เหมาะสมในการแนะนําสั่งสอน
และคอยช ว ยเหลื อผู เ จริ ญวิ ป ส สนาภาวนาให ได ผ ลดี ช ว ยให ส มาธิ ตั้ งมั่ น
ปญญาเพิ่มพูนไมเสื่อมถอย เรียกวา วิปสสนาจารย๘
วิปสสนาจารยเปนบุคคลที่ถึงพรอมดวยสีลคุณ สมาธิคุณ ปญญาธิ
คุณ โยคีสมควรเขาไปสนทนาปราศรัยในขณะที่กําลังปฏิบัติอยู เมื่อไดอาศัย
แลวเปนเหตุทําใหจิตทีย่ ังไมเปนสมาธิเปนสมาธิ จิตที่เปนสมาธิแลวจะตั้งมั่น
ยิ่งขึ้น พรอมในการพิจารณาธรรมใหเกิดปญญาตอไป


ธนิต อยูโ พธิ,วิปสสนานัย.ครั้งที่ ๗, (โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๔๐), ๑๑-๑๖.
๓๐๖
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
๕.๒ สิ่งที่วิปสสนาจารยควรคํานึงในการสอน
๑) รูถึงความแตกตางระหวางบุคคลและคํานึงถึงวิธีสอนที่เหมาะสม
แกบุคคล รูลักษณะความแตกตางของบุคคล โดยคํานึงถึงจริต ๖ ประการ
ไดแก ราคะจริต โทสะจริต โมหะจริต สัทธาจริต พุทธิจริต และวิตักกจริต
และรูระดับความสามารถของบุคคล
๒) การปรับวิธีสอนใหเหมาะสมกับบุคคล แมสอนเรื่องเดียวกัน แต
ตางบุคคล ก็ทรงใชวิธีที่ตางกัน โดยพิจารณาดูจากจริต บุคลิกลักษณะ
อัธยาศัยและประเภทของบุคคลเปนที่ตั้ง
๓) ตองคํานึงถึงความพรอม ความสุกงอม บาลีใชคําวา “ปริปากะ”
(ความแกรอบแหงอินทรีย) ของผูเรียน แตละบุคคลเปนรายๆ ไป ถายังไม
พรอมก็ตองรอจนกวาจะพรอม
๔) สอนดวยการใหลงมือปฏิบัติดวยตนเอง คือ การใหไดรั บ
ประสบการณตรง ซึ่งจะทําใหผูเรียนรูเขาใจชัดเจน ดวยประสบการณของ
ตนเอง เชน ทรงสอนพระจูฬปนถกผูโงเขลา โดยการใหนําผาขาวไปลูบคลํา
๕) การสอนโดยใหผูเรียนมีสวนรวม โดยมีการแสดงขอคิดความเห็น
โตตอบกันไดอยางเสรี ซึ่งหลักการอยางนี้เปนวิถีแหงปญญา วิธีการนี้ทรงใช
เปนประจําซึ่งเปนลักษณะของการถามตอบมี ๒ ลักษณะ คือ
๕.๑. ใชอุบายใหผูเรียนแสดงความคิดเห็นออกมาแลวชี้ชองทาง
เขาสูความรูที่ตองการจะสอน
๕.๒. โตตอบกันแบบเสรีโดยมุงแสวงหาความรูรวมกัน
๖) เอาใจใสบุคคลผูที่ควรไดรับความสนใจเปนพิเศษ เปนรายๆ ไป
ตามสมควรแกกาละเทศะ และเหตุการณเชน เรื่องของธิดาชางหูก เปนตน
๗) ชวยเหลือเอาใจใสคนที่ดอยกวา เชนเรื่อง พระปูติคัตตะติสสะ
เถระ ผูมีกายเปอยเนา จนภิกษุทั้งหลายพากันรังเกียจและไมยอมดู แล แต
พระองคเสด็จไปดูแล และสอนดวยพระองคเอง หรือกรณีที่ทรงสงเคราะห
พระจูฬปนถก เปนตน

๓๐๗
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
๕.๓ วิปสสนาจารยทําหนาที่ “ชวยปรับอินทรีย”
กอนปฏิบัติ โยคีมักพูดวา “ที่มาปฏิบัตินี้ไมไดหวังอะไรมาก ขอใหใจ
สงบ อยูปฏิบัติไดครบกําหนดเวลาก็พอแลว” แตเมื่อไดลงมือปฏิบัติไป ๓-๔
วัน จะมีคําถามเกิดขึ้นในใจแทบทุกคนวา “ทําอยางไร จึงจะมีความกาวหนา
ในการปฏิบัติ วิปสสนาญาณจะเกิดขึ้นไดอยางไร?”
พระวิปสสนาจารยพึงใหคําตอบวา “ความกาวหนาในการปฏิบัติ
วิปสสนาขึ้นอยูกับการพัฒนาอินทรีย ๕ ใหสมดุลและเพิ่มกําลังพละทั้ง ๕
ใหแกกลาขึ้นตามลําดับ” ซึ่งนั่นหมายความวา พระวิปสสนาจารยจะตอง
อธิบายใหผูป ฏิบัติเขาใจความหมายและความสํ าคัญของการปรับอินทรี ย
พรอมทั้งมีกระบวนการบมเพาะอินทรีย และพอกพูนกําลังพละใหเกิดขึ้นใน
ขันธสันดานของโยคีผูปฏิบัติใหแกกลาขึ้นตามลําดับ ตามจํานวนระยะเวลาที่
ปฏิบัติเพิ่มขึ้น ดังที่พระพุทธเจาตรัสวา “ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุอาศัยศีล
ตั้งอยูในศีลแลว เจริญทําใหมากซึ่งอินทรีย ๕ ยอมถึงความเจริญงอกงาม
ไพบูลยในธรรมทั้งหลาย”๙
๕.๔ วิธีปรับอินทรีย
การปรับอินทรียเปนการนําเอากุศลธรรมที่มีพลังและสมรรถนะที่อยู
ภายในกายใจ มาปรับใหบรรลุผลที่พึงปรารถนาขั้นสูงสุด ในการปฏิบัติสนั้น
กุศลธรรมที่มีสมรรถนะความเปนใหญเรียกวา อินทรีย กุศลที่กอใหเกิดกําลัง
เรียกวาพละ ซึ่งจําแนกไวอยางละ ๕ เทากัน คือ การปรับศรัทธาใหเสมอกับ
ปญญา การปรับวิริยะใหเสมอกับสมาธิ สติตองเจริญใหมาก ซึ่งมีวิธีการดังนี้
๑. การปรั บ อิน ทรี ย โ ดยการกํ าหนดให เ ท า ทัน อารมณป จ จุ บั น ที่
เกิดขึ้น ภายในกาย ใจ ณ ป จจุบันขณะนั้น ดังเมื่อสันตติอํามาตย ฟงธรรม
พรอมทั้งเจริญสติปฏฐานโดยกําหนดรูปนามปจจุบันที่ปรากฏชัด จึงไมเกิด
กิเลสที่หวนคิดถึงอดีต หรือใฝฝนอนาคต และหยั่งเห็นสภาวธรรมรูปนามที่
เกิดดับตามความเปนจริง จนกระทั่งบรรลุมรรคญาณทั้ง ๔ ตามลําดับ ใน


ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/๗๑๓/๓๔๔.
๓๐๘
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ที่สุดไดบรรลุอรหัตตผล ไมยึดมั่นดวยตัณหาและทิฏฐิ ดังนั้น พระพุทธองค
จึงตรัสขอความวา “อุปสนฺโต จริสฺสสิ (ก็จักเปนผูสงบไปได)”๑๐
๒. การปรับอินทรียโดยการกําหนดเวลา ในการเดินจงกรม และการ
นั่งสมาธิ เชน การเพิ่มเวลาในการเดินจงกรม และการนั่งสมาธิ จาก ๑๕
นาที เปน ๒๐ นาที ๒๕ นาที ๓๐ นาที ไปจนถึง ๖๐ นาที เปนตน
๓. การปรับอินทรียโดยการเพิ่มระยะในการเดินจงกรม และการ
กําหนดจุดในขณะนั่งสมาธิ เชน การเดินจงกรมตั้งแตระยะที่ ๑ ระยะที่ ๒
ระยะที่ ๓ ไปจนถึงระยะที่ ๖ หรือการเพิ่มการกําหนดถี่ๆๆ ในการกาวแตละ
ระยะ เปนตน
๔. การปรับอินทรียโดยการเพิ่มการกําหนดอิริยาบถยอย เชน การคู
กําหนดวา คูหนอๆๆ การเหยียดกําหนดวา เหยียดหนอๆๆ การเหลียวหนา
แลหลัง กําหนดวา เหลียวหนอๆๆ เปนตน
๕. การปรับอินทรียโดยเพิ่มการกําหนดตนจิต หมายถึง การกําหนด
อารมณตางที่เกิดขึ้นที่ใจ เชน กอนเดินจงกรมกําหนดวา อยากเดินหนอๆๆ
ถาฟุงซาน กําหนดวา ฟุงหนอๆๆ ถางวงกําหนดวา งวงหนอๆๆ เปนตน
๖. การปรับอินทรียโดยการสํารวมอินทรีย ๖ หมายถึง การกําหนด
อารมณตางๆ ที่กระทบทางทวารทั้ง ๖ อันไดแก ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
เชน ถาเห็นกําหนดวา “เห็นหนอ” ถาไดยินกําหนดวา “ไดยินหนอ” ถาได
กลิ่นกําหนดวา “กลิ่นหนอ” ถารูรสกําหนดวา “รสหนอ” ถาถูกตองสัมผัส
กําหนดวา “ถูกหนอ” ถารับสิ่งตางๆ กําหนดวา “รูหนอ” เปนตน
๗. เพิ่มความถี่ในการกําหนดสภาวะรูป สภาวะนามใหมากขึ้น
การปรับอินทรียและพละใหเสมอกัน คือ การปรับศรัทธาใหเสมอ
กับปญญา อย าใหอยางหนึ่งอย างใดมากน อยกว ากัน ถาศรั ทธายิ่ งปญญา
หยอน ความโลภจะเขาครอบงํา ถาปญญายิ่ง ศรัทธาหยอน ความลังเลสงสัย
จะเขาครอบงํา และจะตองปรับวิริย ะใหเสมอกับสมาธิ ถาวิริยะยิ่ง สมาธิ

๑๐
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), มหาสติปฏฐานสูตร ทางสูพระ
นิพพาน, (กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๙), หนา ๑๕.
๓๐๙
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
หยอน ความฟุงซานจะเขาครอบงํา ถาสมาธิยิ่ง วิริยะหยอน ความงวงจะเขา
ครอบงํา ดังนั้น ถาอยางหนึ่งอยางใดนอยเกินไป ก็ตองเพิ่มเขาไปใหเสมอกัน
โดยมีสติคอยควบคุมอยูตลอดเวลา การปฏิบัติจะไดผลเร็วหรือชา ก็ขึ้นอยู
กับการปรับอินทรียและพละนี้เปนประการสําคัญ
วิธีเพิ่มปญญา รูรูปนาม รูปจจุบัน รูไตรลักษณ รูวิปสสนา ปญญา
รูมรรคผล นิพพาน
วิธีเพิ่มวิริยะ เพียรตั้งใจทําจริง กินนอย นอนนอย พูดนอย
วิธีเพิ่มสมาธิ ผูกจิตไวกับองคคุณ ๓ จิตจับในอารมณใดใหกําหนดมั่น
ในอารมณ จิตหลุดในอาการใดใหกําหนดรูในอาการนั้น
วิธีเพิ่มสติ ระลึกรูอยูที่รูปนามและการกําหนดตลอดเวลา
วิธีเพิ่มศรัทธา ทรงใจใหอยูกับรูปนาม ศีล สมาธิ ปญญา
เหตุป จ จั ย ที่ทําให อิน ทรี ย แกกล า ๙ ประการ คื อ “นวหากาเรหิ
อินฺทฺริยานิ ติกฺขานิ ภวนฺติ อุปฺปนฺนุปฺปนฺนานํ สงฺขารานํ ขยเมว ปสฺสติ, ตตฺถ
จ สกฺกจฺจกิริยาย สมฺปาเทติ, สาตจฺจกิริยาย สมฺปาเทติ, สปฺปายกิริยาย
สมฺปาเทติ, สมาธิสฺส จ นิมิตฺตคฺคาเหน, โพชฺฌงฺคานฺจ อนุปวตฺตนตาย,
กาเย จ ชีวิเต จ อนฺตรา จ อโพฺยสาเนนาติ.”
อินทรีย ๕ ยอมแกกลาเพราะเหตุ ๙ ประการ ผูปฏิบัติตองปฏิบัติ
ดังนี้
๑. กําหนดเห็นแตความสิ้นไป หมดไปของรูปนาม ซึ่งเกิดขึ้นในทุกๆ
ขณะ ถึงแมบางครั้งอาการดับจะไมปรากฏ ก็ตองพยายามกําหนดใหได มอง
ใหเห็น แตอยาพยายามหาเหตุผลในทางที่จะทําใหเห็น วาเปนของเที่ยง
๒. ยังวิปสสนาญาณใหถึงพรอม โดยการกําหนดอยางเอื้อเฟอตอ
กรรมฐานเพื่อใหเห็นความดับไปของรูป นามนั้น
๓. เจริญวิปสสนาญาณใหบริบูรณโดยการทําอยางตอเนื่อง ทําอยาง
คงเสนคงวา อยาหยุดในระหวางการปฏิบัติ
๔. เจริญวิปสสนาญาณใหบริบูรณ โดยการทําแตสิ่งที่เปนสัปปายะ
ตอการกําหนดเทานั้น สัปปายะ ๗ คือ ๑. อาวาส ที่อยูเหมาะสม ๒. โคจร ที่

๓๑๐
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
เที่ยวไปมาหมูบานเหมาะสม ๓. ภัสสะ ถอยคําเหมาะสม ๔. ปุคคละ บุคคล
ผูคบหาเหมาะสม ๕. โภชนะ อาหารเหมาะสม ๖. อุตุ บรรยากาศเหมาะสม
๗. อิริยาปถะ อิริยาบถเหมาะสม
๕. เจริญวิปสสนาญาณใหบริบูรณโดยการกําหนดเหตุของวิปสสนา
สมาธิ คือ การกําหนดรูปนามจนทําใหสมาธิตั้งมั่นอยางแนวแน
๖. เจริญวิปสสนาญาณใหบริบูรณโดยการเจริญโพชฌงคใหถูกตอง
คือ อารมณในการเจริญภาวนาตก ใหเจริญปติ วิริยะ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค
๗. กลาสละทั้งกายและชีวิตของตน หมายถึง ขณะเจริญภาวนาอยู
นั้นมีอารมณฟุงซานขึน้ มา ใหเจริญปสสัทธิ สมาธิ อุเบกขา
๘. เจริญภาวนาใหบริบูรณ ดวยความอดทนอยางไมยอทอกับทุกข
ซึ่งเกิดขึ้นในทุกขณะ โดยพรอมที่จะอุทิศทั้งกายและใจ หมายถึง ตองมีใจ
มั่นคงไมหวั่นไหวตอความทุกขยากลําบาก ไมคํานึงแมกระทั่งความตาย
๙. ไมเลิกเจริญวิปสสนาญาณกลางคัน คือ ทําใหถึงที่สุด๑๑
๕.๖ การสง-สอบอารมณ
ในมหาปุณณมสูตร เมื่อพระพุทธองคทรงแสดงเรื่องรูปนามเปนไตร
ลักษณแลว ทรงสอบถามความเขาใจของภิกษุเหลานั้นวา “รูปและนามเปน
สิ่งที่เที่ยงหรื อไมเที่ยง” ภิกษุทั้งหลายตอบดวยความเขาใจวา “ไมเที่ยง”
พระองคจึงตรั สถามต อไปวา “สิ่งใดไมเ ที่ย ง สิ่ งนั้ นเป นทุกขห รือเปน สุข”
ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายทู ล ตอบตรงกั น ว า “เป น ทุ ก ข ” เมื่ อ จบพระสู ต รนี้ ภิ ก ษุ
ประมาณ ๖๐ รูป ไดบรรลุอรหัตตผล๑๒
ในจู ฬ ราหุ โ ลวาทสู ต ร พระพุ ท ธองค ท รงตรั ส ถามพระราหุ ล ว า
“อายตนะทั้งหลายมี ตา หู เปนตน เที่ยงหรือไมเที่ยง พระราหุลทูลตอบดวย
ความเขาใจวา “ไมเที่ยง” พระองคจึงตรัสถามตอไปวา “สิ่งใดไมเที่ยง สิ่งนั้น
เปนทุกขหรือเปนสุข” พระราหุลทูลตอบวา “เปนทุกข” สุดทายพระองค
๑๑
วิสุทฺธิ (บาลี) ๒/๒๘๐-๑, โสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), พระพรหมโมลี
ตรวจชําระ, วิปสสนานัย ๒, หนา ๑๖๓-๑๖๕.
๑๒
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๘๕-๙๐/๙๖-๑๐๔.
๓๑๑
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ทรงสรุปวา “อายตนะและขันธ ๕ ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา ไมควรถือ
วาเป นเรา เป นของเรา” เมื่อจบพระสูตรนี้ พระราหุลได บรรลุอรหั ตตผล
พรอมกับเทวดาอีกหลายพันองค๑๓ ซึ่งแสดงใหเห็นวา การสอบอารมณของ
พระพุทธเจา นอกจากจะเปนประโยชนกับคูสนทนาแลว ยังเปนประโยชน
กับผูที่ไดยินอีกดวย
ในคัมภีรพุทธศาสนาไมปรากฏคํานี้ แตปรากฏคําที่ใกลเคียง คือ คํา
วา แกอารมณ ซึ่งปรากฏในคัมภีรอรรถกถาอธิบายพุทธพจน วา ปฺตฺเต
อาสเนติ ปธานิกภิกฺขู อตฺตโน วสนฏาเน โอวทิตุ อาคตสฺส พุทฺธสฺส ภควโต
นิสีทนตฺถ ยถาลาเภน อาสน ปฺาเปตฺวาว ปธาน กโรนฺติ, อฺ อลภมา
นาปุราณปณฺณานิป สนฺถริตฺวา อุปริ สงฺฆาฏึ ปฺาเปนฺติ.๑๔
พุทธอาสนที่ปูลาดไว หมายถึง ตั่ง เตียง แผนกระดาน แผนหิน หรือ
กองทรายที่ภิกษุผูบําเพ็ญเพียรปูลาดไวเพื่อเปนที่ประทับของพระผูมีพระ
ภาคที่จ ะเสด็ จ มาให โ อวาท แก อารมณ กั ม มัฏ ฐานถึง ที่อยู ของตน ถ าหา
อาสนะนั้ นไมได จะใชใบไมเ กาๆ ปู ลาดก็ได โดยลาดสังฆาฏิไวบ น นี้เ ป น
ธรรมเนียมสําหรับภิกษุนักปฏิบัติ
ในการสอบอารมณแตละครั้ง พระวิปสสนาจารยจะใหเวลาสําหรับ
การสอบอารมณอยางเต็มที่ ผูปฏิบัติทานใดที่ปฏิบัติถูกตอง ทานจะใหเพียร
กําหนดตอไป ผูปฏิบัติทานใดที่ปฏิบัติผิดทาง ทานจะแนะนําแกไขใหทันที
บางครั้งผูปฏิบัติมีความดื้อดึง ตองการปฏิบัติตามความชอบใจของตนเอง
พระวิปสสนาจารยจําเปนตองใชความแข็งกราว ก็เพื่อใหผูปฏิบัติเกิดความ
สลดใจ ละทิ้งการปฏิบัติที่ผิดทาง ดวยการดุหรือพูดดวยเสียงดัง สอดคลอง
กับเรื่องของพระวักกลิที่ถูกพระพุทธเจาขับไลออกจากสํานักเพื่อใหเกิดความ
สลดใจ สุดทายเมื่อทานยอมลดทิฏฐิ แลวปฏิบัติตามคําสอนของพระพุทธเจา
จึงบรรลุอรหัตตผล๑๕

๑๓
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๔๑๖-๔๑๙/๔๐๗-๔๗๕.
๑๔
องฺ.ฉกฺก.อ.(บาลี) ๓/๕๕/๑๓๕, อ.ฉกฺก.ฏีกา (บาลี) ๓/๕๕/๑๔๗
๑๕
ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๔๓/๓๙๒-๓๙๔.
๓๑๒
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
เมื่อผูปฏิบัติไดฝกเดินจงกรมระยะที่หนึ่ง ไดนั่งสมาธิตามที่กําหนด
ไว และไดเจริญสติใหทันอารมณปจจุบัน ผลัดเปลี่ยนอิริยาบถหลังจากนั่ง
สมาธิแลว ครูผูฝกจะเปนผูติดตามผลที่เกิดขึ้นแกผูปฏิบัติ ใหผูปฏิบัติเลาถึง
ผลการปฏิบัติที่ทําไปแลวใหกันและกันฟง เมื่ออาจารยผูสอนไดทราบแลว
จะไดชแี้ นะสิ่งที่ควรแกไข หรือสั่งที่ควรจะทําตอไป
๕.๗ วิธีรายงานอารมณ
การทดสอบผลของผู ป ฏิ บั ติ อาจารย ผู ส อนจะสอบอารมณ ใ น
ประเด็นตางๆ เชน
- สามารถกําหนดการเคลื่อนไหวอิริยาบถยอยทั้งวันที่ผานมาได
อยางตอเนื่องหรือไม
- จับสภาวะอาการ พอง-ยุบ อาการเดินไดหรือไม
- รักษาทวารทางตาไดหรือไม
- กําหนดสภาวะทางจิตและความนึกคิดไดหรือไม
- กําหนดเวทนาไดอยางไร
- กําหนดอาการทางทวารทั้ง ๖ ไดทันหรือไม และไดประสบการณ
อะไรจากการกําหนด
- ใหรายงานประสบการณตามความเปนจริง ไมใชคิดเดาขึ้นเอง
รายงานอารมณเทาที่จําไดและปรากฏชัด อาจารยจะไดชวยแกไขไดตรงจุด
- การสงอารมณควรพูดเฉพาะเนื้อหาสาระประเด็นสําคัญๆ เทานั้น
เพื่อจะไดมีเวลาชี้แนะขอควรปฏิบัติขั้นตอไป
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก าณสิทฺธิ) เคยเลาเหตุการณการ
สอบอารมณระหวางพระอาจารยกับโยคีผูปฏิบัติวิปสสนา ไววา
พระอาจารย “เมื่อนิมิตมา วิธีถูกตองใหกําหนดเห็นหนอๆๆ ถา ๓
หนหาย แสดงวาสติสมาธิดีขึ้น ถากําหนดเห็นหนอๆๆ นิมิตหายชา แสดงวา
สติสมาธิออนใชไมได จะแกอยางไร ใหลุกขึ้นเดินจงกรมใหม สมาธิไมพอ”
“หลวงพอทํามากี่ป”
พระโยคี “๔๓ ป”
๓๑๓
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
พระอาจารย “ไปถึงไหน”
พระโยคี “ถึงธรรมกาย”
พระอาจารย “ดี ดีแลวหลวงพอ ตอไปใหเดิน ๓๐ นั่ง ๓๐ ”
เมื่อไปสอบอารมณใหม
พระอาจารย “เปนอยางไรบางหลวงพอ นั่งเห็นอะไรบาง”
พระโยคี “เห็นพระพุทธเจา จับมือถือแขนกันไดพูดคุยกันได”
นี่ญาณ ๓ (สัมมสนญาณ) เราก็รูแลวทานตอบไป
ตามเรื่อง นั่นเปนอารมณของสมถะ
พระอาจารย “ดี ห ลวงพ อ ให ห ลวงพ อ กํ า หนด เห็ น หนอๆๆ นี้ จ ะ
ยกขึ้นสูวิปสสนา” เห็นหนอๆๆ ๘ หนหายนี้สมาธิออนใชไมได ตองเพิ่มให
เดิน ๔๐ นั่ง ๔๐ (นาที)” พอเดิน ๔๐ นั่ง ๔๐ เวลาสอบอารมณวันหลัง
พระอาจารย “เปนอยางไรหลวงพอ”
โยคี “เห็นพระสงฆเยอะ”
พระอาจารย “หลวงพออยูที่ไหน”
โยคี “ผมก็นั่งอยูกับทาน”
นี่กรรมฐานรั่ว เราก็ไมวา
พระอาจารย “ดีหลวงพอ แตใหกําหนด เห็นหนอๆๆ”
๖ หนหาย ดีขึ้นกวาวานนี้หนวยหนึ่ง แตยังใชไมได
สมาธิยังไมพอ ใหเดิน ๕๐ นั่ง ๕๐ นาที
พระอาจารย “เปนอยางไรหลวงพอ (เดิน ๕๐ นั่ง ๕๐)”
พระโยคี “ธรรมกายมาบอยๆ”
พระอาจารย “ดี ในประเทศไทยหลวงพอทําไดดี มาก แตให หลวง
พอกําหนดครับ เห็นหนอๆ”
พระโยคี “เวลากําหนดเห็นหนอๆ พอเห็นหนอหนที่ ๓ นี่
ขาดวับ ตกใจเลย จึงคิดไดวา โอ เรานี้เปนขี้ขาคนมา
หลายสิบปแลว ไมเทาไหรก็จะตาย”
พระอาจารย“ตรงที่มันขาดวับ ก็คือญาณที่ ๔ นั่นแหละอุทยัพพย
ญาณ เห็นรูปนามเกิดดับจริงๆ ที่พิจารณาวา เรานี้เปนขี้ขาของคนมาหลาย
๓๑๔
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
สิ บ ป นี้ เ ป น ญาณที่ ๓ ยั ง ใช จิ น ตาญาณ ส ว นที่ มั น ขาดวั บ นั่ น ญาณ ๔
สภาวะธรรมที่หลงทาง ก็หลงทางอยูตรงนี”้
การที่ผูปฏิบัติกลาววา ตนไดเห็นพระพุทธเจาพรอมทั้งพระสาวก
สถิตยอยูในอายตนะนิพพาน หรือไดเห็นกายอรูปพรหม กายพระอริยบุคคล
ก็ดี จึงเปนเพียงนิมิตที่เกิดจากสมาธิ ดวยการนึกไป โนมไป เปนเพียงอารมณ
ของสมถะ มิใชอารมณของวิปสสนา เพราะในวิปสสนาญาณ ตั้งแตอุทยัพพย
ญาณอย างแก จนถึงป จ จเวกขณญาณไมมีนิ มิต มีแต รู ป -นามล ว นๆ เป น
อารมณปรมัตถ มิใชอารมณบัญญัติ จึงเปนบทพิสูจนใหเห็นถึงขอแตกตาง
ระหวางอารมณของสมถกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐาน ในสมถกรรมฐาน
มีบัญญัติเปนอารมณ ในวิปสสนากรรมฐานมีปรมัตถเปนอารมณ เรื่องของ
นิ มิ ต เป น เพี ย งผลระดั บ ขั้ น พื้ น ฐานของการเจริ ญ ทั้ ง สมถกรรมฐานและ
วิปสสนากรรมฐาน เปนอุปกิเลสที่เกิดขึ้น หากไมนอมใจพิจารณาใหดีจะเกิด
การหลงไหลหลงทาง เขาใจวาถึงเปาหมายแลว แตแทที่จริงยังหางไกลนัก๑๖

๖. วินิจฉัย : ทองพอง-ยุบไมใชวิปสสนา
การทองวา “พองหนอ-ยุบหนอ” ไมใชวิปสสนา? ถูกตองแลว!
ทองพอง-ยุบ ทองปอง-ทองแฟบ ไมใชวิปสสนา? ถูกตองแลว!
พระพุทธเจาไมเคยสอนวา“พอง-ยุบเปนวิปสสนา”? ถูกตองแลว!
หลวงพอโชดก (พระธรรมธีรราชมหามุนี) อธิบายวา
ถาทองพอง-ทองยุบเปนวิปสสนา? วัว ควาย มันก็มีทองพอง ทอง
ยุบ มันก็ทํากรรมฐานอยูนะซิ เด็กเกิดมาใหมๆ ก็มีทองพอง-ยุบ แตเด็กก็
ไมไดปฏิบัติวิปสสนา!เพราะวิปสสนาเปนชื่อของปญญา เปนปญญาที่เกิดขึ้น
จากการกําหนดพอง-ยุบอีกทีหนึง่ .ถูกตองแลวที่พอง-ยุบไมใชวิปสสนา แต
๑๖
มาลี อาณากุล. "การศึกษาเปรียบเทียบกรรมฐานในคัมภีรพระอภิธัมมัตถ
สังคหะ กับคัมภีรวิสุทธิมรรค และวิธีปฏิบัติกรรมฐานของสํานักวิปสสนาออมนอย กับ
วั ด มหาธาตุ ยุ ว ราชรั ง สฤษฎิ์ " . วิ ท ยานิ พ นธ ป ริ ญ ญาอั ก ษรศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต
สาขาวิชาศาสนาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๙.
๓๑๕
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
เปนอารมณของวิปสสนาได
“แลวจะทําอยางไรพองหนอ-ยุบหนอ จึงจะเปนวิปสสนา?”
วิปสสนาคืออะไร วิ แปลวา แจง ปสสนา แปลวา เห็น เห็นอะไร?
๑) เห็นรูป เห็นนาม ๒) เห็นปจจุบันธรรม ๓) เห็นพระไตรลักษณ
วิปส สนานั้น มีอะไรเป นอารมณ? มีขันธ ๕ คือ รูป กับ นามเป น
อารมณ ไดแก ๑) รูปทองที่พอง-ที่ยุบ นี้เปนรูปขันธ ๒) เวทนาเวลาหายใจ
เขาแลวรูสึกสบาย นี้เปนสุขเวทนา รูสึกไมสบาย นี้เปนทุกขเวทนา รูสึกเฉยๆ
นี้เปนอุเบกขาเวทนา ๓) จําไดวา อาการนี้พองหนอ อาการนี้ยุบหนอ นี้เปน
สัญญาขันธ ๔) อาการแตงใหพองสั้น พองยาว ชัด ไมชัด นี้เปนสังขารขันธ
๕) ใจที่รูแจงอารมณ นี้เปนวิญญาณขันธ
ถามวา กิเลสเกิดที่ไหน เวลาหายใจเขาแลวรูสึกสบายนี้โลภะเกิด
เวลารูสึกไมสบายนี้โทสะเกิด เวลารูสึกเฉยๆ นี้โมหะเกิด ทําอยางไรจึงจะ
ระงับกิเลสได ก็ตองกําหนดรูทันอารมณปจจุบัน เชน ภาวนาวาพองหนอ
แลวทองยังไมพอง นี้ก็ถือวาไมทันปจจุบัน หรือทองพองกอนแลวมาภาวนาที่
หลัง นี้ก็ถือวาใชไมได ตองไปพรอมๆ กัน
ถามวาตรงไหนเปนศีล? ขณะที่กําหนดรูทันอารมณปจจุบันนี้เปน
ศีลในองคมรรค เพราะในขณะที่กําหนดรูพองหนอ-ยุบหนอ นี้กายกรรม ๓
วจีกรรม ๔ บริสุทธิ์
ตรงไหนเปนสมาธิ? ขณะที่กําหนดรูทัน ตั้งสติมั่นอยูที่อารมณ นี้เปน
สมาธิ คือขณะที่กําหนดพองหนอ-ยุบหนอ ใจไมเผลอนี้เปนสมาธิ
ตรงไหนเป น ป ญ ญา? รู รู ป รู น าม รู ส ภาวธรรมที่ กํ า หนด นี้ เ ป น
ปญญา มัชฌิมาปฏิปทา (ทางสายกลาง) กลางอยูที่ไหน? กลางอยูที่การ
กําหนดรูทันอารมณปจจุบัน กลางอยูที่ปจจุบันคือทันกัน ขันธ ๕ เกิดที่ไหน
กิเลสเกิดที่นั้น เมื่อสติกําหนดรูทันแลว นั้นคือมัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลาง
กลางอยูที่ขันธ ๕ ขันธ ๕ เปนสนามรบของกิเลส เมื่อใดไมกําหนดเผลอ
กิเลสมันเขา เมื่อใดที่เรามีสติกิเลสเขาไมได
พระพุทธเจาบอกวา “การเห็นแจงขันธ ๕ โดยความไมเที่ยง เปน
๓๑๖
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ทุกข ไมใชตัวตน เปนวิปสสนา”๑๗ พอง-ยุบเปนอาการของของวาโยธาตุอัน
เปนรูปขันธ แลวการกําหนดพอง-ยุบจะไมเปนวิปสสนาไดอยางไร?

๗. อาการพอง-ยุบเปนธาตุปรมัตถ
นายแพทย ว รวุ ฒิ เจริญศิริ
อธิบายวา “ในการหายใจดวยกระบัง
ลม : กระบังลมเปนกลามเนื้อหลักที่ใช
ในการหายใจ คนที่มีปญหาโรคปอด
มักจะมีรูปแบบการหายใจที่ผิดจากคน
ปกติทั่วไป คือมีแนวโนมที่จะใชกลามเนื้อหนาอก คอและไหลในการหายใจ
ซึ่งจะสิน้ เปลืองแรงมาก และทําใหอาการหอบทุเลาชายิ่งขึ้น หากทานสังเกต
ดูเด็กทารกหรือคนปกติเวลาหลับสนิท จะพบวาทองจะปองออกขณะหายใจ
เขา เพราะวากระบังลมหดตัวลงมา ทําใหกระเพาะอาหารและสําไสถูกดัน
ออกมา ขณะหายใจออก กระบังลมจะคลายตัวกลับขึ้นไปทําใหทองยุบลง
การหายใจดวยกระบังลม จะเปนเชนนี้โดยธรรมชาติ”
ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยจําลอง ดิษยวณิช อธิบายวา
“กระบวนการหายใจ ซึ่ง
เปนกระบวนการตามธรรมชาติ แต
คนส ว นใหญ มั ก เข า ใจไขว เ ขวว า
เมื่ อหายใจเข า ลมหายใจจะผ า น
ปลายจมู ก เข า ไปในปอด แล ว
เคลื่ อนลงไปในทองจึ งส งผลให ทองพอง แต ความจริ งไมเ ปน เช น นั้น การ
หายใจเปนกระบวนการที่เกิดจากการทํางานของกลามเนื้อกระบังลม ทรวง
อก และกระดูกซี่โครง กระบังลมกั้นอยูในระหวางชองทอง โดยอยูดานลาง
ของปอด ตามปกติเมื่อเราหายใจเขา กระบังลมจะหดตัว กดอวัยวะในชอง
ทอง สงผลใหลมในชองทองพองออกมา และเมื่อหายใจออก กระบังลมจะ
๑๗
ดูรายละเอียดใน ม.อุปริ. (ไทย) ๑๔/๓๐๖/๓๗๒.
๓๑๗
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ยืดขึ้น สงผลใหลมในทองยุบลง พรอมกับการดันลมออกมาทางปาก” และ
ไดอธิบายถึงวิธีการกําหนดวา “พองหนอ-ยุบหนอนั้น เปนเพียงคําภาวนา ซึ่ง
เปนอารมณบัญญัติ เพื่อกอใหเกิดสมาธิเทานั้น ไมใชเปนอารมณปรมัต ถ
การกําหนดในใจวา “พองหนอ-ยุบหนอ” จะตองพยายามสังเกตดู “อาการ
พอง-อาการยุ บ” ซึ่งเป น อารมณป รมัต ถ แน น อนในระยะเริ่ มต น มักจะ
กําหนดไดเพียงอารมณบัญญัติกอน ตอไปเมื่อวิริยะ(ความเพียร) สติ (ความ
ระลึกได) สมาธิ (ความสงบและความตั้งมั่นของจิต) และปญญา (ความรูแจง)
พัฒนามากขึ้นๆ ก็จะคอยๆ เห็นอารมณปรมัตถ คือ อาการยุบ-อาการพอง
ชั ด ขึ้ น ๆ เป น ลํ า ดั บ การกํ า หนดอารมณ ข องพองหนอ-ยุ บ หนอ คื อ การ
กําหนดวาโยโผฏฐัพพรูป (รูปตามที่ลมถูกตอง)”๑๘
อาการพอง-ยุ บ เป น ธาตุ ล มที่ อ ยู ใ นท อ ง ซึ่ ง เป น ธาตุ ป รมั ต ถ ๑๙มี
อาการเคลื่อนไหวตึงหยอนไปตามการหดตัวและขยายตัวของกระบังลม ดังที่
พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา “อชฺฌตฺติกา วาโยธาตุ ย อชฺฌตฺต ปจฺจตฺต
วาโย วาโยคต ถมฺภิตตฺต รูปสฺส อชฺฌตฺต อุปาทินฺน เสยฺยถีท อุทฺธงฺคมา
วาตา อโธคมา วาตา กุจฺฉิสยา วาตา โกฏสยา วาตา.”๒๐
วาโยธาตุ ที่ เ ป น ภายใน คื อ ลมพั ด ไปมา ธรรมชาติ ที่ เ คลื่ อ นไหว
เครื่องค้ําจุนรูปภายในตน มีเฉพาะตน ที่กรรมยึดถือซึ่งเปนภายในตน เชน
ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ํา ลมในทอง ลมในไส.
คัมภีรวิสุทธิมรรค อธิบายวา “อิมสฺมึ กาเย ..โย วิตฺถมฺภนภาโว วา
สมุทีรณภาโว อยํ วาโยธาตุ”๒๑ ในรางกายนี้ สิ่งใดทําใหอิริยาบถใหญนอย
เครงตึงตั้งมั่นก็ดี ทําใหเคลื่อนไหวไปมาก็ดี นี้เปน วาโยธาตุ” คัมภีรอรรถ

๑๘
จําลอง ดิษยวณิช, วิปสสนากรรมฐานและเชาวนอารมณ,จ.เชียงใหม : หาง
หุนสวนจํากัด เชียงใหมโรงพิมพแสงศิลป, ๒๕๔๙), หนา ๓๙.
๑๙
ปรมัตถ แปลวา ความเปนจริงอันถองแท อันเปนเนื้อแท เพราะไมมี
ความผิดแผกในความเปนไปอยางอื่น ดูใน ขุ.เถร.อ. (ไทย) ๒/๓/๓/๑๐๕.
๒๐
ม.มู. (บาลี) ๑๒/๓๐๕/๒๖๗, วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๑/๓๘๗.
๒๑
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๑/๓๘๙.
๓๑๘
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
กถาอธิบายวา “วาโยธาตุ ไดแก ธาตุทําหนาที่ใหเคลื่อนไหว”๒๒
คัมภีรอรรถกถาอธิบายลักษณะของธาตุปรมัตถ ไววา “วาโยธาตุ
วิตฺถมฺภนลกฺขณา สมุทีรณรสา อภินีหารปจฺจุปฏานา”.๒๓
สภาวะตึงหยอนของธาตุลมที่เปนโผฏัพพารมณเปนลักษณะพิเศษ
ของวาโยธาตุ (วิตฺถมฺภนลกฺขณา)
การทําใหเคลื่อนไหวจากระยะหนึ่งไปสูอีกระยะหนึ่ง เปนลักษณะ
ของวาโยธาตุ (สมุทีรณรสา)
การผลักดัน เปนอาการของวาโยธาตุ (อภินีหารปจฺจุปฏานา)
นอกจากนี้ อาการพอง-ยุบอันเปนวาโยธาตุในทอง จัดเปนวิปสสนา
ภูมิ คือ เปนรูปขันธ โผฏฐัพพายตนะ โผฏฐัพพธาตุ และ ทุกขสัจในธรรมา
นุป สสนาสติ ปฏ ฐานอีกด วย ทั้งเปน สภาวะทางกายที่ส อดคล องกับ หมวด
อิริยาบถในกายานุปสสนาสติปฏฐาน ดังพระบาลีวา “ยถา ยถา วา ปนสฺส
กาโย ปณิหิโต โหติ,ตถา ตถา นํ ปชานาติ”๒๔ เธอตั้งกายไวดวยกิริยาทาทาง
อยางใดๆ ก็รูชัดกิริยาทาทางอยางนั้นๆทองพองก็รูอาการวา “พอง” ทอง
ยุบก็รูอาการวา “ยุบ”
วิปสสนามีรูป-นามปรมัตถเปนอารมณ
การเจริญวิปสสนาตองกําหนดรูป–นามเปนอารมณ ถาผิดจากการ
กําหนดรูป–นามเสียแลว ก็หาใชวิปสสนาภาวนาไม๒๕ ดังคัมภีรอรรถกถา
อธิบายวา “ภิกษุยอมเห็นขันธ ๕ เปนเพียงรูป-นาม ในรูป-นามนั้น ธรรม
ทั้งหลายมี (วาโยธาตุ) ธาตุเปนตน จัดเปนรูป ธรรมทั้งหลายมีผัสสะเปนตน

๒๒
องฺ.ติก.อ. (ไทย) ๑/๓/-/๒๘๔.
๒๓
อภิ.สงฺ. อ. (บาลี) ๑/๖๕๐/๓๙๑.
๒๔
ที.มหา. (บาลี) ๑๐/๓๕/๒๖๐-๑.
๒๕
วิปสสนาวิญญาณกลับเวียนมาแตอารมณ. ..ไมพนนามรูป อื่นจากนามรูป
ยอมไปไมได. ดูใน ที.ม.อ. (ไทย) ๒/๑/-/๑๓๖.
ผูมีศีลบริสุทธิ์ดี ตั้งมั่นอยูในความสันโดษดวยปจจัย ๔ กําหนดนามรูปพรอม
ปจจัย ฯลฯ บําเพ็ญวิปสสนา. ดูใน ขุ.อุ.อ. (ไทย) ๑/๓/-/๓๕๘.
๓๑๙
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
จัดเปนนาม ขันธ ๕ เปนลักษณะของรูป-นาม อวิชชาเปนตนเปนปจจัยของ
รูป-นาม และดวยอนิจจานุปสสนาเปนตน อยางนี้วา ธรรมทั้งหมด ไมมีแลว
เกิดมี มีแลวเสื่อมไป เพราะฉะนั้น ธรรมทั้งหลายจึงไมเที่ยง เพราะไมเที่ยง
จึงเปนทุกข เพราะเปนทุกข จึงเปนอนัตตา นี้เปนการแสดงวิปสสนาภูมิ”๒๖
รูป ไดแก สิ่งที่ผุกรอนหรือเสื่อมสลายอยูเสมอ ไดแก ประสาท
สัมผัสทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และอารมณที่ถูกรับรูคือ สี เสียง กลิ่น รส
สัมผัสตางๆ คัมภีรอรรถกถาอธิบายวา ธรรมชาติใดยอมแตกสลายเพราะ
ความรอนบาง ความเย็นบาง เหตุนั้น ธรรมชาตินั้นเรียกวา รูป๒๗
นาม คือ สภาวะที่รูอารมณทางใจและความรูสึกนึกคิดตางๆ มี
ลักษณะนอมไปสูอารมณ มีหนาที่ประกอบกับจิตและเจตสิก มีวิญญาณเปน
เหตุใหเกิด ไดแก นามขันธ ๔ คือ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ และ
วิญญาณขันธ คัมภีรอรรถกถาอธิบายวา ธรรมชาติใดยอมรูอารมณ ฉะนั้น
ธรรมชาตินั้น ชื่อวานาม คือ นอมไปสูอารมณ๒๘
เฉพาะการกําหนดรูป ถากําหนดรูปใหญ (รูปที่ยืน เดิน นั่ง นอน)ไม
ไดผล ก็ใหกําหนดรูปละเอียด ไดแกลมหายใจเขา-ออกตรงจุดกระทบ แต
ครั้นนานเขา เมื่อลมละเอียดลง จะปรากฏไมชัดเจน สวนที่บริเวณทองที่มี
อาการพอง–ยุบนั้นกําหนดไดชัดเจนสม่ําเสมอ และแสดงสภาวะเกิด-ดับได
ชัดแจง เพราะเมื่อพองแลวก็ดับไป ยุบจึงเกิด ยุบแลวก็ดับไป พองจึงเกิด
ฉะนั้น รูปที่ลมเคลื่อนไหวถูกตองบริเวณทอง คืออาการพองขึ้นและยุบลง
เหมาะอยางยิ่งแกการตั้งสติกําหนดเพื่อเจริญวิปสสนา
บริเวณทองนั้น พองก็ดี ยุบก็ดี ที่มีอาการเคลื่อนไหวชัดเจนอยูนั้น
เรียกวา “วาโยโผฏฐัพพรูป” การตามรูอยูแตปรมัตถสภาวะของวาโยธาตุที่มี
อาการเคลื่อนไหว จนเห็นแจงอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เปนการเจริญวิปสสนา
ดังพระบาลีวา “รูป ภิกฺขเว โยนิโส มนสิกโรถ รูป านิจฺจตฺจ ยถาภูตํ สม
๒๖
ขุ.อิติ.อ. (ไทย) ๑/๔/-/๓๓๕.
๒๗
ดูใน องฺ.เอก.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๓๓.
๒๘
ดูใน ขุ.ป.อ.(ไทย) ๗/๑/-/๒๔๘.
๓๒๐
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
๒๙
นุ ป สฺ ส ถ ดู กอนภิ กษุทั้งหลาย เธอจงตั้ งสติ กําหนดที่ รู ป อย างแยบคาย
พิจารณาเห็นรูปนั้น วาไมเที่ยงตามความเปนจริง”
อนึ่ง พระพุทธองคทรงเทศนาไวในสังยุตตนิกายวา “โผฏฐพฺเพ
อนิจฺจโต ชานโต ปสฺสโต อวิชฺชา ปหียติ วิชฺชา อุปฺปชฺชติ”๓๐
เมื่ อตั้ งสติ กํ า หนดรู เห็ น โผฏฐั พ พรู ป ว าไมเ ที่ย ง (เป น ทุ กข เป น
อนัตตา) อวิชชายอมหายไป วิชชาญาณยอมปรากฏ”
พระโสภณมหาเถระอธิบายวา “อถวา ปน นิสินฺนสฺส โยคิโน อุทเร
อสฺ ส าสปสฺ ส าสปจฺ จ ยา ปวตฺ ตํ วาโยโผฏ ฐ พฺพรู ป อุนฺ น มนโอนมนากาเรน
นิ ร นฺ ต รํ ปากฏํ โหติ ตมฺป อุ ป นิ สฺ ส าย อุ นฺ น มติ โอนมตี ติ อาทิ น า สลฺ ล กฺ
เขตพฺพํ” เมื่อโยคีนั่งภาวนา ในบริเวณทองนั้น วาโยโผฏฐัพพรูปที่มีลม
หายใจเขาออกเปนปจจัย ยอมปรากฏชัดเจนอยูเสมอ ในขณะนั้นพึงตั้งสติ
กําหนดวา พองหนอ-ยุบหนอ, พองหนอ- ยุบหนอ ดังนี้๓๑
อนึ่ง พระศาสดาทรงเทศนาไวในมหาสติปฏฐานสูตรวา
“ยถา ยถา วา ปนสฺส กาโย ปณิหิโต โหติ ตถา ตถา นํ ปชานาติ”๓๒
รางกายของโยคีบุคคลนั้นตั้งอยูในอาการใดๆ ก็ตามตั้งสติกําหนดรูอาการ
นั้นๆ คือ รางกายนี้เปนไปอยางไร ก็ตั้งสติกําหนดรูไปอยางนั้น เดินอยูก็ตั้ง
สติกําหนดวา ซายยางหนอ ขวายางหนอ ถายืนอยูก็ดี นั่งอยูก็ดี นอนอยูก็ดี
ก็ตั้งสติกําหนดรูวา ยืนหนอ นั่งหนอ นอนหนอ ตามอาการที่ดํารงอยูอยาง
นั้น ถามีอาการทองพองอยู-ยุบอยู ก็ตั้งสติกําหนดรูอาการวา พองหนอ ยุบ
หนอ ตามอาการที่ตั้งอยูอยางนั้น เหลานี้ถาไมกําหนดก็จะเขาใจผิด ยึดถือวา
เป น ของเที่ ย ง เป น สุ ข เป น ตั ว เป น ตน ถ ากํ า หนดก็ ไ ด เ ห็ น อนิ จ จั ง ทุ ก ขั ง
อนัตตา อันเปนอาการของรูป–นามตามความเปนจริง

๒๙
สํ.ข.(บาลี)๑๗/๑๐๔/๖๔
๓๐
สํ.สฬ. (บาลี)๑๘/๕๓/๒๘
๓๑
ดร.ภัททันตะ อาสภมหาเถระ อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ, วิปสสนาทีปนี
ฎีกา : พิมพครั้งที่ ๙ สํานักพิมพเลี่ยงเซียง เขตทุงครุ กรุงเทพฯ.
๓๒
ที.ม.(ไทย) ๑๐/๓๗๕/๒๔๙ , ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๐๘/๗๙
๓๒๑
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔

๘. กําหนดพอง-ยุบเปนวาโยธาตุกรรมฐาน
การกําหนดรูลักษณะอาการของธาตุ ๔ คือ
๑. ธาตุดิน (ปฐวีธาตุ) มีลักษณะแข็งและออน
๒. ธาตุน้ํา (อาโปธาตุ) มีลักษณะไหลและเกาะกุม
๓. ธาตุไฟ (เตโชธาตุ) มีลักษณะรอนและเย็น
๔. ธาตุลม (วาโยธาตุ) มีลักษณะเคลื่อนไหวและหยอนตึง
ธาตุที่เห็นอาการไดงาย คือธาตุลม เพราะมีลักษณะเคลื่อนไหว และ
เมื่อกําหนดไดชัดเจนแลว จะรูลักษณะเฉพาะของธาตุอื่นๆ ไปดวย ดวยเหตุ
นี้บางคนจึงเรียกกรรมฐานแบบนี้ วา “วาโยธาตุกรรมฐาน” ๓๓ ดังพระพุทธ
องคไดตรัสไววา
ภิกษุยอมพิจารณาเห็นกาย ซึ่งตั้งอยูตามที่ตั้งอยูตามปกติ โดยความ
เปนธาตุวา มีอยูในกายนี้
ภิกษุ ยอมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบาง เฝาตามดูกายใน
กายภายนอกอยูบาง เฝาตามดูกายในกายภายในหรือภายนอกอยูบาง ดวย
ประการฉะนี้ หรือเฝาตามดูสิ่งที่เกิดขึ้นในกายอยูบาง เฝาตามดูสิ่งที่ดับไปใน
กายอยูบาง เฝาตามดูสิ่งที่เกิด-ดับในกายอยูบาง
ภิกษุนั้นเขาไปตั้งสติอยูวา กายมีอยู เพียงเพื่อรูเทานั้น เพียงเพื่อ
ระลึกรูเทานั้น ตัณหาและทิฏฐิอาศัยไมได ทั้งไมยึดถืออะไรในโลก๓๔
สภาวะอาการพอง-ยุบนั้นเปนหนึ่งในลม ๖ ประเภท คือ
๑. ธาตุลมที่พัดขึ้นสูเบื้องบน (อุทธังคมวาโย) ทําใหเกิดอาการเรอ
คลื่นไส อาเจียน หนามืด ตาลาย ปวดศีรษะและความดันโลหิตสูง
๒. ธาตุลมที่พัดลงเบื้องลาง (อโธคมวาโย) ทําใหเกิดอาการผายลม
การถายอุจจาระปสสาวะและการคลอดบุตร
๓๓
จํา ลอง ดิ ษยวณิช , วิ ปส สนากรรมฐานและเชาวน อ ารมณ ฉบั บ
ปรับปรุง,(เชียงใหม:หางหุนสวนจํากัด เชียงใหมโรงพิมพแสงศิลป, หนา ๕๒-๕๔.
๓๔
ม.มู. (บาลี) ๑๒/๑๓๗/๑๐๖.
๓๒๒
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
๓. ธาตุลมที่อยูในชองทอง (กุจฉิสยวาโย) ทําใหเกิดอาการพองและ
อาการยุบของทอง
๔. ธาตุลมที่อยูในลําไส (โกฏฐาสยวาโย) ทําใหเกิดกาซและอาการ
แนน อึดอัดในทอง เชน ทองอึด แนนทอง ทองเฟอ เปนตน
๕. ธาตุลมที่แลนไปทั่วรางกาย (อังคมังคานุสารีวาโย) ทําใหเกิดการ
เคลื่อนไหวสวนตางๆ ของรางกาย เชน ยืน นั่ง กม เงย เปนตน
๖. ธาตุลมหายใจเขาออก (อัสสาสปสสาสวาโย) คือ ลมหายใจ
เขาออก ธาตุลมชนิดนี้ใชเปนอารมณกําหนดในอานาปานสติ๓๕
หลายคนคัด คานการปฏิบั ติตามแนวนี้ วา “พอง-ยุ บไมปรากฏใน
พระไตรปฎก” แตความจริงแลวพอง-ยุบจัดเปนธาตุลม โดยเปนลมในทอง
เรียกวา กุจฉิสยวาโย ดังนั้น วิธีปฎิบัติโดยการกําหนดอาการทอง-พอง-ยุบ
จึงเปนวิธีที่ถูกตอง เพราะเปนธรรมชาติที่มีอยูจริง และในการกําหนดครั้ง
หนึ่งๆ นั้นตองประกอบดวยความเพียร ความรูชัด ระลึกรูเทาทันปจจุบัน
และเปนการปฏิบัติศีล สมาธิ ปญญา เพราะจิตที่คอยระมัดระวังในอาการ
พอง-อาการยุ บ เป น ศี ล จิ ต ที่แนบแน น อยู กับ อาการพอง-อาการยุ บ เป น
สมาธิ การเขาไปรูแจงเกิด-ดับ เปนปญญา.
๙. กําหนดพอง-ยุบเจริญวิปสสนา
ปญญาที่พอกพูนขึ้นด วยธรรมอันเปนฝกฝายแห งการตรัสรู (โพธิ
ปกขิยธรรม ๓๗ ประการ) จนเห็นแจงความเปนจริงของรูป-นาม ทําใหมรรค
มีองค ๘ สมบูรณ ดังที่พระพุทธเจาตรัสวา
“ภิกษุ เมื่อรูวาจิตเปนเอกัคคตารมณ ไมฟุงซาน ดวยการกําหนด
กายในกาย ..ยอมทําอินทรียทั้งหลายใหสมบูรณ รูชัดโคจร๓๖ และรูแจงธรรม
อัน มี ความสงบเป น ประโยชน ย อมทํ าพละทั้ง หลายให ส มบู ร ณ . .ย อ มทํ า
๓๕
วิปสสนากรรมฐานและเชาวนอารมณ ฉบับปรับปรุง, จําลอง ดิษยวณิช.
เชียงใหม: พิมพที่เชียงใหมโรงพิมพแสงศิลป, ๒๕๔๙: หนา ๕๑.
๓๖
รูชัดโคจร คือ รูจักอารมณอันเปนรูป-นาม คือ ขันธ ๕ นั่นเอง
๓๒๓
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
โพชฌงค ทั้ ง หลายให ส มบู ร ณ . ..ย อ มทํ า มรรคให ส มบู ร ณ . .ย อ มทํ า ธรรม
ทั้งหลายใหสมบูรณ”๓๗
พระสารีบุตรเถระอธิบายวา “ยอมทําอินทรียทั้งหลายใหสมบูรณ
คือ ทําสัทธินทรียทั้งหลายใหสมบูรณดวยการนอมใจเชื่อ ทําวิริยินทรียให
สมบูรณดวยการประคองจิตไว ทําสตินทรียใหสมบูรณดวยการเขาไปตั้งไวใน
อารมณ ทําสมาธิน ทรีย ใหสมบูรณดวยความไมฟุงซาน ทําปญญินทรียให
สมบูรณดวยความเห็นแจง
บทว า ย อ มทํ า พละทั้ ง หลายให ส มบู ร ณ คื อ ทํ า สั ท ธาพละให
สมบูรณดวยความไมหวั่นไหวในความไมมีศรัทธา ทําวิริยพละใหสมบูรณดวย
ความไมห วั่น ไหวในความเกีย จคราน ทําสติ พละใหส มบู รณดว ยความไม
หวั่นไหวในความประมาท ทําสมาธิพละใหสมบูรณดวยความ ไมหวั่นไหวใน
ความฟุงซาน ทําปญญาพละใหสมบูรณดวยความไมหวั่นไหวในความไมรูชัด
บทวา ยอมทําโพชฌงคทั้งหลายใหสมบูรณ คือ ทําสติสัมโพชฌงค
ใหสมบูรณดวยความเขาไปตั้งไว ทําธรรมวิจยสัมโพชฌงคใหสมบูรณดวย
ความเลือกเฟน ทําวิริยสัมโพชฌงคใหสมบูรณดวยความประคองไว ทํา
ปติสัมโพชฌงคใหสมบูรณดวยความแผซานไป ทําปสสัทธิใหสมบูรณดวย
ความสงบ ทําสมาธิสัมโพชฌงคใหสมบูรณดวยความไมฟุงซาน ทําอุเบกขา-
สัมโพชฌงคใหสมบูรณดวยความเพงพิจารณา
บทวา ยอมทํามรรคใหสมบูรณ คือ ทําสัมมาทิฏฐิใหสมบูรณดวย
ความเห็นถูก ทําสัมมาสังกัปปะใหสมบูรณดวยความยกขึ้นสูอารมณ ทํา
สัมมาวาจาใหสมบูรณดวยการกําหนด๓๘ ทําสัมมากัมมันตะใหสมบูรณ ดวย
ความใหเกิดขึ้น ทําสัมมาอาชีวะใหสมบูรณดวยความผองแผว ทํา

๓๗
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๑๖๘/๑๙๓.
๓๘
“มนสา สชฺฌาโย ลกฺขณปฏิเวธสฺส ปจฺจโย โหติ. ลกฺขณปฏิเวโธ มคฺคผล-
ปฏิเวธสฺส ปจฺจโย โหติ.” (อภิ.วิ.อ. (บาลี) ๒/๒๔๓, วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๑/๒๖๕.)
๓๒๔
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
สัมมาวายามะใหสมบูรณดวยความประคองไว ทําสัมมาสติใหสมบูรณดวย
ความเขาไปตั้งไว ทําสัมมาสมาธิ..ดวยความไมฟุงซาน๓๙
บทวา ยอมทําธรรมทั้งหลาย (โพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ๔๐) ให
สมบูรณ คือ ทําอินทรียใหสมบูรณดวยความเปนใหญ ฯลฯ ทําสีลวิสุทธิให
สมบูรณดวยความสํารวม ทําจิตตวิสุทธิใหสมบูรณดวยความไมฟุงซาน ทํา
ทิฏฐิวิสุทธิใหสมบูรณดวยความเห็นถูก ทําวิโมกขใหสมบูรณดวยความหลุด
พน ทําวิชชาใหสมบูรณดวยความแทงตลอด ทําวิมุตติใหสมบูรณดวยความ
สละรอบ ทําญาณในความสิ้นไปใหสมบูรณดวยความตัดขาด ฯลฯ ทํา
วิมุตติใหสมบูรณดวยความเปนสาระ ทํานิพพานอันหยั่งลงในอมตะ ให
สมบูรณดวยความเปนที่สุดแหงทุกข”๔๑
สรุปวา วิปสสนา คือ ปญญาเห็นความไมเที่ยง เห็นความบีบคั้น
คงทนสภาพอยู ไ ม ไ ด เห็ น ความไม ใ ช ตั ว ตนในทุ ก ๆ รู ป -นามที่ รั บ รู ด ว ย
สัมมาสติ เมื่อเห็น ครั้งแลวครั้งเลาในทุกๆ อาการของรูป-นาม อินทรีย ๕
ส ง เสริ ม ให ป ญญาญาณแกก ล า ขึ้ น ตามลํ า ดั บ เข าสู ค วามเป น “วิ ป ส สนา
ญาณ”
แลว! การเพงรูไปในอาการพอง-อาการยุบ อาการคิด อาการเจ็บ
อาการปวด จนเห็นอาการเปลี่ยนแปลงตั้งแตตนพอง กลางพอง สุดพอง แลว
ดับหายไป ตั้งแตตนยุบ กลางยุบ สุดยุบ แลวดับหายไป เห็นความบีบคั้นใน
อาการพอง-ยุบที่คงสภาพเดิมอยูไมได เห็นอาการที่เกิด-ดับเคลื่อนไหวของ
พอง-ยุบ ที่เปนไปตามลักษณะอาการของวาโยธาตุ ไมใชเกิดขึ้นตามความ
ตองการของใครผูใดผูหนึ่ง จะไปยึดวาใหพองอยูตลอดเวลาก็ไมได จะไปยึด
วาใหยุบอยูตลอดเวลาก็ไมได จะยึดวาใหพอง-ยุบชัดอยูตลอดเวลาก็ไมได
จะยึดใหพอง-ยุบเปนอยางนั้นอยางนี้ตามที่ใจตองการ ก็ไมได การเห็นพอง-
ยุบเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาเชนนี้ จัดเปนการเจริญวิปสสนา
๓๙
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๖๘/๒๖๑.
๔๐
ธรรมอันเปนฝกฝายแหงการตรัสรู ดูใน ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๕๐/๑๗๔.
๔๑
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๑๖๘/๑๙๔.
๓๒๕
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔

๑๐. กําหนดรูพอง-ยุบเจริญสติปฏฐาน ๔
ปมาทํ สรติ หึสตีติ สติ. สติ แปลวา ความระลึกรูอารมณ ทําหนาที่
กําจัดความประมาท๔๒ เปนธรรมเครื่องปดกั้นกระแสกิเลสตัณหา๔๓
สติยา ปฏานํ สติปฏานํ.๔๔ ธรรมเปนที่ตั้งแหงการระลึกรูอารมณ
๔ ประการ คือ กาย เวทนา จิต ธรรม องคธรรมไดแก สติเจตสิก๔๕
ผู เ จริ ญ สติ ป ฏ ฐาน ๔ เท านั้ น จึ งจะทํ าองค แห งการตรั ส รู พร อมทั้ ง
ความรูแจงความหลุดพนใหบริบูรณได ดังพระพุทธพจนวา “สติปฏฐาน ๔ ที่
บริบูรณยอมทําใหโพชฌงค ๗ บริบูรณ โพชฌงค ๗ ที่บริบูรณ ยอมทําให
วิชชาและวิมุตติบริบูรณ”๔๖
สติปฏฐาน แปลวา ธรรมเปนที่ตั้งแหงการเจริญสติระลึกรูอารมณ
๔ ประการ๔๗คือ กายเวทนา จิต ธรรม๔๘หรือการปฏิบัติมีสติเปนประธาน
องคธรรมไดแก สติเจตสิก๔๙สาระสําคัญของสติปฏฐาน พระพุทธองคทรง
ตรัส วา “ภิกษุทั้งหลาย ทางนี้เ ปน ทางสายเดีย ว เปน ทางสายเอก เพื่อ
ความบริสุท ธิ์ของเหลาสัต วเ พื่อลว งโสกะและปริเ ทวะ เพื่อ ดับ ทุกขแ ละ
โทมนัส เพื่อบรรลุอริย มรรค เพื่อทําใหแจงนิพ พาน ทางสายนี้คือสติปฏ
ฐาน ๔ ไดแก ๑) กายานุปสสนาสติปฏฐาน ๒) เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน
๓) จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ๔) ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน”
ผูเจริญสติปฏฐาน ๔ เทานั้นจึงจะทําองคแหงการตรัสรู พรอมทั้ง
ความรูแจง และความหลุด พนใหบริบูรณได ดังพระพุทธพจนวา “สติปฏ
๔๒
ดูรายละเอียดใน ขุ.ม.อ. (ไทย) ๕/๑/-/๑๐๗.
๔๓
ดูรายละเอียดใน ขุ.จู. (ไทย) ๓๐/๕/๕๕.
๔๔
ที.ม.ฏีกา (บาลี) ๓/๗๓๓๕๗.
๔๕
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ,ปรมัตถโชติกะปริจเฉทที่ ๗.หนา ๑๓๑.
๔๖
องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๖๑/๑๓๖.
๔๗
ที.ม.อ. ๒/๓๖๗-๖๘.
๔๘
สํ.ส.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๑๓๐.
๔๙
พระสัทธัมมโชติกะธัมมาจริยะ,ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที,่ หนา ๑๓๑
๓๒๖
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ฐาน ๔ ที่บ ริบ ูร ณแ ลว ยอ มทํา ใหโ พชฌงค ๗ บริบ ูร ณ โพชฌงค ๗ ที่
บริบูรณแลว ยอมทําใหวิชชาและวิมุตติบริบูรณ”๕๐
การเจริญสติปฏฐาน คือ การตั้งสติระลึกรูอารมณที่มากระทบทาง
ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (ขันธ ๕) รูไปตามอาการที่เห็น ตามที่ไดยิน ที่ได
กลิ่น ที่ไดสัมผัส ที่ไดนึก ที่ไดรูสึก ที่ไดรับรู ไมตัดสิน ดี-ชั่ว ชอบหรือไมชอบ
คือ ระลึกรูดวยสติอยางจดจอตอเนื่องในอาการใดๆ ตามลักษณะอาการของ
อารมณนั้นๆ ไมใชรูตามความรูสึกของเราผูเขาไปรู
เชนนั้น! การเจริญสติตามรูอาการพอง-อาการยุบอันเปนลักษณะ
ของกุจฉิวิสยวาโยธาตุ เปนการเจริญสติปฏฐานไดหรือไม? ..มีวินิจฉัยดังนี้
๑) อาการพอง-ยุบของทองที่มีลักษณะตึง-หยอน เคลื่อนไหวไปมา
จากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งเปนลักษณะของวาโยธาตุ การกําหนดจดจออยูที่
อาการพอง-ยุบ จนเห็นอาการดับหายไป เปนการเจริญธาตุมนสิการปพพะ
นอกจากนี้ ยังเปนการกําหนดความเคลื่อนไหวของลมที่ดันทองออกมา และ
หดยุบลง จึงเทากับเปนการกําหนดในสวนของสัมปชัญญปพพะอีกดวย
อนึ่ง ขณะนั่งภาวนาหรือเดินจงกรม หากเสียงแทรกเขามาชัดเจนก็
ใหรูอาการไดยินนั้น พรอมกับกําหนดวา “ไดยินหนอๆ” ลมพัดมาถูกที่ผิว
กายกําหนดวา “ถูกหนอๆ” หรือ “เย็นหนอๆ”จนอาการดับไป สติกําหนดรู
อาการตึง-หยอน อาการกระทบ เย็น รอน ออน แข็ง ฯลฯ ขณะลุก ขณะ
กราบ ขณะเคี้ยว นี้เปนการเจริญกายานุปสสนาสติปฏฐาน
๒) ในขณะกําหนดพอง-ยุบอยูนั้น หากมีมดหรือยุงกัด รูสึกเจ็บ สง
จิตไปกําหนดอาการนั้น “เจ็บหนอๆ” จนกวาจะดับไป นั่งนานปวดหลังปวด
ขา กําหนด “ปวดหนอๆ” (เพียงเพื่อรูอาการไมใชเพื่อใหหาย) เมื่อสภาวะ
ญาณสูงขึ้นรูสึกเบาสบาย กําหนด “สบายหนอๆ” เกิดปติปราโมทยกําหนด
“รูหนอๆ” นี้เปนการเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน
๓) ในขณะกําหนดพอง-ยุบอยูนั้น หากเกิดความคิดขึ้น ถาคิดโกรธ
กําหนดวา “โกรธหนอๆ” คิดเรื่องราคะ กําหนดวา “ราคะหนอๆ” ถา

๕๐
องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๖๑/๑๓๖.
๓๒๗
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ความคิดนั้นปรากฏเฉยๆ ไมอาจจําแนกเปนราคะ โทสะ โมหะได กําหนด
เพียงวา “คิดหนอๆ” จนเห็นอาการจางหายดับไป ของอาการนั้น นี้เปนการ
เจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน
๔) ในขณะกําหนดพอง-ยุบอยูนั้น เผลอบอยรูสึกหงุดหงิด กําหนด
อาการวา “หงุดหงิดหนอๆ” งวงซึมกําหนดอาการวา “ ซึมหนอๆ” หรือมีสิ่ง
มารบกวนรูสึกรําคาญ กําหนดอาการวา “รําคาญหนอๆ” ขณะกําหนดพอง-
ยุบอยูนั้น รูความเปนไปของธาตุ หรือรูอาการปติ สุข เยือกเย็น กําหนดตรง
อาการรู วา “รูหนอๆ” เมื่อญาณสูงขึ้นสภาวธรรมละเอียดนิ่มนวล เบาบาง
ก็กําหนดวา “รูหนอๆ” หรือ “รูๆๆๆๆ” จนกวาอารมณทั้งรูปทั้งนามดับไป
หมดสิ้น อยางสิ้นเชื้อ (เชื้อที่ทําใหตองเกิดรูป-นามในภพใหมอีก) นี้เปนการ
เจริญธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน
๑๑. อริยสัจ ๔ ในการกําหนดรูพอง-ยุบ
การเจริญสติปฏฐาน๕๑กําหนดรูอาการพอง-ยุบวินิจฉัย ดังนี้
สติกําหนดรูอาการ พอง-ยุบ เปนอารมณเปนทุกขสัจ
ตัณหาที่มีในกอน อันยังสติกําหนดรูอาการ พอง – ยุบ เปนอารมณ
นั้นใหตั้งขึ้น เปนสมุทัยสัจ
การหยุดทุกขสัจ และสมุทัยสัจทั้งสอง เปนนิโรธสัจ
อริยมรรคที่กําหนดรูทุกขละสมุทัยสัจมีนิโรธเปนอารมณเปนมรรคสัจ
ภิกษุโยคาวจร ขวนขวายโดยทางสัจจะ ๔ อยางนี้ ยอมบรรลุนิพพาน
ดับทุกขไดแล๕๒ซึ่งเปนการแสดงเรียงลําดับ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค เปนการ
ดับลงทีละขณะของการกําหนดรูจัดเปน ตทังคนิโรธ โดยขณะกําหนดรูอาการ
พอง – ยุบ มีองค ๘ ของอริยมรรคอยูครบถวน ไดแก
เมื่อจะแยกใหละเอียดลงไปยิ่งกวานั้น ขณะเจริญภาวนากําหนดรู
อาการพอง-อาการยุบอยูนั้น องคมรรค ๘ ประการมีอยูพรอม๕๓ คือ
๕๑
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๒/๓๐๑
๕๒
ที.ม.อ.(ไทย)๑๔/๓๐๐/๓๑๖.
๕๓
ดูอธิบายใน ที.สี.อ. (ไทย) ๑/๒/-/๑๐๙, ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๑๑๒.
๓๒๘
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
๑. ขณะทองพอง-ยุบ มีปญญาเห็นชัดในอาการนั้น โดยความเปน
รูป สวนจิตที่รูพอง-ยุบเปนนาม ซึ่งเกิด-ดับตามเหตุปจจัย จัดเปนสัมมาทิฏฐิ
๒. เมื่อมีอาการพอง-ยุบ ปรากฏกอยูที่ทอง ดําริยกจิตขึ้นสูอารมณ
สงไปกําหนดรูอาการพอง-ยุบนั้น ใหประจักษ จัดเปนสัมมาสังกัปปะ
๓. กําหนดรูอาการพอง-ยุบ ตามลักษณะอาการ ดวยการนอมจิต
พรอมกับบริกรรมภาวนาวา “พองหนอ”-“ยุบหนอ” จัดเปนสัมมาวาจา๕๔
๔. กําหนดรูทุกครั้งที่เห็นอาการพอง กําหนดรูทุกครั้งที่เห็นอาการ
ยุบ กําหนด “คิดหนอ” ทุกครั้งที่เห็นอาการคิด ฯลฯ จัดเปนสัมมากัมมันตะ
๕. เมื่อกําหนดอยางจดจอตอเนื่อง กายยอมผองแผว จิตยอมผองใส
ชวยใหสติจับอารมณไดถูกตรงตามความเปนจริง ยิ่งขึ้น จัดเปนสัมมาอาชีวะ
๖. การประคับประคองจิตใหระลึกรูอยูแตอารมณปจจุบันที่ปรากฏ
ไมปลอยใจใหหลงใหลไปตามอารมณอดีตหรืออนาคต จัดเปนสัมมาวายามะ
๗. การเขาไปตั้งความระลึกรูอยางจดจอตอเนื่อง ไวในอารมณรูป-
นามปจจุบัน ที่เปลี่ยนแปลงเกิด-ดับไปตามเหตุปจจัย จัดเปนสัมมาสติ
๘. ความไมฟุงซาน จิตตั้งมั่นในอารมณปจจุบันดวยอํานาจอุเบกขา-
สัมโพชฌงค เปนพื้นฐานในการเจริญสัมมาทิฏฐิในระดับวิปสสนาญาณตอไป
จัดเปนสัมมาสมาธิ๕๕
สรุปความสําคัญ สภาวะพอง-ยุบ จัดเปนธาตุกรรมฐาน โดยพอง-
ยุบ เปนลมในทองที่ดันใหพองออกและหดยุบลง มีลักษณะตึงบาง หยอน
บาง เคลื่อนไหวไปมาจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง การกําหนด “พองหนอ-ยุบ
หนอ” จึ ง เป น การสั ง เกตวาโยโผฏฐั พ พรู ป ด ว ยโยนิ โ สมนสิ ก าร อั น
ประกอบด ว ยอาตาป ห รื อวิ ริ ย ะ (ความเพี ย ร) สติ (ความระลึ กได ) สมาธิ
(ความตั้ ง มั่น แห ง จิ ต ) และสั ม ปชั ญญะ (ความรู ตั ว ทั่ ว พร อม) บางครั้ ง ไม
สม่ําเสมอบางครั้งมีความเจ็บปวด ความโกรธ ดีใจ เสียใจ นึกคิด ฟุงซาน

๕๔
“การสาธยายทางจิต เปนปจจัยแกการแทงตลอดไตรลักษณ การแทงตลอด
ไตรลักษณ เปนปจจัยแกการแทงตลอดมรรค ผล” ดูใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๑/๒๖๕.
๕๕
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๑๓๖/๑๗๖, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๖๘/๒๖๑.
๓๒๙
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ราคะมานะ ทิฐิ เขามาปะปน หากกําหนดรูสภาวะอยางถูกวิธี สภาวะอาการ
เหลานั้นก็จะเขาถึงความดับสิ้นไปอยางสิ้นเชิง มีหลักฐานยืนยันวาเปนคํา
สอนของพระพุทธองคที่ต รัส ไว ในมหาสติ ปฏฐานสูต ร เมื่อพลั งของป จจั ย
ดังกลาวแกกลาพอเพียงแลวผูปฏิบัติ (โยคี) จะเห็นความไมเที่ยง ความเปน
ทุกขและความไมใชตัวตนของรูปธรรมและนามธรรม มีสัมมาทิฏฐิและวิชชา
ญาณเกิดขึ้น จนสามารถบรรลุมรรค ผล นิพพานไดในที่สุด

๑๒. สัมมัปปธาน ๔ ในการกําหนดรูพอง-ยุบ


การเจริ ญสติป ฏ ฐาน ๔ มีองคป ระกอบสํ าคัญในการปฏิบั ติ ๓
ประการ ดังพระบาลีวา “อาตาป สมฺปชาโน สติมา”๕๖ มีความเพียร รูพรอม
อยางมีสติ ไดแก สัมมาวายามะ สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสติ๕๗
ขณะที่โยคีบุคคลกําลังเพียรพยายามตั้งใจกําหนดพอง-ยุบอยางจด
จอ มีความใสใจกําหนดสภาวะตางๆ อยางถี่ถวนอยูนั้น เปนการทําหนาที่
ของอาตาป อันเปนสัมมาวายามะในองคมรรค คือ วิริยเจตสิก เรียกวา เจริญ
สัมมัปปธาน ๔ ประการ๕๘ คือ
๑. สังวรปธาน เพียรระวังไมใหบาปเกิดขึ้นในขันธสันดาน ในขณะ
กําหนดพอง-ยุบอยูนั้น กําหนดตามความเปนจริงโดยความเปนรูป-เปนนาม
สติไมเผลอจากรูป-นาม ขณะนั้นศีล สมาธิ ปญญาก็มีพรอม
ศีลกําจัดกิเ ลสหยาบๆ (วีติ กกมกิเลส) ที่ล วงออกมาทางกายหรื อ
วาจา สมาธิกําจัดกิเลสอยางกลางที่จะลวงออกมาทางใจ ไดแกนิวรณ ๕
(ปริยุฏฐานกิเลส) ปญญากําจัดกิเลสอยางละเอียดที่นอนเนื่องอยูในขันธ
สันดาน (อนุสัยกิเลส) ตรงที่รูพอง-รูยุบนั้นนั่นแหละเปนสังวรปธาน เพราะ
ขณะนั้น ความโลภ ความโกรธ ความหลงไมเกิด

๕๖
ที.ม. (บาลี)๑๐/๓๗๓/๒๔๘, ม.มู. (บาลี) ๑๒/๑๐๖/๗๗.
๕๗
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๒๕๘-๒๗๘/๑๘๑-๑๘๖.
๕๘
ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๖๗๑. ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๔๙๑.
๓๓๐
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
๒. ปหานปธาน เพียรละวิตกทั้ง ๓ คือ กามวิตก (คิดหมกมุนใน
กาม) พยาบาทวิตก (คิดปองราย) วิหิงสาวิตก (คิด เบียดเบียน) ในขณะที่
เจริญสติกําหนดพอง-ยุบ อยูนั้ น วิ ตกทั้ง ๓ ไมเ กิดขึ้น เพราะสติ เปน ธรรม
เครื่ องป ด กั้น อกุศลวิ ต กทั้ง ๓ นั้ น ๕๙ กุศลกับ อกุศลเกิด ขึ้น พร อมกั น ไมไ ด
อุปมาเหมือนสวางกับความมืด ฉะนั้น เพราะเหตุนั้น ขณะกําหนดพอง-ยุบ
จึงเปนความเพียรละอกุศลวิตกไปในตัว
๓. ภาวนาปธาน เพี ย รบํ า เพ็ญ โพชฌงค ๗ ให เ กิ ด ขึ้ น ในขณะ
กําหนดพอง-ยุบอยูนั้น สติกําหนดรูพอง-รูยุบ จัดเปนสติสัมโพชฌงค การ
พิจารณาใครครวญพอง-ยุบ จัดเปนธัมมวิจยสัมโพชฌงค ความตั้งใจ กําหนด
พอง-ยุ บ จั ด เป น วิ ริ ย สั มโพชฌงค ความเอิบ อิ่มไมกระวนกระวาย จั ด เป น
ปติ สัมโพชฌงค ความสงบใจ จั ด เป นป ส สัทธิ สัมโพชฌงค ใจตั้ งมั่น อยู กับ
พอง-ยุบ จัดเปนสมาธิ สัมโพชฌงค จิต เพงรูจนเห็น แจงในอาการพอง-ยุ บ
จัดเปนอุเปกขาสัมโพชฌงค ในขณะที่บําเพ็ญโพชฌงคอยูนั้น วิเวกทั้ง ๓ คือ
กายวิ เ วก จิ ต ตวิ เ วกและอุ ป ธิ วิ เ วก ก็ มี พ ร อ ม น อ มไปสู ก ารสละกิ เ ลส
เพราะฉะนั้น ในขณะกําหนดพอง-ยุบอยูนั้น จึงเปนภาวนาปธาน
๔. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษาวิปสสนากุศลที่
เกิดขึ้นแลวใหคงอยู และพอกพูนใหมีมากขึ้น ดวยการ
หมั่นระลึกรูรูปนามอยูเนืองๆ ในขณะกําหนดพอง-ยุบอยู
นั้น ศีลก็มี สมาธิก็มี ปญญาก็มี กายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ มี
อยู บริ บูร ณในขณะนั้ น จัด เป น ศีล จิ ตตั้ งมั่นในอารมณ ไมฟุงซาน จั ดเป น
สมาธิ เห็นรูป-นามโดยความเปนพระไตรลักษณ จัดเปนปญญา ชื่อวาตาม
รั ก ษาใจให ตั้ ง มั่ น อยู ใ นศี ล สมาธิ ป ญ ญาอย า งแท จ ริ ง ตรงนี้ แ หละเป น
มัชฌิมาปฏิปทา เปนทางสายกลางอยางแทจริง จัดเปนอนุรักขนาปธาน คือ
เพียรตามรักษาไตรสิกขาอยางถูกตอง๖๐

๕๙
ดูรายละเอียดใน ขุ.จู. (ไทย) ๓๐/๕/๕๕.
๖๐
ดูรายละเอียดใน องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๓๕/๖๙/๒๑๙-๒๒๐.
๓๓๑
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔

๑๓. โพชฌงค ๗ ในการกําหนดรูพอง-ยุบ


จิตเปนปจจัยใหเกิดและใหรูอาการพอง-ยุบ ในการเกิดของอาการ
พอง-ยุบและอิริยาบถนอยใหญนั้น ตองอาศัยเวลา สถานที่ และอัธยาศัยของ
แตละบุคคล ปรากฏเปนความพรอมมูลแหงองคตรัสรู ดังตอไปนี้
๑. สติสัมโพชฌงค การกําหนดอาการพอง-อาการยุ บครั้งหนึ่งๆ
เกิดสติรูถึงอาการพองและยุบไดชัด ไมชัด ชาหรือเร็ว เปนตน
เบื้องแรก สติของเราไมอาจรับรูสภาวธรรมไดทันปจจุบัน ผูปฏิบัติ
บางทานมักใสใจตอคําบริกรรมวา “พองหนอ-ยุบหนอ” โดยไมรูถึงสภาวะ
ตึง-หยอนของทองอยางชัดเจน ทําใหไมประสบความกาวหนาในการปฏิบัติ
อันที่จริงคําบริกรรมเปนเพียงเครื่องชวยในการปฏิบัติ เหมือนหวงยางที่ชวย
ในการวายน้ํา พยุงตัวใหลอยน้ํา ฉะนั้นในขณะบริกรรมอยู ไมควรใสใจคํา
บริกรรม แตใหพึงนอมจิต จดจอตอสภาวธรรมทางกายและใจ เทานั้น
จิตของเขายอมรับรูเทาทันสภาวธรรมปจจุบันได ไมวาทางทวารใด
ในทวารทั้ง ๖ หรือแมจะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วเพียงใดก็ตาม จัดเปนสติสัม-
โพชฌงค เกิ ด ขึ้ น ตั้ ง แต วิ ป ส สนาญาณที่ ๔ (อุ ท ยั พ พยญาณ) เป น ต น ไป
เพราะเปนปญญาญาณที่หยั่งเห็นอาการเกิด-ดับไดแลว๖๑
๒. ธัมมวิจยสัมโพชฌงค ในการกําหนดพอง-ยุบแตละครั้ง เห็นรูป
คือเห็นอาการตึง-หยอนของโผฏฐัพพารมณบริเวณทอง เห็นนาม คือเห็นจิต
ที่เขาไปรูอาการของรูปนั้นๆ เกิดเปนสัมมาทิฏฐิ เกิดทิฏฐิวิสุทธิบริบูรณ เห็น
อริยสัจ ๔ คือเห็นอาการเกิด-ดับของรูป-นาม ที่เปนทุกขสภาวะ
๓. วิริยสัมโพชฌงค ผูปฏิบัติเพียรจดจออยางแรงกลา ตามสภาวะ
ปจจุบันที่ปรากฏ พยายามตั้งใจกําหนดพอง-ยุบอยางจดจอ มีความใสใจ
กําหนดสภาวะตางๆ อยางถี่ถวน จนเห็นอาการเกิดดับของรูป-นามที่ปรากฏ
ไดชัดแจงขึ้น ตามลําดับ

๖๑
ดูรายละเอียดใน ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๕/๓๒๒.
๓๓๒
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
๔. ปติสัมโพชฌงค ผูปฏิบัติมีสติจดจอในอาการพอง-ยุบ รูเทาทัน
ความเกิดดับของรูปและนามที่ปรากฏในการกําหนดนั้น เมื่อโยนิโสมนสิการ
อยูเชนนี้ ปราโมทยยอมเกิด เมื่อมีปราโมทย ปติยอมเกิดขึ้น
๕. ปสสัทธิสัมโพชฌงค ผูที่กําหนดรูพอง-ยุบจนเห็นไตรลักษณ
ยอมเกิดปญญารูแจง เมื่อรูแจงยอมเกิดปราโมทย เมื่อมีปราโมทย ปติยอม
เกิด เมื่อใจมีปติ กายยอมสงบ ผูมีกายสงบ ยอมเสวยสุข
๖. สมาธิสัมโพชฌงค ผูที่กําหนดรูพอง-ยุบจนมีกายสงบ ผูมีกาย
สงบ ยอมเสวยสุข เมื่อใจมีความสุข จิตยอมเปนสมาธิ
๗. อุเบกขาสัมโพชฌงค ผูมีจิตตั้งมั่นเปนสมาธิ ยอมพิจารณา๖๒
สภาพธรรมที่ปรากฏดวยจิตที่เปนกลาง๖๓ ตามความเปนจริงวา สภาพธรรม
ที่ปรากฏเปนเพียงรูป-นามที่เกิดดับตามเหตุปจจัยเทานั้น ไมใชสัตว บุคคล
ตัวตน๖๔ เรา เขา ยอมเกิดปญญารูแจงธรรม โดยมีมรรคมีองค ๘ เปนเหตุ๖๕

๑๔. มรรคมีองค ๘ ในการกําหนดรูพอง-ยุบ


เมื่อจะแยกใหละเอียดลงไปยิ่งกวานั้น ขณะเจริญภาวนา กําหนดรู
อาการพอง-อาการยุบอยูนั้น องคมรรค ๘ ประการมีอยูพรอม๖๖ คือ
๑. ขณะทองพอง-ยุบ มีปญญาเห็นชัดในอาการนั้น โดยความเปน
รูป สวนจิตที่รูพอง-ยุบเปนนาม ซึ่งเกิด-ดับตามเหตุปจจัย จัดเปนสัมมาทิฏฐิ
๒. เมื่อมีอาการพอง-ยุบ ปรากฏกอยูที่ทอง ดําริยกจิตขึ้นสูอารมณ
สงไปกําหนดรูอาการพอง-ยุบนั้น ใหประจักษ จัดเปนสัมมาสังกัปปะ

๖๒
ดูใน ที.สี.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๑๗๗., ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๑๙๔.
๖๓
สังขารุเปกขาญาณ ญาณอันเปนไปโดยความเปนกลางตอสังขาร (องฺ.
จตุกฺก.อ. (บาลี) ๒/๑๖๒/๓๘๗, องฺ.จตุกฺก.ฏีกา (บาลี) ๒/๑๖๒/๔๒๕)
๖๔
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๗๔/๑๒๕.
๖๕
ดูใน องฺ.เอก. อ. (ไทย) ๑/๑/-/๒๐๒.
๖๖
ดูอธิบายใน ที.สี.อ. (ไทย) ๑/๒/-/๑๐๙., ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๑๑๒.
๓๓๓
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
๓. กําหนดรูอาการพอง-ยุบ ตามลักษณะอาการ ดวยการนอมจิต
พรอมกับบริกรรมภาวนาวา “พองหนอ”-“ยุบหนอ” จัดเปนสัมมาวาจา๖๗
๔. กําหนดรูทุกครั้งที่เห็นอาการพอง กําหนดรูทุกครั้งที่เห็นอาการ
ยุบ กําหนด “คิดหนอ” ทุกครั้งที่เห็นอาการคิด ฯลฯ จัดเปนสัมมากัมมันตะ
๕. เมื่อกําหนดอยางจดจอตอเนื่อง กายยอมผองแผว จิตยอมผองใส
ชวยใหสติจับอารมณไดถูกตรงตามความเปนจริงยิ่งขึ้น จัดเปนสัมมาอาชีวะ
๖. การประคับประคองจิตใหระลึกรูอยูแตอารมณปจจุบันที่ปรากฏ
ไมปลอยใจใหหลงใหลไปตามอารมณอดีตหรืออนาคต จัดเปนสัมมาวายามะ
๗. การเขาไปตั้งความระลึกรูอยางจดจอตอเนื่อง ไวในอารมณรูป-
นามปจจุบัน ที่เปลี่ยนแปลงเกิด-ดับไปตามเหตุปจจัย จัดเปนสัมมาสติ
๘. ความไมฟุงซาน จิตตั้งมั่นในอารมณปจจุบันดวยอํานาจอุเบกขา-
สัมโพชฌงค เปนพื้นฐานในการเจริญสัมมาทิฏฐิตอไป จัดเปนสัมมาสมาธิ๖๘
๑๔. หลักการปรับอินทรียใหสมดุลย
การนํ า เอากุ ศ ลธรรมที่ มี พ ลั ง ที่ เ รี ย กว า พละ และกุ ศ ลธรรมที่ มี
สมรรถนะความเปนใหญ ที่เรียกวา อินทรีย ที่อยูภายในกายใจของเรามา
ปรั บ ให ส อดคล อ งกั น เป น กํ า ลั ง ให บ รรลุ ผ ลที่ พึ ง ปรารถนาอั น สู ง สุ ด ที่
เรียกวา การปรับอินทรียใหเสมอกัน
การปรั บ อิ น ทรี ย หมายถึ ง การนํ า เอากุ ศ ลธรรมที่ มี พ ลั ง และ
สมรรถนะหลายประการที่ อ ยู ภ ายในกายใจ มาปรั บ ให บ รรลุ ผ ลที่ พึ ง
ปรารถนาอันสูงสุด ในการปฏิบัติวิปส สนาภาวนา กุศลธรรมที่มีสมรรถนะ
ความเปนใหญ เรียกวา อินทรีย สวนกุศลที่กอใหเกิดกําลัง เรียกวาพละ ซึ่ง
จําแนกไวอยางละ ๕ อยางเทากัน คือ การปรับศรัทธาใหเสมอกับปญญา
การปรับวิริยะใหเสมอกับสมาธิ สติตองเจริญใหมาก กลาวคือ
๖๗
“การสาธยายทางจิต เปนปจจัยแกการแทงตลอดไตรลักษณ การแทงตลอด
ไตรลักษณ เปนปจจัยแกการแทงตลอดมรรค ผล” ดูใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๑/๒๖๕.
๖๘
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๑๓๖/๑๗๖., ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๖๘/๒๖๑.
๓๓๔
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
๑) ปรั บ ศรั ท ธากับ ป ญ ญาให เ สมอกัน เพราะถา ศรั ทธามากกว า
ปญญา บุคคลก็จะเลื่อมใสจนเกินไป หรือเลื่อมใสในเหตุที่ไมนาเลื่อมใส ถา
ปญญามากกวาศรัทธา บุคคลก็จะหนักไปขางอวดดี เปนเหมือนโรคดื้อยา
รั กษาให ห ายยาก ถาธรรมทั้ง สองเสมอกัน บุ คคลจะเลื่ อมใสในเหตุ ที่น า
เลื่อมใส
๒) ปรับสมาธิกับวิริยะใหเสมอกัน เพราะถาสมาธิมากกวา วิริยะ
ความเกียจครานจะครอบงํา เนื่องจากสมาธิเปนฝายเดียวกันกับความเกียจ
คราน ถาวิริยะมากกวาสมาธิ ความฟุงซานจะครอบงํา เนื่องจากวิริยะเปน
ฝายเดียวกันกับความกันฟุงซาน ดังนั้น สมาธิที่ประกอบควบคูกับวิริยะ จิต
จะไมตกไปในฝายความเกียจคราน วิริยะที่ประกอบควบคูกับสมาธิ จิตจะไม
ตกไปในฝายความฟุงซาน แตสําหรับ สติ นั้น พระผูบําเพ็ญกัมมัฏฐานควร
บําเพ็ญใหมีพลังทุกที่ทุกเวลาเพื่อใหทราบวา "ความบรรลุธรรมอันนี้ยอมมีได
ดวยภาวนาตอนั้นไป ก็แลครั้นธรรมอันนี้ พระโยคีไดบรรลุแลวก็ไมมีกิจที่
จะตองทํายิ่งขึ้นไปอะไรอีกเลย ดุจเกลือ จํ าตองมีในกับขาวทุกอยาง ดุ จ
อํามาตยผูชํานาญการ จําตองปรารถนาในราชการทุกอยาง๖๙
มีพุทธพจนรับรองคํากลาวของพระสารีบุตรวา อินทรีย ๕ อยางนี้
สงผลเป นป จจั ยต อเนื่องกัน กลาวคือ ศรั ทธาทําให เกิดความเพีย ร ความ
เพียรชวยใหสติมั่นคง เมื่อสติมั่นคงแลว กําหนดอารมณก็จะไดสมาธิ เมื่อมี
สมาธิดีแลว ก็จะเกิดความเขาใจมองเห็นซึ่งถึงโทษของอวิชชาตัณหาที่เปน
เหตุแหงสังสารวัฏ มองเห็นคุณคาของนิพพาน ซึ่งเปนภาวะปราศจากความ
มืดแหงอวิชชาและความทุรนทุรายแหงตัณหา สงบประณีตดีเยี่ยม ครั้นเมื่อรู
ชัดเขาใจแจมแจงดวยตนเองแลว ก็จะเกิดมีศรัทธาที่เปนศรัทธาอยางยิ่งหรือ
ยิ่งกวาศรัทธา หมุนเวียนกลับเปนสัทธินทรียอีก ดังพุทธพจนทอนสุดทายวา
"ดูกรสารีบุตร อริยสาวกนั้นแล เพียรพยายามอยางนี้ ครั้นเพียรพยายามแลว
ก็ร ะลึ กอย างนี้ ครั้ น ระลึ กแลว ก็ตั้ งจิต มั่น อยางนี้ ครั้ น ตั้ งจิต มัน แลว ก็รู ชั ด

๖๙
เทียบ วิ.ม.อ. (บาลี) ๓/๒๔๓/๑๖๔, องฺ. ฉกฺก.อ. (บาลี) ๓/๕๕/๑๓๖, วิสุทธิ.
(บาลี) ๑/๖๒/๑๔๐-๑๔๑, สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๓/๒๔๓/๓๕๓.
๓๓๕
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
อยางนี้ ครั้นรูชัดแลวก็เชื่อยิ่งอยางนี้วา ธรรมทั้งหลายที่แตกอนนี้เราเพียงแต
ไดยินไดฟงเทานั้น ยอมเปนดังนี้แล ดังเราสัมผัสอยูดวยตัว และเห็นแจงแทง
ตลอดดวยปญญา อยูในบัดนี้"๗๐
ในคัมภีรมหาวรรคอรรถกถา ไดอธิบายการปรับอินทรียไววา อินฺทฺ
ริยานฺจ สมตํ ปฏิวิชฺฌาติ สทฺธาทีนํ อินฺทฺริยานํ สมตํ สมภาวํ. ตตฺถ
สทฺธํ ปฺาย ปฺฺจ สทฺธาย วิริยํ สมาธินา สมาธิฺจ วิริเยน โยชยมาโน
อินฺทฺริยานํ สมตํ ปฏิวิชฺฌ๗๑.
และสารัตถทีปนีฎีกาไดอธิบายไววา อินฺทฺริยานฺจ สมตํ อธิฏาหีติ
สทฺธาทีนํ อินฺทฺริยานํ สมตํ สมภาวํ อธิฏาหิ. ตตฺถ สทฺธํ ปฺาย, ปฺฺจ
สทฺธาย, วิริยํ สมาธินา, สมาธิฺจ วิริเยน โยชยตา อินฺทฺริยานํ สมตา อธิฏ ตา
นาม โหติ.สติ ปน สพฺพตฺถิกา,สา สทาป พลวตีเยว วฏฏติ๗๒.
การปรั บ อิ น ทรี ย ใ ห เ สมอกั น คื อ การปรั บ ศรั ท ธาให เ สมอกั บ
ปญญา และปรับปญญาใหเสมอกับศรัทธา ปรับวิริยะใหเสมอกับสมาธิ และ
ปรับสมาธิใหเสมอกับวิริยะ สวนสตินั้นยิ่งมีเทาไรก็ยิ่งดีไมมีคําวาเกิน๗๓
ในพุ ท ธพจน แ สดงปฏิ ป ทา ๔ ว า ด ว ยแนวการปฏิ บั ติ ธ รรมของ
บุคคลที่แตกตางกันไปเปน ๔ ประเภทคือ บางพวกปฏิบัติลําบากทั้งรูไดชา
บางพวกปฏิบัติลําบากแตรูไดเร็ว บางพวกปฏิบัติสะดวกแตรูไดชา บางพวก
ปฏิบัติสะดวกทั้งรูไดเร็ว พระพุทธองคทรงชี้แจงวา
ตั ว การที่ กํ า หนดให รู ช า หรื อ รู เ ร็ ว ก็ คื อ อิ น ทรี ย ๕ กล า วคื อ ถ า
อินทรีย ๕ ออนไปก็รูชา ถาอินทรีย ๕ แกกลาก็รูไดเร็ว๗๔ แมแตการที่พระ
อนาคามี แ ตกต า งกัน ออกไปเป น ประเภทต า งๆ ก็ เ พราะอิ น ทรี ย ๕ เป น

๗๐
สํ.มหา. (ไทย) ๑๙/๕๒๐/๓๓๓
๗๑
วิ.ม.อ. (บาลี) ๓/๒๔๓/๑๖๔.
๗๒
สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๓/๒๔๓/๓๕๒-๓๕๓.
๗๓
วิ.ม.อ. (บาลี) ๓/๒๔๓/๑๖๔, สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๓/๒๔๓/๓๕๒-๓๕๓.
๗๔
ดู องฺ.จตุกฺก.(ไทย) ๒๑/๑๖๒/๒๒๗
๓๓๖
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
๗๕
ตัวกําหนดดวย หรือกวางออกไปอีก ความพรั่งพรอมและความหยอนแหง
อินทรีย ๕ นี้แล เปนเครื่องวัดความสําเร็จ เปนอริยบุคคลขั้นตางๆ ทั้งหมด
กลาวคือ เพราะอินทรีย ๕ เต็มบริบูรณก็เปนพระอรหันต อินทรีย ๕ ออน
กวานั้นก็เปนพระอนาคามี ออนกวานั้นก็เปนพระสกทาคามี ออนกวานั้นก็
เป นพระโสดาบัน ประเภทธั มมานุ ส ารี ออนกว านั้ น อีกก็เป นพระโสดาบั น
ประเภทสัทธานุสารี ดังนี้เปนตน ตลอดจนวาถาไมมีอินทรีย ๕ เสียเลยโดย
ประการทั้งปวง ก็จัดเปนพวกปุถุชนคนภายนอก มีคําสรุปวา ความแตกตาง
แหงอินทรียทําใหมีความแตกตางแหงผล ความแตกตางแหงผลทําใหมีความ
แตกตางแหงบุคคล หรือวาอินทรียตางกัน ทําใหผลตางกัน ผลตางกันทําให
บุคคลตางกัน๗๖
วิปสสนาจารยทําหนาที่ “ชวยปรับอินทรีย”
กอนปฏิบัติ โยคีมักพูดวา “ที่มาปฏิบัตินี้ไมไดหวังอะไรมาก ขอใหใจ
สงบ อยูปฏิบัติไดครบกําหนดเวลาก็พอแลว” แตเมื่อไดลงมือปฏิบัติไป ๓-๔
วัน จะมีคําถามเกิดขึ้นในใจแทบทุกคนวา “ทําอยางไร จึงจะมีความกาวหนา
ในการปฏิบัติ วิปสสนาญาณจะเกิดขึ้นไดอยางไร?”
พระวิปสสนาจารย พึงใหคําตอบวา “ความกาวหนาในการปฏิบัติ
วิปสสนาขึ้นอยูกับการปรับอินทรีย ๕ ใหสมดุลและเพิ่มกําลังพละ ๕ ใหแก
กลาขึ้นตามลําดับ” ซึ่งนั้นหมายความวา พระวิปสสนาจารยจะตองอธิบาย
ใหผูปฏิบัติเขาใจความหมายและความสําคัญของการปรับอินทรียใหสมดุลย
กัน พรอมทั้งมีกระบวนการบมเพาะอินทรียและพอกพูนกําลังพละใหเกิดขึ้น
ในขั น ธสั น ดานของโยคี ผู ป ฏิ บั ติ ใ ห แ ก ก ล า ขึ้ น ตามลํ า ดั บ ตามจํ า นวน
ระยะเวลาที่ปฏิบัติเพิ่มขึ้น ดังที่พระพุทธเจาตรัสวา “ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็
ภิกษุอาศัยศีล ตั้งอยูในศีลแลว เจริญ ทําใหมากซึ่งอินทรีย ๕ ยอมถึงความ
เจริญงอกงามไพบูลยในธรรมทั้งหลาย”๗๗
๗๕
องฺ.จตุกฺก.(ไทย)๒๑/๑๖๔/๒๓๖
๗๖
ดูที่มา ส.มหา.(ไทย)๑๙/๔๘๓/๒๙๔
๗๗
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/๗๑๓/๓๔๔.
๓๓๗
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
วิธีปรับอินทรีย
การนํ าเอากุ ศลธรรมที่มีพ ลั ง และสมรรถนะหลายประการที่อ ยู
ภายในกายใจมาปรั บ ให บ รรลุ ผ ลที่พึ งปรารถนาอัน สู ง สุ ด ในการปฏิ บั ติ
วิปสสนาสติปฏฐาน ๔ นั้น กุศลธรรมที่มีสมรรถนะความเปนใหญ เรียกวา
อินทรีย สวนกุศลที่กอใหเกิดกําลัง เรียกวาพละ ซึ่งจําแนกไวอยางละ ๕
อยางเทากัน คือ การปรับศรัทธาใหเสมอกับปญญา การปรับวิริยะใหเสมอ
กับสมาธิ สติตองเจริญใหมาก ซึ่งมีวิธีการดังนี้
๑. การปรั บ อิน ทรี ย โ ดยการกํ าหนดให เ ท า ทัน อารมณป จ จุ บั น ที่
เกิดขึ้น ภายในกาย ใจ ณ ป จจุบันขณะนั้น ดังเมื่อสันตติอํามาตย ฟงธรรม
พรอมทั้งเจริญสติปฏฐานโดยกําหนดรูปนามปจจุบันที่ปรากฏชัด จึงไมเกิด
กิเลสที่หวนคิดถึงอดีต หรือใฝฝนอนาคต และหยั่งเห็นสภาวธรรมรูปนามที่
เกิดดับตามความเปนจริง จนกระทั่งบรรลุมรรคญาณทั้ง ๔ ตามลําดับ ใน
ที่สุดไดบรรลุอรหัตตผล ไมยึดมั่นดวยตัณหาและทิฏฐิ ดังนั้น พระพุทธองค
จึงตรัสขอความวา “อุปสนฺโต จริสฺสสิ (ก็จักเปนผูสงบไปได)”๗๘
๒. การปรับอินทรียโดยการกําหนดเวลา ในการเดินจงกรม และการ
นั่งสมาธิ เชน การเพิ่มเวลาในการเดินจงกรม และการนั่งสมาธิ จาก ๑๕
นาที เปน ๒๐ นาที ๒๕ นาที ๓๐ นาที ไปจนถึง ๖๐ นาที เปนตน
๓. การปรับอินทรียโดยการเพิ่มระยะในการเดินจงกรม และการ
กําหนดจุดในขณะนั่งสมาธิ เชน การเดินจงกรมตั้งแตระยะที่ ๑ ระยะที่ ๒
ระยะที่ ๓ ไปจนถึงระยะที่ ๖ หรือการเพิ่มการกําหนดถี่ๆๆ ในการกาวแต
ละระยะ เปนตน
๔. การปรับอินทรียโดยการเพิ่มการกําหนดอิริยาบถยอย เชน การคู
กําหนดวา คูหนอๆๆ การเหยียดกําหนดวา เหยียดหนอๆๆ การเหลียวหนา
แลหลัง กําหนดวา เหลียวหนอๆๆ เปนตน
๕. การปรับอินทรียโดยการเพิ่มการกําหนดตนจิต หมายถึง การ

๗๘
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), มหาสติปฏฐานสูตร ทางสูพระ
นิพพาน, แปลโดยพระคันธสาราภิวงศ, พิมพครั้งที่ ๒,๒๕๔๙), หนา ๑๕.
๓๓๘
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
กําหนดอารมณตางๆ ที่เกิดขึ้นที่ใจ เชน กอนเดินจงกรมกําหนดวา อยากเดิน
หนอๆ ถาฟุงซาน กําหนดวา ฟุงหนอๆ ถางวงกําหนดวา งวงหนอๆๆ เปนตน
๖. การปรับอินทรียโดยการสํารวมอินทรีย ๖ หมายถึง การกําหนด
อารมณตางๆ ที่กระทบทางทวารทั้ง ๖ อันไดแก ตา หู จมูก ลิ้น กาย และ
ใจ เชน ถาเห็นกําหนดวา “เห็นหนอ” ถาไดยินกําหนดว า “ไดยินหนอ”
ถาไดกลิ่นกําหนดวา “กลิ่นหนอ” ถารูรสกําหนดวา “รสหนอ” ถาถูกตอง
สัมผัสกําหนดวา “ถูกหนอ” ถารับสิ่งตางๆ กําหนดวา “รูหนอ” เปนตน
๗. เพิ่มความถี่ในการกําหนดสภาวะรูป สภาวะนามใหมากขึ้น
การปรั บ อิน ทรีย และพละให เสมอกัน คือ การปรั บศรั ทธาให
เสมอกับปญญา อยาใหอยางหนึ่งอยางใดมากนอยกวากัน ถาศรัทธายิ่ง
ปญญาหยอน ความโลภจะเขาครอบงํา ถาปญญายิ่ง ศรัทธาหยอน ความ
ลังเลสงสัยจะเขาครอบงํา และจะตองปรับวิริยะใหเสมอกับสมาธิ ถาวิริยะ
ยิ่ง สมาธิหยอน ความฟุงซานจะเขาครอบงํา ถาสมาธิยิ่ ง วิริยะหยอน
ความงวงจะเขาครอบงํา ดังนั้น ถาอยางหนึ่งอยางใดนอยเกินไป ก็ตอง
เพิ่มเขาไปใหเสมอกัน โดยมีสติคอยควบคุมอยูตลอดเวลา การปฏิบัติจะ
ไดผลเร็วหรือชา ก็ขึ้นอยูกับการปรับอินทรียและพละนี้เปนประการสําคัญ
วิธีเพิ่มปญญา รูรูปนาม รูปจจุบัน รูไตรลักษณ รูวิปสสนา ปญญา
รูมรรค ผล นิพพาน
วิธีเพิ่มวิริยะ เพียรตั้งใจทําจริง กินนอย นอนนอย พูดนอย
วิธีเพิ่มสมาธิ ผูกจิตไวกับองคคุณ ๓ จิตจับในอารมณใดใหกําหนด
มั่นในอารมณ จิตหลุดในอาการใดใหกําหนดรูใน
อาการนั้น
วิธีเพิ่มสติ ระลึกรูอยูที่รูปนามและการกําหนดตลอดเวลา
วิธีเพิ่มศรัทธา ทรงใจใหอยูกับรูปนาม ศีล สมาธิ ปญญา
สาเหตุที่ทําใหอินทรียแกกลา ๙ ประการ มีพระบาลี วา “นวหา
กาเรหิ อินฺทฺริยานิ ติกฺขานิ ภวนฺติ อุปฺปนฺนุปฺปนฺนานํ สงฺขารานํ ขยเมว
ปสฺสติ, ตตฺถ จ สกฺกจฺจกิริยาย สมฺปาเทติ, สาตจฺจกิริยาย สมฺปาเทติ,
สปฺปายกิริยาย สมฺปาเทติ, สมาธิสฺส จ นิมิตฺตคฺคาเหน, โพชฺฌงฺคานฺจ
๓๓๙
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
อนุปวตฺตนตาย, กาเย จ ชีวิเต จ อนฺตรา จ อโพฺยสาเนนาติ.”
อินทรีย ๕ ยอมแกกลาเพราะเหตุ ๙ ประการ คือ ตองปฏิบัติดังนี้
๑. กําหนดเห็นแตความสิ้นไปหมดไปของรูปนาม ซึ่งเกิดขึ้นในทุกๆ
ขณะ ถึงแมบางครั้งอาการดับจะไมปรากฏ ก็ตองพยายามกําหนดใหได มอง
ใหเห็น แตอยาพยายามหาเหตุผลที่จะทําใหเห็นวา รูปนามเปนของเที่ยง
๒. ยังวิปสสนาญาณใหถึงพรอม โดยการกําหนดอยางเอื้อเฟอตอ
กรรมฐานเพื่อใหเห็นความดับไปของรูป นามนั้น
๓. เจริ ญวิป ส สนาญาณให บ ริ บู ร ณโ ดยการทําอย างต อเนื่ อง ทํา
อยางคงเสนคงวา อยาหยุดในระหวางการปฏิบัติ
๔. เจริญวิปสสนาญาณใหบริบูรณ โดยการทําแตสิ่งที่เปนสัปปายะ
ตอการกําหนดเทานั้น สัปปายะ ๗ คือ ๑. อาวาส ที่อยูเหมาะสม ๒. โคจร ที่
เที่ยวไปมาหมูบานเหมาะสม ๓. ภัสสะ ถอยคํา เหมาะสม ๔. ปุคคละ บุคคล
ผูคบหาเหมาะสม ๕. โภชนะ อาหารเหมาะสม ๖. อุตุ บรรยากาศเหมาะสม
๗. อิริยาปถะ อิริยาบถเหมาะสม
๕. เจริญวิปสสนาญาณใหบริบูรณโดยการกําหนดเหตุของวิปสสนา
สมาธิ คือ การกําหนดรูปนามจนทําใหสมาธิตั้งมั่นอยางแนวแน
๖. เจริญวิปสสนาญาณใหบริบูรณโดยการเจริญโพชฌงคใหถูกตอง
คือ อารมณในการเจริญภาวนาตก ใหเจริญปติ วิริยะ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค
๗. กลาสละทั้งกายและชีวิตของตน หมายถึง ขณะเจริญภาวนาอยู
นั้นมีอารมณฟุงซานขึ้นมา ใหเจริญปสสัทธิ สมาธิ อุเบกขา
๘. เจริญภาวนาใหบริบูรณ ดวยความอดทนอยางไมยอทอกับทุกข
ซึ่งเกิด ขึ้นในทุกขณะ โดยพรอมที่จะอุทิศทั้งกายและใจหมายถึง ต องมีใจ
มั่นคงไมหวั่นไหวตอความทุกขยากลําบาก ไมคํานึงแมกระทั่งความตาย
๙. ไมเลิกเจริญวิปสสนาญาณกลางคัน คือ ทําใหถึงที่สุด๗๙

๗๙
วิสุทฺธิ (บาลี) ๒/๒๘๐-๑, โสภณมหาเถระ อัครมหาบัณฑิต (มหาสีสยาดอ),
พระคันธสาราภิวงศ แปลและเรียบเรียง, วิปสสนานัย ๒, หนา ๑๖๓-๑๖๕.
๓๔๐
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔

๑๕. ลําดับการสืบทอดวิปสสนาวงศอรหันต๘๐
ราวพุทธศักราช ๒๓๕ พระโมคคัลลีบุตรติสสะเถระ พรอมดวยพระ
อรหันต ๑,๐๐๐ รูป ไดรวมกระทําตติยสังคายนาที่เมืองปาฏลีบุตร เมือง
หลวงของแคว น มคธ โดยมี พ ระเจ า อโศกมหาราชเป น องค ศ าสนู ป ถั ม ภ
หลังจากเสร็จสิ้นในการทําสังคายนาครั้งที่สามแลว พระผูเปนเจาก็มีจิตผอง
แผวคอยพิจารณาดูความเปนไปของพระพุทธศาสนา จึงเห็นแจงชัดดวยพระ
อานาคตั ง สญาณว า ในอนาคตกาล พระพุ ท ธศาสนาอั น มี คั น ถธุ ร ะและ
วิปสสนาธุ ระเปนหลั ก จั กประดิษฐานอยูได แตในปจ จันต ชนบทประเทศ
เทานั้น จึงเปนการสมควรที่เราจักสงพระอรหันตทั้งหลาย ใหไปประดิษฐาน
พระพุทธศาสนาในปจจันตชนบทสืบไป
พระมหาโมคคัลลีเถระ ซึ่งเปนพระอรหันตวัยชรา ๗๒ พรรษา ไดสง
สาวก คือพระโสณะอรหันต และพระอุตตระอรหันต นําพระพุทธศาสนามา
ประดิษฐานที่เมืองตะโทง (Thaton) หรือ สุธรรมนครในประเทศพมา ตาม
ประวัติไดมีการสืบทอดวิปสสนาวงศพระอรหันตเรื่อยมาไมขาดสาย จนถึง
สมัยของวิปสสนาจารย ติรงคะสะยาดอ พระมโนอรหันต พระมิงกุลโตญสะ
ยาดอ พระมิงกุลเชตะวันสะยาดอ และทานมหาสีสะยาดอ(พระโสภณมหา
เถระ) ตามลําดับ
เมื่อวิปสสนาวงศ ประดิษฐานมั่นคงในแผนดินสุวรรณภูมิ เปนเวลา
เกือบ ๒,๐๐๐ ป คือตั้งแตสองพระอรหันตทานพระโสณะอรหันต และพระ
อุตตระอรหันตนํามาประดิษฐาน ไวเปนเบื้องแรก เมื่อปพุทธศักราช ๒๓๕
เปนตนมา บรรดาพุทธบริษัทศิษยานุศิษยผูมีจิตหวั่นเกรงภัยในวัฏสงสาร
ปรารถนาจะไดบ รรลุ มรรคผลนิพพาน ก็พากัน อุต สาหะบํ าเพ็ญวิ ป ส สนา
กรรมฐานสื บ ต อ วิ ป ส สนาวงศ ต ลอดมาไม ข าดสาย จวบจนถึ ง สมั ย พระ
ธรรมทัสสีอรหันต ทําการยกยองปกปองพระพุทธศาสนาและขยายวิปสสนา
๘๐
พระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร ป.ธ. ๙). วิปสสนาวงศ , สํานักพิมพดอก
หญา ๒๕๔๕. ซอยประชาอุทิศ ๘๙/๑ ถนนประชาอุทิศ, เขตทุงครุ, กรุงเทพฯ ๑๐๑๔๐
พ.ศ. ๒๕๔๖.
๓๔๑
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
วงศให กวางขวางออกไป ในปพุทธศักราช ๑๕๔๑ ซึ่งในตอนนี้นิ ย มเรี ย ก
วิปสสนาวงศดั้งเดิมเพิ่มเติมเปนวาวิปสสนาวงศอรหันตะ
สมัยนั้น ปรากฏมีพระภิกษุสองรูปเปนสหายกัน รูปหนึ่ง มีนามวา
พระเขมภิกขุ กับอีกรูปหนึ่งมีนามวา พระติรงคภิกขุ ตั้งแตเขามาบวชใน
พระพุทธศาสนา เธอทั้งสองก็ตั้งใจศึกษาพระบาลี ไตรปฎกอรรถกถาตลอด
ทั้งนานาพระคัมภีร จนมีความรูสูงสุดตามหลักสูตรการศึกษาในสมัยนั้น แลว
ปรึกษากันวาตอไปนี้ เราทั้งสองจะทําอะไรกันดี พระเขมภิกขุผูมีบุรพวาสนา
วา เราทั้งสองควรจะตั้งหนาบําเพ็ญวิปสสนาธุระตอไป เพื่อบรรลุมรรคผล
นิพพานในชาตินี้ใหจงได พระติรงคภิกขุไดฟงก็หัวเราะแลวคานวา อะไรกัน
มรรคผลนิพพานสมัยนี้จะมีที่ไหนกัน มรรคผลนิพพานเปนของไกลเกินฝน
หากจะมีอยูก็เห็นมีแตในพระคัมภีร ปจจุบันนี้ไมมีใครเขาสนใจเรื่องวิปสสนา
หรือมรรคผลนิพพานกันแลว เรามาเปนพระอาจารยดานคันถธุระบอกพระ
คัมภีรกันดีกวา ตอไปภายหนาจะไดเปนใหญ มีเกียรติยศชื่อเสียงเกรียงไกร
พระเขมภิกขุหนุมผูมีใจหนักแนนประดุจภูผา ไดฟงดังนั้นก็สายหนากลาวย้ํา
วา มรรคผลนิพพานในสมัยนี้ จะมีหรือไมมีใครเลาจะรูได หากวาไมมีการ
บําเพ็ญวิปสสนากรรมฐาน กลาวเทานั้นแลว ทานก็เดินทางออกจากมหา
วิหารบายหนาเขาปาไป
กาลตอมา พระติรงคมหาเถระผูเปนใหญ ซึ่งบัดนี้วัยเขาเกณฑชรา
๗๐ พรรษาเศษแลว ทานไดมีโอกาสตอนรับอาคันตุกภิกขุผูมีพรรษาเสมอกัน
รูปหนึ่ง ซึ่งเปนสหายจากกันไปนานหลายป ก็คือ พระเขมภิกขุที่บอกวาจะ
บําเพ็ญวิปสสนาแลวหายหนาเขาปาไปนั่นเอง เมื่อไดพบปะสนทนากัน ณ ที่
รโหฐานโดยลําพังตัวตอตัวแลว แทนที่จะสนทนากัน ใหสนุกสนานดวยเรื่อง
เกาๆ สมัยยังหนุมอยู แตกลับชวนใหเขาปฏิบัติวิปสสนาทาเดียว โดยอางวา
ตัวทานจะเปนพระอาจารยบอกพระกรรมฐานใหเอง พระติรงคมหาเถระ
คณาจารยใหญจะไดเลื่อมใสเชื่อฟงคําก็หาไม ครั้นจะปฏิเสธไปตรงๆ ก็เกรง
จะเสียน้ําใจกัน จึงกลาวอางวา ตนเองแกแลว เกิดมาชาตินี้ไดมีเกียรติยศ
ชื่ อ เสี ย งเทา นี้ ก็ เ ป น ที่พ อใจแล ว จะเอาอะไรกัน อีก เมื่ อเห็ น ว า สุ ด ที่ จ ะ
เคี่ย วเข็ญให ส หายปฏิบั ติ วิป ส สนากรรมฐานได แล ว พระเขมมหาเถระจึ ง
๓๔๒
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
กล าวว า ถาเช น นั้ น ก็ไมเ ป น ไรแต ข อร องให จ ดจํ า วิ ธี การปฏิ บั ติ วิ ป ส สนา
กรรมฐานไว จะได เ ป น ประโยชน แ ก พ ระพุ ท ธศาสนาต อ ไป จะเอาไว ใ ช
ประกอบการสอนในดานคันถธุระก็ได หรือเผื่อวาในวันขางหนา หากมีผูมี
วาสนามาขอเรียนวิธีการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน จะไดบอกเขาไดอยาง
ถูกตองโดยบอกเขาไป
พระเขมมหาเถระ บอกวิธีการบําเพ็ญวิปสสนากรรมฐานอยางยอ
แลว ก็อธิบายวิธีปฏิบัติตลอดจนสภาวะวิปสสนาญาณโดยพิสดาร เสร็จแลว
จึงถามขึ้นวา จําไดหรือไมเลาที่เราบอกมานี่ เมื่อเห็นสหายเการับคําดวยดี ก็
ลุกขึ้น จั ดแจงห มจี วรอันเกาคร่ําคราพร อมกับบอกว าจะขอลาจากไปแล ว
ตอไปคงไมไดพบกัน เพราะฉะนั้น จึงขอใหเดินไปสงที่ชายปาใกลมหาวิหาร
ดวย พระติรงคมหาเถระ เมื่อไดฟงสหายเกามาอางวา ตอไปภายหนาคงจะ
ไมไดพบกันเช นนั้ น ก็พยุงสั งขารอัน ชราเดิ นตามส งถึงบริเ วณชายปาแล ว
พระเขมมหาเถระก็ห ยุด เดิน หั นหลั งมามองหนา แล ว ถามขึ้น อีกว า จํ าได
แนนอนแลวหรือวิธีการปฏิบัติวิปสสนาที่เราบอกไวนั่นนะ พระติรงคมหา
เถระก็รับรองจําไดสิ เอาเถอะนาไมตองหวง ขอใหเดินทางไปโดยสวัสดีเถิด
พระเขมมหาเถระผูมาจากแดนไกลจึงกลาวเปนครั้งสุดทายวา จําได
ก็ดีแลว นั่ นเปนวิธี การปฏิบั ติวิปสสนากรรมฐาน เพื่อใหไดบรรลุมรรคผล
นิ พพาน เอาเถิด ต อจากนี้ เราจะแสดงผลดี ผ ลพลอยได เ ล็ กน อย ของผู
ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานจนบรรลุมรรคผลนิพพานวาจะเปนประการใด ขอ
จงตั้งใจดูใหดีๆ วาเทานี้แลว พระเขมมหาเถระผูเชี่ยวชาญในอภิญญาญาณ
ก็อธิษฐานใหเกิดอิทธิวิธีอภิญญา เหาะทะยานขึ้นฟาหายวับไปตอหนา
กาลตอมา....ยังมีพระภิกษุผูมีบุญวาสนาอีกรูปหนึ่งนามวา พระนโม
ภิกขุ ผูมีจิตมุมานะไมทอถอย หลังจากศึกษาเลาเรียนคัมภีรจบแลว ออก
เดินทางจากวิหารปจจันตชนบทมุงหนาไปหาพระอาจารยติรงคมหาเถระ
เรียนบทพระกรรมฐานแลวจึงจรบายหนาไปยังวิหารปจจันตชนบท ที่ทาน
เคยพักอาศัย เป น สุ ขสบาย ด ว ยความตั้ งใจว า จะเขาถ้ํา บํ าเพ็ญวิ ป ส สนา
กรรมฐาน ใหสําเร็จผลจงได ครั้นเดินทางมาถึงวิหารนั้นแลว ก็แจงความให
พระมิงกุลโตญผูเปนศิษยและประชาชนชาวบานไดทราบทั่วกัน พรอมกับขอ
๓๔๓
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ความกรุณาใหชวยอนุเคราะหในเรื่องอาหารบิณฑบาตเหมือนเชนเดิม แลวก็
รีบเขาถ้ําที่เคยอยูมา เริ่มปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานทันที
ลวงไปนับไดประมาณ ๗ ป วันนี้เปนวันธรรมสวนะ ที่วิหารปจจันต
ชนบทใกลถ้ํานั้น มีชาวบานทายกทายิกาพากันมาทําบุญถวายทานมากมาย
ในขณะที่เขาเหลานั้นกําลังจัดแจงภัตตาหารลวนแตประณีต เพื่อนําไปถวาย
พระนโมเถระผูเปนเจา ที่เขากรรมฐานอยูในถ้ํา อันเปนกิจวัตรประจําวันที่
ชวยกันทํามานานหลายป แลวอยูๆ พวกเขาก็ไดเห็นพระผูเปนเจา พระน
โมเถระนั้นเดินเขามายังวิหารดวยอาการผองใส ก็เกิดโกลาหลตื่นเตน ยินดี
ปรีดากันยกใหญ ตางพากันเขาไปกราบนมัสการทานอยางชุลมุนวุนวาย บาง
ก็ไตถามความเปนไปอยูอึงคะนึง เมื่อการถวายทานใหพระสงฆฉันภัตตาหาร
เสร็จสิ้นลงแลว ทานก็บอกวา ตอไปนี้ ทุกๆ วันธรรมสวนะ ทานจะออกจาก
ถ้ํามาแสดงธรรมแกชาวบาน เพื่อเปนการทดแทนบุญคุณที่เฝาผลัดเปลี่ยน
เวียนเวรสงภั ตตาหารไปให ทานเปน เวลานานหลายป และโดยเหตุ ที่พระ
ธรรมเทศนาที่ จ ะแสดงนี้ จะมีป ระโยชน แก ช าวโลกต อ ไปในวั น ข า งหน า
ฉะนั้น จึงขอใหพระมิงกุลโตญศิษยของทาน ชวยจดบันทึกขอความ สําคัญใน
พระธรรมเทศนาไวดวย
นับตั้งแตวันนี้เปนตนมา พอถึงวันธรรมสวนะ ทานพระอาจารยนโม
เถระก็ออกจากถ้ํามาแสดงพระธรรมเทศนาวาดวยเรื่องการปฎิบัติวิปสสนา
ตามวิปสสนาวงศพระอรหันตะ ซึ่งมีใจความที่เปนสาระสําคัญวา เมื่อโยคี
บุคคลผูเห็นภัยในวัฎสงสาร เขาปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานแลว พระวิปสสนา
ญาณจักเกิดขึ้น ในขัน ธสันดานตามลําดับ นับตั้งแตนามรู ปปริจเฉทญาณ
จนกระทั่งถึงมรรคญาณผลญาณและปจจเวกขณญาณเปนที่สุด และอธิบาย
สภาวะแหงวิ ป ส สนาญาณเหล านั้ น ออกไปอยางกว างขวางพิสดารยิ่ งนั ก
โดยยกเอาพระคัมภีรวิสุทธิมรรค และขอความที่ปรากฏมีในพระบาลีมหาสติ
ปฏฐานสูตร พรอมทั้งอรรถกถาฎีกา มาเปนหลักใหญ แลวก็ลงทายดวยคํา
วาพระปริยัติธรรมและพระปฏิบัติธรรมจะตองตรงกัน พระปฏิเวธธรรมคือ
มรรคผลนิ พพานจึงจะบั งเกิดขึ้นได ในวั นธรรมสวนะสุ ดทาย เมื่อจบการ
แสดงพระธรรมเทศนาแลว พระอาจารยนโมเถระก็กวักมือเรียกพระมิงกุล
๓๔๔
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
โตญผูเปนศิษยใหนําเอาบันทึกพระธรรมเทศนาเรื่องการปฏิบัติวิปสสนา ที่
ทานแสดงติดตอกันหลายวันธรรมสวนะนั้น มาพิจารณาตรวจตราแกไขจน
ถูกตองดีแลวก็บอกวา จงเก็บรักษาไวใหดี นี่คือวิธีการปฏิบัติวิปสสนาวงศ
พระอรหันตะ แลวก็หันมาถามชาวบานที่ประชุมกันอยูที่นั่นวา บรรดาทาน
ทั้งหลายเคยไดยินคําวา พระอรหันตกันบางหรือไมครั้นไดรับคําตอบวาเคย
ไดยิน ทานจึงถามตอไปวา แลวทานทั้งหลายมีใครเคยเห็นองคพระอรหันต
กันบางหรือไม เมื่อไดรับคําตอบ วาไมเคยเห็น ทานจึงถามตอไปวา ขณะนี้
อยากจะเห็นองคพระอรหันตหรือไม เขาเหลานั้นก็ตอบพรอมกันวาอยาก
เห็น ทานจึงบอกวา ถาเชนนั้น เพลาปฐมยามราตรีนี้ ขอใหทานทั้งหลายไป
ประชุมกันดู ที่ปากถ้ําก็คงจะไดเห็นองคพระอรหันต
ราตรี นั้ น ครั้ น ถึ ง เพลาปฐมยาม ท า นพระมิ ง กุ ล โตญพร อ มกั บ
ประชาชนชาวบานมากหลาย ไดพากันมายืนอออยูที่ปากถ้ํา สนทนาไตถาม
กันพึมพําอยูวา องคพระอรหันตที่ทานอาจารยพระนโมเถระบอกใหมาคอย
ดูนั้น จะเปนทานผูใด มาจากไหน รูปรางหนาตาเปนอยางไร บางคนก็วา คง
จะเปนพระอรหันตทานเหาะมาจากฟากฟาปาหิมพานต และบางคนก็วา
ไม ใ ช คงจะเป น ท า นอาจารย น โมเถระพระผู เ ป น เจ า ของเราเสี ย กระมั ง
เพราะวาเทาที่สังเกตุดูวันนี้เห็นเจากูมีกายินทรียผองใสนักในขณะที่ชาวบาน
กําลั งวิ พากษวิ จ ารณกัน อยู นั้ น ก็ให มีอัน เกิด โอภาสแสงสว างจ าขึ้น มาใน
บริเวณถ้ํา ในทามกลางแสงสวางนั้นก็พลันปรากฏรางของพระอาจารยนโม
เถระ กําลังนั่งตั้งกายตรงดํารงสติมั่น และหลับตาในทานั่งกรรมฐานอยูแล ดู
งามสงานาเคารพบูชาเลื่อมในยิ่งนัก ปรากฏเปนที่ประจักษแกตามหาชนอยู
ชั่วครูใหญ แลวก็เกิดเตโชธาตุ คือไฟลุกขึ้น ไหมชายจีวรและกายของทาน
อยางนาตกใจ ผูคนทั้งหลายเห็นเหตุรายเชนนั้น ก็พากันวิ่งถลันเขาไปเพื่อจะ
ชวยดับไฟ แตก็สายไปเสียแลวดวยวา เตโชธาตุนั้นเมื่อตั้งขึ้นไหมอยูชั่วอึดใจ
แล ว ก็ ไ พโรจน โ ชติ ช ว งชั ช วาลเข า สั ง หารเผาผลาญสรี ร ะกายของท า น
อาจารยนโมเถระ ใหยอยยับยุบลงโดยเร็วพลันทันใด เมื่อผูคนทั้งหลายวิ่งเขา
ไปถึงนั้นก็ไดเห็นแตเพียงอัฐิธาตุของทานเหลือเปนกองขาวโพลนอยู
พระมิงกุลโตญศิษยของทานเมื่อไดเห็นปาฏิหาริยมหัศจรรยเกิด
๓๔๕
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ขึ้ น กั บ ตาเช น นั้ น ก็ ท ราบได ทั น ที ว า พระนโมเถระอาจารย ต นเป น พระ
อรหันต ก็เกิดโสมนัสยิ่งหนักหนา จึงประกาศแกประชาชนชาวบานเหลานั้น
ซึ่งลวนแตเปนญาติโยมของทานใหไดทราบโดยทั่วกัน ครั้นกลับมาถึงวิหาร
แลว ก็นําเอาบันทึกพระธรรมเทศนาวาดวยเรื่องการปฏิบัติวิปสสนาวงศพระ
อรหั น ตะ มาพิ จ ารณาศึ ก ษาจนเป น ที่ เ ข า ใจดี แ ล ว จึ ง บอกลาญาติ โ ยม
ชาวบาน เดินเขาถ้ําไปบําเพ็ญวิปสสนากรรมฐาน อันเปนการเจริญรอยตาม
พระอาจารยนโมเถระอรหันตทันที
การบําเพ็ญวิปสสนากรรมฐานของทานพระมิงกุลโตญนี้ปรากฏวา
ท า นอุ ต สาหะบํ า เพ็ ญ อยู น านหลายป โดยมี ญ าติ โ ยมทายกทายิ ก า
ผลัดเปลี่ยนเวียนเวรกัน นําเอาภัตตาหารไปถวายทานที่ถ้ําเชนเดียวกับที่เคย
นําไปถวายพระนโมเถระอรหันตทุกวัน เมื่อบําเพ็ญวิปสสนากรรมฐานอยู
นานจนไดผลเปนที่พอใจแลว ก็ออกจากถ้ํา ที่บําเพ็ญกรรมฐานมายังวิหาร
ตั้งสํานักปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานขึ้นโดยตัวทานเองเปนพระวิปสสนาจารย
บอกกรรมฐาน ตามวิธีการวิปสสนาวงศพระอรหันตะ ที่ทานบันทึกไวและ
เคยปฏิ บัติ มา ประชาชนชาวบ านตางพากัน ศรั ทธาเลื่ อมใส มาเขาปฏิบั ติ
วิปสสนากรรมฐานมากมาย ไมนานเทาใดชื่อเสียงสํานักวิปสสนากรรมฐาน
ของทานอาจารยพระมิงกุลโตญ ก็คอยขจรขจายแผกวางออกไป
สมัยนั้น ยังมีภิกษุหนุมรูปหนึ่งนามวา พระนารทภิกขุ เปนผูมีบุรพ
วาสนาควรแกการบําเพ็ญวิปสสนากรรมฐาน ครั้นบรรพชาในวิชาการทาง
พระพุ ท ธศาสนาเชี่ ย วชาญดี แต แ ทนที่ จ ะมี ค วามพอใจใฝ ห าเกี ย รติ ย ศ
ชื่อเสียงในดานคันถธุระ กลับมีความพอใจใครจะปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน
อันเปนการนําตนออกจากกองทุกขในวัฏฏสงสาร เพื่อไมใหเสียทีที่เกิดมา
เป น มนุ ษ ย พ บพระพุ ท ธศาสนา ก็ พ อดี ไ ด ส ดั บ ข า วอั น เป น มงคลว า พระ
อาจารยมิงกุลโตญตั้งสํานักปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานขึ้นแลว จึงเดินทางไป
พบกับ พระอาจารยมิงกุล โตญเพื่อสอบถามให แน ใจกอนว า สํ านั กปฏิ บั ติ
กรรมฐานที่ตั้งขึ้นมานี้ เปนสํานักปฏิบัติสมถกรรมฐาน หรือปฏิบัติวิปสสนา
กรรมฐาน ครั้นไดความแจงชัดวา เปนสํานักปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ตาม
วิปสสนาวงศพระอรหันตะ ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากพระโสณะอรหันตและพระ
๓๔๖
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
อุต ตระอรหั น ต พระนารทภิ ก ขุก็ ใ ห ดี อ กดี ใ จสุ ด ประมาณ รั บ อภิ วั น ท ข อ
กรรมฐานจากพระอาจารยแลวก็เริ่มบําเพ็ญ วิปสสนากรรมฐานทันที
พระนารถภิกขุผูมีบุรพวาสนา อุตสาหะปฏิบัติวิปสสนาอยูเปนเวลา
ชานานนับดวยจํานวนปโดยมีพระอาจารยมิงกุลโตญเปนพระวิปสสนาจารย
ผูบอกกรรมฐาน และเปนผูควบคุม ในขณะปฏิบัติอยางเขมงวดกวดขัน ใน
ที่สุด ก็ไดผลสมความมุงหมาย ทําใหทานหมดความสงสัยในวิธีการปฏิบัติ
วิปสสนากรรมฐาน เพราะวาพระวิปสสนาญาณตางๆ ปรากฏอยางชัดเจน
แจมแจง จนทานไดบรรลุอมตธรรมในพระพุทธศาสนา พระอาจารยมิงกุล
โตญพิจารณาเห็นวา พระนารทภิกขุผูเปนศิษยของทานรูปนี้ มีสติปญญามาก
ทั้งสภาวะพระวิปสสนาญาณก็ปรากฏขึ้นในขันธสันดานชัดเจนแจมใสควรจะ
เปน หลั กสํ าคัญในพระศาสนาด านวิป สสนาธุระตอไปภายหน า จึงมีคําสั่ ง
กําชับใหทานทบทวนพระวิปสสนาญาณ จนเชี่ยวชาญแมนยําในสภาวะพระ
วิปสสนาญาณอยูเปนเวลานาน เมื่อเปนที่พอใจทานแลว ก็ใหออกจากการ
ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน เพื่อสอนวิชาวิปสสนาจารยใหตอไป
กาลต อ มา ปรากฏว า พระอาจารย น ารทเถระนั้ น ท า นเป น พระ
วิปสสนาจารยที่มีชื่อเสียงเปนหลักสําคัญในพระพุทธศาสนาดานวิปสสนา
ธุระ ตามที่พระอาจารยมิงกุลโตญคาดหวังไวทุกประการ มหาชนเรียกทาน
อีกนามหนึ่งวา พระมิงกุลเชตะวัน สะยาดอร ที่สํานักปฏิบัติวิปสสนาของ
ทาน มีศิษยานุศิษยทั้งบรรพชิตและคฤหัสถมากมาย ในบรรดาศิษยานุศิษย
จํานวนมากนั้น ปรากฏวามีศิษยบรรพชิตที่สําคัญที่มีชื่อเสียงโดงดังในสมัย
ปจจุบันอยูรูปหนึ่ง นามวา “พระโสภณมหาเถระ อัครมหาบัณฑิต”๘๑
หลั กฐานที่ได กล าวมาแล ว จะเห็ น ได ชั ด ว าวิ ธี การสอนแบบนี้ มีมา
ตั้งแตโบราณกาลเปนแนวปฏิบัติที่นิยมแพรหลายในประเทศสหภาพพมา

๘๑
ดู ร ายละเอี ย ดในหนั ง สื อ “๑๐๐ ป อั ค คมหากั ม มั ฏ ฐานาจริ ย ะ” ,
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย , พิมพที่ บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนตพับ
ลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน) , ถนนบรมราชชนนี ตลิ่งชัน กรุงเทพฯ ๑๐๑๗๐, ๒ กรกฏาคม
๒๕๕๔.
๓๔๗
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
เปนระยะเวลานานกอนที่พระอาจารยมหาสี สะยาดอ จะนํามาใชสอนโยคีผู
เปนศิษย ฉะนั้น การกําหนดในใจวา “พองหนอ-ยุบหนอ” ที่บริเวณทองคือ
การสังเกตธาตุลม (วาโยธาตุ) ที่มีสภาวะลักษณะคือการเคลื่อนไหวอยาง
ชัดเจน เปนแนวทางปฏิบัติวิปสสนา กรรมฐานที่สอดคลองกับหลักคําสอนใน
มหาสติปฏฐานสูตร ที่วาดวยการมีสติตามดูกาย (กายานุปสสนาสติปฏฐาน)
ในขอกําหนดเกี่ยวกับการพิจารณากายโดยความเปนธาตุทั้ง ๔ (ธาตุ
มนสิการปพพะ) อาการพอง-อาการยุบ คือรูปที่เกิดขึ้นจากการสัมผัสของ
ธาตุลมนี้เรียกวา วาโยโผฏฐัพพรูป เปนรูปปรมัตถที่มีลักษณะของวาโยธาตุ
ชัดเจนคือการเคลื่อนไหว พระพุทธองคทรงเทศนาไวในบาลีสังยุตตนิกายวา
“ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอจงเปนผูมีโยนิโสมนสิการ ตั้งสติ กําหนดที่รูป ถามี
สมาธิแลว รูปนั้นอนิจจังก็ดี ทุกขังก็ดี อนัตตาก็ดี ยอมเห็นไดชัดเจน
แนนอน” ยังทรงเทศนอีกวา “โยคีบุคคลที่โผฏฐัพพารมณถูกตองสัมผัสนั้น
ตั้งสติกําหนดรูเห็นอยูวาไมเที่ยงบุคคลนั้นอวิชชาหายไปวิชชาญาณปรากฏ”
ดังนั้น การกําหนด “พองหนอ-ยุบหนอ” จึงเปนการสังเกตวาโยโผฏฐัพพรูป
ดวยโยนิโสมนสิการ อันประกอบดวยอาตาปหรือวิริยะ (ความเพียร) สติ
(ความระลึกได) สมาธิ (ความตั้งมั่นแหงจิต) และสัมปชัญญะ (ความรูตัวทั่ว
พรอม) มีหลักฐานยืนยันวาเปนคําสอนของพระพุทธองคที่ตรัสไวในมหาสติ
ปฏฐานสูตร เมื่อพลังของปจจัยดังกลาวแกกลาพอเพียงแลวผูปฏิบัติ (โยคี)
จะเห็นความไมเที่ยง ความเปนทุกขและความไมใชตัวตนของรูปธรรมและ
นามธรรม มีสัมมาทิฏฐิและวิชชาญาณเกิดขึ้น จนสามารถบรรลุมรรค ผล
นิพพานไดในที่สุด
๑๖. การปฏิบัติสุทธวิปสสนาแบบพอง-ยุบ
มหาสี ส ยาดอ หรื อ พระโสภณมหาเถระ ทา น
เชี่ยวชาญทั้งปริยัติและปฏิบัติ ในประวัติเลาวา ทานเปน
ผูเชี่ยวชาญในคัมภีรพระไตรปฎก อรรถกถาและฎีกามาก
มีศิษยมากมาย ตอมาทานตองการปฏิบัติวิปสสนา ซึ่งเปน
เนื้อแทของพระพุทธศาสนาที่แทจริง จึงเที่ยวสืบคนหา
๓๔๘
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
สํานักปฏิบัติวิปสสนาที่มีหลักการสอดคลองกับคัมภีรที่ไดศึกษามา ในที่สุดได
เลือกปฏิบัติแบบกําหนดทองพอง-ทองยุบกับอาจารยผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ
ทานหนึ่ง จนเห็นผลจริง วาวิปสสนามิใชมีอยูแตในตํารา การกําหนดดูอาการ
ทองพอง-ทองยุบอยางจดจอตอเนื่องนี่แหละ เปนการเจริญวิปสสนาใหบรรลุ
ถึงมรรคผลนิพพานไดจริง อีกวิธีหนึ่ง ความสอดคลองกันระหวางการกําหนด
อาการพอง-อาการยุบกับหลักปฏิบัติในพระคัมภีรพระไตรปฎก อรรถกถา
ฎีกา ผูสนใจหาอานไดจากหนังสือ “วิปสสนานัย”๘๒ อางอิงหลักฐานที่มา
ของแตละขอความไวอยางชัดเจน ระบุเชิงอรรถไวครบถวน
อนึ่ง ในการประชุมทําสังคายนาครั้งที่ ๖ ณ นครยางกุง ในป พ.ศ.
๒๕๐๐ นั้น ทานไดรับหนาที่สําคัญยิ่งในคราวครั้งนั้น คือ เปนผูตั้งปุจฉา ถาม
ขอความในพระไตรปฎก เพื่อใหพระเถระระดับทรงอภิญญาความจําเปนเลิศ
นามวา พระเถราจารยวิจิตตาสาราภิวังสะ เปนผูวิสัชนา เปรียบเทียบไดกับ
ทานพระมหากัสสปมหาเถระ ในการสังคายนาครั้งแรก
พระพุทธพจนวา “ภิกษุทั้งหลาย ขอปฏิบัติอยางหนึ่งคือ ภิกษุยอม
พิจารณาเห็นกายนี้ ตามที่ดํารงอยู ตามที่เปนไปอยูโดย ความเปนธาตุวา
ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ และธาตุลมมีอยูในกาย”๘๓
พระโสภณมหาเถระอธิบายวา การกําหนดรูสภาวะพอง-ยุบจัดเปน
ธาตุกรรมฐานตามพระบาลีขางตน โดยสภาวะพอง-ยุบเปนลมในทองที่ดันให
พองออกและหดยุบลงตามลักษณะของวาโยธาตุ
วิตฺถมฺภนลกฺขณา สภาวะตึงหยอนของธาตุลมที่เปนโผฏฐัพพารมณ
เปนลักษณะพิเศษของวาโยธาตุ
สมุทีรณรสา การทําใหเคลื่อนไหวจากระยะหนึ่งไปสูอีกระยะหนึ่ง
เปนหนาที่ของวาโยธาตุ

๘๒
พระโสภณมหาเถระ(มหาสีสยาดอ). วิปสสนานัย, พระพรหมโมลี ตรวจ
ชําระ.
๘๓
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๘/๓๐๗.
๓๔๙
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
อภินีหารปจฺจุปฏานํ๘๔ การผลักดันออก ขยายออก ตึงออก เปน
อาการปรากฏของวาโยธาตุ
และเปนการฝกปฏิบัติในหมวดอิริยาบถในกายานุปสสนาสติปฏฐาน
ซึ่งพระพุทธเจาตรัสไววา “ยถา ยถา วา ปนสฺส กาโย ปณิหิโต โหติ, ตถา
ตถา นํ ปชานาติ .” เธอตั้ ง กายไว ด ว ยกิริ ย าอาการอย างใดๆ ก็รู ชั ด กิริ ย า
อาการอยางนั้นๆ๘๕
ดั ง ที่พ ระโสภณมหาเถระ(มหาสี ส ยาดอ)อธิ บ าย
และประสบการณการปฏิบัติของผูเขียนเองยืนยันไดวา การ
เจริญสติกําหนดลักษณะอาการของวาโยธาตุ เปนการเจริญ
วิ ป ส สนาภาวนาที่ ถู ก ต อ งตามหลั ก สติ ป ฏ ฐาน ๔ อย า ง
แนน อน เพราะในขณะปฏิบั ติจริ งๆ นั้ น มิใชกําหนดรูแต
อาการของวาโยธาตุ (อาการพอง-ยุบ) แตเพียงอยางเดียว ถาหากมีอารมณ
อื่นๆ แทรกเขามาชัดเจนกวา หรือจิตเคลื่อนไปรับอารมณนั้นๆ ก็ใหกําหนด
อารมณนั้นๆ จนอาการนั้นๆ ดับไปจากจิต หรือจิตดับไปจากอารมณนั้นๆ
เสียกอน จึงจะกลับมากําหนดรูลักษณะอาการของวาโยธาตุไดอีก และเมื่อ
เจริญภาวนาจนสภาวะญาณสูงขึ้น สภาวะอาการของวาโยธาตุดับไปสิ้นแลว
ก็ใหตามกําหนดรูอารมณที่ยังเหลืออยางอื่นๆ ตอไป โดยเฉพาะสภาวธรรมา
รมณที่ป รากฏทางจิต อาการของจิ ต และตั วจิ ต เองที่รั บ รู ธ รรมารมณนั้ น
จนกวาสภาวะทั้งที่เปนธรรมารมณและจิตที่รับรูธรรมารมณนั้นๆ ดับจนหมด
สิ้นไป จากนั้นจะหนวงเอาพระนิพพาน มาเปนอารมณไดเองโดยอัตโนมัติ
การเขามาเผยแผในประเทศไทย๘๖
๘๔
ดูใน ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๘/๒๖๒, อภิ.สงฺ.อ. (บาลี) ๑/๓๙๑.
๘๕
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๕/๒๖๐-๑.
๘๖
ดู ร ายละเอี ย ดในหนั ง สื อ : ๑๐๐ ป อั ค คมหากั ม มั ฏ ฐานาจริ ย ะ,
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย , พิมพที่ บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนตพับ
ลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน) , ถนนบรมราชชนนี ตลิ่งชัน กรุงเทพฯ ๑๐๑๗๐, ๒ กรกฎาคม
๒๕๕๔.
๓๕๐
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานแบบพอง-ยุบ เขามาแพรหลายเปนที่
นิยมกันในประเทศไทย เริ่มจากความดําริ ริเริ่มของสมเด็จพระพุฒาจารย
(อาจ อาสภมหาเถร) อดีตอธิบดีสงฆวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ เมื่อครั้ง
ดํ ารงสมณศัก ดิ์ ที่ “พระพิมลธรรม” ที่ได จั ด ส งพระมหาโชดก าณสิ ทฺ ธิ
(พระธรรมธีรราชมหามุน)ี และคณะไปศึกษาวิปสสนาธุระที่สหภาพเมียนมา
ปพุทธศักราช ๒๔๙๕ พระพิมลธรรมไดสงพระมหาโชดก าณสิทฺธิ
วัดมหาธาตุฯ ไปศึกษาการปฏิบั ติวิป สสนากรรมฐาน ที่สํานักสาสนยิสสา
นครแรงกูน ประเทศเมียนมา ซึ่งมีพระโสภณมหาเถระ (มหาสีสะยาดอ)
เปนเจาสํานัก พระมหาโชดกไดไปศึกษาฝกการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานที่
ประเทศเมียนมาเปนเวลา ๑ ปเศษ จึงคิดจะกลับประเทศไทย ในครั้งนั้น
พระพิมลธรรม (อาจ อาสภเถระ) ไดแสดงความจํานงไปยังสภาการศึกษา
พุทธศาสนาแหงประเทศเมียนมา ขอใหจัดสงพระวิปสสนาจารยผูมีความรู
เชี่ยวชาญมาสอนการปฏิบัติในประเทศไทยดวย ๒ รูป ทางสภาการศึกษา
ประเทศเมียนมายินดีสงพระภัททันตะอาสภมหาเถระ กัมมัฏฐานาจริยะ
และทานอินทวังสะ ภาวนาจริยะ มาพรอมกับพระมหาโชดก าณสิทฺธิ
ปพุทธศักราช ๒๔๙๖ พระพิมลธรรม ประกาศตั้งวัดมหาธาตุยุวราช
รังสฤษฎิ์ ใหเ ป น สํานั กปฏิ บั ติวิ ป ส สนากรรมฐานขึ้นแผนกหนึ่ ง ใช สถานที่
ภายในบริเวณพระอุโบสถเปนที่ปฏิบัติ เมื่อเปดสํานักกรรมฐานขึ้นแลวมีพระ
เถรานุเถระ พระภิกษุสามเณรสมัครเขาปฏิบัติเปนจํานวนมาก มีพระมหา
โชดก าณสิทฺธิ กับพระอาจารยชาวเมียนมา ๒ ทาน เปนอาจารยสอน
ประจําตั้งแตบัดนั้นมา
การปฏิบัติวิปสสนาไดเจริญกาวหนาขยายสาขาออกไปสูตางจังหวัด
อยางรวดเร็ว กลาวไดวาการปฏิบัติวิปสสนาในประเทศไทยเกิดขึ้นภายใต
การนําของเจาประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภเถระ) ภายใตการ
อบรมของพระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก าณสิทฺธิ)
ปพุทธศักราช ๒๔๙๘ เจ าประคุณสมเด็ จ พระพุฒ าจารย (ขณะ
ดํารงสมณศักดิ์ที่ พระพิมลธรรม) ไดนําการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานเสนอ
คณะสังฆมนตรี เพื่อตั้งเปนกองการวิปสสนาธุระขึ้นในคณะสงฆไทย ครั้ง
๓๕๑
บทที่ ๕ กําหนดรูพอง-ยุบ เจริญสติปฏ ฐาน ๔
ตอมาจึงจัดตั้งสํานักงานกลางกองการวิปสสนาธุระขึ้นที่วัดมหาธาตุ ฯ คณะ
๕ กรุงเทพมหานคร โดยมีเจาประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภ
เถระ) เปนผูอํานวยการใหญฝายวิปสสนาธุระ แตงตั้ง พระธรรมธีรราชมหา
มุนี (โชดก าณสิทฺธิ) เปนพระอาจารยใหญฝายวิปสสนาธุระ
ปพุทธศักราช ๒๕๒๔ เจาประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย ในฐานะ
สภานายกมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติตั้งสถาบันวิปสสนาธุระขึ้น
เป น หน ว ยงานหนึ่ ง ของมหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ทยาลั ย เรี ย กว า “สถาบั น
วิปสสนาธุระแหงมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” เพื่อใหนักศึกษาไดศึกษา
และปฏิบัติ ทั้งปริยัติศาสนาและปฏิบัติศาสนา ซึ่งเปนธุระในพระพุทธศาสนา
ใหเจริญรุงเรือง
ปพุทธศักราช ๒๕๔๘ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส โดยการนําของสมเด็จพระพุทธชินวงศ
(สมศักดิ์ อุปสมมหาเถระ) เมื่อครั้งเปนพระพรหมโมลี ไดเสนอหลักสูตรพุทธ
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิปสสนาภาวนา ระดับชั้นปริญญาโท เพื่อใหผู
ศึกษามีความรูที่ถูกตองในเรื่องการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ทั้งภาคทฤษฎี
ในพระไตรปฎก อรรถกถา ฎีกา และภาคปฏิบัติที่มีความสอดคลองกัน คือ
เมื่อปฏิบัติจนเห็นรูป-เห็นนาม เห็นพระไตรลักษณ และเห็นอริยสัจ ๔ ดวย
ตนเองแลว ก็สามารถสอนผูอื่นใหรูอยางที่ตนรูไดดวย มิใชรูอยูแตผูเดียว แต
ไมสามารถสั่งสอน หรืออธิบายขยายความใหผูอื่นเขาใจได
สภามหาวิทยาลัยมีคําสั่งอนุมัติใหเปดดําเนินการไดในปพุทธศักราช
๒๕๔๘ เปนตนมา เมื่อศึกษาพระไตรปฎก อรรถกถา ฎีกา วิสุทธิมรรค ครบ
หนวยกิตรายวิชาแลว นิสิตตองเขาปฏิบัติวิปสสนาภาวนาติดตอกัน เปนเวลา
๗ เดือนเต็ม จึงจะมีสิทธิ์เสนอสอบวิทยานิพนธเพื่อจบหลักสูตรได

๓๕๒
บทที่ ๖

วิธีเดินจงกรม เจริญอริยสัจ ๔
พระพุทธองคตรัสไววา “ปุน จ ปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ คจฺฉนฺโต วา คจฺฉา
มีติ ปชานาติ, ิโต วา ิโตมฺหีติ ปชานาติ นิสินฺโน วา นิสินฺโนมฺหีติ ปชานาติ,
สยาโน วา สยาโนมฺหีติ ปชานาติ, ยถา ยถา วา ปนสฺส กาโย ปณิหิโต โหติ
ตถา ตถา นํ ปชานาติ”๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ขอปฏิบัติอีกประการหนึ่ง คือ ภิกษุเมื่อเดินไป
อยู ยอมรูชัดวาเดินอยู เมื่อยืนอยูยอมรูชัดวายืนอยู เมื่อนั่งอยูยอมรูชัดวา
นั่งอยู เมื่อนอนอยูก็ยอมรูชัดวานอนอยู หรือวา ภิกษุตั้งกายไวดวยอาการ
อยางใดอยู ก็ยอมรูชัดดวยอาการอยางนั้น๒
พระองคตรัสสอนวิธีพิจารณา ยกขึ้นสูวิปสสนาตอไปอีกวา
ดวยวิธีนี้ ภิกษุยอมพิจารณาเห็นกายในกายภายในอยู พิจารณา
เห็ น กายในกายภายนอกอยู หรื อ พิ จ ารณาเห็ น กายในกายทั้ ง ภายในทั้ ง
ภายนอกอยู พิจารณาเห็นธรรมเปนเหตุเกิดในกายอยู พิจารณาเห็นธรรม
เปนเหตุดับในกายอยู หรือพิจารณาเห็นทั้งธรรมเปนเหตุเกิดทั้งธรรมเปนเหตุ
ดับในกายอยู หรือวา ภิกษุนั้นมีสติปรากฏอยูเฉพาะหนาวา กายมีอยูก็เพียง
เพื่ออาศัยเจริญญาณ เจริญสติเทานั้น ไมอาศัยตัณหาและทิฏฐิอยู และไมยึด
มั่น ถือมั่น อะไรๆ ในโลก ภิ กษุทั้งหลาย ภิ กษุพิจ ารณาเห็ น กายในกายอยู
อยางนี้แล๓
การพิจารณาเห็นทั้งธรรมเปนเหตุเกิดทั้งธรรมเปนเหตุดับในกายอยู
พระสารี บุ ต รเถระอธิ บ ายว า เมื่อ เห็ น ความเกิด ขึ้น แห งรู ป ขัน ธ ย อ มเห็ น
ลักษณะ ๕ ประการอะไรบาง คือ


ที.ม.(บาลี) ๑๐/๓๗๕/๒๔๙, ที.ม.(ไทย) ๑๐/๓๗๕/๓๐๔.

ที.ม. (ไทย)๑๐/๓๗๕/๓๐๔, ม.มู.(ไทย) ๑๒/๑๓๔/๗๔.

ที.ม.(บาลี) ๑๐/๓๗๕/๒๔๙
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
๑. ยอมเห็นโดยความเกิดขึ้นแหงปจจัยวา เพราะอวิชชาเกิด รูปจึง
เกิด”
๒. ยอมเห็นโดยความเกิดขึ้นแหงปจจัยวา เพราะตัณหาเกิด รูปจึง
เกิด”
๓. ยอมเห็นโดยความเกิดขึ้นแหงปจจัยวา เพราะกรรมเกิด รูปจึง
เกิด”
๓. ยอมเห็นโดยความเกิดขึ้นแหงปจจัยวา เพราะอาหารเกิด รูปจึง
เกิด”
๕. แมเมื่อเห็นลักษณะแหงความบังเกิด ก็ยอมเห็นความเกิดขึ้นแหง
รูปขันธ
เมื่ อเห็ น ความเสื่ อ ม(แห ง รู ป ขั น ธ ) ย อ มเห็ น ลั ก ษณะ ๕ ประการ
อะไรบาง คือ
๑. ยอมเห็นโดยความดับแหงปจจัยวา เพราะอวิชชาดับ รูปจึงดับ”
๒. ยอมเห็นโดยความดับแหงปจจัยวา เพราะตัณหาดับ รูปจึงดับ”
๓. ยอมเห็นโดยความดับแหงปจจัยวา เพราะกรรมดับ รูปจึงดับ”
๓. ยอมเห็นโดยความดับแหงปจจัยว เพราะอาหารดับ รูปจึงดับ”
๕. แมเมื่อเห็นลักษณะแหงความแปรผัน ก็ยอมเห็นความเสื่อมแหง

รูปขันธ
ในขณะเดิน ผูปฏิบัติพึงมีสติรูเทาทันอาการเคลื่อนไหวของเทาแต
ละยางกาว เมื่อสมาธิแกกลามากขึ้น จะสามารถรับรูจิตที่ตองการจะเดินได
อีกโดยรูวา จิตที่ตองการเดินจะเกิดขึ้นกอน แลวจึงเกิดอาการเคลื่อนไหว
ตอมา ลักษณะธาตุขณะเดิน การยกเกิดจากธาตุไฟและธาตุลม การยาง เกิด
จากธาตุไฟและธาตุลม การกาวไปขางหนาเกิดจากธาตุไฟและธาตุลม การ
เหยียบ เกิดจากธาตุดินและธาตุน้ํา การวางเกิดจากธาตุดินและธาตุน้ํา การ
กด เกิดจากธาตุดินและธาตุน้ํา


ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/๕๐/๗๗.
๓๕๔
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
คัมภีรฎีกาอธิบายวา “วาโยธาตุยา อนุคตา เตโชธาตุ อุทฺธรณสฺส
ปจฺจโย” ขณะเดิน การยก(อุทฺธรณ)เกิดจากธาตุไฟเปนหลัก ธาตุลมคลอย
ตาม เพราะธาตุไฟมีสภาพเบากวาธาตุลม ตามอาการปรากฏ (ปจจุปฏฐาน)
ของธาตุไฟวา มีการใหถึงความออน หรือการพุงขึ้นสูงเปนเครื่องปรากฏ(มทฺ
ทวานุปฺปาทนปจฺจุปฏฐานา)
เตโชธาตุยา อนุคตา วาโยธาตุ อติหรณวีติหรณานํ ปจฺจโย.
การย า ง (อติ ห รณ) เกิ ด จากธาตุ ล มเป น หลั ก ธาตุ ไ ฟคล อ ยตาม
เพราะมีสภาพผลักดันตามอาการปรากฏของธาตุลม วา มีการผลักดันเปน
เครื่องปรากฏ (อภินีหารปจฺจุปฏฐานา)๕
คัมภีรอรรถกถา๖อธิบายวา แมสัตวดิรัจฉานเมื่อเดินไป ก็รูวาตัว
เดินก็จริงอยู แตพระพุทธเจามิไดตรัสหมายเอาความรูเชนนั้น เพราะความรู
เชน นั้นละความเห็น วาสั ตวไมไดเพิกถอนความเขาใจว าสัต วไมได ไมเป น
ภาวนาหรือสติปฏฐานภาวนาสวนการรูของภิกษุผูเจริญกายานุปสสนานี้ยอ
มละความเห็นวาสัตว เพิกถอนความเขาใจวาสัตวได เปนทั้งภาวนาและเปน
สติปฏฐานภาวนา และคําที่ตรัสหมายถึงความรูชัดอยางนี้วา ใครเดิน การ
เดินของใคร เดินไดเพราะอะไร แมในอิริยาบถอื่นๆ ก็เหมือนกัน
ใครเดิน ตอบวา ไมใชสัตว หรือบุคคลไรๆ เดิน
การเดินของใคร ตอบวา ไมใชการเดินของสัตว หรือบุคคลไรๆ เดิน
เดินไดเพราะอะไร ตอบวา เดินไดเพราะการแผไปของวาโยธาตุอัน
เกิดจากจิตปรารถนา เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้นยอมรูชัดวา จิตคิดวาจะเดิน จิต
นั้นก็ทําใหเกิดวาโยธาตุ ทําใหเกิดความเคลื่อนไหว การนําสกลกายใหกาวไป
ขางหนาดวยความไหวตัวแหงวาโยธาตุอันเกิดจากจิตปรารถนา เรียกวาเดิน
แมในอิริยาบถอื่นก็เหมือนกัน จิตเกิดขึ้นวาเราจะยืน จิตนั้นทําใหเกิดวาโย
ธาตุที่ทําใหเกิดความจงใจในความเคลื่อนไหว การทรงสกลกายใหตั้งขึ้นแต


ที.ฎีกา (บาลี) ๑/๓๐๑-๒, ม.ฎีกา (บาลี) ๑/๔๔๖.

ที.มหา.อ.(บาลี)๒/๓๗๕/๓๘๑

๓๕๕
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
พื้นเทา ดวยความไหวตัวแหงวาโยธาตุอันเกิดแตการทําของจิต เรียกวา ยืน
เกิดจิตปรารถนาขึ้นวาเราจะนั่ง จิตนั้นก็ทําใหเกิดวาโยธาตุๆ ก็ทํา
ใหเกิดความจงใจในความเคลื่อนไหว ความคู กายเบื้องลางลง ทรงกายเบื้อง
บนขึ้น ดวยความไหวตัวแหงวาโยธาตุอันเกิดแตการทําของจิต เรียกวานั่ง
เกิดจิตปรารถนาขึ้นวา เราจะนอน จิตนั้นก็ทําใหเกิดวาโยธาตุๆ ทํา
ใหเกิดความจงใจความเคลื่อนไหว การเหยียดกายทั้งสิ้นเปนทางยาว ดวย
ความไหวตัวแหงวาโยธาตุอันเกิดแตการทําของจิต เรียกวา นอน
เมื่อภิกษุนั้นรูชัดอยูอยางนี้ ยอมมีความคิดเห็นอยางนี้วา เขากลาว
กัน ว า สั ต ว เ ดิ น สั ต ว ยื น แต โ ดยแทจ ริ งแล ว สั ต ว ไรๆ ที่เ ดิ น ที่ยื น หามีไ ม
ประดุจคําที่กลาวกันวา เกวียนเดิน เกวียนหยุด แตธรรมดาวา เกวียนไรๆ ที่
เดินได หยุดไดเอง หามีไม ตอเมื่อนายสารถีผูฉลาด เทียมโค ๔ ตัวแลวขับไป
เกวียนจึงเดิน จึงหยุด
กายเปรียบเหมือนเกวียน เพราะอรรถวาไมรู ธาตุลมที่เกิดจากจิต
เปรียบเหมือนโค จิตเปรียบเหมือนสารถี เมื่อจิตเกิดขึ้นวา เราจะเดิน เราจะ
ยืน วาโยธาตุที่ทําใหเ กิด ความเคลื่อนไหวก็เกิด ขึ้น อิริ ยาบถมีเดิ นเป นต น
ยอมเปนไปเพราะความไหวตัว แหงวาโยธาตุอันเกิดแตการทําของจิต แตนั้น
สัตวก็เดิน สัตวก็ยืน เราเดิน เรายืน๗
พระพุทธเจาไดตรัสอานิสงสของการเดินจงกรมไว ๕ ประการดังนี้
“ดูกรภิ กษุทั้งหลาย อานิ สงสในการเดินจิ งกรมมี ๕ อยางเหลานี้
อานิสงส ๕ อยางเปนไฉน คือ
๑. อทฺธานกฺขโม โหติ. เปนผูอดทนตอการเดินทางไกล
๒. ปธานกฺขโม โหติ. เปนผูอดทนตอการบําเพ็ญเพียร
๓. อปฺปาพาโธ โหติ. เปนผูมีอาพาธนอย
๔. อสิตํ ปตํขายิตํสายิตํสมฺมาปริณามํ คจฺฉติ. อาหารที่กิน ดื่ม เคี้ยว
ลิ้มแลวยอมยอยงาย
๕. จงฺกมาธิคโต สมาธิ จิรฏฐิติโก โหติ.สมาธิที่ไดจากการเดินจงกรม

ที.ม.อ.(บาลี) ๒/๓๗๕/๓๘๑
๓๕๖
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔

ตั้งอยูไดนาน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงสในการเดินจงกรม มี ๕ อยางเหลานี้”
อานิสงสขอที่ ๕ คือ สมาธิที่ไดจากการเดินจงกรมยอมตั้งอยูนาน
หมายความวา สมาธิที่ไดจากการเดินจงกรมยอมกอใหเกิดสมาบัติ คือ รูป
ฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ อยางไรก็ตาม การบรรลุฌานหรือเขาฌานสมาบัติยอม
มีไดในอิริยาบถนิ่งเทานั้น เพราะฌานจิตทําหนาที่ค้ําจุนรูปไมใหเคลื่อนไหว๙
และหมวดอิริยาบถก็จัดเปนวิปสสนาเทานั้น๑๐ ขอความในคัมภีรอรรถกถานี้
จึงเปนการกลาวโดยออมเพื่อแสดงวา การเดินจงกรมตามหลักของสติปฏ
ฐานสู ตรสามารถเกื้อหนุ นใหนั กปฏิบั ติบ รรลุส มาบั ติ ๘ ได ในขณะนั่ ง ยื น
หรื อนอนที่เ ปน อิริย าบถนิ่ ง ทั้งนี้ เพราะวิ ปส สนาอาจเปน บาทเกื้อหนุน ให
สมถะกาวหนาอย างรวดเร็ว เหมือนกับการที่สมถะอาจเกื้อหนุนให สมถะ
กาวหนาไดเชนเดียวกัน ดังมีหลักฐานวา
จงฺ กมาธิ ค โต สมาธี ติ จงฺ กมํ อธิ ฏ ฐ หนฺ เ ตน อธิ คโต อฏ ฐ นฺ นํ
สมาปตฺตีนํ อฺญํตรสมาธิ.๑๑“คํากลาววา จงฺกมาธิคโต สมาธิ (สมาธิที่ได
จากการเดินจงกรม) คือ สมาธิในสมาบัติ ๘ อยางใดอยางหนึ่งที่บุคคลผูทํา
การเดินจงกรมไดรับแลว”
จิรฏฐิติโก โหตีติ จิรํ ติฏฐติ.ฺตเกน คหิตนิมิตฺตฺหิ นิสินฺนสฺส นสฺสติ,
นิสิ นฺ เ นน คหิ ต นิ มิตฺ ตํ นิ ป นฺ น สฺ ส . จงกมํ อธิ ฏ ฐ หนฺ เ ตน จลิ ต ารมฺมเณ
คหิตนิมิตฺตํ ปน ฐิตสฺสป นิสินฺนสฺสป นิปนฺนสฺสป น นสฺสตีติ.๑๒
“คํากลาววา ยอมตั้งอยูไดนาน ความจริงแลวอารมณที่บุคคลผูยืน
ไดรับยอมวิบัติไปในขณะนั่ง อารมณที่บุคคลผูนั่งไดรับยอมวิบัติไปในขณะ


อง.ปฺจก. (บาลี) ๒๒/๒๙/๓๑.

สงฺคห. หนา ๓๙.
๑๐
วิสุทฺธ.ิ ๑/๒๖๒.
๑๑
องฺ.อ. ๓/๑๒.
๑๒
องฺ.อ. ๓/๑๒.
๓๕๗
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
นอน ส ว นอารมณ ที่ บุ ค คลผู ก ระทํ า การเดิ น จงกรมได รั บ ในอารมณ ที่
เคลื่อนไหวยอมไมวิบัติไปในขณะยืน นั่ง และนอน ”
ปุน จปรํ อาวุโส ภิกฺขุ วิปสฺสนาปุพฺพงฺคมํ สมถํ ภาเวติ. ตสฺส
วิ ป สฺ ส นาปุ พฺพ งฺค มํ สมถํ ภาวยโต มคฺโ ค สฺ ช ายติ . โส ตํ มคฺคํ อาเสวติ
ภาเวติ พหุลีกโรติ. ตสฺส ตํ มคฺคํ อาเสวโต ภาวยโต พหุลีกโรโต สํโยชนานิ
ปหียนฺติ, อนุสยา พฺยนฺตีโหนฺติ.๑๓
“ผูมีอายุ อีกประการหนึ่ง ภิกษุยอมเจริญสมถะมีวิปสสนาเปนเบื้อง
หนา เมื่อเธอเจริญสมถะมีวิปสสนาเปนเบื้องหนา มรรคยอมเกิด เธอยอม
เสพ ย อ มเจริ ญ ย อ มกระทํ า มรรคนั้ น ให ม าก เมื่ อ เธอเสพอยู เจริ ญ อยู
กระทํามรรคนั้นใหมากอยูยอมละสังโยชนได อนุสัยยอมสิ้นสุด ”
พระดํารัสวา ยถา ยถา วา ปนสฺส กาโย ปณิหิโต โหติ, ตถา
ตถา นํ ปชานาติ (หรือเธอตั้งกายไวดวยกิริยาทาทางอยางใดๆ ก็รูกิริยา
ทาทางอยางนั้นๆ) เปนคําประมวลอิริยาบถทั้งหมด หมายความวา เมื่อ
รางกายตั้งอยูดวยกิริยาเดิน ก็พึงรูกิริยาเดิน เมื่อรางกายตั้งอยูดวยกิริยายืน
นั่ง หรือ นอน ก็พึงรูกิริยายืน นั่ง หรือนอน คนทั้วไปมิไดตามรูกิริยาเดิน
เปนตนวา เปนเพียงสภาวธรรมที่เกิดจากเหตุปจจัย จึงเกิดกิเลสจึดมั่นวาเปน
สิ่ ง เที่ ย ง เป น สุ ข บั ง คั บ บั ญ ชาได ต อ เมื่ อ เขาตามรู ด ว ยสติ ที มี วิ ป ส สนา
ปญญาประกอบรวมจึงทําลายกิเลสหยั่งเห็นสภาวธรรมตามความเปนจริง
๑. การเดินจงกรม
“จงกรม” ศัพทเดิมจากภาษาสันสกฤต แตศัพทภาษาบาลีจริงๆ มา
จากคําวา “จงฺกม” นิยมพูดติดรากศัพทในภาษาสันสกฤตวา “จงกรม” แต
คําวา “กรม” ในที่นี้ไมไดหมายความวาการเดินเวียนเปนวงกลม
“จงกรม” หมายถึงการกาวไป มาจาก กม ธาตุมีความหมายวา
ความกาวไป คือ การเดินไปกลับโดยมีสติกํากับอยูในขณะเดินนั้นๆ

๑๓
องฺ.จตุตก. ๑๗๐/๑๐/๑๗๘.
๓๕๘
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
ในพระไตรปฏก ไมไดใหความหมายของการเดินจงกรมไวมากนัก
หากแตตรัสวา เปนการกําหนดสติที่กาย อันเปนอิริยาบถหนึ่งในอิริยาบถทั้ง
๔ (อิริ ยาบถปพพะ) ก็คือการเดิ นธรรมดาอยางมี “สติ” หรื อมีสติ คอย
กําหนดอยูในเวลาเดินดังพระไตรปฎกที่วา “ภิขฺเว คจฺฉนฺโต วา คจฺฉามีติ
ปชานาติ” เมื่อภิกษุผูปฏิบัติเดินอยู ก็รูวากําลังเดินอยู”๑๔
ในคัมภีรวิสุทธิมรรค พระพุทธโฆสเถระ ไดกลาวเปรีย บเทีย บวิธี
ปฏิบ ัต ิใ นการเดิน จงกรมไว โดยทํ า การแบง สว นกา วเทา กา วหนึ ่ง ๆ
ออกเปน ๖ สวน หรือ ๖ ระยะ ดังนี้
ตโต เอกปทวารํ อุทฺธ รณ อติห รณ วีติห รณ โวสฺส ชฺช นสนฺนิกฺเ ข
ปนสนฺนิรุมฺภนวเสน ฉ โกฏฐาเน กโรติ. ขณะที่กาวเทาไป ทําการแบงกาว
เทากาวหนึ่ง ออกเปน ๖ สว น คือ อุทธรณะ อติหรณะ วีติหรณะ โวสสัช
ชนะ สันนิกเขปนะ สันนิรุมภนะ ดังนี้
๑.อุท ฺธ รณํ นาม ปาทสฺส ภูม ิโ ต อุก ฺข ิป นํ. ยกเทา ขึ ้น จากพื ้น
เรียกวา อุทธรณะ
๒. อติหรณํ นาม ปุรโต หรณํ. ยกหรือยื่นเทาไปขางหนา เรียกวา
อติหรณะ
๓. วีติหรณํ นาม ขาณุ กณฺฏก ทีฆชาติอาทีสุ กิฺจิเทว ทิสฺวา อิโต
จิโต จ ปาทสฺจารณํ. เมื่อเห็นตอเห็นหนามหรือเห็นทีฆชาติอยางใดอยาง
หนึ่งแลวยายเทาไปขางโนน (และ) ขางนี้ เรียกวา วีติหรณะ
๔. โวสฺสชฺชนํ นาม ปาทสฺส เหฏฐา โอโรปนํ. เมื่อลด (หยอน) เทา
ต่ําลงเบื้องลาง เรียกวา โวสสัชชนะ
๕. สนฺนิกฺเ ขปนํ นาม ปฐวีต เล ปฐนํ. วางเทาลงที่พื้น ดินเรีย กวา
สันนิกเขปนะ
๖. สนฺนิร มฺภ นํ นาม ปุน ปาทุทฺธ รณกาเล ปาทสฺส ปฐวิย า สทฺธึ
อภินิปฺปฬนํ. ขณะยกเทากาวไปขางหนาอีกกาวหนึ่ง กดเทาอีกขางหนึ่งไว

๑๔
ที. มหา. (บาลี) ๑๐/๒๗๕/๓๒๔.
๓๕๙
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
กับพื้น เรียกวา สันนิรุมภนะ๑๕
ในคัมภีรวิสุทธิมรรค พระพุทธโฆสเถระ ไดกลาวเปรีย บเทีย บวิธี
ปฏิบัติในการเดินจงกรมไวโดยทําการแบงสวนกาวเทากาวหนึ่งๆ ออกเปน
๖ สวน หรือ ๖ ระยะ ดังนี้
ตโตเอกปทวารํอ ุท ฺธ รณ อติห รณ วีต ิห รณโวสฺส ชฺช นสนฺน ิก ฺเ ข
ปนสนฺนิรุมฺภนวเสน ฉ โกฏฐาเนกโรติ. ขณะที่กาวเทาไป แบงกาวเทากาว
หนึ่ง ออกเปน ๖ สวน คือ อุทธรณะ อติหรณะ วีติห รณะโวสสัชชนะ สัน
นิกเขปนะ สันนิรุมภนะ แลวทานอธิบายความของแตละสวนไว ดังนี้
๑) อุท ฺธ รณํ นาม ปาทสฺส ภูม ิโ ต อุก ฺข ิป นํ. ยกเทา ขึ ้น จากพื ้น
เรียกวา อุทธรณะ (ยก) เทากับยกสนหนอ
๒) อติหรณํ นาม ปุรโต หรณํ. ยกหรือยื่นเทาไปขางหนา เรียกวา
อติหรณะ (ยาง) เทากับยกหนอ
๓) วีติหรณํ นาม ขาณุ กณฺฏก ทีฆชาติอาทีสุ กิฺจิเทวทิสฺวา อิโต
จิโต จ ปาทสฺจารณํ. เมื่อเห็นตอเห็นหนามหรือเห็นทีฆชาติอยางใดอยาง
หนึ่งแลวยายเทาไปขางโนน (และ) ขางนี้ เรียกวา วีติหรณะ ยายหรือยาง
เทากับ ยางหนอ
๔) โวสฺสชฺชนํ นาม ปาทสฺสเหฏฐา โอโรปนํ. เมื่อลด (หยอน) เทา
ต่ําลงเบื้องลาง เรียกวา โวสสัชชนะ (ลง) เทากับ ลงหนอ
๕) สนฺนิกฺเ ขปนํ นาม ปฐวีต เลปฐนํ. วางเทาลงที่พื้นดิน เรีย กวา
สันนิกเขปนะ (เหยียบ) เทากับถูกหนอ
๖) สนฺนิรมฺภนํ นาม ปุน ปาทุทฺธรณกาเลปาทสฺสปฐวิยา สทฺธึ อภิ
นิปฺปฬนํ. ขณะยกเทากาวไปขางหนาอีกกาวหนึ่ง กดเทาอีกขางหนึ่งไวกับ
พื้น เรียกวา สันนิรุมภนะ (กด) เทากับ กดหนอ๑๖

๑๕
พระพุทธโฆษเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค , สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภ
มหาเถร, พิมพครั้งที่ ๖, กรุงเทพฯ, ๒๕๔๘) , หนา ๑๐๓๙-๑๐๔๐.
๑๖
พระพุทธโฆษเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภ
มหาเถร) แปลและเรียบเรียง,พิมพครั้งที่ ๖, ๒๕๔๘, หนา ๑๐๓๙-๑๐๔๐.
๓๖๐
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔

๒. การจงกรมในการปฏิบัติวิปสสนา
คําวา จงกรม มาจากคําสันสกฤตวา จงฺกฺรม หมายถึง การเดินไป
มาในสถานที่แหงเดียว เพื่อผอนคลายความเมื่อยจากการนั่ง หรือเพื่อเจริญ
สติระลึกรูปจจุบัน พระพุทธองคทรงแสดงถึงการเดินจงกรมเปนเบื้องแรกใน
หมวดอิริยาบถนี้ เพื่อเนนการเดินจงกรมกอนจะนั่งกรรมฐานในการเจริญ
วิปสสนา แมในพระสูตรอื่นก็กลาวถึงการเดินจงกรมกอนการนั่งกรรมฐานวา
ชาคริยํ อนุยุตฺตา ภวิสฺสาม. ทิวสํ จงฺกเมน นิสชฺชาย อาวรณีเยหิ ธมฺ
เมหิ จิตฺตํ ปริโสเธสฺสาม, รตฺติยา ปมํ ยามํ จงฺกเมน นิสชฺชาย อาวรณีเยหิ
ธมฺเมหิ จิตฺตํ ปริโสเธสฺสาม. รตฺติยา มชฺฌิมํ ยามํ ทกฺขิเณน ปสฺเสน สีหเสยฺยํ
กปฺเปสฺสาม ปาเท ปาทํ อจฺจาธาย สโต สมฺปชาโน อุฏานสฺ มนสิกริตฺวา.
รตฺติยา ปจฺฉิมํ ยามํ ปจฺจุฏาย จงฺกเมน นิสชฺชาย อาวรณีเยหิ ธมฺเมหิ จิตฺตํ
ปริโสเธสฺสามาติ เอวฺหิ โว ภิกฺขเว สิกฺขิตพฺพ.ํ ๑๗
“ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอควรศึกษาอยางนี้วา พวกเราจักเปนผู
ประกอบความเปนผูตื่นอยูเสมอ จักชําระจิตใหสะอาดจากธรรมเครื่องกั้น
[กุศล] ดวยการจงกรม ดวยการนั่ง ตลอดวัน ตอนตนปฐมยามแหงราตรี จัก
ชําระจิตใหสะอาดจากธรรมเครื่องกั้น [กุศล] ดวยการจงกรม และการนั่ง
ในมัชฌิมยามแหงราตรีสําเร็จสีหไสยาส โดยขางเบื้องขวา ซอนเทาเหลื่อม
เทา มีสติสัมปชัญญะ กระทําความหมายในอันลุกขึ้นไวในใจ ในปจฉิมยาม
แหงราตรี ลุกขึ้นแลวทําจิตใหสะอาดจากธรรมเครื่องกั้นจิต ดวยการจงกรม
ดวยการนั่ง”
อิธ ภิกฺขเว นนฺโท ทิวสํ จงฺกเมน นิสชฺชาย อาวรณีเยหิ ธมฺเมหิ จิตฺตํ
ปริโสเธติ. รตฺติยา ปมํ ยามํ จงฺกเมน นิสชฺชาย อาวรณีเยหิ ธมฺเมหิ จิตฺตํ ปริ
โสเธติ. รตฺติยา มฺชฌิมํ ยามํ ทกฺขิเณน ปสฺเสน สีหเสยฺยํ กปฺเปติ. ปาเท ปาทํ
อจฺจาธาย สโต สมฺปชาโน อุฏานสฺ มนสิกริตฺวา. รตฺติยา ปจฺฉิมํ ยามํ
ปจฺจุฏาย จงฺกเมน นิสชฺชาย อาวรณีเยหิ ธมฺเมหิ จิตฺตํ ปริโสเธติ.๑๘

๑๗
ม. มู. (บาลี) ๑๒/๔๒๓/๓๗๘
๑๘
องฺ. อฏก. (บาลี) ๒๓/๙/๑๔๐
๓๖๑
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
“ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในธรรมวินัยนี้ ยามกลางวันนันทภิกษุยอม
ชําระจิตใหสะอาดจากธรรมเครื่องกั้นจิต ดวยการจงกรม ดวยการนั่ง ตลอด
วัน ตอนตนปฐมยามแหงราตรี ชําระจิตใหสะอาดจากธรรมเครื่องกั้นจิต
ดวยการจงกรม ดวยการนั่ง ในมัชฌิมยามแหงราตรีสําเร็จสีหไสยาส โดย
ขางเบื้องขวา ซอนเทาเหลื่อมเทา มีสติสัมปชัญญะ กระทําความหมายในอัน
ลุกขึ้นไวในใจ ในปจฉิมยามแหงราตรี ลุกขึ้นแลวทําจิตใหสะอาดจากธรรม
เครื่องกั้นจิต ดวยการจงกรม ดวยการนั่ง”
สาเหตุที่พระพุทธองคทรงเนนการเดินจงกรมกอนจะนั่งกรรมฐาน
ก็เ พราะว า การเดิ น จงกรมนั้ น ก อให เ กิด สมาธิ ได เ ร็ ว กว าการนั่ งกรรมฐาน
เนื่องจากสภาวะเดินที่ประกอบดวยการยก ยาง และเหยียบประจักษชัดกวา
สภาวะพองยุบ สภาวะนั่งที่เปนการคูเขาของรางกายสวนลาง และตั้งตรง
ของรางกายสวนบน และสภาวะสัมผัสของนิ้วมือหรือริมฝปากเปนตนที่นัก
ปฏิบัติกําหนดรูในขณะนั่ง ในสมัยพุทธกาลมีพระภิกษุบางรูปบรรลุธรรมดวย
การเดินจงกรมอยางเดียว เชน พระสุภัททะผูเปนสาวกรูปสุดทาย ผูบรรลุ
ธรรมด ว ยการสั่ งสอนของพระพุทธองค ในอรรถกถาของมหาปริ นิพพาน
สูต ร๑๙ กล าวว า ทานฟงธรรมจากพระพุทธองคแลว ไปเดิ นจงกรมในป า
สาละ ก็ไดบรรลุธรรมในขณะเดินจงกรมนั่นเอง
พระพุทธเจาสอนใหกําหนดรูอิริยาบถอันเกิดดวยกายนี้ นับแตเดิน
ยืน นั่ง ไปจนกระทั่งนอน ที่เคยสําคัญวา เรา ของเรา บุรุษ สตรี ในขั้น นี้
ต องรู ได ว าสั กแต เ ป น สภาวธรรมหนึ่ ง เช น การเดิ น เป น เพีย งสภาวะเบา
ผลักดัน หนัก และสัมผัสแข็งออนของเทาที่เคลื่อนไปขางหนา เกิดจากจิตที่
ตองการจะเดินซึ่งเกิดขึ้นกอนกิริยาเดิน และกิริยาเดินก็มีความเกิดขึ้นและ
ดั บ ไปเป น ธรรมดา เมื่อสภาวะยกสิ้ น สุ ด แล ว สภาวะย างย อมเกิด ขึ้น เมื่ อ
สภาวะยางสิ้นสุดแลวสภาวะเหยียบยอมเกิดขึ้น ในสภาวะยกไมมีสภาวะยาง
หรือเหยียบ แมในสภาวะยางไมมีสภาวะเหยียบเชนกัน ความเขาใจอยางนี้
จัดเปนการตามรูในกองรูปภายใน ชื่อวา ปจจักขญาณ คือ ปญญาหยั่งเห็น

๑๙
ที. อ. (บาลี) ๒/๑๙๗-๙๘
๓๖๒
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
โดยประจักษ โดยมีลําดับผลการปฏิบัติดังนี้
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ.
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ.
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ.
๑. ภิกษุยอมตามรูสภาวะคือความเกิดขึ้นในกองรูปอยูบาง
๒. ตามรูสภาวะคือความดับไปในกองรูปอยูบาง
๓. ตามรู ส ภาวะคือทั้งความเกิด ขึ้น และความดับ ไปในกองรูป อยู
บาง”
ความจริงเพียงการรูวาเปนกองรูปนั้นยังไมเพียงพอที่จะขจัดความ
หลงผิ ด นั กปฏิ บั ติ ต องเห็ น ประจั กษใ นความไมเ ที่ย งเสี ย กอนจึ งจะคลาย
ความเห็นผิดวาเที่ยงได ดังนั้น การเห็นประจักษในความเกิดดับจึงสําคัญมาก
จัดวาเปนพื้นฐานใหนักปฏิบัติหยั่งเห็นความเปนทุกขและความไมใชตัวตนใน
โอกาสต อ ไป และการเห็ น ประจั กษ ในไตรลั ก ษณดั งกล า วก็คื อ วิ ป ส สนา
แปลวา “การหยั่งเห็นโดยประการตางๆ คือ ความไมเที่ยงเปนทุกข ไมใช
ตัวตน” การปฏิบัติวิปสสนาก็คือการเจริญสติปฏฐานนั่นเอง
คัมภีรวิสุทธิมรรค๒๐อธิบายวา รูปยอมเกิดขึ้นดวยเหตุ ๔ อยาง คือ
อวิ ชชา ตัณหา กรรม และอาหาร เมื่อมีเ หตุ ๔ อยางนี้ รูป จึงเกิดขึ้นโดย
อวิชชา ตัณหา และกรรม เปนเหตุอดีต สวนอาหารเปนเหตุปจจุบัน อนึ่ง รูป
ยอมดับไปดวยการดับแหงเหตุ ๔ อยางนั้น เมื่อเหตุ ๔ อยางนี้ดับไป รูปจึง
ดับไป กลาวโดยประสบการณในการปฏิ บัติวา ในบางขณะนักปฏิบัติอาจ
เขาใจถึงเหตุเกิดของรูปวา “รูปเกิดขึ้นเพราะมีอวิชชาที่ไมรูรูปตามความเปน
จริง เพราะมีตัณหาพอใจในรูป เพราะมีกรรมที่ใหผลเปนรูปในปจจุบัน และ
เพราะมีอาหารที่รับประทาน” ในบางขณะอาจเขาใจวา “รูปเกิดขึ้นเพราะมี
จิตที่ตองการทําอากัปกิริยานั้นๆ เกิดขึ้นกอน” หรือเขาใจวา “รูปเย็นเกิดขึ้น
เพราะธาตุไฟที่มีความรอนนอย หรือรูปรอนเกิดขึ้นเพราะธาตุไฟที่มีความ
รอนมาก” ดังนี้เปนตน ความเขาใจดังกลาวเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเองของแตละคน

๒๐
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๓๐๑
๓๖๓
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
สวนใหญนักปฏิบัติมักรับรู “จิตสั่ง” คือจิตที่ประกอบดวยฉันทะและเจตนา
ในการทําอากัปกิริยาทางกาย วาจา ใจ โดยกําหนดวา “อยากเดินหนอ”
“อยากเหยียดหนอ” “อยากคูหนอ” “อยากขึ้นหนอ” หรือ “อยากลงหนอ”
เปนตน การรูเห็นเหตุเกิดขึ้นและเหตุดับไปอยางนี้ เปนวิปสสนาญาณที่ ๒
ชื่อวา ปจจยปริคคหญาณ คือ ปญญารูเห็นเหตุปจจัย
ตอมานั กปฏิ บั ติย อมหยั่ งเห็ นความแปรปรวนของรูป ได โดยรั บ รู
ความเกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไปของสภาวะยก ยาง เปนตน กลาวคือสภาวะ
ยกเกิดขึ้นแลวดําเนินตอไปชั่วขณะ แลวสิ้นสุดลง สภาวะยางจึงเกิดขึ้นแลว
ดําเนินไปจนกระทั่งสิ้นสุด ในที่สุดจึงเกิดสภาวะเหยียบที่เกิดขึ้น แลวดําเนิน
ต อไปแล ว สิ้ น สุ ด สภาวะยกไมมีในสภาวะย าง สภาวะย า งไมมีใ นสภาวะ
เหยียบ การรูเห็นความเกิดขึ้นและดับไปอยางนี้ เปนวิปสสนาญาณที่ ๓ ชื่อ
วา สัมมสนญาณ คือ ปญญารูเห็นความเกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไป
หลังจากนั้นเขายอมบรรลุวิปสสนาญาณที่ ๔ ชื่อวา อุทยัพพยญาณ
คือ ปญญารูเห็นความเกิดดับ เขาสามารถหยั่งเห็นความเกิดดับอยางชัดเจน
วา สภาวะยก ยาง และเหยียบนั้น เกิดขึ้นและดับไปอยางรวดเร็วถี่ยิบ ไมคง
อยูแมเพียงเศษหนึ่งสวนลานวินาที ในบางขณะอาจรูเห็นความเกิดดับของรูป
กายได อี ก ด ว ย ต อ มาย อ มบรรลุ วิ ป ส สนาญาณที่ ๕ ชื่ อ ว า ภั ง คญาณ คื อ
ปญญารูเห็นความดับ โดยรับรูความดับไปของรูปนามหมายความวา สภาวะ
ยกเปนตนปรากฏเพียงความดับไปเหมือนเปนเงาดําๆ โดยปราศจากสภาวะ
เกิดขึ้นอยางชัดเจน
๓. พิจารณาธาตุ ๔ ในอิริยาบถเดิน
ในขณะเดิน นักปฏิบัติพึงเจริญสติรูเทาทันสภาวะเคลื่อนไหวทุกยาง
กาวดวยการกําหนดวา “เดินหนอๆ” หรือ “ยางหนอๆ” หรือ “ยกหนอ ยาง
หนอ เหยียบหนอ” เมื่อสมาธิแกกลามากขึ้น นักปฏิบัติจะสามารถรับรูจิตที่
ตองการจะเดินไดอีกดวยโดยรูวา จิตที่ตองการเดินจะเกิดขึ้นกอน แลวจึงเกิด
อาการเคลื่อนไหว ดังพระพุทธองคตรัสวา
“ดูกรภิกษุทั้งหลาย ขอปฏิบัติอีกอยางหนึ่ง คือ ภิกษุเมื่อเดินอยู
๓๖๔
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
ยอมรูชัดวาเดินอยู”
“เธอยอมรูชัดอยางนี้วา จิตที่คิดนึกวาจะเดิน ยอมเกิดขึ้น จิตนั้น
ยอมยังธาตุลมใหเกิดขึ้น ธาตุลมยอมยังวิญญัติรูปใหเกิดขึ้นการเคลื่อนไหว
ขางหนาของรางกายทั้งหมด ดวยการขับเคลื่อนของธาตุลมที่จิตกระทําขึ้น
เรียกวา เดิน”
ความจริ งคนทั่ ว ไปที่ มิไ ด เ จริ ญสติ ป ฏ ฐานก็รู ว า ตนเดิ น แต ใจมั ก
คิดถึงเรื่องอดีตหรืออนาคตโดยมิไดรับรูสภาวะเดินอยางแทจริง ในบางขณะ
แมจะรูถึงการเดินก็มีความสําคัญวาเปนอัตตา ตัวตน เปนเราที่เดินอยู การ
เดิ น มี ความเที่ ย งไมแปรปรวน เพราะกิริ ย าเดิ น ดํ า รงอยู เ หมือนเดิ น มิไ ด
ปรากฏสภาวะเกิ ด ดั บ ความรู สึ ก ของคนทั่ ว ไปจึ ง มี อั ต ตสั ญ ญา คื อ
ความสําคัญวาเปนตัวตน ไมใชสติปฏฐานหรือวิปสสนาภาวนา
นักปฏิบัติผูตามรูสภาวะเดินในปจจุบันขณะยอมจะมีสติและปญญา
แตกตางจากการรับรูของคนทั่วไป กลาวคือ เขายอมรับรูจิตที่ตองการจะเดิน
กอนโดย กําหนดวา “อยากเดินหนอ” แลวสามารถตามรูสภาวะเคลื่อนไหว
อยางตอเนื่องตั้งแตเบื้องตนจนถึงที่สุด เขารูวาสภาวะเคลื่อนไหวเกิดขึ้นจาก
จิตที่สั่งใหเคลื่อนไหว และสภาวะเคลื่อนไหวนั้นก็มีความขาดชวงระยะที่ยก
ยาง และเหยี ยบไมปะปนกัน หลังจากนั้นก็จะหยั่ งเห็ นความเกิดดับ อยาง
รวดเร็วของสภาวะเคลื่อนไหวโดยละเอียด นักปฏิบัติผูเกิดสภาวธรรมอยางนี้
ยอมจะเขาใจวาไมมีตัวเรา ของเรา ซึ่งเปนผูเดิน มีเพียงจิตที่สั่งงานและกลุม
รู ป ที่ เ คลื่ อ นไหวจากระยะหนึ่ ง ไปสู อี ก ระยะหนึ่ ง มี ส ภาพไม เ ที่ ย งเพราะ
เกิดขึ้นแลวดับไป เปนทุกขเพราะถูกบีบคั้นดวยความเกิดดับ และไมใชตัวตน
ที่ผูใดอาจบังคับบัญชาได เขายอมเพิกถอน ความเห็นผิดวามีบุคคล ตัวตน
เปนเรา ของเรา และละความยึดมั่นในตัวตน
“ความเขาใจของภิกษุนี้ ยอมละความเห็ นว าเปน บุคคล ย อมเพิก
ถอนความสําคัญวาเปนตัวตน จัดเปนกรรมฐานและการเจริญสติปฏฐาน”
ปญญาที่หยั่งเห็นในลักษณะดังกลาวนี้ ชื่อวา อสัมโมหสัมปชัญญะ
คือ ความหยั่งเห็นโดยไมหลงผิดสวนการเจริญสติที่กําหนดวา “อยากเดิน
หนอ” หรือ “เดินหนอ” เปนตน ชื่อวา โคจรสัมปชัญญะ คือ ความหยั่งเห็น
๓๖๕
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
อารมณของสติ สมาธิ และปญญา อนึ่ง โคจรสัมปชัญญะเปนเหตุ อสัมโมห
สัมปชัญญะเปนผล นักปฏิบัติจึงควรเจริญโคจรสัมปชัญญะแกกลามีกําลัง
แลว อสัมโมหสัมปชัญญะก็เกิดขึ้นแลวพัฒนาเรื่อยไปตามลําดับ
“การหยั่ ง เห็ น ไม ส งสั ย ในการก า วเป น ต น ชื่ อ ว า อสั ม โมห
สัมปชัญญะ คือ เมื่อกาวหรือถอยอยูยอมปราศจากความหลงผิด เหมือน
ปุถุชนคนบอดที่หลงผิดวา ในการกาวเปนต น อัต ตายอมกาว การกาวถูก
อัตตาทําใหเกิดขึ้น หรือหลงผิดวา เรากาวอยู การกาวถูกเราทําใหเกิดขึ้น
เมื่อจิตที่คิดวาจะกาวเกิดขึ้นอยูวาโยธาตุที่มีจิตเปนสมุฏฐานยังวิญญัติติรูปให
เกิดอยู ยอมเกิดรวมกับจิตนั้นเอง กองกระดูกที่สมมุติวารางกายนี้ยอมกาว
ดวยการแผไปแหงวาโยธาตุอันจิตกระทําขึ้น
เมื่อเขากาวอยู ในขณะยกเทาขางเทาขางหนึ่ ง ธาตุ ๒ อยาง คือ
ปฐมวีธ าตุ และอาโปธาตุ มีกําลังนอย ส วนธาตุ ๒ อยางอื่น คือ เตโชธาตุ
และ วาโยธาตุ มีกําลังมาก แมในขณะยางและยางไปขางหนาก็เชนเดียวกันนี้
แตในขณะเหยียบ เตโชธาตุและวาโยธาตุมีกําลังนอย สวนธาตุทั้ง ๒ ที่เหลือ
คือ ปฐวีธาตุ และอาโปธาตุ มีกําลังมาก ในขณะวางและกดก็เชนเดียวกันนี้
ในบรรดาขณะเหล านั้น รู ป-นามที่เปน ไปในขณะยกย อมไมไปถึง
ขณะยาง เชนเดียวกันนี้ รูป-นามที่เปนไปในขณะยางก็ไปไมถึงขณะกาวไป
ขางหน า ที่เ ป น ไปในขณะดั น ไปขา งหน า ก็ไ ปไมถึง ขณะเหยี ย บ ที่ เ ป น ไป
ในขณะเหยียบก็ไปไมถึงขณะวาง ที่เปนไปในขณะวางก็ไปไมถึงขณะนั้นๆ
เองเหมือนเมล็ดงาที่ใสในกระทะรอนฉี่สงเสียงอยู ในรูป-นามที่เกิดดับอยูนั้น
ใครคนหนึ่งกาวอยูหรือ หรือเปนการกาวของใครคนหนึ่ง หรือความจริงเปน
จริ งเป นเพีย งการเดิ น ยืน นั่ ง และนอนของธาตุทั้งหลายโดยสภาวธรรม
“โดยแทจริงแลวในขณะเดินและคิดเปนตนนั้น จิตดวงเกา ยอมดับไปพรอม
กับ รู ป จิ ต ดวงใหม ย อ มเกิ ด ขึ้ น ต อ กั น ไป กระแสจิ ต ดํ า เนิ น ไปไมข าดช ว ง
เหมือนกระแสน้ํา” ความหยั่งเห็นไมหลงผิดในการกาวเปนตนอยางนี้ ชื่อวา
อสัมโมหสัมปชัญญะ”
พระอรรถกถาจารยกลาวถึงลักษณะของธาตุในขณะยกเทาเปนตน
- การยก (อุทฺธรณ) เกิดจากธาตุไฟ และธาตุลม
๓๖๖
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
- การยาง (อติหรณ) เกิดจากธาตุไฟ และธาตุลม
- การกาวไปขางหนา (วีติหรณ) เกิดจากธาตุไฟ และธาตุลม
- การเหยียบ (โวสฺสชฺชน) เกิดจากธาตุดิน และธาตุน้ํา
- การวาง (สนฺนิกฺเขปน) เกิดจากธาตุดิน และธาตุน้ํา
- การกด (สนฺนิรุมฺภน) เกิดจากธาตุดิน และธาตุน้ํา
คั ม ภี ร ฎี ก าได ชี้ แ จงเพิ่ ม เติ ม ว า ธาตุ ไ ฟเบากว า ธาตุ ล ม และธาตุ
น้ําหนักกวาธาตุดิน จึงสรุปสภาวะของธาตุในขณะเดินไดวา
๑. การยก (อุทฺธรณ) เกิดจากธาตุไฟเปนหลัก ธาตุล มคลอยตาม
เพราะธาตุไฟมีสภาพเบากวาธาตุลม ตามอาการปรากฏ (ปจจุปฏฐาน) ของ
ธาตุไฟวา มทฺทวานุปฺปาทนปจฺจุปฏฐานา (มีการใหถึงความออน/การพุงขึ้น
สูงเปนเครื่องปรากฏ)
๒. การยาง (อติหรณ) เกิดจากธาตุลมเปนหลัก ธาตุไฟคลอยตาม
เพราะมี ส ภาพผลั ก ดั น ตามอาการปรากฏของธาตุ ล มว า อภิ นี ห ารปจฺ
จุปฏฐานา (มีการผลักดันเปนเครื่องปรากฏ)
๓. การกาวไปขางหนา (วีติหรณ) เกิดจากธาตุลมเปนหลัก ธาตุไฟ
คลอยตาม เพราะมีสภาพผลักดัน
๔. การเหยียบ (โวสฺสชฺชน) เกิดจากธาตุน้ําเปนหลัก ธาตุดินคลอย
ตามเพราะธาตุน้ํามีสภาพหนักกวาธาตุดิน ตามลักษณะของธาตุน้ําวา ปคฺ
ฆรณลกฺขณา (มีลักษณะไหลหรือเกาะกุม) เนื่องดวยธาตุน้ํามีลักษณะไหล
ไปสูที่ต่ําจึงหนักกวาธาตุดิน
๕. การวาง (สนฺนิกฺเขปน) เกิดจากธาตุดินเปนหลัก ธาตุน้ําคลอย
ตามเพราะมีส ภาพสั มผั ส ความแข็งหรื อออ น ตามลั กษณะของธาตุ ดิ น ว า
กกฺขฬตฺตลกฺขณา (มีลักษณะแข็งหรือออน) และตามหนาที่ของธาตุดินว า
ปติฏฐานรสา(มีหนาที่ตั้งไว)
๖. การกด (สนฺนิรุมฺภน) เกิดจากธาตุดินเปนหลัก ธาตุน้ําคลอยตาม
“ธาตุไฟที่มีธาตุลมตามไป ยอมเปนปจจัยแกการยก เพราะธาตุไฟมี
สภาวะพุงขึ้นสูง”
“ธาตุลมอันมีธาตุไฟตามไป ยอมเปนปจจัยแกการยางและกาวไป
๓๖๗
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
ขางหนา เพราะความขวนขวายยิ่งในการยางเทา และดันเทายอมมีแกธาตุ
ลมที่มีสภาวะไปทางขวาง”
“ธาตุน้ําอันมีธาตุดินตามไปยอมเปนปจจัยแกการเหยียบ เพราะธาตุ
น้ํามีสภาวะหนักกวาธาตุดิน”

๔. วิธีฝกเดินจงกรม ๖ ระยะ
เดิน จัด เปน อิร ิย าบถไหว แตก ารเคลื ่อ นไหวนี ้ต อ งอยู ที ่เ ทา
หมายถึงอาการกาวไป หรืออาการเหวี่ย งไปของเทาแตล ะกาวๆ ถาไหวที่
สว นอื่น นอกจากเทาแลวไมใชอิริย าบถเดิน ลักษณะของการเดิน นั้น อยูที่
กายสวนบนกับ กายสว นลางตั้งตรง แลว เทาขางหนึ่งยืน ตั้งตรงยันกายไว
เทาอีกขา งหนึ่ง กาวไปหรือเหวี่ย งไปขา งหนา เรีย กวายัน กายไวขา งหนึ่ง
และเหวี่ยงไปขางหนึ่งผลัดเปลี่ยนกันอยูอยางนี้ พระพุทธเจาทรงตรัสไววา
“คจฺฉนฺโตวา คจฺฉามีติ ปชานาติ” เมื่อเดินอยูก็รูวาเดินอยู๒๑
๑. ฝกเดินจงกรม กอนเดินจงกรม กําหนดยืนใหกายและใจพรอม
เต็มที่กอน เปนการฝกปฏิบัติสติปฏฐานในหมวดอิริยาบถซึ่งพระพุทธเจาตรัส
ไววา “ิโต วา ิโตมฺหีติ ปชานาติ”๒๒ ยืนอยู ก็มีสติกําหนดรูวายืนอยู
เมื่อยืนขึ้นแลวใหกําหนดยืนหนอ ใชสติพิจารณาดูรูปยืน ใหชัดเจน
วางเทาซายและเทาขวาชิด ปลายเทาเสมอกันหางกันเล็กนอย มือทั้งสองไขว
หลังหรือกุมไวดานหนา มือขวาจับมือซาย ศีรษะตั้งตรง ทอดสายตาไปเบื้อง
หน า ๑ วาหรื อ ๔ ศอก การยื น ตั วตรง เปน ลั กษณะของการตั้งตรงของ
รางกาย จัดเปนสภาวะตึงของวาโยธาตุ๒๓ การกําหนดอิริยาบถยืนนั้น เพราะ
อาศัยจิตเกิดขึ้นวา เราจะยืน จิตนั้นทําใหเกิดวาโย-ธาตุๆ ทําใหเกิดความ
เคลื่อนไหว การทรงตัวตั้งขึ้นตั้งแตพื้นเทาขึ้นมาถึงปลายผมเปนที่สุด อันเกิด

๒๑
ที. มหา. ๑๐/๒๗๕/๓๒๔.
๒๒
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๗๕/๓๒๓.
๒๓
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), มหาสติปฎฐานสูต ร ทางสูพระ
นิพพาน. พระคันธสาราภิวงศแปล, หนา ๗๗.
๓๖๘
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
จากจิตปรุงแตงจิต รูสึกถึงอาการยืน โดยกําหนดบริกรรมวา ยืนหนอๆ ใหรู
ลักษณะของสภาวะอาการของรูปยืนกับคําบริกรรมภาวนาตองพรอมกัน
วิธีปฏิบัติ
๑. ยืนตัวตรง ไมโยกตัว ศีรษะตรง ไมโยกศีรษะ
๒. ลําคอตรง หนาตรง ไมเงยหนาหรือกมหนาใหมากไป
๓. เทาทั้ง ๒ หางกันเล็กนอย ประมาณ ๒๐ เซนติเมตร
และใหเทาเสมอกัน
๔. ยืนใหขาทั้ง ๒ ขางตรงยืนอยางมั่นคงยืนอยางสํารวม
๕. กายสวนบนและสวนลางตั้งตรง และนิ่ง
๖. ทอดแขนหรือปลอยแขนทั้ง ๒ ลง โดยไมยกหรือชูขึ้น
๗. มือไขวกันไวดานหนาหรือดานหลัง มือขวาจับขอมือซายเบาๆ
๘. ทอดสายตาลงพื้นหางจากปลายเทาประมาณ ๔ ศอกหรือ ๑
วา จะหลับตาก็ได
๙. สําหรับผูปฏิบัติใหม เอาสติจับความรูสึกตั้งแตปลายผม ไลลงไป
(สแกน) จนถึงปลายเทา รวดเดียว พรอมกับบริ กรรมสําทับลงไปช าๆ ว า
“ยืน..หนอ” จากนั้นกําหนดจับความรูสึกกลับขึ้นมาจากปลายเทา ขึ้นไปถึง
ปลายผม พรอมกับบริกรรมวา “ยืน..หนอ” ปฏิบัติดังนี้อยางนอย ๓ เที่ยว
จนกวารางกายและจิตใจนิ่งสงบ ถายังไมสงบ ก็ใหภาวนาตอไปจนกวาจะ
สงบ จึงจะกําหนดรูจิตที่คิดจะเดิน “อยากเดินหนอ” ตอไป
ควรเดินจงกรมกอนนั่งเจริญภาวนาทุกครั้ง ใหเพิ่มการเดินจงกรม
เปน ๒ ระยะ คือระยะที่ ๑ ขวายางหนอ-ซายยางหนอ ๑๕ นาที ระยะที่ ๒
ยกหนอ-เหยียบหนอ ๑๕ นาที การเดินจงกรม ใหมีสติกําหนดพิจารณารู
อาการที่ยกเทาขึ้น เหวี่ยงลงถูกพื้น๒๔ กําหนดพิจารณารูอาการของเทาที่

๒๔
ในการปฏิบัติเบื้องตน หากประคองเทาใหเหยียบลงชาเกินไป ...จะเปนการ
ประคองสภาวะดวยอํานาจตัณหา และอุปาทาน..อยากใหเห็นชัดๆ..บางครั้งทําใหจติ ตก
จากอารมณปจจุบัน ทําใหฟุง หรือเบื่อเซ็งไปเลย แตหากเคยปฏิบัติมาเกิน ๕-๗ วัน
แลว ยิ่งชา..ยิ่งดี ยิ่งเห็นสภาวะชัด
๓๖๙
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
เคลื่อนไหวใหทันทุกขณะที่ยางกาว อยาเผลอ ถาเผลอก็ใหกําหนดตามความ
เปนจริงวา “เผลอหนอ” ดังนี้
เดินกลับไปกลับมาชาๆ เปนจังหวะตอเนื่อง ประมาณ ๓-
๕ เมตร กมหนาเล็กนอย สงจิตกําหนดรูอาการเคลื่อนไหวของเทา
แตละจังหวะที่เคลื่อนไปอยางจดจอ ตอเนื่อง รับรูถึงความรูสึกของ
เทาที่คอยๆ ยกขึ้น คอยๆ ยางลง และความรูสึกสัมผัสที่ฝาเทา
(เย็น รอน ออน แข็ง ตึง หยอน) สงจิตดูอาการแตละอาการอยาง
จรดแนบสนิทกับอาการนั้นๆ ไมวอกแวก พรอมกับบริกรรมสําทับ
อาการที่รับรูนั้นไปดวย จนรูสึกไดถึงอาการที่เปลี่ยนไป ดับไปของสภาวะ
นั้นๆ เชน ขณะยางเทาก็รูสึกถึงอาการลอยไปของเทา พอเหยียบลง อาการ
ลอยเบาๆ ก็ดับไป มีอาการตึงๆ แข็งๆ เขาแทนที่ พอยกเทาขึ้นอาการตึงๆ
ดับไป กลับมีอาการลอยเบาๆ เขาแทนที่
ยิ่งเคลื่อนไหวชายิ่งเห็นอาการชัด ในขณะที่กําลังเดินหากมีความคิด
เกิดขึ้น หรือเผลอคิด ใหหยุดเดินกอน แลวสงจิตไปดูอาการคิดนั้นโดยไมตอง
สนใจวาคิดเรื่องอะไร บริกรรมในใจวา “คิดหนอๆ” จนกวาความคิดจะเลือน
หายไปเอง หากมีคิดซอนคิดก็ใหตามดูอาการไปเรื่อยๆ จนกวาจะดับสนิท
กอน แลวจึงกลับไปกําหนดเดินตอ อยามองซายมองขวา พยายามใหใจอยู
กับเทาที่คอยๆ เคลื่อนไปเทานั้น ถาเผลอสติหรือหลุดกําหนด ใหเริ่มใหม
เผลอ..เริ่มใหมๆ ไมตองหงุดหงิด ..เปนธรรมดาของผูปฏิบัติใหม!
การเดินจงกรม คือ การเดินอยางมีสติ จะไดรับประโยชนอยางยิ่ง
คือ เดินอยางเรียบรอย เดินมีความสุข ไมมีอันตราย เดินไมพลาดการเดิน
วิธีนี้จะบริหารสุขภาพกายและสุขภาพทางจิต ไดตามที่ตองการ๒๕
ยืนตัวตรง เอามือขวาจับขอมือซาย สนเทาทั้ง ๒ ชิดเสมอกัน สวน
ปลายเทาแยกออกจากกันพอประมาณยืนถนัด(ประมาณ ๒-๓ นิ้ว) ศีรษะตั้ง
ตรงไมควรเอียงซาย หรือเอียงขวา ใหทอดสายตาไปประมาณ ๔ ศอก ศีรษะ
๒๕
พระธรรมโกศาจารย, พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท,
๒๕๔๒: ๕๖–๕๙
๓๗๐
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
ของผูปฏิบัติก็จะไมกมหรือเงยจนเกินไป พอดีแกการเดินจงกรมนานๆ เมื่อ
ทายืนเรียบรอยแลว ใหหลับตา เอาสติมาจับอยูที่ความรูสึกยืน ที่รางกาย
อยาใหสติออกไปจากรางกาย ภาวนาวา “ยืนหนอๆๆ” ๓ หน หรือจนกวา
จะพรอมที่จะเดิน พรอมกับมีสติกําหนดพิจารณารูอาการของรูปยืน ใหเห็น
รูปของตัว เองยืน อยู ตั้งแตพื้นเทาจนถึงปลายผม จากปลายผมถึงพื้น เทา
เห็นรูปยืนชัดคลายกับวามีกระจกใบใหญทั้ง ๔ ดานและทั้งขางบน –ขางลาง
เรียกวาใหมีสติ กําหนดพิจารณารูรูปยืนใหชัดเจนดีแลว ใหลืมตาประมาณกึ่ง
หนึ่ง(อยาหลับตาเดิน) จากนั้นใหเคลื่อนสติไปจับอยูเทาขวา เดินชาๆ พรอม
กับภาวนาอยูในใจวา “ขวายางหนอ” ขณะที่ภาวนาในใจวา “ขวา” ใหยก
เทาขวาขึ้นพรอมกัน ไมใหกอนไมใหหลังกัน ใหพรอมกันพอดีๆ และใหมีสติ
กําหนดพิจารณารูอาการของเทาขวา ที่ยกขึ้นพรอมกันไปดวย เรียกวาให
ครบองค ๓ คือ ๑) การยกเทา ๒) ใจนึกคําบริกรรมวา “ขวา” และ ๓) ใหมี
สติกําหนดพิจารณารูอาการของเทาที่ยกขึ้น ขณะวา “ยาง” ตองเคลื่อนเทา
ไปอยางชาๆ พรอมกับลากเสียงยาวๆ และใหมีสติกําหนดพิจารณารูอาการ
ของเทาที่ยางพรอมกันไปดวย ในขณะที่จะวา “หนอ” และขณะวา “หนอ”
เทาตองลงถึงพื้นพอดีกันกับคําบริกรรม สวนขางซายก็ปฏิบัติเชนเดียวกัน

วิธีการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน “เดินจงกรม ๖ ระยะ”


การกําหนดเดินจงกรม ระยะที่ ๑ “ขวายางหนอ ซายย างหนอ”
ขณะกาวเทาขวาใหกําหนดวา “ขวายางหนอ” ขณะกาวเทาซายใหกําหนด
วา “ซายยางหนอ” ทอดสายตาไปขางหนาประมาณ ๑ วาหรือ ๔ ศอก เมื่อ
เดินไปจนสุดที่จงกรมใหยืนกําหนดวา “ยืนหนอๆ ” จากนั้น เอี้ยวตัวกลับ
ขณะเอี้ยวตัวกลับใหกําหนดวา “กลับหนอๆ”เมื่อกลับแลวยืนอยูก็ใหกําหนด
วา “ยืนหนอๆ” เมื่อเดินจงกรมตอไปก็ใหกําหนดเหมือนเดิมอีก จนไดสมาธิ
ดีกอนแลว จึงทําตามแบบฝกหัดตอๆ ไป
- ในขณะที่ กํ า หนดรู อ าการเดิ น ให มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะเข า ไปกํ า กั บ
อาการเคลื่ อนไหวที่กําลั งปรากฏอยู ตามความเป นจริ ง ว า ขวายางหนอ
ซายยางหนอ แตไมใหใสใจสัณฐานของเทาในขณะเดิน การกําหนดตองได
๓๗๑
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
หนึ่ งระยะ คํากําหนดต องไมขาดช ว งในขณะกําหนดรู อาการเดิ น ให เ ดิ น
กลับไปกลับมาอยางนี้ ๑ ชั่วโมง เพื่อชวยใหสมาธิดี สติปญญาแกกลา
- การกําหนดรูอาการตองไมมีการขาดชวง คือ ติดตอกันตั้งแตตน
จนจบ
- การกําหนดรูอาการเคลื่อนไหวกับการกําหนดตองพรอมกัน
- ขณะลงหนอนั้นเทาตองลงเสมอกันหรือขนานกับพื้นเต็มเทา ขณะ
ลงไมควรเอาสนเทาหรือปลายเทาลง
- เมื่อกําหนดวางเทาลงแลว ต องใสใจอาการสั มผั ส ให ลึ กลงไปใน
อาการที่รับรูอยูขณะนั้นเห็นอาการเย็น รอน ออน แข็ง หนัก เบา เกร็ง ตึง
หยอน ใจที่รูตองเทาทันความรูสึกของเวทนาที่ปรากฏ จิตที่รับรูตองตัดขาด
จากความเปนสัณฐานทั้งปวงที่รับรู ที่ปรากฏอยูนั้น
การกําหนดเดินจงกรมระยะที่ ๒ คือ “ยกหนอ เหยียบหนอ” ให
เดินระยะที่ ๑ กอน ดังนี้
(๑) กําหนดระยะที่ ๑ “ขวายางหนอ ซายยางหนอ”
(๒) กําหนดระยะที่ ๒ “ยกหนอ เหยียบหนอ”
ในขณะที่กําหนดรูอาการเดินใหมีสติสัมปชัญญะเขาไปกํากับอาการ
เคลื่อนไหวที่กําลังปรากฏอยูตามความเปนจริงวา ยก-หนอ เหยียบ-หนอ
(หมายเหตุ แตไมใหใสใจสัณฐานของเทาในขณะเดิน การกําหนดตองได ๒
ระยะ คํากําหนดตองไมขาดชวงในขณะกําหนดรูอาการเดิน ใหเดินกลับไป
กลับมาอยางนี้ ๑ ชั่วโมงจะทําใหสมาธิดี สติปญญาแกกลา)
- ตองกําหนดรูอาการของตนจิตกอนเสมอวา อยากเดินหนอ ๓ ครั้ง
กอนที่จะเดิน
- เทาที่ยกกับการกําหนดรูตองพรอมกันเรียกวาทันอาการ
- ขณะเดินตองไมใสใจสัณฐานของเทาแตดูที่อาการที่กําลังเคลื่อน
ไปของเทา
- ขณะเดินตองไมเอาสนเทาหรือปลายเทาลง ใหลงเต็มเทาพรอมกัน
- จดจออยูกับอาการยก – อาการเหยียบโดยใสใจอยางตอเนื่อง
๓๗๒
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
- ขณะเดินตองใหเปนไปตามธรรมชาติมากที่สุด
- ขณะเดินถาจิตสงออกไปขางนอกใหหยุดเดินแลวกําหนดอาการ
นั้นทันที
- ขณะเดินไมควรพูดคุยหรือสนใจตออารมณอื่น(ถาจิตของเกี่ยวตอง
กําหนดรู)
- ถาเกิดเวทนาตองหยุดเดินแลวกําหนดรูอาการนั้นทันที
การกําหนดเดินจงกรมระยะที่ ๓ คือ “ยกหนอ ยางหนอ เหยียบ
หนอ” ใหเดินระยะที่ ๑-๒ กอน ดังนี้
(๑) กําหนดระยะที่ ๑ “ขวายางหนอ ซายยางหนอ”
(๒) กําหนดระยะที่ ๒ “ยกหนอ เหยียบหนอ”
(๓) กําหนดระยะที่ ๓ “ยกหนอ ยางหนอ เหยียบหนอ”
- ในขณะที่ กํ า หนดรู อ าการเดิ น ให มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะเข า ไปกํ า กั บ
อาการเคลื่อนไหวที่กําลังปรากฏอยูตามความเปนจริง วา ยกหนอ ยางหนอ
เหยีย บหนอ (หมายเหตุ แตไมใหใส ใจสัณฐานของเทาในขณะเดิ น การ
กําหนดตองไดสามระยะคํากําหนดตองไมขาดชวงในขณะกําหนดรูอาการ
เดิ น ให เ ดิ น กลั บ ไปกลั บ มาอย างนี้ ๑ ชั่ ว โมงเป น ดี ที่สุ ด เพราะได ผ ลเร็ ว
สมาธิดี สติปญญาแกกลา)
- กําหนดรูอาการของตนจิตกอนเสมอ (อยากเดินหนอ ๓ ครั้ง)
- กําหนดรูอาการยก - ยาง - เหยียบ ใหได ๓ ระยะ
- ใสใจในอาการยก -อาการยาง – อาการเหยียบ
- สังเกตตั้งแตเริ่มตนทามกลางและที่สุดของการรูอาการใหชัดเจน
- ถามีอาการที่จิตรับรูในขณะเดินใหหยุดเดินแลวกําหนดรูอาการ
นั้นทันที
๔.๕ การกําหนดเดิ น จงกรมระยะที่ ๔ คือ “ยกส น หนอ ยกหนอ
ยางหนอ เหยียบหนอ” ใหเดินระยะที่ ๑-๓ กอน ดังนี้
(๑) กําหนดระยะที่ ๑ “ขวายางหนอ ซายยางหนอ”
(๒) กําหนดระยะที่ ๒ “ยกหนอ เหยียบหนอ”
(๓) กําหนดระยะที่ ๓ “ยกหนอ ยางหนอ เหยียบหนอ”
๓๗๓
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
(๔) กําหนดระยะที่ ๔ “ยกสนหนอ ยกหนอ ยางหนอ เหยียบหนอ”
- ในขณะที่ กํ า หนดรู อ าการเดิ น ให มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะเข า ไปกํ า กั บ
อาการเคลื่อนไหวที่กําลังปรากฏอยูตามความเปนจริง วา ยกสนหนอ ยก
หนอ ยางหนอ เหยียบหนอ
(หมายเหตุ แตไมใหใสใจสัณฐานของเทาในขณะเดิน การกําหนด
ตองไดสี่ระยะคํากําหนดตองไมขาดชวงในขณะกําหนดรูอาการเดิน ใหเดิน
กลั บ ไปกลั บ มาอย า งนี้ ๑ ชั่ ว โมงเป น ดี ที่ สุ ด เพราะได ผ ลเร็ ว สมาธิ ดี
สติปญญาแกกลา)
- กําหนดรูอาการของตนจิต (อยากเดินหนอ ๓ ครั้ง)
- กําหนดรูอาการทั้ง ๔ ระยะใหชัดเจนและจดจอตออาการที่กําลัง
เคลื่อนไหวอยู
- การกํ า หนดรู ต อ งสม่ํ า เสมอกั บ อาการที่ เ คลื่ อ นไหวอยู ใ ห ทั น
ปจจุบันอารมณ
- ถาจิตรับอารมณภายนอกใหหยุดแลวกําหนดรูทันที(ถาไมชัดเจนก็
ไมตอง)
๔.๖ กําหนดเดินจงกรมระยะที่ ๕ คือ “ยกสนหนอ ยกหนอ ยาง
หนอ ลงหนอ ถูกหนอ” ใหเดินระยะที่ ๑-๔ กอน ดังนี้
(๑) กําหนดระยะที่ ๑ “ขวายางหนอ ซายยางหนอ”
(๒) กําหนดระยะที่ ๒ “ยกหนอ เหยียบหนอ”
(๓) กําหนดระยะที่ ๓ “ยกหนอ ยางหนอ เหยียบหนอ”
(๔) กําหนดระยะที่ ๔ “ยกสนหนอ ยกหนอ ยางหนอ เหยียบหนอ”
(๕) กําหนดระยะที่ ๕ “ยกสนหนอ ยกหนอ ยางหนอ ลงหนอ ถูก
หนอ”
- ในขณะที่ กํ า หนดรู อ าการเดิ น ให มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะเข า ไปกํ า กั บ
อาการเคลื่อนไหวที่กําลังปรากฏอยูตามความเปนจริง วา ยกสนหนอ ยก
หนอ ยางหนอ ลงหนอ ถูกหนอ (หมายเหตุ แตไมใหใสใจสัณฐานของเทา
ในขณะเดิน การกําหนดตองได หาระยะคํากําหนดต องไมขาดชวงในขณะ

๓๗๔
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
กํ า หนดรู อ าการเดิ น ให เ ดิ น กลั บ ไปกลั บ มาอย า งนี้ ๑ ชั่ ว โมงเป น ดี ที่ สุ ด
เพราะไดผลเร็ว สมาธิดี สติปญญาแกกลา)
- กําหนดรูอาการของตนจิต (อยากเดินหนอ ๓ ครั้ง)
- จดจอตั้งแตเริ่มกําหนดรูจนสิ้นสุดการกําหนดรูอาการ
- กําหนดรูอาการใหเปนธรรมชาติมากที่สุดไมเกร็งเกินไป
๔.๗ กําหนดเดินจงกรมระยะที่ ๖ “ยกสนหนอ ยกหนอ ยางหนอ
ลงหนอ ถูกหนอ กดหนอ” ใหเดินระยะที่ ๑-๕ กอน ดังนี้
(๑) กําหนดระยะที่ ๑ “ขวายางหนอ ซายยางหนอ”
(๒) กําหนดระยะที่ ๒ “ยกหนอ เหยียบหนอ”
(๓) กําหนดระยะที่ ๓ “ยกหนอ ยางหนอ เหยียบหนอ”
(๔) กําหนดระยะที่ ๔ “ยกสนหนอ ยกหนอ ยางหนอ เหยียบหนอ”
(๕) กําหนดระยะที่ ๕ “ยกสนหนอ ยกหนอ ยางหนอ ลงหนอ ถูก
หนอ”
(๖) กําหนดระยะที่ ๖ “ยกสนหนอ ยกหนอ ยางหนอ ลงหนอ ถูก
หนอ กดหนอ”ประมาณ
- ในขณะที่ กํ า หนดรู อ าการเดิ น ให มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะเข า ไปกํ า กั บ
อาการเคลื่อนไหวที่กําลังปรากฏอยูตามความเปนจริง วา ยกสนหนอ ยก
หนอ ย างหนอ ลงหนอ ถู ก หนอ กดหนอ แต ไ มใ ห ใ ส ใ จสั ณ ฐานของเท า
ในขณะเดิน การกําหนดตองไดหกระยะคํากําหนดตองไมขาดชวงในขณะ
กําหนดรูอาการเดินใหเดินกลับไปกลับมาอยางนี้ ๑ชั่วโมงเปนดีที่สุด เพราะ
ไดผลเร็ว สมาธิดี สติปญญาแกกลา
- กําหนดรูอาการตนจิต (อยากเดินหนอ ๓ ครั้ง)
- จดจอกับอาการเคลื่อนไหวในแตชวงใหชัดเจน (ทันปจจุบัน)
- การกําหนดรูอาการตองพรอมเพรียงกันกับอาการที่เคลื่อนไหว
- ใสใจกับการกําหนดรูใหเปนไปตามธรรมชาติ
- การกําหนดรูอาการตองเขาใกลอาการมากที่สุดแตไมใชทองเอา

๓๗๕
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
(๔) วิธีปฏิบัติขณะหันกลับตัว เมื่อเดินจงกรมไปสุดสถานที่แลว ให
หยุ ด ยื น วางเทา เคีย งคู กัน กําหนดว า “ยื น หนอ”๓ ครั้ ง เมื่อ จะกลั บ ตั ว ผู
ปฏิบัติจะกลับทางขวาหรือทางซายก็ได แลวคอยๆ หันตัวกลับชาๆ พรอมกับ
กําหนดวา “กลับหนอๆๆ” กลับ ๓ คู กําหนด ๖ ครั้ง (ประมาณ ๖๐ องศา)
เมื่อหันกลับเสร็จแลวกอนจะเดินก็กําหนดวา “ยืนหนอๆๆ” เหมือนครั้งแรก
แลวจึงเดินจงกรมและกําหนดตอไปวา (กรณีเดินจงกรมระยะที่ ๑ อยู) “ขวา
ยางหนอ” “ซายยางหนอ” การเดินจงกรมและกําหนดกลั บไปกลับมาอยู
อยางนี้ เพื่อใหจิตตั้งมั่นอยูกับ อิริยาบถเดิน จนกวาจะครบตามเวลาที่กะไว
เชน ๓๐ นาที หรือ ๔๐ นาที หรือ ๕๐ หรือ ๑ ชั่วโมง

๕. การเจริญสติปฏฐาน ๔ ในการเดินจงกรม
การเดินจงกรมและการมีสติกําหนดรูตัวอยูเสมอ เปนวิธีปฏิบัติตาม
มหาสติปฏฐานสูตรในอิริยาบถปพพะ กายานุปสสนาสติปฏฐานที่วา “เมื่อ
เดิน ก็รูชัดวา เราเดิน” (คจฺฉนฺโต วา คจฺฉามีติ ปชานาติ) หรือวา “เมื่อยืน ก็
รูชัดวา เรายืน” (โต วา โตมฺหีติ ปชานาติ)๒๖
และเมื่อกลั บพรอมกับกําหนดรูตัวอยูเสมอ ก็เ ปนการปฏิบั ติตาม
สัมปชัญญปพพะ กายานุปสสนาสติปฏฐานแหงมหาสติปฏฐานสูตรที่วา “ทํา
ความรูตัวในการกาวไป การถอยกลับ” (อภิกฺกนฺเต ปฏิกฺกนฺเต สมฺปชานการี
โหติ)๒๗
เดินจงกรมแบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
ในการเดินจงกรมหลังจากโยคีกราบสติปฏฐาน ๔ แลวใหมีสติในการ
ยืน กําหนดยืนตัวตรง เอามือขวาจับ ขอมือซาย สนเทาทั้ง ๒ ชิดเสมอกัน
สวนปลายเทาแยกออกจากกันพอประมาณ (ประมาณ ๒-๓ นิ้ว) ยืนใหถนัด
ศีรษะตั้งตรง ไมควรเอียงซาย หรือเอียงขวา ใหทอดสายตาไปประมาณ ๔
๒๖
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๗๕/๒๔๙, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๕/๓๐๔.
๒๗
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๗๖/๒๕๐, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๖/๓๐๕.
๓๗๖
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
ศอก ศีรษะของผูปฏิบัติก็จะไมกมหรือเงยจนเกินไป พอดีแกการเดินจงกรม
นานๆ เมื่อจัดทายืนเรียบรอยแลว ใหหลับตา ดึงสติมาจับอยูที่รางกาย อยา
ปลอยสติออกไปจากรางกาย ใหภาวนาวา “ยืนหนอๆๆ” ๓ หน หรือจนกวา
พรอมที่จะเดิน แตถาความงวง ซึม คิด ฟุงมีอยูในจิตก็อยาเพิ่งเดิน ใหยืน
กําหนดรูอาการอยูอยางนั้นกอน พรอมกับมีสติกําหนดพิจารณารูอาการของ
รูปยืน การยืนตัวตรง เปนลักษณะของการตั้งตรงของรางกาย จัดเปนสภาวะ
ตึงของวาโยธาตุ๒๘ใหเ ห็น รูปของตัว เองยืน อยูตั้งแตพื้นเทาจนถึงปลายผม
จากปลายผมถึง พื้น เทา เห็น รูป ยืน ชัด คลา ยกับ วามีก ระจกใบใหญทั้ง ๔
ดา น รวมทั้งขางบนและขางลาง เรีย กว าใหมีสติ กําหนดพิจารณารู รูป ยื น
ชัดเจนดีแลวใหลืมตาประมาณกึ่งหนึ่ง (อยาหลับตาเดิน)
ใหโยคีกําหนดสติไปจับอยูเทาขวา เดินชาๆ พรอมกับภาวนาอยูใน
ใจวา “ขวายางหนอ” ขณะที่ภาวนาในใจวา “ขวา” ใหยกเทาขวาขึ้นพรอม
กัน ไมกอนไมหลังกัน ใหพรอมกันพอดีๆ และมีสติกําหนดพิจารณารูอาการ
ของเทาขวาที่ยกขึ้นพรอมกันไปดวย เรียกวาครบองค ๓ คือ ๑) การยกเทา
๒) ใจนึกคําบริกรรมวา “ขวา” และ ๓) ใหมีสติกําหนดพิจารณารูอาการของ
เทาที่ยกขึ้น ขณะวา “ยาง” ตองเคลื่อนเทาไปอยางชาๆ พรอมกับลากเสียง
ยาวๆ และมี ส ติ กํ าหนดพิ จ ารณารู อ าการของเท า ที่ ย างพร อ มกั น ไปด ว ย
ในขณะที่จะวา “หนอ” และขณะวา “หนอ” เทาตองลงถึงพื้นพอดีกันกับคํา
บริกรรม สวนขางซายก็ปฏิบัติเชนเดียวกันอยางนี้เปนการเจริญกายานุปสส
นาสติปฏฐาน
เดินจงกรมแบบเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน
ขณะที่โ ยคีเ ดิน จงกรม ๑ ชั่ว โมงอยูนั้น ถามีเวทนาอยางใดอยาง
หนึ ่ง เกิด ขึ ้น เชน สุข ทุก ข เหนื ่อ ย เวีย นศีร ษะ เจ็บ ปวด แสบรอ น
ซาบซาน หนาว เย็น คัน ชา หรือเฉยๆ เปน ตน ถาอาการเหลานี้ป รากฏ
ขึ้น มาชัด เจน ก็ใ หห ยุด เดิน แลว ใหเ อาสติไ ปกํา หนดพิจ ารณารูที่อาการ
ของเวทนานั้น ๆ โดยภาวนาวา “สุขหนอ ทุก ขห นอ เหนื่อ ยหนอ เวีย น

๒๘
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๗๕/๓๒๓.
๓๗๗
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
ศีรษะหนอ...คันหนอ ชาหนอ เฉยๆหนอ” เปนตน ตามอาการของเวทนา
นั้น ๆ สุด แตเ วทนาอยา งไหนจะปรากฏชัด เจน พรอ มกับ ใหมีส ติกําหนด
พิจ ารณารู อ าการของเวทนานั ้น ๆ วา มีอ าการอยา งไรพรอ มกัน ไปใน
ขณะเดียวกันดวย การกําหนดพิจารณารูเวทนา ไมใชกําหนดใหเวทนาดับ
ไป แตเปนเพียงใหโยคีผูปฏิบัติมีสติกําหนดพิจารณารูอาการของเวทนาที่
เกิดขึ้นในขณะนั้นใหทราบชัดตามความเปนจริงทุกขณะๆ ไปเทานั้นอยาง
นี้เปนการเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน

เดินจงกรมแบบจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน
ขณะที่โ ยคีเ ดิน จงกรม ๑ ชั่ว โมงอยูนั้น จิต คิด ถึง อดีต อนาคต
หรือฟุงซาน ก็ใหห ยุด เดิ น กอ น แลว กํา หนดไปที่อาการนั้น บริกรรมในใจ
วา“คิด หนอๆๆ”ฟุง หนอๆๆทัน ทีที่เ กิด รูทัน ไปตามอาการที่จิต เขาไปรู
อาการนั้นๆ เพราะถาเราเดินในขณะที่จิตคิดถึงอดีต อนาคต หรือฟุงซาน
ก็เปรียบเหมือนการเอาน้ําสกปรกไปลางจานๆก็ไมส ะอาด จะลางจานให
สะอาดน้ําตองสะอาดกอน ฉะนั้น เลยตองหยุดเดินเพื่อไปบําบัดที่จิตกอน
อาการคิด นึก มัน มีค วามซับ ซอ นหลายอยา ง เพราะอาการคิด กับ นึก มัน
ต างกัน คือ อาการคิด ที่ไมเ ปน เรื่องไมเ ปน ราวและไมไดมาจากเจตนาที่
จะคิด อยา งนี้เ รีย กวา คิด แตถา จิต มัน ไมไ ดอ ยากคิด แตมัน ไปคิด ของมัน
เองแบบสับสนเปนเรื่องเปนราวแบบนี้เรียกวาฟุง แต บ างครั้งจิต มัน ตั้ งใจ
คิดคือมีความเปน เราเขาไปตั้ งใจใหใชคํา วาตรึกหรือนึกเพราะมัน มาจาก
ความตั้ง ใจของเรา และบางทีโ ยคีเ ห็น เปน ภาพนิ่ง เปน หนา คนปรากฏ
ขึ้น มาใหใชคํา วาเห็น หนอ แต ถาเปน ภาพเคลื่อนไหวใหใชคํา วา คิด หนอ
โยคีกํ า หนดเห็น อาการของจิต ที ่ค ิด กํา หนดอาการนั ้น ไมใ ชกํ า หนด
เรื่อ งราวที่คิด สถานที่ บุค คล เพีย งรูวา กํา ลัง คิด อยู จนเห็น วา จิต รูกับ
ความคิด เปน คนละอัน ปราศจากความรูสึก วา เปน ผูคิด หรือ ความคิด
เปน เรา เมื่ออาการ คิด นึก หรือฟุง ดับ ไปก็ใ หกําหนดเดิ น จงกรมตอไป
ตามปกติอยางนี้เปนการเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน

๓๗๘
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
เดินจงกรมแบบแบบธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน
โยคีกําหนดรู เทาทัน อาการตามสภาพธรรมที่ชั ด เจน ในขณะนั้ น
ความรูสึกวาเราเปนผูรูเทา ไมปรากฏปราศจากภาวะแหงบุคคล ตัวตน เรา
เขา มีเ พีย งอารมณที่ป รากฏชั ด กับ จิ ต ที่เ ขาไปรู เ ทานั้ น ให เ ดิน จงกรมให
เทากับเวลานั่งภาวนา เดินใหครบทั้ง ๖ จังหวะ และเพิ่มอาการรูของจิต
ลงไปในอาการกา วยา งเปน ทวีค ูณ คือ เพิ ่ม ความถี ่ข องจิต รู ล งในการ
กําหนด และเพิ่มการกําหนดรูจิตอยากหัน อยากมอง อยากพูด อยากคุย
ใหจิตที่อยากมอง อยากคุยนั้นๆ ดับไป..โดยไม หันไปมองหรือเผลอพูดคุย
ใหไดทันกอนทุกครั้ง
และเจาะลึก สภาวะธัม มานุป ส สนา ใหม ากขึ ้น โดยเฉพาะ
“ตัณหาหนอ (อยากหนอ)” “มานะหนอ (ยึดหนอ)” “ทิฏ ฐิหนอ (หลง
หนอ)”ในขณะกําหนดเดินจงกรม เผลอบอยรูสึกหงุดหงิด กํา หนดงวงซึม
กําหนดอาการวา “ ซึมหนอๆ” หรือมีสิ่งมารบกวนรูสึกรําคาญ กําหนด
อาการวา “รําคาญหนอๆ” เมื่อญาณสูงขึ้น สภาวธรรมละเอียดนิ่มนวล
เบาบางก็กําหนดวา“รูหนอๆ” หรือ “รูๆๆๆ” จนกวาอารมณทั้งรูปทั้งนาม
ดับไปหมดสิ้นอยางสิ้นเชื้อ นี้เปนการเจริญธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน๒๙

๖. เห็นอริยสัจ ๔ ในการกําหนดจงกรม
อริยสัจ ความจริงอยางประเสริฐ ความจริงที่ทําคนใหเปนพระอริยะ
มี ๔ อยาง คือ ทุกข (หรื อ ทุกขสั จ จะ) สมุทัย (หรื อ สมุทัย สั จ จะ) นิ โ รธ
(หรือ นิโรธสัจจะ) มรรค (หรือ มัคคสัจจะ)๓๐ หรื อสัจจะที่พระอริย ะแทง
ตลอดอย างนี้ ก็ได คํ าว าอริ ย สั จ มาจากคําว า อริ ย +สั จ จะ สองคํา รวมกั น
๒๙
ดูรายละเอียดใน พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย, หลักสูตรพุทธศาสตร
มหาบัณ ฑิต สาขาวิ ชาวิป สสนาภาวนา รายวิชา ๖๐๖ ๓๐๗ สติป ฏฐานภาวนา
(ศูนยบัณฑิตศึกษา วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม) พ.ศ. ๒๕๕๖.
๓๐
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวล
ศัพท, พิมพครั้งที่ ๑๕,(กรุงเทพ: บริษัท สหธรรมิก จํากัด, ๒๕๕๓), หนา ๕๖๙.
๓๗๙
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
แปลวา เปนสัจจะที่พระอริยะแทงตลอด อริยสัจ๔ คือ ความจริงแทที่นําไปสู
ความสิ้นทุกขไดจริง๓๑ธรรมอันทําใหเปนพระอริยะ๓๒พระผูมีพระภาคเจา
ตรัสไว ๔ ประการ๓๓ พิจารณาอริยสัจ ๔ ในการเดินจงกรม ดังนี้
๑) การมีสติตามกําหนดรู รูปยก ยาง เหยียบ ขณะเดินจงกรมเปน
อารมณ จนเห็นรูปเห็นนาม นี้เปนขั้นกําหนดรูทุกข จัดเปน ทุกขอริยสัจ
การเจริญสติกําหนดรูอิริยาบถเดิน ขณะยก ยาง เหยียบ ปรากฏ
อาการของธาตุ ๔ เชน อาการมีไหล ไหว ตึง หย อน แข็ง ออน เย็ น ร อน
สภาพธรรมทั้งหลายที่ปรากฏชัดในขณะเดินจัดเปน รูป และจิตที่เขาไปรับรู
อาการของกายรวมถึงอาการของธาตุทั้งหลาย เชน จิตเขาไปรูอาการยก ยาง
เหยียบ เย็น รอน ออนแข็ง เปนตน จัดเปน นาม เมื่อเจริญสติมากขึ้น สมาธิ
ตั้งมั่น ปญญาแกกลาจนเห็นแจงเปนรูปเปนนาม แยกรูปแยกนาม เห็นรูป-
นามวาไมเที่ยง เปนทุกข ไมมีตัวตนบังคับบัญชาไมไดไมมีตัวตน บุคคล เรา
เขา นี้เปนกระบวนการขั้นกําหนดรูทุกข จัดเปน ทุกขอริยสัจ
๒) การมีสติตามกําหนดรูรูปยก ยาง เหยียบ ขณะเดินจงกรมเปน
อารมณ จนสติมีกําลังมากขึ้น สมาธิตั้งมั่นทําใหเกิดปญญาเห็นตัญหาที่ทําให
เกิดสติกําหนดละรูป-นามนั้น เปนขั้นกําหนดละสมุทัย จัดเปน สมุทยอริสัจ
จิ ต อยาก(ตั ณหา)ในการเดิ น จิ ต ที่อยากจะยก ย าง เหยี ย บ และ
เจตนาในการกําหนดรูในขณะเดินจงกรม จัดเปนสมุทยสัจและ การมีสติตาม
กําหนดรูรูป ขณะยก ยาง เหยียบ ขณะเดินจงกรมเปนอารมณ จนสติมีกําลัง
มากขึ้น สมาธิตั้งมั่น ทําใหเกิดปญญาเห็นตัณหาที่ทําใหเกิดสติขั้นกําหนดละ
รูป-นามนั้น เปนกระบวนการขั้นกําหนดละจัดเปน สมุทยอริยสัจ
๓) การมีสติกําหนดรูรูปยก ยา เหยียบ จนแจงรูป-นาม เห็นอาการ
เปลี่ ย นไปดั บ ไปของรู ป -นามและจิ ตตั ว รู เ ป น การแจ ง นิ โ รธ จั ด เป น นิ โ รธ
อริยสัจ

๓๑
อภิ.วิ.มูลฎีกา (บาลี) ๑/๑๘๙/๕๘.
๓๒
ขุ.เถร. (บาลี) ๒/๓๖/๑๕๘.
๓๓
สํ.สฬา.(ไทย) ๑๘/๖๗/๕๗., สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๑๐๘๔/๕๙๙
๓๘๐
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
การมีสติกําหนดรูรูป-นามในการเดินจงกรม ขณะยก ยาง เหยียบ
จนเกิ ด สติ สมาธิ ป ญ ญามากขึ้น มี กํ า ลั ง จนเห็ น แจ งรู ป และนาม คื อ เห็ น
อาการดับไปของอารมณและจิตตัวรูในขณะนั้นๆไดเปนการแจงนิโรธ จัดเปน
นิโรธอริยสัจ
๔) การมีสติกําหนดรูรูปยก ยาง เหยียบ จนเห็นรูป-นาม, เห็นเหตุ
ปจจัยและอาการเปลี่ยนแปลงไปของรูป-นามนั้น จนแจงอาการดับของรูป-
นามแจมชัดมากขึ้นๆ เปนการเจริญมรรค จัดเปน มรรคอริยสัจ
การมีสติกําหนดรูรูป-นามในอิริยาบถเดิน ในขณะยก ยาง เหยียบ
จนเห็ น รู ป -นามตามความเป น จริ ง เห็ น เหตุ ป จ จั ย และเห็ น อาการ
เปลี่ยนแปลงไปของรูป-นามนั้น จนแจงอาการดับของรูป-นามแจมชัดมาก
ขึ้นๆ เปนกระบวนการเจริญมรรค จัดเปน มรรคอริยสัจ
ขณะที่เจริญสติปฏฐาน ๔ กําหนดรูอาการในขณะเดินจงกรมอยูนั้น
องคมรรคทั้ง ๘ ประการมีอยูพรอม ดังนี้
๑. ปญญาเห็นแจงชัดอาการยก ยาง เหยียบ โดยความเปนรูป เห็น
แจงชัดจิต ที่รูยก ย าง เหยีย บ เปนนาม ซึ่งเกิด-ดับตามเหตุปจจั ย จัดเป น
สัมมาทิฏฐิ
๒. เมื่อมีอาการยก ยาง เหยียบ ปรากฏอยูในขณะเดิน ดําริยกจิต
ขึ้นสูอารมณ กําหนดรูอาการยก ยาง เหยียบนั้น ใหประจักษแกจิต จัดเปน
สัมมาสังกัปปะ
๓. การกําหนดรูอาการยก ยาง เหยียบ ตามลักษณะอาการ ดวย
การน อมจิ ตพร อมกับ บริกรรมภาวนาวา “ขวายางหนอ ซายยางหนอ ยก
หนอ เหยียบหนอ” จัดเปนสัมมาวาจา
๔. กําหนดรูทุกครั้งที่เห็นอาการยก (ยกหนอ), กําหนดรูทุกครั้งที่
เห็นอาการยาง (ยางหนอ), กําหนดรูทุกครั้งที่เห็นอาการเหยียบ (เหยียบ
หนอ), กําหนดวา“คิดหนอ” ทุกครั้ง ที่เ ห็ นอาการคิด ฯลฯ จั ดเป น
สัมมากัมมันตะ
๕. เมื่อกําหนดอยางจดจอตอเนื่อง กายยอมผองแผว จิตยอมผองใส
ชวยใหสติจับอารมณไดถูกตรงตามความเปนจริงยิ่งขึ้น จัดเปนสัมมาอาชีวะ
๓๘๑
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
๖. การประคับประคองจิตใหระลึกรูอยูแตอารมณปจจุบันที่ปรากฏ
ไมปลอยใจใหหลงใหลไปตามอารมณอดีตหรืออนาคต จัดเปนสัมมาวายามะ
๗. การเขาไปตั้งความระลึกรูอยางจดจอตอเนื่อง ไวในอารมณรูป-
นามปจจุบัน ที่เปลี่ยนแปลง เกิด-ดับไปตามเหตุปจจัย จัดเปนสัมมาสติ
๘. ความไมฟุงซาน จิตตั้งมั่นในอารมณรูป-นามอยางจดจอ ตอเนื่อง
ดวยอํานาจอุเ บกขาสั มโพชฌงค เปนบาทฐานในการเจริญสัมมาทิฏฐิ ใน
ระดับวิปสสนาญาณตอไป จัดเปนสัมมาสมาธิ
อริ ยสั จ ๔ ที่ป ระจักษแกผูป ฏิ บัติ ธรรมที่ระลึ กรู กิริ ย าเดิน เปน ต น
โดยไมองิ อาศัยตัณหาและทิฏฐิ คือ
การรูเห็นความเกิดดับของรูปที่เคลื่อนไหวในขณะเดิน จิตที่ตองการ
จะเดิน สติที่ระลึกรู และปญญาที่หยั่งเห็น เปนตน จัดเปนการกําหนดรูทุกข
สัจ ชื่อวา ปริญญากิจ คือ กิจกําหนดรู
การละความพอใจในสภาวธรรมที่กําหนดรูอยู จัดเปนการละสมุทย
สัจไดชั่วขณะเปนตทังคปหาน ชื่อวา ปหานกิจ คือ กิจละ
การบรรลุนิพพานชั่วขณะที่เรียกวาตทังคนิโรธ ดวยการใหสําเร็จ
ความดับวัฏฏทุกข คือ กิเลสที่อาจเกิดขึ้นเมื่อมิไดเจริญสติตั้ งแตอวิชชาที่
ปกปดสภาวะเกิดดับที่เปนอนิจจลักษณะไว พรอมดวยกรรมและวิบากขันธ
จัดเปนการกระทําใหแจงนิพพาน ชื่อวา สัจฉิกิริยากิจ คือกิจกระทําใหแจง
(ในที่นี้หมายถึงการใหสําเร็จความดับวัฏฏทุกขโดยตรง ยังไมใชการรูเห็น
ความดับของรูปนามคือนิพพานอยางแทจริง)
การอบรมอริยมรรคมีองค ๘ มีสัมมาทิฏฐิเปนตน ที่เปนฝายโลกิยะ
ชื่อวา ภาวนากิจ คือ กิจอบรม
ทุกขณะที่นักปฏิบัติเจริญสติระลึกรูสภาวธรรมปจจุบันจนกระทั่ง
เกิดปญญาหยั่งเห็นความเกิดดับอยางชัดเจน อริยสัจ ๔ ยอมประจักษเสมอ
อย า งนี้ ต อ เมื่ อ นั ก ปฏิ บั ติ บ รรลุ วิ ป ส สนาญาณขั้ น ต า งๆ จนกระทั่ ง บรรลุ
นิพพานดวยมรรคญาณก็จะหยั่งเห็นความดับสนิทของรูปนามอยางชัดเจน
อริยสัจ ๔ ที่ปรากฏในขณะนั้น คือ

๓๘๒
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
การหยั่งเห็นความดับของรูปนามที่กําหนดรูอยูจัดเปนการกําหนดรู
ทุกขสัจ และปริญญาปฏิเวธะ คือ การแทงตลอดดวยการกําหนดรู
การละความพอใจในรูปนามทั้งหมด จัดเปนการละสมุทยสัจ และ
ปหานปฏิเวธะ คือ การแทงตลอดดวยการละ
การรูนิพพานที่เปนความดับรูปนามทั้งหมดเปนอารมณ เปนการ
กระทําใหแจงนิโรธสัจ และสัจฉิกิริยาปฏิเวธะ คือ การแทงตลอดดวยการ
กระทําใหแจง
การเจริญอริยมรรคมีองค ๘ ฝายโลกุตตระ เปนการอบรมมรรคสัจ
และภาวนาปฏิเวธะ คือ การแทงตลอดดวยการอบรม
โดยประการดังนี้ ในเวลาบรรลุนิพพานดวยมรรคญาณ นักปฏิบัติชื่อ
ว า เป น ผู แ ทงตลอดอริ ย สั จ ๔ คื อ ทุ ก ข สมุ ทั ย นิ โ รธและมรรคใน
ขณะเดียวกัน ดวยการกําหนดรู การละ การกระทําใหแจง และการอบรม
เปรียบเสมือนประทีปที่ทํากิจ ๔ อยางในขณะเดียวกัน คือ การใหแสงสวาง
การทําลายความมืด การเผาไส และการยังน้ํามันใหแหง

๗. ประวัติการบรรลุธรรม
การบรรลุธรรมในอิริยาบถของพระเถระแตละทานนั้นแตกตางกัน
ออกไปในอิริยาบถทั้งสี่ คือ การยืน การเดิน การนั่ง และการนอน ในการ
ปฏิบัติพระกัมมัฏฐานจะตองเปนไปตามหลักแนวเจริญสติปฏฐาน ๔ในที่นี้
จะขอกลาวถึงพระเถระผูบรรลุพระอรหันตดวยการเดินจงกรม เพื่อนําเอา
ปฏิป ทาของทา นมาเปน ตัว อยา งในการปฏิบ ัต ิ พระเถระที ่บ รรลุพ ระ
อรหันตดวยการเดินจงกรม คือ พระมหานาคเถระ มีดังนี้
ประวัติพระมหานาคเถระ
ปรากฏเรื่องราวในคัมภีรอรรถกถาวา มีพระขีณาสพผูมีปฏิสัมภิทา
แตกฉานรูปหนึ่ง ชื่อวา พระธัมมทินนเถระ ทานอยูที่ตลังครวิหาร เปนผูให
โอวาทแกภิกษุสงฆหมูใหญ วันหนึ่งทานปรารภถึงพระอาจารยของทานวา

๓๘๓
บทที่ ๖ วิธีเดินจงกรมพิจารณาอริยสัจ ๔
“เหตุแหงความเปนสมณะของพระมหานาคเถระผูอยู ณ อุจจุงกวา-ลิกวิหาร
อาจารยของเราถึงที่สุด(บรรลุ)แลวหรือยังหนอ” เมื่อทานพิจารณาดูก็เห็น
ความที่ พระมหานาคเถระนั้นยังเปนปุถุชนเปนอยู และทราบดวยวา “เมื่อ
ทานไมไปชวย พระมหานาคเถระจะทํากาลกิริยาทั้งที่เปนปุถุชนเปนแน”
จึ งรี บ เดิ น ทางไปเยี่ ย มพระมหานาคเถระผู พํ านั ก อยู ณ ที่นั่ ง พัก กลางวั น
กราบแลวแสดงอาจริยาวัตร พระมหานาคเถระทักวา “อาวุโสธัมมทินนะ
ทําไมมาตอนนี”้ ทานก็เรียนวา “ จะมาเรียนถามปญหาครับ”
เมื่อพระเถระอนุญาตวา “ถามเถิด อาวุโส เราจักลาวแกให” ทาน
จึงถามปญหาเสียตั้ง ๑,๐๐๐ ขอ พระมหานาคเถระก็กลาวแกปญหาที่ถาม
ได ไมขัดของเลย ทีนี้เ มื่อพระธั มมทินนเถระถามวา “ญาณของทานเฉีย บ
อยางยิ่ง ธรรมอันนี้ทานไดบรรลุเมื่อไร” พระมหานาคเถระก็บอกวา “เมื่อ
๖๐ ปที่แลว” พระธัมมทินนเถระจึงขอใหทานแสดงอภิญญาสมาธิใหดู ขอให
ทานนิรมิตชางขึ้นสักตัวหนึ่ง ทานก็สราง ชางเผือกผองขึ้นตัวหนึ่ง พระธัมม
ทินนเถระจึงกลาวตอไปอีกวา ขอใหทานทํามันใหเปนยังชางมีใบหูผึ่ง หางชี้
มวนงวงไวในปาก ทําเสียงแผดรองอยางนากลัว แลนมาตรงหนา พระมหา
นาคเถระก็ทําอยางที่ขอใหทํานั้น แตเมื่อเห็นอาการอันนากลัวของชางซึ่ง
แลนมาโดยเร็ว ก็เกิดอาการกลัวขึ้น ตั้งทาจะลุกหนี พระธัมมทินนเถระผู
ขีณาสพจึงเหยียดมือยึดชายของจีวรทานไว แลวเรียนวา “ทานอาจารย ขึ้น
ชื่อวาความขลาดของพระขีณาสพหามีไม”
ในกาลนั้น ทานจึงรูความที่ตนยังเปนปุถุชน แลวกลาววา “อาวุโส
ธัมมทินนะ ขอเธอจงเปนที่พึ่งของฉันดวยเถิด” แลวนั่งกระโหยง คุกเขาแทบ
เทาพระขีณาสพ พระเถระขีณาสพจึงวา “ ทานอาจารย กระผมมาก็ดวย
ตั้ ง ใจว า จะเป น ที่ พึ่ ง พิ ง ของท า นนั่ น แหละ ท า นอย า คิ ด ไปเลย”แล ว บอก
กรรมฐานให พระมหานาคเถระรับกรรมฐาน แลวขึ้นสูที่จงกรมในยางเทาที่
๓ ก็ไดบรรลุผลเลิศ คือพระอรหันต๓๔

๓๔
ม.มู.อ. (ไทย) ๑๗/๔๙๔.
๓๘๔
บทที่ ๗
วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
๑. สภาพธรรมของเวทนา
พระพุทธองคตรัสว า “ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อะไรเรียกว าเวทนา?
เพราะเสวยอารมณสุขบาง เสวยอารมณทุกขบาง เสวยอารมณไมใชสุขไมใช
ทุกขบาง จึงเรียกวาเวทนา”๑ ก็คือความรูสึกสบาย ความรูสึกไมสบาย และ
รู สึ ก เฉยๆ โดยรู ป ศั พทม าจาก วิ ท อนุ ภ วเน + ยุ + อา วุ ทธิ อิ เป น เอ,
อาเทศ ยุ เปน อน, ลบสระหนา สําเร็จรูปเปน เวทนา มีรูปวิเคราะหวา เวท
ยตีติ เวทนา. อารมณสุขและทุกขเปนตนที่บุคคลเสวย ชื่อวา เวทนา๒
เวทิยติ อาลมฺพนรสํ อนุภวตีติ เวทนา. ชื่อวาเวทนา เพราะอรรถ
วิเคราะหวา เสวยคือกินรสของอารมณ๓ มีลักขณาทิจุกะ ดังนี้
๑) เวทยิตลกฺขณา มีการเสวยอารมณเปนลักษณะ
๒) อนุภวนรสา มีการเสวยรสอารมณเปนกิจ
๓) อิฏฐาการสมฺโภครสา มีความเสวยอารมณที่ชอบเปนกิจ
๔) เจตสิกอสฺสาทปจฺจจุปฏฐานา มีความพอใจทางใจเปนปจจุปฏ
ฐาน
๕) ปสฺสทธิปทฐานา มีปสสัทธิเปนปทัฏฐาน๔
ในการเจริญวิปสสนาพระองคตรัสถึงการกาหนดรูรูป (รูปปริคฺคโห)
บาง การกําหนดรูอรูป(อรูปปริคฺคโห)บาง ในการกาหนดรูรูปนั้นตรัสถึงการ


ส.ข. (ไทย) ๑๗/๗๙/๑๒๑.ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๕๐/๔๙๐.

พระมหาสมปอง มุทิโต, คัมภีรอภิธานวรรณนา, พิมพครั้งที่ ๒,
(กรุงเทพมหานคร: บริษัทประยูรวงศพริ้นทติ้ง จํากัด, ๒๕๔๗), หนา ๒๑๒.

พระสุมังคลเถระ, อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม
อภิธมฺมตฺ ถสงฺคหฎีกา, พิ มพครั้ง ที่ ๘, (กรุง เทพมหานคร: โรงพิ มพมหามกุฎราช
วิทยาลัย, ๒๕๔๒), หนา ๙๙.

อภิ.สงฺ. (ไทย) ๓๔/๓๑๑-๓๑๒.
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
กําหนดธาตุ ๔ สวนการกําหนดรูอรูป โดยมากตรัสถึงการกําหนดรูเวทนา๕
การกําหนดรูอ รูปมีหลักการสําคัญ ๓ ประการ คือ ดวยสามารถแหง
ผัสสะ ดวยสามารถแหงเวทนา และดวยสามารถแหงจิต คือ เมื่อผูปฏิบัติ
กําหนดรูรูปกรรมฐานแลว การที่จิตและเจตสิกตกไปในอารมณครั้งแรกนั้น
ผัสสะที่กระทบอารมณนั้นก็เกิดขึ้น ปรากฏแกผูปฏิบัติบางคน เมื่อจิตเสวย
อารมณนั้นเวทนาเมื่อเกิดขึ้นก็ยอมปรากฏแกผูปฏิบัติบางคน และวิญญาณ
อันเกิดขึ้นกําหนดรูอารมณนั้นอยู ก็ยอมปรากฏแกผูปฏิบัติบางคน
ในความถือมั่น ๓ อยางนั้น ผัสสะยอมปรากฏแกภิกษุใด แมภิกษุ
นั้น ยอมกําหนดรูสภาพธรรมวา มิใชผัสสะอยางเดียวเทานั้นยอมเกิดขึ้น แม
เวทนาอันเสวยอยูซึ่งอารมณนั่นก็เกิดขึ้นพรอมกับผัสสะนั้น แมสัญญาอันจํา
ซึ่ ง อารมณ นั้ น แม เ จตนาอั น คิ ด ซึ่ ง อารมณ นั้ น แม วิ ญ ญาณ อั น รู แ จ ง ซึ่ ง
อารมณนั้นก็ยอมเกิดขึ้นดวยผัสสะนั้น
เวทนายอมปรากฏแกภิกษุใด แมภิกษุนั้นก็ยอมกําหนดสภาพธรรม
วา มิใชเวทนาอยางเดียวเทานั้นเกิดขึ้น แมผัสสะอันกระทบอยูซึ่งอารมณ
นั้น นั่ น แหละยอมเกิด ขึ้น กับเวทนานั้ น แมสั ญญาอัน จําซึ่งอารมณนั้ น แม
เจตนาอันคิด ซึ่งอารมณนั้น แมวิ ญญาณอันรูแจ งซึ่งอารมณนั้ น ก็ย อมเกิด
ขึ้นกับเวทนานั้น
วิญญาณยอมปรากฏแกภิกษุใด แมภิกษุนั้นก็ยอมกําหนดรูสภาพ
ธรรมวา มิใชวิญญาณอยางเดียวเทานั้นเกิดขึ้น แมผัสสะอันกระทบอยูซึ่ง
อารมณนั้ นนั่ น แหละย อมเกิดขึ้น แมเวทนาอันเสวยอยูซึ่งอารมณนั้ น แม
สัญญาอันจําซึ่งอารมณนั้น แมเจตนาอันคิดซึ่งอารมณนั้น ก็ยอมเกิดขึ้นกับ
วิญญาณนั้น
เมื่อภิกษุนั้นใครครวญอยูวา ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา วิญญาณ
ธรรมทั้ง ๕ นี้อาศัยอยูกับอะไร ยอมทราบชัดวา อาศัยมหาภูตรูปและอุปาทา
รูป ดังนั้น จึงเห็นแจงชัดวาวา มหาภูตรูป(ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ ธาตุลม)


ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๑/-/ ๗๐๖.

๓๘๖
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
เป น รู ป ธรรม ส ว นผั ส สะ เวทนา สั ญ ญา เจตนา วิ ญ ญาณ ทั้ ง ๕ นี้ เ ป น
นามธรรม เมื่อใครครวญอยูวาขันธทั้งหลายมีอะไรเปนเหตุ ยอมเห็นวา มี
อวิชชาเปนตนเปนเหตุ
ในลําดับนั้นจึงยกขึ้นสูไตรลักษณดวยสามารถนามรูป พรอมดว ย
ปจจัยวา นี้เปนปจจัย นี้เปนธรรมที่เกิดขึ้นเพราะปจจัย สัตวหรือวาบุคคลอื่น
ไมมี มีแตเพียงกองแหงสังขารๆ เทานั้น พิจารณาเห็นอนิจจัง ทุกขังอนัตตา
โดยลําดับแหงวิปสสนา มุงหวังซึ่งการแทงตลอดวาในวันนี้ๆ ก็หรือวา เธอได
อุตุสปั ปายะ ปุคคลสัปปายะ โภชนสัปปายะ และธัมมัสสวนสัปปายะ แลวนั่ง
โดยบัลลังกเดียวนั่นแหละ ยังวิปสสนาใหถึงที่สุดแลวดํารงอยูในพระอรหัต
พระผูมพี ระภาคเจา เมื่อจะตรัสอรูปกรรมฐานก็ตรัสไวดวยสามารถ
แหงเวทนาเพราะเหตุไร เพราะความเกิดขึน้ แหงเวทนาทั้งหลาย ยอมปรากฏ
เพราะวาความเกิดขึ้นแหงสุขเวทนาและทุกขเวทนาทั้งหลายปรากฏอยู คือ
ในกาลใด สุ ข เวทนาเกิ ด ขึ้ น ทํ า ให ส รี ร ะทั้ ง สั่ น กระเพื่ อ มอยู สั่ น ไหวอยู
ซาบซานแผไปอยูเปนราวกะใหเคี้ยวกินเนยใสอันชําระแลวตั้งรอยครั้ง ราว
กะใหดับอยูซึ่งความเรารอนดวยน้ําตั้งพันหมอ ยอมใหเปลงวาจาวา สุขหนอ
สุขหนอ ในกาลใด ทุกขเวทนา เกิดขึ้น ก็ทําใหสรีระทั้งสิ้นกระเพื่อมอยู สั่น
ไหวอยู ซาบซานแผไปอยู เปนราวกะเขาไปสูกระเบื้องที่รอน ราวกะราดอยู
ดวยน้ําทองแดงที่ละลายแลว ราวกะกําคบเพลิงไมที่ใสเขาไปในหญาและ
ตนไมใหญที่แหงในปา ทําใหบนเพอรําพันอยูวา ทุกขจริง ทุกขจริง ความ
เกิดขึ้นแหงสุขเวทนา และทุกขเวทนา ยอมปรากฏ
สําหรับอทุกขมสุขเวทนานั้นชี้แจงใหเห็นไดโดยยาก ไมแจมแจงดัง
ความมืด แตยอมปรากฏแกผูปฏิบัติเองวา อทุกขมสุขเวทนานั้นเปนอาการ
ปานกลาง ดวยสามารถแหงการปฏิเสธความยินดีและยินราย เพราะความสุข
และความทุกขปราศจากไป
เปรี ย บเหมื อน นายพรานเนื้ อตามรอยเท าเนื้ อ ตั ว ที่ ห นี ขึ้น ไปบน
ระหว างแผ นหิ น ในเวลาอื่นพบรอยเทาเนื้ อที่ฝงนี้ของแผน หิน แมไมเ ห็ น
รอยเทาในทามกลาง ก็จะทราบไดโดยนัยวา เนื้อนี้ขึ้นไปจากที่ตรงนี้ลงมา
จากที่ตรงโนน ในทามกลาง มันจักไปบนแผนหินตรงนี้ ฉันใด ขอนี้ก็ฉันนั้น
๓๘๗
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
เพราะวา ความเกิดขึ้นแหงสุขเวทนายอมปรากฏ เปนราวกะวารอยเทาในที่
เปนที่ขึ้นไป ความเกิดขึ้นแหงทุกขเวทนายอมปรากฏเปนราวกะวา รอยเทา
ในที่เปนที่กาวลง
อทุกขมสุ ขเวทนานี้ ย อมปรากฏแกผู ถือเอาว า อทุกขมสุ ขเวทนา
เปนอาการปานกลางดวยสามารถแหงการปฏิเสธความยินดีและยินราย ใน
เพราะการปราศจากสุขและทุกขเวทนาราวกะ การถือเอาโดยนัยวา เนื้อที่
ขึ้นไปบนแผนหินตรงนี้ ลงไปตรงโนน ในทามกลางมันจะเดินไปตรงนี้
เวทนามีการเสวยอารมณเปนลักษณะ๖ เวทนานั่นเองเสวยสุข ไมใช
สัตวหรือบุคคลอื่น เพราะวาเวทนามีการเสวยอารมณเปนลักษณะ และ
เวทนาเสวยไดก็เพราะอาศัยวัตถุกับอารมณ๗
การเสวยอารมณ คือการเสวยวิบากทีเ่ กิดรวมกับผัสสะ ดวยปฏิสนธิ
วิญญาณบาง ดวยสฬายตนะเปนปจจัยบาง๘ ซึ่งมีลักขณาทิจตุกะดังนี้
มีการรูสึกอารมณเปนลักษณะ
มีการเสวยรสอารมณเปนกิจ หรือมีความเสวยอารมณที่ชอบเปนกิจ
มีความพอใจทางเปนปจจุปฏฐาน มีปสสัทธิเปนปทัฏฐาน.
สุขเวทนาก็ตาม ทุกขเวทนาก็ตาม อุเบกขาเวทนาก็ตาม ทั้งหมดมี
การเสวยอารมณเปนรส คือ ผัสสะก็เพียงกระทบอารมณเทานั้น สัญญามี
เพียงจําอารมณเทานั้น เจตนามีเพียงความตั้งใจเทานั้น วิญญาณมีการรูแจง
อารมณเทานั้น แตเวทนาเทานั้นที่เสวยรสแหงอารมณโดยสวนเดียว เพราะ
ความเปนเจาของโดยความเปนใหญ
เวทนานี่เปรียบเหมือนพระราชา สวนธรรมที่เหลือเหมือนพอครัว
พอครัวยังโภชนะมีรสอันเลิศตางๆ ใหเรียบรอยแลวใสสมุกประทับตรา ยก
ไปวางไวในสํานักพระราชา ทําลายตราแลวเปดสมุก แลวพนักงานก็ถือเอา
สวนขางบนจากกับแกงทั้งหลายใสภาชนะ เพื่อลองชิมดูวามีโทษหรือไมมี


ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๗๐๖., ขุ.มหา.อ. (ไทย) ๕/๑/-/๓๙๒.

สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เลม ๓ - หนาที่ ๑๙๖

อรรถกถาปฏิสัมภิทามรรค เลม๗ ภาค๑ หนา ๖๔๙
๓๘๘
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
โทษ จากนั้นก็นอมโภชนะมีรสตางๆ ไปถวายพระราชา พระราชาเทานั้น
ทรงเปนเจาของเสวยไดตามปรารถนา เพราะทรงเปนใหญและทรงมีอํานาจ
สวนธรรมนอกนั้นเสวยรสอารมณบางสวน เหมือนพอครัวเพียงแต
ชิม และทดลองชิม พระกระยาหารเพียงบางสวนเทานั้น ฉันใด แมธรรมที่
เหลือก็ฉันนั้น ยอมเสวยรสอารมณเพียงบางสวนเทานั้น เหมือนอยางวา
พระราชาทรงเปนเจาของ เพราะพระองคทรงเปนใหญเปนผูสมควร ยอม
เสวยตามความพอพระทัย ฉันใด แมเวทนาก็ฉันนั้นยอมเสวยรสแหงอารมณ
โดยความเปนเจาของ เพราะความเปนใหญ เปนผูสมควร เพราะฉะนั้น
ทานจึงกลาววา เวทนามีการเสวยอารมณเปนรส.๙
๒. ความสําคัญของการกําหนดรูเ วทนา
พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงแสดง เวทนา ในพระสูตรตางๆ มีมากมาย
หลายประเภท เชน เวทนา ๓, เวทนา ๕, เวทนา ๖ แมวาเวทนาเปนสภาวะ
นามธรรมชนิดหนึ่ง เมื่อวาโดยปรมัตถธรรม๑๐ เวทนาเปนเจตสิกดวงที่ ๒ ใน
บรรดาเจตสิกทั้งหมด ๕๒ ดวง กระบวนธรรมของเวทนาซึ่งเปนกระบวน
ธรรมการรับรูของผูมีชีวิต ที่เกิดขึ้นมาจากสหชาตธรรม คือ อายตนะภายใน
ทั้ง ๖, อายตนะภายนอกทั้ง ๖ และวิญญาณทั้ง ๖ มาประชุมรวมกัน เกิด
ผั ส สะการกระทบสั ม ผั ส อาศั ย การปรุ ง แต ง ของเหตุ ป จ จั ย ต า งๆ เป น
กระบวนการทางธรรมชาติเกิดการรับรู เรียกวา เวทนา เกิดเปนกระบวน
ธรรมที่ ส มบู ร ณ ค รบองค ของขั น ธ ๕ คื อ อายตนะภายใน และอายตนะ
ภายนอกเปนรูปขันธ มีวิญญาณเปนวิญญาณขันธ มีผัสสะเปนสังขารขันธ
เกิดเวทนา เปนเวทนาขันธ๑๑

อภิ.สํ.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๓๑๑.
๑๐
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวล
ศัพท, พิมพครั้งที่ ๑๑, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพบริษัท เอส.อาร.พริ้นติ้ง แมส โปร
ดักส จํากัด, ๒๕๕๑), หนา ๒๐๑.
๑๑
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย, พิมพครั้งที่
๓๕, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพผลิธัมม, ๒๕๕๕), หนา ๓๗.
๓๘๙
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
การเจริญวิปสสนาภาวนาตองพิจารณาใหเห็นสภาวะจริงของเวทนา
ที่เปนจริงวา เวทนานั้นเกิดแตจิต ซึ่งเปนสวนหนึ่งของใจอันมีอวิชชา ความ
ไมรูสภาวะจริงนั้นเอง ทําหนาที่ปรุงแตงอารมณ เรียกวา จิตสังขาร อันเปน
เหตุใหเกิดการรับรูอารมณจากภายนอกที่สัมผัสกับทวารตางๆ ทั้ง ๖ ทวาร
แลวจิตนั้นเองก็เสวยอารมณสุข ทุกข หรือ อทุกขมสุขเวทนา แลวแตกรณี
เมื่อพิจารณาเห็นเวทนาวา “นั่นไมใชของเรา เราไมเปนนั่น นั่นไมใชอัตตา
ของเรา” เพราะเป นป จ จุบั น อารมณที่มีส ภาวธรรมที่ป รากฏชั ดเจน เป น
สภาวธรรมที่เปนบาทฐานในการเห็นพระไตรลักษณอยางชัดแจง และเวทนา
นี้ เ ป น สิ่ ง ที่ อ ยู กั บ เราตั้ ง แต เ กิ ด จนตาย โยคี ผู ป ฏิ บั ติ ส ามารถเห็ น ความ
เปลี่ยนแปลงของเวทนาอยูเนืองๆ แลว ก็มีโอกาสเขาถึงสภาวธรรมที่ประณีต
ยิ่งๆ ขึ้นไป
ผูที่สามารถเขาใจกระบวนธรรมของเวทนาตามเปนจริงวา เวทนา
ทั้ง ๓ คือ สุขก็ดี ทุกขก็ดี อทุกขมสุขก็ดี ลวนไมเที่ยง เปนสิ่งที่ปจจัยตางๆ
ปรุงแตงขึ้น เปนของอาศัยซึ่งกันและกันเกิดขึ้น มีอันจะตองสิ้น ตองสลาย
ตองจางหาย ตองดับไปเปนธรรมดา แลวหมดใครหายติดในเวทนาทั้ง ๓ นั้น
จนจิตหลุดพนเปนอิสระไดแลว เมื่อนั้นจึงประสบสุขเหนือเวทนาหรือสุขที่ไม
เปนเวทนา ไมอาศัยการเสวยอารมณ ที่เปนขั้นสูงสุด
ในการปฏิ บั ติ วิ ป ส สนากรรมฐาน เวทนาจะเป น ตั ว การให เ กิ ด
ความรูสึกหลงใหลในรูปแบบตางๆ ดังนั้น จึงตองตัดตรงนี้ใหได มิฉะนั้นจะ
กลายเป น สายสั ม พั น ธ เ ชื่ อ มโยงแห ง ความโง ง มต อ ไป ขณะเมื่ อ เรารั บ
ความรู สึ ก สั ม ผั ส ก็ค วรจะพักและหยุ ด เพีย งเวทนา และใช การพิ จ ารณา
กําหนดเวทนานั้นตั้งแตระยะเริ่มแรก ถาทําไดอยางนั้นเวทนาก็ไมสามารถ
ก อ ให เ กิ ด ตั ณ หาหรื อ กิ เ ลสอย า งอื่ น ๆ ได อี ก มั น จะหยุ ด อยู แ ค เ พี ย งการ
กํ า หนดเฉยๆ ว า สุ ข สบาย ไม ส บาย หรื อ เฉยๆ และเป ด โอกาสให
สัมปชัญญะเขามามีบทบาทในการตัดสินใจเกี่ยวกับทาทีหรือการกระทําใน
อันดับตอไป และยิ่งกวานั้นเราอาจสังเกตเห็นจากการกําหนดถึงสภาวะแหง
การเกิดขึ้นของเวลาสภาวะของการคอยๆ จางหายไป และเกิดเวทนาอันอื่น
ขึ้นมาใหม และเราก็จะไดประสบการณดวยตนเองวา ไมมีความจําเปนอันใด
๓๙๐
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
เลย ที่จะตองปลอยตัวใหถูกพัดพาไปดวยปฏิกิริยาที่โงงมสะสมกิเลส ซึ่งจะ
กอให เ กิด สายโยงใยอัน ใหมข องความทุกข ต อไปอีกดั ง นั้ น การเฝ าตามดู
เวทนาไวเทาเทียมกับการพิจารณาธาตุ ๔ ในตอนวาดวยการเฝาตามดูกายใน
การปฏิบั ติสติปฏ ฐานตามระบบ เมื่อปฏิบั ติดําเนิ นมาถึงขึ้นกาวหนาไปได
อยางราบเรียบสม่ําเสมอในการเฝาตามดูกายแลว อาจารยผูฝกจะแนะนําให
สนใจในการเฝาตามดูความสุข และทุกขซึ่งอาจจะเกิดขึ้นขณะปฏิบัติหรือ
เกี่ย วเนื่องกับ การปฏิ บัติ ความสุข และทุกขเหล านี้ เป นสภาพที่คอนขาง
สลับซับซอนของจิต ไมใชความรูสึกลวนๆ เมื่อกําหนดความรูสึกเหลานั้น
การกํ าหนดจะลอกเปลื อกที่เ ป น องคป ระกอบของอารมณต างๆ ออกไป
รวมทั้งความคิดเห็นอันมุงเขาหาตนดวย จนปรากฏเหลือเพียงความสุขหรือ
ความทุกขลวนๆ ซึ่งจะไมสามารถชักพาผูปฏิบัติใหเตลิดออกไปสูภาวะของ
ความดีใจจัดหรือเสียใจจัดจนเกินขนาด อันจะพัดพาผูฝกใหหันเหออกไป
จากทางกาวหนาในการปฏิบัติ๑๒
การหยั่งเห็นความไมเที่ยงของเวทนาวาเปนสภาวะเกิดขึ้นและดับไป
นี้ไมใชเปนเพียงจินตนาการที่ตั้งอยูบนสมมุติฐานวาทุกสิ่งที่เกิดขึ้นยอมเสื่อม
สลายไปเปนธรรมดา แตเปนการรูแจงเห็นประจักษดวยประสบการณอยาง
แทจ ริ ง ว า เวทนาเป น เพี ย งความรู สึ กที่ เ กิ ด ขึ้น แล ว ตั้ งอยู และดั บ ไปของ
เวทนาแลวปญญาก็จะประจักษชัดวาอาการตางๆ และจิตที่ตามรูเปนคนละ
สวนกัน หลังจากนั้นจะเกิดปญญาหยั่งเห็นความเกิดดับอยางรวดเร็วของ
อาการต า งๆ และจิ ต ที่ ต ามรู ป ญ ญาที่ เ กิ ด นี้ จั ด ว า หยั่ ง เห็ น ไตรลั ก ษณ
จนกระทั่งบรรลุมรรคผลนิพพานในที่สุด๑๓

๑๒
พระญาณโปนิกเถระ, พลตรีนายแพทชชาญ สุวรรณวิภัช (แปล), หัวใจ
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๘, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพศยาม, ๒๕๕๓), หนา ๗๖-๗๗.
๑๓
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), มหาสติปฏฐานสูตรทางสูพระนิพพาน
, พระพรหมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโมป.ธ.๙, M.A, Ph.D.) ตรวจชําระ, พระคันธสาราภิวงศ
แปล, พิมพครั้งที่ ๔, (กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวนจํากัดประยูรสาสนไทย, ๒๕๕๒),
หนา ๒๕๘.
๓๙๑
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
ในขณะที่เรานั่งอยูนั้น (หรือในขณะกิน ดื่ม ทํา พูด คิด เดิน ยืน นั่ง
นอน) ถามีเวทนาอยางใดอยางหนึ่งเกิดขึ้น เชน สุข ทุกข เหนื่อย เวียนศีรษะ
เจ็บ ปวด แสบรอน ซาบซาน หนาว เย็น คัน ชา หรือเฉยๆ เปนตน ถา
อาการเหลานี้ปรากฏขึ้นมาชัดเจน เชน ถาเกิดความสุขก็สุขมาก ถาเกิด
ความทุกขก็ทุกขมาก เปนตน คือมากกวาอาการพอง-ยุบ และมากกวา
อาการเหลาอื่น ในลักษณะเชนนี้ใหปลอยอาการพอง-ยุบ แลวใหเอาสติไป
กําหนดพิจารณารูที่อาการของเวทนานั้นๆ โดยภาวนาวา “สุขหนอ ทุกข
หนอ เหนื่อยหนอ เวียนศีรษะหนอ...คันหนอ ชาหนอ เฉยๆหนอ” เปนตน
ตามอาการของเวทนานั้นๆ สุดแตเวทนาอยางไหนจะปรากฏชัดเจน พรอม
กับใหมีสติกําหนดพิจารณารูอาการของเวทนานั้นๆ วามีอาการอยางไรพรอม
กันไปในขณะเดียวกันดวย การกําหนดพิจารณารูเวทนา ไมใชกําหนดให
เวทนาดับไป แตเปนเพียงใหโยคีผูปฏิบัติ มีสติกําหนดพิจารณารูอาการของ
เวทนาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ใหทราบชัดตามความเปนจริงทุกขณะๆ ไป
เทานั้น และอยาใหความยินดี ชอบใจ หรือความยินรายไมชอบใจเกิดขึ้นมา
ใหจิตของโยคีนั้นดํารงอยูในความเปนกลาง ตลอดเวลา ในขณะที่พิจารณา
อยูนั้น แตเมื่อในขณะที่มีสติกําหนดพิจารณารูเวทนาอยูนั้น สมาธิของโยคีผู
ปฏิบัติคนใดมีมาก วิปสสนาญาณแกกลามีกําลังมาก อาการเวทนาอาจดับไป
ในขณะที่กําลังกําหนดรูอยูนั้นก็ได

๓. การกําหนดรูเ วทนาตามหลักสติปฏฐาน ๔
เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน คือ มีสติอยูพรอมดวยความรูชัดเวทนา
อันเปนสุขก็ดี ทุกขก็ดี เฉยๆก็ดี ทั้งที่เปนสามิส และนิรามิสตามที่เปนไปอยู
ในขณะนั้นๆ
จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน คือ มีสติอยูพรอมดวยความรูชัดจิตของ
ตนที่มีราคะ ไมมีราคะ มีโทสะ
ไมมีโทสะ มีโมหะ ไมมีโมหะ เศราหมองหรือผองแผว ฟุงซานหรือ
เปนสมาธิ ฯลฯ อยางไรๆ ตามที่เปนไปอยูในขณะนั้นๆ
๓๙๒
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน คือ มีสติอยูพรอมดวยความรูชัดธรรม
ทั้งหลายไดแก นิวรณ ๕ ขันธ ๕ อายตนะ ๖ โพชฌงค ๗ อริยสัจจ ๔ วาคือ
อะไร เปนอยางไร มีในตนหรือไม เกิดขึ้น เจริญบริบูรณ และดับไปไดอยางไร
เปนตน ตามที่เปนจริงของมันอยางนั้นๆ๑๔
นักปฏิบัติที่กําหนดรูวามีเพียงอาการปวด ไมมีสัณฐานของกายที่
ปวดจะรูสึกวาอาการปวดไมใชสวนหนึ่งของเรา ไมมีเราอยูในอาการนี้ อยาง
นี้จัดเปนเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน
การกําหนดรูเวทนาในเวทนานุปสสนาสติปฏฐานนั้น เมื่อมีสมาธิใน
ระดับหนึ่งแลวจะสามารถแยกรูปกับ นาม ดังที่ปรากฏในตําราวา “ผูที่มิได
กําหนดรูทุกขเวทนายอมสําคัญตนวาเจ็บอยู จัดวาเจ็บทั้งกายและใจ แตผูที่
กําหนดรูแลวเกิดสมาธิในระดับหนึ่งที่สามารถครอบงําทุกขเวทนาได โดยรู
เห็ น ว าทุกขเวทนาเป น เพีย งสภาวะทนได ย าก ส ว นจิ ต ที่กํ าหนดรู เ ป น
นามธรรมอีกสวนหนึ่ง ก็จะเจ็บกาย แตใจไมเจ็บ”๑๕ นี้เปนจิตตานุปสสนา
การกําหนดเวทนา รูสึกสุข ทุกข, เฉยๆ เมื่อมีการเกิดรูสึก ชอบเปน
โลภะ ไมชอบเปนโทสะ เฉยๆ หรือไมรูสึกอะไร๑๖เปนโมหะนี่คือเปนอาการ
ของจิตที่ผูปฏิบัติพึงกําหนดรู จัดเปนจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน สภาวะชอบ
,ไมชอบ,เฉยๆเปนอาการที่ปรากฏทางอายตนะใจในอายนะ ๖ อาการนี้เปน
ธรรมารมณ กําหนดรูดวยธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน ตามในพระสูตร๑๗ วา
รูชัดใจ รูชัดธรรมารมณ และสังโยชนใดอาศัยใจและธรรมารมณทั้ง
๒ นั้นเกิดขึ้นก็รูชัดสังโยชนนั้นการเกิดขึ้นแหงสังโยชนที่ยังไมเกิดขึ้นมีไดดวย
เหตุใด ก็รูชัดเหตุนั้น
๑๔
พระพรหมคุณาภรณ, พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม,
(มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗), หนา ๑๔๑.
๑๕
พระโสภณมหาเถระ,มหาสติปฏฐานสูตร, (กรุงเทพฯ,ประยูรสาสนไทย
การพิมพ,๒๕๕๗), หนา ๒๕๗.
๑๖
พระธรรมธีรราชมหามุนี(โชดก ญาณสิทธิ), คูมือสอบอารมณกรรมฐาน
วิชาครู,(กรุงเทพฯ,โรงพิมพพิทักษอักษร,๒๕๓๓).
๑๗
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๑๘/๑๑๖.
๓๙๓
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
การละสังโยชนที่เกิดขึ้นแลวมีไดดวยเหตุใด ก็รูชัดเหตุนั้น และ
สั ง โยชน ที่ ล ะได แ ล ว จะไม เ กิ ด ขึ้ น ต อ ไปอี ก มี ไ ด ด ว ยเหตุ ใ ดก็ รู ชั ด เหตุ นั้ น
ดวยวิธี นี้ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายภายในอยู พิจารณาเห็น
ธรรมในธรรมทั้งหลายภายนอกอยู หรือพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย
ทั้งภายในทั้งภายนอกอยู พิจารณาเห็นธรรมเปนเหตุเกิดในธรรมทั้งหลายอยู
พิจารณาเห็นธรรมเปนเหตุดับในธรรมทั้งหลายอยู
หรือพิจารณาเห็นทั้งธรรมเปนเหตุเกิดทั้งธรรมเปนเหตุดับในธรรม
ทั้งหลายอยู หรือวา ภิกษุนั้นมีสติปรากฏอยูเฉพาะหนาวา ‘ธรรมมีอยู’ ก็
เพียงเพื่ออาศัยเจริญญาณเจริญสติเทานั้น ไมอาศัย(ตัณหาและทิฏฐิ) อยู ไม
ยึดมั่นถือมั่นอะไรๆ ในโลก ภิกษุจึงชื่อวาพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย
คือ อายตนะภายใน ๖ และอายตนะภายนอก ๖ อยูอยางนี้แล
การตามรูเวทนา,จิต, หรือธรรมสลับกันนั้น นักปฏิบัติที่รับรูวามี
เพียงอาการ จะรูสึกวาอาการเหลานั้นไมใชสวนหนึ่งของเรา ไมมีเราอยูใน
อาการนี้ ความรูสึกเชนนี้จัดวากําจัดสักกายทิฏฐิเพราะรูวามีเพียงอาการสุข,
ทุกขและไมสุขไมทุกขและจิตที่กําหนดรูอยู ไมมีอัตตาตัวตนใดๆ หลังจากนั้น
ย อ มเกิ ด ป ญ ญารู แ จ ง ความเกิ ด ดั บ รวดเร็ ว ของอาการเหล า นั้ น และจิ ต ที่
กําหนดรู ปญญาที่เกิดนี้ไดหยั่งเห็นความไมเที่ยงของของอาการคือเวทนา ผู
ที่ห ยั่ ง เห็ น ความเกิ ด ดั บ ของจิ ต อย า งนี้ ย อ มปราศจากความยึ ด มั่น ในโลก
อุปาทานขันธ เขาไมทํากรรมอยางใดอยางหนึ่งเพื่อสรางภพชาติ จึงบรรลุ
ความพนทุกขดวยจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน เมื่อนักปฏิบัติเจริญสติระลึกรู
ตามหมวดอายตนะ ทางใจ กระบวนธรรมอยางเดียวกันยอมปรากฎคือ
อายตนะภายในและภายนอกนี้เปนเพียงสภาวะธรรมไมใชเราไมใชเขา บุรุษ
หรือสตรี เมื่อแยกแยะอายตนะทีละสวนออกไป บุคคลก็จะเปนเพียงกอง
สังขารที่เปนกระบวนการเชื่อมโยงกันของอายตนะทั้งหลายเหลานั้น ผูปฏิบัติ
ธรรมที่เ กิด ป ญญาหยั่ งเห็ น อย างนี้ ย อมไมยิ น ดี แ ละยึ ด มั่น กองสั งขารด ว ย
ประการใดๆ แมกองธรรมที่ใชเพื่อเจริญธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน อันไดแก
ขันธ,อายตนะ,โพชฌงคและอริยสัจ ที่ใชในการกําหนดรูเวทนาก็เชนเดียวกัน
นี้จัดเปนธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน
๓๙๔
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
การกําหนดเวทนาสามารถทําใหเปนเวทนานุปสสนา จิตตานุปสส
นา หรือธัมมานุปสสนา ก็ได แลวแตวาผูปฏิบัติจะกําหนด วิธีการตางกันแต
มีเปาหมายคือการเห็นพระไตรลักษณอันเปนสามัญลักษณะ เปนความจริง
เที่ยงแท สามารถกําจัดสันตติตัวปดบัง ทําใหเกิดปญญาญาณเหมือนกัน

๔. เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน
พระพุทธเจาตรัสสอนการปฏิบัติวิปสสนาดวยพระองคเอง ปรากฏ
ในมหาสติปฏฐานสูตร และมีปรากฏในพระสูตรตางๆ มากมาย ในหลักการ
ของสติปฏฐาน ๔ ที่กลาวไวในมหาสติปฏฐานสูตร สรุปไดวา“ภิกษุในธรรม
วินัยนี้ พิจารณาเห็นกายในกายอยู มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติกําจัด
อภิ ช ฌาและโทมนั ส ในโลกได พิ จ ารณาเห็ น เวทนาในเวทนาทั้ ง หลาย ..
พิจารณาเห็นจิตในจิต ..พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย..” เปนตน๑๘
มหาสติปฏฐานสูตร พระพุทธองคทรงแสดงแกภิกษุทั้งหลาย ขณะ
ประทับอยู ณ นิคมของชาวกุรุ ชื่อกัมมาสธัมมะ ปจจุบันเรียกวา แควนกุรุ
ทรงแสดงธรรมแกพุทธบริษัท ชาวกัมมาสธัมมะ มีความสนใจในการเจริญสติ
ปฏฐานอยางมาก แมทาส กรรมกร ก็พูดกันแตเรื่องสติปฏฐาน การแสดง
พระสูตรนี้จัดวาเปนการประกาศแนวทางในการเจริญสติปฏฐาน ๔ อยาง
สมบูรณเปนครั้งแรก
การเจริญสติปฏฐาน ๔ ทําใหเกิดวิปสสนาปญญาเห็นแจงความจริง
ของรูป-นาม ในคัมภีรอรรถกถากลาววา สติปฏฐาน ๔ มุงแสดงการละหรือ
ทําลายวิ ป ลาสธรรมเป นหลั ก คือสุภ วิ ปลาส กําจัด ได ด วยการเจริญกายา
นุปสสนาสติปฏฐาน สุขวิปลาส กําจัดไดดวยการเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏ
ฐาน นิ จ จวิ ป ลาส กําจั ด ได ด ว ยการเจริ ญจิ ต ตานุ ป ส สนาสติ ป ฏ ฐาน อัต ต
วิ ป ลาส กํ า จั ด ได ด ว ยการเจริ ญ ธรรมานุ ป ส สนาสติ ป ฏ ฐาน ด ว ยเหตุ ผ ล
ดังกลาวนี้ จึงกลาวไดวาวิปสสนาและสติปฏฐานเปนสิ่งเดียวกันโดยความ
๑๘
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., เอกสารประกอบการสอน รายวิชาสติปฏฐาน
ภาวนา,ศูนยบัณฑิตศึกษา, พ.ศ.๒๕๕๕, หนา ๒๕.
๓๙๕
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
เปนเหตุเปนผลกัน คือ วิปสสนาญาณจะมีขึ้นไมไดเลยหากขาดกระบวนการ
พิจารณาธรรมตามแนวสติปฏฐาน ๔ เพื่อความเขาใจในเรื่องสติปฏฐาน ๔
ตามที่กลาวมาขางตน จะไดทําการศึกษาในเรื่องของเวทนานุปสสนาสติปฏ
ฐาน ซึ่ ง มี ห ลั ก การให พิ จ ารณา เห็ น เวทนาในเวทนา ตามความหมายที่
ปรากฏอยูในมหาสติปฏฐานสูตรตอไป
เวทนา แปลวา ความเสวยอารมณ หมายถึง การรับรูอารมณ (สิ่ง
ที่มากระทบหรือสัมผัสทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไดแก เย็น รอน ออน แข็ง
เปนตน )๑๙ในมหาสติป ฏฐานสูตรหมายเอาเวทนาทางกาย เรี ยกวา กายิ ก
เวทนา มี ๓ คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนา ตามที่นิยมใช
คําวา เจ็บ ปวด สบายๆ และเฉยๆ
เวทนานุปสสนา๒๐แปลวา ปญญาตามพิจารณาเห็นเวทนาเนืองๆ
หมายความวา ผูปฏิบัติธรรมกําหนดเวทนา คือ เอาเวทนาเปนอารมณ จน
สามารถเห็ น ความเกิ ด ดั บ ของเวทนา และได บ รรลุ ม รรคผลนิ พพานเป น
ปริโยสาน
บาลีวา “เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี” แปลวา ตามกําหนดเห็นอาการ
ของเวทนาอยางหนึ่งในบรรดาอาการเวทนาทั้งหลายที่ปรากฏอยูที่เปนทุกข
สุข หรือุเบกขาทั้งทางกายทางใจ
การตามรูเวทนา หยั่งเห็นความเกิดดับของเวทนา ดังพระพุทธพจน
วา เธอตามรูสภาวะความเกิดขึ้นในเวทนาอยูบาง ความดับบาง ทั้งความเกิด
ความดับในเวทนาอยูบางเธอยอมเขาไปตั้งสติวาเวทนามี ก็เพียงสักวาเอาไวรู
เอาไวระลึกเทานั้น เธออยูอยางไมถูก ตัณหาทิฏฐิเขาอาศัย และไมถือมั่น
อะไรๆในโลก ในมหาสติปฏฐานสูตร พระพุทธองคตรัสไววา

๑๙
พระราชวรมุนี (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลศัพท,
หนา ๗๓.
๒๐
พระธรรมธี ร ราชมุ นี (โชดก ญาณสิ ทฺ ธิ ป.ธ.๙), คํ า บรรยายวิ ป ส สนา
กรรมฐาน, (กรุงเทพ :บริษัทประยูรวงศพริ้นติ้ง จํากัด, ๒๕๕๐), หนา ๙๒๐-๙๒๔.
๓๙๖
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
“อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ สุ ขํ ว า เวทนํ เวทยมาโน สุ ขํ เวทนํ เวทยามีติ
ปชานาติ .ทุกฺขํ วา เวทนํ เวทยมาโน ทุกฺขํ เวทนํ เวทยามีติ ปชานาติ.อทุกฺ
ขมสุขํ วา เวทนํ เวทยมาโน อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวทยามีติ ปชานาดิ.๒๑
ภิ ก ษุ ใ นพระศาสนานี้ เมื่ อ เสวยสุ ข เวทนา ย อ มรู ชั ด ว า เสวยสุ ข
เวทนาอยู เมื่อเสวยทุกขเวทนา ยอมรูชัดวาเสวยทุกขเวทนาอยู เมื่อเสวย
อุเบกขาเวทนา ยอมรูชัดวาเสวยอุเบกขาเวทนาอยู” ๒๒
การพิจารณาเวทนามี ๓ อยางคือ๒๓
๑) สุขเวทนา คือ ความรูสึกทางกาย ไดแก ความสบายกาย ความ
โลง เปนตน ผูปฏิบัติตามกําหนดรูสุขเวทนา ตามความเปนจริง ยอมรูชัดวา
มีเพียงสภาวธรรมที่เกิดขึ้นแลวก็ดับไป ไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตนไมมีเรา
ของเรา
๒) ทุกขเวทนา คือ ความรูสึกเปนทุกขทางกาย ไดแก ความเจ็บ
ปวด เมื่อย ชา คัน รอน เย็น จุกเสียดเหนื่อย เปนตน ผูปฏิบัติตามกําหนดรู
ทุกขเวทนา ตามความเปนจริงยอมรูชัดวา มีเพียงสภาวะธรรมที่เกิดขึ้นแลวก็
ดับไป ไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตน ไมมีเรา ของเรา
๓) อุเ บกขาเวทนา คือ ความรูสึกเปน กลาง ไมสุขไมทุกข เมื่อ
อุเบกขาเวทนาเกิดขึ้นก็รูวาไมสุขไมทุกข คือ เฉยๆ
การพิจารณาเวทนาใหละเอียดออกอีก เปน ๕ อยาง คือ
๑) สุขเวทนา ไดแก ความรูสึกเปนสุขทางกาย
๒) ทุกขเวทนา ไดแก ความรูสึกเปนทุกขทางกาย
๓) โสมนัสเวทนา ไดแก ความรูสึกเปนสุขทางใจ
๔) โทมนัสเวทนา ไดแก ความรูสึกเปนทุกขทางใจ
๕) อุเบกขาเวทนา ไดแก ไมสุข ไมทุกข รูสึกเฉยๆ

๒๑
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๘๐/๒๖๕.
๒๒
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๐/๓๑๓.
๒๓
สํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๒๗๐/๓๐๒-๓๐๓.
๓๙๗
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
คัม ภี ร พ ระอภิ ธ รรมอธิ บ าย การพิจ ารณาเวทนา ๙ อย าง คื อ๒๔
เวทนาอิงกามคุณ (อามิส) หมายถึง ความพอใจกามคุณ ๕ คือ รูป เสียง
กลิ่น รส และสัมผัส ไดแก
๑) เสวยสุขเวทนาอยู มีสติระลึกรูชัดวา กําลังเสวยสุขเวทนา
๒) เสวยทุกขเวทนาอยู มีสติระลึกรูชัดวา กําลังเสวยทุกขเวทนา
๓) เสวยอุเบกขาเวทนาอยู มีสติระลึกรูชัดวา กําลังเสวยอุเบกขา
เวทนา
๔) เสวยสุขเวทนามีอามิสอยู มีสติระลึกรูชัดวา กําลังเสวยสุขเวทนา
มีอามิส
๕) เสวยทุกขฺเ วทนามีอามิส อยู มีส ติ ร ะลึ กรู ชั ด ว า กําลั งเสวย
ทุกขเวทนามีอามิส
๖) เสวยอุเบกขาเวทนามีอามิสอยู มีสติระลึกรูชัดวา กําลังเสวย
อุเบกขาเวทนามีอามิส
๗) เสวยสุขเวทนาไมมีอามิสอยู มีสติระลึกรูชัดวา กําลังเสวยสุข
เวทนาไมมีอามิส
๘) เสวยทุกขเวทนาไมมีอ ามิส มีส ติ ร ะลึ กรู ชั ด ว า กําลั งเสวย
ทุกขเวทนาไมมีอามิส
๙) เสวยอุเบกขาเวทนาไมมีอามิสอยู มีสติระลึกรูชัดวา กําลังเสวย
อุเบกขาเวทนาไมมีอามิส
พระองคตรัสสอนพิธีพิจารณา ยกขึ้นสูวิปสสนาตอไปอีกวา
ด ว ยวิ ธี นี้ ภิ ก ษุพิ จ ารณาเห็ น เวทนาในเวทนาทั้ง หลายภายในอยู
พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายภายนอกอยูหรือ พิจารณาเห็นเวทนา
ในเวทนาทั้งหลายทั้งภายในทั้งภายนอกอยู พิจารณาเห็นธรรมเปนเหตุเกิด
ในเวทนาทั้งหลายอยู พิจารณาเห็นธรรมเปนเหตุดับในเวทนาทั้งหลายอยู
หรือพิจารณาเห็นทั้งธรรมเปนเหตุเกิดทั้งธรรมเปนเหตุดับในเวทนาทั้งหลาย
อยูหรือวา ภิกษุนั้นมีสติปรากฏอยูเฉพาะหนาวาเวทนามีอยู ก็เพียงเพื่ออาศัย
๒๔
อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๓๖๓/๓๑๐.
๓๙๘
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
เจริญญาณ เจริญสติเทานั้น ไมอาศัยตัณหาและทิฏฐิอยูและไมยึดมั่นถือมั่น
อะไรๆ ในโลก ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู
อยางนี้แล
พระพุทธองคตรัสการพิจารณาเวทนาไวอีกวา
ดู ก อ นอั ค คิ เ วสนะ ในสมั ย ใดเสวยสุ ข เวทนา สมั ย นั้ น ไม เ สวย
ทุกขเวทนา ไมเสวยอทุกขมสุขเวทนาสมัยนั้นยอมเสวยแตสุขเวทนาเทานั้น
ดูกอนอัคคิเวสนะ ในสมัยใดเสวยทุกขเวทนา ฯลฯ เสวยอทุกขมสุขเวทนา
สมัยนั้น ไมเสวยสุขเวทนา ไมเสวย ทุกขเวทนา สมัยนั้น ยอมเสวยอทุกขม
สุขเวทนาเทานั้น ดูกอนอัคคิเวสนะ แมสุขเวทนาแล ก็ไมเที่ยง อันปจจัยปรุง
แตงแลว อาศัย กันเกิดขึ้น มีความสิ้ นไปเป นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป น
ธรรมดา มี ค วามคลายไปเป น ธรรมดามี ค วามดั บ ไปเป น ธรรมดาแม
ทุกขเวทนาและ ฯลฯ ดูกอนอัคคิเวสนะ แมอทุกขมสุขเวทนาแล ก็ไมเที่ยง มี
ปจจัย ปรุงแตงแลว ฯลฯ มีความดับไปเปนธรรมดา ดูกอนอัคคิเวสนะ อริย
สาวกสดับแลว เห็นอยูอยางนี้ ยอมเบื่อหนายในเวทนาอันเปนสุขบาง ยอม
เบื่อหนายในเวทนาอันเปน ทุกขบาง ยอมเบื่อหนายในเวทนาอันเปนอทุกขม
สุขบาง เมื่อเบื่อหนายยอมคลาย กําหนดเพราะคลายกําหนัด ยอมหลุดพน
เมื่อหลุดพนแลวยอมรูชัดวา เราหลุดพนแลว เธอยอมทราบชัดวาชาติสิ้นแลว
พรหมจรรยอยูจบแลว กิจที่พึงทําทําเสร็จแลวกิจอื่นเพื่อความเปนอยางนี้มี
ไดมีอีก
พระพุทธองคตรัสขันติสังวรวา กายนี้มีทุกขมาก มีโทษมาก โรคมาก
เกิดในกายนี๒๕ ้ เมื่อยังมีกายอยูก็จะมีเวทนาแนนอน เวทนานี้มักเกิดจากการ
กระทบกันระหวางรูปคือกายสวนลางที่กระทบกับพื้น หรือเกิดจากการคูขา
เป น เวลานาน แต นั ก ปฏิ บั ติ ไ ม ค วรกลั ว ต อ ทุ ก ขเวทนา เพราะขณะเกิ ด
ทุกขเวทนาความฟุงซานจะมีนอยลง เนื่องจากไมมีผูใดรักผูอื่นมากกวาตน
เวทนาจึงจัดวา เปนอารมณที่ดีในการกําหนดรู

๒๕
องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๖๐/๘๗.
๓๙๙
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
พระพุทธเจาตรัสสรรเสริญความอดทนตอเวทนา อาทิเชน ความ
เย็ น ความร อ น ความหิ ว กระหาย สั ม ผั ส ของยุ ง เหลื อ บ งู แดด ความ
เจ็บปวดที่รุนแรงทางกายที่อาจคราชีวิตได๒๖ฉะนั้น นักปฏิบัติจึงควรอดทน
กําหนดเวทนากอน พระพุทธองคยังตรัสสรรเสริญความอดทนวา
“ดูกรสารีบุตร ภิกษุในศาสนานี้ ฉันภัตตาหารแลวนั่งขัดสมาธิ ตั้ง
กายตรง ดํารงสติมั่นตั้งใจวา ตราบที่จิตของเรายังไมพนจากอาสวะ เราจักไม
ยกเลิกการนั่งคูบัลลังกนี้ ดูกรสารีบุตรภิกษุผูมีความอดทนเชนนี้ พึงยังปา
สาละใหงดงาม”๒๗
ในพระสู ต รบางสู ต ร คํ า ว า สุ ข เวทนา คื อ ความรู สึ ก สบายทาง
รางกาย ทุกขเวทนา คือ ความรูสึกไมสบายทางรางกาย ความจริงรางกายไม
อาจรูสึกไดดวยตัวเอง เพราะเปน รูปธรรมที่รูสิ่งตางๆ ไมได แตอาศัยจิตที่ทํา
หนาที่รูสึก จิตที่ประกอบดวยเวทนาเจตสิก แตมีรางกายเปนฐานใหรูสึกได
และในพระสู ต รเหล า นั้ น พบคํ า ว า โสมนั ส เวทนา และโทมนั ส เวทนาซึ่ ง
กลาวถึงความสบายใจและความไมสบายใจ อยางไรก็ตาม ในพระสูตรนี้สุข
เวทนาและ ทุกขเวทนาเปนความรูสึกทั้งทางกายและใจ
อุทาหรณวา การที่เด็กนอนหงายอยูบนเบาะเวลาดื่นน้ํานมของแม
ก็รูวาตนมีความสุขอยางนี้จะจัดเปนเวทนานุปสสนาไมได เพราะการรูอยางนี้
ยังไมละ ไมถอนความสําคัญผิดวาเปนสัตวบุคคลตัวตนเราเขาได และไมเปน
กรรมฐาน ไมเปนมหาสติปฏฐานภาวนา คําที่วา ไมมีใครเสวยเวทนา คือ ไม
มีสัตวบุคคลตัวตนเราเขาเสวยเวทนาและไมใชเวทนาของสัตวบุคคลตัวตน
เราเขาอะไรทั้งสิ้น แตเพราะเวทนากระทําวัต ถุแหงความสุ ขนั้นๆ ใหเป น
อารมณแลว เสวยเขาไปถือเอาความเปนไปแหงเวทนาเปนเหตุ จึงมีโวหารวา
เราเสวยเวทนา ดังตัวอยางตอไปนี้
พระเถระรูปหนึ่ง เวลาไมสบายมีเวทนากลา กลิ้งไปกลิ้งมาอยู ภิกษุ
หนุมรูปหนึ่งถามวาเจ็บตรงไหน เสียดแทงตรงไหน ทานตอบวาแยกไมได

๒๖
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๒๔/๑๔-๑๕.
๒๗
ม.มู.(ไทย) ๑๒/๔๕/๓๐๘.
๔๐๐
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
หรอกคุณ ชื่อวาเสียดแทงเฉพาะเปนแหงๆไปไมมีเลย เสียดแทงไปทั้งหมด
นั่นแหละ ภิกษุหนุมพูดปลอบใจวา “อธิวาสนา ภนฺเต เสยฺโย” การอดกลั้น
ไดเปนของประเสริฐแทขอรับ ทานไดพยายามอดกลั้นอยางเต็มที่ แลวเจริญ
กรรมฐานไปพรอมกัน จนไสไหลออกมากองอยูบนเตียง ทานถามภิกษุหนุม
วา ความอดกลั้น ขนาดนี้สมควรหรือยัง ภิกษุหนุมไดแตนิ่ง ไมตอบเลยซักคํา
เดียว เพราะเห็นแลววา ทานอดกลั้นอดทนอยางเต็มที่ไมชาไมนาน ทานก็ได
สําเร็จเปนพระอรหันต แลวก็ปรินิพพาน
เวทนานุปสสนาในมหาสติปฏิฐานนี้ จัดเขาในอรูปกรรมฐาน ดังที่
พระพุทธองคตรัส ไววา “กถฺจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วิหรดิ
..เอวมฺป โข ภิกฺขเว ภิกฺขุ เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วิหรติ”๒๘ ผูเห็นภัยในวัฏฏะ
สงสาร มีปกติพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยูอยางใดอยางหนึ่งใน
เวทนาทั้ง ๙ นั้น เชน สุขเวทนาเกิดขึ้น ก็พิจารณาเห็น สุขเวทนานั้นเปนตน
คําว า เวทนาสุ ได แกเวทนา ๙ คําว า เวทนานุปสฺ สี ไดแกเวทนา
อยางใดอยางหนึ่ง
“อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ สุขํ วา เวทนํ เวทยมาโน” หมายความวา เมื่อสุข
เวทนาเกิดขึ้นก็ใหมีสติกําหนดรู จนเห็นเวทนาเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
เกิดนิพพิทา วิราคะ วิมุตติ
“ทุกฺขํ วา เวทนํ เวทยมาโน” หมายความวา เมื่อทุกขเวทนาเกิดขึ้น
ก็ให มี ส ติ กํา หนดรู จ นเห็ น ทุก ขเวทนานั้ น เป น อนิ จ จั ง ทุก ขัง อนั ต ตา เกิ ด
นิพพิทา วิราคะ วิมุตติ
“อทุกฺขมสุขํ วา เวทนํ เวทยมาโน” หมายความวา เมื่ออุเบกขา
เวทนาเกิดขึ้น ก็ใหมีสติกําหนดรู จนเห็นอุเบกขาเวทนานั้นเปนอนิจจัง ทุกขัง
อนัตตา เกิดนิพพิทา วิราคะ วิมุตติ
เมื่อเวทนาขอที่ ๑-๙ เกิดขึ้น ก็ใหปฏิบัติเชนเดียวกัน คือ ใหกําหนด
รูจนเห็นเวทนาเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เกิดนิพพิทา วิราคะ วิมุตติ หลุด
พนจากอาสวะกิเลส เปนสมุจเฉทประหาน
๒๘
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๘๐/๒๖๕, ที.ม.(ไทย) ๑๐/๓๘๐/๓๑๓.
๔๐๑
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
อามิส หมายความวา เหยื่อ หรือเครื่องหลอกลอใหสรรพสัตวติดอยู
ในโลกทั้งสามมีอยู ๔ อยางคือ
๑. วฏฏามิสํ อามิส คือ วัฏฏะ ที่เปนไปในภูมิ ๓ ทั้งหมด
๒. โลกามิสํ อามิส คือ โลก ไดแก กามคุณทั้ง ๕
๓. กิเลสามิสํ อามิส คือ กิเลส ไดแก กิเลสทั้งหมด
๔. มารามิสํ อามิส คือ มารทั้ง ๕ ไดแก ขันธมาร กิเลสมาร อภิ
สังขารมาร เทวบุตรมาร และมัจจุมาร
พิจารณาเห็นเวทนาภายใน เวทนาภายนอก และพิจารณาเห็นทั้ง
ภายในและภายนอกคือการพิจารณาเห็นเวทนาของตน เวทนาของคนอื่น
และพิจารณาเห็นทั้งของตนและของคนอื่นดวยเมื่อพิจารณาเห็นเวทนาของ
ตนเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เกิดนิพพิทา วิราคะ วิมุตติ ไดแลวก็สามารถ
ทราบถึงเวทนาของคนอื่นทั่วทั้งหมดวา เปนดุจพิมพเดียวกันอยางนี้
พิจารณาเห็นความเกิดขึ้น เห็นความเสื่อมและเห็นทั้งสองอยางนั้น
หมายความวาผูนั้นไดกําหนดเวทนานุปสสนามาดีแลว จึงสามารถเห็นความ
เกิดดับของเวทนาไดดี เพราะมีวิปสสนาญาณเกิดขึ้นมาโดยลําดับๆ จนถึง
ญาณที่ ๔ เปนตนไป
ขอวา เวทนามีอยู หมายความวา เวทนานั้นมีอยูจริง แตไมใชสัตว
บุคคลตัวตนเราเขาทั้งสิ้น เปนนามซึ่งอาศัยรูปเกิดขึ้นเทานั้น
ขอวา อยูอยางไมมีอะไรอาศัยนั้น หมายความวา ไมมีตัณหา มานะ
ทิฏฐิ อาศัยอยูเพราะผูนั้นไดเจริญวิปสสนา ละตัณหา มานะ ทิฏฐิไดแลว
ขอที่วา ไมถือมั่นอะไรๆในโลกนั้น หมายความวา ไมยึดมั่น ไมถือมั่น
เวทนา ว า เป น สั ต ว บุ ค คลตั ว ตนเราเขา เพราะละสั ก กายทิ ฏ ฐิ วิ จิ กิ จ ฉา
สีลัพพตปรามาส เปนตน ไดแลวหากปฏิบัติอยางที่กลาวมานี้ชื่อวา พิจารณา
เห็นเวทนาในเวทนาไดอยางเต็มที่แลว ดังพระพุทธพจนในมหาสติปฏฐาน
สูตรวา “เอวํ โข ภิกฺขุ เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วิหรติ” ผูเห็นภัยในวัฏสงสาร
ยอมมีปกติพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยูเนืองๆ ดวยอาการดังที่
กลาวมาแลว

๔๐๒
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔

๕. วิธีการกําหนดรูเ วทนา
เวทนาทางกายมีสมุฏฐานมาจากกายและเวทนาทางจิตมีสมุฏฐาน
มาจากจิ ต ทางกายมี สุ ข และทุ ก ข ทางจิ ต มี ดี ใ จ เสี ย ใจ เฉยๆ ซึ่ ง ทาง
ธรรมชาติไดมอบเวทนาเหลานี้มาใหเราตั้งแตแรกเกิดจะบอกวาเวทนามา
ปรากฏในเวลาปฏิบัติกรรมฐานเทานั้นไมได เพราะเวทนามาพรอมกับการ
เกิดของรูป-นาม มีสังขารขึ้นมาคราใด ก็มีเวทนาตามมาครานั้น
ทุกขเวทนา ที่มีอาการเจ็บปวด มึนชา ฯลฯ ซึ่งเปนสภาพบีบคั้นที่
ยากจะทนได ตามปกติเรามักจะไมเห็นทุกขเวทนาของรูปนามสังขารวามี
สภาพเป น อย างไรหรื อเห็ น ก็ไ มส นใจ เพราะการผลั ด เปลี่ ย นอิริ ย าบถมา
คลี่คลายจึงไมเห็นทุกข ในทางธรรมทานกลาววา “อิริยาบถเปนเครื่องปกปด
ทุกข” นั่งเมื่อยเปลี่ยนไปยืน ยืนเมื่อยเปลี่ยนไปเดิน เดินเมื่อยกลับมานั่ง นั่ง
เมื่อยพลิ กไปพลิกมาเมื่อมีการสับ เปลี่ ยนอยู อย างนี้ จึงไมเ ห็น ทุกขเวทนา
ครั้นมาปฏิบัตินั่งกําหนดมิใหพลิกเปลี่ยนอิริยาบถ ตองพบกับสหายทางธรรม
คือทุกขเวทนานี้แนนอน ซึ่งไมอยูที่ใด อยูในรูปนามอันสําคัญวาเปนของเรา
นี่เอง มิใชของคนอื่น บางคนกลัวทุกขเวทนาไมอยากเจอ เปนเหตุใหไมอยาก
ปฏิบัติ จนขยาดตอเวทนาและเลิกลมการปฏิบัติไป วิปสสนาจารยมักบอกวา
“หากกลัวเวทนาก็จะไมเห็นธรรม ไมเห็นพระธรรมจริง พระธรรมแท”
ทุกขเวทนามีอยูในอิริยาบถทั้ง ๔ ไมเฉพาะอิริยาบถนั่งเทานั้น ทุกข
มาพรอมกับสังขารตั้งแตแรกเกิดสังขารจึงมีทุกขเปนพื้นฐาน เหมือนโลกนี้มี
ความร อนเป น พื้น ฐาน ความร อนมาพร อมกับ โลกนี้ ที่มีความรู สึ กว าเย็ น
เพราะความรอนลดลง สังขารก็เปนทุกข ที่มีความสุขเพราะความทุกขลดลง
เพราะการบํ า บั ด ทุ ก ข ด ว ยการผลั ด เปลี่ ย นอิ ริ ย าบถนั่ น เองจึ ง มี ค วามสุ ข
แทจริงกองสังขารเต็มไปด วยความทุกข ดังพุทธคาถาวา “นตฺถิ ขนฺธสมา
ทุกฺขา ไมมีทุกขใดเสมอดวยขันธ ๕” เราเกิดมามีสังขาร มีกองทุกขเปน
สมบัติ อยาไดกลัวทุกขเลย ครั้ นเจอทุกขเวทนาก็อย ากลัว เพราะในขณะ
ปฏิบัติจะตองรับทุกขเวทนานี้เต็มๆ เสวยอารมณเดียวจึงมีความรูสึกวา ปวด
มาก
๔๐๓
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
เมื่อผูปฏิบัติประสบทุกขเวทนาก็จะกระสับกระสาย เพราะรูสึกวา
ถูกบีบคั้น ทุกขเวทนานี้ดีเหมือนไดมาเจอขุมทรัพยของวิปสสนาแลว ใหตั้งใจ
กําหนดทุกขเวทนาจะเกิดผลดังตอไปนี้
(๑) สภาวธรรมปรากฏชัด บรรดาอารมณหรืออาการทางกาย จิต
ธรรม ทุกขเวทนา จะปรากฏชัดกวาอาการอื่นๆ พอง-ยุบ บางครั้งชัดบางไม
ชัดบาง คิดก็กําหนดยากไมคอยทัน ขวายางซายยางบางทีก็เผลอไป เพราะ
สภาวะเหลานั้นยังไมชัดพอ แตทุกขเวทนาที่กอตัวตั้งขึ้นจะชัดมากความชัด
ของทุกขเวทนาจะเปนขุมพลังใหแกสมาธิ ใหกําหนดทันทีวา “ปวดหนอๆ”
สมาธิจะกอตัวแนนและพัฒนาไปไดเร็ว
(๒) นิวรณธรรมสงบลง ในขณะที่ทุกขเวทนาปรากฏชัดนั้น นิวรณ
จะหางออกไป คือ กามฉันทะ ความพึงพอใจในกามคุณ ๕ (รูป เสียง กลิ่น
รส สัมผัสถูกตอง) จะไมเขาหาความพยาบาท ความอาฆาตจะจางคลาย ถีน
มิทธะ ความโงกงวงจะหางหาย อุทธัจจกุกกุจจะความฟุงซานรําคาญใจจะ
สลายตัว วิจิกิจฉา ความเคลือบแคลงสงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ
ในเรื่องของกรรม ในเรื่องของผลการปฏิบัติ เปนตน ก็บางเบาลง
(๓) ชวยกําราบกิเลส จิตที่ยังไมไดรับการฝกอบรมก็มักจะเต็มไป
ดวยกิเลส หยาบกระดาง เวทนาจะกอตัวขึ้นแรงกลา จะมาชวยกําราบเผา
จิตใจใหออนตัว (มุทุตา) ทุกขเวทนาจึงเปรียบเปนไฟ มาเผาผลาญกิเลสที่
เกาะกรังจิตใหมอดไหม หากเจอทุกขเวทนาก็จงรูไดวา ไดเครื่องมือเผากิเลส
แลว
(๔) เปนขุมพลัง (พละ) ของสมาธิ อาการตางๆของรูป-นามจะเกิด
พลังงานขึ้นมาทุกครั้งที่ทําการกําหนด พองหนอ เกิดพลังงาน ๑ หนวย ยุบ
หนอ เกิดพลังงาน ๑ หนวย
ยุบ-หนอ หรืออาการอื่นๆ จะปรากฏดวยความชัดบาง ไมชัดบาง
พลังงานจากการกําหนดจึงไมเต็มเม็ดเต็มหนวย แตทุกขเวทนาที่ปรากฏชัด
จะเกิดพลังงานเต็มอัตรา พลังงานจากทุกขเวทนานี้ จะเปนพื้นฐานที่มั่นคง
ของกรรมฐาน และเปนแรงหนุนใหเกิดพัฒนาการทางการปฏิบัติสูงยิ่งขึ้นไป
ทุกขเวทนาจึงเปนขุมพลังงานใหเก็บสะสมสมาธิไดอยางยิ่ง
๔๐๔
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
(๕) เห็นทุกขโทษ รางกายกวางศอกวายาวหนาคืบนี้ ในกาลกอนเรา
สําคัญวาเปนสุขมีความยินดีพอใจไมเบื่อหนาย ครั้งเห็นทุกขเวทนาปรากฏ
ดวยสภาพบีบคั้นยากที่จะทนนี้กําหนดดูก็รูวาเปนกองทุกขเต็มไปดวยโทษที่
นาอิดหนาระอาใจ ก็เกิดความเบื่อหนายคลายกําหนัด ตองการออกไปจาก
รูป นามสั งขารนี้ การเห็ น ทุกขโ ทษเช น นี้ จ ะเป น ป จ จั ย ขั้ว ต อสํ าคัญให เ กิด
ความตองการขามพนสังสารวัฏ เขาสูมรรคผลนิพาน
ทั้ ง ๕ ประการเหล า นี้ เป น ผลดี ข องทุ ก ขเวทนา ซึ่ ง วิ ป ส สนา
กรรมฐาน ถือวาเปนขุมทรัพยและเปนแหลงกําเนิดพลังงานอยางมหาศาล
ถาใครมาปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานไมเกิดทุกขเวทนาหรือไมเจอทุกขเวทนา
เลย ถื อ ว า เดิ น ไม ถู ก ทาง ทุ ก ขเวทนาจึ ง เป น สภาวะที่ พึ ง ประสงค ข อง
กรรมฐานสายนี้ เปนตัวชี้วา ผลทางการปฏิบัติเกิดขึ้นหรือไม และจะพัฒนา
ไปอยางไร หากผูปฏิบัติมาเจอทุกขเวทนา ขอใหทําความเขาใจวา ตนไดเดิน
มาถูกทางและเกิดผลทางการปฏิบัติแลว
ในเวลาเสวยเวทนา คือ มีความรูสึกอยางใดอยางหนึ่งที่เปนสุข ทุกข
หรือวางเฉยพึงตามรูสภาวะนั้นโดยกําหนดวา “สุขหนอ” “ทุกขหนอ”หรือ
“เฉยหนอ”
สุขเวทนา คือความรูสึกเปนสุขทางกาย ไดแก ความโลง โปรง เบา
สบาย หรือความรูสึกเปนสุขทางใจ ไดแก ความดีใจ เบิกบาน โสมนัสยินดี
ใหกําหนดไปตามสภาวะที่เกิดขึ้น เชน “โลงหนอ” “โปรงหนอ” “เบาหนอ”
“สบายหนอ” “ดีใจหนอ” “ยินดีหนอ” เปนตน
นักปฏิบัติที่ตามรูเวทนาความเปนจริงยอมรูชัดวามีเพียงสภาวธรรม
ที่เกิด ขึ้นจากระยะหนึ่งไปสูอีกระยะหนึ่ง เมื่อเกิดขึ้นแลว ก็ดับไป ไมเที่ย ง
เปนทุกข ไมใชตัวตน ไมมีเราของเรา ผูเสวยเวทนานั้นๆอยู ดังคัมภีรอรรถ
กถาวา “วตฺถํ อารมฺมณํ กตฺวา เวทนา ว เวทยตีติ สลฺลกฺเชนฺโตเอส สุขํ เวทนํ
เวทยามีติ ปชานาตีติ เวทิตพฺโพ.”๒๙พึงทราบวาภิกษุผูกําหนดอยูวาเวทนา

๒๙
ที.ม.อ. (บาลี) ๒/๓๘๘.
๔๐๕
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
เทานั้นยอมเสวยอารมณโดยรับเอาอารมณอันเปนเหตุแหงความสุข ยอมรูชัด
วาเสวยสุขเวทนาอยู
ทุกขเวทนา คือ ความรูสึกเปนทุกขทางกายอันไดแก ความเจ็บ ปวด
เมื่อย ชา เหน็บ รอน เย็น จุกเสียด เหนื่อย หรือความรูสึกเปนทุกขทางใจ
อันไดแก ความโศกเศรา เสียใจ กลัว ไมสบายใจ รอนใจ วิตกกังวล พึงตามรู
ทุกขเวทนาตามอาการนั้นๆวา “เจ็บหนอ” “ปวดหนอ” “เมื่อยหนอ” “ชา
หนอ” เปนตน
การเจริญวิปสสนา คือ การทองบนสาธยาย คําบัญญัติวา รูป นาม
ธาตุดิน ธาตุน้ํา ผัสสะ เวทนา สุข ทุกข ความเห็นดังกลาวไมถูกตอง เพราะ
การรับรูสภาวธรรมของรูปนามเปนหลักสําคัญในการปฏิบัติธรรมไมใชการ
รับรูคําบัญญัติ ผูที่อดทนตามรูทุกขเวทนาวา “ปวดหนอ” ยอมสามารถรับรู
ลักษณะพิเศษคือ ความอดทนไดยากของทุกขเวทนาและลักษณะทั่วไปคือ
ไตรลักษณแมจะไมทราบวาสิ่งนี้เรียกวา ทุกขเวทนา ก็จัดวาไดรับรูสภาวะที่
แทจริงของทุกขเวทนาแลว
อุ เ บกขาเวทนา คื อ ความรู สึ ก เป น กลาง ไม สุ ข ไม ทุ ก ข เวทนา
ประเภทนี้ไมประจักษชัดเจนเหมือนสุขเวทนาและทุกขเวทนา ในอรรถกถาที่
อธิบายในจูฬเวทัลลสูตร๓๐สังคีติสูตร๓๑และพหุธาตุกสูตร๓๒กลาววา อุเบกขา
เวทนาเป น สิ่ ง ที่ รู ไ ด ย ากเหมื อ นอวิ ช ชาที่ เ กิ ด พร อ มกั บ โลภะและโทสะ
หมายความวา ในเวลาเกิดโลภะและโทสะนั้น มีอวิชชาเกิดรวมดวยโดยทํา
หนาที่ปกปด โทษของความโลภและความโกรธ ทําใหบุคคลพอใจจะโลภและ
โกรธอุ เ บกขาก็ เ ช น เดี ย วกั น ไม ป ระจั ก ษ ใ นเวลาปกติ แต จ ะปรากฏขึ้ น
หลังจากทุกขเวทนาหรือสุขเวทนาหายไปแลว เมื่อนักปฏิบัติบรรลุวิปสสนา
ญาณขั้นที่ ๔ เปนตนไปแลว อุเบกขาเวทนาอาจปรากฏชัดในบางคราว นัก
ปฏิบัติพึงตามรูอุเบกขาเวทนาวา “เฉยหนอ”

๓๐
ม.ม.อ. (บาลี) ๒/๒๗๗.
๓๑
ที.ม.อ. (บาลี) ๓/๑๘๗.
๓๒
ม.ม.อ. (บาลี) ๓/๗๒.
๔๐๖
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
ตอจากนี้ พระพุทธองคทรงจําแนกสุขเวทนาออกเปนสุขอิงกามคุณ
เปนตน
สุขอิงกามคุณ (สามิสสุข) หมายถึง ความพึงพอใจเกี่ยวกับกามคุณ
๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส อันไดแก สิ่งที่ตนรักพอใจซึ่งอยูภายใน
และภายนอกร างกายในบางแหงเรี ย กว า เคหสิ ต โสมนั ส อิงเรือน โสมนั ส
ประเภทนี้มีความเพลิดเพลินตอรูปที่พบเห็น ในเวลารับเอารูปที่สวยงามเปน
อารมณ หรือชอบใจเสียง ในเวลารับเอาเสียงที่ไพเราะเปนอารมณ นักปฏิบัติ
พึงตามรูความชอบใจนั้นโดยกําหนดวา “ชอบหนอ”
ผูเจริญวิปสสนา ตามรูสภาวธรรมที่มาปรากฏทางทวารทั้ง ๖ ยอม
เห็นประจักษความเกิดดับของอารมณปจจุบันเหลานั้น นับวาไดหยั่งรูความ
ไม เ ที่ ย ง คื อ อนิ จ จั ง เข า ย อ มอนุ ม านรู ว า แม อ ารมณ ๖ ที่ เ ป น อดี ต และ
ปจจุบันทั้งหมดก็มีสภาพไมเที่ยง เชนเดียวกัน
บุคคลดังกลาวยอมเกิดความปติโสมนัส ความปติโสมนัสนี้ชื่อวา สุข
ไมอิงกามสุข (นิรามิสสุข) ในบางแหงเรียกวา นกขัมมสิตโสมนัส คือ โสมนัส
อิงวิปสสนา ดังขอความในคัมภีรอุปริปณณาสก วา
“รูปานํ ตฺว อนิจฺจตํ วิทิตฺวา วิปริณามํ วิราคํ วิโรธํ ปุพฺเพ เจว รูปา
เอตรหิ จ ....ยํ เอว รูป โสมนสฺสํ, วุจฺจติ เนกฺขมฺมสฺสิตํ โสมนสฺสํ ๓๓
ความปติโสมนัสนี้มักปรากฏชัดเมื่อบรรลุวิปสสนาญาณที่ ๔ ชื่อวา
อุทยัพพยญาณคือ ปญญาหยั่งรูความเกิดดับ นักปฏิบัติพึงตามรู ความปติ
โสมนัส โดยกําหนดวา “ชอบหนอๆ” หรือ “สุขหนอ” ตอจากนั้นพระพุทธ
องคทรงจําแนกทุกขเวทนาออกเปนทุกขอิงกามคุณ เปนตน ดังพุทธพจนวา
“สามิสํ วาทุกขํ เวทนํ เวทยมาโน สามิสํ ทุกฺขํ เวทยามีติ ปชานาติ. นิรามิสํ
วา ทุกฺขํ เวทนํ เวทยมาโน นิรามิสํ ทุกฺขํ เวทนํ เวทยามีติ ปชานาติ.”๓๔
ผูเจริญวิปสสนา ตามรูสภาวธรรม เมื่อเสวยทุกขเวทนาอิงกามคุณ
ยอมรูชัดวาเสวยทุกขเวทนา อิงกามคุณอยู หรือ เมื่อเสวยทุกขเวทนาไมอิง

๓๓
ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๓๐๖/๒๘๔-๒๘๕.
๓๔
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๘๐/๒๖๕, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๐/๓๑๓.
๔๐๗
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
กามคุณ ยอมรูชัดวาเสวยทุกขเวทนาไมอิงกามคุณอยู ผูที่ประสบกับความ
ทุกขกายหรือทุกขใจเมื่อไมส มหวังกามคุณภายในหรือภายนอกหรื อหวน
คิดถึงทุกข ที่เคยประสบมากอน ยอมเกิดทุกขที่เรียกวา ทุกขอิงกามคุณ (สา
มิสทุกข) นักปฏิบัติพึงกําหนดวา “ทุกขหนอ” หรือ “เสียใจหนอ”
นักปฏิบัติผูบรรลุ อุทยัพพยญาณ เปนตนไป ยอมคาดหวังในการ
บรรลุ มรรคผลที่พระอริยะทั้งหลายหยั่งเห็นแลว บางทานปฏิบัติธรรมเปน
เวลานานก็ไมอาจบรรลุมรรคผลได หรือบางทานไมประสบความกาวหนา ใน
การปฏิบัติธรรมเทาที่ควร จึงเกิดความเสียใจเกี่ยวกับวิปสสนา ความเสียใจ
ประเภทนี้ เรีย กวาทุกขไมอิงกามคุณ (นิร ามิส ทุกข) ในบางแห งเรี ยกว า
เนกขัมมสิตโทมนัส คือ โทมนัสอิงวิปสสนา ในขณะนั้นพึงกําหนดวา “เสียใจ
หนอ” คัมภีรอรรถกถากลาวถึงเรื่องของพระมหาสิวะเถระ เปนผูแตกฉาน
ปริยัติธรรมสอนภิกษุ ๑๘ คณะ ศิษยของทานไดบรรลุเปนพระอรหันต ๓
หมื่นรูป แตทานเปนแคปุถุชนเทานั้น๓๕
จากนั้น พระพุทธองคทรงจําแนก อุเบกขาเวทนา ออกเปน อุเบกขา
เวทนาอิงกามคุณพระพุทธพจนวา “สามิสํ วา อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวทยมาโน
สามิสํ อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวทยามีติ ปชานาติ. นิรามิสํ วา อทุกฺขมสุขํ เวทนํ
เวทยมาโน นิรามิสํ อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวทยามีติ ปชานาติ.”๓๖
ผูเจริญวิปสสนา ตามรูสภาวธรรม เมื่อเสวยอุเบกขาเวทนาอิงกาม
คุณ ยอมรูชัดวาเสวยอุเบกขาเวทนาอิงกามคุณอยู หรือเมื่อเสวยอุเบกขา
เวทนาอิงกามคุณ ยอมรูชัดวาเสวยอุเบกขาเวทนาไมอิงกามคุณอยู โดยทั่วไป
คนที่มิไดอบรมจิตดวยการเจริญวิปสสนา ในบางขณะอาจเกิดความรูสึกวาง
เฉยตอกามคุณภายในหรือภายนอก แตปลอยวางอารมณนั้นไมไดเพราะมี
ความยึดติดผูกพันดวยความโลภ อุเบกขา ประเภทนี้เรียกวาอุเบกขาอิงกาม
คุณ (สามิสอุเบกขา) บางแหงเรียกวา เคหสิตอุเบกขา คือ อุเบกขาอิงเรือน
หรือ อัญญาณุเปกขา คือ อุเบกขาที่เกิดพรอมกับโมหะ ในเวลาที่อุเบกขานี้

๓๕
ที.ม.อ. (บาลี) ๒/๓๔๓.
๓๖
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๘๐/๒๖๕, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๐/๓๑๓.
๔๐๘
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
ปรากฏชัดเจน นักปฏิบัติพึงกําหนดวา “เฉยหนอ”
เมื่อนั กปฏิ บัติ บ รรลุอุทยัพพยญาณแลว ขามพน วิป ส สนุ ปกิเ ลสได
ความวางเฉยในขณะตามรูอารมณทางทวารทั้ง ๖ ยอมเกิดขึ้น ความวางเฉย
นี้เรียกวา อุเบกขาไมอิงกามคุณ (นิรามิสอุเบกขา) ยอมปรากฏชัดในภังค
ญาณและปรากฏชัดยิ่งขึ้นในสังขารุเปกขาญาณ ในบางแหงเรียกวา เนกขัม
มสิตอุเบกขา คือ อุเบกขาอิงวิปสสนา นักปฏิบัติพึงกําหนดวา “เฉยหนอ”
วิธีอดทนตอทุกขเวทนา
นั ก ปฏิ บั ติ ที่ พ ยายามทนกํ า หนดทุ ก ขเวทนา มี วิ ธี อ ดทนต อ
ทุกขเวทนา ๓ อยาง คือ
๑) สูแบบเผชิญหนา คือ จดจอที่อาการปวด จี้ลงไปในสถานที่ซึ่ง
ปวดมากที่สุด เหมือนการสูรบแบบเผชิญหนาไมยอมถอย วิธีนี้แมจะคอนขาง
เหน็ดเหนื่อย เพราะตองใชพลังจิตจดจอมาก แตก็มีประโยชนในการหยั่งเห็น
ลักษณะพิเศษของเวทนาไดเร็ว
๒) สูแบบกองโจร คือกําหนดเวทนาบาง เปลี่ยนไปกําหนดอารมณ
อื่นบาง เหมือนการสูรบแบบกองโจรในกรณีที่ขาศึกเขมแข็งกวาวิธีนี้ใชใน
ขณะที่เวทนารุนแรง ยากจะกําหนดได จึงเปลี่ยนไปกําหนดอารมณอื่นเชน
สภาวะพองยุ บ เมื่อมีส มาธิ มากขึ้น ก็กลั บ ไปกําหนดเวทนาเป น ครั้ งคราว
เปรียบดังคนเดินทางกลางแดดที่เหน็ดเหนื่อยไดเขาไปพักใตรมไมชั่วคราว
๓) สูแบบถอยทัพ คือ สักแตตามรูเวทนา ไมตองกําหนดจดจอโดย
คําบริกรรมเขากํากับเหมือนคนวายน้ําที่เกาะทอนไมลอยไปตามกระแสน้ํา
โดยไมใชกําลังวาย เมื่อทนตอเวทนาไมได ก็พึ่งเปลี่ยนอิริยาบถลุกขึ้นเดินจง
กลม เพื่อใหสมาธิมีกําลังมากขึ้น สามารถตอสูเวทนาไดในโอกาสตอไป
ขันติสังวร
พระพุทธองคตรัสวา กายนี้มีทุกขมาก มีโทษมาก โรคมากมายเกิด
๓๗
ในกายนี้ เมื่อยังมีกายอยูจะมีเวทนาแนนอน เวทนามักเกิดจากการกระทบ

๓๗
องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๖๐/๘๗
๔๐๙
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
กัน ระหว างรู ป คือกายส ว นล างที่กระทบกับพื้น หรื อเกิด จากการคูขาเป น
เวลานานแตนักปฏิบัติไมควรกลัวตอทุกขเวทนา เพราะขนาดเกิดทุกขเวทนา
ความฟุงซานจะมีนอยลง เนื่องจากไมมีผูใดรักผูอื่นมากกวาตน เวทนาจึงจัด
วาเปนอารมณที่ดีในการกําหนดรู
มีสุภาษิตกลาววา “ความอดทนเปนกุญแจไขประตูพระนิพพาน”
สุภาษิตบทนี้สอดคลองกับพระพุทธพจนที่ตรัสสรรเสริญการเจริญขันติสังวร
คือ ความอดทนตอเวทนา อาทิเชน ความเย็น ความรอน ความหิวกระหาย
สัมผัสของยุง เหลือบ งู ลม แดด ความเจ็บปวดที่รุนแรงทางกายที่อาจครา
ชีวิตได๓๘ฉะนั้น นักปฏิบัติจึงควรรอดทนกําหนดเวทนากอน อนึ่ง พระพุทธ
องคยังตรัสสรรเสริญความอดทนวา
อิธ สาริปุตฺต ภิกฺขุ ปจฺฉาภตฺตํ ปณฺฑปาตปฏิกฺกนฺโต นิสีทติ ปลฺลงฺกํ
อาภุชิตฺวา อุชุ กายํ ปณิธาย ปริมุขํ สตึ อุปฏฐเปตฺวา น ตาวาหํ อิมํ ปลฺลงฺกํ
ภินฺทิสฺสามิ ยาว เม นานุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ วิมุจฺจิสฺสตีติ. เอวรูเปน โข สา
ริปุตฺต ภิกฺขุนา โคสิงฺคสาลวนํ โสเภยฺย.๓๙
“ดูกรสารีบุตร ภิกษุในศาสนานี้ ฉันภัตตาหารแลวนั่งขัดสมาธิ ตั้ง
กายตรง ดํารงสติมั่น ตั้งใจวาตราบที่จิตของเรายังไมพนจากอาสวะเราจักไม
ยกเลิกการนั่งคูบัลลังกนี้ ดูกรสารีบุตร ภิกษุผูมีความอดทนเชนนี้ พึงยังปา
สาละใหงดงาม”
พระพุ ท ธองค ต รั ส ไว ใ นโพธิ ร าชกุ ม ารสู ต ร ๔๐ว า บุ ค คลจะบรรลุ
ความสุขดวยความสุขไมได แตจะบรรลุความสุขไดดวยความทุกข พระดํารัส
นี้แสดงถึงความอดทนโดยตรง และเมื่อพระองคทรงบําเพ็ญเพียรที่อุรุเวลา
เสนานิ ค มในวั น เพ็ ญ เดื อ นหก มหาศั ก ราช ๑๐๓ ได ป ระทั บ นั่ ง เหนื อ
โพธิบัลลังกตั้งแตปฐมยามถึงปจฉิมยาม คือ ตั้งแต ๖ โมงเย็น ถึง๖ โมงเชา
(ยามหนึ่งมี ๔ ชม. ราตรีหนึ่งมี ๓ ยาม คือ ปฐมยาม = ๑๘.๐๐-๒๒.๐๐ น.

๓๘
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๒๔/๑๔-๑๕
๓๙
ม.มู. (บาลี) ๑๒/๓๔๕/๓๐๘
๔๐
ม.ม. (ไทย) ๑๓/๕๑๕/๓๓๔-๓๕๗.
๔๑๐
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
มัชฌิมยาม = ๒๒.๐๐-๒.๐๐ น. ปจฉิมยาม = ๒.๐๐-๖.๐๐ น. ) ระยะเวลา
ดังกลาวนี้นานประมาณ ๑๒ ชั่วโมงจึงทรงตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณใน
ยามรุงอรุณแหงราตรีนั้นในปจจุบันมีการตําหนิวา การอดทนตอเวทนานี้เปน
อัตตกิลมถานุโยค คือ การเบียดเบียนตนใหลําบาก แลวสอนใหพิจารณาสาต
ถกสัมปชัญญะและสัปปายสัมปชัญญะ ทั้งยังแนะนําไมใหอดทนตอเวทนา
นั้น วิธีปฏิบัติดังกลาวไมสอดคลองกับขอความในมหาสติปฏฐานสูตรนี้ และ
ขัดแยงกับพระพุทธดํารัสที่สอนใหกําหนดรูเวทนาขันธวา
เวทนํ ภิกฺขเว โยนิโส มนสิ กโรถ. เวทนานิจฺจตฺจ ยถาภูตํ สม
นุปสฺสถ. เวทนํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ โยนิโส มนสิกโรนฺโต เวทนานิจฺจตฺจ ยถาภูตํ
สมนุปสฺสนฺโต เวทนาย นิพฺพินฺทติ.๔๑
“ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอพึงกําหนดรูเวทนาดวยปญญาพึงรูแจง
ความไมเที่ย งของเวทนาตามความเปนจริง เมื่อภิกษุกําหนดรูเวทนาดว ย
ปญญา รูแจงความไมเที่ยงของเวทนาตามความเปนจริงอยู ยอมเบื่อหนายใน
เวทนา”
อนิจฺจฺเญว ภิกฺขเว ภิกฺขุ เวทนํ อนิจฺจนฺติ ปสฺสติ. สาสฺส โหติ สมฺ
๔๒
มาทิฏฐิ.
“ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุยอมรูแจงเวทนาที่ไมเที่ยงนั่นเทียววาเปน
ของไมเที่ยง ปญญาที่รูแจงดังกลาวของภิกษุนั้นเปนสัมมาทิฏฐิ”
การกําหนดรู เ วทนามีป ระโยชน เ พื่อ ขจั ด ตั ณหาที่เ กิด จากเวทนา
ดังตอไปนี้
๑) สุขเวทนา กอใหเกิดความพอใจในสุขที่ไดรับอยู และทําใหอยาก
ไดรับความสุขยิ่งๆ ขึ้นไป ไมพอใจกับสุขที่มีอยูวาดีเลิศ
๒) ทุกขเวทนา กอใหเกิดความอยากพนไปจากทุกขที่ประสบ อยู
เพราะทุกคนลวนรักสุขเกลียดทุกข

๔๑
สํ.ข. (บาลี) ๑๗/๕๒/๔๓
๔๒
สํ.ข. (บาลี) ๑๗/๕๑/๔๒
๔๑๑
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
๓) อุเบกขาเวทนา กอใหเกิดความอยากไดรับสิ่งที่ดีกวา ซึ่งตนเคย
ไดหรือคาดหวังไวดวยเหตุนี้ การกําหนดรูเวทนาตามหลักของเวทนานุปสส
นาจึงเปนการตัดวงจรของสังสารวัฏอยางแทจริง เมื่อตัณหาไมเกิด อุปาทาน
ภพชาติ ชราและมรณะเปนตนก็เกิดขึ้นไมได ครั้นบุคคลขจัดตัณหาไดอยางนี้
วนเวียนของสังสารวัฏที่เริ่มตนจากตัณหาก็ถูกขจัดไปได
อานิสงสของการตามรูเวทนา
การตามรูเวทนาสงผลใหนักปฏิบัติหยั่งเห็นความเกิดดับเวทนา ใน
บางขณะนักปฏิบัติอาจรับรูเหตุที่เกิดขึ้นและเหตุดับไปของเวทนาตามที่ได
สดับมาอีกดวย กลาวคือสุขเวทนาเกิดจากการประสบกับอารมณที่นาชอบใจ
ทุกขเวทนาเกิดจากการพบกับอารมณที่ไมชอบใจ อุเบกขาเวทนา เกิดจาก
การประสบกับอารมณเปนกลาง นอกจากนี้ เวทนายังมีเหตุเกิดคือกรรมใน
อดีต อวิชชาและตันหา
ผูที่หยั่งเห็นความเกิดดับของเวทนาอยางนี้ จะเกิดสติระลึกรูวามี
เพียงความรูสึกสุข ทุกข หรือวางเฉย ไมมีบุคคล เรา ของเรา บุรุษ สตรี ยอม
ปราศจากความยึ ดมั่นสิ่งใดสิ่งหนึ่ งในโลกคืออุปาทานขัน ธ สมจริ งดังพระ
พุทธพจนวา
“สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา เวทนาสุ วิหรติ.วยธมฺมา นุปสฺสี วา เวทนาสุ
วิหรติ. สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา เวทนาสุ วิหรติ. อตฺถิ เวทนาติ วา ปนสฺส
สติ ปจฺจุปฏฐิตา โหติ ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย. อนิสฺสิโต จ วิ
หรติ. น จ กิญจิ โลเก อุปาทิยติ
ผูเจริญวิปสสนา ตามรูสภาวธรรม คือ ความเกิดขึ้นในเวทนาอยูบาง
ความดับในเวทนาอยูบาง ทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความดับในเวทนาอยูบาง เธอ
ย อมเป น อยู อีกอย า งหนึ่ งคือเขาไปตั้ ง สติ ว าเวทนามี ก็เ พีย งสั กว าเอาไว รู
เพียงสักวาเอาไวระลึกไดเทานั้น เธอเปนผูอยูอยางไมถูกตัณหาและทิฏฐิ เขา
อิงอาศัย และไมถือมั่นอะไรๆในโลก

๔๑๒
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔

๖. อริยสัจ ๔ ในการกําหนดรูเวทนา
อริยสัจ ความจริงอยางประเสริฐ, ความจริงของพระอริยะ, ความจริง
ที่ทําคนใหเปนพระอริยะ มี ๔ อยาง คือ ทุกข (หรือ ทุกขสัจจะ) สมุทัย (หรือ
สมุทัยสัจจะ) นิโรธ (หรือ นิโรธสัจจะ) มรรค (หรือ มัคคสัจจะ) สัจจะที่พระ
อริยะแทงตลอด อยางนี้ก็ได คําวา อริยสัจ มาจากคําวา อริย+สัจจะ สองคํา
รวมกัน แปลวา เปนสัจจะที่พระอริยะแทงตลอด อริยสัจ ๔ คือ ความจริงแทที่
นําไปสูความสิ้นทุกขไดจริง๔๓ ธรรมอันทําใหเปนพระอริยะ๔๔
กระบวนการของอริยสัจ ๔ ในการกําหนดเวทนา มีดังนี้
อชฺฌตฺตํ วา เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วิหรติ ภิกษุยอมเห็นเวทนาในเวทนาภายในบาง
พหิทฺธา วา เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วิหรติ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาภายนอกบาง
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งภายใน
วิหรติ ทั้งภายนอกบาง
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา เวทนาสุ วิหรติ พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในเวทนา
วยธมฺมานุปสฺสี วา เวทนาสุ วิหรติ พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในเวทนา
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสีวา เวทนาสุ วิหรติ พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้ง
ความเสื่อมในเวทนาบาง
อตฺถิ เวทนาติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏิตา โหติ อีกอยางหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยูวา
เวทนามี
ยาวเทว าณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ก็เพียงสักวาความรู เพียงสักวาอาศัยระลึก
เทานั้น
อนิสฺสิโต จ วิหรติ เธอเปนผูอันตัณหาและทิฐิไมอาศัยอยูแลว
น จ กิฺจิ โลเก อุปาทิยติ . และไมถือมั่นอะไรๆ ในโลก
เอวํ โข ภิกฺขเว ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อยางนี้แล
ภิกฺขุ เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วิหรติ. ภิกษุชื่อวาพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู
๑. ทุกอริยสัจ คือ ความทุกข หรือสภาพที่ทนไดอยากของมนุษย
กลาวใหลึกลงไปอีก หมายถึงสภาวะของสิ่งทั้งหลาย ที่ตกอยูในกฎธรรมดา

๔๓
อภิ.วิ.มูลฎีกา (บาลี) ๑/๑๘๙/๕๘.
๔๔
ขุ.เถร. (บาลี) ๒/๓๖/๑๕๘.
๔๑๓
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
แห งความไมเ ที่ย ง เปน ทุกข ซึ่งประกอบด ว ยภาวะบีบ คั้น กดดั น ขัดแย ง
ขัดของ มีความบกพรอง ไมสมบูรณในตัว ขาดแกนสาร และความเที่ยงแท
ไมอาจใหความพึงพอใจเต็มแทจริง สรุป คือ การที่กําหนดเห็นรูปนามเปน
ทุกข คือ เห็นอารมณชัด เพราะอารมณที่ปรากฏลวนเปนสิ่งที่ถูกปรุงแตง
สภาพที่ไมคงที่ เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ
กระบวนการอริยสัจ ๔ ในการกําหนดเวทนาพิจารณาไดดงั นี้
๑) เวทนาปริคฺคาพิกา สติ ทุกฺขสจฺจํ. สติที่กําหนดรูเวทนา จัดเปน
ทุกขสัจกลาวคือ สติที่เขาไปกําหนดรูเวทนาที่เกิดขึ้นจากผัสสะ วาเปนสุข
เวทนา หรือทุกขเวทนา หรืออุเบกขาเวทนา ทั้งที่เกิดขึ้นโดยอามิส และไมอิง
อามิส เปนทุกขเพราะถูกปรุงแตงขึ้น
๒) ตสฺสา สมุฏฐาปกา ปุริมตณฺหา สมุทยสจฺจํ. ตัณหากอนๆ ที่ยังสติ
นั้นใหเกิดขึ้น จัดเปนสมุทยสัจ กลาวคือ ตัณหา คือเวทนาที่เกิดจากผัสสะ
คือการกระทบกันของอายตนะภายใน และภายนอก เกิดเปนสุขเวทนา หรือ
ทุกขเวทนา หรือ อุเบกขาเวทนา เปนสมุทยสัจ
๓) อุภินฺนํ อปฺปวตฺติ นิโรธสจฺจํ. ความไมเปนไปแหงทุกขกับสมุทัย
คือ ทุกขกับสมุทัยดับลงไป จัดเปนนิโรธสัจ กลาวคือ เมื่อมีสติกําหนดรู ใน
เวทนาตางๆ เชนปวดหนอ ในขณะที่เกิดอาการทุกขเวทนา แลวสามารถหยั่ง
เห็นความไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตนของเวทนาที่เกิดขึ้น จัดวาละอวิชชา
ไดชั่วขณะเปนตทังคนิโรธ เมื่อละอวิชชาได ตัณหาที่ยินดีพอใจหรือไมพอใจ
ในขณะเกิดเวทนายอมไมเกิดขึ้น จัดวาละตัณหาไดชั่วขณะเชนเดียวกัน เมื่อ
ตัณหาไมมี ความยึดมั่นและการทํากรรมดีกรรมชั่วก็ไมมีและผลที่เกิดจาก
กรรมอันไดแก วิญญาณ นามรูป อายตนะ ๖ ผัสสะ และเวทนายอมดับไปใน
ขณะที่ตัณหาดับเมื่อประกอบดวยสติสัมปชัญญะ การละตัณหาดวยวิปสสนา
ที่ เป นตทังคนิโรธนี้ จะเป นปจจัย ใหผูปฏิ บัติธรรมไดบรรลุการละตัณหา
อยางเด็ดขาดเปนสมุจเฉทนิโรธ และสามารถดับทุกขที่เนื่องดวยตัณหานั้นๆ
๔) ทุ กฺ ข ปริ ช านโน สมุ ท ยปชหโน นิ โ รธารมฺ ม โณ อริ ย มคฺ โ ค
มคฺคสจฺจํ. อริยมรรคกําหนดรูทุกข ละสมุทัย นิโรธมีนิพพานเปนอารมณ จัด
เป น มั คคสั จ กล า วคื อ เมื่อ เจริ ญสติ กํ าหนดรู เ วทนาทั้ง หลายที่ เ กิด ขึ้น ใน
๔๑๔
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
ปจจุบันจนกระทั่งหยั่งเห็นความเกิดดับแลวยอมไดชื่อวาเปนผูเจริญอริยสัจ
ทั้ง ๔ กลาวคือ การกําหนดรูทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นคือการกําหนดรูทุกขสั จ
การละความเพลิดเพลินยินดีในสุขเวทนา หรือ ทุกขเวทนา ที่รับรูดวยสติอยู
คือการละสมุทยสัจ การไมเกิดขึ้น แหงตัณหา อุปาทาน ผัสสะ เวทนาที่เปน
ผลกรรม ดวยการกําหนดรูปจจุบันเปน การกระทํานิโรธสัจใหแจง การดับ
ตัณหาเปนตนดังกลาวจัดเปนการดับชั่วขณะดวยวิปสสนาซึ่งเรียกวา ตทังค
นิโรธ เมื่อบรรลุอริยมรรคอยางแทจริงจึงจะรับรูการดับของเวทนาทั้งปวง
โดยประจั ก ษได การหยั่ งเห็ น ลั ก ษณะพิเ ศษของรู ป นามแต ล ะอย า งและ
ลักษณะทั่วไปคือไตรลักษณ จัดเปนสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ เปนสัมมาวา
ยามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ การ
เจริญสติระลึกรูปจจุบันอันประกอบดวยอริยมรรคมีองค ๘ เหลานี้ จัดเปน
การเจริญมรรคสัจ

๗. อริยสัจ ๔ ในญาณ ๑๖
ในการเจริญสติกําหนดรูเวทนามีความรูสึกอยางใดอยางหนึ่งที่เปน
สุข ทุกข หรือวางเฉย พึงรูตามสภาวะนั้นโดยกําหนดสุขหนอ ทุกขหนอ หรือ
เฉยหนอ จัดเปนนามรูปปริจเฉทญาณ เปนทุกขเมื่อรูชัดถึงความเกี่ยวของ
ของสิ่ งที่ม ากระทบจากอายตนะภายนอกก็รู จั ด เป น ป จ จยปริ คคหญาณ
เปนสมุทยสัจ เมื่อเริ่มเห็นความเกิดดับ ของเวทนาเชนปวดมาก เปนสัมมสน
ญาณ มีทุกข สมุทัย นิโรธ เกิดขึ้น เมื่อความปติโสมนัสปรากฏชัดเมื่อบรรลุ
วิปสสนาญาณที่ ๔ ชื่อวา อุทยัพพยญาณ คือ ปญญาหยั่งรูความเกิด ความ
ดับ พึงตามรู ความปติโสมนัส โดยกําหนดวา “ชอบหนอๆ” หรือ “สุขหนอ”
ผูเจริญวิปสสนา ตามรูสภาวธรรม เมื่อเสวยทุกขเวทนาอิงกามคุณ ยอมรูชัด
วาเสวยทุกขเวทนา อิงกามคุณอยู หรือ เมื่อเสวยทุกขเวทนาไมอิงกามคุณ
ยอมรูชัดวาเสวยทุกขเวทนาไมอิงกามคุณอยู ผูที่ประสบกับความทุกขกาย
หรือทุกขใจเมื่อไมสมหวังกามคุณภายในหรือภายนอกหรือหวนคิดถึงทุกข ที่
เคยประสบมากอน ยอมเกิดทุกขที่เรียกวา ทุกขอิงกามคุณ (สามิสทุกข) นัก
ปฏิบัติพึงกําหนดวา “ทุกขหนอ” หรือ “เสียใจหนอ” เมื่อนักปฏิบัติบรรลุ
๔๑๕
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
อุทยั พพยญาณแล ว ขามพน วิ ป สสนู ป กิเลสได ความว างเฉยในขณะตามรู
อารมณทางทวารทั้ง ๖ ยอมเกิดขึ้น ความวางเฉยนี้เรียกวา อุเบกขาไมอิง
กามคุณ (นิรามิสอุเบกขา) ยอมปรากฏชัดในภังคญาณและปรากฏชัดยิ่งขึ้น
ในสังขารุเปกขาญาณ ในบางแหงเรียกวา เนกขัมมสิตอุเบกขา คือ อุเบกขา
อิงวิปสสนา นักปฏิบัติพึงกําหนดวา “เฉยหนอ” อริยสัจ ๔ จะเกิดครบ
สมบูรณ เมื่อ เขาสูภังคญาณ เห็นนิโรธชัดเจน ตอจากนั้นเมื่อเขาสูภยญาณ
อาทีนวญาณ และนิพพิทาญาณ อริยสัจ ๔ ก็จะเกิดครบสมบูรณแตเห็นทุกข
สัจชัด ญาณตั้งแตมุญจิตุกัมยตาญาณ ไปจนถึงสังขารุเบกขาญาณ อริยสัจ ๔
เกิดครบสมบูรณ อนุโลมญาณและโคตรภูญาณ อริยสัจ ๔ เกิดครบสมบูรณ
เมื่อเขาสูมัคคญาณ คืออริยสัจ ๔ กิจญาณสมบูรณ ผลญาณมีนิพพานเปน
อารมณ ปจจเวกขณญาณ คือพิจารณาอริยสัจ ๔ กตญาณ
สภาวะญาณที่ปรากฏ
ญาณที่ ๑ นามรูปปริเฉทญาณ กําหนดรูดูอาการทองพอง ทองยุบ
พองใหญ ยุบ ใจที่รูสึกกับทองพอง ทองยุบใหเทากันใหตรงกันพอดี อยาให
กอนหรือหลังกัน จิตที่รูพรอมกันเชนนี้ วินิจฉัยวา นามรูปปริเฉทญาณ จิต
กําหนดพรอมกันทีเดียว ความรูสึกถึงความมีอยูตัวตนขณะนั้นยอมไมปรากฏ
นี้ เรียกวานามรูปปริเฉทญาณ๔๕ จัดเปนอริยสัจ ๔ คือ“ทุกข (จินตาญาณ)”
๒. สมุทัยอริยสัจ ความจริงแทที่วาความทุกขทั้งมวลที่ส รรพสัตว
ประสบอยู หรือรับ รูทางอายตนะ ๖ อยูนั้น ลว นเกิดจากเหตุปจ จัยนั้น คือ
อวิชชา ตัณหาและอาสวะกิเลส ที่หมักดองอยูในขันธสันดานของสัตว ๔๖แต
ละตนนั่นเอง
๑) กามตั ณหา คือ ความไมได อยางโน นอย างนี้ ซึ่งเกิดจาก ตา หู
จมูก ลิ้น กายและ ใจ เชน ตาเห็นรูปสวยงาม ก็เกิดความอยากได อยากไดบาน
สวยๆ ราคาแพง อยากไดเสื้อผาสวยๆ เปนตน
๔๕
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ), คูมือสอบอารมณกรรมฐานวิชาครู,
พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท ช. โฆษิตพิพัฒน จํากัด, ๒๕๔๓.), หนา ๘๓.
๔๖
ขุ.อุ.อ.(ไทย)๔๔/๓๖๓.
๔๑๖
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
๒) ภวตัณหา คือ ความอยากเปนอยางโนนอยางนี้ เปนความอยาก
หลุดพน
๓) วิภวตัณหา คือ ความอยากไมเปน ความอยากไมมี จัดเปนความ
อยากที่ ประกอบกับความเบื่อหนายในสภาพที่เปนอยูในปจจุบัน อยากหนี
อยากพน เปนตน
สภาวะญาณที่ปรากฏ คือ ญาณที่ ๒ ปจจยปริคหญาณ เปนญาณที่
เกิดปญญารูแจง ในสภาวะของ รูปกับนาม ที่กําหนดอยูวาทั้งรูปและนาม
เปนเหตุ เปนผลซึ่งกันและกัน คือรูชัดในอาการตางๆ พรอมกับจิตที่เขารูทุก
อารมณที่กระทบจิต จัดเปน อริยสัจ ๔ คือ “สมุทัย (จินตาญาณ)”
๓. นิโรธอริยสัจ ความจริงที่แทวา เมื่อมีสติ สมาธิ และปญญาญาณ
สมบูรณ ยอมพนไปจากสังขารที่เปนทุกข (รูป-นามอันเปนสังขตธรรม) ได
และพนจากกิเลสตัณหาอยางสิ้นเชิง๔๗ ชนิดที่ไมอาจ เปนทุกขไดอีกเลย นั่น
คือ “พระนิพพาน๔๘”(อันเปนอสังขตธรรม, อกตัญูธรรม)
สภาวญาณที่ปรากฏ
ญาณที่ ๓ สั มมสนญาณ ป ญญาพิจารณาเห็ น อาการเกิด ตั้ ง ดั บ
ความเกิ ด เป น ตั ณ หา สภาวะที่ ท รงตั ว เป น ทุ ก ข สภาวะที่ ดั บ ไป จั ด เป น
อริยสัจ ๔ คือ “นิโรธ (ตทังคนิโรธ)”
ญาณที่ ๔ อุทยัพพยญาณ ปญญาที่เห็นเนื่องๆ ในความแปรผันของ
ปจจุบันธรรมทั้งหลาย คือ รูปที่เกิดแลวเปนปจจุบันลักษณะแหงความเกิดของ
รูปนั้นเปน อุทยัพ๔๙(ความเกิดขึน้ ) ลักษณะแหงความแปรผันเปน วยะ๕๐ (ความ
ดับไป) สภาวะนิ มิตต างๆ หายไปเร็ ว กําหนดวาเห็ นหนอๆๆ สั ก ๒-๓ ครั้ งก็
หายไป แสงสวางแจมใสคลายไฟฟา จัดเปน อริยสัจ ๔ คือ “สมุทัย (ตทังค
นิโรธ)”
๔๗
ที.ม.(ไทย) ๑๐/๔๐๑/๓๓๔.
๔๘
วิ.ม.(ไทย) ๔/๑๔/๒๑.
๔๙
ขุ.ธ.(ไทย) ๒๕/๙๒๒-๙๒๔/๗๒๒.
๕๐
องฺ.ปญจก.(ไทย) ๒๒/๓๐๗/๔๐๙.
๔๑๗
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
๔. มัค คอริ ย สัจ ความจริ งที่ แท ว า ทางปฏิ บั ติ เ พื่อให เ ขา ถึง พระ
นิพพาน มีอยู จริง สามารถปฏิ บัติให รูแจงไดในปจจุบั นขณะนี้ นั่น คืออาจ
เจริญภาวนาแนวทางศีล สมาธิ ปญญา ทํามรรคใหมีองค ๘ ใหสมบูรณ
มรรคสั จ จ ได แ ก ป ญ ญาที่ เ ห็ น พอง ยุ บ เป น ต น ตั้ ง แต เ ริ่ ม แรก
จนกระทั่งดับลงไป สิ้นไป หมดไป เปนมัคคสัจจ ดังบาลีวา “นิโรธปฺชานนา
มคฺคสจฺจํ” เปนที่ทราบชัดซึ่งทุกขสมุทัย วาดับลงไปตอนไหน เปน มัคคสัจจ
ทุกขนิ โรธอริยสัจ (อริ ยสั จคือความดั บทุกข) คือ ความสํ ารอกและ
ความดับโดยไมเหลือ ความปลอยวาง ความสละคืน ความพน ความไมติดอยู๕๑
๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ (อริยสัจคือขอปฏิบัติใหถึงความ
ดับทุกข) คือ อริยมรรคมีองค ๘ นี้นั่นแล๕๒ไดแก
สัมมาทิฏฐิ(เห็นชอบ) คือ ความรูในทุกข(ความทุกข) ความรูในทุกข
สมุทัย(เหตุเกิดแหงทุกข) ความรูในทุกขนิโรธ(ความดับทุกข) ความรูในทุกขนิ
โรธคามินีปฏิปทา(ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข)
สัมมาสังกั ปปะ(ดําริชอบ) คือ ความดําริ ในการออกจากกาม ความ
ดําริในการไมพยาบาท ความดําริในการไมเบียดเบียน
สัมมาวาจา(เจรจาชอบ) คือ เจตนาเปนเหตุเวนจากการพูดเท็จ เจตนา
เป นเหตุ เว นจากการพู ด ส อเสี ยด เจตนาเป นเหตุ เว นจากการพู ดคํ าหยาบ
เจตนาเปนเหตุเวนจากการพูดเพอเจอ
สัมมากัมมันตะ (กระทําชอบ)คือ เจตนาเปนเหตุเวนจากการฆาสัตว
เจตนาเปนเหตุเวนจากการลักทรัพย เจตนาเปนเหตุเวนจากการประพฤติผิดใน
กาม
สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ) คือ พระอริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้ ละ
มิจฉาอาชีวะแลว เลี้ยงชีพดวยสัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ(พยายามชอบ) คือ ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ยังฉันทะให
เกิด พยายาม ปรารภความเพียรประคองจิต มุงมั่น (๑) เพื่อความไมเกิดขึ้น

๕๑
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๗๔/๔๒๑.
๕๒
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๗๕/๔๒๑, ๓๒๕/๓๙๒.
๔๑๘
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
แหงบาปอกุศลธรรมที่ยังไมเกิดขึ้น (๒) เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแลว
(๓) เพื่อความเกิดขึ้นแหงกุศลธรรมที่ยังไมเกิดขึ้น (๔) เพื่อความดํารงอยู ไม
เลือนหาย ภิยโยภาพ ไพบูลย เจริญเต็มที่แหงกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแลว
สัมมาสติ(ระลึกชอบ) คือ ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้เปนผูมีความเพียร
มีสัมปชัญญะ มีสติพิจารณาเห็นกายในกายอยู พึงกําจัดอภิชฌาและโทมนัสใน
โลกได พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู ฯลฯ พิจารณาเห็นจิตในจิต
อยู ฯลฯ เป นผู มีความเพียร มีสั มปชั ญญะ มีสติ พิจารณาเห็ นธรรมในธรรม
ทั้งหลายอยู พึงกําจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกได
สัมมาสมาธิ (ตั้งจิตมั่นชอบ) คือ ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม
และอกุศลธรรมทั้งหลายแลวบรรลุปฐมฌานที่มีวิตก วิจาร ปติและสุขอันเกิด
จากวิเวกอยู เพราะวิตกวิจารสงบระงับไป ภิกษุนั้นจึงบรรลุทุติยฌาน ที่มีความ
ผองใสภายใน มีภาวะที่จิตเปนหนึ่งผุดขึ้น ไมมีวิตก ไมมีวิจาร มีแตปติและสุข
อันเกิดจากสมาธิอยู... บรรลุตติยฌาน... บรรลุจตุตถฌานอยู๕๓
สภาวญาณที่ปรากฏ
ญาณที่ ๕-๑๓ อารมณและจิตที่กําหนดไดดับหายไปพรอมๆ กันทุก
ครั้งที่กําหนด นั้นคือ ปญญาที่พิจารณาเฉพาะความดับไปของรูปนามอยูเนืองๆ
กําหนดจิต ดับไปพรอมอารมณที่ปรากฏมี อาการเผลอบอยๆ แลวจิตเกาะกับ
นิวรณ เพราะความดับไปของจิตกับอารมณ จิตจึงไปเกาะอารมณที่เคยชินคือ
กิเลส พบแตการดับ นิมิต หรืออาการปรากฏรวดเร็ว ตามไมทัน สติตั้งมั่นอยู
ใน นิโรธ ความสิ้นไป เสื่อมไป เห็นวา “สังขารเกิดขึ้นอยางนี้ แลวดับไปอยางนี้
เปนธรรมดาเนืองๆ” คือ ทางอันประเสริฐ ที่ทําใหผูปฏิบัติพนทุกขได เมื่อทํา
มรรคมีองค ๘ ใหสมบูรณซึ่งเปนกระบวนการเกิดจากการกําหนดรู รูป-นาม ที่
ประกอบดวย ปชานาติ (ใสใจ) มรรคนี้เปนเบื้องตนซึ่งเปน โลกียะ๕๔ ไดแก สติ
ป ฏ ฐาน ๔ สั มมั บ ปทาน ๔ เป น ต น ที่ จะนํ าไปสู อริ ยมรรคที่ เ ป น โลกุ ต ระ
ประหารกิเลสอยางสิ้นเชิง โดยที่พัฒนาวิปสสนาญาณตามลําดับจนถึงมรรค

๕๓
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๗๕/๔๒๒-๔๒๔.
๕๔
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๒๕๓/๑๗๘.
๔๑๙
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
ญาณ องคมรรคทั้ง ๘๕๕ ยอมเกิดขึ้นพรอมกัน คือ สัมมาทิฏฐิ๕๖ สัมมาสังกับ
ปะ สั มมาวาจา สั มมากั มมั น ตะ สั มมาอาชี ว ะ สั ม มาวายามะ สั ม มาสติ
สัมมาสมาธิ ทําหนาที่ละสมุทัย ดับกิเลสโดยสมุจเฉทประหาร บรรลุเปนพระ
อริยบุคคลโดยลําดับของอริยมรรค จัดเปน อริยสัจ ๔ คือ “ในญาณที่ ๑๔, ๑๕,
๑๖ แจงนิโรธ อริยสัจ ๔ เกิดขึ้นตามลําดับจนสมบูรณ”

บันได ๗ ขั้น วิปสสนาญาณ ๑-๑๖ ปริญญา ๓ อริยสัจ ๔


ขั้นที่ ๑ เห็นรูป-เห็น ๑.นามรูปปริจเฉทญาณ
ทุกข (จินตาญาณ)
นาม ๑.ญาต
๒.ปจจยปริคคหญาณ ปริญญา สมุทัย(จินตา
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-
ญาณ)
นาม
๓.สัมม แบบออน
นิโรธ(ตทังคนิโรธ)
สนญาณ แบบแก ๒.ตีรณ
ตรุณ ปริญญา
อุทยัพพย
ขั้นที่ ๓ เห็นความไม ๔.
ญาณ
เที่ยงของรูป-นาม อุทยัพพย สมุทัย(ตทังคนิโรธ)
พลว
ญาณ
อุทยัพพย
ญาณ
๕.ภังคญาณ แจงนิโรธ
๖.ภยญาณ (อริยสัจ ๔
ขั้นที่ ๔ เห็นความเปน ๓.ปหาน
๗.อาทีนวญาณ เกิดโดยสมบูรณ
ทุกขของรูป-นาม ปริญญา
๘.นิพพิทาญาณ ขึ้นตามลําดับ)
ขั้นที่ ๕ เห็นความไมใช ๙.มุญจิตุกัมยตาญาณ ทุกข, สมุทัย,
ตัวตนของรูป-นาม ๑๐.ปฏิสังขาญาณ นิโรธ, มรรค
ขั้นที่ ๖ วางเฉยตอรูป- ตน
๑๑.
นาม
สังขารุ
ปล วุฏ
เปกขา
าย ฐานคา
ญาณ
ขั้นที่ ๗ สลัดคืนรูป-นาม มินี

๕๕
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๖/๔๖๘.
๕๖
ที.ม.(ไทย) ๑๐/๒๙๐/๒๒๔.
๔๒๐
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
๑๒.
อนุโลม
ญาณ
๑๓.โคตรภูญาณ
๑๔.มรรคญาณ สมุจเฉทปหาน
๑๕.ผลญาณ ปฏิปสสัทธิปหาน
๑๖.ปจจเวกขณญาณ นิสสรณปหาน

๘. ประวัติการบรรลุธรรม
ประวัติของพระอริยสาวกในครั้งพุทธกาลที่ไดบรรลุธรรมดวยการ
กําหนดเวทนานุปสสนาสติปฏฐานมาแสดงโดยยอดังนี้
ประวัติการบรรลุธรรมของพระติสสเถระ
ในกรุงสาวัตถี มีบุตรของกุฏมพีชื่อติสสะ สละทรัพย ๔๐ โกฏิใหแก
นองชาย แลวออกบวชโดดเดี่ยวอยูในปาที่ไมมีบาน ภริยาของนองชายทาน
กลัววาทานจะสึกออกมาเอาสมบัติคืน จึงไดสงโจร ๕๐๐ ใหไปฆาทานเสีย
พวกโจรไปลอมทานไว ทานจึงถามวา อุบาสกมาทําไมกันหรือ พวกโจรตอบ
วามาฆาทานนะซิ ทานจึงพูดขอรองวา ทานอุบาสกทั้งหลาย โปรดรับประกัน
อาตมา ใหชีวิตอาตมาสักคืนหนึ่งเถิด พวกโจรกลาววา สมณะ ใครจักประกัน
ทานในฐานะอยางนี้ได พระเถระก็จับหินกอนใหญทุบกระดูกขาทั้งสองขาง
แลวกลาววา ประกันพอไหม เหลาโจรพวกนั้นก็ยังไมหลบไป กลับกอไฟนอน
เสียที่ใกลจงกรม พระเถระขมเวทนาพิจารณาศีล อาศัยศีลที่บริสุทธิ์ก็เกิดปติ
ลําดับตอจากนั้น ก็เจริญวิปสสนา ทําสมณธรรมตลอดคืน ในยามทั้งสาม พอ
อรุณขึ้น ก็บรรลุพระอรหันต๕๗
ประวัติการบรรลุธรรมของพระอรหันตในปากเสือ
ภิกษุ ๓๐ รูปอีกกลุมหนึ่ง เรียนกัมมัฏฐานในสํานักของพระผูมีพระ
ภาคเจ า แลว จําพรรษาในวั ด ปา ทํากติ กากัน วา ผู มีอายุ เราควรทําสมณ

๕๗
ดูรายละเอียดใน ที.ม.อ. (ไทย) ๑๔/๓๐๐/๒๖๗.
๔๒๑
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
ธรรมตลอดคืนในยามทั้งสาม เราไมควรมายังสํานักของกันและกัน แลวตาง
คนตางอยู เมื่อภิกษุเหลานั้นทําสมณธรรม ตอนใกลรุงก็งวงหลับเสือตัวหนึ่งก็
มาจับภิกษุไปกินทีละรูปๆ ภิกษุรูปที่ถูกเสือคาบไปกินนั้น ก็มิไดเปลงแมวาจา
ว าเสื อ คาบผมแล ว ภิ กษุ ถูกเสื อ กิน ไป ๑๕ รู ป ด ว ยอาการอย างนี้ ถึ งวั น
อุโบสถ ภิกษุที่เหลือก็ถามวาทานอยูที่ไหน และรูเรื่องแลวก็กลาววา เมื่อตน
ถูกเสือคาบควรบอกวา บัดนี้เราถูกเสือคาบไปๆ แลวก็อยูกันตอไป ตอมา
เสือก็จับภิกษุหนุมรูปหนึ่งโดยนัยกอน ภิกษุหนุมก็รองวา เสือขอรับ ภิกษุ
ทั้งหลายก็ถือไมเทา และคบเพลิงติดตามหมายวาจะใหมันปลอย เสือก็ขึ้นไป
ยังเขาขาด ทางที่ภิกษุทั้งหลายไปไมได เสือเริ่มกินภิกษุนั้นตั้งแตนิ้วเทา ภิกษุ
ทั้งหลายนอกนั้นก็ไดแตกลาววา สัตบุรุษ บัดนี้ กิจที่พวกเราจะตองทําไมมี
ขึ้นชื่อวาความวิเศษของภิกษุทั้งหลาย ยอมปรากฏในฐานะเชนนี้ภิกษุหนุม
นั้นนอนอยูในปากเสือ ขมเวทนาความเจ็บปวดแลวเจริญวิปสสนา ตอนเสือ
กินถึงขอเทาเปนพระโสดาบัน ตอนเสือกินไปถึงหัวเขาเปนพระสกทาคามี
ตอนเสือกินไปถึงทองเปนพระอนาคามี ตอนเสือกินไปเกือบถึงหัวใจ ก็บรรลุ
พระอรหัตพรอมดวยปฏิสัมภิทา๕๘
ประวัติการบรรลุธรรมของพระปติมัลลเถระ
ภิกษุอีกรูป หนึ่ง ชื่อ ปติ มัลลเถระ ครั้ งเป นคฤหัส ถ ทานถือธงมา
เกาะลังกา ถึง ๓ รัชกาล เขาเฝาพระราชาแลว ไดรับพระราชานุเคราะห วัน
หนึ่ ง เดิ น ทางไปประตู ศาลาที่ มีที่ นั่ งปู ด ว ยเสื่ อลํ า แพน ฟง ธรรมเทศนาว า
ดูกอนภิกษุทั้งหลาย รูปไมใชของทาน ทานจงละรูปนั้นเสีย รูปนั้นทานละได
แลว จักมีเพื่อประโยชนเกื้อกูล เพื่อความสุขตลอดกาลนาน ดังนี้แลวก็คิดวา
มิใชรูปเทานั้น เวทนาก็ไมใชของตน เขาทําพระบาลีนั้นใหเปนหัวขอ แลว
ออกไปยั งมหาวิ ห ารขอบรรพชาอุ ป สมบท แล ว กระทํ า มาติ ก าให ทั้ง สอง
คลองแคลวทั้งสองบท พาภิกษุ ๓๐ รูปไปยังลาน ณ ตําบลควปรปาลี กระทํา
สมณธรรมเมื่อเทาเดินไมไหว ก็คุกเขาเดินจงกรม ในคืนนั้นพรานเนื้อผูหนึ่ง
สําคัญวาเนื้อ ก็พุงหอกออกไป หอกก็แลนถูกทานถึงอก ทานก็ใหเขาชักหอก
๕๘
ดูรายละเอียดใน ที.ม.อ. (ไทย) ๑๔/๓๐๐/๒๖๘.
๔๒๒
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
ออก เอาเกลียวหญาอุดปากแผลใหเขาจับตัวนั่งบนหลังแผนหิน ใหเขาเปด
โอกาสเจริญวิปสสนา ก็บรรลุพระอรหัตพรอมดวยปฏิสัมภิทา พระพุทธเจาผู
ประเสริฐสุด ที่สรรเสริญกันวาเลิศทุกแหลงหลา ทรงภาษิตไว วา ดูกอนภิกษุ
ทั้งหลาย รูปนี้มิใชของทาน ทานทั้งหลายพึงละรูปนั้นเสีย สังขารทั้งหลายไม
เที่ยงหนอมีเกิดและเสื่อมไปเปนธรรมดาเกิดแลวก็ดับ ความสงบระงับแหง
สังขารเหลานั้นเปนสุข ดังนี้ มรรคนี้ ยอมเปนไปเพื่อดับทุกขเหมือนอยาง
ทุกขของพระติสสเถระ๕๙
ประวัติการบรรลุธรรมของนางปฏาจาราเถรี
นางปฏาจารานี้ เป นธิ ด าเศรษฐี ในกรุ งสาวั ตถี เมื่ออายุ ๑๖ เกิด
ความรักใคร ในเด็ กหนุมคนรั บใช จึ งใหเ ขาพาหนีบิ ดามารดาไปอยู ชนบท
ตอมานางไดตั้งครรภขึ้น ในเวลาใกลคลอดจึงชวนสามีกลับไปหาบิดามารดา
แตสามีไมกลาพากลับไป เพราะกลัวบิดาของนางจะฆาที่พาลูกสาวเขาหนี
เมื่อเวลาสามีออกไปทํางานในปา จึงหนีสามีกลับไป เวลาสามีกลับจากปารู
เรื่องก็รีบออกติดตามไปในระหวางทาง เปนเวลาเดียวกันกับที่นางไดคลอด
บุตรกลางทางในปา จึงพากันกลับบานเดิม ตอมานางก็ตั้งครรภบุตรคนที่ ๒
อีก จึงหนีสามีไปอีก สามีของนางก็ตามไปเจอกลางทาง ในขณะนั้นเกิดฟา
คะนอง และนางก็เจ็บทองจะคลอดบุตรดวย สามีของนางจึงถือมีดไปที่จอม
ปลวกใหญเพื่อจะตัดกิ่งไมมาทําซุมอาศัยกันฝน สามีนั้นจึงถูกงูเหากัดตาย
ตรงนั้นเอง นางปฏาจาราก็ทนคลอดบุตรอยูคนเดียวทามกลางสายฝน รุง
เชาขึ้นจึงเที่ยวตามหาสามี ไปพบสามีนอนตายอยูบนจอมปลวก เกิดความ
เศราโศกเสียใจที่สามีตายเพราะตนเอง จึงอุมลูกทั้งสองออกเดินทางตอไป
ระหวางที่นางเดินทางกลับบาน บุตรของนางคนหนึ่งถูกน้ําพัดพําไปอีกคน
หนึ่งถูกเหยี่ยวโฉบเอาไป นางก็เสียใจอยางยิ่ง รองไหรําพันไปวาลูกคนหนึ่งก็
ถูกเหยี่ยวเฉี่ยวไป อีกคนหนึ่งก็ถูกน้ําพัดจมหายไป ผัวก็ตายในกลางทาง เมื่อ
รองไหรําพันไป ก็พบชายคนหนึ่งเดินสวนทางมาจากกรุงสาวัตถี ไดทราบ
ขาววา เมื่อคืนนี้ฝนตกตลอดทั้งคืน เรือนไดพังทับบิดามารดาของตนตาย พอ
๕๙
ดูรายละเอียดใน ที.ม.อ. (ไทย) ๑๔/๓๐๐/๒๖๙.
๔๒๓
บทที่ ๗ วิธีกําหนดรูเวทนาพิจารณาอริยสัจ ๔
นางไดฟงดังนี้ ก็เสียสติกลายเปนบาทันที มีผานุงหลุด วิ่งรองไหคร่ําครวญไป
แลวไดวิ่งเขาไปในวัดพระเชตะวัน
พระพุทธเจากําลังแสดงธรรมอยูคนทั้งหลายไดเห็นตางก็พากันหาม
วา อยาใหมาทางนี้ๆ พระพุทธเจาทรงเล็งเห็นวา นางนี้ไดสรางบารมีมาเต็มที่
แลว จึงตรัสสั่งวา อยาหามนางจงปลอยใหเขามา พอนางวิ่งฝาฝูงชนเขาไปถึง
ที่ใกลพระพุทธเจา พระพุทธองคจึงตรัสวา จงมีสติเถิดนองหญิง ขณะนั้นนาง
ก็ไดสติทันที แลวนั่งคุกเขาลง มีชายคนหนึ่งไดโยนผาขาวใหนุงหม เมื่อนาง
นุงหมแลวก็กราบทูลตอพระพุทธองควา ขอใหไดเปนที่พึ่งของขาพระองค
เถิด พระพุทธองคก็ทรงแสดงธรรมใหฟงแลว ไดสําเร็จเปนพระโสดาบัน แลว
ทู ล ขอบรรพชา เมื่ อ ได บ รรพชาแล ว ก็ ไ ด ชื่ อ ว า “ปฏาจารา”แปลว า ผู
ปราศจากผา ตอมาไมชานานก็ไดสําเร็จเปนพระอรหันตพรอมทั้งปฏิสัมภิทา
เปนผูเลิศทางพระวินัย๖๐
เรื่ อ งโทมนั ส เวทนาของนางปฏาจารานี้ แม จ ะไม เ กี่ ย วข อ งกั บ
ทุกขเวทนาโดยตรง แตพระอรรถกถาจารยก็ไดกลาววาเปนอานิสงสของการ
เจริญสติปฏฐาน ดังปรากฏขอความในอรรถกถามหาสติปฏฐานสูตร วา
เพื่อกาวลวงโสกะและปริเทวะ หมายความวา เพื่อกาวลวง คือ ละโสกะและ
ปริเทวะ จริงอยู มรรคนี้ อันบุคคลเจริญแลวยอมเปนไปเพื่อกาวลวงโสกะ
เหมือนอย า งโสกะของสั น ตติ มหาอํามาตย เ ป น ต น เพื่อกาวล ว ง ปริ เ ทวะ
เหมือนอยางปริเทวะของนางปฏาจาราเปนตน เพราะเหตุนั้น พระผูมีพระ
ภาคเจาจึงตรัสวา เพื่อกาวลวงโสกะและปริเทวะ๖๑
ดังนั้น ทุกขเวทนานั้นเมื่อสามารถกําหนดรูไดมีสติและความเพียร
อย างตอเนื่ องแล ว ย อมนํ าไปสู ความดั บทุกขในวั ฏ ฏะสงสารอย างสิ้ น เชิ ง
บรรลุความเปนพระอริยบุคคลชั้นสูงสุดเขาถึงพระนิพพานอันเปนอานิสงสที่
สําคัญที่สุด

๖๐
ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๔๑/๑๘/๔๘๙.
๖๑
ดูรายละเอียดใน ที.ม.อ. (ไทย) ๑๔/๓๐๐/๒๖๖.
๔๒๔
บทที่ ๘

วิธกี ําหนดรูอริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔


๑. การกําหนดรูอิริยาบถ
การปฏิบัติวิปสสนาาในหมวดสัมปชัญญปพพะ คือ การกําหนดรูใน
อิริยาบถยอย ซึ่งนับวาเปนหัวใจสําคัญยิ่งสําหรับผูปฏิบัติวิปสสนาภาวนา
เพราะตองใชสติจดจอตามรูกายรูใจของตน มีความรูสึกตัวทั่วพรอมใหตรง
ตามความเปนจริงตลอดเวลา โดยมีความเพียรอยางตอเนื่องไมทอถอย
อิริยาบถยอยมีมากสุดแทแตกายจะเคลื่อนไหวไปมา เชน การกาว
ไปขางหน า การถอยหลัง การเหลี ยว การคู การเหยี ยด ย อมต องเป นผู มี
สติสัมปชัญญะ และยอมมีความรูพรอมในการกิน การดื่ม การเคี้ยว และรู
พรอมทั่วทั้งในขณะถายอุจจาระและปสสาวะ ยอมรูตัวทั่วพรอมทั้งในขณะที่
เดินอยู ยืนอยู นั่งอยู นอนอยู ตื่นอยู พูดอยู ไมวาจะอยูในอิริยาบถใดก็ใหทํา
ความรูสึกตัวตลอดเวลา
คัมภีรฎีกาอธิบายวา อิริยานํ ปโถ ปวตฺติมคฺโคติ อิริยาปโถ, คมนา
ทิวเสน ปวตฺตา สรีราวตฺถา.๑ อากัปกิริยาที่เปนไปทางกายทั้งหลาย ชื่อวา
อิริยาบถ ซึ่งเปนการกําหนดรูความเปนไปทางกิริยา มีการเดินเปนตน๒
ในคัมภีรสารัตถทีปนีอธิบายวา อิริยนํ ปวตฺตนํ อิริยา, กายปฺปโยโค
กายิกกิริยา. ตสฺสา ปวตฺตนุปายภาวโต อิริยาย ปโถติ อิริยาปโถ, านนิสชฺ
ชาทิ.๓ ความเคลื่อนไหว คือเปนไป ชื่อวา อิริยา, การประกอบทางกาย ชื่อวา


ที.ม.ฏีกา (บาลี) ๑/๓๗๕/๓๗๙

ในคัมภีรสีลักขันธวัคค อภินวฎีกา ไดอธิบายความหมายของ อิริยาบถ ไววา
อิริยนํ ปวตฺตนํ อิริยากายิกกิริยา, ตสฺสา ปวตฺตนุปายภาวโต ปโถติ อิริยาปโถ, าน
นิสชฺชาทโย. น หิ านนิสชฺชาทิอวตฺถาหิ วินา กฺจิ กายิกํ กิริยํ ปวตฺเตตุ สกฺกา, ตสฺมา
โส ตาย ปวตฺตนุปาโยดิ วุจฺจติ.

สารตฺถ. ๑/๒๐๓, องฺ. ฏีกา ๑/๑๐๗.
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
กายิกกิริยา ที่ชื่อวาอิริยาบถ เพราะเปนเหตุแหงความเปนไปของอากัปกิริยา
ทางกายนั้น คือ ยืน เดิน นั่ง นอน
ผูปฏิบัติธรรมตองมีโยนิโสมนสิการ ในการกําหนดรูอยูกับรูปนาม
ตามธรรมชาติที่มีอยูเป นอยู ตามความเป นจริงอยางตอเนื่ อง ไมขาดสาย
ต องมีส ติ กํ าหนดรู จ นกระทั่งเห็ น แจ งด ว ยป ญญา ใช โ ยนิ โ สมนสิ การใส ใ จ
กําหนดรูจนเห็นความเกิด-ดับของอารมณที่กําหนดรูอยู
เมื่อจิตเขาไปรูอยูที่อารมณใดก็ใหตามกําหนดรูอารมณที่จิตเขาไปรู
โดยกําหนดรูใหเปนธรรมชาติสบายๆ และตรงกับความเปนจริงเทานั้นก็จะ
ทําใหวิปสสนาญาณเกิดขึ้นและกาวหนาไปตามลําดับ และจะสามารถแยก
รูปแยกนาม รูเหตุรูผล เห็นความเกิดดับของรูปนามขึ้นมาในญาณปญญาได
โดยเร็ว และมีความรูในสภาวธรรมตามความเปนจริงวาเปนเพียงรูปกับนาม
เทานั้น หาใชสัตว บุคคล เรา เขา ไม
การที่กําหนดจนรูสภาวธรรมตามความเปนจริงเกิดญาณปญญาก็
ตอเมื่อกําหนดรูรูปนามที่มีอยูจริงในปจจุบันขณะไปอยางตอเนื่องเทานั้น คือ
ขณะที่ทองพอง กําหนดรูวา “พองหนอ” ขณะทองยุบ กําหนดรู วา “ยุ บ
หนอ” จึงจะรูธรรมตามความเปนจริงวา ทองที่พองและทองที่ยุบ อาการ
พองกับอาการยุบเปนรูปธรรม (ธรรมชาติที่ไมรูอารมณ เปน รูปธรรม) และ
จิตที่รูอาการพอง กับ อาการยุบเปนนามธรรม (ธรรมชาติที่รูอารมณ เปน
นามธรรม) ความรูจําแนกในรูปธรรมและนามธรรมนี้สามารถละสักกายทิฏฐิ
คือ ความเห็นผิด ความหมายมั่นผิดออกไปได และสภาพที่รูเห็นดวยญาณ
ปญญาวา ธรรมทั้งหลายไมเที่ยง เปนทุกข บังคับบัญชาไมได คือ ธรรมอัน
เปนเครื่องดับทุกข คือ พระนิพพาน
โยนิโสมนสิการ คือการทําอารมณโดยแยบคาย แยบคายอยางไร
แยบคายคือ ในอารมณเดี ยวกัน จะเป นรู ปารมณหรื อสั ททารมณอยางใด
อยางหนึ่ งก็ต ามเปน ปจจั ยให รักก็ได ให โกรธก็ได ใหเ ปนกุศลก็ได ให เป น
ปญญาก็ได ถาคนๆ นั้นมีโยนิโสมนสิการ คือถาทําอารมณโดยแยบคายแลวก็
จะเขาใจทําความรูสึกในอารมณนั้น กิเลสก็เขาไมไดในอารมณนั้น อารมณ
นั้นก็เปนอาหารของปญญาไปนี่คือ โยนิโสมนสิการ หรือโยนิโสมนสิการ คือ
๔๒๖
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
การทําเขาไว ในใจโดยถูกอุบ าย หรื อถูกวิ ธี การ ถูกทาง ถูกอุบ ายหรื อถู ก
วิธีการอะไร อุบายหรือวิธีการใหเกิดปญญานั้นเอง การรูถูกรูจริงก็คือปญญา
๒. การกําหนดรูดวยโยนิโสมนสิการ
โยนิโสมนสิการ แปลวา ทําไวในใจโดยอุบายอันแยบคาย๔
โยนิโสมนสิการ เปนธรรมอยางเอกที่เปนเหตุใหธรรมตางๆ ที่เปน
กุศลที่ยังไมเกิดขึ้น ไดเกิดขึ้น และทําใหละบาปอกุศลที่เกิดขึ้นแลวได ดังที่
พระพุทธเจาไดตรัสวา “โยนิโสมนสิการเปนธรรมอยางเอก กั้นวิจิกิจฉาไมให
เกิดขึ้น และละวิจิกิจฉาที่เกิดขึ้น เปนเหตุใหเกิดกุศลธรรมและละอกุศลธรรม
เปนเหตุทําใหโพชฌงคเกิดขึ้นและเจริญบริบูรณ เปนไปเพื่อความดํารงมั่น
แหงพระสัทธรรม”๕
โยนิโสมนสิการเปนธรรมเครื่องละวิปลาส๖ ๔ ประการ คือ
๑. ทําไวในใจโดยแยบคายวา “สังขารรางกายเปนอสุภะ ลวนแตไม
สวย ไมงาม” เมื่อโยนิโสมนสิการในอสุภนิมิต๗เชนนี้ กามฉันทะที่ยัง
ไมเกิดขึ้นก็ไมเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลวก็ละได๘ ยอมรูชัดตามความเปนจริงใน
สังขารรางกายที่เปนอสุภะวา “ไมงาม” ละสุภวิปลาส (สําคัญวา “เปนของ
สวยงาม”) ได
๒. ทําไว ในใจโดยแยบคายว า “รู ป -นามสั งขารทั้งปวง เป น ทุกข
ลวนแต ไมสุข ไมส บาย ไมคงสภาพ”๙ เมื่อโยนิโสมนสิการเช นนี้ ย อมเกิด
ปราโมทย เมื่อมีปราโมทยยอมเกิดปติ เมื่อใจมีปติ กายยอมสงบ จิตยอมเปน

ดูใน ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๑๕/๗๑.

องฺ.เอก. (ไทย) ๒๐/๒๑/๕, และ ๒๐/๖๘/๑๕, ๗๖/๑๗.

วิปลาส ความคลาดเคลื่อนของการรับรู ความเขาใจ และความจําได เชน
การรับรูสิ่งที่ไมเที่ยงวา “เที่ยงแท” เปนตน (องฺ.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๒/๔๙/๓๔๖.)

อสุภนิมิต คือ นิมิตที่ไมงาม เชน ซากศพที่เนาพองขึ้นอืด มีน้ําเหลืองไหลเยิ้ม
ฯลฯ ที่ยังเหลืออยูแตรางกระดูกหรือกระดูกทอน (วิสุทธิ. (บาลี) ๑/๑๐๒/๑๙๔)

ละไดดวยปหาน ๕ อยาง (องฺ.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๑๖/๔๐)

ดูรายละเอียดใน สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๑๒๒/๒๑๖.
๔๒๗
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
สมาธิ ผูมีจิตเปนสมาธิยอมรูชัดตามความเปนจริง ในสิ่งที่เปนทุกข
วา “เปนทุกข” ละสุขวิปลาส (สําคัญวา “เปนสุข”) ได
๓. ทําไวในใจโดยแยบคายวา “รูป-นามสังขารทั้งปวงเปนอนิจจัง
ลวนแตไมเที่ยง ไมยั่งยืน”๑๐ เมื่อโยนิโสมนสิการเชนนี้ ยอมเกิดปราโมทย
เมื่อมีปราโมทยยอมเกิดปติ เมื่อใจมีปติ กายยอมสงบ จิตยอมเปนสมาธิ ผูมี
จิตเปนสมาธิยอมรูชัดตามความเปนจริง ในสิ่งที่ไมเที่ยงวา “ไมเที่ยง
ไมยั่งยืน” ละนิจจวิปลาส (สําคัญวา “เที่ยงแท”) ได
๔. ทําไวในใจโดยแยบคายวา “รูปธรรม-นามธรรมเปนอนัตตา ลวน
แตไมใชตัว ไมใชตนที่จะบังคับบัญชาใหเปนไปตามใจปรารถนาได”๑๑ เมื่อ
โยนิโสมนสิการเชนนี้ ยอมเกิดปราโมทย เมื่อมีปราโมทยยอมเกิดปติ เมื่อใจมี
ปติ กายยอมสงบ จิตยอมเปนสมาธิ ผูมีจิตเปนสมาธิยอมรูชัดตามความเปน
จริงในสิ่งที่ไมใชตัวตนวา“ไมใชตัวตน” ละอัตตวิปลาส(วาเปนอัตตา) ได๑๒
โยนิโสมนสิการนี้ เปนปจจัยที่สําคัญที่สุดในกระบวนการพัฒนาสติ
และปญญา ในระดับลึกซึ้งยิ่งขึ้น เปนไปในภายในจิตใจ ชวยสงเสริมทําให
เกิดสติและสัมปชัญญะที่ยิ่งขึ้นไป
โยนิโสมนสิการกับปญญา
โยนิโสมนสิการ เปนเหตุใหเกิดปญญา แตการมีโยนิโสมนสิการก็ไม
จําเปนตองเกิดปญญาเสมอไป เพราะมีเหตุผลหลายอยางที่ทําใหเกิดปญญา
ถาทานไมมีสติ ปญญาจะเกิดไดอยางไร ถาทานไมมีสมาธิ ปญญาจะเกิดได
อยางไร ธรรมเหลานี้ก็เปนเหตุใหเกิดปญญาเหมือนกัน ไมเฉพาะแตโยนิโส
มนสิการเทานั้น แตโยนิโสมนสิการเปนเหตุพิเศษทีเดียวที่ตองสําเหนียกกอน
คือ ไมถือเอาอํานาจแหงอัตตา
ไมถือเอาอํานาจแหงทิฏฐิ
ปองกันความปรารถนา คือ ตัณหาที่จะเกิดในเวลานั้น
๑๐
ดูรายละเอียดใน สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๑๒๒/๒๑๖.
๑๑
ดูรายละเอียดใน สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๑๒๒/๒๑๖.
๑๒
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๗๔/๑๒๕
๔๒๘
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ไมนอมไปสู สภาวธรรมอารมณภ ายนอกคือใส ใจเฉพาะอารมณที่
ปองกันตัณหาและทิฏฐิเทานั้น
ตองปองกันกิเลส ไมใชตัวโยนิโสมนสิการโดยตรง ธรรมที่ปองกัน
กิเลสได คือ ตัวปญญานั่นเอง ปญญาเกิดขึ้นแลวจะปองกันกิเลสได
กิเลสที่ตองปองกันอันดับแรก คือ ตัณหาและทิฏฐิ ดังนั้นจึงตองทํา
ปญญาใหเกิดขึ้น เพื่อปองกันตัณหาและทิฏฐิกอน ปญญานี้ตองอาศัยโยนิโส
มนสิการเหมือนกัน
การป อ งกั น จะป อ งกั น ตั้ ง แต ว าระไหน การป อ งกั น ไม ใ ช ป อ งกั น
ในขณะเขากรรมฐานเทานั้น ตองปองกันกอนไปเลย จะตองโยนิโสมนสิการ
เสียกอน กอนไปใสใจอะไร กระทําอารมณอะไร ในการใสใจกอนไปปฏิบัติ
เชนนั้น เปนการปองกันตัณหาเปนอันดับแรก ตัณหาในที่นี้คือ ตัณหาอยาง
ละเอีย ด ไมใช ตั ณหาอย างหยาบ อยากได เห็ น รูป สวยๆ อยากไดยิ น เสี ย ง
เพราะๆ ฯลฯ แมตองการอยางอื่น ก็นอกเหนือจากการพนทุกขก็เปนตัณหา
แลว ความตองการอยางนั้น เปนเหตุใหเกิดทุกข ตอไปอีกจะพนทุกขไปไมได
โยนิโสมนสิการเพื่อความพนทุกข
อันนี้ใหนํามาสังเกตตอนปฏิ บัติว า ใจของเราน อมไปเพื่อพนทุกข
หรือเปลา ไมเชนนั้นใจก็จะนอมไปเพื่ออยางอื่น เชนตองการปญญา เปนตน
แมแตเพียงมีใจนอมไปวา การปฏิบัติคราวนี้แลว อยางนี้ยังเปนตัณหาเลย
แทจริ งการปฏิ บัติ ก็เ พื่อการถอนออกจากทุกข ไมใชการยึด ถือไว
แมธรรมที่เปนกุศลก็ตองละ ปวยการกลาวไปใยถึงธรรมที่เปนอกุศล เพราะ
เปนอันตองละแนๆ อยูแลว แมกุศลก็ตองละเหมือนกัน
คําวา ละกุศล ไมใชหมายความวาไมเจริญกุศล ละกุศล ก็คือ ไมให
ถือเปนสาระไมใชเมื่อเจริญกุศลแลวเกิดความพอใจทานอุปมาเหมือนเรือ
เรือมีประโยชนเพียงเพื่อชวยเราละจากฝงนี้ขามไปสูฝงโนนเทานั้นเอง คนไป
ถึงฝงโนนแลวไมมีใครเห็นสาระของเรือหรือแพ ยิ่งไปกวานั้นคือ เมื่อไปถึงฝง
โนนแลว คงไมมีใครชื่นชม ลูบๆ คลําๆ เรืออยู แลวแบกเรือไปไหนตอไหน
ศีล สมาธิ ปญญาก็เหมือนกัน จําตองเจริญใหเกิดขึ้นก็เพื่อประโยชน
๔๒๙
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
แกการละจากฝงนี้ คือ ทุกข ขามน้ํา คือตัณหาไปสูฝงโนนคือ พระนิพพานได
เทานั้น ดังนั้น การที่เรายังชื่นชมกับ กุศลอยู โดยเห็นว าเปนสาระ เปนสิ่ ง
ประเสริฐสูงยิ่งอยางนี้แลว จะพนทุกขไมได ความตองการนั้นเปนตัณหา โดย
เหตุนี้ก็ตองมีโยนิโสมนสิการ ซึ่งผูปฏิบัติยังขาดกันอยูมาก
โยนิโสมนสิการในอิริยาบถตางๆ
การที่จะพนทุกขไดหรือไมขึ้นอยูกับจิต ตองมีจิตใจนอมไปเพื่อความ
พน ทุกข ตั้ งแต กอ นที่จ ะไปปฏิ บั ติ นี่ แหละบทบาทของตั ณหา คราวนี้ ทํ า
อยางไรจึงจะทําใหใจนอมไปสูความพนทุกขอยูเรื่อยๆ ก็ตองทําใจใหนอมไป
อยูเสมอ แมจะยังไมไปปฏิบัติก็ตองนอมใจอยูเรื่อยๆ ไมใชไปใสใจตอนกอน
ไปปฏิบัติเทานั้น
การเปลี่ยนอิริยาบถ
การเปลี่ยนอิริยาบถมีได ๒ ประการ คือ เปลี่ยนเพราะมีทุกข หรือ
เปลี่ยนเพราะความไมสะดวก เชนนั่งอยูตอนแรกไมเปนไร แตตอมาแดดรอน
หรือนั่งแลวงวงก็เปลี่ยนได หรือขณะอยูในอิริยาบถเดิน ตอนแรกไมไดสังเกต
วาตนมะมวงมีลูก แตพอไปเห็นลูกมะมวง ตาก็คอยจะไปดู อยางนี้ก็เปลี่ยน
ได ห รื อ ขณะใช อิ ริ ย าบถใหญ อ ยู ยั ง ไม ป วดเมื่ อ ย แต จํ า เป น ต อ งเปลี่ ย น
เนื่องจากมีเสียงมารบกวนบาง ปนโตมาสงบาง กระหายน้ําบาง ปวดหนัก
ปวดเบาบางเชนนี้ ก็ตองมีโยนิโสมนสิการเหมือนกัน
ดังนั้นการเปลี่ยนอิริยาบถเพราะความจําเปนบางอยาง เชน การ
รับประทานอาหารหรือการอาบน้ํา ซึ่งเปนอิริยาบถที่จําเปนโดยมิไดเกิดจาก
การปวดเมื่อย เชนจําเปนตองรับประทานอาหาร หรือจําเปนตองอาบน้ํ า
จะตองมีโยนิโสมนสิการอยางไร
การเปลี่ยนอิริยาบถตามความจําเปนกับตามความตองการตางกัน
ตรงความรูสึก ถาเปลี่ยนตามความตองการคือ อยากเปลี่ยน อยากใหทุกข
หาย ทุกขเกิดขึ้นแลวก็อยากเปลี่ยน
ถาอยากเปลี่ยนตามความจําเปน คือตองดูกอนวาจําเปนหรือไม ถา
จําเปนจึงตองเปลี่ยนตองรูเหตุผลเสียกอน คือใสใจในทุกขตรงนั้นเสียกอน
๔๓๐
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
คือดูทุกขตรงนั้นเสียกอน จึงจะเปนโยนิโสมนสิการ ถาเปนการนึกละก็ทิ้ง
ทุกขเสียแลว เพียงแตคิดวาเปนการแกทุกข แสดงวายังไมมีโยนิโสมนสิการ
โยนิโสมนสิการจะตองใสใจทุกข
ใสใจทุกข คือ-ตองดูวาทุกขอะไร ทุกขเกิดตรงไหน ถาใสใจทุกข
ทุกอยางจะกันไดหมด ตอไปก็สํารวมในอาการนั้นไป เพราะการสํารวมเปน
เรื่องของสติ พอสติเกิดขึ้นก็ไมหลงลืม ก็มีสติตามไป การเปลี่ยนอิริยาบถจะ
เปลี่ยนไปในอิริยาบถใดจึงจะถูก
การเปลี่ยนอิริยาบถนั้น จะเปลี่ยนเปนอิริยาบถใดก็ได ที่แกเมื่อยได
ก็ใชได ไมตองลังเล วาจะยืนดีหรือจะนั่งดี เพราะตองรูตัวของตัวเองวาจะแก
อยางไร แกตรงไหนทุกขจะรายงานเอง ไมใชตองไปจัดแจงเอา
เราตองรูทุกขและติดตามทุกขตลอดเวลา สวนมากไมคอยกําหนดรู
ทุกข ทิ้งทุกขเสียเปนสวนมาก ไมไดติดตามดูทุกข เพราะดูแลวไมสบายใจ
ความจริ งจะพน จากทุกขก็ต องดู ทุกข เพราะดู ทุกขแล ว ละตัณหา ตั ณหา
อาศัยไมไดเลย ตัณหาไมชอบทุกข ตัณหาอยากไดแตความสุข ถาจะพนจาก
วัฏฏะก็ตองละตัณหา ตองกําหนดทุกข ทุกขเปนสิ่งสําคัญในการปฏิบัติ ยิ่ง
เห็นทุกขมากเทาไร ก็ยิ่งเสนอความจริงใหปญญามากเทานั้น
ป ญญาไมได รู ของดี ป ญญารู แต ของไม ดี คือทุ กข ทุ กขมีม ากมาย
เกลื่อนกลนเต็มไปดวยทุกข ขอใหคอยดูทุกขเถิดแลวตัณหาจะไมเกิด ตัณหา
ไมเกิดก็สรางขันธไมได เพราะปญญาคอยรูทุกข
ดังนั้น ถาจะเปลี่ยนไปในอิริยาบถใด ทุกขนั้นจะรายงานเองวา จะ
เดิน หรือจะนั่ง หรือจะนอน หรือยังคงอยูทาเดิมแตขยับเสียหนอย
การเปลี่ยนอิริยาบถ ตองทําความรูสึกวาเปลี่ยนเพื่อแกทุกข ไมใช
เปลี่ยนใหเกิดความสบาย ก็จะทําใหรูถูกมีสติมีปญญา ไมควรตั้งใจไวกอน วา
จะยืนแกทุกขหรือเดิน แกทุกข คือไมควรมีความตั้งใจไวกอนว าจะเปนผู มี
โยนิ โ สมนสิ การในการใช อิริ ยาบถ ผิด กับ กุศลธรรมดาทั่ว ๆ ไป ตองตั้ งใจ
ทั้งนั้น ตองจัดแจงตองปรุงแตงมาก แตในการปฏิบัติวิปสสนาไมใชอยางนั้น
ตองกําหนดอิริยาบถไปตามความเปนจริงที่มีอยูขณะนั้นเทานั้น อยาคะเน
ตั้งใจวามาปฏิบัติคราวนี้อยางนี้ คราวตอไปตองใหดีกวานี้ เชนนี้ไมไดอีก
๔๓๑
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
เพราะมีตัณหาหนุนหลังใหเปนความหวัง
การโยนิโสมนสิการในอิริยาบถใหญและในอิริยาบถยอย
การโยนิโสมนสิการในอิริยาบถใหญ และอิริยาบถยอยตองมีดวยกัน
ทั้งนั้น ทุกขของอิริยาบถใหญ คือปวดเมื่อย ทุกขของอิริยาบถยอยมีมากมา
นานาชนิด การเปลี่ยนระหวางอิริยาบถใหญดวยกัน ก็ตองมีอิริยาบถยอย
อยางนั่งอยูจะลุกขึ้นเดินก็ตองมีอิริยาบถยอยหรือนอนอยูจะพลิกตัวก็ตองมี
อิริย าบถยอย แตก็มีอิริยาบถยอยที่ไมเนื่ องกับอิริย าบถใหญก็มี เชน การ
รับประทานอาหาร การอาบน้ํา
ถา เป น อิ ริ ย าบถย อยระหว า งอิ ริ ย าบถใหญ ก็ ไม ต องทํา อะไร ให
สํารวมไปก็จะรูอิริยาบถยอย เชน นั่งแลวจะไปเดิน อิริยาบถยอยระหวาง
อิริยาบถนัง่ กอนที่จะเปนอิริยาบถเดิน เพียงใหสํารวมการเคลื่อนไหวนั้นก็พอ
โยนิโสมนสิการในขณะปฏิบัติ
ในขณะปฏิบัติ ผูปฏิบัติจะตองพิจารณาทุกขอยูเสมอ พิจารณาทุกข
ที่ไหน ก็พิจ ารณาทุกขในอิริ ยาบถยื น อิริย าบถเดิน อิริยาบถนั่ ง อิริย าบถ
นอน หรือพิจารณารูปหรือนามทางทวารตางๆ มีทางตา ทางหู ทางจมูก ทาง
ลิ้น ทางกาย และทางใจที่จรเขามา โยนิโสมนสิการในขณะปฏิบัติจะตองมี
อยูเสมอๆ ทุกอิริยาบถและทุกอารมณ
การโยนิโสมนสิการในอิริยาบถใหญ ในขณะที่อยูในอิริยาบถใด เชน
กําลังนั่งอยู เมื่อนั่งไปนานๆ และรูสึ กปวดเมื่อยขึ้น ใหใส ใจทุกขในทุกขที่
เกิดขึ้น พอใสใจทุกขแลวจึงเปลี่ยน จะเปนการเปลี่ยนเพื่อแกทุกข หรือถา
หากไมแกทุกขที่เกิดขึ้นก็ชางไมใชเรื่องของเรา อยาไปทําอะไรเพิ่มขึ้นมากไป
กวาความใสใจทุกข ทุกครั้งที่เปลี่ยนใหใสใจทุกขกอนเสมอ ถาทําอยางนั้นก็
ไมเปนการบริกรรมหรือไมเปนบัญญัติผุดขึ้นมาในใจวาเราตองเปลี่ยนเพื่อแก
ทุกข อันนี้เปนปรมัตถลวนๆ ที่เขาไปสัมผัสทุกขที่เกิดขึ้นนั้นจริงๆ ไมใชสัก
แตพูดตามคําของอาจารยวาเปลี่ยนเพื่อแกทุกข แตกตางกันมากนัก
ถาหากใสใจทุกขแลวเวลาเปลี่ยน จะเปลี่ยนไปเพื่อแกทุกขจริงๆ
แลวจิตใจจะไมเหมือนกันเลยกับการเปลี่ยนไปตามปกติธรรมดาอยางที่ไมมี
๔๓๒
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
การใสใจทุกข ไมเหมือนกันเลย เพราะฉะนั้นตองใสใจทุกข ถาใสใจทุกขแลว
ความรูสึกจะเกิดขึ้นเองเปนความรูสึกจริงๆ ดวย ทานบอกแลววาใหรูสึกอยา
นึก ถาเอาคําของอาจารยมาใชแลวมันนึก นึกถึงคําของอาจารยตอนนี้ทาน
บอกวาตองใหมีความรูวาเปลี่ยนเพื่อแกทุกข เราก็เลยทําขึ้นมาวาเปลี่ยนเพื่อ
แกทุกข จึงเปนการนึกไป
ถาจะใหเ ป น ความรู สึ กจริ งๆ ก็ตองใส ใจทุกข พอใส ใจทุกขจ ริ งๆ
แลวจึงเปลี่ยน จะเปนการรูสึกจริงๆ วาเปลี่ยนแกทุกข ซึ่งจะไมเปนภาษาไม
เปนบัญญัติอะไรทั้งนั้น จะมีความรูสึกเหมือนกันหมด ไมวาผูปฏิบัติจะเปน
คนชาติใดภาษาใด
ถาหากใสใจทุกขในเวลาที่จะใชอิริยาบถทั้งหลายเสียกอน ก็จะเกิด
ปญญารูเองวาเปลี่ยนทําไม ใชอิริยาบถนั่ง ยืน เดิน นอน ในคราวนั้นๆ ทําไม
การใสใจทุกขนั่นแหละเปนโยนิโสมนสิการ ความรูวาจะใชอิริยาบถนั้นเพื่อ
แกทุกข กลาวคือการเดินเพื่อแกทุกข เปนตน เปนปญญาที่เกิดจากโยนิโส
มนสิการนั้น เปนเรื่องสําคัญในวาระเปลี่ยนอิริยาบถเปนอยางนี้
พอเกิดปญญารูวาจะเดินแกทุกข มันจะมีผลไปถึงตัณหาจะปองกัน
ตัณหาไดวาปญญาอยางนี้ทําเพื่อแกทุกข เพราะพอเห็นวาสักแตวาแกทุกข
เทานั้น ตัณหาจะไมอาศัยเลย มันจะไมเห็นสาระที่นาได
พอทุกขเวทนา คือความปวดเมื่อยเกิดขึ้นแลว ก็เปลี่ยนอิริยาบถ แม
การเปลี่ยนที่สักแตวาแกทุกขนั้น ก็เปนทุกขอีกอยางหนึ่งเหมือนกัน คือทุกข
ที่จําตองแก ตองบําบัด ตองรักษา ไมเปลี่ยนไมได มันปวดเมื่อย พอรูวาจะ
เปลี่ยนเพื่อแกทุกขก็จะไมเล็งเห็นสาระในการใชอิริยาบถกอน
ในปกติคนธรรมดา มักเปลี่ยนไปเลยโดยไมไดพิจารณาทุกข เพราะ
เล็งเห็นแตความสบาย และเกิดความพอใจจัดเปนตัณหานุสัย ไมใชตัณหา
หยาบๆ แตตัณหาตัวนี้สําคัญมากซึ่งถาละไมไดก็จะเปนทุกขกันอยูเรื่อยทุก
ภพทุกชาติไมอาจพนทุกขได
การโยนิโสมนสิการในอิริยาบถยอย
อิริยาบถยอยเชน อาบน้ํา ลางหนา ถายหนัก ถายเบา รับประทาน

๔๓๓
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
อาหาร ดื่มน้ํา เปนตน แมจ ะรูวาเปนทุกขแล วและใสใจในทุกขก็ตาม แต
เวลาที่จะทํากิจนั้นๆ ก็อดที่จะมีความสุข ความสบายมีความพอใจไมได เชน
การอาบน้ํ าก็อดชื่ น ใจไมได ทั้งที่มีโ ยนิ โ สมนสิ การแล ว ทําไมถึงยั งมีความ
พอใจอยูอีก แมแตอิริยาบถใหญจากนั่งเปนยืน ความรูสึกวาเปลี่ยนเพื่อแก
ทุกขมันหายไปฉับพลัน แมกอนหนานั้นก็มีการใสใจทุกขรูดวยปญญาดวยวา
เปลี่ยนเพื่อแกทุกข ผูปฏิบัติรูดีวามีความรูสึกอยางนั้น แตพอลุกขึ้นเทานั้น
ความรูสึกนั้นหายไปเลย อันนี้มีได ทั้งนี้เพราะในเวลาที่เปลี่ยนสงใจไปถึง
เรื่องอื่น กลาวคือทิ้งทุกขไปสนใจการเดินเสีย
ความจริงถึงทานไมสนใจการเดิน ทานก็เดินไดโดยไมตองสนใจอะไร
กัน ทีนี้ไปสนใจการเดิน จะเดินเพื่อแกทุกข มีเรื่องแทรกเขามาคือ สนใจวา
จะเดินตรงไหนดีอยางนี้ทุกขก็หายไปเลย ก็จะกลายเปนวาเดินเพื่อจะดูรูป
เดินจนได เพราะฉะนั้นตองมีอุบายรักษา
โยนิโสมนสิการในการกําหนดนามรูป
การโยนิโสมนสิการในการกําหนดนามรูป เปนการโยนิโสมนสิการ
หลั ง จากเปลี่ ย นอิ ริ ย าบถแล ว นั่ ง เปลี่ ย นเป น เดิ น แล ว ระหว างเดิ น มี การ
กําหนดรูปเดิน อยางนี้จะตองมีโยนิโสฯ อีกหรือไม
ในเวลาเดิน รูปเดินนั่นเองเปนอารมณที่ควรใสใจ เพราะถาใสใจแลว
สามารถปองกันทิฏฐิได ปองกันทิฏฐิที่เห็นวาเปนอัตตาคือเราเดินได การใส
ใจจะปองกันทิฏฐิอันนี้ได คือมีแตรูปเดินเทานั้น อยางนี้แลวการใสใจในรูป
เดินนี้ก็เปนโยนิโสมนสิการ
แคนี้ยังไมพอ ยังตองมีรายละเอียดอีก เพราะในขณะที่เดินอยูและ
กําหนดรูปเดินอยูนั้นเกิดมีเสียงดังมากระทบหู หรือจะเปนเสียงกระซิบก็ตาม
ทําใหผูปฏิบัติดูอิริยาบถไมสะดวกโดยเฉพาะเสียงกระซิบ จิตใจเรามักจะคอย
ไปสนใจอยูเรื่อย พอรูตัวกลับมามันก็ไปอีกเปนอยางนี้เอยูเรื่อยๆ ถาจะดูให
ไดก็ตองบังคับกัน พอตั้งใจเปนพิเศษก็ตองกําหนดแรง อาจจะเลยไปอยูที่
ส ว นนั้ น ส ว นนี้ ของร า งกายไป หรื อ ไม ก็ จ งใจจะทํ า กรรมฐาน กล า วคื อ
กําหนดเปนพิเศษไป ก็จะเกิดเปนสาระขึ้นมาก็ใชไมไดอีก

๔๓๔
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
เมื่ออยูในลักษณะเชนนี้ ผูปฏิบัติตองโยกยายอารมณไปตามสมควร
ถาขืนดึงดันกําหนดรูปเดินไปใหได อยางนี้อะไรจะเกิดขึ้น มันจะมองไมออก
เอาทีเดียว จริงๆ แลวจะมีทั้งตัณหา ทิฏฐิ และอัตตา คือจะใหเปนไปตาม
อํานาจ แลวมันก็จะไปอีก วาระนี้แหละสมควรกําหนดนามรูปอยางอื่น
เวลานั้นมีเสียงมารบกวนทางหู กําหนดนามไดยินเสียอาจจะสะดวก
หากกําหนดนามไดยินถึงแมจะยาก ก็กําหนดไปเถิด จะกําหนดไดหรือไมได
ก็ต องหั ด ดู บ างไมเ ช น นั้ น จะทํ าอย า งไร จะดู รู ป เดิ น ก็ เ ป น การบั งคับ การ
กําหนดนามไดยินผูปฏิบัติมักจะคิดวากําหนดไมได เรื่องดูไมไดนะไมมีหรอก
ดูไดนิดหนึ่งแลวทิ้งไป มันจะเลยไปหาเสียง ก็ดูใหมนิดหนึ่งผูปฏิบัติยังจั บ
ไมไดวาจะดูไดเหมือนกัน ก็เลยเขาใจวาดูไมไดเสียเลย ก็ทานกําหนดรูปเดิน
รูปนั่ง รูปนอน รูปยืน ก็ยังกําหนดไดเลย ดังนั้น การไปกําหนดรูปนามอยาง
อื่นก็ตองไดเหมือนกน เพียงแตวาจะดูไดนาน ชัดเจนเหมือนอิริยาบถ ยืน
เดิน นั่ง นอน หรือไมเทานั้นเอง เพราะนามไดยินเปนของละเอียดอาจจะไม
ถนัดถนี่ แตถามีสติสัมปชัญญะแข็งแรงดีแลวมันก็จะถนัดถนี่อยูไดนานเอง
แหละ อยางนี้เปนตน
แตถาขืนดึงดันจะดูรูปนั่งใหได อยางนี้เรียกวา ไมมีโยนิโสมนสิการ
เพราะรูปนั่งไมใชอารมณที่ควรจะใสใจ เกี่ยวกับวาไมมีประโยชนในการถอน
อัตตา เพราะการมนสิการรูปอะไร นามอะไรนั้นเกี่ยวกับการถอนอัตตา แต
ถาดึงดันจะดูใหได ความดึงดันนั้นมันบงถึงอัตตาอยูแลว ใหเปนไปในอํานาจ
อยูแลว เพราะฉะนั้นก็ตองไปดูนามไดยินเสียอยางนี้เปนตน
โยนิโสมนสิการขณะที่ทุกขเวทนาครอบงํา
เกี่ยวกับโรคภัยไขเจ็บ เชน ปวดฟน มันปวดราวไปหมดทั้งศีรษะ
อารมณที่ชัดเจนเวลานั้นก็คือทุกขเวทนา ก็ไปดูทุกขเวทนา แตมีผูปฏิบัติบาง
คนบอกวา ยิ่งดูทุกขเวทนาก็จะยิ่งปวดจนทนไมได ถาไมดูทุกขเวทนายังปวด
นอย แตถาไปดูอิริยาบถก็ดูไมไดอีก อยางนี้ถึงหัดดูก็ดูไมไดแลว เพราะจิตใจ
กระสับกระสายเนื่องจากทุกขเวทนารบกวน
อนึ่ง ที่ดูทุกขเวทนาแลวยิ่งปวดนั้น เรียกวาไมดูทุกขเวทนาอยาง
๔๓๕
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
รูสึกตัว มีแตสติอยางเดียวแลวก็อาจจะหมายไวในใจดวยวาดูไปเรื่อยๆ มัน
อาจจะหายปวดก็ได คือมีความคิดอยางนี้แอบแฝงอยูก็ได อยางไรก็ตามเอา
ความวา ไมมีความรูสึกตัวกลาวคือ มีแตสติสํารวมที่ความปวดเทานั้น อยาง
นี้เรียกวามีแตสติ สติเปนปจจัยแกสมาธิเปนพิเศษ
สติ เ กิ ด ขึ้ น อะไรๆ มั น จะชั ด เจน อารมณ นั้ น แหละจะชั ด เจน
เหมือนการทํากสิณนั่นเองนี่ก็เหมือนกันมีแตสติ เพงเอาๆ ในอาการปวดนั้น
ก็เหมือนกับสมาธิ อารมณที่เพงนั้นแหละที่จะเปนกสิณ กลับเปนทุกขเวทนา
คือเปนไปในอาการเดียวมันจะชัดขึ้น ทุกขเวทนาชัดขึ้นคืออยางไร คือปวด
มากขึ้น ในที่สุดก็ทนไมไหวเพราะไปทําใหมันชัดขึ้นมาเองจนทนไมไหว เปน
การทําอุบายที่ไมถูกตองคือไปจับอารมณนั้นแนน มันก็เลยชัด
ถาเชนนั้นจะทําอยางไร ก็ตองสําเหนียกตัวผูดูวาดูอารมณอะไร
อยู มันก็ไมจับอารมณนั้นแนน เพราะมาทางผูดู แตอารมณนั้นก็คอยรู ถา
พุงไปที่อารมณป วดเลยมัน ก็จะจั บ แน น เวลาดู ทุกขเวทนาก็เ ช น เดี ย วกัน
ไมใช พุงไปที่ทุ กขเวทนาเสี ย หมด ต องมาที่ ผู ดู ว ากําลั งดู อ ะไร ดู น ามปวด
อาจจะดูไดก็ได เวลานี้คือมันจะไมปวดมากขึ้นๆ ถารูถูกตองหรือรูอุบายตรง
นี้ละก็จะชวยใหการปฏิบัติสะดวกขึ้น นี่แหละคือเรื่องโยนิโสมนสิการทั้งนั้น
ขาดไมไ ด ถ าขาดป ญ ญาก็ จ ะไมเ กิ ด จะไม บ ริ สุ ทธิ์ ถาไมบ ริ สุ ทธิ์ จ ะไปละ
ตัณหาไดอย างไร ตัณหาก็ยังมีอยูอย างนั้น ก็ยั งพนทุกขไมได เรื่องโยนิโ ส
มนสิการนี้สําคัญมาก
๘.๓ อิริยาบถเปนอารมณวิปสสนา
อิริยาบถ ๔ คือ การยืน การเดิน การนั่ง การนอน จัดอยูในอิริยา-
ปถปพพะ หมวดกายานุปสสนาสติปฏฐาน ซึ่งเปนรูปขันธโดยตรง ดังนั้นจึง
จัดเปนอารมณของวิปสสนา เปนสิ่งที่มีอยูแลวเหมือนลมหายใจ ไมตองสราง
ขึ้นก็มีเอง หนาที่ของนักปฏิบัติ คือ เพียรตามรูใหตรงตามที่เปนจริงตรงตาม
ปจจุบันก็พอ และเปลี่ยนอิริยาบถสลับกันไปตามธรรมชาติ เมื่อเดินจงกรม
เมื่ อ ยแล ว ก็ นั่ ง เมื่ อ นั่ ง เมื่ อ ยแล ว ก็ เ ดิ น จงกรมต อ ไป ส ว นอิ ริ ย าบถยื น จะ
ปรากฏในขณะกอนจะหันกายกลับ.
๔๓๖
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
พระพุทธดํารัสวา คจฺฉนฺโต วา คจฺฉามีติ ปชานาติ “เมื่อเดินอยู
ยอมรูวาเดินอยู” แสดงถึงการรับรูสภาวะเดิมที่เปนการยก ยาง และเหยียบ
ซึ่งเกิดในปจจุบันขณะ โดยปราศจากตัวตน เรา ของเรา ความจริงแลวคน
ทั่วไปที่มิไดเจริญสติปฏฐานหรือแมสัตวดิรัจฉาน เชน สุนัขบาน สุนัขปา เปน
ตน ก็รูตัววาเดิน แตรับรูในลักษณะของอัตตาตัวตนเปนเราที่เดินอยูการเดิน
มีความเที่ยงไมแปรปรวนเพราะกิริยาเดินดํารงอยูเหมือนเดิม มิไดปรากฏ
ความเปนสภาวธรรม คือ รูปที่กําลังเคลื่อนไหว จิตที่รับรูสภาวะเคลื่อนไหว
และสภาวะเกิดดับของรูปที่เคลื่อนไหวพรอมทั้งจิตที่กําหนดรู ความรูสึกของ
คนทั่ว ไปและสั ต ว ดิ รั จ ฉานจึ งมีอัต ตสัญญา คือ ความสํ าคัญวาเป น ตั ว ตน
ความรู สึ ก ดั งกล าวไมใช กรรมฐานในความหมายว า “ที่ตั้ งแห ง การเจริ ญ
ภาวนา” เพราะไมจัดเปนวิปสสนาที่หยั่งเห็นสภาวธรรมตามความเปนจริง๑๓
และไมใชกรรมฐานในความหมายวา “การเจริญภาวนาที่เปนเหตุใกลแหง
ภาวนายิ่งๆ ขึ้นไป”เพราะไมกอ ใหเกิดวิปสสนาญาณขั้นสูงขึ้นไปตามลําดับ๑๔
นักปฏิบัติผูตามรูสภาวะเดินในปจจุบันขณะยอมจะมีสติและปญญา
แตกตางจากการรับรูของคนทั่วไป กลาวคือ เขารับรูจิตที่ตองการจะเดินกอน
โดยกําหนดวา “อยากเดินหนอ” แลวสามารถตามรูสภาวะเคลื่อนไหวอยาง
ตอเนื่องตั้งแตเบื้องตนจนถึงที่สุด เขารูวาสภาวะเคลื่อนไหวเกิดขึ้นจากจิตที่
สั่งใหเคลื่อนไหว และสภาวะเคลื่อนไหวนั้นก็มีความขาดชวงในระยะที่ยก
ยาง และเหยียบ ไมปะปนกัน หลังจากนั้นก็จะหยั่งเห็นความเกิดดับอยาง
รวดเร็วของสภาวะเคลื่อนไหวโดยละเอียด นักปฏิบัติผูรับรูสภาวธรรมอยางนี้
ยอมจะเขาใจวาไมมีตัวเรา ของเรา ซึ่งเปนผูเดิน มีเพียงจิตที่สั่งงานและกลุม
รูปที่เคลื่อนไหวจากระยะหนึ่งไปสูอีกระยะหนึ่งมีสภาพไมเที่ยงเพราะเกิดขึ้น

๑๓
ดังรูปวิเคราะห วา กมฺมสฺส านํ กมฺมฏานํ = กรรมฐาน คือ ที่ตั้งแหงการ
เจริญภาวนา
๑๔
ดั ง รู ป วิ เ คราะห ว า กมฺ ม เมว อุ ตฺ ต รุ ตฺ ต รภาวนาย านํ กมฺ ม ฏ  านํ =
กรรมฐาน คือ การเจริญภาวนาที่เปนเหตุใกลแหงภาวนายิง่ ๆ ขึ้นไป

๔๓๗
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
แลวดับไป เปนทุกขเพราะถูกบีบคั้นดวยความเกิดดับ และไมใชตัวตนที่ผูใด
จะบังคับบัญชาได เขายอมเพิกถอนความเห็นผิดวามีบุคคล ตัวตน เปนเรา
ของเรา และละความยึดมั่นในตัวตน ดังคัมภีรอรรถกถาอธิบายไววา
ในเรื่องนั้น แมสุนัขบานและสุนัขปาเปนตน เมื่อเดินอยู ยอมรูวา
เดินอยู, แตพระพุทธองคมิไดตรัสหมายถึงความเขาใจอยางนั้น เพราะความ
เขาใจอยางนั้นไมละความเห็นวาเปนบุคคล ไมเพิกพอนความสําคัญวาเปน
ตัวตน ทั้งไมใชกรรมฐานหรือการเจริญสติปฏฐาน สวนความเขาใจของภิกษุ
นี้ ย อมละความเห็ น ว า เป น บุ คคล ย อมเพิกถอนความสํ าคัญว าเป น ตั ว ตน
จัดเปน กรรมฐานและการเจริ ญสติป ฏฐาน พระพุทธดํ ารั สนี้ ตรั สหมายถึง
ความเขาใจอย างนี้ ว า “ใครเดิ น การเดิ น ของใคร บุ คคลย อมเดิน ด วยเหตุ
อะไร” ๑๕
คําอธิบายของพระอรรถกถาจารยในเรื่องนี้ มิไดเพิ่มเติมขอความ
นอกเหนือไปจากพระพุทธพจน เปนเพียงอธิบายความใหกระจางชัดเจนวา
นักปฏิบัติยอมเขาใจวามีเพียงสภาวะเดินและจิตที่ตองการจะเดินเกิดกอน
การเดิน ไมมีสัตวบุคคลผูเดิน และไมใชการเดินของสัตวหรือบุคคล การเดิน
เปนตนเกิดจากจิตที่ตองการจะทําอากัปกิริยานั้นๆ เปนเหตุ
อนึ่ ง แม พระสู ต รนี้ จ ะมิ ได ร ะบุ ว า นั ก ปฏิ บั ติ ค วรกําหนดอย า งไร
ในขณะเดิน ยืน นั่ง และนอน แตในคัมภีรอรรถกถาระบุไวชัดเจนวา การเดิน
คือ การเคลื่อนรางกายทั้งหมดไปขางหนา การยืน คือ การเหยียดทั้งตัวใน
แนวตั้ง ซึ่งเปนการตั้งตรงของรางกายอันจัดเปนสภาวะตึงของธาตุลม การ
นั่ง คือ การคูเขาของกายครึ่งลาง และการเหยียดตั้งของกายครึ่งบน อันเปน
สภาวะหยอนหรือตึงของธาตุลม การนอน คือ การเหยียดทางขวางโดยวาง
ราบทั้งตัว อันจัดเปนสภาวะตึงของธาตุลม ดังอธิบายในคัมภีรอรรถกถาวา
“ในคําถามนั้น คําวา โก คจฺฉติ (ใครเดิน) หมายความวาไมมีสัตว
บุคคลผูใดผูหนึ่งเดินอยู คําวา กสฺส คมนํ (การเดินของใคร) หมายความวา
การเดินของสัตวบุคคลผูใดผูหนึ่ง คําวา กึการณา คจฺฉติ (บุคคลยอมเดินดวย
๑๕
ที.อ. (บาลี) ๒/๓๘๑
๔๓๘
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
เหตุ อะไร) หมายความว า บุ คคลย อมเดิ น ด ว ยการแผ ไปแห งธาตุ ล มที่จิ ต
กระทําขึ้น ดังนั้น เธอยอมรูชัดอยางนี้วา จิตที่คิดนึกวา ‘จะเดิน’ ยอมเกิดขึ้น
จิต นั้ นย อมยังธาตุล มใหเ กิดขึ้น ธาตุ ล มย อมยังวิ ญญัต ติ รูป ให เกิด ขึ้น การ
เคลื่อนไหวขางหนาของรายกายทั้งหมดดวยการขับเคลื่อนของธาตุลมที่จิต
กระทําขึ้นเรียกวา ‘การเดิน’ แมการยืนเปนตนก็มีนัยเดียวกัน”๑๖
“โดยแทจริงแลว แมในการยืนเปนตนนั้น จิตที่คิดนึกวา ‘จะยืน’
ยอมเกิดขึ้น จิตนั้นยอมยังยอมยังธาตุลมใหเกิดขึ้น ธาตุลมยอมยังวิญญัตติรูป
ใหเกิดขึ้น การตั้งตรงของรางกายทั้งหมดตั้งแตสวนปลาย [เทา] ดวยการ
ขับเคลื่อนของธาตุลมที่จิตกระทําขึ้น เรียกวา ‘การยืน’ จิตที่คิดนึกวา ‘จะ
นั่ง’ ยอมเกิดขึ้น จิตนั้นยอมยังธาตุลมใหเกิดขึ้น ธาตุลมยอมยังวิญญัตติรูปให
เกิดขึ้น การคูของรายกายสวนลาง และการตั้งตรงของรางกายสวนบนดวย
การขับเคลื่อนของธาตุลมที่จิตกระทําขึ้น เรียกวา ‘การนั่ง’ จิตที่คิดนึกวา
‘จะนอน’ยอมเกิดขึ้น จิตนั้นยอมยังธาตุลมใหเกิดขึ้น ธาตุลมยอมยังวิญญัตติ
รูปใหเกิดขึ้น การเหยียดขวางของรางกายทั้งหมดดวยการขับเคลื่อนของธาตุ
ลมที่จิตกระทําขึน้ เรียกวา ‘การนอน’๑๗
“เมื่อภิกษุนั้นรูอยูอยางนี้ยอมเกิดความเขาใจวาชาวโลกกลาวกันวา
‘สัตวเดิน สัตวยืน’ แตโดยสภาวะไมมีสัตวผูเดินหรือยืน เหมือนคํากลาววา
‘เกวียนไป เกวียนหยุด’ ก็ไมมีเกวียนใดที่ไปหรือหยุด แตเมื่อสารถีผูฉลาด
เทียมโค ๔ ตัว แลวขับไป จึงมีเพียงคํากลาววา ‘เกวียนไป เกวียนหยุด’ ฉัน
ใด รางกายเหมือนเกวียน เพราะเปนสภาพไมรู ลมที่เกิดจากจิตเหมือนวัว
จิตเหมือนสารถี จิตที่คิดนึกวา ‘จะเดิน จะยืน’ เกิดขึ้นแลว ธาตุลมยอมยัง
วิญญัตติรูปใหเกิดขึ้น การเดินเปนตนยอมดําเนินไปดวยการขับเคลื่อนของ
ธาตุลมที่จิตกระทําขึ้น ดังนั้น จึงมีเพียงคํากลาววา ‘สัตวเดิน สัตวยืน เรา
เดิน เรายืน’ ดังพระโบราณาจารยกลาววา
‘เรือแลนไปไดดวยแรงลม ลูกธนูแลนไปไดดวยกําลังสายธนู ฉันใด
๑๖
ที. อ.(บาลี) ๒/๓๘๑
๑๗
ที.อ. (บาลี) ๒/๓๘๑-๘๒
๔๓๙
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
รางกายนี้ที่ถูกลมนําไป ยอมเดินไปได ฉันนั้น แมเครื่องยนตคือรางกายนี้ถูก
ประกอบไว [ดวยกิริยามีการเดินเปนตน] ยอมเดิน ยืน และนั่งดวยแรงสาย
ชักคือจิต เหมือนเครื่องยนตที่หมุนไปดวยกําลังสายชัก ฉะนั้น สัตวใดยืน
หรื อเดิน ได ดว ยความสามารถของตนโ ดยปราศจากเหตุ ปจ จัย [ธาตุ ล ม
และจิตที่ตองการจะทําอากัปกิริยา] สัตวนั้นพึงมีไดในโลกนี้หรือ”๑๘
ตสฺมา เอวํ เหตุปจฺจยวเสเนว ปวตฺตานิ คมนาทีนิ สลฺลกฺเขนฺโต เอส
“คจฺฉนฺโต วา คจฺฉามีติ ปชานาติ, โต วา, นิสินฺโน วา, สยาโน วา สยาโนมฺหี
ติ ปชานาตี” ติ เวทิตพฺโพ.๑๙ “ดังนั้น พึงทราบวา ภิกษุนี้กําหนดรูอิริยาบถมี
การเดินเปนตน ซึ่งเปนไปดวยอํานาจของเหตุปจจัยอยางนี้ เมื่อเดินอยู ยอม
รูวาเดินอยู เมื่อยืนก็รูวายืนอยู เมื่อนั่งก็รูวานั่งอยู เมื่อนอนก็รูวานอนอยู”
ปจจุบันมีบางแหงสอนใหรับรูการโยกตัวของรางกายถานักปฏิบัติ
รับรูสภาวะเคลื่อนไหวดังกลาวจัดเปนการรับรูความเคลื่อนไหวของบัญญัติ
เพราะเท า หรื อ ร า งกายเป น บั ญ ญั ติ เหมื อ นนั ก มวยหรื อ นั ก วิ่ ง ที่ รั บ รู ก าร
เคลื่อนไหวของตน การปฏิบัติในลักษณะนี้ไมจัดเปนสติปฏฐาน แตนักปฏิบัติ
ควรรับรูสภาวะตอไปนี้ในขณะเดิน กลาวคือ เวลายกเทา สภาวะเบาปรากฏ
เพราะธาตุไฟที่มีสภาวะเบาเปนหลักในขณะนั้น จะเห็นไดวาไฟพุงขึ้นสูง ขอ
นี้คลอยตามอาการปรากฏของธาตุไฟวา มทฺทวานุปฺปาทนปจฺจุปฏฐานา (มี
การทําใหถึงความออน, การพุงขึ้นสูงเปนเครื่องปรากฏ) ความจริงการทําให
ออนก็คือความเบาเหมือนควันไฟนั่นเอง ดังคัมภีรอรรถกถาและฎีกาวา
ตสฺเสวํ อภิกฺกมโต เอเกกปาทุทฺธรเณ ปถวีธาตุ อาโปธาตูติ เทฺว ธาตุ
โย โอมตฺตา โหนฺติ มนฺทา, อิตรา เทฺว อธิมตฺตา โหนฺติ พลวติโย.๒๐ เมื่อเธอ
กาวไปอยางนี้ ในการยกเทาขางหนึ่งๆ ธาตุสองประการ คือ ธาตุดินและธาตุ
น้ํา มีความสามารถนอยออนกําลัง ธาตุสองประการอื่น [ธาตุไฟและธาตุลม]
มีความสามารถมาก มีกําลังกลา” วาโยธาตุยา อนุคตา เตโชธาตุ อุทฺธรณสฺส

๑๘
ที. อ. (บาลี) ๒/๓๘๒
๑๙
ที. อ. (บาลี) ๒/๓๘๒
๒๐
ที. อ. (บาลี) ๑/๑๗๓
๔๔๐
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ปจฺจโย. อุทธรณคติกา หิ เตโชธาตูติ.๒๑“ธาตุไฟที่มีธาตุลมตามไป ยอมเปน
ปจจัยแกการยก เพราะธาตุไฟมีสภาวะพุงขึ้นสูง”
เวลายางเทา สภาวะผลักดันปรากฏเพราะธาตุลมมีสภาวะผลักดัน
เป น หลั ก ในขณะนั้ น ข อ นี้ ค ล อ ยตามอาการปรากฏของธาตุ ล มว า อภิ นี
หารปจฺจุปฏฐานา (มีการผลักดันเปนเครื่องปรากฏ) ดังมีสาธกวา ตถา อติ
หรณวีติหรเณสุ.๒๒ “ในการยางและกาวไปขางหนา ก็เชนเดียวกันนี้ [ธาตุไฟ
และธาตุลมมีความสามารถมาก มีกําลังกลา]” เตโชธาตุยา อนุคตา วาโยธาตุ
อติหรณวีติหรณานํ ปจฺจโย. ติริยคติกาย หิ วาโยธาตุยา อติหรณวีติหรเณสุ
สาติสโย พฺยาปาโรติ.๒๓ ธาตุลมอันมีธาตุไฟตามไป ยอมเปนปจจัยแกการ
ยางและกาวไปขางหนา เพราะความขวนขวายยิ่งในการยางเทา และดันเทา
ยอมมีแกธาตุลมที่มีภาวะไปทางขวาง”
เวลาเหยียบเทา สภาวะหนักปรากฏ เพราะธาตุน้ําที่มีสภาวะหนัก
เปนหลักในขณะนั้น จะเห็นไดวาน้ําไหลลงต่ํา ขอนี้คลอยตามลักษณะของ
ธาตุน้ําวา ปคฺฆรณลกฺขณา (มีลักษณะไหลหรือเกาะกุม) เนื่องดวยธาตุน้ํามี
ลักษณะไหลไปสูที่ต่ําจึงหนักกวาธาตุดิน ดังมีสาธกวา “โวสฺสชฺชเน เตโชธาตุ
วาโยธาตูติ เทฺว ธาตุโย โอมตฺตา โหนฺติ มนฺทา, อิตรา เทฺว อธิมตฺตา พลวติ
โย. ๒๔“ในการเหยี ย บ ธาตุ ส องประการ คื อ ธาตุ ไ ฟและธาตุ ล ม มี
ความสามารถนอย ออนกําลัง ธาตุสองประการอื่น [ธาตุดินและธาตุน้ํา] มี
ความสามารถมาก มีกําลังกลา” ปถวีธาตุยา อนุคตา อาโปธาตุ โวสฺสชฺชนสฺส
ปจฺจโย. ครุตรสภาวา หิ อาโปธาตูติ.๒๕ “ธาตุน้ําอันมีธาตุดินตามไปยอมเปน
ปจจัยแกการเหยียบ เพราะธาตุน้ํามีสภาวะหนักกวา [ธาตุดิน]”
เวลาวางเทาเสมอพื้น สภาวะสัมผัสที่แข็งหรือออนปรากฏเพราะ

๒๑
ที. ฏี. (บาลี) ๑/๓๐๑, ม. ฏี. (บาลี) ๑/๔๔๖
๒๒
ที. อ. (บาลี) ๑/๑๗๓
๒๓
ที. ฏี.(บาลี) ๑/๓๐๑-๒, ม. ฏี.(บาลี) ๑/๔๔๖
๒๔
ที. อ. (บาลี) ๑/๑๗๓
๒๕
ที. ฏี. (บาลี) ๑/๓๐๒, ม. ฏี. (บาลี) ๑/๔๔๖
๔๔๑
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ธาตุดินที่มีสภาพสัมผัสความแข็งหรือออนเปนหลักในขณะนั้น ตามลักษณะ
ของธาตุดิน วา กกฺขฬตฺตลกฺขณา (มีลักษณะแข็งหรือออน) และตามหนาที่
ของธาตุดินวา ปติฏานรสา (มีหนาที่ตั้งไว) ดังมีสาธกวา ตถา สนฺนิกฺเข
ปนสนฺนิรุชฺฌเนสุ.๒๖ “ในการวางและกด ก็เชนเดียวกันนี้ [ธาตุดินและธาตุน้ํา
มีความสามารถมาก มีกําลังกลา]” อาโปธาตุยา อนุคตา ปถวีธาตุ สนฺนิกเข
ปนสฺ ส ปจฺ จ โย, ปติ ฏ  าภาเว วิ ย ปติ ฏ  าปเนป ตสฺ ส า สาติ ส ยกิ จฺ จ ตฺ ต า
อาโปธาตุยา ตสฺสา อนุคตภาโว, ตถา ฆฏฏนกิริยาย ปถวีธาตุยาวเสน สนฺนิ
รุชฺฌนสฺส สิชฺฌนโต ตตฺถาป ปถวีธาตุยา อาโปธาตุอนุคตภาโว.๒๗
“ธาตุดินอันมีธาตุน้ําตามไป ยอมเปนปจจัยแกการวางการที่ธาตุน้ํา
คลอยตามธาตุดินนั้น ยอมมีเพราะธาตุดินมีหนาที่ขวนขวายยิ่งแมในการให
ตั้งไวเหมือนในการตั้ง [สิ่งใดสิ่งหนึ่ง] ไว เชนเดียวกันนี้ การที่ธาตุน้ําคลอย
ตามธาตุดินแมในการกดนั้น ยอมมีเพราะการกดสําเร็จไดดวยอํานาจของ
ธาตุดินที่มีอาการกระทบ”

๘.๔ วิธีกําหนดรูอ ิริยาบถยอย (สัมปชัญญะ)


การกําหนดอิริยาบถยอย คือการปฏิบัติในหมวดสัมปชัญญะ กายา-
นุปสสนาสติปฏฐาน ประกอบดวย ๑) การกาวไป การถอยกลับ ๒) การ
แลดู การเหลียวดู ๓) การคูเขา การเหยียดออก ๔) การครองสังฆาฏิ บาตร
และจี ว ร ๕) การฉั น การดื่ ม การเคี้ ย ว การลิ้ ม ๖) การถ า ยอุ จ จาระ
ปสสาวะ ๗) การเดิน การยืน การนั่ง การนอน การตื่น การพูด การนิ่ง
สัมปชัญญะ หมายถึง ความรูตัว, ความรูตัวทั่วพรอม, ความรูชัด,
ความรูทั่วชัด๒๘ ธรรมชาติของจิตตองมีหลัก มีฐานใหรู หรือใหเกาะอยูจึงจะ
เกิดสัมปชัญญะ วิธีปฏิบัติหมวดกายานุปสสนาสติปฏฐาน เชน การปฏิบัติใน
๒๖
ที. อ. (บาลี) ๑/๑๗๓
๒๗
ที. ฏี. (บาลี) ๑/๓๐๒, ม. ฏี. (บาลี) ๑/๔๔๖
๒๘
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับ
ประมวลธรรม, พิมพครั้งที่ ๑๓, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอส.อาร.พริ้นติ้ง แมส โปร
ดักส จํากัด, ๒๕๔๘), หนา ๑๔๕.
๔๔๒
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
หมวดอิริยาบถและหมวดสัมปชัญญะนั้น พระพุทธองคทรงสอนใหเรามีสติอยู
กับกาย ใหมีสติอยูตลอดในอิริยาบถทั้ง ๔ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน รวมถึงใน
อิริยาบถยอยตางๆ โดยตั้งกายอยูในอาการอยางไรๆ ก็ใหรูในอาการนั้นๆ
หรือทาทางนั้นๆ เมื่อเดินพึงกําหนดใหรูวาเดิน เมื่อยืนพึงกําหนดใหรูวายืน
เมื่อนั่งพึงกําหนดใหรูวานั่ง เมื่อนอนพึงกําหนดใหรูวานอน ตลอดจนกระทั่ง
กิริยาอาการความเคลื่อนไหวก็พึงกําหนดใหรูทั้งสิ้น ตองกําหนดอาการตางๆ
ใหไดรายละเอียดมากที่สุดเทาที่จะมากได เชน โยกตัว เอี้ยวตัว ยืดตัว งอตัว ยก
ขา เหยียดขา เปนตน นอกจากนี้ ยังมีการลางหนา อาบน้ํา ชําระกาย เชน เอื้อม
มือ หยิบขัน ตักน้ํา ลูบหนา รดน้ํา ถูตัว เปนตน เมื่อเสร็จกิจแลวก็เปลี่ยนผา เช็ด
ตัว เช็ดหนา เปนตน ความเคลื่อนไหวเหลานี้ตองใหอยูในการกําหนดทั้งสิ้น
เมื่อการกําหนดนี้ไดแจมชัดขึ้นแลว ก็จะรูสึกวารูปกับนามแมจะเนื่องกันอยู
แตก็เปนคนละสวน ไมใชสวนเดียวกัน ในการพิจารณารูปคือสวนที่เปนการ
เคลื่อนไหว และนามคือจิตที่ทําใหเกิดการเคลื่อนไหวในอิริยาบถตางๆ๒๙ ไม
วาจะกําหนดการเคลื่อนไหวใดๆ ก็ยอมจะแจมชัดขึ้นในความเปนไปของรูป
ของนาม
สัมปชัญญะ มี ๔ อยาง คือ
๑. สาตถกสั ม ปชั ญ ญะ คื อ ความรู ที่ เ กิ ด จากการพิ จ ารณาว า มี
ประโยชนหรือไมมีประโยชน
๒. สั ป ปายสั ม ปชั ญ ญะ คื อ ความรู ที่ เ กิ ด จากการพิ จ ารณาว า
เปนสัปปายะหรือไมเปนสัปปายะ
๓. โคจรสั ม ปชั ญ ญะ คื อ ความรู ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการพิ จ ารณาว า
อารมณนั้นถูกตองหรือไมถูกตอง
๔.อสั มโมหสั มปชั ญ ญะ คือ ความรู ที่เ กิ ด ขึ้น จากการพิจ ารณาว า
รูสึกตัวชัดวาไมหลงลืมในขณะทํากิจนั้นๆ

การทําสัมปชัญญะในการกาว ในการถอย

๒๙
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗ /๓๐.
๔๔๓
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
อภิกฺกนฺเต ปฏิกฺกนฺเต สมฺปชานการี โหติ๓๐ (ภิกษุยอมทําความรูสึกตัว
ในการกาว ในการถอย)
อภิกฺกนฺเต เวลารางกายกาวไปขางหนา มีสติกําหนดรู ภาวนาวา
“กาวหนอๆ”
ปฏิกฺกนฺเต เวลารางกายถอยมาขางหลัง มีสติกําหนดรู ภาวนาวา
“ถอยหนอๆ”
หมายความวา ในขณะกาวหรือถอยพึงตามรูสภาวะกาวหรือถอย
บริกรรมวา “กาวหนอ/ไปหนอ/ยางหนอ/ถอยหนอ” เมื่อวิปสสนาญาณมี
กําลังมากขึ้นจะรับรูจิตที่ตองการจะกาวจะถอย พรอมทั้งสภาวะกาวถอยที่
เป น สภาวะเคลื่ อ นไหวอย า งชั ด เจน ปราศจากตั ว ตน เรา ของเรา ย อ ม
กําหนดรูอยูอยางนี้ ดังมีพระพุทธดํารัสในมหาสติปฏฐานสูตรวา คจฺฉนฺโต
วา คจฺฉามีติ ปชานาติ๓๑ “เมื่อเดินอยู ยอมรูวาเดินอยู”
การทําสัมปชัญญะในการแล ในการเหลียว
อาโลกิเต วิโลกิเต สมฺปชานการี โหติ๓๒ (ภิกษุยอมทําความรูสึกตัว
ในการแลดู ในการเหลียวดู)
อาโลกิเต เวลาแลดูตรงๆ ก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา แลดูหนอๆ
วิโลกิเต เวลาแลดูตามทิศตางๆ ก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา “เหลียว
ดูหนอๆ”
หมายความวา ผูปฏิบัติพึงเจริญสติตามรูในขณะแลและเหลียววา
“เหลียวหนอ/อยากดูหนอ/ดูหนอ/เห็นหนอ” เปนตน การเจริญสติรับรู
สภาวะแลและเหลียวนี้ จัดเปนโคจรสัมปชัญญะ เมื่อโคจรสัมปชัญญะมีกําลัง
แกกลา อสัมโมหสัมปชัญญะก็จะปรากฏขึ้นเอง สงผลใหผูปฏิบัติหยั่งเห็นวา
สภาวธรรมทางกายและจิตที่เกี่ยวกับการเห็น คือ การลืมตา การกรอกตา
การขยับศีรษะและใบหนา การเหลียวดู การเห็น เกิดมาจากจิตที่ตองการจะ
๓๐
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๒๗๖/๓๒๗.
๓๑
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๒๗๕/๓๒๗.
๓๒
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๒๗๖ /๓๒๗.
๔๔๔
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ดู เมื่อเกิดขึ้นแลวยอมดับไปทันที ไมมีตัวเรา ของเรา อยูในสภาวธรรมทาง
กายและจิตเหลานี้
การทําสัมปชัญญะในการเหยียด การคู
สมฺมิฺชิ เ ต ปสาริ เ ต สมฺป ชานการี โหติ๓๓ (ย อมทํา ความรู สึ กตั ว
ในขณะคูเขา เหยียดออก)
สมฺมิฺชิเต เวลาคูแขน คูขาเขามา ก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา “คู
หนอๆ”
ปสาริเต เวลาเหยียดแขน เหยียดขาออกไป ก็มีสติกําหนดรู ภาวนา
วา “เหยียดหนอๆ”
หมายความวา ทุกขณะที่คูแขน คูขา เหยียดแขน เหยียดขา เหยียด
รางกายหรือคูรางกาย พึงกําหนดตามอากัปกิริยานั้นๆ วา “เหยียดหนอ/คู
หนอ/ดันหนอ/ดึงหนอ/เคลื่อนหนอ/สั่นหนอ” เปนตน เมื่อวิปสสนาญาณแก
กลาแลว ผูปฏิบัติจะสามารถรับรูถึงจิตที่ตองการจะเหยียดและคูไดอีกดวย
การรับรูถึงสภาวะคูเหยียดพรอมทั้งจิตที่ตองการจะทํากิริยาเหลานี้ ชื่อวา
โคจรสัมปชั ญญะ ตอเมื่อวิป สสนาญาณแกกล าขึ้น ผูปฏิ บัติจะรูชัดว าไมมี
ตัวตน ผูทําการเคลื่อนไหวมีเพียงสภาวะเคลื่อนไหวจากระยะหนึ่งไปสูอีก
ระยะหนึ่ง โดยเกิดจากจิตที่ตองการทํา ซึ่งเกิดขึ้นกอนแลวดับไป และยอม
เกิดปญญาหยั่งเห็นสภาวะเคลื่อนไหวในการคูเขาและเหยียดออกนั้น ปญญา
ดังกลาวยอมรูแจงในพระไตรลักษณ คือ ความไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตน
ชื่อวา อสัมโมหสัมปชัญญะ ในตอนเริ่มตนปฏิบัตินั้น การมีสติรูวา คู เหยียด
ชวยใหโยคีรูตัววากําลังตามรูปจจุบันอยู ในขณะนั้นจิตของโยคีจะรูบัญญัติ
เชน นามบัญญัติและสัณฐานบัญญัติสลับกันไปกับสภาวะการเคลื่อนไหว ซึ่ง
เรียกวา วาโยรูป แตเมื่อวิปสสนาญาณแกกลาคือสติ สมาธิ และปญญา แก
กลาแลว ก็จะมีเพียงวิปสสนาญาณเทานั้นเกิดขึ้น โดยจะทําใหโยคีรูซึ้งถึงจิต
ที่ตองการจะเคลื่อนไหวและรูสภาวะการเคลื่อนไหวที่เกิดดับอยางรวดเร็ว

๓๓
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๒๗๖ /๓๒๗.
๔๔๕
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ในขณะนั้นโยคีจะรูสภาวธรรมไดโดยไมจําเปนตองเอาใจใสบัญญัติแตอยาง
ใด๓๔
การทําสัมปชัญญะในการนุง การหม
สฺงฆาฏิ ป ตฺ ตจี ว รธารเณ สมฺปชานการี โหติ๓๕ (ภิ กษุทําการเจริ ญ
สติสัมปชัญญะในการพาดผาสังฆาฏิ อุมบาตร และหมจีวร)
สงฺฆาฏิธารเณ เวลาพาดสังฆาฏิ ก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา “พาด
หนอๆ”
ปตฺตธารเณ เวลาอุมบาตร ก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา “อุมหนอๆ”
จีวรธารเณ เวลาหมจีวรก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา“หมหนอๆ”
หมายความวา ในเวลาที่นุงหมจีวร หรือครองผาสังฆาฏิ ถือบาตร
พึงมีสติรูตามกิริยานั้นๆ กําหนดตามสภาวะนั้นๆ วา “นุงหนอ/หมหนอ/คลุม
หนอ” เปนตน ในเวลาถือภาชนะ เชน บาตร ถวย จาน ชอน พึงกําหนดวา
“จั บ หนอ/ถื อ หนอ/วางหนอ/ถู ก หนอ” เป น ต น เมื่ อ วิ ป ส สนาญาณ
แกกลาขึ้น ผูปฏิบัติจะรูจิตที่ตองการจะทําอากัปกิริยานั้นๆ พรอมทั้ง วาโย
รูป คืออากัปกิริยาเคลื่อนไหวและจะรูกายวิญญาณ เปนตน และโผฏฐัพพรูป
อันเปนสภาวะสัมผัสทางรางกายดวย
การทําสัมปชัญญะในการฉัน การดื่ม
อสิเต ปเต ขายิเต สายิเต สมฺปชานการี โหติ๓๖ ภิกษุเปนผูมีปกติทํา
กิจ เชน การฉัน การดื่ม การเคีย้ ว และการลิ้ม ดวยสติสัมปชัญญะ
อสิ เ ต เวลาบริ โ ภคอาหาร ก็ มี ส ติ กํ า หนดรู ภาวนาว า “บริ โ ภค
หนอๆ”
ปเต เวลาดื่ ม เชน ดื่ มขาวยาคู ดื่ มน้ํ า ก็มีสติ กําหนดรู ภาวนาว า
“ดื่มหนอๆ”

๓๔
ดูรายละเอียดในพระไตรปฎกนิสสยะ มหาสติปฏฐานสูตร, หนา ๓.
๓๕
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๒๗๖ /๓๒๗-๘.
๓๖
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๒๗๖ /๓๒๘.
๔๔๖
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ขายิเต เวลาเคี้ยว ก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา “เคี้ยวหนอๆ”
สายิเต เวลาลิ้มเลีย ก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา “ลิ้มเลียหนอๆ”
หมายความวา ในเวลาที่ภิกษุฉันอาหารและดื่มน้ํา เปนตน พึงมีสติ
กําหนดรูวา “ฉันหนอ/ดื่มหนอ/เคี้ยวหนอ/ลิ้มหนอ/กลืนหนอ” เมื่อวิปสสนา
ญาณแกกลาขึ้น ผูปฏิบัติจะรูจิตที่ตองการจะทําอากัปกิริยานั้นๆ พรอมทั้ง
สภาวะเคลื่อนไหวและการรับรูรสดวยชิวหาวิญญาณ เมื่อโคจรสัมปชัญญะ
แกกลาขึ้นดวยการกําหนดวา “ฉันหนอ/ดื่มหนอ/ เคี้ยวหนอ/ลิ้มหนอ” เปน
ตน ผูปฏิบัติอาจรูสึกรังเกียจอาหารวาเปนสิ่งปฏิกูล และเห็นวาเปนภาระใน
การเคี้ย วกิ น บางทา นรั บ ประทานอาหารไมอิ่ มเพราะรู สึ ก ว า น า รั ง เกี ย จ
ความสํ าคัญอาหารว าเป น สิ่ งปฏิ กูล นี้ เ กิด ขึ้น เมื่อโคจรสั มปชั ญญะมีกําลั ง
แก ก ล า แล ว ดั งนั้ น พระอรรถกถาจารย จึ ง กล า วถึ งเรื่ อ งนี้ ไ ว ใ นอสั ม โมห
สัมปชัญญะ๓๗
การทําสัมปชัญญะในการถายอุจจาระและปสสาวะ
อุจฺจารปสฺสาวกมฺเม สมฺปชานการี โหติ๓๘ (ยอมทําความรูสึกตัว
ในขณะถายอุจจาระ ปสสาวะ)
อุจฺจารกมฺเม เวลาถายอุจจาระ ก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา “ถาย
หนอๆ”
ปสฺ สาวกมฺเ ม เวลาถายปสสาวะ ก็มีสติ กําหนดรู ภาวนาวา “ถาย
หนอๆ”
หมายความวา ในการขับถายอุจจาระและป สสาวะพึงกําหนดว า
ถายหนอ เปน ตน ความจริงแล วการเจริญวิป สสนาเป นการรูรู ปนามตาม
ความเปนจริง ไมมีการเลือกอารมณที่ดีเลิศหรือต่ําทราม เพราะอารมณทุก
อยางเหมือนผาขาวที่มาปรากฏในจิต ถาเรารับรูอารมณดวยสติและปญญา
ก็เหมือนการจับผาขาวดวยมือที่สะอาด ถารับรูอารมณดวยความโลภ เปน
ตน ก็เหมือนการจับผาขาวดวยมือที่สกปรก เมื่อวิปสสนาญาณแกกลาขึ้น ผู
๓๗
รายละเอียดในพระไตรปฎกนิสสยะ มหาสติปฏฐานสูตร, หนา ๓๗-๓๘.
๓๘
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๒๗๖ /๓๒๘.
๔๔๗
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ปฏิบั ติจ ะรั บรู จิต ที่ต องการจะขับถายและสภาวะเคลื่อนไหวของรู ปธรรม
พรอมดวยทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น เปนตน๓๙
การทําสัมปชัญญะในการเดิน การยืน การนั่ง การหลับ การตื่น
การพูด และการนิ่ง
คเต ฐิเต นิสินฺเน สุตฺเต ชาคริเต ภาสิเต ตุณหีภาเว สมฺปชานการี
๔๐
โหติ (ภิ กษุย อมทํา ความรู สึ กตั ว ในขณะเดิ น ยื น นั่ ง หลั บ ตื่ น พูด นิ่ ง )
คเต เวลาเดินไป ก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา “เดินหนอๆ” หรือ “ขวายาง
หนอ ซายยางหนอ”
ฐิเต เวลายืน ก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา “ยืนหนอๆ”
นิสินฺเน เวลานั่ง ก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา “นั่งหนอๆ”
สุตฺเต เวลานอน ก็ใหส ติกําหนดรู ภาวนาวา “นอนหนอๆ” หรื อ
“พองหนอ ยุบหนอ”
ชาคริ เ ต เวลาตื่ น ก็ ใ ห มี ส ติ กํ า หนดรู ภาวนาว า “ตื่ น หนอๆ”
ภาสิ เต เวลาพูด ก็ให มี สติ กําหนดรู อยู ที่ความเคลื่ อนไหวของขากรรไกร
ขางลาง ภาวนาวา “พูดหนอๆ”
ตุณฺหีภาเว เวลานิ่งอยูเฉยๆ ก็มีสติกําหนดรู ภาวนาวา “นิ่งหนอๆ”
หมายความว า ผู ป ฏิ บั ติ ค วรกํ าหนดรู ใ นขณะเดิ น ยื น และนั่ ง
เหมือนกับหมวดอิริยาบถบรรพ ในขณะงวงนอนพึงกําหนดวา “งวงหนอ/งีบ
หนอ/สัปหงกหนอ/หนักหนอ” เปนตน เมื่องวงนอนมาก พึงเหยียดกายนอน
แลวกําหนดวา “นอนหนอๆๆ” เปนตน โดยรับรูรูปนามที่ปรากฏชัดในแตละ
ขณะนั้น ในขณะเริ่มตื่นพึงกําหนดจิตตื่น นั้นวา “ตื่นหนอ” จิตดังกลาวไม
ปรากฏชั ด ในเวลาเริ่ ม ปฏิ บั ติ ภายหลั ง เมื่ อสมาธิ มี กํา ลั งแล ว ผู ป ฏิ บั ติ จึ ง
สามารถกําหนดได ยอมเกิดปญญาหยั่งเห็นวา รูปนามที่เกิดขึ้นกอนจะหลับ
ได ดั บ ไปก อ นไม ต อ เนื่ อ งถึ ง ขณะหลั บ การหลั บ คื อ การเกิ ด ขึ้ น ของจิ ต ที่
ไม ส ามารถทํ า การคิ ด กํา หนด เห็ น ได ยิ น หรื อสั ม ผั ส เป น ต น รู ป นาม
๓๙
อางแลว, มหาสติปฏฐานสูตร ทางสูพระนิพพาน, หนา ๑๓๔.
๔๐
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๒๗๖ /๓๒๘.
๔๔๘
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ในขณะหลับก็ดับไปกอนที่จะถึงขณะตื่น การตื่น คือการเกิดขึ้นของจิตที่ทํา
การคิดเปนตนได ไมมีตัวตน ผูนอนหรือผูตื่นอยางแทจริงและไมมีสภาวะที่
เที่ยง เปนสุข บังคับบัญชาได การหยั่งเห็นอยางนี้ชื่อวา อสัมโมหสัมปชัญญะ
ในขณะพูดพึงกําหนดวา “อยากพูดหนอ/พูดหนอ” แตการพูดทําใหขาดสติ
และสงผลใหคิดฟุงซานในเรื่องราวที่ไดพูดภายหลัง ผูปฏิบัติจึงไมควรพูดกัน
ในระหวางปฏิบัติธรรม ยกเวนมีเหตุสําคัญจริงๆ เมื่อวิปสสนาญาณแกกลา
แลวยอมรับรูจิตที่อยากจะพูด และรูปเคลื่อนไหวกระทบกัน เมื่อพูดแลวหยุด
พูด ก็พึงกําหนดรูป นามที่ป ระจักษในขณะนั้น วา “อยากหยุด หนอ/หยุ ด
หนอ/นิ่งหนอ” เมื่อวิป สสนาญาณมีกําลังมาก ขึ้นก็จ ะรูชัด วารูป นามที่
เกิดขึ้นในขณะพูดไดดับไปกอนไมตอเนื่องถึงขณะนิ่ง แมจิตที่ตองการจะนิ่ง
และรู ป นิ่ งก็ เ กิ ด ขึ้ น แล ว ดั บ ทัน ทีใ นขณะนั้ น การหยั่ ง เห็ น อย า งนี้ จั ด เป น
อสัมโมหสัมปชัญญะ๔๑

๘.๕ การเจริญสติสัมปชัญญะตออารมณภายนอก
เมื่อโยคีตามรูกองรูปในรางกายของตนจนกระทั่งโคจรสัมปชัญญะ
แกกลาและเกิดอสัมโมหสัมปชัญญะที่เปนปญญาหยั่งเห็นไตรลักษณวา รูป
นามที่ตามรูในปจจุบันขณะนั้น ไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตน อยางนี้แลว ก็
อาจจะนอมจิตไปเปรียบเทียบอนุมานรูกองรูปภายนอกรางกาย กลาวคือรูป
นามของผูอื่นวา ไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตน ในบางขณะเมื่อตามรูกองรูป
ภายในวา “อยากเดินหนอ/เดินหนอ” อาจเกิดความเขาใจวาแมสภาวะเดิน
ของคนอื่นก็เหมือนกับสภาวะเดินของตน ในขณะนั้นจัดวาไดตามรูทั้งกอง
รูปภายในและกองรูปภายนอกสลับกัน
การกําหนดอิริยาบถนับตั้งแตเริ่มตื่นนอนในตอนเชา๔๒
ใหพยายามมีส ติกําหนดรูใหทัน ตั้งแตเริ่มตื่นวา “ตื่นหนอๆ” หรือ
กําหนดรูจิตแรกที่รูจากการตื่นวา “รูหนอๆ” เมื่ออยากจะลุกขึ้นจากที่นอน

๔๑
อางแลว, มหาสติปฏฐานสูตร ทางสูพระนิพพาน, หนา ๑๓๔-๑๓๕.
๔๒
อางแลว, วิธีเจริญมหาสติปฏฐาน เลม ๑, หนา ๑๕๖-๑๖๕.
๔๔๙
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ใหกําหนดรูจิตที่ตองการลุกหรือตนจิตวา “อยากลุกหนอๆ” เมื่ออยากจะยก
มือยันพื้นที่นอนเพื่อลุกขึ้น กําหนดรูตนจิตวา “อยากยกหนอๆ” เมื่อยกมือ
เพื่อจะยันพื้น กําหนดรูวา “ยกหนอๆ” เมื่อเอามือยันพื้น กําหนดรูวา “ยัน
หนอๆ” เมื่ออยากจะลุกขึ้นนั่ง กําหนดรูตนจิตวา “อยากลุกหนอๆ” แลว
คอยๆ ขยับลุกขึ้นเรื่อยๆ กําหนดรูวา “ลุกหนอๆ” เมื่อนั่งอยู กําหนดรูวา
“นั่งหนอๆ” เมื่ออยากจะยันกายลุกขึ้น กําหนดรูตนจิตวา “อยากยันหนอๆ”
เมื่อมือยันตัวขึ้น กําหนดรูวา “ยันหนอๆ” เมื่ออยากยืน กําหนดรูตนจิตวา
“อยากยืนหนอๆ” เมื่อยืนขึ้น กําหนดรูวา “ยืนหนอๆ” (กําหนดรูอาการของ
กายไปตามลําดับที่ขยับเคลื่อนไหวทุกอาการ)
เมื่อจะหยิบหรือจับสิ่งของเครื่องใชตางๆ เชน ผาเช็ดหนา ขันน้ํา ยา
สีฟน แปรงสีฟน เปนตน กําหนดรูวา “อยากหยิบหนอๆ/หยิบหนอๆ” แลว
หยุดยืน กําหนดรูวา “ยืนหนอๆ” เมื่อกลับตัว กําหนดรูวา “กลับหนอๆ”
เมื่อเทาขวากาวเดิ น กําหนดรูว า “ขวาย างหนอ” เมื่อเทาซายกาวเดิ น
กําหนดรูวา “ซายยางหนอ” เมื่อเดินไปถึงหนาประตู กําหนดหยุดยืนวา
“หยุดหนอๆ” เมื่อจะเปดประตู กําหนดรูวา “อยากเปดหนอๆ/เปดหนอๆ”
หรื อเมื่ อจะผลักประตู กําหนดรู ว า “อยากผลั กหนอๆ/ผลั กหนอๆ” หรื อ
“อยากดึงหนอๆ/ดึงหนอๆ”
เมื่อกําหนดเดินไปถึงประตูหองน้ํา ตองการจะเปด-ปดประตูหอง ให
กําหนดดังนี้ คือ เมื่อจะยื่นมือออกไปที่ประตู กําหนดรูวา “อยากยื่นหนอๆ/
ยื่นหนอๆ” มือจะจับประตู กําหนดรูวา “อยากจับหนอๆ/จับหนอๆ” เมื่อจะ
ผลักประตู กําหนดรูวา “อยากผลักหนอๆ/ ผลักหนอๆ” หรือเมื่อจะดึงประตู
กําหนดรูวา “อยากดึงหนอๆ/ดึงหนอๆ” แลวกาวเทาเดินออกไป กําหนดรู
วา “ขวายางหนอ/ซายยางหนอ” เมื่อวางขันน้ําลง กําหนดรูวา “อยากวาง
หนอๆ/วางหนอๆ” เมื่ อ ตั ก น้ํ า กํ า หนดรู ว า อยากตั ก หนอๆ/ตั ก หนอๆ”
ในขณะลางหนา แปรงฟน อาบน้ํา และทํากิจธุระสวนตัวตางๆ ใหกําหนดรู
สภาวะอยางละเอียดในทุกๆ อาการเคลื่อนไหวของกายและจิตอยางตอเนื่อง

๔๕๐
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
การดื่ม การกิน ทุกอิริยาบถ กําหนดรูใหหมด พรอมเติมตนจิต๔๓
หลังจากกําหนดรูสภาวธรรมตางๆ มีอาการพอง-อาการยุบ เปนตน
เมื่อถึงเวลารับประทานอาหารหรือดื่มน้ํา ใหกําหนดเดินจงกรมอยางชาๆ ไป
ยังสถานที่สําหรับรับประทานอาหาร หรือดื่มน้ําพรอมกับกําหนดรูอาการ
เดินวา “ขวายางหนอ/ซายยางหนอ”
เมื่อกําหนดเดินจงกรมไปจนถึงจุดที่นั่งของตนแลว กอนที่จะหยุด
เดินใหกําหนดรูตนจิตวา “อยากหยุดหนอๆ” แลวหยุดยืนกําหนดรูอาการยืน
วา “ยืน หนอๆ” (ให จิ ตระลึ กรู ป กายที่ยืน อยู ซึ่งมีลักษณะตึ งและตั้ งตรง)
กอนจะนั่งลง ใหกําหนดรูตนจิตวา “อยากนั่งหนอๆ” แลวคอยๆ หยอนกาย
คูตัวนั่งลง พรอมกับกําหนดรูอาการนั่งนั้นวา “นั่งหนอ” (ใหจิตรูอาการของ
รูปกายที่คอยๆ เคลื่อนหยอน หรือคูนั่งลง) ในขณะที่กําหนดรูอาการนั่งวา
“นั่งหนอๆ” อยูนั้น อาจจะยื่นมือขางหนึ่งขางใดยันไวที่พื้น ใหกําหนดรูวา
“อยากยันหนอๆ” เมื่อยื่นมือออกไปยันพื้น กําหนดรูวา “ยื่นหนอๆ”
เมื่อมือขางที่ยื่นถูกกับพื้นใหกําหนดรูวา “ถูกหนอๆ” เมื่อมือถูกกับ
พื้น รูสัมผัสที่มีลักษณะแข็ง ใหกําหนดรูวา “แข็งหนอๆ” รูสัมผัสที่หยาบ ให
กําหนดรูวา “หยาบหนอๆ” หรือรูสัมผัสที่นุม ใหกําหนดรูวา “นุมหนอๆ”
กําหนดรูตามลักษณะอาการที่รูสึกในขณะนั้นๆ
เมื่อนั่งลงสะโพกสัมผัสถูกกับพื้นกําหนดรูวา “ถูกหนอๆ” กําหนด
จัดทานั่งใหเรียบรอย ตองกําหนดรูอาการความเคลื่อนไหวของกายทุกอยาง
โดยละเอียด ตั้งแตตนจนจบ เมื่อนั่งนิ่งสงบเรียบรอยแลว อยากจะดูไปที่โตะ
อาหาร กําหนดรูวา “อยากดูหนอๆ” เมื่อดู กําหนดรูวา “ดูหนอๆ” เมื่อเห็น
กําหนดรูวา “เห็นหนอๆ” เมื่อเห็นแลวเกิดความชอบ กําหนดรูวา “ชอบ
หนอๆ” หากไมชอบกําหนดรูวา “ไมชอบหนอๆ” กําหนดตามอาการของจิต
ที่เกิดขึ้นจริงในขณะนั้นๆ
เมื่ออยากจะเริ่มรับประทาน ใหกําหนดรูตนจิตกอนวา “อยากกิน
หนอๆ” เมื่อมองดูจาน ชอน สอม กําหนดรูวา “ดูหนอๆ” เมื่อเห็นกําหนดรู

๔๓
อางแลว, วิธีเจริญมหาสติปฏฐาน เลม ๑, หนา ๑๕๖-๑๖๕.
๔๕๑
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
วา “เห็นหนอๆ” เมื่ออยากจะหยิบจับจาน ชอน-สอม กําหนดรูวา “อยาก
จับหนอๆ” ขณะที่หยิบจับกําหนดรูวา “จับหนอๆ” (กําหนดรูอยางตอเนื่อง
ไปตามลําดับอาการของมือที่ยก ยื่น และเอื้อมไปหยิบจับ) เมื่อมองดูโถขาว
กําหนดรูวา “ดูหนอๆ” เมื่อเห็นกําหนดรูวา “เห็นหนอๆ” เมื่อยื่นมือออกไป(ยัง
โถขาว) กําหนดรูวา “ยื่นหนอๆ” เมื่อมือจับฝาเปดโถขาว กําหนดรูวา “จับ
หนอๆ/เปดหนอๆ” เมื่อยกฝาของโถขาววางลง กําหนดรูวา “ยกหนอๆ/วาง
หนอๆ” เมื่อยกมือเคลื่อนกลับมา กําหนดรูวา “มาหนอๆ” เมื่ออยากจะจับ
ชอนหรื อทัพพี กําหนดรู ว า “อยากจั บ หนอๆ” ขณะจั บ กําหนดรู ว า “จั บ
หนอๆ/ ถูกหนอๆ” กําหนดรูตามอาการของมือที่เคลื่อนไหวไปตามลําดับ
เมื่อตักขาว กําหนดรูวา “ตักหนอๆ” เมื่อยกกลับมาเพื่อใสจาน กําหนดรูวา
“มาหนอๆ” เมื่อเทขาวใสจาน กําหนดรูวา “ใสหนอๆ” (เมื่อตักเพิ่มอีกหรือ
เมื่อจะตักแกง ตักอาหารอื่นๆ ก็ใหกําหนดรูเชนเดียวกันอยางตอเนื่อง)
หลั ง จากนั้ น เมื่อ อยากจะจั บ ช อน-ส อ มเพื่ อ ตั ก ขา ว กํ า หนดรู ว า
“อยากจับหนอๆ” เมื่อจับ กําหนดรูวา “จับหนอๆ” เมื่ออยากจะตักอาหาร
กําหนดรูวา “อยากตักหนอๆ” เมื่อตัก กําหนดรูวา “ตักหนอๆ” หากใชสอม
เกลี่ย กําหนดรูวา “เกลี่ยหนอๆ” เมื่อตักอาหารแลวยกขึ้นมา กําหนดรูวา
“ยกหนอๆ/มาหนอๆ” เมื่ อ มาถึ ง ปาก กํ า หนดรู ว า “หยุ ด หนอๆ” เมื่ อ
อยากจะอาปาก กําหนดรูวา “อยากอาหนอๆ” แลวจึงอาปากขึ้น กําหนดรู
วา “อาหนอๆ” เมื่อใสชอนเขาปาก กําหนดรูวา “ใส หนอๆ” เมื่อดึงชอน
ออก กําหนดรูวา “ดึงหนอๆ” เมื่อปดปากลง กําหนดรูวา “ปดหนอๆ” เมื่อ
อยากวางชอนลง กําหนดรูวา “อยากวางหนอๆ” ขณะคอยๆ วางชอนลง
กํ า หนดรู ว า “วางหนอๆ” (กํ า หนดรู อ าการเคลื่ อ นไหวไปตามลํ า ดั บ )
หลังจากนั้น จึงจะเคี้ยวอาหาร กําหนดรูวา “เคี้ย วหนอๆ” เมื่อมีรสดีหรื อ
อรอย กําหนดรูวา “ดีหนอๆ” หากไมดี ก็กําหนดรูวา “ไมดีหนอๆ” เมื่อรูรส
ไมวาจะเปนรสเปรี้ยว หวาน เผ็ด เค็ม ก็ตาม ใหกําหนดรูวา “รูรสหนอๆ”
เมื่อเคี้ยวละเอียดพอแลว กอนจะกลืน กําหนดรูวา “อยากกลืนหนอๆ” แลว
จึงคอยๆ กลืนลงไป กําหนดรูวา “กลืนหนอๆ” กําหนดรูตามความรูสึก ตาม

๔๕๒
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
อาการความเคลื่อนไหว และอาการตางๆ ที่จิตรับรูตามลําดับอยางละเอียด
และตอเนื่อง
วิธกี ารกําหนดฉัน (รับประทาน) ในสติปฏฐาน ๔
๑. กายานุปสสนาสติปฏฐาน ไดแก การพิจารณากาย เชน ในขณะ
ที่กําลังฉัน (รับประทาน) อยูนั้น กายที่กําลังเคลื่อนไหวในการเคี้ยวหรือกลืน
อาหาร ใหกําหนดวา “เคี้ยวหนอๆ” หรือ “กลืนหนอๆ” เปนตน
๒. เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ไดแก การพิจารณาเวทนา เชน ขณะที่
กําลั งฉัน (รับประทาน) อยูนั้ น เกิด ความรูสึ กชอบหรือไมช อบในอาหาร
เหลานั้น ใหกําหนดวา “ชอบหนอๆ” หรือ “ไมชอบหนอๆ” เปนตน
๓. จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ไดแก การพิจารณาจิต เชน ขณะที่
กําลังจะฉัน (รับประทาน) เห็นอาหารอยูตรงหนานั้น จิตเกิดความอยากกิน
อยากเคี้ยว อยากกลืน ใหกําหนดวา “อยากกินหนอๆ” “อยากเคี้ยวหนอๆ”
หรือ “อยากกลืนหนอๆ” เปนตน
๔. ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน ไดแก การพิจารณาธรรม เชน ขณะที่
ฉัน (รับประทาน) แลวรูสึกวา เย็น รอน ออน แข็ง ใหกําหนดวา “เย็นหนอๆ”
“รอนหนอๆ” หรือ “รูหนอๆ” เปนตน
ฝกกําหนดนอน คอยๆ ยอตัวลงในสถานที่ ที่จัดเตรียมไว นั่งคุกเขา
แลวพับเพียบลง (จะนอนตะแคงเอาสีขางดานขวาลงแบบสีหไสยาสน หรือ
จะนอนหงายก็ได) จากนั้นใหเหยียดเทาขวาออกกอน ตามดวยเทาซาย โดย
ภาวนาวา “เหยียดหนอๆๆ” เสร็จแลวคอยๆ เอนตัวลงนอน พรอมกับ
ภาวนาวา “นอนหนอๆๆ” ในขณะที่ภาวนานั้น ใหมีสติกําหนดพิจารณารู
อาการความเคลื่อนไหวของรางกายใหทันปจจุบันตลอดเวลา จนกวาจะ
กําหนดจัดทานอนใหเรียบรอย จากนั้นใหเอาสติมากําหนดพิจารณารูอาการ
พอง-ยุบตอไป จนกวาจะหลับ ผูปฏิบัติใหมจะรูสึกกําหนดยาก แตเมื่อ
วิปสสนาญาณแกกลาแลว จะเห็นวาการกําหนดอิริยาบถนอย-ใหญ ทั้งปวง
นั้น สามารถกําหนดไดทันปจจุบันธรรม

๔๕๓
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ขอควรระวัง : การนอนกําหนดนั้น ไมควรใชสลับกับการกําหนดนั่ง
ปฏิบัติ ควรใชกําหนดเฉพาะเวลานอนเทานั้น เพราะโยคีกําหนดนอนแลว
โดยมากมักเผลอสติหลับไปเสีย
การโยนิโสมนสิการในการอาบน้ํา
ความจริ ง ก อ นอาบน้ํ า จะต อ งโยนิ โ สมนสิ ก ารว า รู ป สกปาก
จําเปนตองอาบน้ําและในขณะอาบน้ําก็ตองสํารวมอยูตลอดเวลา แตไมตอง
รูอยูตลอดเวลาวาทําแกทุกขเพราะถาทําเชนนั้นจะเปนการบริกรรมไป เมื่อ
ตักน้ํารดตัว หากไมโยนิโสมนสิการความสบายจะเกิดเพราะเย็นสบาย ถา
ขาดการสํารวมความพอใจจะเกิดในความสบาย เพราะหายรอน ถาสํารวม
อยูจะรูเหตุผลตลอด หรือถารีบไปหนอยไมสํารวมกิเลสก็เขาได ถาสํารวมอยู
จะรูวารูปเย็นไมตองไปบอก เพราะเย็นกระทบก็ตองรู
- ถาสํารวมจะไมรีบ ถาไมสํารวมอยูจะรีบและไมทราบเหตุผล
- ถาไมมีโยนิโสมนสิการ จะอยากอาบน้ํา แตถามีโยนิโสมนสิการจะ
ทราบวาอาบน้ําเพราะอะไร เพราะทุกขเกิดขึ้นใชไหม จึงตองอาบ คือตอง
พิจารณาเสียกอนวาไมไดทําตามความอยากหรอก แตเพราะทุกขเกิดขึ้น จึง
จําเปนตองอาบ เมื่อรูถูก รูผิดก็เลิกไปเอง
การอาบน้ําเปนภาระที่ผูปฏิบัติจะตองใชอยูเสมอในชีวิตประจําวัน
เมื่อทานนั่งอยู ตามปกติเกิดร อน เหนีย วตัว ขึ้น มาจะบํ าบัด ทุกขนี้ด วยการ
อาบน้ํา เมื่อรู วาจะอาบน้ําเพื่อแกทุกขแลว ในขณะที่ลุกขึ้นเดินไปหองน้ํ า
ระหวางที่กําลังเดินไปหองน้ํานั้น ถาไมมีสติสํารวมไปในอาการที่กําลังลุกขึ้น
เพราะเห็นวามีโยนิโสมนสิการแลวใชไดแลวมักจะไปนึกถึงบาน นึกถึงคนนั้น
ก็เดินไปอยางนี้จะไมมีเหลือหรอกวาจะอาบน้ําเพื่อแกทุกข ตองมีสติสํารวม
ไป สติจะตกไปบางในการสํารวมอาการนั้นก็ไมเปนไร ก็ขอใหมีการสําเหนียก
เอา พอรูสึกตัวขึ้นมาวาปลอยใจเสียแลวก็มาสํารวมอีก ก็เทานั้น เมื่อปฏิบัติ
ไปนานๆ สติก็เขมแข็งขึ้น ก็สามารถสํารวมไดตลอดรอดฝงไปเอง
เปนธรรมดาของผูปฏิบัติยังไมชํานาญ ก็จะตองมีขอบกพรอง สติก็
ยังไมเขมแข็ง สัมปชัญญะก็ยังไมแข็งแรง ก็ตองอาศัยเวลากันหนอย แตตองรู
๔๕๔
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
วาที่ถูกเปนอยางไร แลวก็พยายามทําอยางนั้น แลวก็จะถูกไปเอง ผูปฏิบัติ
ตองมีความสังเกตไปดวย การใสใจทุกขใหมๆ อาจมีบัญญัติบาง แตทําไป
สังเกตไป ก็จะทิ้งบัญญัติไปเอง
การรับประทานอาหาร
เมื่อความหิวเกิดขึ้น ก็ตองรูวาความหิวเปนทุกข ตองรับประทาน
อาหารเพื่ อ แก ทุ ก ข ขณะรั บ ประทานอาหารต อ งมี ค วามสํ า รวมในการ
รับประทาน ใหทําอะไรทีละอยาง จะทําใหสํารวมได เชน ตักอาหารเขาปาก
ก็ให มีความรูสึ กตั ว เวลาเคี้ยวก็ใหรู สึกตั ว คือใหสํ ารวมในอาการที่ใช คือ
หยิบอะไรทีละอยาง จะเคี้ยวก็เคี้ยวไปจนหมด แลว จึงหยิ บหรื อตัก ไมใช
เคี้ยวไปแลวตักเตรียมรอไวดวย
ในระหวางรับประทานอาหารก็สํารวมในอาการทุกอยางที่เกิดขึ้น
ไมวาจะยกมือเหยียดมือไปตักกับขาว หรือตักขาวในชามขาว อาการที่คูแขน
เขามานําอาหารใสป าก อาการที่เ คี้ยว อาการที่กลืน ให สํารวมในอาการ
เหลานี้ไปทุกอาการ ถาสํารวมในอาการเหลานี้ ผูปฏิบัติจะไมสนใจเลยวา
วันนี้กับขาวอะไร จะเปนแกงจืดหรืออะไรก็เทากับวาผูปฏิบัติไมถือนินิตอนุ
พยัญชนะในการกิน ความชอบใจไมชอบใจในอาหารจะเกิดขึ้นไมได
แตถาผูปฏิบัติไมสํารวมจะเปนอยางนี้คอื ถาไมชอบใจในอาหารก็จะ
รับประทานนอย พอหายหิวก็หยุด ตกบายๆ หนอยก็จะหิว แตถาเจออาหาร
ที่ถูกใจก็จะรับประทานมากไป นั่นเปนเพราะไปสนใจวัตถุ คือ อาหาร ก็จะ
เกิดความยินดียินรายขึ้นมาได
แตถาไมไปสนใจอาหาร แตไปสนใจในอาการ สํารวมอยูในอาการที่
ใช การรับประทานอาหารของผูปฏิบัติก็จะเปนไปอยางเหมาะสม อาหารนั้น
จะเปนอาหารที่ชอบใจ หรือไมชอบใจก็จะเปนไปตามปกติ
สรุป การใสใจทุกขยังไมพอ ตองมีสติสํารวมในอาการที่ใชเวลานั้น
ตั้งแตตนจนจบ ระหวางนี้สติจะตกหลน ฟุงซานไปในเรื่องอะไรบางก็ชาง
เพราะสติของเรายังไมเขมแข็งพอ นี่เปนโยนิโสมนสิการในการใชอิริยาบถ
ใหญและยอย
๔๕๕
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔

การเปดพัดลม
เมื่ออากาศรอน ผูปฏิบัติก็ไปเปดพัดลมเปาตัว แลวก็กําหนดรูปนั่ง
ไป หรือกําหนดรูปนอนก็ตาม แลวเกิดการปวดศีรษะ แตพอปดพัดลมแลวก็
หาย แตพอเปดพัดลมอีกก็เปนอีกอยางนี้ ถาสังเกตจะทราบวา การเปดพัด
ลมเปาตัวนั้น ความรูสึกมันไปเกิดที่โผฏฐัพพารมณ เพราะมันเดนชัดไปที่นั่น
จิตก็ไปอยูโผฏฐัพพารมณหมด แตผูปฏิบัติตองการดูรูปนั่ง นอน ยืน เดินก็ไม
ยอมใหมันไป ก็คอยดึงกลับมาอยูที่รูปนั่งเรื่อยๆ แลวมันคอยไปอีก ทําอยาง
นี้มันก็เกิดเครียด ทําใหเกิดอาการมึนงงได ทําอยางนี้ก็เปนการฝน ไมอนุโลม
ตามสะดวก
วาระนั้ น ถาเป ด พัด ลมอยู รู ป อะไรที่ควรจะดู ก็คือรู ป กระทบนั่ น
แหละ ถาเห็นวาไมสะดวกก็ปดพัดลมเสียทนรอนไป ถาฝนจะดูใหได อยางนี้
เรียกวาไมมีโยนิโสมนสิการเหมือนกัน การใสใจในรูป เย็น รอน ออน แข็งก็
ตาม ที่เปนอยูในขณะนั้น จึงเปนโยนิโสมนสิการ ถาไมมีอารมณอื่นจรเขามา
ทําใหผิดแปลกแตกตางไป อิริยาบถนั่นแหละเปนประธานที่ควรใสใจ เพราะ
เราเจริ ญ กายานุ ป ส สนาสติ ป ฏ ฐานหมวดพิ จ ารณาอิ ริ ย าบถ จะไปใส ใ จ
อารมณอื่นบางเปนครั้งเปนคราว เกี่ยวกับอิริยาบถนั้นมันไมสะดวก

๘.๖ การกําหนดอิริยาบถยอย สํานักตางๆ


ตอไปนี้เปนตัวอยางการกําหนดอิริยาบถยอยตามแนวคิดและคําสอน
ในเอกสารที่เกี่ยวของดังนี้
การกําหนดอิริยาบถยอย รจนาโดย พระอาจารย ดร. ภัททันตะ
อาสภมหาเถระ๔๔
เมื่อตื่นนอนแลวก็อยากลุกขึ้นเปนธรรมดา จงกําหนดจิตนั้นวา อยาก
ลุกหนอๆ ในทันใดนั้นสวนตางๆ ของรางกายก็จะเริ่มเคลื่อนไหว เชน ผงก
๔๔
พระอาจารย ดร.ภัททันตะ อาสภมหาเถระ รจนา, ๑๐๐ป อัคคมหา
กัมมัฏฐานาจริยะ,พิมพครั้งที่๑,(บริษัท อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง,๒๕๕๔), หนา
๒๔๑-๒๔๒.
๔๕๖
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ศีรษะ ตะแคงซาย ตะแคงขวา ขยับเทาซาย ขยับเทาขวา ยกเทาซาย ยกเทา
ขวา ยันกาย เพื่อลุกขึ้นนั่ง อาการเหลานี้พึงกําหนดใหหมด ครั้นแลวก็เริ่ม
กําหนด พอง-ยุบ อันเปนอารมณเดิมที่กําหนดอยูสืบไป ในขณะนั้น ถามีการ
คิดนึกเกิดขึ้น ก็จงกําหนดซึ่งการคิดนึกนั้นดวย เมื่อลุกขึ้นพึงกําหนดวา ลุก
หนอๆๆ เมื่ อ นั่ ง พึ งกํ า หนดว า นั่ ง หนอๆๆ ขณะนั่ ง นั้ น อาการเคลื่ อ นไหว
เกี่ยวกับการนั่งเชน งอขา ขยับมือฯลฯ ยอมจะปรากฏ อาการที่ปรากฏขึ้น
นั้น จะตองกําหนดใหครบเชนกัน
เทาทีก่ ลาวมานี้ เปนการกลาวเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของอิริยาบถ
๔ ทั้งนั้น การแสดงเปนการแสดงอยางรวบรัด โยคีผูปฏิบัติธรรมอาจกําหนด
ได ไมครบสิ้น เนื่ องด วยสติ ส มาธิยั งออนอยู มาก แมกระนั้ นก็จงอยาได ล ด
ความพยายามที่จะกําหนดใหไดเทาที่จะกําหนดได เมื่อเจริญไปสติสมาธิก็จะ
กลาแข็งขึ้น การกําหนดก็ยอมจะไหวตามอาการของความเคลื่อนไหวนั้นๆ
เทาที่กล าวมานี้ ย อมเป น เพีย งสั งเขปเพื่อใช เ ป น หลั กหรื อแนวทางในการ
กําหนดเทานั้น จากหลักการนี้จะเห็นวามีสิ่งที่ตองกําหนดมากกวานี้อีก แต
อยาเพิ่งทอใจวายากและจะกําหนดไดหมดหรือ?และจงอยาประมาทวาเปน
เรื่องเล็กนอยดวย เมื่อกําหนดไปก็จะแจงเปนลําดับเรื่อยไป
นอกจากนี้ยังมีการลางหนา อาบน้ํา ชําระกาย ซึ่งจะตองทําอยางฉับ
ไว ก็จงพยายามกําหนดใหครบถวนเทาที่จะพึงกําหนดได เชน เอื้อมมือ หยิบ
ขั น ตั ก น้ํ า ลู บ หน า รดน้ํ า ถู ตั ว ฯลฯเป น ต น เมื่ อ เสร็ จ กิ จ แล ว ก็ เ ปลี่ ย น
ผาเช็ดตัว เช็ดหนา ฯลฯ ความเคลื่อนไหวเหลานี้ ตองใหอยูในการกําหนด
ทั้งสิ้น
อนึ่ ง เวลาเดิ น ไปยั งที่รั บ ประทานอาหาร จงเดิ น ด ว ยการกําหนด
จนถึงที่รับประทานเห็นถวยชาม หรือมองหาถวยชามเอื้อมมือหยิบถูกถวย
ชาม จับชอน อาหารรอนหรือเย็นตักอาหารกมศีรษะรับประทานหมดแลว
พึงกําหนดตลอดไป อยาสักแตวารับประทาน
เทาที่กลาวมานี้ ก็พอเปนแนวในการกําหนดไดแลว เมื่อไดทําไปจน
เกิดความเคยชินแลวยอมจะกําหนดไดสิ้นทุกระยะของอาการที่ปรากฏขึ้นมา

๔๕๗
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ทีเดียว สําหรับแรกกําหนดนั้นก็ยอมจะมีการพลั้งเผลอบาง เปนธรรมดา แต
จําตองมีสติกําชับอยาใหเกิดความเผลอไดบอยนัก
การกําหนดอิริยาบถยอย รจนาโดย สยาดอภัททันตวิโรจนะ๔๕ วัด
งุยเตาอูกัมมัฏฐาน
นับตั้งแตเริ่มตื่นนอน กําหนดอยางจดจอ ตอเนื่องไป ไมใหขาดตอน
สยาดอภัททันตวิโรจนะ ไดใหคําแนะนําเรื่องการกราบสติปฏฐาน
ดังนี้ สติเปนที่ตั้งแหงการทํางาน (กรรมฐาน) ทุกครั้งกอนที่มีการปฏิบัติตอง
กราบกรรมฐานเสียกอน เปนการนอมจิตอยูกับอารมณปจจุบันขณะในการ
กําหนดสติปฏฐาน ๔ กราบอยางมีสติระลึกรูตามดูอาการ ซึ่งเปนการสํารวม
อิน ทรี ย สติ ระลึกรูถึงอาการของรู ปและนาม ในการเจริ ญสติ ซึ่งเป นการ
กําหนดอิริยาบถใหญ อิริยาบถยอยไดดี เปนการเพิ่มกําลังความเพียร เพิ่ม
กําลังสติ เพิ่มกําลังสมาธิเมื่อมีการกําหนดอยางตอเนื่องเปนเวลานาน รูป
นาม (กายใจ) ไดปรากฏชัดเจนและพิจารณาไตรลักษณๆ ก็จะปรากฏขึ้น
ตามลําดับ จากนั้นก็สามารถเห็นแจงในอริยสัจ ๔ เกิดขึ้น ดังที่พระพุทธองค
ตรัสวา บุคคลใดเจริญสติปฏฐาน ๔ ยอมเขาถึงอริยสัจ ๔วิธีการปฏิบัติแบบนี้
เปนการปฏิบัติตามนัยพระไตรปฏกพระพุทธศาสนาเถรวาท
วิธีการกราบสติปฏฐานคือ ผูปฏิบัติจะตองนั่งคุกเขาทั้งสอง เอามือ
ขวา-ซายวางคว่ําไวที่เขาขวา-ซาย แลวคอยๆๆ พลิกฝามือขึ้นทีละขาง ขวา
กอน พรอมทั้งกําหนดดวยสติวา พลิกหนอๆ โดยจะตองเอาจิตเขาไปรูดวย
วากําลังพลิกฝามือ เสร็จแลวใหยกมือขางขวาขึ้นชาๆ พรอมกําหนดวา ขึ้น
หนอๆ ๆ เมื่อยกมาถึงอกก็ใหกําหนดวา ถูกหนอๆๆ ตอจากนั้นเริ่มพลิกมือ
ขางซาย ทําเชนเดียวกับขางขวา ยกมือทั้งสองขึ้นพนมกันไวระหวางอก แลว
ยกขึ้นจรดที่หนาผากระหวางคิ้วทั้งสอง พรอมทั้งกําหนดขึ้นหนอๆๆ เวลายก
และกําหนดถูกหนอๆๆ เมื่อเวลาจรดที่หวางคิ้ว แลวลดมือลงมาตั้งไวระหวาง
อก โดยกํ า หนดว า ลงหนอๆๆ เมื่ อ ถู ก ที่ อ กก็ กํ า หนดว า ถู ก หนอๆๆ

๔๕
สยาดอภัททันตวิโรจนะ รจนา,วัดงุยเตาอูกัมมัฏฐาน, วิธีเจริญมหาสติ
ปฏฐาน เลม ๑,พิมพครั้งที๑่ , (สํานักพิมพดีเอ็มจี), หนา ๑๕๖-๑๖๕.
๔๕๘
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ตอจากนั้นกมหลังลงเล็กนอยพรอมกับกําหนดวา กมหนอๆๆ แลวเอามือ
ขวาลงกอนกําหนดวา ลงหนอๆๆ เมื่อถูกที่พื้นกําหนดวา ถูกหนอๆๆพลิกฝา
มือคว่ําลงกําหนดวา คว่ําหนอๆๆ แลวเอามือซายตามกําหนดแบบเดียวกัน
ระดับมือหางกัน ๔ นิ้ว แลวกมศีรษะลง กําหนดวา กมหนอๆๆ เมื่อศีรษะ
จรดพื้น กําหนดวา ถูกหนอๆๆ โดยมีนิ้วหัวแมมือทั้งสองขางอยูระหวางคิ้ว
เวลาเงยก็กําหนดวา เงยหนอๆๆ ตอจากนั้นก็กราบแบบเดิมอีก ๒ ครั้ง โดย
กําหนดไปดวย
การกําหนดอิริย าบถนับตั้งแตเริ่มตื่นนอนในตอนเชา ใหพยายามมี
สติกําหนดรูใหทันตั้งแตเริ่มตื่น วา ตื่นหนอๆ หรือกําหนดรูจิต แรกที่รูจาก
การตื่นวา รูหนอๆ
เมื่ออยากจะลุกขึ้นจากที่นอน ใหกําหนดรูจิตที่ตองการลุกหรือตนจิต
วา อยากลุกหนอๆ เมื่ออยากจะยกมือยันพื้นที่นอนเพื่อลุกขึ้น กําหนดรูตน
จิตวา อยากยกหนอๆ เมื่อยกมือเพื่อจะยันพื้น กําหนดรูวา ยกหนอๆ เมื่อ
เอามือยันพื้นกําหนดรูวา ยันหนอๆ เมื่ออยากจะลุกขึ้นนั่งกําหนดรูตนจิตวา
อยากลุกหนอๆ แลวคอยๆ ขยับลุกขึ้นเรื่อยๆ กําหนดรูวา ลุกหนอๆ เมื่อนั่ง
อยู กํา หนดรู ว า นั่ ง หนอๆ เมื่ออยากจะยั น กายลุ กขึ้ น กําหนดรู ต น จิ ต ว า
อยากยันหนอๆ เมื่อมือยันตัวขึ้นกําหนดรูวา ยันหนอๆ เมื่ออยากยืน กําหนด
รู ต น จิ ต ว า อยากยื น หนอๆ เมื่ อยื น ขึ้ น กํา หนดรู ว า ยื น หนอๆ (กํ าหนดรู
อาการของกายไปตามลําดับที่ขยับเคลื่อนไหวทุกอาการ)
เมื่อจะหยิบหรือจับสิ่งของเครื่องใชตางๆ เชน ผาเช็ดหนา ขันน้ํา ยา
สีฟน แปรงสีฟน เปนตน กําหนดรูวา อยากหยิบหนอๆ หยิบหนอๆ แลวหยุด
ยืน กําหนดรูวา ยืนหนอๆ เมื่อกลับตัว กําหนดรูวา กลับหนอๆ เมื่อเทาขวา
กาวเดินกําหนดรูวา ขวายางหนอ เมื่อเทาซายกาวเดิน กําหนดรูวา ซายยาง
หนอ เมื่อเดิน ไปถึงหน าประตู กําหนดหยุด ยืน วา หยุ ดหนอๆ เมื่อจะเป ด
ประตู กํ าหนดรู ว า อยากเป ด หนอๆ –เป ด หนอๆ หรื อ เมื่ อจะผลั ก ประตู
กําหนดรูวา อยากผลักหนอๆ –ผลักหนอๆ หรือ อยากดึงหนอๆ ดึงหนอๆ
เมื่อกําหนดเดินไปถึงประตูหองน้ํา ตองการจะเปด-ปดประตูหอง ให
กําหนดดังนี้
๔๕๙
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
เมื่อจะยื่นมือออกไปที่ประตู กําหนดรูวา อยากยื่นหนอๆ –ยื่นหนอๆ
มือจะจั บประตู กําหนดรู วา อยากจั บหนอๆ จับ หนอๆ เมื่อจะผลั กประตู
กําหนดรูวา อยากผลักหนอๆ –ผลักหนอๆ หรือเมื่อจะดึงประตู กําหนดรูวา
อยากดึ งหนอๆ –ดึงหนอๆ แลว กาวเทาเดิ น ออกไป กําหนดรูว า ขวาย าง
หนอ-ซายย างหนอ เมื่อวางขัน น้ํ าลง กําหนดรู ว า อยากวางหนอๆ –วาง
หนอๆ เมื่อตักน้ํา กําหนดรูวา อยากตักหนอๆ –ตักหนอๆ ในขณะลางหนา
แปรงฟ น อาบน้ํ า และทํ า กิจ ธุ ร ะส ว นตั ว ต า งๆ ให กํ าหนดรู ส ภาวะอย า ง
ละเอียดในทุกๆ อาการเคลื่อนไหวของกายและจิตอยางตอเนื่อง
การไป-มา การเคลื่อนไหว จดจอกําหนดใหไดทุกอาการ
ในขณะทํ า กิ จ ต า งๆ ให มี ส ติ กํ า หนดรู ใ นทุ ก กิ ริ ย าอาการความ
เคลื่อนไหวไป-มาอยางตอเนื่องไมใหขาดตอน เมื่อเดินออกจากที่พักไปยัง
อาคารสถานที่ปฏิบัติธรรม ใหกําหนดเดินจงกรม หรือเดินกําหนดรูอาการ
เคลื่อนไหวของเทาอยูตลอดเวลา เมื่อจิตอยากจะกาว เทาขวาออกเดิน ใหสง
จิตรูไวที่เทาขวา แลวกําหนดรูจิตที่ตองการเดินหรือตนจิตกอนวา อยากยาง
หนอๆ แลวจึงคอยๆ ยกเทาขวากาวออกเดิน พรอมทั้งกําหนดรูในใจใหทัน
พอดีกันกับอาการเคลื่อนไหวของเทาวา ขวายางหนอ เมื่อจิตอยากจะกาว
เทาซายออกเดิน ใหสงจิตรูไวที่เทาซาย แลวกําหนดรูตนจิตกอนวา อยาก
ยางหนอๆ แลวจึงคอยๆ ยกเทาซายกาวออกเดิน พรอมทั้งกําหนดรูในใจให
ทันพอดีกันกับอาการเคลื่อนไหวของเทาวา ซายยางหนอ หรือจะเดินโดย
กําหนดรูใหละเอียดยิ่งขึ้นก็ได เชน กอนจะยกเทาขวาขึ้น ใหสงจิตรูไวที่เทา
ขวา แลวกําหนดรูตนจิตกอนวา อยากยกหนอๆ แลวจึงคอยๆ ยกเทาขวาขึ้น
ใหจิตจดจอรูอาการเคลื่อนไหวของเทาขวาที่คอยๆ ขยับยกขึ้นมา พรอมทั้ง
กําหนดรูในใจวา ยกหนอๆ กอนจะยางกาวไปขางหนา ใหกําหนดรูตนจิต
กอนวา อยากยางหนอๆ
แลวจึงคอยๆ เคลื่อนเทายางกาวไปขางหนาชาๆ ใหจิตจดจอรูอาการ
ของเทาที่คอยๆ เคลื่อนไปขางหน า พร อมทั้งกําหนดรู ในใจวา ยางหนอๆ
กอนจะเหยียบวางเทาลง ใหกําหนดรูตนจิตกอนวา อยากเหยียบหนอๆ แลว
๔๖๐
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
จึงคอยๆ เหยียบวางเทาลงที่พื้นชาๆ ใหจิตจดจอรูอาการของเทาที่คอยๆ
เหยียบลงไป พรอมทั้งกําหนดรูตามในใจวา เหยียบหนอๆ สําหรับเทาซายก็
เชนกัน กอนจะยกเทาซายขึ้น ใหสงจิตรูไวที่เทาซาย แลวกําหนดรูตนจิ ต
กอ นว า อยากยกหนอๆ แล ว จึ งค อ ยยกเท า ซา ยขึ้น ให จิ ต จดจ อ รู อาการ
เคลื่อนไหวของเทาที่คอยๆ ขยับยกขึ้น พรอมทั้งกําหนดรูในใจวา ยกหนอๆ
กอนจะยางกาวไปขางหนา ใหกําหนดรูตนจิตกอนวา อยากยาง
หนอๆ แลวจึงคอยๆ เคลื่อนเทายางกาวไปขางหนาชาๆ ใหจิตจดจอรูอาการ
ของเทาที่คอยๆ เคลื่ อนไปดานหนาพรอมทั้งกําหนดรูในใจว า ยางหนอๆ
กอนจะเหยียบวางเทาลง ใหกําหนดรูตนจิตกอนวา อยากเหยียบหนอๆ แลว
จึงคอยๆ เหยีย บวางเทาลงที่พื้น อย างชาๆ ให จิต จดจอรูอาการของเทาที่
คอยๆ เหยียบลงไป พรอมทั้งกําหนดรูในใจวา เหยียบหนอๆ ใหเพียรเดิน
จงกรมอยางจดจอและตอเนื่องดวยการกําหนดรูความเคลื่อนไหวและสภาวะ
ตางๆ ของเทาใหล ะเอียดมากขึ้นไปตามลําดั บ เชน ยกหนอ-ยางหนอ-ลง
หนอ-ถูกหนอ เปนตน
การดื่ม การกิน ทุกอิริยาบถ กําหนดรูใหหมด พรอมเติมตนจิต
หลังจากกําหนดรูสภาวธรรมตางๆ มีอาการพอง-อาการยุบ เมื่อถึง
เวลารับ ประทานอาหารหรือดื่มน้ํ า ใหกําหนดเดิ นจงกรมอยางชาๆ ไปยั ง
สถานที่สําหรับรับประทานอาหาร หรือดื่มน้ําพรอมกับกําหนดรูอาการเดินวา
ขวายางหนอ-ซายยางหนอ
เมื่อกําหนดเดิน จงกรมไปจนถึงจุดที่นั่งของตนแลว กอนที่จะหยุ ด
เดินใหกําหนดรูตนจิตวา อยากหยุดหนอๆ แลวหยุดยืนกําหนดรูอาการยืนวา
ยืนหนอๆ (ใหจิตระลึกรูปกายที่ยืนอยู ซึ่งมีลักษณะตึงและตั้งตรง) กอนจะนั่ง
ลง ใหกําหนดรูตน จิตวา อยากนั่งหนอๆ แลว คอยๆ หยอนกายคูตัวนั่งลง
พรอมกับกําหนดรูอาการนั่งนั้นวา นั่งหนอ (ใหจิตรูอาการของรูปกายที่คอยๆ
เคลื่อนหยอน หรือคูนั่งลง) ในขณะที่กําหนดรูอาการนั่งวา นั่งหนอๆ อยูนั้น
อาจจะยื่นมือขางหนึ่งขางใดยันไวที่พื้น ใหกําหนดรูวา อยากยันหนอๆ เมื่อ
ยื่นมือออกไปยันพื้น กําหนดรูวา ยื่นหนอๆ
๔๖๑
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
เมื่อมือขางที่ยื่นถูกกับพื้นใหกําหนดรูวา ถูกหนอๆ เมื่อมือถูกกับพื้น
รูสัมผัสที่มีลักษณะแข็ง ใหกําหนดรูวา แข็งหนอๆ รูสัมผัสที่หยาบ ใหกําหนด
รูวา หยาบหนอๆ หรือรูสัมผัสที่นุม ใหกําหนดรูวา นุมหนอๆ กําหนดรูตาม
ลักษณะอาการที่รูสึกในขณะนั้นๆ
เมื่อนั่งลงสะโพกสัมผัสถูกกับพื้นกําหนดรูวา ถูกหนอๆ กําหนดจัดทา
นั่งใหเรียบรอย ตองกําหนดรูอาการความเคลื่อนไหวของกายทุกอยางโดย
ละเอียด ตั้งแต ตนจนจบ เมื่อนั่งนิ่ งสงบเรีย บรอยแลว อยากจะดูไปที่โต ะ
อาหาร กํา หนดรู ว า อยากดู ห นอๆ เมื่ อดู กํ าหนดรู ว า ดู ห นอๆ เมื่ อเห็ น
กําหนดรูวา เห็นหนอๆ เมื่อเห็นแลวเกิดความชอบ กําหนดรูวา ชอบหนอๆ
หากไมชอบกําหนดรูวา ไมชอบหนอๆ กําหนดตามอาการของจิตที่เกิดขึ้น
จริงในขณะนั้นๆ
เมื่ออยากจะเริ่ มรั บ ประทาน ให กําหนดรู ต น จิ ต กอนว า อยากกิน
หนอๆ เมื่อมองดูจาน ชอน สอม กําหนดรูวา ดูหนอๆ เมื่อเห็นกําหนดรูวา
เห็นหนอๆ เมื่ออยากจะหยิบจับจาน ชอน-สอม กําหนดรูวา อยากจับหนอๆ
ขณะที่หยิบจับกําหนดรูวา จับหนอๆ (กําหนดรูอยางตอเนื่องไปตามลําดับ
อาการของมือที่ยก ยื่น และเอื้อมไปหยิบจับ) เมื่อมองดูโถขาว กําหนดรูวา ดู
หนอๆ เมื่อเห็นกําหนดรูวา เห็นหนอๆ เมื่อยื่นมือออกไป(ยังโถขาว) กําหนดรู
วา ยื่นหนอๆ เมื่อมือจับฝาเปดโถขาว กําหนดรูวา จับหนอๆ –เปดหนอๆ
เมื่อยกฝาของโถขาววางลง กําหนดรูวา ยกหนอๆ –วางหนอๆ
เมื่อยกมือเคลื่อนกลับมา กําหนดรูวา มาหนอๆ เมื่ออยากจะจับชอน
หรือทัพพี กําหนดรูวา อยากจับหนอๆ ขณะจับกําหนดรูวา จับหนอๆ –ถูก
หนอๆ กําหนดรูตามอาการของมือที่เคลื่อนไหวไปตามลําดั บ เมื่อตั กขาว
กําหนดรูวา ตักหนอๆ เมื่อยกกลับมาเพื่อใสจาน กําหนดรูวา มาหนอๆ เมื่อ
เทขาวใสจาน กําหนดรูวา ใสหนอๆ (เมื่อตักเพิ่มอีก หรือเมื่อจะตักแกง ตัก
อาหารอื่ น ๆ ก็ ใ ห กํา หนดรู เ ช น เดี ย วกัน อย า งต อ เนื่ อ ง) หลั ง จากนั้ น เมื่ อ
อยากจะจั บ ช อ น-ส อ มเพื่ อ ตั ก ข า ว กํ า หนดรู ว า อยากจั บ หนอๆ เมื่ อ จั บ
กําหนดรูวา จับหนอๆ เมื่ออยากจะตักอาหาร กําหนดรูวา อยากตักหนอๆ
เมื่อตัก กําหนดรูว า ตักหนอๆ หากใชสอมเกลี่ย กําหนดรูวา เกลี่ยหนอๆ
๔๖๒
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
เมื่อตักอาหารแลวยกขึ้นมา กําหนดรูวา ยกหนอๆ มาหนอๆ เมื่อมาถึงปาก
กําหนดรูวา หยุด หนอๆ เมื่ออยากจะอาปาก กําหนดรูว า อยากอาหนอๆ
แลวจึงอาปากขึ้น กําหนดรูวา อาหนอๆ เมื่อใสชอนเขาปาก กําหนดรูวา ใส
หนอๆ เมื่อดึงชอนออก กําหนดรูวา ดึงหนอๆ เมื่อปดปากลง กําหนดรูวา
ปดหนอๆ เมื่ออยากวางชอนลง กําหนดรูวา อยากวางหนอๆ ขณะคอยๆ
วางชอนลง กําหนดรูวา วางหนอๆ (กําหนดรูอาการเคลื่อนไหวไปตามลําดับ)
หลังจากนั้นจึงจะเคี้ยวอาหาร กําหนดรูวา เคี้ยวหนอๆ เมื่อมีรสดีหรืออรอย
กําหนดรูวา ดีหนอๆ หากไมดี ก็กําหนดรูวา ไมดหี นอๆ เมื่อรูรส ไมวาจะเปน
รสเปรี้ยว หวาน เผ็ด เค็ม ก็ตาม ใหกําหนดรูวา รูรสหนอๆ
เมื่อเคี้ยวละเอียดพอแลว กอนจะกลืน กําหนดรูวา อยากกลืนหนอๆ
แลวจึงคอยๆ กลืน ลงไป กําหนดรูว า กลืนหนอๆ กําหนดรูตามความรูสึ ก
ตามอาการความเคลื่ อนไหว และอาการต างๆ ที่จิ ต รั บ รู ต ามลํ าดั บ อย า ง
ละเอียดและตอเนื่อง จึงจะเกิดญาณปญญา เห็นความเกิด ความดับ ของรูป
นามทั้งสอง จนกระทั่งความเกิด ความดับนั้นหมดสิ้นไป สามารถบรรลุมรรค
ผล และพระนิพพานไดอยางแนนอน
พระมหาทองมั่น สุทฺธจิตโต เรียบเรียง๔๖
กําหนดเวลาตื่นนอน ขณะรูสึกตัวตื่นนอน กําหนดรูวา ตื่นหนอๆๆ
(กําหนดที่ความรูสึกที่เกิดขึ้น) หรือถาไดยินเสียงนาฬิกาปลุก หรือเสียงระฆัง
ก็กําหนดรูวา ไดยินหนอๆๆขณะลืมเปลือกตาขึ้น กําหนดรูวา ลืมหนอๆๆ
ขณะเห็นภาพตางๆ กําหนดรูวา เห็นหนอๆๆ ขณะกระพริบตา กําหนดรูวา
กระพริบหนอๆๆ ขณะขยับตัวลุกขึ้น กําหนดรูวา ขยับหนอๆๆ ขณะคอยๆ
ยันตั วลุกขึ้น กําหนดรูวา ลุกหนอๆๆ ขณะนั่ งอยู กําหนดรูว า นั่ งหนอๆๆ
ขณะลุกขึ้น กําหนดรู ว า ลุ กหนอๆๆ ขณะยืน อยู กําหนดรูว า ยื น หนอๆๆ
ขณะเดินไปเปดไฟ กําหนดรูวา ขวายางหนอ ซายยางหนอ เมื่อถึงที่เปดไฟ
๔๖
พระมหาทองมั่น สุทฺธจิตฺโต เรียบเรียง,“คูมือการเจริญสติปฏฐาน ๔
(ฉบับปรับปรุงใหม)”, พิมพครั้งที่ ๑๒,( บริษัท บุญศิริการพิมพ จํากัด,พ.ศ. ๒๕๕๔),
หนา ๙๙-๑๑๕.
๔๖๓
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
กําหนดรูวา ยืนหนอๆๆ ขณะยกมือขึ้น กําหนดรูวา ยกหนอๆๆ ขณะเคลื่อน
มือไป กําหนดรูวา ไปหนอๆๆ ขณะมือถูกสวิทชไฟ กําหนดรูวา ถูกหนอๆๆ
ขณะกดสวิทช กําหนดรูวา กดหนอๆๆ ขณะลดมือลงแนบลําตัว กําหนดรูวา
ลงหนอๆๆ ถาจะเก็บผาหม พับที่นอนก็ใหกําหนดรูตามอาการนั้นๆ เชน ยก
หนอ ไปหนอ จับหนอ (ผาหม) พับหนอๆๆ ยกหนอ ไปหนอ วางหนอ เปน
ตน
การเปด-ปดประตูหองน้ํา ขณะเดินไปหองน้ํา กําหนดรูวา ขวายาง
หนอ ซายย างหนอ ขณะยื น อยู ห น าประตู กําหนดรู ว า ยื น หนอๆๆ ขณะ
สายตาเห็นประตู กําหนดรูวา เห็นหนอๆๆ ขณะยกมือขึ้น กําหนดรูวา ยก
หนอๆๆ ขณะเคลื่อนมือไป กําหนดรูวา ไปหนอๆๆ ขณะที่มือถูกประตู หรือ
ลูกบิดประตู กําหนดรูวา ถูกหนอ (ถารูสึก เย็น รอน ออน แข็ง ก็กําหนดรู
ตามความรูสึกนั้นๆ) ขณะจับ กําหนดรูวา จับหนอ ขณะหมุนลูกบิด กําหนด
รูวา หมุนหนอๆๆ ขณะผลักบานประตู กําหนดรูวา ผลักหนอๆๆ ขณะปลอย
มือจากลูกบิด กําหนดรูวา ปลอยหนอๆๆ ขณะกาวเขาไปหองน้ํา กําหนดรูวา
ขวายางหนอ ซายยางหนอ ขณะยืนอยู กําหนดรูวา ยืนหนอๆ ขณะกลับตัว
เพื่อปดประตู กําหนดรูวา กลับหนอๆๆ (กําหนดปดประตู) ขณะเห็นประตู
กําหนดรูวา เห็นหนอๆ ขณะยกมือขึ้น กําหนดรูวา ยกหนอๆๆ ขณะเคลื่อน
มือไป กําหนดรูวา ไปหนอๆๆ ขณะที่มือถูกประตู หรือลูกบิดประตู กําหนดรู
วา ถูกหนอ, จับหนอ ขณะหมุนลูกบิ ด กําหนดรูวา หมุนหนอๆๆ ขณะดึ ง
บานประตูปด กําหนดรูวา ดึงหนอๆๆ ขณะกดลูกบิดประตู กําหนดรูวา กด
หนอ ขณะปลอยมือลง กําหนดรูวา ลงหนอๆๆ ขณะกลับตั ว กําหนดรูว า
กลับหนอๆๆ ขณะเดินไปทําอยางอื่น กําหนดรูวา ขวายางหนอ ซายยางหนอ
สภาพของห อ งน้ํ า ย อ มแตกต า งกั น ดั ง นั้ น ให กํ า หนดรู อ าการตาม
สภาพแวดลอม ใหละเอียดที่สุด ชาที่สุด เทาที่จะทําได
วิธีการถายปสสาวะและอุจจาระ เมื่อเขาหองน้ําเรียบรอยแลว ถาจะ
ทํากิจหนักเบา ก็ใหเริ่มตั้งแตการกําหนดรูตนจิตที่อยากทํา แลวเริ่มกําหนดรู
ตั้ ง แต ก ารถอดผ า การนั่ ง การเบ ง ความรู สึ ก ที่ ป ส สาวะหรื อ อุ จ จาระที่
เคลื่อนที่ การไดกลิ่น เปนตน พยายามกําหนดรูอาการตางๆ ใหได
๔๖๔
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
รายละเอียดมากที่สุดเทาที่ทําได
วิธีการแปรงฟน ขณะเห็นแปรงกําหนดรูวา เห็นหนอๆๆ (เห็นแปรงสี
ฟน) ขณะเคลื่อนมือซายไปจับ กําหนดรูวา ไปหนอๆๆ ขณะมือถูกแปรงสีฟน
กําหนดรูวา ถูกหนอๆๆ ขณะจับแปรง กําหนดรูวา จับหนอๆๆ ขณะนําแปรง
สีฟนมา กําหนดรูวา มาหนอๆๆ ตอไปกําหนดเอายาสีฟน ขณะเห็นยาสีฟน
กําหนดรูวา เห็นหนอๆๆ ขณะเคลื่อนมือไปจับ กําหนดรูวา ไปหนอๆๆ ขณะ
มือถูกยาสีฟน กําหนดรูวา ถูกหนอ ขณะจับยาสีฟน กําหนดรูวา จับหนอๆๆ
ขณะนํายาสีฟนมา กําหนดรูวา มาหนอๆๆ ขณะยกมือไปจับยาสีฟน กําหนด
รูวา ไปหนอๆๆ ขณะมือถูกฝาปดยาสีฟน กําหนดรูวา ถูกหนอๆๆ ขณะหมุน
ฝากําหนดรูวา หมุนหนอๆๆ ขณะวางฝายาสีฟนลง กําหนดรูวา ลงหนอๆๆ
ถูกหนอ ปลอยหนอ ขณะยกแปรงมา กําหนดรูวา ยกหนอๆๆ มาหนอๆๆ
ขณะบีบยาสีฟนใส กําหนดรูวา บีบหนอๆๆ ขณะใสยาสีฟน กําหนดรูวา ใส
หนอๆๆ ขณะยื่นมือไปจับขันน้ํา กําหนดรูวา ไปหนอๆๆ จับหนอๆๆ (ขันน้ํา)
มาหนอ อาหนอ ถูกหนอ (ถูกปาก) อมหนอ บวนหนอ ขณะใสแปรงสีฟนเขา
ปาก กําหนดรูวา ใสหนอๆๆ ขยับหนอๆๆ หรือ ขึ้นหนอๆ ลงหนอๆๆ ขณะ
อยากบวนปาก (ทําปากขมุบขมิบ) กําหนดรูวา ขยับหนอๆ บวนหนอ ขณะ
ยกขันน้ํามา กําหนดรูวา ยกหนอ มาหนอ ถูกหนอ อาหนอ ยกหนอ ถูกหนอ
ดูดหนอ เย็นหนอ อมหนอ บวนหนอ เงยหนอ เห็นหนอ (ใหกําหนดรูตาม
อาการเคลื่อนไหวตามที่เปนจริง)
การอาบน้ํา-ลางหนา ขณะเห็นขันน้ํา กําหนดรูวา เห็นหนอ ขณะยก
มือไป กําหนดรูวา ยกหนอ, ไปหนอ, ขณะมือถูกขัน กําหนดรูวา ถูกหนอ
ขณะจับ ขัน กําหนดรู วา จับ หนอ (ขันน้ํา ) ขณะยกขัน ขึ้น กําหนดรู วา ยก
หนอ ขณะเคลื่อนขันไป กําหนดรูวา ไปหนอ ขณะตักน้ํ า กําหนดรูวา ตั ก
หนอ ขณะนํามา กําหนดรูวา มาหนอ ขณะเทน้ํา กําหนดรูวา เทหนอ ขณะ
รูสึกเย็น กําหนดรูวา เย็นหนอ (ถาตักหลายขันก็กําหนดเหมือนเดิม) ขณะ
วางขันลง กําหนดรูวา วางหนอ ขณะเห็นสบู กําหนดรูวา เห็นหนอ (สบู)
ขณะยกมือไปจับกําหนดวา ยกหนอ ขณะเคลื่อนมือไปจะจับสบู กําหนดรูวา
ไปหนอ ขณะจับสบู กําหนดรูวา จับหนอ (สบู) ขณะนําสบูมา กําหนดรูวา
๔๖๕
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
มาหนอ ขณะถูตัวหรือใบหนา กําหนดรูวา ถูหนอ ถูเสร็จแลว เก็บสบูเขาที่
เดิม กําหนดรูวา ไปหนอ ขณะวางสบูลง กําหนดรูวา วางหนอ ขณะยกมือไป
หยิบขันน้ํา กําหนดรูวา ยกหนอ, ไปหนอ, จับหนอ (ขันน้ํา), ไปหนอ, ตัก
หนอ, มาหนอ, เทหนอ, เย็นหนอ, อาบเสร็จแลว ไปหยิบผาเช็ดตัว กําหนดรู
วา ยกหนอ, ไปหนอ, จับหนอ (ผาเช็ดตัว), มาหนอ, เช็ดหนอๆๆ ตอไปจะนุง
ผา หมผาก็ใหกําหนดรูตามอาการ ตามที่รูสึกจริงๆ เปนธรรมชาติ ใหชาๆ
เทาที่จ ะทําได (การกํา หนดรู กี่ครั้ งอยู ที่ร ะยะของการเคลื่ อนไหว ได มาก
เทาไรก็ดีเทานั้น)
ออกจากหองน้ํามาก็กําหนดรูการปดประตู ปดไฟ การหมผา การ
สวมใสเสื้อผา เชน ยกหนอ ไปหนอ จับหนอ มาหนอ ใสหนอ เปนตน ให
กําหนดรูตามอาการที่เปนจริง แตในการกําหนดที่หองเองนั้นจะตองมีสัจจะ
ใหทําความรูส ึกเหมือนมีครูอาจารยคอยดูอยูและในขณะที่กําหนดรูอิริยาบถ
ยอยอยูนั้นก็ถือวาไดปฏิบัติวิปสสนาเพราะไดศีล สมาธิ ปญญาเหมือนกัน
การเดินไปสูศาลาปฏิบัติธรรม เมื่อทํากิจสวนตัวเสร็จแลวใหกําหนดรู
ในอิริยาบถยอยใหละเอียดที่สุดเทาที่จะทําได เชนแตงตัวเรียบรอยแลวเปด
ปดประตู ใสกุญแจหอง ขณะลุกขึ้นยืนกําหนดรูวา ลุกหนอๆๆ ขณะยืนเต็มที่
กําหนดรูวา ยืนหนอๆ ขณะเดินไปที่ประตูกําหนดรูวา ขวายางหนอ ซายยาง
หนอ ขณะถึงประตูยืนอยูกําหนดรูวา ยืนหนอๆๆ ขณะเงยหนาขึ้นมองที่มือ
จับประตูกําหนดรูวา เห็นหนอๆๆ ขณะยกมือไปจับกําหนดรูวา ยกหนอๆๆ
ไปหนอๆๆ ถูกหนอ จับ หนอ ผลั กหนอๆๆ ขณะเอามือลงกําหนดรูว า ลง
หนอๆๆ เดิ น ออกไปกําหนดรู ว า ขวาย างหนอ ซายย างหนอ เมื่อเดิ น พน
ประตูเขาไปแลวกําหนดรูวา ยืนหนอๆๆ กําหนดรูกลับตัววา กลับหนอๆ ยก
หนอๆๆ ไปหนอๆๆ ถูกหนอ จับหนอ ดึงหนอๆๆ ขณะยกมือไปจับกุญแจ
คลองสายยู กําหนดรูวา ยกหนอ ไปหนอ จับหนอ ใสหนอ กดหนอ ขณะ
กลับตัว กําหนดรูวา กลับหนอๆๆ กอนจะเดินลงขางลางใหเก็บมือกอน โดย
เอามือไขวักันไวขางหนาหรือขางหลัง ไมปลอยแกวงไปมา เพื่อไมใหรบกวน
สมาธิเวลากาวเดิน ขณะที่เ คลื่อนมือซายมาไวที่หนาทองนอยกําหนดรูว า
เคลื่อนหนอๆๆ กําหนดชาๆ ใจตามรูอาการเคลื่อนไหวของมือตั้งแตยกขึ้น
๔๖๖
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
จนกระทั่งเคลื่อนมาแนบกับทองนอย ตาไมตองดูมือ เมื่อมือถูกทองกําหนดรู
วา ถูกหนอ มือขวาก็เชนเดียวกันวา เคลื่อนหนอๆๆ ถูกหนอ จับหนอ (จับที่
ขอมือดีกวาจับที่ฝามือ) เสร็จแลวกําหนดรูอาการยืนวา ยืนหนอๆ ใหรูสึกใน
อาการยืน คืออาการตั้งตรงของรางกายทั้งหมด ไมดูเฉพาะสวนใดสวนหนึ่ง
หรื อ ดู ไ ล ม าตั้ ง แต ศี ร ษะจรดเท า พอรู อ าการดี แ ล ว กํ า หนดรู ใ นใจว า ยื น
หนอๆๆ ชาๆ ใหกําหนดและรูอาการยืนควบคูกันไปดวย อยาทองแตปาก
เฉยๆ แตใจไมรูอาการ “ปากกําหนดและใจรูอาการ” ถาจะทําความเขาใจวา
ยืนเปนรูป จิตที่รูวายืนเปนนาม ก็จะดี ขณะเดินไปที่บันได กําหนดรูวา ขวา
ยางหนอ ซายยางหนอ คําบริกรรมกับอาการตองเริ่มและสิ้นสุดพรอมกัน ไม
กอนไมหลังกวากัน จึงจะเรียกวากําหนดรูไดปจจุบัน ขณะเดินอยูใหระวัง
สายตา อย า เหลี ย วซ ายแลขวา ให ทอดสายตาลงพื้ น ห า งจากปลายเท า
ประมาณ ๔ ศอก เมื่อเดิน มาถึงบัน ไดที่จ ะลง ให กําหนดรู วา ยืน หนอๆๆ
ขณะยกเทาขึ้นกําหนดรูวา ยกหนอ ขณะเคลื่อนเทาไปขางหนากําหนดรูวา
ยาง (เคลื่อน)หนอ ขณะหยอนเทาลงกับบันได กําหนดรูวา ลงหนอ ขณะเทา
ถูกพื้นบันได กําหนดรูวา ถูกหนอ เทาซายก็กําหนดเหมือนเทาขวา ยกหนอ
ยางหนอ ลงหนอ ถูกหนอ เมื่อเดินลงบันไดเรียบรอยแลวใหกําหนดรูอาการ
ยืน ว า ยื นหนอๆๆ ขณะกลั บตั ว บริ กรรมว า กลั บ หนอๆๆ พร อมกับ มีส ติ
กําหนดรูอาการที่เทายกขึ้น เคลื่อนไปและวางลง รูใหตรงกับอาการ แลวให
กําหนดรูอาการยืนวา ยืนหนอๆๆ ขณะยกเทาขึ้นกําหนดรูวา ยกหนอๆๆ
เคลื่อนเทาใสรองเทาพรอมกําหนดรูวา สวมหนอๆ หรือ เคลื่อนหนอๆๆ ก็ได
ขณะเทาถูกรองเทา กําหนดรู วา ถูกหนอ ขณะจะหัน ตั วกลั บ กําหนดรู ว า
กลับหนอๆๆ ขณะออกเดินไป กําหนดรูวา ขวายางหนอ ซายยางหนอ เดินสู
ศาลาปฏิ บั ติ ธ รรม ในระหว า งเดิ น ไปสู ศ าลาปฏิ บั ติ ธ รรม มั ก จะมี มารมา
ขัดขวางการปฏิบั ติธรรม เชนความอยากจะดูปายประกาศ ปายคํากลอน
ตางๆ อยากทราบวาใครเดินสวนทางมา ใหหยุดเดินแลวกําหนดรูอาการ
อยากของจิตวาอยากดูหนอๆๆ เมื่อความอยากหายแลวก็เดินตอไป หรือมี
คนเขามาทักทายก็ใหหยุดเดิน อยามองสบตาเขา ใหทอดสายตาลงต่ํา ถาได
ยิ น เสี ย งเขาพู ด ก็ ใ ห กํ า หนดรู ว า ได ยิ น หนอๆๆ ถ า จะพู ด โต ต อบเขาก็ ใ ห
๔๖๗
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
กําหนดรู อาการของจิ ตที่อยากจะพูดกอนว า อยากพูด หนอๆๆ ขณะพูด ก็
กําหนดรูอาการที่ปากขยับขึ้นลง พูดใหนอยและสั้น และบอกวา “ขอโทษ
ดวย พระอาจารยทานหามไมใหพูด มีอะไรคอยพูดเมื่อดิฉันออกกรรมฐาน
แลว ขอตัวไปปฏิบัติธรรมกอนนะคะ” พูดจบแลวก็กําหนดเดินตอไป การเขา
ไปพูดคุยจะทําใหเสียสมาธิ ขาดการกําหนดรูที่ตอเนื่อง
เมื่อเดินถึงชายคาของศาลาปฏิบัติธรรมแลวใหหยุดยืนที่ริมฟุตบาท
กํ า หนดรู อ าการยื น ว า ยื น หนอๆๆ ขณะถอดรองเท า กํ า หนดรู ว า ถอด
หนอๆๆ ทั้งขางซายและขางขวา เมื่อถอดเสร็จก็กําหนดรูอาการยืนอีกครั้ง
ขณะเดิ น กําหนดว า ขวายางหนอ ซายยางหนอ เหมือนที่เ คยกําหนดมา
ขณะเห็นผาเช็ดเทา กําหนดรูวา เห็นหนอๆๆ ขณะเช็ดเทา กําหนดรูวา เช็ด
หนอๆๆ เมื่อมาถึงประตูเขาใหหยุดกําหนดรูอาการยืนวา ยืนหนอๆๆ ขณะ
เงยหน าขึ้นมองที่มือจับประตู กําหนดรูวา เห็น หนอๆๆ ขณะยกมือไปจั บ
กําหนดรูวา ยกหนอๆๆ ไปหนอๆๆ ถูกหนอๆๆ จับหนอๆๆ เลื่อนหนอ ขณะ
เอามือลงกําหนดรูวา ลงหนอๆๆ กําหนดรูอาการเดินเขาไปวา ขวายางหนอ
ซายยางหนอ เมื่อเดินพนประตูเขาไปแลว กําหนดรูอาการยืนวา ยืนหนอๆๆ
กําหนดรูกลั บตั วว า กลั บหนอๆๆ ยกหนอๆๆ ไปหนอๆๆ ถูกหนอๆๆ จั บ
หนอๆๆ เลื่อนหนอๆๆ(เลื่อนปด) กลับหนอๆๆ ขวายางหนอ ซายยางหนอ
การหยิบอาสนะมานั่ง เมื่อถึงที่อาสนะวางไวให หยุดยื น กําหนดรู
อาการยืนวา ยืนหนอๆๆ เงยหนาขึ้นกําหนดรูวา เงยหนอๆๆ ขณะเห็นผา
อาสนะกําหนดรูวา เห็นหนอๆๆ ขณะยื่นมือไปจับอาสนะกําหนดรู วา ยก
หนอๆๆ ไปหนอๆๆ จับหนอๆๆ ขณะดึงอาสนะมากําหนดรูวา ดึงหนอๆๆ ลง
หนอๆๆ แลวเดินไปหาที่จะนั่งสมาธิ กําหนดรูเหมือนการเดินทั่วไปคือ ขวา
ยางหนอ ซายยางหนอ เมื่อไปถึงที่จะนั่งแลว ใหกําหนดการปูอาสนะวา ยืน
หนอๆๆ ขณะกมตัว ลงกําหนดรูวา กมหนอๆๆ เมื่อมือที่จั บอาสนะถูกพื้น
กําหนดรู วา ถูกหนอๆๆ ขณะปลอยมือจากอาสนะลง กําหนดรูว า ปลอย
หนอๆๆ ขณะยืดตัวขึ้นกําหนดรูวา ยืดหนอๆๆ เมื่อยืนเต็มที่แลวกําหนดรู
อาการยืนวา ยืนหนอๆๆ ขณะปลอยแขน กําหนดรูวา ปลอยหนอๆๆ ทีละ
ขาง ขณะยอตัวลง กําหนดรูวา ยอหนอๆๆ หรือ ลงหนอๆๆ ใหรูตามอาการ
๔๖๘
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
เครงตึงและอาการเคลื่อนไหวของกาย ขณะเคลื่อนมือยันพื้น กําหนดรูวา
ยันหนอ หรือ ถูกหนอ ขณะหัวเขาถูกพื้น กําหนดรูวา ถูกหนอ ขณะยกมือมา
วางที่ หั ว เข า ขวาซ า ยกํ า หนดรู ที ล ะข า งว า ยกหนอ มาหนอ วางหนอๆ
กําหนดรูอาการนั่ง นั่งหนอๆๆ คืออาการเครงตึงตั้งตรงของกายสวนบน
การถอดแวนตา ขณะเอื้อมมือไปกําหนดรูวา เคลื่อนหนอๆๆ ขณะมือ
ถู กขาแว นกํ าหนดรู ว า ถู กหนอ จั บหนอ ขณะดึ งแว นออกกํ าหนดรู ว า ดึ ง
หนอๆๆ ขณะวางแวนลงกําหนดรูวา ลงหนอๆๆ ขณะแวนถูกพื้นกําหนดรูวา
ถูกหนอๆๆ ขณะปลอยมือกําหนดรูวา ปลอยหนอๆ ขณะยกมือมาวางบนหัว
เขาเหมือนเดิมกําหนดรูวา มาหนอๆๆ คว่ําหนอๆๆ ลงหนอๆๆ ถูกหนอๆๆ
การสวมแว น ตา ขณะอยากใส แ ว น ตากํ า หนดรู อ าการของจิ ต ว า
อยากหนอๆๆ ขณะเอื้อมมือไปกําหนดรูวา เคลื่อนหนอๆๆ ขณะมือถูกขา
แวนกําหนดรูวา ถูกหนอ จับหนอขณะยกแวนขึ้นมากําหนดรูวา ยกหนอๆๆ
ขณะเคลื่อนแวนมากําหนดรูวา เคลื่อนหนอๆๆ ขณะขาแวนถูกหนา กําหนด
รูวา ถูกหนอ ขณะดันแวนเขาไป กําหนดรูวา ดันหนอๆๆ ขณะปลอยมือลง
กําหนดรูวา ปลอยหนอๆๆ ลงหนอๆๆ ขณะมือถูกหัวเขากําหนดรูวา คว่ํา
หนอๆๆ ถูกหนอ
การบิณฑบาต (สําหรับพระภิกษุ) พระภิกษุ กอนถึงเวลาบิณฑบาต
ให ครองผา สะพายบาตร ด วยการกําหนดรู อิริ ยาบถยอยใหล ะเอีย ดที่สุ ด
เทาที่ทําได ขณะออกเดินบิณฑบาต ใหสํารวมสายตา มองไกลเทาที่จําเปน
(ให ร ะวั ง รถ) เวลาเดิ น กํ า หนดรู ว า ขวาย า ง ซ า ยย า ง หรื อ ย า งหนอๆๆ
นอกนั้ น กํ า หนดรู ต ามสภาวะ ขณะยื น รั บ บาตรกํ า หนดรู ว า ยื น หนอๆๆ
ขณะที่เปดฝาบาตร กําหนดรูวา เปดหนอๆๆ ขณะที่โยมใสบาตรใหมองแตใน
บาตร อยามองหนาโยม ขณะเห็นมือ-อาหาร กําหนดรูวา เห็นหนอๆๆ ถา
รู สึ กชอบใจ กํา หนดรู ว า ชอบหนอๆๆ ขณะป ด ฝาบาตรกํา หนดรู ว า ป ด
หนอๆๆ แลวเดิน ตอไป ขณะเท-ถายอาหารใสถุง ใหกําหนดรูตามสภาวะ
ความเปนจริง อยาใหขาดสติ ขาดการกําหนดรู
เมื่อเดินกลับมาถึงแลว ใหเอาอาหารเทใสกะละมัง เลือกอาหารที่เรา
จะฉัน โดยกําหนดดังนี้ ขณะเห็นถุงอาหารกําหนดรูวา เห็นหนอๆ ขณะยื่น
๔๖๙
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
มื อ ไปหยิ บ อาหารหรื อ ข า ว กํ า หนดรู ว า ไปหนอๆๆ ขณะมื อ ถู ก ถุ ง ข า ว-
อาหาร-ผลไม-ขวดน้ํา กําหนดรู วา ถูกหนอ ขณะจับ กําหนดรูว า จั บหนอ
ขณะนําอาหารมากําหนดรูวา มาหนอๆๆ ขณะใสลงในบาตร หรือถุงกําหนด
รูวา ใสหนอๆๆ เปนตน ขณะเดินไปกําหนดรูวา ขวายางหนอ ซายยางหนอ
จนถึงหอง ตอจากนี้จะเปลื้องจีวรเตรียมอาหารและของใช หรือทํากิจอยาง
อื่นทุกๆ อยาง ตองกําหนดรูตามความจริง อยาปลอยใหขาดสติเปนอันขาด
การลางบาตร เมื่อฉันอิ่มแลว ขณะเก็บของใชตางๆ หรือเก็บกวาด
สถานที่ก็ตองมีสติกําหนดรูดวย อยาใหขาดสติกําหนดรู การล างบาตรให
กําหนดรูตามความเปนจริงของสถานที่ บางแหงอาจใชกอกน้ํา บางแหงอาจ
ใชตักมาจากโอง โดยการรูตามอาการเคลื่อนไหวของมือทุกขณะที่เคลื่อน

๔๗๐
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔

๗. ประวัติผูบรรลุธรรม
ประวัติและการบรรลุธรรมของพระอานนทเถระ
พระอานนท เดิมเปนเจาชายชาวสักกะ เปนพระโอรสของเจาอมิโตท
นะ พระอนุ ชาในพระเจ าสุ ทโธทนะ แห ง แคว น สั ก กะ ท า นประสู ติ ที่ พ ระ
ตําหนักของพระบิด า คัมภี รมธุรัต ถวิ ลาสินีร ะบุ วาทานประสูติ วันเดีย วกับ
เจาชายสิทธัตถะ เมื่อพระพุทธเจาประทับที่อนุปยนิคมของพวกมัลลกษัตริย
เจ า อานนท ไ ด ต ามเสด็ จ พระเจ า ภั ท ทิ ย ะ เจ า อนุ รุ ท ธะ เจ า ภคุ เจ า กิ
มพิละ และเจาเทวทัต กับอุบาลีซึ่งเปนชางกัลบก ออกบวชพรอมกัน เมื่อได
เขาเฝาพระพุทธเจาแลว เจาชายทั้ง ๖ พระองค กราบทูลขอใหบวชอุบาลี
กอน เจาชายบวชภายหลังจะไดลุกตอนรับ ทําอัญชลีกรรม สามีจิกรรมแก
เขา เพื่อเปนการลดความถือตัววาเปนเจาศากยะ พระพุทธเจาทรงจัดการ
ตามพระประสงคของเจาศากยะ โดยใหพระเวลัฏฐสีสะเปนอุปชฌายของ
พระอานนท
ในอานันทสูตร พระอานนทกลาวกับภิกษุทั้งหลายวา เมื่อทานบวช
แลวไดไมนาน ก็ไดไปฟงพระธรรมเทศนาของพระปุณณมันตานีบุตร กลาว
สอนดวยโอวาท ดังนี้
ความคิ ด ว า "เรามี เราเป น " มี ไ ด เ พราะความยื ด ถื อ รู ป เวทนา
สัญญา สังขาร และวิญญาณ หามีเพราะความไมยึดไมถือ เปรียบเสมือนหญิง
สาวหรือชายหนุมผูรักสวยรักงาม เมื่อมองดูเงาหนาใน กระจกหรือภาชนะ
อันใส ก็มองดูดว ยความยึดถือ ไมใชมองเพราะความไมยึดถือ รูป เวทนา
สั ญ ญา สั ง ขารและวิ ญาณ นั้ น อย า งใดอย างหนึ่ งที่ มี ใ นอดี ต หรื อป จ จุ บั น
ภายในหรื อภายนอก หยาบหรื อละเอีย ด เลวหรื อประณีต ไกลหรื อ ใกล
เหลานั้นทั้งหมด ไมใชของเรา เราไมเปนเชนนั้น ภิกษุผูเห็นอยางนั้น ยอม
เบื่ อ หน า ย คลายความกํ า หนั ด หลุ ด พ น และย อ มรู ว า ชาติ สิ้ น แล ว
พรหมจรรย อยูจ บแล ว กิจที่ควรทําก็ได ทําเสร็ จแล ว กิจอื่นเพื่อความเป น
อยางนี้ไมมีอีกแลว๔๗ จากนั้น ทานพระปุณณมันตานีบุตรไดถามทานวา รูป
๔๗
ส.ข. (ไทย) ๑๗/๘๓/๑๔๒.
๔๗๑
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เที่ยงหรือไมเที่ยงทานตอบวา ไมเที่ยง และ
ในตอนสุดทายของการสอนธรรมครั้งนี้ ทานก็ไดตรัสรูธรรม บรรลุโสดาปตติ
ผล สําเร็จเปนพระโสดาบัน
หลั ง จากบรรลุ โ สดาบั น แล ว พระอานนท ไ ด ม ารั บ หน า ที่ “พุ ท ธ
อุปฏฐาก” ปรนนิบัติพระพุทธเจาอยางดี จนไดรับการยกยองจากพระพุทธ
องควาเปนเอตทัคคะผูเลิศกวาพระภิกษุสาวกทั้งหลาย ๕ ประการ คือ เปน
พหูสูต (ทรงจําพุทธวจนะไดมากที่สุด) เปนผูมีสติ เปนผูมีคติ เปนผูมีมีธิติ
(ความเพียร) และเปนพุทธอุปฏฐากผูเลิศ๔๘
เมื่อพระพุทธเจ าปรินิพพาน ภายหลังจากพิธีถวายพระเพลิงพระ
พุทธสรีระแลว พระมหากัสสปเถระเจาไดดําริจะใหมีการทําปฐมสังคายนา
พระธรรมวินัย ขณะนั้นพระอานนทยังไมไดเปนพระอรหันต ครั้นจะเลือก
ทานพระอานนทก็เกรงจะถูกครหาวา “เห็ น แกห นา” เพราะทานรั กพระ
อานนทมาก แตครั้นจะเลือกภิกษุอื่นไมเลือกพระอานนท ก็เกรงวาการทํา
สั ง คายนาครั้ ง นี้ จั ก ไม สํ า เร็ จ ผลด ว ยดี เพราะพระอานนท เ ป น ธรรม
ภั ณ ฑาคาริ ก จึ ง ได ร ะบุ ชื่ อ พระเถระอื่ น ๆ ๔๙๙ รู ป แล ว นิ่ ง เสี ย ต อ เมื่ อ
พระสงฆลงมติวาพระอานนทควรจะเขารวมทําสังคายนาครั้งนี้ดวย ทานจึง
ไดรับเขาเปนคณะสงฆผูจะทําสังคายนา ครบจํานวน ๕๐๐ รูป
กอนถึงเวลาประชุมทําสังคายนาพระธรรมวินัย ๑ วันเทานั้น พระ
อานนทไดทําความเพียรอยางหนัก ดวยการเจริญกายคตาสติ มีกําหนดการ
เคลื่อนไหวแหงอิริยาบถเดินจงกรมอยูภายนอกวิหาร เมื่อไมสามารถที่จะ
บรรลุคุณวิเศษไดแลว จึงคิดถึงพระดํารัสที่พระพุทธเจาตรัสวา “อานนท เธอ
เปนผูที่ไดทําบุญไวดีแลว จงหมั่นประกอบทําความเพียรเถิด จักเปนผูหาอา
สวะมิได โ ดยฉับ พลั น ”๔๙ ธรรมดาว าโทษแห งพระดํ ารั ส ของพระพุทธเจ า
ทั้งหลายยอมไมมี เราคงปรารภความเพียรมากเกินไปกระมัง จึงเปนเหตุให

๔๘
เสถียรพงษ วรรณปก, พุทธสาวก พุ ทธสาวิกา, พิมพครั้งที่ ๒,
(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพพระพุทธ ศาสนาของธรรมสภา, ๒๕๕๕), หนา ๕๑-๕๒.
๔๙
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๐๗/๑๕๕.
๔๗๒
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
จิตฟุงซาน ดังนั้น เราจึงควรประกอบความเพียรใหสม่ําเสมอ ครั้นดําริอยาง
นี้ แลวจึงลงจากที่จงกรมเดินไปลางเทา แลวเขาไปสูวิหารนั่งบนเตียง ดวย
ความคิดวาจักพักผอนสักหนอยหนึ่งกอน จึงไดเอนกายลงบนเตียง เทาทั้ง
สองพนจากพื้น ศีรษะยังไมทันถึงหมอน เวนจากอิริยาบถ ๔ ไดแก ไมนั่ง ไม
ยืน ไมเดิน ไมนอน ในระหวางอิริยาบถ คือ ไดกําหนดอิริยาบถยอยดวยการ
เจริญสัมปชัญญะบรรพ ขณะนั้นเอง จิตก็หลุดพนจากอาสวะทั้งหลาย ดวย
การไมยึดมั่นในอุปาทาน เพราะมีการปรับอินทรียใหเสมอกัน จึงสําเร็จเปน
พระอรหันตพรอมดวยปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข ๘ และ อภิญญา ๖๕๐
ครั้นถึงเวลาประชุมทําสังคายนา พระมหาเถระรูปอื่นๆ ก็พากันไป
ยังธรรมสภา ณ ถ้ําสัตตบรรณคูหา เขตเมืองราชคฤหกันอยางพรอมเพรียง
และตางรูปตางก็นั่งอยู ณ อาสนะแหงตนๆ แตอาสนะของพระอานนทยังวาง
อยู เพราะทานพระอานนทคิดใครจะประกาศใหพระมหาเถระทั้งหลายได
ทราบวา ทานไดสําเร็จเปนพระอรหันตแลว จึงไมไดไปพรอมกับพระเถระ
อื่นๆ เมื่อกําหนดกาลเวลาพอเหมาะแลว ทานจึงแทรกดินลงไปและผุดขึ้น ณ
อาสนะแหงตน แตบางทานกลาววาทานเหาะไปทางอากาศตกลงบนอาสนะ
ของทาน
หลักธรรมที่สนับสนุนการบรรลุธรรมของพระอานนทเถระ
หลักธรรมที่ทําใหพระอานนทเถระไดสําเร็จเปนพระอรหันต ไดแก
องคธรรมที่มีสวนประกอบสําคัญ คือ ใหมีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ ได
ดวยเจริญกายคตาสติ ในหมวดกายา-นุปสสนาสติปฏฐาน ทานสําเร็จเปน
พระอรหันตดวยกําหนดอิริยาบถยอย ดวยการเจริญสัมปชัญญะบรรพ เวน
จากอิริยาบถ ๔ ไดแก ไมนั่ง ไมยืน ไมเดิน ไมนอน

๕๐
พระวีระพงษ วีรว โส (ภูงามดี), “ศึกษาการปฏิบัติวิปสสนาภาวนาตาม
แบบธัมมุทธัจจนัย: เฉพาะกรณีการบรรลุธรรมของพระอานนท”, วิทยานิพนธพุทธ
ศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๕๖), หนา ๗๙.
๔๗๓
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ประวัติและการบรรลุธรรมของพระปฏาจาราเถรี
ปฏาจาราเปนธิดาเศรษฐีชาวเมืองสาวัตถี เปนที่รักเปนที่หวงแหน
ของบิดามารดามาก ไมยอมใหคบหาสมาคมกับบุรุษ ถึงกับสรางปราสาท ๗
ชั้นใหนางอยู จะไปไหนทีตองขออนุญาต ทําใหนางรูสึกอึดอัดมาก จนใน
ที่สุด นางเกิดความรักกับคนใชในบาน มีความสัมพันธ กันลั บๆ โดยที่บิด า
มารดาไมทราบ เมื่อทราบวามารดาบิดาจะใหแตงงานกับลูกชายเศรษฐีที่มี
ฐานะเทาเทียมกัน นางก็นัดแนะกับชายคนรักหนีออกจากบานไปอยูชนบท
หางไกล ทนอยูอยางอดๆ อยากๆ เพราะอานุภาพแหงความรัก ไมนานก็ตั้ง
ทองลูกคนแรก
เมื่ อ ใกล จ ะคลอดนางนึ ก ถึ งบิ ด ามารดา คิ ด ว า “ถา คลอดลู ก
ทามกลางบิดมารดาญาติพี่นอง คงจะอบอุนและปลอดภัย” จึงขอรองใหสามี
พากลับบาน สามีกลัวความผิดของตนเองเกรงวาจะถูกเศรษฐีทํารายไมยอม
ใหอภัย จึงบายเบี่ยงไมยอมพานางกลับ เมื่อสามีไมอยูบาน วันหนึ่งนางก็หนี
กลับบาน ระหวางทางเกิดปวดทองรุนแรงและคลอดลูกในระหวางทางนั้น
สามีตามมาทันจึงพากลับบานตามเดิม
ครั้งตั้งทองคนที่สอง นางก็ออนวอนสามีใหพากลับบานอีก สามีก็
บายเบี่ยงเชนเคย นางจึงพากลูกหนีสามีไปอีก สามีตามมาทัน บังเอิญวาวัน
นั้นเกิดพายุฝนกระหน่ํา สายน้ําหลากมาก สามีไปหาใบไมมาทําเพิงหลบฝน
แตเคราะหรายถูกงูกัดตาย ในขณะที่รอสามีมานางก็คลอดลูกคนที่สองใน
ทามกลางฝนตกหนัก นางตองทนทุกขทรมานตลอดคืน
เมื่อสวางแลวนางไดอุมลูกนอยที่พึ่งคลอดใหมและจูงลูกชายคนโต
เดินตามหาสามี เมื่อทราบวาสามีตายแลวก็เกิดรองไหเสียใจพาลูกกลับเมือง
สาวัตถี พบกระแสน้ําไหลเชี่ยวขวางทางอยู ครั้งจะพาลูกทั้งสองขามน้ําไป
พรอมกันก็ไมได จึงวางลูกชายคนโตใหรออยูฝงนี้ แลวอุมเอาลูกคนเล็กขาม
น้ําไปวางไวที่ฝงโนน กลับมาเพื่อจะรับลูกคนโตขามน้ํา พอไปถึงกลางลําธาร
ไดมีเหยี่ยวใหญตัวหนึ่งเห็นเด็กนอยพึ่งคลอดเขาใจวาเปนชิ้นเนื้อจึงโฉบลงมา
นางรีบยกมือทั้งสองขึ้นรองตะโกนไลเหยี่ยวเสียงดังลั่น สายเสียแลว เหยี่ยว
ไดโฉบเอาลูกนอยของนางไปตอหนาตอตา ฝายลูกชายคนโตเห็นแมยกมือ
๔๗๔
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ขึ้น ร อง นึ กว า แมร องเรี ย ก ก็กระโจนลงน้ํ าจะมาหาแม ถูกกระแสน้ํ าพั ด
หายไปในบัดดล ปฏาจาราไดสูญเสียทุกอยางหมดสิ้น สามีตายในระหวาง
ทาง ลูกชายคนหนึ่งถูกเยี่ยวโฉบไป อีกคนถูกน้ําพัดไป ชีวิตมันชางโหดราย
อะไรเชนนี้ นางรองไหคร่ําคราญอยางนาสงสารไปตลอดทาง
ระหวางเดินทางมุงหนาไปเมืองสาวัตถี พบชาวเมืองคนหนึ่งเดินสวน
ทางมา นางจึงถามถึงบิดามารดาของตน เมื่อไดรับคําตอบวาเมื่อคืนนี้ฝนตก
หนักไดพัดกระหน่ําบานเศรษฐีพังทับคนในบาน บิดามารดาและพี่ชายของ
ตนไดตายหมดแลว เทานั้น สติที่พอมีอยูบางก็ขาดผึ่งทันที นางลมลงสิ้นสติ
ไปทันที ฟนขึ้นมาอีกทีก็กลายเปนคนเสียสติเดินวนเวียนไปอยางไรจุดหมาย
จนผ าผ อนที่นุ งอยู ห ลุ ดหายไปไมรู สึ กตั ว ชาวเมืองเห็ น นางก็ไล ต ะเพิด ว า
“หญิงบาไปที่อื่นๆ ไป” ไมมีใครปรารถนาใหนางเขาใกล ถาใครสักคนรู
เบื้ อ งหลั ง ของนาง คงจะสงสารนางไม ก ล า ไล เ ป น แน แ ท นางเดิ น
สะเปะสะปะ หัวเราะบางรองไหบางเขาไปยังวัดเชตวัน
ขณะนั้นพระพุทธเจากําลังแสดงธรรมเทศนาอยู อุบาสกอุบาสิกา
ตางก็ออกปากไลนางใหหนีไป พระพุทธองคตรัสอนุญาตพวกเขาใหนางเขา
มา พรอมกับตรัสเตือนสติวา “นองหญิง จงกลับไดสติเถิด” นางไดสติคืนมา
เห็นตัวเองเปลือยกายลอนจอนตอหนาธารกํานัล ก็นั่งลงดวยความละอาย
อุบาสกคนหนึ่งไดโยนผาใหนางนุงห ม นางเขาไปกราบแทบพระยุคลบาท
กราบทูลพลางร่ําไหไปพลาง ถึงเหตุการณที่เกิดขึ้นกับนาง นางกลายเปนคน
ไรญาติขาดมิตรไปแลว
พระพุทธองคตรั สวา “อย าคิดมากเลยปฏาจารา สามี ลู กทั้งสอง
บิดา มารดา และพี่ชายของเธอก็ตายไปแลว ถึงเธอจะรองไหจนน้ําตาทวมตัว
เธอก็ชวยใหเขาเหลานั้นฟนขึ้นมาไมได น้ําตาของผูที่รองไหเพราะรักวิปโยค
ในสังสารวัฏอันยาวนานนี้ ถาจะวัดกันแลว มีมากกวาน้ําในมหาสมุทรทั้งสี่
เสียอีก เธออยาไดมัวประมาทอยูเลย จงทําที่พึ่งแกตัวเองเถอะ แลวเธอจะไม
ตองเสียน้ําตาอีกตอไป ปยชนคนที่เรารักทั้งหลาย มีบิดามารดาเปนตน ไม
อาจเปนที่พึ่งแกเราไดดอก นอกจากเราตองพึ่งตัวเราเอง” เมื่อไดฟงพระ
ดํ า รั ส ตรั ส ปลอบโยน นางก็ ค อ ยบรรเทาความเศร า โศกลง จิ ต ใจสงบ
๔๗๕
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ผ อ งใส ฟ งพระธรรมเทศนาจบได บ รรลุ โ สดาป ต ติ ผ ล จึ ง ทู ล ขอบวชเป น
ภิกษุณี พระพุทธองคไดสงเธอไปบวชในสํานักภิกษุณี
เมื่อบวชแลว ในวันหนึ่ง พระเถรีเทน้ําจากหมอดินลางเทา มองเห็น
น้ํ า ไหลไปหน อ ยหนึ่ ง แล ว ซึ มหายไปในดิ น เทลงครั้ ง ที่ส องน้ํ าไหลไปไกล
กว าเดิ มแลว ก็ซึมหายไป เทลงครั้ งสามน้ําไหลไปไกลกว านั้ นอีกแล ว ก็ซึม
หายไป นางไดคิดวา “ชีวิตคนเราก็เหมือนกับน้ําที่เทออกจากหมอน้ํา บาง
คนตายแตอายุยังนอย บางคนตายเมื่อเขาวัยกลางคน บางคนตายในวันแก
ชรา ชีวิตนี้ไมแนนอน” ทันใดนั้นก็มีแสงสวางวาบ พระพุทธองคปรากฏตอ
หนานางตรัสวา “ปฏาจารา เธอคิดถูกแลว การมีชีวิตอยูเพียงวันเดียวของ
คนที่พิจารณาเห็นความเกิดดับแหงเบญจขันธ ประเสริฐกวาการมีชีวิตอยูตั้ง
รอยปของคนที่มองไมเห็นสัจจะขอนี้” เมื่อจบพระธรรมเทศนา พระปฏาจา
ราเถรีไดบรรลุพระอรหันตพรอมปฏิสัมภิทา (คือ ความรูแตกฉานในธรรม ๔
อยาง ไดแก ในเหตุ ๑ ในผล ๑ ในภาษา ๑ ในปฏิภาณ ๑)
พระเถรี ไ ด รั บ ยกย อ งจากพระพุ ท ธองค ใ นตํ า แหน ง เอตทั ค คะ
ทางดานเปนผูเครงครัดในพระวินัยอยางยิ่ง ประสบการณชีวิตเบื้องหลังชีวิต
ของนางกลายเปนประโยชนแกนางในการเผยแผพระพุทธศาสนา นางได
นําเอาประสบการณไปสอนภิกษุณีและสตรี ทั้งหลายไดเ ปนอยางดี จึ งมัก
ปรากฏวามีเหลาสตรีผูมีปญหาชีวิตมาขอคําแนะนําจากนางเปนจํานวนมาก
ชีวิ ต ของพระปฏาจาราเถรี จึ งเป น ชีวิ ต ที่น าศึกษาและเปน กําลั งใจแกผู ที่
กําลังประสบความทุกขอยางใดอยางหนึ่งใหยืนหยัดตอสูตอไป
หลักธรรมในการบรรลุธรรมของพระปฏาจาราเถรี
๑. คนเราโดยธรรมชาติเมื่อไดรับสิ่งสะเทือนใจอยางรุนแรง ไมวาจะ
เปนเหตุใด ยอมมีความทรงจําติดอยูในใจตลอดเวลา เมื่อมองสิ่งใดมักอด
หวนระลึกถึงเรื่องในอดีตนั้นไมได บางคนอดกลั้นน้ําตาไวไมอยูตองรองไห
ออกมา เชนเดียวกับภิกษุณีป าฏาจารา เมื่อนางเห็น น้ําที่ไหลก็ทําใหหวน
คิดถึงอดีตลูกๆ สามี พอแมและพี่ชายที่ตองมาตายจากไปในเวลาที่ไลเลี่ยกัน
เปนความสะเทือนใจที่ไมอาจลืมเลือนได แตนางเอาภาพการไหลของน้ําที่
เห็นนั้นมาพิจารณาเปนธรรมานุสติ โดยอาศัยอดีตที่เจ็บปวดมาเทียบเคียง
๔๗๖
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
๒. ลั ก ษณะการบรรลุ ธ รรมของภิ ก ษุ ณี ป ฏาจารา ใช วิ ป ส สนา
กรรมฐานเป น ตั วนํ า ในอิริ ยาบถเทน้ํ าจากหมอดิ นล างเทา แล ว พิจารณา
ธรรมารมณที่เกิดขึ้นเมื่อตากระทบรูป คือ น้ําที่ไหลออกไป เมื่อมีสติกําหนด
พิจ ารณาโดยอาศัย การพิจ ารณาใคร ครวญสภาวธรรมที่เ กิด ขึ้น องคแห ง
โพชฌงค ๗ จึงเกิดขึ้นและบริบูรณเต็มที่จนสามารถบรรลุอรหัตตผลในที่สุด
ประวัติและการบรรลุธรรมของสามเณรสังฆรักขิต
ป จ จยสั น นิ ส สิ ต ศีล นั้ น ชื่ อว า มีป ญญาเป น เหตุ ใ ห สํ าเร็ จ เพราะผู
ปญญาจึงจะสามารถมองเห็นโทษแลอานิสงสของปจจัยทั้งหลายได เพราะ
เหตุ นั้ น ภิ ก ษุ พึ ง ละความกํ า หนั ด ยิ น ดี ใ นป จ จั ย แล ว พึ ง พิ จ ารณาป จ จั ย
ทั้ง หลายอัน เกิด ขึ้ น โดยธรรมสม่ํา เสมอ ด ว ยวิ ธี ดั ง ได พ รรณนามาแล ว จึ ง
บริโภค พึงทําปจจยสันนิสสิตศีลใหสําเร็จดวยปญญาเถิด
การพิจาณาปจจัยทั้งหลายในปจจยสันนิสสิตศีลนั้นมี ๒ อยาง คือ
พิจารณาในเวลารับ ๑ พิจารณาในเวลาบริโภค ๑ อธิบายวา ปจจัยทั้งหลาย
มีจีวรเปนตน ที่ซึ่งไดพิจารณาดวยสามารถแหงความเปนธาตุหรือความเปน
ของปฏิกูลแมในเวลารับแลวเก็บไว เมื่อภิกษุบริโภคเลยเวลาจากการรับนั้น
ไปการบริโภคก็หาโทษมิไดเลย การบริโภคแมในการเวลาบริโภคก็หาโทษ
มิไดเหมือนกัน
การบริโภค ๔ ไดมีการแสดงถึงการบริโภคปจจัยทั้ง ๔ ไววามี ๔
อยาง คือ
๑. เถยยบริ โ ภค แปลว า การบริ โ ภคของผู ที่ ทุศีล ซึ่ งเป น เหมือ น
อยางวามา ขโมยของสงฆไปบริโภค ก็เพราะวาวัดวาอารามที่สรางขึ้น กุฏิ
วิหารที่สรางขึ้น ปจจัยทั้งหลายมีอาหาร ผานุงหม ยาแกไข และอื่นๆ ที่เขา
ถวายทั้ ง หมดนั้ น ผู มี ศ รั ท ธาต อ งการถวายผู ที่ มี ศี ล ตั้ ง ใจรั ก ษาศี ล
เพราะฉะนั้น เมื่อเปนคนทุศีล คือศีลชั่ว ศีลขาด ศีลดางพรอย ไมตั้งใจ
ปฏิบัติ ศีลใหดี มาครองผาเหลืองแลวมาอยูกุฏิที่เขาถวาย ฉันอาหารที่เขา
ถวาย อะไรเหลานี้เปนตน ก็เทากับวามาขโมยของสงฆบริโภค จึงชื่อวาเถยย

๔๗๗
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
บริโภค บริโภคโดยความเปน ขโมย หมายความวา ผูทุศีลมาบริโภค ใชสอย
ของสงฆของวัดของที่เขาถวายดวยศรัทธา
๒. อิณบริโภค บริโภคโดยเปนหนี้ ก็หมายความวาถึงแมวาไมใช
เปนผูที่ทุศีล เหมือนอยางนั้นปฏิบัติดีอยูในศีล แตวาในขณะที่รับก็ดี บริโภค
ก็ดี บริโภคแลวมิไดพิจารณาในสิ่งที่ไมไดพิจารณาในขณะที่บริโภคก็ดี ก็ชื่อ
วาบริโภคโดยความเปนหนี้ คือเหมือนอยางวากูยืมทรัพยสินเขามาบริโภค
๓. ทายัช ชบริโ ภค บริ โภคโดยความเปนทายาท ทานแกไว สูงว า
เปนการบริโภคของพระเสขะทั้ง ๗ คือ พระอริยบุคคล ๗ จําพวก ตั้งแต
พระผู ตั้งอยูในโสดาปต ติมรรค จนถึงพระผู ตั้งอยูในอรหัต ตมรรค แตเ มื่อ
พิจ ารณาดูแลว แมวาจะยังมิใชเ ปน พระเสขะ แตว าเป นผู ที่ตั้ งใจปฏิบั ติ ดี
ปฏิบัติชอบตามบทพระสังฆคุณ หรือปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรคผลนิพพาน เพื่อ
ทําทุกขใหสิ้นไป ดังนี้ก็เปนทายัชชบริโภค บริโภคโดยความเปนทายาทได
คือพระเสขะ ดังกลาวก็ดี สรุปเอาทานที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ คือบวชมาแลวก็
ตั้งใจปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ตั้งใจศึกษาเลาเรียน ตั้งใจปฏิบัติใน ศีล สมาธิ
ปญญา หรือไตรสิกขา อยูเพื่อความสิ้นทุกขตามกําลังสามารถ ก็ชื่อวาเปน
ทายาทของพระพุทธเจา เมื่อเปนทายาทของพระองคที่เปนสมณศากยบุตร
เปนบุตรของพระพุทธเจา ก็มีสิทธิ์ที่จะบริโภคใชสอยทรัพยสมบัติของบิดาได
๔. สามิบริโภค บริโภคโดยความเปนเจาของ ทานแสดงไวอยางสูง
ก็คือว า การบริ โ ภคของพระอรหั น ตขีณาสพผู สิ้ นอาสวะแล ว การบริ โ ภค
ปจจัยทั้ง ๔ ที่เขานํามาถวายนั้น เปนการบริโภคอยางเปนเจาของโดย
แท เพราะทานเปนผูที่บริสุทธิ์ดวยประการทั้งปวง
ทานแสดงการบริโภคไว ๔ ประการ ดั่งนี้ ก็เพื่อเปนเครื่องเตือนใจ
ของพระเณรทั้งหลายใหมีความสํานึกรูอยู เพื่อจะไดตั้งใจปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ
และในขณะที่ บ ริ โ ภคก็ ใ ห พิ จ ารณาตามที่ พ ระพุท ธเจ า ทรงสั่ ง สอน ไม ไ ด
พิจารณาใจขณะนั้นก็ใหพิจารณายอนหลัง คือพิจารณาถึงสิ่งที่ได บริโภคไป
แลว รวมความก็เปนอยางเดียวกัน
เพราะเหตุนั้น จีวรจึงพิจารณาในทุกๆ ขณะที่บริโภค บิณฑบาตพึง
พิจารณาในทุกๆ คําขาว เมื่อภิกษุไมส ามารถปฏิบั ติอยางนั้นในเวลากอน
๔๗๘
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
อาหาร, หลั ง อาหาร, ในปุ ริ ม ยาม, มั ช ฌิ ม ยาม และป จ ฉิ ม ยาม ถ า ไม ไ ด
พิ จ ารณาเลย ปล อ ยให อ รุ ณ ขึ้ น ภิ ก ษุ นั้ น ชื่ อ ว า ย อ มตั้ ง อยู ใ นฐานะเป น
อิณบริโภค แมเสนาสนะก็พึงพิจารณาในทุกๆ ขณะที่บริโภค สําหรับเภสัช
เมื่อมีส ติ เ ป น ป จ จั ย ทั้งในขณะรั บ ทั้งในขณะบริ โ ภคจึ งจะควร แมเ มื่อเป น
เช น นี้ เมื่ อภิ ก ษุทํา สติ ใ นขณะรั บ แล ว บริ โ ภคไมได ทําอี กเป น อาบั ติ ไมทํ า
ในขณะรับแตทําในขณะบริโภคไมเปนอาบัติ
การบริ โภคป จ จัย ของพระเสกขบุ คคลทั้งหลาย ๗ จํ าพวก ชื่อว า
ทายัชชบริโภค จริ งอยู พระเสกขบุ คคลเหลานั้นเปนพระบุตรของพระผู มี
พระภาค เพราะเหตุนั้น พระเสกขบุคคลเหลานั้นยอมบริโภคปจจัยทั้งหลาย
โดยฐานะเปนทายาทแหงปจจัยทั้งหลาย อันเปนสมบัติของพระบิดา
ถาม – ก็พระเสกขบุคคลเหลานั้น บริโภคปจจัยทั้งหลายของพระผู
มีพระภาคหรือ? ไมใชบริโภคปจจัยทั้งหลายของคฤหัสถดอกหรือ?
ตอบ – แมปจจัยทั้งหลายอันพวกคฤหัสถถวายแลว ก็จัดเปนของ
แหงพระผูมีพระภาค เพราะเปนสิ่งอันพระผูมีพระภาคอนุญาตไว เพราะเหตุ
นั้ น นั ก ศึ ก ษาพึ ง ทราบว า พระเสกขบุ ค คลทั้ ง หลายย อ มบริ โ ภคป จ จั ย
ทั้งหลายของพระผูมีพระภาค อนึ่ง ธัมมทายาทสูตร๕๑ เปนเครื่องสาธกใน
อธิการนี้
การบริโภคของพระขีณาสพทั้งหลาย ชื่อวา สามิบริโภค จริงอยู
พระขีณาสพเหลานั้นชื่อวาบริโภคเปนนาย เพราะลวงพนความเปนทาสของ
ตัณหาไป
ในการบริโภคเหลานี้ สามิบริโภค ๑ ทายัชชบริโภค ๑ ยอมสมควร
แกพระอริยะและปุถุชนทั้งหมด อิณบริโภคไมสมควรทั้งหมด ในเถยยบริโภค
ไมจํามีอันพูดถึงกันละ อนึ่ง บริโภคที่ไดพิจารณาแลวของภิกษุผูมีศีลใด การ
บริโภคนั้นจัดเปนการบริโภคที่ไมเปนหนี้ เพราะเปนขาศึกแกการบริโภคเปน
หนี้ หรือจะจัดสงเคราะหเขาในทายัชชบริโภคนั้นแหละก็ดี จริงอยู แมภิกษุผู
มีศีลก็ยอมถึงซึ่งอันนับเปนเสกขะไดเหมือนกัน เพราะเปนผูประกอบดวยศีล

๕๑
ม.ม. (ไทย) ๑๒/๒๙-๓๓/๒๗/๓๓.
๔๗๙
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
สิ กขานี้ อนึ่ ง ในบรรดาบริ โ ภค ๔ อย างนี้ เพราะสามิ บ ริ โ ภคจั ด เป น การ
บริโภคชั้นยอด ฉะนั้น อันภิกษุเมื่อปรารถนาซึ่งสามิบริโภคนั้น พึงพิจารณา
ดวยวิธีพิจารณาอันมีประการดังกลาวมาแลวจึงบริโภค พึงยังปจจยสันนิสสิต
ศีลใหสําเร็จเถิด ก็แหละ เมื่อภิกษุกระทําใด ดังกลาวมานี้ ยอมจัดวาเปนกิจ
จการีผูมีปกติกระทํากิจ สมดวยนิพนธพจนอันบัณฑิตประพันธไววา:-
“พระสาวกผูมีปญญาอันประเสริฐไดสดับธรรมอันพระสุคตเจาทรง
แสดงแลว พึงพิจาณากอนถึงเสพ บิณฑบาต, วิหาร, ที่นอน, ที่นั่ง และน้ํา
สําหรับซักลางธุลีจับผาสังฆาฏิ เพราะเหตุนั้นแหละ ภิกษุจึงเปนผูไมติด
ในปจจยธรรมเหลานี้ คือ บิณฑบาต, ที่นอน, ที่นั่ง และน้ําสําหรับซักลางธุลี
จับผาสังฆาฏิ เหมือนหยาดน้ําไมติดในใบบัว ฉะนั้นภิกษุนั้น ครั้นไดอาหาร
โดยการอนุเคราะหจากคนอื่น ตามกาลแลวพึงเปนผูมีสติตั้งมั่นติดตอกันไป
รูจักประมาณในของเคี้ยว ของฉัน และของลิ้มเลียทั้งหลายเหมือนคนไขรูจัก
ประมาณในการทาแผลและพอกยา ฉะนั้ น ภิ ก ษุพึ งเป น ผู ไ มห ลงติ ด ฉั น
อาหารเพียงเพื่อยังอัตภาพและเหมือนพอคาเกวียนหยอดน้ํามันเพลาเกวียน
ฉะนั้น”
อนึ่ง ในความเปนผูกระทําปจจยสันนิสสิตศีลนี้ใหบริสุทธิ์ นักศึกษา
พึงเลาเรื่อง สามเณร สังฆรักขิตผูหลาน ประกอบดวย จริงอยู สามเณรนั้น
พิจ ารณาโดยชอบแล ว บริ โ ภค สมดังคําประพัน ธ ที่ส ามเณรนั้ นกลาวไว ว า
“พระอุ ป ช ฌายะได ส อนข า พเจ า ซึ่ ง กํ า ลั งฉั น ข า วสาลี อั น เย็ น สนิ ท ว า พ อ
สามเณร เจาจงอยาเปนคนไมสํารวม เผาลิ้นตัวเองเสียนะ ขาพเจาไดฟงคํา
สอนของพระอุปชฌาย ก็ไดความสังเวชในขณะนั้น นั่งอยูที่อาสนะเดียวได
บรรลุ พ ระอรหั ต แล ว ข า พเจ า นั้ น เป น ผู มี ค วามดํ า ริ เ ต็ ม สมบู ร ณ เหมื อ น
พระจันทรในวันเพ็ญ เปนผูมีอาสวะทั้งปวงหมดสิ้นแลวบัดนี้ภพไมมีอีกแลว
เพราะเหตุนั้น กุลบุตรแมอื่นปรารถนาความสิ้นไปแหงทุกข พึงพิจารณาโดย
แยบคายแลวจึงเสพปจจัยทั้งหลายเถิด”๕๒
หลักธรรมในการบรรลุธรรมของสามเณรสังฆรักขิต

๕๒
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค,๒๕๕๔), หนา ๖๑-๖๔.
๔๘๐
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
สามเณรสังฆรักขิตไดฟงคําสอนของพระอุปชฌายในขณะที่กําลังฉัน
ขาวสาลี สามารถมองเห็นโทษแลอานิสงสของคําขาวได พึงละความกําหนัด
ยินดีในคําขาวไดแลว พึงพิจารณาคําขาวทั้งหลายอันเกิดขึ้นโดยธรรมแลวจึง
บริ โ ภค สามเณรสั ง ฆรั ก ขิ ต จึ ง บรรลุ ธ รรมในขณะกํ า หนดอิ ริ ย าบถฉั น
(รับประทาน)

ผูบ รรลุธรรมขณะการกําหนดในอิริยาบถ
ในครั้ งพุทธกาลมีบุคคลที่ทําการเจริญสติกําหนดอิริย าบถปพพะ
แลวไดผลตางๆ กัน ซึ่งมีปรากฏในพระไตรปฎก อรรถกถา และธรรมบท มา
แสดงเพื่อเจริญศรัทธาปสาท เพิ่มพูนวิริยะ ปรับความเห็นตรงตอการปฏิบัติ
ธรรม ทําใหเกิดความมั่นใจ ปราศจากความลังเลสงสัย ไดรูผลที่ไดรับจริง จะ
แยกแสดงแตละอิริยาบถ คือ เดิน ยืน นั่ง นอน ตามลําดับ

ในอิริยาบถเดิน
พระจักขุปาลเถระ ทานเปนบุตรของคฤหบดีนามวามหาสุวรรณใน
เมืองสาวัตถี ญาติๆ ตั้งนามใหว า มหาปาละ มีนองชายนามวาจุ ลลปาละ
เพราะคฤหบดีไดไปบนบานตอรุกขเทวดา เมื่อเติบโตเจริญวัยแลวไดแตงงาน
จนกระทั่งตอมาผูเปนบิดามารดาชราภาพเสียชีวิตไป ทานไดสดับพระธรรม
เทศนาอนุปุพพีกถาจากพระศาสดา ซึ่งไดพรรณนาถึงทาน ศีล สวรรค โทษ
แหงกาม และอานิสงสแหงการออกบวช เมื่อฟงจบไดเกิดศรัทธาปสาทะใน
พระพุทธศาสนาจึงกราบทูลขอบวชแลวไดศึกษาวิปสสนาอยูในสํานักของ
พระพุทธองคเปนเวลา ๕ ป จากนั้นจึงกราบทูลลาไปปฏิบัติธรรมในปาพรอม
กับเพื่อนสหธรรมิก ๖๐ รูป โดยทานไดยึดหลักปฏิบัติอยางเครงครัดใน ๓
อิริยาบถ คือ ยืน เดิน นั่ง แตไมเอนกายนอนตลอดเวลา ๓ เดือนในพรรษา
จนไดบรรลุพระอรหัตตผลพรอมกับตาบอดทั้งสองขางในมัชฌิมยาม แลวเขา
สูหองไปนั่ง ทานจึงไดรับขนานนามวาพระจักขุปาลเถระ๕๓ มีความเห็นวา
๕๓
ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/-/๑-๒๕.
๔๘๑
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ทานนาจะบรรลุในอิริยาบถเดิน เพราะบรรลุนอกหองจึงนาจะเปนขณะที่อยู
ในอิริยาบถเดินจงกรม แลวจึงไดเขาไปในหองปฏิบัติตอไป
ในอิริยาบถยืน
พระสัปปทาส พระผูมีงูเปนทาส ทานไดฟงพระธรรมเทศนาแลวมี
ศรัทธาออกบวช ตอมาคิดจะลาสิกขา แตคิดวาความเปนคฤหัสถไมสมควร
และคิดจะตายในสมณเพศ จึงนั่งบนหมองูแลวเอามือเขาไปคนในหมองูนั้น
โดยอาปากงูเพื่อใหฉกกัด แตงูก็ไมยอมฉกกัด จึงไปที่วิหารหยิบเอามีดโกน
เตรี ย มจ อไว ที่ คอซึ่งยื น พาดไว บ นกิ่ งไม แต ขณะนั้ น ก็พิจ ารณาศีล ของตน
ตั้งแตอุปสมบทมาก็ไดเห็นวาตนนั้นมีศีลหมดจดปราศจากมลทิน ประหนึ่งวา
จันทรเพ็ญในราตรีที่ไมมีเมฆหมอกและประหนึ่งวาแกวมณีที่นายชางเจียรนัย
ไวอยางดี เมื่อขมปติไดแลวก็บรรลุอรหัตตผล เรื่องนี้อยูในธรรมบท อรรถ
กถา
ในอิริยาบถนั่ง
พระปญจวัคคีย เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจาตรัสรูแลวไดเสด็จไปโปรด
เหลาปญจวัคคีย โดยไดแสดงปฐมเทศนา “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” ณ ปา
อิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี พระโกณฑัญญะไดดวงตาเห็นธรรม
พระพุทธองคไดทรงเปลงพระอุทานวา “โกณฑัญญะไดรูแลวหนอๆ” พระ
โกณฑัญญะไดกราบทูลขออุปสมบทเปนภิกษุดวยเอหิภิกขุอุปสัมปทา เมื่อ
ปฏิบัติจนอินทรียแกกลาควรอบรมเจริญวิปสสนาเพื่อความหลุดพนแลว พระ
พุทธองคจึงทรงแสดงเทศนา “อนัตตลักขณสูตร” จนทานไดสําเร็จเปนพระ
อรหันตพรอมกัน๕๔
ในอิริยาบถนอน
พระโคธิกะ (ชีวิตสมสีสี) การปรินิพพานของพระโคธิกะเถระ ทาน
อยูใกลถ้ํากาฬสิลาขางภูเขาอิสิคิลิ เปนผูไมประมาท มีความเพียร มีตนสงไป

๕๔
ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/-/๘๒-๘๓.
๔๘๒
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ถูกตองเจโตวิมุตติเปนครั้งคราว เมื่อเสื่อมจากเจโตวิมุตติดวยอํานาจแหงโรค
เรื้อรัง ทานยังฌานใหเกิดขึ้นแลวก็เสื่อมถึง ๖ ครั้ง ในวาระที่ ๗ คิดวา “เรา
เสื่อมจากฌานถึง ๖ ครั้ง คติของผูมีฌานเสื่อมไมแนนอน เราจักนําศัสตรามา
คิดฆาตนเพราะเสื่อมจากฌาน” จึงถือมีดสําหรับปลงผม นอนบนเตียงนอย
เพื่อจะตัดกานคอ มารรูจิตของทานแลว คิดวา “ทานเปนผูหมดความอาลัย
ในชีวิต” ทานก็เริ่มตั้งวิปสสนาแลวบรรลุพระอรหันต๕๕
เวนจากอิริยาบถ ๔
พระอานนท มีความดําริวา “ในวันพรุงนี้จะมีการประชุม เรายังเปน
เสขะอยู ไมสมควรจะไป” แลวยับยั้งอยูดวยกายคตาสติตลอดราตรี ในเวลา
ใกลรุง เดินจงกรมอยูภายนอกก็ไมยังคุณวิเศษใหเกิดขึ้น จึงคิดวา “พระผูมี
พระภาคเจาตรัสแกเราวา เปนผูไดทําบุญไวแลว จงหมั่นประกอบความเพียร
จักเปนผูหาอาสวะมิไดโดยฉับพลัน๕๖ โทษแหงพระดํารัสของพระพุทธเจา
ทั้งหลายยอมไมมี เราปรารภความเพียรมากเกินไป จิตของเราจึงฟุงซาน เรา
จะประกอบความเพียรใหสม่ําเสมอ”ดังนี้ ลงจากที่จงกรม ลางเทาเขาไปสู
วิหารนั่งบนเตียง จักพักผอนสักหนอยหนึ่ง พอไดเอนกายลงบนเตียง เทาทั้ง
สองพนจากพื้น ศีรษะยังไมถึงหมอน จิตก็พนจากอาสวะทั้งหลายไมถือมั่น
ดวยอุปาทาน เมื่อมีผูถามวา “ในพระศาสนานี้ ภิกษุรูปไหน ไมนอน ไมนั่ง
ไมยืน ไมจงกรม ไดบรรลุพระอรหันต จะตอบวา “พระอานนทเถระ” ก็ควร
เรื่องนี้พระอาจารย ดร.ภัททันตะ อาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อัค
คมหากัมมัฏฐานาจริ ยะ ไดอธิ บ ายไวดั งนี้ ๕๗ “ภายหลั งที่ส มเด็ จ พระบรม
ศาสดาได เ สด็ จ ปริ นิ พ พานแล ว ๓-๔ เดื อ น ได มี ก ารประกอบพิ ธี ป ฐม
สังคายนา คือการชําระพระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธองค อันมีพระวินัย

๕๕
สํ.ส. (ไทย) ๑๕/๑๕๙/๒๐๕-๒๐๗.
๕๖
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๐๗/๑๕๔-๑๕๖.
๕๗
พระอาจารย ดร.ภัททันตะ อาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อัคคมหากัมมัฏฐา
นาจริยะ รจนา, ๑๐๐ ป อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ, พิมพครั้งที่ ๑, (บริษัทอมรินทรพ
ริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง,พ.ศ.๒๕๕๔), หนา ๒๔๐.
๔๘๓
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
เปนตน ในครั้งนั้นประกอบดวยพระสังคีติการกสงฆ ๕๐๐ องค ๔๙๙ องค
ลวนเปนพระอรหันตทั้งสิ้น สวนพระอานนทยังเปนพระโสดาบันอยู ดังนั้น
พระอานนท จึ ง ดํ า ริ จ ะทํ า วิ ป ส สนากรรมฐานให บ รรลุ เ พื่ อ เข า ร ว มการ
สังคายนาในฐานะพระอรหันต เวลาก็เหลือเพียงวันเดียว วันนั้นเปนวันแรม
๔ ค่ํา เดือน ๙ จึงไดเริ่มเจริญกายคตาสติ คือ กายานุปสสนาสติปฏฐาน ใช
จิตกําหนดกายวา ซายยางหนอ ขวายางหนอ จิตอยากกาว ในขณะกาวเปน
นามการกา วเป น รู ป ปรากฏเห็ น ชั ด ว า มี การ เกิ ด -ดั บ อยู ไม มีสิ้ น สุ ด ได
ปฏิ บัติ ตั้งแตกลางคืน จนเกือบจะรุงอรุ ณก็ห าไดเ กิดผลตอบสนองอะไรไม
พระอานนทจึงพิจารณาการเจริญวิปสสนาดวยความเพียรของตนวาไดเพียร
พยายามอยางเต็มที่แลว และสมเด็จพระบรมศาสดาก็ทรงมีพุทธพยากรณวา
จะไดถงึ พรอมดวยกุศลบารมีแลว จงหมั่นทําแตความเพียรเถิด จักสําเร็จเปน
พระอรหั น ต ในไมช าอย างแน นอน ทัน ใดก็นึ กได ว า แกความเพีย รเกิน ไป
สมาธิจึงออนอยู ทําใหเกิดความฟุงซาน (อุทธัจจะ) เมื่อระลึกไดอยางนั้น ก็
ใครจะปรุงวิริยะกับสมาธิใหเสมอกัน จึงตรงเขาหองนอนเพื่อพักผอน เปน
การคลายความเพียร พอลมตัวเทาพนพื้น ศีรษะไมถึงหมอนก็สําเร็จเปนพระ
อรหันตในขณะนั้น เปนมหัศจรรยยิ่งนัก ทานอรรถกถาจารยไดสดุดีความ
มหัศจรรยของพระอานนทในการสําเร็จเปนพระอรหันตวา ขณะนั้นเทาได
พนพื้นอยูในทาเอน จึงไมนับวาอยูในอิริยาบถยืน กายที่เอนเพื่อนอนนั้น ก็
นั บ ว า พน จากอิริ ย าบถนั่ ง และศีร ษะขณะเอนกายลงนั้ น ยั งไม ถึง หมอน
นั บ ว า พน จากอิ ริ ย าบถนอน ดั ง นั้ น นั บ ว า พระอานนท ไ ด สํ าเร็ จ เป น พระ
อรหันต โดยพนจากอิริยาบถ ๔ (คือ เดิน ยืน นั่ง นอน) และในฐานะที่ทาน
สํ า เร็ จ เป น พระโสดาบั น อยู แ ล ว ฉะนั้ น มรรคผลที่ เ หลื อ อี ก ๓ คื อ
สกทาคามิมรรคผล อนาคามิมรรคผล อรหัตตมรรคผล จึงสามารถบรรลุได
ในชั่วระยะเวลาอันสั้น”
บรรลุธรรมในขณะเวลากําลังปลงผม
พระสีวลีเถระเปนโอรสของพระนางสุปปวาสา ผูเปนพระราชธิดา
ของพระเจาโกลิยะ ทานอยูในครรภพระมารดาถึง ๗ ป ๗ เดือน ๗ วัน จึง

๔๘๔
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
ประสูติ เวลาประสูติก็งายดุจน้ําไหลออกจากหมอดวยอํานาจพุทธานุภาพ
คือ เมื่อครบกําหนดประสูติไดเสวยทุกขเวทนาลําบากมาก พระนางจึงให
พระสวามีไปกราบถวายบังคมทูลพระบรมศาสดา ซึ่งตรัสพระราชทานใหพร
วา
“สุขินี วต โหตุ สุปฺปวาสา โกฬิยธีตา,
สุขินี อโรคา อโรคํ ปุตฺตํ วิชายตุ”
ขอพระนางสุปปวาสา ผูเปนพระราชธิดาของพระเจากรุงโกลิยะ จง
เปนหญิงมีความสุข ปราศจากโรคาพยาธิ ประสูติพระราชบุตรผูหาโรคมิได
เถิด”
เมื่อสีวลีกุมารเจริญวั ยขึ้นไดออกผนวชในสํ านักของทานพระสารี
บุตร ไดตั้งใจเจริญวิปสสนากรรมฐานบําเพ็ญสติสัมโพชฌงคอยางเต็มที่ จน
ไดรูแจงแทงตลอดอริยสัจ ๔ บรรลุ มรรค ผล นิพพาน สมความปรารถนา
คื อ สิ้ น อาสวกิ เ ลสทั้ ง ปวง เป น พระอรหั น ต เป น พระอเสขบุ ค คลใน
พระพุทธศาสนา นับวา ทานไดบรรลุมรรค ผล ในเวลากําลังปลงผม คังนี้ คือ
ครั้งที่ ๑ เวลามีดโกนจดลงที่ศีรษะ ไดบรรลุโสดาปตติผล
ครั้งที่ ๒ ไดบรรลุสกทาคามิผล
ครั้งที่ ๓ ไดบรรลุอนาคามิผล
ครั้งที่ ๔ พอปลงผมเสร็จ ทานก็ไดสําเร็จเปนพระอรหันต
ทั้ ง นี้ เ พราะได บํ า เพ็ ญ สติ สั ม โพชฌงค ม าอย า งเต็ ม ที่ โ ดยลํ า ดั บ
นับตั้งแตรับวิปสสนากรรมฐานมาจากพระอาจารย นับจากนั้นมาทานเปนผู
ที่ ส มบู ร ณ ด ว ยป จ จั ย ๔พระภิ ก ษุ ทั้ ง หลายก็ พ ลอยสมบู ร ณ ด ว ยป จ จั ย ๔
เชนกัน เพราะอาศัยบารมีทานดวย เหตุนี้ องคสมเด็จพระชินสีหจึงทรงยก
ยองวา เปนผูเลิศกวาภิกษุทั้งหลาย ฝายขางเปนผูมีลาภมาก
บรรลุธรรมขณะจรดมีดโกน
พระสัญชัยเถระ บุ ตรของพราหมณในนครราชคฤห เขาเจริ ญวั ย
แล ว เห็ น พราหมณ พ รหมายุ พ ราหมณ แ ละโปกขรสาติ พ ราหมณ มี ค วาม

๔๘๕
บทที่ ๘ วิธีกําหนดรูอิริยาบถ พิจารณาอริยสัจ ๔
เลื่อมใสในพระศาสนาไดเขาไปฟงธรรมไดเปนพระโสดาบัน บรรพชา พอ
ปลายมีดจรดก็ไดบรรลุพระอรหันตในเวลาที่มีดโกนจรด ๕๘
การกํ าหนดอิริ ย าบถย อ ย ถือ ว าเป น หั ว ใจสํ าคั ญยิ่ งสํ าหรั บ โยคี ผู
ปฏิบัติ เมื่อใดที่เราพลั้งเผลอ ไมกําหนดอิริยาบถยอย เมื่อนั้นเราไดสูญเสีย
ชีวิตของเรา เพราะนั่นหมายความวา เราไมไดเปนโยคีผูพากเพียรปฏิบัติ
แลว เพราะเราขาด สติ สมาธิ และปญญา
วิ ธี ป ฏิ บั ติ วิ ป ส สนาภาวนาในหมวดสั ม ปชั ญ ญะ ก็ เ พื่ อ ฝ ก ให มี
สติสัมปชัญญะ คอยกําหนดรูในการเคลื่อนไหวอิริยาบถยอยตางๆ เชน ใน
การกาว ในการถอย ในการแล ในการเหลียว ในการกิน ในการดื่ม เปนตน
หรือไมวาตนจะอยูในอิริยาบถใดๆ ก็ใหทําความรูตัวอยูเสมอ เห็นความเกิด
ความดับของรูปนามทั้งสอง จนเกิดปญญาหยั่งเห็นไตรลักษณวารูปนามที่
ตามรูในปจจุบันขณะนั้น ไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตน ละความยึดมั่นใน
รางกาย ตัวตน บุคคล เราเขา จิตขึ้นสูอารมณของวิปสสนาญาณ และ
สามารถจะบรรลุมรรคผลนิพพานไดในที่สุด

๕๘
ขุ.เถร.อ. (บาลี) ๑๐/-/๑๘๕-๑๘๖.
๔๘๖
ขั้นที่ ๑ เห็นรูปเห็นนาม
ขั้น นี้ เ ป น การกําหนดรู "ขั้น รู จั ก" คือกําหนดรู ต ามลั กษณะที่เ ป น
สภาวะอาการพอใหแยกออกจากสิ่งอื่นๆ ได การกําหนดรูผัสสะ คือรูเห็นวา
นี้ตาสัมผัส นี้หูสัมผัส ..นี้ใจสัมผัส นี้อธิวจนสัมผัส นี้ปฏิฆสัมผัส ..นี้สัมผัสเปน
ที่ตั้งแหงเวทนาที่เปนสุข นี้สัมผัสเปนที่ตั้งแหงเวทนาที่เปนทุกข นี้สัมผัสเปน
ที่ตั้งแหงเวทนาเปนอทุกขมสุข...นี้ผัสสะอันประกอบดวยกุศลจิต นี้ผัสสะอัน
ประกอบด ว ยอกุ ศลจิ ต นี้ ผั ส สะอัน ประกอบด ว ยอัพยากตจิ ต นี้ ผั ส สะอั น
ประกอบดวยกามาวจรจิต นี้ผัสสะอันประกอบดวยรูปาวจรจิต นี้ผัสสะอัน
ประกอบด วยอรู ป าวจรจิ ต...นี้ผั ส สะเป น ของว างเปล า นี้ ผั ส สะเป น ศีล นี้
ผัสสะเปนสมาธิ นี้ผัสสะเปนโลกิยะ นี้ผัสสะเปนโลกุตตระ นี้ผัสสะเปนอดีต
นี้ผัสสะเปนอนาคต นี้ผัสสะเปนปจจุบัน การรับรูเชนนี้เรียกวา ญาตปริญญา
วิธีปฏิบัติภาวนาในเบื้องตน โยคีพึงเจริญกายานุปสสนาสติปฏฐาน
เปนหลักกอน มีสติพิจารณารูป-นามตามลักษณะอาการ โดยเริ่มตนดวยการ
สมาทานศีล ๘ สําหรับฆราวาส สําหรับพระภิกษุตองปลงอาบัติกอน จากนั้น
รับบทกรรมฐานปฏิญาณตนมอบกายถวายชีวิตตอพระรัตนตรัย มีพระพุทธเจา
เปนประธาน มีพระวิปสสนาจารยเปนผูนําพา เพื่อขอปฏิบัติสติปฏฐาน ๔
เพื่ อ ความรู แ จ ง เพื่ อพ น ทุ ก ข เป น ต น พระวิ ป ส สนาจารย ก็ จ ะให ค วามรู
เกี่ยวกับการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔
การกําหนด คือ การใสใจเพงรูในอารมณที่จิตรับรูในปจจุบันขณะ
อยางจดจอ ตอเนื่อง โดยไมซัดสายไปหาอารมณอื่นๆ การกําหนดแบบสมถะ
เปนการทองภาวนาเพื่อควบคุมจิตไมใหซัดสายออกจากอารมณที่หมายรูอยู
นั้นเพียงอารมณเดียวอยูตลอดเวลา พรอมกับหาอุบายปดกั้นไมใหอารมณ
อื่นๆ เขามาในใจอีกดวย สวนการกําหนดรูแบบวิปสสนาเปนการพยายาม
เพงพิจารณาอาการของอารมณนั้นๆ โดยไมใหจิตซัดสายไปหาอารมณอื่นๆ
แตไมพยายามปดกั้นไมใหอารมณอื่นๆ แทรกเขามา และหากมีอารมณอื่นๆ
แทรกเขามาได ก็ใหเพงรูลงในอาการของอารมณใหมนั้นทันที พรอมๆ กับ
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
สังเกตอาการจิตที่จางคลายจากอารมณเกากอนหนานั้นไปดวย การกําหนดรู
แบบวิปสสนาแบงเปน ๓ ขั้น คือ ๑) ญาตปริญญา กําหนรูขั้นรูจัก ๒) ตีรณ
ปริญญา กําหนดรูขั้นพิจารณา ๓) ปหานปริญญา กําหนดรูขั้นละได
หลักการสําคัญในการบริกรรมภาวนาในขั้นนี้ ตองพยายามนอมจิต
เพงความรูสึกไปที่ตัวอารมณ ๙๐ % (ดูกาย ๖๐% +ดูทุกขเวทนา ๑๐% ดู
จิต ๑๐% พิจารณานิวรณธรรม ๑๐%) เพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรม
ภาวนาเพียง ๑๐ %
การกําหนดรู๑อารมณทางตา หู จมูก ลิ้น กายและใจนั้น อารมณ
ไหนปรากฏชัดเจนกวาก็ใหกําหนดอารมณนั้นๆ กอน เชน ในขณะที่เรานั่ง
ภาวนาอยูนั้น อารมณเกิดทางจมูกก็ไดกลิ่น ทางกายก็มีการกระทบ เชน เย็น
รอน ออน แข็ง หรือทุกขเวทนา เปนตน ที่เกิดรวม เมื่อสิ่งเหลานี้มาประสบ
และเกิดขึ้นพรอมกัน ก็ใหเรากําหนดอารมณที่ปรากฏชัดเจนที่สุดโดยเฉพาะ
อารมณที่เกิดโดยตรงภายในจิต


การกําหนดรู คือ การนอมจิต (โนมจิต,สงจิต,สองจิต,จับจิต) เขาไปรับรู
อารมณ หรื อความรูสึ กต า งๆ ที่ เ กิด ขึ้น ในป จ จุ บั น ขณะอย า งแนบสนิ ท จดจ อ
ตอเนื่อง เฝาดูสภาวะปจจุบันอารมณอันเปนสภาพธรรมที่ปรากฏขึ้นตามความ
เปน จริ ง โดยปราศจากการคิดนึ ก ปรุง แต ง หรือเพิ่ม เติ มสิ่ง ใดๆ ลงไปในทุกๆ
ขณะที่มีการกําหนดรูอารมณนั้นๆเปนการจํากัดขอบเขตอารมณใหจิตรู ที่เรียกวา
โฟกัส (Focus) อารมณใหจิตรู ดวยสติที่ประกอบพรอมดวยความเชื่อมั่นในแนว
ปฏิบัติ อันสงผลใหมีวิริยะ สมาธิ และปญญาเพิ่มพูนขึ้นอยางตอเนื่อง
การบริ ก รรมภาวนาในการเจริ ญ วิ ป ส สนานั้ น ไม ใ ช ก ารท อ งบ น ,หรื อ
สาธยายเหมือนสมถะ แตเปนการบอกไปตามอาการที่จิตรูดวยสัมมาวาจา ชวย
ในการปรับจิตและสติใหโฟกัส(Focus)ตออารมณ รับรูอารมณที่ปรากฏอยางใส
ใจ กอเกิดเปนไตรสิกขาอยางครบถวน คือ ความสํารวมของผูเพียรพยายามใสใจ
กําหนดจัดเปนอธิสีลสิกขา ความตั้งใจมั่นของผูเพียรพยายามใสใจกําหนด จัดเปน
อธิจิตตสิกขา ความรูทั่วถึงของผูเพียรพยายามใสใจกําหนด จัดเปนอธิปญญา
สิกขา (วิสุทธิ. (บาลี) ๑/๒๒๐/๒๙๘.)
๔๘๘
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม

๑. วิธีกราบและกําหนดรูอิริยาบถแบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
โยคีนั่งคุกเขา สนเทาราบกับพื้นทั้งชายและหญิง (เพราะใชเวลาใน
การกราบนาน) คว่ํามือไวที่เขาขวา-ซาย แลวคอยๆ พลิกฝามือขึ้นทีละขาง
โดยพลิกขางขวากอน พร อมทั้งกํ าหนดรู ดว ยสติว า “พลิกหนอๆๆ” โดย
จะต อ งแนบจิ ต เข าไปรู อ าการพลิ กฝ ามื อ เสร็ จ แล ว ยกมือ ขึ้น ช า ๆ พร อ ม
กําหนดวา“ขึ้นหนอๆ” เมื่อยกมาถึงอกก็ใหกําหนดวา “ถูกหนอ” ตอจากนั้น
เริ่ มพลิ กมือขางซาย ทําเช น เดี ย วกับขางขวา ยกมือทั้งสองขึ้น พนมกัน ไว
ระหวางอก แลวยกขึ้นจรดที่หนาผากระหวางคิ้วทั้งสอง เมื่อจรดที่ระหวาง
คิ้ ว แล ว โน ม ตั ว ลง (หั ว แม มื อ ยั ง ติ ด หน า ผาก) พร อ มกั บ กํ า หนดว า “ก ม
หนอ”“ลงหนอๆ” เมื่ อ ถู ก พื้ น กํ า หนดว า “ถู ก หนอ” เคลื่ อ นมื อ ขวาไป
ทางขวา เคลื่อนมือซายไปทางซาย “เคลื่อนหนอๆๆ” พลิกฝามือคว่ําลงทีละ
ขาง กําหนดวา “คว่ําหนอๆ” มือหางกัน ๔ นิ้ว แลวกมศีรษะลง กําหนดวา
“กมหนอๆ” เมื่อศีรษะจรดพื้น กําหนดวา “ถูกหนอ” ตอจากนั้นนิ่งสงบอยู
ในอาการนั้น แลวนอมจิตเจริญพุทธคุณ นอมนึกถึงคุณของพระพุทธเจาวามี
บุญคุณตอเราอยางไรบาง ใชเวลาประมาณ ๒-๕นาที แลวกําหนดจิต “อยาก
เงยหนอ” เวลาเงยก็กําหนดวา “เงยหนอๆ” ตอจากนั้นก็กราบแบบเดิมอีก
ครั้งที่ ๒ นอมจิตเจริญธรรมคุณ ครั้งที่ ๓ นอมจิตเจริญสังฆคุณ
หมายเหตุ ขณะกราบควรจะหลับตากราบ และใหทําชาๆ สติตามรู
อาการเคลื่อนไหวถี่ๆ ไมตองสนใจสิ่งรอบขาง ไมตองสนใจวาจะเสียเวลาไป
เทาไร จะกอใหเกิดสติ สมาธิ ปญญา และปดกั้นกิเลสไดเชนกัน
๒. วิธีเดินจงกรม แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
มีสติระลึกรูขณะเดินเปนการปฏิบัติวิปสสนาตามแนวสติปฏฐาน ๔
ในหมวดอิริยาบถบรรพ คือ เดิน ยืน นั่ง นอน พระพุทธองคตรัสวา “ภิกษุ
ทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุเมื่อเดินก็รูชัดวา เดินอยู”๒ มีความเพียรใน
การกําหนดที่ประกอบดวยสติสัมปชัญญะในการระลึกรูอยูเนืองๆ ในการเดิน

ดูรายละเอียดใน ที.ม. (ไทย)๑๐/๓๗๕/๓๐๔.
๔๘๙
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
หลังจากโยคีกราบสติปฏฐาน มีสติในการยืน กําหนดยืนตัวตรง มือ
ขวาจับขอมือซาย สนเทาทั้ง ๒ เสมอกัน ศีรษะตั้งตรงไมเอียงซาย หรือเอียง
ขวา ทอดสายตาลงต่ํา หางจากปลายเทาไปประมาณ ๔ ศอก ไมกมหรือเงย
ศีรษะจนเกินไป พอดีแกการเดินจงกรมนานๆ เมื่อจัดทายืนเรียบรอยแลว ให
หลับ ตา ดึงสติ มาจับอยูที่รางกาย อยาปล อยสติออกไปจากรางกาย มีส ติ
กําหนดรูอาการของรูปยืน ใหเห็นรูปของตัวเองยืนอยู ตั้งแตพื้นเทาจนถึง
ปลายผม จากปลายผมถึงพื้นเทา เห็นรูปยืนชัดคลายกับวามีกระจกใบใหญ
ทั้ง ๔ ดาน รวมทั้งขางบนและขางลาง เรียกวาใหมีสติ ภาวนาตามอาการวา
“ยืนหนอๆๆ”จนกวาพรอมที่จะเดิน ลืมตากึ่งหนึ่ง (อยาหลับตาเดิน)
กําหนดเดินจงกรมระยะที่ ๑ : ขวายางหนอ ซายยางหนอ
โยคีกําหนดสติไปจับอยูเทาขวา เดินชาๆ พรอมกับภาวนาตามอาการ
เคลื่อนไหวของเทาวา “ขวายางหนอ” “ซายยางหนอ”
ขณะที่ภาวนาในใจวา “ขวา” ใหตั้งจิตพรอมที่จะขยับเทาขวาพรอม
กันไปดวย ไมกอนไมหลังกัน ใหพรอมกันพอดีๆ และมีสติกําหนดพิจารณารู
อาการของเทาขวาพรอมกันไปดวย ครบองค ๓ คือ ๑) อาการที่เทา ๒) ใจ
นึกคําบริกรรมวา “ขวา” และ ๓) มีสติกําหนดพิจารณารูอาการของเทา
ขณะบริกรรมวา “ยาง” ตองเคลื่อนเทาไปขางหนาอยางชาๆ พรอมกับ
บริกรรมรูอาการไปพรอมๆ กัน และมีสติกําหนดพิจารณารูอาการของเทาที่
ยางพรอมกันไปดวย ในขณะที่วา “หนอ” เทาตองลงถึงพื้นพอดีกันกับคํา
บริกรรม และสุดลงพรอมๆ กันพอดีทั้ง ๓ อาการคือ เทานิ่ ง บริกรรมสุ ด
และจิตรูขาดจากอาการเทา สวนขางซายก็ปฏิบัติเชนเดียวกัน
กอนเดินจงกรม กําหนดยืนใหกายและใจพรอมเต็มที่กอน เปนการ
ฝกสติปฏฐานในหมวดอิริยาบถ ซึ่งพระพุทธเจาตรัสไววา “ิโต วา ิโตมฺหีติ
ปชานาติ”๓ ยืนอยู ก็มีสติกําหนดรูวา "ยืนอยู"
เมื่อยืนขึ้นแลวใหกําหนด "ยืนหนอ" เพื่อใชสติพิจารณาดูรูปยืนให
ชัดเจน วางเทาซายและเทาขวาชิด ปลายเทาเสมอกันหางกันเล็กนอย มือทั้ง

ที.ม. (บาลี) ๑๐/๒๗๔/๓๒๗.
๔๙๐
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
สองไขวหลังหรือกุมไวดานหนามือขวาจับมือซาย ศีรษะตั้งตรง ทอดสายตา
ไปเบื้องหนา ๑ วาหรือ ๔ ศอก การยืนตัวตรง เปนลักษณะของการตั้งตรง
ของรางกาย จัด เปน สภาวะตึ งของวาโยธาตุ๔ การกําหนดอิริยาบถยื นนั้ น
เพราะอาศัยจิตเกิดขึ้นวา เราจะยืน จิตนั้นทําใหเกิดวาโยธาตุ(จิตฺตชวาโย
ธาตุ)ๆ ทําใหเกิดความเคลื่อนไหว การทรงตัวตั้งขึ้นตั้งแตพื้นเทาขึ้นมาถึง
ปลายผมเปนที่สุด อันเกิดจากจิตปรุงแตงจิต รูสึกถึงอาการยืน โดยกําหนด
บริ ก รรมว า "ยื น หนอๆ" ให รู ลั กษณะของสภาวะอาการของรู ป ยื น กั บ คํ า
บริกรรมภาวนาตองพรอมกัน
ควรเดิน จงกรมกอนนั่งเจริญภาวนาทุกครั้ง ใหเ พิ่มการ
เดินจงกรมเปน ๒ ระยะ คือระยะที่ ๑ ขวายางหนอ-ซายยางหนอ
๑๕ นาที ระยะที่ ๒ ยกหนอ-เหยียบหนอ๑๕ นาที การเดินจงกรม
ให มีส ติ กํา หนดพิจ ารณารู อาการที่ย กเทา ขึ้น เหวี่ย งลงถู ก พื้ น๕
กําหนดพิจารณารูอาการของเทาที่เคลื่อนไหวใหทันทุกขณะที่ยาง
กาวอยาเผลอ ถาเผลอก็ใหกําหนดตามความเปนจริงวา “เผลอ
หนอ”มีรายละเอียด ดังนี้
เดินกลับไปกลับมา ชาๆ เปนจังหวะตอเนื่อง ประมาณ ๓- ๕ เมตร
กมหนาเล็ กน อย สงจิต กําหนดรู อาการเคลื่อนไหวของเทาแตล ะจั งหวะที่
เคลื่อนไปอยางจดจอตอเนื่องรับรูถึงความรูสึกของเทาที่คอยๆยกขึ้นคอยๆ
เหยียบลง และความรูสึกสัมผัสที่ฝาเทา (เย็นรอนออนแข็งตึงหยอน) สงจิตดู
อาการแตละอาการอยางจรดแนบสนิทกับอาการนั้นๆไมวอกแวก พรอมกับ
บริกรรมสําทับอาการที่รับรูนั้นไปดวย จนรูสึกไดถึงอาการที่เปลี่ยนไปดับไป


พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), มหาสติปฎฐานสูตร ทางสูพระนิพพาน.
พระคันธสาราภิวงศแปล, หนา ๗๗.

ในการปฏิบั ติเ บื้อ งต น หากประคองเท าใหเ หยี ยบลงช าเกิน ไป ...จะเป นการ
ประคองสภาวะดวยอํานาจตัณหา และอุปาทาน..อยากใหเห็นชัดๆ..บางครั้งทําใหจติ ตก
จากอารมณปจจุบัน ทําใหฟุง หรือเบื่อเซ็งไปเลย แตหากเคยปฏิบัติมาเกิน ๕-๗ วัน
แลว ยิ่งชา..ยิ่งดี ยิ่งเห็นสภาวะชัด
๔๙๑
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
ของสภาวะนั้นๆเชนขณะยางเทาก็รูสึกถึงอาการลอยไปของเทาพอเหยียบลง
อาการลอย-เบาๆก็ดับไป..มีอาการตึงๆแข็งๆเขาแทนที่พอยกเทาขึ้นอาการ
ตึงๆดับไปกลับมีอาการลอยเบาๆเขาแทนที่เปนตน
ยิ่งเคลื่อนไหวชายิ่งเห็นอาการชัดในขณะที่กําลังเดินหากมีความคิด
เกิดขึ้น หรือเผลอคิด ใหหยุดเดินกอนแลวสงจิตไปดูอาการคิดนั้นโดยไมตอง
สนใจวาคิดเรื่องอะไรบริกรรมในใจวา “คิดหนอๆ”จนกวาความคิดจะเลือน
หายไปเองหากมีคดิ ซอนคิดก็ใหตามดูอาการไปเรื่อยๆจนกวาจะดับสนิทกอน
แลวจึงกลับไปกําหนดเดินตออยามองซายมองขวาพยายามใหใจอยูกับเทาที่
คอยๆเคลื่อนไปเทานั้น ถาเผลอสติหรือหลุดกําหนด ใหเริ่มใหมเผลอ..เริ่ม
ใหมๆไมตองหงุดหงิด ..เปนธรรมดาของผูปฏิบัติใหม!
เพิ่มบทพระกรรมฐานเมื่อนั่งไดครบ๑ ชั่วโมง
การปฏิบัติวิปสสนาตามแนวสติปฏฐาน ๔ ตองมีการสอบอารมณ
กับพระวิปสสนาจารย เพื่อปรับอินทรียใหถูกตองตามหลักอริยสัจ ๔ มรรคมี
องค ๘ ฉะนั้น เมื่อโยคีนั่งปฏิบัติไดครบ๑ ชั่วโมงทุกบัลลั งกพระวิป สสนา
จารยผูใหกรรมฐานควรใหบทพระกรรมฐานเพิ่มเติมในการเดินจงกรมดังนี้
๑) เพิ่มเทคนิคและระยะการกําหนดเดินจงกรม
กอนเดินจงกรมกําหนดยืนใหกายและใจพรอมเต็มที่กอนเมื่อยืนขึ้น
แลวใหกําหนดยืนหนอเพื่อใชสติพิจารณาดูรูปยืนใหชัดเจนมือทั้งสองไขวหลัง
หรือกุมไวดานหนามือขวาจับมือซายศีรษะตั้งตรงทอดสายตาไปเบื้องหนา๑
วา หรือ๔ศอกการยืนตัวตรงเปนลักษณะของการตั้งตรงของรางกายจัดเปน
สภาวะตึงของวาโยธาตุ๖การกําหนดอิริยาบถยืนนั้น เพราะอาศัยจิตเกิดขึ้นวา
เราจะยืนจิตนั้นทําใหเกิดวาโยธาตุ(จิตฺตชวาโยธาตุ) วาโยธาตุทําใหเกิดการ
เคลื่อนไหว การทรงตัวตั้งขึ้นตั้งแตพื้นเทาขึ้นมาถึงปลายผมเปนที่สุดอันเกิด
จากจิตปรุงแตงจิต รูสึกถึงอาการยืน โดยกําหนดบริกรรมวา“ยืนหนอๆ” ให
รูอาการของรูปยืนกับคําบริกรรมภาวนาตองพรอมกัน


พระโสภณมหาเถระ (มหาสียาดอ), มหาสติปฎฐานสูตร. หนา๗๗.
๔๙๒
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
สําหรับผูปฏิบัติใหมเอาสติกําหนดใหรูชัด โดยจับความรูสึกตั้งแต
ปลายผมไลลงไป (สแกน) จนถึงปลายเทารวดเดียวพรอมกับบริกรรมสําทับ
ลงไปชาๆวา “ยืน...หนอ” จากนั้น กําหนดจับความรูสึกกลับขึ้นมาจากปลาย
เทาขึ้นไปถึงปลายผมพรอมกับบริกรรมวา “ยืน…หนอ” ปฏิบัติดังนี้อยาง
นอย ๓ หนจนกวารางกายและจิตใจนิ่งสงบถายังไมสงบก็ใหภาวนาตอไปจน
สงบจึงกําหนดรูจิตที่คิดจะเดิน“อยากเดินหนอ” ตอไป
เมื่ อ เข า ใจในหลั ก การปฏิ บั ติ เ บื้ อ งต น และสามารถเดิ น จงกรม
ระยะแรกอยางถูกตอง พระวิปสสนาจารยจะแนะนําใหเพิ่มกําลังความเพียร
โดยเพิ่มเวลาในการเดินจงกรม ๑ ชั่วโมงใหเทากับนั่งภาวนา และเพิ่มระยะ
การเดินจงกรมเปนระยะ ๒ และ ๓ ตามลําดับ ดังนี้
ระยะที่ ๑ ขวายางหนอ-ซายยางหนอ ๑๕ นาที
ระยะที่ ๒ ยกหนอ-เหยียบหนอ ๑๕ นาที
ระยะที่ ๓ ยกหนอ-ยางหนอ-เหยียบหนอ ๓๐ นาที
๒) เดินจงกรม แบบสันตติขาด
การเดินจงกรมใหมีสติกําหนดรูอาการ
ที่ยกเทาขึ้นเบาๆ เหวี่ยงเทาลงเหยียบพื้นชาๆ๗
ถ า เผลอก็ ใ ห กํ า หนดตามความเป น จริ ง ว า
“เผลอหนอ” เดินกลับไปกลับมา ประมาณ ๓-
๔ เมตร รั บรูถึงความรูสึก ที่เ ทาคอยๆ ยกขึ้น
คอยๆ ยางลง สงจิตดู อาการแตละอาการอย างจดจอแนบสนิทกับอาการ
นั้นๆ พรอมกับบริกรรมสําหรับอาการที่รับรูนั้นไปดวย จนรูสึกไดถึงอาการที่
เปลี่ยนไป ดับไปของสภาวะนั้นๆ วาจิตเกิดขึ้นวา เราจะเดิน จิตนั้นก็ทําให
เกิดวาโยธาตุ วาโยธาตุก็ทําใหเกิดวิญญัติ(ความเคลื่อนไหว) การนําสกลกาย


แตในการปฏิบัติเบื้องตน หากประคองเทาใหกาว ใหเหยียบลง ชาเกินไป ...จะ
เปนการประคองสภาวะดวยอํานาจตัณหาและอุปาทาน อยากใหเห็นชัด ๆ อยากได
ธรรมะ อยากบรรลุเกินไป บางครั้งทําใหจิตตกจากอารมณปจจุบัน เปนโลภะไปเสีย
แตหากนั่งภาวนาจนกําหนดทุกขเวทนาดับไดแลว ยิ่งเดินชายิ่งเห็นเกิด-ดับ ชัด
๔๙๓
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
ใหกาวไปขางหนา ดวยความไหวตัวแหงวาโยธาตุอันเกิดแตการกระทําของ
จิตนี้เรียกวาเดิน๘ ขณะยางเทาก็รูสึกถึงอาการลอยไปของเทา พอเหยียบลง
อาการลอยก็ดับไป มีอาการตึงแข็งเขาแทนที่ เปนตน
อนึ่ง เมื่อนั่งภาวนาตอเนื่องเกิน ๑ ชั่วโมง กําหนดจี้ทุกขเวทนาตาม
รางกาย จนจิตไมทุกขไปกับเวทนานั้นๆ แลว เมื่อเดินระยะที่ ๒ และที่ ๓
ขณะที่ยกเทาเคลื่อนขึ้นพรอมกันทั้งเทา (โดยไมยกสนขึ้นกอน) จนสุดอาการ
ยกนั้น ใหเพิ่มโยนิโสมนสิการ (การใสใจพิจารณา) ใหมากขึ้น คือ ใหสังเกตดู
อาการสุ ด ลงของจิ ต ตั ว รู ที่ สุ ด ไป(ดั บ ขาด)พร อ มกั น กั บ อาการนั้ น ๆ ด ว ย
ในขณะยาง หรือขณะเหยีบบ ก็ดุจเดียวกัน

๓.วิธีนั่งกําหนดรูพอง-ยุบแบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
พระพุทธองคตรัสวา “ภิกษุในธรรมวินัยนี้ไปสูปาก็ดี ไปสูโคนไมก็ดี
ไปสูเรือนวางก็ดี นั่งคูบัลลังก ตั้งกายตรง ดํารงสติไวเฉพาะหนา มีสติหายใจ
เขา มีสติหายใจออก”๙
การปฏิบัติวิปสสนา โดยการนั่งเจริญกายานุปสสนาสติปฏฐานนั้น
พึงตั้งสติกําหนดดูอาการพองและอาการยุบของทองเปนอารมณหลัก อันเปน
วาโยโผฏฐัพพารมณ คือความหยอนหรือตึงภายในทอง ซึ่งจัดอยูในหมวด
ธาตุมนสิการบรรพ๑๐กําหนดรูตามอาการวา “พองหนอ ยุบหนอ” จนเห็น
สภาพความเคลื่อนไหวภายในทอง ซึ่งมีขั้นตอนปฏิบัติ ดังนี้
๑. นั่งคูบัลลังก (ควรนั่งแบบเรียงขา) ตั้งกายตรงคอตรงแตไมเกร็ง
๒. เพงความรูสึกไปที่อาการเคลื่อนไหวของทอง
๓. จิตใจจดจอ และแนบชิดที่อาการขึ้นๆลงๆของทอง
๔. วางจิตกําหนดบริเวณสะดือ ขณะที่กําหนดควรหลับตา
๕. ใชจิตเพียรพิจารณาดูอาการเคลื่อนไหวบริเวณทองโดยปลอยให


ที.ม.อ. (ไทย)๒/๒/-/๒๙๙.

สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๙๗๗/๔๕๓.
๑๐
ดูใน ม.มู. (ไทย)๑๒/๑๑๑/๑๐๗.
๔๙๔
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
ทองเคลื่อนไหวไปเองตามธรรมชาติไมเกร็งทอง
๖. ขณะที่ทองพองขึ้น กําหนดบริกรรมในใจวา “พองหนอ”
๗. ขณะที่ทองแฟบลง กําหนดบริกรรมในใจวา “ยุบหนอ”
๘. จิตที่รูอาการ “พอง-ยุบ” กับคําบริกรรมและสติที่ระลึกรูควรให
พรอมกัน
สิ่งที่พึงเวนขณะนั่งกําหนด
๑. ไมนั่งตัวงอหรือกมศีรษะ (เวนแตมีสภาพรางกายเปนเชนนั้น)
๒. ไมเปลงเสียง หรือบนพึมพํา ในขณะกําหนดอาการพอง-ยุบ
๓. ไมควรลืมตาเพื่อสอดสายหาอารมณภายนอก
๔. ไมควรพยายามเคลื่อนไหวรางกายบอยจนเกินไป
๕. ไมควรนั่งพิงเกาอี้พนักพิงหรือเสา (เวนกรณีแกสภาวะหรือ
สุขภาพ แตควรแกดวยการยืนจะดีกวา)
๖. ไมควรนําคําบริกรรมที่ไมตรงตามสภาวธรรมที่เปนจริงมาใช
๗. ไมควรบังคับลมหายใจเขา-ออกเพื่อหวังจะเห็นพอง-ยุบชัดๆ
เมื่อเดินจงกรมครบเวลาที่กําหนดไวแลว ใหกําหนดเดินไปยืนตรงที่
นั่ง มีสติกําหนดพิจารณารูรูปยืน แลวใหนั่งลง คอยๆ ยอตัวลงจนกวาจะนั่ง
เสร็จ ภาวนาตามอาการวา “นั่งหนอๆ” “ขยับหนอๆๆ” ไปเรื่อยๆ พรอมกับ
ใหมีสติกําหนดพิจารณารูอาการนั้นๆ ทุกขณะๆ ไปจนกวาจะนั่งเรียบรอย
เมื่อนั่งเรียบรอยแลวใหหลับตาเอาสติมาจับอยูที่อาการเคลื่อนไหว
ภายในทองตรงที่รูสึกไดชัดที่สุด (บริเวณสะดือ) เวลาหายใจเขาทองพองให
ภาวนาตามอาการของทองที่พองขึ้นวา “พองหนอ” ใจที่รูสึกกับทองที่พอง
ตองใหทันกันใหตรงกันพอดี อยาใหกอนหรือหลังกันพรอมกับใหมีสติกําหนด
พิจ ารณารูอาการของทองพองว าต นพอง กลางพอง สุ ดพองนั้น มีอาการ
อยางไรพรอมกันไปดวย เวลาหายใจออกทองยุบลงใหภาวนาตามอาการของ
ทองที่ยุบลงวา “ยุบหนอ” ใจที่รูสึกกับทองที่ยุบนั้นตองใหทันกันใหตรงกัน
พอดี อยาใหกอนหรือหลังกันพรอมกับใหมีสติกําหนดพิจารณารูอาการของ
ทอง ตนยุบ กลางยุบ สุดยุบนั้น มีอาการอยางไรพรอมกันไปดวย

๔๙๕
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
ผูที่กําหนดอาการพอง-ยุบไดยาก ควรปฏิบัติดังนี้
ควรเดินจงกรมกอนแลวกลับมานั่งทุกครั้งเพราะการเดินจงกรมสงผล
ใหเกิดสัมมาสติไดงายและสมาธิอยูไดนานกวาการนั่งภาวนา๑๑ขณะยอ
ตัวลงนั่ง พึงกําหนดรูสภาวะอาการนั้นๆ วา“ลงหนอๆ”พึงกําหนดรูสภาวะ
การเคลื่อนไหวของกายทุกขณะๆอิริยาบถที่มีการเคลื่อนไหวกําหนดจิตรูรูป
นั่งภาวนาวา “นั่งหนอๆ”จิตแนบแนนอยูกับอาการปรากฏทางกายกําหนด
รูสึกตัวทั่วพรอมสม่ําเสมอพรอมกับกําหนดวา “นั่งหนอนั่งหนอ” จากนั้น
๑. ตองนั่งตัวตรง หลังตรง หายใจตามธรรมชาติ ไมเบงทอง
๒. ใชฝามือทาบที่ทอง จะรูสึกถึงอาการขึ้น-ลงของทองชัดเจน
๓. ในตอนแรก ใหรูอาการพอง-ยุบก็พอ ยังไมตองบริกรรม
๔. ถาพอง-ยุบชัดดีแลว จึงใสคํากําหนดตามอาการ ถาใส“หนอ”
ไมทันพองขึ้นมากอน ก็ไมตองใส กําหนดเพียง “พอง-ยุบ” หรือ “รู-รู” ก็พอ
๕. ถายังหาพอง-ยุบไมพบอีก ใหเปลี่ยนฐานไปกําหนด “นั่งหนอ-
ถูกหนอ” แทน กําหนดรูปนั่ง ไมใชตามดูรูปสัณฐานศีรษะ คอ หรือขา แตให
กําหนดรูเ พียงอาการนั่ ง หรื อความรู สึกนั่ งเทานั้ น จากนั้ น สงจิ ตไปรูชั ด ที่
อาการสัมผัสถูก ที่กนยอยดานขวา-ซาย กําหนดวา “ถูกหนอ” สลับกันไป
๖. ขณะที่กําหนด “นั่งหนอ-ถูกหนอ” คําบริกรรม และความรูสึกใน
อาการนั่ง อาการถูก ตองพรอมกันไมใชทองแตปาก ตองรูอาการดวย
๗. ตองกําหนดใหไดจังหวะพอดีไมเร็วเกินไปไมชาเกินไปใหเปน
ธรรมชาติ
๘. สําหรับผูที่เคยทําอานาปานสติ๑๒ (กําหนดลมหายใจมากอน) ถา
กําหนดพอง-ยุบไมไดใหกําหนด “นั่งหนอ-ถูกหนอ” ไปกอนแลวคอยกลับมา
กําหนดพอง-ยุบทีหลัง
๙. ถาพอง-ยุบปกติใหกําหนด“พองหนอ-ยุบหนอ”ถาพอง-ยุบเร็ว
ขึ้นมาใหกําหนดเพียงวาพอง-ยุบไมตองใส “หนอ” ถาพอง-ยุบเร็วมากให

๑๑
ดูใน องฺ.ปฺจก. (ไทย) ๒๒/๒๙/๔๑.
๑๒
ดูรายละเอียดใน สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๙๘๒/๔๕๘.
๔๙๖
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
กําหนดวา “รูหนอๆ”หรือ “รูๆๆ” เพียงแครู ไมตองเรงคําบริกรรมตาม
อาการพอง-ยุบที่เร็วนั้น
การปฏิบัติเชนนี้ทําใหจิตจดจอมากขึ้น เปนการเพิ่มวิริยะทางใจเพื่อ
ไมใหตามรูอยางผิวเผิน เปรียบเหมือนกอนดินเหนียวที่ขวางใสผนังดวยกําลัง
แรง ยอมกระทบถูกผนังและติดแนน ถาถูกขวางดวยกําลังไมเพียงพอ ก็อาจ
พุงไปไมถึงผนัง หรือแมกระทบผนังก็ไมติดแนน๑๓
โยคีบางคนพอง-ยุบสั้น แผวเบา ใหเพิ่มสติจ ด
จองไปที่อาการพอง-ยุบนั้น โดยบริกรรมเพียงวา “พอง-
ยุบ” ไมตองใส“หนอ”ตอทาย ถามีแคอาการเคลื่อนไหว
จํ า แนกเป น พอง-เป น ยุ บ ไม ไ ด ก็ ใ ห กํ า หนดรู ป นั่ ง ใหญ
แทน คือ กําหนดรูอาการ (ความรูสึก) นั่ง แตไมตองนึก
ถึงรูปนั่ง “นั่งหนอ” รวดเดียว จากนั้นสงจิตจี้ไปที่กน
ยอยขางขวาถูกพืน้ “ถูกหนอ” แลวกลับมาดูอาการนั่งอีก “นั่งหนอ” จากนั้น
สงจิตจี้ไปที่กนยอยขางซายถูกพื้น “ถูกหนอ” ทําอยางนี้สลับกันไปเรื่อยๆ
จนกวาอาการพอง-ยุบจะชัดขึ้น แลวกลับมากําหนดอาการพอง-อาการยุบ
ตามปกติ
ถามีภาพนิมิตหรือเห็นแสงสี ใหกําหนดทันทีวา “เห็นหนอๆๆ”
กําหนดที่อาการเห็น ไมใชกําหนดภาพที่เห็น ถารูสึกชอบกําหนดวา “ชอบ
หนอๆ” ถารูสึกกลัวก็กําหนดวา “กลัวหนอๆ” จนกวาจะดับไป
นั่งภาวนา นั่งบัลลังกละ ๑ ชั่วโมง (จนทุกขเวทนาดับ) มีสติกําหนด
พิจารณารูอาการเคลื่อนไหวในทอง ตั้งแตตนพอง-กลางพอง-สุดพองตนยุบ-
กลางยุบ-สุดยุบ ของอาการเคลื่อนไหวของวาโยธาตุในชองทอง วามีอาการที่
แทจริงอยางไร ใหมีสติกําหนดพิจารณารูอาการพอง-อาการนูน รูอาการยุบ-
อาการแฟบของทองเทานั้น อยาแกลงเบงทอง อยาไปดูลมหายใจเขา-ออก
อยาบังคับลมหายใจใหผิดจากอาการปกติ เมื่อนั่งเรียบรอยแลว หลับตา สติ
มาจับอยูที่อาการเคลื่อนไหวภายในทอง ตรงที่รูสึกไดชัดที่สุด (บริเวณสะดือ)
๑๓
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสะยาดอ), วิปสสนานัย เลม ๑, หนา ๑๗๔.
๔๙๗
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
ภาวนาตามอาการของทองที่พองขึ้นวา “พองหนอ” ใจที่รูสึกกับทองที่พอง
ต องให ทัน กัน ให ต รงกัน พอดี อย าให กอ นหรื อ หลั งกั น พร อมกับ ให มีส ติ
กําหนดพิจารณารูอาการภาวนาตามอาการของทองที่ยุบลงวา “ยุบหนอ” ใจ
ที่รูสึกกับทองที่ยุบนั้นตองใหทันกัน ใหตรงกันพอดี อยาใหกอนหรือหลังกัน
๔.วิธีกําหนดรูอิริยาบถแบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
กําหนดนอน
คอยๆ ยอตัวลงนั่ง ในสถานที่ที่จัดเตรียม
ไวนั่งคุกเขาแลวพับเพียบลง (จะนอนตะแคงหรือ
จะนอนหงายก็ได) จากนั้นใหเหยียดเทาขวาออก
ก อ น ตามด ว ยเท า ซ า ยโดยภาวนาว า “เหยี ย ด
หนอๆ” คอยๆ เอนตัวลงนอน พรอมภาวนาวา
“นอนหนอๆ” ในขณะที่ภาวนานั้นใหมีสติกําหนดพิจารณารูอาการความ
เคลื่อนไหวของรางกายใหทันปจจุบันอยูตลอดเวลาจนกวาจะกําหนดจัดทา
นอนเรียบรอย จากนั้นใหเอาสติมากําหนดพิจารณารูอาการพอง-ยุบตอไป
จบกวาจะหลับ ผูปฏิบัติใหมจะรูสึกกําหนดยาก แตเมื่อเจริญวิปสสนาแกกลา
แลว จะเห็นวาการกําหนดอิริยาบถนอยใหญทั้งปวงนั้น สามารถกําหนดได
ทันปจจุบันธรรมดี
ขอควรระวัง การนอนกําหนดนั้น ไมควรใชกับการกําหนดนั่ง ควร
ใช กํา หนดเฉพาะเวลานอนเทา นั้ น เพราะโยคี กํา หนดอิริ ย าบถนอนแล ว
โดยมากมักจะเผลอสติหลับไปเสีย๑๔
การกําหนดรับประทานอาหาร
เมื่อ นั่ ง ที่โ ต ะ อาหารเห็ น อาหารที่อ ยู ต รงหน าให กํ าหนดว า "เห็ น
หนอๆ"
เห็นแลวมีจิตคิดวาเปนขาวมันไก, หมู, เนื้อ ใหกําหนดวา "คิดหนอๆ
๑๔
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., เอกสารประกอบการสอน รายวิชาสัมมนา
วิปสสนา, ศูนยบัณฑิตวิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม, ๒๕๕๕), หนา ๓๑๘.
๔๙๘
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
รูหนอๆ" หากมีจิตอยากกินอาหาร ก็ใหกําหนดวา "อยากหนอๆ"
ขณะกําลังฉันหรือรับประทานอาหาร ใหกําหนดวา "เคี้ยวหนอๆๆ"
หรือ "กลืนหนอๆๆ" หากมีจิตชอบหรือไมชอบ ใหกําหนดวา "ชอบหนอๆๆ"
หรือ "ไมชอบหนอๆๆ" หากไดกลิ่นพรอมๆ กับรูรสของอาหารใหกําหนดวา
"รูหนอๆ"

๕. วิธีเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน๑๕
เวทนา ๓ ไดแก สุข ทุกข อุเบกขา พูดใหเขาใจงายๆ ก็คือ ความ
สบาย ความไมสบาย และเฉยๆ ในขณะที่เรากําหนดนั่งอยูนั้น (หรือขณะกิน
ดื่ม ทํา พูด คิด เดิน ยืน นั่ง นอน) ถามีเวทนาอยางใดอยางหนึ่งเกิดขึ้น เชน
สุข ทุกข เหนื่อย เวียนศีรษะ เจ็บปวด แสบรอน ซาบซาน หนาว เย็น คัน ชา
หรือเฉยๆ เปนตนถาอาการปรากฏขึ้นมาชัดเจน เชน ถาเกิดความสุขก็สุข
มาก ถาเกิดความทุกขก็ทุกขมาก เปนตน คือ มากกวาอาการพอง-ยุบ และ
มากกวาอาการอยางอื่น ในลักษณะเชนนี้ใหปลอยอาการพอง-ยุบ เอาสติไป
กําหนดพิจารณาอาการของเวทนานั้นโดยภาวนาวา “สุขหนอ ทุกขหนอ
เหมื่อยหนอ เวียนศีรษะหนอ..คันหนอ ชาหนอ เฉยๆ หนอ" เปนตน ตาม
อาการของเวทนานั้นๆ สุดแตเวทนาอยางไหนจะปรากฏชัดเจน พรอมกับให
มีสติพิจารณารูอ าการของเวทนานั้น วามีอาการอยางไร พรอมกันไปดวย
การกําหนดพิจารณารูเวทนาไมใชกําหนดใหเวทนาดับไป แตเปน
เพียงใหมีสติพิจารณารูอาการของเวทนาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ใหทราบชั ด
ตามความเปนจริงทุกขณะๆ ไปเทานั้น และอยาใหความยินดีชอบใจ หรือ
ความยินรายไมชอบใจเกิดขึ้นมา ใหจิตของโยคีดํารงอยูในความเปนกลาง
ตลอดเวลา ในขณะที่พิจ ารณาอยูนั้น เมื่อมีสติกําหนดพิจ ารณาเวทนาอยู
สมาธิของโยคีคนใดมีมากวิปสสนาญาณแกกลามีกําลังมาก อาการเวทนา
อาจดับไปในขณะที่กําลังกําหนดรูอยูนั้นก็ได

๑๕
ดูรายละเอียดใน ที.ม. (ไทย)๑๐/๓๘๐/๓๑๓.
๔๙๙
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม

๖.วิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน
ในขณะที่เดินจงกรม หรือนั่งภาวนาอยูนั้น ถาจิตคิดถึงอารมณที่เปน
อดี ต อารมณที่เ ปน อนาคต อารมณที่เป นบุ ญ อารมณที่เ ปน บาป เปน ต น
ในขณะนั้นใหปลอยอาการพอง-ยุบ เอาจิตและสติไปกําหนดที่อาการคิดนั้น
ภาวนาวา“คิดหนอๆ” พรอมกับพิจารณารูอาการของจิตไปในขณะเดียวกัน
ดวย ในขณะเดินจงกรม หรือนั่งภาวนาอยูแมเมื่อจิตมีความดีใจ เสียใจ โลภ
โกรธ หลง ราคะ มานะ เป น ต น เกิด ขึ้น ร ว มด ว ยก็ใ ห ป ล อ ยอาการพอง-
อาการยุบ แลวเอาสติไปกําหนดที่ความรูสึกนั้นๆ จนกวาจะดับไป โยคีควร
กําหนดรูอาการทางใจ โดยไมตองวิเคราะหตัดสิน หรือมีปฏิกิริยาใดๆ ตอ
สภาวธรรมที่เกิดขึ้น๑๖จนกวาสภาวะอาการของจิตนั้นสงบไป
วิธีกําหนดจิตคิด
การตามกําหนดรูจิ ต ผูป ฏิ บัติ ควรเอาใจใส เป น พิเ ศษ เพราะการ
กําหนดรูจิตนั้นเปนของละเอียดออนมาก ถากําหนดไมถูกวิธีบางครั้ง ทําให
สับสนและฟุงซานมากขึ้น เปนสาเหตุที่ทําใหเกิดความเครียดและอาการมึน
ตึงของศีรษะไดดวย อันเปนปญหาและอุปสรรคของนักปฏิบัติบางทาน ที่
ขาดความเขาใจในเรื่ องวิธี กําหนดรูแบบนี้ อยางถูกต อง กอนกําหนดต อง
วางใจใหเปนปกติเสมือนหนึ่งไมมีอะไรเกิดขึ้นมากอน เพราะเมื่อไมมีสภาวะ
ลักษณะอยางนี้ใจก็เปนปกติ ไมมีชอบหรือชัง แตพอสภาวะนี้เขามาทําใหใจ
เราเสียความเปนปกติไป ฉะนั้น การกําหนดตองดูดวยสติปญญา ใหรูตาม
ความจริงที่เกิดขึ้น ไมตองไปคิดปรุงแตงหรือใสขอมูล
๑. อาการคิ ด เป น ธรรมชาติ ข องจิ ต เรา(สติ ) มี ห น า ที่ กํ า หนดรู
กําหนดจนอาการคิดหาย ใหกําหนดเร็วๆ วา "คิดหนอๆๆ" "คิดถึงหนอๆๆ"
๒. ตองกําหนดเร็ว แรง ถี่ มีพลัง เหมือนหวดไม วา "คิดหนอๆๆ"
ไมใหมีชองวาง
๓. ไมควรหามจิตไมใหคิด ทางที่ถูกคือ ตองตามกําหนดรูอาการคิด
๑๖
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., เอกสารประกอบการสอน รายวิชาสัมมนา
วิปสสนา, ศูนยบัณฑิตวิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม, ๒๕๕๕), หนา ๓๑๘.
๕๐๐
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
นั้นดวยสติที่มีพลังมาก สมาธิยอมเกิดขึ้น ความฟุงก็จะคอยนอยลง แลวหมด
ไปในที่สุด
๔. ในการกําหนดความคิด หามตามดูเรื่องราวที่คิด หนาตาคนที่เรา
คิด ใหเพียงแตกําหนดอาการของจิต ที่กําลังนึกคิดอยูเทานั้น
๕. เมื่ออินทรียแกกลา มีสมาธิตั้งมั่นแลว ใหตามรูถึงการดับลงของ
ความคิดนั้นๆ ดวย พรอมทั้งสังเกตรูถึงเยื่อใย(อุปาทาน)ที่ดับลงไปพรอมกับ
อาการคิดนั้นดวย
๖. เมื่อสมาธิตั้งมั่นเปนอุเบกขาไดแลว ใหเพิ่มการรูอาการดับของ
ความคิดนั้นๆ ที่ดับไปพรอมๆ กับจิตที่รูคิด เปนคูๆ นั้นดวยในการกําหนด
สภาวะจิตอื่นๆ ก็มีลําดับขั้นตอนการกําหนดอยางเดียวกัน
ดังนั้น ในขั้นนี้การกําหนดจะเนนไปที่รูอาการของตนจิตจนกวาจะ
ดับ ถึงสามารถขามไปจากสภาวญาณในขั้นนี้ และกําหนดสภาวะที่ปรากฏ
ตามอาการ หามดัดแปลงสภาวธรรม
วิธีกําหนดจิตมีราคะและจิตไมมีราคะ
พระพุทธเจาตรัสวา“ภิกฺขุสราคํวาจิตฺตํสราคํจิตฺตนฺติปชานาติ”ภิกษุ
จิตมีราคะก็รูชัดวา ‘จิตมีราคะ’ จิตปราศจากราคะก็รูชัดวา ‘จิตปราศจาก
ราคะ’๑๗คําวาราคะหมายถึงความกําหนัดความยินดีเกี่ยวกับเรื่องเพศแตใน
ที่นี้หมายถึงความยินดีพอใจสิ่งที่มาปรากฏทางทวารทั้ง๖โยคีพึงตามรูเทาทัน
จิตดังกลาวโดยกําหนดวา “ชอบหนอ โลภหนอ” ในบางขณะเมื่อกําหนด
เพียงครั้งเดียวจิตดังกลาวอาจสงบไปไดแตถาจิตยังไมสงบก็กําหนดสติตามรู
จนกวาจิตจะสงบระงับไปทั้งหมดเมื่อจิตนั้นสงบแลวก็พึงตามรูจิตที่ผองใส
ปราศจากราคะโดยกําหนดวา “รูหนอ” จิตดังกลาวชื่อวา จิตปราศจากราคะ
วิธีกําหนดจิตมีโทสะและจิตไมมีโทสะ
พระพุทธเจาตรัสวา“สโทสํ วา จิตฺตํ สโทสํ จิตฺตนฺติ ปชานาติ
วีตโทสํ วา จิตฺตํ วีตโทสํจิตฺตนฺติปชานาติ”ภิกษุจิตมีโทสะก็รูชัดวา ‘จิตมี

๑๗
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๑/๓๑๔.
๕๐๑
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
โทสะ’ จิตปราศจากโทสะก็รูชัดวา ‘จิตปราศจากโทสะ’๑๘จิตที่หงุดหงิดไม
พอใจโกรธอาฆาตหรือปองร ายชื่อวาจิ ตที่มีโ ทสะโยคีพึงตามรูจิ ตดั งกลาว
จนกวาจะสงบไปโดยกําหนดวา “โกรธหนอ” เปนตนเมื่อจิตนั้นสงบแลวก็พึง
ตามรูจิตที่ผองใสปราศจากโทสะโดยกําหนดวา “รูหนอ” จิตดังกลาวชื่อวา
จิตปราศจากโทสะ
วิธีกําหนดจิตหดหูและจิตฟุงซาน
พระพุทธเจาตรัสวา“สงฺขิตฺตํ วา จิตฺตํ ...ปชานาติวิกฺขิตฺตํวาจิตฺตํ ...
ปชานาติ สมาหิตํวาจิตฺตํ ...ปชานาติอสมาหิตํวาจิตฺตํ ...ปชานาติวิมุตฺตํวา
จิตฺตํ ..ปชานาติ อวิมุตฺตํวาจิตฺตํ ... ปชานาติ”ภิกษุจิตหดหูก็รูชัดวา ‘จิตหดหู’
จิตฟุงซานก็รูชัดวา ‘จิตฟุงซาน’ จิตเปนสมาธิก็รูชัดวา ‘จิตเปนสมาธิ’ จิตไม
เปนสมาธิก็รูชัดวา ‘จิตไมเปนสมาธิ’ จิตหลุดพนแลวก็รูชัดวา‘จิตหลุดพน
แลว’ จิตไมหลุดพนก็รูชัดวา ‘จิตไมหลุดพน’๑๙
ดังนั้น การปฏิบัติธรรมในขั้นที่ ๑ เห็นรูป-นาม ถาโยคีกําหนดถูก
ตรงตามคําสอนของพระวิปสสนาจารย ก็จะสามารถเกิดสภาวญาณได แตถา
ไมมีศรัทธาตอการปฏิบัติ ปญญาที่ควรจะเกิดก็ไมสามารถเกิดขึ้นได

๗. วิธีเจริญธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน
๑. การกําหนดตองกําหนดใหไดปจจุบันธรรม เชน เราจะกําหนด
พองหนอ ยุบหนอ คําที่กําหนดวาพองกับทองที่พอง ตองใหพรอมกัน อยาให
กอนหรือหลังกัน คําที่กําหนดวายุบกับทองที่ยุบ ก็ตองใหพรอมกัน อยาให
กอนหรือหลังกัน การเดินก็เชนเกัน ขณะที่เรากําหนดวา "ขวา" ตองยกเทา
ขวาขึ้นเรากําหนดวา "ยาง" ตองสื บเทายางไปทัน ที ขณะที่เรากําหนดว า
"หนอ" ตองใหเทาลงถึงพื้นพอดี อยางนี้จึงจะเรียกวาไดปจจุบันธรรม

๑๘
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๔๔/๑๑๑.
๑๙
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๑/๓๑๔-๓๑๕., ม.มู. (บาลี) ๑๒/๑๑๔/๘๓., ม.มู. (ไทย)
๑๒/๑๑๔/๑๑๑.
๕๐๒
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
ปจจุบันธรรมนี้มีความสําคัญตอการปฏิบัติมาก เพราะถากําหนดให
ไดปจจุบันธรรมแลว ขณิกสมาธิจะรวมตัว เมื่อขณิกสมาธิรวมตัวมากขึ้นๆ
จะทําใหอินทรียแ ละพละ คือ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา๒๐ มีกําลังกลา
ขึ้น แข็งแรงขึ้น มีกําลังกายดีขึ้น เหมือนลับมีดไวคมดีแลว ยอมใชประโยชน
ไดทุกขณะ
เมื่อปฏิบัติไปจนถึงมรรคญาณ (วิปสสนาญาณที่ ๑๔) อินทรียที่กลา
แข็ง ก็จ ะกอ ให เ กิ ด พละที่ กล า แข็ ง พละที่ก ล าแข็ง นี้ แ หละจะไปทํ าหน า ที่
ประหารกิเลสโดยอัตโนมัติ โดยที่เราไมตองไปยุงใด ๆ ทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น
เราจึงจําเปนที่จะตองรวบรวมขณิกสมาธิใหมากที่สุดเทาที่จะมากไดดวยการ
กําหนดใหไดปจจุบันธรรม
๒. การทําใหตอเนื่องกัน เมื่อกราบกรรมฐานแลวเราจะตองมาเดิน
และนั่งตามระยะเวลาที่กําหนด การกราบกรรมฐาน การเดินและการนั่ง ๓
อยางนี้ ตองทําใหตอเนื่องกัน เมื่อนั่งแลวจึงคอยหยุดพัก ในขณะหยุดพักตอง
ใชสติกําหนดอิริยาบถยอยไปดวยเชนเมื่อจะอาบน้ําจะหยิบขันก็กําหนดวา
"เห็ น หนอ" "หยิ บ หนอๆๆ" "ตั ก หนอๆๆ" "รดหนอๆๆ" "ถู ห นอๆๆ" เมื่ อ
รับประทานอาหาร จะตักขาวใสปากก็กําหนดวา "เห็นหนอๆๆ" "ตักหนอๆๆ"
"ใสหนอๆๆ" "ถูกหนอๆๆ" "อมหนอๆๆ" "เคี้ยวหนอๆๆ" "กลืนหนอๆๆ" เมื่อ
เวลาจะนอนก็กําหนดวา "นอนหนอๆๆ"
เมื่อนอนแลวก็กําหนดที่หนาทองวา "พองหนอ ยุบหนอ" จนกวาจะ
หลั บ ไป หลั บ เมื่ อ ใดสติ ห ยุ ด ทํ า งานเมื่ อ นั้ น สติ ต อ งทํ า งานอยู โ ดยตลอด
นับตั้งแตตื่นจนกระทั่งนอนหลับ การที่ตองทําเชนนั้นก็เพราะวา เมื่อเรานั่ง
แลวเราจะหยุดพัก แตในระหวางหยุดพักนั้น เราทํางานอื่นเสียบาง คุยบาง
ไมไดใชสติกําหนดอิริยาบถเลย ในชวงนี้จะมีชองวางเกิดขึ้น เมื่อมีชองวางจิต
ที่เราไมไดใชเขาทํางานก็จะและนออกไปขางนอก ทําใหเราฟุงทําใหกิเลส
ไหลเข า สู จิ ต ได อี ก ประการหนึ่ ง ถ า เราไม กํ า หนดให ต อ เนื่ อ งกั น จะทํ า

๒๐
ดูรายละเอียดใน สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๕๑๓/๓๒๕-๓๒๖.
๕๐๓
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
ให ข ณิกสมาธิ ที่ร วมตั ว ไว แล ว จะเริ่ มคลายตั ว ออก ทํา ให ส มาธิ อ อนกํ าลั ง
ปญญาอินทรียบ ังเกิดไดยาก
๓. ต อ งมีองค คุณ ๓ คือ อาตาป (เพีย รตั้ งใจทํ าจริ ง )สติ มา (มีส ติ
ระลึ ก รู อ ยู ที่ รู ป นามที่ กํ า ลั ง เกิ ด ขึ้ น ) สั ม ปชาโน (รู ป ตั ว ทั่ ว พร อ มติ ด ตาม
อิริยาบถอยูท ุกขณะ)๒๑
๔. ปรับอินทรียใหเสมอกันศรัทธายิ่ง ปญญาหยอน โลภะจะครอบงํา
ปญญายิ่ง ศรัทธาหยอน วิจิกิจฉาจะครอบงําวิริยะยิ่ง สมาธิหยอน
อุทธัจจะจะครอบงําสมาธิยิ่ง วิริยะหยอน ถีนมิทธะจะครอบงํา๒๒
๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๑ สมบูรณ
การปฏิ บั ติ ตั้ งแต การรั บ พระกรรมฐานจนถึงการปฏิ บั ติ สภาว
ญาณที่ปรากฏ คือ ญาณที่ ๑ โยคีเห็นชัดในอารมณที่ปรากฏ เชน เห็นเทาที่
กาวยางโดยความเปนอาการธาตุ ไมใชสัตว บุคคล เรา เขา เห็นเวทนาโดย
เปนอาการคือความรูสึกปวด เปนตน ไมใชขาขวาหรือซายที่ปวด เห็นจิตโดย
อาการที่คิด ไมไดรูวาคิดเรื่องอะไร คิดถึงใคร ที่ไหน อยางไร ซึ่งเปนปจจัยให
เกิดญานที่สูงขึ้น เพราะฉะนั้น สภาวธรรมเหลานี้ยอมเกิดกับโยคีผูมีศรัทธา
และความเพียรในการกําหนดอยางตอเนื่อง
ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ
สภาวะของญาณนี้ เปนญาณที่รูความเปนจริงของธรรมชาติทั้งปวง
วา เปนเพียงรูปกับนามเทานั้น คือ มองเห็นความตางกันของธรรมชาติ ๒
อยาง คือเห็นรูปก็เปนลักษณะธรรมชาติอยางหนึ่ง เห็นนามก็เปนลักษณะ
ธรรมชาติอยางหนึ่ง เชนวาเห็นวาการเคลื่อนไหวก็เปนธรรมชาติอยางหนึ่งที่
ไม ส ามารถจะรั บ รู อ ะไรได ตั ว มั น เอง ไม ส ามารถจะรั บ รู อ ารมณ ไ ด เป น
เพียงแตธรรมชาติที่เกิดขึ้นมาแลวก็สลายตัวไป จัดวาเปนรูปธรรมสวนตัวที่

๒๑
ดูใน ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๓/๓๐๑.
๒๒
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., “เอกสารประกอบ : รายวิชา สัมมนาวิปส สนา
ภาวนา”, หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, ๒๕๕๑), หนา ๓๒๐-๓๒๑.
๕๐๔
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
เขาไปรูเปนธรรมชาติที่สามารถจะรับรูอะไรได จัดเปนนามธรรม สภาวะที่
เห็นความตางกันของธรรมชาติ ๒ อยางนี้คือ เห็นวารูปก็อยางหนึ่ง เห็นวา
นามก็อยางหนึ่ง อยางนี้เรียกวา สามารถแยกรูปแยกนามได เห็นรูปเห็นนาม
ตางกันไมวาจะเปนทวารอื่นก็ตาม ขณะที่เย็น รอน ออน แข็ง หยอน ตึงมา
กระทบกาย มีส ติ รู ทัน เห็ น ว าเย็ น ร อน ออนแข็ง หย อน ตึ งนั้ น ก็เ ป น แต
ธรรมชาติที่มากระทบแลวก็สลายไป ไมสามารถจะรับรูอะไรได สวนตัวจิตใจ
เปนตัวที่เขาไปรูได เปนธรรมชาติชนิดหนึ่ง เปนนามธรรม๒๓
พระพุ ท ธเจ า ตรั ส อธิ บ ายเปรี ย บเที ย บนามรู ป ปริ จ เฉทญาณ ใน
สามัญญผลสูตร และในที่อื่นๆ เชน มหาสกุลุทายิสูตร วิปสสนาญาณกําหนด
รูจําแนกรูรูปและนามตรัสเรียกวา “ญาณทัสสนะ” วา “ภิกษุนอมจิตไปเพื่อ
ญาณทัสสนะ รูชัดอยางนี้วา ‘กายของเรานี้คุมกันเปนรูปรางประกอบขึ้นจาก
มหาภูตรู ป ๔ เกิดจากบิ ดามารดา เจริญวั ยเพราะขาวสุกและขนมสด ไม
เที่ย งแท ต องอบ ต องนวดเฟน มีอัน แตกกระจั ด กระจายไปเป น ธรรมดา
วิญญาณของเราอาศัยและเนื่องอยูในกายนี้’๒๔
นามรูปปริจเฉทญาณ คือ การกําหนดรูรูปนาม สามารถกําหนดรูได
วามีเพียงรูป-นามโดยปราศจากสมมติบัญญัติที่เปนบุคคล เรา ของเรา บุรุษ
สตรีการกําหนดรูปนามนั้นเปนการรูเห็นลักษณะพิเศษ คือ สภาวะลักษณะ
ของรูป-นามอยางแทจริงกลาวคือ
๑) รูป เปนสภาวะแปรปรวนและไมรูอารมณ
๒) นาม เปนสภาวะนอมไปสูอารมณ คือ รูอารมณ
นอกจากนั้น วิปสสนาญาณนี้ยังเปนการรูเห็นลักษณะพิเศษของรูป
และนามแตละอยางเชน
๑) ความแข็งออน เปนลักษณะพิเศษของธาตุดิน

๒๓
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., เอกสารประกอบการสอน รายวิชาสัมมนาวิปสสนา
,ศูนยบัณฑิตวิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม, ๒๕๕๕), หนา ๑๖๔-๑๖๕.
๒๔
ที.สี. (บาลี) ๙/๒๓๔-๒๓๕/๗๗, ที.สี. (ไทย) ๙/๒๓๔-๒๓๕/๗๗-๗๘.
๕๐๕
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
๒) การกระทบ เปนลักษณะพิเศษของผัสสะ
๓) การเสวยเปนลักษณะพิเศษของเวทนา
๔) จําไดหมายรู เปนลักษณะพิเศษของสัญญา
๕) การรูอารมณ เปนลักษณะพิเศษของวิญญาณ
อนึ่ง ลักษณะพิเศษของรูป-นามดังกลาวปรากฏในปจจุบันขณะที่
ประกอบด ว ยขณะจิ ต ๓ คื ออุ ป ปาทขณะ (ขณะเกิ ด ขึ้ น ) ฐิ ติ ขณะ (ขณะ
ตั้งอยู) ภังคขณะ (ขณะดับไป) ไมปรากฏในอดีตที่ดับไปแลวและอนาคตที่ยัง
มาไมถึง ดังนั้นจึงควรกําหนดรูปนามในขณะปจจุบันเทานั้น๒๕
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
กําหนดเดิ นจงกรมใหครบ ๓ ระยะ เริ่ มกําหนดจากระยะที่ ๑-๓
ตามลํ า ดั บ ในการกํ า หนดเดิ น สติ ส ามารถกํ า หนดพอดี กั บ เท า ลงตั ว
เหมาะเจาะพอดี กับ การกํ าหนดรู สึ ก ได ถึง อาการที่เ ปลี่ ย นไป ดั บ ไป ของ
สภาวะนั้นๆ เชน ขณะยางเทาก็รูสึกถึงอาการลอยไปของเทา พอเหยียบลง
อาการลอยก็ดับไป มีอาการตึงแข็งเขาแทนที่
โยคีกําหนดรูเทาที่เหวี่ยงพรอมกัน ไมกอนไมหลัง โดยอาการ คือ
เทาที่กระทบพื้นมีความเย็นหรือรอน ออนหรือแข็ง ตึงหรือหยอน ตามสภาพ
ธรรมอยางใดอยางหนึ่งที่ชัดเจน ในขณะนั้นความรูสึกวาเรารูเทาไมปรากฏ
แกโยคี ปราศจากบุคคล เรา เขา มีเพียงอารมณที่ปรากฏชัดกับจิตที่เขาไปรู
เทานั้น ขณะเดินกําหนดที่เทา เมื่อเทาเคลื่อนไป ยก ยาง เหยียบ จิตหรือใจ
เปนผูรู ซายขวา จิตเปนผูรู
กําหนดเดิ น จงกรม ๑ ชั่ ว โมง จิ ต ใจผ องใสดี ไมมีความงว ง มีส ติ
ระลึกทันปจจุบันไดทันดีมาก แมกระทั่งลมพัดก็มีสติระลึกทันเกือบทุกครั้ง
เวทนาปวดแผวเบาสามารถกําหนดรักษาระดับของเวทนาปวดได เมื่อเวทนา
ปวดเบาแลว ใชระยะเวลานานกวาจะเกิดขึ้นมาใหม ลมพัดถูกตัวก็รูสึกวาชัด

๒๕
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนานัย เลม ๒, (นครปฐม: หาง
หุนสวนจํากัด ซีเอไอ เซ็นเตอร จํากัด, ๒๕๕๐), หนา ๙๒.
๕๐๖
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
มากกวาปกติหลายเทา จิตเห็นภาพนิมิตซอนขึ้นมาลักษณะแวบๆ ไมนาน มี
สติรูทันตลอด๒๖
อนึ่ง ช วงทายชั่ว โมงกอนหมดบัลลั งก จิ ตสามารถพิจารณาอยาง
ละเอียด รู อาการเกิด ดับ ของสั งขาร มัน ไมเที่ยง มันเกิด ขึ้น ตั้งอยู ดับ ไป๒๗
อาการเกิดดับ เปรียบรางกายเหมือนหุนยนตตองใชจิตสั่งงาน ถาจิตไมสั่งก็
ไมเคลื่อนไหว รูสึกวาสังขารบังคับไมไดเชน อาการสะดุงกระตุก เวลายืน
บังคับใหมันนิ่งไมได จิตเปนผูสั่งจึงจะเคลื่อนไหวได มีอาการปลื้มปติเร็ว ถา
พูดโดนใจ บางครั้งน้ําตาแทบรวง จิตตองพิจารณาใหรูเทาทัน บางขณะเห็น
กัลยาณมิตรทําอะไรตลกๆ ก็อยากหัวเราะ ก็ตองพิจารณาใหรูเทาทันจิต
การกําหนดนิมิต ขณะเดิน กําหนดที่เทา เมื่อเทาเคลื่อนไปยกสน
ยก ยาง เหยียบ ถูก กด จิตเปนผูรูซายขวา จิตเปนผูรู
เห็นรูปก็เปน ลักษณะธรรมชาติอยางหนึ่ง เห็นนามก็เปนลักษณะ
ธรรมชาติอยางหนึ่ง เชน วา เห็น วาการเคลื่อนไหวก็เ ปน ธรรมชาติอยา ง
หนึ่ง ที่ไมส ามารถจะรับ รูอะไรไดตัว มัน เอง ไมสามารถจะรับ รูอารมณได
เปน เพีย งแตธ รรมชาติที่เ กิด ขึ้น มาแลว ก็ส ลายตัว ไป จัด วา เปน รูป ธรรม
สวนตัวที่เขาไปรู เปนธรรมชาติที่สามารถจะรับรูอะไรได จัดเปนนามธรรม
สภาวะที่เห็นความตางกันของธรรมชาติ ๒ อยางนี้ คือ เห็นวารูปก็อยาง
หนึ่งเห็น วานามก็อยา งหนึ่ง อยางนี้เ รีย กวา สามารถแยกรูป แยกนามได
เห็นรูปเห็นนามตางกัน ไมวาจะเปนทวารอื่นก็ตาม ขณะที่เย็น รอน ออน
แข็ง หยอน ตึงมากระทบกายมีสติรูทันเห็นวาเย็น รอน ออน แข็ง หยอน
ตึงนั้นก็เปนแตธรรมชาติที่มากระทบแลวก็สลายไปไมสามารถจะรับรูอะไร
ได สวนตัวจิตใจเปนตัวที่เขาไปรูไดเปนธรรมชาติชนิดหนึ่งเปนนามธรรม๒๘

๒๖
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., “เอกสาร ประกอบการสอนวิชา : สัมมนา
วิปสสนาภาวนา”, หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, ๒๕๕๑), หนา ๔๒๓.
๒๗
ดูใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑//๖๖๒.
๒๘
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., “เอกสาร ประกอบการสอนวิชา : สัมมนา
วิปสสนาภาวนา”, หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, ๒๕๕๑, หนา ๓๙๖.
๕๐๗
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
สภาวธรรมขณะเดินจงกรม มีลักษณะดังนี้
๑. ขวายางกับซายยางเปนคนละอัน พองกับยุบเปนคนละอัน
๒. ขวายางกับรูวายางคนละอัน พองกับรูวาพองคนละอันยุบกับรูวา
ยุบคนละอันเห็นกับรูวาเห็นคนละอัน อายตนะอยางอื่นก็เหมือนกัน
๓. เดินเปนรูปใจที่กําหนดรูอาการเคลื่อนไหวที่เดินเปนนาม
การปฏิบัติขั้นนี้จะเปนการบริกรรมนําอาการอยูจัดอยูในเขตสมถะ
และจัดเขาในญาตปริญญา จัดเปนทุกขอริยสัจและมรรคอริยสัจซึ่งทั้งหมดนี้
เปนการปฏิบัติเบื้องตนที่กลาวถึงขั้นตอนตางๆ ตั้งแตการรับพระกรรมฐาน
จนถึงการปฏิบัติ ซึ่งสภาวะญาณที่ปรากฏ คือ ญาณที่ ๑ เห็นรูปเห็นนาม
โยคีเห็นชัดในอารมณที่ปรากฏ เชน เห็นเทาที่กาวยางโดยความเปนอาการ
ธาตุ ไมใชสัตว บุคคล เรา เขา ขณะเดินจงกรมเห็นเวทนาโดยเปนอาการ คือ
ความรูสึกปวด เปนตน ไมใชขาขวาหรือซายที่ปวด เห็นจิตโดยอาการที่คิด
ไมไดรูวาคิดเรื่องอะไร คิดถึงใคร ที่ไหน อยางไร ซึ่งเปนปจจัยใหเกิดญาณที่
สูงขึ้น๒๙ เพราะฉะนั้นสภาวธรรมเหลานี้ยอมเกิดกับโยคีผูมีศรัทธาและความ
เพียรในการกําหนดอยางตอเนื่องจัดเปนทิฏฐิวิสุทธิ และการกําหนดรูรูปนาม
นี้ก็จัดเปนทุกขอริยสัจ
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : นั่งกําหนดพอง-ยุบ
กํ า หนดดู อ าการท อ งพอง-ยุ บ และใจที่ รู สึ ก อาการให เ ท า กั น ให
ตรงกันพอดี อยาใหกอนหรือหลังกัน ความรูสึกถึงความเปนตัวตน วาเราเปน
ผูรูสึก ยอมไมปรากฏ ณ ขณะนั้นเลย สภาวะเชนนี้พระธรรมธีรราชมหามุนี
(โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ.๙) วินิฉัยวาเปนนามรูปปริจเฉทญาณ ดังที่ทานอธิบาย
ว า บุ ค คลเช น นี้ รู ลั ก ษณะของนาม คื อ มี ค วามน อ มไปสู อ ารมณ เรี ย กว า
นมนลกฺขณํ คือ ใหกําหนดเอาที่รูปกอน ตามนัยวิปสสนายานิก ใหกําหนด
วาโยโผฏฐัพพรูปกอน คัมภีรบาลีวิสุทธิมรรคอธิบายวา “ยถา ยถา หิสฺสรูป
สุวิกฺขาลิตฺตํ โหติ นิชฺชฎํ สุปริสุทฺธํ ตถา ตถา ตทารมฺมณา อรูปธมฺมา สยเมว
ปากฏา โหนฺติ” ..
๒๙
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๗/๑/-/๕๐.
๕๐๘
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
รูป มีพอง ยุ บ เป นต น พินิ จ ดีแลว ไมมีความยุ ง ผองใสดีแลว โดย
ประการใดๆ นามธรรมที่รูซึ่งรูปนั้นๆ แจงชัดขึ้นมาเอง โดยประการนั้นๆ คือ
ชั้นตน กําหนดตัวรูปจนหมดจดขึ้นมากอนแลวตอนั้น นามจะหมดจดขึ้นมา
เอง เมื่อกําหนดไปๆ จนเกิดความรูสึกวา มันจะวิ่งเขาไปสูกัน นามรูป พอถึง
ตอนนี้ ถาโยคีพูดไดอยางนี้ ใหเขาใจวา เขารูจักจําแนกรูป-นามได เรียกไดวา
ผูรูไดอยางจะแจงทีเดียว (นาม-รูปปริจเฉทญาณ) โยคีมีความเพียรกําหนด
พรอมกันเชนนี้ สติ สมาธิ ปญญายอมปรากฏแกโยคีวา ทองพองยุบ เปน
เพียงอาการของวาโยโผฏฐัพธาตุที่กระทบกัน คือตึงหยอนหรือไหว จิตเปน
เพียงอาการเขาไปรู๓๐ 
สภาวธรรมขณะนั่งกําหนดพอง-ยุบ มีลักษณะดังนี้
- พองกับยุบเปนคนละอัน พองเปนรูป รูเปนนาม
- บางทีกําหนด อาการยุบทัน อาการพองไมทัน ฯลฯ
- มีสติกําหนดพิจารณารูอาการเคลื่อนไหวในทอง ตั้งแตตนพอง กลาง
พอง สุดพอง, ตนยุบ กลางยุบสุดยุบของอาการเคลื่อนไหวของวาโยธาตุในชอง
ทอง วามีอาการที่แทจริงเปนอยางไรหากมีสภาวะในอิริยาบถนั่ง เชน พองกับ
ยุบเปนคนละอัน พอง-ยุบ ไมชัดเจน
กําหนดรูดูอาการทองพอง ทองยุบ ใจที่รูสึกกับทองพอง ทองยุบให
เทากันใหตรงกันพอดี อยาใหกอนหรือหลังกัน จิตที่รูพรอมกันเชนนี้ วินิจฉัย
วา นามรูปปริเฉทญาณ จิตกําหนดพรอมกันทีเดียวความรูสึกถึงความมีอยู
ตัวตนขณะนั้นยอมไมปรากฏนี้เรียกวา นามรูปปริเฉทญาณ๓๑จัดเปนทุกขอ
ริยสัจ (จินตาญาณ)”
ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
การกําหนดอารมณทั้งปวง คืออารมณทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และ
ใจนั้น อารมณไหนปรากฏชัดเจน แจมชัดก็ใหกําหนดอารมณนั้นๆ กอน เชน
๓๐
พระธรรมธีรราชมหามุนี, คูมือสอบอารมณกรรมฐานวิชาครู, หนา ๘๓.
๓๑
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ), คูมือสอบอารมณกรรมฐานวิชาครู,
พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท ช. โฆษิตพิพัฒน จํากัด, ๒๕๔๓.), หนา ๘๓.
๕๐๙
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
ในขณะที่เรานั่งภาวนาอยูนั้น อารมณเกิดทางจมูกก็ไดกลิ่น ทางกายก็มีการ
กระทบ เชน เย็น รอน ออน แข็ง หรือทุกขเวทนา เปนตน ที่เกิดรวม เมื่อสิ่ง
เหล านี้ มาประสบ และเกิดขึ้น พรอมกัน ก็ใหเ รากําหนดอารมณที่ปรากฏ
ชัดเจนที่สุดโดยเฉพาะอารมณที่เกิดโดยตรงภายในจิต
เห็นความเปนจริงของธรรมชาติทั้งปวงวา..
ทวารตา : เมื่อมีภาพมากระทบจะเกิดการเห็นขึ้น เวลาตาเห็นรูป
ตากับสีเปนรูป เห็นเปนนาม
ทวารจมูก : เมื่อมีกลิ่นมากระทบจมูกจะเกิดการรูกลิ่นขึ้น (ดมกลิ่น)
เวลาจมูกไดกลิ่น จมูกกับกลิ่นเปนรูป ไดกลิ่นเปนนาม
ทวารลิ้น : เมื่อมีรสมากระทบลิ้นจะเกิดการรูรสขึ้น เวลาลิ้นไดรส
ลิ้นกับรสเปนรูป รูรสเปนนาม
โยคีเห็นชัดในอารมณที่ปรากฏ เชน เห็นเทาที่กาวยางโดยความเปน
อาการธาตุ ไมใชสัตว บุคคล เรา เขา เห็นเวทนาโดยเปนอาการคือความรูสึก
ปวด เปนตน ไมใชขาขวาหรือซายที่ปวด เห็นจิตโดยอาการที่คิด ไมไดรูวาคิด
เรื่ อ งอะไร คิ ด ถึ ง ใคร ที่ ไ หน อย า งไร ซึ่ ง เป น ป จ จั ย ให เ กิ ด ญาณที่ สู ง ขึ้ น
เพราะฉะนั้นสภาวธรรมเหลานี้ยอมเกิดกับโยคีผูมีศรัทธาและความเพียรใน
การกําหนดอยางตอเนื่อง
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เวทนา
ขณะที่โยคีนั่งภาวนา ๑ ชั่วโมง หรือเดินจงกรม ๑ ชั่วโมงอยูนั้น เมื่อ
กําหนดรูทันเวทนา(เจ็บ ปวด เมื่อย) สม่ําเสมอ สติกําหนดวา “ปวดหนอ”
ไดแคคงที่ ใหดับสนิทยังไมสามารถกระทําได ตอมาอาการเวทนาเริ่มจากเบา
ไปหาหนัก คือ เริ่มตนปวดเบาๆ ทามกลางปวดมาก ใกลหมดเวลาปวดมาก
ที่สุ ด จนแทบทนไม ไหว (รู สึ ก คล า ยกับ ว า จะตาย) สติ ร ะลึ กรู จิ ต ดี ม ากไม
ฟุงซาน ๓๒ จิ ตมีกําลั งดี กําหนด “ปวดหนอๆๆๆๆ” ระยะเวลาพอสมควร
ทุกขเวทนาปวดคอยๆ ลดลงเล็กนอย
บางคนพูด วา บางครั้ งเวทนามี บางครั้ งเวทนาไมมี อาจารย ตอง
๓๒
ดูใน ที.ม. (ไทย)๑๐/๓๘๑/๓๑๕.
๕๑๐
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
แนะนํา : ถารูสึกมีเวทนาใหหยุดกําหนดพอง-ยุบ แลวกําหนดเวทนาตอไป
เมื่อเวทนาจางหายไปแลว ใหกําหนดพอง-ยุบตอไปอีก ถาอาจารยมีความรู
เกี่ยวกับเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ก็ควรแสดงเวทนาตามหลัก คนนั้นก็จะมี
กําลังใจอยากกําหนด ถาไมเทศนใหฟงเขาอาจจะกลัวไมกําหนด
กําหนดเวทนาโดยที่อาการปวด(ความรูสึกปวด) ไมใชเทาปวด ขา
ปวด ไหลปวด ฯลฯ เปนเพียงความรูสึกปวดเทานั้น และจิตเขาไปรูอาการก็
ไมใชความปวด แตวาญาณจิตยังมีความยินดียินรายในอาการที่ปวดนั้นอยู
เพราะสมาธิปญญายังไมมากพอที่จะตัดอารมณ เพียงเห็นวาความปวดนั้น
ปราศจากบุคคล เรา เขา เปนการรูชัดอาการของรูปนาม ไมมีตัวตนเราเขา
มีแตรูอาการของเวทนาที่ปรากฏซึ่งก็ไมใชรูปและจิต ความคิดตางๆ รวมถึง
นิมิตก็ไมใชเรา เปนเพียงอาการของจิตที่ปราฏขึ้นเทานั้น อันเปนสภาวญาณ
เริ่มแรกที่เรียกวา นามรูปปริจเฉทญาณนั่นเอง อันละตัวตน เรา เขา ของเรา
ของเขา เพราะเขาใจเห็นธรรมชาติตามจริงเปนทิฏฐิวิสุทธิ๓๓
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : จิต
ขณะทีน่ ั่งภาวนา ๑ ชั่วโมง หรือเดินจงกรม ๑ ชั่วโมงอยูนั้น หากจิต
คิดถึงอดีต อนาคต หรือฟุงซาน ถึงเรื่องที่เปนบุญบาง บาปบาง กําหนดวา
“คิ ด หนอๆ” โยคี กํ า หนดเห็ น อาการของจิ ต ที่ คิ ด กํ า หนดอาการนั้ น ไม
กําหนดเรื่องราวที่คิด สถานที่ บุคคล เพียงรูวากําลังคิดอยู จนเห็นวาจิตรูกับ
ความคิดเปนคนละอัน ปราศจากความรูสึกวาเปนผูคิด หรือความคิดเปนเรา
หรือเมื่อนั่งไดประมาณกลางชั่วโมง เกิดนิมิตเห็นแสงสวาง หรือแสง
สีเ ปน ตน กําหนดว า “เห็ นหนอๆๆ” แต อาจไมห ายไป การกําหนดชพอง
หนอ-ยุบหนอ กําหนดเห็นชัดเจนมาก จนกระทั่งพอง-ยุบหายไปเลย ก็เลย
กําหนดเวทนาตอบางคนอาจารยแนะนําวา การที่เราจะไปดูเฉยๆ เชนนั้น
ไม ไ ด ถ า ชอบใจนั่ น เป น โลภะ ถ า ไม ช อบใจนั่ น เป น โทสะ ถ า เห็ น แล ว ไม
กําหนดรู เปนโมหะ การปฏิบัติธรรมนี้เพื่อสละกิเลสเหลานี้ ถาเราไปพอใจสิ่ง
เหลานี้เทากับเราพากันแสวงหากิเลสเพิ่มขึ้นอีก โยคีกําหนดแสงโดยอาการ
๓๓
ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๒๕๙/๒๘๓.
๕๑๑
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
ของจิตวา “เห็นหนอๆ” เชนนี้ ยอมรูชัดวาแสงที่ปรากฏกับจิตที่รูเปนคนละ
อันกัน ปราศจากเรารู เปนเพียงอาการรูของจิตเอง
จิตที่ปรากฏอาการคิดเปนเรื่องที่รูเปนรูปบัญญัติที่ไดจากอารมณที่
เป น เวทนา สั ญญา สั ง ขาร และวิ ญ ญาณ ที่ เ ข ามาปรากฏแกจิ ต เป น รู ป
ปรมัตถ สติสัมปชัญญะที่เกิดจากการเจริญวิปสสนาในสติปฏฐานทั้ง ๔ ที่จิต
รับรู คือกาย เวทนา จิต ธรรม ในขณะนั้นเปนนาม เชน คิดถึงคนรูจักแลวจํา
ชื่อไดวา ชื่ออะไร เปนตน
๑) ความคิดปรากฏขึ้นเยอะเปนไปอยางรวดเร็วเหมือนฝนที่ตกลง
หนัก แตรูวาฝนตกทีละเม็ดเทานั้น
๒) บางครั้งกําหนดรูตนเรื่องที่คิดได บางครั้งกําหนดรูตอนปลาย
เรื่องที่คิดได แตกําหนดรูไมไดตลอดสายของความคิดที่เกิดขึ้น
๓) ตัวที่คิดถึงคนนั้นเปนบัญญัติที่เกิดจากจิตที่รับรูอารมณที่เปนรูป
๔) ตัวจิตที่รูจักและจําชื่อไดในขณะรับรูอาการคิดภายในเปนนาม
๕) ตัวที่รูสึกกับคนนั้นอยางไรเปนนาม
๖) ตัวจิตที่รูสึกในความพอใจ หรือไมพอใจที่รูอยูเปนนาม
ขั้นนี้เวทนายังไมเกิด หรือเกิดขึ้นแลวก็จางหายไป และมีความคิด
สับสนในขณะที่เวทนาเกิดอยูรวมดวย ในชวงแรกรูสึกหลงไปกับความคิดจน
รู สึ ก สั บ สน ต อ งคอยดู ค วามคิ ด ใหม ทํ า ให ไ ม สั บ สน และแยกแยะได ว า
ความคิดก็อยางหนึ่ง เวทนาที่เกิดขึ้นก็อยางหนึ่ง ในขณะที่ครบชั่วโมง ไมรูสึก
ดีใจหรือเสียใจ ไมอยากออกและไมอยากเขาเฉยๆ กับเวลาในการปฏิบัติ ไม
เหมือนวันแรกๆ ตัดสินใจออกจากสมาธิ ขณะนั้นเวทนาลดลงไปมาก
ดังนั้น นามรูปปริจเฉทญาณ ก็คือ การรูชัดอาการของรูป มีอาการ
เดิน อาการยืน อาการนั่ง อาการนอน อาการพอง อาการยุบ เปนตน โดยไม
มีตัวเรา มีแตอาการและจิตรู แมแตเวทนาที่ปรากฏก็ไมใชเรา ความคิดตางๆ
รวมถึงนิ มิต ก็ไมใชเ รา เปน เพีย งอาการของจิ ตที่ป ราฏขึ้น เทานั้ น อันเป น
สภาวญาณที่เรียกวา นามรูปปริจเฉทญาณนั่นเอง สามารถละตัวตน เรา เขา
ของเรา ของเขาเสียได เพราะเขาใจและเห็นแจงธรรมชาติตามจริงบางแลว
๕๑๒
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
๓๔
จัดเปน ทิฏฐิวิสุทธิ
เปนการปฏิบัติเบื้องตนที่กลาวถึงขั้นตอนตางๆ ตั้งแตการรับพระ
กรรมฐานจนถึงการปฏิบัติ ซึ่งสภาวญาณที่ปรากฏ คือ ญาณที่ ๑ เห็นรูปเห็น
นาม คือ โยคีเห็นชัดในอารมณที่ปรากฏ เชน เห็นเทาที่กาวยางโดยความ
เปนอาการธาตุ ไมใชสัตว บุคคล เรา เขา ที่เดิน เห็นทองพองยุบโดยความ
เปนอาการ วาโยธาตุที่ทําใหเคลื่อนไหว ไมใชรูปทอง เห็นเวทนาโดยเป น
อาการ คือ ความรูสึกปวด เปนตน ไมใชขาขวาหรือซายที่ปวด เห็นจิตโดย
อาการที่คิด ไมไดรูวาคิดเรื่องอะไร คิดถึงใคร ที่ไหน อยางไร ซึ่งเปนปจจัยให
เกิ ด ญานที่ สู ง ขึ้ น ๓๕ เพราะฉะนั้ น สภาวธรรมเหล า นี้ ย อ มเกิ ด กั บ โยคี ผู มี
ศรัทธาและความเพียรในการกําหนดอยางตอเนื่อง
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อายตนะ
๑) ทวารตา เมื่อมีภาพมากระทบจะเกิดการเห็นขึ้น เวลาตาเห็นรูป
ตากับสีเปนรูปเห็นเปนนาม
๒) ทวารหู เมื่อเสียงมากระทบจะเกิดการรูเสียง (ไดยิน) ขึ้น เวลา
หูไดยินเสียงหูกับเสียงเปนรูป ไดยินเปนนาม
๓) ทวารจมูก เมื่อมีกลิ่นมากระทบจมูกจะเกิดการรูกลิ่นขึ้น (ดม
กลิ่น) เวลาจมูกไดกลิ่นจมูกกับกลิ่นเปนรูป ไดกลิ่นเปนนาม
๔) ทวารลิ้น เมื่อมีรสมากระทบลิ้นจะเกิดการรูรสขึ้น เวลาลิ้นไดรส
ลิ้นกับรสเปนรูป รูรสเปนนาม
๕) ทวารกาย เมื่ อ มีอ ารมณ มากระทบกาย จะเกิ ด การรู อ ารมณ
(เย็น รอนออน แข็ง) เวลากายถูกตองเย็น รอนออน แข็งเปนรูป รูเปนนาม
รางกายทั้งหมดตั้งแตปลายผมถึงปลายเทาเปนรูป ใจเปนนาม มีเพียงรูปกับ
นามเทานั้น ไมมีสัตว บุคคล ตัว ตน เรา เขา มีแตสักวารูปกับนามเทานี้ เชน
นั่งเปนรูป รูวานั่งเปนนาม เดินเปนรูป รูวาเดินเปนนาม

๓๔
ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๒๕๙/๒๘๓.
๓๕
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๗/๑/-/๕๐.
๕๑๓
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในนามรูปปริจเฉทญาณ
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป-เห็นนามมีสติกําหนดพิจารณารูอาการเคลื่อนไหวใน
ทอง ตั้งแต ตนพอง กลางพอง สุดพอง, ตนยุบ กลางยุบ สุดยุบ ของอาการ
เคลื่ อนไหวของวาโยธาตุ ในช องทอง ว ามี อาการที่แทจริ งเป นอย างไรหากมี
สภาวะในอิริยาบถนั่ง เชน พองกับยุบเปนคนละอัน พอง-ยุบ ไมชัดเจน
ญาณที่ ป รากฏ คือ ญาณที่ ๑ นามรู ป ปริ จ เฉทญาณ ป ญญารู ว า
อะไรเปนรูป อะไรเปนนาม และสามารถแยกรูปแยกนามออกจากกันได เห็น
ปรมัตถอารมณไดอยางชัดเจน คือปญญารูแจงรูปนาม ปญญารูวา อะไรเปน
รูป อะไรเปนนาม รูปนามแทจริงเปนอยางไรและสามารถแยกรูปแยกนาม
ออกจากกันไดไมปะปนกันอยางชัดเจน ญาณนี้ กําหนดจนรูเห็นรูปเห็นนาม
วาเปนคนละสวนซึ่งไมไดปนกัน
เปนภูมิแหง ญาตปริญญา คือ เริ่มตั้งแตกําหนดสังขารจนถึงกําหนด
ป จ จั ย ปริ ญ ญานี้ ก็ คื อ การตามกํ า หนดอย า งจดจ อ ต อ เนื่ อ ง จนแจ ง
ลักษณะเฉพาะของอารมณที่กําหนด จัดเขาใน อริยสัจ ๔ คือ “ทุกข (จินตา
ญาณ ความรูที่เปนไปกับความดําริ หมายถึง วิปสสนาญาณขั้นตนที่ยังออน
ตรุณวิปสสนา)”
เปนภูมิของญาตปริญญา คือปญญาขั้นรูจักรูปนาม รูจักแยกแยะได
วาอะไรเปนรูป อะไรเปนนามมองเห็นความตางกันของธรรมชาติ ๒ อยาง
คื อ เห็ น รู ป ก็ เ ป น ลั ก ษณะธรรมชาติ อ ย า งหนึ่ ง เห็ น นามก็ เ ป น ลั ก ษณะ
ธรรมชาติอยางหนึ่ง จัดเปนทิฏฐิวิสุทธิ และการกําหนดรูนี้เปนทุกขอริยสัจ
๑) ญาตปริญญา กําหนดรูป -นาม ๘๐% เปนการกําหนดรูขั้นรูจัก
รูป -นามว าเป น ทุกขสั จ เห็ นอาการเกิดขึ้น และอาการที่ตั้ งอยูของรูป นาม
(ขันธ ๕) อันเปนตัวทุกข
๒) ตีรณปริญญา การพิจารณารูป-นาม ๑๕ %
๓) ปหานปริญ ญา การละอุป าทานในรูป -นามดว ยการกํา หนด
พิจารณารูป-นาม ขมนิวรณไวแบบวิกขัมพนปหาน ๕ %

๕๑๔
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม

อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๑. นามรูป ๕ (จิตกุศล)
๖๐ ๑๐ (ทุกขเวทนา) ๑๐ (นิวรณ) ๑๐
ปริจเฉทญาณ ๕ (จิตอกุศล)
๑. กายานุปสสนา ๖๐ % การกําหนดรูอารมณฐานกายมากที่สุด
ชัดสุด พอง-ยุบชัด ,ยก– ยาง-เหยียบ. นั่ง-ถูกชัดเจน
๒. เวทนานุปสสนา ๑๐ % ทุกขเวทนาอาการปวดยังไมมาก พอๆ
กับนิวรณธรรมในธัมมานุปสสนา ๑๐ % คือ อาการเบื่อเซ็งพอๆกัน บางครั้ง
ก็หลับ บางครั้งก็ปวดนิดหนอย เพราะไมสนใจปวด ดูแตพอง-ยุบ
๓. จิตตานุปสสนา ๑๐ % (กุศลจิต ๕ % , อกุศล ๕ %) กุศลจิตคือ
ความตั้งใจ สวนอกุศลจิต คือ ความไมตั้งใจ ฟุงซาน งวงซึม บางครั้งก็หลับ
๔. ธัมมานุปสสนา ๑๐ % เปนนิวรณธรรม เชน งวง เบื่อเซ็ง เปน
ธรรมารมณ เปนอกุศลดวย แตเมื่ออกุศลเกิดก็ใชเปนอารมณของสติในการ
กําหนดรู ในจิตตานุปสสนาตามสภาพที่เปนจริง
เพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนาเพียง ๑๐ % โดยใสใจ
เพงดูอารมณมากกวาใสใจทองบริกรรม เพราะขั้นนี้จิตยังไมตั้งมั่น มักถูก
นิวรณรบกวนอยูบอยๆ ตองพยามเพิ่มพูนสมาธิดวยการเพงรูรูปธรรมใหมาก
ความสมดุลของอินทรีย ๕
อินทรีย ๕ มีรูปวิเคราะหวา อินฺทสฺสกมฺมํอินฺทริยํ แปลวาการกระทํา
ของผูเปนใหญ ชื่อวาอินทรีย หมายถึงความเปนใหญตอหนาที่นั้นๆ เหมือน
การกระทํ า ของผู ใ หญ คื อ การกระทํ า ของผู ค วบคุ ม จิ ต ใจของตั ว เองได
ตัวอยางเชน ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา ธรรมทั้ง ๕ ประการเหลานี้
ยอมเกิดขึ้นแกผูที่สามารถควบคุมจิตหรือผูที่เปนใหญแกจิตของตน
๑. ศรัทธินทรีย ความเชื่อ ทําใหจิตใจผองใส จิตที่ไมศรัทธาจะไม
ผองใส
๕๑๕
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป เห็นนาม
๒. วิริยินทรีย ความเพียร ที่เปนอินทรีย เรียกวา ภาวนาวิริยะ เปน
ความเพียรในการอบรมจิตใจ
๓. สตินทรีย การระลึกรูสภาวธรรมปจจุบันตามความเปนจริง
๔. สมาธินทรีย ความตั้งใจมั่นในสภาวธรรมปจจุบัน เราทั้งหลายมัก
ขาดความตั้งมั่นในสภาวธรรมปจจุบัน โดยจิตของเรามักซัดสายอยูเ สมอ
๕. ปญญินทรีย จิตที่มีคุณภาพขณิกสมาธิที่มีกําลัง เปรียบเสมือน
กระจกเงาที่บุคคลขัดสีอยูเสมอ
ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา
๔๐ ๒๕ ๒๐ ๑๐ ๕
การปรั บ อิน ทรี ย ในอิ น ทรี ย ๕ เหล านั้ น ศรั ทธากับ ป ญญา และ
วิริยะกับสมาธิ ตองสมดุลกันในคัมภีรวิสุทธิมรรคกลาววา วิเสสโตปเนตฺถ
สทฺธาปฺานํ สมาธิวีริยานฺจ สมตํ ปสํสนฺติ. อนึ่ง พระพุทธเจาทั้งหลาย
ทรงสรรเสริญความสมดุลแหงศรัทธากับปญญาและความสมดุลแหงสมาธิกับ
วิริยะเปนพิเศษในเรื่องนี้
ศรัทธาความเชื่อและปญญาความเขาใจทั้งสองอยางตองสมดุลกัน
ถามีความเชื่อแตไมมีความเขาใจสิ่งที่ตนเองเชื่ออยางถูกตอง คือ ไมเขาใจใน
เหตุผลวาสิ่งนี้ควรเชื่อหรือไม ก็จะกลายเปนคนงมงาย เชื่อทุกสิ่งทุกอยางที่
ฟงมา บุคคลที่มีปญญาอันเปนการวิเคราะหวิจารณอยางมากโดยปราศจาก
ศรั ท ธาก็ มั ก เป น คนที่ ต รึ ก ตรองมากเกิ น ไป ส ง ผลให ไ ม เ ชื่ อ ถื อ สิ่ ง ใด
เพราะฉะนั้น ศรัทธากับปญญาจึงตองเทากัน
นอกจากนี้ วิริยะกับสมาธิก็ตองเทากันถาความเพียรมากกวาสมาธิ
ยอมสงผลใหฟุงซาน แตถาสมาธิมากกวาความเพียร ยอมสงผลใหเกิดความ
งวงเหงาหาวนอน ดังนั้นจึงมีการสอบอารมณในแตละวันเพื่อปรับอินทรีย

๕๑๖
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
การปฏิบัติในขั้นที่ ๒ พิจารณารูปนาม เปนหัวขอธรรมที่สืบตอจาก
ขั้น ที่ ๒ เป น การพิ จ ารณารู ป นามโดยเหตุ ป จ จั ย ซึ่ งเน น ไปที่ ก ารเพิ่ม สติ
กําหนดทางทวารทั้ง ๖ ขณะการเดิน จงกรม การนั่งสมาธิ ฯลฯ พรอม
สังเกตเห็นจิตที่เขาไปรูอารมณดวย ดังนั้นบันไดขั้นนี้ โยคีจะรูชัดทั้งอารมณ
และจิตที่เขาไปรูอารมณ๑
อารมณ ข องวิ ป ส สนาภาวนาเป น ไปได ทั้ ง อารมณ ภ ายใน และ
ภายนอก ดังความปรากฏใน “มหาสติปฏฐานสูตร” วา
ภิกษุทั้งหลาย เมื่อเดินก็รูชัดวาเราเดิน เมื่อยืนก็รูชัดวาเรายืน เมื่อ
นั่งก็รูชัดวาเรานั่งหรือเมื่อนอนก็รูชัดวาเรานอน ภิกษุนั้น เมื่อดํารงกาย
อยูโดยอาการใดๆ ก็รูชัดกายที่ดํารงอยูโดยอาการนั้นๆ ดวยวิธีนี้ ภิกษุ
ย อ มพิ จ ารณาเห็ น กายในกายภายในอยู พิ จ ารณาเห็ น กายในกาย
ภายนอกอยู หรือพิจารณากายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกอยู พิจารณา
เห็นธรรมเปนเหตุเกิดในกายอยู พิจารณาเห็นธรรมเปนเหตุดับในกายอยู
หรือพิจารณาเห็นทั้งธรรมเปนเหตุเกิดทั้งธรรมเปนเหตุดับในกายอยู หรือ
วาภิกษุนั้นมีสติปรากฏอยูเฉพาะหนาวา กายมีอยูก็เพียงเพื่ออาศัยเจริญ
ญาณ เจริญสติเทานั้น ไมอาศัยตัณหาและทิฏฐิอยู และไมยึดมั่นถือมั่น
อะไรๆ ในโลก ภิกษุทั้งหลาย พิจารณาเห็นกายในกายอยูอยางนี้แล๒
วิธีบริกรรมภาวนา :ใสใจเพงรูในอารมณที่จิตรับรูในปจจุบันขณะนั้น
อยางจดจอ ตอเนื่อง โดยไมซัดสายไปหาอารมณ การกําหนดรูแบบวิปสสนา
เปนการพยายามเพงพิจารณาอาการของอารมณนั้นๆ โดยไมใหจิตซัดสายไป
หาอารมณอื่นๆ แตไมพยายามปดกั้นไมใหอารมณอื่นๆ แทรกเขามา และ
หากมีอารมณอื่นๆ แทรกเขามาได ก็ใหเพงรูลงในอาการของอารมณใหมนั้น

พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ) ลําดับโสฬสญาณ, หนา ๖๑.

ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๔/๓๐๔.
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ทันที พรอมๆ กับสังเกตุเห็นอาการของจิตที่จากคลายจากอารมณเกากอน
หนานั้นไปดวย หลักการสําคัญในการบริกรรมภาวนาในขั้นนี้ ตองพยายาม
นอมจิตเพงความรูสึกไปที่ตัวอารมณ ๗๐ % (ดูกาย ๓๐ % +ดูเวทนา ๓๐
% ดูจิต ๑๐ % พิจารณานิวรณธรรมที่เกิด-ดับ) เพียรเพงความสนใจไปที่วิถี
จิตที่บริกรรมภาวนาเพิ่มขึ้น เปน ๓๐ % แตยังใสใจเพงดูอารมณมากกวาใส
ใจบริกรรม อนึ่ง ขั้นนี้จิตตั้งมั่งในอารมณรูปนามไดมากขึ้นแลว บางคนอาจ
ถึงขั้นฌานสมาธิไดเลย จึงแทบไมมีนิวรณเขารบกวนเลย
การพิจารณาธรรมในขั้นที่ ๒ คือ พิจารณารูป-นาม โดยเหตุปจจัย
ซึ่งเนนไปที่การเพิ่มสติกําหนดทางทวารทั้ง ๖ การเดินจงกรม การนั่งสมาธิ
ฯลฯ พรอมสังเกตเห็นจิตที่เขาไปรูอารมณดวย ดังนั้นบันไดขั้นนี้ โยคีจะรูชัด
ทั้งอารมณและจิตที่เขาไปรูอารมณ ซึ่งมีรายละเอียดในการปฏิบัติ ดังนี้

๑. กําหนดกราบ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
การพลิกมือนั้น ตามปกติมือจะพลิ กเองไมได จะมีจิตเขาไปสั่งให
ขยั บ กอน ให พิจ ารณาเห็ นจิ ต ที่เ ขาไปสั่ ง กําหนดรู ตามอาการว า "อยาก
กราบหนอ" "พลิกหนอๆๆ ยกหนอๆๆ เคลื่อนหนอๆๆ" แลวคอยพลิกมือไป
ตามความอยาก และเห็นอาการดับเมื่อพลิกมือเสร็จแลว ใชเวลาประมาณ
๕-๗ นาที กอนเคลื่อนไหวรางกายสวนอื่นๆ ก็ใหสังเกตดูอาการ ดุจเดียวกัน
๒. วิธีเดินจงกรม แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
เดินจงกรมเหมือนขั้นที่ ๑ แตใหเพิ่มสติกําหนดใหมากขึ้น คือการ
เพิ่ ม ต น จิ ต และการตั ด คํ า บั ญ ญั ติ เ ท า ออกและการหยุ ด กํ า หนดจนเห็ น
อารมณที่กระทบทวาร ๖ ดับไป แลวเริ่มเดินตอ ดังนี้
ระยะที่ ๑ ขวายางหนอ-ซายยางหนอ ใหรูอาการของเทาที่ยกยาง
พรอมกับสังเกตจิตรูอาการเหลานั้น เชนเทาขวายางบริกรรมวา “ขวายาง”
แลวสังเกตจิตที่วิ่งสูเทา เห็นอาการยางไปขางหนาของเทาและเทากระทบ
พื้น รูพรอมบริกรรมวา “หนอ” จนหยุดนิ่งแลวจึงเริ่มกาวเทาซาย เดิน
กําหนดจนจิตสงบอยูกับอารมณ ความคิดนอยลง จึงเพิ่มเปนจังหวะที่ ๒
๕๑๘
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ระยะที่ ๒ ยกหนอ-เหยี ย บหนอ เพิ่ ม เป น สั ง เกตจิ ต ที่ รู จ ะยก รู
เหยียบทุกครั้ง วา “ยกหนอ” “เหยียบหนอ” จนขามั่นคงไมเซ จึงเพิ่มเปน
จังหวะที่ ๓
ระยะที่ ๓ ยกหนอ-ยางหนอ-เหยียบหนอ เปลี่ยนเปนสังเกตจิตที่
ยก-ยาง-เหยียบทุกครั้ง จนขามั่นคงไมเซ จึงเพิ่มเปนจังหวะที่ ๔
กรณีที่เดินจงกรมอยูแลวเดินเซ มีมึนตึงที่ศีรษะ มีฟุงซานจนกําหนด
ไมไดใหลดระยะเดินลงมาจนกวาจะกําหนดไดดีเปนปกติ
๓. วิธีกําหนดรูพอง-ยุบ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
พยายามนั่ งกําหนดใหได ๑ ชั่ว โมงทุกบั ล ลังก เพิ่มสติ พิจ ารณารู
ความเคลื่อนไหวทุกขณะของทอง ตั้งแตตนพอง-กลางพอง-สุดพอง..ตนยุบ-
กลางยุบ-สุดยุบ ระยะไหนชัด ระยะไหนไมชัด (ก็ใหจิตรูชัดวา “ไมชัด”)
อาการของทองมีอาการที่แทจ ริงอยางไรก็ใหรูชั ดลงไปในอาการนั้น จิต ที่
คิดถึงอารมณที่เปนอิฏฐารมณและอนิฏฐารมณทั้งปวง ที่เปนเหตุใหจิตใจไป
จากปจจุบันนั้น ใหมีสติกําหนดรูทุกขณะแหงความคิดที่ผุดขึ้น คือพยายาม
กําหนดใหทันมากเทาที่จะมากได จนกวาจะดับหายไป
ถาอาการพอง-ยุบนิ่ง ก็ใหตามดูอาการนิ่งนั้น “นิ่งหนอๆๆ” หรือ
“หายหนอๆๆ” จนกวาพอง-ยุบจะกลับมา แตถายิ่งกําหนดอาการยิ่งนิ่ง ..ก็
อยาสูดลมเขาชวยเด็ดขาด ใหกลับไปจับความรูสึกของรูปนั่งใหญ ตั้งแต
ศีรษะจนถึงเทา “นั่งหนอ” รวดเดียว (อยานึกแยกสวน) จากนั้นสงจิตจี้ไปที่
มือทับอยูบนตักกระทบกัน “ถูกหนอ” แลวกลับมาดูรูปนั่งอีก “นั่งหนอ”
จากนั้นสงจิตจี้ไปที่อาการตึงที่กนยอยขางขวาถูกพื้น “ถูกหนอ” แลวกลับมา
ดูรูปนั่งอีก “นั่งหนอ” จากนั้น สงจิตจี้ไปที่กนยอยขางซายถูกพื้น “ถูกหนอ”
ทําอยางนี้สลับกันไปเรื่อยๆ จนกวาอาการพอง- ยุบจะชัดขึ้น แลวกลับมา
กําหนดอาการพอง-ยุบตามปกติ
กําหนดเสียง จะมีเสียงเดียว หรือมากเสียงก็ตาม ถาเสียงนั้นไม
รบกวนผูปฏิบัติ จิตใจของผูปฏิบัติมุงตรงตอการกําหนดอาการพอง-ยุบทัน

๕๑๙
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ปจ จุ บั นดี อยู ก็กําหนดพอง-ยุ บ ต อไป แตถาในขณะที่เ ดิ น จงกรม หรื อนั่ ง
กําหนดอยูนั้น มีเสียงดังมารบกวน ใหปลอยอาการพอง-ยุบ มีสติไปกําหนด
อาการไดยินนั้นวา “ไดยินหนอๆ” พรอมกับรูอาการกระทบของเสียงพรอม
กันไปดวย รูอาการกระทบของเสียง ไมใชกําหนดใหเสียงดับไป แตเปนเพียง
มีสติรูอาการกระทบของเสียงที่เกิดขึ้นในปจจุบันขณะนั้น ใหเห็นชัดตาม
ความเปนจริงเทานั้น และอยาใหเกิดความยินดีหรือไมยินดี ใหจิตของโยคี
ดํารงอยูในความเปนกลางตลอดเวลา ในขณะที่มีสติกําหนดพิจารณารูอาการ
กระทบของเสียงอยูนั้น ถาสมาธิของโยคีผูปฏิบัติคนใดมีมาก วิปสสนาญาณ
แกกลา อาการกระทบของเสียงจะปรากฏชัดเจนมาก แลวดับพรึบลงไปเลย
ก็ใหกําหนดพิจารณารูอ าการดับของจิตรูเสียงนั้นดวย
๔. วิธีกําหนดรูอิริยาบถ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
การกําหนดฉันรับประทานอาหาร
ในขณะฉันพึงกําหนดรูอาการเคลื่อนไหวของมือในทุกๆ ระยะ ขยับ
มือทีละขาง ถามือยังขยับอยูใหอมคําขาวไวกอน อยาเพิ่งเคี้ยว ในขณะเคี้ยว
ใหสังเกตถึงความหนักเบาของแรงเคี้ยว พรอมกับกําหนดไปตามอาการนั้น
วา “เคี้ยวหนอๆๆ” “กลืนหนอๆ”
การกลืนครั้งหนึ่งก็จะเห็นเปน ๓ ระยะ ตนกลืน กลางกลืน สุดกลืน
แตยังไมเห็นอาการดับชัดเจน ใหกําหนดวา กลืนหนอๆ ลงหนอๆ ไหลหนอๆ
กําหนดยกมือขึ้นหรือลงครั้งหนึ่งก็จะเห็นเปน ๓ ระยะ ตนยก กลาง
ยก สุดยก ใหกําหนดวา ขึ้นหนอๆ หรือ ลงหนอๆ
กําหนดรูรสไดดีขึ้น แตยังไมเห็นอาการดับชัดเจนนัก ใหกําหนดวา
รสหนอ หรือ รูหนอๆ
อาการฟน บนหรือล างที่กําลั งเคี้ยวอยู หายไป บางคนหายไปนาน
บางคนไมนาน ใหกําหนดวา หายหนอๆ กําหนดสภาวะสม่ําเสมอบาง แผว
เบาบาง มีอึดอัดแนนขึ้นมาบาง ใหกําหนดไปตามอาการ

๕๒๐
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม

๕. วิธีเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน
การกําหนดในขั้นที่ ๒ เปนการเพิ่มพูนอินทรีย โดยเฉพาะสติในการ
รูเทาทันอารมณที่กระทบทวารทั้ง ๖ เรียกวา อินทรียสังวร โดยกําหนดจน
เห็น อารมณดั บไป ย อมทําให วิป สสนาญาณแกกล า เห็นสภาวธรรมต างๆ
ละเอียดขึ้น ดังตอไปนี้
กําหนดรูทุกขเวทนาเมื่อเพิ่มเวลานั่งภาวนา สภาวะทุกขเวทนาก็จะ
ปรากฏชัดเจนขึ้น โดยเฉพาะที่บริเวณขา ในมหาสติปฏฐานสูตรที่กลาววา
“...เมื่อเสวยทุกขเวทนา ก็รูชัดวา เราเสวยทุกขเวทนา...”๔ ดังนั้นโยคีผูหวัง
ความเจริญกาวหนาในสภาวะญาณอยางรวดเร็ว พึงเรงความเพียรโดยการ
เดินจงกรมใหมากกวาหนึ่งชั่วโมง เพื่อใหกําลังอินทรียแกกลายิ่งขึ้น แลวใช
กําลังนั้นเพงจี้ไปที่ทุกขเวทนาตรงจุดหรือบริเวณที่ปรากฏชัดที่สุด เพงรูอยาง
จดจ อ ต อ เนื่ อ งจนกว า ทุ ก ขเวทนานั้ น จะดั บ หายไป เปลี่ ย นลั ก ษณะหรื อ
เปลี่ยนที่ไป เมื่อเรงกําหนดทุกขเวทนา อาการทุกขเวทนาจะปรากฏเปน ๓
ประการ ดังนี้
๑) ยิ่งกําหนด “ปวดหนอๆๆ” “ชาหนอๆๆๆ” “เจ็บหนอๆๆๆๆ”
อาการยิ่งแรงขึ้นเรื่อยๆ ปรากฏแกจิตชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ แสดงวากําลังสมาธิ
นทรียแกกลาขึ้นตามลําดับ แตกําลังปญญาอินทรียยังมีนอยอยู โยคีพึงรีบเรง
เพิ่มพูนปญญาอินทรียดังนี้
ก) เดินจงกรมเกิน ๑ ชั่วโมง หากมีอารมณภายนอกแทรกเขามา
ชัดเจน เชน เสียงดัง ลมพัดมาถูกตัว รูสึกเจ็บ หรือรูสึกเมื่อยตามรางกายเปน
ตน ใหหยุดเดินกอนแลวสงจิตไปกําหนดที่อาการนั้นๆ จนกวาจะจางหาย
ดับไป แลวจึงกําหนดเดินตอไป อนึ่ง ในขณะกําลังกําหนดอารมณแทรกซอน
อยูนั้น หากมีอารมณใหมแทรกเขามาใหมกวา ก็ใหกําหนดอารมณใหมกอน
จากนั้นพิจารณาดูวาอารมณใดปรากฏชัดกวากัน ก็ใหกําหนดแตอารมณที่
ชัดนั้นจนกวาจะจางหายไป แลวจึงกําหนดเดินตอไป

ดูรายละเอียดใน ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๐/๓๑๓.

ดูใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓/๔-๖.
๕๒๑
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ข) ในขณะนั่งภาวนา รูสึกวาอาการทุกขเวทนาปรากฏชัดรุนแรง
ขึ้นเรื่อยๆ ก็พึงใสใจเพงกําหนดอยูที่อารมณนั้น อยางไมลดละ ...เพียงเพื่อรู
เทานั้น มิใชเพื่ออยากใหหาย แตถาเกิดจิตอยากใหหาย รูสึกเปนทุกขทรมาน
ร อ นวู บ วาบ แสดงว า อาการกิ เ ลสทางใจเกิ ด ชั ด เจนกว า ก็ ใ ห เ ปลี่ ย นมา
กําหนดรูอาการกิเลสที่ใจแทน “อยากหายหนอๆ” “ทุกขหนอๆ” จนกวาจิต
จะคลายอุปาทานจากอาการทุกขเวทนานั้น
ค) โยคีบางคนบนดวยความนอยใจวา “ปฏิบัติวันแรก ปวดสุดๆ
ตามแขงขายังพอทนได แตทําไมยิ่งตั้งใจกําหนด มันกลับเจ็บ แสบรอน ปวด
เมื่อยลุกลามไปทั้งตัว.. ทําไมคนอื่นเขาไมเ ห็นทุกขอยางเราเลย ...มันเวร
กรรมอะไรกันนี่ ?”
ทุกขเวทนาของแตละคนไมเหมือนกัน ขึ้นอยูกับการผิดศีลขอที่ ๑๕
ที่เคยทํามา แกไขไดดวยการขออโหสิกรรม คือ ใหอธิษฐานจิตขอขมาโทษ
กอนนั่งภาวนาวา
“ขาพเจา ขอขมาซึ่งโทษลวงเกินที่มีตอสัตวทั้งหลายที่ไดกระทํามา
ในอดีตชาติ นับตั้งแตสังสารวัฏที่หาเบื้องตนมิไดมาจนถึงปจจุบันชาติใน
ปจจุบันขณะนี้ หากแมนขาพเจาไดเคยลวงเกิน ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี
ด ว ยใจก็ ดี ตั้ ง ใจก็ ดี ไม ตั้ ง ใจก็ ดี ขอสั ต ว เ หล า นั้ น จงยกโทษล ว งเกิ น
อโหสิกรรมใหแกขาพเจา ขอโทษลวงเกินจงหมดสิ้นไปดวยเถิด และดวย
บุญกุศลที่ขาพเจาไดทํามาแลว ขออุทิศใหแกสรรพสัตวทั้งหลายเหลานั้น
ขอใหสรรพสัตวทั้งหลายจงมีความสุขปราศจากทุกข ทุกตัวตนเทอญ”
จากนั้น เพิ่มสติสังเกตลักษณะปลีกยอยในอาการปวดนั้นใหมากขึ้น
เชน ตึงหนอ แนนหนอ แสบหนอ เคลื่อนหนอ กระตุกหนอ อึดอัดหนอไม
ชอบหนอ ทุกขหนอ เปนตน เจาะลึกลงในใจกลางสภาวะใหไดลึกที่สุด
๒) ยิ่งกําหนด “ปวดหนอๆๆ” “ชาหนอๆๆๆ” “เจ็บหนอๆๆๆ”
อาการทุกขเวทนาปรากฏชัดอยูระยะหนึ่งแลวคอยๆ เบาลงตามลําดับ หรือ
หายจากจุดหนึ่ง ไปปรากฏชัดอยูอีกจุดหนึ่ง ยายที่ไปเรื่อยๆ แสดงวา ทั้ง


ดูใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓/๔-๖.
๕๒๒
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
กําลังสมาธิและกําลังปญญาแกกลาขึ้นตามลําดับ พรอมที่จะกาวเขาสูญาณที่
๔ (อุทยั พพยญาณ)๖ ต อไป โยคีพึงกําหนดอย างจดจ อช า ๆ แต ห นั กแน น
“ปวดดดดหนอ” รูใหไดวาดับลง ณ ขณะจิตใด
๓) กําหนดทุกขเวทนา “ปวดหนอๆ” “ชาหนอๆ” “เจ็บหนอๆ”
อาการทุกขเวทนาปรากฏชัดอยูระยะหนึ่งแลวคอยๆ เบาลง แตไมดับหายไป
หรือดับไปแลวแตกลับมาอีกเรื่อยๆ แสดงวากําลังสมาธินทรียออนกําลังลง
โยคีพึงเพิ่มการกําหนดโดยการกําหนดสลับกับพอง-ยุบ คือ “พองหนอ-ปวด
หนอ” “ยุบหนอปวดหนอ” ถาพอง-ยุบเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ใหกําหนดวา
“พอง-ยุบ-ปวดหนอ” สลับกัน
วิธีแกผูติดสภาวะทุกขเวทนา
ธรรมดาวาโยคีผู มีความเพีย รอย างไมลดละ มีอิน ทรี ยส มดุล และ
พอกพูนอยางตอเนื่อง จะสามารถกําหนดทุกขเวทนาดับไดภายใน ๗ วัน แต
ถากําหนดทุกขเวทนายังไมดับ หรือยังไมปรากฏอาการลดลง หรือยายที่ ยิ่ง
กําหนดยังยิ่งเจ็บยิ่งปวด ยิ่งชายิ่งทุกข มีอาการทุกขเวทนาคางๆ คาๆ เรื่อยๆ
ไมเพิ่ม ไมลด พระวิปสสนาจารยพึงวินิจฉัยสอบถาม ดังนี้
๑) เพราะอินทรียไมสมดุล ปลอยหลุดปลอยเผลอนอกบัลลังกบอย
แต โ ยคี ไ ม ย อมรั บ คื อ ไม ไ ด ร ายงานสอบอารมณ ต ามความเป น จริ ง พระ
วิปสสนาจารยพึงสอบถามใหแนใจวา
- เดินจงกรมกอนนั่งทุกบัลลังก และรักษาบัลลังกละ ๑ ชั่วโมงครบ
จริงๆ
- ขณะเดินจงกรม โยคีไมไดหยุดกําหนดเสียงที่ไดยินใหดับกอน ใช
หรือไม?
- ขณะเดินจงกรม โยคีไมไดหยุดกําหนดอาการคิด นึก ใหดับกอน
ใชหรือไม ? บางครั้งถึงจะกําหนดอาการคิด นึกอยูบาง แตมักดึง หรือทิ้ง
อาการคิดนึกๆ ไมไดกําหนดจนเห็นอาการดับจริงๆ ใชหรือไม


ดูรายละเอียดใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/๖๘๒.
๕๒๓
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
- ไมไดหยุดกําหนดอาการลมสัมผัสใหดับกอน ใชหรือไม?
- ไมไดหยุดกําหนดอาการคัน ปวด เมื่อย ใหดับกอน ใชหรือไม?
- สรุปคือสันตติไมขาด ปญญาอินทรียไมเกิด..(ขึ้นสูญาณที่ ๔ ไมได)
๒) เพราะปญหาสุขภาพ มีโรคติดตัว เคยประสบอุบัติเหตุมากอน
เปรียบเหมือนรถชํารุด ที่ตองซอมกอน จึงจะแลนตอไปได แตนั่นก็แสดงวา
ยังเปนรถที่ใชไดอยู แตตองใชเวลานานหนอย จึงจะกําหนดเวทนาดับได แต
มักจะไมหายขาด มักคางๆ คาๆ ทําใหรําคาญ โยคีบางคนรูสึกเบื่อซ้ําซากอยู
กับเวทนาจนทิ้งการกําหนดเวทนาไปเลย ก็มีพระวิปสสนาจารยพึงแนะนําให
โยคีกําหนดเพียงเพื่อรู ไมใชเพื่อใหหาย หากกําหนดจนสภาวะเวทนานิ่งสงบ
แลว ถึงแมจะไมหายขาด ก็ใหไปกําหนดอารมณหลัก คือ พอง-ยุบหรือ นั่ง
หนอ-ถูกหนอ สลับกับกําหนดเวทนา ไดเลย เมื่อเวทนาแรกขึ้นมาใหมจึ ง
กลับมากําหนดจี้เวทนาใหม
๓) เพราะอกุศลวิบากมาเบียดเบียน อาการทุกขเวทนาจะแตกตาง
จากคนทั่วไป คือจะเปนอยูที่จะเดียวเปนเวลานานๆ โดยมากจะเปนอาการ
ปวดแสบ ปวดร อนที่บ ริ เวณหลั ง แขน หรื อศีร ษะ หลั งจากตั้ งใจกําหนด
เวทนามา ๗ วันแลว ถาอาการเจ็บปวดที่หลัง หรือที่ศีรษะ ยังไมบรรเทาเบา
ลง ๗ พระวิ ป ส สนาจารย พึ ง ถามโยคี ว า เคยทํ า บาปอกุ ศ ล ผิ ด ศี ล ข อ ๑ ที่
รายแรง อยางไรบาง? แลวพึงแนะนําแนวทางแกไข ดังนี้
- กอนนั่งปฏิบัติทุกบัลลังก นั่งประนมมือขึ้น ตั้งนะโม ๓ จบ ตั้งใจ
ขออโหสิกรรมตอพระรัตนตรัย พระอริยเจา และเพื่อนผูปฏิบัติธรรม แลว
ตั้งใจขออโหสิกรรมตอสัตวทุกชีวิตที่เราเคยละเมิดลวงเกิน ทั้งที่ถึงแกชีวิต
และไมถึงแกชีวิต กอนนั่งปฏิบัติทุกๆ บัลลังก
- กอนออกจากการนั่งภาวนาทุกครั้ง กําหนดรูจิตที่เปนสมาธิ นอม
อุทิศสวนบุญสวนกุศลใหแกเจากรรมนายเวร โดยเฉพาะสัตวที่เราเคยทําราย
ใหถึงแกชีวิต ทุกๆบัลลังก จนกวาอาการทุกขเวทนาจะบรรเทาเบาบาง...


ดูใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๒/๔๒๒.
๕๒๔
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม

๖. วิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน
ใหเพิ่มการกําหนดทางทวารทั้ง ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อัน
เปนชองทางและเปนบอเกิดของบาปธรรมทั้งหลาย คือ ราคะ โทสะ โมหะ
เปนตน และเปนบอเกิดของกุศลธรรม คือ ศีล สมาธิ ปญญา พรอมกับมีสติ
พิจารณาอาการของจิตที่มีอาการตางๆ กัน เชน เกิดความดีใจ เกิดความ
เสี ย ใจ เป น ต น พร อ มกั น ไปด ว ย การกํ า หนดพิ จ ารณารู อ าการของจิ ต
(เจตสิก) นั้น ไมใชกําหนดใหอาการของจิต (ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ)
ดับไป แตเปนเพียงใหพิจารณารูอาการของจิตที่เกิดขึ้นในปจจุบันขณะนั้น
ใหเห็นชัดเจนตามความเปนจริงเทานั้น และอยาใหความยินดี(ชอบใจ) หรือ
ความยิ น ร า ย(ไม ช อบใจ)เกิ ด ขึ้ น มา ให จิ ต ดํ า รงอยู ใ นความเป น กลาง
ตลอดเวลาในขณะที่พิจารณาอยูนั้น หากสมาธิของโยคีคนใดมีมาก วิปสสนา
ญาณแกกลามีกําลังมาก อาการของจิตจะดับไปในขณะที่กําลังกําหนดรูอยู
นั้น ดวยอํานาจปญญาประจักษแจงในพระไตรลักษณ
โยคีตองพยายามจําใหไดวา อาการของจิตดับไปในขณะที่กําหนดรู
อาการของจิตอยางใดอยู ถาสมาธินอยและวิปสสนามีกําลังออน อาการที่
กําหนดอยูนั้นจะเปนแตเพียงเบาลง ยังไมดับขาด ก็ใหกําหนดอาการพอง-
ยุบ ที่ปรากฏชัดอยูในขณะนั้นตอไปอีก จนกวาจะครบเวลาตามที่กําหนดไว
การกําหนดตนจิต : ถามวา “เปนไปไดหรือไมที่กายลุกขึ้นโดยที่ไม
มีจิตคิดจะลุกเกิดขึ้นกอน เปนไปไดหรือไมที่มือเปดประตูโดยที่ไมมีจิตคิดจะ
เปด เกิดขึ้น กอน เปน ไปไดห รือไมที่ขากาวเดิ นโดยที่ไมมีจิต คิด จะเดิน เกิด
กอน” ขากาวเดินก็เพราะมีจิตคิดจะเดินเกิดกอน มือจับแกวน้ําก็เพราะมีจิต
คิดจะดื่มเกิดกอน โยคีพึงกําหนดรูเทาทันจิตนั้นกอนเคลื่อนไหวอิริยาบถทุก
ครั้ง คือ “อยากลุกหนอ-ลุกหนอๆๆ” “อยากตักหนอ - ตักหนอๆๆ” เปน
ต น แต ถา รู สึ กว าเป น การทองบริ ก รรม ไมเ ห็ น สภาพจิ ต จริ งๆ ก็ไมต อ ง
บริกรรมภาวนาวา “อยาก...หนอ”
กอนจะทําอะไรทุกอย าง ให กํา หนดต น จิ ต ให ทัน ป จ จุ บั น อารมณ
และขณะนั้น ใหมีสติพิจารณารูอาการของจิต พรอมกับภาวนาตามอาการที่

๕๒๕
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ปรากฏในปจจุบันนั้นๆ ใหพรอมกันพอดีๆ “อยากหนอ” “สนใจหนอ”
การกําหนดตนจิต
การกําหนดตนจิต เปนการกําหนดรูนามที่เปนใหญในกองสังขาร ซึ่ง
ทําหนาที่สั่งการควบคุมพฤติกรรมทั้งหมดของรูป เพื่อใหโยคีบุคคลรูเทาทัน
จิต ที่ต องการเปลี่ ย นจากอิริ ย าบถหนึ่ งไปสู อีกอิริ ย าบถหนึ่ ง ใจจะน อมว า
ตองการขึ้น มากอน เช น จิ ต อยากจะคูก็กําหนด“อยากคูห นอๆๆ” จิ ต
อยากจะเดินก็กําหนด “อยากเดินหนอๆๆ” เปนตน คําวา “อยาก” ในที่นี้
มิไดสื่อความหมายที่เปนตัณหา แตเปนความตองการที่ประกอบดวยกุศล
เปนความพอใจที่จะบําเพ็ญภาวนากุศลในการปฏิบัติธรรม แตอยางไรก็ตาม
ผูปฏิบัติจะเริ่มฝกการกําหนดตนจิตเมื่อสมาธิเริ่มแกกลาเห็นรูป– นามเริ่ม
ปรากฏชั ด กลาวคือ สามารถแยกรูป แยกนามได เมื่อโยคีมีจิต ที่ว องไวจึ ง
สามารถกําหนดตนจิตได
อานิสงสการกําหนดตนจิต
๑. กําหนดเพื่อละความอยาก คือ ไมใหความอยากเกิดขึ้น
๒. เพื่อตัดกําลังของราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ อวิชชาตัณหา
อุปาทาน เปนตน ไมใหกําเริบ ฟุงซาน รบกวนจิตใจในขณะปฏิบัติธรรม
๓. เพื่อละตัณหา คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา๘
๔. เพื่อคั่นรูปคั่นนาม แยกรูปนามออกจากกันใหปรากฏชัด
๕. เพื่อใหจิตเขาถึงสภาวะที่เปนธรรมชาติ เปนกลาง อันเปนฐาน ที่
ถูกตอง และแทจริงของการเจริญวิปสสนากรรมฐาน
๖. เพื่อตัดอารมณที่เปนอดีตและอนาคตใหหมดไป คงปจจุบันธรรม
ไวเทานั้น
๗. เพื่อละวิปลาสทัง้ หลาย มีทิฏฐิวิปลาส เปนตน
๘. เพื่อสนับสนุนอุปถัมภวิปสสนาใหสมบูรณไดเร็วยิ่งขึ้น
๙. ทําใหสติสมบูรณ เมื่อสติสมบูรณดีแลว อินทรียทั้ง ๕ ก็จะสมดุล


ดูรายละเอียดใน อภิ.วิ. (ไทย)๓๕/๙๑๖/๙๑๖-๙๑๗.
๕๒๖
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
กันโดยอัตโนมัติ
๑๐. เพื่อทําองคของผูปฏิบัติใหครบองค ๓ คือ อาตาป สติมา สัมป
ชาโน
๑๑. เพื่อใหผูปฏิบัติรูทันกระบวนการรูอารมณของจิต๙
๗. วิธีเจริญธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน
ใหเพิ่มการกําหนดทางทวารทั้ง ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อัน
เปนชองทางและเปนบอเกิดของบาปธรรมทั้งหลาย คือ ราคะ โทสะ โมหะ
เปนตน และเปนบอเกิดของกุศลธรรม คือ ศีล สมาธิ ปญญา ดังนี้
๑. ขณะตาเห็นรูป ตั้งสติกําหนดรูอาการเห็นวา “เห็นหนอๆ”
๒. ขณะหูไดยินเสียง ตั้งสติกําหนดรูอาการวา “ไดยินหนอๆ”
๓. ขณะจมูกไดกลิ่น ตั้งสติกําหนดรูอาการวา “กลิ่นหนอๆ”
๔. ขณะลิ้นไดรส ตั้งสติกําหนดรูอาการวา “รสหนอๆ”
๕. ขณะกายสัมผัส เย็น รอน ออน แข็ง หยอน ตึง ตั้งสติกําหนด
รูอาการกระทบวา“ถูกหนอ” “เย็นหนอๆ” “รอนหนอๆ” “แข็งหนอๆ”ฯลฯ
๖. เวลาที่จิตเคลื่อนไหว (คือ มีความคิดนึกเกิดขึ้น) ใหตั้งสติ
กําหนดพิจารณา รูอาการคิดนึกนั้นๆ วา “คิดหนอๆๆ” “นึกหนอๆๆ”
โยคีบางคนจะมีสภาวะติดสมาธิ จนทําใหเสียจริต เซื่องซึมไปเลยก็มี
สาเหตุมาจากกําหนดสภาวะไมขาด สติและสัมปชัญญะนอย แตสมาธิมาก
เกิน เหมือนกับรถยนต ๔ ลอ แตสูบลมใสเพียงลอเดียว อีกสามลอแฟบ ถึง
จะไปตอได แตก็ไปตอชาๆ อืดๆ และชํารุดในที่สุด มีวิธีแกดังนี้
๑) เดินจงกรม ๑-๓ จังหวะ ๓๐ นาที หามเกิน ในจังหวะที่ ๓ เห็น
จังหวะขาดของอาการยก อาการยาง อาการเหยี ยบ ชัดเจน (สันตติขาด)
ขณะเดินหากมีลมสัมผัส เสียงที่ไดยิน ใจที่คิด ยืนกําหนดใหดับเสียกอน (ให

พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., เอกสารประกอบการสอน รายวิชาสัมมนาวิปสสนา
, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ศูนยบัณฑิตวิทยาเขตบาฬี
ศึกษาพุทธโฆส นครปฐม,๒๕๕๕), หนา๓๗๓.
๕๒๗
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ขาดกอน) จึงจะกําหนดเดินจงกรมตอไป อนึ่ง เดินไปที่ไหนๆ เชน ไปที่พัก
เขาหองน้ํา ไปรับประทานอาหาร กําหนด “ยาง-เหยียบๆๆๆ” ตลอดเวลา
นั่งเจริญภาวนา ๓๐ นาที กําหนดพองยุบตามอาการที่เห็น อยา
เสริมพอง-ยุบ และเพิ่มการหยุดกําหนดลมสัมผัส เสียงที่ไดยิน ใจที่คิดใหดับ
กอน จึงจะกําหนดพอง-ยุบตอ
๒) กอนออกจากบัลลังก หากมีเวทนาคางอยู เรงกําหนดจี้เวทนาให
ดับ หรือคลายตัว กอนออกจากบัลลังกทุกครั้ง อยาปลอยใหเวทนาคางตอน
ออกจากบัลลังก จะทําใหสภาวะอื่นๆ โดยเฉพาะนิมิตคางไปดวย
๓) ถาเห็นนิมิต ใหกําหนดจิตที่รูวาเห็น ไมใชกําหนดที่ภาพที่เห็น
“เห็นหนอๆๆๆ” หรือ
๔) กําหนดสภาวะแบบเร็ว เพียงแครูไมตองสนใจลักษณะอาการ ถา
นึกสงสัยใหกําหนด “สงสัยหนอๆ” อยาจี้ใหชัด แตจี้ใหดับได
พรอมกับมีสติพิจารณาอาการของจิตที่มีอาการตางๆ กัน เชน เกิด
ความดีใจ เกิดความเสียใจ เปนตน พรอมกันไปดวย การกําหนดพิจารณารู
อาการของจิต (เจตสิก) นั้นไมใชกําหนดใหอาการของจิต (ราคะ โทสะโมหะ
มานะ ทิ ฏ ฐิ ) ดั บ ไป แต เ ป น เพีย งให พิจ ารณารู  อาการของจิ ต ที่เ กิด ขึ้ น ใน
ปจจุบันขณะนั้น ใหเห็นชัดเจนตามความเปนจริงเทานั้น และอยาใหความ
ยินดี (ชอบใจ) หรือความยินราย (ไมชอบใจ) เกิดขึ้นมา ใหจิตดํารงอยูใน
ความเปนกลางตลอดเวลา ในขณะที่พิจารณาอยูนั้น หากสมาธิของโยคีคนใด
มีมาก วิปส สนาญาณ แกกลามีกําลังมาก อาการของจิตจะดับไปในขณะที่กํา
ลงกําหนดรูอยูน ั้น ดวยอํานาจปญญาประจักษแจงในพระไตรลักษณ
โยคีตองพยายามจําใหไดวาอาการของจิตดับไปในขณะที่กําหนดรู
อาการของจิตอยางใดอยู ถาสมาธินอยและวิปสสนามีกําลังออน อาการที่
กําหนดอยูน ั้นจะเปนแตเพียงเบาลง ยังไมดับขาด ก็ใหกําหนดอาการพองยุบ
ที่ปรากฏชัดอยูใ นขณะนั้นตอไปอีกจนกวาจะครบเวลาตามทีก่ ําหนดไว๑๐

๑๐
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ.,บันได ๗ ขั้น บรรลุธรรมในชาติน,ี้ หนา ๑๙-๒๐.
๕๒๘
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม

๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๒ สมบูรณ
การพิจารณารูป-นาม เปนการเพิ่มสติในการกําหนดรู คือ การเพิ่ม
ตนจิต และทวารทั้ง ๖ เพื่อใหเห็นสภาวธรรมใหชัดขึ้น ขั้นนี้บางครั้งกําหนด
เทาทันบาง ไมทันบาง เพราะเห็นอาการกอนนิ ดหนึ่งแลวบริ กรรม แมจ ะ
พยายามก็ตามใหทันก็ไดบางครั้ง ปญญาที่ปรากฏ คือ ญาณที่ ๒ และญาณที่
๓ ชวงตน สังเกตเห็นจิตที่เขาไปรูอารมณขณะกําหนดเดิน กําหนดเวทนา
กําหนดจิต จะเริ่มเห็นพระไตรลักษณดวยการอนุมานถึงความไมเที่ยง เปน
ทุกข บังคับ บั ญชาไมได วิ ปส สนู ปกิเ ลสยังไมปรากฏชัด จึ งจั ด เขาในญาต
ปริญญา และตีรณปริญญา จัดเปนทุกขอริยสัจ สมุทยอริยสัจ และ มรรค
อริยสัจ ยอมทําใหวิปสสนาญาณแกกลา เห็นสภาวธรรมตางๆ ละเอียดขึ้น
ญาณที่ ๒ ปจจยปริคคหญาณ
ญาณที่ ๒ ปจจยปริคคหญาณ ปญญาที่กําหนดรูเห็นในสภาวะของ
รูป กับนามเปนเหตุปจจัยซึ่งกันและกัน คือทั้งรูปและนามเปนเหตุ เปนผลซึ่ง
กันและกันอยูทุกขณะ และญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ (แบบออน) ป ญญาที่
กําหนดจนรูเห็นไตรลักษณ คือ ความเกิดดับของรูป-นามแตที่รูวารูป-นาม
ดับไปก็เพราะ เห็นรูป-นามใหมเกิดสืบตอแทนขึ้นมาแลว เห็นอยางนี้เรียกวา
สันตติยังไมขาดและยังอาศัยจินตามยปญญาอยู
เปนภูมิแหงญาตปริญญา คือ เริ่มตั้งแตกําหนดสังขารจนถึงกําหนด
ปจจัย ก็คือการตามกําหนดอยางจดจอตอเนื่อง จนแจงลักษณะเฉพาะของ
อารมณที่กําหนด และภูมิแหงตีรณปริญญา กําหนดรูขั้นพิจารณาคือ รูดวย
ปญญาที่หยั่งลึกซึ้งไปถึงสามัญญลักษณะ ไดแกรูถึงการที่สิ่งนั้นๆ เปนไปตาม
กฎธรรมดา โดยพิจารณาเห็นความไมเที่ยงเปนทุกข เปนอนัตตาภูมิแหงตีรณ
ปริญญา เริ่มตั้งแตการพิจารณากองสังขาร จนถึงอุทยัพพยานุปสสนา (การ
พิจารณาเห็นความเกิดและความดับ) ปริญญานี้ ก็คือการตามกําหนดอยาง
จดจอตอเนื่องจนแจงสามัญลักษณะของอารมณที่กําหนดจัดเขาใน อริยสัจ
๔ คือ “สมุทัย(จินตาญาณความรูที่เปนไปกับความดําริ หมายถึง วิปสสนา
ญาณขั้นตนที่ยังออน ตรุณวิปสสนา)และนิโรธ (ตทังคนิโรธ ดับดวยองคนั้นๆ
๕๒๙
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
คือ ดับกิเลสดวยธรรมที่เปนคูปรับ หรือธรรมที่ตรงขาม เชน ดับสักกายทิฏฐิ
ดวยความรูที่กําหนดแยกรูปนามออกได เปนการดับชั่วคราวในกรณีนั้นๆ)”
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
๑. การอยากเดินเปนเหตุ คือ จิตที่คิดอยากจะเกิดอาการเดินเปน
เหตุ รูปที่ปรากฏอาการเคลื่อนไหวในขณะเดินเปนผล อยางนี้เรียกวา นาม
เปนเหตุรูปเปนผล
๒. การกําหนดเดินเปนเหตุ คือ รูปที่ปรากฏอาการเคลื่อนไหวเปน
เหตุ นามทีเ่ ขาไปรูอาการเคลื่อนไหวเปนผล นี้เรียกวารูปเปนเหตุนามเปนผล
๓. ในอิริยาบถทั้ง ๔ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน และตลอดอิริยาบถยอย
จะสามารถรูเหตุและผลของรูปนามที่เกิดขึ้นอยู
เห็ น เหตุ ป จ จัย ของรู ป -นาม คือ จะเห็น ว ารู ป-นามนี้เ ป น เหตุ เ ป น
ปจจัยซึ่งกันและกันมีความเกี่ยวของเปนปจจัยกัน เชน ขณะที่ การกาวไป
การคู การเหยียด การเคลื่อนไหวตางๆ เปนไปเพราะวามีธรรมชาติอยางหนึ่ง
เปนตัวเหตุปจจัย คือมีจิตปรารถนาจะใหกายเคลื่อนไหว กายก็เคลื่อนไหว
จิ ต ปรารถนาจะยื น กายก็ ยื น จิ ต ปรารถนาจะเดิ น กายก็ เ ดิ น คื อ ลมไป
ผลักดันใหกายนั้นเปนไป อยางนี้เรียกวา นามเปนปจจัยใหเกิดรูป คือ จิตใจ
เปนปจจัยใหเกิดรูปที่เคลื่อนไหว เกิดขึ้นมาไดเพราะวาจิตเปนปจจัย
สว นรู ป บางอย าง รู ป เป น ป จ จั ย ใหเ กิด นาม เช น เสี ย ง เสี ย งมีมา
กระทบประสาทหู เสียง เปนรูป เมื่อกระทบประสาทหู ซึ่งเปนรูปดวยกัน ก็
เกิดการไดยินขึ้น เกิดการรับรูทางหูขึ้น ก็จะมองเห็นวามันเปนเหตุ ปจจัยกัน
เสียงมากระทบจึงเกิดการไดยินขึ้น เรียกวา รูปเปนปจจัยใหเกิดนาม เย็น
รอน ออนแข็ง หย อนตึ ง เปน รู ปมากระทบกายก็เกิดการรั บ รู ซึ่งเป นนาม
เกิดขึ้น เมื่อผูปฏิบัติธรรมมีความเพียร ดูรูปนาม เห็นความเกิดดับ เห็นความ
เปนเหตุเปนปจจัยของรูปนามอยูเสมอก็จะ กาวขึ้นสูญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ
การหยั่งเห็นไตรลักษณในอิริยาบถนอยใหญ ในขณะกําหนดรู เชน
การยกก็มีสภาวะไมปะปนกับอาการยาง การยางก็ไมปะปนกับอาการเหยียบ
ลวนปรากฏเปนไตรลักษณในขณะปรากฏในลักษณะของตน คือ ในขณะเดิน

๕๓๐
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ในขณะยืน ก็ปรากฏไตรลักษณตามนัยที่กลาวมาแลวนี้
๑) การเดินไมคอ ยสะดวก มีอาการคลายกับจะหลับ สั่น เกร็ง
๒) ในขณะเดินมีอาการพื้นที่เดินไมเสมอกัน
๓) พิจารณาเห็นรูปนามทางทวารทั้ง ๕ เปนไตรลักษณ คือ อนิจจัง
ทุกขัง อนัตตา
๔) อารมณภายใน ไดแกการกําหนดรูถึงเบื้องตน ทามกลาง และที่สุด
ของอารมณกรรมฐานไดอยางชัดเจน หรือรูเห็นสภาวะของรูป-นามไดชัด
ตลอด คือเห็นตั้งแต ตน กลางปลาย
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ
สติพิจารณารูความเคลื่อนไหวทุกขณะของทอง ตั้งแตตนพอง-กลาง
พอง-สุดพอง.ตนยุบ-กลางยุบ-สุดยุบ ระยะไหนชัดระยะไหนไมชัด (ถาไมชัด
ก็ใหจิตรูชัดวา “ไมชัดหนอ”) ธาตุในทองมีอาการที่แทจริงอยางไรก็ใหรูชัดลง
ไปในอาการนั้น และจิตที่คิดนึกอันเปนเหตุใหจิตใจไปจากปจจุบันนั้น ใหมี
สติกําหนดรูทุกขณะแหงความคิดที่ผุดขึ้นดวย
บางครั้งรูปเปนเหตุ นามเปนผล เชน ทองพองขึ้นกอน แลวจิตจึงวิ่ง
ไปกําหนดทีหลัง
บางครั้งนามเปนเหตุ รูปเปนผล เชน จิตวิ่งไปคอยอยูกอนแลว ทอง
จึงพองขึ้นทีหลัง
พองยุบกับจิตที่กําหนดไปพรอมกัน พองครั้งหนึ่ง มี ๒ ระยะ คือ
ตนพอง สุดพอง สามารถรูตนพองและอาการตั้งอยูของอาการพองได หรือ
อาการเริ่มยุบไปถึงการตั้งอยูของอาการยุบได รูวาอาการพองเปนเหตุ การ
กําหนดรูอาการพองเปนผล
บางครั้งพองคางอยูไมสุดลงไปก็มี บางครั้งยุบลงไปลึกๆ แลวคางอยู
ก็มี บางครั้งพองยุบหายไป ผูปฏิบัติเอามือไปคลําดูก็มี บางครั้งพองยุบกับจิต
กําหนดไปพรอมกันก็มี พองครั้งหนึ่งกําหนดได ๒ ระยะคือตนพองสุดพอง๑๑

๑๑
พระเทพสิทธิมุนี (โชดก ป.๙), คูมือสอบอารมณกรรมฐาน, หนา ๔-๕.
๕๓๑
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
ปญญาที่กําหนดรูเห็นในสภาวะของรูปกับนามเปนเหตุปจจัยซึ่งกัน
และกัน คือ ทั้งรูปและนามเปนเหตุเปนผลซึ่งกันและกันอยูทุกขณะ
ในขณะฉัน /รั บประทานพึงกําหนดรู อาการเคลื่ อนไหวของมือใน
ทุกๆ ระยะ ขยับมือทีละขาง ถามือยังขยับอยูใหอมคําขาวไว อยาเพิ่งเคี้ยว
วางมือนิ่งกอนจึงเริ่มเคี้ยว ในขณะเคี้ยวใหสังเกตความหนักเบาของแรงเคี้ยว
พรอมกับกําหนดไปตามอาการนั้นวา “เคี้ยวหนอๆ” หรือ“กลืนหนอๆ”
บางครั้ง รูปเปนเหตุ นามเปนผล คือ ขณะที่กายกําลังเคี้ยวอาหาร
(รูป) แลวจิตจึงวิ่งมากําหนดรู(นาม) กําหนด “เคี้ยวหนอๆ” อยางนี้เรียกวา
รูปเห็นเหตุ นามเปนผล
แต บ างครั้ ง นามเป น เหตุ รู ป เป น ผล เช น จิ ต ที่ นึ ก อยากจะกิ น
อยากจะเคี้ยว อยากจะดื่ม กําหนดรูจิตกอนแลว ก็จึงกิน/เคี้ยว/ดื่ม กําหนด
“กิน/เคี้ยว/ดื่มหนอๆ” ที่หลัง อยางนี้เรียกวา นามเปนเหตุ รูปเปนผล
เห็นวารูป-นามเปนปจ จัยซึ่งกันและกัน มีความเกี่ยวของกัน เช น
ขณะที่กําลังเคี้ยวอาหาร มีจิตปรารถนาจะเคี้ยว ก็เคี้ยว อยางนี้เรียกวา นาม
เปนปจจัยใหเกิดรูป นามคือจิตใจเปนปจจัยใหเกิดรูป รูปที่เคี้ยว เกิดขึ้นมา
ไดเพราะวาจิตเปนปจจัย สวนรูปเปนปจจัยใหเกิดนาม เชน กลิ่นที่มากระทบ
ประสาทจมูก กลิ่นเปนรูป เมื่อกระทบประสาทจมูก ซึ่งเปนรูปดวยกัน ก็เกิด
การไดกลิ่นขึ้น เกิดการรับรูทางจมูกขึ้น เรียกวา รูปเปนปจจัยใหเกิดนาม
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา
สภาวธรรมที่เกิดขึ้นในขั้นนี้ตรงกับญาณที่ ๒ กับญาณที่ ๓ ตอนตน
ซึ่งลักษณะของญาณทั้งสองมีวิถีเดียวกันคือ โยคีที่เห็นแจงในอารมณจาก
ญาณที่ ๑ ยอมสามารถเห็นแจงในอารมณและจิตที่เขาไปรูอารมณที่เปนเหตุ
ปจจัยซึ่งกันและกันในญาณขั้นที่ ๒ คือเห็นถึงอารมณที่เปนเหตุสวนจิตที่รู
อารมณเปนผล พระอาจารยจึงใหเพิ่มการกําหนดสติโดยเฉพาะการเพิ่มสติรู
ทวารทั้ง ๖ จนโยคีเห็นวาอารมณและจิตที่เขาไปรูนั้นมีความเปนไตรลักษณ
๖๐ เปอรเซ็นต จัดวาเขาอยูในญาณ ๓ ตอนตน สภาวธรรมมีดังนี้

๕๓๒
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
เวทนามีปรากฏเพิ่มมากขึ้น จิตที่กําหนดเห็นรายละเอียดของเวทนา
คือจากที่เห็นวามีอาการปวด ในญาณนี้เห็นเวทนาสวนรายละเอียด เชน ตึง
รัด รอน เปนตน พรอมกับจิตที่เขาไปรูเวทนานั้น
เกิดเวทนาปวดจึงกําหนดวา “ปวดหนอ” สลับกับการกําหนดไดยิน
หนอ ตามสภาวธรรมที่ชัดเจนที่สุดใชเวลาประมาณ ๑ ชั่วโมง เห็นอาการ
เวทนาที่ตึง กําหนดวา “ตึงหนอ” เปนตน
บางคนเวทนามีมากบาง นอยบาง ตัวเองเขาใจวาเคราะหรายก็มี ถา
เขาพูดอยางนี้ อาจารย ตองเขาใจว า “มีอวิช ชา ตัณหา อุปาทาน กรรม”
เปนตัวเหตุของเวทนา เขาจึงไดพูดอยางนี้
บางทีบางคน ก็มีความเห็นวา ภพนี้ ภพหนา ภพตอๆ ไปก็มีเพียง
เหตุเพียงผล มีเพียงรูปนามเทานี้
เวทนากําหนดยังไมหายก็มีอาการอื่นแทรกขึ้นมาทันที เมื่อกําหนด
หลายครั้งจึงกลับมาสูอารมณหลัก
เกิดความเย็นเหมือนเอาผาชุบน้ําเย็นมาทาบ
เกิดอาการรอนวูบวาบเหมือนชะโงกหนาเขากองไฟ ปวดชา คัน ยุบ
ยิบ ซูซา เสียดยอก แปลบปลาบ ตามรางกาย ตามอวัยวะตางๆ ของรางกาย
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต
จิตรูอาการของจิตที่เกิดในขณะรับรู เชน อาการคิดเปนเหตุ เรื่องที่
คิด เป น ผล ความชอบไมช อบในขณะคิด เป น เหตุ การกําหนดอาการของ
ความคิดที่ชอบไมชอบเปนผล มีความคิดเยอะมากในขณะกําหนดไมเห็น
ความดั บ ของความคิด เห็ น การเกิ ด ขึ้ น อยู ข องความคิ ด แยกแยะไม ออก
ระหวางจิตกับเจตสิก รูวาเปนเหตุเปนผลกัน
บางคนพูดวา ในรางกายนี้ มีเวทนา มีคัน เปนตนเกิดขึ้นมา พออัน
นี้ยังไมหาย อันโนนก็เกิดขึ้นมาแลวตามกําหนดไปได
บางคนก็จะพูดวา การกําหนดไดดีอยางนี้ เพราะพบอาจารยอยางนี้
หรื อเพราะคนนั้ น ได ชั กชวนมาปฏิ บั ติอย างนี้ จึ งได พบอย างนี้ อาจนึ กถึง

๕๓๓
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
บุญคุณคนนั้นๆ ถาเขาพูดอยางนี้ วิธีสังเกตของอาจารย “สปฺปุริสูปนิสฺสย
สทฺธมฺมสฺสวน โยคีของเรามีความพอใจในสัปปุริสูปนิสสยะ คือ การคบหา
สัตบุรุษ และสัทธัมมัสสวนะ การไดฟงธรรมของสัตตบุรุษ๑๒
การกําหนดนิมิตในญาณที่ ๒ โยคีเกิดปญญารูแจงในสภาวะของรูป
กับนามที่กําหนดอยูนั้นวาทั้งรูปและนามเปนเหตุเปนผลซึ่งกัน คือ
- รูชัดในอาการตางๆ พรอมกับจิตที่เขาไปรูทุกอารมณที่กระทบจิต
- บางคนจะพูดวา อารมณ,นิมิตมีพระพุทธรูปเปนตน พอกําหนด
อันหนึ่งยังไมทันหายอันหนึ่งก็มาอีก กําหนดตามไปได เมื่อโยคีพูดอยางนี้
อาจารยตองสังเกตและเขาใจวา เพราะมีเหตุคืออารมณ แลวจึงมีผลตาม
กําหนดไป นิมิตเปนเหตุ จิตกําหนดเปนผล
- บางคนจะพู ด ว า มี นิ มิ ต อารมณ ต า งๆ แล ว ก็ กํ า หนดอารมณ
เหลานั้นไปก็มีบางคนพูดวา กําหนดนิมิตแลว กําหนดพอง-ยุบอีก ดังนี้ก็มี
ดั ง นั้ น ถ า ได ญ าณนี้ แ ล ว ให กํ า หนดต น จิ ต คื อ อยากคู เป น ต น
เพราะว า เข า เขตป จ จยปริ ค คหญาณแล ว เพื่ อ ให เ ห็ น ชั ด ถึ ง จิ ต ที่ เ ข า ไปรู
อารมณ สติในญาณนี้ชัดเจน สงผลใหสมาธิ ปญญา พัฒนาตามลําดับ ยอม
ทําใหโยคีเห็นลักษณะของอารมณและจิตคลายความเปนลักษณะธรรมชาติที่
ควรจะเปน ดังตอไปนี้
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม
การกําหนดรูในอายตนะทั้งภายในภายนอกรูวา เปนเหตุเปนผลกัน
เชนมีตาที่เปนจักขุประสาท มีรูปารมณ แสงสวาง มีวัตถุที่มองดู จึงเปนเหตุ
ในสวนรูปใหเกิดจักขุวิญญาณขึ้นในสวนของการใสใจในการเห็นเปนนาม ใน
ทวารที่เหลือก็ตามนัยนี้
๑) มีนิมิตเกิดขึ้นแตปรากฏไมชัดเจน
๒) รั บ รู ได ถึ งอาการที่จิ ต สั่ ง (ต น จิ ต) ที่ ป ระกอบด ว ยฉั น นะและ
เจตนาในอากัปกิริยานั้นทางกายและใจที่แสดงออกมา เชน รูอาการของจิตที่

๑๒
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๑๐๕/๑๒๖.
๕๓๔
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
เกิด การอยากเดิน อยากนั่ง อยากเหยีย ด อยากคู ในอิริย าบถทั้ง ๔ และ
อิริยาบถยอย
๓) ลักษณะของนิมิตที่ปรากฏ เชน เปนเหมือนฝุนละอองขาวนวล
แผ กระจายลอยเคลื่ อนไหวไปมาอยู ขางหน า คล ายกลุ มควั น หรื อหมอก
บางๆหรือกลุมไอน้ําแผกระจายลอยอยูถาสมาธิไมมั่นคง กลุมควันหรือหมอก
ก็จะลอยไปมาแตถาสมาธิมั่นคงดีก็จะปรากฏเหมือนเคลื่อนไหวชาๆ หรือมี
อาการปรากฏวานิ่งอยู
๔) บางคนมีนิมิตมารบกวนมาก เชน เห็นรูปสัตว ปา ภูเขา แมน้ํา
ลําธาร ตนไม สถานที่ คนที่ตายไปแลว ทองฟา กอนเมฆ ดวงดาว ดวงจันทร
ดวงอาทิ ต ย เม็ ด ทรายทอง เพชร แก ว สี รุ ง เทวดา นรก สวรรค เจดี ย
พระพุทธรูปและนิมิตอื่นๆอีกมากมายเกิดขึ้นดวยอํานาจของสมาธิที่มีเหตุมา
จากสัญญาของจิต
๕) นิมิตที่เกิดขึ้นกําหนดไมทัน จิตที่สงออกไปขางนอกไดเร็วขึ้น ๑๓
หมายเหตุ ผูเขาถึงฌานนี้เรียกวา จูฬโสดาบัน ไดความเบาอกเบาใจ
ในพระพุทธศาสนามีคติที่เที่ยงแทแนนอนวา ในชาติที่ ๒ นับจากชาตินี้ไป
ถาญาณไมเสื่อมเขาจะไดไปบังเกิดในสุคติโลกสวรรคไมเกิดอบายภูมิ
ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในปจจยปริคคหญาณ
ปญญารูแจง ในสภาวะของ รูปกับนาม ที่กําหนดอยูวาทั้งรูปและ
นาม เปนเหตุ เปนผลซึ่งกันและกัน คือรูชัดในอาการตางๆ พรอมกับจิตที่เขา
รูทุกอารมณที่กระทบจิต จัดเปนสมุทัย (จินตาญาณ)”๑๔ รูเหตุปจจัยของรูป
นามคือรูวาอะไรเปนรูปเปนนามและการขามความสงสัยตางๆ ที่เปนรูปนาม
ได แ ก วิ สุ ท ธิ ขอ ที่ ๔ คื อ กั ง ขาวิ ต รณวิ สุ ท ธิ เ ป น วิ สุ ท ธิ ที่ ๔ คื อมี ค วามรู อั น
บริสุทธิ์ ที่ไดขามพนจากความสงสัยในรูปนามและขามพนจากความสงสัยใน

๑๓
พระมหาณัชพล นราวงษ(ผูเรียบเรียง),คูมือการสอบอารมณสําหรับพระ
วิปสสนาจารย สภาวะของวิปสสนาญาณ ๑๖, (๒๕๕๓), หนา ๒๘๗-๒๙๐.
๑๔
ขุ.อุ.อ.(ไทย)๔๔/๓๖๓.
๕๓๕
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
เหตุผลของรูปนามได
๑) ญาตปริญญา กําหนดรูป-นาม ๖๐% เปนการกําหนดรูขั้นรูจัก
รูป -นามว าเป น ทุกขสั จ เห็ นอาการเกิดขึ้น และอาการที่ตั้ งอยุของรูป นาม
(ขันธ ๕) อันเปนตัวทุกข
การกําหนดรูดวยการรู เปนปญญาที่กําหนดลักษณะเฉพาะของธรรม
ทั้งหลาย เชน รูป มีลักษณะเสื่อมสิ้นสลายไปมีลักษณะเสวยอารมณ๑๕
๒) ตีรณปริญญา การพิจารณาเหตุปจจัยของรูป-นาม ๓๕ % การ
กําหนดรู ด ว ยการไตร ต รองใคร ครวญ เป น ป ญญาที่ มีพระไตรลั ก ษณเ ป น
อารมณ เชน รูปไมเที่ยง เวทนาไมเที่ยง
๓) ปหานปริญ ญา การละอุป าทานในรูป -นามดว ยการกํา หนด
พิจารณารูป-นาม ขมนิวรณไวแบบวิกขัมพนปหาน ๕ %๑๖
การกําหนดรูดวยการละ เปนปญญาที่มีพระไตรลักษณ เปนอารมณ
และเปนไปพรอมกับการละวิปลลาสธรรม มีนิจจสัญญาความสําคัญวาเที่ยง
เปนตนในธรรมได
จัดเปนญาตปริญญา และเปนกังขาวิตรณวิสุทธิ คือปญญาขั้นรูเหตุ
และผลของรู ป นามหมดความสงสั ย ในรู ป นาม จั ด เป น สมุ ทยอริ ย สั จ ด ว ย
ในชวงที่เปนสัมมสนญาณตอนตน จัดเปนตีรณปริญญา คือเริ่มพิจารณาไตร
ลักษณของรูปนามเปนอารมณ และเริ่มเขาสูมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๒. ปจจยปริคคห ๔๐ (ทุกขเวทนา) ๕ (จิตกุศล)
๒๐ ๕ (นิวรณ) ๒๐
ญาณ ๕ (สุขเวทนา) ๕ (จิตอกุศล)

๑๕
ปรมัตถโชตตกะ วิปส สนากรรมฐาน
๑๖
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., “ศึกษาวิเคราะหสติปฏฐาน ๔ และหลักปฏิบัติ
วิปสสนา ๗ เดือน ในคัมภีรพุทธศาสนาเถรวาท, ๒๕๕๓), หนา ๒๙๒.
๕๓๖
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
๑. กายานุปสสนา ๒๐ % (จากเดิม ๖๐ % ) การกําหนดรูอารมณ
ฐานกายลดลง เนื่องจากมีทุกขเวทนามาแทรกเพิ่มอยางนาแปลกใจ
๒. เวทนานุปสสนา ๔๕% (ทุกขเวทนา ๔๐ % จากเดิม ๑๐ %) มี
ทุกขเวทนามากเพิ่มขึ้ น สั ด ส ว นอารมณจึ งลดลงจากกาย มาเพิ่ม ในฐาน
เวทนา เมื่อจิตจดจอเวทนามากขึ้นก็สงผลใหเกิดสมาธิและปติอยูบาง (๕ %)
๓. จิตตานุปสสนา ๑๐% (กุศลจิต ๑๐ % , อกุศล ๑๐ % เทาเดิม)
แมทุกขเวทนาเพิ่มขึ้นมาก แตความตั้งใจจดจอในการกําหนดรูทุกขเวทนา
ความตั้งใจจึงเปนกุศล ถาจิตเปนอกุศลก็จะลุกขึ้นทันที แตมีศรัทธาความ
เพียรก็ยังคงนั่งตอ ถาลุกขึ้นญาณนี้จะไมเกิด แตอกุศลจิตอาการเบื่อๆเซ็งๆ
กับทุกขเวทนาที่มีมากเกินประมาณก็ยังมีอยู แตก็ทนได
๔. ธัมมานุปสสนา ๕ % ( นิวรณ ๕ ลดลงจากเดิม ๑๐ % )
นิวรณธรรมลดลงแตยังไมหมด อาการปวดหนักขึ้น แตอาการเบื่อ
ฟุง เซ็งจะลดลง จะไมงวงหลับ จึงเหลือนิวรณธรรม ๕ % เพราะเวทนาชัด
ดูเวทนาแทนนิวรณ
เนื่องจากเปนญาณตนมีการปฎิบัติดวยการใชกาย อาการทองพอง
ยุบเกี่ยวกับกายเปนสวนมากและมีเวทนามากดวย เปนกายานุปสสนาดวย
อิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน ดูการเคลื่อนไหวกายพอประมาณเพราะวาได
ผานญาณที่ ๑ มาแลว ญาณนี้ใหรูปจจัยหรือเหตุที่เกิดรูปนามไมเนนกายมาก
นักมีประมาณ ๒๐%
แตญาณนี้ มีเ วทนามากมีการเจ็ บปวดไปตามส วนตางๆของกายมี
ความทุกขเปนเวทนาขันธ เอาสติตามพิจารณาเฝาดูเวทนาที่ใหทันปจจุบัน
ญาณนี้มีเวทนา ที่เปนทุกขประมาณ ๔๐% ดับเย็นไปบางประมาณ ๕ %
จิตตานุปสสนาในญาณนี้ ใหใชสติพิจารณาความคิดตามดูจิตของตน
เมื่ อ มี กิ เ ลสคื อ ราคะ โทสะ โมหะ จิ ต สงบและไม ส งบบ า ง เนื่ อ งจากมี
ทุกขเวทนากลามาก จึงมีกุศลจิตที่ตั้งใจกําหนด ๕ % แตก็ฟุงบางขัดเคือง
บางเปนบางครั้ง ๕ %
สวนธรรมมานุปสสนา ใชสติพิจารณาธรรมเปนอารมณ ในญาณนี้
มีแตนิวรณ ๕ คือ สภาวะเปนธรรมแตไมใชธรรมมารมณจริงมี ๕ % คือไม
๕๓๗
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ตองไปกําหนดใหผานไปสนใจในอารมณปจจุบัน
เพงความสนใจไปทีว่ ิถีจิตที่บริกรรมภาวนาเพิ่มขึ้น เปน ๒๐ % แต
ยังใสใจเพงดูอารมณมากกวาใสใจบริกรรม อนึ่ง ขั้นนี้จิตตั้งมั่งในอารมณรูป
นามไดมากขึ้น โดยเฉพาะทุกขเวทนาจะปรากฎชัดมากขึ้น แมจะทําใหเกิด
อารมณโทสะปรากฎบางเปนบางครั้ง แตนิวรณอื่นๆ แทบไมเขารบกวนเลย
ความสมดุลของอินทรีย ๕
ญาณนีเ้ ปนญาณตนจึงจําเปนตองมีศรัทธามากทําใหการปฎิบัติไปได
ดีราบลื่นและพรอมกับตองมีวิริยะเขามาดวยทําใหพรากเพียรปฏิบัติ และ ดัง
ไดกลาวมาแลว สวนสติตองมีมากถึงดี ในญาณนี้สมาธิและปญญามีนอยได
ศรัทธา ๔๐% วิริยะ ๓๐% สติ ๕๐% สมาธิ ๒๐% ปญญา ๑๐%
ญาณนี้ จะมีอาการนิ่งๆ ซึมๆ คิดปรุงแตงในสิ่งที่ตนศรัทธาไดงาย
เพราะศรั ทธามีกําลั งกว าป ญญามาก และจะมีอาการฟุงมากตามไปด ว ย
เพราะมีวิริยะมากวาสมาธิ
อนึ่ง ญาณนี้จะมีสติที่มีกําลังมากขึ้น ทําใหเห็นรูป-นาม และเห็น
เหตุป จจั ย ของรู ป -นามได ชัด ขึ้น สงผลให ห ายความสงสั ย ในรูป -นาม เกิด
ความหมดจดขามพนความสงสัยตางๆ เพราะโดยปกติแลว คนมักมีความ
สงสัยตางๆวาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆมีจริงหรือไม การสงสัยในการเกิด
การตาย เกิดแลวเกิดอีก หรือ ตายแลวไมเกิดอีก ในอดีตชาติ ชาติกอน ชาติ
หนา ความสงสัยทํานองนี้ยอมเกิดขึ้นไดแกคนที่ชางคิด ชางสงสัย แมแตทาน
ที่เปนนักปฏิบัติเองไมวาจะเปนสมถหรือวิปสสนา ก็อาจจะมีความสงสัยอยู
ตองพรากเพียรใหมาก แลวอาศัยการกําหนดรูปจจัยของรูปนาม ตอจากนั้น
ใหกําหนดดูปจจัยตางๆที่ทําใหเปนนามรูปโดยมีปจจัย
แตญาณนี้มีเวทนามาก ทําใหรูสึกวาเปนทุกขอยางมากถามีความ
อดทนและพรากเพียรกําหนดและตั้งใจปฏิบัติตอไปซักระยะหนึ่งเวทนาก็จะ
เบาและอดทนกับเวทนานั้นไดเวทนานี้เปนเวทนาขันธกําหนดเวทนาเป น
ทุกข ทุกขตองกําหนดรูดังที่เรียนมาเมื่อกําหนดรูทุกขมากเขาๆก็ทําใหละ คือ
ละสมุทัย แจงนิโรธและทํามรรคใหเจริญและก็จะทําใหญาณสูงขึ้นได

๕๓๘
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม

ญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ
ปญญารูแจงในขณะกําหนดสภาวะลักษณะของรูป-นามโดยอาการ
อนิจจัง ทุกขังและอนัตตา เห็นความเกิดดับของรูปนามเห็นความไมเที่ยง
ของรูป-นาม เห็นความทนอยูในสภาพเดิมไมไดของรูป-นาม เห็นความบังคับ
บัญชาไมไดของรูป-นาม แตวาการเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ในญาณที่ ๓ นี้
ยังเอาสมมุติบัญญัติ คือ ยังมีสุตมยปญญา (ปญญาที่เกิดจากการฟง) มาเอา
จินตามยปญญา (ปญญาที่เกิดจากความตรึกนึกคิด)๑๗ มาปนอยูดวย ยังไม
บริสุทธิ์ในความเห็น ก็ทําใหรูเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ที่ยังมีสมมุติบัญญัติ
เปนปญญาที่ไดจากการฟงจากการคิดพิจารณาขึ้นมา๑๘ เมื่อไดทําความเพียร
กําหนดดูรูป-นามเรื่อยไปก็จะกาวขึ้นสูญาณที่ ๔
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
การหยั่งเห็นไตรลักษณในอิริยาบถนอยใหญในขณะกําหนดรู เชน
การยกก็มีสภาวะไมปะปนกับอาการยาง การยางก็ไมปะปนกับการเหยียบ
ลวนปรากฏเปนไตรลักษณในขณะปรากฏในลักษณะของตน คือ ในขณะเดิน
ในขณะยืน ในขณะนั่ง ในขณะนอน และอิริยาบถยอยก็ปรากฏไตรลักษณ
ตามนัยที่กลาวมาแลวนี้
๑. การเดินไมคอยสะดวก มีอาการคลายกับจะหลับ สั่น เกร็ง
๒. ในขณะเดินมีอาการเหมือนพื้นที่เดินไมเสมอกัน
๓. อิริยาบถยอยในขณะกําหนดจะปรากฏไตรลักษณใหกําหนดรู
อาการพอง-อาการยุ บ เป น หลั ก แต ถามีอาการอื่น ชั ด เจนกว าก็ให ย ายไป
กําหนดรูตามอาการนั้นๆ สวนใหญจะเปนเวทนา
๔. กําหนดเห็นเทาที่ยกยาง ๓ ระยะ คือ เกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไป
เช น รู สึ กว าขณะยกเทา (เกิด )ขณะย างเทา (ตั่ งอยู ) ขณะเหยี ย บ (ดั บ ไป)
ความรูสึกขณะยก ขณะยาง ขณะเหยียบคนละสภาวะกัน

๑๗
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/-/๑/๓๘๐.
๑๘
ดูใน อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๗๖๘/๕๐๔.
๕๓๙
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ
ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นไตรลักษณคือ ความเกิดดับของรูปนาม แตที่
รูวารูปนามดับไปก็เพราะเห็นรูปนามใหมเกิดสืบตอแทนขึ้นมาแลวเห็นอยางนี้
เรียกวา สันตติยังไมขาด และยังอาศัยจินตามยปญญาอยู
กําหนดพองแตทองกลับยุบ กําหนดยุบแตทองกลับพอง คืออารมณ
เปนเหตุจิตที่กําหนดตามเปนผลคือจิตแลนเขาไปสูอารมณ๑๙
กําหนดพอง-ยุบเปน “พองหนอ ยุบหนอ”มีลักษณะขาดๆ หายๆ
กําหนดรูอาการพองครั้งหนึ่งเห็นเปน ๓ ระยะ คือตนพอง กลาง
พอง สุดพอง
การกําหนดรูยุบครั้งหนึ่งก็เห็นเปน ๓ ระยะ คือตนยุบ กลางยุบ สุด
ยุบ
การกําหนดรูพองยุบไดดีขึ้น แตไมเห็นอาการดับชัดเจน
อาการพอง-ยุบ หายไป บางคนหายไปนาน บางคนไมนาน
อาการพอง-ยุบไวบาง สม่ําเสมอบาง แผวเบาบาง อึดอัดแนนขึ้น
บาง
โยคีกําหนดเห็นอาการพองยุบ จากชาไปไวจนหายไปแสดงวาอยูใน
ญาณที่ ๓ (อนิจจัง) เปน “ญาณเริ่มตนของวิปสสนา” ถาพองยุบไวๆ แลววูบ
หายไปแสดงวาอยูในญาณที่ ๔ (เกิด-ดับ)
การรูชัดของอาการทอง คือตนพองกลางพองสุดพอง ตนยุบกลาง
ยุบสุดยุบ หรือทอง-พองยุบมีอาการขาดๆ หายๆ เปนตน
การรูชัดของอาการทอง คือ ตนพอง-กลางพอง-สุด พอง ตนยุบ-
กลางยุบ-สุดยุบ ระยะ หรือทองพองยุบมีอาการขาดๆ หายๆ เปน ตรงกับ
การอธิบายของพระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ) ที่กลาววา การ
กําหนด กําหนดไดชัดเจนดี เชน เห็นพอง-ยุบ เปน ๒ – ๓ – ๔ – ๕ – ๖
ระยะที่ พอง-ยุบขาดๆ หายๆ เปนลําดับ

๑๙
ขุ.ป.อ. (ไทย)๗/๑/-/๕๐.
๕๔๐
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
ผูปฏิบัติรวู ารูปนามดับไปและเห็นรูปนามใหมเกิดขึ้นสืบตอกันไปแต
สันตติยังไมขาด เพราะเปนเพียงความรูดวยจินตาญาณ (ความนึกพิจารณา)
- การกลื นครั้งหนึ่งก็จ ะเห็ น เป น ๓ ระยะ ตน กลื น กลางกลื น สุ ด
กลืนแตยังไมเห็นอาการดับชัดเจนใหกําหนดวา กลืนหนอๆ ลงหนอๆ ไหล
หนอๆ
- กํ า หนดยกมื อขึ้ น หรื อลงครั้ ง หนึ่ ง ก็ จ ะเห็ น เป น ๓ ระยะ ต น ยก
กลางยก สุดยก ใหกําหนดวา ขึ้นหนอๆ หรือ ลงหนอๆ
- กําหนดรูรสไดดีขึ้น แตยังไมเห็นอาการดับชัดเจนนักใหกําหนดวา
รส/รูหนอๆ
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา
ลักษณะของเวทนาที่ปรากฏใหรูในพระไตรลักษณทั้ง ๓ ลักษณะ
ดังนี้ เรียกตามหนาที่ ติลักษณปฏิเวธสัมมนญาณ แปลวา ญาณกําหนดรูดวย
การแทงตลอดโดยพระไตรลักษณ
- เวทนามีมากมายเหลือหลาย สวนมากเกิดในสวนที่เกี่ยวกับกาย
เชน ปวดตามรางกาย เจ็บ คัน ชา เมื่อย เปนตน
- เห็นได โดยลักษณะของเวทนา คือมีทุกขเวทนาเกิดขึ้น มากมาย
หลายอยางหลายประการและหนักกําหนดตั้ง ๗ – ๘ ครั้งจึงหาย เวทนาเปน
เวทนาที่รุนแรงมาก หายชา เชน วิงเวียนศีรษะบาง คันบาง อยากอาเจียน
บาง แนนหนาอกบาง เจ็บที่กนกบบาง หนักที่ขอเทาบาง เปนตน
อนึ่ง ญาณที่ ๓ กับญาณที่ ๔ มีสภาวะการกําหนดเวทนาตางกัน คือ
ในญาณที่ ๓ กําหนดเวทนาปวดปรากฏชัด แลวเบาลงแต ไมหายไป หรื อ
หายไปแลว เกิดใหม สว นในญาณที่ ๔ กําหนดเวทนาปรากฏชัดเจนแล ว
หายไปโดยการกําหนดไมกี่ครั้ง เปนการกําหนดเห็นความเกิดขึ้นแหงขันธ ๕
(นิพฺพตฺติลกฺขณํ)๒๐)
๒๐
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๔๙-๕๐/๕๖-๕๘, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔๙-
๕๐/๗๗-๘๑.
๕๔๑
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
โยคีกําหนดทุกขเวทนาไดชัดเจน ยิ่งกําหนดปวดมันยิ่งปวด แสดงวา
สภาวะยังอยูในญาณที่ ๓ อาจายจึงแนะนําใหโยคีเพิ่มเดินจงกรมมากกวา ๑
ชั่วโมง (๑. ๑๕ ชม.) เพื่อเพิ่มกําลังอินทรียแกกลา และในขณะเดินจงกรมให
โยคีกําหนดความดับของอารมณที่ปรากฏชัด เชน มีเสียงกระทบในระหวาง
เดิน ใหโยคีกําหนดเสียงจนดับกอนแลวคอยเดิน เปนการเพิ่มปญญินทรีย ถา
โยคีกําหนดทุกขเวทนา ๓ หนอ แลวดับ แสดงวาโยคีอยูในญาณที่ ๔ ในขั้น
ที่ ๒ นี้เปนการเพิ่มพูนกําลังสติและสมาธิ เพื่อพิจารณาเห็นถึงการดับของ
อารมณที่มากระทบ เชน จิตที่คิด เสียงที่กระทบ เวทนาที่ปรากฏ ถาโยคีเห็น
ถึงอาการดับของอารมณตางๆ ที่ปรากฏในปจจุบันแสดงวากําลังเขาถึงญาณ
ที่ ๔ อุทยัพพยญาณ ปญญาพิจารณาเห็นความเกิดดับของรูปนาม
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต
สังเกตเห็นจิตที่เขาไปรูอารมณ ขณะกําหนดเดิน นั่ง กําหนดเวทนา
กําหนดจิต และญาณที่ ๓ ชวงตน คือจะมากไปดวยสติ โยคีจะเริ่มเห็นพระ
ไตรลักษณ คือการอนุมานถึงความไมเที่ยง เปนตน แตวิปสสนูปกิเลส ๑๐
ประการ ยังไมปรากฏชัด แตถาโยคีเขาถึงสัมมสนญาณชวงปลายและตรุณ
อุทยัพพยญาณ วิปสสนูปกิเลสยอมปรากฏชัด
นิมิตมีมาก เวลากําหนดวา เห็นหนอ จะหายไปชาๆ คอยๆ จางไป
ลักษณะนิมิต เชน แสงสวางและนิมิตตางๆ ปรากฏขึ้นและตั้งอยู
นานแลวคอยหายไป แสงสวางดวงใหญเกิดขึ้นตรงหนา ดวงเล็ก เห็นแสง
สวางที่อยูไกลแลวลอยใกลเขามา กระจายออกไปแลวหายไป ตัวเย็นวูบวาบ
เหมือนโดนละอองน้ํา ขนลุกหรือขนชูชัน มีอาการโยกโคลงหรือลมไป อยา
กลัวกําหนดตามอาการเพราะเกิดจากสมาธิ เมื่อมีอะไรเกิดขึ้นทางรางกายที่
เกี่ยวกับอาการตางๆใหกําหนดรู อยากังวลอะไร
นิมิตมีความชัดเจนมากขึ้น สวนมากเกิดจากการยินดีตามอุปนิสัย
หรือจริตของแตละคนรวมไปถึงนิมิตที่ถูกตองเปนไปตามลักษณะ อนิจจัง ทุก
ขัง อนัตตา แตบางคนไมมีอาการของนิมิตหรือสภาวะมากมายนัก
ใจฟุงซานนั้นแสดงใหเห็นวา จิตเปนพระไตรลักษณ
๕๔๒
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
กําหนดรูอาการตางๆ ไดดีขึ้น และเร็วขึ้น
บางครั้งสะบัดมือ สะบัดเทา อาการของอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา
ปรากฏในจิต
กําหนดรูอาการตางๆ ทางกาย เวทนา จิต และธรรมในขณะเกิดขึ้น
ไดทั้ง ๓ ระยะ คือเกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไป กําหนดรูอาการเกิดขึ้นไดเร็ว
และอาการดับไปไดเร็ว ถาสภาวะที่เกิดขึ้นกําหนดแลวไมดับก็อยากังวลให
กําหนดไปเรื่อยๆ
สภาวะของจิตตองเห็นอนิจจังกอน จากนั้นสภาวะทุกขและอนัตตา
จะปรากฏ
เมื่อกําหนดไปเรื่อยๆก็จะปรากฏทุกขเนื่องจากการกําหนดรูนั่นเอง
ถาการกําหนดแลวเห็นความเดือดรอนในสิ่งนั้น จิตเปนทุกขที่บอก
วากําหนดไมหาย (ทุกข) เพราะทุกขเกิดขึ้นตามเหตุปจจัยอยางนี้เรียกว า
(อนัตตา)
ใจฟุงซานบาง นั่นแสดงใหเห็นวาจิตเปนพระไตรลักษณ
อารมณนิมิต เห็นลอยมาแตไกล หรือเกิดใตตาแลวหางออกไปและ
จางหายไปในที่สุด
จิตมีอุปาทานนึกอยากเห็นสิ่งใด ก็มักเห็นสิ่งนั้น มีไดทั้งภาพที่นา
กลัวและภาพที่นาดู
นิมิตมาก กําหนดหายชาๆ คอยๆ จางหายไป
อารมณนิมิตที่เกิดขึ้นจากใกลไปหาที่ไกล หรือจากที่ไกลไปหาที่ใกล
และคอยๆ เล็กลงตามลําดับ หรือรูเห็นไดโดยลักษณะของนิมิตปรากฏวา
นิมิตคอยเกิดขึ้น, แลวตั้งอยูนาน,แลวก็ดับไป กําหนดหายชา คอยๆ จาง
หายไป เปนตน
-ขณะที่สัมมสนญาณ เกิด ความแกกล าขึ้น จะมีความรู สึ กว าเบื่ อ
หนายกับการปฏิบัติอยากจะออกจากการปฏิบัติ บางครั้งก็รองให บางครั้งก็
หัวเราะ บางครั้งรางกายโยกไปโยกมา บางครั้งจะหาวบอย บางครั้งรางกาย
เหมือนกับถูกทับดวยของหนัก

๕๔๓
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
เพิ่มเติม : แสงสวางในญาณที่ ๓ จะนอยกวาญาณที่ ๔ และการ
กําหนดหายไปในญาณที่ ๓ จะตองกําหนดหลายครั้งถึงหายไป สวนญาณที่
๔ กําหนดเพียงไมกี่ครั้งก็หายไปดังนี้
พิเศษ : ในญาณที่ ๔ วิปสสนูกิเลส ๑๐๒๑ ยอมปรากฏแกโยคี เชน
แสงสวางเหมือนไฟฉายวองหนา หรือเดินระยะที่ ๔ ในขณะที่เทา “เหยียบ
หนอ” ตรงจังหวะเหยียบ มีอาการขนลุกจากเทาซูไปถึงหัว วินิจฉัยวาเปน
ลักษณะของขณิกาปติ เปนตน
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม
โยคีจ ะเริ่มเห็น พระไตรลั กษณ คืออนิจ ทุกขัง อนัต ตา โดยจิ ต ต
ญาณ หรือการคิดอนุมานเอาเทานั้นญาณนี้มีวิปสสนูปกิเลส ๑๐ ประการยัง
ไมปรากฏชัด เมื่อโยคีเขาถึงสัมมสนญาณชวงปลายและตรุณอุทยัพพยญาณ
วิปสสนูปกิเลสจะปรากฏชัด
สิ่งที่ปรากฏทางทวาร ๖ คือในขณะตาเห็นรูป หูฟงเสียง จมูกได
กลิ่น ลิ้นรับรส กายถูกตอง ใจนึกคิด ปรากฏเปนไตรลักษณ
การปฏิบัติในญาณนี้ตองใชความพอดี (สายกลาง) ความฟุงซานยังมี
อยูมากถือวาเปนธรรมชาติของจิต๒๒ และมีอาการตางๆ เกิดขึ้นมากมาย แต
ใหกําหนดตามอาการของปจจุบันที่ชัดเจนที่สุด
แสงสวางในญาณที่ ๓ จะนอยกวาญาณที่ ๔ และการกําหนดหายไป
ในญาณที่ ๓ จะตองกําหนดหลายครั้งถึงหายไป สวนญาณที่ ๔ กําหนดเพียง
ไมกี่ครั้งก็หายไปดังนี้
พิเศษ : ในญาณที่ ๔ วิปสสนูกิเลส ๑๐๒๓ ยอมปรากฏแกโยคี เชน

๒๑
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖-๗/๓๑๕-๓๑๗, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖-๗/
๔๒๕-๔๒๖.
๒๒
พระมหาณัชพล นราวงษ(ผูเรียบเรียง),คูมือการสอบอารมณสําหรับพระ
วิปสสนาจารย สภาวะของวิปสสนาญาณ ๑๖, (๒๕๕๓), หนา ๓๐๑-๓๐๓.
๒๓
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖-๗/๓๑๕-๓๑๗, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖-๗/
๔๒๕-๔๒๖.
๕๔๔
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
แสงสวางเหมือนไฟฉายวองหนา หรือเดินระยะที่ ๔ ในขณะที่เทา “เหยียบ
หนอ” ตรงจังหวะเหยียบ มีอาการขนลุกจากเทาซูไปถึงหัว วินิจฉัยวา เปน
ลักษณะของขณิกาปติ เปนตน
ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในสัมมสนญาณ
ปญญารูแจง ในสภาวะของ รูปกับนาม ที่กําหนดอยูวาทั้งรูปและ
นาม เปนเหตุ เปนผลซึ่งกันและกัน คือรูชัดในอาการตางๆ พรอมกับจิตที่เขา
รูทุกอารมณที่กระทบจิต จัดเปนสมุทัย (จินตาญาณ)”๒๔
๑) ญาตปริญญา กําหนดรูป-นาม ๕๐% เปนการกําหนดรูขั้นรูจัก
รูป -นามว าเป น ทุกขสั จ เห็ นอาการเกิดขึ้น และอาการที่ตั้ งอยุของรูป นาม
(ขันธ ๕) อันเปนตัวทุกข
๒) ตีรณปริญญา การพิจารณาเหตุปจจัยของรูป-นาม ๓๐ % เปน
การกําหนดรูขั้นรูจั กและพิจ ารณาเห็ นในไตรลักษณ แตยังมีสุต มยปญญา
(ปญญาที่เกิดจากการฟง) มาเอาจินตามยปญญา (ปญญาที่เกิดจากความ
ตรึกนึกคิด)๒๕ มาปนอยูดวยจึงเปนนิโรธ (จินตาญาณ)
๓) ปหานปริญ ญา การละอุป าทานในรูป -นามดว ยการกํา หนด
พิจารณารูป-นาม ขมนิวรณไวแบบวิกขัมพนปหาน ๒๐ %๒๖
เปนภูมิแหงตีรณปริญญา กําหนดรูขั้นพิจารณาคือ รูดวยปญญาที่
หยั่ ง ลึ ก ซึ้ง ไปถึ งสามั ญญลั กษณะ ได แก รู ถึ งการที่สิ่ ง นั้ น ๆ เป น ไปตามกฎ
ธรรมดา โดยพิจารณาเห็นความไมเที่ยงเปนทุกข เปนอนัตตาภูมิแหงตีรณ
ปริญญา เริ่มตั้งแตการพิจารณากองสังขาร จนถึงอุทยัพพยานุปสสนา (การ
พิจารณาเห็นความเกิดและความดับ) ปริญญานี้ ก็คือการตามกําหนดอยาง
จดจอตอเนื่องจนแจงสามัญลักษณะของอารมณที่กําหนดจัดเขาในสมุทัย(จิน
ตาญาณความรูที่เปนไปกับความดําริ หมายถึง วิปสสนาญาณขั้นตนที่ยังออน

๒๔
ขุ.อุ.อ.(ไทย)๔๔/๓๖๓.
๒๕
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/-/๑/๓๘๐.
๒๖
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., “ศึกษาวิเคราะหสติปฏฐาน ๔ และหลักปฏิบัติ
วิปสสนา ๗ เดือน ในคัมภีรพุทธศาสนาเถรวาท, ๒๕๕๓), หนา ๒๙๒.
๕๔๕
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ตรุณวิปสสนา) และนิโรธ (ตทังคนิโรธ ดับดวยองคนั้นๆ คือ ดับกิเลสดวย
ธรรมที่เปน คูปรั บ หรื อธรรมที่ต รงขาม เชน ดั บสักกายทิฏฐิด วยความรู ที่
กําหนดแยกรูปนามออกได เปนการดับชั่วคราวในกรณีนั้นๆ)”
นิโรธอริย สัจ ความจริงที่แทว า เมื่อมีส ติ สมาธิ และปญญาญาณ
สมบูรณ ยอมพนไปจากสังขารที่เปนทุกข (รูป-นามอันเปนสังขตธรรม) ได
ความไมเกิดอี กของทุกขสัจได แกสติที่เขาไปกําหนดรูอาการพอง-ยุบ ดั บไป
พรอมกั บอาการพอง-ยุ บ และสมุทยสั จถูกละ(ไดแกเจตนาที่ยกจิ ตขึ้ นสู การ
กําหนดรูอาการพอง-ยุบ )อันเปนการดับที่เรียกวา ตทังคนิโรธ
เมื่อตีรณปริญญาเปนไปอยู มัคคามัคคญาณจึงบังเกิดขึ้นและตีรณ
ปริญญาก็บังเกิดขึ้นในลําดับของญาตปริญญา เพราะฉะนั้น โยคีผูปรารถนา
บรรลุมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินั้นจะตองทําโยคะในกลาปสัมมสนญาณ
(การกําหนดรูโดยความเปนหมวดเปนกอง) กอน๒๗
ในบันไดขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม เปนการเพิ่มสติในการกําหนด
คือ การเพิ่ม ต น จิ ต และทวารทั้ง ๖ เพื่ อให เ ห็ น สภาวธรรมให ชั ด ขึ้น โดย
สภาวธรรมที่ ป รากฏคื อญาณที่ ๒ สั งเกตเห็ น จิ ต ที่เ ข าไปรู อ ารมณ ขณะ
กําหนดเดิน นั่ง กําหนดเวทนา กําหนดจิต และญาณที่ ๓ ชวงตน คือจะมาก
ไปดวยสติโยคีจะเริ่มเห็นพระไตรลักษณ คือการอนุมานถึงความไมเที่ยง เปน
ตน แตวิปสสนูปกิเลส ๑๐ ประการ ยังไมปรากฏชัด แตถาโยคีเขาถึงสัมมสน
ญาณชวงปลายและตรุณอุทยัพพยญาณ วิปสสนูปกิเลสยอมปรากฏชัด ดังนี้
สัมมสนญาณดูกาย พอง-ยุบชัด ๓๐% สุขเพิ่ม ๓๐% แตทุกขลด
เหลื อ ๒๐% แสดงว า ตรงนี้ กํ า หนดปวด ดั บ เร็ ว ขึ้ น และมี สุ ข เพิ่ ม ขึ้ น
โดยเฉพาะ ปติ มีสุขเพิ่มขึ้น มีปสสัทธิเกิดดวย สวนของสภาวจิต ๑๙%
พอมีสุขเกิดขึ้น จิตก็สุขไปดวย พอมีเวทนาเปนสุข จิตก็เปนกุศลเปนสุขไป
ดวย แตเมื่อสภาวธรรมแกกกลาแลวการดูพองยุบจะเหลือแค ๐-๑ ๐-๑

๒๗
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, แปลโดย สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ
อาสภมหาเถร), พิมพครั้งที่ ๗, (กรุงเทพมหานคร: บริษัทธนาเพรส จํากัด, ๒๕๕๑),
หนา ๑๐๐๙.
๕๔๖
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
นิวรณเกิดดับๆ แตเปนปวดแบบดับเร็ว แลวมีสุขเพิ่มขึ้นเนนไปที่สุขกาย
แลวโสมนัสสุขทางใจก็มากขึ้น
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๒. ปจจยปริคคห ๔๐ (ทุกขเวทนา) ๕ (จิตอกุศล)
๒๐ ๕ (นิวรณ) ๒๐
ญาณ ๕ (สุขเวทนา) ๕ (จิตกุศล)
๒๐ (ทุกขเวทนา)
๓. สัมมสนญาณ ๓๐ ๙ (จิตกุศล) ๐-๑ (นิวรณ) ๓๐
๑๐ (สุขเวทนา)

๑. กายานุปสสนา ๓๐ % (จากเดิม ๒๐ % ) การกําหนดรูอารมณ


ฐานกายชัดขึ้น เพราะทุกขเวทนาลดลง สงผลใหดูกายไดชัดขึ้น
๒. เวทนานุปสสนา ๓๐% (ทุกขเวทนา ๒๐ % [จากเดิม ๔๐ %] ,
สุขเวทนา ๑๐ %[จากเดิ ม ๕ %]) มีทุกขเวทนาลดลง แต ยั งไมห ายหมด
เปลี่ยนจุดปวด และมีสุขเวทนา มีปติ เย็นซูซาเกิดขึ้น
๓. จิตตานุปสสนา ๙ % (กุศลจิต ๙% [จากเดิม ๕%],) กุศลจิต
เพิ่มขึ้น เพราะปวดเบาลง มีกําลังใจ นั่งครบหนึ่งชั่วโมงหมดเวลา ยังอยาก
นั่งต อเพราะมีศรั ทธา มีป ติ เกิด ขณิกสมาธิ มีองค ๕ วิต ก วิ จ าร ป ติ สุ ข
เอกัคคตา
๔.ธัมมานุปสสนา ๑ % (นิวรณ ๕ เกิด-ดับ จากเดิม ๕ % ) นิวรณ
ธรรมเกิดแลวดับ เกิดดับ กําหนดแลวดับ เปนขณิกสมาธิ ถึงขั้นอัปปนามี
องค ๕ ครบเทากัน
เพียรเพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนาเพิ่มขึ้น เปน ๓๐ %
แตยังใสใจเพงดูอารมณมากกวาใสใจบริกรรม อนึ่ง ขั้นนี้จิตตั้งมั่งในอารมณ
รูปนามไดมากขึ้นแลว บางคนอาจถึงขั้นฌานสมาธิไดเลย จึงแทบไมมีนิวรณ
เขารบกวนเลย

๕๔๗
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
ความสมดุลของอินทรีย ๕
ญาณที่ ๑- ๒- ๓ ยังไมใชวิปสสนาญาณ เพราะโพชฌงคเปนธรรมะ
ที่สืบเนื่อง จากวิปสสนาโพธิปกขิยธรรม๓๗ เปนขบวนการในวิปสสนาญาณ
โพชฌงคเปน ๑ ในโพธิปกขิยธรรม โพชฌงคจะยังเกิดในญาณนี้ การกําหนด
สติรูอาการพอง-ยุบ อาการสุดพองจะไมเห็นสติตามระลึกรูอาการตั้งแตทอง
เริ่ ม พองก็ กํ า หนดว า พอง..หนอ รู ว า ดั บ สิ้ น สุ ด เพราะมี พ องเกิ ด ขึ้ น คํ า
บริกรรมวา “หนอ” ในญาณเห็นอาการเกิด ของพอง-ยุบรวดเร็วมากจนสติ
ตามอาการไมทันจะเห็นเพียงตนพองและปลายพอง โดยระหวางกลางพอง
สติตามจับไมทัน สติจึงตามระลึกรูกายไดแค ๓๐
ศรัทธากับปญญาสองอยางนี้จะตองมีความสมดุลกัน ถามีความเชื่อ
แตมีไมมีความเขาใจไมมีปญญาสิ่งที่ตนเองเชื่อถูกตอง ไมเขาใจในเหตุผลวา
สิ่งนี้ควรเชื่อหรือไม ก็จะกลายเปนคนงมงาย แตถามีปญญามากวิเคราะห
วิจารณโดยปราศจากศรัทธาก็มักเปนคนที่คิดมากเกินไปจนเกิดความลังเล
สงสัยไปหมด เพราะฉะนั้นศรัทธากับปญญาจึงตองเทากัน
วิริยะกับสมาธิ ตองเสมอกันถาความเพียรมากกวาสมาธิยอมสงผล
ใหฟุงซานแตถาสมาธิมากกวาความเพียร ยอมสงผลใหเกิดความงวงเหงา
หาวนอน ดังนั้นจึงมีการสอบอารมณในแตละวันเพื่อปรับอินทรีย
ญาณนี้เปนญาณตนจึงจําเปนตองมีศรัทธามากจึงทําใหการปฏิบัติ
ไปไดดี ราบรื่นและพรอมกับตองมีวิริยะเขามาดวยทําใหพากเพียรปฏิบัติ
และดังไดกลาวมาแลววาสวนสติตองมีมากถึงจะดีในญาณนี้ศรัทธามี ๗๐-
๘๐% หรือบางครั้งเกิน และวิริยะ ๔๐% สติ ๕๐% สมาธิ ๔๐% ปญญามี
๒๐%

๕๔๘
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูป-นาม
บันไดขั้นที่ ๓ นี้ ผูปฏิบัติจะเริ่มพิจารณาเห็นไตรลักษณในญาณที่ ๓
(ตอนปลาย) โดยการอนุมาน จัดเปนปญญาในจินตามยปญญา จนอินทรียแก
กลาเห็นรูปนามเกิด-ดับดวยญาณที่ ๔ คือ อุทยัพพยญาณ จัดเปนภาวนามย
ปญญา และเห็นรูปนาม พรอมทั้งจิตที่เขาไปรูนั้นดับไปพรอมกัน ดวยญาณที่
๕ คื อ ภั ง คญาณ การปฏิ บั ติ ใ นขั้ น นี้ จ ะมากไปด ว ยสมาธิ ซึ่ ง จะทํ า ให
วิปสสนูปกิเลส ๑๐ เกิดปรากฏแกผูปฏิบัติไดงายดังที่ไดกลาวไวแลวในขั้นที่
๒ สวนในขั้นที่ ๓ นี้จะกลาวถึงความตางของสภาวธรรมตอไป
ขั้นนี้เปนการพิจารณรูป-นามถึงขั้นละได คือ กําหนดรูสังขารวาเปน
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จนถึงขั้นละนิจสัญญาเปนตน การกําหนดละจาก
กิเลสโดยการบรรเทา ทําฉันทราคะในผัสสะใหสิ้นไปดังที่พระผูมีพระภาค
ตรัสวา “ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันทราคะในผัสสะใด ทานทั้งหลายจงละฉันทรา
คะนั้นฉันทราคะนั้นจักเปนของอันทานทั้งหลายละแลว มีมูลรากอันตัดขาด
แล ว ทํ าให ไ ม มีที่ ตั้ ง ดุ จ ตาลยอดด ว นถึ ง ความไมมี ใ นภายหลั ง มีค วามไม
เกิดขึ้นในอนาคตเปนธรรมดา โดยประการอยางนี”้
พิ จ ารณาอารมณ โ ดยไม ใ ห จิ ต ซั ด ส า ยไปหาอารมณ อื่ น ๆ แต ไ ม
พยายามปดกั้นไมใหอารมณอื่นๆ แทรกเขามา หากมีอารมณอื่นๆ แทรกเขา
มาได ก็ใหเพงรูลงในอาการของอารมณใหมนั้นทันที พรอมกับสังเกตุอาการ
ของจิตที่จากคลายจากอารมณเกากอนหนานั้นไปดวย หลักการสําคัญในการ
บริกรรมภาวนาในขั้นนี้ ตองพยายามนอมจิตเพงความรูสึกไปที่ตัวอารมณ
๕๐ % นิวรณธรรมระงับไป และเพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนา
๕๐ % และใสใจพิจารณาตัวอารมณเทาๆ กับใสใจสติที่เพงพิจารณาอารมณ
ที่จิตรูกับจิต (ที่อินทรีย ๕ สมดุลย) ที่รูอารมณ ดับลงพรอมๆ กัน มากขึ้นๆ
เมื่อพิจารณารูปจจัยแหงรูป-นามทั้งหลายแลว สติและสมาธิแกกลา
ขึ้นจะเกิดญาณปญญา เห็นความไมเที่ยงของรูปนาม เห็นความเกิด เห็น
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
ความแปรไปของรู ป -นามในขณะป จ จุ บั น เมื่อญาณป ญญาพัฒ นาขึ้น จะ
พิจารณาเห็นความดับไปของรูป-นาม เห็นโดยความไมเที่ยง เปนทุกข เปน
อนัตตา เปนปญญาที่เห็นความไมเที่ยงของรูป-นาม ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
๑. กําหนดกราบ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
กราบใหได ๑๐ นาทีเปนอยางนอย เพิ่มการรูตนจิตมากขึ้น เชน
ก อ นพลิ ก มื อ ให กํ า หนดรู จิ ต ก อ นว า “อยากพลิ ก หนอ” แล ว จึ ง กํ า หนด
“พลิกหนอๆ” ตอไป พยายามกําหนดใหละเอียด ไดแก อยากพลิก อยากยก
อยากขึ้น อยากกม อยากเคลื่ อน อยากขยับ อยากคว่ํ า อยากลง เปน ต น
และกําหนดรูอาการ “ถูกหนอ” ที่มือถูกหนาอก ถูกพื้น ที่หน าผากถูกพื้น
และเพิ่มจังหวะหยุดเมื่อมีอารมณอื่นแทรกเขามา กําหนดเทาที่เรารูสึกได
๒. วิธีเดินจงกรม แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
สําหรับผูปฏิบัติถึงญาณที่ ๔ แลว (อุทยัพพยญาณ) ใหแบงชวงการ
กําหนดยืนออกเปน ๓ ชวง ตั้งแตปลายผม ถึงราวนม ๑ ชวง ตั้งแตราวนม
ถึง ขาอ อ น ๑ ช ว ง ตั้ ง แต ข าอ อ น ถึง ปลายเท า ๑ ช ว ง ทุ ก ช ว งบริ ก รรม
เหมือนกันวา “ยืนหนอ” แลวกําหนดกลับขึ้นมาเชนเดิม และเมื่อกําหนดจน
ชํานาญแลว ใหเพิม่ การสังเกตอาการดับของจิตที่เพงรูอาการยืนในแตละชวง
ที่ดับไปพรอมๆ กับคําบริกรรมในแตละชวงนั้นดวย จึงจะกําหนดรูจิตที่คิดจะ
เดิน “อยากเดินหนอ” ตอไป
กอนลุกขึ้นยืนทุกครั้งและในขณะยืน หากมีสภาวะอื่นแทรกซอนเขา
มา เชน อาการเมื่อย อาการชา หรืออาการมึนงง เปนตน ก็ใหกําหนดอาการ
นั้นจนกวาจะดับไปเสียกอน แลวจึงเริ่มเดิน บางครั้งรูสึกปวด เมื่อย หรือมึน
งงอยูนาน ก็ใหยืนกําหนดเทาที่อาการนั้นยังคงอยู แมจะนานถึง ๓๐ นาที
หรือ ๑ ชั่วโมง ก็ตาม
พิเศษ : โยคีบางคนมีอาการปวยติดตัวมา มีอาการปวดตึง มึนงงที่
ศีรษะ ยิง่ ปฏิบัติยิ่งรูสึกอาการหนักขึ้น เพื่อบรรเทาอาการนี้ พึงยืนกําหนดให
ได ๓๐ นาทีเ ป นอย างน อย กําหนด สลับ กับ อาการมึน นั้ น “ยื นหนอ-มึน
๕๕๐
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
หนอ”เมื่อมีอาการรอนขึ้นตามตัวใหกําหนดจี้ชัดๆ ไปที่ อาการรอนนั้นวา
“ยืนหนอ-รอนหนอ”หรือ “รอนหนอ-มึนหนอ”
กําหนดเดินจงกรม ๔ จังหวะ
ผูที่นั่งกําหนดทุกขเวทนาจนดับกอนครบชั่วโมง ไดแลวใหเพิ่มการ
เดิ น จงกรมเป น ๔ จั ง หวะ และเพิ่ ม สติ รู จิ ต ที่ คิ ด จะย า ง คิ ด จะยก ใน ๓
ระยะแรก ดังนี้
ระยะที่ ๑ ขวายางหนอ-ซายยางหนอ เปลี่ยนเปน รูจิตที่คิดจะยาง
กอนวา “อยากยางหนอ” แลวกําหนดรูอาการยางไปของเทาวา “ยางหนอ”
ตัดคําบริกรรมวา “ขวา - ซาย” ซึ่งเปนสมมติบัญญัติออกไป เดินกําหนดจน
จิตสงบอยูกับอารมณ ความคิดนอยลง จึงเพิ่มเปนจังหวะที่ ๒
ระยะที่ ๒ ยกหนอ-เหยียบหนอ เพิ่มเปน รูจิตที่คิดจะยก-คิดจะ
เหยียบกอนยก กอนเหยียบ ทุกครั้ง วา “อยากยกหนอ - ยกหนอ” “อยาก
เหยียบหนอ - เหยียบหนอ” จนขามั่นคงไมเซ จึงเพิ่มเปนจังหวะที่ ๓
ระยะที่ ๓ ยกหนอ-ยางหนอ-เหยียบหนอ เปลี่ยนเปน รูจิตที่คิดจะ
ยก คิดจะยาง คิดจะเหยียบ กอนยก กอนยาง กอนเหยียบทุกครั้ง วา“อยาก
ยกหนอ-ยกหนอ” “อยากยางหนอ-ยางหนอ” “อยากเหยียบหนอ-เหยียบ
หนอ” จนขามั่นคงไมเซ จึงเพิ่มเปนจังหวะที่ ๔
ระยะที่ ๔ รูจิตที่คิดจะยกสน คิดจะยก คิดจะยาง คิดจะเหยียบ
กอนยกสน กอนยก กอนยาง กอนเหยียบ..ทุกครั้ง แตไมตองบริกรรมสําทับ
จิตนั้น เพียงแตใหรูชัดลงไปในจิตที่ปรารถนานั้นๆ แลวบริกรรมรูการยกสน
การยก การยาง การเหยียบอยางชาๆ ชาที่สุดเทาที่จะชาได คือ “ยกสน
หนอ” “ยกหนอ” “ยางหนอ” “เหยียบหนอ” ตรงจังหวะเหยียบใหชาเปน
พิเศษ และเปนการเหยียบถายเทน้ําหนักของรางกายลงที่เทาหนา(ประมาณ
๗๐ % จนกายที่เหยียบนิ่งสนิทกอน จึงจะกาวเทาอีกขางหนึ่งตอไป
เพิ่มการเดินจงกรมใหได ๑ ชั่วโมงหรือตามวิปสนาจารยที่ไดแนะนํา
ไว และเพิ่มจังหวะเดินจงกรมจนครบ ๖ จังหวะ ขณะเดินจงกรมถามีอารมณ
อื่นแทรกเขามา เปนอารมณที่ชัดเจนใหหยุดเดิน แลวตั้งสติกําหนดอารมณ
๕๕๑
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
นั้นๆ จนหายไป จึงกลับมากําหนดที่อาการเดินตอไป
ระยะที่ ๕ รูจิตที่คิดจะยกสน คิดจะยก คิดจะยาง คิดจะลงและ คิด
จะถูกพื้น กอนยกสน กอนยก กอนยาง กอนลง กอนถูก..ทุกครั้งแตไมตอง
บริกรรมสําทับ จิตนั้น เพียงแตใหรูชัดลงไปในจิตนั้น แลวบริกรรมรูจิตคือ
“ยกส น หนอ” “ยกหนอ” “ย า งหนอ” “ลงหนอ”“ถู ก หนอ” จนกายที่
เหยียบ นิ่งสนิทกอน จึงจะกาวเทาอีกขางหนึ่งตอไป
ระยะที่ ๖ รูจิตที่คิดจะยกสน คิดจะยก คิดจะยาง คิดจะลงคิดให
ปลายเทาถูกพื้น และ คิดกดสนเทาลงพื้น กอนยกสน กอนยก กอนยาง กอน
ลง กอนถูก กอนกด..ทุกครั้งแตไมตองบริกรรมสําทับ จิตนั้น เพียงแตใหรูชัด
ลงไปในจิตนั้นแลวบริกรรมรูจิตคือ “ยกสนหนอ” “ยกหนอ” “ยางหนอ”
“ลงหนอ”“ถูกหนอ”“กดหนอ” จังหวะกดฝาเทาแนบกับพื้น กายนิ่ง
ขณะเดินจงกรม ถามีอารมณอื่นแทรกเขามา ที่ชัดเจนใหหยุดเดิน
แลวตั้งสติกําหนดอารมณนั้นจนหายไป จึงกลับมากําหนดที่อาการเดินตอไป
อนึ่ง เมื่อกําหนดทุกขเวทนาดับไดแลว แสดงวาเขาอุทยัพพยญาณ
แลว ใหปรับอินทรียใหเทากัน คือ เดินจงกรมและนั่งเทากัน ๑ ชั่วโมง เดิน
จงกรมใหครบทั้ง ๖ จังหวะ ในการกาวเดินนอกบัลลังก เชน ไปหองน้ํา เดิน
กลับที่พัก ใหกําหนด“ยาง..เหยียบ” หรือ “ยก..เหยียบ” ในทุกๆ กาว ตอมา
เมื่อไมปรากฏทุกขเวทนา นั่นคืออยูในภังคญาณ ใหเดินจงกรมมากกวา ๑
ชั่ ว โมง ในขณะกําหนดจนเห็ น อาการดั บ ไปของเทาแต ล ะจั งหวะ ให เ พิ่ ม
สังเกตเห็นอาการดับ ไปของตัวจิตเองที่เขาไปกําหนดรูอาการดับในจังหวะ
ของเทานั้ น ๆด วย คือที่ดับ ไปพรอมกับ อารมณที่ถูกกําหนดนั้ น หากเห็ น
อาการดับของจิตนั้นชัดเจน ใหกําหนดรูวา“รูหนอ” ดวย
๓. วิธีนั่งกําหนดรูพอง-ยุบ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
ขณะกําหนด “ยุบ หนอ” หากทอง..ยุ บ ลงไปจนถึงคําว า “หนอ”
แล ว ยังไมพองขึ้น มางายๆ มีจังหวะหยุด นิ่ งนิ ด หนึ่ ง ใหเ พิ่มจิ ต รูล งไปใน
อาการหยุดนิ่งนั้น พรอมกับบริกรรมวา “รูหนอ”

๕๕๒
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
แตถาหากมีจังหวะหยุดนิ่ง ๒-๓ วินาที กรณีเชนนี้ ในขณะหยุดนั้น
ใหสงจิตรูมาจับอยูที่อาการนั่ง พรอมกับบริกรรมวา “นั่งหนอ” แลวกลับไป
กําหนดอาการพองหรืออาการยุบตามที่ปรากฏตอไป คือ ในขณะทองยุบนั้น
กําหนด ๒ อาการ คือ “ยุบหนอ-นั่งหนอ” ทองจึงพองขึ้นมา
ถานั่งภาวนา ๑ ชั่วโมง ไมมีทุกขเวทนาเลย หามนั่งเกิน ๑ ชั่วโมง
เด็ดขาด ใหเพิ่มเดินจงกรมใหมากกวานั่ง ๑๕ นาที
สําหรับผูปฏิบัติถึงอุทยัพพยญาณกําหนดทุกขเวทนาดับไดแลว ให
กําหนดรูจิตที่คิดจะนั่ง กอนลงนั่งทุกครั้ง “อยากนั่งหนอ”แลวจึงคอยๆ ยอ
ตัวลงนั่ง พรอมกับบริกรรมวา “ลงหนอๆ”
บางคน พอง-ยุบยาวแผวเบา มีจังหวะหยุดระหวางพอง-ระหวาง
ยุบ จนเกิดอาการจิตวูบ สัปหงกหรือเผลอคิดบอย ปฏิบัติดังนี้
๑) จั งหวะหยุ ด ระหว างพอง-ยุ บ เพิ่มจิ ต รู ล งไปในอาการนั้ น คือ
บริกรรมไป ตามอาการวา “พองหนอ-รูหนอ”“ยุบหนอ-รูหนอ”
๒) จังหวะหยุดระหวางพอง-ยุบ นานขึ้น ระหวางที่หยุดใหสงจิตไป
กําหนดรู  อาการนั่ ง ตั้งแตศีร ษะจนถึงเทา รวดเดี ยว คือ บริ กรรมไปตาม
อาการวา “พองหนอ-นั่งหนอ”ยุบหนอ-นั่งหนอ”
บางคน พอง-ยุบชัดเจนมาก เห็ นต น เห็ นปลายชั ด แตบ างครั้ ง
พอง-ยุบถี่ๆ เร็วๆ ขึ้นมา แลวนิ่งหายไปเปนพักๆ พึงปฏิบัติ ดังนี้
๑) ถาอาการพอง-ยุบเร็ว จนกําหนดไมทัน ใหกําหนดเพียง “พอง-
ยุบๆ” ไมตองมี “หนอ”
๒) ถาอาการพอง-ยุบถี่มาก จนจับพอง จับยุบไมทัน ใหกําหนดวา
“รูหนอๆ”
๓) ถาอาการพอง-ยุบถี่รัว จนกําหนดไมทัน ก็ใหเพงรูไปกับอาการ
นั้น ถารูสึกเสียว รูสึกกลัว กําหนดวา “เสียวหนอ “กลัวหนอ” ไปตามอาการ
นั้นดวย บางครั้งรูสึกงง เควงควาง กําหนดวา “งงหนอๆ” จนกวาจะหายงง
การกําหนด ให กําหนดทีละอย าง พยายามให เ ป น อิริ ย าบถเดี ย ว
จนกระทั่ง จิต+คําบริกรรม+อาการรูป-นามนั้นๆ กลมกลืนเปนอันเดียวกัน

๕๕๓
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
คือ เกิด-ดับพรอมกัน ก็จะเปนเหตุทําใหจิตดิ่ง นิ่ง มั่นคง แลวจะพิจารณารู
อาการของรูป-นามนั้นๆ จนเปนเหตุใหเกิดปญญาเห็นแจงพระไตรลักษณ
ขึ้นมา เมื่อไตรลักษณปรากฏขึ้นสมบูรณดีแลว ปญญาเห็นแจงก็จะนําพาจิต
ดําเนินเขาสูอนุโลมญาณ โคตรภูญาณ แลวดับลงไป ตรงมรรคญาณ ผลญาณ
พิเศษ : นั่งตัวคดตัวงอ เมื่อกําหนดทุกขเวทนาดับไดแลว ก็จะเห็น
พองยุ บ ชั ด ขึ้น รู  สึ กกําหนดงาย สบาย เพลิ น วั น ต อ มาพอง-ยุ บ กลั บ นิ่ ง ๆ
เบาๆ โยคีบางคนเกิดนิกันติ อยากใหพอง-ยุบชัด กําหนดสบายๆ เหมือนวัน
กอนๆจึงสูดลม หายใจเสริมพอง-ยุบใหชัดขึ้น หรือแตง พอง-ยุบ ใหกําหนด
งายขึ้น การพยายาม เสริมหรือแตง เปนไปดวยอํานาจอัตตา บังคับบัญชา
สภาวะให เ ป น ไป ดั่ ง ใจต อ งการซึ่ ง ไม ถู ก ต อ ง เมื่ อ จิ ต เหนื่ อ ยล า จากการ
พยายามนั้น กายก็เหนื่อยลาไปดวยทําใหที่ทรงตัวหลุดไป ตัวคอยๆงอโคลง
ลงฉะนั้น ให กําหนดพอง-ยุบ ไป ตามความเปน จริงอย างแตงพองยุบใหผิ ด
ธรรมชาติ ถาพองยุบไมชัดก็กําหนดวา “ไมชัด หนอ-รูหนอ”
ตอมาเมื่อเขาถึงภังคญาณกําหนดเหมือนกับขั้นอุทยัพพยญาณ แต
ถาเห็นแสงสวาง (ที่ไมใชแสงสี) ใหกําหนดจนกวาจะดับ แตถากําหนดกวา
๑๐ นาทีแล วยั งไม ดั บ ให ทําเป น ไมใส ใจ แล ว ไป กําหนดอารมณอื่น ๆ ที่
ปรากฏชั ดตอไปตองกําหนดจนเห็น อาการดับของทุกสภาวะที่จิตเขาไปรู 
และกําหนดเห็นการดับของตัวจิตเอง ที่เขาไปกําหนดรูอารมณตางๆ ได ๑
ขณะจิต กอนที่จะดับสิ้นลงทั้งของอารมณที่จิตเขาไปรูและของจิตที่เขาไปรู
อารมณและ อาการพอง-อาการยุบที่เปลี่ยนแปลงไป พึงกําหนดเพิ่มเติม คือ
บางคน พอง-ยุบยาวแผวเบา มีจังหวะหยุดระหวางพอง-ยุบ เกิดอาการวูบ
สัปหงกบอยเพิ่มการเดินจงกรมใหถึง ๖ จังหวะ และ เพิ่มรูรูปนั่ง เฉพาะที่มี
จังหวะหยุดเทานั้น (ถาไมมีจังหวะหยุดก็ไมตองเพิ่ม และเมื่อกําหนดรูปนั่ง
แลว อาการพอง-ยุบยังไมเกิดขึ้น ก็ใหเพิ่มจิตรู อาการถูกที่จุดตางๆ เขาไป
อีก คือ ที่มือถูกกัน, ที่กนกบขางขวา, ที่กนกบขางซาย สลับหมุนเวียนไป
เรื่อยๆ จนกวาอาการพอง-ยุบจะกลับมา
บางคนพอง-ยุบแผวเบามาก หรือพอง-ยุบเล็กๆ ถี่ๆ จนนิ่งหายไป
กําหนดอาการนิ่งหายนั้น “รูหนอๆ” หรือ “หายหนอๆ” จนกวาพอง-ยุบจะ
๕๕๔
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
กลั บ มาแต  ถ า ยิ่ ง กํ า หนดอาการยิ่ ง นิ่ ง ก็ อ ย า สู ด ลมเข า ช ว ยเด็ ด ขาด ให
กลับไปจับความรูสึกของรูปนั่งใหญ บริกรรมวา “นั่งหนอ”“ถูกหนอ” แลว
สงจิตไปสํารวจรูทองที่ยังนิ่งอยู “รูหนอ”ถาทองยังนิ่งอยูอีก ก็ใหกลับมาดูรูป
นั่ง“นั่งหนอ”สงจิตจี้ไปที่กนกบขางขวาถูกพื้น “ถูกหนอ” แลวรูทองที่ยังนิ่ง
อยู “รูหนอ”ถาทองยังนิ่งอยูอีก ก็ใหกลับมาดูรูปนั่ง“นั่งหนอ”กนกบขางซาย
ถูกพื้น “ถูกหนอ” รูทองที่ยังนิ่งอยู “รูหนอ” ถาทองยังนิ่งอยูอีก ก็กลับมาดู
รูปนั่ง ทําอยางนี้สลับกันไปเรื่อยๆ จนกวาอาการพอง- ยุบจะชัดขึ้น แลวก
ลับมากําหนดอาการพอง-ยุบตามปกติ
พิเศษ :บางคน นั่งสั้น นั่งโยก จนรูสึกกลัวไมอยากปฏิบัติตอ ซึ่งมี
สาเหตุหลัก ๒ ประการคือ
๑. เพราะกําหนดไมตรงสภาวะ กําหนดเพลินจนพอง-ยุบนิ่งหายไป
แลว แตก็ยังนั่ง ทอง ”พองหนอ-ยุบหนอ”อยู (ทั้งๆที่ไมเห็นพองยุบ) จนกาย
สั่นไปตามอาการกําหนดนั้น พึงตักเตือนวา กําหนดใหตรงสภาวะ ใหเห็น
อาการพอง-อาการยุบกอนจึงคอยกําหนด ถาพองยุบไมมี หรือหายไปก็ให
กําหนดา หายหนอๆ ไมมีหนอๆ อยานั่งทองพอง-ยุบ
๒. เพราะอาการพอง-ยุบมีอาการเบาสบาย กําหนดจนเพลิน จนจิต
หลุดออกจาก อาการของรูป ทําใหกายไหวโยกโคลงไปตามจิตที่เลื่อนลอย
นั้นพึงเตือนใหกําหนดเพิ่มสภาวะ ธรรมารมณไปดวย ตามอาการที่ปรากฏวา
“พองหนอ-เพลินหนอ”“ยุบหนอ-เพลินหนอ”“พองหนอ-สบายหนอ”-“ยุบ
หนอ-สบายหนอ” ถามีอาการสั่นมากใหกําหนดตามอาการวา “สั่นหนอๆ”
“โยกหนอๆ” จนกวาจะหาย ถายังไมหายใหกําหนดสั่งวา“หยุดหนอ” ดังๆ

๔. วิธีกําหนดรูอิริยาบถ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
ตื่นนอน : กําหนดอาการเคลื่อนไหวขณะลุกขึ้นนั่ง ใหไดทุกครั้ง
“พลิ กหนอๆ” “ลุ กหนอๆ” เดิน เขาห องน้ํ า “ยาง-เหยี ยบๆ” ตลอดเวลา
อิริยาบถกราบ : กราบใหชาลง ใหได ๗-๑๐ นาทีเปนอยางนอย
โดยใหเพิ่มการกําหนดตนจิตมากขึ้น เชน กอนพลิกมือ ใหกําหนดรูจิตกอน
วา “อยากพลิกหนอ” แลวจึงกําหนด “พลิกหนอๆ” ตอไป เปนตน
๕๕๕
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
เนนพิจารณาเห็นความไมเที่ยง คือ กอนยกมือ หรือขยับรายกาย
สวนใดสวนหนึ่ง ใหรูจิตอยากยกและพิจารณาเห็นจิตอยากนั้นจนสงบกอน
จึงพลิกมือหรือขยับรางกาย เปนการพยายามทําเพื่อใหเห็นอาการเกิด-ดับ
เมื่อเวทนามีอาการเปลี่ยนแปลง(สัมมสนญาณ) กราบใหชาลง ใหได
๗-๑๐ นาทีเปนอยางนอย โดยใหเพิ่มการกําหนดตนจิตมากขึ้นเชนกอนพลิก
มือ ใหกําหนดรู จิต กอน ว า “อยากพลิ กหนอ” จึ งกําหนด “พลิ กหนอๆ”
เปนตนเมื่อกําหนดทุกขเวทนาดับไดแลว (อุทยัพพยญาณ) ใหกราบใหชาลง
ใหได ๑๐–๑๕ นาที เปนอยางนอย เพิ่มการกําหนดตนจิตมากขึ้น เชน กอน
พลิ ก มื อ ให กํ า หนดรู จิ ต ก อ นว า “อยากพลิ ก หนอ”ก อ น แล ว จึ ง กํ า หนด
“พลิกหนอๆ” ตอไป เปนตน เมื่อไมปรากฏทุกขเวทนา (ภังคญาณ)ใหกราบ
ให ช า ลงให ได ๑๐–๒๐ นาที เป น อย า งน อ ย โดยเพิ่ม จั ง หวะหยุ ด เมื่ อ มี
อารมณแทรกเขามา เชน ขณะยกมือขึ้นกราบ ลมเย็น พัดเขามาก็ใหกําหนด
“ถูกหนอ” “เย็นหนอ” จนดับไปกอน แลวจึงกําหนดยกตอไป เปนตน
รับประทานอาหาร
ใหเคลื่อนไหวอิริยาบถในขณะฉันทีละ ๑ อิริยาบถ เชน ขยับมือทีละ
ขาง ถามือยังขยับอยู ใหอมคําขาวไวกอน อยาพึ่งเคี้ยว กายตองนิ่งสงบกอน
กําหนดรูทันจิต “อยากเคี้ยวหนอ” และในขณะเคี้ยวใหสังเกต ความหนัก
เบาของแรงเคี้ยว พรอมกับกําหนดตามอาการนั้นวา “เคี้ยวหนอๆ” กําหนด
เคี้ยวจนรสชาติจืดสนิทกอนจึงคอยกลืนทุกคํากลืน และกําหนดฉันใหได ๓๐-
๔๐ นาที เปนอยางนอย
ขณะเห็นอาหารจิตจะมีความอยากกินขึ้นมา ใหกําหนดวา “อยาก
กินหนอๆ” กําหนดจนจิตอยากนั้นหายไปกอน เมื่อจิตไมมีความอยาก จึงจะ
เริ่มกําหนดอาการอื่นตอไปอีกตามลําดับ
เมื่อรสชาติหายเร็วขึ้น กําหนดวา “หายหนอๆ” “รูหนอๆ”
อารมณที่กําหนดไมชัดแจง ลางๆ ไมแจมแจง คลายกับไมไดกําหนด
อะไรเลย ก็ใหมีความตั้งใจ(มีวิริยะใสใจ)ใหมากกวาเดิมในการกําหนด
จิตผูรูหายไปๆ แตผูปฏิบัติจะเห็นวารูปหายไปกอน จิตหายไปทีหลัง
๕๕๖
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
อันที่แทจริงนั้น หายไปพรอมกัน การที่เปนเชนนั้น เพราะจิตกอนหายไป จิต
หลังตามรูใหกําหนดวา “รูหนอๆ”
หากสภาวะหางๆ จางๆ ไมชัดเจนดี ใหกําหนดวา “หางหนอๆ” “รู
หนอๆ”“จางหนอๆ”
ไม เห็น รูป รางสัณฐานของรางกาย มีแต อาการตึงๆ ใหกําหนดว า
“ตึ ง หนอๆ” มั ก จะกํ า หนดไม ค อ ยได ดี เพราะล ว งบั ญ ญั ติ มี แ ต อ ารมณ
ปรมัตถ
อิริยาบถนอน
กําหนดพอง-ยุบ จนรู ใหไดวา หลับตอนพอง หรือตอนยุบ แตถ า
นอนกําหนดไป ๓๐ นาทีแลวยังไมหลับ ใหเพงรูไปที่อาการไมหลับ พรอมกับ
บริกรรมวา “ไมหลับหนอๆ” จนกวาจะหลับไปเอง

๕. วิธีเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน
ถานั่งภาวนา ๑ ชั่วโมง ไมมีทุกขเวทนาเลย หามนั่งเกิน ๑ ชั่วโมง
เด็ดขาด ใหเพิ่มเดินจงกรมใหมากกวานั่ง ๑๕ นาที การกําหนดใหกําหนดที
ละอยาง พยายามกําหนดใหเปนอิริยาบถเดียว จนกระทั่งจิต, คําบริกรรม,
และอาการแหงรูป-นามนั้นๆ กลมกลืนเปนอันเดียวกัน คือ เกิด-ดับพรอมกัน
ก็จะเปนเหตุทําใหจิต ดิ่ง นิ่ง มั่นคง แลวจะพิจารณารูอาการของรูป-นาม
นั้นๆ จนเปนเหตุใหเกิดปญญาเห็นแจงพระไตรลักษณอยางสมบูรณ
เมื่อโยคีมีความมุงมั่น ในการปฏิ บัติ มากขึ้น สภาวะของรู ป-นามก็
จะแจมชัดมากขึ้นเปนทวีคูณ โดยเฉพาะอยางยิ่ง “ทุกขเวทนา” และความ
ไมไดดั่งใจในการกําหนดพอง-ยุบและอาการเมื่อยชา ทําใหในบางขณะจิต
เกิ ด คํ า ถามผุ ด ขึ้ น มาว า “นี่ . .ใช ท างสู ม รรค ผล นิ พ พานแน แ ล ว หรื อ ”
“ศาสนานี้เปนศาสนาที่แทจริง..แนแลวหรือ?” “ขอมูลตางๆ ที่อางมาจาก
พระไตรปฎก แลวพระไตรปฎกเชื่อถือไดแคไหน?”๑ จึงเปนหนาที่ของพระ

ดูใน ที.ม. (ไทย) ๑๙/๑๘๓/๑๑๑.
๕๕๗
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
วิ ป ส สนาจารย ที่จ ะต อ งคลายข อสงสั ย เหล านี้ และสร า งความเชื่ อ มั่น ให
กลับมาอีกครั้งดวยการแสดงพระธรรมเทศนาในเรื่องประวัติความเปนมา
ของพระไตรปฎก และหลักฐานยืนยันขอความในพระไตรปฎกที่ปรากฏอยู
จริงในยุคปจจุบัน ความสอดคลองกันระหวางทฤษฎีวิทยาศาสตร (ฟสิกส
ควอนตัม) กับคําสอนที่ปรากฏอยูในพระไตรปฎก เปนตน

๖. วิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน
โยคีนั่งภาวนาเพียง ๑ ชั่วโมงเทานั้น หามเกิน ตองกําหนดรูจิตที่คิด
จะนั่ง กอนขยับตัวลงนั่งทุกครั้ง “อยากนั่งหนอ” แลวจึงคอยๆ ยอตัวนั่งลง
พรอมกับบริกรรมวา “ลงหนอๆๆๆ” บริกรรมภาวนาไปตามอาการที่เกิดขึ้น
จริ ง ในขณะป จ จุ บั น อยู ต ลอดเวลา ถา เห็ น แสงสว า ง (ที่ ไ ม ใ ช แ สงสี ) ให
กําหนดจนกวาจะดับ แตถากําหนดกวา ๑๐ นาทีแลวยังไมดับ ใหทําเปนไม
ใสใจแลวไปกําหนดอารมณอื่นๆ ที่ปรากฏชัดตอไป
ตองกําหนดจนเห็นอาการดับของทุกสภาวะที่จิตเขาไปรู บางครั้ง
อารมณดับไปจากจิต บางครั้งจิตดับไปจากอารมณ และกําหนดเห็นการดับ
ของตัวจิตเอง ที่เขาไปกําหนดรูอารมณตางๆ ได ๑ – ๓ ขณะจิต กอนที่จะ
ดับสิ้นลงทั้งของอารมณที่จิตเขาไปรูและของจิตที่เขาไปรูอารมณ
เมื่อญาณปญญาพัฒนาไปตามลําดับ อาการพอง-อาการยุบปรากฏ
นอยลง บางครั้งนิ่งหายไปเปนพักๆ และจะนิ่งหายไปนานขึ้นๆ หรือสําหรับ
บางคนปรากฏแตอาการพองอาการยุบไมปรากฏ บางคนปรากฏแตยุบ พอง
ไมปรากฏ ก็ใหกําหนดไปตามที่ปรากฏนั้ น หากพอง-ยุบยังไมปรากฏก็ให
กําหนดนั่งหนอ,ถูกหนอ สลับจุดไปเรื่อยๆ คือ ที่มือถูกกัน, ที่กนยอยขวา, ที่
กนยอยซาย จนกวาพอง-ยุบจะกลับมาเอง
๗. วิธีเจริญธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน
เพิ่มการกําหนดตนจิตมากขึ้นและตามกําหนดดูอารมณเหลานั้นที่
กระทบจิตจนดับ เพื่อขามพนสภาวะทุกขเวทนาและวิปสสนูปกิเลส ๑๐ ได
สวนสภาวธรรมยอมเขาสูวิปสสนานาญาณตามลําดับ
๕๕๘
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
การกําหนดรู ใหกําหนดทีละอยาง ใหเปนอิริยาบถเดียว จนกระทั่ง
จิต คําบริกรรม และอาการรูปนามนั้นๆ กลมกลืนเปนอันเดียวกัน ก็จะเปน
เหตุทําใหจิต ดิ่ง นิ่งมั่นคง๒ แลวจะพิจารณารูอาการของรูปนามนั้นๆ จนเปน
เหตุใหเกิดพระไตรลักษณขึ้นมา เมื่อพระไตรลักษณเกิดขึ้นมาและสมบูรณดี
แลว พระไตรลักษณก็จะพาจิตดําเนินเขาสูอนุโลมญาณ โคตรภูญาณ แลวก็
ดับลงไปตรงมรรคญาณ ผลญาณ อันเปนเหตุใหกิเลสดับลงไปดวย
สภาวญาณ : หากผูใดนั่งภาวนา ๑ ชั่วโมงแทบไมมีทุกขเวทนาเลย
ปรากฏป ติ และสุ ขเป น พักๆ กําหนดอาการคิด นึ กดั บ ได ภ ายใน ๑-๓ ครั้ ง
แสดงวาเขาภังคญาณแลว พึงอนุญาตใหโยคีผูนั้นไดฟงลําดับญาณทบทวน
๑-๒-๓ และเพิ่มญาณที่ ๔-๕ ที่เ ป นบทเทศน ของทานมหาสี สยาดอ หรื อ
หลวงพอโชดกญาณสิทธิ ในที่ลับหูเทานั้น
สภาวะญาณช ว งนี้ เ ป น เหมื อ นว า ได บ รรลุ ธ รรมแล ว สติ สมาธิ
ปญญา เพิ่มพูนแกกลาขึ้นเปนอยางมาก จนรูสึกวา อยากบอก อยากสอน
อยากเทศน อยากสรางสํานักวิปสสนา ขึ้นมาอยางจับใจ บางครั้งนั่งเผลอ
เทศนในใจไปตั้งหลายนาที บางครั้งทั้งๆ ที่รูวากําลังนึกคิดแสดงธรรมอยู ก็
ยังไมอยากที่จะหยุด โยคีบางคนที่ศึกษาปริยัติมากก็จะคิดพิจารณาธรรม ยก
ธรรมหัวขอตางๆ มานั่งคิดพิจารณ จนลืมที่จะกําหนดรูปนามปจจุบัน ดังนั้น
โยคีพึงกําหนดเทาทันจิตที่คิด “คิดหนอๆๆ”
บางทานเขาใจวา นั่งสบายแลวไมปวดเมื่อย จึงปลอยจิตเฉยเสพสุข
ที่บังเกิดขึ้น จนลืมกําหนดรูปนามปจจุบัน ดังนั้น โยคีตองกําหนดรูปนั่ง หรือ
สุขเวทนานั้น อยาปลอยใหจิตเสพความสุข เพราะเปนการสรางภพชาติ และ
ตองกําหนดอารมณพรอมกับสังเกตเห็นอาการดับลงของจิตทุกอิริยาบถ
พิจารณาโพชฌงค ๗
บุคคลไมอาจบรรลุธ รรมได โ ดยการนั่งหลั บ ตา โดยคิด นึ ก หรื อ
ปรารถนาเอาเอง วา สภาวธรรมจะปรากฏขึ้นเองในใจ แทจริงแลวมีเงื่อนไข


ดูใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๑/๒๑.
๕๕๙
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
สําคัญๆ ที่เปนรากฐานของการบรรลุธรรม นั่นคือโพชฌงค (องคแหงธรรม
เปนเครื่องตรัสรู) ๗ ประการ๓ คือ
๑. สติสัมโพชฌงค มีอยู ไมมี ก็รูชัด, เกิดดวยเหตุใดก็รูชัด, สติ
ระลึกรูเทาทันเปน ปจจุบันดวยเหตุใดก็รูชัดเหตุนั้น, สติกําหนดจิตไมหลุด
ขาดเลื่อนลอย แนบแนนกับสภาวะ อารมณ กําหนดรูวา “รูหนอๆ”
๒. ธัมมวิจยสัมโพชฌงค มีอยู ไมมี ก็รูชัด, เกิดดวยเหตุใด ก็รูชัด,
สมบรูณบริบรูณ ดวยเหตุใดก็รูชัดเหตุนั้น, ปญญารูเห็นรูปนาม เห็นอนิจจัง
ทุกขัง อนัตตา กําหนดวา “รูหนอๆ”
๓. วิริยสัมโพชฌงค มีอยู ไมมี ก็รูชัด, เกิดดวยเหตุใด ก็รูชัด, ความ
เพียรที่พอดี ยอมเกิดขึ้นดวยเหตุใดก็รูชัดเหตุนั้น, ทุกขณะที่เจริญสติอยู
กําหนดวา “รูหนอๆ”
๔. ปติสัมโพชฌงค มีอยู ไมมีก็รูชัด, เกิดดวยเหตุใด ก็รูชัด, ความ
เอิบอิ่มใจตางๆ เกิดขึ้นดวยเหตุใด ก็รูชัดเหตุนั้น, ขณะปฏิบัติธรรมอยูให
กําหนดวา “ปติหนอๆ” “อิ่มเอิบหนอ” หรือ “รูหนอๆ”
๕. ปสสัทธิสัมโพชฌงค มีอยู ไมมี ก็รูชัด, เกิดดวยเหตุใดก็รูชัด,
บริบูรณดวยเหตุ ใดก็รูชัดเหตุนั้น, ความสงบทั้งกายและใจที่เกิดขึ้น กําหนด
วา “สงบหนอๆ” หรือ “รูหนอๆ”
๖. สมาธิสัมโพชฌงค มีอยู ไมมี ก็รูชัด, เกิดดวยเหตุใดก็รูชัด, สมาธิ
ชั่วขณะหรือ แนบแนนในสภาวธรรมปจจุบันปราศจากนิวรณดวยเหตุใด ก็รู
ชัดเหตุนั้น เห็นความจริงของ สภาวธรรมตามจริง กําหนดวา “รูหนอๆ”
๗. อุเบกขาสัมโพชฌงค มีอยู ไมมีก็รูชัด, เกิดดวยเหตุใดก็รู, การรู
ความสม่ําเสมอกันของความเพียร (วิริยะ) กับความตัง้ ใจมั่น (สมาธิ) และ
ความเชื่อ (ศรัทธา) เสมอกับความรูแจง (ปญญา) กําหนดวา “รูหนอๆ”๔


ดูรายละเอียดใน ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๕/๓๒๑.

ที.ม. (ไทย) ๑๐/ ๓๘๕/๓๒๐–๓๒๓.
๕๖๐
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
วิปสสนาญาณเห็นอริยสัจ ๔๕
อุทยัพยญาณเปนญาณที่เห็นไตรลักษณ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา
ตามความเปนจริง
อริยสัจ ๔ เป นธรรมชาติที่ปรากฏภายในกระแสจิ ตของตน โดยการ
กําหนดรู ทุกขสั จ ละสมุทยสั จ กระทํ านิโรธสั จให แจ ง และเจริญมรรคสั จให
บังเกิดขึ้นภายในอัตภาพที่ยาววาหนาคืบกวางศอกนี้ ไมปรากฏในกระแสจิตของ
บุคคลอื่น
ผูที่เจริญสติตามรูรูปนามปจจุบันอยู เมื่อเกิดความเพลิดเพลินยินดีใน
สิ่งที่พบยอมจะกําหนดรูเทาทันได การรับรูอยางนี้เปนการรูประจักษสมทุยสัจ
ในปจจุบันภพ แตสมุทยสัจดังกลาวนั้นเปนเหตุใหเกิดรูปนามซึ่งเปนทุกขสัจใน
ภพตอไป ไมใชสมุทยสัจที่เปนเหตุเกิดของภพนี้ สมุทยสัจที่เปนเหตุเกิดของภพ
นี้นั้ น เป นสิ่ งที่เหล าสั ตว ไดกระทํ าไว ในภพก อน กลาวคือ บุ คคลต องการจะ
ไดรับอัตภาพ ที่ดีงามเพียบพรอมดวยความสุข จึงบําเพ็ญกุศลไว เขายอมไปเกิด
ในภพนั้นดวยผลบุญที่ทําไวซึ่งมีตัณหาเปนมูลเหตุ แตบุคคลไมอาจรูประจักษ
ตัณหาซึ่งดับไปแลวได อยางไรก็ตาม ตัณหาในอดีตก็มีสภาพเหมือนกับตัณหา
ในปจจุบัน และเกิดขึ้นในกระแสจิตของบุคคลเดียวกัน จึงไดกลาวเหมือนกัน
โดยเอกัตตนัย คือ นัยที่มีสภาพอยางเดียวกัน เหมือนการเห็นมหาสมุทรหรือ
ภูเขาบางสวน ก็อาจกลาววาเห็นมหาสมุทร เห็นภูเขา ดังนั้น การตามรูตัณหา
ในปจจุบันจึงจัดเปนการตามรูสมุทยสัจ
นักปฏิบัติผูหยั่งเห็นวิปสสนาญาณตั้งแตนามรูปปริจเฉทญาณเปน
ตนไป อาจอนุมานรูตัณหาในอดีตไดอีกดวย ตัวอยางเชน เมื่อเขาไดหยั่งเห็น
สภาวลักษณะของรูปนามอยางชัดเจนแลว ยอมรับรูความเปนเหตุผลของรูป
นามตอจากนั้น กลาวคือ
สภาวะการเหยียดเกิดขึ้นจากจิตที่คิดอยากจะเหยียด


. พระพรหมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.๙, M.A., Ph.D.) ตรวจชําระ. วิปส สนานัย
เลม ๑. แปลและเรียบเรียงโดย พระคันธสาราภิวงศ. นครปฐม : หางหุนสวนจํากัด ซี
เอไอ เซ็นเตอร จํากัด, ๒๕๕๐. หนา ๒๘๓.
๕๖๑
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
รูปที่มีลักษณะเย็นเกิดขึ้นจากธาตุไฟที่มีลักษณะเย็น
สภาวะเห็นเกิดขึ้นจากจักขุประสาทและรูปารมณ
การกําหนดรูหรือความคิดฟุงซานเกิดขึ้นจากการมีอารมณอยางใด
อยางหนึ่งใหจิตรับรูได
จิตที่เกิดขึ้นในภายหลังจากจิตที่เกิดขึ้นกอน
นักปฏิบัติผูรูเห็นความสีบเนื่องของเหตุผลอยางนี้แลวอนุมานรูวา
รูปนามในภพนี้ตั้งแตปฏิสนธิเปนตนมาควรมีเหตุสืบเนื่องกันเหมือนรูปนามที่
กําหนดรูในปจจุบันขณะ เขายอมอนุมานดวยสัมมาทิฏฐิที่เขาใจกรรมและ
ผลของกรรมวารูปนามดังกลาวเกิดจากกุศลกรรมที่กระทําไวในอดีต และ
อนุ ม านรู ต อ ไปว า กุ ศ ลกรรมเกิ ด จากตั ณ หาที่ ต อ งการไปเกิ ด ในภพที่ ดี มี
ความสุข ความจริงผูที่อนุมานรูอยางนี้มิไดครุนคิดเปนเวลานาน เขาเพียง
เกิดความเขาใจดวยการอนุมานรูแลวตามกําหนดสภาวธรรมปจจุบันตอไป
อนึ่ง ทกุขสัจและสมุทยสัจทั้งสองนี้เปนสภาพที่ประจักษแกเหลา
สัตวอยูแลว แตการจะเขาใจสภาวะและหนาที่ของสัจจะเหลานั้นโดยปรมัตถ
ลวนๆ ไมมีบัญญัติเจือปนเปนสิ่งที่ทําไดยาก ผูที่เจริญวิปสสนา ตามรูสัจจะ
เหล า นั้ น ตามความเป น จริ ง ย อ มเข า ใจสภาวะและหน า ที่ ไ ด ต ามสมควร
ตอเมื่อบรรลุมรรคญาณแลวจึงเขาใจไดอยางหนักแนนไมหวั่นไหว๖
สัจจะ ๒ อยางหลังนั้นเปนสภาพลุมลึกยากที่จะรับรูไดโดยประจักษ
ผูที่เริ่มเจริญวิปสสนาจึงไดแกนอมใจไปในสัจจะเหลานั้น ตอมาเมื่อปฏิบัติ
ตามลําดับ วิป สสนาญาณจนถึงญาณที่ ๔ ซึ่งเรี ยกวาอุทยั พพยญาณ คือ
ญาณหยั่งเห็นความเกิดดับ ในบางขณะอาจอนุมานรูเหตุผลทีสืบเนื่องกันวา
ขันธ ๕ ก็เกิดขึ้นไมได เมื่อบรรลุภยญาณคือญาณหยั่งเห็นสังขารวาเปน
ของนากลัวเปนตนไปแลวก็อาจอนุมานรูวา ทุกขณะที่มีการเห็น ไดยิน ฯลฯ
ก็ยังมีความเรารอนดวยทุกขในวัฏฏะ ความสงบอยางแทจริงยอมไมเกิดขึ้น
ตอเมื่อสภาวธรรมเหลานั้นหมดสิ้นไปความสงบจึงเกิดขึ้นได๗


สํ.อ. (บาลี) ๑/๑๑๒, องฺ. อ. (บาลี) ๒/๓๔๕.

ที.ฏีกา (บาลี) ๒/๔๓๗.
๕๖๒
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
นอกจากนี้ เมื่อบรรลุญาณที่ ๙ ซึ่งเรียกวา มุจจิกุกัมยตาญาณ คือ
ญาณรู เห็นที่ตองการจะพนไปจากสังขาร นักปฏิบัติบางทานอาจไมตองการ
จะตามรูปจจะบัน เพราะรูสึกวาสภาวธรรมทุกอยางไมใชสิ่งที่ดีงามนาพอใจ
แม เ ขาจะไม ไ ด กํ า หนดรู รู ป นามก็ ส ามารถรั บ รู รู ป นามได เ องด ว ยกํ า ลั ง
วิปสสนาที่สั่งสมมาจนถึงระดับนี้ ตอมาเขาจะอนุมานรูพระนิพพานวา รูป
นามมิไดดับไปดวยการไมใสใจตามรู แตดับไปอยางสิน้ เชิงดวยการรูเห็นพระ
นิพพานเปนอารมณ แลวเขาจะเพียรปฏิบัติเพื่อการบรรลุพระนิพพานตอไป
นักปฏิบัติยอมรับรูสัจจะทั้ง ๔ โดยประการดังนี้
โดยเหตุที่ทุกขสัจเปนธรรมที่ควรกําหนดรู (ปริญเญยยะ) สมุทยสัจ
เปนธรรมที่ควรละ (ปหาตัพพะ) นิโรธสัจเปนธรรมที่พึงกระทําใหแจง (สัจฉิ
กาตั พ พะ) และมรรคสั จ เป น ธรรมที่ ค วรให เ จริ ญ ในกระแสจิ ต ของตน
(ภาเวตัพพะ) เมื่อนักปฏิบัติเจริญสติระลึกรูรูปนามปจจุบันจนกระทั่งหยั่ง
เห็นความเกิดดับแลวยอมไดชื่อวาเปนผูเจริญอริยสัจทั้ง ๔ กลาวคือ
- การกําหนดรูรูปนาม เปนปริญญากิจ คือ การกําหนดรูทกุขสัจ
- การละความเพลิดเพลินยินดีในรูปนามที่รับรูดวยสติอยู เปนปหาน
กิจ คือ การละสมุทยสัจ
- การไมเกิดขึ้นแหงตั ณหา อุปาทาน กรรม และรูปนามที่เปนผล
กรรม ดวยการกําหนดรูปจจุบัน เปนสัจฉิกิริยากิจ คือ การกระทํานิโรธสัจให
แจง การดับตัณหาเปนตนดังกลาวจัดเปนการดับชั่วขณะดวยวิปสสนาซึ่ง
เรียกวา ตัทงคนิโรธ เมื่อบรรลุอริยมรรคอยางแทจริงจึงจะรับรูการดับของรูป
นามทั้งปวงโดยประจักษได
- การหยั่งเห็น ลักษณะพิเ ศษของรูป นามแตละอย างและลักษณะ
ทั่วไป คือ ไตรลักษณ จัดเปนสัมมาทิฏฐิ ความดําริชอบ เปนสัมมาสังกัปปะ
ความเพียรชอบ เปนสัมมาวายามะ การระลึกชอบ เปนสัมมาสติ ความตั้งมั่น
ชอบ เป น สั ม มาสมาธิ การไมล ว งละเมิ ด ทางวาจา มี ก ารพู ด เท็ จ เป น ต น
ในขณะปฏิบัติธรรม เปนสัมมาวาจา การไมละเมิดทางกายมีการฆาสัตวเปน
ตน เปนสัมมากัมมันตะ การไมลวงละเมิดทางกายและวาจาซึ่งเกี่ยวกับการ
เลี้ยงชีพ เปนสัมมาอาชีวะ การเจริญสติระลึกรูปจจุบันอันประกอบดวย
๕๖๓
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
อริยมรรคมีองค ๘ เหลานี้ จัดเปนภาวนากิจ คือ การเจริญมรรคสัจ
อนึ่ ง มรรคสั จ ที่ เ ป น โลกิ ย ะย อ มปรากฏแก นั ก ปฏิ บั ติ ผู บ รรลุ
อุทยัพพยญาณ เปนตนไปแลว สวนมรรคสัจที่เปนโลกุตตระ ยอมปรากฏ
แกผูบรรลุมรรคญาณดวยเหตุดังกลาวมานี้ นักปฏิบัติผูเจริญสติปฏฐานยอม
ไดชื่อวา เปนผูเจริญอริยสัจ ๔ ในทุกขณะที่ตามรูเทาทันรูปนามปจจุบัน๘
พิเศษ : พระวิปสสนาจารยพึงพิจารณาสภาวะญาณของโยคีแตละ
คน หากมีผูใดนั่งภาวนา ๑ ชั่วโมงแทบไมมีทุกขเวทนาเลย ปรากฏปติและ
สุขเปนพักๆ กําหนดอาการคิดนึกดับไดภายใน ๑-๓ ครั้ง แสดงวาเขาภังค
ญาณแลว พึงอนุญาตใหโยคีผูนั้นไดฟงลําดับญาณทบทวน ๑-๒-๓ และเพิ่ม
ญาณที่ ๔-๕ ที่เปนบทเทศนของทานมหาสีสยาดอ หรือหลวงพอโชดกญาณ
สิทธิ ในที่ลับหูเทานั้น
ดังนั้น ในขั้นนี้ โยคีเพิ่มการกําหนดตนจิตมากขึ้นและตามกําหนดดู
อารมณที่กระทบจิตจนดับ เพื่อขามพนสภาวะทุกขเวทนาและวิปสสนูปกิเลส
๑๐ ได สวนสภาวธรรมยอมเขาสูวิปสสนานาญาณ ตามลําดับ
๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๓ สมบูรณ
ขั้นนี้เปนการเห็นความไมเที่ยงของรูป-นาม เปนทั้งปญญาที่เปนจิต
ตามยปญญา คือ สัมมสนญาณ และภาวนามยปญญา คือ อุทยัพพยญาณ
การกํ า หนดในขั้ น นี้ จ ะมากไปด ว ยสมาธิ ซึ่ ง ทํ า ให วิ ป ส สนู ป กิ เ ลสทั้ ง ๑๐
อยาง๙ เกิดขึ้น และเห็นเวทนาชัดจึงทําใหรูสึกปวดมาก สวนสภาวธรรมนั้น
จะเห็นลักษณะของรูป-นามเกิด-ดับ ทั้งอารมณและจิตที่เขาไปรูอ ารมณ
ตั้งแตสัมมสนญาณ (ตอนปลาย) และตรุณอุทยัพพยญาณจัดเป น
ตีรณปริญญา เปนมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ คือ ปญญาที่รูวาใชหนทาง
และไมใชหนทาง สวนพลวอุทยัพพยญาณจัดเปนตีรณปริญญาเหมือนกันแต
เปนปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ


อภิ.สํ. (บาลี) ๓๔/๒๐/๔.

ขุ.จู.อ. (ไทย) ๖/๖๔๘.
๕๖๔
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
สวนภังคญาณจัด เป นปหานปริญญา (ตทังคปหาน) จั ดเปนนิ โรธ
อริยสัจ (ตทังคนิโรธ) คือญาณที่เห็นไตรลักษณชัดแจงทุกขณะกําหนด สันตติ
ไมสามารถปดบังอนิจจัง อิริยาบถไมสามารถปดบังความเปนทุกข ฆนสัญญา
ไมสามารถปดบังอนัตตาได
วิปสสนูปกิเลส ๑๐ ประการปรากฏขึ้นระหวางสัมมสนญาณและ
อุทยัพพยญาณอยางออน แตถาผานไดแลวก็จะเขาสูวิปสสนาญาณแท ตั้งที่
อุทยัพพยญาณอยางแกและภังคญาณ เปนตนไป
เปนภูมิแหง ตีรณปริญญา กําหนดรูขั้นพิจารณาคือ รูดวยปญญาที่
หยั่ ง ลึ ก ซึ้ง ไปถึ งสามั ญญลั กษณะ ได แก รู ถึ งการที่สิ่ ง นั้ น ๆ เป น ไปตามกฎ
ธรรมดา โดยพิจารณาเห็นความไมเที่ยงเปนทุกข เปนอนัตตาภูมิแหงตีรณ
ปริญญา เริ่มตั้งแตการพิจารณากองสังขาร จนถึงอุทยัพพยานุปสสนา (การ
พิจารณาเห็นความเกิดและความดับ) ปริญญานี้ ก็คือการตามกําหนดอยาง
จดจ อ ต อ เนื่ อ งจนแจ ง สามั ญ ลั ก ษณะของอารมณ ที่ กํ า หนด และภู มิ แ ห ง
ปหานปริญญา กําหนดรูถึงขั้นละได คือ รูถึงขั้นที่ทําใหถอนความยึดติดเปน
อิสระจากสิ่งนั้นๆ ไดถูกตอง จัดเขาใน อริยสัจ ๔ คือ “นิโรธ (ตทังคนิโรธ
ดับดวยองคนั้นๆ คือ ดับกิเลสดวยธรรมที่เปนคูปรับ หรือธรรมที่ตรงขาม
เชน ดับสักกายทิฏฐิ ดวยความรูที่กําหนดแยกรูปนามออกได เปนการดับ
ชั่วคราวในกรณีนั้นๆ), สมุทัย (ตทังคนิโรธ ดับดวยองคนั้นๆ คือ ดับกิเลส
ดวยธรรมที่เปนคูปรับ หรือธรรมที่ตรงขาม เชน ดับสักกายทิฏฐิ ดวยความรู
ที่กําหนดแยกรูปนามออกได เปนการดับชั่วคราวในกรณีนั้นๆ), และเริ่ม แจง
นิโรธ (อริยสัจ ๔ เกิดโดยสมบูรณขึ้นตามลําดับ) ทุกข, สมุทัย, นิโรธ, มรรค”
ขั้นนี้จะตองเพิ่มตนจิตในการกําหนดใหไดมากๆ และมีวิปสสนูปกิ
เลส ๑๐ ประการ ปรากฏขึ้ น คื อ ระหว า งสั ม มสนญาณช ว งปลายและ
อุทยัพพยญาณอยางออน แตถาผานไดแลว โยคีก็จะเขาสูวิปสสนาญาณแท
ตั้งที่อุทยั พพยญาณอยางแกและภั งคญาณ ขั้น นี้ จั ดเขาตีร ณปริ ญญาและ
ปหานปริญญา จัดเปนสมุทยสัจ นิโรธอริยสัจ และมรรคอริยสัจ โดยที่ภังค
ญาณนั้นจิตกับอารมณจะดับไปพรอมกัน

๕๖๕
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
ญาณที่ ๓ สัมมสนญาณ(ชวงปลาย)
ป ญ ญาที่เ ห็ น รู ป -นามเป น ไตรลั กษณเ กิด ขึ้น แก บุ ค คลผู ป ระกอบ
ความเพียรเจริญวิปสสนา องคธรรมไดแก ปญญาเจตสิกที่ในมหากุศลญาณ
สัมปยุตจิต ผูปฏิบัติวิปสสนาตองทําความเพียรกําหนดพิจารณาสภาพธรรม
ที่เปนหมวดเปนกอง (กลาปสัมมนะ) กอน เมื่อวิปสสนูปกิเลสมีโอภาส คือ
แสงสวาง เปนตน เกิดแกผูปฏิบัติก็แสดงวา มัคคามัคคญาณ ทัสสนวิสุทธิได
บังเกิดขึ้นแลว จึงจัดเปนญาณเริ่มตนของวิปสสนาญาณ๑๐
ดั งนั้ น ตั้ งแต สั มมสนญาณจนถึ งตรุ ณอุ ทยั พพยญาณจั ด เป น มั ค
คามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ และ เปนภูมิของตีรณปริญญา (การกําหนดรูดวย
การไตรตรองใครครวญ) เพราะในระหวางนี้เปนการแทงตลอดสามัญญลักษณะ
โดยเฉพาะ๑๑ การพิจารณาเพียงยอๆ โดยลักษณะสัมมสนญาณ มี ๔ อยางคือ
๑) กลาปสั ม มสนะ คื อ การพิ จ ารณารู ป ที่ เ ป น อดี ต อนาคต
ปจจุบัน ภายนอก ภายใน หยาบ ละเอียด เลว ประณีต ไกล ใกล ทั้งหมดนี้
เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เพราะหมดไปสิ้นไปถายเดียว ไมมีกลับ ทนอยู
ไมได ไมมีแกนสาร ไมอยูในอํานาจบังบัญชา
๒) อัทธานสัมมสนะ คือ การพิจารณารูป-นามที่เกิด-ดับ ลวงลับ
ไปเปนเวลานาน คือ พิจารณารูป-นามในอดีตไมกลับมาปจจุบัน รูป-นาม
ปจ จุ บั นไมกลับ ไปเปน อนาคต แต มีเ หตุป จ จั ยสื บ ต อกัน อยู เมื่อปจ จุ บั น ดี
อนาคตก็ดี ดังนั้นรูป-นามจึงเปนของไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา
๓) สัน ตติสัมมสนะ คือ การพิจ ารณาเห็น ความสืบ ตอของรูป -
นาม เชน รูปรอนดับไป รูปเย็นเกิดขึ้น รูปเย็นดับ รูปรอนเกิด หมุนเวียน
เปลี่ยนแปลงอยูเสมออยางนี้ เรียกวา อุปปาทะ-ฐีติ-ภังคะ จะยืน เดิน นั่ง
นอนก็มีรูป-นามเกิด-ดับอยูอยางนี้เรื่อยไป(ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา)

๑๐
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมั ตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒
วิปสสนากรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร : หจก. ทิพยวิสุทธิ์, ๒๕๕๔),
หนา ๘๙-๙๐.
๑๑
เรื่องเดียวกัน หนา ๕-๖, ๙๐-๙๑.
๕๖๖
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
๔) ขณสัมมสนะ คือ การพิจารณาเห็นความเปนไปของรูป-นาม
ชั่วขณะหนึ่งๆ คือ พิจารณาเห็นความเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป รูป-นามจึงเปน
อนิจจัง เปนทุกข เปนอนัตตา๑๒
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
ระหวางเดินเห็นอาการของเทาที่ขาดไป เชน ยกหนอดับ ยางหนอ
เกิดแทน ยางหนอดับ เหยียบหนอเกิดแทน เหยียบหนอเหยียบพื้นดับ เปน
ตน คือรูอาการดับของเทาโดยการเทียบเคียง จัดเปนสัมมสนญาณ ญาณที่รู
ดวยจินตาญาณ หรือรูเทาที่สุดปลายจางๆ หรือความรูสึกตรงเหยียบออนๆ
แตไมถึงกับดับทันที การเดินไมคอยสะดวก มีอาการคลายกับจะหลับ สั่น
เกร็ง ในขณะเดินมีอาการพื้นที่เดินไมเสมอกัน ระหวางเหยียบพื้นรูสึกซูขึ้น
ตามรางกายเกือบทุกครั้ง แสดงวาอยูระหวางสัมมสนญาณตอนปลายและ
อุทยัพพญาณอยางออนคือมีวิปสสนูปกิเลส (ปติ) ปรากฏขึ้น
สํ าหรั บ ผู ได ญาณ ๔ แล ว แบ งการกําหนดยื น เป น ๓ ช ว ง ตั้ งแต
ปลายผมถึงราวนม ๑ ชวง ตั้งแตราวนมถึงขาออน ๑ ชวง ตั้งแตขาออนถึง
ปลายเทา ๑ ชวง บริกรรมเหมือนกันวา “ยืนหนอ”โยคีรูตามอาการเหลานั้น
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ
กําหนดเห็นอาการพองยุบ จากชาไปไวๆ จนหายไปแสดงวาอยูใน
ญาณที่ ๓ ถาพองยุบไวๆ แลววูปหายไปแสดงวาอยูในญาณที่ ๔ (เกิด-ดับ)
พองเปนพืดๆ ยุบลงเปนพืดๆ รูเปน ๓ ขณะ คือ ตน กลางและที่สุด
พอง-ยุบเตนเปนขั้นๆ ๒-๓ ขั้น พอง-ยุบไวบาง สม่ําเสมอบาง แผวเบาบาง
แนนอึดอัดบางสลับไปสลับมา
เห็นอาการแรกพอง-ยุบ คงอยู แลวสิ้นสุดลงชัดเจนขึ้นไปตามลําดับ
อาการพอง-ยุบอาจหายไปเฉยๆ แลวปรากฏขึ้นมาใหม ชาบาง เร็ว
บาง สม่ําเสมอบาง ไมสม่ําเสมอบาง๑๓
๑๒
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๑๕.
๑๓
พระธรรมธี ร ราชมหามุ นี (โชดก ญาณสิ ท ธิ ป.ธ.๙),คู มื อ สอบอารมณ
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๓, กรุงเทพมหานคร , ๒๕๔๑), หนา ๙.
๕๖๗
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม

ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
การกลืนครั้งหนึ่งก็จะเห็นเปน ๓ ระยะ ตนกลืน กลางกลืน สุดกลืน
แตยังไมเห็นอาการดับชัดเจนใหกําหนดวา กลืนหนอๆ ลงหนอๆ ไหลหนอๆ
กําหนดรูรสไดดีขึ้น แตยังไมเห็นอาการดับชัดเจนนักใหกําหนดวา
รส/รูหนอๆ
อาการฟน บนหรือล างที่กําลั งเคี้ยวอยู หายไป บางคนหายไปนาน
บางคนไมนาน ใหกําหนดวา หายหนอๆ
การกําหนดสภาวะสม่ําเสมอบาง แผวเบาบาง มีอึดอัดแนนขึ้นมาบางให
กําหนดไปตามอาการ
ง. สภาวธรรมทีป่ รากฏ : เวทนา
มีเวทนาเกิดขึ้นตามรางกายอยางมากมาย หรือบางสวนของรางกาย
มีอาการรอนตามสวนตางๆของรางกาย เชน รอน ตามผิวหนัง ตามเนื้อตัว
ตมมื อ ขา แขน เท า เหมื อ นถู ก น้ํ า ร อ นลวก ร อ นเหมื อ นอยู ใ กล เ ตาไฟ
ในขณะนั่งปรากฏอาการปวดขา ปวดเขา ปวดลําแขง หรือปวดขอเทาอยาง
แรงกลาจนเกือบทนไมได ถาปรากฏอาการอยางนี้แสดงวา สภาวญาณของ
ทานแกกลามาก ในญาณนี้เวทนาจะแรงกลามากนั้นแสดงวา พระไตรลักษณ
เริ่มสําแดงตัวออกมาใหเห็น ก็ใหมีโยนิโสมนสิการในการกําหนดรูอาการของ
พระไตรลั ก ษณ ใ ห ชั ด เจนตามความเป น จริ ง โดยเห็ น ชั ด ว า รู ป นามหรื อ
รางกายนี้เปนทุกขกอนเรียกวา ทุกขานุปสสนา ความปวดความรอนความคิด
ที่วิตกในสภาวะนั้น เมื่อกําหนดรูอยูนั้น ก็ไมเที่ยง เรียกวา อนิจจานุปสสนา
เมื่ อ กํ า หนดรู ต ามสภาวะที่ เ ป น จริ ง อยู นั้ น ก็ จ ะเห็ น ว า เป น สภาพที่ ไ ม น า
ปรารถนาเพราะมันเกิดขึ้นตามเหตุปจจัยและดับไปเองเปนอนัตตา ไมอยูใต
การบังคับบัญชาของใครจะใหมันเปนไปตามตองการไมไดเรียกวา อนัตตา
นุปสสนาลักษณะ
เวทนามีมากมายเหลือหลาย ส วนมากเกิดในส วนที่เกี่ย วกับ กาย
เชน ปวดตามรางกาย เจ็บ คัน ชา เมื่อย เปนตน เวทนามาก แตหายชาๆ
กําหนดตั้ง ๗-๘ ครั้ง จึงหาย หรือบางทีก็ไมหาย
๕๖๘
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
นั่งสะบัดมือสะบัดเทา ศีรษะโยกหรือสั่นเพราะกําลังปติ ขนลุกชัน
ตองกําหนดเวทนาโดยการรูแบบเจาะลึกลงไป เห็นอาการเวทนาที่
ละเอียด คือในความรูสึ กปวดนั้น มีอาการตึง รัด รอน เปนต น จิ ตไมชอบ
แสดงวาอยูในญาณที่ ๒ ถาโยคีเห็นอาการของเวทนาที่จิตกําหนด หลายครั้ง
แลวผอนเบาๆ แลวเกิดใหม หรือดับจากที่หนึ่งปรากฏอีกที่หนึ่ง เชน ดับจาก
หัวเขา ปวดที่ขอ ดับที่ขอ เกิดที่นอง เปนตน แสดงวาอยูในญาณที่ ๓ คือ
เห็นการเกิด-ดับ แตยังไมขาดไปทันที๑๔
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต
ใจฟุงซานบาง นั่นแสดงใหเห็นวาจิตเปนพระไตรลักษณ
กําหนดรูอาการตางๆ ไดดีขึ้น และเร็วขึ้น
กําหนดรูอาการตางๆ ทางกาย เวทนา จิต และธรรมในขณะเกิดขึ้น
ไดทั้ง ๓ ระยะ คือ เกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไป
กําหนดรูอาการเกิดขึ้นไดเร็วและอาการดับไปไดเร็ว มีอาการตางๆ
เกิดขึ้นมากมาย แตใหกําหนดตามอาการของปจจุบันที่ชัดเจนที่สุด
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม
มีนิมิตมาก และกําหนดหายชาๆ คอยๆ จางๆ หายไป
วิปสสนูปกิเลสหรือธัมมุจทัจเกิดขึ้นในญาณนี้อยางใดอยางหนึ่ง คือ
โอภาส ปติ ปสสัทธิ สุขศรัทธา ปคคาหะ ญาณ อุเบกขา นิกันติ ยอมปรากฏ
ในระหวาญาณที่ ๓ กับ ๔ เชนเห็นแสง ในญาณที่ ๓ ลักษณะของแสงจะวง
เล็ก เทาแสงกนหิ่งหอย สวนญาณที่ ๔ แสงจะจา ดวงใหญ
ญาณที่ ๓ กําหนดนิมิตเห็นหนอๆๆ ๗-๘ ครั้งกวาจะหาย สวนญาณ
ที่ ๔ กําหนดเพียง ๓ ครั้ง หรือกําลังจะกําหนดนิมิตก็หายไป
การปฏิบัติในญาณนี้ตองใชความพอดี (สายกลาง) ความฟุงซานยังมี
อยูมากถือวาเปนธรรมชาติของจิต

๑๔
ดูใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๒/๖๕๘.
๕๖๙
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
ในสัมมสนญาณเบื้องปลาย ไมสามารถกําหนดรูปนามดับไดทีเดียว
และมีสภาวะติดสมาธิ บางคนจะมีสภาวะติดสมาธิ จนทําใหเสียจริต เซื่องซึม
ไปเลยก็มี สาเหตุมาจากกําหนดสภาวะไมขาด สติและสัมปชัญญะนอย แต
สมาธิมากเกิน เหมือนกับรถยนต ๔ ลอ แตสูบลมใสเพียงลอเดียว อีกสามลอ
แฟบ ถึงจะไปตอไดแตก็ไปตอชาๆ อืดๆ และชํารุดในที่สุด มีวิธีแกดังนี้
๑) เดินจงกรม ๑ - ๓ จังหวะ ๓๐ นาที หามเกิน ในจังหวะที่ ๓
เห็นจังหวะขาดของอาการยก อาการยาง อาการเหยียบ ชัดเจน(สันตติขาด)
ขณะเดินหากมีลมสัมผัส เสียงที่ไดยิน ใจที่คิด ยืนกําหนดใหดับเสียกอน (ให
ขาดกอน) จึงจะกําหนดพอง-ยุบตอเดินไปที่ไหนๆ เชน ไปที่พัก เขาหองน้ํา
กําหนด ยาง-เหยียบๆๆๆๆ ตลอดเวลา
๒) นั่งเจริญภาวนา ๓๐ นาที กําหนดพองยุบตามอาการที่เห็น อยา
เสริมพอง-ยุบหยุดกําหนดลมสัมผัส เสียงที่ไดยิน ใจที่คิดใหดับกอน จึงจะ
กําหนดพอง-ยุบตอกอนออกจากบัลลังค หากมีเวทนาคางอยู เรงกําหนดจี้
เวทนาใหดับ หรือคลายตัวกอนออกจากบัลลังกทุกครั้ง อยาปลอยใหเวทนา
คางตอนออกจากบัลลังก จะทําใหสภาวะอื่นๆโดยเฉพาะนิมิตคางไปดวย
๓) การคิดจะมีลักษณะแตกตางไปจากเดิม รูไมคอยทัน และกําหนด
ดับชา เพราะสติสัมปชัญญะออน แกโดยการหยุดกําหนดเสียงที่ดังชัด ลมที่
สัมผัส คันที่รูสึกกอนทุกครั้ง
๔) ถาเห็นนิมิต ใหกํา หนดจิตที่รูวาเห็น ไมใชกํา หนดที่ภาพที่เห็น
“เห็นหนอๆๆๆๆๆ”
๕) กําหนดสภาวะแบบเร็ว เพียงแครูไมตองสนใจลักษณะอาการ ถา
นึกสงสัยใหกําหนด “สงสัยหนอๆ” อยาจี้ใหชัด แตจี้ใหดับได
สรุปวาสภาวะญาณ ๓ ตอนปลาย จะมากไปดวยสมาธิและทําให
เกิดวิปสสนูปกิเลส ๑๐ ประการเกิดขึ้น ซึ่งจะไดอธิบายตอไป
ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ สัมมสนญาณ (ชวงปลาย)
พิจารณารูป-นามเปนไตรลักษณโดยการอนุมาน จัดเปนจินตามย
ปญญา จนอินทรียแกกลา เห็นรูปนามเกิด-ดับดวยอุทยัพพยญาณ จัดเปน

๕๗๐
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
ภาวนามยปญญา และเห็นรูปนามพรอมจิตที่เขาไปรูนั้นดับไปพรอมกันดวย
ภังคญาณ อีกประการหนึ่งญาณในขั้นนี้จะมากไปดวยวิปสสนูปกิเลส ๑๐
๑) ญาตปริญญา กําหนดรูป-นาม ๕๐% เปนการกําหนดรูขั้นรูจัก
รูป -นามว าเป น ทุกขสั จ เห็ นอาการเกิดขึ้น และอาการที่ตั้ งอยุของรูป นาม
(ขันธ ๕) อันเปนตัวทุกข
๒) ตีรณปริญญา การพิจารณาเหตุปจจัยของรูป-นาม ๒๕ % เปน
การกํา หนดรู ขั้ น รู จั กและพิจ ารณาเห็ น ในไตรลั ก ษณโ ดยจิ น ตามยป ญญา
(ปญญาที่เกิดจากความตรึกนึกคิด)๑๕มาปนอยูดวย
๓) ปหานปริญ ญา การละอุป าทานในรูป -นามดว ยการกํา หนด
พิจารณารูป-นาม ขมนิวรณไวแบบวิกขัมพนปหาน ๒๕ %
พิจารณาเห็นไตรลักษณ คือ ความเกิด-ดับของรูป-นาม แตที่รูวา
รูป-นามดับไปก็เพราะเห็นรูป-นามใหมเกิดสืบตอแทนขึ้นมาแลว เห็นอยางนี้
เรียกวา สันตติยังไมขาดและยังอาศัยจินตามยปญญาอยู
ขณะพิจารณาเห็นอาการเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไปของรูป-นาม ความ
เกิดเปนตัณหา สภาวะที่ทรงตัวเปนทุกข สภาวะที่ดับไปจัดเปนนิโรธ(ตทังค
นิโรธ) คือ ความไมเกิดอีกของทุกขสัจไดแกสติที่เขาไปกําหนดรูอาการพอง-ยุบ
ดับไปพรอมกับอาการพอง-ยุบ และสมุทยสัจถูกละ(ไดแกเจตนาที่ยกจิตขึ้นสู
การกําหนดรูอาการพอง-ยุบ) อันเปนการดับที่เรียกวา ตทังคนิโรธ
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๒. ปจจยปริคคห ๔๐ (ทุกขเวทนา) ๕ (จิตกุศล)
๒๐ ๕ (นิวรณ) ๒๐
ญาณ ๕ (สุขเวทนา) ๕ (จิตอกุศล)
๒๐ (ทุกขเวทนา)
๓. สัมมสนญาณ ๓๐ ๙ (จิตกุศล) ๐-๑ (นิวรณ) ๓๐
๑๐ (สุขเวทนา)

๑๕
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/-/๑/๓๘๐.
๕๗๑
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม

๑. กายานุปสสนา ๓๐ % (จากเดิม ๒๐ % ) การกําหนดรูอารมณ


ฐานกายชัดขึ้น เพราะทุกขเวทนาลดลง สงผลใหดูกายไดชัดขึ้น
๒. เวทนานุปสสนา ๓๐% (ทุกขเวทนา ๒๐ % [จากเดิม ๔๐ %] ,
สุขเวทนา ๑๐ % [จากเดิม ๔๐ %]) มีทุกขเวทนาลดลง แตยังไมหายหมด
เปลี่ยนจุดปวด และมีสุขเวทนา มีปติ เย็นซูซาเกิดขึ้น
๓. จิตตานุปสสนา ๙ % (กุศลจิต ๑๙% [จากเดิม ๕ %],) กุศลจิต
เพิ่มขึ้น เพราะปวดเบาลง มีกําลังใจ นั่งครบหนึ่งชั่วโมงหมดเวลา ยังอยาก
นั่ ง ต อเพราะมีศ รั ทธา มี ป ติ เกิด ขณิ กสมาธิ และเมื่ อ วิ ต ก วิ จ าร ป ติ สุ ข
เอกัคคตา อกุศลจิตก็จะระงับไป
๔.ธัมมานุปสสนา ๑ % (นิวรณเกิด-ดับ จากเดิม ๕ % ) นิวรณ
ธรรมเกิดแลวดับ เกิด-ดับๆ กําหนดแลวดับ ขณิกสมาธิตั้งมั่นถึงขั้นอัปปนามี
องค ๕ ครบเทากัน
และตองเพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนามากขึ้น ๓๐ %
ญาณที่ ๑ - ๓ ยังไมใชวิปสสนาญาณ เพราะโพชฌงคเปนธรรมะ
ที่เปฯโพธิปกขิยธรรม เปนขบวนการในวิปสสนาญาณ โพชฌงคเปน ๑ ใน
โพธิปกขิยธรรม โพชฌงคจะยังไมเกิดในญาณนี้ การกําหนดสติรูอาการพอง-
ยุบ อาการสุดพองจะไมเห็นสติตามระลึกรูอาการตั้งแตทองเริ่มพองก็กําหนด
วา พอง..หนอ รูวาดับสิ้นสุดเพราะมีพองเกิดขึ้น คําบริกรรมวา “หนอ” ใน
ญาณเห็นอาการเกิดของพอง-ยุบรวดเร็วมากจนสติตามอาการไมทัน สติจึง
ตามระลึกรูกายแค ๓๐ และตองเพิ่มสติใสใจบริกรรมภาวนามากขั้นเชนกัน
ญาณที่ ๔ อุทยัพพยญาณ
อุทยัพพยญาณ หมายความวา ปญญาที่เห็นเนืองๆ ในความแปรผัน
ของปจจุบันธรรมทั้งหลาย๑๖ คือรูปที่เกิดแลวเปนปจจุบันลักษณะแหงความ
เกิดของรูปนั้นเปนอุทยะ (ความเกิดขึ้น) ลักษณะแหงความแปรผันเปน วยะ
(ความดับไป) ปญญาเห็นเนืองๆ เปนญาณ เวทนาที่เกิดแลว สัญญาที่เกิด
๑๖
ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๖/๑., ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖/๒.
๕๗๒
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
สังขารที่เกิด วิญญาณที่เกิดแลว จักษุที่เกิดแลว ภพที่เกิดแลว เปนปจจุบัน
ลักษณะแหงความเกิดของภพนั้นเปน อุทยะ (ความเกิดขึ้น) ลักษณะแหง
ความแปรผันเปนวยะ (ความดับไป) ปญญาเห็นเนืองๆ เปนญาณ๑๗
เปนญาณที่แจงไตรลักษณดวยการพิจารณาจนเห็นความเกิด-ดั บ
ของรูป-นาม เมื่อเห็นอนิจจัง เพราะรูป-นามนี้ดับไปๆ สันตติก็ไมสามารถที่
จะปดบังไวใหคงเห็นเปนอนิจจังไปได ดังนั้นจึงประหาณ มานะเสียได๑๘ เมื่อ
เห็นทุกขังเพราะรูป-นามนี้ดับไปๆ อิริยาบถก็ไมสามารถที่จะปดบังไวใหคง
เห็นเปนสุขไปได ดังนั้นจึงประหาณตัณหาเสียได๑๙ เมื่อเห็นอนัตตาเพราะ
รูป-นามนี้ดับไปๆ สัญญาก็ไมสามารถที่จะปดบังไวใหคง เห็นเปนอนัตตาไป
ไดดั้งนั้น จึงประหาณทิฏ ฐิเสียได๒๐ ในบางบุคคลโรคภัยไขเจ็บ ที่เปนโรค
ประจําตัวมักหายไป ในขณะเกิดอุทยัพพยญาณ
ปญญาในการพิจารณาเห็นความแปรผันแหงธรรมทั้งหลายที่เปน
ปจจุบัน ชื่อวาอุทยัพพยานุปสสนาญาณ เปนอยางไร
คือ รูปที่เกิดแลวเปนปจจุบันลักษณะ ความบังเกิดแหงรูปนั้นชื่อวา
ความเกิ ด ขึ้ น ลั ก ษณะความแปรผั น ไป (แห ง รู ป นั้ น ) ชื่ อ ว า ความเสื่ อ ม
ปญญาที่พิจารณาเห็นดังนี้ ชื่อวาอนุปสสนาญาณ
เวทนาที่เกิดแลวฯลฯ สัญญาที่เกิดแลวฯลฯ สังขารที่เกิดแลวฯลฯ
วิ ญญาณ ที่เ กิ ด แล ว ฯลฯจั ก ขุที่เ กิ ด แล ว ฯลฯ ภพที่เ กิด แล ว เป น ป จ จุ บั น
ลักษณะ ความบังเกิดแหงภพนั้นชื่อวาความเกิดขึ้น ลักษณะความแปรผันไป
(แหงภพนั้น) ชื่อวาความเสื่อม ปญญาทีเ่ ห็นดังนี้ ชื่อวาอนุปสสนาญาณ
พระโยคาวจรเมื่อเห็นความเกิดขึ้นแหงเบญจขันธ ยอมเห็นลักษณะ
เทาไร เมื่อเห็นความเสื่อม(แหงเบญจขันธ) ยอมเห็นลักษณะเทาไร

๑๗
พระพุทธโฆสเถระรจนา, สมเด็จพระพุฒาจารย แปล, วิสุทธิมรรค, หนา
๑๐๒๔.
๑๘
ม.ม.อ. (ไทย) ๒/-/๑/๒๘๔., สํ.ข.อ. (ไทย) ๓/-/-/๓๕๘.
๑๙
สํ.นิ.อ. (ไทย) ๒/-/-/๖๘๖.
๒๐
ดูใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๓๑๓., สํ.ข.อ. (ไทย) ๓/-/-/๙๕.
๕๗๓
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
เมื่อเห็ นความเกิดขึ้น และความเสื่อม (แหงเบญจขันธ) ย อมเห็ น
ลักษณะเทาไรพระโยคาวจรเมื่อเห็นความเกิดขึ้นแห งเบญจขัน ธยอมเห็ น
ลักษณะ๒๕ ประการ เมื่อเห็นความเสื่อม(แหงเบญจขันธ) ยอมเห็นลักษณะ
๒๕ ประการ เมื่อเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อม(แหงเบญจขันธ) ยอมเห็น
ลักษณะ ๕๐ ประการพระโยคาวจรเมื่อเห็นความเกิดขึ้นแหงรูปขันธ ยอม
เห็นลักษณะเทาไร เมื่อเห็นความเสื่อม (แหงรูปขันธ) ยอมเห็นลักษณะเทาไร
เมื่อเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อม (แหงรูปขันธ) ยอมเห็นลักษณะเทาไร
พระโยคาวจรเมื่อเห็นความเกิดขึ้นแหงเวทนาขันธฯลฯแหงสัญญาขันธ ฯลฯ
แหงสังขารขันธ ฯลฯ แห งวิญญาณขันธ ย อมเห็นลั กษณะเทาไรเมื่อเห็ น
ความเสื่อม(แหงเวทนาขันธ ฯลฯ แหงสัญญาขันธ ฯลฯ แหงสังขารขันธ ฯลฯ
แหงวิญญาณขันธ) ยอมเห็นลักษณะเทาไร เมื่อเห็นความเกิดขึ้นและความ
เสื่อม(แหงวิญญาณขันธ) ยอมเห็นลักษณะเทาไร
พระโยคาวจรเมื่อเห็นความเกิดขึ้นแหงรูปขันธยอมเห็นลักษณะ๕
ประการ เมื่อเห็ นความเสื่ อม(แห งรูป ขัน ธ) ย อมเห็ น ลักษณะ ๕ ประการ
เมื่อเห็ นความเกิดขึ้น และความเสื่ อม(แห งรูป ขัน ธ ) ยอมเห็ นลั กษณะ ๑๐
ประการ เมื่อเห็นความเกิดขึ้นแหงเวทนาขันธฯลฯแหงสัญญาขันธ ฯลฯ แหง
สังขารขันธ ฯลฯ แหงวิญญาณขันธ ยอมเห็นลักษณะ ๕ ประการ เมื่อเห็น
ความเสื่อ (แหงวิญญาณขันธ) ยอมเห็นลักษณะ ๕ ประการ เมื่อเห็นความ
เกิดขึ้นและความเสื่อม(แหงวิญญาณขันธ) ยอมเห็นลักษณะ ๑๐ ประการ
พระโยคาวจรเมื่อเห็นความเกิดขึ้นแหงรูปขันธยอมเห็นลักษณะ๕
ประการ อะไรบาง คือ
๑.พระโยคาวจรยอมเห็นความเกิดขึ้นแหงรูปขันธโดยความเกิดขึ้น
แหงปจจัยวา“เพราะอวิชชาเกิด รูปจึงเกิด”
๒. พระโยคาวจรยอมเห็นความเกิดขึ้นแหงรูปขันธ โดยความเกิดขึ้น
แหงปจจัยวา “เพราะตัณหาเกิด รูปจึงเกิด”
๓. พระโยคาวจรยอมเห็นความเกิดขึ้นแหงรูปขันธ โดยความเกิดขึ้น
แหงปจจัยวา “เพราะกรรมเกิดรูปจึงเกิด”

๕๗๔
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
๔. พระโยคาวจรยอมเห็นความเกิดขึ้นแหงรูปขันธโดยความเกิดขึ้น
แหงปจจัยวา “เพราะอาหารเกิด รูปจึงเกิด”
๕. พระโยคาวจรแมเ มื่อเห็ น ลั กษณะแห งความบังเกิด ก็ย อมเห็ น
ความเกิดขึ้นแหงรูปขันธพระโยคาวจรเมื่อเห็นความเกิดขึ้นแหงรูปขันธยอม
เห็นลักษณะ๕ ประการนี้
พระโยคาวจรเมื่อเห็นความเสื่อม(แหงรูปขันธ)ยอมเห็นลักษณะ๕
ประการ อะไรบาง คือ
๑. พระโยคาวจรยอมเห็นความเสื่อมแหงรูปขันธโดยความดับแหง
ปจจัยวา “เพราะอวิชชาดับ รูปจึงดับ”
๒. พระโยคาวจรยอมเห็นความเสื่อมแหงรูปขันธโดยความดับแหง
ปจจัยวา “เพราะตัณหาดับ รูปจึงดับ”
๓. พระโยคาวจรยอมเห็นความเสื่อมแหงรูปขันธโดยความดับแหง
ปจจัยวา “เพราะกรรมดับ รูปจึงดับ”
๔. พระโยคาวจรยอมเห็นความเสื่อมแหงรูปขันธ โดยความดับแหง
ปจจัยวา “เพราะอาหารดับ รูปจึงดับ”
พระโยคาวจรแมเมื่อเห็นลักษณะแหงความแปรผันก็ยอมเห็นความ
เสื่อมแหงรูปขันธพระโยคาวจรเมื่อเห็น ความเสื่อมแห งรูปขันธ ย อมเห็ น
ลักษณะ ๕ ประการนี้เมื่อเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อม(แหงรูปขันธ) ยอม
เห็นลักษณะ ๑๐ ประการนี้
พระโยคาวจรเมื่อเห็นความเกิดขึ้นแหงเวทนาขันธ ยอมเห็นลักษณะ
๕ประการ อะไรบาง คือ
๑. พระโยคาวจรยอมเห็นความเกิดขึ้นแหงเวทนาขันธ โดยความ
เกิดขึ้นแหงปจจัยวา“เพราะอวิชชาเกิด เวทนาจึงเกิด”
๒. พระโยคาวจรยอมเห็นความเกิดขึ้นแหงเวทนาขันธ โดยความ
เกิดขึ้นแหงปจจัยวา “เพราะตัณหาเกิด เวทนาจึงเกิด”
๓.พระโยคาวจรย อมเห็ น ความเกิด ขึ้ น แห งเวทนาขัน ธ โ ดยความ
เกิดขึ้นแหงปจจัยวา“เพราะกรรมเกิด เวทนาจึงเกิด”
๕๗๕
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
๔. พระโยคาวจรยอมเห็น ความเกิดขึ้นแหงเวทนาขัน ธโดยความ
เกิดขึ้นแหงปจจัยวา“เพราะผัสสะเกิด เวทนาจึงเกิด”
๕. พระโยคาวจรแมเ มื่อเห็ น ลั กษณะแห งความบังเกิด ก็ย อมเห็ น
ความ เกิดขึ้นแหงเวทนาขันธพระโยคาวจรเมื่อเห็นความเกิดขึ้นแหงเวทนา
ขันธยอมเห็นลักษณะ๕ ประการนี้พระโยคาวจรเมื่อเห็นความเสื่อม (แหง
เวทนาขันธ) ยอมเห็นลักษณะ ๕ ประการ อะไรบาง คือ
๑. พระโยคาวจรยอมเห็นความเสื่อมแหงเวทนาขันธ โดยความดับ
แหงปจจัยวา“เพราะอวิชชาดับ เวทนาจึงดับ”
๒. พระโยคาวจรยอมเห็นความเสื่อมแหงเวทนาขันธ โดยความดับ
แหงปจจัยวา“เพราะตัณหาดับ เวทนาจึงดับ”
๓. พระโยคาวจรยอมเห็นความเสื่อมแหงเวทนาขันธ โดยความดับ
แหงปจจัยวา “เพราะกรรมดับ เวทนาจึงดับ”
๔. พระโยคาวจรยอมเห็นความเสื่อมแหงเวทนาขันธ โดยความดับ
แหงปจจัยวา “เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ”
๕. พระโยคาวจรแมเมื่อเห็นลักษณะแหงความแปรผัน ก็ยอมเห็น
ความเสื่อมแหงเวทนาขันธพระโยคาวจรเมื่อเห็นความเสื่อมแหงเวทนาขันธ
ยอมเห็นลักษณะ ๕ ประการนี้เมื่อเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อม(แหง
เวทนาขันธ) ยอมเห็นลักษณะ ๑๐ ประการนี้
พระโยคาวจรเมื่ อ เห็ น ความเกิ ด ขึ้ น แห ง สั ญ ญาขั น ธ ฯลฯ แห ง
สังขารขันธ ฯลฯพระโยคาวจรเมื่อเห็นความเกิดขึ้นแหงวิญญาณขันธ ยอม
เห็นลักษณะ ๕ ประการ อะไรบาง คือ
๑.พระโยคาวจรยอมเห็นความเกิดขึ้นแหงวิญญาณขันธ โดยความ
เกิดขึ้นแหงปจจัยวา“เพราะอวิชชาเกิด วิญญาณจึงเกิด”
๒.พระโยคาวจรยอมเห็นความเกิดขึ้นแหงวิญญาณขันธ โดยความ
เกิดขึ้นแหงปจจัยวา“เพราะตัณหาเกิด วิญญาณจึงเกิด”
๓. พระโยคาวจรยอมเห็นความเกิดขึ้นแหงวิญญาณขันธ โดยความ
เกิดขึ้นแหงปจจัยวา “เพราะกรรมเกิด วิญญาณจึงเกิด”

๕๗๖
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
๔.พระโยคาวจรยอมเห็นความเกิดขึ้นแหงวิญญาณขันธ โดยความ
เกิดขึ้นแหงปจจัยวา“เพราะนามรูปเกิด วิญญาณจึงเกิด”
๕. พระโยคาวจรแมเ มื่อเห็ น ลั กษณะแห งความบังเกิด ก็ย อมเห็ น
ความเกิดขึ้นแหงวิญญาณขันธ
พระโยคาวจรเมื่ อ เห็ น ความเกิ ด ขึ้ น แห ง วิ ญ ญาณขั น ธ ย อ มเห็ น
ลักษณะ ๕ ประการนี้ พระโยคาวจรเมื่อเห็ นความเสื่อม (แหงสัญญาขัน ธ
ฯลฯ แหงสังขารขันธ ฯลฯ)พระโยคาวจรเมื่อเห็นความเสื่อม (แหงวิญญาณ
ขันธ) ยอมเห็นลักษณะ ๕ ประการ อะไรบาง คือ
๑. พระโยคาวจรยอมเห็นความเสื่อมแหงวิญญาณขันธ โดยความ
ดับแหงปจจัยวา “เพราะอวิชชาดับ วิญญาณจึงดับ”
๒.พระโยคาวจรยอมเห็นความเสื่อมแหงวิญญาณขันธ โดยความดับ
แหงปจจัยวา“เพราะตัณหาดับ วิญญาณจึงดับ”
๓.พระโยคาวจรยอมเห็นความเสื่อมแหงวิญญาณขันธ โดยความดับ
แหงปจจัยวา “เพราะกรรมดับ วิญญาณจึงดับ”
๔.พระโยคาวจรยอมเห็นความเสื่อมแหงวิญญาณขันธ โดยความดับ
แหงปจจัยวา “เพราะนามรูปดับ วิญญาณจึงดับ”
๕.พระโยคาวจรแมเมื่อเห็นลักษณะแหงความแปรผัน ก็ยอมเห็ น
ความเสื่อมแหงวิญญาณขันธพระโยคาวจรเมื่อเห็นความเสื่อมแหงวิญญาณ
ขันธ ยอมเห็นลักษณะ ๕ ประการนี้เมื่อเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อม
(แหงวิญญาณขันธ) ยอมเห็นลักษณะ ๑๐ ประการนี้
พระโยคาวจรเมื่อเห็นความเกิดขึ้นแหงเบญจขันธ ยอมเห็นลักษณะ
๒๕ ประการนี้เมื่อเห็นความเสื่อม (แหงเบญจขันธ) ยอมเห็นลักษณะ ๒๕
ประการนี้ เมื่อเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อม (แหงเบญจขันธ) ยอมเห็น
ลักษณะ ๕๐ ประการนี้ รูปขันธมีอาหารเปนเหตุเกิด ขันธที่เหลือคือเวทนา
ขันธ สัญญาขันธ สังขาร ขันธมีผัสสะเปนเหตุเกิด วิญญาณขันธมีนามรูป
เปนเหตุเกิด๒๑ ปญญาในการพิจารณาเห็นความแปรผันแหงธรรมทั้งหลายที่

๒๑
ขุ. ปฏิ. มหาวรรค. ๓๑/๗๗ - ๘๑/๖๑๐.
๕๗๗
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
เปนปจจุบัน ชื่อวาอุทยัพพยานุปสสนาญาณ
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
ขณะกาวเดิน กําหนดไดชัดเจนเพียง ๒ ขณะ ตนกับสุด ในระหวาง
เดินเพิ่มตนจิตและตัดคําบัญญัติออก ขวา- ซาย โยคีเห็นอาการดับชัด สุด
ปลายเท า คื อ รู ต น แต ดั บ ปลาย เช น ยกเท า รู แต สุ ด ยกตรงคํ า ว า หนอ
ความรูสึกดับหายไป แตใจที่รูยังไมดับ แสดงวาอยูในญาณที่ ๔ คือรูเกิด-ดับ
ขณะเดินจิตรูชัดในอาการของเทาอยางละเอียด เชนตึง หนัก เบา
เปนตน ตามรางกายในขณะเดินจะรูสึกเย็นเหมือนลมพัดมากระทบเบาๆ
ขณะเดิน อาการ ยก ยาง เหยียบ เบาสบาย คลอง ไมตองฝนเปน
ธรรมชาติ เมื่อกําหนดคูหนอก็ยอมรูสึกวา รูปคูนั้น ไดขาดหายวับไป ไมมี
การตอเนื่องกันเลย
มีความสุขกับการปฏิบัติ มีศรัทธา มีความเพียร สม่ําเสมอ ไมมากไม
นอยไป สติมั่นคง ไมหวั่นไหว เปนกลางในสังขารทั้งปวง๒๒
อารมณทั่วไป ในขณะเดิน นั่ง เหยียดแขน คูแขน เปนตน รูสึกมี
ความเบากําหนดได งายบางครั้ งคิด ว า มือและขาของตั ว เองหายไป และ
โรคภัยไขเจ็บ ที่เปนโรคประจําตัวมักหายไปในขณะเกิดอุทยัพพยญาณ
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ
กําหนดจนรูเห็นไตรลักษณชัดเจนโดยสันตติขาด คือ เห็นรูป-นาม
ดับไปในทันทีที่ดับ และเห็นรูป-นามเกิดขึ้นในขณะที่เกิด หมายความวา เห็น
ทันทั้งในขณะที่เกิดและขณะที่ดับ อุทยัพพยญาณนี้ยังจําแนกไดเปน ๒ คือ
ตรุณอุทยัพพยญาณ (ญาณที่ยังออนอยู) และพลวอุทยัพพยญาณ (ญาณที่แก
กลาแลว) รูวารูป-นามและปฏิกิริยาของจิตตอรูป-นามที่จิตไปรูเขา ลวนแต
เกิด-ดับตอเนื่องกันไป
พึงเนนย้ําใหโยคีเคลื่อนไหวอิริยาบถในขณะฉัน ทีละ ๑ อิริยาบถ
เช น ขยั บ มือทีล ะขาง ถามือยั งขยั บ อยู ให อมคําขาวไว กอ น อย า พึ่งเคี้ย ว
๒๒
เลมเดียวกัน, หนา ๓๒๑.
๕๗๘
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
ในขณะเคี้ยวใหสังเกตถึงความหนักเบาของแรงเคี้ยวดวย พรอมกับกําหนด
ไปตามอาการนั้นวา “เคี้ยวหนอๆ”
อาการกลืน อาจจะจางๆ ขาดๆ หายๆ เปนลําดับไป ใหกําหนดวา “จาง
หนอๆ” “ขาดหนอๆ” “หายหนอๆ” “รูหนอๆ”
กําหนดทํางาย ก็อยาปลอยใจ ใหใสใจในการกําหนดไปเรื่อยๆ ใส
ตนจิตใหไดทุกๆ อาการ
ตรุณอุทยัพพยญาณ ในอิริยาบถนั่ง มีดังนี้
พอง-ยุบเปลี่ยนแปลงเปนขั้นๆ เกิดขึ้นแลวก็หายไป เห็นแตอาการแรก
พอง-ยุบ และอาการที่พอง-ยุบ สิ้นสุดลงไดชัดเจน
อารมณนิมิต เชน ภาพตางๆ อาการคันเกิดขึ้นตามสวนตางๆ ของ
รางกาย เห็นเกิดขึ้นเปนสวนๆ และจะมีอาการปติปรากฏชัด๒๓ ดังนี้
ขุททกาปติ เปนลักษณะของปติเล็กนอย มีลักษณะดังนี้
๑. มีสีขาวตางๆ
๒. ขนลุก เยือกเย็น
๓. น้ําตาไหล หนังหัวพองสยองเกลา
๔. ตัวชา – พองขึ้น ตัวใหญ
๕. บางที่แขนยาว ขายาว ฟนยาวออกไปก็มี มีอาการคัน
๖. เหมือนมีแมลงไตตอม เปนตน
ขณิกาปติ เปนลักษณะของปต๒๔
ิ ที่เกิดขึ้นชั่วขณะ มีลักษณะดังนี้
๑. เหมือนมีสีแดงๆ ดางๆ
๒. เหมือนลมพัดผาน
๓. เหมือนนั่งอยูคนเดียว
๔. เหมือนกําลังขึ้นที่สูง

๒๓
ดูรายละเอียดใน ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๓๗๓-๓๗๔/๑๔๙
๒๔
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวล
ธรรม, พิมพครั้งที่ ๑๓,
๕๗๙
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
๕. เหมือนลอยอยูในน้ํา
๖. เกิดในจักขุทวารดุจสายฟาแลบ
๗. เปนประกายเหมือนตีเหล็กไฟ
๘. แสบทั่วตัว กายแข็ง
๙. เปนเหมือนมีแมลงจับ ไตตามตัว
๑๐. รอนตามตัว
๑๑. หัวใจสั่นไหว
๑๒. ขนลุกขนชันบอยๆ แตไมมากนัก
๑๓. คันยุบยิบคลายมดไตไรคลานตามหนาตามตัว
๑๔. เหมือนมีอะไรกัด
๑๕. เหมือนเสนเอ็นชัก เปนตน
๑๖. มีอาการคลายน้ํารอนที่กําลังเดือดพลาน
๑๗. เหมือนปลาผุดขึ้นเวลาเมื่อโยนเศษอาหารลงไป
โอกกันติกาปติ ปติที่เกิดขึ้นเปนระลอก มีลักษณะดังนี้
๑. กระตุก อาการสั่นๆ
๒. บางทีมีอาการสูงๆ ต่ําๆ
๓. คลายนั่งอยูในเรือตอนเจอคลื่น
๔. โยกโคลง รูสึกซาๆ
๕. ตัวไหว เอน สะบัดหนา สะบัดมือ สะบัดเทา
๖. คลื่นไสดุจจะอาเจียน และบางทีก็อาเจียนออกมาก็มี
๗. สั่นระรัวดุจไมปกในน้ําไหล
๘. มีสีเหลืองออน สีดอกผักตบ
๙. กายโยกไปโยกมา
๑๐. มีอาการสะบัดรอนสะบัดหนาว
๑๑. บางครั้งมีอาการวูบวาบมาจากขางลาง
๑๒. บางครั้งมีอาการวูบวาบมาจากขางบน
๑๓. บางครั้งคลายๆ แลนโตคลื่นอยูในน้ํา
๕๘๐
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
๑๔. บางทีจะรูสึกวารางกายเราผิดปกติ
อุพเพงคาปติ เปนลักษณะของปติที่โลดโผน มีลักษณะดังนี้
๑. กายสูงขึ้น ตัวเบา ตัวลอย
๒. คันยุบยิบดุจไรไตตามหนาตามตัว
๓. ลงทอง ทองเดิน เปนบิดตามรางกาย
๔. สัปหงกขางหนาบาง ขางหลังบาง
๕. คลายคนผลักหนาคะมําลงไป
๖. คลายคนจับศีรษะหมุนไปหมุนมา
๗. ปากงับบาง อาปากบาง หุบปากบาง
๘. ไหวโยกโคลง เหมือนลมพัดตนไม
๙. เหมือนตุกตาลมลุก
๑๐. กระโดดขึ้นกระโดดลง
๑๑. เดินเหมือนหุนยนต
๑๒. กายกระดุกกระดิก
๑๓. ยกแขนยกเทา
๑๔. มีสีเหมือนไขมุก ขี้เมฆ สีเหมือนนุน
๑๕. เดินเร็วมาก เดินเหมือนกระโดด
๑๖. หมุนเปนวงกลม
ผรณาปติ เปนลักษณะของปติที่ซาบซาน๒๕ไปทั้งตัว มีลักษณะดังนี้
๑. เหมือนตัวชาไปขณะหนึ่ง
๒. หรือเหมือนมีคนเอาอะไรมาครอบตัวไว
๓. สงบเปนพักๆ
๔. คันยุบยิบตามตัว
๕. ซึมๆ ตามตัวไมอยากลืมตา
๖. ไมอยากเคลื่อนไหวรางกาย
๒๕
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๐๖๔-๑๐๖๕.
๕๘๑
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
๗. จากปลายเทาถึงศีรษะจากศีรษะถึงปลายเทา
๘. กายเย็นดุจอาบน้ํา หรือดุจถูกน้ําแข็ง
๙. มีสีคราม สีเขียวใบตองออน สีแกวมรกต
๑๐. ทําใหเพลิดเพลินไมอยากกระดุกกระดิก
๑๑. เปลือกตาที่ปดอยูก็ไมอยากเปดขึ้นเลยเปนตน
อุปกิเลส ๑๐ นี้ จัดเปนอุปกิเลสเพราะเปนที่ตั้งของอุปกิเลส มิใช
เพราะเปนอกุศล ไมเกิดแกบุคคลเหลานี้ คือ พระอริยสาวก ผูปฏิบัติผิด ผู
ละทิ้งกรรมฐาน ผูเกียจคราน๒๖
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๒๐ (ทุกขเวทนา)
๓. สัมมสนญาณ ๓๐ ๙ (จิตกุศล) ๐-๑ (นิวรณ) ๓๐
๑๐ (สุขเวทนา)
๕ (ทุกขเวทนา)
๔. ตรุณอุทยัพพย ๑๐ (สุขเวทนา)
๒๐ ๑๐ (จิตกุศล) ๕ (ฟุง-นิวรณ) ๓๕
ญาณ ๑๐ (โสมนัสส)
๕ (อุเบกขา)

๑. กายานุปสสนา ๒๐ % (จากเดิม ๓๐ % ) การกําหนดรูอารมณ


ฐานกายนอยลง สติทันอาการเกิดทางกายไดมากขึ้นก็จริง แตยังไมทันตอน
ดับ เพราะจิตมักหลงอยูกับสุขเวทนา ทําใหลืมใสใจพิจารณากาย "ตอนดับ"
๒. เวทนานุปสสนา ๓๐% (ทุกขเวทนา ๕ % [จากเดิม ๒๐ %] ,สุข
เวทนา ๑๐ % [จากเดิม ๑๐ %]) มีทุกขเวทนาลดลง และมีสุขเวทนามีปติ
เพิ่มขึ้น คือ โสมนัสเวทนาปรากฎขึ้น ๑๐% จิตเปนสมาธิอุเบกขา ๕%

๒๖
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๓๐๙.
วิปสสนา (ฉบับสมบรูณ), แปลโดย จํารูญ ธรรมดา, (กรุงเทพมหานคร: โรง
พิมพทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๕๓), หนา ๕๒๙.
๕๘๒
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
๓. จิตตานุปสสนา ๑๐ % (กุศลจิต ๑๐% [จากเดิม ๙%],)สุข
เวทนาทําใหเกิดกุศลจิตเพิ่มขึ้นไปดวย
๔.ธัมมานุปสสนา ๕ % ( นิวรณพิ่มขึ้น) เปนอาการฟุงในธรรม ที่
เรียกวา "ธัมมุทธัจจะ ๑๐ ประการ"
เพงความสนใจไปที่วิ ถีจิ ต ที่บริ กรรมภาวนา ๓๕ % มีส ติใส ใจ
บริกรรมเพิ่มขึ้น ๕ %
พลวอุทยัพพยญาณ (อยางแก)
ปญญาที่เห็นความเกิด-ดับของรูป-นามผานอุปสรรคอันตราย คือ
ผานวิปสสนูปกิเลสไปได ดําเนินไปตามมรรคปฏิปทาโดยตรงโดยพิจารณา
เห็นความเกิด-ดับตอไป๒๗ ลักษณะสภาวะในอิริยาบถนั่ง มีดังนี้
เห็นแตอาการแรกพอง-ยุบ และอาการที่พอง-ยุบสิ้นสุดลงไดชัดแจง
และงายยิ่งขึ้น เห็นพอง ยุบ เปน ๒-๓-๔-๕-๖ ระยะ พอง ยุบ ขาดๆ หายๆ
เปนลําดับไป กําหนดไดชัดเจนและสะดวกดี ตนพอง สุดพอง ตนยุบ สุดยุบ
ปรากฏชัดดี
มีอาการผงะไปดานหลังบาง ขางหนาบาง เบาบาง แรงบาง ทั้งนี้
แลวแตสมาธิคลายกับงวงนอน แตไมใชงวงนอน อยางนี้ทานเรียกวา สันตติ
ขาด พระไตรลักษณปรากฏชัด มีหลักสังเกตอยู ๓ ประการ คือ
อาการพอง ยุ บ เร็ ว เขาๆ แล ว สั ป หงกไปอยางนี้ เรี ย กว า อนิ จ จั ง
ปรากฏชัด แต ทุกขัง และอนัตตา ก็มีอยู
อาการพอง ยุบ แผวเบา หรือสม่ําเสมอกันแลว สัปหงกไป อยางนี้
เรียกวา อนัตตาปรากฏชัด แตอนิจจัง ทุกขัง ก็มีอยู
พองยุบ แนน อึดอัด หายใจฝดๆแลวสัปหงกไป อยางนี้เรียกวา ทุก
ขังปรากฏชัดแตอนิจจังและอนัตตาก็มีอยู

๒๗
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ. อานาปานสติภาวนา ลําดับการบรรลุธรรมของ
พระพุทธเจา, หนา ๓๒๓-๓๒๔.
๕๘๓
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
มีอาการเหมือนพอง –ยุบ ปรากฏในลักษณะตางๆ เชน หมุนเปน
วงกลม เปนเสนเคลื่อนไหวไปมา เปนเหมือนคลื่นของน้ํา มีอาการไหลขึ้น
ดานบนลงดานลาง เมื่อเขาไปกําหนดรูอาการเหลานั้นก็หายไปทันที
การกําหนดรู อาการพอง –ยุ บ จะปรากฏเร็ วขึ้นมากจะสามารถ
กําหนดไดเพียงสองระยะ คือ ขณะพองและขณะสุดพอง สวนกลางพองไม
ชัด หรือไมปรากฏชัด อาการยุบก็นัยนี้เชนกัน หรือมีลักษณะไหวตึงเพียง
เล็กนอยเทานั้น
รูสึกตัวมีอาการเตนตามรางกายเปนจุดๆ หรือบางทีเหมือนนั่งในเรือ
ที่มีคลื่นซัดไปมา
เหมือนปรากฏมีอะไรหมุนอยูในทอง๒๘
ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
กําหนดรูรสไดดีขึ้น แตยังไมเห็นอาการดับชัดเจนนักใหกําหนดวา
รส/รูหนอๆ
การกําหนดสภาวะสม่ําเสมอบาง แผวเบาบาง มีอึดอัดแนนขึ้นมาบางให
กําหนดไปตามอาการ
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เวทนา
เวทนาตางๆ หายไปรวดเร็ว คือ กําหนดเพียงครั้งหรือสองครั้งก็หาย
เวทนาจะมีมากในชวงตน แตกําหนดเวทนาดับไปไดใน ๓ ครั้ง หรือ
กําลังจะกําหนดก็ดับไป หายไป แตในบัลลังกนั้นยังกลับมาอีกเรื่อยๆ เมื่อ
กําหนดผานเวทนาแลวจะปรากฏนิมิตโอภาส(แสง) เปนตน
ซูซาตามศรีษะเหมือนผมชูชันรูสึกชาตามหนา ตึงตามศรีษะ บางที
เหมือนรูสึกวาลอยอยูในอากาศคลายลูกโปงที่อัดแก็สแลวลอยลงมากระทบ
พื้น เหมือนนั่งบนฟูกยางที่ฟูขนึ้ นั่งอยูมีอาการใบหนาบิดขวาซาย หรือกมลง
บางทีก็เงยหนาขึ้นสลับกันไป

๒๘
พระมหาณัชพล นราวงษ(ผูเรียบเรียง),คูมือการสอบอารมณสําหรับพระ
วิปสสนาจารย สภาวะของวิปสสนาญาณ ๑๖, (๒๕๕๓), หนา ๓๒๐.
๕๘๔
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต
การกําหนดตอเนื่องกันไปไมขาดสาย ดุจดายสนเข็มฉะนั้น จิตมัก
เพลินไปกับอารมณสมาธิ ทําใหเผลอคิด หรือดับวูบบอยๆ คลายตกเหว หรือ
ตกหลุมอากาศ แตตัวอยูเฉยๆ ไมสัปหงกลงไปดวย๒๙
ไมพยายามคํานึงถึงแสงสวาง ปติ ปสสัทธิ สุข สัทธา แตประการใด
ทั้งสิ้น
รูปปรมัตถไมมีการเคลื่อนยาย เกิดที่ใดก็ยอมดับลงไปที่นั้นทันที
การเกิดดับที่กําหนดอยูนั้น ก็เปนไปอยางแจมชัดยิ่งขึ้น
กําหนดไดสะดวก อารมณที่กําหนดก็ปรากฏเห็นชัด มีใจผองแผวขึ้น
อีกมาก กําหนดอะไรก็มีอาการดับไปอยางรวดเร็วมาก
จิต มีอาการวู บ สัป หงกไปขางหน า ไปขางหลั ง ไปขางๆ เบาบ าง
แรงบางแลวแตสมาธิคลายๆ งวงนอนแตไมใชงวงนอน เรียกวา สันตติขาด
พระไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาปรากฏ เชน (๑) อาการพอง ยุบ
เร็ว เขา แล วสัป งกไปอย างนี้ เรีย กวา อนิ จจัง (๒) อาการพองยุบ แผ วเบา
หรือสม่ําเสมอกันแลวสัปงกไป อยางนี้เรียกวา อนัตตา (๓) พองยุบ แนนอึด
อัดหายใจฝดๆ แลวสัปงกไป อยางนี้เรียกวา ทุกขัง๓๐
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม
วิ ป ส สนู ป กิ เ ลส ๑๐ ๓๑ กํ า หนดหายไปอย า งรวดเร็ ว นิ มิ ต ต า งๆ
หายไปเร็ว กําหนดวา เห็นหนอๆ สั ก ๒-๓ ครั้งก็ห ายไปแสงสวางแจ มใส
คลายไฟฟา
มีความเปนกลางในขณะรับรูอารมณทางทวารทั้ง ๖ ที่เกิดขึ้นจาการ
รับอารมณที่มากระทบที่เปนสันตติ ปจจุบันในรูปนามที่ไมปะปนกันที่ปรากฏ
ในลักษณะของขันธ ๕ ไดอยางชัดเจน ในอากัปกิริยาทางกายที่ตางกัน ใน
๒๙
พระธรรมธีร ราชมหามุ นี (โชดก ญาณสิ ทฺธิ ป.ธ.๙), คูมื อสอบอารมณ
กรรมฐาน, หนา ๖๘-๖๙.(อัดสําเนา).
๓๐
ดูในวิ.มหา. (ไทย) ๔/๒๑/๒๘.
๓๑
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, , ๒๕๕๑), หนา ๑๐๖๑.
๕๘๕
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
อิริยาบถใหญและอิริยาบถยอย อุปมาการเกิดดับเหมือนเมล็ดฝนที่ตกถูกพื้น
แล ว แตกออกจากกั น เวทนา ป จ จุ บั น ทุ กข สุ ข เฉยแตกต างกัน สั ญญา
ปจจุ บัน จํารูป –เสีย งทีละอยาง แตกต างกัน สังขารปจจุ บันเจตสิกที่เกิด
พรอมกับจิต แตกตางกัน เชน ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร ปติ ปสสัทธิ ศรัทธา
สติ วิริยะ สมาธิ ปญญา โลภะ โทสะ โมหะ มานะ อุทธัจจะทิฏฐิ วิจิกิจฉา
เปนตน วิญญาณปจจุบัน รูรูป –รูเสียงทีละอยาง วาแตกตางกัน๓๒
สภาวะญาณชวงนี้จะมากไปดวยสิ่งอัศจรรย แปลกประหลาด ไม
เคยพบ ไมเคยเห็น ทําใหเกิดความประมาทวา “แคนี้ก็พอแลว” หรือบางคน
เกิดจิตสบประมาทวิปสสนาจารยวา “อาจารยคงไมรู ไมเขาใจในสิ่งที่เราพบ
หรอก?” พระวิปสสนาจารยพึงสรางความมั่นใจใหกับโยคีในเรื่องนี้ ดวยการ
เลาประสบการณในการปฏิบัติตอนที่ไดประสบกับนิมิตแสงสีครั้งแรก และ
คําแนะนําที่ไดรับจากวิปสสนาจารย อธิบายความหมาย ของวิปสสนูปกิเลส
ทั้ง ๑๐ ประการ
นิมิตจะสวางกวาญาณที่ ๓ คือ มีแสงจาเหมือนคนเอาสปอรตไลค
มาสองหนา อารมณตางๆ ที่ปรากฏขึ้นมานั้นก็กําหนดไดทันทวงที ไมขาด
สาย รูสึกติดกันๆ ไปเลย สิ่งที่กําหนดนั้นติดกันไป พรอมกันไปทีเดียว และ
สิ่งที่ปรากฏแลวหายไปนั้น จะรูขึ้นตั้งแตเกิด คือขั้นตน จนหายไปเลย อยาง
ที่พูดมานี้เปนอุทยัพพยญาณอยางแก ฯ๓๓
การเจริ ญ ธั ม มานุ ป ส สนานี้ จะเจริ ญ ก็ ต อ เมื่ อ มี ส ภาวะรู ป นามที่
ปรากฏแจมชัดขึ้นมา๓๔ตามกําหนดรูแลว จึงกลับไปกําหนดกายานุปสสนา
อยางเดิม การพิจารณากําหนดรูส ภาวธรรม ตองกําหนดรู ไปตามลําดั บ
ตั้งแตอยางหยาบไป จนถึงอยางละเอียดที่สุด ซึ่งเปนขอปฏิบัติที่ลึกซึ้งกวา

๓๒
พระธรรมธี ร ราชมหามุ นี (โชดก ญาณสิ ท ธิ ป.ธ.๙),คู มื อ สอบอารมณ
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๓, กรุงเทพมหานคร , หนา ๓๒๑-๓๒๒.
๓๓
ดร. พระภัททันตอาสภมหาเถระ อัคคมหากรรมฐานาจริยะ บรรยาย, “การ
สอนวิชาครูครั้งแรกในเมืองไทย”, วิชาครู, หนา ๙๐-๙๔. (อัดสําเนา).
๓๔
ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๑๔/๑๑๑.
๕๘๖
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
การเห็นกาย เวทนา และจิตอยางใด อยางหนึ่งตามที่ไดปฏิบัติมา ใหรูความ
จริงแบบสัจจะคือ อริยสัจ การปฏิบัติไมใชแคใหกําหนด รูเรื่องสภาวธรรมอัน
เปนทุกขทั้งปวงเทานั้น แตตองมีการกําหนดรูทางดับทุกขรวมไวดวย ดังนั้น
สภาวธรรมทั้งปวงในหมวดของธัมมานุปสสนาสติปฏฐานนี้ จําแนกออกได
เปน ๕ หมวด คือ นิวรณ๕ ขันธ ๕ อายตนะ ๑๒ โพชฌงค ๗ และอริยสัจจ
๔ ในตรุ ณ อุ ท ยั พ พยญาณจะมี นิ ว รณ ธ รรมณ เ กิ ด ขึ้ น และเมื่ อ มาถึ ง พลว
อุทยัพพยญาณก็จะบังเกิดนิวรณธรรม เกิดสภาวะของโพชฌงค๗ มาระงับ
นิวรณ และพบอริยสัจจ๔๓๕ตามความเปนจริง
ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในอุทยัพพยญาณ ๓๖
พิจารณาเห็ นรูป -นามเป นไตรลั กษณโดยประจักษ จนอินทรี ยแก
กลา เห็นรูปนามเกิด-ดับเปนภาวนามยปญญา อีกประการหนึ่งญาณในขั้นนี้
จะมากไปดวยวิปสสนูปกิเลส ๑๐
๑) ญาตปริญญา กําหนดรูป-นาม ๓๐% เปนการกําหนดรูขั้นรูจัก
รูป -นามว าเป น ทุกขสั จ เห็ นอาการเกิดขึ้น และอาการที่ตั้ งอยุของรูป นาม
(ขันธ ๕) อันเปนตัวทุกข
๒) ตีรณปริญญา การพิจารณาเหตุปจจัยของรูป-นาม ๓๐ % เปน
การกําหนดรูขั้นรูจักและพิจารณาเห็นในไตรลักษณ โดยภาวนามยปญญา
(ป ญญาที่เ กิด จากการภาวนา)๓๗ ได แกรู ถึงการที่สิ่ งนั้ น ๆ เป นไปตามกฎ
ธรรมดา โดยพิจารณาเห็นความไมเที่ยงเปนทุกข เปนอนัตตาภูมิแหงตีรณ
ปริญญา เริ่มตั้งแตการพิจารณากองสังขาร จนถึงอุทยัพพยานุปสสนา (การ
พิจารณาเห็นความเกิดและความดับ) ปริญญานี้ ก็คือการตามกําหนดอยาง
จดจอตอเนื่องจนแจงสามัญลักษณะของอารมณที่กําหนด เปนการกําหนด
ขั้นรูแจงขันธ ๕ ละจากขันธ ๕ และอริยสัจ ๔ คือ สมุทัย, ตทังคนิโรธ
๓๕
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๒/๓๑๖-๓๑๗.
๓๖
พระสั ทธัมมโชติ กะ ธั มมาจริ ยะ , ปรมั ตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เล ม ๒
วิปสสนากรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๖, ๒๕๕๔), หนา ๑๓๒.
๓๗
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/-/๑/๓๘๐.
๕๘๗
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
๓) ปหานปริญ ญา ละอุป าทานในรูป -นามดว ยการกํ า หนด
พิจ ารณารูป -นาม ๔๐ % เห็น ความดั บไปของสติกําหนดรู ดับไปพรอมกับ
อารมณ นั้ นๆ และสมุ ทยสั จ ถู กละ(ได แก เจตนาที่ ย กจิ ตขึ้ นสู การกํ าหนดรู
อารมณ) พิจารณษเห็นเนืองๆ ในความแปรผันของปจจุบันธรรมทั้งหลาย คือรูป
ที่เกิดแล วเป นป จจุ บันลั กษณะแห งความเกิดของรู ปนั้นเป น อุทยัพ๓๘(ความ
เกิดขึ้น) ลักษณะแหงความแปรผันเปน วยะ๓๙ (ความดับไป) สภาวะนิมิตตางๆ
หายไปเร็ว กําหนดวาเห็นหนอๆๆ สัก ๒-๓ ครั้งก็หายไป แสงสวางแจมใสคลาย
ไฟฟาจัดเปนตทังคนิโรธ
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๕ (ทุกขเวทนา)
๔. ตรุณอุทยัพพย ๑๐ (สุขเวทนา)
๒๐ ๑๐ (จิตกุศล) ๕ (ฟุง-นิวรณ) ๓๕
ญาณ ๑๐ (โสมนัสส)
๕ (อุเบกขา)
๐-๑ (นิวรณ)
๐-๑ (ทุกขเวทนา)
๔ (ขันธ ๕)
๔. พลวอุทยัพพย ๔ (สุขเวทนา)
๒๐ ๑๐ (จิตกุศล) ๒ (อายตนะ) ๔๐
ญาณ ๕ (โสมนัสส)
๒ (โพชฌงค)
๑๐ (อุเบกขา)
๑ (อริยสัจ)
๑. กายานุปสสนา ๒๐% (จากเดิม ๒๐ % ) การกําหนดรูอารมณ
ฐานกาย ตามดูกายดับ ยังไมชัดมากนัก
๒. เวทนานุปสสนา ๒๐% (ทุกขกายแทบไมปรากฎเลย,สุขกายมี
บางนิดหนอย, สวนสุขใจยังคางอยูบานจากญาณกอน ๑๐ % , เห็นอาการ
ดับของรูปทําใหวางอุเบกขาไดมากขึ้น ๑๐ %) มีทุกขเวทนาลดลง ปวดเร็ว
แตดับเร็ว สุขกายมากขึ้น มีโสมนัสเกิดขึ้นบาง กายสบายๆ เฉยๆ มากขึ้น
๓๘
ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๙๒๒-๙๒๔/๗๒๒.
๓๙
องฺ.ปญจก. (ไทย) ๒๒/๓๐๗/๔๐๙.
๕๘๘
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
๓. จิตตานุปสสนา ๑๐ % (กุศลจิต ๑๐% [จากเดิม ๑๐%],) จิต
กุศลมีอาการปติ ซูซาเหมือนเดิม แตมีสติรูเทาทันมากขึ้น
๔.ธัมมานุปสสนา ๑๐ % ( นิวรณ ๕ เกิด-ดับ,มีญาณเห็นอาการ
ทางกายและสภาพเวทนาโดยความเปนขันธ ๕ และ อายตน ๑๒ ไดมากขึ้น
สวนโพชฌงค ๒ % , อริยสัจ ๑ % เริ่มปรากฏ
นิว รณธ รรมเกิดๆ ดั บๆ โพชฌงคเ พิ่งเกิด ๒ % อริย สั จ ๑%
เนื่องจากญาณนี้เริ่มเปนวิปสสนาญาณ จึงเกิดโพธิปกขิยธรรม และเพิ่มสติ
เพงความสนใจไปทีว่ ิถีจิตที่บริกรรมภาวนาเพิ่มขึ้นเปน ๔๐ %
ความสมดุลของพละ ๕ ในอุทยัพพยญาณ
พละทั้ง ๕ นี้ เปนหลักธรรมที่ผูเจริญวิปสสนาพึงรู ศรัทธาตองปรับ
ใหสมดุลกับปญญา วิริยะตองปรับใหสมดุลกับสมาธิ สวนสติพึงเจริญใหมาก
เนื่ อ งเป น หลั ก ที่ มี ส ภาวะปรั บ สมดุ ล ของจิ ต ภายในตั ว เองอยู แ ล ว เป น
หลักธรรมที่คูกับอินทรีย ๕ คือศรัทธินทรีย วิริยินทรีย สตินทรีย สมาธินทรีย
ปญญินทรีย โดยมีความเหมือนความแตกตางและความเกี่ยวเนื่อง คือ พละ
๕ เปนสภาวะที่เกิดขึ้นแกจิตในปจจุบันที่ทําใหเกิดมีขึ้น สวนอินทรีย ๕ ที่
สะสมจนตกผลึก เหมือนกับนิสัยหรือสันดาน เชนผูมีสมาธิทรียมากก็อาจทํา
สมาธิไดงายกวาผูมีนอยกวา ผูมีปญญินทรียมากก็มีปกติเปนคนฉลาด พละ๕
อาจเกิดขึน้ ไดดีและสั่งสมเปนอินทรียไ ว คือ ผูทีบวชประพฤติพรหมจรรย
ในญาณที่ ๔ นี้จะเปนความสมดุลของพละ ๕ คือ
๑) ศรัทธาพละ ความเชื่อ กําลังการควบคุมความสงสัย ความเชื่อ
ทําใหจิตใจผองใส
๒) วิริยะพละ ความเพียร กําลังการควบคุมความเกียจคราน เปน
ความเพียรในการอบรมจิต
๓) สติพละ ความระลึกได กําลังการควบคุมความประมาท การไม
ใสใจ ใจลอย ไรสติ รูสภาวธรรม ตามความเปนจริง
๔) สมาธิพละ กําลังการควบคุมการวอกแวก ฟุงซาน ขาดความตั้ง
มั่นในสภาวธรรมปจจุบัน
๕๘๙
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
๕) ปญญาพละ จิต ที่มีคุณภาพขณิกสมาธิที่มีกําลัง เปรีย บเสมอ
กระจกเงาที่บุคคลขัดสีอยูเสมอ
ศรั ทธาและความเชื่ อ ป ญ ญาความเขา ใจทั้ งสองอย า งนี้ จ ะต อ งมี
ความสมดุลกัน และถามีความเชื่อแตมีไมมีความเขาใจสิ่งที่ตนเองเชื่อถูกตอง
คือ ไมเขาใจในเหตุผลวาสิ่งนี้ควรเชื่อหรือไม ก็จะกลายเปนคนงมงายเชื่อทุก
สิ่งทุกอยางที่ฟงมา บุคคลที่มีปญญาอันเปนการวิเคราะหวิจารณ
อยางมากโดยปราศจากศรัทธาก็มักเปนคนที่ตรึกตรองมากเกินไป
สงผลใหไมเชื่อถือสิ่งใด เพราะฉะนั้นศรัทธากับปญญาจึงตองเทากัน
นอกจากนี้ วิริยะกับสมาธิ ตองเทากันถาความเพียรมากกวาสมาธิ
ยอมสงผลใหฟุงซานแตถาสมาธิมากกวาความเพียร ยอมสงผลใหเกิดความ
งวงเหงาหาวนอน ดังนั้นจึงมีการสอบอารมณในแตละวันเพื่อปรับอินทรีย
ญาณนี้เปนญาณตนจึงจําเปนตองมีศรัทธามากจึงทําใหการปฏิบัติ
ไปไดดี ราบรื่นและพรอมกับตองมีวิริยะเขามาดวยทําใหพากเพียรปฏิบัติ
และดังไดกลาวมาแลววาสวนสติตองมีมากถึงจะดีในญาณนี้ศรัทธามี ๙๐%
และวิริยะ ๙๐% สมาธิ ๘๐% สติ ๘๐%และปญญามี๘๐% และถาสติยิ่งมี
มากยิ่งดีครับสําหรับอุทยัพพยญาณ
ศรัทธากับปญญาสองอยางนี้จะตองมีความสมดุลกัน ถามีความเชื่อ
แตมีไมมีความเขาใจไมมีปญญาสิ่งที่ตนเองเชื่อถูกตอง ไมเขาใจในเหตุผลวา
สิ่งนี้ควรเชื่อหรือไม ก็จะกลายเปนคนงมงาย แตถามีปญญามากวิเคราะห
วิจารณโดยปราศจากศรัทธาก็มักเปนคนที่คิดมากเกินไปจนเกิดความลังเล
สงสัยไปหมด เพราะฉะนั้นศรัทธากับปญญาจึงตองเทากัน
วิริยะกับสมาธิ ตองเสมอกันถาความเพียรมากกวาสมาธิยอมสงผล
ใหฟุงซานแตถาสมาธิมากกวาความเพียร ยอมสงผลใหเกิดความงวงเหงา
หาวนอน ดังนั้นจึงมีการสอบอารมณในแตละวันเพื่อปรับอินทรีย
วิปสสนาญาณ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา
๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐%
ภยญาณ

๕๙๐
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
ญาณนี้เปนญาณตนจึงจําเปนตองมีศรัทธามากจึงทําใหการปฏิบัติ
ไปไดดี ราบรื่นและพรอมกับตองมีวิริยะเขามาดวยทําใหพากเพียรปฏิบัติ
และดังไดกลาวมาแลววา สวนสติตองมีมากถึงจะดีในญาณนี้

ญาณที่ ๕ ภังคญาณ
ญาณรูวาอารมณและจิตที่กําหนดรู ไดดับหายไปพรอมๆ กัน ทุก
ครั้งที่กําหนดนั้น คือเห็นเฉพาะความดับไปของรูป-นามอยูเนื่องๆ โดยสวน
เดียว หรือ ญาณที่ปลอยความเกิดแลวเปนไปในความเสื่อม องคธรรมไดแก
ปญญาเจตสิกที่ในมหากุศลญาณสัมปยุตจิต เมื่อโยคาวจรกําหนดและชั่งใจ
ไตร ตรองในรูป-นามนั้นทั้งหลายว า ไมเ ที่ยงเปน ทุกข และเปนอนัตตาอยู
เสมอๆ วิปสสนาญาณแกกลาขึ้น สภาวะของสังขารทั้งหลายปรากฏรวดเร็ว
มาก ทําใหกําหนดไมทันความเกิดขึ้น ความตั้งอยู ความเปนไป หรือนิมิต
ของสังขารทั้งหลาย สติและวิปสสนาญาณคงกําหนดตั้งมั่นอยูเฉพาะตทังค
นิโรธ คือ ความสิ้นไป ความเสื่อมไป หรือความแตกทําลายไปของสังขารแต
เพียงอยางเดียว๔๐
คัมภี รเ นตติอรรถกถากล าววา “ปญญาที่ห ยั่งเห็น ไตรลักษณของ
วิป ส สนาจิ ตอีกทอดหนึ่ง เรี ย กว า ปฏิ วิ ป ส สนา” และอรรถกถาว า “รู
ปารมฺมณา จิตฺ ตํ อุปฺป ชฺชิ ตฺวา ภิ ชฺช ติ. ตํ อารมฺมณํ ปฏิส งฺขาตสฺส จิตฺ ตสฺ ส
ภงฺคํ อนุปสฺสติ” “จิตมีรูปเปนอารมณเกิดขึ้นแลวยอมดับไป พระโยคาวจร
พิจารณาอารมณนั้นแลว พิจารณาเห็นความดับไปแหงจิตนั้น”๔๑
พิจารณาเห็นการดับไปของรูป-นามโดยสวนเดียว ปลอยความเกิด
แลวเปนไปในความเสื่อม องคธรรมไดแก ปญญาเจตสิกที่ในมหากุศลญาณ
๔๐
พระสัทธัมมโชติ กะ ธั มมาจริยะ , ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒
วิปสสนากรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพ : หจก. ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๕๔), หนา ๑๓๒.
๔๑
ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๕๑-๕๒/๕๙-๖๐, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕๑-๕๒/๘๒-๘๓, พระ
ธรรมบาลเถระ รจนา,คัมภีรเนตติอรรถกถา, ตรวจชําระโดย พระธัมมานันทมหาเถระ
อัครมหาบัณฑิต, แปลและอธิบายโดย พระคันธสาราภิวงศ, (กรุงเทพมหานคร : หาง
หุนสวนจํากัด ซี เอ ไอเซ็นเตอร, ๒๕๕๑), หนา ๕๙๖.
๕๙๑
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
สัมปยุตจิต เมื่อโยคาวจรกําหนดและชั่งใจไตรตรองในรูป-นามนั้นทั้งหลายวา
ไม เ ที่ ย งเป น ทุ ก ข และเป น อนั ต ตาอยู เ สมอๆ วิ ป ส สนาญาณแก ก ล า ขึ้ น
สภาวะของสั งขารทั้งหลายปรากฏรวดเร็ ว มาก ทําใหกําหนดไมทัน ความ
เกิด ขึ้น ความตั้ ง อยู ความเป น ไป หรื อ นิ มิต ของสั งขารทั้งหลาย สติ และ
วิปสสนาญาณคงกําหนดตั้งมั่นอยูเฉพาะนิโรธ คือ ความสิ้นไป ความเสื่อมไป
หรือความแตกทําลายไปของสังขารแตเพียงอยางเดียว๔๒
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
การเดิ น กํ า หนดคล อ งแคล ว และชั ด เจนโดยเฉพาะตอนคํ า ว า
“หนอ” จะรูสึกเทาที่กาวกับจิตที่รู ดับหายไปพรอมกันทุกคําวาหนอ ถาโยคี
มีสมาธิพอประมาณจะเห็นวาอาการเชนนี้ชัดตอนจังหวะที่ ๔ คือ เหยียบ
หนอ บางคนมีอาการเสียวที่เทา หรือมีอาการวูบวาบที่เทาหรือพราๆ ซาๆ ที่
เทาเวลาลงหนอ เนื่องจากการขาดหายไปบอยๆ เชนนี้ จะทําใหโยคีมีอาการ
ตัวโคลงเคลง ขาสั่นกาวไมคอยออก บางครั้งคลายกับมองเห็นพื้นสูงๆ ต่ําๆ
เทาหวิวเบาแกวงเดินตัวลอยๆ เบาๆ ตรงคําวา หนอ จะรูสึกวาสิ่งที่กําหนด
อยูกบั จิตที่รู ดับหายไปพรอมกัน ทันทีทันใด
การเดินจงกรมรูสึกสติหลุดบอยๆ จับเทาไมคอยอยู เพลินไป เผลอ
คิดไป บอยๆ เพราะอาการที่จิตดับไปพรอมอารมณ จิตจึงเกาะอารมณที่เคย
ชิน คือนิวรณ
เพิ่มใหกําหนด ๔ ระยะ เพราะวากําหนดไมคอยจะแจงเหมือนกอน
ขอจําเปนที่สุดในญาณนี้คือ อารมณใดอารมณหนึ่งที่เรากําหนดจะพบหายไป
สิ้นไป เสื่อมไป ศูนยไป จิตที่รูกําหนดก็หายไปพรอมกับอารมณนั้นดวย ที่รู
อารมณและจิตที่กําหนดหายไปๆ พรอมกันอยางนี้เรียกวา ภังคญาณ
กําหนดจนเห็นอาการดับไปของเทาแตละจังหวะ และสังเกตเห็น
อาการดับไปของตัวจิตเองที่เขาไปกําหนดรูอาการดับในจังหวะของเทานั้นๆ
เชน กําหนดยกหนอ ตรงคําวาหนอเทากับจิตรูหายไป รูสึกอีกทีตอนเริ่มยาง
๔๒
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒ วิปสสนา
กรรมฐาน, หนา ๑๓๒.
๕๙๒
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
เปนตน โยคีบางทานอาจมีความสงสัย กําหนด “สงสัยหนอๆๆ” หรือ “งง
หนอๆๆ” จัดอยูในญาณที่ ๕ เห็นความดับของจิตกับอารมณ
เดินจงกรมคลายกับเทาไมมีหรือการกาวยางไมมี มองดูสิ่งใดก็สลัว
ไมชัดเจนเหมือนมีหมอกหรือฝาบาง บดบังอยู
เวลาเดินเหมือนวาขายาวไมเทากันขางหนึ่งยาว ขางหนึ่งสั้น เปนตน
จะรูสึกวา รางกาย หรืออวัยวะหายไปบางสวน หรือทั้งหมด จะ
หายไปสวนใดก็ใหสังเกตดูไป (กําหนดวารูหนอ) หรือสวนใดที่ปรากฏอยูก็ให
กําหนดสวนนั้นอยากังวล
ไมไดใสใจในกระแสของรูปนามที่เกิดขึ้นและตั้งอยู เหมือนสายน้ํา
ไหลไปไมขาดชวง โดยไมใสใจในสัณฐาน เหมือนรูสึกวารางกาย มือเทาไมมี
ปรากฏ
จะรูสึกเหมือนมีขายหรือเสนอะไรเล็กๆ มากระทบตามใบหนา
เวลากําหนดเดินอาการของเทาเหมือนไหลไปเปนคลื่น
เวลากําหนดอาการตางๆ รูสึกวากําหนดไมคอยไดดี ไมมั่นคง ไม
กระชับ
ความกังวลและทอถอยจะเกิดขึ้น เพราะเขาใจวา เรากําหนดไมได
ไมไดใสใจในกระแสของรูปนามที่เกิดขึ้นและตั้งอยู เหมือนสายน้ํา
ไหลไปไมขาดชวง โดยไมใสใจในสัณฐาน เหมือนรูสึกวารางกาย มือเทาไม
ปรากฏมีอยู
จะรูสึกเหมือนมีขาย หรือรูสึกเหมือนเสนอะไรเล็กๆ มากระทบ
ตามใบหนา เหมือนขายแมลงมุมอยางนั้น
เวลากําหนดเดินอาการของเทาเหมือนไหลไปเปนคลื่น
เวลากําหนดอาการตางๆ รูสึกวากําหนดไมคอยไดดีไมมั่นคง ไม
หนักแนน ไมกระชับ เบาๆ บางๆ
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ
ญาณที่ ๔ กับ ๕ เปนวิถีญาณเดียวกันตางตรงสภาวะ คือโยคีกําหนด
พองยุบ เมื่อเห็นตนพอง สุดพอง และตนยุบ สุดยุบชัด แสดงวาอยูในญาณที่
๕๙๓
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
๔ คื อ เห็ น ความเกิ ด ดั บ ของรู ป นาม แต ถ า โยคี เ ห็ น พอง-ยุ บ ชั ด ในระยะ
สุดทายระยะเดียวแสดงวาอยูในญาณที่ ๕ คือเห็นเฉพาะความดับไป หรือ
พอง-ยุบมีอาการไว จนตองกําหนดเพียง “รูหนอๆๆ” เพราะอาการเกิดดับ
ของญาณนี้ไว
โยคีเห็นพอง-ยุบ แลวดับหายไป แตยังมีจิตรูอยู แสดงวาอยูในญาณที่
๔ แตถาโยคีเห็นพอง-ยุบ พรอมกับจิตดับหายไป วูปไป หายไป แสดงวาโยคี
อยูในญาณที่ ๕
พอง-ยุ บ ที่กํา หนดอยู จะเห็ น ได ชั ด เจนตรงคํ าว า หนอ ทองพองที่
กําหนดอยู กับจิตที่รูจะดับหายไปพรอมกันทันทีทันใดทุกคําวา หนอ
พองขึ้นครั้งหนึ่ง หรือยุบลงครั้งหนึ่งจะเห็นการดับการหายเปนหลาย
ตอน เป น ท อ นๆ ทุ ก ระยะที่ ๆ มี อ าการคล า ยสะอื้ น หรื อ พองเป น
กระทอนกระแทน หรือมีอาการวูบวาบเปนระยะๆ
พอง-ยุ บ รู สึ ก ว า ไวๆ ขึ้ น การกํ า หนดจะรู สึ ก วู บ ๆ ซาบไปตามตั ว
คลายๆ กับเอาแหมาครอบศีรษะลง หรือวูบชันขึ้นมาแตปลายเทาก็มี การ
กําหนดบางครั้งรูสึกเบาๆ หางๆ ไป จืดๆ ไป
บางคนวา ในขณะกําหนดดีๆ นั้น บั้นปลายรูสึกจางๆ เบาๆ ไป คลาย
กับวาการกําหนดนั้นไมคอยจะดี
อาการพอง-ยุบเห็นแตขณะที่กําลังหายไป
อาการพอง-ยุ บ หายไปครู ห นึ่ ง แล ว ก็ เ กิ ด ขึ้ น มาใหม แม จิ ต ที่ ค อย
กําหนดอาการพอง-ยุบก็พลอยหายตามไปดวย๔๓
อาการพอง-ยุบยังมีอยูแตตัวตนไมมี
อาการพอง-ยุบอาจหายไปนาน ๒-๓ วันกําหนดอยางไรก็ไมโผลขึ้นมา
บางคนจะพูดวา พองนั้น ตัวพองก็หายไป อารมณที่กําหนดก็หายไป
จิ ต ที่กําหนดก็ห ายไปพร อมกัน ตามลั กษณะของภั งคญาณ อารมณที่เ รา
กําหนด กับจิตที่กําหนดตองหายไปพรอมกัน คลายกับไมไดกําหนดอะไรเลย
อาการพอง–ยุบ กับจิตผูรูหายไปๆ แตผูปฏิบัติจะเห็นวา รูปหายไป

๔๓
ขุ.จู.อ. (ไทย)๖/-/๖๕๑.
๕๙๔
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
กอน จิตหายไปทีหลัง อันที่จริงหายไปพรอมกัน บางคนพอง–ยุบ หายไปไม
นาน บางคนหายไปนานจนเบื่อ ตองใหเดินจงกรมมากๆ๔๔
พอง-ยุบไมเห็นรูปรางสัณฐานทองมีแตอาการตึงๆ กําหนดไมคอยได
ดี เพราะลวงบัญญัติมีแตอารมณปรมัตถ บางครั้งมีแตอาการพอง-ยุบนั้น
หายไปคลายวาไมมี บางคนอาการพอง-ยุบ หายไปไมนาน บางคนหายไป
นาน จนเบื่อก็มีตองใหเดินจงกรมมากขึ้น อาการพอง-ยุบไมชัดเจนทั้ง
ภายนอกและภายใน มีอาการสั่นๆ อาการพอง-ยุบเดี่ยวหาย เดี่ยวเห็น
เวลานั่งกําหนดจะรูสึกวาเอียงๆ ไมตรง มีอาการมืดๆ มัวๆ เมื่อมอง
สิ่งตางๆ
ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
ผู ป ฏิ บั ติ จ ะเห็ น ว ารู ป-นามนั้ น ดั บ ไป จิ ต ดั บ พร อ มกั บ อาการด ว ย
ดับไปอยางรวดเร็วเพราะรูป-นามเกิด-ดับรวดเร็ว ถี่มาก เมื่อญาณแกกล า
ความรู ส ติ ป ญญาแกก ล า เข า ไปทัน กับ รู ป -นามที่ ดั บ เร็ ว มั นก็ เลยเห็ นแต
ดับๆๆๆ เห็นแตฝายดับไป เปนที่นาหวาดกลัวและสะเทือนใจมีจักขุปสาทเปนตน
ซึ่งเปนธรรมภายใน นั้นก็ดับไปๆ นามคือ จิตเจตสิกที่ธรรมภายในอันเปนตัว
รูก็ดับไปๆ เชนเดียวกันปญญารูเห็นวารูป-นามนี้ไมเปนแกนสารหาสาระมิได
*หมายเหตุ มีอาการสัปหงกบอย แกดวยการเพิ่มตนจิต
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา
โยคีนั่งปฏิบัติภายใน ๑ ชั่วโมงไมปรากฏทุกขเวทนาเลย ตลอด ๑ –
๒ วันติดตอกัน หรือกําหนดรูจิตคิดดับไดภายใน ๑-๓ ครั้ง
กําหนดทุกขเวทนาดับไปในบัลลั งกนั้นแลวไมปรากฏอีกเลย ตาง
จากอุทยัพพยญาณที่กําหนดเวทนาดับแตก็จะปรากฏขึ้นใหมในบัลลังก๔๕

๔๔
พระธรรมธี ร ราชมหามุ นี (โชดก ญาณสิ ท ธิ ป.ธ.๙),คู มื อ สอบอารมณ
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๔๑), หนา ๒๖-๒๗.
๕๙๕
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
จะรูสึกเหมือนวาอยูคนเดียวในสถานที่เปลี่ยว หรือนั่งอยูใกลเหว
เขาที่สูงชัน หรือที่สูงๆ
จะรูสึกเหมือนคนตาบอด ตาฟาง ไปชั่วขณะหนึ่ง หรือเหมือนอยูคน
เดียวในหองเล็กๆ มืดๆ เหมือนกลัวแตไมกลัว
จะรูสึกเหมือนอยากจะหนีไปใหพนๆ จากอาการที่เกิดขึ้นอยูที่ไมรู
จะไปไหนดี
จะรูสึกวาเหมือนมีอะไรมาคลุมลงที่ตัว
เมื่อหลับตาจะปรากฏเห็นเปนสีดําเต็มไปหมด
จะรูสึกเหมือนนั่งอยูบนอากาศ
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต
กําหนดจิตดับไปพรอมอารมณที่ปรากฏ ผูปฏิบัติไมเห็นความเกิด
จึงเอาจิตเขาไปกําหนดรูอาการดับ ที่จริงความเกิดยังมีอยู แตผูปฏิบัติไปดูแต
ความดับ เพราะไมเคยเห็นมากอน
ญาณนี้ เรีย กวา ปหานปริญญา จัด เป นชั้น เอกเพราะสามารถละ
วิปลาสไดแลว คือ ละความเห็นวาเที่ยง วาเปนสุข วาเปนตัวเปนตน เห็นวา
สวยวางาม
มีอาการ ชาๆ มืดๆ ไปตามร างกาย เหมือนกับ เราเอาร างแห มา
ครอบ
อารมณกับจิต หายไปพรอมกัน มองดูอะไรคลายกับวาตอนหมอก
ลงในฤดูหนาวสลัวๆ มัวๆ ไมชัดเจนดี
หูอื้อ เหมือนมีอะไรไหลเขาออก ตามัว ๆ ตาเอีย ง มองเห็น ไมชั ด
มองดูอะไรก็ไมคอยมีชีวิตชีวา
มีอาการเผลอบอยๆแลวจิตเกาะกับนิวรณเพราะความดับไปของจิต
กับอารมณ จิตจึงไปเกาะอารมณที่เคยชินคือกิเลส

๔๕
ปฏิสังขาวิปสสนา ไดแก การพิจารณาอารมณแลวเห็นความดับ ; ขุ.ป.อ.
(บาลี) ๑/๕๒/๒๗๙.
๕๙๖
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
พบแตการดับ นิมิต หรืออาการปรากฏรวดเร็ว ตามไมทัน สติตั้งมั่น
อยูในนิโรธ ความสิ้นไป เสื่อมไป เห็นวา “สังขารเกิดขึ้นอยางนี้ แลวดับไป
อยางนี้ เปนธรรมดาเนื่องๆ”
เมื่อกําหนดรูทางทวารทั้ง ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
จะปรากฏความไมตอเนื่องเชน เมื่อกําหนดรูอาการของเสียงจะรูสึกความไม
ตอเนื่องที่ขาดไปเปนชวงๆ ทวารที่เหลือก็ตามนัยนี้
จะรู สึ กว าเหมือ นขาดความจํ า หรื อ คล ายกั บ ว าขาดสติ ชั่ ว ขณะ
เหมือนคนที่จําอะไรไมไดชั่วคราว
สภาวะญาณชวงนี้ เปนเหมือนวาไดบรรลุธรรมแลว สติ สมาธิ
ปญญา เพิ่มพูนแกกลาขึ้นเปนอยางมาก จนรูสึกวา อยากบอก อยากสอน
อยากเทศน อยากสรางสํานักวิปสสนา ขึ้นมาอยางจับใจ บางครั้งนั่งเผลอ
เทศนในใจไปตั้งหลายนาที บางครั้งทั้งๆ ที่รูวากําลังนึกคิดแสดงธรรมอยู ก็
ยังไมอยากที่จะหยุด โยคีบางคนที่ศึกษาปริยัติมากก็จะคิดพิจารณาธรรม ยก
ธรรมหัวขอตางๆ มานั่งคิดพิจารณา จนลืมที่จะกําหนดรูปนามปจจุบัน
-พอถึงตอนนี้ แสงสีเหลานั้น ไมคอยจะปรากฏ ถาหากมี แสงนั้นไม
จาเหมือนกอนๆคลายๆ กับวา เมฆฝนคลื้มมากอนที่ฝนจะตก พอมาถึงภังค
ญาณแลว เราตองแนะนําใหกําหนดใหไดครบถวนตามทวารทั้ง ๖
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม
กําหนดไมคอยไดดี เพราะลวงบัญญัติมีแตอารมณปรมัตถ
เดินจงกรมคลายกับเทาไมมีหรือการกาวยางไมมี มองดูสิ่งใดก็สลัว
ไมชัดเจนเหมือนมีหมอกหรือฝาบาง บดบังอยู
บางคนจะพู ด ว า ขณะที่กํา หนดได ดี ไม มีอะไรเหลื อ หายไปหมด
คลายกับรางกายไมมีวางเปลาไป แตมีจิตผูกําหนดรูอยู

๕๙๗
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
บางคนพูดวา ที่กําหนดไปนั้น เกิดขึ้นมาแลวหายไป สิ้นไป เสื่อมไป
บางครั้งหางไป จนถึงรูสึกวาหายไปเลย วางๆ บางครั้งถึงกับคิดวา เอะ! เหตุ
ไฉนจึงหายไป และการกําหนดก็ไมคอยไดด๔๖ ี
บางคนจะพูดเปนอุปมาวา คลายๆ กับเอาหินกอนเล็กๆ ปาลงไปใน
น้ํ า เพราะที่กํ าหนดนั้ น ปรากฏแล ว หายไปๆ และการกํ าหนดก็ไ ด ดี เมื่ อ
กําหนดกําลังดีอยูเพราะที่มันหายไป เสื่อมไปนั้น รูสึกวาการกําหนดนั้น ไม
คอยไดคลองเทาไรนัก เมื่อการกําหนดจืดไป หางไป
บางที จ ะพู ด ว า กํ า หนดอะไรก็ ต าม รู ว า มี แต ไ ม ชั ด เหมื อ นก อ น
ความรูสึกมีอยูแตไมชัด รูสึกจืดๆ ลงไป การกําหนดดูเหมือนมีทีทาเบาๆ ไป
นั้น การกําหนดดูไมคอยไดเต็มที่ จึงขี้เกียจไปบาง บางทีพักผอนไปเลยก็มี
อยากพักก็มีอารมณที่กําหนดนั้น ใจก็มีอยูแ ตกําหนดไมไดเต็มที่
อารมณที่กําหนดปรากฏไวเหมือนคอยใหมากําหนดอยูกอนแลว
อารมณที่ปรากฏนั้นเลือนราง นับวาตรงกันขามกับเมื่อกอนมาก
การกําหนดรูสึกวาเปนไปอยางเรื่อยๆ เหมือนกับไมมีความหมาย
เสียเลย จนผูปฏิบัติคิดวาการปฏิบัติของตนนั้นเสื่อมถอยลง แตที่จริงสมาธิ
มั่นคงขึ้น
เมื่อกําหนดจนชํานาญและไวตออารมณ ผูปฏิบัติจึงเห็นการเกิดดับ
อารมณกับจิตที่กําหนดยอมดับไปพรอมกัน
การกําหนดไมเกิดการกระชับใจ เพราะระยะแรกของการเกิดนั้น
ชักจะเลือนรางไป สวนระยะสุดทาย อันเปนระยะเสื่อมนั้น ก็จางไป จึงรูสึก
ไมมีเหลือยูเปนชิ้นเปนอัน
บางครั้งอารมณที่กําหนด จิตที่กําหนดมีอยู แตไมชัดเจนเหมือนแต
กอน เลยเขาใจวาเอะ! การกําหนดนี้ไมดีกระมัง อาจจะนึกอยางนี้ก็ได๔๗

๔๖
ความปรากฏ ๓ ประการ ไดแก ความสิ้นไป, ความเสื่อมไป, ความวางเปลา ;
ขุ.ป.อ. (บาลี) ๑/๕๒/๒๘๐.
๔๗
พระธรรมธี ร ราชมหามุ นี (โชดก ญาณสิ ท ธิ ป.ธ.๙),คู มื อ สอบอารมณ
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๓, กรุงเทพมหานคร , ๒๕๔๑), หนา ๒๖-๒๗.
๕๙๘
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
บางครั้งรูสึกวา มีอาการตัวพองใหญเชน มือใหญ ตัวใหญ หนาใหญ
ขาใหญ
อาการพอง–ยุ บ และการั บ รู ทางทวารทั้ง ๖ เมื่อกําหนดมีอาการ
หายไปอย า งรวดเร็ ว เมื่ อ นั่ ง กํ า หนดรู อ ยู จ ะเห็ น อาการดั บ ติ ด ต อ กั น เป น
ระยะๆ บางครั้งเหมือนอยูคนเดียวในสถานที่เปลี่ยว หรือนั่งอยูใกลเหว เขาที่
สูงชัน หรือที่สูง
จะรูสึกเหมือนตาบอด ตาฟาง ไปชั่วขณะหนึ่ง หรือเหมือนอยูคน
เดียวในหองเล็กๆ มืดๆ เหมือนกลัวแตไมกลัว
จะรูสึกเหมือนอยากจะหนีไปใหพนๆ จากอาการที่เกิดขึ้นอยูที่ไมรู
จะไปไหน จะรูสึกวาเหมือนมีอะไรมาคลุมลงที่ตัว
เมื่อหลับตาจะปรากฏเห็นเปนสีดําเต็มไปหมด
มีอาการวูบๆ ไปตามตัว บางครั้งรูสึกวา มีอาการตัวพองใหญมากๆ
เชน มือใหญ ตัวใหญ หนาใหญ ขาใหญ แขนใหญ
อารมณที่เปนบัญญัติถูกเพิกถอนจนหายไปหมด ทําใหเห็นแตอารมณ
ที่เป นปรมั ตถ ล วนๆ ปรากฏขึ้ นมาแทน อี กทั้ งยั งตั ด นิ ว รณ ๕ (กามฉัน ทะ
พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา) ไดอยางสมบูรณ จิตเริ่มแสดง
อารมณปรมัตถแทๆ และเห็นความเปนอนัตตาของจิตชัดเจนขึ้น สติปฏฐาน
เริ่มทํางานไดคลองแคลว และกําหนดทันรูป-นามไดอยางเปนธรรมชาติ โดย
มีเพียงอารมณที่ดับและหายไป อยางไรก็ดีภังคญาณเปนอารมณดับที่มีการ
เกิดอยู ยังไมใชการดับของผลสมาบัติหรือนิโรธสมาบัติ

พิจารณาเห็นนิโรธ รูแจงชัดอริยสัจ ๔
ภังคานุปสสนาญาณ(ที่ ๕) พระสารีบุตรเถระระบุวาเปน "วิปสสนา
ญาณ" เพราะเปนญาณที่เกิดปญญาเห็นความดับที่เปนจุดจบสิ้นของอารมณ
และจิตรู เห็นแตอาการที่สิ่งทั้งหลายดับไป ๆ เห็นวาสิ่งทั้งหลายทั้งปวงลวน
จะตองดับสลายไปทั้งหมด ดังที่ทานอธิบายวา

๕๙๙
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
จิตมีรูปเปนอารมณเกิดขึ้นแลวยอมดับไป พระโยคาวจรพิจารณา
อารมณ นั้นแลวพิจารณาเห็นความดับแหงจิตนั้น พิจารณาเห็นโดยความ
ไมเที่ยง ไมพิจารณาเห็นโดยความเที่ยง พิจารณาเห็น โดยความเปนทุกข
ไมพิจารณาเห็นโดยความเปนสุข พิจารณาเห็นโดยความ เปนอนัตตา ไม
พิ จ ารณาเห็ น โดยความเป น อั ต ตา ย อ มเบื่ อ หน า ย ไม ยิ น ดี ย อ มคลาย
กําหนัด ไมกําหนัด ยอมทําราคะใหดับ ไมใหเกิด ไมยึดถือ
เมื่ อ พิ จ ารณาเห็ น โดยความไม เ ที่ ย ง ย อ มละนิ จ จสั ญ ญาได เมื่ อ
พิจารณาเห็นโดยความเปนทุกข ยอมละสุขสัญญาได เมื่อพิจารณาเห็นโดย
ความเปนอนัต ตา ยอมละอัต ตสัญญาได เมื่อเบื่อหนาย ยอมละนันทิได
เมื่อคลายกําหนัด ยอมละ ราคะได เมื่อทําราคะใหดับ ยอมละสมุทัยได
เมื่อสละคืน ยอมละอาทานะได๔๘
ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในภังคญาณ๔๙
พิจ ารณาเห็ น รู ป -นามเป น ไตรลั ก ษณ โ ดยประจั ก ษ เห็ น รู ป -นาม
พรอมจิตที่เขาไปรูนั้นดับไปพรอมกันดวยภังคญาณ
๑) ญาตปริญญา กําหนดรูป-นาม ๒๐% เปนการกําหนดรูขั้นรูจัก
รูป -นามว าเป น ทุกขสั จ เห็ นอาการเกิดขึ้น และอาการที่ตั้ งอยุของรูป นาม
(ขันธ ๕) อันเปนตัวทุกข
๒) ตีรณปริญญา การพิจารณาเหตุปจจัยของรูป-นาม ๓๐ % เปน
การกําหนดรูขั้นรูจักและพิจารณาเห็นในไตรลักษณ โดยภาวนามยปญญา
(ปญญาที่เกิดจากการภาวนา)๕๐ มาปนอยูดวยจึงเปนนิโรธ
๓) ปหานปริญ ญา กําหนดรูแจงความดับสังขารทั้งปวง ละตัณหา
และทิฏฐิ ได คือแจ งนิ โรธอริ ยสั จ ๕๐ % เห็ น ความไมเกิ ดอีกของทุกขสั จ
ไดแก สติที่เขาไปกําหนดรูดั บไปพรอมกับอารมณนั้ นๆ และสมุทยสัจถูกละ
๔๘
ขุ.ป.(บาลี) ๓๑/๑๑๒/๘๓.
๔๙
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒ วิปสสนา
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร : หจก. ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๕๔), หนา ๑๓๒.
๕๐
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/-/๑/๓๘๐.
๖๐๐
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
(ไดแกเจตนาที่ยกจิตขึ้นสูการกําหนดรูอารมณ) พิจารณษเห็นเนืองๆ ในความ
แปรผันของปจจุบันธรรมทั้งหลาย คือรูปที่เกิดแลวเป นปจจุ บันลักษณะแหง
ความเกิดของรูปนั้นเปน อุทยัพ๕๑(ความเกิดขึ้น) ลักษณะแหงความแปรผันเปน
วยะ๕๒ (ความดับไป) สภาวะนิมิตตางๆ หายไปเร็ว กําหนดวาเห็นหนอๆๆ สัก
๒-๓ ครั้งก็หายไป แสงสวางแจมใสคลายไฟฟาจัดเปนตทังคนิโรธ
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๐-๑ (นิวรณ)
๐-๑ (ทุกขเวทนา)
๔ (ขันธ ๕)
๔. พลวอุทยัพพย ๔ (สุขเวทนา)
๒๐ ๑๐ (จิตกุศล) ๒ (อายตนะ) ๔๐
ญาณ ๕ (โสมนัสส)
๒ (โพชฌงค)
๑๐ (อุเบกขา)
๑ (อริยสัจ)
๕ (ขันธ ๕)
๐-๑ (สุขเวทนา)
๕ (อายตนะ)
๕.ภังคญาณ ๑๐ ๔ (โสมนัสส) ๑๐ (จิตกุศล)
๕ (โพชฌงค)
๕๐
๕ (อุเบกขา)
๕ (อริยสัจ)

๑. กายานุปสสนา ๑๐ % (จากเดิม ๒๐ % ) การกําหนดรูอารมณ


ฐานกายลดลง แตจะเห็นเปนอาการของรูปขันธและอายตนะมากขึ้น พอง-
ยุบแทบไมมี หายไป ดูนั่ง - ถูกก็ไมชัด จึงตองมาสนใจกําหนดอริยาบถทาง
กายมากขึ้น เนนหมวดสัมปชัญญบัพพะและอิริยาปถบัพพะมากขึ้น
๒. เวทนานุปสสนา ๑๐% (ทุกขกายหายไป, สุขกายมีแบบเกิด-ดับ,
มีโสมนัส ๕ % ที่เห็นรูป-นามดับไดดั่งใจ, อุเบกขา ๕ % [จากเดิม ๑๐ %],)
เวทนาที่เปนกาย-ใจลดลง แตจะเเปนเวทนาที่เปนขันธมากขึ้น
๓. จิตตานุปสสนา ๑๐ % (กุศลจิต ๑๐% [จากเดิม ๑๐%],)
๕๑
ขุ.ธ.(ไทย) ๒๕/๙๒๒-๙๒๔/๗๒๒.
๕๒
องฺ.ปญจก.(ไทย) ๒๒/๓๐๗/๔๐๙.
๖๐๑
ขั้นที่ ๓ พิจารณาเห็นความไมเที่ยงของรูปนาม
รูปนาม กายใจมีแตอาการดับหาย จิตเปนอุเบกขา ญาณนี้อารมณ
ดับจะเขาสูอุเบกขา นิ่งไปแปบหนึ่ง กําหนดนิ่งหนอ นั่งหนอ ถูกหนอ ก็ยังไม
พอง จนนานมากเพราะอุเบกขานาน คิดปุบกําหนดดับทันที จิตเฉยทื่อ เฉย
หนอ รูหนอ ถาไมกําหนดความคิดจะเขา แตถาไมเขา จิตจะหลับวูบใหรูวา
เกิดอุเบกขา แตเปนอุเบกขาที่เปนโพชฌงค
๔. ธัมมานุปสสนา ๒๐ % (ขันธ ๕ % ,อายตนะ ๕ %, โพชฌงค ๕
%, อริยสัจ ๕ % [รวมเปนโพธิปกขิยธรรม ๑๐ % จากเดิม ๓ %]) นิวรณ
ธรรมระงับไป
เพงความสนใจไปที่วิ ถีจิ ต ที่บ ริกรรมภาวนา ๕๐ % และใส ใจ
พิจารณาตัวอารมณเทาๆ กับใสใจสติที่เพงพิจารณาอารมณ ๕๐ % เชนกัน
คือ อารมณที่จิตรูกับจิต(ที่อินทรีย ๕ สมดุลย)ที่รูอารมณ ดับลงพรอมๆ กัน
มากขึ้นๆ
ความสมดุลของอินทรีย ๕
วิปสสนาญาณ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา
๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐%
ภังคญาณ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐

เมื่อผูปฏิบัติมาถึงภังคญาณจะเห็นรูปนามที่เกิดดับมากๆ เร็วๆ แต


เห็ น เฉพาะรู ป นามดั บ ไปแตฝ ายเดี ย ว ทําใหมีศรัทธาในการปฏิ บั ติ ๗๐%
เมื่อเกิดความกลัวขึ้นแตก็กําหนดรูรูปนามอยูจึงมีความเพียรหรือวิริยะ ๗๐%
สวนสติในญาณนี้มีประมาณ ๕๐% สติยิ่งมากยิ่งดี แตสมาธิในชวงนี้มี ๘๐%
เพราะไมมีนิวรณมาปะปนอยูกําหนดอะไรก็ดับไปๆ ปญญาที่เกิดจากการ
กําหนดรูสําหรับชวงนี้มีประมาณ ๕๐% เพราะญาณนี้ยังเปนชวงตนๆที่เห็น
สภาวะโดยปรมั ต ถ เด น ชั ด ทางอนิ จ จลั ก ษณะ มี ป ติ สุ ข ที่ เ กิ ด จากญาณ
อุทยัพพยญาณแตก็กําหนดรูดับไวดับเร็ว

๖๐๒
ขั้นที่ ๔ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูป-นาม

พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม เพิ่มการดูอาการของจิตให
เห็นอาการดับไปของจิตอยากนั้นๆ และเพิ่มการกําหนดอิริยาบถยอยมากๆ
ขั้นนี้เขาปหานปริญญา จัดเปนนิโรธอริยสัจและมรรคอริยสัจ กําหนดรูถึงขั้น
ละตัณหาและอุปาทานที่หยาบไดเปนขณะ เพื่อออกจากญาณที่ ๖, ๗, ๘
โดยการดูอาการของตนจิตจนดับ ซึ่งสภาวญาณในขั้นนี้เปนญาณที่เกิดจาก
ผลของภังคญาณ คือความดับไปของอารมณพรอมกับจิตที่รูอารมณ ทําให
เห็นโทษเห็นภัยของรูปนาม อุปมาเหมือนคนที่ไมปรารถนาในบาตรที่มีรูรั่ว
๓ รู ฉันใด การที่ปญญาญาณเห็นรอยรั่วของรูปนามโดยความเปนอนิจจัง
ทุกขัง อนัตตา ยอมสงผลใหเกิดความกลัว เห็นภัย เห็นโทษ และเบื่อหนาย
ในอัตภาพนั้น
การพิจารณาธรรมในขั้นนี้เปนผลจากภังคญาณ ทําใหเกิดปญญา
เห็นโทษเห็นภัยของรูป-นามซึ่ง คือ การที่รูปไมปรากฏชัดแกโยคีหรืออารมณ
ที่เคยกําหนดหายไป จนเห็นเปนภัย บางขณะรูปหายไปหมดเลยมีความรูสึก
ทุกขที่จิตมากเพราะอาการของจิตปรากฏชัดเจน กิเลสอนุสัยปรากฏชัด เห็น
รู ป -นามเป น โทษ เกิด อาการเบื่ อหน าย เซื่อ งๆ ซึม ๆ บางคนรู สึ ก ขี้เ กีย จ
กําหนดอารมณที่กระทบทางทวารทั้ง ๖ จัดเปนสภาวธรรมของบันไดขั้นนี้
วิธีบริกรรมภาวนา : พยายามเพงพิจารณาอาการของอารมณนั้นๆ
โดยไมใหจิตซัดสายไปหาอารมณอื่นๆ แตไมพยายามปดกั้นไมใหอารมณอื่นๆ
แทรกเขามา และหากมีอารมณอื่นๆ แทรกเขามาได ก็ใหเพงรูลงในอาการ
ของอารมณใหมนั้นทันที พรอมๆ กับสังเกตุเห็นอาการของจิตที่จากคลาย
จากอารมณเกากอนหนานั้นไปดวย หลักการสําคัญในการบริกรรมภาวนาใน
ขั้นนี้ ตองพยายามนอมจิตเพงความรูสึกไปที่ตัวอารมณ เพงความสนใจไปที่
วิถีจิตที่บริกรรมภาวนาลดลง ๔๐ % และใสใจพิจารณากาย เวทนา จิต
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ธรรม ๖๐ % แตเนนไปที่สภาพนามธรรมที่เปนอารมณจิต มีนิวรณเกิดดับ
อันเนื่องจากมีจิตเปนอกุศลกับโทมนัสสเวทนา อันเกิดจากสภาพความเบื่อ
หนายในกองสังขาร
ในขั้นนีเ้ มื่อนั่งภาวนา ๑ ชั่วโมงไมมีทุกขเวทนาเลย(เวทนานุปสสนา
สติปฏฐาน) ใหเดินจงกรมและนั่งเทากัน คือ ๑ ชั่วโมง(กายานุปสสนาสติปฏ
ฐาน) ต องกําหนดตน จิตใหได ๗๐-๘๐ % เปนอยางนอย ได แก อยากลุ ก
อยากนั่ง อยากจับ อยากเปด อยากเคี้ยว อยากดื่ม อยากหัน อยากมอง(จิต
ตานุปสสนาสติปฏฐาน)อาการขี้เกียจ เบื่อ เซ็ง จึงจะหายไปได (ธัมมานุปสส
นาสติปฏฐาน) ซึ่งมีรายละเอียดการปฏิบัติ ดังนี้
๑. วิธีกําหนดกราบ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
กราบใหได ๑๐-๑๕ นาทีเปนอยางนอย โดยให เพิ่มการรูตนจิตมาก
ขึ้น เชน กอนพลิกมือ ใหกําหนดรูจิตกอนวา “อยาก พลิกหนอ”กอนพรอม
กับ สังเกตเห็น อาการดั บลงของจิ ต ที่อยากพลิ กนั้น แล ว จึงกําหนด “พลิ ก
หนอๆ” ตอไป เปนตน ซึ่งการกําหนดตนจิตในการกราบสติปฏฐาน พยายาม
กําหนดใหล ะเอียด ได แก อยากพลิก อยากยก อยากขึ้น อยากกม อยาก
เคลื่อน อยากขยับ อยากคว่ํา อยากลง เปนตน และ กําหนดรูอาการ “ถูก
หนอ” ที่มือถูกหนาอก ที่มือถูกพื้น ที่หนาผากถูกพื้น เปนตนและเพิ่มจังหวะ
หยุดเมื่อมีอารมณ อื่นแทรกเขามา กําหนดเทาที่เรารูสึกได ไมตองบังคับจิต
หรือ ไปเพงจองใหเห็นอารมณชัด เพิ่มพูน “สตินทรีย”
มีสติกําหนดรูเพิ่ม ธาตุปรมัตถที่ปรากฏขณะกราบสติปฏฐาน โดย
การกราบควรหลั บ ตา จะสามารถรู อาการธาตุ ที่ ป รากฏกับ ร างกาย เช น
อาการหยอน ตึง ของตัวขณะกมตัวลง หรือ อาการเคลื่อน ไหวของมือขณะ
เคลื่อน บางทีก็รูสึกถึงการพลิ้วเปนระลอกของมือที่ยกขึ้นลง ใหกําหนดตาม
อาการตึงหนอ ไหวหนอ เคลื่อนหนอ เหลานี้เปนลักษณะของวาโยธาตุ(ธาตุ
ลม) ที่ปรากฏภายในรางกาย หรือ ขณะกราบหรือรูสึกมีลมพัดมากระทบ ให
กําหนด รูหนอ เย็น หนอ สบายหนอ เป นตน สวนการพิจารณาธาตุทั้ง ๔
ไดแก ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุลม ธาตุไฟ พระพุทธเจาใหพิจารณาเห็นวาโยธาตุ
๖๐๔
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ทั้งภายในและภายนอกก็เปนแตสักวาวาโยธาตุเทานั้นนั่นไมใชของเรา เมื่อ
ปญญาเห็นตามความเปนจริงจิตยอมเบื่อหนายคลายกําหนัดในวาโยธาตุ๑
เพิ่มพูน“ปญญินทรีย”การกราบสติปฎฐาน ๔ ขณะที่กราบใหนอมระลึกคุณ
ของพระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ เปนการเพิ่ม “ศรัทธินทรีย”
หลั ก สํ า คั ญ คื อ ต อ งกํ า หนดเห็ น อาการจิ ต จริ ง ๆ ก อ น เห็ น จิ ต
ปรารถนากอน แลวบริกรรมตามอาการจิตนั้น หรือพรอมกัน (อยาก...หนอ)
๒. วิธีเดินจงกรม แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
ยืนกําหนด : กําหนดใหรูเทาทันจิตที่คิดจะยืน “อยากยืนหนอ”
หรือ “อยากลุกหนอ”กอนลุกขึ้นยืนทุกครั้ง ซึ่งการกําหนดตนจิตในบันไดขั้น
นี้ ไมใชการทอง แตจะตองตามดูรูจิตที่อยากลุกเกิดขึ้น โดยไมบังคับจิต แค
เพียงเฝาตามรูอยู จนเห็นอาการของจิตที่อยากลุกชัดเจนขึ้นแลวดับลง
จากนั้นจึงคอยตามรูกายที่ขยับตัวลุกขึ้น พรอมกําหนดตามอาการ โดยจิต
รับรูสภาวะของกายที่ หนัก เบา ในขณะที่ยืดตัวลุกขึ้นดวย พรอมกับกําหนด
ตาม “ลุกหนอ” “หนักหนอ”“ลุกหนอ”“ตึงหนอ”“ไหวหนอ” เปนตน
ในขณะยืน หากมีสภาวะอื่นแทรกซอนเขามา บางคนอาจมีอาการ
มึน หรือ โคลง ก็ใหกําหนด “ยืนหนอ”“มีนหนอ” หรือถามีเสียงมาปรากฏ
หรือลมพัดมาถูกกาย ก็กําหนด “ยืนหนอ” “ไดยินหนอ’ “เย็นหนอ”กําหนด
อาการนั้ น จนกว า จะดับ ไปเสี ย กอ น แล ว จึ งเริ่ ม เดิ น การมีส ติ กํ าหนดทั น
สภาวะที่แทรกมาจัดเปน “สตินทรีย” และการเห็นอาการดับไปของอารมณ
แทรก บางครัง้ จิตก็ดับไปจากอารมณ นี้เปน “ปญญินทรีย”
ในขณะกําหนดยืน เพิ่มการกําหนดเห็น อาการดับ ของจิตที่ดับไป
พรอมกับความรูสึกยืนดวย คือ จิตดับไปพรอมกับคําบริกรรมวา “ยืนหนอ”
นั้นๆ การเห็นจิตที่ดับไปพรอมความรูสึกนี้ เปนตัวปญญาบางครั้งรูสึกปวด
หรือมึนงง ก็ใหยนื กําหนดจนอาการเบาลงกอน


องฺ.จตุกก. (ไทย) ๒๑/๑๗๗/๒๔๙.
๖๐๕
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
เดินจงกรม : จังหวะที่ ๑-๓ ใหเพิ่มตนจิตในทุกๆ กาว คือ ใหตัดคํา
บัญญัติ “ขวา-ซาย” ออกไป กําหนดรูจิตคิดจะยางกอนยางเทาทุกๆ กาว ไม
เดินยกสนเพราะจะเปนการพักสภาวะ ทําใหวิริยะออน ระยะการยางไมยาว
เกินไปใหพอดี วางแลวไมรูสึกวาเกร็ง
ระยะที่ ๑ ขวายางหนอ-ซายยางหนอ เปลี่ยนเปน รูจิตที่คิดจะยาง
กอนวา “อยากยางหนอ” แลวกําหนดรูอาการยางไปของเทาวา “ยางหนอ”
(กําหนดรู ๑ อาการ) ตัดคําบริกรรมวา “ขวา-ซาย” ขณะยางไปใหจิตตามรู
อาการเคลื่อนไปจนวางเทา ชวงตน-กลาง-ปลาย ของการเคลื่อนแตละกาว
ระยะที่ ๒ ยกหนอ-เหยียบหนอ (กําหนดรู ๒ อาการ)
เพิ่มการรูจิตที่คิดจะยก-คิดจะเหยียบ กอนยก กอนเหยียบ ทุกครั้ง
วา “อยากยกหนอ-ยกหนอ” ขณะ“ยกหนอ” ตองใหจิตรูที่อาการเคลื่อนไหว
ของเทาที่กําลังยกขึ้นจากลางขึ้นบน “อยากเหยียบหนอ-เหยียบหนอ” ขณะ
เหยียบหนอตองใหจิตรูที่อาการเคลื่อนไหวที่กําลังเหยียบลง จากบนลงลาง
จนกระทั่ ง เท า วางถู ก พื้ น เมื่ อ จิ ต จดจ อ อย า งต อ เนื่ อ งจะสามารถแยก
“บัญญัติ-ปรมัตถ” ไดชัดเจน
ระยะที่ ๓ ยกหนอ-ยางหนอ-เหยียบหนอ เปลี่ยนเปน
รูจิตที่คิดจะ ยก คิด จะยาง คิดจะเหยี ยบ กอนยก กอนยาง กอน
เหยี ย บทุกครั้ง ว า “อยากยกหนอ-ยกหนอ” “อยากยางหนอ-ย างหนอ”
ขณะ“ย างหนอ” ต องใหจิ ต รู ที่อาการเคลื่ อนไหวของเทาจากด านหลั งไป
ดานหนาแลวนิ่ง จึงกําหนด“อยากเหยียบหนอ- เหยียบหนอ”
ระยะที่ ๔ ยกสนหนอ-ยกหนอ-ยางหนอ-เหยียบหนอ
รูจิตที่คิดจะยกสน คิด จะยก คิดจะยาง คิด จะเหยียบ กอนยกส น
กอ นยก ก อ นย า ง ก อ นเหยี ย บ..ทุ ก ครั้ ง แต ไ ม ต อ งบริ ก รรมสํ า ทั บ จิ ต นั้ น
เพียงแตใหรูชัดลงไปในจิตที่ปรารถนานั้นๆแลวบริกรรมรูการยกสน การยก
การยาง การเหยียบ อยางชาๆ ชาที่สุดเทาที่จะชาได คือ “ยกสนหนอ” “ยก
หนอ” “ยางหนอ” “เหยียบหนอ” ตรงจังหวะเหยียบใหชาเปน พิเศษ และ
เปนการเหยียบเทน้ําหนักของรางกายลงทั้งตัว จนกายที่เหยียบ นิ่งสนิทกอน
จึงจะกาวเทาอีกขางหนึ่งตอไป
๖๐๖
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ระยะที่ ๕ ยกสนหนอ-ยกหนอ-ยางหนอ-ลงหนอ-ถูกหนอ
รูจิตที่คิดจะยกสน คิดจะยก คิดจะยาง คิดจะลง ใหเคลื่อนเทาลงมา
เล็กนอยแตยังไมถูกพื้น และ คิดจะเคลื่อนเทาถูกพื้นทั้งฝาเทา กอนยกสน
กอนยก กอนยาง กอนลง กอนถูก..ทุกครั้งแตไมตองบริกรรมสําทับ จิตนั้น
เพีย งแต ให รู ชั ด ลงไปในจิ ต ที่ป รารถนานั้ น ๆแล ว บริ กรรมรู จิ ต คือ “ยกส น
หนอ” “ยกหนอ” “ยางหนอ”“ลงหนอ”“ถูกหนอ”จนกายที่เหยียบ นิ่งสนิท
กอน จึงจะกาวเทาอีกขางหนึ่งตอไป
ระยะที่ ๖ ยกสนหนอ-ยกหนอ-ยางหนอ-ลงหนอ-ถูกหนอ-กดหนอ
รูจิตที่คิดจะยกสน คิดจะยก คิดจะยาง คิดจะลงโดยใหเคลื่อนเทา
ลงมาเล็กนอยแตยังไมถูกพื้น คิดจะเคลื่อนปลายเทาถูกพื้น และ คิดจะกดสน
เทาลง ใหฝาเทาแนบกับพื้น กอนยกสน กอนยก กอนยาง กอนลง กอนถูก
กอนกด..ทุกครั้งแตไมตองบริกรรมสําทับ จิตนั้น เพียงแตใหรูชัดลงไปในจิตที่
ปรารถนานั้นๆแลวบริกรรมรูจิตคือ “ยกสนหนอ” “ยกหนอ” “ยางหนอ”
“ลงหนอ”“ถูกหนอ”“กดหนอ” จังหวะกดฝาเทาแนบกับพื้น กายนิ่ง สังเกต
อาการที่ปรากฏ เย็น รอน ออน แข็ง หยอน ตึง เหนียว ลื่น แลวกําหนดรู
ตามจริง ซึ่งเปนอาการธาตุ“แข็งหนอ”“เย็นหนอ”
จังหวะที่ ๔-๖ ไมตองใสตนจิต เพราะการบริกรรมยาวนานอาจทํา
ใหจิตรับรูแตคําบัญญัติตลอดเวลาไมอาจรับรูสภาวธรรมได เพราะในแตละ
ขณะจิตรับรูไดเพียงอารมณเดียว๒กําหนดจนเห็นอาการดับไปของเทาแตละ
จังหวะสังเกตจิตรูที่ดับไปพรอมกับอารมณที่ถูกกําหนดนั้น หากเห็นอาการ
ดับของจิตชัดเจน ใหกําหนดรูวา ”ดับหนอ”หรือ “รูหนอ” และ ในการกาว
เดิ น ไปห อ งน้ํ า เดิ น กลั บ ที่ พั ก ก็ ใ ห กํ า หนด “ย า ง..เหยี ย บ” หรื อ “ยก...
เหยียบ” ทัง้ วันเพิ่มพูน “วิริยินทรีย”นอกบัลลังก
ในขณะกําหนดจนเห็ นอาการดับ ไปของเทาแตล ะจังหวะ ให เพิ่ม
สังเกตุเห็นอาการดับไปของตัวจิตเองที่เขาไปกําหนดรูอาการดับในจังหวะ


พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปสสนานัย เลม ๒, (กรุงเทพมหานคร:
หจก. ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๕), หนา ๗.
๖๐๗
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ของเทานั้ น ๆ ดว ย คือที่ดั บ ไปพร อมกับอารมณที่ถูกกําหนดนั้ น หากเห็ น
อาการดับของจิตนั้นชัดเจน ใหกําหนดรูวา “รูหนอ”ดวย๓

๓. วิธีกําหนดรูพอง-ยุบ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
นั่งภาวนาเพียง ๑ ชั่วโมงเทานั้นหามเกิน เพราะจะทําใหสมาธิมาก
เกินกําหนดรูจิตที่คิดจะนั่ง กอนขยับตัวลงนั่งทุกครั้ง “อยากนั่งหนอ” แลว
จึงคอยๆ ยอตัวนั่งลง พรอมกับบริกรรมวา “ลงหนอ” ถาสังเกตเห็นอาการ
ธาตุที่ปรากฏขณะเคลื่อนตัวลงนั่ง เชน ตึง หนัก เคลื่อน ไหว ก็กําหนดรู"ลง
หนอ-ตึงหนอ" "ลงหนอ-หนักหนอ" ตามอาการถาเห็นแสงสวาง(ที่ไมใชแสงสี)
ใหกําหนดจนกวาจะดับ แตถากําหนด กวา ๑๐ นาทีแลวยังไมดับ ใหทําเปน
ไมใสใจ แลวไปกําหนดอารมณอื่นๆ ที่ปรากฏชัดตอไป ตองกําหนดจนเห็น
อาการดับของทุกสภาวะที่จิตเขาไปรูบ างครั้งอารมณดับไปจากจิต บางครั้ง
จิตดับไปจากอารมณและกําหนดเห็นการดับของตัวจิตเอง ที่เขาไปกําหนดรู
อารมณ ตางๆ ได ๑-๓ ขณะจิต กอนที่จะดับสิ้นลงทั้งของอารมณที่จิตเขาไป
รูและของจิตที่เขาไปรูอ ารมณ๔
โยคี บ างคน พอง-ยุ บ ยาวแผ ว เบา มี จั ง หวะหยุ ด ระหว า ง พอง-
ระหวางยุบ จนทําใหเกิดอาการจิตวูบ สัปหงกหรือเผลอคิดบอย จนเบื่อ และ
เซ็ง โยคีพึงปฏิบัติ ดังนี้
๑. จังหวะหยุดระหวางพองกับยุบ ใหเพิ่มจิตรูลงไปในอาการนั้น คือ
บริกรรมไปตามอาการวา “พองหนอ-รูหนอ” “ยุบหนอ-รูหนอ”
๒. จังหวะหยุดระหวางพอง-ยุบ นานขึ้นกวานั้น ในระหวางที่หยุด
ใหสงจิตไปกําหนดรูอาการนั่ง ตั้งแตศีรษะจนถึงเทารวดเดียว คือ บริกรรม
ตามอาการวา “พองหนอ-นั่งหนอ” “ยุบหนอ-นั่งหนอ”

ปญญาในการพิจารณาอารมณแลวพิจารณาเห็นความดับ ชื่อวาวิปสสนาญาณ
(ญาณที่พิจารณาเห็นความดับ) ; ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/๗/๒.

พระภาวนาพิ ศ าลเมธี วิ . , เอกสารประกอบการสอน รายวิ ช าสั ม มนา
วิปสสนา, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ศูนยบัณฑิตวิทยา
เขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม,๒๕๕๕), หนา๓๖๘.
๖๐๘
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
โยคีบางคนพอง-ยุบชัดเจนมาก เห็นตน เห็นปลายชัด แตบางครั้ง
พอง-ยุบถี่ๆ เร็วๆ ขึ้นมา แลวนิ่งหายไปเปนพักๆ พึงปฏิบัติ ดังนี้
๑) ถาอาการพอง-ยุบเร็ว จนกําหนดไมทัน ใหกําหนดเพียงวา
“พอง-ยุบๆๆๆ”ไมตองมี “หนอ”ตอทาย
๒) ถาอาการพอง-ยุบถี่มาก จนจับพอง จับยุบไมทัน ใหกําหนดวา
“รูหนอๆๆๆ”
๓) ถาอาการพอง-ยุบถี่รัว จนกําหนดไมทัน ก็ใหตามรูไปกับอาการ
นั้น ถารูสึกเสียว รูสึกกลัวก็ใหกําหนด “เสียวหนอ “กลัวหนอ”ไปตามอาการ
นั้นดวย บางครั้งรูสึกงง เควงควาง ก็ใหกําหนด “งงหนอๆ”จนกวาจะหายงง

๔. วิธีกําหนดรูอิริยาบถ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
อิริยาบถตื่นนอน : พยายามกําหนดจิตขณะตื่นใหไดทุกๆ ครั้ง
โดยเฉพาะจิตที่อยากเปดตา ,อยากพลิกตัวขณะตื่นนอน “อยากพลิกหนอ”
พรอมกับ สังเกตเห็นอาการดับลงของจิตที่อยากพลิก เปน“ปญญินทรีย ”
แลวจึงคอยพลิกตัวลุกขึ้นนั่ง “พลิกหนอๆ” “ลุกหนอๆ”
เดินเขาหองน้ํา “ยก-ยาง-เหยียบ” ขณะเปดประตูหองน้ํา กําหนด
จิตคิดจะเปดกอน“อยากเปดหนอ” แลวกําหนดอาการเคลื่อนไหวของมือ
“ยกหนอๆถูกหนอ จับหนอ บิดหนอ เปดหนอ”
อิริยาบถฉัน : เคลื่อนไหวอิริยาบถในขณะฉัน ทีละ ๑ อิริยาบถ เชน
กําหนดรูทันจิตอยากจับทันกอนจับ และ ขยับมือทีละขาง ถามือยังขยับอยู
ใหอมคําขาวไวกอน อยาพึ่งเคี้ยวกายตองนิ่งกอน จึงกําหนด “อยากเคี้ยว”
ทันกอนเคี้ยวทุกครั้ง ในขณะเคี้ยวใหสังเกตถึงความหนักเบาของแรงเคี้ยว
ดวยกําหนดเคี้ยวจนจืดสนิทกอน จึงกําหนดกลืนใหไดทุกคํากลืนและกําหนด
ฉันใหได ๕๐-๖๐ นาที เปนอยางนอย
อิริยาบถนอน : กําหนดเพียงรูปนอนเทา นั้น “นอนหนอ” ถา
กําหนดกว า ๓๐ นาทีแล วยั งไมหลั บ ใหเ พงรู ไปที่อาการไมห ลั บ นั้น พร อม
บริกรรมวา “ไมหลับหนอ” จนกวาจะหลับไปเอง หรือเปลี่ยนบทกรรมฐาน
เปนเมตตาภาวนา โดยการ กําหนดตั้งแตศีรษะ คือ เสนผม ไลลงมาเรื่อยๆ
๖๐๙
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ตั้งแตหนาผาก คิ้ว ตา จมูก ปาก คาง หนาอก หนาทอง ฝามือ แขงขา ฝา
เทา โดยการบริกรรมตามไปวา “ขอใหมีความสุข ขอใหพนจากทุกข” ทั้งขึ้น
ทั้งลง จนกวาจะหลับ และ กําหนดจนรูใหไดวาหลับตอนพอง หรือตอนยุบ
บัน ไดขั้น ที่ ๔ นี้ ต น จิ ต มีความสํ าคัญมากต องกําหนดให ได ๗๐-
๘๐% เนื่องจากชวยปรับสมดุลใหสติมีความวองไวเทาทันจิต สามารถกําหนด
รูอาการของจิตไดทัน โดยตนจิตที่ตองกําหนด สามารถแบงตาม หมวดกายา
นุปสสนาสติปฎฐาน ดังนี้
อิริ ย าบถใหญ ๔ ได แก อยากยื น อยากลุ ก อยากเดิ น อยากกลั บ
อยากนั่ง อยากนอน
อิริยาบถยอย ไดแก กาว-ถอย แล-เหลียว คู-เหยียด ทรงผา-บาตร-
จีวร ฉัน-ดื่ม-เคี้ยว-ลิ้ม ขับถาย๕ การกําหนด คือ อยากจับ อยากเปด อยาก
หัน อยากมอง อยากเคี้ยว อยากดื่ม
โดยเฉพาะตนจิตที่ตองทําใหได ๙๐-๑๐๐% ไดแก อยากลุก อยาก
นั่ง อยากจับ อยากเปด

๕. วิธีเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน
โยคีนั่งปฏิบัติภายใน ๑ ชั่วโมงไมปรากฏทุกขเวทนาเลย ปรากฏแต
สุขเวทนา ซ้ําๆ ซากๆ ใหเดินจงกรมและนั่งเทากัน ตองกําหนดตนจิตใหได
๗๐-๘๐ % เปนอยางนอย (อยากลุก อยากนั่ง อยากจับ อยากเปด อยาก
เคี้ยว อยากดื่ม อยากหัน อยากมอง) อาการขี้เกียจ เบื่อ เซ็ง จึงจะหายไปได
อนึ่ง ขณะกราบใหพิจารณาดูอาการเกิด-ดับของเวทนา ไปดวย
๖. วิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน
ขณะเดินจงกรม กําหนดจนเห็นอาการดับไปของเทาแตละจังหวะ
ใหเพิ่มสังเกตเห็นอาการดับไปของตัวจิตเองที่เขาไปกําหนดรูอาการดับใน

พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), มหาสติปฏฐานสูตร ทางสูพระนิพพาน,
(กรุงเทพมหานคร: หจก. ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๕), หนา ๑๐๘.
๖๑๐
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
จังหวะของเทานั้นๆ ดวย คือที่ดับไปพรอมกับอารมณที่ถูกกําหนดนั้น หาก
เห็นอาการดับของจิตนั้นชัดเจน ใหกําหนดรูวา “รูหนอ”ดวย๖
หากนั่งตัวคดตัวงอ เมื่อกําหนดทุกขเวทนาดับไดแลว ก็จะเห็นพอง
ยุบชัดขึ้น รูสึกกําหนดงาย กําหนดสบาย จนเพลิน แตพอวันตอมาพอง-ยุบ
กลับนิ่งๆ เบาๆ โยคีบางคนเกิดนิกันติ อยากใหพอง-ยุบชัด เหมือนวันกอนๆ
จึงสูดลมหายใจเสริ มพอง-ยุ บใหชั ดขึ้น การพยายามเสริมหรือแตงอาการ
พอง-ยุบเปนไปดวยอํานาจอัตตา บังคับบัญชาสภาวะใหเปนไปดั่งใจตองการ
(ซึ่งไมถูกตอง) เมื่อจิตเหนื่อยลาจากการพยายามนั้น กายก็เหนื่อยลาไปดวย
ทําใหสติหลุดไป ลําตัวก็คอยๆ งอโคงลง รูสึกเบื่อเซ็ง ไมไดดั่งใจ ฉะนั้น ให
กําหนดพอง-ยุบไปตามความเปนจริง อยาแตงพองยุบใหผิดธรรมชาติ ถา
พองยุบไมชัดก็กําหนดวา “ไมชัดหนอ-รูหนอ” รูสึกเบื่อเซ็งก็กําหนด ตาม
อาการวา “เบื่อหนอๆ” “เซ็งหนอๆ” ตามความรูสึกที่เกิดขึ้น
โยคีนั่งภาวนาเพียง ๑ ชั่วโมงเทานั้น ...หามเกินกําหนดรูจิตที่คิดจะ
นั่ง กอนขยับตัวลงนั่งทุกครั้ง“อยากนั่งหนอ”แลวจึงคอยๆ ยอตัวนั่งลงพรอม
กับบริกรรมวา “ลงหนอๆๆๆ” บริกรรมภาวนาไปตามอาการที่เกิดขึ้นจริง
ในขณะปจจุบัน อยูตลอดเวลา ถาเห็นแสงสวาง(ที่ไมใชแสงสี) ใหกําหนด
จนกวาจะดับ แตถากําหนดกวา ๑๐ นาทีแลวยั งไมดับ ใหทําเปนไมใสใจ
แลวไปกําหนดอารมณอื่นๆ ที่ปรากฏชัดตอไปตองกําหนดจนเห็นอาการดับ
ของทุกสภาวะที่จิตเขาไปรู บางครั้งอารมณดับไปจากจิตบางครั้งจิตดับไป
จากอารมณ และกํา หนดเห็ น อาการดั บ ของตั ว จิ ต เอง ที่ เ ขา ไปกํา หนดรู
อารมณตางๆ ได ๑-๓ ขณะจิต กอนที่จะดับสิน้ ลงทั้งของอารมณที่จิตเขาไปรู
และของจิตที่เขาไปรูอารมณ
เมื่อญาณปญญาพัฒนาไปตามลําดับ อาการพอง-อาการยุบปรากฏ
นอยลง บางครั้งนิ่งหายไปเปนพักๆ และจะนิ่งหายไปนานขึ้นๆ หรือสําหรับ
บางคนปรากฏแตอาการพองอาการยุบไมปรากฏ บางคนปรากฏแตยุบ พอง

ปญญาในการพิจารณาอารมณแลวพิจารณาเห็นความดับ ชื่อวาวิปสสนา
ญาณ (ญาณที่พิจารณาเห็นความดับ) ; ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/๗/๒.
๖๑๑
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ไมปรากฏ ก็ใหกําหนดไปตามที่ปรากฏนั้ น หากพอง-ยุบยังไมปรากฏก็ให
กําหนดนั่งหนอ,ถูกหนอ สลับจุดไปเรื่อยๆ คือ ที่มือถูกกัน, ที่กนยอยขวา, ที่
กนยอยซาย จนกวาพอง-ยุบจะกลับมาเอง
ดังนั้น การกําหนดในขั้นที่ ๔ เปนไปเพื่อการกาวพนสภาวธรรมที่
เบื่ อ หน า ยให ไ ด ไ วที่ สุ ด โดยการเน น กํ า หนดดู อ าการของต น จิ ต ซึ่ ง พระ
อาจารยจะแสดงเรื่องจิตตานุปสสนาสติปฏฐานแกโยคีเพื่อใหเขาใจและรู
กําหนด โดยการกําหนดในขั้นนี้จะมีสภาวธรรมปรากฏ ดังตอไปนี้
๗. วิธีเจริญธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน
ขั้น นี้ นอกจากจะไมป รากฏทุกขเวทนาแล ว บางคนพองยุ บ ก็ไ ม
ปรากฏ แตจะมีนิวรณกลับปรากฏชัดขึ้น นิวรณ คือ เครื่องกั้นศักยภาพของ
จิตไมใหบําเพ็ญกุศลขั้นสูง มี ๕ ประการ คือ
๑. กามฉัน ทะ คือ ความยิ นดีพอใจในกาม เชน เพลิน เพลิน เบา
สบาย สุข มีสภาพปรุงแตงดวยอารมณตางๆ เหมือนน้ําที่ผสมดวยสีตางๆ ให
กําหนดตามอาการ"เพลินหนอ" "ชอบหนอ" เมื่อตามเห็นอาการนั้นดับลง ให
กําหนด "รูหนอ"
๒. พยาบาท คือ ความไมพอใจ หงุดหงิด ขุนเคือง คิดราย เหมือน
น้ําที่กําลังเดือดพลานใหกําหนด "โกรธหนอ" "ขัดเคืองหนอ""หงุดหงิดหนอ"
เมื่อตามเห็นอาการนั้นดับลง ใหกําหนด "รูหนอ"
๓. ถีนมิทธะ คือ ความงวงซึมเซา หดหู เหมือนน้ําที่มีจอกแหนปก
คลุม ใหกําหนดวา "งวงหนอ" "ซึมหนอ" เมื่อตามเห็นอาการนั้นดับลง ให
กําหนด "รูหนอ"
๔. อุทธัจจกุกกุจจะ คือ ความฟุงซานเดือดรอนใจ เบื่อ เซ็ง เหมือน
น้ําที่ถูกลมพัดเปนระลอกคลื่น ใหกําหนดวา "ฟุงหนอๆ" "เบื่อหนอๆ" เห็น
อาการนั้นดับลง ใหกําหนด "รูหนอ"
๕. วิจิกิจฉา คือ ความลังเลสงสัย ในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ
แนวการปฏิ บั ติ ครู บ าอาจารย เหมื อนน้ํ าที่ ว างในที่มื ด ผสมโคลนตม ให
กําหนดวา "สงสัยหนอๆ" "ลังเลหนอๆ" เมื่อตามเห็นอาการนั้นดับลง ให
๖๑๒
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม

กําหนด "รูหนอ"
การกํ า หนดในขั้ น ที่ ๔ เป น ไปเพื่ อ การก า วพ น สภาวธรรมที่ เ บื่ อ
หนายใหไดไวที่สุด โดยการเนนกําหนดดูอาการของตนจิต ซึ่งพระอาจารยจะ
แสดงเรื่องจิตตานุปสสนาสติปฏฐานแกโยคีเพื่อใหเขาใจและรูกําหนด โดย
การกําหนดในขั้นนี้จะมีสภาวธรรมปรากฏ
กําหนดรูเห็นความทุกขของรูป-นาม ตองเพิ่มตนจิต ดูอาการของจิต
ใหเห็นอาการดับไปของจิตอยากนั้นๆ เพิ่มกําหนดอิริยาบถยอยมากๆ ขั้นนี้
เขาปหานปริญญา จัดเปนนิโรธอริยสัจและมรรคอริยสัจ กําหนดรูถึงขั้นละ
การกําหนดเพื่อออกจากญาณที่ ๖, ๗, ๘ โดยการดูอาการของตนจิตจนดับ
ซึ่งสภาวญาณในขั้นนี้เปนญาณที่เกิดจากผลของภังคญาณ คือความดับไป
ของอารมณพรอมกับจิตที่รูอารมณ ทําใหเห็นโทษเห็นภัยของรูป-นาม อุปมา
เหมือนคนที่ไมปรารถนาในบาตรที่มีรูรั่ว ๓ รู ฉันใด การที่ปญญาญาณเห็น
รอยรั่วของรูป-นามโดยความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ยอมสงผลใหเกิด
ความกลัว เห็นภัย เห็นโทษ และเบื่อหนายในอัตภาพนั้น
เมื่อวิปสสนาญานสูงขึ้น สภาวะรูปธรรมก็จะมีนอยลง และยิ่งสูงขึ้น
มากๆ ก็จะไมปรากฏให เห็น เลย แตนิว รณธ รรมตางๆ กลับ ปรากฏชั ดขึ้น
สภาวะชวงนี้จะมากไปดวยนามธรรม ซึ่งจัดอยูในหมวดธัมมานุปสสนาสติปฏ
ฐาน๘ มีวิธีการกําหนด ดังนี้
ก. เกิดความยินดีพอใจในกาม เกิดความนึกคิดที่เพลิดเพลิน เปนสุข
ขึ้นในระหวางนั่งปฏิบัติ กําหนดวา “ชอบหนอ” “เพลินหนอๆ” พออาการ
ยินดีพอใจนั้นดับลง กําหนดวา “รูหนอ”
อนึ่ง ขณะนั่งอยูแตอยากไดความสุขในการเดิน เกิดจิตอยากลุกขึ้น
ก็ให เ ขาใจว าเป นเพีย งนิ ว รณธ รรม เป น มารมาล อลวงให ห ลุ ด จากการนั่ ง
ปฏิบัติ ก็ใหกําหนดจี้ไปที่จิตอยากลุกนั้น “อยากออกหนอๆๆ” “อยากลุก


พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), มหาสติปฏฐานสูตร ทางสูพระนิพพาน,
(กรุงเทพมหานคร: หจก. ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๕), หนา ๒๘๑.

ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๑๕/๑๑๒.
๖๑๓
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
หนอๆๆ” จนกวาจะดับไป แลวกําหนดนั่งเจริญภาวนาตอไป
ข. เกิดความอาฆาต พยาบาทจองเวร คิดราย คิดโกรธขึ้นในระหวาง
นั่งปฏิบัติกําหนดวา “โกรธหนอ เคืองหนอ” พออาการอาฆาต พยาบาทดับ
ลงกําหนดรูวา “รูหนอ”แลวกําหนดนั่งเจริญภาวนาตอไป
ค. เกิดความโงกงวง หดหู ขึ้นในระหวางนั่งปฏิบัติ กําหนดวา “งวง
หนอๆ” พอการงวงซึมดับลง กําหนดวา “รูหนอ” แลวกําหนดนั่งเจริญ
ภาวนาตอไป
ง. เกิด ความฟุงซาน เบื่อเซ็ง ขึ้นในระหว างนั่ งปฏิ บั ติ กําหนดว า
“ฟุงหนอๆ” “เบื่อหนอๆ” “เซ็งหนอๆๆ” พออาการเบือ่ เซ็งดับลงกําหนดวา
“รูหนอ” แลวกําหนดนั่งเจริญภาวนาตอไป
จ. เกิ ด ความคิด ลั ง เลสงสั ย ไม ต กลงใจ ขึ้ น ในระหว างนั่ งปฏิ บั ติ
กําหนดวา “คิดหนอๆ” “สงสัยหนอๆ” พออาการสงสัยดับลง กําหนดวา “รู
หนอ” แลวกําหนดนั่งเจริญภาวนาตอไป
เมื่ อสภาวะญาณสู ง ขึ้น มากๆ ก็จ ะไมป รากฏรู ป ธรรมให เ ห็ น เลย
ปรากฏแตอาการวาง ก็ใหกําหนดจิตรูอาการ “วาง” นั้นไปเรื่อยๆ จนกวา
รูปธรรมจะกลับมาอีก หรือจนกวาจิตรูนั้นจะดับหายไป เขาสูมรรค ผล
แกอาการนั่งตัวคดตัวงอ
เมื่ อ กํา หนดทุ กขเวทนาดั บ ได แ ล ว ก็ จ ะเห็ น พองยุ บ ชั ด ขึ้ น รู สึ ก
กําหนดงาย สบาย จนเพลิน แตพอวันตอมาพอง- ยุบกลับนิ่งๆ เบาๆ โยคี
บางคนเกิดนิกันติ อยากใหพอง-ยุบชัด เหมือนวัน กอนๆ จึงสูดลมหายใจ
เสริมพอง-ยุบใหชัดขึ้นการพยายามเสริมหรือแตง อาการพอง-ยุบเปนไปดวย
อํานาจอัตตา บังคับบัญชาสภาวะใหเปนไปดั่งใจตองการ (ซึ่งไมถูกตอง) เมื่อ
จิตเหนื่อยลาจากการพยายามนั้น กายก็เหนื่อย ลาไปดวย ทําใหสติหลุดไป
ลําตัวก็คอยๆ งอโคงลง รูสึกเบื่อเซ็ง ไมไดดั่งใจ ฉะนั้น ใหกําหนดพอง-ยุบไป
ตามความเป น จริ ง อย า แต ง พองยุ บ ให ผิ ด ธรรมชาติ ถ า พองยุ บ ไม ชั ด ก็
กําหนดวา “ไมชัดหนอ-รูหนอ” รูสึกเบื่อเซ็งก็กําหนด ตามอาการวา “เบื่อ
หนอๆ” “เซ็งหนอๆ” ตามความรูสึกที่เกิดขึ้น
๖๑๔
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม

วิธีแกสภาวะติดธาตุ-ติดนิมิต
มี อ าการแปลกพิ ส ดารเข า ไปทุ ก วั น มี อ าการสั่ น อาการหมุ น
บางครั้งพอง-ยุบชัด มากแตเปลี่ยนสภาพพิสดารไปเรื่อยๆ ทุกขเวทนานอย
แตสุขเวทนามีมากสลับกับอุเบกขาเวทนา สาเหตุเพราะมีวิรยะมาก มีสมาธิ
มาก แตสตินอย มีไดในญาณ ๔-๘ วนไปวนมา โยคีเปนผูมีความเพียรมาก
เกิน อยากกําหนดใหชัด พยายาม กําหนดจี้ใหชัด หรือเพื่อใหดับชัดๆ ดวย
อํานาจตัณหาและทิฏฐิมีวิธีแกดังนี้
- พอง-ยุบไมชัด ใหกําหนดตามอาการวาพอง-ยุบ“ไมชัดหนอ”หรือ
“รูหนอ-กําหนดยากหนอ”
- อาการพองกับอาการยุบมีระยะ มีสติรูลงที่สุดพอง-สุดยุบนั้นวา
“รูหนอ” รูวาพองดับยุบดับ
- แตถาพอง-ยุบมีระยะหางมาก ใหกําหนดรูปนั่ง และอาการสัมผัส
ที่มือที่กนถูกพื้นแทรกเขาไปวา “พองหนอ-นั่งหนอ-ถูกหนอ” “ยุบ-หนอ-นั่ง
หนอ-ถูก”
โยคีบางคนพอง-ยุบนิ่งหายจึงกําหนด "นั่งหนอ-ถูกหนอ" นานๆ ไป
อาการถูกก็ไมชัด รู นั่งก็ไมรูสึก ก็ยังพยายามเพงจิตเพื่อใหรูชัดดวยอํานาจ
ตัณหาและอุป าทานจนทําให รู สึ กมืน งง ธาตุ แปรปรวน ร อนเย็ น ธาตุ ล ม
กระจายไปทั่วตัว จนรูสึกแปลกพิสดาร นาสนใจ นาติดมาก บางคนถึงกับ
หนวงองคฌาน(ปติ,สุข) ใหเกิดขึ้น ตกเขาขายสมถะไป นานเขาทําใหติดใน
วิปสสนูปกิเลสทําใหกลับมาทวนที่ญาณ ๔ ครั้งแลวครั้งเลา ซ้ําๆเดิมๆ จน
เขาใจผิดวาไมมีอะไรอีกแลว ถึงที่สุดแลว บรรลุมรรคผลแลว ใหกําหนดนั่ง
หนอ-ถูกหนอ เพียงแครู ไมใชใหชัด ใหรูชัดวาสภาวะไมชัด มีวิธีปฏิบัติดังนี้
ถาสภาวะไหนไมชัด ก็ใหรูชัดลงไปในสภาวะนั้นวา “ไมชัดหนอ”
ถาสภาวะไหนรับรูความรูสึกตอสภาวะนั้นไมไดคือรูปดับไปแลว ก็
ไมตองตามกําหนดสภาวะนั้นอีก ทิ้งไปเลย กําหนดเฉพาะสภาวะที่ยังพอรูสึก
ไดอยูเทานั้นโดยเฉพาะจุดสัมผัสที่แขง ขา ไหล หลัง เปนตน
- ถากําหนดไปแลวรูสึกนิ่งวาง จนรูสึกวาหมุนก็ใหกําหนดตามสัก
๖๑๕
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ระยะหนึ่ง“หมุนหนอ-รูหนอ” ถายิ่งกําหนดยิ่งหมุนแรงขึ้น ก็ใหกําหนดสั่งให
หยุด “หยุดหนอ” แรงๆ แลวยายจิตไปกําหนดสภาวะสัมผัสตามรางกาย
อื่นๆ ที่ปรากฏชัด

๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๔ สมบูรณ
เมื่อผู ป ฏิ บั ติ เ จริ ญภั งคญาณให แ กกล ามากขึ้น ด ว ยการกําหนดรู
ความสิ้นไปเสื่อม หรือความแตกดับของสังขารเปนอารมณอยู ก็ยอมรูชัดวา
สังขารทั้งหลายที่เปนอดีตก็ดับไปแลว ที่เปนปจจุบันก็กําลังดับ แมจะเกิดใน
อนาคตก็จักดับไป จึงไมยึดเหนี่ยวในสังขาร ปญญาจะเห็นความเปนทุกขเปน
โทษของรูปนาม เห็นรูปนามโดยอาการเบื่อหนายไมอยากไดรูปนาม๙
ขั้นที่ ๔ นี้แทบจะไมปรากฏทุกขเวทนาทางกายแลว จิตจะวองไวขึ้น
มีอาการเผลอ เพลิน คิด ฟุงซาน งวง ซึ่งเปนเพราะ สมาธิมีมาก แตขาดสติ
จะทําใหควบคุมจิตไดยาก เกิดอาการเบื่อ เซ็ง และ ขี้เกียจในการปฏิบัติ
ภยญาณ อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ โดยอรรถเปนญาณเดียวกัน๑๐
คัมภีรอรรถกถากลาวถึงปญญาในความปรากฏเปนของนากลัว เปนอันทาน
กลาวถึง ภยตุปฏฐานญาณ อาทีนวานุปสสนาญาณและนิพพิทานุปสสนา
ญาณ ดวยคํานั้นแล เพราะญาณทั้ง ๓ มีลักษณะอยางเดียวกัน และในคัมภีร
วิสุทธิมรรคก็กลาววา
อนึ่ ง นิ พ พิ ท าญาณนี้ โดยความหมายก็ เ ป น ญาณเดี ย วกั น กั บ ๒
ญาณขางตน (คือ ภยตุปฎฐานญาณและอาทีนวญาณ) เพราะเหตุนั้ น
ทานพระโบราณจารยทั้งหลายจึงกลาววา “ภยตุปฎฐานญาณเดียวนั่น
แล ไดชื่อ ๓ ชื่อ คือ ชื่อว าภยตุปฎ ฐาน เพราะเห็น สังขารทั้งปวงโดย
ความนากลัว ๑ ชื่อวาอาทีนวานุปสสนา เพราะใหเกิด (ความเห็น) โทษ
ร ายขึ้น ในสั งขารทั้งหลายเหล านั้ น นั่ น เอง ๑ ชื่ อว านิ พพิทานุ ป ส สนา


พระสั ทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ , ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒
วิปสสนากรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๖, ๒๕๕๔), หนา ๑๓๗-๑๔๔.
๑๐
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒๗/๒๘๑, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒๗/๓๘๓.
๖๑๖
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
เพราะบังเกิดเบื่อหนายขึ้นแลวในสังขารทั้งหลายเหลานั้นนั่นแล ๑” แม
ในพระบาลี ทานก็กลาวไววา “ปญญาใด ในภยตุปฎฐาน ๑ ญาณใดใน
อาที น วะ ๑ นิ พ พิ ท าใด ๑ ธรรมทั้ง หลายเหล านี้ มี ค วามหมายอย า ง
เดียวกัน พยัญชนะเทานั้นที่ตางกัน”๑๑
ทั้ง ๓ ญาณนี้เปนภูมิแหงปหานปริญญา กําหนดรูถึงขั้นละได คือ รู
ถึงขั้นที่ทําใหถอนความยึดติดเปนอิสระจากสิ่งนั้นๆ ได (ละวิปลาสได) และ
ปฏิบัติตอสิ่งตางๆ ไดถูกตองจัดเขาใน อริยสัจ ๔ คือ “แจงนิโรธ(อริยสัจ ๔
เกิดโดยสมบูรณขึ้นตามลําดับ)ทุกข, สมุทัย,นิโรธ, มรรค”
สภาวธรรมในขั้นนี้ โยคีจะเห็นโทษเห็นภัยของรูป-นาม ซึ่งเปนผล
จากภังคญาณ คือการที่รูปไมปรากฏชัดแกโยคี หรืออารมณที่เคยกําหนด
หายไปเปนญาณที่ ๖ คือเห็นเปนภัย และโยคีกําหนดแลวรูปหายไปหมดเลย
หรื อ มีความรู สึ ก ทุกข ที่จิ ต มากเพราะอาการของจิ ต ปรากฏชั ด เจน กิ เ ลส
อนุสัยปรากฏชัดคือโทษ จัดวาเปนญาณที่ ๗ เห็ นโทษของรูป-นาม โยคีมี
อาการเบื่อหนาย เซื่องๆ ซึมๆ ในชีวิต เปนตน จัดเปนญาณที่ ๘ นิพพิทา
ญาณ หรือมีสภาวะที่โยคีรูสึกขี้เกียจกําหนดอารมณที่กระทบทางทวารทั้ง ๖
เปนตน จัดเปนสภาวธรรมของบันไดขั้นนี้ มีรายละเอียดดังนี้
ญาณที่ ๖ ภยญาณ หรือ ภยตูปฏฐานญาณ
ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นวารูปนามนี้เปนภัย เปนที่นากลัวเหมือน
คนกลัวสัตวรายเชน เสือ เปนตน ผูปฏิบัติจะเห็นวา ภพชาติทั้งปวง (คือการ
ที่จิตเขาไปอิงอาศัยอารมณตางๆนั้น) เปนของไมปลอดภัย เนื่องจากอารมณ
ทั้งปวงลวนแตเกิดดับ
เมื่อโยคีนั้นเสพอยูเนืองๆ ทําใหมากซึ่งภังคานุปสสนา มีความสิ้นไป
ความเสื่อมไป และความแตกดับของสั งขารทั้งปวงเปน อารมณอยูอยางนี้
สังขารทั้งหลายซึ่งมีความแตกดับ (บรรดามีอยู) ในภพ (๓) กําเนิด (๔) คติ
(๕) วิญญาณฐิติ (๗) สัตตาวาส (๙) ทุกหนทุกแหงก็ปรากฏเปนที่นากลัวมาก
เชนเดียวกับสีหะ พยัคฆะ โคดุ สุนัขดุ ชางดุตกมัน อสรพิษราย สายฟา ปา
๑๑
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๕๑, หนา ๑๐๙๐.
๖๑๗
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ชา สนามรบ และหลุมถานเพลิงที่ลุกโชติชวง เปนตน ปรากฏเปนที่นากลัว
มากแกบุรุษขลาด ผูปรารถนาดํารงชีวิตอยูโดยสุขสบาย
เปนญาณที่ไตรตรองวา “สังขารทั้งหลายที่เปนอดีตก็ดับไปแลว ที่เปน
ปจจุบันก็กําลังดับ ที่เปนอนาคตก็จักดับ” เปรียบเหมือนบุรุษที่เห็นหลุมถาน
เพลิ น ๓ หลุ มใกล ป ระตู เ มื อ ง ตั ว เขาเองไม รู สึ กกลั ว เพี ย งแต เ กิ ด ความ
หวาดเสียววา เมื่อมีคนตกลงไปคงไดรับความทุกขทรมานอยางแนนอน ญาณ
ชื่อวา ภยตุปฏฐานญาณ บังเกิดขึ้น๑๒
เมื่ อถึ งญาณนี้ ผู ปฏิ บั ติ จะเห็ นรู ป-นามที่ ดั บไปอย างรวดเร็ ว และ
ตอเนื่องจนเกิดความรูสึกวาเปนภัย กอนนั้นเคยหลงใหล แตตอนนี้รูสึกวาเปน
ภัย คือรูป-นามที่ประกอบเปนอัตภาพ เปนชีวิตจิตใจ ซึ่งดูไปแลวเปนแตรูป-
นาม จะเห็ นว าก็มันดั บอยู อยางนี้ สิ่ งที่ ปรากฏให รู ดั บไป ตั วผู รู ดับไป มีแต
อาการดับไป จนรูสึกวาเปนภัยไมใชสิ่งที่นาอภิรมยเสียแลว ในชีวิตนี้
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
สภาวะของการเดินจงกรม มีลักษณะดังนี้
รู สึ กเสี ย วๆ คล ายจะเป น โรคประสาท จะเป น ทั้ ง อิริ ย าบถทั้ง ๔
บางครั้งเหมือนพื้นที่เดินไมเทากัน เปนคลื่นสูงบางต่ําบาง เหมือนเทาหายไป
ขณะเดินเหมือนอสุภะเกิดตามสวนตางๆ เชน ปรากฏเปนกระดูก
เปนแผลเหมือนไฟไหมดําๆ เหมือนคนแกชรามากๆ กําหนดรูอาการตางๆ
รวดเร็วมากขึ้นในการกําหนดรูอยูแลวเกิดอาการกลัวขึ้น
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ
กําหนดจนรูเห็นวารูป-นามนี้เปนภัย ผูปฏิบัติจะเห็นวาภพชาติทั้ง
ปวง (คือการที่จิ ต เขาไปอิงอาศัยอารมณต างๆ นั้น ) เป นของไมป ลอดภั ย
เนื่องจากอารมณทั้งปวงลวนแตเกิด-ดับ
- กําหนดพอง-ยุบ ปรากฏไมชัดเจนไมชัดเจน มัวๆ จางๆ หายๆ
- การปฏิบัติไมคอยดี บางครั้งหงุดหงิด ไมไดดั่งใจ

๑๒
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๕๑, หนา ๑๐๘๑.
๖๑๘
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
- กําหนดพองยุบไมได หยุดคั่นระหวางกลาง หรือหาพองยุบไมเจอ
กําหนดนั่งหนอ ลมหายใจติดขัด ไมคลอง รูสึกการปฏิบัติไมดีแตกําหนดอยู
หรือพองยุบวาง หรือหมุน
- อาการพองยุ บ ถี่ ขึ้ น กํ า หนดนั่ ง -ถู ก ไม ทั น ตั ด ถู ก ตั ด นั่ ง ทิ้ ง
ตามลําดับก็ยังไมทัน กําหนดเพียงรูหนอ หรือถาพองยุบหายไป ก็กําหนดนั่ง
หนอ จนอาการพองยุบจะปรากฏขึ้นอีก
- เมื่อถี่ขึ้น รูสึกหายใจแทบไมทัน ก็บังเกิความกลัว และเบื่อที่จะ
กําหนดตอไป
- มีอาการ แนนจุกเสียดมากขึ้นๆ กําหนดอาการพองยุบอยู แนนจุก
เสียดปวดราว ไปทั่วรางกาย ปวดศีรษะ ปวดฟน...
- อาการพองยุบนอยเบาลงไป ออนลงในที่สุดก็หายไป ไมมีอะไรจะ
ใหกําหนดเลย ..ลักษณะการเดินเดินวางๆ เซ ตัวโคลง ตาลืมไมขึ้น งวงจะ
พักผอนก็นอนไมหลับ เวทนา เจ็บปวด หลัง เอว ขา ขาหนัก กาวไมออก๑๓
- อาการพอง-ยุบดับหายไหวๆ ตลอดเวลา สิ่งที่กําหนดและจิตที่รูจะ
หายไปพรอมๆ กัน๑๔
- เห็นรางกายสูญหายไป เมื่อเห็นกําหนดหายไปตลอดเวลาเชนนั้น
ก็ทําใหรูสึกหวาดกลัวที่พบแตความเสื่อมสลายหายไป มีแตความแตกสลาย
หายไป และถูกบีบคั้นกดดันอยูตลอดเวลาทําใหหมดความเพลิดเพลิน และ
ไมรูสึกชื่นชมยินดีในอาการพอง-ยุบหรืออาการอื่นใด๑๕
ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
กําหนดจนรูเห็นวารูป-นามนี้เปนภัย เปนที่นากลัว เหมือนคนกลัว
สัตวราย เชน เสือ เปนตน๑๖ ผูปฏิบัติจะเห็นวาภพชาติทั้งปวง (คือการที่จิต
๑๓
พระภาวนาวิสุทธิคุณ, คูมือวิปสสนาจารยสภาวธรรมของผูปฏิบัต,ิ หนา ๔๙.
๑๔
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, แปลโดย สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภ
มหาเถร), พิมพครั้งที่ ๗, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธนาเพรส จํากัด, ๒๕๕๑), หนา ๑๐๘๓.
๑๕
เสวตร เปยมพงศสานต, พุทธวิปสสนา, หนา ๑๖๖-๑๖๗.
๑๖
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/-/๑/๕๗.
๖๑๙
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
เขาไปอิงอาศัยอารมณตางๆ นั้น) เปนของไมปลอดภัย เนื่องจากอารมณทั้ง
ปวงลวนแตเกิด-ดับ๑๗ผูปฏิบัติมักเห็น (ภาพนิมิต) สภาพของรางกายที่มีแต
เพียงกระดูกขาวโพลน กระบอกตากลวงโบ นาเกลียดนากลัวยิ่งนักจนเกิด
ความรูสึกวา ไมอยากได รูป-นามอีกตอไป เพราะถาไมมาอีก รูป-นามก็จะ
ตกอยูในสภาพเชนนี้อยูตอไป๑๘
พึงเนนย้ําใหโยคีเคลื่อนไหวอิริยาบถในขณะฉัน ทีละ ๑ อิริยาบถ เชน
ขยับ มือทีละขาง ถามือยังขยับอยูใหอมคําขาวไวกอน อยาพึ่งเคี้ยว ในขณะเคี้ยว
ใหสังเกตถึงความหนักเบาของแรงเคี้ยวดวย
- อารมณที่กําหนดกับจิตที่รูนั้นทันกัน ติดกัน หายไปพรอมกัน ให
กําหนดวา “รูหนอๆ”
- เห็นอาการยกมือขึ้นหรือลงกับจิตที่กําหนดรูดับพรอมกัน กําหนด
วา “รูหนอๆ”
- มี ค วามกลั ว ขึ้ น มาเฉยๆ แต ไ ม ใ ช ก ลั ว ผี ให กํ า หนดว า “กลั ว
หนอๆ”“รูหนอๆ”
- เห็ น อาการกลื น หายไป สู ญ ไปจึ ง น า กลั ว ให กํ า หนดว า “กลั ว
หนอๆ”“รูหนอๆ”
- รูสึกเสียวๆ ที่ฟน ที่ทองขึ้นมาเฉยๆ แตไมใชอาการเสียวฟนหรือ
ทอง ยืน เดิน นั่ง นอน ก็เชนกัน ก็ใหกําหนดวา “เสียวหนอๆ”“รูหนอๆ”
- ขณะฉัน(รับประทาน) ไมยินดี ไมเพลิดเพลิน ไมสนุกสนาน ให
กําหนดวา “รูหนอๆ”
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เวทนา
กําหนดจนรูเห็นวารูป-นามนี้เปนภัย เปนที่นากลัวเหมือนคนกลัว
สัตวรายเชน เสือ เปนตน ผูปฏิบัติจะเห็นวาภพชาติทั้งปวง (คือการที่จิตเขา
ไปอิงอาศัยอารมณตางๆ นั้น) เปนของไมปลอดภัย เนื่องจากอารมณทั้งปวง
ลวนแตเกิด-ดับ
๑๗
ขุ.จู.อ. (ไทย) ๖/-/-/๖๕๑.
๑๘
วิสุทธิ. (บาลี) ๒/๓๑๙.
๖๒๐
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
สภาวญาณนี้เปนผลจากภังคญาณ ซึ่งสภาวะญาณชวงนี้ปราฏไมชัด
จนกระทั่งหายไป แตในบางครั้งรูป-นามที่ปรากฏเบาบางไมชัด กลับปรากฏ
ชัดขึ้นเปนระยะๆ เวลาปรากฏชัดก็อยากนั่งกําหนดใหไดนานๆ เวลาปรากฏ
ไมชัดก็ไมอยากนั่ง อยากเดินจงกรมเสียมากกวา ตองบังคับใหโยคีนั่งภาวนา
และเดินจงกรมบัลลังกละ ๑ ชั่วโมงเทานั้น หามนอยและหามเกิน
อาการพองปรากฏรูสึกลักษณะของนิมิต เชน อาการพองใหญมาก
หรือ อาการยุบเหมือนลึก
เห็นรางกายแยกออกจากกันเปนสวนๆ แลวหายไป มีแตความวาง
เปลา
มีอสุภะเกิดขึ้นในขณะเดิน ยืน นั่ง นอน ปรากฏเหมือนตนเอง
ปรากฏดุจซากศพในลักษณะตางๆ เห็นรางกายแยกออกจากกันเปนสวนๆ
แลวหายไป มีแตความวางเปลา เห็นตัวเองมีแตหนังหุมกระดูกอยู เห็นเปน
กองกระดูกกองอยู
เห็ น ตั ว เองขาวใสเหมื อ นแก ว หรื อ เป น สี ต า งๆ สวยงามเหมื อ น
เทวดา หรือเปนดวงกลมๆ ลอยอยู
เห็นเหมือนโครงกระดูกนั่งสมาธิอยูดําทะมืนอยู เห็นเหมือนรูปในที่
มืดที่มีแสงสวางไมเพียงพอนั่งอยู บางครั้งมีอาการของรางกายขยายใหญขึ้น
เปนสอง-สามเทา เกิดขึ้นในตนเองและเห็นของผูอื่นก็เชนกัน
เวทนาในญาณนี้ปรากฏในลักษณะของความสูญเสีย หรือจิตของผู
ปฏิบัติปรากฏในเรื่องของความตายของตน และญาติผูใหญคนใกลชิดตาย
จากไป เชน บิดา มารดา ญาติสนิทคนใกลชิดทั้งหลาย ก็จะเกิดความรูสึก
เสียใจ จะรองไหในเรื่องเหลานั้น แตถาเปนเรื่องที่ดีใจก็อยากจะหัวเราะ
เมื่อเกิดอาการอย างนี้ให กําหนดรูทัน ที ถากําหนดไมทัน ก็จ ะรองไห จริ งๆ
หรือหัวเราะออกมาจริงๆ ตองกําหนดอยางเดียวจึงจะผานไปได
จิตสงออกขางนอกบอยตองกําหนดใหมากในจุดที่กําหนดให
ฟุ ง ซ า นบ อ ยและกั ง วลไปว า กํ า หนดไม ไ ด ต อ งบอกให อ ดทนให
กําลังใจ เห็นอะไรก็ใหกําหนดรูไป ถาไมกําหนดความคิดจะเยอะมากขึ้น

๖๒๑
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : จิต
กลัวอะไรก็ไมทราบ แตกลัว บางคนพูดวาเห็นพอง-ยุบหายไปจึ ง
กลัว บางคนจะพูดวา เพราะเมื่อกอนไมไดกําหนด ไมไดปฏิบัตินี้เอง กําหนด
ไปพบแตเสื่อมไป หายไปอยางนี้ กอนๆ ก็คงเปนอยางนี้ และตอๆ ไปก็คง
เปนเชนนี้ จึงเกิดความกลัว
หลังจากที่กําหนดเวทนาดับแลว อาการของจิตปรากฏจัดเจน กิเลส
ปรากฏเชน ฟุงซาน เปนตน
อารมณที่กําหนดและจิตที่รูกําหนดนั้นติดๆ กัน หายไปพรอมๆ กัน
ทุกครั้งที่อารมณและจิตนั้นหายๆ ไปรูสึกมีความกลัวเกิดขึ้น ที่กลัวนั้นไมใช
กลัว ผี สาง เปรต คน สัตว มีความกลัวอะไรนั้นบอกไมถูก กลัวที่กําหนด
หายไปๆ เห็นหายไปจึงกลัว เห็นพองยุบหายไปจึงกลัว พบแตความเสื่อมไป
หายไปอยางนี้ กอนๆ ก็คงเปนอยางนี้ และตอๆ ไปก็คงเปนเชนนี้จึงกลัว
เห็นรางกายสูญไป หายไป เกิดนึกถึงบิดา มารดา ญาติ มิตร ที่ยัง
ไมไดปฏิบัติแลวเกิดรองไหขึ้นมา เกิดความเขาใจวา ที่หายๆ ไปอยางนี้ คง
เปนเหมือนกกันทั้ง ๓๑ ภูมิ๑๙
เห็นรูปนามหายไป สูญไปจึงนากลัว รูสึกเสียวๆ คลายกับจะเปนโรค
เสนประสาท ยืน เดิน ก็เชนกัน
บางคนนึกถึงหมูเพื่อน ญาติมิตรแลวรองไห บางคนกลัวมากเห็ น
อะไรๆ ก็กลัว จนชั้นที่สุดเห็นตุมน้ําและเสาเตียงก็กลัว
เมื่อกอนเห็นวา รูปนามนี้ดี แตบัดนี้เห็นวารูปนามนี้ไมมีสาระแกน
สารอะไรเลย ไมยิ นดี ไมเพลิด เพลิน ไมสนุ กสนาน เปน เพียงพิจารณาว า
รูสึกนากลัวแตไมใชกลัวจริงๆ ก็ม๒๐

๑๙
ดร. พระภัททันตอาสภมหาเถระ อัคคมหากรรมฐานาจริยะ บรรยาย, “การ
สอนวิชาครูครั้งแรกในเมืองไทย”, วิชาครู, หนา ๙๗-๙๘. (อัดสําเนา).
๒๐
พระธรรมธี ร ราชมหามุ นี (โชดก ญาณสิ ท ธิ ป.ธ.๙),คู มื อ สอบอารมณ
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๓,กรุงเทพมหานคร, หนา ๓๓-๓๔.
๖๒๒
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
เปนเพียงพิจารณาวา รูสึกนากลัว แตไมใชกลัวจริงๆ ก็มี ไมยินดี
ไมเพลิดเพลิน ไมสนุกสนาน
เกิดความกลัวตอความเปนไปของรูปนามอยางประหลาด โดยหา
เหตุผลไมได กําหนดไปที่ไหน มีแตการดับลงไปทุกแหง จึงเกิดความกลัวใน
รูปนามที่ยึดถือ
เห็นวารูปนามปจจุบันกําลังเกิดดับอยู รูปนามที่เปนอนาคตจักดับ
เชนเดียวกัน๒๑
ธรรมที่ปรากฏในความมั่นคงในพระพุทธศาสนาจะปรากฏขึ้นเปน
สวนใหญ เชน ความเลื่อมใสในพระรัตนตรัย ขอวัตรปฏิบัติ เขาใจหลักธรรม
มากขึ้น เชน แตกอนปฏิบัติอานธรรมไมคอยเขาใจพอมาถึงญาณนี้ก็เขาใจใน
ความหมายของธรรมมากขึ้น
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม
ขณะเดินบางครั้งปรากฏเหมือนพื้นที่เดินไมเสมอกัน เปนคลื่นสูง
บางต่ําบาง เหมือนเทาหายไป
ปรากฏในขณะเดินเหมือนอสุภะเกิดขึ้น ตามสวนตางๆ ของรางกาย
ในขณะเดิน เชน เห็นขาปรากฏเปนกระดูกในขณะเดิน เปนแผลเหมือนไฟ
ไหมดําๆ ปรากฏเหมือนคนแกชรามากๆ
เมื่อกอนเห็นวารูปนามนี้ดี แตบัดนี้เห็นวารูปนามนี้ไมมีสาระแกน
สารอะไรเลย
เมื่อกอนเห็นวา รูปนามนี้ดี แตบัดนี้เห็นวารูปนามนี้ไมมีสาระแกน
สารอะไรเลย
ไมยินดี ไมเพลิดเพลิน ไมสนุกสนาน
เกิดอาการกลัวตอความเปนไปแหงรูปนามอยางประหลาด โดยหา
เหตุผลใหแกตนเองไมได

๒๑
พระมหาณัชพล นราวงษ(ผูเรียบเรียง),คูมือการสอบอารมณสําหรับพระ
วิปสสนาจารย สภาวะของวิปสสนาญาณ ๑๖, (๒๕๕๓), หนา ๓๔๓.
๖๒๓
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
เมื่อเห็ น สิ่ งที่ต นเขาใจผิ ด เคยยึ ด ถือว าเป น ตั ว เป น ตนเช น นี้ เกิ ด
แสดงอาการและมีทาที่วาจะตายลงไปทีเดียว กําหนดลงไปที่ไหน ก็มีแตการ
แตกดั บลงไปทุกแหง เมื่อเป นอยางนี้จึ งเกิด ความกลั วในรู ปนามที่ต นเคย
ยึดถือมา
ผูปฏิบัติเห็นอยูวา รูปนามที่เปนปจจุบันกําลังเกิดดับอยู รูปนามที่
เปนอนาคตก็จักดับเชนเดียวกันมีอุปมาดังนี้
อุ ป มาที่ ๑ หญิ ง คนหนึ่ ง มี บุ ต ร ๓ คน เป น ขบถต อ พระราชา
พระราชาจึงบังคับใหตัดศีรษะของบุตรทั้ง ๓ นั้น หญิงนั้นจึงทอดอาลัยใน
บุตรเหลานั้นที่กําลังถูกตัดศีรษะอยูนั้น
อุปมาที่ ๒ หญิงคนหนึ่งคลอดลูก ๑๐ คน ใน ๑๐ คนนั้นตายไปแลว
๘ คน ตายคามืออยูอีกคน ๑ จึงทอดอาลัยในลูกคนที่ ๑๐ที่อยูในทองอุปมา
ที่ ๓ ดุจบุรุษผูมีตาดีแลเห็นหลุมถานเพลิง ๓ หลุม
อุปมาที่ ๔ ดุจบุรุษผูมีตาดีแลเห็นหลาว ๓ เลม ที่วางเรียงกันไว
ผูปฏิบัติจะเห็นวา รูปนามที่อยูในภูมิทั้ง ๓๑ ภูมิ ยอมมีความเกิดดับ
มีภัยเฉพาะหนา เปนของนากลัว เปนไปตามหลักของพระไตรลักษณ ญาณนี้
จึงไดชื่อวา ภยตูปฏฐานญาณ
การกําหนดรูในอาการตางๆ รวดเร็วมากขึ้นในการกําหนดรูอยูแลว
เกิดความกลัวขึ้น ผูปฏิบัติจะเห็นรูป-นามที่ดับไปอยางรวดเร็ว และตอเนื่อง
จนเกิดความรูสึกขึ้นในใจวาเปนภัยเสียแลว คือยอยยับตอหนาตอตา ไมวา
สวนไหนมันก็ดับไปหมด สิ่งที่ปรากฏใหรูดับไป ตัวที่รูดับไป ตัวผูรูดับไป มี
แตอาการดับไปดับไป จนรูสึกวาเปนภัยไมใชสิ่งที่นาอภิรมยเสียแลว
อารมณที่กําหนดและจิตที่รูกําหนดนั้นติดๆ กัน หายไปพรอมกันทุก
ครั้งที่อารมณและจิตนั้นหายๆ ไป จึงรูสึกมีความกลัวเกิดขึ้น ที่กลัวนั้นไมใช
กลัวผีสางเปรต คน สัตว อาวุธอะไร มีความกลัวอะไรนั้นบอกไมถูก โยคีที่
บอกวากลัวนั้น จะเปนภังคญาณเสมอไปก็มิใช เพราะที่กลัวนั้นเพราะฝ น
กลัวเพราะผีสาง อะไรก็มี เชนนี้ไมใช

๖๒๔
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในภยญาณ
พิจ ารณาเห็ น รู ป -นามเป น ไตรลั ก ษณ โ ดยประจั ก ษ เห็ น รู ป -นาม
พรอมจิตที่เขาไปรูนั้นดับไปพรอมกันดวยภังคญาณ
๑) ญาตปริญญา กําหนดรูป-นามเปนของนากลัว เปนการกําหนด
รูขั้นรูจักรูป-นามวาเปนทุกขสัจ ๒๐%
๒) ตีรณปริญญา การพิจารณาเห็นสังขารที่เปนไตรลักษณ เปนของ
นากลัว ๓๐ %
๓) ปหานปริญญา กําหนดรูพิจารณาสังขาร วาเปน ของไมนายิน ดี
ยอมละสุภวิปลาสและสุขวิปลาสเสียได (เกิดความกลัวจากการเห็นรูป-นาม
เกิด-ดับจากภังคญาณ) คือแจงนิโรธอริยสัจ ๕๐ %๒๒ (อริยสัจ ๔ สมบูรณ
ขึ้นตามลําดับ)
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๐-๑ (นิวรณ)
๒ (ทุกขเวทนา)
๖. ภยญาณ ๕ (ขันธ ๕)
๑๐ (โทมัสสเวทนา) ๑๐ (จิตกุศล)
๑๐ ๕ (อายตนะ) ๔๐
0 (สุขเวทนา) ๓ (จิตอกุศล)
๕ (โพชฌงค)
๓ (อุเบกขา)
๖ (อริยสัจ)
๐-๑ (นิวรณ)
๒ (ทุกขเวทนา)
๕ (ขันธ ๕)
๑๐ (โทมัสสเวทนา) ๑๐ (จิตกุศล)
๗.อาทีนวญาณ ๑๐ ๕ (อายตนะ) ๔๐
0 (สุขเวทนา) ๓ (จิตอกุศล)
๕ (โพชฌงค)
๓ (อุเบกขา)
๖ (อริยสัจ)
๑. กายานุปสสนา ๑๐ % (เทาเดิม) พองยุบแทบไมมี แตนิวรณ
กลับมาแบบเกิดๆ ดับๆ ขัดๆ เคืองๆ ไมไดดั่งใจ
๒๒
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., “ศึกษาวิเคราะหสติปฏฐาน ๔ และหลักปฏิบัติ
วิปสสนา ๗ เดือน ในคัมภีรพุทธศาสนาเถรวาท, ๒๕๕๓), หนา ๒๙๒.
๖๒๕
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
๒. เวทนานุปสสนา ๑๕% (โสมนัสสุขใจหดหายไป โทมนัสเพิ่มขึ้น
๑๐% ,สุขกาย ๒ % อุเบกขา ๓ % มีโทมนัสทุกขใจเพิ่ม จากการเห็น
สังขารเปนภัย สุขใจจึงหายไป
๓. จิตตานุปสสนา ๑๓ % (กุศลจิต ๑๐% [จากเดิม ๑๐%], อกุศล
จิต ๓ % [จากเดิม ๐%]) จิตกุศลเทาเดิม แตจิตอกุศลเพิ่มขึ้น เพราะรูสึก
กลัวๆ รูป-นาม(กายใจ)มีแตอาการดับหาย กําหนดนิ่งหนอ -ถูกหนอ ก็ยังไม
พอง จนนานมาก คิดปุบกําหนดดับทันทีจนรูสึกผวา กลัวๆ จิตจะหลับวูบ
หาย แตไมเปนอุเบกขาที่เปนโพชฌงค แจงชัดทุกขอริยสัจมากขึ้น
๔. ธัมมานุปสสนา ๒๒ % (ขันธ ๕ % ,อายตนะ ๕ %, โพชฌงค ๕
%, อริยสัจ ๖ % [รวมเปนโพธิปกขิยธรรม ๑๑ % จากเดิม ๓ %]) แตนิวรณ
กลับมาเกิดๆ ดับๆ เปนอารมณของธัมมานุปสสนา ไมใชงวง แตฟุงในธรรม
มีโพชฌงค ๕ % อริยสัจ ๖%
เพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนาลดลง ๔๐ % และใสใจ
พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม ๖๐ % แตเนนไปที่สภาพนามธรรมที่เปน
อารมณจิต
เมื่อผูปฏิบัติมาถึงภยญาณนี้แลวจะพบวามีสภาวะและการกําหนดรู
ทางกายานุปสสนาแค ๑๐ % แตจะมีภาวะโทมนัสทางจิตเพิ่มขึ้น และเปน
อุเบกขาบางเปนบางครั้ง แตเวลากําหนดรูก็ดับเร็ว สวนจิตตานุปสสนามี ๑๓
เปอร เ ซ็ น ต แบ ง เป น จิ ต กุ ศ ล ๒๐ เปอร เ ซ็ น ต และจิ ต ที่ เ ป น อกุ ศ ล ๓
เปอรเซ็นต หมวดธัมมานุปสสนา ๒๒ เปอรเซ็นต เห็นสภาพธรรมที่เปนทุก
ขอริย สัจ เพิ่มขึ้น ๖ เปอรเ ซ็น ต และมีนิ วรณเ กิด ดับ อัน เนื่องจากมีจิ ตเป น
อกุศล กับโทมนัสสเวทนา อันเกิดจากสภาพธรรมของ ภยญาณ คือ กําหนด
รูปนามเกิดดับมากๆ จนเกิดความนากลัวในสังขารทั้งหลาย
ความสมดุลของอินทรีย ๕
วิปสสนาญาณ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา
๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐%
ภยญาณ ๖๐ ๕๐ ๖๐ ๕๐ ๖๐

๖๒๖
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม

เมื่อผูปฏิบัติมาถึงภยญาณจะเห็นรูปนามที่เกิดดับมากๆ เร็วๆ จน
เกิดความรูสึกกลัวตอสังขารขึ้นมาทําใหมีศรัทธาในการปฏิบัติ ๖๐% เมื่อ
เกิดความกลัวขึ้นแตก็กําหนดรูรูปนามอยูจึงมีความเพียรหรือวิริยะ ๕๐%
สวนสติในญาณนี้ มีประมาณ ๖๐% สติ ยิ่งมากยิ่งดี แตสมาธิในช วงนี้ มีแค
ประมาณ ๔๐% เพราะมีนิวรณมาปะปนอยู ปญญาที่เกิดจากการกําหนดรู
สําหรับชวงนี้มีประมาณ ๖๐% เพราะเริ่มกลัวรูปนามที่มีความเกิดดับอยาง
ไมขาดสาย การปรับอินทรียถาวิริยะกับสมาธิไมเทากัน ถาวิริยะนอยกวา
สมาธิใหลดสมาธิลงเพื่อใหเสมอกับวิริยะ แตถาเพิ่มวิริยะมันจะทําใหสมาธิ
เพิ่มตามมาดวย สวนสติยิ่งมากยิ่งดี
ญาณที่ ๗ อาทีนวญาณ
ญาณที่เห็นรูป-นามเปนโทษ เห็นสังขารทั้งหลายมีแตทุกขโทษ ไมมี
รสชาติ ไมมีความอบอุนใจแตเพียงฝายเดียว พิจารณาเห็นโทษของสังขาร
ธรรม ๑๕ ประการ มีอุปปาทอาทีนวญาณ หมายถึง การพิจารณาเห็นทุกข
โทษในการเกิดของรูป-นาม เปนตน ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นวารูป-นามนี้
เปนโทษ เหมือนผูที่เห็นไฟกําลังไหมเรือนตนอยู จึงคิดหนีจากเรือนนั้น ใน
ระหวางที่อิง อาศัยอารมณนั้น จิตไมไดมีความสุขจริง เพราะภพชาติทั้งปวง
ลวนแตมีทุกขมีโทษในตัวเอง
อาทีนวญาณ ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นวารูปนามนี้เปนโทษ เหมือน
ผูที่เห็นไฟกําลังไหมเรือนตนอยูจึงคิดหนีจากเรือนนั้นในระหวางที่อิงอาศัย
อารมณนั้นจิตไมไดมีความสุขจริง เพราะภพชาติทั้งปวงลวนแตมีทุกขมีโทษ
ในตัวเอง๒๓ ผูปฏิบัติจะเกิดความรูสึกวา นาม-รูปนี้เปนโทษ ในขณะที่เห็น
รูป-นามดับไป จึงเห็นวาเปนภัยเปนโทษญาณนี้ไดอารมณตอเนื่องมาจาก ภย
ญาณ ที่เห็นรูป-นามเปนภัย จึงเกิดปญญาเห็นวา รูป-นาม คือ สังขารนี้เปน
โทษ ซึ่ ง สิ่ ง ใดที่ เ ป น ภั ย สิ่ ง นั้ น ย อ มเป น โทษ นี่ เ ป น ไปอย า งธรรมดาตาม
ธรรมชาติ การเห็นโทษในที่นี้เห็นถึง ๕ ประการ คือ
๒๓
พระภาวนาพิศาลเมธีวิ., เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๖๕.
๖๒๗
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
๑. เห็นความเกิดขึ้นของสังขารที่ตนปฏิสนธิมา วาเปนโทษ
๒. เห็นความเปนไปของสังขารในระหวางที่ตั้งอยูในภพและคติที่
ตนไดวาลวนเปนโทษ
๓. เห็นกรรมที่เปนปจจัยใหเกิดขึ้นมานั้นเปนโทษ มิใชคุณ
๔. เห็นความเสื่อมความสิ้นไปของสังขาร วาเปนโทษ
๕. เห็นวาการที่จะตองไปเกิดอีกนั้น เปนโทษ๒๔
สภาวญาณนี้เปนผลจากภังคญาณ ปราฏไมชัดจนกระทั่งหายไป แต
ในบางครั้งรูป -นามที่ปรากฏเบาบางไมชัด กลับ ปรากฏชัด ขึ้น เป นระยะๆ
เวลาปรากฏชัดก็อยากนั่งกําหนดใหไดนานๆ เวลาปรากฏไมชัดก็ไมอยากนั่ง
อยากเดินจงกรมเสียมากกวา พระวิปสสนาจารยพึงบังคับใหโยคีนั่งภาวนา
และเดินจงกรมบัลลังกละ ๑ ชั่วโมงเทานั้น หามนอยและหามเกิน
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
สภาวะของการเดินจงกรม มีลักษณะดังนี้
๑. หนักๆ เบาๆ เวลาเดินเหมือนมีอะไรติดอยูที่เทา
๒. อาการเดินเคลื่อนไหวชา ลง
๓. เหนื่อยงายในเวลาเดินเหมือนไมมีกําลัง
๔. เวทนามีมากมายในขณะเดิน
๕. การเดินจงกรมรูสึกไมดี นาเกลีย ด นาเบื่อ ในรางกายของตน
บางทีเขาจะพูดวา การกําหนดอะไรก็ตาม พบแตของไมดีทั้งนั้นฯ บางคนพูด
วา ที่ดีนั้นไมพบเห็นอะไรเลยฯ
๖. การกํ าหนดนั้ น รู สึ กมั น ติ ดๆ กัน ทีเ ดี ย ว แต ไ มเ ห็ น อะไรดี เ ลย
อารมณที่กําหนดไปนั้นพรอมกับจิตที่กําหนดไปนั้นก็ไมดีเสียเลย
๗. กําหนดเดี๋ยวนี้กําหนดหายไปไมเห็นมีอะไรดี และไมพบดี ดวย
เพราะขณะกําหนดนี้ไมเห็นมีอะไรดีและไมพบอะไรดี การกําหนดนี้ทุกสิ่งทุก

๒๔
พระภาวนาพิศ าลเมธี วิ ., เอกสารประกอบการสอน รายวิ ชาสั มมนา
วิปสสนา, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕, หนา๔๖๕.
๖๒๘
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
อยางไมมีอะไรดี และไมพบอะไรดี การกําหนดนี้ทุกสิ่งทุกอยางไมมีอะไรดี
นั้นถาไมมีเสียเลยจะดี๒๕
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ
สภาวะของอาทีนวญาณ อาการพอง-ยุบ หายไปทีละนิดๆ
เห็นวารูป-นามไมดี นาเบื่อหนาย กําหนดอะไร ก็ไมเห็นมีอะไรดี รูป-นาม
ปรากฏเร็ว แตกําหนดไดดีอยู แตบางครั้งรูสึกวาปฏิบัติไมดีเหมือนวันกอนๆ
ตั้งสติกําหนดลงไปที่ใดก็มีแตของไมดี ไมสวย เห็นแตทุกขโทษไป
เสียหมด เกิดตาสวางขึ้นมาวา รูป นาม เปนของไมนาชอบใจ บัดนี้รูความ
จริง ตาสวางขึ้นจากความเพียรในการเจริญวิปสสนานั่นเอง๒๖
อาการพอง-ยุบปรากฏขึ้นเร็ว และหายไปเร็ว ดูเปนสิ่งที่นาเบื่อไม
นาพึงพอใจ และเกิดความคิด ทุกสิ่งที่มีอยูนั้น ไมเห็นมีอะไรดีแตสักอยาง
เดียว ไมใชเปนสิ่งที่นาชมเทานั้น แตยังเปนสิ่งที่นาเกลียดไรประโยชนและมี
โทษ ไมนาปรารถนาเหมือนอยูในปาอันรกรางนาพรั่นพรึงจากภยันตรายที่
รูสึกวามีอยูรอบตัว
เปนทุกขทางทวาร ๖ คือ ตาเจ็บ ปวดที่ตา คันที่ตา แสบรอน ออน
ลา ขี้ตามีมากกวาปกติ
ในหูเหมือนมีอะไร คันบาง มีอะไรไตบาง รอนในหู ปวดเปนพักๆ หู
ตึง หูอื้อ เหมือนมีลมเขาออก เหมือนมีอะไรไตตามใบหู เปนตน
จมูก เหมื อนเป น หวั ด แน น เหมื อนหายใจไมส ะดวก ปวด มี กลิ่ น
เหม็นแปลกๆ เปนแผล บวมแดง เปนตน
ลิ้นเหมือนไมรูรสอาหาร บวมแดงเปนเม็ดในลิ้นเหมือนรอนใน รอน
ในปาก แผลมุมปาก เหงือกบวม ปวดฟน เปนตน
กายเหมือนคนไมมีกําลัง ปวดตามเนื้อตัว เหมือนเปนไข ปสสาวะ
บอย แตไมคอยออก ปวดที่อวัยวะเพศ เปนเหมือนมีอะไรปกคาอยูในทวาร
หนักและทวารเบา มีอาการบวมเหมือนเปนริดสีดวงทวารหนัก (เปนจริง)
๒๕
ดูใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๕๙.
๒๖
พระเทพสิทธิมุนี (โชดก ป.๙), คูมือสอบอารมณกรรมฐาน, หนา ๓๕-๓๗.
๖๒๙
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
เหมือนมีพยาธิไชอยู เหมือนมีอะไรคาอยู เหมือนขับถายไมสุด หรือรูสึกวา
ถายไมหมด เหมือนถายไมออกอะไรทํานองนี้
ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
อาการกลืนหายไปทีละนิดๆ ปรากฏมัวๆ ลางๆ ไมชัดเจน ใหกําหนดวา
“ไมชัดหนอๆ”“รูหนอๆ” สลับกันไปจนกวาจะหมดอาการกลืน
จะมีความรูสึกวาการฉันหรือกินไมดี นาเกลียด นาเบื่อ ไมนากิน กิน
ไปก็แคนั้น ใหกําหนดวา “เกลียดหนอๆ”“ เบื่อหนอๆ”
สภาวะรับรูทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจปรากฏเร็ว แตกําหนดไดดีอยู
มีแตสภาพการณที่มีโทษ คือ เปนที่ตั้งแหงทุกขและโทษ เพราะความเกิดขึ้น
แหงรูป-นาม ความสลายแหงรูป-นาม รูป-นามเปนไตรลักษณ
กําหนดทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็ไมไดดี สูวันกอนๆ ไมได ก็ใหมี
ความตั้งใจใหมากขึ้น ใหกําลังใจมากๆ
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เวทนา
ปรากฏทุกขเวทนาเปนหลักในภาวะของกายมีจิตเปนตัวสงเสริมให
เกิดความทุกขมากขึ้น เวทนาจะเกิด ขึ้นทางทวารทั้ง ๖ เปน สวนใหญ ทั้ง
ทุกข สุข และ เฉยๆ
กําหนดจนรูเ ห็ น ว า รู ป-นามนี้ เ ป น โทษ เหมือนผู ที่เ ห็ น ไฟกําลั งไหม
เรือนตนอยู จึงคิดหนีจากเรือนนั้นในระหวางที่อิงอาศัยอารมณนั้นจิตไมไดมี
ความสุขจริง เพราะภพชาติทั้งปวงลวนแตมีทุกขมีโทษในตัวเอง
เมื่อโยคีนั่งปฏิบัติภายใน ๑ ชั่วโมงไมปรากฏทุกขเวทนาเลย ปรากฏ
แตสุขเวทนาซ้ําๆ ซากๆ ตลอด ๑-๕ วันติดตอกัน จนรูสึกเบื่อเซ็ง อาการคิด
ฟุงกลับเพิ่มมากขึ้น
รูปนามเปนที่ตั้งแหงทุกขโทษ ไมจีรังยังยืนบังคับบัญชาไมได ทนอยู
ไมได เห็นรูปนามไมมี นาเบื่อหนาย ปฏิกูล เปนรังของโรคนานาชนิด
กําหนดทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ก็ไมเห็นมีอะไรดี
รูสึกวา การปฏิบัติสําหรับวันนี้ สูวันกอนๆไมได

๖๓๐
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
มีอาการหงุดหงิดหวาดผวา แลเห็นรางกายนี้เต็มไปดวยเลือดหนอง
ขึ้นอืดเนา
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต
จิตมีอาการแตกตางไปจากปกติปรากฏอยางชัดเจนแทรกซอนเขา
มา ก็ให กําหนดอารมณนั้ นทัน ทีวา มีอารมณอย างไร เช น เมื่อจิ ต มีร าคะ
โทสะ โมหะ ความหดหู ความฟุงซาน ความคิดนึก ความสงบ ความไมสงบ
ฯลฯ ก็รูชัดวา จิตมีอารมณอยางนั้นๆ ตามความเปนจริง
สภาวะจิตเกิดการใหเหตุใหผลแกตนเอง จิตเริ่มยอมรับความเปน
กลางมากขึ้นในการมองเห็นความผิดชอบชั่วดีที่ตนเองเปนเหตุมากขึ้นไมเพง
โทษคนอื่นวาเปนเหตุ เห็นความไมดีไมงามในความประพฤติที่ตนเคยปฏิบัติ
มาแต หนหลั งในเรื่ องต างๆ จิ ต เริ่มสํ านึกในบาปกรรมเหล านั้ น ว าเราเป น
ผูกระทําขึ้นมา
รูปนามปรากฏเร็วแตกําหนดไดดีอยู เห็นวาไมมีอะไรที่นาพิสมัยเลย
เห็นโทษของรูปนามที่กําหนดอยูนั้นประกอบดวยทุกขโทษตางๆ
ตั้งสติกําหนดลงไปในที่ใดก็มีแตของไมดี ไมสวยงาม เห็นแตทุกข
โทษไปเสียหมด เห็นรูปนามเปนของปฏิกูลนาเกลียด นาเบื่อ ไมนายินดีเลย
แตกอนเห็นวารูปนาม เปนของนาพอใจเคยติดใจหลงใหลมานาน
แลว ทั้งนี้เพราะไมรูความจริง บัดนี้ไดรูความจริงแลว เพราะตาคือวิปสสนา
ปญญานั่นเอง
ยอมเห็นวา สิ่งใดนากลัวสิ่งนั้นเปนทุกข สิ่งใดเปนทุกข สิ่งนั้นเปน
อามิส คือ เปนเหยื่อลอใหหลงติอยูสิ่งนั้น ยอมมีแตทุกขแตโทษทั้งนั้น
เห็นวาไมมีอะไรที่นาพิสมัยเลย เห็นโทษของรูปนามที่ตนกําหนดอยู
นั้นมากมาย ซ้ําประกอบดวยทุกขโทษตางๆ
เห็นรูปนามเปนของปฏิกูลนาเกลียด นาเบื่อ ไมนายินดีเลย กําหนด
ลงไปในที่ใดก็มีแตของไมดี ไมสวย ไมงาม เห็นแตทุกขโทษไปเสียหมด
แตกอนเห็นวา รูปนาม เปนของนาพอใจเคยติดใจหลงใหลมานาน
แลว ทั้งนี้เพราะไมรูความจริง บัดนี้ไดรูความจริงแลว เพราะตาคือวิปสสนา

๖๓๑
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ปญญานั่นเอง
ยอมเห็นวา สิ่งใดนากลัวสิ่งนั้นเปนทุกข สิ่งใดเปนทุกข สิ่งนั้นเปน
อามิสคือเปนเหยื่อลอใหหลงติดอยูสิ่งนั้น ยอมมีแตทุกขแตโทษทั้งนั้น
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม
ผูปฏิบัติจะเกิดความรูสึกวา นาม-รูปนี้เปนโทษ ในขณะที่เห็นรูป-
นามดับไปๆ เกิดความรูสึกวาเปนโทษ นอกจากจะเห็นภัยแลว ยังรูสึกวาเปน
โทษอีก ญาณนี้ไดอารมณตอเนื่องมาจากภยญาณ ที่เห็นรูป-นามเปนภัย จึง
เกิดปญญาเห็นวารูป-นามคือสังขารนี้เปนโทษ ซึ่งสิ่งใดที่เปนภัยสิ่งนั้นยอม
เปนโทษ นี่เปนไปอยางธรรมดาตามธรรมชาติ
เห็นวา ๓๑ ภูมิ ไมมีที่ตานทาน ไมมีที่หลีกเรน ไมมีทางไป ไมมีที่
พํานัก ไมนาปรารถนา ไมนาจับตอง ภพทั้ง ๓ ปรากฏดุจหลุมถานเพลิง อัน
เต็มไปดวยถานปราศจากเปลว
ขันธ ๕ ดุจนายเพชฌฆาต มหาภูตรูปทั้ง ๔ ปรากฏดุจอสรพิษทั้ง
รายกาจ อายตนะภายใน ๖ เปนดุจเปนบานราง อายตนะภายนอก ๖ เปน
ดุจโจรปลนบาน
วิญญาณฐีติ ๗ สัตตาวาส ๙ เปนดุจถูกไฟ ๑๑ ติดทั่วทั้งหมด
สังขารทั้งปวงเปนดุจผี เปนโรค เปนลูกศร เปนอาพาธ ปรากฏเปน
กองทุกขอันใหญหลวงไรความแชมชื่น เหมือนปาชาชัฏ แมจะตองอยูโดย
อาการอันนารื่นรมย ยอมเปนดุจสัตวราย ถ้ําเปนดุจมีเสือโครง น้ําเปนดุจมี
จระเขและผีเสื้อยักษ ขาศึกเปนดุจเงื้อดาบ โภชนะเปนดุจเจือยาพิษ ทางเปน
ดุจมีโจร เรือนเปนดุจไฟไหม สมรภูมิเปนดุจมีกองทัพที่เตรียมพรอมอยูแลว
ผูปฏิบัติยอมเห็นทุกขโทษของรูปนามอยางเดียวเปรียบเหมือนบุรุษ
อาศัยปาชัฏ มีสัตวรายมากมาย ยอมกลัว สลดใจ เห็นทุกขโทษโดยรอบดาน
ฉะนั้น๒๗

๒๗
พระธรรมธี ร ราชมหามุ นี (โชดก ญาณสิ ท ธิ ป.ธ.๙),คู มื อ สอบอารมณ
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๓, (: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑), หนา ๓๗.
๖๓๒
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในอาทีนวญาณ
พิจ ารณาเห็ น รู ป -นามเป น ไตรลั ก ษณ โ ดยประจั ก ษ เห็ น รู ป -นาม
พรอมจิตที่เขาไปรูนั้นดับไปพรอมกันดวยภังคญาณ
๑) ญาตปริญญา กํา หนดเห็น สัง ขารที่นา กลัว เปน โทษ เปนการ
กําหนดรูขั้นรูจักรูป-นามวาเปนทุกขสัจ ๒๐%
๒) ตีรณปริญญา พิจ ารณาเห็น โทษของสัง ขารอยูใ นไตรลัก ษณ
๓๐ %
๓) ปหานปริญญา กําหนดรูสังขาระรรมถึงขั้นละอัสสารทสัญญา
(ความนาชื่นชมยินดี)ยอมละสุภวิปลาสและสุขวิปลาสเสียได คือแจงนิโรธ
อริยสัจ ๕๐ % (อริยสัจ ๔ สมบูรณขึ้นตามลําดับ)
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๕ (ขันธ ๕)
๐-๑ (สุขเวทนา)
๕ (อายตนะ)
๕. ภังคญาณ ๑๐ ๔ (โสมนัสส) ๑๐ (จิตกุศล) ๕๐
๕ (โพชฌงค)
๕ (อุเบกขา)
๕ (อริยสัจ)
๐-๑ (นิวรณ)
๒ (ทุกขเวทนา)
๕ (ขันธ ๕)
๗. ๑๐ (โทมัสสเวทนา) ๑๐ (จิตกุศล)
๑๐ ๕ (อายตนะ) ๔๐
อาทีนวญาณ 0 (สุขเวทนา) ๓ (จิตอกุศล)
๕ (โพชฌงค)
๓ (อุเบกขา)
๖ (อริยสัจ)
๑. กายานุปสสนา ๑๐ % (เทาเดิม) พองยุบแทบไมมี แตนิวรณ
กลับมาแบบเกิดๆ ดับๆ ขัดๆ เคืองๆ ไมไดดั่งใจ
๒. เวทนานุปสสนา ๑๕% (โสมนัสสุขใจหดหายไป โทมนัสเพิ่มขึ้น
๑๐% ,สุขกาย ๒ % อุเบกขา ๓ % มีโทมนัสทุกขใจเพิ่ม จากการเห็น
สังขารเปนโทษ สุขใจหายไป

๖๓๓
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
๓. จิตตานุปสสนา ๑๓ % (กุศลจิต ๑๐% [จากเดิม ๑๐%], อกุศล
จิต ๓ % [จากเดิม ๐%]) จิตกุศลเทาเดิม แตจิตอกุศลเพิ่มขึ้น เพราะรูสึก
กลัวๆ รูป-นาม(กายใจ) มีแตอาการดับหาย กําหนดนิ่งหนอ -ถูกหนอ ก็ยัง
ไม พ องจนนานมาก กํ า หนดดั บ ทั น ที จ นรู สึ ก ผวา เพราะเห็ น โทษในกอง
สังขาร แจงชัดทุกขอริยสัจมากขึ้น
๔. ธัมมานุปสสนา ๒๒ % (ขันธ ๕ % ,อายตนะ ๕ %, โพชฌงค ๕
%, อริยสัจ ๖ % [รวมเปนโพธิปกขิยธรรม ๑๑ % จากเดิม ๓ %]) แตนิวรณ
กลับมาเกิดๆ ดับๆ เปนอารมณของธัมมานุปสสนา ไมใชงวง แตฟุงในธรรม
มีโพชฌงค ๕ % อริยสัจ ๖%
เพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนาลดลง ๔๐ % และใสใจ
พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม ๖๐ % แตเนนไปที่สภาพนามธรรมที่เปน
อารมณจิต
เมื่อผูปฏิบัติมาถึงภยญาณนี้แลวจะพบวามีสภาวะและการกําหนดรู
ทางกายานุปสสนาแค ๑๐ % แตจะมีภาวะโทมนัสทางจิตเพิ่มขึ้น และเปน
อุเบกขาบางเปนบางครั้ง แตเวลากําหนดรูก็ดับเร็ว สวนจิตตานุปสสนามี ๑๓
เปอร เ ซ็ น ต แบ ง เป น จิ ต กุ ศ ล ๒๐ เปอร เ ซ็ น ต และจิ ต ที่ เ ป น อกุ ศ ล ๓
เปอรเซ็นต หมวดธัมมานุปสสนา ๒๒ เปอรเซ็นต เห็นสภาพธรรมที่เปนทุก
ขอริย สัจ เพิ่มขึ้น ๖ เปอรเ ซ็น ต และมีนิ วรณเ กิด ดับ อัน เนื่องจากมีจิ ตเป น
อกุ ศล กับ โทมนั ส สเวทนา อัน เกิด จากสภาพธรรมของอาที น วญาณ คื อ
กําหนดรูปนามเกิดดับมากๆ จนเห็นโทษภัยในสังขารทั้งหลาย
ความสมดุลของอินทรีย ๕
วิปสสนาญาณ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา
๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐%
อาทีนวญาณ ๖๐ ๔๐ ๖๕ ๕๐ ๖๕
เมื่อผูปฏิบัติมาถึงอาทีนวญาณจะเห็นรูปนามที่เกิดดับมากๆ เร็วๆ
จนเกิดความรูสึกกลัว เห็นทุกขโทษของสังขารขึ้นมา ทําใหมีศรัทธาในการ
ปฏิบัติ ๖๐% เมื่อเกิดความกลัวและเห็นทุกขโทษขึ้นแตก็กําหนดรูรูปนาม
๖๓๔
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
อยูจึงมีความเพียรหรือวิริยะ ๔๐% สวนสติในญาณนี้มีประมาณ ๖๕% สติ
ยิ่งมากยิ่งดี แตสมาธิในชวงนี้มีแค ๕๐% เพราะมีนิวรณมาปะปนอยู ปญญา
ที่เกิดจากการกําหนดรูสําหรั บชวงนี้มีประมาณ ๖๕ % เพราะเริ่มกลัวรู ป
นามที่มีความเกิดดับอยางไมขาดสาย เกิดเห็นทุกขโทษขึ้นในสังขารทั้งหลาย
ไมน ายิ น ดี การปรับ อินทรี ยถาวิริ ย ะกับ สมาธิ ไมเ ทากัน ถาวิ ริ ยะน อยกว า
สมาธิใหลดสมาธิลงเพื่อใหเสมอกับวิริยะ แตถาเพิ่มวิริยะมันจะทําใหสมาธิ
เพิ่มตามมาดวย สวนสติยิ่งมากยิ่งดี

ญาณที่ ๘ นิพพิทาญาณ
นิพ พิท าญาณ หมายความวา ญาณที่พิจ ารณาเห็น รูป -นามโดย
อาการเบื่อหนาย แยกบทเปนนิพพิทา(ความเบื่อหนาย) และญาณ(ปญญา
ความรู) นิพพิทาญาณ ปญญาที่พิจารณาเห็นรูป-นามเปนของไมเที่ยง เปน
ทุกข เปนอนัตตาเปนของนากลัว เต็มไปดวยความทุกขโทษนานาประการ
แลวเกิดความเบื่อหนายในรูป-นาม อยากเขาถึงพระนิพพานเสียโดยเร็ว
นิพพิทานญาณ ปญญาที่กําหนดจนรูเ ห็น วา เกิดเบื่อหนายในรู ป
นาม เบื่อหนายในปญจขันธจิ ตคลายความเพลิดเพลินพึงพอใจในภพชาติ
ตางๆ๒๘ ปญญานี้ห มายถึงเฉพาะภาวนามยปญญา คือ ปญญาที่เ กิด แกผู
เจริญวิปส สนา มิไดหมายถึง สุต มยปญญาและจิน ตามยปญญาเลย ๒๙ คํา
วา ความเบื่อหนาย ในที่นี้มิไดหมายถึงความเบื่อหนายอยางชาวโลก เชน
เบื่อหนายอยากฆาตัวตาย แตหมายถึง เบื่อหนายในรูป-นาม
ความเบื่อหนายในรูปนาม แบงออกเปน ๓ ลักษณะ ตามขั้นของ
การรูตามความแกกลาของญาณ ดังนี้
๑) ขั้นตนเปนภยญาณที่หยั่งเห็นในสังขารทั้งปวงวานากลัว

๒๘
พระภาวนาพิศาลเมธีวิ., เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๖๘.
๒๙
พระสั ทธั มมโชติ กะ ธัมมาจริยะ , ปรมั ตถโชติ กะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒
วิปสสนากรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๖,(กรุงเทพมหานคร : หจก. ทิพยวิสุทธิ์, ๒๕๕๔), หนา
๑๓๗-๑๔๔.
๖๓๕
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
๒) ขั้นกลางเปนอาทีนวญาณที่หยั่งเห็นในสภาพของความไมเที่ยง
วา เพราะใหเห็นโทษในสังขาร (ที่เห็นวานากลัว )
๓) ขั้นปลายเปนนิพพิทาญาณที่หยั่งเห็นสังขารทั้งปวงเปนทุกขเปน
โทษวา เพราะบังเกิดความเบื่อหนายในสังขาร (ที่เห็นโทษแลวนั้น)

ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
เดินจงกรมรูสึกเบื่อ แตก็กําหนดไดดี รูสึกวานาเบื่อหนายขยะแขยง
ในอารมณเหลานั้นรูสึกวามันแหงแลง ในใจไมคอยเบิกบาน ชักเบื่อๆ เบื่อ
หนายในสังสารวัฏ เดิมรูวาอบายภูมินั้นเปนที่นาสะพรึงกลัว แตยังเห็นมนุษย
สวรรคเ ป น ที่น าพอใจอยู บั ด นี้ ไมว าภพไหนไมอยากได ทั้ง นั้ น อยากจะถึ ง
นิพพาน
การกําหนดไมเพลิดเพลิน ไมเห็นมีอะไรนายินดีเพลิดเพลิน รูสึกเบื่อ
หนายขยะแขยง สภาพทุกอยางที่เห็นนั้นเปนที่นาขยะแขยง ทุกสิ่งทุกอยาง
กําหนดเห็นรูสึกเปนสิ่งไมดี ไมเห็นวาสนุกเพลิดเพลิน จึงเกิดความเบื่อหนาย
และไมอยากพูดกับใคร ไมอยากพบเห็นใคร อยากอยูในหองของตนเทานั้น
เมื ่อ เห็น รูป -นามเปน ภัย และเปน โทษดว ยประการตา งๆ ทั ้ง
พิจ ารณาเห็น ซ้ํา เห็น ซากอยู อ ยา งนี ้ ก็ยิ ่ง เห็น ภัย เห็น โทษชัด ขึ ้น ก็เ ปน
ธรรมดาที ่จ ะตอ งเกิด ความเบื ่อ หนา ยตอ รูป -นามทั้ง ปวง อัน เกิด จาก
ปญญาที่เห็นแจงถึงภัยและโทษ ของสังขารรูป-นามทั้งปวง มิใชเบื่อหนาย
ในอารมณอัน ไมเ ปน ที่นาชื่น ชมยิน ดีอัน เนื่องดว ยโทสะ เพราะความเบื่อ
หนา ยอัน เนื่อ งจากโทสะนั้น เปน การเลือ กเบื่อหนายสิ่งใดที่ไมช อบก็เ บื่อ
หนาย แตสิ่งใดที่ยังชอบ อยูก็ไมเ บื่อหนาย เปน ตน แตวาการเบื่อหนา ย
ดว ยปญ ญาเปน การเบื่อหนายตอสิ่ง ทั้ง ปวงไมใ ชเ ลือ กเบื่อ เหมือ นอยา ง
เนื่องดวยโทสะ นิพพิทาญาณนี้เบื่อหนายตอสังขารรูป-นามในทุกๆ ภูมิ ที่
เบื่อหนายสังขารรูป-นามในทุกๆ ภูมิ ก็เพราะสังขารรูป-นามไมวาจะอยูใน
ภูมิไหนก็เปนภัยเปนโทษทั้งนั้น

๖๓๖
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ
กําหนดจนรูเห็นวา เกิดเบื่อหนายในรูป-นาม เบื่อหนายในปญจขันธ จิต
คลายความเพลิดเพลินพึงพอใจในภพชาติตางๆ๓๐ ปญญาที่พิจารณาเห็นรูป-นามเปน
ของไม เที่ ยง เป นทุ กข เป นอนั ตตา เป นของน ากลั ว เต็ มไปด วยความทุ กข โทษ
นานาประการ แลวเกิดความเบื่อหนายในรูป-นาม
ลักษณะสภาวะของนิพพิทาญาณในอิริยาบถนั่ง มีดังนี้
- การกําหนดอาการพอง-ยุบ อาการนึกคิดตางๆ ดีขึ้นชัดเจนขึ้นกวา
แตกอน แตจิตไมคอยเขาใจมากนักเพียง แตรูดูอาการไป
- พองยุบเบาลงไป ออนลงจนหายไป โคลง ตาลืมไมคอยขึ้น เดินๆ
ไปงวง เบื่อหนายเอือมระอา ไมอภิรมยในสังขารอันมีการแตกดับ๓๑
- โยคีบางคนจะมีอาการพอง-ยุบถี่ขึ้น กําหนดนั่ง ถูกไมทัน อาจารย
พึงแนะแกโยคีวา ถามีอาการพอง-ยุบ ถี่ขึ้น กําหนดถึงนั่งถูกไมทันก็ใหตัดถูก
และนั่งทิ้งเสียตามลําดับ กําหนดอยูเฉพาะพองหนอ ยุบหนอ และถาถี่ขึ้นจน
กําหนดพองหนอ ยุบหนอก็ไมทัน ก็ใหกําหนดเพียงรูหนอ คือรูอาการที่ถี่ขึ้น
นั้น หรือถาพอง-ยุบ หายไปก็ใหกําหนดนั่งหนอ ถูกหนอ เรื่อยไปจนอาการ
พอง-ยุบ จะปรากฏขึ้นใหกําหนดตอไปไดอีก
ขี้เกียจในการใสใจดูแลรางกาย เชน ชอบนอน ไมคอยสนใจใคร
อยากอยูคนเดียวเงียบๆ เก็บเนื้อเก็บตัว พูดนอย ขี้เกียจอาบน้ํา
เบื่ออาหาร กินก็ไมคอยออกรสชาติ
ทานอาหารนอย นอนนอย พูดนอย
ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
ผูปฏิบัติจะรูสึกเบื่อหนายตอรูป-นาม เปนความรูสึกที่เกิดขึ้นจาก
การเจริญวิปสสนาลวนๆ มิใชเกิดขึ้นเพราะนึกคิดเอาเอง
การกําหนดฉันหรือกินจะมีความนาเบื่อหนาย ขยะแขยงในอารมณ
นั้นๆ ใหกําหนดวา “เบื่อหนอๆ”
๓๐
ขุ.จู.อ. (ไทย) ๖/-/-/๖๕๑.
๓๑
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๔๐๖.
๖๓๗
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
การได กลิ่ น การเห็ น การรู ร ส อาหารถึง จะดี ขนาดไหนใจก็ ไม มี
ความชอบเลย ใหกําหนดวา “เฉยหนอๆ”“รูหนอๆ”
อารมณที่กําหนดจะ รูสึกแหงแลง คลายกับขี้เกียจ แตยังกําหนดไดดี
กําหนดไดตอเนื่องอยู
ไมเบิกบาน เบื่อๆ เศราๆ โศกๆ ดุจพลัดพรากจากของรักของชอบ
ใจฉะนั้น ใหกําหนดวา “เบื่อหนอๆ”“เศราหนอๆ”“โศกหนอๆ”
เมือ่ กอนไดยินเขาพูดกันวา เบื่อ เดี๋ยวนี้รูแลววา เบื่อจริงๆ ใหกําหนด
วา “เบื่อหนอๆ”
ไมอยากพูดกับใคร ไมอยากเห็นใคร อยากอยูในหองเทานั้น
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เวทนา
เวทนาทางกาย : บางทานเกิดอาการคลื่นเหียนจะอาเจียนไปจนแม
เลิกกําหนดแลว สภาวะจิตแสดงความรูสึกรําคาญทอแทระอิดระอา” เกิด
สภาวะหรื อปรากฏการณบ างอย าง เช น “อาการคัน ยุ บ ยิ บ ซูซาตามส ว น
รางกาย อาบน้ําทายาก็ไมหายคัน อาการเข็มหรือหนามเล็กๆ ยาวๆ เสียบ
แทงเขาไปในอวัยวะสวนใดสวนหนึ่ง อาการทุกขเวทนาอื่นๆ เปน “อัตตปจ
จักขญาณ”เปนภาวนามยปญญา”
เวทนาทางใจ : มีความเบื่อหนาย ขยะแขยงตออารมณนั้นๆ จะหา
ความรื่นเริงยินดีสักนิดก็ไมมี รูสึกแหงแลงคลายกับขี้เกียจ แตก็ยังกําหนดได
ดีอยู การกําหนดรูปนามไมมีความเพลิดเพลินเลย เห็นทุกอยางเปนของไมดี
ทั้งนั้น และไมเห็นวาสนุกสนานตรงไหน
บางคนเห็นวา ลาภยศที่ตนตองการเมื่อกอนโนนไมมีอะไรที่นายินดี
เลยแลวก็เกิดเบื่อหนาย เห็นวา คนก็เกิดเสื่อมอยางนี้ ทุกชาติ ทุกภาษา แม
เทวดาพรหมก็เปนอยางนี้ ที่ไดลาภยศเปนเศรษฐี เจานาย คุณหญิง คุณนาย
ก็ไมเห็นแปลกอะไรเลย มีเกิดแก เจ็บ ตายเชนเดียวกัน สิ่งเหลานี้เปนทุกข
ไมไดอยูในอํานาจควบคุม๓๒ จึงไมรูสึกเพลิดเพลิน ไมทะเยอทะยาน เกิด

๓๒
อนุปสนา ๓ บริบูรณ ชื่อวา นิพพิทานุปสนา. ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๒๖๒.
๖๓๘
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ความเบื่อหนาย เห็นวาถาถึงนิพพานไดเปนสุขแน ใจก็โนมโอนไปสูนิพพาน
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต
บางคนจะพูดวา การกําหนดนั้น กําหนดไดดี แตรูสึกวามันแหงแลง
ชอบกล คลายๆขี้เกียจ แตก็ยังกําหนดไปอยู เบื่อหนายในตัวตน ไมอยากพบ
ใครอยากอยูคนเดียว รูสึกอางวางแหงแลง พบแตความกันดารและแหงแลง
สมาธิมากเกินควร วิ่งไปอยางรวดเร็วราวกับมาหอ มีอํานาจเรงเรา
ใหรีบวิ่งไปนั่งวิปสสนาเสียในทันที ตองเดินจงกรมแตนอย และนั่งวิปสสนา
ใหมากแลวใหลืมตากําหนด เมื่อสมาธิคลายลงแลว จึงใหเดินจงกรมตามปกติ
และหลับตากําหนดตอไป๓๓
อาการที่ปรากฏเปลี่ยนจากนาเกลียดมาเปนนาขยะแขยง แหงแลง
และนาเบื่อหนาย ทําใหจิตใจหงอยเหงาและเศราสรอย เดินออนระโหยโรย
แรง แขงขาออนจนแทบจะเดินไมไหว รูสึกในชีวิตนี้ไมเห็นมีอะไรเปนแกน
สารแต สั ก อย า งเดี ย ว มี แ ต ค วามผั น แปรเปลี่ ย นแปลงไม จิ รั ง ยั่ ง ยื น และ
สกปรกนาสะอิดสะเอียน ชีวิตเปนเสมือนของโพรง
บางคนพูดวา ที่กําหนดนั้นกําหนดไดดี แตในใจไมคอยเบิกบานเลย
บางคนพูด ว า ในอารมณที่ กํา หนดนั้ น ก็รู สึ กว าดี แต มัน ชั กเบื่ อ ๆ
ขึน้ มา
บางโยคีจะพูดวา ที่ไดยินเขาวา เบื่อหนายในสังสารวัฏนั้นก็ไดยิน
เหมือนกัน แตไมรูเดี๋ยวนี้ถึงจะรูวาเบื่อหนาย และการเบื่อหนายนั้นตองเบื่อ
หนายจริงๆ ดวย๓๔
บางโยคี จ ะพู ด ว า เดิ ม ที ก็ รู แ ต เ พี ย งว า อบายภู มิ เ ท า นั้ น เป น ที่
สะพรึงกลัว แตยังเห็นมนุษย สวรรคยังเปนที่พอใจอยู บัดนี้ ไมวาภพไหนไม
อยากไดทั้งนั้น อยากจะถึงนิพพานเทานั้น
๓๓
นิพเพธภาคิยา อันเปนสวนแหงความเบื่อหนาย ดูใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/
๑๗๐.
๓๔
นิพพิทานุปสนาญาณ ปรีชาคํานึงถึงดวยความเบื่อหนาย ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/
๑/-/๓๗๕.
๖๓๙
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
บางคนจะพูดวา อารมณที่กําหนดนั้นก็ไมเห็นเพลิดเพลินเลย จิตที่
กําหนดก็ไมเพลิดเพลิน เมืองมนุษยไมเห็นมีอะไรที่นายินดีเพลิดเพลินเลย
บางคนก็รูสึกเบื่อหนายขยะแขยงไปตามและเห็นผูอื่นก็เชนเดียวกัน
บางคนจะเขาใจวา สภาพทุกๆ อยางที่เห็นนั้นเปนที่นาสยะแสยง
ทั้งสิ้น
บางคนจะพูดวา ทุกสิ่งทุกอยางกําหนดเห็นนั้น รูสึกวากําหนดอะไร
ก็ตาม เปนสิ่งที่ไมดีทั้งสิ้น ทุกสิ่งทุกอยางไมเห็นวาสนุกเพลิดเพลินเลย จึง
เกิดความเบื่อหนายขึ้น
บางคนพอกําหนดๆ ไป รูสึกเบื่อหนายขึ้นมาและไมอยากจะพูดกับ
ใคร และไมอยากจะพบเห็นใคร อยากจะอยูในหองของตนเทานั้น
เมื่อกอนไดยินวา เบื่อ แตยังไมรูวาเบื่ออยางไร เดี๋ยวนี้รูแลววาเบื่อ
อยางไร
ไมอยากเห็น ใคร ไมอยากพูดคุยกับใคร อยากอยู ในหองคนเดีย ว
เทานั้น
รูสึกแหงแลง เหมือนอยูกลางสนามหญา มีแดดมาแผดเผาใหหญา
เหี่ยวแหง
รูสึกหงอยเหงาเศราๆ ไมเบิกบาน ไมราเริง
ไมอยากแตงเนื้อแตงตัวหนาตาหมนหมอง ดุจลูกตาย ผัวตาย ของ
หายฉะนั้น๓๕
เมื่อกอนมีความเขาใจเรื่องภูมิทั้ง ๓๑ ตามปญญาของผูอยากเกิด
และไมอยากเกิด แตตอนนี้ไมมีความยินดีเลย เห็นวาพระนิพพานเทานั้นดี
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม
เห็ น เรื่ อ ง ลาภ ยศ สรรเสริ ญ ที่ ต นเองเคยต อ งการเมื่ อ ก อ น ไม
นายินดี นึกถึงวาถาถึงพระนิพพานไดเปนสุขแน นอมไปสูพระนิพพาน

๓๕
พระธรรมธี ร ราชมหามุ นี (โชดก ญาณสิ ท ธิ ป.ธ.๙),คู มื อ สอบอารมณ
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๓, กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๑, หนา ๔๐-๔๑.
๖๔๐
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
เบื่อหนายในโลกทั้งหลายยิ่งนัก เบื่อหนายในอารมณแตก็ยังไมละ
การกําหนด ยังมั่นคงในกําหนดตอไปอยู
เบื่ อหนายในการปฏิ บัติ วิป ส สนายิ่ งอยากเลิ กปฏิ บัติ ก็มี และก็ยั ง
ปฏิบัติตอไปอยู
ขอสังเกตและสิ่งควรจํา คือ ภยญาณ อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ
ทั้ง ๓ นี้ ผูปฏิบัติอาจบอกไดถูกตองครบถวนทั้ง ๓ ญาณ บางครั้งบอกได ๒
หรือ ญาณเดียวก็มี บอกไดชัดเจนเพียงญาณเดียวหรือสองญาณ ก็เปนอัน
ถูกตอง๓๖
สรุป หลักการปฏิบัติในญาณนี้
๑. ใหเดินจงกรมในระยะที่ ๕ คือ ยกสนหนอ ยกหนอ ยางหนอ
ลงหนอ เหยียบหนอ หรือ ถูกหนอ
๒. ใหกําหนดรูจุดในขณะนั่ง ๕ จุดคือ พองหนอ ยุบหนอ นั่งหนอ
ถูกหนอกนยอยดานซายที่รับน้ําหนักตรงที่สัมผัส (ถูกหนอ) พองหนอ ยุบ
หนอ นั่งหนอ ถูกหนอกนยอยดานขวาที่รับน้ําหนักตรงที่สัมผัส (ถูกหนอ)
พองหนอ ยุบหนอ นั่งหนอ ถูกหนอหัวแมมือที่วางเรียงกันหรือชิดกัน (ถูก
หนอ)
๓. ใหกราบสติปฏฐาน ๔ ระยะที่ ๕
๔. ใหกําหนดรูในทวารทั้ง ๖ ใหมากขึ้น
๕. ใหกําหนดรูธรรมเรื่องธาตุกัมมัฏฐาน
๖. ใหกําหนดรูเรื่องเมตตาภาวนาใหมาก
๗. ใหกําหนดรูอิริยาบถยอยใหมากขึ้น
๘. ใหเดินจงกรมและนั่งกําหนดรูจุด ๑ - ๒ ชั่วโมงได

๓๖
พระมหาณัชพล นราวงษ(ผูเรียบเรียง),คูมือการสอบอารมณสําหรับพระ
วิปสสนาจารย สภาวะของวิปสสนาญาณ ๑๖, (๒๕๕๓), หนา ๓๖๕.
๖๔๑
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในนิพพิทาญาณ
พิจารณาเห็นรูป-นามเปนไตรลักษณโดยประจักษ เห็นรูป-นามพรอม
จิตที่เขาไปรูนั้นดับไปพรอมกันดวยภังคญาณ
๑) ญาตปริญญา กําหนดสังขารเปนสิ่งเบื่อหนายเปนการกําหนดรู
ขั้นรูจักรูป-นามวาเปนทุกขสัจ ๒๐%
๒) ตีรณปริญญา การพิจ ารณาเห็น ความเบื่อ หนายสังขารอยูใ น
ไตรลักษณ ๓๐ %
๓) ปหานปริญญา กําหนดรูถึงขั้นละได เปนขั้นเบื่อหนายตอสังขาร
รูป-นาม ละอภิรติสัญญา (ความทรงจําที่นาเพลิดเพลิน) เสีย คือแจงนิโรธ
อริยสัจ ๕๐ % (อริยสัจ ๔ สมบูรณขึ้นตามลําดับ)๓๗ จัดเปนปฏิปทาญาณทัส
สนวิสุทธิ
ปริญญา ๓ นี้เปนโลกิยะ มีขันธ ๕ เปนอารมณ เปนกิจในอริยสัจ
ขอที่ ๑ คือ ทุกขสัจ ในทางปฏิบัติจัดเขาในวิสุทธิ ขอ ๓-๖ คือ
๑. ตั้งแต นามรูปปริจเฉทญาณ ถึงปจจยปริคคหญาณ เปนภูมิแหง
ญาตปริญญา (ญาณที่รูสภาวะลักษณะของรูปนาม) โดยจัดเขาใน ทิฏฐิวิสุทธิ
และ กังขาวิตรณวิสุทธิ
๒. ตั้งแตสัมมสนญาณ ถึงอุทยัพพยญาณ เปนภูมิแหง ตีรณปริญญา
ญาณที่รู สามัญญลักษณะ โดยจัดเขาในมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ
๓. ตั้งแต ภั งคญาณ ขึ้น ไปจนถึง มรรคญาณ เปนภู มิแห ง ปหาน
ปริญญา ญาณที่ทําหน าที่ล ะนิ จจสัญญา เป นต น๓๘ โดยจัด เขาในปฏิ ปทา
ญาณทัสสนวิสุทธิ
ญาณที่ ๕ - ๑๓ อารมณและจิตที่กําหนดไดดับหายไปพรอมๆ กันทุก
ครั้ งที่ กําหนด นั้ นคื อ ป ญญาที่พิ จารณาเฉพาะความดั บไปของรู ป-นามอยู

๓๗
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ , ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒ วิปสสนา
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร : หจก. ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๕๔), หนา ๑๓๒.
๓๘
จํารูญ ธรรมดา, วิปสสนาชุนี หลักการปฏิบัติวิปสสนา (สมบูรณ), พิมครั้ง
ที่ ๑,กรุงเทพ : หางหุนสวนจํากัด ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๓, หนา ๒๕๖.
๖๔๒
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
เนืองๆ กําหนดจิต ดับไปพรอมอารมณที่ปรากฏมี อาการเผลอบอยๆ แลวจิต
เกาะกับนิวรณ เพราะความดับไปของจิตกับอารมณ จิตจึงไปเกาะอารมณที่เคย
ชินคือ กิเลส พบแตการดับ นิมิต หรืออาการปรากฏรวดเร็ว ตามไมทัน สติตั้ง
มั่นอยูในนิโรธ ความสิ้นไป เสื่อมไป เห็นวา “สังขารเกิดขึ้นอยางนี้ แลวดับไป
อยางนี้ เปนธรรมดาเนืองๆ”คือ ทางอันประเสริฐ ที่ทําใหผูปฏิบัติพนทุกขได
เมื่อทํามรรคมีองค ๘ ใหสมบูรณซึ่งเปนกระบวนการเกิดจากการกําหนดรู รูป-
นาม ที่ประกอบด วยปชานาติ (ใส ใจ) มรรคนี้ เป นเบื้ องต นซึ่งเป น โลกียะ๓๙
ได แก สติ ป ฏฐาน ๔ สั มมั ปปธาน ๔ เป นต น ที่ จะนํ าไปสู อริ ยมรรคที่ เป น
โลกุตระ ประหารกิเลสอยางสิ้นเชิง โดยที่พัฒนาวิปสสนาญาณตามลําดับจนถึง
มรรคญาณ องคมรรคทั้ง ๘๔๐ ยอมเกิดขึ้นพรอมกัน คือ สัมมาทิฏฐิ๔๑สัมมา
สังกัปปะ สัมมาวาจา สั มมากัมมันตะ สั มมาอาชี วะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ
สัมมาสมาธิ ทําหนาที่ละสมุทัย ดับกิเลสโดยสมุจเฉทประหาร บรรลุเปนพระ
อริยบุคคลโดยลําดับของอริยมรรคจัดเปน อริยสัจ ๔ คือ “ในญาณที่ ๑๔, ๑๕,
๑๖แจงนิโรธ อริยสัจ ๔ เกิดขึ้นตามลําดับจนสมบูรณ”
มัคคอริยสัจความจริงที่แทวา ทางปฏิบัติเพื่อใหเขาถึงพระนิพพาน
มีอยูจริง สามารถปฏิบัติใหรูแจงไดในปจจุบันขณะนี้ นั่นคืออาจเจริญภาวนา
แนวทางศีล สมาธิ ปญญา ทํามรรคใหมีองค ๘ ใหสมบูรณ
มรรคสัจจไดแก ปญญาที่เห็นสภาพธรรมตั้งแตเริ่มแรก จนกระทั่ง
ดับลงไป สิ้นไป หมดไป เปนมัคคสัจจ ดังบาลีวา “นิโรธปฺชานนา มคฺคสจฺจํ”
เปนที่ทราบชัดซึ่งทุกขสมุทัย วาดับลงไปตอนไหน เปน มัคคสัจจ

๓๙
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๒๕๓/๑๗๘.
๔๐
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๖/๔๖๘.
๔๑
ที.ม.(ไทย) ๑๐/๒๙๐/๒๒๔.
๖๔๓
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม

อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๕ (ขันธ ๕)
๐-๑ (สุขเวทนา)
๕ (อายตนะ)
๕.ภังคญาณ ๑๐ ๔ (โสมนัสส) ๑๐ (จิตกุศล) ๕๐
๕ (โพชฌงค)
๕ (อุเบกขา)
๕ (อริยสัจ)
๐-๑ (นิวรณ)
๒ (ทุกขเวทนา)
๘. ๕ (ขันธ ๕)
๑๐ (โทมัสสเวทนา) ๑๐ (จิตกุศล)
๑๐ ๕ (อายตนะ) ๔๐
นิพพิทาญาณ 0 (สุขเวทนา) ๓ (จิตอกุศล)
๕ (โพชฌงค)
๓ (อุเบกขา)
๖ (อริยสัจ)

๑. กายานุปสสนา ๑๐ % (เทาเดิม) พองยุบแทบไมมี แตนิวรณ


กลับมาแบบเกิดๆ ดับๆ ขัดๆ เคืองๆ ไมไดดั่งใจ
๒. เวทนานุปสสนา ๑๕% (โสมนัสสุขใจหดหายไป โทมนัสเพิ่มขึ้น
๑๐% ,สุขกาย ๒ % อุเบกขา ๓ % มีโทมนัสเบื่อหนายในกองสังขาร
ปรากฎขึ้น
๓. จิตตานุปสสนา ๑๓ % (กุศลจิต ๑๐% [จากเดิม ๑๐%], อกุศล
จิต ๓ % [จากเดิม ๐%]) จิตกุศลเทาเดิม จิตอกุศลเพิ่มขึ้น รูสึกเบื่อหนายใน
กองสังขาร แจงชัดทุกขอริยสัจมากขึ้น
๔. ธัมมานุปสสนา ๒๒ % (ขันธ ๕ % ,อายตนะ ๕ %, โพชฌงค ๕
%, อริยสัจ ๖ % [รวมเปนโพธิปกขิยธรรม ๑๑ % จากเดิม ๓ %]) แตนิวรณ
กลับมาเกิดๆ ดับๆ เปนอารมณของธัมมานุปสสนา ไมใชงวง แตฟุงในธรรม
มีโพชฌงค ๕ % อริยสัจ ๖%
เพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนาลดลง ๔๐ % และใสใจ
พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม ๖๐ % แตเนนไปที่สภาพนามธรรมที่เปน
อารมณจิต

๖๔๔
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
เมือ่ ผูปฏิบัติมาถึงญาณนี้แลวจะพบวามีสภาวะและการกําหนดรูทาง
กายานุปสสนาแค ๑๐ % แตจะมีภาวะโทมนัสทางจิตเพิ่มขึ้น และเปน
อุเบกขาบางเปนบางครั้ง แตเวลากําหนดรูก็ดับเร็ว สวนจิตตานุปสสนามี ๑๓
เปอร เ ซ็ น ต แบ ง เป น จิ ต กุ ศ ล ๒๐ เปอร เ ซ็ น ต และจิ ต ที่ เ ป น อกุ ศ ล ๓
เปอรเซ็นต หมวดธัมมานุปสสนา ๒๒ เปอรเซ็นต เห็นสภาพธรรมที่เปนทุกข
อริยสัจเพิ่มขึ้น ๖ เปอรเซ็นต และมีนิวรณเกิดดับอันเนื่องจากมีจิตเปนอกุศล
กับโทมนัสสเวทนา อันเกิดจากสภาพธรรมของนิพพิทาญาณ คือ กําหนดรูป
นามเกิดดับมากๆ จนรูสึกเบื่อหนายในกองสังขาร
ความสมดุลของอินทรีย ๕
วิปสสนาญาณ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา
๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐%
นิพพิทาญาณ ๕๐ ๔๐ ๗๐ ๕๐ ๗๐
เมื่อผูปฏิบัติมาถึงนิพพิทาญาณจะเห็นรูปนามที่เกิดดับมากๆ เร็วๆ
จนเกิดความรูสึกกลัว เห็นทุกขโทษ เกิดความเบื่อหนายของสังขารขึ้นมา ทํา
ใหมีศรัทธาในการปฏิบัติ ๕๐% เมื่อเกิดความกลัวและเห็นทุกขโทษ เกิด
ความเบื่อหนายขึ้นแตก็กําหนดรูรูปนามอยูจึงมีความเพียรหรือวิริยะ ๔๐%
สวนสติในญาณนี้ มีประมาณ ๗๐% สติ ยิ่งมากยิ่งดี แตสมาธิในช วงนี้ มีแค
๕๐% เพราะมีนิวรณมาปะปนอยู ปญญาที่เกิดจากการกําหนดรูสําหรับชวง
นี้มีประมาณ ๗๐ % เพราะเริ่มกลัวรูปนามที่มีความเกิดดับอยางไมขาดสาย
เกิดเห็นทุกขโทษ เกิดเบื่อหนายขึ้นในสังขารทั้งหลายไมนายินดี การปรับ
อิน ทรี ย ถาวิ ริย ะกับ สมาธิ ไมเ ทากัน ถาวิ ริ ยะน อยกวาสมาธิ ให ล ดสมาธิ ล ง
เพื่อใหเสมอกับวิริยะ แตถาเพิ่มวิริยะมันจะทําใหสมาธิเพิ่มตามมาดวย สวน
สติยิ่งมากยิ่งดี
ในขั้นที่ ๔ นั้นเปนการกําหนดเพื่อออกจากญาณที่ ๖, ๗, ๘ โดย
การดูอาการของตนจิตจนดับ ซึ่งสภาวญาณในขั้นนี้เปนญาณที่เกิดจากผล
ของภังคญาณ คือความดับไปของอารมณพรอมกับจิตที่รูอารมณ ทําใหเห็น
โทษเห็นภัยของรูป-นาม อุปมาเหมือนคนที่ไมปรารถนาในบาตรที่มีรูรั่ว ๓ รู
๖๔๕
บทที่ ๑๒ พิจารณาเห็นความเปนทุกขของรูปนาม
ฉันใด การที่ปญญาญาณเห็นรอยรั่วของรูป-นามโดยความเปนอนิจจัง ทุกขัง
อนั ต ตา ย อมส งผลให เ กิด ความกลั ว เห็ น ภั ย เห็ น โทษ และเบื่ อหน ายใน
อัตภาพนั้น เชนกัน
สําหรับเทคนิคการปฏิบัติ เพื่อใหสามารถผานในบันใดขั้นนี้ไปได
อยางรวดเร็ว ก็คือ ใหเพิ่มในการรูอาการของจิตที่ปรารถนาจิตที่เริ่มตน ให
ได ๘๐ เปอรเซ็นตขึ้นไป ก็จะไดผานขั้นที่ ๔ ไดอยางรวดเร็ว
สรุปความวา ในขั้นที่ ๔ นั้นเปนการกําหนดเพื่อออกจากญาณที่ ๖,
๗, ๘ โดยการดูอาการของตนจิตจนดับ ซึ่งสภาวญาณในขั้นนี้เปนญาณที่เกิด
จากผลของภังคญาณ คือความดับไปของอารมณพรอมกับจิตที่รูอารมณทํา
ใหเห็นโทษเห็นภัยของรูปนาม อุปมาเหมือนคนที่ไมปรารถนาในบาตรที่มีรู
รั่ว ๓ รู ฉันใด การที่ปญญาญาณเห็นรอยรั่วของรูปนามโดยความเปนอนิจจัง
ทุกขัง อนัตตา ยอมสงผลใหเกิดความกลัว เห็นภัย เห็นโทษ และเบื่อหนาย
ในอาตภาพนั้น

๖๔๖
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูป-นาม
การพิจ ารณาเห็ น สั งขารทั้งหลายเป น อนั ตตา โดยเป น สิ่ งไมใช
ตัวตน โดยเปนฝายอื่น โดยเปนของวาง๑ โดยเปนของเปลา โดยเปนของสูญ
โดยเปนของไมมีใครเปนเจาของ โดยเปนของไมมีใครเปนใหญ โดยเปนของ
ไมอยูในอํานาจใคร ผูที่เห็นตามความเปนจริงดังกลาวมานั้น ไดยกขึ้นสูไตร
ลักษณแลว๒
เมื่อโยคีไดผานวิปสสนาญาณที่ ๖-๗-๘ เห็นภัย เห็นโทษ จนกระทั่ง
เกิดความเบื่อหนายในรูป-นามที่กําลังกําหนดอยูนั้นแลว จะเกิดความกลัด
กลุมรําคาญอยางยิ่ง จึงอยากใครที่จะไปใหพนเสียจากรูป-นามที่กําหนดอยู
นั้น จากนั้นจะเกิดปญญาพิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูป-นาม อาการ
พอง-ยุ บจะกลั บมาปรากฏชั ดอี กครั้ ง แต มี ความแปรปรวนของอารมณ ใน
ลักษณะของอนัตตา บังคับไมได๓เห็นความเปนอนัตตา คือความไมใชตัวตน
ของรูป-นาม จึงทําใหจิตอยากพน อยากหนี เพราะกะเกณฑในอารมณไมได
พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม ตองกําหนดใหเห็นอาการ
ดับของจิ ตอยาก ให ได กอนทุกครั้ ง จั ดเป นญาณที่ ๙ มุญจิ ตุ กั มยตาญาณ
และญาณที่ ๑๐ ปฏิสังขาญาณ ซึ่งเปนภูมิแหงปหานปริญญา จัดเปนนิโรธ
อริยสัจและมรรคอริยสัจ
พอถึงญาณนี้บางคนรูสึกเบื่อหนายไมอยากกําหนดก็มี บางคนเตรียม
หอของอยากจะออกหนีก็มี เพราะจิตไมถนัดในอารมณ จึงทําใหรูสึกวาการ
กําหนดไมกาวหนา และ จิตกําหนดเห็นอารมณเดิมๆ จนบางครั้งไมอยากมีรูป-
นาม อีกตอไป ปรารภนาจะไปนิพพาน เพราะเห็นวามีเพียงพระนิพพานเทานั้น
ที่สามารถทําใหพนจากสภาวะนี้ได

วิสุทฺธ.ิ (ไทย) ๓/๒/๑๕๗.

ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕๒/๘๒.

สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๙๐/๑๗๑.
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
การปฏิ บั ติ ใ นขั้ น นี้ เ ป น การพิ จ ารณาเห็ น ความไม ใ ช ตั ว ตนของ
อารมณ เมื่อผานบันไดขั้นที่ ๕ มาแลว พองยุบจะกลับมาปรากฏชัด แตมี
ความแปรปรวนของอารมณในลักษณะของอนัตตา บังคับไมได๔จิตของโยคี
กําหนดไมถนัดเหมือนคนที่มีความรูอยางหนึ่ง แตกลับไดทํางานอีกอยางหนึ่ง
จึงทําใหจิตอยากพน อยากหนี เพราะกะเกณฑในอารมณไมได
วิธีบริกรรมภาวนา : ใส ใจเพงรูในอารมณที่จิ ตรับรูในปจจุบั น
ขณะนั้น อยางจดจอ ตอเนื่อง โดยไมซัดสายไปหาอารมณ การกําหนดรูแบบ
วิปสสนาเปนการพยายามเพงพิจารณาอาการของอารมณนั้นๆ โดยไมใหจิต
ซัดสายไปหาอารมณอื่นๆ แตไมพยายามปดกั้นไมใหอารมณอื่นๆ แทรกเขา
มา และหากมีอารมณอื่นๆ แทรกเขามาได ก็ใหเพงรูลงในอาการของอารมณ
ใหมนั้นทันที พรอมๆ กับสังเกตุเห็นอาการของจิตที่จากคลายจากอารมณ
เกากอนหนานั้นไปดวย หลักการสําคัญในการบริกรรมภาวนาในขั้นนี้ ตอง
พยายามน อ มจิ ต เพง ความรู สึ กไปที่ตั ว อารมณ ๙๐ % (ดู ก าย ๑๐% +ดู
เวทนา ๒๐%ดูจิต ๒๐+ดูธรรม ๔๐ %) ใสใจจิตที่เพงบริกรรมเพียง ๑๐ %
เมื่อโยคีนั่งปฏิบัติภายใน ๑ ชั่วโมง ไมปรากฏทุกขเวทนาเลย ตลอด
๓ วันที่ผานมา หรือกําหนดรูจิตคิดดับไดภายใน ๑-๓ ครั้ง ก็ใหปฏิบัติเหมือน
ขั้นที่ ๔ ใหครบบริบูรณ โดยเฉพาะจิตอยากจับ อยากหัน อยากมอง การ
กํ า หนดในขั้ น นี้ เ ป น การกํ า หนดเหมื อ นขั้ น ที่ ๔ ที่ แ ตกต า งคื อ การเพิ่ ม
รายละเอียดดูสภาวธรรมของรูปนามโดยมีรายละเอียดดังนี้

๑. วิธีกราบและกําหนดรูอริยาบถ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
กราบใหชาลง ๑๕-๒๐ นาที เปนอยางนอย โดยเพิ่มตนจิตและเพิ่ม
จังหวะหยุด เมื่อมีอารมณอื่นเขามาแทรกซอนเช ามา เชน ขณะยกมือขึ้น
กราบ ลมเย็นพัดเขามากระทบรางกาย ใหกําหนด “ถูกหนอ” “เย็นหนอ”
จนดับไปกอน แลวจึงคอยกําหนดยกตอไป เปนตน


...ธรรมทั้งปวงเปนอนัตตา ; ดูรายละเอียดใน สํ.ข. (ไทย)๑๗/๙๐/๑๗๑.

๖๔๘
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
เทคนิคการกราบใหได ๒๐ นาที โดยการกราบใหครบสติปฏฐาน ๔
พลิกเปนกาย, จิตอยากพลิก, ถามีงวงซึมใหหยุดแลวกําหนด งวงหนอรูธรรม
แลวพลิกตอ

๒. วิธีเดินจงกรม แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
ตองเดินจงกรมสลับกับยืนกําหนดรูใหได ๒ ชั่วโมง และในจังหวะที่
๑-๓ ใหเพิ่มตนจิตในทุกๆ กาว ขณะเดินจงกรม พึงใสใจกําหนดรูจิตอยาก
หัน อยากมอง อยากพูดอยากคุย โดยไมหันไปมองหรือพูดคุย ใหไดทันกอน
ทุกครั้ งอนึ่ ง หยุ ด กํ าหนดรู อ าการคัน ปวด เมื่ อย และอาการคิ ด จนเห็ น
อาการดับกอน ทุกครั้ง จึงจะกําหนดเดินตอไป
เดินจงกรมใหครบทั้ง ๖ จังหวะ และในจังหวะที่ ๑-๓ ใหเพิ่มตนจิต
ในทุกๆ กาว คือ ใหตัดคําบัญญัติ “ขวา-ซาย”ออกไป กําหนดรูจิตคิดจะยาง
กอนยางเทาทุกๆ กาว “อยากยางหนอ-ยางหนอ” “อยากยาง หนอ-ยาง
หนอ” ...ในการกาวเดินไปหองน้ํา เดินกลับที่พักก็ใหกําหนด “ยาง..เหยียบ”
หรือ “ยก...เหยียบ”ตลอดทั้งวัน
เพิ่มสติรูจิตที่คิดจะยาง คิดจะยกใน ๓ ระยะแรก ดังนี้
ระยะที่ ๑ ขวายางหนอ-ซายยางหนอเปลี่ยนเปนรูจิตที่คิดจะยาง
กอนวา “อยากยางหนอ” แลวกําหนดรูอาการยางไปของเทาวา “ยางหนอ”
ตัดคําบริกรรมวา “ขวา - ซาย” ซึ่งเปนสมมติบัญญัติออกไปเดินกําหนดจน
จิตสงบอยูกับอารมณความคิดนอยลงจึงเพิ่มเปนจังหวะที๒่
ระยะที่ ๒ ยกหนอ-เหยี ย บหนอเพิ่ ม เป น รู จิ ต ที่ คิ ด จะยก-คิ ด จะ
เหยียบกอนยกกอนเหยียบทุกครั้งวา “อยากยกหนอ - ยกหนอ” “อยาก
เหยียบหนอ-เหยียบหนอ” จนขามั่นคงไมเซจึงเพิ่มเปนจังหวะที๓่
ระยะที่ ๓ ยกหนอ-ยางหนอ-เหยียบหนอเปลี่ยนเปนรูจิตที่คิดจะยก
คิดจะยางคิดจะเหยียบกอนยกกอนยางกอนเหยียบทุกครั้งวา“อยากยกหนอ-
ยกหนอ” “อยากยางหนอ-ยางหนอ” “อยากเหยียบหนอ-เหยียบหนอ” จน
ขามั่นคงไมเซจึงเพิ่มเปนจังหวะที๔่
๖๔๙
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
ในขณะกําหนดจนเห็ นอาการดับ ไปของเทาแตล ะจังหวะ ให เพิ่ม
สังเกตเห็นอาการดับไปของตัวจิตเองที่เขาไปกําหนดรูอาการดับในจังหวะ
ของเทานั้ น ๆ ดว ย คือที่ดั บ ไปพร อมกับอารมณที่ถูกกําหนดนั้ น หากเห็ น
อาการดับของจิตนั้นชัดเจน ใหกําหนดรูวา “รูหนอ”ดวย
โยคีที่ถึงญาณที่ ๙,๑๐ จะตองเพิ่มเทคนิคการเดิน ใหซอยถี่ๆ ไมเกิน
๓ ครั้ง เชน เดินระยะ ๓ กําหนด “ยกหนอๆๆ- ยางหนอๆๆ - เหยียบหนอๆๆ”
สุดเดิน ใหมีจังหวะหยุดครูหนึ่ง
๓. วิธีนั่งกําหนดรูพอง-ยุบ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
เมื่อโยคีนั่งปฏิบัติ ภายใน ๑ ชั่ วโมง ปรากฏแต สุขเวทนามาระยะ
หนึ่ง ตอมาทุกขเวทนากลับแรงขึ้นมาอีก เหมือนกับวาญาณเสื่อม ญาณถอย
ทั้ ง ๆ ที่ เ พี ย รตั้ ง ใจปฏิ บั ติ ม าตลอด พอง-ยุ บ จากที่ กํ า หนดง า ยกลายเป น
กําหนดยาก ลักษณะระหวางพองกับยุบไมสม่ําเสมอกัน บางครั้งสั้น บางครั้ง
ยาวบางครั้ งใกล เ ห็ น ชัด บางครั้ งอยูไกลแทบกําหนดไมเ ห็น อาการพอง-
อาการยุบที่เปลี่ยนแปลงไป พึงกําหนด ดังนี้
๑. โยคีบางคนพอง-ยุบสั้น แผวเบา ใหเพิ่มอาการจดจองไปที่อาการ
พอง-ยุบนั้น โดยบริกรรมเพียงวา “พอง-ยุบ” ไมตองใส “หนอ” ตอทาย
๒. โยคีบางคน พอง-ยุบยาว แผวเบา มีจังหวะหยุด ระหวางพอง-
ระหวางยุบ จนทําใหเกิดอาการจิตวูบ สัปหงกบอยๆ โยคีพึงปฏิบัติ ดังนี้
๒.๑ เพิ่มการเดินจงกรมใหถึง ๖ จังหวะ
๒.๒ จังหวะหยุดระหวางพอง-ยุบ ใหเพิ่มจิตรูลงไปในอาการนั้น
คือ บริกรรมไปตามอาการวา “พองหนอ-รูหนอ” “ยุบหนอ-รูหนอ”
๒.๓ จังหวะหยุดระหวางพอง-ยุบ นานขึ้นกวานั้น ในระหวางที่
หยุ ด ให ส ง จิ ต ไปกํา หนดรู อ าการนั่ ง ตั้ งแต ศี ร ษะจนถึง เทา รวดเดี ย ว คื อ
บริกรรมไปตามอาการวา “พองหนอ-นั่งหนอ”“ยุบหนอ-นั่งหนอ”
พิเศษ กํา หนดรู ร ูป นั ่ง เฉพาะที่มีจ ัง หวะหยุด เทา นั ้น ถา ไมมี
จังหวะหยุด ก็ไมต องเพิ่ม และถากํา หนดรูป นั่งแลว อาการพอง-ยุบ ยังไม
เกิด ขึ้น ก็ใหเ พิ่ม จิต รูอาการถูกที่จุด ต า งๆ เขา ไปอีก คือ ที่มือถูกกัน , ที่
๖๕๐
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
กน ยอ ยขา งขวา, ที่กน ยอ ยขา งซา ย สลับ หมุน เวีย นไปเรื่อ ยๆ จนกวา
อาการพอง-ยุบจะกลับมา
เมื่อญาณปญญาพัฒนาไปตามลําดับ อาการพอง-ยุบปรากฏนอยลง
บางครั้งนิ่งหายไปเปนพักๆ และจะนิ่งหายไปนานขึ้นๆ หรือสําหรับบางคน
ปรากฏแต อาการพอง อาการยุบ ไมปรากฏ บางคนปรากฏแตยุ บ พองไม
ปรากฏ ก็ใหกําหนดไปตามที่ปรากฏนั้น หากพอง-ยุบไมปรากฏ ก็ใหกําหนด
“นั่งหนอ-ถูกหนอ” สลับจุดไปเรื่อยๆ คือ ที่มือถูกกัน, ที่กนยอยขวา, ที่กน
ยอยซาย จนกวาพอง-ยุบจะกลับมาแตถาหากพอง-ยุบไมกลับมา ก็ใหสังเกต
อาการนั่ ง อาการถู ก ว าชั ด เจนหรื อ ไม ถา เห็ น ไมชั ด เจนให กํา หนดเพีย ง
อาการรูวา “รูหนอ” แทนหากสวนไหนหายไป สงจิตไปรับรูไมได ก็ไมตอง
สนใจสวนนั้นอีกตอไป ใหเพิ่มสติรูไปในรูปสัมผัสอื่นๆ ที่ปรากฏชัดแทน เชน
ตาตุมขวา ตาตุมซาย เขาขวาเขาซาย แขนขวา แขนซาย เปนตน

๔. วิธีกําหนดรูอิริยาบถ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
โยคีตองกําหนดอิริยาบถยอยทั้งรูปธรรมและนามธรรม ตั้งแตจิต
แรกที่ ตื่ น จนถึ ง จิ ต สุ ด ท า ยที่ ห ลั บ ไป แม แ ต เ บ ง ถ า ยอุ จ จาระ ขมิ บ ก น ให
อุจจาระขาดออกจากกน ก็ตองกําหนด!
สภาวะชวงนี้เปรียบประดุจการทากิเลสขึ้นชกมวยสากลชิงแชมป
โลก คูตอสูก็คืออุปาทานขันธ ๕๕ ที่ผานการฝกซอมมานานหลายแสนโกฏิป
สวนเราผานการซอมมาเพียง ๒๐-๓๐ วันเทานั้น และในแตละวันก็ซอมเพียง
๕ -๗ ชั่งโมงเทานั้น แตมาบัดนี้กลาที่จะทาชิงแชมปวัฏฏะ ภายใน ๕ วัน ๗
วั น จึ ง ต อ งเปลี่ ย นแผนการซ อ มใหม เพิ่ ม เป น วั น ละ ๑๐-๑๕ ชั่ ว โมง
โดยเฉพาะตองซอมวิ่งใหมากขึ้น โยคีหลายคนสงสัยวา “ทําไมตองกําหนด
อิริยาบถยอยใหมากมาย ดูสับสนวุยวาย นารําคาญ” (ตอบวา : ก็เปรีย บ
เหมือนนักมวยสากล ตั้งคําถามวา “มวยสากลเขาใชมือตอยกันทําไมตอง
ซอมวิ่ง เหนื่ อยเปลาๆ สูเ อาเวลาไปซอมชก ซอมตอยอยางเดีย วไมดี กว า

ดูรายละเอียดใน สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๔๘/๖๗.
๖๕๑
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
หรือ?” แลว ..ผลที่จะเกิดขึ้นกับนักมวยผูนี้..คือ?? ...ฝมือการตอยมีลูกเลน
แพรวพราว แต..หมดแรง! การซอมวิ่งเยอะๆ ของนักมวยสากล ก็ดุจเดียวกับ
การกําหนดอิริยาบถยอยอยูตลอดเวลา)
อิริยาบถฉัน : อมอาหารนานๆ กําหนดตนจิต “อยากเคี้ยวหนอๆ”
จนหายอยาก (จิตเปนอุเบกขา) กอนเคี้ยวทุกๆ คํา
กําหนดต น จิ ต ให ไดทุกๆ อาการ กําหนดรู ทัน จิ ต อยากจั บ อยาก
เคี้ยวทันกอนจับ กอนเคี้ยวทุกครั้ง กําหนดเคี้ยวจนรสชาติจืดสนิทกอน จึง
กลืนทุกคํากลืน เมื่อเคี้ยวเสร็จ ตองกําหนดจิตอยากกลืนใหไดกอนจึงกลืน
ทุกคํากลืน กําหนดใหได ๔๐-๕๐ นาที เปนอยางนอย๖
ในการฉั น หรื อ กิ น ให เ พิ่ ม การกํ า หนดต น จิ ต ถี่ ขึ้ น เช น ยกมื อ ตั ก
อาหารขึ้นใหกําหนดวา “ขึ้นหนอๆๆๆ” ถีๆ่ จนหมดอาการ
อาปากใหกําหนดวา “อาหนอๆๆๆ” ถีๆ่ จนหมดอาการ
ขณะกลืนใหกําหนดวา “ลงหนอๆๆๆ” หรือ “ไหลหนอๆๆๆ”
ใจคอหงุดหงิด เอือมๆ เบื่อๆ ใหกําหนดวา “หงุดหงิดหนอๆๆๆ”
“เบื่อหนอๆๆๆ”
หากมีจิตคิด อยากออก อยากหนี อยากหลุด อยากพน ก็ใหกําหนด
สภาวะจิตนั้นๆ จนกวาจะดับหายไปเอง
๕. วิธีเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน
แตเมื่อโยคีนั่งปฏิบัติภายใน ๑ ชั่วโมง ปรากฏแตสุขเวทนามาระยะ
หนึ่ง (๒-๗ วัน) ตอมาทุกขเวทนากลับแรงขึ้นมาอีก เหมือนกับวาญาณเสื่อม
ญาณถอย ทั้ งๆ ที่ เ พี ย รตั้ งใจปฏิ บั ติ ม าตลอด พอง-ยุ บ จากที่ กํ า หนดง า ย
กลายเปนกําหนดยากลักษณะระหวางพองกับยุบไมสม่ําเสมอกันบางครั้งสั้น
บางครั้งยาว บางครั้งใกลเห็นชัด บางครั้งอยูไกลแทบกําหนดไมเห็น โยคีนั่ง
ภาวนา ๑ ชั่วโมงครึ่ง เดินจงกรม ๒ ชั่วโมงขึ้นไป
สภาวญาณในขั้นนี้อาการพองยุบกลับมาปรากฏชัด แตมีลักษณะ


“การลางบาปแกไขกรรม ตามคัมภีรพระพุทธศาสนา”, หนา 133.
๖๕๒
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
แปรปรวน ทุกขเวทนากลับมาแรงขึ้นมาอีก เหมือนกับวาญาณเสื่อม ญาณ
ถอย จักเปนญาณที่ ๙ มุญจิตุกัมยตาญาณ และเพราะวาโยคีตองการที่จะ
ออกจากสภาวธรรมจึงพยายามกะเกณฑอารมณต างๆ ที่ป รากฏ จั ดเป น
ญาณที่ ๑๐ ปฏิสังขาญาณ แตทําไมได เพราะสภาวธรรมทั้งหลายไมสามารถ
บังคับได เห็นความเปนอนัตตา คือความไมใชตัวตนของรูป-นาม๗
พอถึ ง ขั้ น นี้ บางคนรู สึ ก เบื่ อ หน า ยไม อ ยากกํ า หนดก็ มี บางคน
อยากจะออกหนีเตรียมหอของอยางนี้ก็มี เพราะจิตไมถนัดในอารมณ จึงทํา
ให รู สึ กว าการกําหนดไมกาวหน า และจิ ต กําหนดเห็ นอารมณเดิ มๆ จน
บางครั้งไมอยากมีรูป – นาม อีกตอไป ปรารภนาจะไปนิพพาน เพราะเห็นวา
มีเพียงพระนิพพานเทานั้นที่สามารถทําใหพนจากสภาวะนี้ได ดังนี้
เพิ่มเติ ม การกําหนดเวทนาในขั้น นี้ ถากําหนดไปแล ว ๔-๕ ครั้ ง
สภาวะ ไมเปลี่ยนแปลง ใหเปลี่ยนคําบริกรรม เพิ่มสติ กําหนดตนจิตใหมาก
กวาเดิม เชน อยากลุ ก อยากนั่ง อยากเดิน อยากจั บ อยากหัน เปนตน (
๙๐-๑๐๐ เปอรเซ็นต )

๖. วิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน
ในขณะกําหนดจนเห็นอาการดับไปของอารมณนั้นๆ แตละจังหวะ
ใหเพิ่มสังเกตเห็นอาการดับไปของ "ตัวจิตเอง" ที่เขาไปกําหนดรูอาการดับใน
จังหวะของเทานั้นๆ ดวย คือที่ดับไปพรอมกับอารมณที่ถูกกําหนดนั้น หาก
เห็นอาการดับของจิตนั้นชัดเจน ใหกําหนดรูวา “รูหนอ”ดวย
การตามกําหนดรูจิต โยคีผูปฏิบัติควรเอาใจใสเปนพิเศษ เพราะการ
กําหนดรูจิตนั้นเปนของละเอียดออนมาก ถากําหนดไมถูกวิธีบางครั้ง ทําให
สับสนและฟุงซานมากขึ้น เปนสาเหตุที่ทําใหเกิดความเครียดและอาการมึน
ตึงของศีรษะไดดวย อันเปนปญหาและอุปสรรคของนักปฏิบัติบางทาน ที่
ขาดความเขาใจในเรื่ องวิธี กําหนดรูแบบนี้ อยางถูกต อง กอนกําหนดต อง
วางใจใหเปนปกติเสมือนหนึ่งไมมีอะไรเกิดขึ้นมากอน เพราะเมื่อไมมีสภาวะ

ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๒๒๗/๒๘๑, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒๗/๓๘๔.
๖๕๓
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
ลักษณะอยางนี้ใจก็เปนปกติ ไมมีชอบหรือชัง แตพอสภาวะนี้เขามาทําใหใจ
เราเสีย ความเป น ปกติ ไป ฉะนั้ น การกําหนดต องดูด ว ยสติป ญญาให รู ต าม
ความจริงที่เกิดขึ้น ไมตองไปคิดปรุงแตงหรือใสขอมูลอื่นใดเขาไปอีก ขอให
กําหนดรูอยางเดียว มันเกิดอะไร คิดอะไรก็ใหกําหนดรูไปตามนั้น เพราะเรา
มีหนาที่กําหนดรูตามความเปนจริงที่เกิดขึ้น เพื่อใหรูเทาทันความเปนจริงที่
เกิดขึ้น จนสามารถถอนอุปาทานความยึดมั่นถือมั่นลงได เราไมมีหนาที่คิด
แตจิตมีหนาที่คิด สติมีหนาที่กําหนดรูก็ใหดูไปตามนั้น ดังนี้
๑. อาการคิ ด เป น ธรรมชาติ ข องจิ ต เรา(สติ ) มี ห น า ที่ กํ า หนดรู
กําหนดจนอาการคิดหาย ใหกําหนดเร็วๆ วา คิดหนอๆๆ , คิดถึงหนอๆๆ
๒. ตองกําหนดเร็ ว แรง ถี่ มีพลั ง เหมือนหวดไม ว า คิด หนอๆๆ
ไมใหมีชองวาง
๓. ไมควรหามจิตไมใหคิด ทางที่ถูกคือตองตามกําหนดรูอาการคิด
นั้นดวยสติที่มีพลังมาก สมาธิยอมเกิดขึ้น ความฟุงก็จะคอยนอยลง แลวหมด
ไปในที่สุด
๔. ในการกําหนดความคิด หามตามดูเรื่องราวที่คิด หนาตาคนที่เรา
คิด ใหเพียงแตกําหนดอาการของจิต ที่กําลังนึกคิดอยูเทานั้น
๕. เมื่ออินทรีย๘แกกลา มีสมาธิตั้งมั่นแลว ใหตามรูถึงการดับลงของ
ความคิดนั้นๆ นั้นดวย พรอมทั้งสังเกตรูถึงเยื่อใย(อุปาทาน)ที่ดับลงไปพรอม
กับอาการคิดนั้นดวย
๖. เมื่อสมาธิตั้งมั่นเปนอุเบกขาไดแลว ใหเพิ่มการรูอาการดับของ
ความคิดนั้นๆ ที่ดับไปพรอมๆ กับจิตที่รูคิด เปนคูๆ นั้นดวยในการกําหนด
สภาวะจิตอื่นๆ ก็มีลําดับขั้นตอนการกําหนดอยางเดียวกัน

๗. วิธีเจริญธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน
บางคนมีอ าการนั่ ง สั่ น นั่ ง โยก จนรู สึ กกลั ว ไม อยากปฏิ บั ติ ต อ มี
สาเหตุหลัก ๒ ประการ คือ

ดูรายละเอียดใน สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๔๘๑/๒๙๒.
๖๕๔
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
๑) เพราะกําหนดไมตรงสภาวะ กําหนดเพลินจนอาการพอง-ยุบนิ่ง
หายไปแลว แตก็ยังนั่งทอง “พองหนอ-ยุบหนอ”อยู (ทั้งๆ ที่ไมเห็นพองยุบ)
จนกายสั่ นไปตามอาการกําหนดนั้น โยคีพึงกําหนดใหตรงสภาวะ ให เห็ น
อาการพอง-อาการยุบกอนจึงคอยกําหนด ถาพองยุบไมมี หรือหายไปก็ให
กําหนดวา “หายหนอ” “ไมมีหนอ” อยานั่งทองพอง-ยุบ
๒) เพราะอาการพอง-ยุบมีอาการเบาสบาย กําหนดจนเพลิน จนสติ
หลุดออกจากอาการของรูป ทําใหกายไหวโยกโคลงไปตามจิตที่เลื่อนลอยนั้น
ตองเพิ่มสติสังเกตสภาวธรรมารมณไปดวย ตามอาการที่ปรากฏชัดวา “พอง
หนอ-เพลินหนอ” “ยุบหนอ-เพลินหนอ” “พองหนอ-สบายหนอ” “ยุบหนอ-
สบายหนอ” ถามีอาการสั่นมากใหกําหนดตามอาการวา “สั่นหนอๆ” “โยก
หนอๆ” หรือ“อยากสั่นหนอๆ” “อยากโยกหนอๆ” จนกวาจะหาย ถายังไม
หายใหกําหนดสั่งวา “หยุดหนอ” ดังๆ
สภาวธรรมในชวงนี้จะไมเปนไปดั่งใจสภาวะอนัตตาจะปรากฏชัดขึ้น
เรื่อยๆทําใหเกิดขอสงสัยขึ้นในใจโยคีไดวา“นั่ง๒ชั่วโมงก็นั่งไดแลวนั่งไมมี
ทุกขเวทนาเลยก็เคยผานมาแลวแตทําไมวันนี้ปฏิบัติไมไดเลยเวลานั่งก็อยาก
เดินเวลาเดินก็อยากนั่งทุกขอยางไรก็พยายามอดทนแต๒-๓วันมานี้รูสึกวาไม
พัฒนาเลยเหมือนญานเสื่อม” พระวิปสสนาก็จะอธิบายวา “นั่นเปนเพราะ
เรามีอุปาทานในการกําหนดอยากใหเปนอยางนั้นอยากใหเปนอยางนี้อยาก
กําหนดใหชัดอยากนั่งใหสบายเหมือนวันกอนๆนั่นเปนการยึดมั่นเปนอัตตา
วาเปนตัวเปนตนอยากใหสภาวะเปน ไปดั่งใจผิดหรือถูก? สภาวะจะชั ด
หรือไมชัดเปนเรื่องของมันหรือเปนเรื่องของเรา??.. การที่เราไปกะ..เกณฑวา
ตองอยางนั้นต องอยางนี้ตองสงบตองอยาคิดอยามีเสียงรบกวนเพื่อนตอง
เงี ย บอย าพู ด อย า คุย ..เช น นี้ เ ป น การยึ ด เป น ตั ว เป น ตน ...เป น อั ต ตาหรื อ
อนัตตา? (เปนอัตตา) การกําหนดอยากใหเปนไปดั่งใจเปนตัณหาหรือเปน
สติ?...(เปนตัณหา)
พระพุทธเจาตรัสวาอะไร? “สพฺเพธมฺมาอนตฺตา” การที่กําหนดดวย
อํานาจความอยากใหชัดเปนอัตตาหรืออนัตตา?? “ถูกหรือผิด”?? สภาวะจะ

๖๕๕
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
ชัดหรือไมชัดเปนเรื่องของสภาวะขอใหสติรูชัดก็พอ.. แมสภาวะจะไมชัดแตมี
สติรูชัดวา“ไมชัดหนอ” “กําหนดยากหนอ” “งงหนอ” ..”ตามอาการ
เพราะสภาวะที่ เ ป น ปรมั ต ถ แ ท ๆ นั้ น ยิ่ ง อยากกํ า หนดให ชั ด ..ยิ่ ง
กําหนดไมไดยิ่งอยากบรรลุ..ยิ่งฟุงซานเปรียบเหมือนกับคนปลูกมะมวงหมั่น
รดน้ําใสปุยอยากใหออกดอกออกผลเร็วๆจึงไปฉีกกิ่งฉีกกานดูวาจะออกดอก
ออกผลแลวหรือยัง...สุดทายกิ่งกานเฉาตาย!
ในการปฏิ บั ติ วิ ป ส สนานั้ น ผู ป ฏิ บั ติ ทํา ได แต ร ดน้ํ า ใส ปุ ย พรวนดิ น
เทานั้นจะออกดอกออกผลเมื่อไหรไมใชกิจของเรา ..นั่นเปนกิจของตนไม ...
การบรรลุ ธ รรมก็ เ ช น กั น โยคี ผู ป ฏิ บั ติ ธ รรมมี ห น า ที่ เ พี ย งกํ า หนดอารมณ
ปจจุบันอยางตอเนื่องพอกพูนอินทรียใหแกกลาขึ้นตามลําดับ..ทํามรรคให
เจริญเทานั้นจะบรรลุเมื่อไหร...ไมใชกิจของโยคีแตเปนกิจของนิโรธ(นิพพาน)
ที่จะเกิดขึ้นเอง หรือเปรียบเหมือนกับการยิงจรวดทําลายขาศึกทหารทํา
หนาที่เพียงสงจรวดเขาสูเปาหมายเทานั้นจรวดจะระเบิดทําลายเปาหมาย
หรือไมเปนกิจของจรวดเอง ...ซี่งบางครั้งก็ไมระเบิดเพราะกลไกภายในไม
ทํ า งานอั น เนื่ อ งมาจากเกิ ด สนิ ม บ า งกลไกไม ส มบู ร ณ บ า ง ...โยคี ที่ ศี ล ไม
บริสุทธิ์บารมีไมบริบูรณก็ดุจเดียวกัน ..ศีลที่ไมบริสุทธิ์คือสนิมในใจของโยคี ?
ดังนั้น การกําหนดในขั้นนี้ใหกําหนดเหมือนขั้นที่ ๔ แตตองเพิ่มการ
สังเกตสภาวธรรมของรูป-นาม เชน หนัก เบา เล็ก ใหญ เปนตน ไมไปเพง
บริกรรมเพราะจะทําใหเกิดอาการเครียด และใหกําหนดจิตดับของทุกสภาว
วะที่จิตเขาไปรู บางครั้งอารมณดับจากจิต บางครั้งจิตดับไปจากอารมณ

๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๔ สมบูรณ
เมื่อโยคีไดผานวิปสสนาญาณที่ ๖-๗-๘ เห็นภัย เห็นโทษ ตลอดจน
กระทั่งเกิดความเบื่อหนายในรูป-นามที่กําลังกําหนดอยูนั้นแลว จะเกิดความ
กลัดกลุมรําคาญอยางยิ่ง จึงอยากใครที่จะไปใหพนเสียจากรูป-นามที่กําหนด
อยูนั้น โยคีบางคนเกิดความกลัดกลุมถึงกับหอบหมอนจะลาอาจารยกลับ
บานโบราณเรียกวา “ญาณมวนเสื่อ”บางคนอยากเลิกปฏิบัติ อยากพักผอน
เดินเที่ยวดูโนนดูนี่ แตจิตมักจะกําหนดอยูร่ําไป บางคนตอนนั่งกลางคืนกลัด
๖๕๖
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
กลุมขึ้นมา เลิกกําหนดจะนอนก็ไมหลับ ผลุดลุกผลุดนั่ง ตั้งใจวาเชาจะกลับ
บาน พอถึงเวลาเขาจริงก็หายไป
จากนั้ น จะเกิดป ญญาพิจารณาเห็ นความไมใช ตั วตนของรู ป-นาม
อาการพอง-ยุบจะกลับมาปรากฏชัดอีกครั้ง แตมีความแปรปรวนของอารมณ
ในลักษณะของอนัตตา บังคับไมได๙เห็นความเปนอนัตตา คือความไมใชตัวตน
ของรูป-นามจิตของโยคีกําหนดไมถนัดเหมือนคนที่มีความรูอยางหนึ่ง แตกลับ
ได ทํ างานอีกอย างหนึ่ ง จึ งทํ าให จิ ตอยากพ น อยากหนี เพราะกะเกณฑใน
อารมณ ไม ได ส วนการกํ าหนดในขั้ น นี้ เ ป นการกํ าหนดเหมื อนขั้ น ที่ ๔ ที่
แตกตางคือการเพิ่มรายละเอียดดูสภาวธรรมของรูป-นาม
สภาวะญาณในขั้นนี้อาการพองยุ บกลับมาปรากฏชัด แตมีลักษณะ
แปรปรวนทุกขเวทนากลับมาแรงขึ้นมาอีก เหมือนกับวาญาณเสื่อม ญาณ
ถอย จักเปนญาณที่ ๙ มุญจิตุกัมยตาญาณ และเพราะวาโยคีตองการที่จะ
ออกจากสภาวธรรมจึงพยายามกะเกณฑอารมณต างๆ ที่ป รากฏ จั ดเป น
ญาณที่ ๑๐ ปฏิสังขาญาณ แตทําไมได เพราะสภาวธรรมทั้งหลายไมสามารถ
บังคับได เห็นความเปนอนัตตา คือความไมใชตัวตนของรูปนาม
พึงทราบวา สภาวธรรม มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณ สังขารุ
เปกขาญาณ โดยอรรถเปนอันเดียวกันตางกันแตพยัญชนะเทานั้น๑๐ แตใน
ที่นี้จะแยกรายละเอียดของแตละญาณ ดังนี้
ญาณที่ ๙ มุญจิตุกัมยตาญาณ
พอถึ งญาณนี้ บางคนรู สึ กเบื่ อ หน า ยไมอยากกําหนดก็มี บางคน
อยากจะออกหนีเตรียมหอของอยางนี้ก็มี เพราะจิตไมถนัดในอารมณ จึงทํา
ให รู สึ กว าการกําหนดไมกาวหน า และจิ ต กําหนดเห็ นอารมณเดิ มๆ จน
บางครั้งไมอยากมีรูป – นาม อีกตอไป ปรารภนาจะไปนิพพาน เพราะเห็นวา
มีเพียงพระนิพพานเทานั้นที่สามารถทําใหพนจากสภาวะนี้ได


สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๙๐/๑๗๑.
๑๐
ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๒๒๗/๒๘๑, ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒๗/๓๘๔.
๖๕๗
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
จิตของผูปฏิบัติธรรม เมิ่อดําเนินมาถึงญาณที่ ๙ นี้แลวก็อยากหลุด
อยากจะพนจากวัฏสงสาร เพราะนิพพาน เห็นแนชัดแลววา ความเกิดในภพ
นี้ก็ดี ความเปนไปของขันธที่เกิดแลวก็ดี ความไมเที่ยงของรูปนามก็ดี การสั่ง
สมกรรมที่จะใหเกิดอีกก็ดี การเกิดมาอีกก็ดี คติตางๆที่จะไปเกิด เชน ทุคติ
สุคติ ก็ดี ความบังเกิดขึ้นของขันธทั้งหลายก็ดี ความเปนไปแหงผลกรรมก็ดี
ชาติก็ดี ชราก็ดี พยาธิก็ดี มรณะก็ดี โสกะก็ดี ปริเทวะก็ดี อุปายาสก็ดี ลวน
แตเปนภัย เปนทุกขเปนโทษ เปนเหยื่อหลอกลอใหหลงติดอยูในภพ เปน
สังขารปรุงแตง ใหไดรับความเดือดรอนทั้งนั้น เกิดความเบื่อหนาย ไมยินดี
ไมช อบ ไมติ ด จิ ต อยากออก อยากหนี อยากหลุ ด อยากพน เพราะเห็ น
ประจักษชัดแลววา ถาไมมีรูปนามเสียได จะเกษม ปลอดภัย เปนสุข ไมมี
เหยื่อลอใหลุมหลง เปนนิพพาน จิตก็มีกําลังกลามุงหนาแตจะออกหนี จะ
หลุดจะพนไปจากสังขาร ธรรมและสังสารวัฏ
อุปมาเปรียบดัง
๑. ปลาติ ด อยู ภ ายในอวน ติ ดแห ติ ดตาข า ย ย อ มดิ้ น รนกระวน
กระวาย อยากหลุดออกไปจากตาขาย จากอวน ฉันใด ผูปฏิบัติก็ฉันนั้น
๒. กบอยูในปากงู อยากออก อยากกระโดหนีลงไปอยูในน้ําลึกๆ
เหลือกําลัง ทั้งดิ้น ทั้งรอง จนสุดความสามารถฉันใด ผูปฏิบัติก็ฉันนั้น
๓. ไกปาถูกขังไวในกรง โดยปกติไกปาเปนสัตวอยูปา ครั้นคนวาง
บวงดักจับได เอาขังไวในกรง ยอมดิ้นกระวนกระวาย ไมมีความสุข มีแต
ทุกขทรมาน อยากออก อยากบินหนีไปอยูปาอันแสนกวางแสนสบาย ตามที่
ตนเคยอยูอยางอิสระโนน ฉันใด ผูปฏิบัติก็ฉันนั้น,
๔. เนื้ออยูในบ วงบาศอันเหนียวแนน ยอมพยายามดิ้นรนจนสุ ด
ความสามารถ เพราะอยากออก อยากหลุด อยากพนไปจากบวง ฉันใด ผู
ปฏิบัติก็ฉันนั้น
๕. งูอ ยูใ นเงื้อ มมือ ของหมองู ย อมอยากออกไปให พ นมื อ อยาก
แลนหนีไปอยูในปาดงพงทึบ ตามความสบายใจของตน ฉันใด ผูปฏิบัติก็ฉัน
นั้น
๖. ชางกุญชรติดอยูในหลมลึก อยากจะถอนตนใหขึ้นจากหลม
๖๕๘
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
พยายามทุกวิถีทางที่จะชวยตัวเองใหพนจากหลม ฉันใด ผูปฏิบัติก็ฉันนั้น
๗. พญานาคอยูในปากครุฑ ยอมอยากออก อยากหลุดหนีไปให
พน ฉันใด ผูปฏิบัติก็ฉันนั้น
๘. พระจันทรเขาไปในปากราหู พระจันทรยอมรูสีกอึดอัด อยาก
หลุดพนจากปากของราหูฉันใด ผูปฏิบัติก็ฉันนั้น
๙. บุรุษถูกศัตรูลอมไว อยากหนจะออกหนีไปใหได ตองพยายาม
หาหนทางที่จะหนี ที่จะเอาตัวรอดเต็มที่ ฉันใด ผูปฏิบัติก็ฉันนั้น
เปนผูมีความปรารถนาจะพนไป มีความมุงมั่นจะออกไปเสียจากที่
นั้นๆ ฉันใด จิตของโยคีผูนั้นก็ฉันนั้น เปนจิตปรารถนาจะพนออกไปเสียจาก
สั ง ขารทั้ง ปวง จึ ง เป น ผู ป ราศจากความอาลั ย ในสั งขารทั้ งปวงแล ว เมื่ อ
ปรารถนาจะพ น ไปจากสั ง ขารทั้ ง ปวงอยู อ ย า งนี้ มุ ญ จิ ตุ กั ม ยตาญาณก็
เกิดขึ้น๑๑
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
ในระยะตนการกําหนดรูสึกถอยๆ พอกําหนดถี่ๆ เห็นอาการขาด
ของอาการเทา ทําใหการกําหนดไวจนรูสึกวาเวลาผานไปไว
ในระหวางการกําหนดตอนเชา มีอาการโยกเวลาเดินเหมือนอยูบน
เรือ หยุดเดินกําหนด โยกหนอๆๆ หรือ โยกหนอ-รูหนอ
บางคนร อนรนกระวนกระวาย ตองอาบน้ํา บางคนแมแตอากาศ
หนาวจั ด ก็ยั งอาบน้ํ าสบาย แมจ ะมีอาการกลั ด กลุ มมากมายเพีย งใดก็ยั ง
อุตสาหกําหนดอยูเสมอ การกําหนดเทาชัดเจนดีทําใหมีกําลังสมาธิแนน รูสึก
วามีพละกําลังมากเทากับคน ๑๐ คน ไมมีอาการกลัวแตอยางใดเลย
ขณะเดินจงกรม เผลอมองบอย
กํา หนดพิ จ ารณารู ป นามสั ง ขารโดยไตรลั ก ษณ กล า วลํ า ดั บ และ
วิ ธี การกําหนด คื อ “พิจ ารณาเห็ น ว า ไมเ ที่ย ง เป น ทุกข เป น อสุ ภ ะ เป น
อนั ต ตา อุป มาด ว ยบุ รุ ษจับ ปลา แต จั บ ได งูพิษ ปรารถนาจะปล อย จึ งทํา
๑๑
พระพุทธโฆสเถระ รจนา. คัมภีรวิสุทธิมรรค.สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ
อาสภเถระ) แปลและเรียบเรียง .กรุงเทพมหานคร ๒๕๕๔ .หนา ๑๐๙๒.
๖๕๙
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
อุบ ายปล อ ยงู นั้ น ปลดเปลื้ อ งแกว ง เหวี่ ย งงู ทิ้ งไป”๑๒ ในทางปฏิ บั ติ “จะ
ปรากฏสิ่งที่เคยพบเห็นมาในญาณตนๆ เชน ทุกขเวทนา นิมิต แสงสวาง เปน
ตน แตจะปรากฏชัดเจนรุรแรงแกกลามากกวาในญาณขางตน เพราะโยคี
ผานมาถึงญาณสูง มีสมาธิตั้งมั่นที่ดีขึ้น”๑๓
พอถึงมุญจิตุกัมยตาญาณ จิตกับอารมณจะเห็นหายเปนเสนสายไป
การกําหนดก็สะดวกดี บางคนพูดวา ในตัวของเขามีอะไรซูๆ ขึ้นมาคลายๆ
มดตอย คลายๆ รังมด ซูๆ ตามตัว มีอะไรไตตอม
บางคนเกิด การลุกลี้ ลุกลน บางทีเห็ น วานั่ งดี บางทีเ ห็ นว านอนดี
สับเปลี่ยนกันบอย ถึงอยางนั้นก็ไมเห็นดีขึ้นมา นอนขวาพลิกไปซาย ซาย
พลิกไปขวา บางทีนอนอยูก็อยากผุนผันลุกขึ้นมานั่ง โดยไมมีเหตุอะไร พอนั่ง
ก็อยากลุก ลุกแลวอยากนั่ง นั่งแลวอยากนอนลงไปอีก นั่งอยูก็ไมคอยสงบ
บางทีคูเหยียดสับเปลี่ยนกันไป ภายหลังไมอยากจะเขาไปในหองกรรมฐาน
แมหองตนเองก็ไมอยากเขา บางทีแมแตในมุงก็ไมอยากเขา ใจอยากเปดหนี
อยูเรื่อย การกําหนดนั้นไมอยากกําหนดแตก็กําหนดอยู ไมอยากจะใหพบ
เห็นอยางนี้ อยากจะใหหลุดพนไปเสีย ที่พบเห็นการเสื่อมอยางนี้ ไมเห็นเปน
ของดิบดีเลย อยากจะพักเสีย พอนอนลงก็ไมหลับ กําหนดไปก็รๆู ไป
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ
ลักษณะสภาวะในอิริยาบถนั่ง มีดังนี้
อาการพอง-อาการยุบปรากฏนิดหนอย เบาบาง นิ่งหายไปเปนพักๆ
พอง-ยุบจากที่กําหนดงายกลายเปนกําหนดยาก ลักษณะระหวาง
พองกับ ยุ บ ไมส ม่ําเสมอกัน บางครั้ ง สั้ น บางครั้ ง ยาว บางครั้ ง ใกล เ ห็ น ชั ด
บางครั้งไกลแทบกําหนดไมเห็น
การกําหนดอาการพอง-ยุบ อิริยาบถตางๆ รูสึกวาทําไดไมดี ลอง
เปลี่ยนอิริยาบถก็ไมอาจกําหนดไดดี บางครั้งรางกายหายไปทั้งหมด เหลือแต
ความรูสึก หรือนั่งอยูหัวสับไปโนนไปนี่ จนกระทั่งหมุนไปเลย
๑๒
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๘๑.
๑๓
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๘๓-๑๘๔.
๖๖๐
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
อาการพอง-ยุบ เปนไปอยางสั บสนอลเวง ไมเปนระเบียบเดี๋ยวช า
เดี๋ยวเร็ว เดี๋ยวหายไปกระแทกเขาออกแรงๆ หรือวกไปวกมา เดี๋ยวรูสึกสบาย
เดี๋ยวรูสึกอึดอัดในอก เดี๋ยวรูสึกหงุดหงิดและเบื่อหนาย เดี๋ยวรูสึกเปนสุขไมมี
ทางที่จะแกไขอยางไรไดเลย อยากจะใครหลุดพนไปเสีย ไมอยากไดอะไร
นอกจากนิพพาน
ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
มีความรูสึกใครจะหนีใหพน เมื่อมันเบื่อแลวก็ใครจะหนี มีความรูสึก
อยากจะหนีไปตั้งหนาเจริญภาวนาตอไปโดยปราศจากความทอถอย มีความ
เบื่อหนายในรูป-นามยิ่งขึ้น ก็เกิดความมุงหมาย ที่จะใหพนสิ่งที่ไมดี สิ่งที่ชั่ว
เปนภัย เปนโทษ นาเบื่อหนาย คือสังขารรูป-นามที่มุงจะใหพนจากสังขาร
รูป-นามที่จะหนีจากสังขารรูป-นามนี่แหละเรียกวา มุญจิตุกมยตาญาณ การ
พน จากรู ป-นามการหนี จ ากรู ป -นามก็คือ การพน จากทุกขโ ทษภั ย นั่น เอง
เป น ความมุ ง มั่ น ที่ จ ะพ น อย า งแรงกล า อั น เกิ ด จากป ญ ญาที่ เ รี ย กว า
ภาวนามยปญญา ไมใชนึกจะพนอยางเลื่อนลอย โดยไมไดมีการเจริญภาวนา
แต อ ย า งใด มุ ญ จิ ตุ ก มยตาญาณ เป น ป ญ ญาที่ ใ คร จ ะหนี จ ากรู ป -นามนี้
สามารถละอมุญจิตุกามภาวะ (การติดการของอยูในกามภาวะ) ได
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา
ทุกขเวทนาเกิดสลับกันไป จนทําใหโยคีรูสึกวาญาณเสื่อม อาการคือ
เดินอยากนั่ง นั่งแลวอยากเดิน เปนตน
๑. มีเวทนารบกวน เชน การขบเมื่อย ปวดชา จุกเสียด คัน เปนตน
เมื่อกําหนดก็จะเห็นเวทนาขาดออกเปนสวนๆ
๒. ทําใหรูสึกคันยุบๆ ยิบๆ ที่โนนบาง ที่นี่บาง จนเหลือที่จะอด
กลั้นได (แตอาการคันนั้นมีมากมายนักหนา)
๓. มีอาการคันตามตัวเหมือนมดกัด
๔. มีผืนแดงเปนเม็ดขึ้นตามตัว หรือเปนเม็ดใสขึ้นตามรางกาย มี
อาการรอนตามรางกาย
๕. มีอาการคันมากเหมือนแพอาหาร ถายทองเหมือนทองเสีย
๖๖๑
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
๖. แตอาการคันนั้นมากมายนักไมใชคันธรรมดา คันเขาไปในเนื้อ
หนัง กระดูก
๗. เวทนามี อ ยู ม ากมายในขณะเกิ ด ความรู สึ ก ทางทวาร เช น มี
อาการของฟนกระทบกัน เหมือนมีอะไรปกอยูที่ฟน หรือสว นตางๆของ
รางกาย ลิ้นชาเหมือนไมรูรสอะไร
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : จิต
โยคีจะมีจิตอยูอยางเดียววาใครจะพนไปแตอยางเดียว หมายความ
วาอยากจะไปอยูในที่ที่ไมมีสังขารรูป-นาม ผูควบคุมตองชี้แจงสั่งสอนใหมี
ความมานะพยายามกําหนดไป กําหนดอาการเบื่อรําคาญวุนวายลุกลี้ลุกลน
นั้น ใหหายไป ใหกําลังใจแกโยคีใหมากวาปฏิบัติมาจวนจะได จวนจะถึงแลว
จะละความพยายามเสียเปนที่นาเสียดาย
การปฏิบัติในบางบัลลังค ทอใจ เพราะกําหนดไมคอยดี เหนื่อยใจ
เปนอยางมาก อยากเลิกปฏิบัติธรรม คุมตัวเองไมได พระวิปสสนาตองให
กําลังใจ
จิตกับอารมณจะเห็นหายเปนเสนสายไป การกําหนดสะดวกดี
บางครั้งนั่งอยูนิ่งเฉย ปากนั้นงับ ๆ ขึ้น งับ ๆ ลง ขนลุ กชันขึ้นแล ว
รูสึกสบายดี บางครั้งพบแตสิ่งที่ปรากฏแลวหายๆ ไปเสื่อมไป จึงไมอยากอยู
ในมนุษย พรหมหรือภพไหนๆ พบวาสังขารอารมณทั้งหลายปรากฏเสื่อม
แลวหายไปเทานั้น ในใจรูสึกวาเปนสิ่งทุกขยากลําบากแสนเข็ญ จึงใครอยาก
หลุดพนไปเสีย๑๔
ญาณที่มีความรูเห็นอยางนี้ เรียกวาปจจักขมุญจิตุกัมยตาญาณ คือ
การรูกําหนดโดยเฉพาะญาณที่เกิดสืบตอญาณนี้ไป คือ ตอไปก็นึก ใครครวญ
เอง อยากลองเป น พรหม ฯลฯ ก็ไมเ ห็ น ดีอะไรอย างนี้ เ รี ย กวา ทนวยมุญ
จิตกัมยตาญาณ ฯ๑๕
๑๔
ดูใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๖๓.
๑๕
ดร. พระภัททันตอาสภมหาเถระ อัคคมหากรรมฐานาจริยะ บรรยาย, “การ
สอนวิชาครูครั้งแรกในเมืองไทย”, วิชาครู, หนา ๑๐๐-๑๐๑. (อัดสําเนา).
๖๖๒
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
บางคนคิดจะเปลี่ยนการกําหนดอยูร่ําไป ไมมั่นใจในการกําหนด
อยากออก อยากหนี อยากหลุด อยากพน อยากพบธรรมที่ไมมีความเสื่อม
กําหนดครั้งใดก็พบแตความเสื่อมอยูเสมอ ซ้ํายังตองเผชิญกับความ
ไมแนนอนของจิต
มีอาการแคบเขามาเมื่อกําหนดรูอาการตางๆ ความคิดฟุงซานมี
นอยลง การปฏิบัติเปนไปแบบสบาย
บางคนคิดกลับบาน นึกวาตนหมดบุญวาสนาบารมีเสียแลว เตรียม
เก็บเสื่อ เก็บหมอนกลับบาน โบราณเรียกวา “ญาณมวนเสื่อ” อยางนี้เปน
ลักษณะของปฏิจจสมุปบาท๑๖
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม
จิตใครจะพนไปในที่ไมมีสังขารรูป-นาม๑๗ บางคน ถาอาการหนัก
มากอาจต องให พัก การปฏิ บั ติ ไ ว ก อน แต ถ า สติ ป ญ ญาดี ก็ กํ าหนดอาการ
หายไปโดยงาย - แตบางคนลุกลี้ลุกลนผุดลุกผุ ดนั่ง ยืน กําหนดไมไดดี นั่ ง
กําหนดไมไดดี นอนกําหนดไมไดดี
อยากเลิกปฏิบัติ อยากพักผอน เที่ยวดูโนนดูนี่ แตยังกําหนดอยูร่ํา
ไป ตกกลางคืนกลัดกลุมจะนอนก็ไมหลับ ผุดลุกผุดนั่งตั้งใจจะกลับบานตอน
เชา พอถึงเชาก็หายไป
- รอนกระวนกระวาย แมหนาวก็ยังอาบน้ําสบาย ในอกรอน ในทอง
มีอะไรวู บ ขึ้น มารู สึ ก ออนแอเกิ ด ความทอ ถอย คิด ว าตนหมดวาสนาที่จ ะ
ปฏิบัติธรรม ทําใหไมอยากปฏบัติตอไปอยากหนีไปเสีย
ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในมุญจิตุกัมยตาญาณ
ปญญาหาอุบ ายที่จ ะเปลื้ องตนให พน จากขัน ธ ๕ คือ เห็ น สั งขาร
ทั้งหลายไมเที่ยง ไมเปนสิ่งมีอยูตลอดไป โดยเปนสิ่งมีชั่วคราว โดยเปนสิ่งถูก

๑๖
พระธรรมธีร ราชมหามุ นี (โชดก ญาณสิ ทฺธิ ป.ธ.๙), คูมื อสอบอารมณ
กรรมฐาน, หนา ๗๐.
๑๗
ดูใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๖๒.
๖๖๓
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
กําหนดลงไวดวยความเกิดและความเสื่อม โดยเปนสิ่งตองพังทลาย โดยเปน
สิ่งมีชั่วขณะ โดยเปนสิ่งไหว (ไปมา) โดยเปนสิ่งที่ตองการแตกสลายโดยเปน
สิ่งไมคงทน โดยเปนสิ่งมีความแปรปรวนไปเปนธรรมดา โดยเปนสิ่งไมมีแกน
สาร โดยเป น สิ่ งต องเสื่ อม โดยเป น สิ่ งถูกปรุ งขึ้น โดยเป น สิ่ งมีมรณะเป น
ธรรมดา๑๘
๑) ญาตปริญญา กําหนดทางหนีไปจากสังขาร รูจักรูป-นามวาเปน
ทุกขสัจ ๒๐%
๒) ตีรณปริญญา พิจารณาทางพนจากสังขารดวยไตรลักษณ ๒๐ %
๓) ปหานปริญญา กําหนดรูถึงขั้นละได ใครจะหนีจากรูป-นาม ละอ
มุญจิตุกามภาวะ (การติดการของอยูในกามภาวะ) และแจงนิ โรธ ๖๐ %
(อริยสัจ ๔ สมบูรณขึ้นตามลําดับ)๑๙ จัดเปนปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๐-๑ (นิวรณ)
๒ (ทุกขเวทนา)
๕ (ขันธ ๕)
๑๐ (โทมัสสเวทนา) ๑๐ (จิตกุศล)
๘.นิพพิทาญาณ ๑๐ ๕ (อายตนะ) ๔๐
0 (สุขเวทนา) ๓ (จิตอกุศล)
๕ (โพชฌงค)
๓ (อุเบกขา)
๖ (อริยสัจ)
๐-๑ (นิวรณ)
๒ (ทุกขเวทนา) ๕ (ขันธ ๕)
๙.มุญจิตุกัมยตา ๑๕ (จิตกุศล)
๑๕ ๑๐ (โทมัสสเวทนา) ๕ (อายตนะ) ๓๐
ญาณ ๓ (จิตอกุศล)
๓ (อุเบกขา) ๕ (โพชฌงค)
๖ (อริยสัจ)

๑๘
วิสุทฺธ.ิ (ไทย) ๓/๒/๑๕๕.
๑๙
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ , ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒ วิปสสนา
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร : หจก. ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๕๔), หนา ๑๓๒.
๖๖๔
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
๑. กายานุปสสนา ๑๕ % (จากเดิม ๑๐ % ) ปรารถนาจะหลุดพน
จึงตั้งใจกลับไปเพงพิจารณาอาการพอง-ยุบใหมากขึ้นอีกครั้ง
๒. เวทนานุปสสนา ๒๐ % ความรูสึกทุกขโทมนัสยังมีอยูบาง แตไม
เพิ่มมากกวาเดิม
๓. จิตตานุปสสนา ๑๘ % (กุศลจิต ๑๕ % [จากเดิม ๑๐ %], จิต
กุศลเกิดขึ้นจากความมุงมั่นศรัทธาทีเ่ พิ่มขึ้นที่ การหลุดพนไปเสียจากกอง
สังขารที่นาเบื่อหนาย ไมเปนไปในอํานาจบังคับบัญชาของใครนี้ อกุศลจิต
มีบางเปนบางครั้งดวยอํานาจนิพพิทาที่ยังคางมา
๔. ธัมมานุปสสนา ๒๒ % (ขันธ ๕ % ,อายตนะ ๕ %, โพชฌงค ๕
%, อริยสัจ ๖ %) นิวรณยังมีฟุงๆ บางเกิดๆ ดับๆ เปนอารมณของธัมมา
นุปสสนา มีโพชฌงค ๕ % อริยสัจ ๖% นิวรณเปนจิตอกุศล ยังไมหายจาก
นิพพิทา เบื่อเซ็ง ยังมีอยู อยากหลุดพน
เพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนาลดลง ๓๐ % และใสใจ
พิจ ารณากาย เวทนา จิ ต ธรรม ๗๐ % แต เ น น ไปที่ส ภาพของกุศ ลจิ ต ที่
เพิ่มขึ้น
ความสมดุลของอินทรีย ๕
อิ น ทรี ย ๕ ในญาณที่ ๙ นี้ มี ร ะดั บ สู ง ขึ้ น มากทุ ก ๆ องค ธ รรม
ประมาณได ดังนี้ สัทธินทรีย ๘๐-๙๐% วิริยินทรีย ๘๐-๙๐ % สตินทรีย
๘๐-๙๐ % สมาธินทรีย ๘๐-๙๐ % ปญญินทรีย ๘๐-๙๐ %
ในญาณนี้ ถามีวิ ริ ยิ น ทรี ย มากเกิน จะไปลดสมาธิ น ทรี ย มีความ
ขะมักเขมนในการปฏิบัติ ไมพักผอน แตเปนไปดวยความฟุง เปนสวนใหญ

๖๖๕
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม

ญาณที่ ๑๐ ปฏิสังขาญาณ
ปญญาพิจารณาซ้ําอีก คือ ไตรตรองมองหาอุบายใหพนจากรูป-นาม
ซ้ําอีก เพื่อสละสังขารโดยยกเขาสูพระไตรลักษณดวยการรูเห็นลักษณะ ๔๐
อยางใดอยางหนึ่ง ที่ปรากฏชัดอันไดแก อนิจจลักษณะ ๑๐๒๐ ทุกขลักษณะ
๒๕๒๑ และอนัตตลักษณะ ๕๒๒ กลาวโดยยอเปนการเห็นประจักษพระไตร
ลักษณคือ ความไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตน๒๓
ปฏิสังขาญาณ คือ การเห็นสังขารทั้งหลายไมเที่ยง ไมเปนสิ่งมีอยู
ตลอดไป โดยเปนสิ่งถูกกําหนดลงไวดวยความเกิดและความเสื่อม โดยเปน
สิ่งที่ตองพังทลาย โดยเปนสิ่งมีชั่วขณะ โดยเปนสิ่งไหว (ไปมา) โดยเปนสิ่งที่
ตองการแตกสลาย โดยไมเปนสิ่งไมคงทน โดยเปนสิ่งที่ความแปรปรวนไป
เปนธรรมดา โดยเปนสิ่งไมมีแกนสาร โดยเปนสิ่งตองเสื่อม โดยเปนสิ่งถูก
ปรุงขึ้น โดยเปนสิ่งมีมรณะเปนธรรมดา ๒๔
มุญจิตุกัมยตาญาณเปนญาณที่ปรารถนาจะพนจากสังขารรูป-นาม
ส ว นญาณนี้ เ ป น ญาณที่ ห าอุ บ ายให พน จากรู ป -นามหาทางหนี ใ ห พ น จาก
สังขาร เมื่อปรารถนาจะพนจากสังขารรูป-นามก็พยายามเจริญภาวนาโดยไม
หยุดยั้งดวยการเพงไตรลักษณเพงความเกิดดับของรูป-นามก็จะเกิดปญญา
แจงขึ้นมาเองวาจะตองหาอุบายอยางใดอยางหนึ่งและดําเนินการตามอุบาย
นั้นจึงจะพนได ปญญานี่แหละเรียกวา ปฏิสังขาญาณ๒๕
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
ปรากฏดุจเข็มแทง ดุจเอาไมเล็กๆ มาจี้ตามรางกาย

๒๐
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ ), วิปสสนานัย เลม ๒, พระพรหมโมลี
(สมศักดิ์ อุปสโม) ตรวจชําระ, พิมพครั้งที่ ๑, (นครปฐม, ๒๕๕๐), หนา ๓๑๐-๒.
๒๑
เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๑๓-๕.
๒๒
เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๑๖-๓๔๔.
๒๓
เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๐๙.
๒๔
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒ / ๓๒๗
๒๕
วิสุทฺธ.ิ (ไทย) ๓/๒/๑๖๐.
๖๖๖
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
ในระยะตนการกําหนดรูสึกถอยๆ พอกําหนดถี่ๆ เห็นอาการขาด
ของอาการเทา ทําใหการกําหนดไวจนรูสึกวาเวลาผานไปไว ยิ่งกวาบัลลังก
กอนๆ สภาวตางๆ กําหนดไดงาย และดับไดเร็วกวาบัลลังกกอนๆ
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ
ลักษณะสภาวะของปฏิสังขาญาณ ในอิริยาบถนั่ง มีดังนี้
อาการพอง ยุบ นั่ง ถูก ปรากฏชัดเจนดี
การกําหนดรูจุดปรากฏชัดเจนดี
สภาวะธาตุปรากฏชัดเจนดี เชน รอน เย็น ตามรางกาย
มีอาการหนักเบาเหมือนถูกทับ หรือ เบาเหมือนลอยอยูในน้ํา
มีอาการเหมือนคนปวย เดี๋ยวรอน เดี๋ยวหนาว ปวดเมื่อยไปทั้งตัว
กายปรากฏเหมือนหายไปหมดเหลือตัวกําหนดกับผูรูเทานั้น
ตัวแข็งดุจเขาผลสมาบัติ แตใจยังรูอยู หูยังไดยินเสียงอยู
บางชวงพอง-ยุบ ไมชัด แตจิตรูชัด..ก็ใหรูชัดลงไปในอาการไมชัดนั้น
“พอง-ไมชัดหนอ” “ยุบ-ไมชัดหนอ” อยาพยายามทําใหชัด..ปลอยใหเปนไป
ตามความเปนจริง (ขอใหจิตรูชัด..ก็พอแลว)
อาการพอง-อาการยุบปรากฏนิดหนอย เบาบาง นิ่งหายไปเปนพักๆ
อาการที่พบมักพบอาการเดิมที่ผานมาแลว เปนอยางๆ หรือหลาย
อยางไมแนนอน
การกําหนดตองเพงและปกใจ จึงจะกําหนดไดดี ๑-๒ ครั้งจึงจะหาย
ใน ๓ ลักษณะ
อาการพองยุบเร็วถี่ บางทีมีเวทนาที่หนักผสม
อาการทุกข แนนเสียดทั้งที่กําหนดพองยุบ บางอันกําหนดไมหาย
ตั้งอยูติดกันเปนสาย
อาการพองยุบหาง จางหายไป เกิดความรําคาญในการกําหนดอยู
บอยๆ
การกําหนดอาการพอง-ยุบทําไดลําบากตองใชความขะมักเขมนมาก
จึงจะกําหนดได แตก็กําหนดไดไมดีนัก
๖๖๗
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
อารมณตางๆ ที่เกิดขึ้นกําหนดตามไปเพียง ๒-๓ ครั้ง ก็หายไปอยาง
รวดเร็วพรอมกับจิตที่กําหนดรู
๔) รูสึกคันตามรางกาย หนักตามตัวและมือเทาคลายมีของหนักๆ
มาถวงหรื อวางทับ รูสึกเซื่องซึม ไมอยากพูดจาหรือขยับ ตัว หูไดยิ นเสีย ง
หวิวๆ มารบกวน รูสึกเจ็บปวดในอกหรือตามรางกายเสมือนมีเหล็กแหลมมา
แทง หรือเข็มมาจี้ ขณะกําหนดอาการพอง-ยุบ เหมือนในอกเกิดหมุนมวนตัว
เปนวงขึ้นไปเหมือนตะไลที่พุงขึ้นสูฟาและพิจารณาตามไปก็รูสึกปวดราวใน
อกมากขึ้นตามลําดับ อาการเหลานี้อาจมี ๒-๓ วัน หรือหลายวันยอมแลวแต
อินทรีย
พอง-ยุบถี่เร็วเวทนาที่หนักๆ มาผสม ความรําคาญ กําหนดไดวองไว
ดี “เพื่อจะพนไปเสียจากสังขารทั้งหลาย๒๖ซึ่งมีแตความแตกดับจึ งยกเอา
สังขารทั้งหลายนั้นขึ้นสูพระไตรลักษณ”
เห็นความไมใชตัวตนของรูป-นาม พอง-ยุบยาวแผวเบา มีจังหวะ
หยุดระหวางพอง-ระหวางยุบ จนทําใหเกิดอาการจิตวูบ สัปหงก หรือเผลอ
คิดบอยบางครั้งมีอาการ ปติ แสงสวาง ภาพนิมิต เครื่องหมายตางๆ เกิดขึ้น
กําหนดสบายจนเพลิน แตพอวันตอมาพอง-ยุบกลับนิ่งๆ เบาๆ เปนตน
ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
กําหนดฉัน(รับประทาน) อยูดีๆ ปรากฏดุจเข็มแทง ดุจเอาไมเล็กๆ
มาจี้ตามรางกาย เวทนามีมากแตหายเร็ว กําหนด ๒-๓ ครั้งก็หาย มีอาการ
ซึม ตั ว แข็ งดุ จ เข า ผลสมาบั ติ แต ใจรู  อ ยู หู ยั ง ได ยิ น เสี ย งอยู  ตึ งๆ หนั ก ๆ
เหมือนเอาหินหรือทอนไมมาทับลง รูสึกรอนทั่วสรรพางคกาย รูสึกอึดอัด
แนนๆ ใหตั้งใจกําหนดไปตามอาการ
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา
การเห็นสังขารทั้งหลาย ไมเที่ยงไมเปนสิ่งมีอยูตลอดไปโดยเปนสิ่งมี
ชั่วคราว โดยเปนสิ่งถูกกําหนดลงไวดวยความเกิดและความเสื่อม โดยเปนสิ่ง
๒๖
ดูใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๓๐๙.
๖๖๘
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
ต องพังทลาย โดยเป น สิ่ งมีชั่ ว ขณะ โดยเป น สิ่ งไหว (ไปมา) โดยเป น สิ่ งที่
ตองการแตกสลาย โดยเปนสิ่งไมคงทน โดยเปนสิ่งมีความแปรปรวนไปเปน
ธรรมดา โดยเปนสิ่งไมมีแกนสารโดยเปนสิ่งตองเสื่อมโดยเปนสิ่งถูกปรุงขึ้น
โดยเปนสิ่งมีมรณะเปนธรรมดา๒๗
สภาวะที่เ ปนปรมัตถแทๆ นั้ น ยิ่งอยากกําหนดใหชั ด..ยิ่งกําหนด
ไมได ยิ่งอยากบรรลุ..ยิ่งฟุงซาน เปรียบเหมือนกับคนปลูกมะมวง หมั่นรดน้ํา
ใสปุย อยากใหออกดอก ออกผลเร็วๆ จึงไปฉีกกิ่งฉีกกานดูวา จะออกดอก
ออกผลแลวหรือยัง...สุดทาย กิ่งกานเฉาตาย!
กําหนดเวทนา: สภาวธรรมที่ปรากฏ
ปรากฏดุจเข็มแทง ดุจเอาไมเล็กๆ มาจี้ตามรางกาย
เวทนามีมากแตหายเร็ว กําหนด ๒-๓ ครั้งก็หาย
มีอาการซึมๆ ตัวแข็งดุจเขาผลสมาบัติ แตใจรูอยู หูยังไดยินเสียงอยู
ตึงๆ หนักๆ รูสึกรอนทั่วสรรพางคกาย รูสึกอึดอัดแนนๆ๒๘
บางคนพูดวา คลายมีแมลง มดตอม ถึงกับลุกสะบัดผาก็มี พอสะบัด
ดูแลวก็ไมเห็นมีอะไร พอกําหนดไปก็เห็นดีอยู ที่มันมีตามตัวนั้นก็ฝนกําหนด
ไปอย างนั้ น เอง บางครั้ งหายบางครั้ งไมห าย บางครั้ งก็ไมห ายไปหมดสิ้ น
บางครัง้ รูสึกซาลงและคอยๆ หายไปได
บางคนตามรางกาย ขา แขง รูสึกคันขยุกขยิก บางทีคลายกับเอา
เหล็กแหลมมาแทงเจ็บโนนเจ็บนี่ บางคนพูดวา บางครั้งบางคราวในอกของ
ตนรอนขึ้นมา คือตามในทองในไสมีอะไรวูบขึ้นมา บางทีนั่งอยูตัวนิ่งอยูเฉยๆ
ปากนั้นงับขึ้น งับลง บางคนพูดวาที่นั่งอยูนั้น หัวของเขาประเดี๋ยวสับไปโนน
สับไปนี่จนกระทั่งหมุนไปเลย และเปนอยางนี้บอยๆ เสียดวย
บางคนพูดวา รางกายทั้งหมดจางหายไปสิ้นเชิง เหลือแตความรูสึก
เทานั้น
๒๗
วิสุทฺธ.ิ (ไทย) ๓/๒/๑๕๕.
๒๘
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ.๙), คูมือสอบอารมณ
กรรมฐาน, หนา ๗๐-๗๑. (อัดสําเนา).
๖๖๙
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
บางคนพูดวา ตามรางกายมีขนชันขึ้น แลวรูสึกสบายดี
บางคนก็จะพูดวา ความลําบากยากเย็นไมพบ พบแตสิ่งที่ปรากฏ
แลวหายไปเสื่อมไป ดังนั้นจึงไมอยากอยูในมนุษย และพรหมภพเหลานั้นไม
เห็นเปนของดีอะไร
บางคนวา ทุกๆ ครั้งที่รูนั้น พบแตสังขารอารมณทั้งหลายปรากฏ
เสื่อมๆ แลวหายไปเทานั้น ความรูสึกในใจวามันเปนสิ่งที่ทุกขยากลําบาก
แสนเข็ญจึงใครอยากหลุดพนไปเสีย
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : จิต
บางคนจะพบอารมณที่กํ าหนดและจิ ต ที่กํา หนดหายๆ ไป และไม
อยากพบสิ่งเหลานี้คิดวา สิ่งเหลานี้ไมมีจะดี สิ่งเหลานี้อยากจะเอาไปทิ้ง เอา
ไปขวางเสีย
ภายในจิตใจรูสึกอึดอัดคลายถูกบีบคั้นดวยประการตางๆ
มีอาการตึงๆ หนักๆ เหมือนเอากอนหินมาทับ หรือเหมือนเอาทอนไม
มาทับลงฉะนั้น
เหมือนเอาเลื่อยมาตัด เหมือนเอาตะปูมาตีลงที่รางฉะนั้น
บางทีก็เหมือนรอนทั้งตัว คือ รอนทั่วสรรพางคกาย
บางทีรูสึกอึดอัดแนนๆ ฝดๆ เหมือนใจจะขาด
บางทีรูสึกเย็นเหมือนถูกน้ําแข็ง หรือเหมือนอยูในหองเย็นฉะนั้น
บางคนจะคิดวาอยากจะใหหลุดพนเพียงอบายเทานั้น แตอยากจะติด
อยูในพรหมโลกสวนนิพพานไมอยากไดเทาไรนัก แตบัดนี้ไมอยากไดอะไร
นอกจากอยากถึงพระนิพพานเทานั้นอยากใหมันสงบนิ่งไปเสียเร็วๆ นี้คือ
อารมณที่กําหนดนั้ น ถาสิ่ งเหล านี้ ดั บ สงบไปคือนิ พพาน ที่สงบไปนั้ น คือ
นิ พพาน เมื่อเราอยากถึงคือทําการกําหนดอย างนี้ เ อง รู สึ กว าการปฏิ บั ติ
ดําเนินไปมากแลว การอนุมานพอจะคาดหมายไดวา ถาเราพยายามกําหนด
ไปอยางจริงจังแลว ในไมชาเราก็จะไดถึงมรรคผลญาณโดยปจจักขะฯ

๖๗๐
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม
๑. ผูปฏิบัติตองหนักแนนตอการกําหนดโดยไมตองกําหนดถึงสิ่ง
ใดๆ ทั้งสิ้น ยอมสูตาย ไมทอถอย
๒. ตองยอนกลับไปพิจารณาไตรลักษณอีก
๓. พอบรรลุญาณนี้แลวการกําหนดมักสะดุด ตองพยายามใหมาก
๔. ผูปฏิบัติตองมีความวิริยะอุสาหะเครงครัดใหมาก ตองเพียรใน
การเดินจงกรม
๕. บางครั้งก็กําลัง ใจตกต่ํา นึกว าตนเองเปนคนกิเลสหนาปญญา
นอย
๖. เมื่อมาถึงญาณนี้จะไมมีใจรวนเรในการเลิกปฏิบัติ
๗. ยอมพิจารณาเห็นสังขารทั้งปวงในหลักอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
หาทางที่จะพนทุกข
๒๙
๘. มองไมเห็นสิ่งใดเปนสมบัติของตน โดยมีเงื่อนไข ๔ อยางคือ
- เราไมมีอยู ณ ที่ไหนๆ
- เราไมอยูในความกังวลของใครๆ
- บุคคลอื่นไมมีอยู ณ ที่ไหนๆ
- บุคคลอื่นไมอยูในความกังวลของเรา
กําหนดตามไปทุกๆ ขณะอารมณ จิตที่กําหนดนั้นหายไปพรอมกัน
อยางวองไวและรวดเร็วเปนพืด เปนสายกัน ตองปกใจลงไปจึ งกําหนดได
อารมณที่กําหนดนั้นหายไปอยางงายดายวองไว อารมณอะไรก็ตามกําหนด
เพียง ๒-๓ ครั้ง ก็ไมเห็นมีอะไรมั่นคงอยูและถึงแมการกําหนดจะนานๆ ไปก็
ตาม จิต ไมไดคิดอะไรเลย กําหนดเพียง ๑-๒ ครั้งก็หายไป ไมเห็ นมีอะไร
มั่นคงถาวรอยูได จึงพบแตสภาพไตรลักษณ คือปรากฏชัดขึ้นมา กําหนดนั้น
รูสึกวาหางๆ จางๆ ไปแตกําหนดไดดีอยู พบแตเสื่อมๆ หายไป ไมเห็นมีอะไร
ดี จะพบแตความทุกขยาก ตัวของเราจะพุๆ ขึ้นแลวคันๆ เปนอยางนี้ ๒-๓
วันแลว คันหรืออะไรตางๆ นั้นไมมีอะไรดีเสียเลย จึงนึกวาเปนของทุกข ๕)
๒๙
ม.อุ.๑๔/๗๐/๕๑.
๖๗๑
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
รูสึกตามตัวมือเทาหนักๆ และรูสึกพักๆ ดวย ทั้งตัว มือ เทา ตึง หนักไป ไม
อยากขยับเลย ตัวเองก็รูสึกซึมๆ ไป ก็กําหนดไปอยางซึมๆ เทานั้นไมมีอะไร
ดี มีแตความทุกขเทานั้น กําลังกําหนดก็ดีอยู แตหูก็ไดยินเสียงหวิวๆ ไป พอ
ชัดแลวกําหนดไปไมคอยไดดีและไมคอยจะหาย ไดยินมา ๒-๓ วันแลว แต
บัดนี้ก็ไดยินอยู กําหนดไมหาย ไมอยากไดยินเลยกําหนดก็ไมอยากกําหนด
รูสึกทุกขยากลําบากมาก รูสึกไมดีเลย เกิดการชักเบื่อขึ้น ใจอยากจะใหหลุด
พนจากเสียงเหลานี้เสีย๓๐
ปริญญา ๓ อริยสัจ ๔ ในปฏิสังขาญาณ
มุญจิตุกมยตาญาณเปนญาณที่ปรารถนาจะพนจากสังขารรูป-นามส
วนญาณนี้ เป น ญาณที่ ห าอุ บ ายให พ น จากรู ป -นามหาทางหนี ใ ห พ น จาก
สังขาร เมื่อปรารถนาจะพนจากสังขารรูป-นามก็พยายามเจริญภาวนาโดยไม
หยุดยั้ง จนเห็นรูป-นามเปนไตรลักษณโดยประจักษ เห็นรูป-นามพรอมจิตที่
เขาไปรูนั้นดับไปพรอมกันดวย
๑) ญาตปริญญา กําหนดทางหนีไปจากสังขาร รูจักรูป-นามวาเปน
ทุกขสัจ ๒๐%
๒) ตีรณปริญญา พิจารณาทางพนจากสังขารดวยไตรลักษณ ๒๐ %
๓) ปหานปริญญา กําหนดรูถึงขั้นละได ใครจะหนีจากรูป-นาม ละอ
มุญจิตุกามภาวะ (การติดการของอยูในกามภาวะ) และแจงนิ โรธ ๖๐ %
(อริยสัจ ๔ สมบูรณขึ้นตามลําดับ)๓๑ จัดเปนปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ๓๒

๓๐
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, แปลโดยสมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ
อาสภมหาเถร), พิมพครั้งที่ ๗, (กรุงเทพมหานคร, ๒๕๕๑), หนา๑๐๙๒-๑๐๙๓.
๓๑
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ , ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒ วิปสสนา
กรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร : หจก. ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๕๔), หนา ๑๓๒.
๓๒
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., เอกสารประกอบการสอน รายวิชาสัมมนาวิปสสนา
, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ศูนยบัณฑิตวิทยาเขตบาฬี
ศึกษาพุทธโฆส นครปฐม,๒๕๕๕), หนา ๒๙๓.
๖๗๒
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
เปนภูมิแหง ปหานปริญญา กําหนดรูถึงขั้นละได คือ รูถึงขั้นที่ทํา
ใหถอนความยึดติดเปนอิสระจากสิ่งนั้น ๆ ได (ละวิปลาสได) และปฏิบัติตอ
สิ่งตาง ๆ ไดถูกตองจัดเขาใน อริยสัจ ๔ คือ “แจงนิโรธ(อริยสัจ ๔เกิดโดย
สมบูรณขึ้นตามลําดับ)ทุกข, สมุทัย,นิโรธ, มรรค”
ในขั้ น ที่ ๕ นี้ นั บ สงเคราะห เ ข า ในญาณที่ ๙ และ ๑๐ จั ด เป น
ปหานปริญญา ปหานกิเลสไดเปน ตทังคปหาน จัดเปนปฏิปทาญาณทัสสนวิ
สุทธิ และเปน นิโรธอริยสัจ เชนเดียวกับขั้นที่ ๔
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๐-๑ (นิวรณ)
๒ (ทุกขเวทนา) ๕ (ขันธ ๕)
๙.มุญจิตุกัมยตา ๑๕ (จิตกุศล)
๑๕ ๑๐ (โทมัสส) ๕ (อายตนะ) ๓๐
ญาณ ๒ (จิตอกุศล)
๓ (อุเบกขา) ๕ (โพชฌงค)
๖ (อริยสัจ)
๐-๑ (นิวรณ)
๑๐ (ทุกขเวทนา) ๕ (ขันธ ๕)
๒๐ (จิตกุศล)
๑๐.ปฏิสังขาญาณ ๑๐ ๕ (โทมัสส) ๕ (อายตนะ) ๒๐
๐-๑ (จิตอกุศล)
๑๐ (อุเบกขา) ๖ (โพชฌงค)
๗ (อริยสัจ)

๑. กายานุปสสนา ๑๐ % (จากเดิม ๑๕ % ) เมื่ออยากหลุดพน จึง


เพิ่มสติ จ ดจ อพอง-ยุบ มากขึ้น แตกลั บหายไปอย างฉับ พลั น นานๆ จึงจะ
ปรากฏสักครั้ง เมื่อเพงจองก็หายไปอีก เหมือนกับวาไมไดดั่งใจเลย อันบง
บอกถึงความเปนอนัตตาของกาย
๒. เวทนานุ ปส สนา ๒๕ % (ทุกขเวทนา ๑๐ %[จากเดิ ม ๒ %],
โทมนัส ๕ % [จากเดิม ๑๐ %] อุเบกขา ๑๐%[จากเดิม ๓ %]) ทุกขเวทนา

๖๗๓
ขั้นที่ ๕ พิจารณาเห็นความไมใชตัวตนของรูปนาม
ปวดตามลําตัวเกิดขึ้นมากมายหลายจุด แตดับเร็ว ดับแลวเปนอุเบกขานาน
ขึ้น
๓. จิตตานุปสสนา ๒๑ % (กุศลจิต ๒๐% [จากเดิม ๑๕%],) เมื่อ
สภาวธรรมเปนอุเบกขามากขึ้น เมื่อกําหนดพอง-ยุบและอาการปวดดับเร็ว
ขึ้น จึงเกิดจิตผองใสเปนกุศลจิตมากขึ้นๆ ไปดวย
๔.ธัมมานุปสสนา ๒๔ % ( ขันธ ๕ % , อายตนะ ๕ % โพชฌงค ๖
%[จากเดิม ๕%], อริยสัจ ๗ [จากเดิม ๖ %], กายเปลี่ยนเปนรูปขันธมากขึ้น
เมื่อจิตผองใสเปน กุศลจิตก็เกิดสภาพธรรมที่เปนโพชฌงค และอริยสัจ ๔
ตามไปดวย
เพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนาเพียง ๒๐ % และใสใจ
พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรมเพิ่มขึ้น ๘๐ % แตเนนไปที่สภาพของกุศลจิต
ที่เพิ่มขึ้น
ความสมดุลของอินทรีย ๕
อิน ทรี ย ๕ ในญาณที่ ๑๐ นี้ มีร ะดั บ สู งขึ้ น มากทุก ๆ องค
ธรรม ในระดับเดียวกับญาณที่ ๙. ประมาณได ดังนี้
สัทธินทรีย ๘๐ - ๙๐ %
วิริยินทรีย. ๘๐ - ๙๐ %
สตินทรีย ๘๐ - ๙๐ %
สมาธินทรีย. ๘๐ - ๙๐ %
ปญญินทรีย. ๘๐ - ๙๐ %
ในญาณนี้ ถา มีวิ ริ ยิ น ทรี ย มากเกิน จะไปลดสมาธิ น ทรี ย มี
ความขะมักเขมน ในการปฏิบั ติ ไมพักผอน แต เป นไปด วยความฟุง
เปนสวนใหญ

๖๗๔
ขั้นที่ ๖ วางเฉยตอรูป-นาม
การกําหนดรูปนามโดยความเปนอนัตตา ขั้นนี้ผูปฏิบัติของกําหนด
อิริยาบถยอยและตนจิตใหได ๑๐๐% กําหนดทุกครั้งตองใหเห็นอาการของ
จิตดับไปซึ่งสงผลใหจิตวางเฉยตอสังขารเรียกวา สภาวะของสังขารุเปกขา
ญาณเบื้องตน เปนญาณที่จะเขาสู วุฏฐานคามินีวิปสสนา คือสังขารุเปกขา
ญาณตอนปลาย อนุ โ ลมญาณ และโคตรภู ญ าณ ซึ่ ง เป น ภู มิ แ ห ง ปหาน
ปริญญา จัดเขานิโรธอริยสัจและมรรคอริยสัจ
ในชวงตนยังปรากฏความแปรปรวนของรูปนามอยูบาง แตจิตวาง
เฉย คือ เมื่อปรารถนาที่จะหนีใหพนจากรูปนาม ไตรตรองหาอุบายที่จะให
พนจากรูปนาม จนเกิดปญญารูเห็นขึ้นมาวา รูปนามนี้เปนวิบากที่เกิดมาจาก
เหตุปจจัย ตอเมื่อทําใหเหตุปจจัยหมดสิ้นไปกอนแลวรูปนามอันเปนวิบากก็
ไมเกิดขึ้นอีก แตวาบัดนี้รูปนามมีอยูแลวถึงเบื่อหนายอยากหนีอยากพนมาก
แคไหนก็หนีไมพน จําตองวางเฉย ไมยินดียินราย คือไมมีอภิชฌาและโทมนัส
ในสังขาร แตก็ไมละเลยในการพยายามเพงพิจารณาความเกิดดับเรื่อยไป
ความวางเฉยตอรูปนาม คือ มีปญญากําหนดจนรูวา หนีจากรูปนาม
ยังไงก็หนีไมพน จึงอยูเฉยๆ ไมยินดียินราย ดุจบุรุษที่เพิกเฉยในภริยาที่หยา
รางแลว จิตมีความเปนกลางตออารมณ เพราะวาเปนของเกิดดับ หนีไมได
ยิ่ ง ปฏิ เ สธ ยิ่ ง เป น ทุ ก ข จิ ต จึ ง ไม ป ฏิ เ สธอารมณ เป น กลางต อ อารมณ มี
ลั กษณะการวางเฉยของรู ป นาม สภาวะเขาสู ความเป น ปกติ ร ะดั บ สู ง ไม
เหมือนบุคคลทั่วไป เวลาเห็นทุกขเห็นโทษเห็นภัย สภาวะจิตใจจะดิ้นรนมาก
ไมตองการกระสับกระสายดิ้นรน แมแตในวิปสสนากอนหนาสังขารุเปกขา
ญาณ ก็มีลักษณะการดิ้นรนของจิต ยังมีความรูสึกอยากจะหนีอยากจะพน
แตยังหลุดพนไมได เมื่อดูจนกําลังแกกลาแลววาไมมีทางจึงวางเฉยได เห็น
ความเกิดดับเปนภัยเปนโทษนาเบื่อหนายอยูก็ยังวางเฉยได แมจะถูกบีบคั้น
อยางแสนสาหัสก็ยังวางเฉยอยูอยูได เปนความวางเฉยตอสังขารที่ประจักษ
แจงความเกิดดับของรูปนาม ในขณะเจริญวิปสสนา
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
การบริกรรมภาวนา ในขั้นนี้ แตกตางจากขั้นกอนๆ คือ ใสใจเพงรู
ในอารมณที่จิตรับรูในปจจุบันขณะนั้น อยางจดจอ ตอเนื่อง พยายามเพง
พิจารณาอาการของอารมณนั้นๆ โดยไมใหจิตซัดสายไปหาอารมณอื่นๆ และ
พยายามป ด กั้ น ไม ใ ห อ ารมณ อื่ น ๆ แทรกเข า มา แต ห ากมี อ ารมณ อื่ น ๆ
แทรกเขามาได หรือจิตเผลอสอดสายหาอารมณอื่นๆ ของเขาเอง (อันแสดง
ถึงภาวะอนัตตา) ก็ใหเพงรูลงในอาการของอารมณใหมนั้นทันที และเนน
สังเกตดูสภาพธรรมารมณภายในจิตนั้นๆ เปนพิเศษ หลักการสําคัญในการ
บริกรรมภาวนาในขั้นนี้ ตองพยายามเพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรม
ภาวนาเพียง ๑ % และใสใจพิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม เพิ่มขึ้น ๙๙ %
แตเนนไปทีพ่ ิจารณาสภาพธรรมของโพชฌงค ๗ มากขึ้น
การปฏิบัติ ธรรมโดยการกําหนดรูปนามโดยความเปนอนัตตา ซึ่ง
สงผลใหจิตวางเฉยตอสังขาร เรียกวาสภาวะของสังขารุเปกขาญาณเบื้องตน
เปนญาณที่จะเขาสูวุฏฐานคามินีวิปสสนา คือสังขารุเปกขาญาณตอนปลาย
อนุโลมญาณ และโคตรภูญาณ ตอไป
๑. วิธีกราบและกําหนดรูอริยาบถ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
กราบสติปฏฐานใหชาลง ใหได ๒๐ นาทีเปนอยางนอย โดยเพิ่มตน
จิตใหมากขึ้น เชน กอนพลิกมือ ใหกําหนดรูจิตกอนวา “อยากพลิกหนอ”
พร อ มกับ สั ง เกตเห็ น อาการดั บ ลงของจิ ต ที่อยากพลิ ก นั้ น แล ว จึ งกํา หนด
“พลิกหนอๆๆ” ตอไป เปนตน และเพิ่มจังหวะหยุด เมื่อมีอารมณอื่นเขามา
แทรกซอน เชามาเชน ขณะยกมือขึ้นกราบ ลมเย็นพัดเขามากระทบรางกาย
ใหกําหนด “ถูกหนอ” “เย็ นหนอ” จนดับ ไปกอน แล วจึ งคอยกําหนดยก
ตอไป เปนตน
ตองกําหนดบริกรรมอยูตลอดเวลาในทุกๆ อิริยาบถ ตั้งแตจิตแรกที่
ตื่นจนถึงจิตสุดทายที่หลับแมแตขยับนัยนตา ขยับลิ้น ก็กําหนดทันทุกครั้ง
บริกรรมภาวนาไปตามอาการที่เกิดขึ้นจริงในขณะปจจุบันอยูตลอดเวลา

๖๗๖
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม

๒. วิธีเดินจงกรม แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
อิริยาบถยืน : เน นย้ําให โยคีกําหนดใหรู เทาทัน จิตที่คิดจะยื น
“อยากยืนหนอ ”พรอมกับสังเกตเห็นอาการดับลงของจิตที่อยากยืนนั่นดวย
แลวลุกขึ้นยืน ในทุกครั้ง และเพิ่ม การกําหนดยืนเปน ๓ ชวง คือ
กําหนด “ยืนหนอ” ตั้งแตปลายผมจนถึงอก ๑ ชวง
กําหนด “ยืนหนอ” ตั้งแตอกจนถึงขา ๑ ชวง
กําหนด “ยืนหนอ” ตั้งแตขาจนถึงปลายเทา ๑ ชวง
และเพิ่ ม การกํ า หนดเห็ น อาการดั บ ของจิ ต ที่ ดั บ พร อ มไปกั บ
ความรูสึกยืนนั่นๆ ดวย
อิริยาบถเดิน : เดินจงกรมใหเทากับเวลานั่งภาวนา เดินใหครบทั้ง
๖ จั งหวะ และเพิ่ม อาการรู ล งไปในอาการก าวย า งเป น ทวี คู ณ เช น เดิ น
จังหวะที่ ๓ “ยกหนอๆๆๆๆ” “ยางหนอๆๆๆๆ” “เหยียบหนอๆๆๆๆ” คือ
เพิ่มความถี่ของจิ ตรู ลงในการกําหนด และเพิ่มการกําหนดรูจิ ตอยากหั น
อยากมอง อยากพูด อยากคุย ใหจิตที่อยากมอง อยากคุยนั้นๆ ดับไป..โดย
ไมหันไปมองหรือเผลอพูดคุย ใหไดทันกอนทุกครั้ง
หยุดกําหนดรูอาการคัน ปวด เมื่อย และอาการคิด จนเห็นอาการ
ดับ กอนทุกครั้ง ตองกําหนดจนเห็ นอาการดั บ ของทุกสภาวะที่จิ ตเขาไปรู
บางครั้งอารมณดับไปจากจิต บางครั้งจิตดับไปจากอารมณ คือกําหนดรู
อาการดับไป ของตัวจิตเอง ที่เขาไปกําหนดรูอารมณตางๆ ที่ดับไปพรอมกับ
อารมณที่ถูกกําหนดนั้นๆ หากเห็นอาการดับของจิต ชัดเจน ใหกําหนดรูวา
“ดับหนอ” หรือ “รูหนอ” ดวย
เดินจงกรมใหเทากับเวลานั่งภาวนา เดินใหครบทั้ง ๖ จังหวะ และ
เพิ่ ม จิ ต รู ล งไปใน อาการก า วย า งเป น ทวี คู ณ เช น เดิ น จั ง หวะที่ ๓ “ยก
หนอๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ’’ (แลวนิ่ง) “ยางหนอๆๆๆๆๆๆๆๆ” (แลวนิ่ง) “เหยียบ
หนอๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ” (แลวนิ่ง) คือซอยสภาวะ เพิ่ม ความถี่ในการกําหนด
ในขณะเดินเพิ่มการกําหนดรูจิตอยากหัน อยากมอง อยากพูด อยากคุย ให
จิตที่อยากมอง,อยากคุยดับไป..โดยไมหันไปมองหรือพูดคุย ใหไดทันกอนทุก
๖๗๗
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ครั้งหยุดกําหนดรูอาการคัน ปวด เมื่อย และอาการคิด จนเห็นอาการดับ
ก อ นทุ ก ครั้ ง ต อ งกํ า หนดจนเห็ น อาการดั บ ของทุ ก สภาวะที่ จิ ต เข า ไปรู
บางครั้งอารมณดับไปจากจิต บางครั้งจิตดับไปจากอารมณ คือกําหนดรู
การดับไปของตัวจิตเอง ที่เขาไปกําหนดรูอารมณ ตางๆ ที่ดับไปพรอมกับ
อารมณที่ถูกกําหนดนั่นๆ หากเห็นอาการดับของจิตชัดเจนให กําหนดรูวา
“ดับหนอ ”หรือ “รูหนอ ”ดวย
เพิ่มอาการรูลงไปในอาการกาวยางเปนทวีคูณดังนี้
จังหวะที่ ๑ เพิ่มความถี่ของจิตรูลงในการกําหนด “ยกหนอๆๆๆๆ”
“ยางหนอๆๆๆๆ”
จังหวะที่ ๒ เพิ่มความถี่ของจิตรูลงในการกําหนด “ยกหนอๆๆๆๆ”
“เหยียบหนอๆๆๆๆ”
จังหวะที่ ๓เพิ่มความถี่ของจิตรูลงในการกําหนด “ยกหนอๆๆๆๆ”
“ยางหนอๆๆๆๆ” “เหยียบหนอๆๆๆๆ”
จั ง หวะที่ ๔ เพิ่ ม ความถี่ ข องจิ ต รู  ล งในการกํ า หนด “ยกส น
หนอๆๆๆๆ” “ยกหนอๆๆๆๆ” “ยางหนอๆๆๆๆ” “เหยียบหนอๆๆๆๆ”
จั ง หวะที่ ๕ เพิ่ ม ความถี่ ข องจิ ต รู  ล งในการกํ า หนด “ยกส น
หนอๆๆๆๆ”“ยกหนอๆๆๆๆ” “ยางหนอๆๆๆๆ” “เหยียบหนอๆๆๆๆ”
จั ง หวะที่ ๖ เพิ่ ม ความถี่ ข องจิ ต รู  ล งในการกํ า หนด “ยกส น
หนอๆๆๆๆ”“ยกหนอๆๆๆๆ” “ยางหนอๆๆๆๆ” “ลงหนอๆๆๆๆ” “ถูก
หนอๆๆๆๆ” “กดหนอๆๆๆๆ”
หยุดกําหนดรูอาการคัน ปวด เมื่อย และอาการคิด จนเห็นอาการ
ดั บ ก อนทุ กครั้ งต อ งกํ าหนดจนเห็ น อาการดั บ ของทุ กสภาวะที่ จิ ต เข าไปรู
บางครั้งอารมณดับไปจากจิตบางครั้งจิตดับไปจากอารมณคือกําหนดรู อาการ
ดับไป ของตัวจิตเอง ที่เขาไปกําหนดรูอารมณตางๆ ที่ดับไปพรอม อารมณที่
ถูกกําหนดนั้นๆ หากเห็นอาการดับของจิต ชัดเจนใหกําหนดรูวา “ดับหนอ”
หรือ“รูหนอ” ดวย

๓. วิธีนั่งกําหนดรูพอง-ยุบ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
๖๗๘
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ถาภายใน ๑ ชั่วโมง นั่งภาวนาไมมีทุกขเวทนาเลยติดตอกัน ๒-๓ วัน
ใหเดินและนั่งอยางละ ๑ ชั่วโมงครึ่ง โดยไมขยับอวัยวะสวนใดทั้งสิ้น หาก
เห็นอาการพอง-ยุบชัดเจนมาก เห็นตน-กลาง-ปลายชัดเจนใหเพิ่มความถี่ของ
จิตที่กําหนดอาการนั้นๆ คือ กําหนดซอยอาการพอง-ยุบ ตัด “หนอ”ออก
“พองๆๆ”“ยุบๆๆ” สังเกตใหไดวาพองหรือยุบนั้น ดับลงในการกําหนดครั้งใด
บางช วงพอง-ยุ บ ไมชัด แตจิ ตรู ชัดก็ใหรู ชัดลงไปในอาการไมชั ดนั้ น “พอง
หนอ-ไมชัดหนอ” “ยุบหนอ-ไมชัดหนอ” อยาพยายามทําใหชัด
หากเห็น อาการพอง-ยุ บชัด เจนมาก เห็ นตน -กลาง-ปลายชั ดเจน
เพิ่ ม ความถี่ ข องจิ ต ที่ กํ า หนดอาการนั้ น ๆ คื อ กํ า หนดซอยอาการ “พอง
หนอๆๆๆๆๆ” “ยุบหนอๆๆๆๆๆ” สังเกตใหไดวาพองหรือยุบดับลง ณ การ
กําหนดครั้งที่เทาไหร
บางชวงพอง-ยุบ ไมชัด แตจิตรูชัด..ก็ใหรูชัดลงไปในอาการไมชัด
นั้น “พองหนอ-ไมชัดหนอ” “ยุบหนอ-ไมชัดหนอ” อยาพยายามทําใหชัด
กําหนดรูอาการคัน ชา ปวด เมื่อย และอาการคิด จนเห็นอาการ
ดับกอน ทุกครั้ง จึงจะกลับมากําหนดพอง-ยุบตอไป
กําหนดเห็ น อาการดั บ ของจิ ต ที่ดั บ พร อมไปกับ อารมณที่ เ ขาไป
กําหนดรู ทุกครั้ง
บางขณะอาการพอง-อาการยุบแผวเบา นิ่มนวล ก็ใหทําอารมณ
แผว เบา กําหนดอยางแผวเบานิ่มนวลไปตามอาการนั้นๆ “พองหนอ” “ยุบ
หนอ” ถา รูสึกจิตแผวเบามากเหมือนจะหลับ ก็ตามดูจิต วาหลับอยางไร “รู
หนอๆๆๆ” (หากเปนสภาวะแท ตามดูอยางไรก็ไมหลับ)
กําหนดอยูดีๆ อาการพอง-ยุบกลับเร็วแรงขึ้นมาก ปรากฏอาการ
เกิด ดับอยางถี่ยิบ บางคนแรงมากเหมือนกับเครื่องจักร เหนื่อยหอบแทบ
ขาดใจ ก็ใหตามรูไปตาม อาการนั่นกําหนดเพียงวา“รูหนอๆๆๆๆ”ไปเรื่อยๆ
จนกวาจิตจะละคําบริกรรมไปเอง อยา ดัดแปลงแกไขสภาวะใดๆ เด็ดขาด
หลังจากนั่น เมื่ออาการพอง-ยุบกลับมาเปนปกติ ใหปรับการเดิน
และนั่งภาวนาเปน ๑ ชั่วโมงเทากัน แลวเพิ่มการกําหนดอิริยาบถยอย
เมื่อรูสึกวา ราคะ โทสะ โมหะ หรือนิวรณ ๕ กลับมาแรงขึ้น ให
๖๗๙
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
เพิ่มการนั่งเปน ๒ ชั่วโมงเปนอยางตํ่า โดยไมขยับอวัยวะสวนใดทั้งสิ้นและ
เจาะลึกสภาวะธัมมานุปสสนาใหมากขึ้น โดยเฉพาะตัณหา มานะและทิฏฐิ
“อยากหนอ" “ยึดถือหนอ" “คิดหนอ"

๔. วิธีกําหนดรูอิริยาบถ แบบกายานุปสสนาสติปฏฐาน
อิริยาบถตื่นนอน พึงเนนย้ํา ,สังเกตเห็นอาการดับลงของจิตที่อยาก
พลิกตัวกอน แลวจึงคอยพลิกตัวลุกขึ้นนั่ง “พลิกหนอๆๆ“ ”ลุกหนอๆๆๆ”
เดิน เขาห องน้ํา “ยก-ยาง-เหยี ยบ“ ”ยก-ย าง-เหยีย บ ”ขณะเป ด
ประตูหองน้ํา กําหนด จิตคิดจะเปดกอน“อยากเปดหนอ”สังเกตเห็นอาการ
ดับ ลงของจิ ตที่อยากเป ด หนอกอน แลว กําหนดอาการเคลื่ อนไหวของมือ
“ยกหนอๆ ถูกหนอ จับหนอ บิดหนอ เปดหนอ”ตอไป
รับประทานอาหาร : กําหนดรูทันจิตอยากจับ อยากเคี้ยวทันกอน
จับ กอนเคี้ยวทุกครั้ง กําหนดเคี้ยวจนรสชาติจืดสนิทกอน จึงกลืนทุกคํากลืน
ขณะเคี้ยวเสร็จ ตองกําหนดจิตอยากกลืนใหไดกอน จึงกลืน ทุกๆ คํากลืน
กําหนดใหได ๕๐ นาที เปนอยางนอย
อมอาหารนานๆ กําหนดตนจิต “อยากเคี้ยวหนอๆ” จนหายอยาก
(จิ ต เป น อุเ บกขา) กอนจึ งจะเคี้ย ว ทุกๆ คํา ในการฉันหรื อกิน ให เ พิ่มการ
กําหนดใหถี่ๆมากขึ้นๆ เชน
- ยกมือตักอาหารขึ้นใหกําหนดวา “ขึ้นหนอๆๆๆๆ” ถี่ๆ จนหมด
อาการ
- อาปากใหกําหนดวา “อาหนอๆๆๆๆๆ” ถี่ๆ จนหมดอาการ
- ขณะกลืนใหกําหนดวา “ลงหนอๆๆๆๆ” หรือ “ไหลหนอๆๆๆๆ”
- การกําหนดฉันหรือกินยิ่งนานยิ่งละเอียดประณีต ดุจคนรอนแปง ยิ่ง
รอนมากก็ยิ่งละเอียดมาก
- การกําหนดฉันหรือกินไมฟุงซานไมรําคาญใจ รูป, เสียง, กลิ่น, รสไม
ปรากฏมารบกวนไดเลย

๖๘๐
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
- การกําหนดอิริยาบถใหญหรือยอย กําหนดสะดวกสบายดี

อิริยาบถนอน หลังฉันเพล นอนกําหนดทองพอง-ทองยุบอยางจด


จอ ๕๐ นาที
- กําหนดเพียงรูปนอนเทานั้น “นอนหนอๆๆๆ” แต ถากําหนดกวา
๓๐ นาทีแลวยังไมหลับ ใหเพงรูไปที่อาการไมหลับนั้น พรอมกับบริกรรมวา
“ไม หลับหนอๆๆๆ” จนกวาจะหลับไปเอง
- หรื อ เปลี่ ย นบทกรรมฐานเป น เมตตาภาวนา โดยการ กํ าหนด
ตั้งแตศีรษะ คือ เสนผม ไลลงมาเรื่อยๆ ตั้งแต หนาผาก คิ้ว ตา จมูก ปาก
คาง หน าอก หน า ทอ ง ฝ า มือ แข งขา ฝ า เทา โดยการบริ ก รรมตามไปว า
“ขอใหมีความสุข ขอใหพนจากทุกข” ทั้งขึ้น ทั้งลง จนกวาจะหลับ๑
๕. วิธีเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน
ขณะกําลังเดินจงกรม หรือนั่งภาวนาอยูนั้น ตองกําหนดรูอาการคัน
ชา ปวด เมื่อย และอาการคิด จนเห็นอาการดับกอน ทุกครั้ง จึงจะกลับมา
กําหนดพอง-ยุบตอไป
หยุดกําหนดรูอาการคัน ปวด เมื่อย และอาการคิด จนเห็นอาการ
ดับ กอนทุกครั้ง ตองกําหนดจนเห็ นอาการดั บ ของทุกสภาวะที่จิ ตเขาไปรู
บางครั้งอารมณดับไปจากจิต บางครั้งจิตดับไปจากอารมณ คือกําหนดรู
อาการดับไป ของตัวจิตเอง ที่เขาไปกําหนดรูอารมณตางๆ ที่ดับไปพรอมกับ
อารมณที่ถูกกําหนดนั้นๆ หากเห็นอาการดับของจิต ชัดเจน ใหกําหนดรูวา
“ดับหนอ” หรือ “รูหนอ” ดวย
บางขณะอาการพอง-อาการยุบแผวเบา นิ่มนวล ก็ใหทําอารมณแผว
เบา กําหนดอยางแผวเบานิ่มนวลไปตามอาการนั้นๆ “พองหนอ” “ยุบหนอ”
ถ า รู สึ ก จิ ต แผ ว เบามากเหมื อ นจะหลั บ ก็ ต ามดู จิ ต ว า หลั บ อย า งไร “รู
หนอๆๆๆ” (หากเปนสภาวะแท ตามดูอยางไรก็ไมหลับ)
กําหนดทุกขเวทนาปรากฏสังเกตดูวากําหนดกี่ครั้งจึงดับ


ในเรื่องเดียวกัน, หนา ๓๙๕.
๖๘๑
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
- ขณะนั่งภาวนาตลอด ๑ ชั่วโมง มีทุกขเวทนาปรากฏบางหรือไม?
ถามีทุกขเวทนาใหนั่งกําหนดอยางนอย ๑ ชั่วโมงครึ่ง
- ใหสังเกตขณะกําหนดเห็นอาการทุกข/อาการสุขดับไป..มีอะไรดับ
พรอมกันไปดวย
- การกําหนดเวทนาใหสังเกตเหมือนกับการกําหนดเดินและนั่ง คือ
เวทนาดับไปตอนไหน หรือจิตดับไปจากเวทนาตอนไหน
– จิตดับจากเวทนา หมายถึงอารมณเวทนามีอยูแตจิตไมรับเอามา
เปนอารมณ คือจิตไปเกาะเอาอารมณใหมแลว
พิเศษ :โยคีแตละคน ถานั่งปฏิบัติ ๑ ชั่วโมงไมมีทุกขเวทนาเลย ๓-
๕ วันติดตอกันเปนอยางนอย หลังจากนั้นทุกขเวทนากลับแรงขึ้นมาอีกอยาง
นาแปลกใจ แตมีสติรูเทาทัน ไมสุข ไมทุกข จิตกลับรูสึกเฉยๆ

๖. วิธีเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน
กําหนดรูเทาทันจิต อยาก....หนอ (กอนลุก กอนนั่ง กอนจับ กอน
หัน กอนมอง กอนพูดกอนเคี้ยว กอนดื่ม กอนเปดประตูไดทันทุกครั้ง พรอม
กับเห็นอาการดับของจิตอยากเทานั้น
เน น ตั ว จิ ต อารมณ ดั บ ไปจากจิ ต หรื อ จิ ต ไปจากอารมณ พร อ ม
กําหนด “ดับหนอ“ ”รูหนอ ”กําหนดใหได ๙๐ – ๑๐๐ เปอรเซ็นต
กําหนดรูเทาทันจิต (อยาก...หนอ) กอนลุก กอนนั่ง กอนหัน กอนมอง
กอนพูด กอนเปดประตูไดทันทุกครั้ง พรอมกับเห็นอาการดับของจิตอยากนั้น
เมื่อมีสติรูเทาทันความแปรปรวนของรูป-นาม จิตกลับรูสึกเฉยๆ ไมยินดียินราย
ความไมยินดียินรายของจิตไมใชคิดปรุงแตงขึ้น แตเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
แมไดยินขาวรายวาพอแมตาย จิตก็เฉยๆ ราวกะวาไมเคยไดยินเรื่องนี้มากอน
มีสติรูเทาทันความแปรปรวนของรูปนาม ไมยินดียินราย ไมใชคิด
ปรุงแตงขึ้น เกิดเองตามธรรมชาติ แมไดยินขาวรายพอแมตาย บานไฟไหม
จิ ต ก็ เ ฉยๆ อย า งพระนางมั ล ลิ ก า ที่ สู ญ เสี ย สามี แ ละลู ก ๆ ทั้ ง ๓๒ คนใน
สงครามเดียวกัน พระนางก็เฉย ไมรูสึกเสียใจแตอยางใด เพราะเขาใจวาทุก
อยางมีเกิดและมีดับเปนธรรมดา ทีนี้ เฉยอยางไร
๖๘๒
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
- ญาณกอนนี้ จิตดิ้นรน อยากหลุดพน ดูไปจนแกกลา รูวาไมมีทาง
ก็วางเฉย แมถูกบีบคั้นสาหัสก็วางเฉยได เปนการวางเฉยตอสังขาร โดยแจง
ความเกิดดับของรูปนาม
- มีองคธรรม คือ ปญญาเจตสิก ซึ่งไมใชอุเบกขาเวทนาเจตสิก แต
อยางใด ดังนั้นในขั้นนี้ อาจเกิดเวทนาที่เปนโสมนัส(สุข) หรืออุเบกขา ก็ได
หลักสําคัญในการปฏิบัติ
๑. ตองกําหนดบริกรรมอยูตลอดเวลา ตั้งแตจิตแรกที่ตื่น จนถึงจิต
สุดทายที่หลับ แมแตขยับนัยนตา ขยับลิ้น ก็กําหนดทันทุกครั้ง
๒. บริกรรมภาวนาไปตามอาการที่เกิดขึ้นจริงในขณะปจจุบัน อยู
ตลอดเวลา
๓. ถาเห็นแสงสวาง ที่ไมใชแสงสี ใหกําหนดจนกวาจะดับ แตถา
กําหนดกวา ๑๐ นาทีแลวยังไมดับ ใหทําเปนไมใสใจ แลวไปกําหนดอารมณ
อื่นๆ ที่ปรากฏชัด ตอไป
๔. ต อ งกํ า หนดจนเห็ น อาการดั บ ของทุ ก สภาวะที่ จิ ต เข า ไปรู
บางครั้งอารมณดับไปจากจิต บางครั้งจิตดับไปจากอารมณ
๕. พิจารณาเห็นการดับของตัวจิต(ที่เขาไปกําหนดรู)เอง ใหได ๑-๓
ขณะจิต กอนที่จะดับสิ้นลงทั้งของอารมณที่จิตเขาไปรูและของจิตที่เขาไปรู

๗. วิธีเจริญธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน
ถาเห็นแสงสวางที่ไมใชแสงสี ใหกําหนดจนกวาจะดับ แตถากําหนด
กวา ๑๐ นาทีแลวยังไมดับ ใหทําเปนไมใสใจ แลวไปกําหนดอารมณอื่นๆ ที่
ปรากฏชัดตอไป
ตองกําหนดจนเห็นอาการดับของทุกสภาวะที่จิตเขาไปรู บางครั้ง
อารมณดับไปจากจิต บางครั้งจิตดับไปจากอารมณ
กําหนดเห็นการดับของตัวจิตเอง ที่เขาไปกําหนดรูอารมณตางๆ ได
๑ – ๓ ขณะจิต กอนที่จะดับสิ้นลงทั้งของอารมณที่จิตเขาไปรูและของจิตที่
เขาไปรูอารมณ

๖๘๓
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ปญญารู เห็ นขึ้นมาว า รู ปนามนี้เปนวิ บากที่เกิดมาจากเหตุ ปจจั ย
ตอเมื่อทําใหเหตุปจจัยหมดสิ้นไปกอนแลวรูปนามอันเปนวิบากก็ไมเกิดขึ้นอีก
แตวาบัดนี้รูปนามมีอยูแลว จนเบื่อหนายอยากหนีอยากพนมากแคไหนก็หนี
ไมพน จําตองวางเฉย ไมยินดียินราย คือไมมีอภิชฌาและโทมนัส ในสังขารรูป
นาม แตก็ไมละเลยในการพยายามเพง ความเกิดดับของรูปนาม ในตอนนี้ไตร
ลักษณคือ ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา ปรากฏมากขึ้น สภาวธรรมในขั้นนี้ปรากฏ
ความแปรปรวนของรูปนาม แตจิตวางเฉย

๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๖ สมบูรณ
บันไดขั้นที่ ๖ เปนผลจากการกําหนดสภาพธรรมตามจริง พรอมกับ
เห็นอาการดับของจิตรู มีสติรูเทาทันความแปรปรวนของรูป-นาม แตจิตกลับ
รูสึกเฉยๆ ไมยินดียินรายตาม ไมยินดียิน รายของจิตคิด ไมใชคิดปรุงแตงขึ้น
แตเกิดตามธรรมชาติ แมไดยินขาววาพอแมตาย บานไฟไหม จิตก็เฉย ราว
กะวาไมเคยไดยินเรื่องนี้มากอน เปนสภาวธรรมที่อยูในปฏิสังขาญาณ๒
สภาวธรรมปรากฏความแปรปรวนของรูปนาม แตจิตวางเฉย ซึ่ง
เปนสภาวธรรมของสังขารุเปกขาญาณเบื้องตน กลาวถึงความปรารถนาที่จะ
หนีใหพนจากรูปนาม ไตรตรองมองหาอุบายที่จะใหพนจากรูปนาม จนเกิด
ปญญารูเห็นขึ้นมาวา รูปนามนี้เปนวิบากที่เกิดมาจากเหตุปจจัย ตอเมื่อทํา
ใหเหตุปจจัยหมดสิ้นไปกอนแลวรูปนามอันเปนวิบากก็ไมเกิดขึ้นอีก แตวา
บัดนี้รูปนามมีอยูแลว จนเบื่อหนายอยากหนีอยากพนมากแคไหนก็หนีไมพน
จําตองวางเฉย ไมยินดียินราย คือไมมีอภิชฌาและโทมนัส ในสังขารรูปนาม
แตก็ไมละเลยในการพยายามเพง ตอนนี้ไตรลักษณปรากฏมากขึ้น
ญาณที่ ๑๑ สังขารุเปกขาญาณ
สภาวะของญาณนี้ : ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นวาจะหนีก็หนีไมพนจึง
เฉยอยู ไมยินดียินราย ดุจบุรุษเพิกเฉยในภริยาที่งหยารางกันแลว จิตเปน
กลางตออารมณ เพราะเห็นแลววามันเปนของเกิดดับและหนีมันไมได ยิ่ง

ดูใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๒.
๖๘๔
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
พยายามไปปฏิเสธมันยิ่งเปนทุกขมากขึ้น จึงไมปฏิเสธอารมณ เปนกลางตอ
อารมณ มีลักษณะวางเฉยตอรูป-นาม คือ เมื่อกําหนดหาทางหนียังไงก็หนีไม
พน ก็ต องดู เ ฉยอยู การที่ดู เ ฉยนี้ จ ะทํ าให ส ภาวจิ ต เขา สู ค วามเป น ปกติ ใ น
ระดับสูง ไมเหมือนบุคคลทั่วไป บุคคลทั่วไปเวลาเห็นทุกขเห็นโทษเห็นภัยนี้
สภาวะของจิตใจจะดิ้น รน แมแต ในวิป สสนาญาณกอนหนาสังขารุเ ปกขา
ญาณก็ ยั ง มี ลั ก ษณะความดิ้ น รนของจิ ต คื อ ยั ง มี ค วามรู สึ ก อยากจะหนี
อยากจะพน ซึ่งในขณะที่เห็นความเกิดดับเปนภัยเปนโทษนาเบื่อหนายอยู
อยางนั้นก็ยังวางเฉยได แมจะถูกบีบคั้นอยางแสนสาหัสแทบจะขาดใจก็วาง
เฉยได เปนความวางเฉยตอสังขารโดยประจักษแจงในความเกิดดับของรูป
นามในขณะเจริญวิปสสนา
สังขารุเปกขาญาณนี้อาจเกิดพรอมกับเวทนาที่เปนโสมนัสก็ไดหรือ
เกิดพรอมกับเวทนาที่เปนอุเบกขาก็ได ที่วาญาณนี้วางเฉยตอสังขารรูปนาม
นั้นมีคําอธิบายเปน ๒ นัย นัยหนึ่งนั้นวา เพราะมีความปรารถนาที่จะหนีให
พนจากรูปนามไตรตรองมองหาอุบายที่จะใหพนจากรูปนาม ก็เกิดปญญารู
เห็นขึ้นมาวารูปนามนี้เปนวิบากที่เกิดมาจากเหตุจากปจจัย ตอเมื่อทําใหเหตุ
ปจจัยหมดสิ้นไปเสียกอน รูปนามอันเปนวิบากจึงจะไมเกิดขึ้น แตวา ณ บัดนี้
มีรูปนามอยูแลวจะเบื่อหนายอยากหนีสักเพียงใดก็ยังหนีไมพน จําตองวาง
เฉยไม ยิ น ดี ยิ น ร าย คื อไมมี อภิ ช ฌาและโทมนั ส ในสั งขารรู ป นาม แต ก็ไ ม
ละเลยในการพยายามตอการเพงความเกิดดับของรูปนามซึ่งมาถึงตอนนี้ ไตร
ลักษณคือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ปรากฏชัดมาก๓ อีกนัยหนึ่งคือ ปญญาที่
ไดพิจารณาเห็นความจริงมาแลวแตในญาณตนๆ นั้นมีกําลังแกกลาขึ้นเห็น
ความไมเปนสาระไมเปนแกนสารวางเปลาจากตัวตนโดยอาการ ๑๒
เปนญาณที่จิตปรารถนาจะพนไปจากความเกิด..ความเปนไป..นิมิต..
กรรม..ปฏิสนธิ...คติ...ความบังเกิด...ความอุบัติ...ความเกิด..แก..เจ็บ..ตาย...
เศราโศก...รําพัน...คับแคนใจ...พิจารณาและดํารงมั่นอยูวา สิ่งเหลานี้เปน


พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., “เอกสารประกอบการสอนวิชา: สัมมนาวิปสสนา
ภาวนา”, บัณฑิตวิทยาลัย, ๒๕๕๑), หนา ๕๐๐.
๖๘๕
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ทุกข เปนภัย เปนอามิส เปนสังขาร และเพงเฉยสังขารเหลานั้น จึงชื่อวา สัง
ขารุเปกขาญาณ ญาณขอนี้จัดเปนสิขาปปตตวิปสสนา คือ วิปสสนาที่ถึงจุด
สุดยอด และเปนวุฏฐานคามินีวิปสสนา คือวิปสสนาที่เชื่อมถึงมรรค๔
ความวางเฉยของรูปนาม คือมีปญญากําหนดจนรูวา หนียังไงก็หนี
ไมพน จึงอยูเฉยๆ ไมยินดียินราย ดุจบุรุษที่เพิกเฉยในภริยาที่หยารางแลว
จิตมีความเปนกลางตออารมณ เพราะวาเปนของเกิดดับ หนีไมได ยิ่งปฏิเสธ
ยิ่งเปนทุกข จิตจึงไมปฏิเสธอารมณ เปนกลางตออารมณ มีลักษณะการวาง
เฉยของรูปนาม สภาวะเขาสูความเปนปกติระดับสูง ไมเหมือนบุคคลทั่วไป
เวลาเห็ น ทุ ก ข เ ห็ น โทษเห็ น ภั ย สภาวะจิ ต ใจจะดิ้ น รนมาก ไม ต อ งการ
กระสับกระสายดิ้นรน แมแตในวิปสสนากอนหนาสั งขารุเปกขาญาณ ก็มี
ลักษณะการดิ้นรนของจิต ยังมีความรูสึกอยากจะหนีอยากจะพน แตยังหลุด
พนไมได เมื่อดูจนกําลังแกกลาแลววา ไมมีทางจึงวางเฉยได เห็นความเกิด
ดับเปนภัยเปนโทษนาเบื่อหนายอยูก็ยังวางเฉยได แมจะถูกบีบคั้นอยางแสน
สาหัสก็ยังวางเฉยอยูอยูได เปนความวางเฉยตอสังขารที่ประจักษแจงความ
เกิดดับของรูปนาม ในขณะเจริญวิปสสนากรรมฐาน
องคธรรมไดแก ปญญาเจตสิกที่ในมหากุศลญาณสัมปยุตตจิต ไมใช
อุเบกขาเวทนาเจตสิก สังขารุเปกขาญาณนี้อาจเกิดพรอมกับเวทนาที่เปน
โสมนัสก็ได หรือเกิดพรอมกับเวทนาที่เปนอุเบกขาก็ได๕
อนึ่ง มุญจิตุกมั ยตาญาณปญญาที่ใครหนีจากรูปนาม ปฏิสังขาญาณ
ป ญ ญาที่ ไ ตร ต รองมองหาอุ บ ายหนี จ ากรู ป นาม และสั ง ขารุ เ ปกขาญาณ
ปญญาที่วางเฉยตอรูปนาม รวม ๓ ญาณนี้พยัญชนะตางกันจริง แตวาอรรถ
เหมือนกัน คือจะหนีจ ากรูป นาม ดังมีบ าลี วา ยา จ มุฺจิตุ กมฺย ตา ยา จ
ปฏิสงฺขานุปสฺสนา ยาจ สงฺขารุเปกฺขา อิเม ธมฺมา เอกตฺถา พยฺชนเมวนานํ.
มุญจิตุกัมยตาญาณ ปฏิสังขาญาณและสังขารุเบกขาญาณ ทั้ง ๓


ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔๕/๘๖-๘๘.

คูมือการศึกษากัมมัฏฐานสังคหวิภาค พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๙,
หนา ๑๖๙.
๖๘๖
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ญาณนี้ มีอรรถเดี ย วกัน แต ชื่ อพยั ญชนะนั้ น ต างกัน เมื่อว าตามชื่ อ ญาณนี้
ปรากฏทั้ งในคั มภี ร ป ฏิ สั มภิ ทามรรค (ญาณที่ ๙) และคั มภี ร วิ สุ ท ธิ ม รรค
สาระสําคัญของญาณนี้ก็คือผูปฏิบัติจะมีจิตใจสงบวางเฉยไมมีทุกขเวทนา
รบกวนและสามารถกําหนดสภาวะตางๆ ไดดียิ่ง ผูปฏิบัติไดเห็นคุณคาของ
การเจริญวิปสสนากรรมฐานเปนอยางมาก
องค ๖ ประการของสังขารุเปกขาญาณ
เมื่อโยคีพยายามกําหนดตอไป สังขารุเปกขาญาณนี้ก็จะคอยๆ แก
กลาเขา จนในที่สุดก็จะแสดงสภาวะครบ ๖ ประการอยางบริบูรณ คือ
๑. ภยฺจนนฺทึ จ วิปฺปหาย. ในอารมณอะไรก็ตามที่นากลัว นายินดี
นาปลาบปลื้ม ไมมีเลย คือ ไมมีความกลัว ไมมีความยินดี ยินรายกําหนดได
สม่ําเสมอ เรียบรอย ปราศจากอุปสรรคความขัดของ กําหนดไดงายที่สุด
๒. เนว สุมโน โหติ น ทุมฺมโน อุเปกฺขโก วิหรติ สโต สมฺปชาโน. ที่วา
ดีนั้น คือระมัดระวังตั้งอกตั้งใจมากก็ไมมี คือ ดีใจก็ไมมี เสียใจก็ไมมี มีแตตั้ง
สติกําหนดรูเฉยๆ
๓. สพฺพสงฺขาเรสุ อุทาสิโน. ความทุกขยากลําบาก ทุกขเวทนาเปน
ต น ไม มี แ ล ว คื อ วางเฉยในอารมณสั ง ขารทั้ ง ปวง อุ ป มาเหมื อ นบุ ค คลผู
ชํานาญขับรถคันใหมเครื่องใหมไปในถนนที่เรียบดี ไมมียวดยานอื่นมาปะปน
ยอมจะขับไปไดโดยสะดวกเรียบรอย เกือบจะไมตองระมัดระวังหรือใชความ
พยายามอย า งไรเลย หรื อ มิ ฉ ะนั้ น ถ า เป น สมั ย โบราณ ก็ เ ปรี ย บเหมื อ น
คนขับรถเกวียนที่เทียมดวยโคคูตัวฉลาดรูหนทาง ทั้งยังหนุมปราศจากโรคมี
กําลังแข็งแรงควรแกการงาน ไดรับการฝกฝนมาเปนอยางดี ขับไปในหนทาง
ดีไมมีหลุมไมมีบอ ยอมกอใหเกิดความเบาใจ แกเจาของ จะนอนขับไปก็ยัง
ได ที่วากําหนดสบายนั้นก็คือสบายโดยไมตองระมัดระวังอยางที่เปรียบมานั้น
๔. สนฺติฏฐนา ปฺญา. ที่วาสับโนนสับนี้ เปลี่ยนอิริยาบถตางๆ นั้น
ไมมี คือ นั่งในอิริยาบถเดียวไดนาน คือ สมาธิตั้งอยูกําหนดอยูไดนานๆ ไม
อยากลุกขึ้น เพราะใจสงบ ความฟุงซานไมมี นิวรณธรรมก็ไมรบกวน
๕. สุ ปฺ ป คฺ เ คป ฏ ฐํ ว ฏ ฏิ ย มานํ วิ ย . จิ ต ไม วิ่ ง ไปสู ที่ ต า งๆ คื อ อยู ที่

๖๘๗
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
อารมณเ ดี ย วอารมณอื่น ที่จ ะย ายไปก็ ไมได คื อสงบอยู ที่เ ดิ ม คื อ กําหนด
อาการรูปนามสังขารสุขุมละเอียดลออ ยิ่งนานวันเขาก็ยิ่งละเอียดมาก เห็น
ไมคอยชัดเจน แตก็กําหนดไดอยางสบายใจสงบมาก อุปมาเหมือนคนรอน
ขาวสาร ตักขาวใส กระดงแลว ก็ร อนไปมา เพื่อใหกากขาวและสิ่งสกปรก
ตางๆ ลอยขึ้นขางบน แลวก็กวาดตะลอมเก็บทิ้งไป ยิ่งรอนนานเขาบอยครั้ง
เขาก็เหลือแตขาวที่สะอาดและยิง่ สะอาดเขาทุกที ขอนี้ฉันใด ลักษณะของสัง
ขารุเปกขาญาณนี้ เมื่อโยคีกําหนดไปเรื่อยๆ ก็ยิ่งละเอียดสุขุม ฉะนั้น
๖. ปฏิ ลี ย ติ ปฏิ กุ ฏ ติ ปฏิ ว ตฺ ต ติ สมฺ ป สาริ ย ติ . อารมณ แ ละจิ ต ที่
กําหนดตางก็ละเอียดๆ ลงไป คือ จิตของโยคีบุคคลแคบเขามา คิดฟุงซาน
ออกไปขางนอกนอยที่สุด จนแทบจะไมมีในขณะกําหนดอยูนั้น แมอารมณ
ภายในก็ถอยลงมาก คือไมไดกําหนดนั่งหนอและถูกหนอ เพราะกําหนดแต
พองยุบเทานั้นก็พอที่จะทําใหสงบไดแลวระยะนี้บทกัมมัฏฐานที่แทจะสั้นเขา
เหมือนกับยางที่ยืดออกไปแลวกลับหดสั้นเขามา ฉะนั้น
วิป สสนาจารย ได สอบสวนพิจารณาเห็น วา โยคีผู ปฏิ บัติ มีส ภาวะ
บังเกิดองคคุณทั้ง ๖ ประการนี้แลว ก็พึงทราบเถิดวาบั ดนี้โยคีผู นั้นบรรลุ
ถึงสังขารุเปกขาญาณแนนอน
ถามวา เมื่อโยคีบรรลุถึงสังขารุเปกขาญาณอันประกอบไปดวยองค
คุณ ๖ ประการนี้อยางครบถวนบริบูรณแลว จะมีอะไรเกิดขึ้น
โรคภัยไขเจ็บตางๆ ก็หาย จะหายไปไดโดยเด็ดขาดบาง เชน โรค
อัมพาต โรคประสาท โรคหืด โรคกระเพาะ ความดันโลหิต ลมบาหมู เปนตน
ซึ่ ง เป น ผลพลอยได จุ ด มุ ง หมายคื อ กํ า จั ด กิ เ ลส การกํ า หนดคลายความ
ขะมักเขมน คลายความตึงเครียดไปบางสามารถกําหนดอารมณไดสม่ําเสมอ
,ความเพียรไมลดถอยลง,ไมตองจดจอในการกําหนดรูอาการพอง-ยุบ เห็น
ความดับหรือความไมเที่ยง เปนทุกขและอนัตตา
อุปมาเหมือน นกกาหาฝง (ฝงพระนิพพาน)
เหมือ นนกกาของพ อคา เดิ น ทะเล เมื่อพ อคา จะออกเดิ น ทางไป
คาขายทางทะเลพวกพอคาก็จะจับนกกาที่เรียกวา ทิสากากะ (นกกาผูรูทิศ)

๖๘๘
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ไปดวยคราวใด เรือถูกพายุพัดไปยังประเทศตางถิ่น ฝงไมปรากฏคราวนั้น
พวกพอคาเหลานั้น ก็ปลอยการูทิศนั้นไป กานั้นก็โดดจากไมสลักเสากระโดง
เรือสูอากาศ แลวบินไปตามทิศใหญทิศนอย ทั่วทุกทิศ ถามันเห็นฝง มันก็บิน
มุง หน าไปยั งฝ ง นั้ น เลย หากมัน ไม เ ห็ น ฝ ง มั น ก็ บิ น กลั บ มาเกาะที่ไ มส ลั ก
เสากระโดงเรือนั้นเอง ครั้งแลวครั้งเลา๖
สังขารุเปกขาญาณก็เหมือนนกกาหาฝงนั้น ถาเห็นพระนิพพานอัน
เป น ทางสั น ติ โ ดยสงบ ก็ส ลั ด ทิ้งกระแสสั งขารทั้งหมดแล ว แล น เขาสู พระ
นิพพาน หากยังไมเห็ นก็มีสังขารเปนอารมณอยางนั้นแหละวนเวียนไป
ดวยกันเหมือนผงแปงที่ถูกฝดไวริมขอบกระดง และนุนที่ควานเมล็ดออกแลว
ฝดอยู ครั้นกําหนดรูสังขารทั้งปวงแลว ก็สลัดทิ้งความกลัวและความพอใจมี
ใจเปนกลางในการกําหนดรูสังขารโดยอนุปสสนา ๓ คือ
๑. อนิจจานุปสสนา คือ การตามรูวาไมเที่ยง
๒. ทุกขานุปสสนา คือ การตามรูวาเปนทุกข
๓. อนัตตานุปสสนา คือ การตามรูวาไมใชตัวตน
องคธรรม ไดแก ปญญาเจตสิก ในมหากุสลญาณสัมปยุตตจิต ไมใช
อุเบกขาเวทนาเจตสิก สังขารุเปกขาญาณนี้อาจเกิดพรอมกับเวทนาที่เปน
โสมนัสก็ได หรือเกิดพรอมกับเวทนาที่เปนอุเบกขาก็ได๗
จากนั้น ใหเพียรกําหนดทวารทั้ง ๖ เจริญธาตุกรรมฐานใหมากและ
เจริญเมตตา(นอน)ใหมากขึ้น จะทําใหการปฏิบัติกาวหนาอยางรวดเร็ว
ก. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
กําหนดเดิ น จงกรม ๑ ชั่ ว โมง ๓๐ นาที โดยกําหนดเดิ น เริ่ มจาก
ระยะที่ ๑-๖ ตามลําดับ


พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ) รจนา วิปสสนานัย เลม ๒, พระพรหม
โมลี (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ. ๙, M.A.Ph.D.) พิมพครั้ง ๑ นครปฐม, หนา ๓๔๑.

คูมือการศึกษากัมมัฏฐานสังคหวิภาค พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๙,
หนา ๑๖๙.
๖๘๙
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
๑) การเดินสติสามารถกําหนดพอดีกับเทาลงตัวเหมาะเจาะพอดี
กับการกําหนด
๒) สติสามารถกําหนดตามจิตไดวองไว รวดเร็ว
๓) มีอาการตึงๆ ใน กาวแรกที่กําหนดเดินจงกรมบริเวณใตฝาเทาขวา
หยุดเดินจงกรม สงจิตไปที่ บริเวณใตฝาเทา กําหนดวา “ตึงหนอๆ” กําหนด
แตละครั้งคอยสังเกตอาการ ตึง มีอาการคอยๆ จาง โดยรวมแลวแต ละครั้ ง
กําหนดประมาณ ๑-๓ ครั้งดับสนิท
บางขณะเห็นพื้น ยุบลงวูบ (๓ ครั้ง/บัลลั งก) สติกําหนดไมทันแต
กําหนด ตามไป ๑ ครั้งวา “ยุบหนอ” บางขณะเห็นพื้นเปนคลื่นๆ เปนลูกๆ
และเห็ น รายละเอียดของพื้น ชัด เจน เชน เม็ด ทรายเล็กๆ ลวดลายเล็กๆ
ขยะเล็กๆ ฝุนหยาบๆ
ข. สภาวธรรมที่ปรากฏ : นั่งกําหนดพอง-ยุบ
อาการทองพอง-ทองยุบ เห็นพองขนาดปาน ลาง ยุบเปนลูกเล็กๆ
แตสติเห็นชัดเจนมาก สติกําหนดวา “พองหนอ” “ยุบๆๆ” ตามอาการใน
เวลาตอมาประมาณ ๑๐ นาที อาการพองขนาดปาน กลาง แตอาการยุบ
เล็กๆ เริ่มจางไปๆ และพอง-ยุบเปนจุดเล็กๆ สติกําหนดรู วามีอาการตึงและ
หยอนภายในจุดเล็กๆซอนขึ้นมาอีกขั้นหนึ่ง
จนกระทั่ง ตอมาอาการพอง-ยุบหายไป สติกําหนดวา “พองหนอ”
“ยุบๆๆ” “จางหนอ” “ตึงหนอ” “หยอนหนอ” “รูหนอ” (รูวายุบหายไป)
“นั่งหนอ” (กําหนดใสแทนอาการวาง) สติกําหนดจดจอแบบเบาๆ ไปเรื่อยๆ
ตามอาการ ที่จิตรูอาการ หรือที่จิตสนใจขณะปจจุบันนั้นๆ บางขณะอาการ
พอง-ยุบ แบบหยิบๆๆๆๆ แลวคอยๆ จางหายไป บางขณะมีแตพองเปนลูก
เล็กๆ ขึ้น เปนแนวดิ่ง จนกระทั่งมีทุกขเวทนาปวดจึงทิ้งการกําหนดอาการ
ทองพอง - ทองยุบ ไปกําหนดอาการปวดตอไป
- อาการพอง-ยุบปรากฏนิดหนอยเบาบาง นิ่งหายไปเปนพักๆ
- ขณะจิ ต เห็ น รู ป พองดั บ ไป รู ป ยุ บ ดั บ ไป จิ ต รู ดั บ ไปพร อ มกั บ
อารมณ
๖๙๐
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
- โยคีบางคนสติดีมาก พอง-ยุบ เบาบาง สภาวะนุมนวล เห็นชัด ไม
เผลอ ไมงวง
โรคภัยไขเจ็บตางๆจะหาย จะหายไปไดโดยเด็ดขาดบาง เชนโรค
อัมพาต โรคประสาท โรคหืด โรคกระเพาะ ความดันโลหิต ลมบาหมู เปนตน
จุดมุงหมายของการปฏิบัติวิปสสนาไมไดมุงรักษาโรคอยางนี้ มุงรักษาภายใน
คือกิเลสและโรคภายนอกก็เปนผลพลอยได
การกําหนดคลายความขะมักเขมน คลายความตึงเครียดไปบาง
สามารถกําหนดอารมณไดสม่ําเสมอ ความเพียรไมลดถอยลง ไม
ตองจดจอในการกําหนดรูอาการพอง-ยุบ เห็นความดับหรือความไมเที่ยง
เปนทุกขและอนัตตา
การกําหนดรูเปนกลางไมมีดีหรือไมดี การกําหนดรูจุด ๕ ,๑๐ ,จะ
นอยลง การกําหนดจุด ๓, ๕, ๑๐จุด สุดทายจะเหลือเพียง ๔ จุด คือ พอง –
ยุบ นั่ง-ถูก
การกําหนดอาการพองยุบ มีอาการตอเนื่องกันไป ไมตองทําความ
พยายามในการกําหนดรูสภาวะตางๆ กําหนดไดเองเปนธรรมชาติ เหมือน
ไมไดกําหนดอะไร
การกําหนดรูพอง-ยุบ นั่ง-ถูก บางทีหายไป ตองกําหนดรูอาการที่
หายไปดวย พอลงนั่งกําหนดรูพองหนอ-ยุบหนอ-นั่งหนอ-ถูกหนอ(ทั้งยายถูก
และจี้ จุดสั ก๒-๓เที่ยวจะรูสึ กตัว หายเปนไอน้ํา หรือกลุมควันบางๆ สลาย
หายไปในอากาศ)
อาการพองโตมากและอาการยุบก็แฟบมากๆอาการพองขึ้นเรื่อยๆ
ไมยุบก็ใหกําหนดรูพองตามไปและอาการยุบลงๆ(ไมพองก็ใหกําหนดตามไป
วายุบๆ บางทีก็ไมพอง-ไมยุบ แตมีอาการตึงอยูก็ใหกําหนดวา ตึงหนอ หรือรู
หนอไป เมื่อทองไมพอง-ไมยุบจะปรากฏคลายวาเราไมไดหายใจและเย็นตาม
รู ขุมขนทั่ว บริ เ วณแขน ขาและทั่ว ร า งกายคล ายหายใจทางรู ขุมขน)(เป น
ลักษณะของลมละเอียดปรากฏ) เปนอาการของผรณาปติผสมเขามา
บางครั้งอาการพอง-ยุบมีอาการรวดเร็วมากใหกําหนดวา รูหนอไว
เปนหลัก
๖๙๑
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ไมเห็นสิ่งที่ควรถือวาเปนเรา ของเรา ละความกลัวและความพอใจ
ไดแลวเปนผูวางเฉยมีใจเปนกลางในสังขารทั้งปวง๘
*** แตตราบใดที่อินทรียทั้ง ๕ ยังไมสม่ําเสมอ ตราบนั้นญาณจะเกิด
ขึ้นๆ ลงๆ กลับไปกลับมา ระหวางอุทยัพพยญาณกับสังขารุเปกขาญาณ ถาไดสวน
สมดุลกันเมื่อใด เมื่อนั้นก็จะบรรลุมรรคผลนิพพาน๙
ทุก ขเวทนาปวดบริ เ วณขาทั้ ง สองข า ง เริ่ ม ปวดแบบเบาๆ แล ว
คอยๆ เพิ่มความเจ็บปวดขึ้นเรื่อยๆ ตามลําดับ จนกระทั่งเวทนาปวดเกิดขึ้น
มาก เหลือเกินจนแทบทนไมไหว บางขณะรูสึกคลายกับวาจะสิ้นชีวิตเลย
ทีเดียว ลักษณะการปวดเปนบริเวณกวางเปนแผง แตสติตามรูจิตสมบูรณดี
มาก เห็น วาจิตสวนสึกไมมีความทุกขเลย ไมทุรนทุรายกับอาการปวด รูสึก
เฉยๆ สติ กํ า หนดรู โ ดยการสั ง เกตอย า งละเอี ย ดทุ ก ๆ “หนอ” มี ก าร
เปลี่ยนแปลง อยางไรบางวา “ปวดหนอๆๆๆๆๆๆๆๆๆ” ตอมาประมาณ ๓๐
นาที ทุกขเวทนาปวดคอยๆ ลดลงเล็กนอยจนกระทั่งสิ้นบัลลังก
ในชวงเวลาประมาณ ๑ ชั่วโมง เกิดความคิดอยากไปดูยอดเขา เห็น
นิมิตวาตนเองไปนั่งอยูบนยอดเขานั้นชัดเจนมากเหมือนภาพจริงๆ (งงๆ ลืม
กําหนด) แล วกมลงมองสูภาพเบื้ องล างเห็นหนาผาสู งขัน แล วเกิดอาการ
เสียววูบมุงเขาสูหัวใจ มีสติรูรีบกําหนดวา “เสียวหนอๆๆ” ประมาณ ๒-๓
ครั้งดับหายไปทิ้งอาการเสียวและภาพนิมิต บางขณะจิตเห็นกิ่งไมอยากเอื้อม
มือไปเกาะกุม เพราะคิดวาขณะยืนไมมีความนั่นคง เมื่อควากิ่งไมแลวตกลง
จากที่สูง สติกําหนดรูวามีอาการเสียวสุดประมาณ แตจิตรูสึกเฉยๆ เมื่อ ออก
จากสมาธิทดลองจับดูที่ไรฟนมีเลือดไหลออกทางไรฟนเล็กนอย] ตอมา จิตมี
ความนุมนวลเบาสบาย การกําหนดทําไดอยางงายดาย แมไมชัดเจน ขณะมี
ความคิด (นอยมาก) เขาแทรกจะเห็นความคิดซอนเกิดขึ้นอีกขั้นหนึ่ง
*** เกิดพะวงอยูแตวาเมื่อใดจะบรรลุมรรคผล ทําใหสมาธิหยอนเกิดความ


พระมหาณัชพล นราวงษ(ผูเรียบเรียง), คูมือการสอบอารมณสําหรับพระ
วิปสสนาจารย สภาวะของวิปสสนาญาณ ๑๖, (๒๕๕๓), หนา ๔๕๑.

ดูใน ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๖๖.
๖๙๒
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ฟุงซาน ทําสมาธิใหมากดวยการเดินจงกรม และกําหนด พองหนอ ยุบหนอ
นั่งหนอ ถูกหนอ กับเจริญสมาธิสัมโพชฌงค อยูในสังขารุเปกขาญาณเปนเวลานาน
โดยไมอาจผานพนไปสูมรรคผลนิพพานได เกิดความทอถอยคลายศรัทธาและเกิดเบื่อ
หน าย ต องเจริ ญวิ ริ ยสั มโพชฌงค และป ติ สั มโพชฌงค มีความพากเพียรในการ
ปฏิบัติมากเกินไปจนไมเปนอันกินอันนอน สมาธิตามไมทันจําตองใชสติลดความ
เพียรลง ถาสตินอยมักเผอเรอในการกําหนดตองเจริญสติสัมโพชฌงค
อารมณและจิ ตที่กําหนดไดดั บหายไปพร อมๆ กันทุกครั้ งที่ กําหนด
นั้นคือ ปญญาที่พิจารณาเฉพาะความดับไปของรูปนามอยูเนืองๆ กําหนดจิต
ดั บไปพร อมอารมณ ที่ ปรากฏมี อาการเผลอบ อยๆ แล วจิ ตเกาะกั บนิ วรณ
เพราะความดับไปของจิตกับอารมณ จิตจึงไปเกาะอารมณที่เคยชินคือ กิเลส
พบแตการดับ นิมิต หรืออาการปรากฏรวดเร็ว ตามไมทัน สติตั้งมั่นอยูในนิโรธ
ความสิ้นไป เสื่อมไป เห็ นวา “สั งขารเกิดขึ้นอยางนี้ แลวดับไปอย างนี้ เป น
ธรรมดาเนืองๆ”คือ ทางอันประเสริฐ ที่ทําใหผูปฏิบัติพนทุกขได เมื่อทํามรรคมี
องค ๘ ให ส มบู ร ณ ซึ่ งเป น กระบวนการเกิ ด จากการกํ าหนดรู รู ป -นาม ที่
ประกอบดวยปชานาติ(ใสใจ) มรรคนี้เปนเบื้องตนซึ่งเปน โลกียะ๑๐ ไดแก สติ
ป ฏ ฐาน ๔ สั มมั ป ปธาน ๔ เป น ต น ที่ จ ะนํ าไปสู อริ ย มรรคที่ เ ป น โลกุ ต ระ
ประหารกิเลสอยางสิ้นเชิง โดยที่พัฒนาวิปสสนาญาณตามลําดับจนถึงมรรค
ญาณ องคมรรคทั้ง ๘๑๑ ยอมเกิดขึ้นพรอมกัน คือ สัมมาทิฏฐิ๑๒สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ
ทําหนาที่ละสมุทัย ดับกิเลสโดยสมุจเฉทประหาร บรรลุเปนพระอริยบุคคลโดย
ลําดับของอริยมรรค
กําหนดรูเทาทันจิต มีสติรูเทาทันความแปรปรวนของรูป-นาม แต
จิตกลับรูสึกเฉยๆ ไมยินดียินราย ความไมยินดียินรายของจิต ไมใชคิดปรุง

๑๐
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๒๕๓/๑๗๘.
๑๑
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๖/๔๖๘.
๑๒
ที.ม.(ไทย) ๑๐/๒๙๐/๒๒๔.
๖๙๓
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
แตงขึ้น แตเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แมไดยินขาวรายวา พอแมตาย บานไฟ
ไหม จิตก็เฉยๆ ราวกะวาไมเคยไดยินเรื่องนี้มากอน
ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
ปญญาที่กําหนดจนรู เ ห็น ว าจะหนี ไมพน จึ งเฉยอยู ไมยิ นดี ยิ นร าย
เพราะเห็นแลววามันเปนของเกิดดับและหนี มันไมไดยิ่งพยายามไปปฏิเสธ
มันยิ่งเปนทุกขมากขึ้นจิตจึงไมปฏิเสธอารมณเปนกลางตออารมณ มีลักษณะ
วางเฉยตอรูป-นามคือเมื่อกําหนดรูหาทางหนียังไงก็หนีไมพนก็ตองดูเฉยอยู
การที่ดูเฉยอยูนี้ จะทําใหสภาวะจิตเขาสูความเปนปกติในระดับสูงไมเหมือน
บุคคลทั่วไป สภาวะของจิตยังไมอยูในลักษณะที่ปกติยังหลุดพนไมไดก็ตอง
วางเฉย ซึ่งในขณะที่เห็นความเกิดดับเปนภัย เปนโทษ นาเบื่อหนายอยูอยาง
นั้น ก็ยังวางเฉยไดแมจะถูกบีบคั้นอยางแสนสาหัสแทบจะขาดใจ ก็วางเฉยได
เป น ความวางเฉยต อ สั ง ขาร โดยประจั ก ษ แ จ ง ความเกิ ด ดั บ ของรู ป นาม
ในขณะเจริญวิปสสนากรรมฐาน องคธรรมไดแก ปญญาเจตสิกที่ในมหากุสล
ญาณสัมปยุตตจิต
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เวทนา
มีสติรูเทาทันความแปรปรวนของรูปนาม ไมยินดียินราย ไมใชคิด
ปรุงแตงขึ้น เกิดเองตามธรรมชาติอยางพระนางมัลลิกาที่สูญเสียสามีและ
ลูกๆ ทั้ง ๓๒ คนในสงครามเดียวกัน พระนางก็เฉยไมรูสึกเสียใจแตอยางใด
เพราะเขาใจวาทุกอยางมีเกิดและมีดับเปนธรรมดา ทีนี้เฉยอยางไร
- ญาณกอนนี้ จิตดิ้นรน อยากหลุดพน ดูไปจนแกกลา รูวาไมมีทาง
ก็วางเฉย
- แมถูกบีบคั้นสาหัสก็วางเฉยได เปนการวางเฉยตอสังขาร โดยแจง
ความเกิดดับของรูปนาม

๖๙๔
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
- ญาณนี้ มี องค ธ รรม คื อ ป ญ ญาเจตสิ ก ซึ่ งไม ใ ช อุ เ บกขาเวทนา
เจตสิก แต อยางใด ดังนั้ นในขั้น นี้ อาจเกิดเวทนาที่เ ป นโสมนั ส (สุ ข) หรื อ
อุเบกขา ก็ได๑๓
เวทนาไมร บกวนกําหนดได ดี ใจสงบยิ่ งนั ก ได รั บ ความอัศจรรย
อยางยิ่งในอนุสาสนีแหงองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาที่คนเคยเชื่อบางไม
เชื่อบาง เห็นเหตุใหแนใจดวยตนเองวาคําสอนของพระองควิเศษแท
บางครั้งมีอาการชามากๆ ไปตามสวนตางๆ ของรางกายใหกําหนด
รูตามอาการไปเรื่อยๆ จิตจะเปนกลางในเวทนาที่เกิดขึ้นทั้งทางกายและใจ
ทุกขเวทนามีอยูนอย สุขเวทนามีอยูนอย การปฏิบัติเปนปกติเฉยอยู
มีอาการขนลุกไปทั้งตัว กําลังสมาธิมีมากขึ้น มีอาการขนลุกแลวนิ่ง
เปนเวลานาน
มีอาการของสมาธิปรากฏชัด เชน อาการโยกไปขางหนา อาการ
โยกไปขางหลังกําหนดใหรูตามอาการไป หรือกําหนดรูหนอก็ได สําคัญอยา
กังวลหรือยินดียินรายกับอาการ วางใจใหเปนกลางก็พอ
รู สึ ก ว า อั ต ตภาพร า งกายของตนสลายไปจนหมดสิ้ น ไม มี อ ะไร
เหลืออยู ใหกําหนดวา หายหนอ หรือ รูหนอก็พอ
มีอาการสะทานขึ้นลงในขณะนั่งกําหนดอยู มีอาการเคลื่อนไหวไป
มาของมือแขนและเทาเหมือนเป น ไปเองโดยไมได ทําอะไรเพีย งแต รู ดู อยู
เฉยๆก็ พ อ ถ า เกิ ด ขึ้ น ใหม จ ะรู สึ ก แปลกใจอยู บ า ง จะเข า ใจมากขึ้ น เมื่ อ
วิปสสนาญาณแกกลามากขึ้น
อาการยุบลงเร็วและถี่มาก จนกําหนดอาการพอง-ยุบไมได จนรูสึก
วาพื้น ทองเคลื่ อนไหวหมุน วนไปด านขวาบ างด านซายบ าง หรือตามส ว น
ตางๆของรางกาย เชน ใบหนา หนาอก หรือหัวไหลและหลังเมื่อกําหนดรูก็
จะหายไปแลวกลับปรากฏขึ้นมาใหมอีก

๑๓
คูมือการศึกษากัมมัฏฐานสังคหวิภาค พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉทที่๙ ,
หนา ๑๖๙.
๖๙๕
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ไมตองจดจอในการกําหนดรูเห็นความดับ หรือไมเที่ยง เปนทุกข
ไมใชตัวตน
กําหนดไดเองตามธรรมชาติ โดยไมมีตัวตนของกําหนดรู
กําหนดเห็นความดับ ไมเที่ยงไดทุกขณะ มีขอความวา สงฺขาราว สงฺ
ขาเร วิปสฺสนฺติ.๑๔ สังขารนั้นแหละเห็นประจักษสังขาร
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : จิต
ปญญาที่กําหนดจนรู เ ห็น ว าจะหนี ไมพน จึ งเฉยอยู ไมยิ นดี ยิ นร าย
เพราะเห็นแลววามันเปนของเกิดดับและหนี มันไมไดยิ่งพยายามไปปฏิเสธ
มันยิ่งเปนทุกขมากขึ้นจิตจึงไมปฏิเสธอารมณเปนกลางตออารมณ มีลักษณะ
วางเฉยตอรูป-นามคือเมื่อกําหนดรูหาทางหนียังไงก็หนีไมพนก็ตองดูเฉยอยู
การที่ดูเฉยอยูนี้ จะทําใหสภาวะจิตเขาสูความเปนปกติในระดับสูงไมเหมือน
บุคคลทั่วไป สภาวะของจิตยังไมอยูในลักษณะที่ปกติยังหลุดพนไมไดก็ตอง
วางเฉย ซึ่งในขณะที่เห็นความเกิดดับเปนภัย เปนโทษ นาเบื่อหนายอยูอยาง
นั้น ก็ยังวางเฉยไดแมจะถูกบีบคั้นอยางแสนสาหัสแทบจะขาดใจ ก็วางเฉยได
เป น ความวางเฉยต อ สั ง ขาร โดยประจั ก ษ แ จ ง ความเกิ ด ดั บ ของรู ป นาม
ในขณะเจริญวิปสสนากรรมฐาน องคธรรมไดแก ปญญาเจตสิก ที่ในมหา
กุสลญาณสัมปยุตตจิต
จิตใจไมแลบออกไปหาอารมณ แนวแนอยูกับอารมณ จิตไมหวน
กลับไมวก ไมเวียน ไมนอมไปในภพในภูมิ คงเหลืออยูแตความวางเฉย
ละความหวาดหวั่น ละความยินดี วางเฉยในการพิจารณารูปนาม
ยอมตั้งอยูในอนุปสสนา ๓ อยาง คือ อนิจจานุปสสนา ทุกขานุปสสนา และ
อนัตตานุปสสนา
สมาธิดีสงบแนวแนไปไดนานๆ ดุจรถยนตวิ่งบนถนนลาดยางดี
ยิ่งนานยิ่งละเอียด ยิ่งประณีตดุจคนรอนแปง
ไม ฟุ ง ซ า น ไม รํ า คาญใจ ไม มี อ ะไรมารบกวนก็ ไ ม กั ง วล อุ ป มา
เหมือนบางทีดึงยืดออกไป พอวางก็หดเขามาฉะนั้น
๑๔
วิสุทธิ. (บาลี) ๒/๒๙๗.
๖๙๖
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ไมรูเห็นความกลัวในรูปนาม เห็นรูปนามวาไมเปนโทษไมเบื่อหนาย
ในรูปนาม ไมมีความตองการพนไปจากรูปนาม ไมยินดีในรูปนาม จิตผองใส
หมดจด มีความสุขที่ไมเคยสุขมากอน ปราศจากความติดใจในสุข
การกําหนดรูสงบ ประณีตเปน ระยะเวลานาน ไมตองจดจ อมาก
ในขณะกําหนด สติสัมปชัญญะเทาทันไมขาดชวง
จิตบางทานพอใจแคนี้ จิตไมฟุงซาน จิตสงออกรับอารมณภายนอก
นอย ตองพูดธรรมใหฟงมากๆ ใหทําไปเรื่อยๆจะดีเอง
การกําหนดรูเปนไปอยางรวดเร็ว เหมือนสติไมทัน เหมือนหลับไป
เหมือนมีอาการหลุดออกไปจากรางกายก็มี
การกําหนดกับการรูก็หายไปหมด เมื่อถึงตรงนี้ใหพักการปฏิบัติ ๓
วัน หรือ ๗ วัน จากนั้นใหปฏิบัติตอ
อาการอยากไดอยากเปนจะดับไปในญาณนี้
นิมิตและแสงสีที่ปรากฏในขณะนั่งกําหนดมีลักษณะดังนี้ คือ มีกลุม
เมฆหรือควันปรากฏเปนสีมืด เชน สีนวล สีเทา สีมวงแก ครามแก น้ําตาล
ไหม เห็นแลวเกิดความเย็นใจ กลุมเมฆหรือควันปรากฏเคลื่อนไหวชาๆ หรือ
หยุดนิ่งเฉยเปนครั้งคราว (เรียกวา อุเบกขา) เกิดอาการชา เย็น ซาบซาน
สบายตามศรีษะ ใบหนา แขนขา เทา และสวนตางๆของรางกาย(เรียกวา
ปติ)รูสึกสมาธิแนนกระชับเขามา (เรียกวา สมาธิ) รูสึกวามีอาการหนักตึง
(เรียกวา ปสสัทธิ) รูสึกคลายกับงวงแตไมใชถีนมิทธะ กําหนดไดไมเบื่อ (เรียก
วิริยะ)
ไมไดสามารถกําหนดไดอยางกระฉับกระเฉงกวาจะกําหนดไดแตละ
อารมณก็ตองขะมักเขมนอยูนาน๑๕
ผูที่บรรลุสังขารุเปกขาญาณแลวยอมไมรูเห็นความกลัว โทษ ความ
เบื่อหนาย ความตองการจะพนออกไป หรือความรูสึกวาไมนายินดี เหมือน
ในวิ ป ส สนาญาณก อ น แต จ ะพบว า จิ ต ของตนผ อ งใสหมดจดและได รั บ

๑๕
พระมหาณัชพล นราวงษ(ผูเรียบเรียง), คูมือการสอบอารมณสําหรับพระ
วิปสสนาจารย สภาวะของวิปสสนาญาณ ๑๖, (๒๕๕๓), หนา ๔๕๒.
๖๙๗
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ความสุขที่ไมเคยรูสึกมากอน และปราศจากความติดใจในสุขเหมือนในขณะ
เริ่ มเกิด อุทยั พพยญาณ มีเ พีย งสติ ที่กําหนดรู อัน สงบประณีตเกิดขึ้น อย าง
ตอเนื่องเปนเวลานาน และในขณะนั้นไมจําเปนตองจดจอมากนักก็สามารถ
เจริญสติรูเทาทันไดไมขาดชวง
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม
ไมยินดียินราย กําหนดรูปนามไดงายที่สุด ไมมีอุปสรรคปญหาใน
การกําหนดรู ดูความเกิดดับเฉยๆ
ไมดีใจไมเสียใจ มีสติสัมปชัญญะอยู ไมเผลอจากรูปนามที่กําหนดรู
ตามความเปนจริง
วางเฉยอยูกับรูปนาม ทั้งจํางาย กําหนดสะดวกสบายดี ผูปฏิบัติไม
ถึงจะทราบไมได จะอนุมานเอาเองก็ไมได
เวทนาไมร บกวน กําหนดไดดี ใจสงบยิ่ งนั ก ได รั บความอัศจรรย
อยางยิ่งในอนุสาสนีแหงพระสัมมาสัมพุทธเจาที่ตนเคยเชื่อบาง ไมเชื่อบาง
เห็นเหตุใหแนใจดวยตนเองวาคําสอนของพระองควิเศษแท บางครั้งมีอาการ
ชาๆ มากไปตามสวนตางๆ ของรางกายใหกําหนดรูตามอาการไปเรื่อยๆ
จิตจะเปนกลางในเวทนาที่เกิดขึ้นทั้งทางกายและใจ ทุกขเวทนามี
อยูนอย สุขเวทนามีอยูนอย การปฏิบัติเปนปกติเฉยอยู
จิตใจไมแลบออกไปหาอารมณ แนวแนอยูกับอารมณ ,จิตไมหวน
กลับ ไมวก ไมเวียน ไมนอมไปในภพในภูมิคงเหลืออยูแตความวางเฉย ,ละ
ความหวาดหวั่น ละความยินดี วางเฉยในการพิจารณารูปนาม ,สมาธิดีสงบ
แนวแนไปไดนานๆ ดุจรถยนตวิ่งบนถนนลาดยางดี ,ยิ่งนานยิ่งละเอียด ยิ่ง
ประณีตดุ จคนรอนแป ง ,ไมฟุงซาน ไมรําคาญใจ ไมมีอะไรมารบกวนก็ไม
กังวล ,ไมรูเห็นความกลัวในรูปนาม เห็นรูปนามวาไมเปนโทษ ไมเบื่อหนาย
ในรูปนาม ไมมีความตองการพนไปจากรูปนาม ไมยินดีในรูปนาม จิตผองใส
หมดจด มีความสุขที่ไมเคยสุขมากอน ปราศจากความติดใจในสุข
ไมยิน ดียินร ายกําหนดรู รูปนามไดงายที่สุ ดไมมีอุปสรรคปญหาใน
การกําหนดรู ดูความเกิดดับเฉยๆ ,ไมดีใจ ไมเสียใจ มีสติสัมปชัญญะอยู ไม
๖๙๘
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
เผลอจากรู ป นามที่ กํ า หนดรู , วางเฉยอยู กั บ รู ป นาม ทั้ ง จํ า ง า ย กํ า หนด
สะดวกสบายดี ผูปฏิบัติไมถึงจะทราบไมได จะอนุมานเอาเองก็ไมได
การปฏิบัติกรรมฐานกับอริยสัจ ๔
การเจริญวิปสสนากรรมฐาน อันเปนวิธีเขาถึงพระรัตนตรัยดวย
วิปสสนาวิธีนี้ แสดงใหเห็นถึงการไดเห็นอริยสัจ ๔ ไปในตัว กลาวคือ
๑. ขั น ธ ๕ อั น เป น อารมณ ข องวิ ป ส สนากรรมฐานที่ ผู ป ฏิ บั ติ
พิจารณามาตั้งแตตนจนถึงอนุโลมญาณเปนที่สุดนั้นเปนตัว ทุกขสัจ ผูบรรลุ
มรรคญาณนั้นจึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงทุกขสัจ
๒. ตัณหาอันเปนเหตุใหเกิดขันธ ๕ นั้นเปน สมุทยสัจผูบรรลุมรรค
ญาณจึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงสมุทยสัจ
๓. มรรคจิตที่ไดนิพพานเปนอารมณ นิพพานนั้นก็ไดแก นิโรธสัจ
นั่นเอง ผูบรรลุมรรคญาณจึงไดชอื่ วาเปนผูเห็นแจงนิโรธสัจ
๔. ปญญาเจตสิกที่เกิดรวมกับมรรคจิตนั้น เปนตัวสัมมาทิฏฐิเปน
องคธรรมของอริยมรรคที่ ๑ และในขณะมรรคจิตเดียวกันนั้นมีวิตกเจตสิก
อันเปนสัมมาสังกัปปะเปนองคอริยมรรคที่ ๒, มีสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ
สัมมาอาชี ว ะเจตสิ ก อัน เปน องคอริ ย มรรคที่ ๓-๔-๕, มีวิ ริ ย ะสติ และ
เอกัคคตาเจตสิก อันเปนตัวสัมมาวิริยะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ อันเปนองค
อริ ย มรรคที่ ๖-๗-๘ เกิ ด ร ว มกั น ประกอบพร อ มกั น โดยมี นิ พ พานเป น
อารมณอยางเดียวกัน องคอริยมรรค ๘ ประการนี้เปน มรรคสัจ ดังนั้นผูได
บรรลุมรรคญาณนั้น จึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงมรรคสัจ
ผูป ฏิบั ติกรรมฐานจนได บรรลุ ถึงมรรคญาณแลว ชื่อวาได เห็ นแจ
งอริยสัจ ๔ คือทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค ดวยมรรคญาณหรือมรรคปญญา๑๖

๑๖
อางแลว, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๑๘๓.
๖๙๙
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
คัมภีรปฏิสัมภิทามรรค ไดกลาววา สังขารุเปกขาญาณนี้
ผูปฏิบัติจะมีจิตใจสงบจนวางเฉย ไมมีทุกขเวทนารบกวน สามารถ
กําหนดสภาวะการตางๆ ไดดี ผูปฏิบัติเห็นคุณคาของวิปสสนาเปนอยางมาก
เวทนาไมรบกวนกําหนดไดดี ใจสงบยิ่งนัก ไดรับความอัศจรรยอยาง
ยิ่งในอนุสาสนีแหงองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาที่คนเคยเชื่อบางไมเชื่อ
บาง เห็นเหตุใหแนใจดวยตนเองวาคําสอนของพระองควิเศษแท
๑) บางครั้ ง มี อ าการชามากๆไปตามส ว นต า งๆของร า งกายให
กําหนดรูตามอาการไปเรื่อยๆ
๒) จิ ต จะเป น กลางในเวทนาที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง ทางกายและใจ
ทุกขเวทนามีอยูนอย สุขเวทนามีอยูนอย การปฏิบัติเปนปกติเฉยอยู
๓) มีอ าการขนลุก ไปทั้ ง ตัว กํา ลั งสมาธิ มี มากขึ้น มีอ าการขนลุ ก
แลวนิ่งเปนเวลานาน
๔) มี อ าการของสมาธิ ป รากฏชั ด เช น อาการโยกไปข า งหน า
อาการโยกไปข า งหลั ง กํ า หนดให รู ต ามอาการไป หรื อ กํ าหนดรู ห นอก็ ไ ด
สําคัญอยากังวลหรือยินดียินรายกับอาการ วางใจใหเปนกลางก็พอ
๕) รูสึกวาอัตตภาพรางกายของตนสลายไปจนหมดสิ้นไมมีอะไร
เหลืออยู ใหกําหนดวา หายหนอ หรือ รูหนอก็พอ
๖) มีอาการสะทานขึ้นลงในขณะนั่งกําหนดอยู มีอาการเคลื่อนไหว
ไปมาของมือแขนและเทาเหมือนเปนไปเองโดยไมไดทําอะไร เพียงแตรูดูอยู
เฉยๆก็ พ อ ถ า เกิ ด ขึ้ น ใหม จ ะรู สึ ก แปลกใจอยู บ า ง จะเข า ใจมากขึ้ น เมื่ อ
วิปสสนาญาณแกกลามากขึ้น
๗) อาการยุบลงเร็วและถี่มาก จนกําหนดอาการพอง-ยุบไมได จน
รูสึกวาพื้นทองเคลื่อนไหวหมุนวนไปดานขวาบางดานซายบาง หรือตามสวน
ตางๆของรางกาย เชน ใบหนา หนาอก หรือหัวไหลและหลังเมื่อกําหนดรูก็
จะหายไปแลวกลับปรากฏขึ้นมาใหมอีก
๘) ไม ตอ งจดจ อในการกํา หนดรู เ ห็น ความดับ หรือ ไม เที่ ยง เป น

๗๐๐
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ทุกข ไมใชตัวตน
๙) กําหนดไดเองตามธรรมชาติ
๑๐) โดยไมมีตัวตนของกําหนดรู
๑๑) กําหนดเห็นความดับ ไมเที่ยงไดทุกขณะ
๑๒) มีขอความวา สงฺขาราว สงฺขาเร วิปสฺสนฺติ .ความวา สังขารนั้น
แหละเห็นประจักษสังขาร๑๗
ปริญญา ๓ อริยสัจ ๔ ในสังขารุเปกขาญาณ(ชวงตน) ดังนี้
การกําหนดรูปนามโดยความเปนอนัตตา ซึ่งสงผลใหจิตวางเฉยตอ
สังขาร เรียกวาสภาวะของสังขารุเปกขาญาณเบื้องตน เปนญาณที่จะเขาสูวุฏ
ฐานคามินีวิปสสนา คือสังขารุเปกขาญาณตอนปลาย อนุโลมญาณ และโคตร
ภูญาณ ตอไป
๑) ญาตปริญญา กําหนดสังขารดวยความวางเฉย (๑๐๐%)
๒) ตีรณปริญญา การพิจารณาสังขารที่อยูในไตรลักษณดวยการเพงดู
อยู (๑๐๐%)
๓) ปหานปริญญา กําหนดรูถึงขั้นละได คือ รูถึงขั้นที่ทําใหถอนความ
ยึดติดเปนอิสระจากสิ่งนั้นๆ ได (ละวิปลาสได) และปฏิบัติตอสิ่งตางๆ ได
ถูกตองจัดเขาใน อริยสัจ ๔ คือ “แจงนิโรธ(อริยสัจ ๔เกิดโดยสมบูรณขึ้น
ตามลําดับ) ทุกข, สมุทัย,นิโรธ, มรรค” การละจากความวางเฉยในสังขาร
ดวยการมุงสูพระนิพพาน๑๘(๖๐%) การกําหนดรูปนามโดยความเปนอนัตตา
ขั้นนี้ผูปฏิบัติของกําหนดอิริยาบถยอยและตนจิตใหได ๑๐๐% กําหนดทุก
ครั้งตองใหเห็นอาการของจิตดับไปซึ่งสงผลใหจิตวางเฉยตอสังขารเรียกวา
สภาวะของสังขารุเปกขาญาณเบื้องตน

๑๗
เลมเดียวกัน, หนา ๔๕๒.
๑๘
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., เอกสารประกอบการสอน รายวิชาสัมมนาวิปสสนา,
(บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ศูนยบัณฑิตวิทยาเขตบาฬี
ศึกษาพุทธโฆส นครปฐม, ๒๕๕๕), หนา ๒๙๓.
๗๐๑
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ปหานปริญญาเปนการกําหนดรูจนกระทั่งละจากความวางเฉยใน
สังขารดวยการมุงสูพระนิพพาน จัดเปนปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ และแจง
นิโรธ (อริยสัจ ๔ สมบูรณขึ้นตามลําดับ) เพราะมีพระไตรลักษณของรูปนาม
เปนอารมณเหมือนกัน ตางกันตรงขั้นที่ ๖ สังขารุเปกขาญาณนี้ มีสติ สมาธิ
และปญญามากกวาเปนญาณที่จะเขาสูวุฏฐานคามินีวิปสสนา คือสังขารุเปก
ขาญาณตอนปลาย อนุ โ ลมญาณ และโคตรภู ญาณ ซึ่งเป น ภู มิแห งปหาน
ปริญญา จัดเขานิโรธอริยสัจและมรรคอริยสัจ
มรรคอริ ย สั จ ความจริ ง ที่ แ ท ว า ทางปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให เ ข า ถึ ง พระ
นิพพาน มีอยู จริง สามารถปฏิ บัติให รูแจงไดในปจจุบั นขณะนี้ นั่น คืออาจ
เจริญภาวนาแนวทางศีล สมาธิ ปญญา ทํามรรคใหมีองค ๘ ใหสมบูรณ
มรรคสั จ จ ไ ด แ ก ป ญญาที่เ ห็ น พอง ยุ บ เป น ต น ตั้ ง แต เ ริ่ ม แรก
จนกระทั่งดับลงไป สิ้นไป หมดไป เปนมัคคสัจจ ดังบาลีวา “นิโรธปฺชานนา
มคฺคสจฺ จํ ” เป น ที่ทราบชั ด ซึ่งทุกขส มุทัย ว าดั บ ลงไปตอนไหน เป น มัคค
สัจจ๑๙
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๐-๑ (นิวรณ)
๑๐ (ทุกขเวทนา) ๕ (ขันธ ๕)
๒๐ (จิตกุศล)
๑๐.ปฏิสังขาญาณ ๑๐ ๕ (โทมัสส) ๕ (อายตนะ) ๒๐
๐-๑ (จิตอกุศล)
๑๐ (อุเบกขา) ๖ (โพชฌงค)
๗ (อริยสัจ)
๑๑. ๐-๑ (นิวรณ)
สังขารุ ๕ (ทุกขเวทนา) ๑๐ (ขันธ ๕)
๒๕ (จิตกุศล)
เปกขา ตน ๗ ๒ (โทมัสส) ๑๐ (อายตนะ) ๑๐
๐-๑ (จิตอกุศล)
ญาณ ๑๐ (อุเบกขา) ๑๐ (โพชฌงค)
๙ (อริยสัจ)

๑๙
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/๔๕/๘๖-๘๘.
๗๐๒
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม

๑. กายานุปสสนา ๗ % (จากเดิม ๑๐ %) เมื่ออยากหลุดพน จึง


เพิ่มสติจดจอพอง-ยุบมากขึ้น แตกลับหายไปอยางฉับพลัน นานๆ จึงจะ
ปรากฏสักครั้ง เมื่อเพงจองพอง-ยุบ หรือ นั่ง-ถูก ก็หายไปอีก เหมือนกับวา
ไมไดดั่งใจเลยอันบงบอกถึงความเปนอนัตตาของรูปขันธ
เป น สภาพธรรมที่คลายอุป าทาน พองยุ บ ตอนนี้ เ ป น เพีย งรู ธ าตุ
ไมใชตัวเรา เปนแคจิตรู ชัดบาง ไมชัดบาง กอนหนานี้ ถาจิตรูวาไมชัด ก็
พยายามจะเพงใหชัด แตญาณนี้ไมชัด ก็รูตามอาการที่ไมชัด กําหนดรูดวย
สติ จางหนอๆ เบาหนอไมชัดหนอ นิ่มหนอ รูธรรมนั่นเอง สุดทายแลว กาย
เวทนา จิต จะรวมเขาไปอยูในหมวดธรรมทั้งหมด เขาสูธรรมทั้งหมด เขาสู
มรรคญาณ บรรลุธรรมจะเกิดขึ้น กับผูเห็นเปนกายธรรม (กาย เวทนา จิต
จะเหลือศูนย)
๒. เวทนานุ ปส สนา ๒๐ % (ทุกขเวทนา ๕ %[จากเดิม ๑๐ %],
โทมนัส ๒ % [จากเดิม ๕ %], อุเบกขา ๑๐%[เทาเดิม] ทุกขเวทนาปวดจะ
เกิดขึ้นนานๆ ครั้ง แตดับเร็ว ดับแลวเปนอุเบกขานานขึ้น
๓. จิตตานุปสสนา ๒๓ % (กุศลจิต ๒๒ % [จากเดิม ๒๐ %],) เมื่อ
สภาวธรรมเปนอุเบกขามากขึ้น เมื่อกําหนดพอง-ยุบและอาการปวดดับเร็ว
ขึ้น จึงเกิดจิตผองใสเปนกุศลจิตมากขึ้นๆ ไปดวย แตยังมีจิตอกุศลจาก
ทุกขเวทนาอยูบางนานๆ ครั้ง
๔.ธัมมานุปสสนา ๔๐% ( ขันธ ๑๐ % [จากเดิม ๕%],, อายตนะ
๑๐ %[จากเดิม ๕%],โพชฌงค ๑๐ %[จากเดิม ๖๐%], อริยสัจ ๙ [จากเดิม
๗ %], กายเปลี่ยนเปนสภาพธรรมเปนรูปขันธและอายตนะมากขึ้น เมื่อจิต
ผองใสเปนกุศลจิตก็เกิดสภาพธรรมที่เปนโพชฌงคและอริยสัจ ๔ ตามไป
ดวย เพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนาเพียง ๑๐ % และใสใจ
พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม เพิ่มขึ้น ๙๐ % แตเนนไปที่สภาพธรรมที่
เปนธรรมารมณมากขึ้นๆ

๗๐๓
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
ญาณ ๑๑ สังขารุเปกขาญาณ (กลาง)
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๐-๑ (นิวรณ)
๕ (ทุกขเวทนา) ๑๐ (ขันธ ๕)
๒๕ (จิตกุศล)
ตน ๗ ๒ (โทมัสส) ๑๐ (อายตนะ) ๑๐
๐-๑ (จิตอกุศล)
๑๑. ๑๐ (อุเบกขา) ๑๐ (โพชฌงค)
สังขารุ ๙ (อริยสัจ)
เปกขา ๐-๑ (นิวรณ)
ญาณ ๙ (ขันธ ๕)
๐-๑ (ทุกขเวทนา) ๑๔ (จิตกุศล)
กลาง ๕ ๑๐ (อายตนะ) ๕
๔ (อุเบกขา) ๐-๑ (จิตอกุศล)
๓๐ (โพชฌงค)
๒๐ (อริยสัจ)

๑. กายานุปสสนา ๕ % (จากเดิม ๗ % ) เพิม่ สติจดจอพอง-ยุบ


มากขึ้น แตกลับหายไปอยางฉับพลัน นานๆ จึงจะปรากฏสักครั้ง เมื่อเพง
จองพอง-ยุบ หรือ นั่ง-ถูก ก็หายไปอีก เหมือนกับวาไมไดดั่งใจเลยอันบงบอก
ถึงความเปนอนัตตาของรูปขันธ
๒. เวทนานุปสสนา ๕ % (อุเบกขา ๕ % [จากเดิม ๑๗ %])
อุเบกขาลดลง ไปเพิ่มอุเบกขาในสัมโพชฌงค ทุกขเวทนาปวดจะเกิดขึ้น
นานๆ ครั้ง แตดับเร็วยิ่งขึ้น
๓. จิตตานุปสสนา ๑๕ % (กุศลจิต ๑๔ % [จากเดิม ๒๕ %],) จิต
ที่มีฌาน (มหัคคตจิต)เปลี่ยนเปนสภาพธรรมในสัมโพชฌงคมากขึ้น
๔. ธัมมานุปสสนา ๗๐% ( ขันธ ๙ % [จากเดิม ๑๐ %] เพราะ
สังขารขันธเปลี่ยนสภาพเปนสัมโพชฌงคมากขึ้น, อายตนะ ๑๐ %[เทาเดิม],
โพชฌงค ๓๐ % [จากเดิม ๓๐%], อริย สั จ ๒๐ [จากเดิ ม ๙ %], กาย
เปลี่ยนเปนสภาพธรรมเปนรูปขันธและอายตนะมากขึ้น เมื่อจิตผองใสเปน
กุศลจิตก็เกิดสภาพธรรมที่เปนโพชฌงคและอริยสัจ ๔ ตามไปดวย
๗๐๔
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
เพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนาเพียง ๕ % และใสใจ
พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม เพิ่มขึ้น ๙๕ % แตเน นไปที่สภาพธรรมที่
อาการของโพชฌงค ๗ มากขึ้น
ความสมดุลของอินทรีย ๕
วิปสสนาญาณ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา
๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐%
๕๐ ๔๐ ๗๐ ๕๐ ๗๐
เมื่อผูปฏิบัติเห็นรูปนามที่เกิดดับมากๆ เร็วๆ จนเกิดความรูสึกกลัว
เห็นทุกขโทษ เกิดความเบื่ อหนายของสั งขารขึ้นมา ทําใหมีศรัทธาในการ
ปฏิบัติ ๕๐% เมื่อเกิดความกลัวและเห็นทุกขโทษ เกิดความเบื่อหนายขึ้น
แตก็กําหนดรูรูปนามอยูจึงมีความเพียรหรือวิริยะ ๔๐% สวนสติในญาณนี้มี
ประมาณ ๗๐% สติยิ่งมากยิ่งดี แตสมาธิในชวงนี้มีแค ๕๐% เพราะมีนิวรณ
มาปะปนอยู ปญญาที่เกิดจากการกําหนดรูสําหรับชวงนี้มีประมาณ ๗๐ %
เพราะเริ่ มกลัวรูป นามที่มีความเกิดดั บอยางไมขาดสาย เกิดเห็ นทุกขโทษ
เกิดเบื่อหนายขึ้นในสังขารทั้งหลายไมนายินดี การปรับอินทรียถาวิริยะกับ
สมาธิไมเทากัน ถาวิริยะนอยกวาสมาธิใหลดสมาธิลงเพื่อใหเสมอกับวิริยะ
แตถาเพิ่มวิริยะมันจะทําใหสมาธิเพิ่มตามมาดวย สวนสติยิ่งมากยิ่งดี
ในขั้นที่ ๖ นั้นเปนการกําหนดเพื่อออกจากญาณที่ ๖, ๗, ๘ โดย
การดูอาการของตนจิตจนดับ ซึ่งสภาวญาณในขั้นนี้เปนญาณที่เกิดจากผล
ของภังคญาณ คือความดับไปของอารมณพรอมกับจิตที่รูอารมณ ทําใหเห็น
โทษเห็นภัยของรูป-นาม อุปมาเหมือนคนที่ไมปรารถนาในบาตรที่มีรูรั่ว ๓ รู
ฉันใด การทีป่ ญญาญาณเห็นรอยรั่วของรูป-นามโดยความเปนอนิจจัง ทุกขัง
อนั ต ตา ย อมส งผลให เ กิด ความกลั ว เห็ น ภั ย เห็ น โทษ และเบื่ อหน ายใน
อัตภาพนั้น เชนกัน
สําหรับเทคนิคการปฏิบัติ เพื่อใหสามารถผานในบันใดขั้นนี้ไปได
อยางรวดเร็ว ก็คือ ใหเพิ่มในการรูอาการของจิตที่ปรารถนาจิตที่เริ่มตน ให
ได ๘๐ เปอรเซ็นตขึ้นไป ก็จะไดผานขั้นที่ ๔ ไดอยางรวดเร็ว
๗๐๕
ขั้นที่ ๖ พิจารณาวางเฉยตอรูป-นาม
สภาวญาณในขั้น นี้ เ ป น ญาณที่เ กิ ด จากผลของปฏิ สั งขาญาณ คื อ
ความดับไปของอารมณพรอมกับจิตที่รูอารมณทําใหเห็นโทษเห็นภัยของรูป
นาม อุปมาเหมือนคนที่ไมปรารถนาในบาตรที่มีรูรั่ว ๓ รู ฉันใด การที่ปญญา
ญาณเห็นรอยรั่วของรูปนามโดยความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ยอมสงผล
ใหเกิดความกลัว เห็นภัย เห็นโทษ และเบื่อหนายในอาตภาพนั้น

๗๐๖
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
บันไดขั้นที่ ๗ เปนการปฏิบัติภาวนาเพื่อบรรลุอริยมรรค อริยผล
โยคีตองสํารวมอินทรียใหมากๆ กําหนดทุกอยางๆ ดูอาการดับของอารมณ
และอาการดับของจิต ขั้นนี้ ก็เปน ปหานปริญญา จั ดเปน นิโรธอริยสั จและ
มรรคอริยสัจ ในสภาวธรรมนั้นคือการกําหนดรูอาการดับ ใหสังเกตวาจิตดับ
ไปจากอารมณต อนไหน แต โยคีพึงระวั งเพราะวามีส ภาวะปลอมอยู แต มี
ธรรมะจริงอยูเพียง ๑ อยางเทานั้น
กําหนดความสลัดคืนความยึดมั่นถือมั่นในรูป-นาม และขันธ ๕ ซึ่ง
เปนผลมาจากความดับลงแหงความยึดถือ กลาวคือ เมื่อกําหนดความดับลง
แหงความยึดมั่นถือมั่นจนจิตปลอยวางสิ่งที่เคยยึดมั่นถือมั่นไดแลว ก็ให
กําหนดความสลัดคืนนั้น การเจริญวิปสสนาภาวนาโดยมีสติกําหนดรูอาการ
พอง-ยุบจนเห็นความดับลงแหงความยึดมั่นถือมั่น จนจิตปลอยวางสิ่งที่เคย
ยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ได แ ล ว ก็ ใ ห พิ จ ารณาความสลั ด คื น นั้ น ด ว ย ๑ จากนั้ น เพิ่ ม
สติสัมปชัญญะในการกําหนดอิริยาบถยอยอยางจดจอตอเนื่อง ดวยโยนิโส
มนสิ ก ารอย า งแยบคายตั้ ง แต จิ ต แรกที่ ตื่ น จนถึง จิ ต สุ ด ท า ยก อ นหลั บ ให
ละเอียดขึ้นกวาทุกๆ วั น เพิ่มสติ รูเ ทาทันจิ ตที่อยากหั น อยากมอง อยาก
พูดคุยใหทันอาการจิตกอนทุกๆ ครั้ง และเจาะลึกสภาวะธัมมานุปสสนาให
มากขึ้น โดยเฉพาะ “ตั ณหาหนอ (อยากหนอ)” “มานะหนอ (ยึด หนอ)”
“ทิฏฐิหนอ (หลงหนอ)”
เมื่ออารมณทั้งที่เปนรูปและนาม(ขันธทั้ง ๕) ดับขาดไปสิ้นแลว ก็จะ
หนวงเอานิพพานมาเปนอารมณไดเอง อยางเปนปจจัตตัง เขาสูภาวะที่เปน
“สันติ” ที่ไมขึ้นกับกาลเวลาและปจจัยปรุงแตง (สังขตธรรม) ใดๆ อีกตอไป
บันไดขั้นนี้ถือวาเปนขั้นสุดทายของการปฏิบัติวิปสสนา เปนวิถีของ
การออกเรี ย กว า “วุฏ ฐานคามินี วิ ปส สนา”๒ คือการออกจากรู ป นาม จน

พุทธทาสภิกขุ, วิธีฝกสมาธิวิปสสนา ฉบับสมบูรณ, พิมพครั้งที่ ๘, (โอเอ็นจี
การพิมพ จํากัด สํานักพิมพสุนทรสาสน), หนา ๓๗๗-๔๐๗.

ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๑๐/๓๗๗.
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
หนวงนิพพานเปนอารมณ ซึ่งเปนชื่อของ ๓ ญาณ คือ สังขารุเปกขาญาณ
ตอนปลาย อนุโมญาณ และโคตรภูญาณ
วุ ฏ ฐานคามิ นี อีก ความหมายหนึ่ ง คื อ ส ว นสื บ ต อของอริ ย มรรค๓
อริยมรรคชื่อวาวุฏฐานะ คือการสลัดคืนรูปนาม
ปฏินิสสัคคานุปสสนา เปนชื่อแหงวิปสสนาและมรรคที่สละคืนเสีย
ซึ่งกิเ ลสพร อมทั้งขัน ธ (วิบ าก) และอภิ สั งขาร (กรรม) ด ว ยอํานาจตทังค
ปหาน(วิปสสนาญาณ) และนอมไปในพระนิพพานอันตรงกันขามกับกิเลส
โดยความที่นอมโนมไปทางนั้นเพราะเห็นโทษในสังขตธรรม พระผูมีพระภาค
เจาตรัสสอนการกําหนดพิจารณาเห็นความสละคืนซึ่งรูปนาม วา
“ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี
ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ.” เธอยอมสําเหนียกวา “เราจักพิจารณาเห็นความ
สละคืนหายใจเขา” เธอยอมสําเหนียกวา “เราจักพิจารณาเห็นความสละคืน
หายใจออก”
ความสละคืน มี ๒ อาการ คือ
๑) ปริจจาคปฏินิสสัคคะ (ความสละคืนดวยการสละเสีย) คือ สละ
เสียซึ่งกิเลสพรอมทั้งขันธคือวิปาก และอภิสังขารคือกรรม ดวยอํานาจตทังค
ปหาน
๒) ปกขันทนปฏินิสสัคคะ (ความสละคืนดวยการแลนเขาไป) คือ
ความแลนไปในพระนิพพาน อันตรงกันขามกับกิเลสโดยความนอมไปแหง
ปญญา เห็นโทษในสังขตธรรม
สภาวะญาณที่เกิดขึ้น ไดแก สังขารุเปกขาญาณชวงปลาย, อนุโลม
ญาณ โคตรภูญาณ มรรคญาณ ผลญาณ และปจจเวกขณญาณ
วิปสสนาญาณและมรรคญาณทั้ง ๒ นี้เรียกวาอนุปสสนา เพราะเห็น
พระนิพพานภายหลังญาณกอนๆ ภิกษุเปนผูประกอบดวยปฏินิสสัคคานุปสส


ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธิ. (บาลี) ๒/๗๘๒/๓๓๙. , พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิ
สุทธิมรรค, แปลโดย สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภมหาเถร), พิมพครั้งที่ ๗,
(กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธนาเพรส จํากัด, ๒๕๕๑), หนา ๑๑๑๐.
๗๐๘
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
นาทั้ง ๒ อยางนั้น ชื่อวาสําเหนียกวา “เราจักเปนผูพิจารณาเห็นความสละ
ทิ้งหายใจเขา หายใจออก”
การบริกรรมภาวนาในขั้น นี้ ตองใสใจเพงรูในอารมณที่จิตรับรูใน
ป จ จุ บั น ขณะนั้ น อย า งจดจ อ ต อ เนื่ อ งอย า งสมบู ร ณ แ บบ พยายามเพ ง
พิจารณาอาการของอารมณนั้นๆ โดยไมใหจิตซัดสายไปหาอารมณอื่นๆ และ
พยายามปดกั้นไมใหอารมณอื่นๆ แทรกเขามา แตหากมีอารมณอื่นแทรก
เข า มาได หรื อเผลอสอดส า ยหาอารมณ อื่ น ๆ ก็ ใ ห เ พ ง รู ล งในอาการของ
อารมณ ใ หม นั้ น แต เ น น สั ง เกตดู ส ภาพธรรมารมณ ภ ายในจิ ต เป น พิ เ ศษ
หลักการสําคัญในการบริกรรมภาวนาในขั้นนี้ ตองพยายามเพงความสนใจไป
ที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนาเพียง ๑ % แตใสใจพิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม
เพิ่มขึ้น ๙๙ % โดยที่เนนไปทีพ่ ิจารณาสภาพธรรมของอริยสัจ ๔ เปนหลัก
บั น ไดขั้ น ที่ ๗ เป น วิ ถี ข องการออก ที่ เ รี ย กว า “วุ ฏ ฐานคามิ นี
วิปสสนา”๔ คือการออกจากรูปนาม จนหนวงนิพพานเปนอารมณ ซึ่งเปนชื่อ
ของ ๓ ญาณ คือสังขารุเปกขาญาณตอนปลาย อนุโมญาณ และโคตรภูญาณ
วุฏฐานคามินีอีกความหมายหนึ่งคือ สวนสืบตอของอริยมรรค๕อริยมรรคชื่อ
วาวุฏฐานะ คือการสลัดคืนรูปนามสวนการกําหนดในขั้นที่ ๗ นี้ ตองปฏิบัติ
เหมือนขั้นที่ ๖ ใหสบูรณ ถึงจะไดผล การกําหนดมีดังนี้
๑. พิจารณาสภาพธรรมขณะกราบและกําหนดรูอริยาบถ
กราบสติปฏฐานใหชาลง ๒๐ นาทีเปนอยางนอย โดยเพิ่มตนจิตให
มากขึ้น เชน กอนพลิกมือ ใหกําหนดรูจิตกอนวา “อยากพลิกหนอ” พรอม
กับ สังเกตเห็น อาการดั บลงของจิ ต ที่อยากพลิ กนั้น แล ว จึงกําหนด “พลิ ก
หนอๆ”ตอไป เปนตน และเพิ่มจังหวะหยุด เมื่อมีอารมณอื่น เขามาแทรก


ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๑๐/๓๗๗.

ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธิ. (บาลี) ๒/๗๘๒/๓๓๙. , พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิ
สุทธิมรรค, แปลโดยสมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภมหาเถร), พิมพครั้งที่ ๗,
(กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธนาเพรส จํากัด, ๒๕๕๑), หนา ๑๑๑๐.
๗๐๙
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
ซอน เชน ขณะยกมือขึ้นกราบ ลมเย็นพัดเขามากระทบรางกาย ใหกําหนด
“ถูกหนอ” “เย็นหนอ” จนดับไปกอน แลวจึงคอยกําหนดยกตอไป เปนตน
โยคีบางคนสงสัยวา “ทําไมตองกําหนดอิริยาบถยอยใหมากมาย ดู
สับสนวุยวาย นารําคาญ” ตอบวา : ก็เปรียบเหมือนนักมวยสากล ตั้งคําถาม
วา “มวยสากลเขาใชมือตอยกัน ทําไมตองซอมวิ่งวันละหลายๆ กิโลเมตร
เหนื่อยเปลาๆ เอาเวลาไปซอมชก ซอมตอยอยางเดียว ไมดีกวาหรือ?”
อนึ่ง ผูที่ปฏิบัติมาถึงขั้นนี้แลว หากยังรูสึกสับสนวุยวายกับอารมณที่
กระทบหรือการกําหนดรูที่ละเอียดขึ้นก็ยอมแสดงวา ยังไมถึงขั้นที่ ๗ นี้จริง”
พยายามบริกรรมภาวนาไปตามอาการที่เกิดจริง ในขณะปจจุบันอยู
ตลอดเวลา แมแตในฝนก็กําหนด แตถารูสึกวาคําบริกรรมไปทับสภาวะ (จิต
เพงที่คําบริกรรมเกินไป) ถาเชนนั้น ไมตองบริกรรม ตามรูอยางเดียว

บันได ๗ ขั้น ญาณ ๑-๑๖


ขั้นที่ ๑ ๑. นามรูปปริจเฉทญาณ กําหนดกราบไปตามอาการที่มือ
เห็นรูปเห็นนาม เคลื่อนไหว (กราบแบบกายานุปส สนาสติปฏ
ฐาน) ใชเวลาประมาณ ๓-๕ นาที
๒. ปจจยปริคคหญาณ การพลิกมือนั้น ตามปกติมือจะพลิกเอง
ขั้นที่ ๒ ๓. สัมมสน แบบออน ไมได ตองมีจิตเขาไปสั่ง ใหพิจารณาเห็นจิต
พิจารณารูปนาม ญาณ ที่เขาไปสั่ง แลวคอยพลิกมือไปตามความ
อยาก (เห็นการดับเมื่อพลิกมือเสร็จแลว) ใช
เวลาประมาณ ๕-๗ นาที
แบบแก กราบใหชาลง ใหได ๗ - ๑๐ นาทีเปน
ขั้นที่ ๓ ๔.อุทยัพพย ตรุณ อยางนอย โดยใหเพิ่มการกําหนดตนจิต
เห็นความไมเที่ยง ญาณ พลว เชน กอนพลิกมือ ใหกําหนดรูจิตกอนวา
ของรูปนาม ๕. ภังคาญาณ
“อยากพลิกหนอๆ ” แลวจึงกําหนด “พลิก
หนอๆ “ ตอไป เปนตน(พิจารณาเห็นความ
ไมเที่ยง กอนยกมือ รูจิตอยากยก เห็นจิต
อยากยกจนสงบกอน จึงพลิกมือ เปนการ
พยายามทําเพื่อใหเห็นการเกิดดับ)

๗๑๐
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม

บันได ๗ ขั้น ญาณ ๑-๑๖


๖. ภยญาณ กราบใหได ๑๐ - ๑๕ นาทีเปนอยางนอย
ขั้นที่ ๔ ๗. อาทีนวญาณ โดยเพิ่มการรูตนจิตใหมากขึ้น เชน กอน
เห็นความเปน ๘. นิพพิทาญาณ พลิกมือ ใหกําหนดรูจิตกอนวา “ อยาก
ทุกขของรูปนาม ๑๒. อนุโลมญาณ
พลิกหนอๆ “แลวจึงกําหนด“ พลิกหนอๆๆๆ
๑๓. โคตรภูญาณ
รูหนอๆๆกมหนอโลงหนอ ตอไปเปนตน
(พิจารณาเห็นความเปนทุกข ขณะพลิกมือ
เห็นสภาพที่ไมคงทนเปลี่ยนแปลงเกิดดับ ใน
จังหวะคอยๆ พลิกมือ ถาจิตแกกลาจะเห็น
จิตดับดวย)หลักสําคัญกําหนดเห็นอาการจิต
จริงๆ กอน หรือจิตปรารถนา องคบริกรรม
ตามจิต คือเห็นอาการกอน แลวบริกรรมตาม
หรือพรอมกันเนน กราบใหดูเวทนา

๙. มุญจิตุกัมยตาญาณ กราบใหชาลง ใหได ๑๕-๒๐ นาที เปน


๑๐. ปฏิสังขาญาณ อยางนอย โดยเพิ่มตนจิต และเพิ่มจังหวะ
หยุด เมื่อมีอารมณอื่นเขามาแทรกซอนเชา
มา เชน ขณะยกมือขึ้นกราบ ลมเย็นพัดเขา
มากระทบรางกาย ใหกําหนด “ถูก
ขั้นที่ ๕
เห็นความไมใช หนอ”“เย็นหนอ” จนดับไปกอน แลวจึง
ตัวตนของรูปนาม คอยกําหนดยกตอไป เปนตนเทคนิค การ
กราบใหได ๒๐ นาที โดยการกราบใหครบ
สติปฏฐาน ๔ พลิกเปนกาย, จิตอยากพลิก,
ถามีงวงซึมใหหยุดแลวกําหนด งวงหนอรู
ธรรม แลวพลิกตอ

๗๑๑
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม

บันได ๗ ขั้น ญาณ ๑-๑๖


ขั้นที่ ๖ ๑๑. ตน กราบสติปฏฐานใหชาลง ใหได ๑๕-
วางเฉยตอรูปนาม สังขารุ ๒๐ นาทีเปนอยางนอย โดยเพิ่มตนจิตให
เปกขา
มากขึ้น เชน กอนพลิกมือ ใหกําหนดรูจิต
ญาณ
กอนวา “อยากพลิกหนอ” พรอมกับ
สังเกตเห็นอาการดับลงของจิตที่อยาก
พลิกนั้น แลวจึงกําหนด “พลิกหนอๆๆ”
ตอไป เปนตน และเพิ่มจังหวะหยุด เมื่อ
มีอารมณอื่นเขามาแทรกซอน เชามาเชน
ขณะยกมือขึ้นกราบ ลมเย็นพัดเขามา
กระทบรางกาย ใหกําหนด “ถูกหนอ”
“เย็นหนอ” จนดับไปกอน แลวจึงคอย
กําหนดยกตอไป เปนตน
วุฏฐาน กราบสติปฏฐานใหชาลง ใหได ๒๐ นาที
ขั้นที่ ๗ ปลาย คามินี
๑๒. อนุโลม เปนอยางนอย โดยเพิ่มตนจิตใหมากขึ้น
สลัดคืนรูปนาม เชน กอนพลิกมือ ใหกําหนดรูจิตกอนวา
ญาณ
๑๓. โคตรภูญาณ “อยากพลิกหนอ” พรอมกับสังเกตเห็น
อาการดับลงของจิตที่อยากพลิกนั้น แลว
จึงกําหนด “พลิกหนอๆๆ” ตอไป เปนตน
และเพิ่มจังหวะหยุด เมื่อมีอารมณอื่นเขา
มาแทรกซอน เชามาเชน ขณะยกมือขึ้น
กราบ ลมเย็นพัดเขามากระทบรางกาย
ใหกําหนด “ถูกหนอ” “เย็นหนอ” จนดับ
ไปกอน แลวจึงคอยกําหนดยกตอไป
เปนตน

๗๑๒
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม

๒. พิจารณาสภาพธรรมขณะจงกรม
กํ า หนดให รู เ ท า ทั น จิ ต ที่ คิ ด จะยื น “อยากยื น หนอ” พร อ มกั บ
สังเกตเห็นอาการดับลงของจิตที่อยากยืนนั้นดวย แลวลุกขึ้นยืน ในทุกครั้ง
และเพิ่มการกําหนดยืนเปน ๓ ชวง คือ
กําหนด “ยืนหนอ” ตั้งแตปลายผมจนถึงอก ๑ ชวง
กําหนด “ยืนหนอ” ตั้งแตอกจนถึงขา ๑ ชวง
กําหนด “ยืนหนอ” ตั้งแตขาจนถึงปลายเทา ๑ ชวง
และเพิ่ ม การกํ า หนดเห็ น อาการดั บ ของจิ ต ที่ ดั บ พร อ มไปกั บ
ความรูสึกยืนนั้นๆ ดวย
เดินจงกรมใหเทากับเวลานั่งภาวนา เดินใหครบทั้ง ๖ จังหวะ และ
เพิ่ ม จิ ต รู ล งไปในอาการก า วย า งเป น ทวี คู ณ เช น เดิ น จั ง หวะที่ ๓ “ยก
หนอๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ” (แลวนิ่ง) “ยางหนอๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ” (แลวนิ่ง)
“เหยียบหนอๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ” (แลวนิ่ง) คือซอยสภาวะ เพิ่มความถี่ในการ
กําหนด ในขณะเดินเพิ่มการกําหนดรูจิตอยากหัน อยากมอง อยากพูด อยาก
คุยใหจิตที่อยากมอง,อยากคุยดับไป..โดยไมหันไปมองหรือพูดคุย ใหไดทัน
กอ นทุ กครั้ งหยุ ด กํ าหนดรู อาการคัน ปวด เมื่ อย และอาการคิ ด จนเห็ น
อาการดับกอนทุกครั้ง
พิ จ ารณาให รู อ าการเท า ที่ ย กขึ้ น มี อ าการตึ ง หย อ น เมื่ อ ย ล า
อยางไรกําหนดรูตามความรูสึกที่เกิดขึ้น และหยุด ใหเห็นอาการดับขาดของ
จิตและเทาที่เคลื่อนไหว แลวจึงยาง โดยกําหนดรูความรูสึกการเคลื่อนยาง
ของเทา และหยุด ลงเหยียบ ใหรูอาการที่กระทบฝาเทา แข็ง หยาบนุม รอน
เย็น ฯลฯ อยางไร พอทิ้งน้ําหนักตัวลงของเทาที่เหยียบมีอาการ ปวด เมื่อย
ตึง ลา จิตไปรับรูความรูสึกชวงไหน ใหกําหนดรูอาการนั้น จนกวาอารมณดับ
ไปจากจิ ต บางครั้งจิตดั บไปจากอารมณและจึงกําหนดรู อารมณที่จิต รับ รู
ตอไป
ขณะเดินบางครั้งเทาหลายไป กําหนดรูตามอาการปรมัตถที่จิตรับรู
ตามอาการ ถากําหนดไมได ใหจิตรูอาการนั้นๆ ที่กําหนดไมได

๗๑๓
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
กํา หนด และเพิ่ ม การกํ า หนดรู  จิ ต อยากหั น อยากมอง อยากพู ด
อยากคุย ใหจิตที่อยากมอง อยากคุยนั้นๆดับไป..โดยไมหันไปมองหรือเผลอ
พูดคุย ใหไดทันกอนทุกครั้งหยุดกําหนดรูอาการคัน ปวด เมื่อย และอาการ
คิด จนเห็นอาการดับกอนทุกครั้ง
กําหนดรูอาการดับไป ของตัวจิตเอง ที่เขาไปกําหนดรูอารมณตางๆ
ที่ดับไปพรอมกับอารมณทถี่ ูกกําหนดนั้นๆ หากเห็นอาการดับของจิต ชัดเจน
ใหกําหนดรูวา“ดับหนอ” หรือ “รูหนอ” ดวย
เพิ่มอาการรูลงไปในอาการกาวยางเปนทวีคูณ
จั ง หวะที่ ๑ เพิ่ ม ความถี่ ข องจิ ต รู  ล งในการกํ า หนด “ยก
หนอๆๆๆๆ” “ยางหนอๆๆๆๆ”
จั ง หวะที่ ๒ เพิ่ ม ความถี่ ข องจิ ต รู  ล งในการกํ า หนด “ยก
หนอๆๆๆๆ” “เหยียบหนอๆๆๆๆ”
จั ง หวะที่ ๓เพิ่ ม ความถี่ ข องจิ ต รู  ล งในการกํ า หนด “ยก
หนอๆๆๆๆ” “ยางหนอๆๆๆๆ” “เหยียบหนอๆๆๆๆ”
จั ง หวะที่ ๔ เพิ่ ม ความถี่ ข องจิ ต รู  ล งในการกํ า หนด “ยกส น
หนอๆๆๆๆ” “ยกหนอๆๆๆๆ” “ยางหนอๆๆๆๆ” “เหยียบหนอๆๆๆๆ”
จั ง หวะที่ ๕ เพิ่ ม ความถี่ ข องจิ ต รู  ล งในการกํ า หนด “ยกส น
หนอๆๆๆๆ”“ยกหนอๆๆๆๆ” “ยางหนอๆๆๆๆ” “เหยียบหนอๆๆๆๆ”
จั ง หวะที่ ๖ เพิ่ ม ความถี่ ข องจิ ต รู  ล งในการกํ า หนด “ยกส น
หนอๆๆๆๆ”“ยกหนอๆๆๆๆ” “ยางหนอๆๆๆๆ” “ลงหนอๆๆๆๆ” “ถูก
หนอๆๆๆๆ” “กดหนอๆๆๆๆ”
หยุดกําหนดรูอาการคัน ปวด เมื่อย และอาการคิด จนเห็นอาการ ดับ
กอนทุกครั้งตองกําหนดจนเห็นอาการดับของทุกสภาวะที่จิตเขาไปรู บางครั้ง
อารมณดับไปจากจิตบางครั้งจิตดั บไปจากอารมณคือกําหนดรู อาการดับไป
ของตั ว จิ ตเอง ที่ เ ข าไปกํ าหนดรู อารมณ ต างๆ ที่ ดั บไปพร อมอารมณ ที่ ถู ก
กําหนดนั้นๆ หากเห็นอาการดับของจิต ชัดเจนใหกําหนดรูวา “ดับหนอ” หรือ
“รูหนอ”ดวย
๗๑๔
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
เมื่ออารมณที่เปนรูป-นามดับขาดไปสิ้นแลว ก็จะหนวงเอานิพพาน
มาเปนอารมณไดเอง อยางเปนปจจัตตัง เขาสูภาวะที่เปน “สันติ” ที่ไมขึ้นกับ
กาลเวลาอีกตอไป
พิเศษ : สํ าหรับโยคีบางทานอาจารยให เพิ่มตนจิต ในขณะเพิ่ม
ความถี่จิ ตรู ดวย แตไมบริ กรรมทับตน จิต เช น การยกเทา กําหนด “รูจิ ต
อยากยก ยกหนอ รูจิตอยากยก ยกหนอ รูจิตอยากยก ยกหนอ รูจิตอยากยก
ยกหนอ รูจิตอยากยก ยกหนอ” ถาโยคีถึงสภาวญาณจริง การเดินจะเบา
สบายไมปวดหัว หรือรูสึกติดคําบริกรรมอยูที่คอ
๓. พิจารณาสภาพธรรมขณะกําหนดรูพอง-ยุบ
นั่ง ๑ ชั่วโมงครึ่ง โดยไมขยับอวัยวะสวนใดทั้งสิ้น หากเห็นอาการ
พอง-ยุบชัดเจนมากเห็นตน-กลาง-ปลายชัดเจน เพิ่มความถี่ของจิตที่กําหนด
อาการนั้ น ๆ คือ กําหนดซอยอาการพอง-อาการยุ บ “พองหนอๆๆๆๆๆ”
“ยุบหนอๆๆๆๆๆ” สังเกตใหไดวาพองหรือยุบดับลง ณ จุดใดบางชวงพอง-
ยุบ ไมชัด แตจิตรูชัด..ก็ใหรูชัดลงไปในอาการไมชัดนั้น “พองหนอ-ไมชัด
หนอ” “ยุบหนอ-ไมชัดหนอ” อยาพยายามทําใหชัด..
- กําหนดรูอาการคัน ชา ปวด เมื่อย และอาการคิด จนเห็นอาการ
ดับกอนทุกครั้งจึงจะกลับมากําหนดพอง-ยุบตอไป
- กําหนดเห็นอาการดับของจิต ที่ดับพรอมไปกับอารมณที่จิตเขาไป
กําหนดรูแทบทุกครั้ง
- ถาเห็นแสง สี นิมิต หรือภาพแปลกๆ ใหเขาใจวา เห็นจริง แตสิ่งที่
เห็ น นั้ น ไม จ ริ ง ให รี บ กํา หนดให เ ห็ น อาการดั บ โดยเร็ ว อย า ไปยิ น ดี หรื อ
เพงมอง…
- ตองกําหนดจนเห็นอาการดับของทุกสภาวะที่จิตเขาไปรู บางครั้ง
อารมณดับไปจากจิต บางครั้งจิตดับไปจากอารมณ๖


ทุภโต วุฏฐานวิวฏฏเน ปฺญา มคฺเค ญาณํ. ปญญาในการออกและหลีกจาก
ขันธและนิมิตทั้ง ๒ เปนมรรคญาณ... ; ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๗๐.
๗๑๕
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
- กําหนดเห็นการดับของตัวจิตเอง ที่ดับพรอมไปกับอารมณที่ถูก
กําหนดรู
-บางขณะอาการพอง-อาการยุบแผวเบา นิ่มนวล ก็ใหทําอารมณ
แผวเบา กําหนดอยางแผวเบานิ่มนวลไปตามอาการนั้นๆ “พองหนอ” “ยุบ
หนอ” ถารูสึกจิตแผวเบามากเหมือนจะหลับ ก็ตามดูจิต วาหลับอยางไร “รู
หนอๆๆๆ” (หากเปนสภาวะแท ตามดูอยางไรก็ไมหลับ)
โยคีบางคนกําหนดอยูดีๆ มีอาการพอง-ยุบถี่ๆ รัวเร็วขึ้นมา ปรากฏ
อาการเกิด-ดับอยางถี่ยิบ บางคนแรงมากเหมือนกับเครื่องจักร เหนื่อยหอบ
แทบขาดใจ ก็ใหตามรูไปตามอาการนั้น กําหนดเพียงวา “รูๆๆ” ไปเรื่อยๆ
จนกวาจิตจะละคําบริกรรมไปเอง อยาดัดแปลงแกไขสภาวะใดๆ เด็ดขาด ..
ขอย้ําวา “หามดัดแปลงแกไขสภาวะในชวงนี้ อยางเด็ดขาด” ถาพอง-ยุบเร็ว
แรงแทบขาดใจ ก็ใหตามรูไปตามนั้น จนกวาจะขาดใจตายไปเลย
บางครั้งอาการพอง-ยุบ อึดอัดแนนแทบขาดใจ เหมือนจะตายใหกําหนดรูถึง
อาการอึ ด อัด แน น ทรมาน จะตายนั้ น ตามความจริ ง ตั ด คําบริ กรรมว า
พอง-ยุบ นั้นไป
บางครั้ ง อาการพอง-ยุ บ มีอาการสม่ํ าเสมอ แผ ว เบา ก็ กําหนดรู
อาการ แผวเบา นุมนวล โดยเห็นอาการเปนปรมัตถ ถาบริกรรมไมไดก็แครู
ตามอาการเฉยๆ
เมื่ อ อาการพอง–ยุ บ กลั บ มาเป น ปกติ ให ป รั บ ระยะเวลาการนั่ ง
ภาวนาและเดินจงกรมเปน ๑ ชั่วโมงเทากัน ขณะนั่งภาวนาใหสนใจเฉพาะ
อารมณภายในเทานั้น สวนอารมณภายนอก เชน เสียง กลิ่น รสและอารมณ
สัมผัสตางๆ ไมตองสนใจมากนัก
บางครั้งอาจมีอาการจิตดับวูบหายลงไป
อนึ่ ง หากขณะนั่ งภาวนาอยู นั้ น อารมณภ ายในแช นิ่ งซ้ําๆ เดิ มๆ
ติดตอกันเกินหลายนาทีแลว ยังไมเปลี่ยนแปลง ใหโยคีเพิ่มการเดินจงกรมให
มากกวานั่งอีก ๑๕ นาที จนกวาอาการแชนิ่งซ้ําๆ เดิมๆ นั้น เปลี่ยนแปลงไป
จึงปรับการนั่งและเดินจงกรมเปน ๑ ชั่วโมงเทากัน
กําหนดรูอารมณตามที่จิตรู โดยใหจิตเลือกอารมณเอง แลวรูไปตาม
๗๑๖
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
อาการรูนั้นๆ จนดับ ตั้งแตจิตแรกที่ตื่น จนถึงจิตสุดทายที่หลับ ตองกําหนด
จนเห็นอาการดับของทุกๆ สภาวะ ที่จิตเขาไปรูบางครั้งอารมณดับไปจากจิต
บางครั้งจิตรูดับไปจากอารมณ
บริ กรรมภาวนาไปตามอาการที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ในขณะป จ จุ บั น อยู
ตลอดเวลา แมแตในฝนก็กําหนด แตถารูสึกวาคําบริกรรมไปทับสภาวะ (จิต
เพงที่คําบริกรรมเกินไป) ถาเชนนั้น ไมตองบริกรรม ตามรูอยางเดียว
ถาเห็นแสงสวาง (ไมใชแสงสี) ใหกําหนดจนกวาจะดับ แตถากําหนด
๒-๓ นาทีแลวยังไมดับ ใหทําเปนไมใสใจ แลวไปกําหนดอารมณที่ปรากฏชัด
ตอไป แตถาเห็นแสงสี หรือเห็นนิมิตเรื่องราว แสดงวาญาณตก (มาที่ญาณที่
๔) แกโดย เพิ่มการกําหนดตนจิตใหได ๙๐ % ขึ้นไป เพิ่มการสังเกตรู-เห็น
อาการดับของจิต (ตัวรู) ที่เขาไปกําหนดใหได ๑-๒ ขณะจิตกอนที่จะดับสิ้น
ลง คือ ดับไปทั้งอารมณ และจิต (ผูรู)
หลักสําคัญในการปฏิบัติ
๑. ตองกําหนดบริกรรมอยูตลอดเวลา ตั้งแตจิตแรกที่ตื่น จนถึงจิต
สุดทายที่หลับแมแตขยับนัยนตา ขยับลิ้น ก็กําหนดทันทุกครั้ง
๒. บริกรรมภาวนาไปตามอาการที่เกิดขึ้นจริงในขณะปจจุบัน อยู
ตลอดเวลา
๓. ถาเห็นแสงสวาง ที่ไมใช แสงสี ใหกําหนดจนกวาจะดั บ แตถา
กําหนดกวา ๑๐นาทีแลวยังไมดับ ใหทําเปนไมใสใจ แลวไปกําหนดอารมณ
อื่นๆ ที่ปรากฏชัดตอไป
๔. ต อ งกํ า หนดจนเห็ น อาการดั บ ของทุ ก สภาวะที่ จิ ต เข า ไปรู
บางครั้งอารมณดับไปจากจิต บางครั้งจิตดับไปจากอารมณ
๕. กําหนดเห็นการดับของตัวจิตเอง ที่เขาไปกําหนดรูอารมณตางๆ
ได ๑ – ๓ ขณะจิต กอนที่จะดับสิ้นลงทั้งของอารมณที่จิตเขาไปรูและของจิต
ที่เขาไปรู
เมื่ออารมณที่เปนรูป-นามดับไปสิ้นแลว ก็จะหนวงเอานิพพานมาเป
นอารมณไดเอง อยางเปน ปจจัตตัง ที่ไมขึ้นกับกาลเวลาอีกตอไป
๗๑๗
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม

๔. พิจารณาสภาพธรรมขณะกําหนดรูอิริยาบถ
ขณะรับประทาน : ใหกําหนดรูการเคลื่อนไหวทีละอาการ กําหนดรู
อาการ คู เหยียด ตึง หยอนเมื่อย ลา ของแขนที่เคลื่อนไหว กําหนดรูอาการ
ของจิตที่ “อยาก” ตัก เคี้ยว กลืน ใหทันกอนทุกครั้ง และใหจิตที่อยากนั้น
ดับไป จึงจะตัก เคี้ยว กลืน กอนเคี้ยวใหเอามือวางลงกอนทุกครั้ง แลวจึง
กําหนดเคี้ยวเคี้ยวอาหารใหละเอียดจนจืดกอนทุกครั้ง แลวจึงกําหนดอยาก
กลืนแลวจึงกลืนอาหารนั้น พอกลืนแลวกําหนดรูอาการที่ไหลลง จิตที่ชอบ
หรือไมชอบอาหารนั้น ใหกําหนดรูดวยชอบหนอ ไมชอบหนอ ถูกใจหนอ
กําหนดรูทันจิตอยากจับ อยากเคี้ยวทันกอนจับ กอนเคี้ยวทุกครั้ง
กําหนดเคี้ยวจนรสชาติจืดสนิทกอน จึงกลืนทุกคํากลืน ขณะเคี้ยวเสร็จตอง
กําหนดจิตอยากกลืนใหไดกอน จึงกลืน ทุกๆ คํา กลืนกําหนดใหได ๕๐ นาที
เปนอยางนอย
- ขณะฉันใหเลือกกําหนดตามอาการความตองการของรางกาย(อยา
ทําตามจิต ใหทําตามรางกายอยาก) ระงับจิตใหเปนอุเบกขา
- ไมยินดี ใจเฉยๆ อยูกับรูปกับนาม คืออยูกับปจจุบันขณะของการ
กําหนดในทุกๆ อาการ
- สมาธิดี ใจสงบแนวแนไปไดนานๆ
- เห็นการกลืนเปนอาการธาตุ ใหกําหนดวา “รูหนอๆๆๆๆ”
- หากกําหนดเห็นการไหลของน้ําเปนเหมือนละอองควัน(เปนอาการ
สลัดของรูป แลวแตจะรูส ึกเพราะไมมีตัวแลว) ใหกําหนดวา “รูหนอๆๆๆ”
-ใหตัดอารมณที่เปนอกุศล ถาไมอยากกินใหระงับที่จิต แตถารูสึก
กายไมรับใหไปดูที่จิตกอนวากายไมอยากหรือจิตไมอยาก ถากายไมอยาก
ตองฝนบางเพราะสุขภาพจะเสีย
- บางคนกํา หนดอยู ดี ๆ ก็ มี อาการถี่ รั ว เร็ ว ขึ้น มา อาการเกิด -ดั บ
อยางถี่ยิบ ใหกําหนดวา “รูๆๆๆๆๆๆ” ไปจนกวาจิตจะละคําบริกรรมเอง
- บางคนอาการจะแรงมากเหมือนเครื่ องจั กร เหนื่ อยแทบขาดใจ
ใหตามกําหนดอาการนั้นๆ ไป เพียงวา “รูๆๆๆๆ” ไปจนกวาจิตจะละคํา

๗๑๘
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
บริกรรมเอง บางครั้งอาจมีอาการจิตดับวูบหายลงไป
นอน : โยคีกําหนดเพียงรูปนอนเทานั้น “นอนหนอๆๆๆ” แตถา
กําหนดกวา ๓๐ นาทีแลวยังไมหลับ ใหเพงรูไปที่อาการไมหลับนั้น พรอมกับ
บริกรรมวา “ไมหลับหนอๆๆๆ” จนกวาจะหลับไปเอง (หรือเปลี่ยนบท
กรรมฐานเปนเมตตาภาวนา โดยการกําหนดตั้งแตศีรษะ คือ เสนผม ไลลงมา
เรื่อยๆ ตั้งแต หนาผาก คิ้ว ตา จมูก ปาก คาง หนาอกหนาทอง ฝามือ แขง
ขา ฝาเทาโดยการบริกรรมตามไปวา “ขอใหมีความสุข ขอใหพนจากทุกข”
ทั้งขึ้น ทั้งลง จนกวาจะหลับ)
๕. พิจารณาสภาพธรรมขณะเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน
ถานั่งปฏิบัติ ๑ ชั่วโมงไมมีทุกขเวทนาเลย ๓-๕ วันติ ดตอกันเป น
อยางนอย หลังจากนั้นทุกขเวทนากลับแรงขึ้นมาอีกอยางนาแปลกใจ แตมี
สติ รู เ ท า ทั น ไม สุ ข ไม ทุ ก ข จิ ต กลั บ รู สึ กเฉยๆ จากนั้ น พึ ง ปฏิ บั ติ ดั ง นี้
กําหนดรูอาการ “อยาก” ใหทันกอนหัน มอง พูด คุย โดยที่ไมตอง
หัน ไปมอง ไปพูด ไปคุย
กําหนดรู อาการ “อยาก”หยิบ จั บ กลื น น้ํ าลาย กลื น อาหาร แม
อิริ ย าบถย อยที่ ล ะเอีย ดบางอย าง เช น การกระพริ บ ตา การขมิบ กน ขณะ
ขับถาย ขยับลิ้น ขยับนัยนตา ก็ตองกําหนดรูดวย
กําหนดจิตรูในการสัมผัสที่กระทบทางทวารทั้ง ๖ เชนกระทบทาง
กาย มีอาการแข็ง เย็น รอน อุน ฯลฯ อยางไรกําหนดรู พอรูอาการที่กระทบ
ทางกายแลวจิตชอบ ไมชอบ เบื่อ รําคาญ หงุดหงิด พอใจ ไมพอใจ ฯลฯ ให
กําหนดรูอาการนั้นดวย
สังเกตรู–เห็นอาการดับของจิต (ตัวรู) ที่เขาไปกําหนดใหได ๑–๒
ขณะจิต กอนที่จะดับสิ้นลง คือ ดับไปทั้งอารมณ และจิต (ผูรู)
- ขณะกําหนดทุกขเวทนาปรากฏ สังเกตดูวากําหนดกี่ครัง้ จึงดับ
- ขณะนั่งภาวนาตลอด ๑ ชั่วโมง มีทุกขเวทนาปรากฏบางหรือไม?
ถาไมมีทุกขเวทนาใหนั่งกําหนดอยางนอย ๑ ชั่วโมงครึ่ง

๗๑๙
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
- ใหสังเกตขณะกําหนดเห็นอาการทุกข/อาการสุขดับไป..มีอะไรดับ
พรอมกันไปดวย
- การกําหนดเวทนาใหสังเกตเหมือนกับการกําหนดเดินและนั่ง คือ
เวทนาดับไปตอนไหน หรือจิตดับไปจากเวทนาตอนไหน
จิตดับจากเวทนา หมายถึงอารมณเวทนามีอยูแตจิตไมรับเอามาเปน
อารมณ คือจิตไปเกาะเอาอารมณใหมแลว
ไมวาอิริยาบถใดที่จิตกําหนดรูอยู มีเวทนาเกิดขึ้นไมวาจะ สุข ทุกข
หรือเฉยๆ ถามีอาการปวด เมื่อย คัน จุก เสียด แนน ใหกําหนดรูตามความ
จริ งของจิ ต ที่เ ขาไปรู อารมณของเวทนานั้ น บาง ครั้ งหากกําหนดแล ว บั ง
สภาวะปรมัตถ ใหรูตามอาการเวทนา ปวด เมื่อย คัน จุก เสียด แนนนั้นโดย
ไมตองบริกรรมรู และใหเห็นอาการดับของจิตที่เขาไปรูอารมณทุกๆ ครั้ง

๖. พิจารณาสภาพธรรมขณะเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน
จิ ต เลื อกอารมณเ อง แล ว รู ไปตามอาการรู นั้ น ๆ จนดั บ กําหนดรู
อารมณตามที่จิตรู โดยใหจิตเลือกอารมณเอง แลวรูไปตามอาการรูนั้นๆ จน
ดั บ ทุ ก ๆ อารมณ ที่ จิ ต รู ตั้ ง แต จิ ต แรกที่ ตื่ น จนถึ ง จิ ต สุ ด ท า ยที่ ห ลั บ ต อ ง
กําหนดจนเห็นอาการดับของทุกๆ สภาวะที่จิตเขาไปรู ซึ่งบางครั้งอารมณ
ดับไปจากจิต บางครั้งจิตรูดับไปจากอารมณ
โยคีบ างคน กํ า หนดอยู ดี ๆ อาการพอง-ยุ บ รั ว เร็ ว ขึ้น มา ปรากฏ
อาการเกิดดับอยางถี่ยิบบางคนแรงมากเหมือนกับเครื่องจักร เหนื่อยหอบ
แทบขาดใจ ก็ใหตามรูไปตามอาการนั้น กําหนดเพียงวา “รูๆๆๆๆ” ไป
เรื่ อยๆ จนกวาจิ ตจะละคําบริ กรรมไปเอง อย าดัด แปลงแกไขสภาวะใดๆ
เด็ดขาด ..ขอย้ําวา “หามดัดแปลงแกไขสภาวะในชวงนี้ อยางเด็ดขาด” ถา
พอง-ยุบเร็วแรงแทบขาดใจก็ใหตามรูไปตามนั้นจนกวาจะขาดใจตายไปเลย
เมื่ออาการพอง-ยุบ กลับมาเปนปกติ ใหเพิ่มการกําหนดอิริยาบถ
ยอย และเจาะลึกสภาวะธัมมานุปสสนาใหมากขึ้น โดยเฉพาะ “ตัณหาหนอ”
(อยากหนอ) “มานะหนอ”(ยึดหนอ)“ทิฏฐิหนอ”(นึกหนอ อาการคิด-นึกชวง

๗๒๐
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
นี้ จะเปนเรื่องปจจุบัน เราเปนผูคิด-นึกเสียเอง เปนสวนมาก)เมื่ออารมณที่
เปนรูป-นามดับไปสิ้นแลว ก็จะหนวงเอานิพพานมาเปนอารมณไดเอง อยาง
เปนปจจัตตัง ที่ไมขึ้นกับกาลเวลาอีกตอไป๗
อาการที่เขาถึงพระนิพพานมี ๓ คือ
๑. บุคคลผูมนสิการโดยความไมเที่ยง ยอมนําจิตออกจากรูป-นาม
ไปสูนิพพานซึ่งเปนความดับดวยอํานาจแหงอนิมิตตวิโมกข การสงัดจากนิมิต
อารมณที่ใหเกิดกิเลส หรือชรา มรณะ เปนตน เรียกวา อนิมิตตนิพพาน
๒. ผูมนสิ การโดยความเปน ทุกขย อมนําจิตออกจากรู ป-นามไปสู
นิพพานซึ่งเปนความดับ ดวยอํานาจแหงอัปปณิหิตวิโมกข การสงัดจากความ
ดิ้นรนอันเปนเหตุใหเกิดสรรพทุกขนั้น เรียกวา อัปปณิหิตนิพพาน๘
๓. ผูมนสิการโดยความเปนอนัตตายอมนําจิตออกจากรูป-นามไปสู
นิพพานซึ่งเปนความดับ ดวยอํานาจแหงสุญญตวิโมกข๙การสงัดจากรูปนาม
ทั้งปวงอันเปนเหตุใหยึดเปนอัตตานั้น เรียกวา สุญญตนิพพาน
ผูเจริญวิปสสนาภาวนา จนเห็นไตรลักษณ คือ อนัตตา เห็นความ
ไมใช ตั วตนบั งคับบั ญชาไมได อันเป น ความว างเปล า เชน นี้ แล ว และเพง
อนัตตาตอไปจนบรรลุ
คัมภีรอภิธัมมัตถสังคหะ๑๐กลาวถึง “การบรรลุมรรคญาณ วา เปน
ประตูปากทางของวิโมกข หรือ วิมุตติ คือ การหลุดพนพิเศษ มี ๓ ประการ
๑) สุญญตวิโมกข ๒)อนิมิตตวิโมกข ๓) อัปปณิหิตวิโมกข”


พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., (ประเสริฐ มนฺตฺเสวี) วิปสสนาภาวนา ที่ไมถูกเขียนไวใน
พระไตรปฎก, (กรุงเทพมหานคร: ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๘) หนา ๓๑๙.

ดูรายละเอียดใน ขุ.ปฏิ. (บาลี) ๓๑/๒๒๓/๒๗๕, ขุ.ปฏิ. (ไทย) ๓๑/๒๒๔/
๓๗๗

ขุ.ปฏิ. (บาลี) ๓๑/๒๒๘ /๒๗๔ ,ขุ.ปฏิ. (ไทย) ๓๑/๒๒๘/๓๘๖ , ขุ.ปฏิ.อ.
(บาลี) ๑/๗๘/๓๒๓.
๑๐
ขุ.ป.(บาลี) ๓๑/๒๒๙/๒๘๔-๒๘๖., ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒๙/๓๘๘-๓๘๙., พระ
อนุรุทธาจารย, อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิ, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฏราช
วิทยาลัย), หนา ๕๖-๕๗.
๗๒๑
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม

๗. พิจารณาสภาพธรรมขณะเจริญธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน
๑. กําหนดรูอารมณตามที่จิตรู โดยใหจิตเลือกอารมณเอง แลวรูไป
ตามอาการรูนั้นๆ จนดับ ตั้งแตจิตแรกที่ตื่น จนถึงจิตสุดทายที่หลับ
๒. ต อ งกํ าหนดจนเห็ น อาการดั บ ของทุก ๆ สภาวะ ที่จิ ต เขา ไปรู
บางครั้งอารมณดับไปจากจิต บางครั้งจิตรูดับไปจากอารมณโยคีบางคนสงสัย
วา “ทําไมตองกําหนดอิริยาบถยอยใหมากมาย ดูสับสนวุยวาย นารําคาญ”
ตอบวา : ก็เปรียบเหมือนนักมวยสากล ตั้งคําถามวา “มวยสากลเขาใชมือ
ตอยกัน ทําไมตองซอมวิ่ง เหนื่อยเปลาๆ เอาเวลาไปซอมชก ซอมตอยอยาง
เดียว ไมดีกวาหรือ?”
๓. บริกรรมภาวนาไปตามอาการที่เกิดขึ้นจริง ในขณะปจจุบัน อยู
ตลอดเวลา แมแตในฝนก็กําหนด แตถารูสึกวาคําบริกรรมไปทับสภาวะ (จิต
เพงที่คําบริกรรมเกินไป) ถาเชนนั้น ไมตองบริกรรม ตามรูอยางเดียว
๔. ขณะนั่งหลับตาภาวนา ถาเห็นแสงสวาง (ไมใชแสงสี) ใหกําหนด
จนกวาจะดับ แตถากําหนด ๒ - ๓ นาทีแลวยังไมดับ ใหทําเปนไมใสใจ แลว
ไปกําหนดอารมณที่ปรากฏชัดตอไป แตถาเห็นแสงสี หรือเห็นนิมิตเรื่องราว
แสดงวาญาณตก (มาที่ญาณที่ ๔) แกโดยการเพิ่มการกําหนดตนจิตใหได
๑๐๐ % และเพิ่มการสังเกตรู–เห็นอาการดับของจิต (ตัวรู) ที่เขาไปกําหนด
ใหได ๑–๒ ขณะจิต กอนที่จะดับสิ้นลง คือ ดับไปทั้งอารมณ และจิต (ผูรู)
โยคีบ างคน กํ า หนดอยู ดี ๆ อาการพอง-ยุ บ รั ว เร็ ว ขึ้น มา ปรากฏ
อาการเกิดดับอยางถี่ยิบ บางคนแรงมากเหมือนกับเครื่องจักร เหนื่อยหอบ
แทบขาดใจ
โยคีก็ใหตามรูไปตามอาการนั้น กําหนดเพียงวา “รูๆๆๆๆ” ไป
เรื่ อยๆ จนกวาจิ ตจะละคําบริ กรรมไปเอง อย าดัด แปลงแกไขสภาวะใดๆ
เด็ดขาด ..ขอย้ําวา “หามดัดแปลงแกไขสภาวะในชวงนี้ อยางเด็ดขาด” ถา
พอง-ยุบเร็วแรงแทบขาดใจ ก็ใหตามรูไปตามนั้นจนกวาจะขาดใจตายไปเลย.
เมื่ออาการพอง-ยุบ กลับมาเปนปกติ ใหเพิ่มการกําหนดอิริยาบถยอย และ
เจาะลึกสภาวะธัมมานุปสสนาใหมากขึ้น โดยเฉพาะ “ตัณหาหนอ” (อยาก

๗๒๒
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
หนอ) “มานะหนอ”(ยึดหนอ) “ทิฏฐิหนอ”(นึกหนอ : อาการคิด-นึกชวงนี้
จะเปนเรื่องปจจุบัน เราเปนผูคิด-นึกเสียเอง เปนสวนมาก)
เมื่ออารมณที่เปนรูป-นามดับไปสิ้นแลว ก็จะหนวงเอานิพพานมา
เปนอารมณไดเอง อยางเปนปจจัตตัง ที่ไมขนึ้ กับกาลเวลาอีกตอไป

๘. สภาวะญาณที่เกิดขึ้นเมื่อปฏิบัติขั้นที่ ๗ สมบูรณ
พระสารีบุตรเถระอธิบายวา จิตสละรูปเปนความสละคืนดวยการ
สละเสีย จิตแลนไปในนิพพานซึ่งเปนความดับแหงรูป เปนความสละคืนดวย
ความแลนไป
ภิกษุสําเหนียกวา เราพิจารณาเห็นความสละคืนในรูปหายใจเขา
สําเหนียกวา “เราพิจารณาเห็นความสละคืนในรูปหายใจออก” จิตสละ
เวทนา ฯลฯ สัญญาฯลฯ สังขาร ฯลฯวิญญาณ ฯลฯ จักขุ ฯลฯ จิตสละชรา
และมรณะ เพราะฉะนั้น จึงเปนความสละคืนดวยการสละเสีย จิตแลนไปใน
นิพพานซึ่งเปนความดับแหงชราและมรณะ เพราะฉะนั้น จึงเปนความสละ
คืนดวยความแลนไป
ภิกษุสําเหนียกวา “เราพิจารณาเห็นความสละคืนในชราและมรณะ
หายใจเขา” สําเหนียกวา “เราพิจารณาเห็นความสละคืนในชราและมรณะ
หายใจออก” ธรรมทั้งหลายดวยอํานาจความเปนผูพิจารณาเห็นความสละ
คืนหายใจเขาหายใจออก ยอมปรากฏความปรากฏเปนสติ การพิจารณา
เห็นเปนญาณ ธรรมยอมปรากฏ ไมใชสติ สติปรากฏดวยเปนตัวระลึกดวย
ภิกษุพิจารณาเห็ น ธรรมเหล านั้ นด ว ยสติ นั้ น ดว ยญาณนั้ น เพราะเหตุ นั้ น
ทา นจึ ง กล าวว า “สติ ป ฏ ฐานภาวนา คื อ การพิ จ ารณาเห็ น ธรรมในธรรม
ทั้งหลาย๑๑
อธิบายวา อภินิเวส (การกําหนด) วุฏฐานะ (การสลัดออกไป) คือ

๑๑
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย (ประเสริฐ มนฺตเสวี ป.ธ.๘), รวบรวม
เรียบเรียง, อานาปานสติภาวนา ลําดับการบรรลุธรรมของพระพุทธเจา, , (กรุงเทพ:
หางหุนสวนจํากัด ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๕), หนา ๓๐๑-๓๐๒.
๗๒๓
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
๑. โยคีกําหนดภายในแลวออกจากภายใน ๑ กําหนดภายในแลว
ออกจากภายนอก ๑ กําหนดจากภายนอกแลวออกจากภายนอก๑ กําหนด
จากภายนอกแลวออกจากภายใน ๑
๒. โยคีกําหนดในรูป แลออกจากรูป ๑ กําหนดในรูป แลวออกจาก
อรูป ๑ กําหนดในอรูปแลวออกจากอรูป ๑ กําหนดในอรูปแลวออกจากรูป
๑ ออกจากขันธทั้ง ๕ พรอมกัน ๑
๓. โยคีกําหนดโดยความไมเที่ยง ออกจากความไมเที่ยง ๑ กําหนด
โดยความไมเที่ยง ออกจากความเปนทุกข จากความไมมีอัตตา ๑ กําหนด
โดยความเปนทุกข จากความไมเที่ยง จากความไมมีอัตตา ๑ กําหนดโดย
ความไมมีอัตตา ออกจากความไมมีอัตตา จากความไมเที่ยง จากความเปน
ทุกข ๑
ถาม กําหนดอยางไร? ออกอยางไร ?
ตอบ ๑. โยคี ทานที่ ๑ กํ าหนดอยู ใ นสั งขารภายในทั้ งหลาย แต
เริ่มแรกมาเลย ครั้นกําหนดแลว ก็เห็นสังขารภายในเหลานั้น แตเพราะเหตุที่
วุฏ ฐานะ (การออกไป) คือมรรค หามีโ ดยเพีย งแต การเห็ น สังขารภายใน
ลวนๆ เทานั้นไม ตองเห็นแมสังขารภายนอกดวยเหมือนกัน เพราะฉะนั้น
เขาจึงเห็นขันธทั้งหลายของผูอื่นบาง เห็นสังขารทั้งหลายที่เปนอนุปาทินนกะ
บาง วาเปนของไมเที่ยง เปนทุกข ไมมีอัตตา โยคีทานนั้นกําหนดรูภายใน
ตามกาลเวลา กํ าหนดรู ภ ายนอกตามกาลเวลา ในเวลากํา หนดรู ภ ายใน
วิปสสนาของโยคีทานนั้น ผูกําหนดรูอยูอยางนี้ ก็สืบตออยูกับมรรค โยคีทาน
นี้ชื่อวา กําหนดภายในแลวออกไปจากภายใน
แตถาวิปสสนาของโยคีทานนั้นสืบตออยูกับมรรคในเวลากําหนดรู
ภายนอก โยคีทานนี้ ชื่อวา กําหนดภายในแลวออกไปจากภายนอก แมใน
การกําหนดรูจากภายนอกแลวออกไปจากภายนอก และในการกําหนดรูจาก
ภายนอกแลวออกมาจากภายใน ก็มีนัยดังนี้๑๒

๑๒
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, แปลโดยสมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ
อาสภมหาเถร), พิมพครั้งที่ ๗, (กรุงเทพมหานคร, ๒๕๕๑), หนา ๑๑๑๒.
๗๒๔
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
๒. โยคีอีกทานหนึ่ง (ทานที่ ๒) กําหนดอยูในรูป แตแรกเริ่มมาเลย
ครั้นกําหนดแลวก็เห็นภูตรูปและอุปาทายรวมกองเดียวกัน แตเพระเหตุที่วุฏ
ฐานะ (การออกไป) หามีโดยเพียงแตการเห็นรูปลวนๆเทานั้นไม แมอรูปก็
ตองเห็นดวยเหมือนกัน เพราะฉะนั้นโยคีจึงทํารูปใหเปนอารมณ แลวเห็น
อรูป คือ เวทนา สัญญา สังขารและวิญญาณ ที่เกิดขึ้นวา “นี้ เปนอรูป” โยคี
ทานนั้น กําหนดรูรูปตามกาลเวลา กําหนดรูอรูปตามกาลเวลา เมื่อโยคีนั้น
กําหนดรูอยางนี้ วิปสสนาในการกําหนดรูรูป ก็สืบตอกับมรรค โยคีผูนี้ชื่อวา
กําหนดอยู ในรูปแลวออกไปจากรูป
แตถาวิปสสนาของโยคีนั้น สืบตออยูกับมรรคในเวลากําหนดรูอรูป
โยคีผูนี้ชื่อวา กําหนดอยูในรูปแลวออกไปจากอรูป
แมใ นการกํ าหนดอยู ในอรู ป แล ว ออกไปจากอรู ป ก็ดี และในการ
กําหนดอยูในอรูปแลว ออกไปจากรูปก็ดี ก็มีนัยดังนี้ แตในการกําหนดอยาง
นี้วา “ยงฺกิฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ- สิ่งใดสิ่งหนึ่ง มีความเกิดขึ้น
เปนธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมด มีความดับไปเปนธรรมดา ดังนี้ แลวออกไปโดย
อาการอยางนั้นเชนกัน โยคี(ทานนี้) ชื่อวา ออกไปจากขันธทั้ง ๕ พรอมกัน
๓. โยคีทานหนึ่ง (ทานที่ ๓) กําหนดรูสังขารทั้งหลายโดยความไม
เที่ยง มาแตแรกเริ่มเลย แตเพราะเหตุที่วุฏฐานะ หามีโดยเพียงแตกําหนดรู
โดยความไมเที่ยงเทานั้นไมตองกําหนดรูโดยความเปนทุกขบาง โดยความ
เปนอนัตตาบาง ดวยเหมือนกัน เพราะฉะนั้น โยคีจึงกําหนดรูโดยความเปน
ทุกขบาง โดยความเปนอนัตตาบาง เมื่อโยคีนั้นปฏิบัติแลวอยางนี้ วุฏฐานะก็
มีขึ้นในเวลากําหนดรูโดยความไมเที่ยง โยคีทานนี้ชื่อวากําหนดโดยความไม
เที่ยงแลวออกไปจากความไมเที่ยงแตถาวุฏฐานะมีแกโยคีนั้นในเวลากําหนด
รูโดยความเปนทุกข โดยความเปนอนัตตา โยคีทานนี้ชื่อวากําหนดโดยความ
ไมเที่ยงแลวออกไปจากทุกข จากอนัตตา
แมในการกําหนดโดยความเป น ทุกข โดยความเปน อนั ต ตา แล ว
ออกไปจากลักษณะที่เหลือนอกนี้ ก็มีนัยดังนี้๑๓

๑๓
เลมเดียวกัน, หนา ๑๑๑๓.
๗๒๕
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม

วิปสสนาญาณ ๑๖ ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔


การเจริญวิปสสนา ปริญญา
๗ ขั้นตอน
วิปสสนาญาณ ๑๖ ๓
อริยสัจ ๔
ขั้นที่ ๑ เห็นรูป-เห็นนาม ๑.นามรูปปริจเฉทญาณ ๑.ญาต ทุกข
๒.ปจจยปริคคหญาณ ปริญญา สมุทัย
ขั้นที่ ๒ พิจารณารูป-นาม
๓. ตน นิโรธ
สัมมสนญาณ ปลาย ๒.ตีรณ (จินตาญาณ)
ขั้นที่ ๓ เห็นความไมเที่ยง ตรุณ ปริญญา สมุทัย,
ของรูป-นาม ๔.อุทยัพพย-
พลว ตทังคนิโรธ
๕.ภังคญาณ

มรรคมีองค ๘
๖.ภยญาณ
ขั้ น ที่ ๔ เห็ น ความเป น
๗.อาทีนวญาณ
ทุกขของรูป-นาม
๘.นิพพิทาญาณ ๓.ปหาน แจงนิโรธ
ขั้ น ที่ ๕ เห็ น ความไม ใ ช ๙.มุญจิตุกัมยตาญาณ ปริญญา
ตัวตนของรูป-นาม ๑๐.ปฏิสังขาญาณ
ขั้ น ที่ ๖ วางเฉยต อ รู ป - ตน
๑๑.สังขารุเปก
นาม
ขาญาณ
ปลาย วุฏฐานคา
๑๒.อนุโลมญาณ มินี
๑๓.โคตรภูญาณ
ขั้นที่ ๗ สลัดคืนรูป-นาม
๑๔.มรรคญาณ อริยสัจ ๔
๑๕.ผลญาณ
๑๖.ปจจเวกขณญาณ

สภาวธรรมในขั้นนี้เปนสภาวธรรมที่สูงสุด เขาสูอริยมรรค อริยผล


โดยจะแบงสภาวธรรมออกเปน ๒ สวน คือ
๑) สวนที่หนึ่งเปนวุฏฐานคามินีวิปสสนา คือสังขารุเปกขาญาณ
ตอนปลาย อนุโลมญาณ และโครตรภูญาณ
๒) สวนที่สองเป นความสื บต อของญาณข างต น คือมรรคญาณ ผล
ญาณและปจจเวกขณญาณ มีรายละเอียดดังนี้

๗๒๖
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
ญาณที่ ๑๑ ทีเ่ ปนวุฏฐานคามินีวิปสสนา (สังขารุเปกขาญาณ)
สังขารุเปกขาญาณตอนปลาย เปนการวางเฉยตอรูปนามที่อยูในวิถี
ของการออกจากรู ป นาม หรื อ เรี ย กว า สิ ข าป ต ตวิ ป ส สนา คื อ ยอดแห ง
วิปสสนา โดยเปนฐานของการออก ๓ ฐาน๑๔ คือ
๑. อนิ จ จานุ ป ส สนา ญาณพน จากนิ มิต ว า เที่ ย ง ชื่ อว า อนิ มิต ตา
นุปสสนา หลุดพนดวยการเห็นเนื่องๆ วาไมมีนิมิต๑๕
๒. ทุกขานุปสสนา ญาณพนจากนิมิตวาสุข ชื่อวา อัปปณิหิตานุปสส
นา หลุดพนดวยการเห็นเนื่องๆ วาไมมีตัณหาเปนที่ตั้ง
๓. อนั ต ตานุ ป ส สนา ญาณพน จากนิ มิต ว าอัต ตา ชื่ อว า สุ ญญตา
นุปสสนาหลุดพนดวยการเห็นเนื่องๆ โดยความวางเปลาจากอัตตา
๑) ละความกลั อนวเอาว
ละความยิ นดี วางเฉยในรู ป-นามวตน
เมื๒)
อ่ ผูปไม
๓) ไมฏิยหบึดวนไปยิ
ัตเอาถื
ิพิจารณาซ้ าําแล
ดีในภพ รูปว๓-นามเป ก ก็ดนจเรา
ซ้กํําอีาเนิ คติของเรา
๕ วิญตัญาณฐิ
๔ะปรากฏผล ดังนี้ ติ ๗ สัตตา
วาส ๙ อีกตอไป
๔)
๕) เมื ่อมีสติที่มปีกํารส
วางเฉยในรู ลังแก กลา กิเงลสครอบงํ
เปนตน าไมได
๖)
๗) ไม ใสสั่งใสมทุ
จอารมณ บัญกลิญั่นติ เสีดยรากถอนโคนทุ
๘) สภาวะของสังขารุเปกขาญาณยิ่งนานก็กยขิ่งอละเอี
ไม ก ข พยายามตั ยางเต็ยมดทีประณี
่ ต
๑๖
ยิ่งๆ ขึ้นไป และนอมไปอยูดวยอนุปสสนา ๓ จนกวาจะเขาถึงวิโมกขมุข ๓
ก. สภาพธรรมที่ปรากฏ : เดินจงกรม
ขณะเดินจงกรม ไมรูสึกวาเปนเทา รูสึกแตอาการที่คลื่นๆ ไป
บางครั้ งไม รู สึ กอะไรเลย เหมือ นกับ ว าเทา ขาด เทาหายไป ก็ใ ห
สังเกตตามที่จิตพอจะรูสึกได กําหนดไปตามสภาพธรรมที่พอจะรูสึกไดของ
จิตวา "รูหนอๆๆๆๆ" จนกวาสภาวอาการตางๆ จะกลับมาเปนปกติ
ข. สภาพธรรมที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ
พองยุบแผวเบา อาการพอง-ยุบละเอียดประณีตเห็นไดชัดเจนตั้งแต
เริ่มตนจนกระทั่งสิ้นสุดการกําหนดรูเปนกลางไมมีดีหรือไมดี การกําหนดรูจุด
๑๔
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๑๙/๓๖๕.
๑๕
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๑๙/๓๖๖.
๑๖
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๑๙/๓๖๕.
๗๒๗
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
๕, ๑๐, จะนอยลงการกําหนดรูจุด ๓, ๕, ๑๐, จุด สุดทายจะเหลือเพียง ๔
จุด คือ พอง-ยุบ นั่ง-ถูก ,
การกําหนดพอง-ยุบมีอาการตอเนื่องกันไป ไมตองทําความพยายาม
ในการกําหนดรูสภาวะ กําหนดไดเองเปนธรรมชาติเหมือนไมไดกําหนดอะไร
การกําหนดรูพอง-ยุบ-นั่ง-ถูก บางทีหายไป ตองกําหนดรูอาการที่
หายไปดวย พอลงนั่งกําหนดรูพองหนอ-ยุบหนอ-นั่งหนอ-ถูกหนอ (ทั้งยาย
ถูก และจี้ จุ ด สั ก ๒-๓ เที่ ย วจะรู สึ กตั ว หายเป น ไอน้ํ า หรื อกลุ มควั น บางๆ
สลายหายไปในอากาศ
อาการพองโตมากและอาการยุบก็แฟบมากๆ อาการพองขึ้นเรื่อยๆ
ไมยุบใหกําหนดรูพองตามไปและอาการยุบลงๆ (ไมพองก็ใหกําหนดตามไป
วายุบๆ บางทีก็ไมพอง-ไมยุบ แตมีอาการตึงอยูใหกําหนดวา ตึงหนอ หรือรู
หนอไป เมื่อทองไมพอง-ไมยุบจะปรากฏคลายวาเราไมไดหายใจและเย็นตาม
รูขุมขนทั่ว บริ เ วณแขน ขาและทั่ว ร างกายคล ายหายใจทางรู ขุมขน (เป น
ลักษณะของลมละเอียดปรากฏ)เปนอาการของผรณาปติผสมเขามา
บางครั้งอาการพอง-ยุบมีอาการรวดเร็วมากใหกําหนดวา รูหนอไว
เปนหลัก
ไมเห็นสิ่งที่ควรถือวาเปนเราของเรา ละความกลัวและความพอใจได
แลว เปนผูวางเฉยมีใจเปนกลางในสังขารทั้งปวง กําหนดพิจารณาอารมณ
เห็นความไมเที่ยง ในอาการพอง-ยุบ หมายความวา ขันธ ๕ มีความเกิดขึ้น
และความเสื่ อมไป ความที่มีแล วกลั บ ไมมีของขัน ธ ๕ ความไมตั้ งอยู ต าม
อาการนั้น ๆ สลายดั บไปทุกขณะ ในคัมภี รปฏิสัมภิทามรรค พระสารีบุต ร
อธิบายวิธีเจริญวิปสสนาวา
ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมเหลานั้นอยางไร คือพิจารณาเห็นโดยความ
ไมเที่ยง ไมพิจารณาเห็นโดยความเที่ยง พิจารณาเห็นโดยความเปนทุกข ไม
พิจารณาเห็นโดยความสุข พิจารณาเห็นโดยความเปนอนัตตา ไมพิจารณา
เห็ น โดยความเป น อั ต ตา ย อ มเบื่ อ หน า ย ไม ยิ น ดี ย อ มคลายกํ า หนั ด ไม
กําหนัดยอมทําราคะใหดับ ไมใหเกิด ยอมสละคืน ไมยึดถือ เมื่อพิจารณา
เห็นโดยความไมเที่ยง ยอมละนิจจสัญญาได เมื่อพิจารณาเห็นโดยความเปน
๗๒๘
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
ทุก ข ย อ มละสุ ข สั ญ ญาได เมื่อ พิ จ ารณาเห็ น โดยความเป น อนั ต ตา ย อ ม
ละอัตตสัญญาได เมื่อเบื่อหนายยอมละกําหนัดได เมื่อคลายกําหนัดยอมละ
ราคะได เมื่อทําราคะใหดับยอมละสมุทัย เมื่อสละคืนยอมละความยึดถือได
ค. สภาพธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
ขณะฉัน เลือกกําหนดตามอาการความตองการของรางกาย จิตเปน
อุเบกขา ไมยินดี ใจเฉยๆ อยูกับรูปกับนาม คืออยูกับปจจุบันขณะของการ
กําหนดในทุกๆ อาการ
สมาธิดี ใจสงบแนวแนไปไดนานๆ เห็นการกลืนเปนอาการธาตุ
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการเวทนา
๑. เวทนาไมรบกวน กําหนดไดดี ใจสงบยิ่งนัก ไดรับความอัศจรรย
อยางยิ่งในอนุสาสนีแหงองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาที่ตนเคยเชื่อบาง
ไมเชื่อบาง เห็นเหตุใหแนใจดวยตนเองวาคําสอนของพระองควิเศษแท
๒. บางครั้ ง มีอาการชาๆ มากไปตามส ว นต างๆ ของร างกายให
กําหนดรูตามอาการไปเรื่อยๆ
๓. จิ ต จะเป น กลางในเวทนาที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง ทางกายและใจ
ทุกขเวทนามีอยูนอย สุขเวทนามีอยูนอย การปฏิบัติเปนปกติเฉยอยู
๔. มีอาการขนลุกไปทั้งตัว กําลังสมาธิมีมากขึ้น มีอาการขนลุก
แลวนิ่งเปนเวลานาน
๕. มีอาการของสมาธิปรากฏชัด เชน อาการโยกไปขางหนาโยกไป
ขางหลังใหกําหนดรูตามอาการไป หรือกําหนดรูหนอก็ได สําคัญอยากังวล
หรือยินดียินรายกับอาการวางใจใหเปนกลางก็พอ
๖. รู สึ กว าอัต ภาพร างกายของตนสลายไปจนหมดสิ้ น ไมมี อะไร
เหลืออยู ใหกําหนดวา หายหนอ หรือรูหนอก็พอ
๗. มีอาการสะทานขึ้นลงในขณะนั่งกําหนดอยู มีอาการเคลื่อนไหว
ไปมาของมือแขนและเทาเหมือนเปนไปเองโดยไมไดทําอะไรเพียงแตรูดูอยู
เฉยๆ ก็ พ อ ถ า เกิ ด ขึ้ น ใหม จ ะรู สึ ก แปลกใจอยู บ า ง จะเข า ใจมากขึ้ น เมื่ อ
วิปสสนาญาณแกกลามากขึ้น
๗๒๙
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
๘. อาการยุบลงเร็วและถี่มาก จนกําหนดอาการพอง – ยุบไมไดก็
รูสึกวาพื้นทองเคลื่อนไหวหมุนวนไปดานขวาบางซายบาง หรือตามสวนตางๆ
ของรางกาย เชน ใบหนา หน าอก หรือหั วไหล และหลั งเมื่อกําหนดรู ก็จ ะ
หายไปแลวกลับปรากฏขึ้นมาใหมอีก
๙. ไมตองจดจ อในการกําหนดรู เ ห็น ความดับ หรือไมเที่ยง เป น
ทุกข ไมใชตัวตน
๑๐. กําหนดไดเองตามธรรมชาติ
๑๑. โดยไมมีตัวตนของผูกําหนดรู
๑๒.กําหนดเห็นความดับ ไมเที่ยงไดทุกขณะ
๑๓.มีขอความวา สงฺขาราว สงฺขาเร วิปสฺสนฺติ๑๗. สังขารนั้นแหละ
เห็นประจักษสังขาร”
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อาการจิต
จิตรูชัดเจนสภาพธรรมในอาการที่แผวเบา จิตรูอาการอยางละเอียด
ประณีต เห็นไดชัดเจนตั้งแตเริ่มตน จนกระทั่งสิ้นสุด
จิตรูสภาวะตางๆ ไดอยางสะดวกสบาย ไมตองขะมักเขมนในการ
กําหนด
๑. จิตใจไมแลบออกไปหาอารมณ แนวแนอยูกับอารมณ
๒. จิ ต ไม ห วนกลั บ ไม ว ก ไม เ วี ย น ไม น อ มไปในภพในภู มิ ค ง
เหลืออยูแตความวางเฉย
๓. ละความหวาดหวั่น ละความยินดี วางเฉยในการพิจารณารูป
นาม ยอมตั้งอยูในอนุปสสนา ๓ อยางคือ อนิจจานุปสสนา ทุกขานุปสสนา
และอนัตตานุปสสนา
๔. สมาธิดีสงบแนวแนไปไดนานๆ ดุจรถยนตวิ่งบนถนนลาดยางดี
๕. ยิ่งนานยิ่งละเอียด ยิ่งประณีตดุจคนรอนแปง
๖. ไมฟุงซาน ไมรํ าคาญใจ ไมมีอะไรมารบกวนก็ไมกังวล อุปมา
เหมือนบางทีดึงยืดออกไป พอวางก็หดเขามาฉะนั้น
๑๗
วิสุทธิ. (บาลี) ๒/๒๙๗.
๗๓๐
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
๗. ไมรูเห็นความกลัวในรูปนาม เห็นรูปนามวาไมเปนโทษ ไมเบื่อ
หนายในรูปนาม ไมมีความตองการพนไปจากรูปนาม ไมยินดีในรูปนาม จิต
ผองใสหมดจด มีความสุขที่ไมเคยสุขมากอน ปราศจากความติดใจในสุข
๘. การกําหนดรูสงบประณีตเปนระยะเวลานาน ไมตองจดจอมาก
ในขณะกําหนด สติสัมปชัญญะเทาทันไมขาดชวง
๙. จิ ต บางท า นพอใจแค นี้ จิ ต ไม ฟุ ง ซ า น จิ ต ส ง ออกรั บ อารมณ
ภายนอกนอย ตองพูดธรรมใหฟงมากๆ ใหทําไปเรื่อยๆ จะดีเอง
๑๐. การกําหนดรูเปนไปอยางรวดเร็ว เหมือนสติไมทัน เหมือนหลับ
ไป เหมือนมีอาการหลุดออกไปจากรางกายก็มี
๑๑. การกํ า หนดกั บ การรู ก็ ห ายไปหมด เมื่ อ ถึ ง ตรงนี้ ใ ห พั ก การ
ปฏิบัติ ๓ วัน หรือ ๗ วัน จากนั้นใหปฏิบัติตอ
๑๒. อาการอยากไดอยากเปนจะดับไปในญาณนี้
๑๓. นิมิต และแสงสี ที่ป รากฏ มีลั กษณะดังนี้ คือ มีกลุ มเมฆหรื อ
ควันปรากฏเปนสีมืด เชน สีนวล สีเทา มวงแก ครามแก น้ําตาลไหม เห็น
แลวเกิดความเย็นใจ กลุมเมฆหรือควันปรากฏเคลื่อนไหวชาๆ หรือหยุดนิ่ง
เฉยเปนครั้งคราว (อุเบกขา) เกิดอาการชา เย็น ซาบซาน สบายตามศีรษะ
ใบหนา แขน ขา เทา และสวนตางๆ ของรางกาย (ปติ) รูสึกนั่งสมาธิแนน
กระชับเขามา (สมาธิ) รูสึกวามีอาการหนักตึง (ปสสัทธิ) รูสึกคลายกับงวง
แตไมใชถีนมิทธะ กําหนดไดไมเบื่อ (วิริยะ)
๑๔. ไมสามารถจะกําหนดไดอยางกระฉับกระเฉงกวาจะกําหนดได
แตละอารมณก็ตองขะมักเขมนอยูนาน
ผูที่บรรลุสังขารุเปกขาญาณแลวยอมไมรูเห็นความกลัวโทษ ความ
เบื่อหนาย ความตองการจะพนออกไป หรือความรูสึกวาไมนายินดี เหมือน
ในวิ ป ส สนาญาณก อ น แต จ ะพบว า จิ ต ของตนผ อ งใสหมดจดและได รั บ
ความสุขที่ไมเคยรูสึกมากอน และปราศจากความติดใจในสุขเหมือนในขณะ
เริ่ มเกิด อุทยั พพยญาณ มีเ พีย งสติ ที่กําหนดรู อัน สงบประณีตเกิดขึ้น อย าง
ตอเนื่องเปนเวลานาน และในขณะนั้นไมจําเปนตองจดจอมากนักก็สามารถ
เจริญสติรูเทาทันไดไมขาดชวง
๗๓๑
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : ธรรม
โรคภัยไขเจ็บตางๆ ก็หาย จะหายไปไดโดยเด็ดขาดบาง เชน โรค
อัมพาต โรคประสาท โรคหืด โรคกระเพาะ ความดันโลหิต ลมบาหมู เปนตน
จุดมุงหมายของการปฏิบัติวิปสสนาไมไดมุงรักษาโรคอยางนี้ มุงรักษาโรค
ภายในคือกิเลสและโรคภายนอกก็เปนผลพลอยได
๑. การกําหนดคลายความขะมักเขมน คลายความตึงเครียดไปบาง
๒. สามารถกําหนดอารมณไดสม่ําเสมอ
๓. ความเพียรไมลดถอยลง
๔. ไมตองจดจอในการกําหนดรูอาการพอง-ยุบ เห็นความดับหรือ
ความไมเที่ยง เปนทุกขและอนัตตา
เมื่อผูปฏิบัติพิจารณาซ้ําแลวซ้ําอีก ก็จะปรากฏผล ดังนี้
๑) ละความกลัว ละความยินดี วางเฉยในรูป-นาม
๒) ไมยึดเอาถือเอาวา รูป-นามเปนเรา ของเรา ตัวตน
๓) ไมหวนไปยินดีในภพ ๓ กําเนิด ๔ คติ ๕ วิญญาณฐิติ ๗ สัตตา
วาส ๙ อีกตอไป
๔) เมื่อมีสติที่มีกําลังแกกลา กิเลสครอบงําไมได
๕) วางเฉยในรูป รส กลิ่น เสียง เปนตน
๖) ไมใสใจอารมณบัญญัติ
๗) ไมสั่งสมทุกข พยายามตัดรากถอนโคนทุกขอยางเต็มที่
๘) สภาวะของสังขารุเปกขาญาณยิ่งนานก็ยิ่งละเอียด ประณีตยิ่งๆ
ขึ้นไป และนอมไปอยูดวยอนุปสสนา ๓ จนกวาจะเขาถึงวิโมกขมุข ๓
๑.ไมยินดียินรายกําหนดรูรูปนามไดงายที่สุดไมมีอุปสรรคปญหาใน
การกําหนดรู ดูความเกิดดับเฉยๆ
๒. ไม ดี ใ จ ไม เ สี ย ใจ มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะอยู ไม เ ผลอจากรู ป นามที่
กําหนดรูตามเปนจริง
๓. วางเฉยอยูกับรูปนาม ทั้งจํางาย กําหนดสะดวกสบายดี ผูปฏิบัติ
ไมถึงจะทราบไมได จะอนุมานเอาเองก็ไมได

๗๓๒
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
พิจารณาสภาพธรรมของโพชฌงค ๗ ดังนี้
๑) สติสัมโพชฌงค กําหนดรูอาการพอง-อาการยุบครั้งหนึ่งๆ เกิด
สติ รู พอง-ยุ บได ชัด ไมชั ด ชาหรือเร็ วเป น ตน เบื้ องแรก สติ ยั งไมอาจรั บ รู
สภาวธรรมไดทันปจจุบัน ผูปฏิบัติบางทานมักใสใจตอคําบริกรรมวา “พอง
หนอ-ยุบหนอ” โดยไมรูถึงสภาวะตึง-หยอนของทองอยางชัดเจน ทําใหไม
ประสบความกาวหนาในการปฏิบัติ อันที่จริงคําบริกรรมเปนเพียงเครื่องชวย
ในการปฏิบัติ เหมือนหวงยางที่ชวยในการวายน้ํา พยุงตัวใหลอยน้ํา ฉะนั้น
ในขณะบริกรรมอยูไมควรใสใจคําบริกรรม แตใหพึงนอมจิตจดตอสภาวธรรม
ทางกายและใจเทานั้น จิตของเขายอมรับรูเทาทันสภาวธรรมปจจุบันได ไม
วาทางทวารใดในทวารทั้ง ๖ หรือแมจะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วเพียงใดก็ตาม
จัด เป นสติ สัมโพชฌงค เกิด ขึ้น ตั้งแตวิ ปส สนาญาณที่ ๔ (อุทยั พพยญาณ)
เปนตนไปเพราะเปนปญญาญาณที่หยั่งเห็นอาการเกิด-ดับไดแลว๑๘
๒) ธัมมวิจยสัมโพชฌงค ในการกําหนดพอง-ยุบแตละครั้ง เห็นรูป
คือเห็นอาการตึง-หยอนของโผฏฐัพพารมณบริเวณทอง เห็นนาม คือเห็นจิต
ที่เขาไปรูอาการของรูปนั้นๆ เกิดเปนสัมมาทิฏฐิ เกิดทิฏฐิวิสุทธิบริบูรณ เห็น
อริยสัจ ๔ คือเห็นอาการเกิด-ดับของรูป-นาม ที่เปนทุกขสภาวะ
๓) วิริยสัมโพชฌงค ผูปฏิบัติเพียรจดจออยางแรงกลา ตามสภาวะ
ปจจุบั นที่ป รากฏ พยายามตั้ งใจกําหนดพอง-ยุ บอย างจดจอ มีความใสใจ
กําหนดสภาวะตางๆ อยางถี่ถวน จนเห็นอาการเกิดดับของรูป-นามที่ปรากฏ
ไดชัดแจงขึ้น ตามลําดับ
๔) ปติสัมโพชฌงค ผูปฏิบัติมีสติจดจอในอาการพอง-ยุบ รูเทาทัน
ความเกิดดับของรูปและนามที่ปรากฏในการกําหนดนั้น เมื่อโยนิโสมนสิการ
อยูเชนนี้ ปราโมทยยอมเกิด เมื่อมีปราโมทย ปติยอมเกิดขึ้น
๕) ปสสัทธิสัมโพชฌงค ผูที่กําหนดรูพอง-ยุบ จนเห็นไตรลักษณยอม
เกิดปญญารูแจง เมื่อรูแจงยอมเกิดปราโมทย เมื่อมีปราโมทย ปติยอมเกิด
เมื่อใจมีปติ กายยอมสงบ ผูมีกายสงบยอมเสวยสุข

๑๘
ดูรายละเอียดใน ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๕/๓๒๒.
๗๓๓
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
๖) สมาธิสั มโพชฌงค ผูที่กําหนดรูพอง-ยุบ จนมีกายสงบ ผู มีกาย
สงบ ยอมเสวยสุข เมื่อใจมีความสุข จิตยอมเปนสมาธิ
๗) อุ เ บกขาสั ม โพชฌงค ผู มี จิ ต ตั้ ง มั่น เป น สมาธิ ย อ มพิจ ารณา๑๙
สภาพธรรมที่ปรากฏดวยจิตที่เปนกลาง๒๐ ตามความเปนจริงวา สภาพธรรม
ที่ปรากฏเปนเพียงรูป-นาม ที่เกิดดับตามเหตุปจจัยเทานั้น ไมใชสัตว บุคคล
ตัวตน เรา เขา ยอมเกิดปญญารูแจงธรรม โดยมีมรรคมีองค ๘ เปนเหตุ๒๑
ปริญญา ๓ เขาในสังขารุเปกขาญาณ(ชวงปลาย) ดังนี้
๑) ญาตปริญญา กําหนดสังขารดวยความวางเฉย (๑๐๐%)
๒) ตีรณปริญญา การพิจารณาสังขารที่อยูในไตรลักษณดวยการเพงดู
อยู (๑๐๐%)
๓) ปหานปริญญา กําหนดรูจนละความเขาใจผิด (วิปลาสธรรม) ในรูป
นาม (สังขารธรรม) ได ๑๐๐%๒๒
เปนการวางเฉยตอรูปนามที่อยูในวิถีของการออกจากรูปนาม หรือ
เรียกวา สิขาปตตวิปสสนา คือยอดแหงวิปสสนา โดยเปนฐานของการออก ๓
ฐาน๒๓ คือ
อนิจจานุปสสนา ญาณพนจากนิมิตวาเที่ยง ชื่อวา อนิมิตตานุปสส
นา หลุดพนดวยการเห็นเนื่องๆ วาไมมีนิมิต๒๔
ทุกขานุปสสนา ญาณพนจากนิมิตวาสุข ชื่อวา อัปปณิหิตานุปสสนา
หลุดพนดวยการเห็นเนืองๆ วาไมมีตัณหาเปนที่ตั้ง

๑๙
ดูใน ที.สี.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๑๗๗., ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๑๙๔.
๒๐
สังขารุเปกขาญาณ ญาณอันเปนไปโดยความเปนกลางตอสังขาร (องฺ.
จตุกฺก.อ. (บาลี) ๒/๑๖๒/๓๘๗, องฺ.จตุกฺก.ฏีกา. (บาลี) ๒/๑๖๒/๔๒๕)
๒๑
ดูใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๗๔/๑๒๕., องฺ.เอก. อ. (ไทย) ๑/๑/-/๒๐๒.
๒๒
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ., เอกสารประกอบการสอน รายวิชาสัมมนา
วิปสสนา, บัณฑิตวิทยาลัย, ๒๕๕๕, หนา ๒๙๓.
๒๓
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๑๙/๓๖๕.
๒๔
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๑๙/๓๖๖.
๗๓๔
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
อนัตตานุปสสนา ญาณพนจากนิมิตวาอัตตา ชื่อวา สุญญตานุปสส
นาหลุดพนดวยการเห็นเนืองๆ โดยความวางเปลาจากอัตตา
อัตราการการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๐-๑ (นิวรณ)
๙ (ขันธ ๕)
๐-๑ (ทุกขเวทนา) ๑๔ (จิตกุศล)
กลาง ๕ ๑๐ (อายตนะ) ๕
๑๑.สังขา ๔ (อุเบกขา) ๐-๑ (จิตอกุศล)
๓๐ (โพชฌงค)
รุเปกขา
๒๐ (อริยสัจ)
ญาณ
๕ (ขันธ ๕)
๕ (จิตกุศล) ๑๐ (อายตนะ)
ปลาย ๒ ๕ (อุเบกขา) ๓
๔๐ (โพชฌงค)
๓๐ (อริยสัจ)
๑. กายานุปสสนา ๒ % (จากเดิม ๕ % ) เพิ่มสติจดจอพอง-ยุบ
มากขึ้น แตกลับหายไปอยางฉับพลันทันที นานๆ จึงจะปรากฏสักครั้ง เมื่อ
เพงจองดูจุดสัมผัส นั่ง-ถูกตามรางกายก็กลับหายไปทีละจุดๆ จนหายเกลี้ยง
กายวางจากภาวะแหงรูปธรรมอยางชัดเจน
๒. เวทนานุปสสนา ๕ % (อุเบกขา ๕ % [จากเดิม ๔ %]) เวทนา
ทางกายปรากฏสภาพเปนอุเบกขามากขึ้น
๓. จิตตานุปสสนา ๕ % (กุศลจิต ๕ % [จากเดิม ๑๔ %],) จิตที่มี
ฌาน (มหัคคตจิต) เปลี่ยนสภาพเปนสัมโพชฌงค ๗ มากขึ้นเรื่อยๆ
๔. ธัมมานุปสสนา ๘๕% ( ขันธ ๕ % [จากเดิม ๙ %] เพราะ
สังขารขันธเปลี่ยนสภาพเปนสัมโพชฌงคมากขึ้น, อายตนะ ๑๐ %[เทาเดิม],
โพชฌงค ๔๐ % [จากเดิม ๓๐%], อริยสัจ ๓๐ [จากเดิม ๒๐ %], กาย
เปลี่ยนเปนสภาพธรรมเปนรูปขันธและอายตนะมากขึ้น เมื่อจิตผองใสเปน
กุศลจิตก็เกิดสภาพธรรมที่เปนโพชฌงคและอริยสัจ ๔ ตามไปดวย

๗๓๕
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
เพงความสนใจไปที่วิถีจิตที่บริกรรมภาวนาเพียง ๓ % และใสใจ
พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม เพิ่มขึ้น ๙๗ % แตเนนไปที่การพิจาณสภาพ
ธรรมตามกระบวนกาอริยสัจ ๔ มากขึ้นเรื่อยๆ
ความสมดุลของอินทรีย ๕
อินทรีย ๕ ในญาณที่ ๑๑ นี้ มีระดับสูงขึ้นเต็มทุกๆ องคธรรม ดังนี้
สัทธินทรีย ๑๐๐ %
วิริยินทรีย ๑๐๐ %
สตินทรีย ๑๐๐ %
สมาธินทรีย ๑๐๐ %
ปญญินทรีย ๑๐๐ %

๗๓๖
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
ญาณที่ ๑๒ อนุโลมญาณ
ญาณที่เปนไปโดยอนุโลมแกการหยั่งรูอริยสัจ ๔ คือ เมื่อวางใจเปน
กลางตอสังขารทั้งหลายแลวโนมนอมแลนมุงตรงสูนิพพาน เมื่อผูปฏิบัติจะ
พิจารณารูปนามวาเปนไตรลักษณ ตั้งแตอุทยัพพยญาณ (ญาณที่ ๔) ถึงสังขา
รุเปกขาญาณ เหมือนพระมหากษัตริยทรงสดับการวินิจฉัยคดีของตุลาการ ๘
ทานแลว มีพระราชวินิจฉัยอนุโลมตามคําวินิจฉัยของตุลาการทั้ง ๘ ทานนั้น
ดังนั้ น สั จจานุ โ ลมิกญาณ จึงตรงกับขัน ติ ญาณ (ญาณที่ ๔๑) ใน
คัมภีร ปฏิสั มภิทามรรคดังที่ทานพระสารี บุตรนําธรรม ๒๐๑ ประการ มา
จําแนกเปนขันติญาณ เชนรูปที่รูชัดโดยความไมเที่ยงรูปที่รูชัดโดยความเปน
ทุกข รูปที่รูชัดโดยความเปนอนัตตา รูปใดๆที่พระโยคีรูชัดแลว รูปนั้นโยคี
ยอมพอใจ เพราะฉะนั้นปญญาที่รูชัด จึงชื่อวาขันติญาณ
ผูปฏิบัติจะพิจารณารูปนามวาเปนไตรลักษณ ตั้งแตอุทยัพพยญาณ
(ญาณที่ ๔) ถึง สั งขารุ เ ปกขาญาณ (ญาณที่ ๔๑) ดั งที่ทา นพระสารี บุ ต ร
อธิบายไวในขันติญาณ เชน รูปที่รูชัดโดยความไมเที่ยง รูปที่รูชัดโดยความ
เปนทุกข รูปที่รูชัดโดยความเปนอนัตตา รูปใด ๆ ที่พระโยคีรูชัดแลว รูปนั้น
โยคียอมพอใจ เพราะฉะนั้นปญญาที่รูชัดจึงชื่อวา ขันติญาณ๒๕
อนุโลมญาณนี้อนุโลมแกวิปสสนาญาณทั้ง ๘ ในสวนเบื้องตน และ
อนุโลมแกโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ในสวนเบื้องปลาย เปนญาณสุดทายของวุฏ
ฐานคามิ นี วิ ป ส สนาซึ่ ง มี สั ง ขารเป น อารมณ แต ท ว า โคตรภู ญ าณ เป น
ปริโยสาน (ปริโยสาน) ของ วุฏฐานคามินีวิปสสนาทั้งหมด โดยประการทั้ง
ปวง๒๖ หากอนุโลมญาณไมเกิดขึ้น โคตรภูญาณก็ไมอาจจะหนวงเอานิพพาน
เป น อารมณ ได เมื่อ โคตรภู ญ าณไม เ กิด ขึ้ น มรรคญาณก็ เ กิด ขึ้ น ไม ไ ด ๒๗ ก็
เพราะอนุ โ ลมแก ม รรคสั จ ๒๘ อย า งนี้ จึ ง ได ชื่ อ ว า “สั จ จานุ โ ลมิ ก ญาณ”

๒๕
ขุ.ปฏิ. (ไทย) ๓๑/๙๒/๑๕๓.
๒๖
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค,๒๕๕๑, หนา ๑๑๒๘.
๒๗
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ ฏีกา (บาลี) ๒/๘๐๔/๕๓๑.
๒๘
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๘๐๔-๘๐๕/๓๔๙-๓๕๑.
๗๓๗
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
อนุโลมญาณนี้เปนญาณสุดทายแหงวุฏฐานคามินิวิปสสนาอันมีสังขารเปน
อารมณ แตตามความเปนจริงแลวโคตรภูญาณเปนที่สุดแหงวุฏฐานคามินีวิป
สสนา๒๙ เพราะยังอยูในกระแสของวิปสสนา อนุโลมญาณมีหลายชื่อ เชน
ในสฬายตนวิภังคสูตร๓๐ ตรัสเรียกวา “อตัมมยตา”๓๑ เปนตน๓๒
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ) อธิบายสภาวะลักษณะ
ที่สําคัญ ดังนี้
อนุโลมิกะ แปลวา เปนไปตามลําดับ ๒ ประการ คือ อนุโลมตาม
ญาณต่ํ า ไปหาญาณสู ง อย า งหนึ่ ง และอนุ โ ลมตามโพธิ ป ก ขิ ย ธรรม ๓๗
ประการหนึ่ง
(๑) อนุโลมตามญาณต่ําไปหาญาณสูง เริ่มตัง้ แตอุทัพพยญาณ ภังคา
ญาณ ภยญาณ เป น ต น จนกระทั่งถึ งสั ง ขารุ เ ปกขาญาณ รวมทั้งหมด ๘
ญาณดวยกันเรียกวาอนุโลมตามญาณตน และมีกิจพิจารณาพระไตรลักษณ
เปนอารมณ เหมือนกันกับญาณ ๘ ขางตน
(๒) อนุโลมตามโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ เมื่ออนุโลมตามญาณ
ต่ําไดกําลังพอ คือ อินทรีย ๕ แกกลาแลว ก็เขาเขตอนุโลมตามโพธิปกขิย
ธรรม ๓๗ ประการมี สติปฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย ๕
พละ ๕ โพชฌงค ๗ และอริยมรรคมีองค ๘
อนุโลมญาณ มีลักษณะที่จะพึงรูอยู ๓ ประการ คือ
๑. อนิจจัง ผูที่เคยใหทาน รักษาศีลมาก จะผานทางอนิจจัง โดยมี
อาการพอง-ยุบเร็วเขาๆ แลวก็ดับวูบลงไป ผูนั้นก็ทราบวา ดับลงไปตอนพอง

๒๙
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๓๐๔-๓๑๒/๒๗๘-๒๘๖, ม.อุ.(ไทย)๑๔/
๓๐๔-๓๑๒/๓๖๘-๓๘๐.
๓๐
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๓๐๔-๓๑๒/๒๗๘-๒๘๖, ม.อุ.(ไทย)๑๔/
๓๐๔-๓๑๒/๓๖๘-๓๘๐
๓๑
อตัมมยตา แปลวา ความไมมีตัณหา ในที่นี้หมายถึงวิปสสนาเปนเครื่องนํา
สัตวออกจากความยึดมั่น คือ ตัณหานั้น (ดูใน ม.อุ.อ. (บาลี) ๓/๓๑๐/๑๙๔).
๓๒
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๘๐๔-๘๐๕/๓๔๙-๓๕๒.
๗๓๘
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
หรือตอนยุบตอนนั่งหรือตอนถูก อาการที่พอง-ยุบเร็วๆ นั้น เปนอนิจจัง การ
ที่ทราบอยางแจมแจงวาดับลงไปตอนไหนนั้นเปนอนุโลมญาณ แตมิใชนึกเดา
หรือคาดคะเนเอาเอง ตองรูจริงเห็นจริง ในขณะปจจุบันเทานั้น
๒. ทุกขัง ผูที่เคยไดเจริญสมถกรรมฐานกอนจะผานทางทุกขัง คือ
เวลากําหนดพองยุบ หรือนั่ง-ถูกนั้น จะรูสึกวาแนนอึดอัด เมื่อกําหนดไปๆ ก็
จะดับวูบลงไปตอนพอง-ยุบ หรือตอนนั่ง-ถูกอาการ แนนอึดอัดฝดๆไมสบาย
นั้น เปนทุกขัง การที่ทราบชัดวา ดับลงไปตอนพองหรือตอนยุบ ตอนนั่งหรือ
ตอนถูกนั้น เปนอนุโลมญาณ
๓. อนัตตา ผูที่ไดเคยเจริญวิปสสนามากอน หรือไดสนใจใครตอวิป
สสนามาแตชาติกอนๆ จะผานทางอนัตตา คือพอง-ยุบมีอาการสม่ําเสมอบาง
มีอาการแผวเบาบาง แลวก็ดับวูบลงไป ผูปฏิบัติก็ทราบชัดเจนวา ดับลงไป
ตอนไหน ตอนพองหรือตอนยุบ ตอนนั่งหรือตอนถูก อาการที่ทองพอง-ยุบ
ปรากฏสม่ําเสมอหรือแผวเบานั้นเปนอนัตตา การที่ผูปฏิบัติสามารถทราบได
ชัดเจนวา ดับลงไปตอนไหนแน คือดับลงไปตอนพองหรือตอนยุบ ตอนนั่ง
หรือตอนถูกนั้นเปน อนุโลมญาณ
เมื่อไมมีเหตุขัดของประการใดประการหนึ่งตามที่กลาวมาแลว ในไม
ชาโยคีผูปฏิบัติก็บรรลุถึงจุดมุงหมายปลายทางอันยิ่งใหญ นั่นก็คือการกาวสู
ความดับ อันความดับนี้ วิปสสนาจารยพึงเขาใจใหดี เพราะเปนจุดสําคัญ
ที่สุด เปนจุดสุดยอดของการปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน ถารูเทาไมถึงการณ
ขาดความรอบครอบแลวก็จะทําใหผิดพลาด ซึ่งเปนอันตรายอยางมากของ
การปฏิบัติวิปสสนา เพราะความดับไมแทนั้น อาจเกิดขึ้นไดโดยเหตุหลาย
ประการ คื อ ๑) ดั บ ด ว ยป ติ ๒) ดั บ ด ว ยป ส สั ท ธิ ๓) ดั บ ด ว ยสมาธิ
๔) ดับดวยถีนมิทธะ ๕) ดับดวยอุเปกขา
ทั้ง ๕ ประการนี้เปนความดับเทียม ใชไมได เปนการลอใหหลงเขาใจ
ผิด สวนมากเกิดขึ้นในอุทยัพพยญาณออน ๑ ในมุญจิตุกัมยตาญาณ ๑ ในสัง
ขารุเปกขาญาณ ๑ ถาเกิดขึน้ ในญาณเหลานี้ เปนของเทียมใชไมได
ส ว นความดั บ ที่ แ ท จ ริ ง ที่ พึ ง ประสงค ใ นการปฏิ บั ติ วิ ป ส สนา
กัมมัฏฐานนี้ ก็คือความดับโดยมรรค ขณะที่สังขารุเปกขาญาณถึงความแก
๗๓๙
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
กลาที่สุด สังขารอารมณซึ่งออนละเอียดมีอาการสม่ําเสมอเปนธรรมดานั้น
ก็จะคอยๆ เร็วขึ้นๆ (วิปสสนาจารยควรจะบอกไวลวงหนา เมื่อกําหนดรูป
นาม อารมณไมทัน ก็ใหกําหนด “รูหนอๆ”) แลวก็กลับชาลง เปนไปตาม
สภาวะของญาณ
ก. สภาพธรรมารมณที่ปรากฏ : เดินจงกรม
อริยสัจ ๔ ในการพิจารณาสภาพธรรมขณะเดินจงกรม
๑) การเจริญสติกําหนดรูอิริยาบถเดิน ขณะยก ยาง เหยียบ ปรากฏ
อาการของธาตุ ๔ เชน อาการมีไหล ไหว ตึง หย อน แข็ง ออน เย็ น ร อน
สภาพธรรมทั้งหลายที่ปรากฏชัดในขณะเดินจัดเปน รูป และจิตที่เขาไปรับรู
อาการของกายรวมถึงอาการของธาตุทั้งหลาย เชน จิตเขาไปรูอาการยก ยาง
เหยียบ เย็น รอน ออนแข็ง เปนตน จัดเปน นาม เมื่อเจริญสติมากขึ้น สมาธิ
ตั้งมั่น ปญญาแกกลาจนเห็นแจงเปนรูปเปนนาม แยกรูปแยกนาม เห็นรูป
นามวาไมเที่ยง เปนทุกข ไมมีตัวตนบังคับบัญชาไมไดไมมีตัวตน บุคคล เรา
เขา นี้เปนกระบวนการขั้นกําหนดรูทุกข จัดเปน ทุกขอริยสัจ
๒) สมุทัย คือ อาการอยาก(ตัณหา)ในการเดิน จิตที่อยากจะยก ยาง
เหยียบ และเจตนาในการกําหนดรูในขณะเดินจงกรม จัดเปนสมุทย และ
การมีสติตามกําหนดรูรูป ขณะยก ยาง เหยียบ ขณะเดินจงกรมเปนอารมณ
จนสติมีกําลังมากขึ้น สมาธิตั้งมั่น ทําใหเกิดปญญาเห็นตัณหาที่ทําใหเกิดสติ
ขั้นกําหนดละรูปนามนั้น เปนกระบวนการละ จัดเปน สมุทยอริยสัจ
๓) การมีสติกําหนดรูรูปนามในการเดินจงกรม ขณะยก ยาง เหยียบ
จนเกิด สติ สมาธิ ป ญญามากขึ้น มีกํา ลั งจนเห็ น แจ งรู ป และนาม คือ เห็ น
อาการดับไปของอารมณและจิตตัวรูในขณะนั้น ๆ ได เปนการเห็นแจงนิโรธ
จัดเปน นิโรธอริยสัจ
๔) การมีสติกําหนดรูรูปนามในอิริยาบถเดิน ในขณะยก ยาง เหยียบ
จนเห็นรูปนามตามความเปนจริง เห็นเหตุปจจัยและเห็นอาการเปลี่ยนแปลง
ไปของรู ป นามนั้ น จนแจ ง อาการดั บ ของรู ป นามแจ ม ชั ด มากขึ้ น ๆ เป น
กระบวนการเจริญมรรค จัดเปน มรรคอริยสัจ
๗๔๐
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
ขณะที่เจริญสติปฏฐาน ๔ กําหนดรูอาการในขณะเดินจงกรมอยูนั้น
องคมรรคทั้ง ๘ ประการมีอยูพรอม ดังนี้
๑. ปญญาเห็นแจงชัดอาการยก-ยาง-เหยียบโดยความเปนรูป เห็น
แจ งชั ด จิ ต ที่รู ย ก-ย าง-เหยี ย บเป น นาม ซึ่งเกิด -ดั บ ตามเหตุ ป จ จั ย จั ด เป น
สัมมาทิฏฐิ
๒. เมื่อมีอาการยก ยาง เหยียบ ปรากฏอยูในขณะเดิน ดําริยกจิต
ขึ้นสูอารมณ กําหนดรูอาการยก ยาง เหยียบนั้น ใหประจักษแกจิต จัดเปน
สัมมาสังกัปปะ
๓. การกําหนดรูอาการยก ยาง เหยียบ ตามลักษณะอาการ ดวย
การน อมจิ ตพร อมกับ บริกรรมภาวนาวา “ขวายางหนอ ซายยางหนอ ยก
หนอ เหยียบหนอ” จัดเปนสัมมาวาจา
๔. กําหนดรูทุกครั้งที่เห็นอาการยก (ยกหนอ), กําหนดรูทุกครั้งที่
เห็นอาการยาง (ยางหนอ), กําหนดรูทุกครั้งที่เห็นอาการเหยียบ (เหยียบ
หนอ) กําหนดวา “คิดหนอ” ทุกครั้งทีค่ ิด ฯลฯ จัดเปนสัมมากัมมันตะ
๕. เมื่อกําหนดอยางจดจอตอเนื่อง กายยอมผองแผว จิตยอมผองใส
ชวยใหสติจับอารมณไดถูกตรงตามความเปนจริงยิ่งขึ้น จัดเปนสัมมาอาชีวะ
๖. การประคับประคองจิตใหระลึกรูอยูแตอารมณปจจุบันที่ปรากฏ
ไมปลอยใจใหหลงใหลไปตามอารมณอดีตหรืออนาคต จัดเปนสัมมาวายามะ
๗. การเขาไปตั้งความระลึกรูอยางจดจอตอเนื่อง ไวในอารมณรูป-
นามปจจุบันที่เปลี่ยนแปลง เกิด-ดับไปตามเหตุปจจัย จัดเปนสัมมาสติ
๘. ความไมฟุงซาน จิตตั้งมั่นในอารมณรูป-นามอยางจดจอ ตอเนื่อง
ดวยอํานาจอุเบกขาสัมโพชฌงค เปนบาทฐานในการเจริญสัมมาทิฏฐิ ใน
ระดับวิปสสนาญาณตอไป จัดเปนสัมมาสมาธิ
บันไดขั้นที่ ๗ เปนการกําหนดเพื่อบรรลุอริยมรรค อริยผล ซึ่งเปน
สภาวญาณตั้งที่สังขารุเปกขา(ตอนปลาย) จนถึงปจจเวกขณญาณ โยคีตอง
สํ า รวมอิน ทรี ย ให ม ากๆ กํ าหนดทุ ก อย างๆ ดู อ าการดั บ ของอารมณแ ละ
อาการดับของจิต ขั้นนี้ก็เปนปหานปริญญา จัดเปนนิโรธอริยสัจและมรรค

๗๔๑
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
อริยสัจ ในสภาวธรรมนั้นคือการกําหนดรูอาการดับ ใหสังเกตวาจิตดับไป
จากอารมณตอนไหน แตโยคีพึงระวังเพราะวามีสภาวะปลอมอยู แตมีธรรมะ
จริงอยูเพียง ๑ อยางเทานั้น
ส ว นการดั บ ด ว ยอริ ย มรรคนั้ น ย อ มทํ าให ผู ป ฏิ บั ติ บ รรลุ เ ป น พระ
อริยบุคคลละยังโยชน ๑๐๓๓ ตามลําดับ คือ
๑. พระโสดาบันละสังโยชน ๓ ขอตนไดคือ ละสักกายทิฏฐิ,วิจิกิจฉา
และสีลัพพตปรามาส
๒. พระสกทาคามีละสังโยชน ๓ ขอตนและทําสังโยชนขอ ๔ และ ๕
คือ กามราคะและปฏิฆะ ใหเบาบางลงดวย
๓. พระอนาคามีละสังโยชน ๕ ขอแรกคือ ละสักกายทิฏฐิ, วิจิกิจฉา,
สีลัพพตปรามาส, กามราคะและปฏิฆะ
๔. พระอรหันตละสังโยชนทั้ง ๑๐ ขอ
ข. สภาพธรรมารมณที่ปรากฏ : อาการพอง-ยุบ
อริยสัจ ๔ ยอมปรากฏชัดเจนแจมแจงดี คือ :-
อาการที่ทองเริ่มพอง เริ่มยุบ ในขณะเขาสูโคตรภูญาณนั้น เรียกวา
รูปชาติ-นามชาติ คือความเกิดขึ้นของรูปนาม ไดแก รูปพอง-รูปยุบนั่นเอง
ความเกิดขึ้นพอง-ยุบเปนสมุทัยสัจ มีบาลีรับรองวา “ชาติ สมุทยสจฺจํ” ชาติ
คือ ความเกิดขึ้นของรูปนาม เปนสมุทัยสัจ
ทุกขสัจ ไดแก อาการพอง-ยุบเปนตนนั้น ทนสภาพอยูไมได ดับลง
ไป หมดไป สิ้นไปดังบาลีวา “ชรามรณํ ทุกฺขสจฺจํ” ชรา คือ ความเสื่อมไป
ของรูป-นาม มรณะคือความตายของรูปนามเปนทุกขสัจ๓๔
นิโรธสัจ ไดแกอาการพอง-ยุบเปนตนนั้นดับลงไปพรอมกัน และจิตรู
ก็ดับลงไปพรอมกัน ไดแกนิพพานนั่นเอง ดังบาลีวา “อุภินฺนํป นิสฺสรณํ”

๓๓
สังโยชน คือกิเลสที่ผูกมัดใจสัตวมี ๑๐ อยาง คือ ๑. สักกายทิฏฐิ ๒. วิจิกิจฉา
๓. สีลัพพตปรามาส ๔. กามราคะ ๕. ปฏิฆะ ๖. รูปราคะ ๗. อรูปราคะ ๘. มานะ ๙.
อุทธัจจะ ๑๐.อวิชชา ; องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๑๓/๒๑.
๓๔
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๓๓/๕๐-๕๓.
๗๔๒
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
อาการที่ทุกข สมุทัยทั้งสองนั้นดับลงไปเปนนิโรธสัจ
มรรคสั จ ได แ ก ป ญ ญาที่ เ ห็ น พอง-ยุ บ เป น ต น ตั้ ง แต เ ริ่ ม แรก
จนกระทั่งดับลงไป สิ้นไปหมดไป เปนมรรคสัจ ดังบาลีวา “นิโรธปฺปชานนา
มคฺคสจฺจํ” ปญญาทีเ่ ห็นชัดซึ่งทุกขสมุทัยวาดับลงไปตอนไหน เปนมรรคสัจจ
อนุโลมญาณ ญาณอันเปนไปโดยอนุโลมแกการหยั่งรู อริยสัจ คือ
เมื่อวางใจเปนกลางตอสังขารทั้งหลาย ไมพะวงแลวโนมนอม แลนมุงตรงสู
นิพพาน ลักษณะสภาวะของอนุโลมญาณ ในอิริยาบถนั่ง มีดังนี้
สมาธิ ดิ่ งลึ กแบบอนิ จจั ง ผู ที่ เคยให ทาน รั กษาศีลมาก จะผ านทาง
อนิ จจั งโดยมี อาการพอง-ยุ บเร็ วเขาๆ แล วก็ ดั บวู บลงไป ผู นั้ นก็ ทราบอย าง
ชัดเจนแจมแจงวา ดับลงไปตอนพองหรือตอนยุบ ตอนนั่งหรือตอนถูก อาการที่
พอง-ยุบเร็วๆ นั้น เปนอนิจจัง การที่ทราบอยางแจมแจงวาดับลงไปตอนไหนนั้น
เปน “อนุโลมญาณ” แตมิใชนึกเดาหรือคาดคะเนเอาเอง ตองเห็นจริงๆ
สมาธิดิ่งลึกแบบ ทุกขัง ผูที่เคยไดเจริญสมถกรรมฐานกอนจะผาน
ทางทุกขัง คือเวลากําหนดพองยุบ หรือนั่ง-ถูกนั้น จะรูสึกวาแนนอึดอัด เมื่อ
กําหนดไปๆ ก็จะดับวูบลงไปตอนพอง-ยุบ หรือตอนนั่ง-ถูก อาการแนนอึดอัด
ฝดๆไมสบายนั้น เปนทุกขัง การที่ทราบชัดวา ดับลงไปตอนพองหรือตอนยุบ
ตอนนั่งหรือตอนถูกนั้นเปน “อนุโลมญาณ”
สมาธิดิ่งลึกแบบ อนัตตา ผูที่ไดเคยเจริญวิปสสนามากอน หรือได
สนใจใคร ตอวิ ปสสนามาแตช าติกอนๆ จะผ านทางอนัตตา คือ พอง-ยุบ มี
อาการสม่ําเสมอบาง มีอาการแผวเบาบาง แลวก็ดับวูบลงไป ผูปฏิบัติก็ทราบ
ชั ด เจนว า ดั บ ลงไปตอนไหน ตอนพองหรื อ ตอนยุ บ ตอนนั่ งหรื อตอนถู ก
อาการที่ทองพอง-ยุบปรากฏสม่ําเสมอหรือแผวเบานั้นเปนอนัตตา การที่ผู
ปฏิบัติสามารถทราบไดชัดเจนวา ดับลงไปตอนไหนแน คือดับลงไปตอนพอง
หรือตอนยุบ ตอนนั่งหรือตอนถูก นั้นเปน “อนุโลมญาณ”
ค. สภาวธรรมที่ปรากฎ : รับประทานอาหาร
บางคนกําหนดอยูดีๆ ก็มีอาการถี่ รัวเร็วขึ้นมา อาการเกิด-ดับอยาง
ถี่ยิบ ใหกําหนดวา “รูๆๆๆๆๆๆๆๆ” ไปจนกวาจิตจะละคําบริกรรมเอง
๗๔๓
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
บางคนอาการจะแรงมากเหมือนเครื่องจักร เหนื่อยแทบขาดใจ ให
ตามกําหนดอาการนั้นๆ ไป เพียงว า “รูๆๆๆๆๆๆ” ไปจนกว าจิตจะละคํา
บริกรรมเอง บางครั้งอาจมีอาการจิตดับวูบหายลงไป
อนุโลมญาณ มีลักษณะที่จะพึงรูอยู ๓ ประการ คือ
๑. อนิจจัง ผูที่เคยใหทาน รักษาศีลมาก จะผานทางอนิจจังโดยมี
อาการฉันหรือกินจะมีสภาวะเร็วเขาๆ แลวก็ดับวูบลงไป ผูนั้นก็ทราบอยาง
ชัดเจนแจมแจงวาดับลงไปตอนเห็นหรือตอนไดกลิ่น ตอนรูรส หรือตอนกลืน
อาการที่กลืนถี่ๆ รัวๆ เร็วๆ นั้น เปนอนิจจัง การที่ทราบอยางแจมแจงวาดับ
ลงไปตอนไหนนั้นเปนอนุโลมญาณ แตมิใชนึกเดาหรือคาดคะเนเอาเอง ตองรู
จริงเห็นจริง ในขณะปจจุบันเทานั้น
๒. ทุกขัง ผูที่เคยไดเจริญสมถกรรมฐานกอนจะผานทางทุกขัง คือ
เวลากําหนดเคี้ยวหรือกลืน หรือนั่ง-ถูกนั้น จะรูสึกวาแนนอึดอัด เมื่อกําหนด
ไปๆ ก็จะดับวูบลงไปตอนเคี้ยวหรือกลืน อาการแนนอึดอัด ฝดๆ ไมสบายนั้น
เปนทุกขัง การที่ทราบชัดวาดับลงไปตอนเคี้ยวหรือตอนกลืน ตอนนั่งหรือ
ตอนถูกนั้น เปนอนุโลมญาณ
๓. อนัตตา ผูที่ไดเคยเจริญวิปสสนามากอน หรือ ไดเคยสนใจใครตอ
วิปสสนามามาแตชาติกอนๆ จะผานทางอนัตตา คือ มีอาการสม่ําเสมอบาง มี
อาการแผวเบาบาง แลวก็ดับวูบลงไป ผูปฏิบัติก็ทราบชัดเจนวาดับลงไปตอน
ไหน ตอนเคี้ยวหรือตอนกลืน อาการที่กลืนปรากฏสม่ําเสมอหรือแผวเบานั้น
เปนอนัตตา การที่ผูปฏิบัติสามารถทราบไดชัดเจนวาดับลงไปตอนไหนแน คือ
ดับลงไปตอนเคี้ยวหรือตอนกลืน นั้นเปนอนุโลมญาณ
การพิจารณาสภาพธรรมทางอายตนะ ๖ เห็นความเกิด ความดับ
ของรูปนามทั้งสอง จนเกิดป ญญาหยั่งเห็นไตรลักษณวารูป นามที่ตามรูใน
ปจจุบันขณะนั้น ไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตน ละความยึดมั่นในรางกาย
ตัวตน บุคคล เราเขา จิต ขึ้นสู อารมณของวิป สสนาญาณ และสามารถจะ
บรรลุมรรคผลนิพพานไดในที่สุด
การเจริญวิปสสนากรรมฐาน อันเปนวิธีเขาถึงพระรัตนตรัยดวย
๗๔๔
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
วิปสสนาวิธีนี้ แสดงใหเห็นถึงการไดเห็นอริยสัจ ๔ ไปในตัว กลาวคือ
๑. ขั น ธ ๕ อั น เป น อารมณ ข องวิ ป ส สนากรรมฐานที่ ผู ป ฏิ บั ติ
พิจารณามาตั้งแตตนจนถึงอนุโลมญาณเปนที่สุดนั้นเปนตัว ทุกขสัจ ผูบรรลุ
มรรคญาณนั้นจึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงทุกขสัจ
๒. ตัณหาอันเปนเหตุใหเกิดขันธ ๕ นั้นเปน สมุทยสัจผูบรรลุมรรค
ญาณจึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงสมุทยสัจ
๓. มรรคจิตที่ไดนิพพานเปนอารมณ นิพพานนั้นก็ไดแก นิโรธสัจ
นั่นเอง ผูบรรลุมรรคญาณจึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงนิโรธสัจ
๔. ปญญาเจตสิกที่เกิดรวมกับมรรคจิตนั้น เปนตัวสัมมาทิฏฐิ เปน
องคธรรมของอริยมรรคที่ ๑ และในขณะมรรคจิตเดียวกันนั้น มีวิตกเจตสิก
อันเปนสัมมาสังกัปปะเปนองคอริยมรรคที่ ๒, มีสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ
สัมมาอาชีวะเจตสิกอันเปนองคอริยมรรคที่ ๓-๔-๕ มีวิริยะ สติและเอกัคคตา
เจตสิกอันเปนตัวสัมมาวิริยะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ อันเปนองคอริยมรรคที่
๖-๗-๘ เกิ ด ร ว มกั น ประกอบพร อ มกั น โดยมี นิ พ พานเป น อารมณ อ ย า ง
เดียวกัน องคอริยมรรค ๘ ประการนี้เปน มรรคสัจ ดังนั้นผูไดบรรลุมรรค
ญาณนั้น จึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงมรรคสัจ
ผูป ฏิบั ติกรรมฐานจนไดบรรลุ ถึงมรรคญาณแลว ชื่อวาได เห็ นแจ
งอริยสัจ ๔ คือทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค ดวยมรรคญาณหรือมรรคปญญา๓๕
ง. สภาวธรรมที่ปรากฏ : เวทนา
ผูที่เคยไดเจริญสมถะมากอนจะผานทางทุกขัง คือ เวลากําหนดพอง
ยุบ หรือนั่ง-ถูกนั้น จะรูสึกวาแนนอึดอัด เมื่อกําหนดไปๆ ก็จะดับวูบลงไป
ตอนพอง-ยุบ หรือตอนนั่ง-ถูก อาการแนนอึดอัดฝดๆ ไมสบายนั้นเปนทุกขัง
การที่ทราบชัด วา ดั บลงไปตอนพองหรื อตอนยุบ ตอนนั่งหรื อตอนถูกนั้ น
เป น อนุ โ ลมญาณ (อุ เ บกขาสั ม โพชฌงค ๓๖) ผู มี จิ ต ตั้ ง มั่ น เป น สมาธิ ย อ ม

๓๕
อางแลว, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๑๘๓.
๓๖
ดูใน ที.สี.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๑๗๗., ม.มู.อ. (ไทย) ๑/๑/-/๑๙๔.
๗๔๕
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
พิจารณาสภาพธรรมที่ปรากฏดวยจิตที่เปนกลาง๓๗ วา สภาพธรรมที่ปรากฏ
เปนเพียงรูป-นามที่เกิดดับตามเหตุปจจัยเทานั้น ไมใชสัตว บุคคล ตัวตน เรา
เขา ยอมเกิดปญญารูแจงธรรม โดยมีมรรคมีองค ๘ เปนเหตุ๓๘
กระบวนการอริยสัจ ๔ ในการกําหนดเวทนาพิจารณาไดดังนี้
๑) เวทนาปริคฺคาพิกา สติ ทุกฺขสจฺจํ. สติที่กําหนดรูเวทนา จัดเปน
ทุกขสัจกลาวคือ สติที่เขาไปกําหนดรูเวทนาที่เกิดขึ้นจากผัสสะ วาเปนสุข
เวทนา หรือทุกขเวทนา หรืออุเบกขาเวทนา ทั้งที่เกิดขึ้นโดยอามิส และไมอิง
อามิส เปนทุกขเพราะถูกปรุงแตงขึ้น
๒) ตสฺสา สมุฏฐาปกา ปุริมตณฺหา สมุทยสจฺจํ. ตัณหากอนๆ ที่ยังสติ
นั้นใหเกิดขึ้น จัดเปนสมุทยสัจ กลาวคือตัณหา คือเวทนาที่เกิดจากผัสสะ คือ
การกระทบกันของอายตนะภายใน และภายนอก เกิดเปนสุขเวทนา หรือ
ทุกขเวทนา หรือ อุเบกขาเวทนา เปนสมุทยสัจ
๓) อุภินฺนํ อปฺปวตฺติ นิโรธสจฺจํ. ความไมเปนไปแหงทุกขกับสมุทัย
คือ ทุกขกับสมุทัยดับลงไป จัดเปนนิโรธสัจ กลาวคือ เมื่อมีสติกําหนดรู ใน
เวทนาตางๆ เชนปวดหนอ ในขณะที่เกิดอาการทุกขเวทนา แลวสามารถหยั่ง
เห็นความไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตนของเวทนาที่เกิดขึ้น จัดวาละอวิชชา
ไดชั่วขณะเปนตทังคนิโรธ เมื่อละอวิชชาได ตัณหาที่ยินดีพอใจหรือไมพอใจ
ในขณะเกิดเวทนายอมไมเกิดขึ้น จัดวาละตัณหาไดชั่วขณะเชนเดียวกัน เมื่อ
ตัณหาไมมี ความยึดมั่นและการทํากรรมดีกรรมชั่วก็ไมมีและผลที่เกิดจาก
กรรมอันไดแก วิญญาณ นามรูป อายตนะ ๖ ผัสสะ และเวทนายอมดับไปใน
ขณะที่ตัณหาดับเมื่อประกอบดวยสติสัมปชัญญะ การละตัณหาดวยวิปสสนา
ที่ เป นตทังคนิโรธนี้ จะเป นปจจัย ใหผูปฏิ บัติธรรมไดบรรลุการละตัณหา
อยางเด็ดขาดเปนสมุจเฉทนิโรธ และสามารถดับทุกขที่เนื่องดวยตัณหานั้นๆ
๔) ทุกฺขปริชานโน สมุทยปชหโน นิโรธารมฺมโณ อริยมคฺโค

๓๗
สั ง ขารุ เ ปกขาญาณ ญาณอั น เป น ไปโดยความเป น กลางต อ สั ง ขาร (องฺ .
จตุกฺก.อ. (บาลี) ๒/๑๖๒/๓๘๗, องฺ.จตุกฺก.ฏีกา (บาลี) ๒/๑๖๒/๔๒๕)
๓๘
ดูใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๗๔/๑๒๕., องฺ.เอก. อ. (ไทย) ๑/๑/-/๒๐๒.
๗๔๖
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
มคฺคสจฺ จํ. อริ ย มรรคกําหนดรูทุกข ละสมุทัย นิ โ รธมีนิพพานเปน อารมณ
จัดเปนมรรคสัจ กลาวคือ เมื่อเจริญสติกําหนดรูเวทนาทั้งหลายที่เกิดขึ้นใน
ปจจุบันจนกระทั่งหยั่งเห็นความเกิดดับแลวยอมไดชื่อวาเปนผูเจริญอริยสัจ
ทั้ง ๔ กลาวคือ การกําหนดรูทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นคือการกําหนดรูทุกขสั จ
การละความเพลิดเพลินยินดีในสุขเวทนา หรือ ทุกขเวทนา ที่รับรูดวยสติอยู
คือการละสมุทยสัจ การไมเกิดขึ้น แหงตัณหา อุปาทาน ผัสสะ เวทนาที่เปน
ผลกรรม ดวยการกําหนดรูปจจุบันเปน การกระทํานิโรธสัจใหแจง การดับ
ตัณหาเปนตนดังกลาวจัดเปนการดับชั่วขณะดวยวิปสสนาซึ่งเรียกวา ตทังค
นิโรธ เมื่อบรรลุอริยมรรคอยางแทจริงจึงจะรับรูการดับของเวทนาทั้งปวง
โดยประจั ก ษได การหยั่ งเห็ น ลั ก ษณะพิเ ศษของรู ป นามแต ล ะอย า งและ
ลักษณะทั่วไปคือไตรลักษณ จัดเปนสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ เปนสัมมาวา
ยามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ การ
เจริญสติระลึกรูปจจุบันอันประกอบดวยอริยมรรคมีองค ๘ เหลานี้ จัดเปน
การเจริญมรรคสัจ
จ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : จิต
ผูที่เคยใหทาน รักษาศีลมาก จะผานทางอนิจจัง โดยมีอาการพอง-
ยุบเร็วเขาๆ แลวก็ดับวูบลงไป ผูนั้นก็ทราบอยางชัดเจนแจมแจงวาดับลงไป
ตอนพองหรือตอนยุบ ตอนนั่งหรือตอนถูก อาการที่พอง-ยุบเร็วๆ นั้น เปน
อนิจจัง การที่ทราบอยางแจมแจงวาดับลงไปตอนไหนนั้น เปนอนุโลมญาณ
แตมิใชนึกเดาหรือคาดคะเนเอาเอง ตองรูจริงเห็นจริงในขณะปจจุบันเทานั้น
ผูที่ไดเคยเจริญวิปสสนามากอน หรือไดสนใจใครตอวิปสสนามาแต
ชาติกอนๆ จะผานทางอนัตตา คือ พอง-ยุบมีอาการสม่ําเสมอบาง มีอาการ
แผวเบาบาง แลวก็ดับวูบลงไป ผูปฏิบัติก็ทราบชัดเจนวา ดับลงไปตอนไหน
ตอนพองหรื อตอนยุ บ ตอนนั่งหรื อตอนถูก อาการที่ทองพอง-ยุ บ ปรากฏ
สม่ําเสมอหรือแผวเบานั้นเปนอนัตตา การที่ผูปฏิบัติสามารถทราบไดชัดเจน
วาดับลงไปตอนไหนแน คือดับลงไปตอนพองหรือตอนยุบ ตอนนั่งหรือตอน
ถูกนั้น เปนอนุโลมญาณ

๗๔๗
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
ฉ. สภาวธรรมที่ปรากฏ : อริยสัจ ๔
พิจารณาอริ ยสัจ ๔ ขณะกําหนดรูพอง-ยุบ อาการที่ทองเริ่ มพอง
เริ่มยุบในเวลาจะเขาสูโคตรภูญาณนั้น เรียกวา “รูปชาติ นามชาติ” คือความ
เกิดขึ้นของรูปนามไดแก รูปพอง รูปยุบนั่นเอง
๑. ทุกขสัจ ไดแก อาการพอง ยุบเปนตนนั้น ทนอยูไมได ดับลงไป
สิ้ น ไปดั ง บาลี ว า “ชรามรณํ ทุกฺ ขสจฺ จํ ” ชราคื อความเสื่ อ มไปของรู ป นาม
มรณะคือความตายของรูปนาม นี้เปนทุกจสัจ
๒. สมุทัยสัจ ไดแก ความเกิดขึ้นของพองของยุบ เปนสมุทัยสัจ มี
บาลีรับรองวา ชาติ สมุทยสจฺจํ.ชาติคือความเกิดขึ้นของรูปนามเปนสมุทยสัจ
๓. นิโรธสัจ ไดแก อาการพอง-ยุบ เปนตนนั้น ดับลงไปพรอมกัน
และจิ ต ที่ กํ า หนดรู ก็ ดั บ ลงไปพร อ มกั น ได แ ก นิ พ พานนั่ น เอง ดั ง บาลี ว า
“อุภินฺนํปนิสฺสรณํ” อาการที่ทุกข สมุทัยทั้ง ๒ นั้นดับลงไปเปนนิโรธสัจ
๔. มรรคสัจ ไดแก ปญญาที่มองเห็นพอง-ยุบ เปนตน ตั้งแตเริ่มแรก
จนกระทั่งดับลงไป สิ้นไป เปนมรรคสัจ ดังบาลีวา “นิโรธปชานํ มคฺคสจฺจํ”
ปญญาที่ทราบชัดซึ่งทุกข,สมุทัย วาดับไปตอนไหน เปนมรรคสัจ
ในญาณนี้อริยสัจ ๔๓๙ ยอมปรากฏชัดเจนแจมแจงดี คือ :
ทุกขสัจ ไดแก อาการกลืน เปนตนนั้น ทนสภาพอยูไมได ดับลงไป
หมดไป สิ้นไป ดังบาลีวา “ชรามรณํ ทุกฺขสจฺจํ” ชรา คือ ความเสื่อมไปของ
รู ป -นาม มรณะคื อ ความตายของรู ป นาม ได แ ก สภาวะรู ป นามที่ เ ข า มา
กระทบในขณะฉัน (รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส) เปนทุกขสัจ
สมุทัยสัจ ไดแก ความเกิดขึ้นของการกลืน อาการที่กลืนอาหารใน
เวลาจะเขาสูโคตรภูญาณนั้น เรียกวา รูปชาติ-นามชาติ คือความ เกิดขึ้นของ
รูปนาม ไดแก รูปกลืนนั่นเอง มีบาลีรับรองวา “ชาติ สมุทยสจฺจํ” ชาติ คือ
ความเกิดขึ้นของรูปนาม เหตุปจจัยที่ทําใหเกิดการมากระทบทาง ตา หู จมูก
ลิ้น กาย ใจ เปนสมุทัยสัจ

๓๙
ดูรายละเอียดใน อภิ.วิ. (ไทย)๓๕/๒๐๖/๑๗๓.
๗๔๘
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
นิโรธสัจ ไดแก อาการกลืน เปนตนนั้นดับลงไปพรอมกัน และจิต
กําหนดรูก็ดับลงไปพรอมกัน ดังบาลีวา “อุภินฺนํป นิสฺสรณํ”อาการที่ทุกข
สมุทัยทั้งสองนั้นดับลงไป ไดแกอาการดับลงของทั้ง ทุกขสัจ และสมุทยสัจ
เปนนิโรธสัจ
มรรคสั จ ได แก ป ญญาที่ เ ห็ น อาการกลื น เป น ต น ตั้ งแต เ ริ่ มแรก
จนกระทั่งดับลงไปสิ้นไป หมดไป เปนมรรคสัจจ ดังบาลีวา “นิโรธปฺปชานนา
มคฺคสจฺจํ” ปญญาที่ทราบชัดซึ่งทุกข สมุทัยวาดับลงไปตอนไหน ปญญารู
อาการดับของทุกขสัจ และสมุทยสัจเปนมรรคสัจจ๔๐
อนุโลมญาณกับสังขารุเปกขาญาณ เปนเหตุใหสําเร็จโคตรภูญาณใน
เบื้องบน แมจะมิไดกลาวไวดวยญาณตนและญาณหลัง ก็พึงทราบวา ยอมเป
นอันกลาวไวแลวทีเดียว ดังพระดํารัสที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไววา ดูกอน
ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูพิจารณาเห็นสังขารไรๆ โดยความเปนของเที่ยง จักเปน
ผูประกอบ ดวยขันติที่สมควร ขอนั้นยอมไมเปนฐานะที่จะมีได ไมประกอบด
วย ขันติที่สมควรจักกาวลงสูความเปนแหงความเห็นชอบและความแนนอน
ขอนั้นยอมไมเปนฐานะที่จะมีได เมื่อไมกาวลงสูความเปนแหงความเห็นชอบ
และความแน น อน จั ก กระทํ า ให แ จ ง ซึ่ ง โสดาป ต ติ ผ ล สกทาคามิ ผ ล
อนาคามิผล หรืออรหัตผล ขอนั้นยอมไมเปนฐานะที่จะมีได๔๑
ปริญญา ๓ และอริยสัจ ๔ ในอนุโลมญาณ ดังนี้
๑. ญาตปริญญา กําหนดรูสังขารดวยอริยสัจ ๔
๒. ตีรณปริญญา การพิจารณาอริยสัจ ๔ อยูในไตรลักษณ
๓. ปหานปริ ญญา การละสังขารในอริยสัจ มุงสูพระนิพพาน๔๒จะ
ปรากฎเฉพาะอริยสัจ ๔ (๑๐๐%) คือ การมีสติกําหนดรูปนาม (ขันธ ๕)
เป น การสกัด กั้น กระแสของกิเ ลสในทุกครั้ งที่กําหนดรู ซึ่งผู ปฏิ บั ติ จะเห็ น
๔๐
พระภาวนาพิศ าลเมธี.วิ , เอกสารประกอบการสอนรายวิ ชา สัม มนา
วิปสสนาภาวนา, ศูนยบัณฑิตศึกษา, ๒๕๖๐, หนา ๕๐๖.
๔๑
องฺ.ฉกก. (ไทย) ๒๒/๓๖๙.
๔๒
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๙๓.
๗๔๙
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
ศักยภาพของสติในขอนี้มาโดยตลอด พอมาถึงขั้นอนุโลมญาณ ความคมกลา
ของปญญา ก็จะเห็นมากกวาที่เคยเห็น คือแทนที่จะเห็นเพียงแตวาสติเปน
เครื่องกั้นกระแส (กิเลส) ในโลกเหมือนเมื่อกอน กลับเห็นไปถึงวา สติเกิดขึ้น
กําหนดรูรูปนามครั้งหนึ่ง อริยสัจ ๔ จะปรากฎพรอมกันในวาระนั้นครั้งหนึ่ง
คือ เห็นวา รูปนาม (ขันธ ๕) นี้เปนทุกข ดําหริและตัณหานีเ้ ปนสมุทัย ความ
ดับกิเลสในขณะหนึ่งๆ เปนนิโรธ สติ(ที่สกัดกั้นการปรุงแตงนั้น) เปนมรรค๔๓
ในอนุโลมญาณนี้เปนการสละคืนแบบปริจจาคปฏินิสสัคคะ (ความ
สละคืนดวยการสละเสีย) คือ สละเสียซึ่งกิเลสพรอมทั้งขันธคือวิปาก และอภิ
สังขารคือกรรม ดวยอํานาจตทังคปหาน
อนุ โลมญาณสามารถกําจั ดความมืด คือกิเลสอัน ปกป ด อริ ย สัจ ๔
ออกไป แตไมสามารถจะกระทําพระนิพพานใหเปนอารมณได
สวนโคตรภูญาณ สามารถกระทําพระนิพพานใหเปนอารมณได แต
ไมสามารถกําจัดความมืด คือ กิเลสอันปกปดอริยสัจ ๔ ได ในขอนั้นมีอุปมา
ดังนี้ คือมีบุรุษตาดีคนหนึ่งคือวาเราจักดูพระจันทร จึงแหงนหนาดูพระจันทร
บนทองฟาในยามกลางคืน แตพระจันทรไมปรากฏแกเขา เพราะมีเมฆปดบัง
ไว ในทันทีทันใดนั้นมีลมกองหนึ่งตั้งขึ้นมา ไดพัดเมฆที่เปนกอนหนาๆ นั้น
ใหกระจายไป ลมอีกกองหนึ่งพัดเมฆขนาดกลางใหกระจายออกไป ลมอีก
กองหนึ่งพัดเมฆละเอียดใหกระจายไป บุรุษคนนั้นจึงมองเห็นพระจันทรบน
ทองฟาได รูไดวานั่นคือพระจันทร
ความมืดคือกิเลสอยางหยาบ กิเลสอยางกลาง กิเลสอยางละเอียด
ซึ่งปกปดอริยสัจ ๔ ไวไมใหปรากฏแกนักปฏิบัติ เปรียบเหมือนเมฆ ๓ ชนิด
อนุโลมจิต ๓ ดวง เปรียบเหมือนลม ๓ กอง
โคตรภูญาณ เปรียบเหมือนพระจันทร
พระนิพพาน เปรียบเหมือนพระจันทร

๔๓
นวองคุลี : วิปสสนาญาณ, พิมพครั้งที่ ๑, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ เม็ด
ทราย, ๒๕๔๖, หนา ๑๖๘-๑๖๙
๗๕๐
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
การกําจัดความมืด คือ กิเลสที่ปกปดอริสัจ ๔ ไวของอนุโลมจิตแต
ละดวงๆ เปรียบเหมือนการกําจัดเมฆ ๓ ชนิด ตามลําดับของลมแตละกองๆ
ฉะนั้น การเห็นพระนิพพานอันบริสุทธิ์ของโคตรภูญาณ ในเมื่อความมืด คือ
กิเลสอันปกปดอริยสัจ ๔ ปราศจากไปแลว เปรียบเหมือนการเห็นพระจันทร
อันบริสุทธิ์ของคนตาดีคนนั้น ในเมื่อทองฟาปราศจากเมฆฉะนั้น๔๔
การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ เปนทางปฏิบัติ
เดียวที่จะนําผูปฏิบัติใหพนทุกข อุปมาเหมือนการเดินขึ้นบันไดเพื่อกาวไปสู
เปาหมายคือพระนิพพาน ซึ่งบันไดแตละขั้นโยคีตองเพิ่มพูนอินทรียใหมาก
ขึ้นเพื่อความรูแจงในอารมณและจิตที่ปรากฏในปจจุบัน ปญญาญาณยอม
ปรากฏแกโยคีตามลําดับ คือญาณที่ ๑ จนถึงญาณที่ ๑๖ จนกระทั้งบรรลุ
เปนพระอริยบุคคล ๔ จําพวกตามลําดับ
รวมความแลวกลาวถึงธรรม ๒ ประเด็น คือ
๑. ความเปนไปของอารมณกับจิตที่เขาไปรูอารมณวามีความเปนไป
อยางไร คือการกําหนดในบันไดขันที่ ๑ ถึงขั้นที่ ๗ และสภาวธรรมที่ปรากฏ
๒. ความดั บของอารมณกับจิ ตที่เขาไปรู อารมณที่ดับ ไปพร อมกัน
คือผลของการกําหนดจากบันไดแตละขั้น ซึ่งขั้นสูงสุดคือการบรรลุธรรมเปน
ผล เปนภูมิแหงปหานปริญญา กําหนดรูถึงขั้นละได คือ รูถึงขั้นที่ทําใหถอน
ความยึดติดเปนอิสระจากสิ่งนั้นๆ ได (ละวิปลาสได) และปฏิบัติตอสิ่งตางๆ
ไดถูกตองภูมิแหงปหานปริญญาแบงเปนขั้นๆ
เริ่มตั้งแตพิจารณาเห็นโดยความเปนของไมเที่ยงยอมละนิจจสัญญา
เสียได พิจารณาเห็นโดยความเปนทุกขยอมละสุขสัญญา (ความสําคัญวาเปน
สุข) เสียได พิจารณาเห็นโดยความไมเปนตัวตนละอัตตสัญญา (สําคัญวาเปน
ตัวตน) เสียได เบื่อหนายความเพลิดเพลิน สํารอกราคะดับตัณหา สละคืน
ความยึดถือเสียไดจัดเขาใน อริยสัจ ๔ คือ “แจงนิโรธ(อริยสัจ ๔ เกิดโดย
สมบูรณขึ้นตามลําดับ) ทุกข, สมุทัย,นิโรธ, มรรค, ในญาณที่ ๑๔ เปน
๔๔
พระธรรมธีรราชมุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ):วิปสสนากรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๓,
(กรุงเทพมหานคร: บริษัท ประยูรวงศพริ้นทติ้ง จํากัด, ๒๕๕๔),หนา๖๓๒.
๗๕๑
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
สมุจเฉทประหาณคือ ดับดวยตัดขาด คือ ดับกิเลสเสร็จสิ้นเด็ดขาด ดวยโล
กุตตรมรรค ในขณะแหงมรรคนั้นสติ สมาธิปญญา และธรรมฝายการตรัสรู
ทั้งปวง รวมลงที่จิตดวงเดียวเปนมรรคสมังคี, ในญาณที่ ๑๕ เปนปฏิปสสัทธิ
นิโรธ ดับดวยสงบระงับ คือ อาศัยโลกุตตรมรรค ดับกิเลสเด็ดขาดไปแลว
บรรลุโลกุตตรผล กิเลสเปนอันสงบระงับไปหมดแลว ไมตองขวนขวายเพื่อ
ดับอีก ในขณะแหงผลนั้น, ในญาณที๑่ ๖ เปน นิสสรณนิโรธ ดับดวยสลัดออก
ได หรือดับดวยปลอดโปรงไป คือ ดับกิเลสเสร็จสิ้นแลว ดํารงอยูในภาวะที่
ดั บ กิเ ลสแล ว นั้ น ยั่ งยื น ตลอดไป ได แก อมตธาตุ คือ นิ พพาน”อริ ย สั จ ๔
สมบูรณ.
มรรคอริยสัจ ความจริงที่แทวาทางปฏิบัติเพื่อใหเขาถึงพระนิพพาน
มีอยูจริง สามารถปฏิบัติใหรูแจงไดในปจจุบันขณะนี้ นั่นคืออาจเจริญภาวนา
แนวทางศีล สมาธิ ปญญา ทํามรรคใหมีองค ๘ ใหสมบูรณ
มรรคสั จ ได แ ก ป ญ ญาที่ เ ห็ น พอง ยุ บ เป น ต น ตั้ ง แต เ ริ่ ม แรก
จนกระทั่งดับลงไป สิ้นไป หมดไป เปนมรรคสัจ ดังบาลีวา “นิโรธปฺชานนา
มคฺคสจฺจํ” เปนที่ทราบชัดซึ่งทุกขสมุทัย วาดับลงไปตอนไหน เปน มรรคสัจ
เปนภูมิแหงปหานปริญญา กําหนดรูถึงขั้นละได คือ รูถึงขั้นที่ทําให
ถอนความยึดติดเปนอิสระจากสิ่งนั้นๆ ได (ละวิปลาสได) และปฏิบัติตอสิ่ง
ตางๆ ไดถูกตองภูมิแหงปหานปริญญาแบงเปนขั้นๆ เริ่มตั้งแตพิจารณาเห็น
โดยความเปนของไมเที่ยงยอมละนิจจสัญญาเสียได พิจารณาเห็นโดยความ
เปนทุกขยอมละสุขสัญญา (ความสําคัญวาเปนสุข) เสียได พิจารณาเห็นโดย
ความไมเปนตัว ตนละอัตตสัญญา (สําคัญวาเปนตัวตน) เสี ยได เบื่อหนาย
ความเพลิดเพลิน สํารอกราคะดับตัณหา สละคืนความยึดถือเสียไดจัดเขาใน
อริ ย สั จ ๔ คือ แจ งนิ โ รธ (อริ ย สั จ ๔เกิด โดยสมบู ร ณขึ้น ตามลํ าดั บ ) ทุกข,
สมุทัย,นิโรธ, มรรค, ในญาณที่ ๑๔ เปนสมุจเฉทประหาณ คือ ดับดวยตัด
ขาด คือ ดับกิเลสเสร็จสิ้นเด็ดขาด ดวยโลกุตตรมรรค
ในขณะแห งมรรคนั้ น สติ สมาธิ ป ญญาและธรรมฝ ายการตรั ส รู
(โพธิปกขิยธรรม)ทั้งปวง รวมลงที่จิตดวงเดียวเปนมรรคสมังคี, ในญาณที่
๑๕ เปน ปฏิ ปส สัทธินิ โรธ ดับ ดว ยสงบระงับ คือ อาศัย โลกุต ตรมรรค ดั บ
๗๕๒
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
กิเลสเด็ดขาดไปแลว บรรลุโลกุตตรผล กิเลสเปนอันสงบระงับไปหมดแลว
ไมตองขวนขวายเพื่อดับอีก ในขณะแหงผลนั้น, ในญาณที่๑๖ เปน นิสสรณ
นิโรธ ดับดวยสลัดออกได หรือดับดวยปลอดโปรงไป คือ ดับกิเลสเสร็จสิ้น
แลว ดํารงอยูในภาวะที่ดับกิเลสแลวนั้น ยั่งยืนตลอดไป ไดแก อมตธาตุ คือ
นิพพาน”อริยสัจ ๔ สมบูรณ.
อัตราการใสใจวิถีจิตพิจารณาสติปฏฐาน ๔ (%)
อัตราการการใสใจวิถีจิตที่เพงพิจารณาสติปฏ ฐาน ๔ (%)
ญาณ ๑๖
(สุทธวิปสสนา) บริกรรม
กาย เวทนา จิต ธรรม วิถีจิต
๐-๑ (นิวรณ)
๐-๑ (ขันธ ๕)
๑๒.
๐-๑ ๐-๑-๐ ๐-๑-๐ ๐-๑ (อายตนะ)
อนุโลมญาณ ๐-๑-๐
๓ (โพชฌงค)
๙๐ (อริยสัจ)
๐ (นิวรณ)
๐ (ขันธ ๕)
๑๓.
00 00 00 ๐ (อายตนะ) 00
โคตรภูญาณ
๐ (โพชฌงค)
๑๐๐ (อริยสัจ)

๑. กายานุปสสนา ๐ จากเดิม ๐-๑-๐ % ทวนวิปสสนาญาณ ตั้งแต


ญาณ ๔ อยูในอริยสัจ ๔ มีกายเกิดดับ ,ไปเปนรูปขันธ เปนทุกขในอริยสัจ
กาย เวทนา จิต กลายเปนทุกขอริยสัจ
๒. เวทนานุปสสนา ๐ จากเดิม ๐-๑-๐ % เวทนาเกิดดับ ไปเปน
เวทนาขันธ อยูในอริยสัจ ๔
๓. จิตตานุปสสนา ๐ จากเดิม ๐-๑-๐ % จิตไปเปนสังขารขันธ
๔. ธัมมานุปสสนา ๑๐๐% (ขันธ ๐ % [จากเดิม ๐-๑%],, อายตนะ
๐ %[จากเดิม ๐-๑%], โพชฌงค ๐ %[จากเดิม ๐-๑๐%], อริยสัจ ๑๐๐
[จากเดิม ๙๐%] สภาพของทุกขอริยสัจดับเปนนิโรธ เห็นอาการนั้นชัดมาก

๗๕๓
ขั้นที่ ๗ พิจารณาสลัดคืนรูป-นาม
ขึ้นๆ เปนกระบวนการของมรรคมีองค ๘ อริยสัจสมบูรณ ๑๐๐ % เขาสู
โคตรภูญาณ
ความสมดุลของอินทรีย ๕
วิปสสนาญาณ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา
๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐% ๑๐๐%
๕๐ ๔๐ ๗๐ ๕๐ ๗๐
ในขั้นที่ ๖ นั้นเปนการกําหนดเพื่อออกจากญาณที่ ๖, ๗, ๘ โดย
การดูอาการของตนจิตจนดับ ซึ่งสภาวญาณในขั้นนี้เปนญาณที่เกิดจากผล
ของภังคญาณ คือความดับไปของอารมณพรอมกับจิตที่รูอารมณ ทําใหเห็น
โทษเห็นภัยของรูป-นาม อุปมาเหมือนคนที่ไมปรารถนาในบาตรที่มีรูรั่ว ๓ รู
ฉันใด การที่ปญญาญาณเห็นรอยรั่วของรูป-นามโดยความเปนอนิจจัง ทุกขัง
อนั ต ตา ย อมส งผลให เ กิด ความกลั ว เห็ น ภั ย เห็ น โทษ และเบื่ อหน ายใน
อัตภาพนั้น เชนกัน
เหตุผลที่อนุโลมญาณ ตองมีอินทรีย (๑๐๐%) ภายหลังอนุโมญาณ
คลอยตามญาณตางๆ ตั้งแต อุทยัพพยญาณ จนถึงสังขารุเปกขาญาณ ตอง
มีอินทรีย ๕ แกกลากอน จึงคลอยตามโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ได

๗๕๔
บทที่ ๑๖

พิจารณามรรค ผล
๑. ความปรากฏขึ้นของญาณ (ตองดูบทที่ ๓ ใหเขาใจกอนนะ)
ญาณ คือ ความรูสึกตัวดวยปญญา ความหยั่งรูดวยปญญาประจักษ
แจง ที่เกิดจากการเจริญวิปสสนาหรือสติปฏฐานเพียงเทานั้น๑
วิปสสนาญาณ คือ ปญญารูแจงที่บังเกิดขึ้นภายในจิตของผูกําหนดรู
รูป-นาม อันเปนผลจากการปฏิบัติใหสมบูรณในไตรสิกขา(ศีล สมาธิ ปญญา)
จนสภาพจิตของบุคคลตั้งมั่นไมหวั่นไหวเปนสมาธิ สงบปราศจากกิเลสนิวรณ
นอมไปเพื่อรูแจงชัดอริ ยสัจ ๔๒ และยังมีญาณที่ยิ่งใหญที่สุด อีกญาณหนึ่ ง
เรียกชื่อเฉพาะวา โพธิญาณ แปลวา ปญญาตรัสรูของพระพุทธเจาที่ทําให
เกิดพระพุทธศาสนา ญาณนี้เปนความรูแจงเห็นจริงในสภาพธรรมทั้งปวง
อยางแจมแจงชัดเจนแลว๓
พระสารีบุตรเถระอธิบายวิธีพิจารณาธรรมเพื่อใหเกิดวิปสสนาญาณ
ที่เห็นแจงชัดในอริยสัจ ๔๔ วา
“ปญญาในการพิจารณาอารมณ แลวพิจารณาเห็นความดับ ชื่อวา
วิปสสนาญาณ.. คือ จิตมีรูปเปนอารมณเกิดขึ้นแลวยอมดับไป พิจารณา
อารมณนั้น แลวพิจารณาเห็นความดับไปแหงจิตนั้นดวย
พิจารณาอยางไรชื่อวาพิจารณาเห็น คือ พิจารณาเห็นโดยความไม
เที่ยง ไมพิจารณาเห็นโดยความเที่ยง พิจารณาเห็นโดยความเปนทุกข ไม

วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๒๐๕.

สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๑๖๗๐/๕๓๐.

ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๗๒๘/๔๓๖.

วิสุทธิ. (บาลี) ๑/๒๒๐/๒๙๘.
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
พิจ ารณาเห็ น โดยความเป น สุ ข พิจ ารณาเห็ น โดยความเป น อนั ต ตา ไม
พิ จ ารณาเห็ น โดยความเป น อั ต ตา ย อ มเบื่ อ หน า ย ไม ยิ น ดี ย อ มคลาย
กําหนัด ไมกําหนัด ยอมทําราคะใหดับ ไมใหเกิด ยอมสละคืน ไมยึดถือ
เมื่อพิจารณาเห็นโดยความไมเที่ยง ยอมละนิจจสัญญาได เมื่อพิจารณา
เห็นโดยความเปนทุกข ยอมละสุขสัญญาได เมื่อพิจารณาเห็นโดยความ
เปนอนัตตายอมละอัตตสัญญาได เมื่อเบื่อหนายยอมละความกําหนัดยินดี
ได เมื่อคลายกําหนัดยอมละราคะได เมื่อทําราคะใหดับยอมละสมุทัยได
เมื่อสละคืนยอมละความยึดถือได”๕
คัมภีรอรรถกถาธัมมสังคณี อธิบายการละกิเลสดวยวิปสสนาญาณ
เปนขั้นตางๆ๖ ดังนี้
ละสักกายทิฏฐิไดดวยกําหนดแยกนามรูป (นามรูปปริจเฉทญาณ)
ละทิฏฐิที่วานามรูปไมมีเหตุหรือมีเหตุไมเสมอกันไดดวยการกําหนด
รูปจจัย (ปจจยปริคคหญาณ)
ละความสงสัย ไดดวยกังขาวิ ตรณญาณ และละความยึดถือวาเรา
ของเราได ดวยกลาปสัมมสนญาณ
ละความสําคัญในสิ่งที่ไมใชทางวาเปนทางได ดวยการกําหนดทาง
และไมใชทาง (มัคคามรรคญาณทัสสนะ)
ละความเห็นวาตายแลวสูญ ดวยการเห็นความเกิด (อุทยัพพยญาณ)
ละความเห็นวาเที่ยง ดวยการเห็นความเสื่อม (ภังคญาณ)
ละความเห็นในสิ่งที่มีภัยวาไมมีภัยได ดวยความเห็นวามีภัย (ภย
ญาณ)
ละความสําคัญในสิ่งที่ชอบใจ ดวยการเห็นวาเปนสิ่งมีโทษ (อาทีนว)
ละความสําคัญวานาชอบใจยิ่งได ดวยนิพพิทานุปสสนาญาณ
ละความเป น ผู ไ ม ป รารถนาจะหลุ ด พ น ด ว ยมุ ญ จิ ตุ กัม ยตาญาณ
ละความไมวางเฉยในสังขารได ดวยสังขารุเปกขาญาณ


ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕๑/๘๒.

ดูรายละเอียดใน ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/๑/๔๑๓.
๗๕๖
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ละธรรมฐิติ (ปฏิจจสมุปบาท)ได ดวยอนุโลมญาณ
ละความเปนปฏิโลมได ดวยพระนิพพาน
และละความยึดถือนิมิตคือสังขารได ดวยโคตรภูญาณ นี้ชื่อวาการ
ละดวยองควิปสสนาญาณนั้นๆ๗
ญาณ คือ ความรู ซึ่งตรงขามตออวิชชา เมื่อญาณเกิดขึ้นอวิชชาก็
ดับไป นามรูปหรือสังขารทั้งปวงที่มีมูลมาจากอวิชชาก็ยอมดับไป เรียกวาดับ
ไปเพราะการเกิดขึ้นของญาณ เชน คนดับไป เพราะความรูที่เกิดขึ้นวา คนไม
มี มีแตขันธธาตุอายตนะเปนตน ..แมโดยปริยายนี้ ก็เปนอันกลาวไดวาดับไป
เพราะอํานาจแหงความเกิดขึ้นของญาณหรือวิชชา๘ หมายความวา ญาณที่
เปนวิ ปสสนาญาณแทตองเปน ความรูที่เ กิดจากการพิจารณาเห็ นพระไตร
ลั ก ษณ ที่ เ ป น ไปเพื่ อ ตั ด ละอวิ ช ชาเท า นั้ น ส ว นญาณนอกนั้ น เป น เพี ย ง
ความรูสึกระดับสัมปชัญญะ ยังไมจัดเปนวิปสสนาญาณ๙
วิปสสนาฌานในการเขาสมาบัติ
ลั ก ขณู ป นิ ช ฌาน คื อ วิ ป ส สนาฌานที่ เ พ ง พิ จ ารณาลั ก ษณะของ
สังขารอารมณ (ขัน ธ ๕)หรื อรูป -นามใหเห็ นไตรลักษณตามแบบวิป สสนา
ภาวนา๑๐ แมแตมรรคผลก็เรียกวาฌานได เพราะเพงลักษณะที่เปนสุญญตา
ของนิพพาน๑๑ ดังที่คัมภีรอรรถกถาอธิบายวา
วิปสฺ สนา อนิจฺ จาทิล กฺขณสฺ ส อุปนิ ชฺฌานโต ลกฺขณูปนิ ชฺฌานํ .
วิปสฺสนาย กิจฺจสฺส มคฺเคน อิชฺฌนโต มคฺโค ลกฺขณูปนิชฺฌานํ. ผลํ ปน
นิโรธสจฺจํ ตถลกฺขณํ อุปนิชฺฌายตีติ ลกฺขณูปนิชฺฌานํ นาม.๑๒
วิปสสนาญาณชื่อวาลักขณูปนิชฌาน เพราะเขาไปเพงรูไ ตรลักษณ

ขุ.อิติ.อ.(ไทย) ๔๕/๖๔, อภิ.สงฺ.อ. (บาลี) ๑/๑๑๘๔/๔๑๐.

พุทธทาสภิกขุ, อานาปานสติภาวนา, หนา ๔๐๕.

ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๑/๒๙๘.,ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕๑/๘๒.
๑๐
ที.ม.อ. (บาลี) ๑/๓๔๗/๓๑๕, ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๖๑-๖๕. ดูเพิ่มเติมบทที่ ๘.
๑๑
ขุ.อ.อ. (บาลี) ๑/๕๓๖, ขุ.ป.อ. (บาลี) ๒๒๑, อภิ.สํ. อ. (บาลี) ๒๗๓.
๑๒
ที.ม.อ. (บาลี) ๑/๓๔๗/๓๑๕, ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๖๑-๖๕.
๗๕๗
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
มีอนิจจลักษณะเปนตน มัคคญาณชื่อวาลักขณูปนิชฌาน เพราะเปนผูทํา
ใหกิจทีร่ ูแจงไตรลักษณของวิปสสนาญาณสําเร็จลง สวนผลญาณ ไดชื่อวา
ลักขณูปนิชฌาน เพราะเขาไปรูแจงลักษณะอันแทจริงของนิโรธสัจจะ
ลั กขณูป นิ ช ฌานนํ า มาซึ่งป ญญาที่เ รี ยกว า ภาวนามยป ญ ญา เป น
ความรูพิเศษที่คนทั่วไปไมมี พัฒนามาจากสุตมยปญญาและจินตามยปญญา
เรียกวา ญาณ เปนความรูทั้งเปนสวนโลกิยและโลกุตตร เมื่อผูปฏิบัติธรรมได
เจริญลักขณูปนิชฌานจนเกิดเปนญาณ ยอมเกิดประโยชนแกผูนั้นอยางนอย
๔ ประการ๑๓ คือ
๑) นานากิเลสวิทฺธํสนํ เปนญาณปญญาที่สามารถกําจัดกิเลสที่มีอยู
ในภายในของคนทั่วไป แบงออกเปน ๒ ระดับ คือ ญาณปญญาระดับที่จะเปน
โลกิยะ และระดับที่เปนโลกุตตระ
๑. ญาณปญญาระดับโลกิยะ เปนญาณปญญาสามารถทําลาย
กิเลสตางๆ ใหเบาบางลงตามลําดับ ทําลายสักกายทิฏฐิ เปนตน เริ่มตั้งแตรู
เห็นตามความเปนจริงของสังขารทั้งหลายเปนเพียงรูปนามเทานั้น เห็นดวย
ปญญาวารูปนามเปนของเนื่องกันอาศัยกันเปนไตรลักษณ มีความเกิดดั บ
สลับ กัน ไป เปน สังขารดั บสิ้ นไมมีเหลือ เปน ของน ากลัว เปน โทษ นาเบื่ อ
หนาย ควรที่จะหลีกหนี ไมควรเขาไปยึดถือวาเปนตัวตน เปนตน เปนญาณ
ปญญาระดับเห็นตามความเปนจริงกอนแตยังไมสามารถกําจัดสิ่งที่เห็นดวย
ปญญานั้นใหสิ้นไปได
๒. ญาณปญญาระดับโลกุตตระ เปนญาณปญญาที่สามารถจัด
สิ่งที่ปรากฏดวยปญญาที่ไดรูไดเห็นแลว เชน มีปญญาเห็นวา ขันธ ๕ หรือรูป
นามเปนบอเกิดของความทุกขทั้งปวง เมื่อเห็นดวยญาณปญญาอยางนั้นแลว
ก็กําจัดสิ่งเหลานั้น เรียกวาญาณปญญานั้น วามรรคญาณ ผลญาณ อันเปน
ปญญาฝายโลกุตตระ เปนญาณปญญาเหนือโลกหรือพนจากโลก ทําใหผูถึง

๑๓
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, แปลโดย สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภ
มหาเถร), พิมพครั้งที่ ๑๐, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธนาเพลส จํากัด, ๒๕๕๔), หนา
๑๑๔๘.
๗๕๘
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ปญญาระดับนี้เปนผูสามารถดับทุกขไดอยางแทจริง ดวยปญญาอันเปนโลกุต
ตระนี้ วิปสสนาญาณที่โยคีทําใหเกิดมีขึ้นแลว สามารถทําลายขายกิเลสที่
ติดตามมาตลอดกาลนานใหพินาศไปได เปรียบเหมือนสายฟาทําลายภูเขา
ไฟปาทําลายป า ดวงอาทิตย กําจัด ความมืด ปญญาสว นนี้ เป นป ญญาเห็ น
ประจักษไดดวยตนเอง ฉะนั้น๑๔
๒) อริยผลรสานุภวนํ เปนญาณปญญาใหผูปฏิบัติไดเสวยรสของ
อริยผล คือ ผูที่ไดพัฒนาปญญาธรรมดาจนเปนญาณ สามารถทําลายกิเลส
ระดับตางๆ มีโสดาบัน เปนตนแลว ยังไดเสวยผลอันประเสริฐซึ่งเกิดจาก
มรรค ผลนั้นดวย ถาจะกลาวถึงอานิสงสอันเปนของพระอริยบุคคลผูไดบรรลุ
มรรคผลแลว ก็คือ เปนผูสามารถเขาสมาบัติไดตามมรรค ผลที่ตนไดบรรลุ
เพื่อประโยชนอยูเปนสุขในชีวิตปจจุบัน เรียกวาความสุขในทิฏฐธรรม ทาน
เปรี ย บพระอริ ย บุ คคลผู เ ขาสมาบั ติ เหมือนพระราชาทรงเสวยสุ ขในราช
สมบัติ เหมือนเทวดาเสวยสุขในทิพยสมบัติ ผูเปนอริยบุคคลทานตองการ
เสวยสมบัติ ของทานอันเป นโลกุต ตรสุขจึ งเขาสมาบั ติ เพื่อเสวยสุ ขนั้น ดั ง
ความปรากฏในคัมภีรวิสุทธิมรรค วา
สามัญ ญผลอัน ประเสริ ฐ สุ ด ยอดระงับ ความทุกข กระวนกระวาย
คลายกามารมณเครื่องลอใจออกไป มีอมตนิพพานเปนอารมณ สงบผองใส
ทวมทนด วยความสุข บริสุ ทธิ์ มีโอชะ แช มชื่ น ออนหวานเปน อย างยิ่ ง
ประดุ จ น้ํ าหวานที่เ จื อ ปนด ว ยน้ํ า อมฤต เพราะเหตุ ที่ ทา นบั ณ ฑิต ได ทํ า
วิปสสนาปญญาใหเกิดขึ้น จึงประสบความสุขอันประเสริฐยิ่ ซึ่งเปนรสของอริ
ยผลนั้น เพราะฉะนั้นทานจึงกลาววา การเสวยรสของอริยผลเปนอานิสงส
ของวิปสสนาภาวนา๑๕
๓) นิโรธสมาปตฺติสมาปชฺชนสมตฺถตา คือ ผูมีญาณปญญาสามารถ
เขานิโรธสมาบัติได ผูเกิดญาณปญญาจากการเจริญวิปสสนา ไมไดแตเพียงได
เสวยรสของอริยผลอยางเดียว รวมทั้งสามารถเขานิโรธสมาบัติ (ปญญาที่มี

๑๔
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๑๔๙.
๑๕
อางแลว, หนา ๑๑๕๔.
๗๕๙
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ความชํานาญ ในการระงับสังขาร ๓ ดวยญาณจริยา ๑๖ และดวยสมาธิจริยา
๙ เพราะประกอบดวยพละ ๒ อยาง ชื่อวา นิโรธสมาปตติญาณ)๑๖ อีกดวย
อันเปนอานิสงสของปญญาภาวนา
การเขานิโรธสมาบัติยอมมีไดเฉพาะอนาคามีบุคคลและพระอรหันต
เทานั้น เพราะทานทั้งหลายเหลานี้เปนผูชํานาญดวยญาณจริยา ๑๖ สมาธิ
จริยา ๙ เปนผูประกอบดวยพละ ๒ และเพราะความสงบไปแหงสังขาร ๓๑๗
ทานผูเปนพระอนาคามี และพระขีณาสพทั้งหลาย ยอมเขานิโรธสมาบัติเพื่อ
อยูเปนสุขในกาลปจจุบัน
๔) อาหุเนยฺยภาวาทิสิทฺธิ คือ ผูไดญาณปญญาไดรับความนับถือ
เปนอยางยิ่ง คือ เมื่อไดญาณปญญาอันเปนโลกุตตระแลว ไมใชแตเพียงอยู
เปนสุขโดยการเขานิโรธสมาบัติเทานั้น แตยังเปนที่ปรารถนาของผูตองการ
บุญ เปนผูควรนับถือ เปนผูควรตอนรับ เปนผูควรแกการทักษิณา เปนผูควร
แกการกราบไหว และเปนเนื้อนาบุญของเทวดา และมนุษยทั้งหลายดวยนั้น
เปนอานิสงสของโลกุตตรปญญา และสําหรับผูไดพัฒนาปญญาจนเกิดเปน
ญาณระดับโลกุตตระแลว ยอมไดอานิสงสตางๆ เชน
๑. ผูพัฒนาจิตใหไดญาณปญญาระดับโสดาบัน มี ๓ ประเภท ดังนี้
๑.๑ ผูบรรลุถึงโสดาบันดวยวิปสสนาอยางออน เปนผูไมตกต่ํา มี
ความแน น อนที่จ ะสํ าเร็ จ สั มโพธิ (สั ม โพธิ หมายถึง มรรคเบื้ องสู ง ๓ คื อ
สกทาคามิ ม รรค อนาคามิ ม รรค และอรหั ต ตมรรค) ๑๘ ในวั น ข า งหน า
ทองเที่ยวไปในภพของเทวดา และมนุษยเพียง ๗ ชาติก็จะทําที่สุด
แหงทุกขได เรียกวาสัตตักขัตตุปรมอริยบุคคล
๑.๒ ผูบรรลุถึงโสดาบันดวยวิปสสนาอยางกลาง เปนผูไมตกต่ํา มี
ความแนนอนที่จะสําเร็จสัมโพธิในวันขางหนา ทองเที่ยวเกิดในตระกูลอีก ๒
หรือ ๓ ตระกูล ก็จะทําที่สุดแหงทุกขได เรียกวาโกลังโกลอริยบุคคล
๑๖
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๓๔/๓.
๑๗
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๘๓-๘๔/๑๔๑ - ๑๔๓.
๑๘
สารตฺถ.ฎีกา. (ไทย) ๑/๒๑/๕๕๙.
๗๖๐
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
๑.๓ ผูบรรลุถึงโสดาบันดวยวิปสสนาอยางแก เปนผูไมตกต่ํา มี
ความแนนอนที่จะสําเร็จสัมโพธิในวันขางหนา ทองเที่ยวเกิดในตระกูลเพียง
ชาติเดียว ก็จะทําที่สุดแหงทุกขได เรียกวาเอกพีชีอริยบุคคล๑๙
นี้เปนอานิสงสของผูพัฒนาจิตใหเกิดญาณปญญาระดับอริยบุคคล
ชั้นโสดาบัน ถึงจะไมหมดกิเลสพนทุกขอยางสิ้นเชิง แตก็ไมตกไปสูอบายภูมิ
อยางแนนอน และยังจะไดถึงที่สุดแหงทุกขในไมชาอีกดวย
๒. ผู พั ฒ นาจิ ต ของตนจนได ญ าณป ญ ญาระดั บ สกทาคามี บุ ค คล
สามารถละสั งโยชน ๓ ประการเบื้ องต น ได อย า งสิ้ น เชิ ง และยั งทํา ราคะ
โทสะ โมหะใหเบาบางอีกดวย เปนผูมีคติอันแนนอน หมายถึง จะมาเกิดเปน
มนุษยอีกเพียงชาติเดียวเทานั้นก็จะทําที่สุดแหงทุกขได
๓. ผูพัฒนาจิตของตนจนไดญาณปญญาระดับอนาคามีบุคคล ละ
สังโยชนเบื้องต่ําทั้ง ๕ ประการไดอยางสิ้นเชิง เกิดเปนโอปปาติกะ (สัตวที่
เกิดและเติบโตทันที เมื่อตายก็หายวับไปไมทิ้งซากศพไว เชน เทวดา สัตว
นรก เปนตน) ปรินิพพานในเทวโลกชั้นสุทธาวาสไมกลับมาเกิดอีก ในคัมภีรวิ
สุทธิมรรคแบงเปนประเภทของผูปฏิบัติสมาธิวิปสสนาได ๕ ประเภท คือ
๓.๑ ทานผูไปเกิดในสุทธาวาสภพ ในภพใดภพหนึ่งอยูยังไมถึงครึ่ง
อายุก็ปรินิพพานในภพนั้น เรียกวาอันตราปรินิพพายีอริยบุคคล
๓.๒ ทานผูปรินิพพานเลยครึ่งอายุไปแลว เรียกวาอุปหัจจปรินิพ
พายีอริยบุคคล
๓.๓ ทานผูทํามรรคเบื้องบนใหเกิดโดยไมตองทําความเพียรมาก
โดยไมตองประกอบความเพียรมาก เรียกวาอสังขารปรินิพพายีอริยบุคคล
๓.๔ ทานผูทํามรรคเบื้องบนใหเกิดโดยมีการทําความเพียรมาก
โดยประกอบความเพียรมาก เรียกวาสสังขารปรินิพพานอริยบุคคล
๓.๕ ทานผูเกิดในภพใดแลวขึ้นสูภพสูงขึ้นไปจากภพนั้นจนถึงอก
นิฏฐภพแลวปรินิพพานในอกนิฏฐภพนั้น เรียกวาอุทธังโสโต อกนิฏฐคามี
อริยบุคคล อริยบุคคลผูพัฒนาจิตของตนใหถึงความเปนอริยบุคคลประเภท

๑๙
ดูรายละเอียดใน อภิ.ปุ. (ไทย) ๓๖/๓๑-๓๓/๑๕๔.
๗๖๑
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ตางๆ ไมตองถือเพศต่ํา หมายถึง ไมตองกลับมาเกิดเปนมนุษยอีก สิ้นอาสว
กิเลสในภพที่ตนเกิดนั้นเอง๒๐
๔. ผู พั ฒ นาจิ ต จนได ญ าณป ญ ญาระดั บ สิ้ น อาสวกิ เ ลส เป น พระ
อรหันต บางทานก็หลุดพนจากอาสวะกิเลสดวยปญญา ก็เรียกวา ปญญา
วิมุตติ บางทานก็หลุดพนพิเศษดวยภาคทั้งสอง เรียกวาอุภโตภาควิมุตติ บาง
ท า นก็ ห ลุ ด พ น แล ว มี วิ ช ชา ๓ เรี ย กว า เตวิ ช โช บางท า นก็ ห ลุ ด พ น แล ว มี
อภิ ญ ญา ๖ เรี ย กว า ฉฬภิ ญ โญ บางท า นก็ ห ลุ ด พ น แล ว เป น ผู ถึ ง ความ
แตกฉานในปฏิ สั มภิ ทา เรี ย กว าปฏิ สั มภิ ทัปปตโต
การเจริญลักขณูปนิชฌานสงผลใหเกิด อาหุเนยฺยภาวาทิสิทฺธิ เปน
ป ญ ญาอัน เป น โลกุ ต ตระ เป น บุ คคลควรนั บ ถื อ ควรต อ นรั บ ควรแกก าร
ทักษิณา ควรแกการกราบไหว และเปนเนื้อนาบุญของเทวดา และมนุษย
ทั้งหลาย โยคีผูมีความเพียรเจริญวิปสสนาภาวนาทั้งหลายเหลานี้ ทานไดรับ
ความพิเศษของจิตทั้งสวนที่เปนโลกิยะ และสวนที่เปนโลกุตตระอันเกิดจาก
การพัฒนาจิตดวยความเพียร มีสติสัมปชัญญะ เจริญตามมรรคมีองค ๘ ซึ่ง
เปนหนทางดับทุกข และเจริญตามขอปฏิบัติทั้งเปนแนวของสมถยานิก และ
วิปสสนายานิก หรือทั้ง ๒ สวน จุดหมายสูงสุดก็ปรากฏตามแนวปฏิบัตินั้น
ซึ่งเรียกวาอานิสงส หรือผลของการเจริญลักขณูปนิชฌาน ดังนั้น ผลของการ
เจริญลักขณูปนิชฌานนั้น ทําใหเกิดปญญาญาณทั้งในโลกิยะ และโลกุตตระ
ซึ่งสามารถเสวยผลของอริยผล เขานิโรธสมาบัติ เปนอาหุเนยยบุคคลในที่สุด
อัปปนาวิถีจิต
วิถีจิต คือ จิตพรอมดวยเจตสิกที่เกิดขึ้นโดยลําดับติดตอกันเปนแถว
เปนจิตที่กําลังเกิดขึ้นรับอารมณ๒๑ใหม๒๒ นับตั้งแตการปรากฏของอารมณ
(รูป เสียง..) ที่มากระทบทางทวาร (ตา หู..) ในทุกๆ ความรูสึกนึกคิดอันมี
๒๐
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๑๖๘.
๒๑
ไดแก สีตางๆ เสียงตางๆ กลิ่นตางๆ รสตางๆ เย็น รอน ออนแข็ง หยอน ตึง
และธัมมารมณ อันไดแก จิตเจตสิก ปสาทรูป สุขุมรูป ๑๖ นิพพาน และบัญญัติ
๒๒
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ,ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๓, ๗,หนา ๓๗.
๗๖๒
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ที่มาและที่ไป ที่มาของความรูสึกนึกคิดในเบื้องตน คือ อารมณหรือสิ่งเรา
เมื่อมีอารมณมากระทบทางทวารตางๆ (ประสาทสัมผัส) จะเกิดจิตชนิดตางๆ
เพื่อทําหนาที่รับรูและตอบสนองสิ่งเรานั้น
วิถีจิต จำแนกโดยประเภทใหญๆ มี ๒ ประเภท คือ (๑) ปญจทวาร
วิถี คือ ความเปน ไปของจิ ตและเจตสิก ที่เกิดทางทวารทั้ง ๕ ได แก จักขุ
ทวารวิถี โสตทวารวิถี ฆานทวารวิถี ชิวหาทวารวิถี กายทวารวิถี๒๓ ปญจ
ทวารวิถีเปนวิถีจิตในกามภูมิเทานั้น สวนมโนทวารวิถีเปนวิถีจิตในกามภูมิ
และในภูมิที่สูงขึ้นไปอีก คืออัปปนามโนทวารวิถี (จําแนกออกเปนโลกียอัปป
นาวิถี และโลกุตตรอัปปนาวิถี) (๒) มโนทวารวิถี คือ ความเปนไปของจิต
และเจตสิ ก ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทางใจ เป น วิ ถี จิ ต ของอารมณ ท างใจ สื บ ต อ มาจาก
กระบวนการทางปญจทวารวิถีอีกทีหนึ่ง ทําใหจิตมีกระบวนการแหงความ
นึกคิดพิจารณา ทําใหเกิดจินตภาพ และมโนภาพตางๆ ขึ้นมา โดยมีการทํา
หนาที่รับรู เสพ เสวยผลแหงอารมณนั้นๆ ยอมเกิดและดับไปตามลําดับ๒๔
เมื่อนั บ ตลอดทั้งสองช ว ง คือ ตั้ งแต อดี ต ภวั งคจุ ด เริ่ ม มาจนจบวิ ถี จิ ตรวม
ทั้งหมดเปน ๑๗ ขณะจิต๒๕
จิตตุปปาทะ คือ จิตที่เกิดขึ้นพรอมกับเจตสิกที่ประกอบรวม
ขณะ คือ จิตเกิดขึ้นดวงหนึ่งก็นับเปนขณะหนึ่ง เรียกวา ขณะจิต
จิตที่เกิดขึ้นดวงหนึ่งๆ นั้นยังแบงไดเปน ๓ อนุขณะ คือ อุปาทขณะ
(ขณะที่จิตเกิดขึ้น) ฐีติขณะ(ขณะที่จิตตั้งอยู) ภังคขณะ(ขณะที่จิตนั้นดับไป)
อนึ่ง จิต ๑๗ ขณะเทากับอายุของรูปธรรม ๑ รูป คือ จิตเกิดดับไป
๑๗ ขณะ รู ปจึงดั บไปหนหนึ่ ง หรื อกลาวอีกนั ยหนึ่ งวา รูปแต ละรูป มีอายุ
เทากับจิตเกิดดับไป ๑๗ ขณะ ดังนั้ นรูปแตละรูปจึงมีอายุเทากับ ๕๑ อนุ
ขณะ คือ เปนอุปาทขณะ ๑ อนุขณะ เปนฐีติขณะ ๔๙ อนุขณะและเปนภังค
๒๓
พระสัทธัมมโชติกะธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๓, ๗, หนา ๑๗.
๒๔
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๗๖๔-๗๖๘.
๒๕
เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๗๘. พระอนุรุทธะและพระญาณธชนะ, อภิธัมมัตถ
สังคหะและปรมัตถทีปนี, หนา ๓๙๖., ๓๘๕-๓๘๖.
๗๖๓
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ขณะ ๑ อนุขณะ ดังนั้นจึงเห็นไดวา อุปาทขณะของจิตกับอุปาทขณะของรูป
มี ๑ อนุขณะเทากัน ภังคขณะของจิตกับภังคขณะของรูปก็เทากันอีก
สวนฐีติขณะของจิตมี ๑ อนุขณะ แตฐีติขณะของรูปนั้นมีถึง ๔๙ อนุ
ขณะ รูปจึงมีอายุยืนยาวกวาจิตมาก รูปธรรมทั้งหมดมี ๒๘ รูป แตรูปที่มี
อายุ ๑๗ ขณะจิตมีเพียง ๒๒ รูป สวนอีก ๖ รูป คือ วิญญัติรูป ๒ ลักขณะรูป
๔ มีอายุไมถึง ๑๗ ขณะจิต เพราะวิญญัติรูป ๒ เกิดพรอมกับจิตและดับไป
พรอมกับจิต จึงมีอายุเทากับอายุของจิตดวงเดียว คือ ๓ อนุขณะเทานั้น
สวนลักขณะรูป ๔ อุปจยรูป และสันตติรูป เปนรูปที่อุปาทขณะ มี
อายุเพียง ๑ อนุขณะเทานั้น ไมถึง ๕๑ ขณะ
ชรตารูป เปนรูปที่ฐีติขณะมีอายุ ๔๙ อนุขณะเทานั้นไมถึง ๕๑ ขณะ
อนิจจตารูป เปนทีภ่ ังคขณะมีอายุเพียง ๑ อนุขณะ ไมถึง ๕๑ ขณะ
เป น อัน ว าลั กขณะรู ป ทั้ง ๔ นี้ แต ล ะรู ป มี อายุ ไมถึง ๕๑ อนุ ขณะ
แมแตสักรูปหนึ่ง
ปญจทวารวิถี กับ มโนทวารกามวิถี
ปญจทวารวิถี กับมโนทวารกามวิถี ตางก็เปนวิถีที่มีกามธรรมเปน
อารมณ เปนกามวิถีดวยกันทั้งคู แตวามีความแตกตางกันหลายประการ คือ
ปญจทวารวิถี มโนทวารกามวิถี
๑. ตองมีอตีตภวังคเสมอไป ไมมี
๒. มีวิสยัปปวัตติ ๔ คือ มีวสิ ยัปปวัตติเพียง ๒ คือ
ก. อติมหันตารมณ ข. มหันตารมณ ก. วิภูตารมณ
ค. ปริตตารมณ ง. อติปริตตารมณ ข. อวิภูตารมณ
๓. อาศัยเกิดได ๕ ทวาร เกิดไดเฉพาะแตมโนทวารทางเดียว
อาศัยเฉพาะหทยวัตถุเกิดแตอยาง
๔. อาศัยวัตถุ ๕ เกิด
เดียว หรือ มิฉะนั้นก็ เกิดโดยไมตอง
อาศัยวัตถุใดๆ เลย

๗๖๔
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล

๕. มีอารมณ ได ๕ อยาง(ปญจารมณ) มีอารมณไดทั้ง ๖


๖. มีรูปธรรมเปนอารมณ มีทั้งรูปธรรม นามธรรม และบัญญัติ
ธรรมเปนอารมณ
๗. มีเฉพาะปรมัตถ เปนอารมณ มีทั้งปรมัตถ และบัญญัติเปนอารมณ
๘. มีอารมณที่เปนปจจุบันแต มีอารมณทั้งที่เปนปจจุบัน อดีต
อยางเดียว อนาคต ตลอดจนกาลวิมุตติ
๙. เกิดไดแก กามบุคคล รูปบุคคล เกิดไดทั้ง กามบุคคล รูปบุคคล
(เวนอสัญญสัตตบุคคล) เฉพาะรูป ตลอดจนอรูปบุคคล (เวนเฉพาะ
บุคคลก็เกิดไดแตจักขุทวารวิถี และ อสัญญสัตตบุคคลเทานั้น)
โสตทวารวิถีเทานั้น
๑๐. เกิดไดในกามภูมิ รูปภูมิ (เวน
เกิดไดทั้งในกามภูมิ รูปภูมิ ตลอดจน
อสัญญสัตตภูมิ) และในรูปภูมินั้น ก็เกิด
อรูปภูมิ มีเวนเฉพาะแตอสัญญสัตต
ไดเฉพาะจักขุทวารวิถี และ
ภูมิ เดียวเทานั้น
โสตทวารวิถีเทานั้น
๑๑. มีวิถีจิตอยางมากไดถึง ๗ อยาง มีวิถีจิตอยางมากไดเพียง ๓ อยาง
คือ อาวัชชนะ ๑ ทวิปญจวิญญาณ ๑ คือ อาวัชชนะ ๑ ชวนะ ๑
สัมปฏิจฉันนะ ๑ สันตีรณะ ๑ ตทาลัมพนะ ๑
โวฏฐัพพนะ ๑ ชวนะ๑ ตทาลัมพนะ ๑
๑๒. มีจิตตุปปาทะอยางมาก ๑๔ ขณะ มีจิตตุปปาทะอยางมาก ๑๐ ขณะ
ถานับภวังคขางหนาดวยก็เปน ๑๗ ถานับภวังคขางหนาดวยก็เปน ๑๒
ขณะ ขณะ
๑๓. มีจิตพิสดารถึง ๕๔ ดวง คือ มีจิตพิสดารเพียงกามจิต ๔๑ ดวง
กามจิตทั้งหมด (เวน ทวิปญจวิญญาณ๑๐ มโนธาตุ๓
อันเปนจิตที่เกิดทางปญจทวารวิถ)ี
๑๔. เกิดจากภวังคจิตเพียง ๑๕ ดวง เกิดจากภวังคจิตไดทั้ง ๑๙ ดวง คือ
คือ อุเบกขาสันตีรณะ ๒ มหาวิบาก ๘ อุเบกขาสันตีรณะ ๒ มหาวิบาก ๘
รูปาวจรวิบาก ๕ รูปาวจรวิบาก ๕ อรูปาวจรวิบาก ๔

๗๖๕
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล

๑๕. มีเวทนาไดทั้ง ๕ มีเวทนาไดเพียง ๓ คือโสมนัสเวทนา


โทมนัสเวทนาอุเบกขาเวทนา เทานั้น

อัปปนาวิถี
อัปปนา แปลวา ทําลาย คือ ทําลายกิเลส มีนิวรณเปนตน หมายถึง
จิตที่แนบแนนอยูในอารมณเดียว ถาเคยไดอัปปนาจิตในอารมณใด เมื่อจิต
ดวงนั้นเกิดขึ้นอีกขณะใดก็จะตองมีอารมณอยางนั้นเสมอไป ไมเปลี่ยนแปลง
เปนอารมณอยางอื่นเลย
อัปปนาจิต คือ จิตที่แนบแนนอยูในอารมณเดียวโดยเฉพาะ ไดแก
จิต ๓๕ ดวง (พิสดาร ๖๗) คือ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐
ส ว น อัป ปนาวิ ถี คือ วิ ถีจิ ต ที่ มีอั ป ปนาจิ ต อยู ใ นวิ ถี นั้ น ได แก จิ ต
๒๖ ดวง (พิสดาร ๕๘) คือ มหัคคตกุสลจิต ๙ มหัคคตกิริยาจิต ๙ โลกุตตร
จิต ๘ หรือ ๔๐
อั ป ปนาชวนะ คื อ ชวนจิ ต ที่ แ นบแน น อยู ใ นอารมณ เ ดี ย ว
โดยเฉพาะ ไดแก จิต ๒๖ หรือ ๕๘ เทากัน และเหมือนกันกับอัปปนาวิถีจิต
นั่นเอง เพราะชวนะเปนจิตที่อยูในวิถี
อั ป ปนาวิ ถี หรื อ อั ป ปนาชวนะเกิ ด ได ท างมโนทวารวิ ถี ท างเดี ย ว
เทานั้น ไมเกิดทางปญจทวารวิถีเลย
อัปปนาวิถี เปนมโนทวารวิถีก็จริง แตไมจําแนกเปนวิภูตารมณวิถี
และอวิภูตารมณวิถี เหมือนอยางมโนทวารกามวิถี เพราะอัปปนาวิถีมีแตวิภู
ตารมณวิถอี ยางเดียว ดวยเหตุวา ถาอารมณนั้นไมชัดเจนแจมแจงจริงๆ แลว
อัปปนาชวนะจะเกิดไมไดเลย โยจําแนกไดเปน ๒ ประเภท คือ โลกียอัปปนา
วิถี โลกุตตรอัปปนาวิถี ดังนี้
โลกียอัปปนาวิถี
โลกี ย อัป ปนาจิ ต ได แก มหั ค คตจิ ต ทั้ง ๒๗ ดวง แต โ ลกีย อั ป ปนา
วิถี ไดแกมหัคคตชวนจิต ๑๘ ดวง (มหัคคตกุสลจิต ๙ มหัคคตกิริยาจิต ๙)
เทานั้น สวนมหัคคตวิบากจิตอีก ๙ ดวงนั้นไมนับเปนโลกียอัปปนาวิถี เพราะ
เปนจิตที่พนวิถแี ละไมนับเปนโลกียอัปปนาชวนะ เพราะไมไดทําชวนกิจ
๗๖๖
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
โลกียอัปปนาวิถีนี้ กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ วิถีจติ ที่ไดฌาน ที่ถึงฌาน ที่
ฌานจิตเกิด (ทั้งนี้ หมายเฉพาะฌานจิตที่เปนกุสลและกิริยาเทานั้น ยกเวน
ฌานจิตที่เปนวิบาก เพราะเปนจิตที่พนวิถ)ี
ผูที่ไดปฐมฌานเปนครั้งแรก ก็ดี ไดทุติยฌานเปนครั้งแรก ก็ดี ตลอด
จนถึงไดเนวสัญญานาสัญญายตนฌานเปนครั้งแรกก็ดี วิถีจิตที่ฌานจิตนั้นๆ
เกิดเปนครั้งแรก เรียกวา อาทิกัมมิกฌานวิถี ดังนี้
อาทิกัมมิกฌานวิถี ของมันทบุคคล (ผูรูชา)
กามชวนะ โลกียอัปปนาชวนะ
ภวังคจิต
มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ กุสลฌานจิต
น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ภ
ชวนจิต ชวนจิต
ความหมายของอักษรยอ
ตี = อตีตภวังค, น = ภวังคจลนะ,
ท = ภวังคุ ปจเฉทะ, ป = ปญจทวาราวัชชนะ,
วิ = ปญจวิญญาณ, สํ = สัมปฏิจฉันนะ,
สัน = สันตีรณะ, ๆ วุ = โวฏฐัพพนะ,
ช = ชวนะ, ต = ตทาลัมพนะ,
ภ = ภวังค, มโน = มโนทวาราวัชชนะ
อาทิกัมมิกฌานวิถี ของติกขบุคคล(ผูรูเร็ว)
กามชวนะ โลกียอัปปนาชวนะ
ภวังคจิต
มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ กุสลฌานจิต
น ท มโน อุป อนุ โค ฌ ภ
ชวนจิต ชวนจิต
ความหมายของอักษรยอ น=ภวังคจลนะ,ท=ภวังคุปจเฉทะ,มโน=
มโนทวาราวัชชนะ,บริ=บริกรรม,อุป=อุปจาระ,อนุ=อนุโลม,โค=โคตรภู
ฌ= ฌานจิต

๗๖๗
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
โคตรภูในโลกียอัปปนาวิถีนี้ หมายถึงโอนโคตรหรือตัดจากโคตร
กาม ไปเปนโคตรพรหม อาทิกัมมิกฌานวิถีคือวิถีจิตที่ฌานจิตนั้นๆ เกิดเปน
ครั้งแรกนี้ ฌานจิตจะเกิดเพียงขณะเดียวหรือดวงเดียวเทานั้นเอง ตอเมื่อมี
วสี (มีความชํานาญ)แลว จึงจะเกิดไดหลายขณะ
โลกุตตรอัปปนาวิถี
โลกุตตรอัปปนาวิถี คือ วิถีจิตที่มีโลกุตตรจิตในวิถีนั้น โลกุตตรจิต
เปนจิตที่แนบแนนแนวแนในพระนิพพานเปนอารมณแตอยางเดียวเทานั้น
จะมีอารมณเปนอยางอื่นไมได
โลกุตตรอัปปนาวิถี ไดแก โลกุตตรจิต (มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔)
ติเหตุกบุคคลเจริญวิปสสนาจนบรรลุมรรคผล วิถีจิตที่ถึงมรรค ถึง
ผลนั้นเรียกวา มรรควิถี ดังนี้
มัคควิถีของมันทบุคคล(ผูรูชา)
กามชวนะ อัปปนาชวนะ
มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ โลกุตตรจิต ๘
น ท มโน บริ อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ภ
มโน บริ อุป อนุ มีไตรลักษณแหงรูปนามเปนอารมณ
โค มัคค ผล ผล มีนิพพานเปนอารมณ
มรรควิถีของติกขบุคคล(ผูรูเร็ว)
กามชวนะ อัปปนาชวนะ
มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ โลกุตตรจิต ๘
น ท มโน อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ผล ภ
มโน อุป อนุ มีไตรลักษณแหงรูปนามเปนอารมณ
โค มัคค ผล ผล ผล มีนิพพานเปนอารมณ
ในมัคควิถี ไมวาจะเปนมันทบุคคล(ผูรูชา) หรือติกขบุคคล(ผูรูเร็ว)
มัคคจิตก็เกิดขณะเดียวเทานั้น

๗๖๘
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
มัน ทบุ ค คล อนุ โ ลมญาณเกิด ๓ ขณะ โคตรภู ญ าณเกิ ด ๑ ขณะ
มัคคญาณเกิด ๑ ขณะ, ผลญาณเกิด ๒ ขณะ รวมเปนชวนะ ๗ ขณะ
อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ
น ท มโน บริ อุป อนุ โค มัคค ผล ผล
ติกขบุคคล อนุโลมญาณเกิด ๒ ขณะ โคตรภูญาณเกิด ๑ ขณะ มัคค
ญาณเกิด ๑ ขณะ ผลญาณเกิด ๓ ขณะ รวมชวนะ ๗ ขณะเหมือนกัน
อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ
น ท มโน อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ผล ภ

วิถีจิตของพระโสดาบันที่บรรลุสกทาคามีมัคค-ผล ก็ดี วิถีจิตของ


พระสกทาคามี ที่บ รรลุ อานาคามีมัคค-ผล ก็ ดี วิ ถีจิ ต ของพระอนาคามี ที่
บรรลุอรหัตตมัคค-ผล ก็ดี มีวิถีจิต คือมัคควิถีอยางเดียวกับที่ไดแสดงมาแลว
นี้ สวนโคตรภูนั้นไมเรียกวา โคตรภู แตเรียกวา โวทาน
ในมัคควิถี โคตรภู หมายความวาตัดจากโคตรปุถุชนเปนโคตรอริยะ
ตัดจากโคตรชนที่หนาแนนไปดวยกิเลสเปนโคตรชนที่หางไกลจากกิเลส
สวน โวทาน แปลวา ธรรมขาว หมายความวา พระสกทาคามี มี
ธรรมที่ขาวกวา สะอาดกวาพระโสดาบัน พระอนาคามีก็มีธรรมที่ขาวยิ่งกวา
สะอาดยิ่งกวาพระสกทาคามี สําหรับพระอรหันตนั้นเปนผูที่ขาวสะอาด
บริสุทธิ์หมดจดดวยประการทั้งปวง
ขอสังเกตในอัปปนาวิถี
อัปปนาวิถีเปนวิถีจิตที่มีอารมณปรากฏทางใจอยางชัดเจน แจมแจง
มาก เพราะถาอารมณนั้นไมชัดเจนแจมแจงจริงๆ แลว อัปปนาวิถีจะไมเกิด
นอกจากนี้มีขอที่ควรสังเกตอีก คือ
ก. กลาวโดยความชัด แจงของอารมณ แมวาอัป ปนาวิถีมีอารมณ
ชัดเจนแจมแจงมาก แตวิถีจิตก็มีไมถึงตทาลัมพนะ เพราะอัปปนาวิถีมีทั้ง
กามอารมณ กามชวนะและนิพพานเปนอารมณไดดวย

๗๖๙
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ข. กลาวโดยอารมณของแตละวิถี ในวิถีเดียวกันนั้นเอง อัปปนาวิถีมี
อารมณไดมากกวา ๑ เชน ในมัคควิถีวิถีจิตตอนตนๆ คือ มโนทวาราวัชชนะ
บริกรรม อุปจาระ อนุโลม มีไตรลักษณแหงรูปนามเปนอารมณ วิถีจิตตอน
หลังๆ คือ โคตรภู มัคคจิต ผลจิต มีนิพพานเปนอารมณ
กามวิถี กับ อัปปนาวิถี
กามวิถีกับอัปปนาวิถี มีความแตกตางกันหลายประการ
กามวิถี อัปปนาวิถี
๑. ไมไดแนบแนนอยูในอารมณ แนบแนนอยูในอารมณเดียว
เดียว โดยเฉพาะ โดยเฉพาะ
๒. เกิดไดทั้งทางปญจทวารวิถีและ เกิดไดทางมโนทวารวิถีทางเดียว
มโนทวารวิถี
๓. มีอารมณไดทั้ง ๖ มีไดเฉพาะธัมมารมณ คือ อากาสา
นัญจายตนกุสล ๑, -กิริยา ๑,
อากิญจัญญายตนกุสล ๑, -กิริย ๑,
บัญญัติและนิพพานเทานัน้
๔. มีไดทั้งอดีตอารมณ อนาคต มีเฉพาะอดีตอารมณ และกาลวิมุตติ
อารมณ ปจจุบนั อารมณ และกาล อารมณเทานั้น
วิมุตติอารมณ
๕. อาศัยวัตถุ ๖ เกิด (เฉพาะหทย อาศัยเฉพาะหทยวัตถุเกิดแตอยาง
วัตถุ บางทีกไ็ มตองอาศัย) เดียว หรือไมตองอาศัยวัตถุเลย
๖. แยกประเภทมโนทวารวิถีเปน ไมแยกเปน ๒ ประเภท เพราะมีแต
๒ คือ วิภูตารมณวิถี และอวิภูตา วิภูตารมณนั้นอยางเดียว ดวยเหตุ วา
รมณวิถี ถาอารมณนั้นไมชัดเจนแจมแจงจริงๆ
แลวอัปปนาชวนะก็เกิดไมไดเลย
๗. อาจมีถึงตทาลัมพนะได ไมมีตทาลัมพนะเลย
๘. มีชวนะอยางมากไดเพียง ๗ ชวนะเกิดไดตั้งแต ๑ ขณะขึ้นไปจน

๗๗๐
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล

มากมายถึงนับประมาณไมได
๙. มีเวทนาไดทั้ง ๕ มีเวทนาไดเพียง ๒ คือ โสมนัส
กับ อุเบกขาเทานั้นเอง
๑๐. มีทั้ง อสังขาริก และสสังขาริก มีแต สสังขาริก อยางเดียว
๑๑. มีสัมปยุตตไดทั้ง ๕ คือ มีเฉพาะแต ญาณสัมปยุตต
ทิฏฐิ.. ปฏิฆ.. วิจิกิจฉา.. อุทธัจจ.. อยางเดียว เทานั้น
และ ญาณสัมปยุตต
๑๒. มีทั้ง โสภณะ และอโสภณะ มีโสภณะ แตอยางเดียว
๑๓. มีเฉพาะโลกีย แตอยางเดียว มีทั้งโลกีย และโลกุตตร
๑๔. ไมมีแมแต มหัคคตจิต มีทั้งมหัคคต และโลกุตตร
๑๕. มีทั้งจิตที่เปน กุสล อกุสล ไมมีจิตที่เปนอกุสลเลย
วิบาก และกิริยา
๑๖. มีทั้งการสั่งสมกิเลส และ ไมมีการสั่งสมกิเลสเลย มีแตการ
ทําลายกิเลส แตการทําลายกิเลส ก็ ทําลายกิเลสถายเดียว และทําลายอยาง
ทําลายเพียงชั่วขณะที่เรียกวา ตทังค วิกขัมภณะ ตลอดจนอยางสมุจเฉท ให
เทานั้น หมดสิ้นสูญเชื้อไปเลย
๑๗. เกิดไดแกบุคคลทั่วไป ไมวา เกิดไดเฉพาะ ติเหตุกบุคคล เทานั้น
จะเปนทุคคติบุคคล สุคติบุคคล ทวิ
เหตุกบุคคล ตลอดจน ติเหตุกบุคคล
๑๘. เกิดไดในภูมิทั้ง ๓๐ เว เกิดไดในภูมิเพียง ๒๖ ภูมิ
นอสัญญสัตตภูมิ ภูมิเดียวเทานัน้ (เวนอบายภูมิ ๔ อสัญญสัตตภูมิ ๑)
๑๙. มีวิถีจิตอยางมากไดถึง ๗ มีวิถีจิตเพียง ๒ อยางเทานั้น คือ
อยาง คือ อาวัชชนจิต ๑ ปญจ อาวัชชนจิต ๑ และชวนจิต ๑
วิญญาณจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๑
สันตีรณจิต ๑ โวฏฐัพพนจิต ๑
ชวนจิต ๑ ตทาลัมพนจิต ๑
๒๐. เกิดจากภวังคจิตไดทั้ง ๑๙ เกิดจากภวังคจิตเพียง ๑๓ ดวง คือ
๗๗๑
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล

คือ อุเบกขาสันตีรณวิบาก ๒ มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔


มหาวิบาก ๘ มหัคคตวิบาก ๙ มหัคคตวิบาก ๙
๒๑. มีจิตเกิดไดทั้งสิ้นรวม ๕๔ มีจิตที่เกิดได คือ อัปปนาชวนจิต
ดวงคือ กามจิตทั้งหมด ๕๘ ดวง คือ มหัคคตกุสล ๙
มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๔๐
๒๒. ในวิถีเดียวกัน มีอารมณแต ในวิถีเดียวกัน มีอารมณไดมากกวา
อยางเดียวเทานั้น อยางเดียว
๒๓. ชวนจิตในวิถีเดียวกัน มีชวน มีชวนจิตในวิถีเดียวกัน
จิตเปนชาติเดียวกัน ไดมากกวา ชาติเดียว
๒๔. ชวนจิตในวิถีเดียวกัน เปน ชวนจิตในวิถีเดียวกัน มีกามชวน และ
กามชวนะแตอยางเดียว มหัคคตชวน หรือโลกุตตรชวนะดวย

อภิญญาวิถี
อภิญญา แปลวา รูยิ่ง รูพิเศษ เปนจิตที่มีความรูอันยิ่งใหญ มีอํานาจ
สามารถที่จะบันดาลใหเกิดสิ่งที่ตนปรารถนาได ตองใชรูปาวจรปญจมฌาน
กุสล หรือรูปาวจรปญจมฌานกิริยาที่ไดมาจากกสิณเปนบาทใหเกิดอภิญญา
จิต ดังนั้น อภิญญานี้จึงมีไดแตในภูมิที่มีขันธ ๕ เพราะตองทําดวยรูปฌาน
อภิญญาตองอาศัยรูปาวจรฌานเปนบาทใหเกิดขึ้น มี ๕ ประการคือ
๑. บุพเพนิวาสานุสสติ ระลึกชาติกอนที่เคยเกิดมาแลวได
๒. ทิพพจักขุ หรือจุตูปปาตญาณ (ตาทิพย) สามารถเห็นเหตุการณ
ไกลๆ ที่ไปไมถึงได และรูจุต-ิ ปฏิสนธิของสัตวทงั้ หลาย
๓. ปรจิ ต ตวิ ช ชานน หรื อ เจโตปริ ย ญาณ รู จั ก จิ ต ใจของผู อื่ น ได
๔. ทิพพโสต คือ หูทิพย สามารถฟงเสียงที่ไกลๆ ได
๕. อิทธิวิธ แสดงอิทธิฤทธิตางๆ ได
ผูจะทําอภิญญาได ตองเปนผูมีลักษณะดังตอไปนี้ คือ
๑. ไดสมาบัติทั้ง ๘ คือ ไดทั้งรูปฌานสมาบัติ และอรูปฌานสมาบัติ
โดยครบถวน
๗๗๒
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
๒. ต อ งได ทํ า การฝ ก ฝนอบรมเป น พิ เ ศษอี ก ๑๔ นั ย เพื่ อ ให ไ ด
อภิญญา และตองแคลวคลองวองไวดวย (กระบวนการอบรมเปนพิเศษ ๑๔
นั ย นั้ น แสดงไว ใ นปริ จ เฉทที่ ๙) เมื่ อฌานลาภี บุ ค คลผู มี ลั กษณะดั ง กล า ว
ปรารถนาจะทําอภิญญาอยางใดอยางหนึ่ง ตองกระทําดังนี้ คือ
๑. ตองเขารูปาวจรปญจมฌานกอน เพื่อเปนบาทใหจิตมีกําลังกลา
แข็ง ซึ่ง เรียกชื่อวา ปาทกฌานวิถี วิถีจิตเปนดังนี้
ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ฌ ฌ ฌ ฌ ภ
๒. แลวก็อธิษฐาน คือ ตั้งความปรารถนาอันแนวแนมั่นคง อยางแรง
กลาวาประสงคอภิญญาอยางใด ซึ่งเรียกชื่อวาอธิฏฐานวิถี (เปนกามวิถ)ี ดังนี้
ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ภ
๓. ต อ จากนั้ น ก็เ ขา รู ป าวจรป ญจมฌานอีก เรี ย ก ปาทกฌานวิ ถี
เหมือนกัน วิถีจิตเปนดังนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ฌ ฌ ฌ ฌ ภ
๔. ลําดับสุดทาย อภิญญาจิตก็จะเกิดขึ้นตามความปรารถนาที่ได
อธิษฐานนั้น วิถนี ี้จะเกิดอภิญญาจิตขณะเดียวเทานั้น ดังนี้
ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค อภิญญา ภ
ขณะที่อภิญญากําลังเกิดอยูนั้น มโนทวารวิถีที่เกิดตอจากอภิญญา
วิถีนั้น เปนมหากุสล หรือมหากิริยา ตามควรแกบุคคลที่แสดงอภิญญา และ
เปนกามชวน มโนทวารวิถี
หากกระทําดังกลาวแลวแตอภิญญายังไมเกิด ก็ตองตั้งตนเริ่มทํามา
ตั้งแตตนใหมอีก จนกวาอภิญญาจิตจะเกิด
อนึ่ ง จะเห็ น ไดว าบุ คคลที่แสดงอภิ ญญาไดก็ด ว ยอํานาจแห งการ
เจริญสมถภาวนาจนไดสมาบัติทั้ง ๘ เชนนี้เรียกวา ปฏิปทาสิทธิฌาน (สําเร็จ
ถึงซึ่งฌานดวยการปฏิบัติ) แตยังมีบุคคลอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งในชาตินั้นไมเคย
เจริญสมถภาวนา เปนแตเจริญวิปสสนาภาวนาอยางเดียว แตพอบรรลุมรรค
ผลก็ ถึ ง พร อ มซึ่ ง ฌานต า งๆ ด ว ย จนถึ ง แสดงอภิ ญ ญาได ก็ มี อย า งนี้
เรียกวา มัคคสิทธิฌาน (ไดฌานดวยอํานาจแหงมรรค)

๗๗๓
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล

๒. โคตรภูญาณ
ปญญาในการออกและหลีกไปจากนิมิตภายนอก ชื่อวา โคตรภูญาณ
(ญาณครอบโคตร)๒๖ โดยตัดขาดจากโคตรปุถุชน เขาสูโคตรของพระอริยะ๒๗
ปญญาที่ทําลายโคตรปุถุชนแลวเขาสูโคตรพระอริยเจา๒๘ปญญาที่
ทําลายโคตรของปุถุชน เปนปญญาที่ไมแลนไปสูความเปนไปของรูปนาม แต
แลนไปสูญาณที่มีนิพพานเปนอารมณ คือ ยางเขาสูโคตรของพระอริยเจา๒๙
รูปนามพรอมทั้งจิตที่รูดับลงไป สงบเงียบไป หนวงพระนิพพานเปน
อารมณ ณ ตรงที่เริ่มขาดความรูสึกวินาทีแรก จัดเปนโคตรภูญาณ ทรงอยู
เพียง ๑ ขณะจิตเทานั้น มีพระบาลีรับรองไววา
๑. อุปฺปาทํ อภิภุยฺยตีติ โคตฺรภู ปญญาที่ครอบงําความเกิดเรียกวา
โคตรภูญาณ
๒. ปวตฺตํ อภิภุยฺยตีติ โคตฺรภู ปญญาที่ครอบงําความเปนไปของรู ป
นาม เรียกวา โคตรภูญาณ
๓. พหิทฺธาสงฺขารนิมิตฺตํ อภิภุยฺยตีติ โคตฺรภู ปญญาที่ครอบงํารูป
นามภายนอก เรียกวา โคตรภูญาณ
๔. อนุปฺปาทํ ปกฺขนฺทตีติ โคตฺร ภู ปญญาที่แลน ไปสูความเกิด ขึ้น
ของรูปนาม เรียกวา โคตรภูญาณ๓๐
อนุโลมญาณและโคตรภูญาณเกิดขึ้นติดตอสืบเนื่องในวิถีจิตเดียวกัน
อนุโลมญาณจะเกิดขึ้นกอน ๒ หรือ ๓ ครั้ง เพื่อใหจิตแข็งแกรงขับไลโมหะ
(ที่ปดบังปญญาไมใหรูเห็นอริยสัจ ๔) ออกไป ดวยการกําหนดรูสังขารโดย

๒๖
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑/[๑๖], ขุ.ป.อ. (ไทย) ๖๘/๑๐/๖๘.
๒๗
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก าณสิทฺธิ ป.ธ.๙), คูมือสอบอารมณ
กรรมฐาน, หนา ๖๒.
๒๘
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ: วิปสสนากรรมฐาน,๒๕๕๙, หนา ๒๑๖.
๒๙
พระธรรมธีรราชมุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ): วิปสสนากรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๓,
(กรุงเทพมหานคร: บริษัท ประยูรวงศพริ้นทติ้ง จํากัด, ๒๕๕๔),หนา,หนา ๖๐๘.
๓๐
พระธรรมธีรราชมหามุนี , คูมือสอบอารมณกรรมฐาน, หนา ๖๒.
๗๗๔
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
พระไตรลักษณอยา งใดอยา งหนึ่งเปน อารมณ แลว ผา นไป จากนั้น โคตร
ภูญาณก็เกิดขึ้นทําพระนิพพานเปนอารมณ ครอบงําขามพนโคตรปุถุชน๓๑
ปุถุชน แปลวา ชนผูหนา มีความหมาย ๙ อยาง คือ
๑. ผูมีกิเลสหนาดวยประการตางๆ ไดแกมี สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา
สีลัพพตปรามาส เปนตน
๒. ผูหนาดวยคติทั้ง ๕ ผูไมออกจากคติทั้ง ๕ อันหนา
๓. ผูสรางสังขารขันธอันหนาทั้ง ๓
๔. ผูถูกโอฆะอันหนาทั้ง ๔ พัดไป
๕. ผูเรารอนดวยความเรารอนอันหนา
๖. ผูกําหนด ชอบใจ ติดใจ ของ จม หลง พัวพันอยูในกามคุณทั้ง ๕
อยางแนนหนา
๗. ผูถูกนิวรณ ๕ อันหนาครอบงําทวมทับหุมหอปกปดไวใหมิด
๘. ผูหยั่งลงสูธรรมอันต่ําสูมารยาทอันต่ํา ผูหันหลังใหอริยธรรม
๙. ผูปราศจากสารธรรมทั้ง ๕ ๓๒
คัมภีรอรรถกถาอธิบายไวหลายความหมาย เชน ชื่อวา ปุถุชนเพราะ
เปนผูที่ยังมีกิเลส เพราะเปนผูที่ไมเชื่อถือในพระศาสดา เพราะมีกําหนัดติด
ใจ ลุมหลง มัวเมาในกามคุณเปนอันมาก เพราะไมมีการศึกษาธรรมะและ
ปฏิบัติธรรมถึงการบรรลุมรรคผล และเพราะการเปนอยูที่แตกตางจากพระ
อริยะทั้งหลาย ดังขอความวา “ปุถุ นานาโอเฆหิ วุยฺหนฺตีติ ปุถุชฺชนา แปลวา
ชื่อวาปุถุชน เพราะถูกโอฆะกิเลสตางๆ เปนอันมากพัดพาไป”๓๓
ชื่อวา ปุถุชน เพราะอรรถวา ยังกิเลสอันหนาแนนใหเกิด
ชื่อวา ปุถุชน เพราะอรรถวา มีสักกายทิฏฐิที่ยังไมไดกําจัด ยังหนา
ชื่อวา ปุถุชน เพราะอรรถวา ปฏิญาณตอพระศาสดามาก
ชื่อวา ปุถุชน เพราะอรรถวา อันคติทั้งปวงรอยรัดไวมาก
๓๑
ธนิต อยูโพธิ,์ วิปสสนานิยม, หนา ๒๒๘.
๓๒
พระธรรมธีรราชมุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ):๒๕๕๔),หนา ๖๐๑-๖๐๒.
๓๓
ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๕๑/๑๒๓, ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๕๑/๑๗๙.
๗๗๕
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ชื่อวา ปุถุชน เพราะอรรถวา ผูอันอภิสังขารตางๆ ปรุงแตงไวมาก
ชื่อวา ปุถุชน เพราะอรรถวา ผูลอยไปตามโอฆกิเลสตางๆ มาก
ชื่อวา ปุถุชน เพราะอรรถวา ผูเดือดรอนดวยความเดือนรอนตางๆ
ชื่อวา ปุถุชน เพราะอรรถวา ผูเรารอนดวยความเรารอนตางๆ มาก
ชื่อวา ปุถุชน เพราะอรรถวา ผูกําหนัด ปรารถนา ยินดี ติดใจ ลุม
หลง ของเกียว เกียวพัน พัวพัน ในกามคุณ ๕ มาก
ชื่อวา ปุถุชน เพราะอรรถวา อันนิวรณ ๕ รอยรัด ปกคลุม หุมหอ
ปดบัง ปกปด ครอบงําไวมาก๓๔
คัมภีรอรรถกถาปฏิสัมภิทามรรคอธิบายวา ชื่อวาปุถุชน เพราะยัง
กิเลสหนาใหเกิดขึ้น เพราะกําจัดสักกายทิฏฐิอันหนาไมได เพราะเห็นแกหนา
ของศาสดาทั้งหลายเปนอันมาก เพราะรอยรัดไวดวยคติตางๆ เปนอันมาก
เพราะปรุงแตงอภิสังขารตางๆ มาก เพราะถูกหวงคือกิเลสตางๆ มากพัดพา
ไป เพราะเดือดรอนดวยความเดือดรอนตางๆ เปนอันมาก เพราะถูกความ
เรารอนตางๆ เปนอันมากเผาผลาญ เพราะกําหนัดอยากยินดี สยบ ซบ ติด
คลองพัวพันในกามคุณ ๕ เปนอันมาก เพราะกั้น ลอม ขัดขวาง ปด ปกปด
ครอบดวยนิวรณ ๕ เปนอันมาก
อีกอยางหนึ่ง ชื่อวา ปุถุชน เพราะเปนชนมีความประพฤติธรรมต่ํา
หยั่งลงในภายใน มีการเบือนหนาจากอริยธรรม จะเลยการนับครั้งที่หนึ่งเปน
อั น มาก หรื อ เพราะชนนี้ ม ากแยกพวกออกไปไม ส มาคมกั บ พระอริ ย ะผู
ประกอบด ว ยคุ ณ มี ศี ล และสุ ต ะเป น ต น พระพุ ท ธเจ า ตรั ส ถึ ง ปุ ถุ ช นไว ๒
จําพวก คือ อันธปุถุชน ๑ กัลยาณปุถุชน ๑๓๕ ดังนี.้
ชื่อวา ปุถุช น ดวยเหตุ วา ยังทํา กิเลสมากมายใหเกิด อยางที่พระ
ธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระกลาวไววา ปุถุชนยังกิเลสมากมายใหเกิด เพราะ
ยังกําจัดสักกายทิฏฐิมากมายไมได เพราะสวนมากออกไปจากคติทั้งปวงไมได

๓๔
http://www.dhammahome.com/webboard/topic/6646 [๑๙
ธันวาคม ๒๕๕๗].
๓๕
อรรถกถาปฏิสัมภิทามรรค ชื่อวาสัทธัมมปกาสินี ในขุททกนิกายภาคที่ ๒
๗๗๖
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
เพราะสวนมากสรางบุญบาปตางๆ เพราะสวนมากถูกโอฆะตางๆ พัดไป ถูก
ความเดือนรอนใหเดือนรอน ถูกความเรารอนใหเรารอน กําหนัดยินดี รักใคร
สยบ หมกมุน ของ ติด พัวพัน อยูในกามคุณ ๕ เพราะถูกนิวรณ ๕ กางกั้น
กําบัง เคลือบ ปกปด ครอบงําหยั่งลงภายในชนจํานวนมาก ซึ่งนับไมถวน
ลวนแตเบือนหนาหนีอริยธรรม มีแตประพฤติธรรมที่เลวทราม๓๖
ปุถุชน คือคนที่ยังไมรูจักสิ่งที่ควรรูจัก แมจะตําตาอยูเสมอ คือ ไม
รูจักนิวรณทั้งหา อันไดแก ความครุนคิดในกาม - พยาบาท - หดหู - ฟุงซาน
- ลังเลในชีวิต วา เปนสิ่งที่ทาลายความสงบสุข หรือไมรูวา ความโลภ - โกรธ
- หลง นั้น เปนสิ่งที่นามาซึ่งทุกข, แลวก็ไม กลัว, จึงไดชื่อวา ปุถุชน คือ คนมี
ความหนา แหงไฝฝาในดวงตา๓๗
ปุถุชนแบงออกเปน ๒ ประเภท ไดแก
๑. อันธปุถุชน คือ ชนผูหนา จนไดนามวาคนบอด หมายถึง ทั้งบอด
ทั้ง หนา ได แก บุ ค คลที่ไ มไ ด เ รี ย น ไม ไ ด ส อบถาม ไม ได ฟง ไมไ ด จํ า ไม ไ ด
พิจารณาวิปสสนาภูมิทั้ง ๖ เชน ขันธ ๕ เปนตน
๒. กั ล ยาณปุ ถุ ช น คื อ คนที่ มี กิ เ ลสหนา แต ไ ด น ามว า เป น คนดี
เพราะไดเรียนรูไดพิจารณาวิปสสนาภูมิ ๖ ตั้งตนในศีล ๕ กัลยาณธรรม ๕๓๘
๒.๑ สภาวะโคตรภูญาณ
ญาณนี้ปรากฏทั้งในคัมภีรปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่ ๑๐) และใน
คัมภีรวิสุทธิมรรค คือ สภาวะจิตของผูปฏิบัติไดมีนิพพานเปนอารมณ ขาม
พนโคตรปุถุชนบรรลุถึงอริยชนโดยไมหวนกลับมาอีก ความจริงญาณนี้แมมี
นิพพานเปนอารมณ แตก็ไมสามารถที่จะทําลายกิเลสได
คัมภีรวิสุทธิมรรคอธิบายวา ผูปฏิบัติที่มีอนุโลมญาณเกิดขึ้นแลว ได
ทําลายความกิเลสชนิ ด หนาๆ ที่ป ด บั งอริย สั จ จะอยู ให อันตรธานไป ตาม
สมควรแกกําลังของตน จิตของผูนั้นก็ไมแลนไปไมของ ไมติดในสังขารทั้งปวง
๓๖
สุมังคลวิลาสินี อรรถกถาทีฆนิกาย สีลขันธวรรควรรณนา
๓๗
พุทธทาสภิกขุ, มรดกที่ขอฝากไว , หนา ๔๗.
๓๘
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ: วิปสสนากรรมฐาน,๒๕๕๙, หนา ๒๑๗.
๗๗๗
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
แตถอยกลั บ วกกลั บ เหมือนหยาดน้ํ ากลอกกลิ้ งกลั บ จากใบบั ว นิ มิต (คื อ
สังขาร) ที่เปนอารมณทั้งปวงก็ดี ความเปนไป(ของสังขาร) ที่เปนอารมณทั้ง
ปวงก็ดี ยังปรากฏโดยเปนสิ่งขัดขวางอยูในทันที เมื่ออารมณ(นิมิตและความ
เปนไปของสั งขาร)ปรากฏขัดขวางอยูนั้น ณ ตอนทายสุดแหงอาเสวนะ๓๙
ของอนุโลมญาณ โคตรภูญาณที่เปนญาณถึงยอด (เปนที่สุดของวิปสสนา)ก็
เกิ ด ขึ้ น ทํ านิ โ รธ (คื อพระนิ พ พานอั น ปราศจากสั งขาร ไม มี นิ มิ ต)ให เ ป น
อารมณ ขามพนโคตรปุถุชน กาวลงสูภูมิพระอริยะ ซึ่งเปนการรําพึงถึงครั้ง
แรกในอารมณพระนิพพาน ทําใหสําเร็จความเปนปจจัยของอริยมรรค โดย
อาการไมหวนกลับมาอีก ซึ่งเปนญาณทีท่ านกลาวระบุถึง ไววา
“ปญญาในการหวนกกลับดวยการออกจากสังขารภายนอก เรียกวา
โคตรภูเพราะครอบงําความเกิดขึ้น ความเปนไป ความคับแคนใจ (ของ
สังขารทั้งหลาย) เพราะครอบงํานิมิตคือสังขารภายนอก เพราะแลนไปสู
ความไมเกิดขึ้น แลนไปสูความไมเปนไป ฯลฯ สูความไมคับแคนใจ สูนิโรธ
สูพระนิพพาน เรียกวา โคตรภู เพราะครอบงําความเกิดขึ้น (ของสังขาร)
แลวแลนไปสูความไมเกิดขึ้น (คือนิพพาน)”๔๐
โคตรภูญาณ เปนชื่อของปญญาที่เกิดในมรรควิถี โดยรับนิพพาน
อารมณเปนครั้งแรก และปญญานี้ยังเกิดในมหากุศลญาณสัมปยุตตจิต ซึ่ง
เปนกุศลจิตฝายโลกียอยู กลาวคือ ยังเปนกามาวจรกุศลธรรมอยู
โคตรภูญาณ เปนวิปสสนาญาณที่ ๑๓ ซึ่งสามารถรับรูพระนิพพาน
เปนอารมณไดเปนครั้งแรก และสามารถทําลายโคตรแหงความเปนปุถุชนได
โดยสิ้นเชิง ปญญายอมนอมไปสูพระนิพพานฝายเดียว ไมมีการเหลียวแลไป
หาโลกี ย อ ารมณ คื อนามรู ป อี ก แต ป ระการใด โดยมี อ นุ โ ลมญาณเป น ตั ว
ทําลายหรือตัดขาดจากโลกียอารมณไดหมดสิ้นแลว แตอนุโลมญาณนั้นยังไม
สามารถรับรูพระนิพพานเปนอารมณไดเพียงแตเปนปจจัยสงตอใหโคตรภู
ญาณสามารถนอมไปรับรูพระนิพพานไดเทานั้น

๓๙
บริกรรม อุปจาร และอนุโลม
๔๐
พระพุทธโฆสเถระ รจนา: คัมภีรวิสุทธิมรรค,๒๕๖๐, หนา ๑๑๓๑-๑๑๓๒.
๗๗๘
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ถาปฏิบัติตอจนไดบรรลุถึงพระสกิทาคามี, พระอนาคามีและพระ
อรหันต เมื่อมาถึงญาณนี้ จะเรียกวา โวทานโคตร ไมเรียกวา โคตรภู เพราะ
ทานไดเคยปฏิบัติขามโคตรปุถุชนเปนอริยชนมากอนแลวในรอบแรก
อนึ่งโคตรภูญาณ ลักษณะการกําหนดนิพพานเปนอารมณของจิต
ดวงนี้ ไมเหมือนกับจิตดวงอื่นๆ เพราะวาจิตดวงอื่นๆนั้นอยูภายนอกอารมณ
แตจิตดวงนี้เมื่อปลอย (ละทิ้ง) อารมณที่เปนสังขารธรรมแลว ก็เหมือนกับ
แลนเขาสูนิพพานทันที๔๑ ดังตั ว อย างเช น คนที่ใช ไมค้ํายั น ลงไปในน้ํ าเพื่อ
ชวยพาตัวกระโดดจากเรือขามน้ําไปสูพื้นดิน โคตรภูญาณคือชวงขณะที่กําลัง
ลอยตัวอยูกลางอากาศ และกําลังทิ้งไมไผที่ใชค้ํายันกระโดด โดยที่ตัวเองยัง
ไมไดลงถึงพื้นดิน หากเปรียบเทียบกับการปฏิบัติ รูปนามคือไมค้ํายัน จิตคือ
คน สวนอารมณพระนิพพานคือฝงที่ลงไปถึง
ในโคตรภูญาณ อารมณที่ปรากฏกอนที่จะเคลื่อนเขาสูความดับของ
รูปนาม หรือ ทางเขาสูพระนิพพาน ๓ ประเภท มีดังนี้
(๑) รูปนามแสดงใหเห็นถึงความไมเที่ยง โดยการเกิดดับของรูปนาม
จะมีมาก, เร็ว และสั้นจนถึงที่สุด สําหรับผูที่เคยสะสมบารมีทางศีลมา
กอน เรียกวา เขาทางอนิจจัง ดวยการหลุดพนทาง อนิมิตตวิโมกข
(๒) รูปนามแสดงใหเห็นถึงความเปนทุกข โดยทุกขเวทนา(คัน แนน
หรือปวด) จะเกิดมากขึ้นเรื่อยๆ จนถึงที่สุด สําหรับผูที่เคยสะสมบารมี ทาง
สมาธิมากอน เรียกวา เขาทางทุกขัง ดวยการหลุดพนทาง อัปปณิหิตวิโมกข
(๓) รูปนามแสดงใหเห็นถึงความไมมีตัวตน โดยรูปนามจะแผวเบา
ละเอี ย ดจนถึ ง ที่ สุ ด สํ า หรั บ ผู ที่ เ คยสะสมบารมี ท างป ญ ญามาก อ น
เรียกวา เขาทางอนัตตาดวยการหลุดพนทาง สุญญตวิโมกข
ญาณนี้มีหนาที่โอนโคตรจากปุถุชนกาวสูความเปนอริยะ ทิ้งอารมณ
ที่เปนรูปนามไปรับนิพพานเปนอารมณ แตวาโคตรภูญาณยังเปนโลกิยะอยู
แตไปมีอารมณเปนนิพพาน จากนั้นก็จะเกิดมรรคญาณขึ้นมาเปนญาณที่ตัด

๔๑
พระโสภนมหาเถระ (มหาสี ส ยาดอ): วิ ป ส สนาชุ นี , พิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๑,
กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวนจํากัด ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๓, หนา ๕๗๑.
๗๗๙
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ขาดจากการรู ครั้งสุ ดทาย ไดแก อารมณและจิต ที่รู ทั้งหมดดับ ไป สงบไป
เงียบไปหมด สังขารทั้งหลายดับไป ดังที่พระสารีบุตรเถระอธิบายวา “เบื้อง
หนาแตนั้น โคตรภูจิตจึงหนวงเอาพระนิพพานเปนอารมณ ครอบงําเสียซึ่ง
โคตรปุถุชน บรรลุถึงความเปนพระอริยบุคคล อันนํามาซึ่งมรรคผล”๔๒
จิตเห็นพระนิพพาน ตัดขาดจากโคตรปุถุชนเปนโคตรอริยชน เมื่อจิต
หมดความอยาก (ไมมีตัณหา) จิตก็ปลอยวางอารมณทั้งปวง ถอยเขาหาจิตผูรู
อยางอัตโนมัติ เป นญาณที่รู เ ห็น พระนิ พพาน ตัด ขาดจากโคตรปุ ถุช นเป น
โคตรอริยชน เมื่อจิตหมดความอยาก(ไมมีตัณหา) จิตก็ปลอยวางอารมณทั้ง
ปวง ถอยเขาหาจิตผูรูอยางอัตโนมัติ มีความหมายวา เมื่อจิตของพระโยคี
ตั้งอยูแลวในอนุโลมญาณ ตอจากนั้นก็กาวขึ้นสูโคตรภูญาณ ทําหนาที่โอน
จากโคตรปุ ถุช น ที่ห นาแน นไปด วยกิเ ลส ไปสู โคตรอริ ยชนที่หางไกลจาก
กิเลส กลาวโดยวิถีจิต เมื่ออนุโลมชวนะ ซึ่งมีไตรลักษณคือความเกิดดับแหง
รูปนามเปนอารมณนั้นดับไปแลวก็เปนปจจัยใหเกิดโคตรภูจิต ยึดหนวงพระ
นิพพานเปนอารมณ นํามาซึ่งปญญาที่รูยิ่งในสันติลักษณะ คือพระนิพพาน
ตามลําดับแหงวิถีจิตที่ชื่อวามรรควิถี
สภาวะของญาณนี้ : มีหนาที่โอนโคตรจากปุถุชนกาวสูความเป น
อริยะ ในขณะนั้นจะทิ้งอารมณที่เปนรูป-นาม ไปรับนิพพานเปนอารมณ แต
วาโคตรภูญาณยังเปนโลกิยะอยู ตัวมันเองเปนโลกิยะ แตไปมีอารมณเปน
นิพพาน แลวจากนั้นก็จะเกิดมรรคญาณขึ้นมา เปนญาณที่ตัดขาดจากการรู
ครั้ ง สุ ด ท าย ได แก อารมณแ ละจิ ต ที่ รู ทั้ งหมดดั บ ไป สงบไป เงีย บไปหมด
สั งขารทั้ งหลายดั บ ไป เป น ป ญ ญาที่ รู  เ ห็ น พระนิ พ พาน ตั ด ขาดจากโคตร
ปุถุชนเปนโคตรอริยชน เมื่อจิตหมดความอยาก (ไมมีตัณหา) จิตก็ปลอยวาง
อารมณทั้งปวง ถอยเขาหาวิญญาณขันธอยางอัตโนมัติ
คัมภีร อรรถกถาจูฬนิเทส อธิบายวา โคตรภูญาณเมื่อทํานิโ รธคือ
นิพพานใหเปนอารมณ กาวลวงโคตรปุถุชน หยั่งลงสูอริยโคตร เปนธรรมชาติ
นอมไปในนิพพานอารมณเปน ครั้งแรก เพราะญาณนี้ตกไปในกระแสแห ง

๔๒
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๕๙/๙๕.
๗๘๐
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
วิปส สนา จึงถึงการนับ วาเปน ปฏิ ปทาญาณทัสสนวิสุ ทธิ หรื อวิป สสนาเมื่อ
โคตรภูญาณกระทํานิพพานใหเปนอารมณดับไปแลว โสดาปตตมรรคซึ่งทํา
นิพพานใหเปนอารมณ โดยสัญญาที่โคตรภูญาณนั้นใหแลวกําจัดสังโยชนคือ
ทิฏ ฐิ สั งโยชน สี ลัพพตปรามาสสั งโยชน วิ จิ กิจ ฉาสั งโยชน ย อมเกิด ขึ้น ใน
ลําดับตอจากนั้น ผลจิตสองหรือสามขณะอันเปนผลแหงโสดาปตติมรรคนั้น
นั่นแหละยอมเกิดขึ้น เพราะผลจิตเปนวิบากในลําดับตอจากโลกุตรกุศล ใน
ที่สุดแหงผลจิต มโนทวาราวัชชนจิตยอมเกิดขึ้นเพื่อพิจารณามรรค
๒.๓ อํานาจของโคตรภูญาณ
๑) โคตรภูญาณเมื่อเกิดขึ้นแลว มีอํานาจในธรรม ๑๖ ประการ คือ
๑. ครอบงําความเกิดของรูปนามในภพนี้
๒. ครอบงําความเปนไปไมขาดสายของรูปนามที่เกิดขึ้นมาแลว
๓. ครอบงําสังขารนิมิต
๔. ครอบงํากรรมที่เปนเหตุใหถือในปฏิสนธิในภพตางๆ
๕. ครอบงําปฏิสนธิ
๖. ครอบงําคติทั้ง ๕
๗. ครอบงําความบังเกิดขึ้นแหงขันธทั้งหลาย
๘. ครอบงําอุปบัติ คือ ความเกิดเปนไปของวิบาก
๙. ครอบงําชาติ
๑๐. ครอบงําชรา
๑๑. ครอบงําพยาธิ
๑๒. ครอบงําความตาย
๑๓. ครอบงําความเศราโศก
๑๔. ครอบงําความพิไรรําพันบนเพอ
๑๕. ครอบงําความคับแคนใจ
๑๖. ครอบงําสังขารนิมิตในภายนอกที่เปนไปในสันดานตน๔๓
๔๓
พระสัทธัมมโชติก ะ ธัมมาจริยะ: วิปสสนากรรมฐาน, พิมพครั้งที่ ๗,
กรุงเทพมหานคร: หจก.ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๕๙, หนา ๒๑๘-๒๒๐.
๗๘๑
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
อํานาจของโคตรภูญาณทั้ง ๑๖ ประการนี้ ยอมเปนไปเพื่ออุปการะ
ใหดําเนินเขาถึงพระนิพพาน และเปนปญญาที่ไดมาจากอนุโลมญาณ ซึ่งทํา
กิ จ ในสั ง ขารธรรม คื อ นามรู ป อั น เป น โลกี ย ะให ค ล อ ยตามสภาวะแห ง
อริยสัจจ ๔ เพื่อการปฏิบัติในอริยสัจจ ๔ นั้นไดถูกตอง โดยไมขัดแยงกัน
๒) การนําอํานาจของโคตรภูญาณมาจําแนกลักษณะไว ๓ นัย
นัยยะที่ ๑ ครอบงําการเกิด ทั้ง ๑๖ ขอ
นัยยะที่ ๒ ครอบงําการไมเกิด ทั้ง ๑๖ ขอ
นัยยะที่ ๓ ครอบงําการแลนไปสูความดับคือพระนิพพาน ทั้ง
๔๔
๑๖ ขอ
๓) โคตรภูเกิดขึ้นดวยอํานาจสมถะและวิปสสนา
๓.๑ โคตรภูเกิดขึ้นดวยอํานาจสมถะ ๘ ขอ
๑) เพราะครอบงํานิวรณ ๕เพื่อใหไดเฉพาะซึ่งปฐมญาณ
๒) เพราะครอบงําวิตกวิจารณ เพื่อใหไดเฉพาะซึ่งทุติยญาณ
๓) เพราะครอบงําปติ เพื่อใหไดเฉพาะซึ่งตติยญาณ
๔) เพราะครอบงําสุข เพื่อใหไดเฉพาะซึ่งจตุตถญาณ
๕)เพราะครอบงํ า รู ป สั ญ ญา ปฏิ ฆ สั ญ ญา มานั ต ตสั ญ ญา
เพื่อใหไดเฉพาะซึ่งอากาสานัญจายตนสมาบัติ
๖) เพราะครอบงําอากาสานัญจายตนสัญญา เพื่อใหไดเฉพาะ
ซึ่งวิญญานัญจายตนะสมาบัติ
๗) เพราะครอบงําวิญญานัญจายตนสัญญา เพื่อใหไดเฉพาะ
ซึ่งอากิญจัญญายตนสมาบัติ
๘) เพราะครอบงําอากิญจัยญายตนสัญญา เพื่อใหไดเฉพาะซึ่ง
เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ ๔๕
๓.๒ โคตรภูเกิดดวยอํานาจวิปสสนา ๑๐ ขอ

๔๔
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ: วิปสสนากรรมฐาน,๒๕๕๙, หนา ๒๑๘-๒๓.
๔๕
พระธรรมธีรราชมุน,ี วิปสสนากรรมฐาน, ๒๕๕๔,หนา ๖๒๖.
๗๘๒
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
๑) ครอบงํ า รู ป นามที่ การเกิ ด การเป น ไปอยู นิ มิ ต กรรม
ปฏิสนธิ คติ นิพัตติ อุปบัติ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ อุปายาสะ
และสังขารนิมิตภายนอก เพื่อใหไดเฉพาะซึ่ง โสดาปตติมรรค
๒) ครอบงํารูปนามที่ การเกิด การเปนไปอยู....เพื่อใหไดเฉพาะ
ซึ่ง โสดาปตติผลสมาบัติ
๓) ครอบงํารูปนามที่ การเกิด การเปนไปอยู ...เพื่อใหไดเฉพาะ
ซึ่ง สกทาคามิมรรค
๔) ครอบงํารูปนามที่ การเกิด การเปนไปอยู. ....เพื่อใหไดเฉพาะ
ซึ่ง สกทาคามิผลสมาบัติ
๕) ครอบงํารูปนามที่ การเกิด การเปนไปอยู....เพื่อใหไดเฉพาะ
ซึ่ง อนาคามิมรรค
๖) ครอบงํารูปนามที่ การเกิด กานเปนไปอยู ...เพื่อใหไดเฉพาะ
ซึ่งอนาคามิผลสมาบัติ
๗) ครอบงํารูปนามที่ การเกิด การเปนไปอยู. ....เพื่อใหไดเฉพาะ
ซึ่ง อรหัตตมรรค
๘) ครอบงํารูปนามที่ การเกิด การเปนไปอยู. ....เพื่อใหไดเฉพาะ
ซึ่ง อรหัตตมรรคสมาบัติ
๙) ครอบงํารูปนามที่ การเกิด การเปนไปอยู. ....เพื่อใหไดเฉพาะ
ซึ่ง อนิมิตตวิหารสมาบัติ
๑๐) ครอบงํารูปนามที่ การเกิด การเปนไปอยู. .เพื่อใหไดเฉพาะ
ซึ่ง สุญญตวิหารสมาบัติ๔๖

๔๖
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ: วิปสสนากรรมฐาน,๒๕๕๙, หนา ๒๒๔-๒๖.
๗๘๓
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
๒.๔ โคตรภูธรรม แบงเปน ๒ ฝาย
ฝายกุศล ๑๕ ประการ ฝายอัพยากฤต ๓ ประการ ฝายอกุศล ไมมี
สมถะ วิปสสนา
ครอบงํา ผลลัพธ ครอบงํา ผลลัพธ
๑. นิวรณ ปฐมฌาน ๑. รูปนาม ๑๖ โสดาปตติมัค
๒. วิตก วิจารณ ทุติยฌาน ๒. “ โสดาปตติผลสมาบัติ
๓. ปติ ตติยฌาณ ๓. “ สกทาคามิมัค
๔. สุข จตุตถฌาน ๔. “ สกทาคามิผลสมาบัติ
๕.รูปสัญญา อากาสานัญจา ๕ “ อนาคามิมัค
ปฏิสัญญา ๖. “ อนาคามิผลสมาบัติ
นานัตตสัญญา ๗. “ อรหัตตมัค
๖.อากาสานัญจา วิญญานัญจา ๘. “ อรหัตตผลสมาบัติ
๗. วิญญาณัญจา อากิญจัญญา ๙. “ อนิมิตตวิหารสมาบัติ
๘. อากิญจัญญา เนวสัญญานา ๑๐. “ สุญญตาวิหารสมาบัติ
สัญญา
กุศล ขอ๑-๘ (๘ ขอ) กุศล ขอ๑-๗ (๗ ขอ)
๔๗
อัพยากฤติ ขอ๘-๑๐ (๓ ขอ)

๒.๕ โคตรภูญาณจัดเปนอัพโพหาริก
โคตรภูญาณนี้เปนอาวัชชนะของมรรคญาณ ฉะนั้น จะจัดเขาไปใน
ปฏิป ทาญาณทัสสนวิสุ ทธิ ก็เ ขาไมได และจะจั ดเขาในญาณทัส สนวิสุ ทธิ ก็
ไมได เพราะปราศจากลักษณะของวิสุทธิทั้ง ๒ อยางนี้ ฉะนั้น โคตรภูญาณ
จึงอยูในระหวางกลาง เปนอัพโพหาริก แตวาตกอยูในกระแสของวิปสสนา
จึงเรียกวา วิปสสนาญาณเชนกัน๔๘

๔๗
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ: วิปสสนากรรมฐาน,๒๕๕๙, หนา ๒๒๖.
๔๘
พระอาจารย ดร. ภัททันตะ อาสภมหาเถระ:วิปสสนาทีปนีฎีกา, พิมพครั้งที่
๑, วัดภัททันตะ อาสภาราม, ๒๕๑๓, หนา ๑๘๒.
๗๘๔
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
การปฏิบัติใหมรรคเกิดขึ้น
มรรค แปลวา ธรรมที่ฆากิเลส วิเคราะหวา กิเลเส มาเรนฺโต คจฺฉติ
นิพฺพานตฺถิเกหิ มคฺคิยตีติ วา มคฺโค, สมฺมาทิฏิอาทโย อฏ ธมฺมา.๔๙
ชื่อวา มรรค เพราะฆากิเลสทั้งหลายได หรือเพราะผูตองการพระ
นิพพานจะตองแสวงหา มรรคมีองคประกอบ ๘ ประการ ดังนี้
๑. สัมมาทิฏฐิ แปลวา ความรูชอบ คือ ความรูในทุกข ความรูใน
ทุกขสมุทัย ความรูในทุกขนิโรธ ความรูในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา
๒. สัมมาสังกัปปะ แปลวา ความดําริชอบ คือ ความดําริในการออก
จากกาม ความดําริในความไมพยาบาท ความดําริในอันไมเบียดเบียน
๓. สัมมาวาจา แปลวา เจรจาชอบ คือ การงดเวนจากการพูดเท็จ
งดเวนจากการพูดสอเสียด งดเวนจากการพูดคําหยาบและการพูดเพอเจอ
๔. สัมมากัมมันตะ แปลวา การกระทําชอบหรือการงานชอบ คือ
การงดเวนจากการฆาสัตว งดเวนจากการถือเอาสิ่งของที่เขามิไดให งดเวน
จากการประพฤติผิดในกาม๕๐
๕. สัมมาอาชีวะ แปลวา เลี้ยงชีพชอบ คือ เวนจากการเลี้ยงชีพที่ผิด
เสีย ประกอบอาชีพที่สุจริต ไมผิดจากทํานองคลองธรรม ทําใหคนอื่นตอง
เดือดรอนดวยวิธีตางๆ หาเลี้ยงชีวิตโดยความขยันหมั่นเพียร ไมเบียดเบียน
ผูอื่นใหเดือดรอน
๕. สัมมาวายามะ แปลวา เพียรชอบ หรือพยายามชอบ คือ มีฉันทะ
ปรารภความเพี ย รประคองจิ ต ไว ตั้ ง จิ ต ไว เ พื่อ มิให อ กุศลธรรมที่ยั งไมเ กิ ด
บังเกิดขึ้น เพื่อละอกุศลธรรมที่บังเกิดขึ้นแลว เพื่อใหกุศลธรรมที่ยังไมเกิด
บังเกิดขึ้น เพื่อความตั้งอยูไมเลือนหาย เจริญยิ่งไพบูลยเต็มเปยมแหงกุศล
ธรรมที่บังเกิดขึ้นแลว๕๑

๔๙
ขุ.เถร.อ. (บาลี) ๒/๓๖/๑๕๘
๕๐
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๙๙/๓๔๘.
๕๑
ที.ม. (ไทย) ๑๔/๒๙๙/๓๔๘.
๗๘๕
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
๖. สัมมาสติ แปลวา ระลึกชอบ คือตั้งสติในทางที่ถูกตองตรงตอการ
บรรลุมรรคผล ได แก มีส ติ พิจารณาเห็น กายในกายอยู มีสติ พิจารณาเห็ น
เวทนาในเวทนาอยู มีสติพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู…มีสติพิจารณาเห็นธรรมใน
ธรรมอยู มีความเพียร มีสัมปชัญญะ กําจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได
๗. สัมมาสมาธิ แปลวา ตั้งใจมั่นชอบ คือ การฝกอบรมจิตใหสงัด
จากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปติและสุข
เกิดแตวิเวกอยู เปนตน๕๒
กุ ล บุ ต รผู ต อ งการพ น ทุ ก ข ต อ งเจริ ญ ให ม ากซึ่ ง มรรคมี อ งค ๘ นี้
เทานั้น จึงจะบรรลุปฏิเวธสัทธรรมได ดังที่พระพุทธเจาตรัสวา
“มรรคมีองค ๘ อัน ประเสริ ฐ เหลานี้ คือ สั มมาทิฏฐิ (เห็ น ชอบ),
สัมมาสังกัปปะ (ดําริชอบ), สัมมาวาจา (เจรจาชอบ), สัมมากัมมันตะ(กระทํา
ชอบ), สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ), สัมมาวายามะ(พยายามชอบ), สัมมาสติ
(ระลึกชอบ) และสัมมาสมาธิ (ตั้งจิตมั่นชอบ) นี้แลคือทาง นี้แลคือขอปฏิบัติ
เพื่อบรรลุธรรม”๕๓
อนึ่ง มรรค หมายถึง ทางเดินของใจจากความทุกขไปสูความเปน
อิสระ(พระนิพพาน) หลุดพนจากทุกขที่หลงยึดถือและประกอบขึ้นใสตนดวย
อํานาจของอวิชชา มรรคมีองค ๘ ประการถึงพรอมเปนอันเดียวกันทั้งแปด
อยาง ดุจเชือกฟนแปดเกลียว พระสารีบุตรเถระอธิบายองคแหงมรรค ไววา
มรรคชื่อวา สัมมาทิฏฐิเพราะมีสภาวะเห็น
มรรคชื่อวา สัมมาสังกัปปะเพราะมีสภาวะตรึกตรอง
มรรคชื่อวา สัมมาวาจาเพราะมีสภาวะกําหนด
มรรคชื่อวา สัมมากัมมันตะเพราะมีสภาวะเปนสมุฏฐาน
มรรคชื่อวา สัมมาอาชีวะเพราะมีสภาวะผองแผว
มรรคชื่อวา สัมมาวายามะเพราะมีสภาวะประคองไว
มรรคชื่อวา สัมมาสติเพราะมีสภาวะตั้งมั่น

๕๒
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๙๙/๓๔๘, ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๑๓๖/๑๗๖.
๕๓
ที.สี. (ไทย) ๙/๓๗๕/๑๕๗.
๗๘๖
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
มรรคชื่อวา สัมมาสมาธิเพราะมีสภาวะไมฟุงซาน๕๔
มรรคญาณ คือ ปญญาที่กําหนดจนรูเห็นพระนิพพาน และตัดขาด
จากกิเลสเปนสมุจเฉทประหาณ สติ สมาธิ ปญญา และธรรมฝายการตรัสรู
ทั้งปวงยอมรวมลงที่จิตดวงเดียวเปนมรรคสมังคี กําลังของมรรคจะทําหนาที่
แหวกมโนวิญญาณ ซึ่งหอหุมปดบังธรรมชาติอันบริสุทธิ์ออก ตามกําลังของ
มรรคนั้นๆ
ปฏิบัติอยางไรใหมรรคเกิดขึ้น พระสารีบุตรเถระอธิบายวา ภิกษุนั้น
เมื่อนึกถึงชื่อวาปฏิบัติ เมื่อรูชื่อวาปฏิบัติ เมื่อเห็นชื่อวาปฏิบัติ เมื่อพิจารณา
ชื่อวาปฏิบัติ เมื่ออธิษฐานจิตชื่อวาปฏิบัติ เมื่อนอมใจเชื่อดวยศรัทธาชื่อวา
ปฏิบัติ เมื่อประคองความเพียรไวชื่อวาปฏิบัติ เมื่อตั้งสติไวมั่นชื่อวาปฏิบัติ
เมื่อตั้งจิตไวมั่นชื่อวาปฏิบัติ เมื่อรูชัดดวยปญญาชื่อวาปฏิบัติ เมื่อรูยิ่งธรรมที่
ควรรูยิ่งชื่อวาปฏิบัติ เมื่อกําหนดรูธรรมที่ควรกําหนดรูชื่อวาปฏิบัติ เมื่อละ
ธรรมที่ควรละชื่อวาปฏิบัติ เมื่อเจริญธรรมที่ควรเจริญชื่อวาปฏิบัติ เมื่อทําให
แจงธรรมที่ควรทําใหแจงชื่อวาปฏิบัติ ภิกษุปฏิบัติอยางนี้
ควรเจริญมรรคอยางไร พระสารีบุตรเถระอธิบายวา คือภิกษุนั้นเมื่อ
นึกถึง..ชื่อวาเจริญ เมื่อรู. .ชื่อวาเจริญ เมื่อเห็น..ชื่อวาเจริญ เมื่อพิจารณา..ชื่อ
วาเจริญ เมื่ออธิษฐานจิตชื่อวาเจริญ เมื่อนอมใจเชื่อดวยศรัทธาชื่อวาเจริญ
เมื่อประคองความเพียรไวชื่อวาเจริญ เมื่อตั้งสติไวมั่น ชื่อวาเจริญ เมื่อตั้งจิต
ไวมั่นชื่อวาเจริญ เมื่อรูชัดดวยปญญาชื่อวาเจริญ เมื่อรูยิ่งธรรมที่ควรรูยิ่งชื่อ
วาเจริญ เมื่อกําหนดรูธรรมที่ควรกําหนดรูชื่อวาเจริญ เมื่อละธรรมที่ควรละ
ชื่อวาเจริญ เมื่อเจริญธรรมที่ควรเจริญชื่อวาเจริญ เมื่อทําใหแจงธรรมที่ควร
ทําใหแจงชื่อวาเจริญ เจริญอยางนี๕๕ ้ และอธิบายมรรคที่เจริญทําใหมีขึ้นแลว
ยอมละสังโยชน และทําอนุสัยใหสิ้นไปได วา
ผูเ จริ ญวิ ป ส สนายอมละสั งโยชน ๓ นี้ คือ สั กกายทิฏ ฐิ วิ จิ กิจ ฉา
และสีลัพพตปรามาส อนุสัย ๒ นี้ คือ ทิฏฐานุสัยและวิจิกิจฉานุสัยยอมสิ้นไป

๕๔
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒/๔๑๕.
๕๕
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒/๔๑๔
๗๘๗
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ดวยโสดาปตติมรรค
ยอมละสังโยชน ๒ นี้ คือ กามราคสังโยชนและปฏิฆสังโยชนสวน
หยาบๆ อนุสัย ๒ นี้ คือ กามราคานุสัยและปฏิฆานุสัยสวนหยาบๆ ยอมสิ้น
ไปดวยสกทาคามิมรรค
ยอมละสังโยชน ๒ นี้ คือ กามราคสังโยชนและปฏิฆสังโยชนสวน
ละเอียด อนุสัย ๒ นี้ คือ กามราคานุสัยและปฏิฆานุสัย สวนละเอียดๆ ยอม
สิ้นไปดวยอนาคามิมรรค
ยอมละสังโยชน ๕ นี้ คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และ
อวิชชา อนุสัย ๓ นี้ คือ มานานุสัย ภวราคานุสัยและอวิชชานุสัย ยอมสิ้นไป
ดวยอรหัตตมรรค๕๖
จิตของอริยบุคคล
คําวา อริยะ แปลวา เจริญ, ประเสริฐ อริยบุคคล หมายถึง บุคคลผู
ประเสริ ฐ บรรลุ ธ รรมวิ เ ศษมีโ สดาป ต ติ ม รรคเป น ต น หรื อ อี กนั ย หนึ ง
หมายความวาเปนผูไกลจากขาศึกคือกิเลสหรือละกิเลสไดเด็ดขาด(สมุจเฉท
ปหาน) ไมกําเริบอีกเปนอารยะในความหมายของพระพุทธศาสนา เปนผูรูชัด
ถึงสรรพสิงตามความเปนจริงวา นี้ทุกข นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิ
โรธคามินี้ปฏิปทา และที่เรียกวา พระอริยะนี้ หมายถึงพระพุทธเจา พระ
ปจเจกพุทธเจา และพุทธสาวก
ที่ชื่อวาพระอริยะเพราะไม ดําเนินไปในทางเสือมเสียดําเนินไปแต
ในทางเจริญ เปนผูทชี่ าวโลกและเทวโลกควรดําเนินตาม
ในพระพุทธศาสนาแบงพระอริยบุคคลเปน ๔ ชั้น คือ (๑) พระ
โสดาบัน ผูสัมผัสกระแสนิพพานครั้งแรก (๒) พระสกทาคามี ผูจะมาเกิดใน
โลกนี้อีกครั้งเดียว (๓) พระอนาคามี ผูไมเวียนกลับมาเกิดในโลกนี้อีก และ
(๔) พระอรหันต ผูไกลจากกิเลสโดยสิ้นเชิง ดังพุทธพจนวา

๕๖
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒/๔๑๕-๖.
๗๘๘
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
"มหาลิภิกษุในธรรมวินัยนี้เปนโสดาบันเพราะละสังโยชนได๓อยาง
ไมมีทางตกตํามีความแนนอนทีจ่ ะสําเร็จสัมโพธิในวันขางหนา...
ภิกษุเปนสกทาคามีเพราะละสังโยชนได ๓อยางบรรเทาราคะโทสะ
และโมหะใหเบาบางไดมาสูโลกนี้อีกเพียงครั้งเดียวก็จะทําทีส่ ุดแหงทุกข...
ภิกษุไปบังเกิดเปนโอปปาติกะ เพราะละสังโยชนเบืองตําได ๕ อยาง
ปรินิพพานในภพนั้นไมหวนกลับมาจากโลกนั้นอีก...
ภิกษุทําใหแจงเจโตวิมุตและปญญา วิมุตอันไมมีอาสวะ เพราะสิ้น
อาสวะไปดวยปญญาอันยิงเองเขาถึงอยูในปจจุบัน"๕๗
พระพุทธศาสนาถือวา พระอริยบุคคลเหลานี้เปนบุคคลผูประเสริฐ
ทีป่ ระสบความสําเร็จในชีวิตเขาใจสัจธรรมคืออริยสัจ๔ อันเกิดจากการศึกษา
อบรมไตรสิกขา และสามารถประพฤติปฏิบัติไตรสิกขาไดครบถวนสมบูรณ
จนสามารถละกิเลสคือสังโยชนที่ผูกมัดจิตใจมนุษยอยูกับความทุกขใหลดลง
หรื อหมดไปพัฒ นาจิ ต ของตนพน จากภาวะปุ ถุช นไปเป น อริ ย บุ คคล พระ
โสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามีนั้นแมจะยังมีกิเลสเหลืออยูบาง
แตมีเบาบางถาเปนพระอรหันตแลวดับกิเลสและความทุกขไดทั้งหมดขาม
พนจากวัฏสงสารคือการเวียนวายตายเกิดไดอยางสิ้นเชิงไดชื่อวาบรรลุถึง
ประโยชนสูงสุดคือพระนิพพานอันเปนจุดหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา
จิตของอริยบุคคล เปนจิตทีพ่ นโลกหรือเหนือโลก คือไมทองเที่ยวใน
โลกทั้ง ๓ ภูมิทั้ง๓ คือไมทองเทีย่ วอยูในกามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ โลกุตตร
จิตมีพระนิพพานเปนอารมณ นิพพานเปนธรรมที่พนโลก เหนือโลกทั้ง ๓
อารมณพระนิพพานไมเกิด-ดับ ไมเปลียนแปลง ไมถูกปจจัยปรุงแตงเพราะ
เปนอสังขตธรรม แตตัวของจิตยังคงเกิด-ดับตามปกติทัวไปเพียงแตอารมณ
พระนิพพานไมเกิด-ดับ เพราะเปนอารมณพิเศษ ไมใชอารมณของปุถุชน
เรียกวาโลกุตตรจิต ๘ ประกอบดวย
๑.โลกุตตรกุศลจิต หรือมรรคจิต เปนกุศลจิตที่เกิดขึนรับนิพพาน
อารมณ ทําลายและดับกิเลสอยางสิ้นเชิง ไมกลับมาเกิดใหมไดอีกเลย มี ๔
๕๗
ที.่ สี. (บาลี) ๙/๓๗๓/๑๕๖, ที.่ สี. (ไทย) ๙/๓๗๓/๑๕๖.
๗๘๙
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ดวง คือ โสดาปตติมรรคจิต สกทาคามิมรรคจิต อนาคามิมรรคจิต และ
อรหันตตมรรคจิต (๔)
๒.โลกุตตรวิบากจิต หรือผลจิต เปนผลของมรรคจิต เมือมรรคจิต
พรอมทําลายกิเลสแลวผลจิตเกิดติดตอขึนทันที่ ไมมีระหวางคัน ไมตองรอ
เวลา เรียกวาเปน อกาลิโก ผลจิตมี ๔ ดวงเทากับมรรคจิต เรียกผูเขาถึงผล
จิตวาเปนพระอริยบุคคล
พนจากความเปนปุถุชน โดยมีชื่อเรียกผลจิต และพระอริยบุคคล
ดังตอไปนี้ ตามลําดับปตติมรรคจิต ทําใหเปนพระโสดาบัน สกทาคามิมรรค
จิต ทําใหเปนพระสกทาคามี อนาคามิมรรคจิต ทําใหเปน พระอนาคามี
อรหัตตมรรคจิต ทําใหเปนพระอรหันต๕๘

๓. มรรคญาณ
ป ญ ญาในการออกและหลี ก ไปทั้ ง จากกิ เ ลสขั น ธ แ ละจากนิ มิ ต
ภายนอก ชื่อวา มรรคญาณ๕๙ คือ ญาณที่หมุนกลับจากกิเลสและขันธ อัน
เปนไปตามกิเลสเหลานั้น กับทั้งจากสังขารนิมิตในภายนอกทั้งปวง จากการ
กระทําพระนิพพานใหเปนอารมณ เพราะตัดกิเลสทั้งหลายไดขาดแลว ชื่อวา
ปญญาในการออกและหลีกจากขันธและนิมิต๖๐ เปนปญญาที่ตัดกิเลสเปน
สมุจประหาน๖๑ เปนชื่อของปญญาที่เกิดขึ้นในมรรคจิต ตอจากโคตรภูญาณ
โดยไมมีระหวางกั้น เปนญาณที่ไดอาศัยอาเสวนปจจัยจากโคตรภูญาณ รับ
๕๘
พระมหารุง ปฺญาวุฑฺโฒ(แรกชํานาญ),"การศึกษาเชิงวิเคราะหสถานภาพ
คุณสมบัติ และบทบาทของพระโสดาบันในพระพุทธศาสนาเถรวาท",วิทยานิพนธพุทธ
ศาสตรมหาบัณฑิต,(บัณฑิตวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
,๒๕๔๗)
๕๙
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๑/๙๙.
๖๐
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๖๘/๑๑/๗๐.
๖๑
พระธรรมธี ร ราชมหามุ นี (โชดก าณสิ ทฺ ธิ ป.ธ. ๙). คู มื อ สอบอารมณ
กรรมฐาน.พิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
,๒๕๕๐. หนา ๖๔.
๗๙๐
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
พระนิพพานเปนอารมณไดเต็มที่ พรอมกับทําการประหาณอนุสัยกิเลสได
เด็ดขาดเปนสมุจเฉทปหาน จึงจัดเปน ญาณทัสสนวิสุทธิอยางสมบูรณ
มรรคญาณนี้เปนโลกุตตรญาณ จิตเห็นพระนิพพานและตัดขาดจาก
กิเลสเปนสมุจเฉทประหาณ๖๒ สติ สมาธิปญญา และธรรมฝายการตรัสรูทั้ง
ปวง รวมลงที่จิตดวงเดียวเปนมรรคสมังคี กําลังของมรรคแหวกมโนวิญญาณ
ซึ่งหอหุมปดบังธรรมชาติอันบริสุทธิ์ออก ทําหนาที่ประหาณกิเลสระดับอนุสัย
กิเลสทําหนาที่รูทุกข ละเหตุแหงทุกข แจงนิโรธ ความดับทุกข เจริญตนเอง
เต็มที่ คือองคมรรค ๘ มีการประชุมพรอมกัน ทําหนาที่ละอนุสัยกิเลสแลวก็
ดับลง มีนิพพานเปนอารมณ๖๓ ขณะที่จิตเปนโคตรภูนั้น เปนเวลาที่เริ่มดับวับ
ลงไป เพราะไดนิพพานคือความดับเปนอารมณ จิตจึงดับวับไป ตอจากนั้น
มรรคจิตก็เกิดรับนิพพานที่โคตรภูจิตรับแลวนั้นเปนอารมณตอไปชั่วขณะจิต
หนึ่ง ญาณที่เกิดรวมกับมรรคจิตนั้นเรียกวา มรรคญาณ นับเปนญาณที่ ๑๔
ญาณนี้ปรากฏทั้งในคัมภีรปฏิสัมภิทามรรค (ญาณที่ ๑๖) และคัมภีร
วิสุทธิมรรค ผูปฏิบัติไดเสวยนิพพานเปนอารมณเปนครั้งแรก เห็นแจงนิโรธ
สัจดวยปญญาของตนเอง รูปนามดับไปในญาณนี้ หมดความสงสัยในพระ
รัตนตรัย มีศีล ๕ มั่นคงเปนนิจ สามารถปดอบายภูมิไดอยางเด็ดขาด
ในคั ม ภี ร วิ สุ ท ธิ ม รรคอธิ บ ายถึ ง ความแจ ม แจ ง ของอานุ ภ าพของ
มรรคญาณ ๔ คือ ญาณทัสสนวิสุทธิซึ่งประกอบไปดวยอนุโลมญาณ โคตรภู
ญาณ มรรคญาณ ผลญาณ และปจจเวกขณญาณ โดยยอวา ญาณทัศนวิสุทธิ
นั้นเปนญาณที่ม.ี ..
๑. ความมีมรรค (ที่มีโพธิปขิยธรรม ๓๗ ประการ) สมบูรณ เชน
“ญาณที่ชื่อวาสัมมาทิฏฐิเพราะมีสภาวะเห็นมารวมกันในขณะนั้นญาณที่ชื่อ
วาสัมมาสังกัปปะเพราะมีสภาวะตรึกตรองมารวมกันในขณะนั้นญาณที่ชื่อวา

๖๒
สํ.นิ.อ. (บาลี) ๒/๗๐/๑๔๓.
๖๓
สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภมหาเถระ), คัมภีรวิสุทธิมรรค, พิมพครั้งที่
๑๒, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท ธนาเพรส จํากัด, ๒๕๖๐), หนา ๑๑๓๕.
๗๙๑
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
สัมมาวาจาเพราะมีสภาวะกําหนดไวมารวมกันในขณะนั้น”๖๔ เปนตน
๒. วุฏฐานะ ความออกไป เพราะวาโลกียวิปสสนายังไมออกไปจาก
นิมิตโดยแท เพราะมีนิมิตเปนอารมณ และยังมิไดออกจากความเปนไปของ
สังขาร โคตรภูญาณยังไมตัดความเปนไป เพราะยังมิไดตัดขาดสมุทัย แตตัด
ออกไปจากนิ มิต เนื่องจากมีพระนิพพานเปนอารมณ ดั่งพุทธพจนในพระ
ไตรป ฏ กที่ว า “ป ญญาในการถอยกลั บ ได แกการออกไปเสี ย จากอารมณ
ภายนอก คือ โคตรภูญาณ”๖๕ “ชื่อวา โคตรภู เพราะถอยออกกลับจากความ
เปนไปแลวแลนไปสูความไมเปนไป”๖๖
ญาณทั้ง ๔ เปนการตัดออกไปจาก ๒ สวนคือ ๑. ตัดออกจากนิมิต
เพราะมีนิพพานเปนอารมณ ๒. ตัดจาดออกจากสมุทัย เรียกการออกไปจาก
๒ สวนนี้วา ญาณในมรรค
๓. พลสมาโยคะ ความประกอบเสมอกันแหงพละในแวลาเจริญ
โลกียสมาบัติ ๘ กําลังสมถะก็จะมีมาก ในเวลาที่เจริญอนุปสสนา กําลังแหง
วิปสสนาก็จะมีมาก แตในขณะที่บรรลุ อริมรรค นั้น ธรรมทั้ง ๒ อยางนี้ คือ
สมถพละ กับ วิปสสนาพละ จะเสมอกัน
๔. การละธรรมทั้งหลายดวยมรรคญาณในบรรดาธรรมทั้งหลายนี้
พึงละไดดวยมรรคญาณใด
๔.๑ สังโยชน ๔.๑๑ โยคะ
๔.๒ กิเลส ๔.๑๒ นิวรณ
๔.๓ มิจฉัตตะ ๔.๑๓ ปรามาส
๔.๔ โลกธรรม ๔.๑๔ อุปาทาน
๔.๕ มัจฉริยะ ๔.๑๕ อนุสัย
๔.๖ วิปลาส ๔.๑๖ มละ

๖๔
ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/๖๕/๑๐๖-๑๐๙
๖๕
ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/ ๑๐/ ๒
๖๖
ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/ ๕๙/ ๙๕

๗๙๒
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
๔.๗ คันถะ ๔.๑๗ อกุศลกรรมบถ
๔.๘ อคติ ๔.๑๘ จิตตุปบาท
๔.๙ อาสวะ
๔.๑๐ โอฆะ๖๗
๕. กิจทั้งหลายมีการกําหนดรูเปนตน ในเวลาตรัสรูซึ่งกลาวไว
แลวนั้น ตามสภาวะทุกประการ ในสวนนี้ไดกลางถึงประเภทของปริญญา
หมายถึง การกําหนดรู ปหาน หมายถึง ประหาณหรือ การละ สัจฉิกริย า
หมายถึง การทําใหแจง และภาวนา หมายถึง ทําใหเกิด ซึ่งสงเคราะหญาณ
ตางๆใน ญาณทัศนะวิสุทธิ

ลักษณะของมรรคญาณ มีดังนี้ คือ


๑. หลังจากขาดความรูสึกลงไปแลว ทรงอยู ๑ ขณะตรงนี้เปนมรรค
ผล ตัดกิเลสเปนสมุจเฉทประหาณ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรา
มาส ขาดเด็ดลงไปตรงญาณนี้ ญาณนี้มีนิพพานเปนอารมณ ถึงพระนิพพาน
ตรงญาณนี้ หายสงสัยของใจในเรื่องบุญบาป นรก สวรรค มรรคผล นิพพาน
ตายแลวเกิดอีกหรือไม ก็ตรงญาณนี้ ญาณนี้เปนโลกุตระ
๒. อนุ โ ลมญาณ คือ ญาณที่รู ครั้ งสุ ด ทายในบรรดาความรู พิเ ศษ
ทั้งหมดที่ เ กิด ขึ้น แล ว ต อ ไปก็ ไมมี ความรู สึ กใดๆ เกิด ขึ้น อีกเลย คือ ขาด
ความรูสึกวูบลงไปโดยฉับพลัน อุปมาเหมือนคนกําลังเดินทางอยูดีๆ แล ว
พลัดตกหลุมลงไปโดยไมทันรูตัว อารมณกับจิตที่กําหนดรูซึ่งเปนโลกียะนั้น
ขาดความรูสึกวูบลงสูนิพพาน การดับลงอยางนี้เรียกวา โคตรภูญาณ
๓. หลั งจากโคตรภูญาณเกิดขึ้น ๑ ขณะ แลว ทรงอยูอีก ๑ ขณะ
ตรงนี้แหละเปนมรรคญาณ พระภัททันตะอาสภมหาเถระอธิบายไววา ตสฺ
สานนฺตรเมว มคฺโค ทุกขสจฺจํ ปริชานนฺโต สมุทยสจฺจํปชหนฺโต นิโรธสจฺจํสจฺ
ฉิกโรนฺโต มคฺคสจฺจํ ภาวนาวเสน อปฺปนาวิถิโมตรติ.

๖๗
พระพุทธโฆสเถระ รจนา, คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๖๐, หนา ๑,๑๔๑
๗๙๓
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ภายหลังที่โคตรภูดับ พระอริยมรรคก็กําหนดรูทุกข ประหาณสมุทัย
เห็นพระนิพพาน ภาวนามรรคทั้ง ๘ ใหเกิดแลวถึงอัปปนาวิถ๖๘ ี
เมื่อวุฏฐานคามินีวิปสสนาดําเนินไปตามวิถี เพราะอินทรียเสมอกัน
บริ บู ร ณ ไมขัด ข อง จนหมดความรู สึ กครั้ งสุ ด ทายที่อนุ โ ลมญาณครั้ น ผ า น
อนุโลมญาณ ก็เขาเขตโคตรภูญาณดังกลาวมาแลว เมื่อพนจากโคตรภูญาณก็
เขาถึงญาณที่สําคัญที่สุดคือ มรรคญาณ ในการปฏิบัตินั้น พึงทราบวาโยคีผู
ปฏิบัติเริ่มกาวเขาสูความดับตั้งแตยาง เขาเขตโคตรภูแลว แมมาถึงมรรค
ญาณนี้ก็ยังอยูในความดับ และอาการที่เขาสูความดับนั้นก็ไมเหมือนกัน มี
ลักษณาการตางกันดังตอไปนี้
๑. ขณะที่วุฏฐานคามินีวิปสสนากําลังดําเนินไปอยู รูป, นาม สังขาร
มีอาการสุขุมละเอีย ดเปน อย างยิ่งเป นธรรมดาแลว คอยเร็ว เขาๆ จนถี่ยิ บ
และในที่สุดก็ดับไปเลย ลักษณาการอยางนี้เรียกวาอนิมิตตวิโมกข คือดับทาง
อนิจจัง หรือเขาสูมรรคทางอนิจจัง ฉะนั้น ทานอนุรุทธาจารยแสดงไววา :
ยทิวุฏฐานคามินีวิปสฺสนา ทุกฺขโต วิปสฺสติ อปฺปณิหิโต วิโมกฺโข นาม โหติ.
ถาวุฏฐานคามินีวิปสสนาเห็นพิเศษโดยความไมเที่ยง ชื่อวา อนิมิตตวิโมกข
๒. ขณะที่วุฏฐานคามินีวิปสสนากําลังดําเนินไปอยู เกิดทุกขเวทนา
ขึ้นมาอยางแสนสาหัส เชนเกิดแนนหนาอกเรื่อยขึ้นมาถึง ลําคอในที่สุดก็ดับ
ไป ลักษณาการอยางนี้เรียกวา อัปปณิหิตวิโมกข คือ ดับทางทุกขัง หรือเขาสู
มรรคทางทุก ขั ง ฉะนั้ น ท านอนุ รุ ท ธาจารย แสดงไว ว า ยทิ วุ ฏ ฐ านคามิ นี
วิปสฺสนา อนิจฺจโต วิปสฺสติ อนิมิตฺโต วิโมกฺโข นาม โหติ. ถาวุฏฐานคามินี
วิปสสนาเห็นพิเศษโดยความเปนทุกข ชื่อวา อัปปณิหิตวิโมกข
๓. ขณะที่วุฏฐานคามินีวิปสสนากําลังดําเนินไปอยู รูปนามมีอาการ
สุขุมละเอียดเปนอยางยิ่ง แลวก็คอยๆ นอยลงๆ เหมือนเสนดายที่เล็กที่สุด
แลวขาดหายไป อาการอยางนี้เรียกวา สุญญตวิโมกข คือ ดับทางอนัตตา
หรือเขาสูมรรคทางอนัตตา ดังทีท่ านอนุรุทธาจารยแสดงไววา ยทิ วุฏฐานคา

๖๘
พระภั ท ทั น ตะ อาสภมหาเถระ. วิ ป ส สนาที ป นี ฎี ก า. พิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๙,
กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพเลี่ยงเชียง, หนา ๑๙๖ - ๒๐๐.
๗๙๔
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
มินีวิปสฺสนา อนตฺตโต วิปสฺสติ สุฺญโต วิโมกฺโข นาม โหติ.
ถาวุ ฏ ฐานคามินี วิ ป ส สนาเห็ น พิเ ศษโดยความเป น อนั้ น ตา ชื่ อว า
สุญญตวิโมกข
ถามีคําถามวา เหตุไฉนโยคีบุคคลจึงเขาสูความดับไปไมเหมือนกัน?
พึงตอบวา เพราะการสรางสมบารมีมาแตกตางกัน ผูใดสรางมาทาง
ใดก็ดับทางนั้น คือผูที่มีสัทธินทรียแกกลา มีศรัทธาเปนบุพพาธิการอันสูง คือ
ไดสรางสมมาแตชาติกอนเปนกําลัง สงใหขณะที่ปฏิบัติวิปสสนาภาวนาอยู
นั้น ผูนั้นยอมจะเห็นแจงชัดแตอนิจจลักษณะมากที่สุด ทั้งนี้จึงเขาใจวา พระ
ไตรลักษณอื่นๆ ก็เห็นเชนเดียวกัน แตไมแจมแจงชัดเจนเทาอนิจจลักษณะนี้
เพราะ อนิจจลักษณะมีกําลังแรงกลา ฉะนั้น เมื่อวุฏฐานคามินีวิปสสนาคือ
ตัววิ ปส สนาที่จะเขาสู มรรคกําลังเป นไปอยู นั้น ย อมจะทําให เห็ นรู ป นาม
แสดงความไมเที่ย งแลว ก็เขาสู มรรคเลย ลักษณะอย างนี้เรี ยกวา อนิ มิต ต
วิโมกข คือหลุดพนจากอนิจจัง
ผูที่มีสมาธินทรียแกกลา มีสมาธิเปนปุพพาธิการอันตนเอง สั่งสมมา
แตชาติกอนเปนกําลังแรงสงใหในขณะที่ปฏิบัติวิปสสนาอยูนั้น ผูนั้นยอมจะ
เห็นอยางแจมชัดในทุกขลักษณะมากที่สุด ชัดเจนกวาพระไตรลักษณอื่นๆ
เพราะทุกขลักษณะมีกําลังแรงกลา ฉะนั้น เมื่อวุฏฐานคามินีวิปสสนากําลัง
ดําเนินไปอยูนั้น ยอมจะเห็นรูป, นามแสดงความเปนทุกขใหปรากฎเห็น
อยางชัดเจนแลวเขาสูมรรคเลย ลักษณะอยางนี้เรียกวา อัปปณิหิตวิโมกข
คือ หลุดพนจากทางทุกขัง
สําหรับผูที่มีปญญินทรียแกกลา มีปญญาเปนปุพพาธิการอัน ตนเคย
สรางสมมาแตชาติกอนเปนกําลังแรงสงใหในขณะที่ปฏิบัติวิปสสนาภาวนา
อยูนั้น ผูนั้นยอมจะเห็นชัดเจนในอนัตตลักษณะมากที่สุด ชัดเจนกวาพระไตร
ลักษณอื่นๆ เพราะอนัตตลักษณะมีกําลังมากกวา ฉะนั้น เมื่อวุฏฐานคามินี
วิปสสนากําลังดําเนินไปอยู ยอมจะเห็นรูป, นามแสดงความเปนอนัตตาให
ปรากฏอยางชัดเจน เมื่อเห็นอนัตตาอยางชัดเจนแลว วุฏฐานคามินีวิปสสนา
ก็จะเขาสูมรรคเลย ลักษณะอยางนี้เรียกวา สุญญตวิโมกข คือ หลุดพนทาง
อนัตตา หรือเขาสูมรรคทางอนัตตลักษณะ
๗๙๕
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
มีขอพึงสังเกตวาการเขาสูมรรคทั้ง ๓ ทางนี้ ผูที่ดับดวย อัปปณิหิต
มรรคคื อ ดั บ ทางทุ ก ขั ง มี น อ ย ส ว นมากดั บ ด ว ยอนิ มิ ต ตมรรค และสุ ญ ญ
ตมรรค คือดับทางอนิจจังและอนัตตา
มรรคญาณนี้เสวยนิพพานอารมณ เปนฝายโลกุตตระ เห็นอริยสัจ
อยางแจงชัดคือเห็นนิโรธอริยสัจ เมื่อเห็นนิโรธก็ไมจําเปนตองกลาวถึงอริยสัจ
อีก ๓ ขอ เพราะจะตองพรอมกันอยูเอง เปรียบเสมือนคุณสมบัติของดวงไฟ
ทํากิจ ๔ อยางในขณะเดียวกัน คือ ๑) ทําใหไสไหม ๒) ขจัดความมืด ๓) เกิด
แสงสวาง ๔) ทําใหน้ํามันหมดไป ขอนี้ฉันใด มรรคญาณก็ฉันนั้น เมื่อเสวย
อารมณนิพพานก็ตองเห็นนิโรธเมื่อเห็นนิโรธเปนจุดสุดยอดก็ตองเห็นอีก ๓
คือทุกข, สมุทัย, มรรคพรอมกันทีเดียว ฉะนั้น ในวิสุทธิมรรคอรรถกถาแสดง
ไววา (นิโรธํ) ปฏิวิชฺมตีติ เอเตน นิโรธสจฺจเมกํ อารมฺมณปฏิเวเธนจตฺตาริ
สจฺจานิ อสมฺโมหปฏิเวเธนมคฺคญาณํ ปฏิวิชฺฌติ.
ปฏิเวธมี ๒ อยาง คือ อารัมมณปฏิเวธ และอสัมโมหปฏิเวธ มรรค
ญาณขณะนั้ น มี นิ พพานเป น อารมณ เรี ย กว า อารั ม มณปฏิ เ วธ ส ว นทุก ข
สมทัย มรรคสัจทั้ง ๓ นั้นไมมีความสงสัย ความรูความเห็นอันบริสุทธิ์อยูนั้น
เรียกวา อสัมโมหปฏิเวธ
ในมรรคขณะนั้ น ทุ ก ขสั จ ก็ ดี สมุ ทั ย สั จ ก็ ดี มรรคสั จ ก็ ดี ห าเป น
อารมณไม แตมีนิพพานเปนอารมณ สวนทุกขสัจ สมุทัยสัจ มรรคสัจ ไมมี
ความสงสัย คือ มีความรูความเห็ นบริสุ ทธิ์แล ว ฉะนั้น จึ งชื่อว า อสั มโมห
ปฏิเวธ มรรคญาณนี้ชื่อวา ญาณทัสสนวิสุทธิ
มรรคญาณนี้เปนญาณทัสสนวิสุทธิโดยแท ไมไดเปนออม การตั้งอยู
ในสภาพความดับสิ้นของปวงสังขารคือปญญาที่ตัดกิเลสเปนสมุจเฉทปหาน
คือ ในสภาพความดับของรูปนามเขาสูความตั้งมั่น ๑ ขณะในตอนตน๖๙
ในคัมภีรปฏิสัมภิทามรรค๗๐ พระสารีบุตรเถระอธิบายไววา
๖๙
พระอนุรุทธาจารย. คูมือการศึกษากัมมัฏฐานสังคหวิภาคพระอภิธัมมัตถ
สังคหะปริจเฉทที่ ๙ หนา ๑๑๘.
๗๐
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๑/๙๙ –๑๐๒.
๗๙๖
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ป ญ ญาในการออกและหลี ก ไปทั้ ง จากกิ เ ลสขั น ธ แ ละจากนิ มิ ต
ภายนอกชื่อวา มรรคญาณ คืออยางไร?
คือ ในขณะแหงโสดาปตติมรรค ญาณที่ชื่อวาสัมมาทิฏฐิ เพราะมี
สภาวะเห็ น ยอมออกจากมิ จ ฉาทิ ฏ ฐิ ออกจากเหล า กิ เ ลสที่ เ ป น ไปตาม
มิจ ฉาทิฏ ฐิ นั้ น ออกจากขั น ธ ทั้ งหลายและออกจากนิ มิต ภายนอกทั้ งปวง
เพราะเหตุนั้น ปญญาในการออกและหลีกไปทั้งจากกิเลสขันธและจากนิมิต
ภายนอก ชื่อวามรรคญาณ
ญาณที่ชื่อวาสัมมาสังกัปปะ เพราะมีสภาวะตรึกตรอง ยอมออกจาก
มิจฉาสังกัปปะ ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาสังกัปปะนั้น ออกจาก
ขันธทั้งหลาย และออกจากนิมิตภายนอกทั้วปวง เพราะเหตุนั้น ปญญาใน
การออกและหลีกไป ทั้งจากกิเลสและจากนิมิตภายนอก ชื่อวามรรคญาณ
ญาณที่ชื่อวาสัมมาวาจาเพราะมีสภาวะกําหนดรูไว ยอมออกจาก
มิจฉาวาจา ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาวาจานั้น จากขันธทั้งหลาย
และออกจาก สรรพนิมิตภายนอก เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา ปญญาใน
การออกและหลีกไป ทั้งจากกิเลสและจากนิมิตภายนอก ชื่อวามรรคญาณ
ญาณที่ชื่อวาสัมมากัมมันตะ เพราะมีสภาวะเปนสมุฏฐาน ยอมออก
จากมิจฉากัมมันตะ ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉากัมมันตะนั้น ออก
จากขันธทั้งหลาย และออกจากนิมิตภายนอกทั้งปวง เพราะเหตุนั้น ปญญา
ในการออกและหลีกไป ทั้งจากกิเลสและจากนิมิตภายนอก ชื่อวามรรคญาณ
ญาณที่ชื่อวาสัมมาอาชีวะ เพราะมีสภาวะผองแผว ยอมออกจาก
มิจฉาอาชีวะ ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาอาชีวะนั้น ออกจากขันธ
ทั้งหลาย และออกจากนิมิตภายนอกทั้งปวก เพราะเหตุนั้น ปญญาในการ
ออกและหลีกไป ทั้งจากกิเลสและจากนิมิตภายนอก ชื่อวา มรรคญาณ
ญาณที่ชื่อวาสั มมาวายามะ เพราะมีสภาวะประคองไว ยอมออก
จากมิจฉาวายามะ ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาวายามะนั้น จาก
ขันธทั้งหลายและ ออกจากสรรพนิมิตภายนอกเพราะเหตุนั้น
ทานจึงกลาววา ปญญาในการออกจากสรรพนิมิตภายนอก เพราะ
เหตุนั้น และหลีกไปทั้งจากกิเลสขันธและจากนิมิตภายนอก ชื่อวามรรคญาณ
๗๙๗
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ญาณที่ชื่อวาสัมมาสติ เพราะมีสภาวะตั้งมั่น ยอมออกจากมิจฉาสติ
ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาสตินั้น จากขันธทั้งหลาย และออกจาก
สรรพนิมิตภายนอก เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา ปญญาในการออกและ
หลีกไปทั้งจากกิเลสขันธและจากนิมิตภายนอก ชื่อวามรรคญาณ
ญาณที่ชื่อวาสัมมาสมาธิ เพราะมีสภาวะไมฟุงซาน ยอมออกจาก
มิจฉาสมาธิ ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาสมาธินั้น ออกจากขันธ
ทั้งหลายและออกจากนิมิตภายนอกทั้งหมด เพราะเหตุนั้น ปญญาในการ
ออกและหลีกไป ทั้งจากกิเลสขันธและจากนิมิตภายนอก ชื่อวามรรคญาณ
ในขณะแห ง สกทาคามิ ม รรค ญาณที่ ชื่ อ ว า สั ม มาทิ ฏ ฐิ เพราะมี
สภาวะเห็น ฯลฯ ญาณที่ชื่อวาสัมมาสมาธิ เพราะมีสภาวะไมฟุงซาน ยอม
ออกจากกามราคสังโยชน (กิเลสเครื่องประกอบสัตวไวในภพคือกามราคะ)
จากปฏิฆสังโยชน (กิเลสเครื่อง ประกอบสัตวไวในภพคือปฏิฆะ) จากกาม
ราคานุ สั ย (กิเ ลสที่น อนเนื่ องอยู ในสัน ดานคือกามราคะ) จากปฏิ ฆานุ สั ย
(กิเลสที่นอนเนื่องอยูในสันดานคือปฏิฆะ) สวนหยาบๆ ออกจากเหลากิเลสที่
เปนไปตามมิจฉาสมาธินั้น จากขันธทั้งหลาย และออกจากนิมิตภายนอกทั้ง
ปวง เพราะเหตุนั้น ปญญาในการออกและหลีก ไปทั้งจากกิเลสขันธ และ
จากนิมิตภายนอก ชื่อวามรรคญาณ
ในขณะแหงอนาคามิมรรค ญาณที่ชื่อวาสัมมาทิฏฐิเพราะมีสภาวะ
เห็น ฯลฯ ญาณที่ชื่อวาสัมมาสมาธิ เพราะมีสภาวะไมฟุงซาน ยอมออกจาก
กามราคสังโยชน จากปฏิฆสังโยชน กามราคานุสัย ปฏิฆานุสัยที่ละเอียดๆ
ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาสมาธินั้น จากขันธทั้งหลาย และออก
จากสรรพนิมิตภายนอก เพราะเหตุนั้น ปญญาในการออกและหลีกไปจาก
กิเลสขันธและจากนิมิตภายนอก ชื่อวามรรคญาณ
ในขณะแหงอรหัตตมรรค ญาณที่ชื่อวาสัมมาทิฏฐิ เพราะมีสภาวะ
เห็ น ฯลฯ ที่ชื่ อวาสั มมาสมาธิ เ พราะมีส ภาวะไมฟุงซาน ย อมออกจากรู ป
ราคะ (ความกําหนัดในรูป) จากอรูปราคะ (ความกําหนัดในอรูป) จากมานะ
(ความถือตัว) จาก อุทธัจจะ (ความฟุงซาน) จากอวิชชา (ความไมรู) จากมา
นานุสัย (กิเลสที่นอนเนื่อง อยูในสันดานคือมานะ) จากภวราคานุสัย (กิเลสที่
๗๙๘
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
นอนเนื่องอยูในสันดานคือภวราคะ) จากอวิชชานุสัย (กิเลสที่นอนเนื่องอยูใน
สันดานคืออวิชชา) ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาสมาธินั้น จากขันธ
ทั้งหลายและออกจากนิมิตภายนอกทั้งปวง เพราะเหตุนั้น ปญญาในการออก
และหลีกไปทั้งจากกิเลสขันธและ จากนิมิตภายนอก ชื่อวามรรคญาณ
บุคคลผูพรอมเพรี ยงดวยอริยมรรค ยอมเผากิเลสที่ยังไมเกิดดว ย
โลกุต ตรฌานที่เ กิด ขึ้น แล ว เพราะเหตุ นั้ น จึ งเรี ย กโลกุต ตระว าเป น ฌาน
บุคคลนั้นยอมไมหวั่นไหวเพราะทิฏฐิตางๆ เปนผูฉลาดในฌานและวิโมกข
พระโยคาวจรตั้งจิตมั่นแลวยอมเห็นแจงฉันใด เมื่อเห็นแจงก็พึงตั้ง
จิ ต มั่น ฉัน นั้ น ทั้ง สมถะและวิ ป ส สนาได เ กิด ขึ้น ในขณะนั้ น มีส ว นเสมอกั น
ดําเนินไปคูกันความเห็นวาสังขารทั้งหลายเปนทุกข นิโรธ๗๑ เปนสุขปญญาที่
ออกจากธรรมทั้งสองยอมถูกตองอมตบท๗๒
พระโยคาวจรผูฉลาดในความตางกัน และความเปนอันเดียวกันแหง
วิโมกขเหลานั้น ยอมรูวิโมกขจริยายอมไมหวั่นไหวเพราะทิฏฐิตางๆ เพราะ
เปนผูฉลาดในญาณทั้งสอง คัมภีรวิสุทธิมรรค๗๓อธิบายโสดาปตติมรรคญาณ
ดวยการแสดงอุปมา วา มีอุปมาแสดงถึงอาการที่อนุโลมญาณและโคตรภู
ญาณ แมดําเนินไปในวิถีเ ดียวกัน โดยอาวั ชชนะเดี ยวกัน แตดําเนิน ไปใน
อารมณตางๆ กัน ดังอุปมาดวยบุรุษโดดขามคูน้ํา
เหมือนหนึ่งวาบุรุษผู (อยูฝงขางนี้) ปรารถนาจะกระโดดขามคูน้ํา
กวางใหญแลวไป ยืนอยู ณ ฝงฟากขางโนน จึงวิ่งมาโดยเร็ว แลวยึดเสนเชือก
ที่ผูกหอยอยูกับกิ่งของตนไม หรือจับไมค้ํายัน ณ ฝงขางนี้ของคู แลวโดดขึ้น
(ขณะที)่ มีการโนมนอมเอียงโอนไปยังฝงโนน ถึงสวนเบื้องบนของฝงโนนแลว
จึงละเสนเชือกหรือไมค้ํายันนั้นซวนเซไปตกลง ณ ฝงโนนแลวจึงคอยๆ ทรง
ตัวยืนอยู ฉันใด แมโยคาวจรทานนี้ก็ฉันนั้น เหมือนกัน มีความปรารถนาเพื่อ

๗๑
นิโรธ ในที่นี้หมายถึงนิพพาน (ขุ.ป.อ. (บาลี) ๑/๑๗/๓๐๐)
๗๒
อมตบท ในที่นี้หมายถึง นิพพาน (ขุ.ป.อ. (บาลี) ๑/๑๗/๓๐๐)
๗๓
พระพุทธโฆสเถระ. คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๖๐. หนา ๑๑๓๒– ๑๑๓๕.

๗๙๙
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ประดิษฐานอยูในพระนิพพานซึ่งเปนฝงโนนของภพ ๓ โยนิ ๔ คติ ๕ ฐิติ ๗
และ นิวาส ๙ จึงวิ่งมาโดยเร็วดวยญาณมี อุทยพยานุปสสนาเปนตน แลว
เหนียวเสนเชือกคือรูปที่ผูกหอยไวกับกิ่งของตนไมคืออัตภาพ (รางกาย) หรือ
วายึดไมค้ํายันคือขันธมีเ วทนาขัน ธเปนตน อยางใดอยางหนึ่ง โดยพึงของ
อนุโลมญาณวาไมเที่ยง หรือว าเป นทุกข หรื อวาเปนอนัตตา ยังไมล ะเส น
เชือกคือรูป หรือไมค้ํายัน คือเวทนาเปนตนนั้นกอน โลดขึ้นดวยอนุโลมจิต
ดวงที่ ๑ (บริ กรรม) แล วเปน ผูมีจิต ใจโน มน อมเอียงโอนไปสู พระนิ พพาน
ดวยอนุโลมจิตดวงที่ ๒ (อุปจาร) ดุจบุรุษผูมีกายโนมนอมเอียงโอนไปยังฝง
ชางโนน (ของคูน้ํา) เปนผูอยูใกลพระนิพพานที่ตนจะพึงถึง ณ บัดนี้ ดว ย
อนุ โ ลมจิ ต ดวงที่ ๓ ดุ จ บุ รุ ษ ผู (โดด) ถึ งส ว นเบื้ องบนของฝ งโน น แล ว ละ
อารมณคือสังขาร (รูปหรือเวทนาเปนตน) นั้นดวย ความดับของ (อนุโลม)
จิตนั้น แลวตกลงไปในพระนิพพานที่ปราศจากสังขารซึ่งเปนฝงขางโนน ดวย
โคตรภู จิ ต (มีพระนิพพานเป นอารมณ) แต เพราะเหตุที่ยั งไมไดอาเสวนะ
(ความคุนเคย) ในอารมณพระนิพพานเพียงครั้งเดียว จึงยังหวั่นไหว ไมตั้งมั่น
อยู ด ว ยดี ก อ นเหมื อ นบุ รุ ษ (โดดข า มคู น้ํ า ) ผู นั้ น ซวนเซอยู จากนั้ น ก็
ประดิษฐาน อยูดวย มรรคญาณ ดวยประการฉะนี้
ในญาณทั้งสองนั้น อนุโลมญาณสามารถกําจัดความมืดคือกิเลสที่
ปดบัง (อริย) สัจ จะออกไปได แตทําพระนิพพานใหเป นอารมณมิได สว น
โคตรภูญาณ เสามารถทําพระนิพพานนั้นแลใหเปนอารมณได แตมสามารถ
กําจัดความมืดที่ปด บัง (อริย) สัจจะไวออกไปได ในการทํากิจของอนุโลม
ญาณและโคตรภูญาณนั้น มีอุปมาดังนี้
อุปมาดวยบุรุษดูฤกษนักษัตรโยคะ สมมติวา บุรุษผูมีจักษุผูหนึ่ง คิด
จักรูฤกษรวมของดาวนักษัตร จึงออกมาใน เวลากลางคืน แลวแหงนขึ้นไป
ดูดวงจันทร ดวงจันทรก็ไมปรากฏเพราะดวงจันทรนั้น ถูกหมูเมฆทั้งหลายบัง
ไวทันใดนั้น ก็มีลมระลอกหนึ่งตั้งขึ้นพัดพาเอาหมูเมฆหนาๆ ออกไป ลมอีก
ระลอก ตั้งขึ้นแลวพัดพาเอาหมูเมฆชนิดกลางๆ ออกไป ลมอีกระลอกหนึ่ง
ตั้งขึ้นแลวพัดพาเอาหมูเมฆบางๆ ออกไป แตนั้น ครั้นทองฟาปราศจากเมฆ
แลว บุรุษผูนั้นก็เห็นดวงจันทร แลวรูฤกษรวมของดาวนักษัตรได
๘๐๐
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ในอุ ป มานั้ น ความมืด คือ กิเ ลสอย า งหนา อย า งกลาง และอย า ง
ละเอียด ที่ปดบังสัจจะไว เปนเหมือนเมฆทั้งหลายๆ ชนิด อนุโลมจิต ๓ ดวง
เปน เหมือนลม ๓ ระลอก โคตรภูญาณ เปรีย บบุ รุษผูมีจักษุ พระนิพพาน
เปรียบประดุจดวงจันทร การกําจัดความมืด (คือกิเลส) ที่ปดบัง (อริย) สัจจะ
ออกไป ของอนุโ ลมจิต ดวงหนึ่งๆ เปรีย บ เหมือนการพัด พาเอาหมูเ มฆ ๓
ชนิดออกไปโดยลําดับ ของลมระลอกหนึ่งๆ เมื่อ ปราศจากความมืดที่ปดบัง
(อริย) สัจจะแลวโคตรภูญาณก็เห็นพระนิพพานอันบริสุทธิ์ เปรียบเหมือน
เมื่อทองฟาปราศจากหมูเมฆแลว บุรุษผูนั้นก็เห็นดวงจันทรอันผองใส
จริงอยู อนุโลมจิตทั้งหลาย สามารถกําจัดความมืดที่ปดบัง (อริย)
สัจจะไดแต อยางเดียวเทานั้น ไมสามารถเห็นพระนิพพาน เปรียบเหมือนลม
๓ ระลอก สามารถพัดพาเอาหมูเมฆทั้งหลายที่บังดวงจันทรไวออกไปไดแต
อย า งเดี ย ว แต ไ มส ามารถเห็ น ดวงจั น ทร โคตรภู ญาณ สามารถเห็ น พระ
นิพพานไดอยางเดียว ไม สามารถกําจัดความมืดคือกิเลสได เปรียบเหมือน
บุรุษผูนั้น สามารถเห็นดวงจันทร ไดอยางเดียว ไมสามารถพัดพาเอาหมูเมฆ
ทั้งหลายออกไปได และดวยเหตุนั้นแล ทานจึงกลาววา โคตรภูญาณ นี้ เปน
อาวัชชนะของมรรค (คือหันมาสูมรรค)
ที่จริง โคตรภูญาณนั้น แมไมหันมา (แต) ที่ตั้งอยูในฐานะแหงการ
หันมา คลายกับวาใหสัญญา (นัดหมาย) แกมรรควา “ทานจงบังเกิดขึ้นอยาง
นี้” แลว (ตัวเอง) ก็ ดับไป ทั้งมรรคเองก็ไมละสัญญาที่โคตรภูญาณนั้นใหไว
บังเกิดขึ้นติดตาม (โคตรภู ญาณนั้นโดยสิ้นเนื่องไมมีระหวางคั่นทันทีนั้น ทั้ง
เจาะทะลุทั้งทุบทําลายกองโลภะ กองโทสะ กองโมหะ ที่ไมเคยเจาะทะลุ ไม
เคยทุบทําลายมากอน
อุปมาดวยนักยิงธนู
ในการเจาะทะลุทุบทําลายนั้น มีอุปมาดังนี้ เลากันมาวา นักยิงธนู
หนึ่ง สั่งใหเขาตั้งแผนกระดาน (แกนไมสน) ซอนกัน ๑๐๐ แผนไวในประเทศ
ห า ง ออกไปประมาณ ๘ อุ ส ภะ แล ว เอาผ าพั น ป ด หน า ตนเอง (ขึ้ น สาย)
ประทับลูกธนูไว (กับสาย) ยืนอยูบนจักรยนต (กระดานหมุน) บุรุษอีกผูหนึ่ง

๘๐๑
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
หมุนจักรยนตไป เมื่อใด เปนกระดานอยูตรงหนาของนักยิงธนู เมื่อนั้น บุรุษ
ผู ห มุน จั ก รยนต ให สั ญญาด ว ย (การเคาะ) ไม ณ ที่ นั้ น นั ก ยิ ง ธนู ก็ ไม ล ะ
สัญญาเคาะไม ยิงลูกธนูไปเจาะทะลุกระดาน๑๐๐ แผนทันที
ในอุปมานั้น โคตรภูญาณเปรียบเหมือนสัญญาณเคาะไม มรรคญาณ
เปรีย บเหมือนนั กยิงธนู การที่มรรคญาณไมล ะสั ญญาที่โ คตรภู ญาณให ไว
แลวทําพระนิพพานเปนอารมณ เจาะทะลุทําลายกองโลภะ โทสะ และโมหะ
ที่ไมเคยเจาะทะลุ มากอน ที่ไมเคยทุบทําลายมากอน เปรียบเหมือนนักยิงธนู
ไมละสัญญาเคาะไม ยิงลูกธนูเจาะทะลุแผนกระดาน ๑๐๐ ชั้นในทันที
อานิสงสโสดาปตติมรรค
อนึ่ง โสดาปตติมรรคนี้ มิใชแตทําการเจาะทะลุกองกิเลสอยางเดียว
เท า นั้ น แต ทํ า มหาสมุ ท รแห ง ความทุ ก ข ใ นสั ง สารวั ฏ ซึ่ ง ไม มี ใ ครรู ที่ สุ ด
เบื้องตน ใหเดือดแหงไปดวย ปดประตูอบายทั้งปวง ทําใหเปนผูมีอริยทรัพย
๗ ประการอยูพรอมพรั่ง ทางดําเนินผิด ๘ ประการเสียได ทําเวรและภัยทุก
ประการให ส งบลง นํ า เข า ถึ ง ความเป น บุ ต รผู เ กิ ด แต พ ระอุ ร ะของพระ
สัมมาสัมพุทธเจา และดําเนินไปเพื่อไดอานิสงสหลายรอยอยาง
อนึ่ง ในมรรคญาณนี้ เปนการสละคืนแบบปกขันทนปฏินิสสัคคะ
(ความสละคื น ด ว ยการแล น เข า ไป) คื อ ความแล น ไปในพระนิ พ พานอั น
ตรงกันขามกับกิเลส โดยความนอมไปแหงปญญา เห็น โทษในสั งขตธรรม
จัดเปนสัมมาวิมุต เปนโลกุตตรญาณ ทําหนาที่ประหาณกิเลส ระดับอนุสัย
กิเลส ทําหนาที่รูทุกข ละเหตุแหงทุกข แจงนิโรธ ความดับทุกข เจริญตนเอง
เต็มที่ คือองคมรรค ๘ มีการประชุมพรอมกัน ทําหนาที่ละอนุสัยกิเลสแลวก็
ดับลง มีนิพพานเปนอารมณ เปนญาณลําดับขั้นที่ ๑๔ ในวิปสสนาญาณ ๑๖
ที่ เ กิ ด แก ผู เ จริ ญ วิ ป ส สนาภาวนาเพื่ อ บรรลุ ม รรคผลนิ พ พาน ซึ่ ง แบ ง
ความสามารถในการประหาณกิเลสออกเปน ๔ ขั้น ดังนี้
๑) โสดาปตติมรรคญาณ ทําหนาที่ประหาณสักกายทิฏฐิ, วิจิกิจฉา
สีลัพพตปรามาส (มิจฉาทิฏฐิ และวิจิกิจฉา) ไดอยางเด็ดขาด๗๔ ผูปฏิบัติ
๗๔
ดูรายละเอียดใน องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๑๓/๒๑.
๘๐๒
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
วิปสสนาจนสําเร็จญาณนี้ ชื่อวาเปนพระอริยบุคคลชั้นโสดาบัน
โสดาบัน แปลวา ถึงกระแสพระนิพพาน๗๕ หมายความวาผูที่บรรลุ
ถึงความเปนพระโสดาบั นแลว จักมุงหน าไปตามกระแสนิ พพานจนบรรลุ
ความเปนพระอรหันต ไมมีวันตกต่ํา เปนผูไมตกไปในอบาย ๔ คือ นรก
กําเนิดสัตวดิรัจฉาน เปรต อสุรกาย มีความแนนอนที่จะสําเร็จสัมโพธิ คือ
มรรค ๓ เบื้องสูง ไดแก สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตตมรรคในวัน
ขางหนา เมื่อเกิดในภพใหมเปนเทวดาหรือมนุษยก็เกิดไดไมเกิน ๗ ครั้ง๗๖
เพราะประหาณอกุศลกรรมบถ ๕ ประการ คือ ปาณาติบาต อทินนาทาน
กาเมสุมิจฉาจาร มุสาวาท และมิจฉาทิฏฐิไดโดยเด็ดขาดเปนสมุจเฉท๗๗
๒. สกทาคามิมรรคญาณ ทําหนาที่บรรเทาราคะ โทสะ และโมหะ
ให เ บาบางได แต ยั งกํ า จั ด ราคะและปฏิ ฆะอย า งเด็ ด ขาด ไมไ ด ผู ป ฏิ บั ติ
วิปสสนาจนสําเร็จญาณนี้ชื่อวาเปนพระสกทาคามี เปนผูไมตกไปในอบาย ๔
มีความแนนอนที่จะสําเร็จสัมโพธิ คือมรรคเบื้องสูง ไดแก อนาคามิมรรค
อรหัตตมรรคในวันขางหนา เมื่อเกิดในภพใหมก็เกิดไดเพียง ๑ ครั้ง๗๘
คําวา สกทาคามี แปลวา กลับมาอีกครั้งเดียวหรือครั้งหนึ่ง คือ ผูที่
บรรลุเปนพระสกทาคามีจะกลับมาเกิดในกามภูมิ ไดแกมนุษยโลกอีกครั้ง
เดียวเทานั้น๗๙พระสกทาคามีนี้ ละกิเลสไดเทากับพระโสดาบัน ไมไดละเพิ่ม
อีกแตประการใด เพียงแตทํากิเลสที่เหลือใหเบาบางลงเทานั้น
๓. อนาคามิมรรคญาณ ทําหนาที่ป ระหาณสักกายทิฏ ฐิ วิจิ กิจฉา
สีลัพพตปรามาส พรอมทั้งราคะโทสะ โมหะไดโดยเด็ดขาดสิ้นเชิง ผูปฏิบัติ
สําเร็จญาณนี้ชื่อวาเปนพระอนาคามี ๘๐
คําวา อนาคามี แปลวา ไมกลับมาอีก หมายความวา ผูที่บรรลุเปน
๗๕
องฺ.ทสก.อ. (บาลี) ๓/๖๓-๖๔/๓๕๓
๗๖
ดูใน อภิ.ปุ.(ไทย)๓๖/๓๑/๑๒๒, อภิ.ปฺจ.อ. (บาลี)(บาลี) ๓๑/๕๓.
๗๗
องฺ.ติก.อ. (บาลี) ๒/๘๗/๒๔๒
๗๘
ดูรายละเอียดใน ที.สี. (ไทย) ๙/๓๗๓/๑๕๖.
๗๙
ที.สี. (ไทย) ๙/๓๗๓/๑๕๖., ขุ.ป.อ. (บาลี) ๒/๑๕๑/๗๘.
๘๐
ดูรายละเอียดใน องฺ.ติก.อ. (บาลี) ๒/๘๘/๒๔๓.
๘๐๓
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
พระอนาคามีในมนุษยโลกหรือเทวโลก เมื่อหมดอายุขัยแลว จะไปเกิดใน
พรหมโลกชั้นสุทธาวาสและดับขันธปรินิพพานในพรหมโลกนั้น จักไมกลับมา
เกิดในมนุษยโลกหรือเทวโลกอีก๘๑
๔. อรหัตตมรรคญาณ สามารถประหาณสังโยชนกิเลสที่ผูกมัดใจ
ทั้ ง หมดได โ ดยเด็ ด ขาด ๘๒ ผู ป ฏิ บั ติ สํ า เร็ จ ญาณนี้ ชื่ อ ว า บรรลุ อ รหั น ต โ ดย
สมบูรณ นับวาเปนผูลางบาปไดแลว เพราะไมมีกิเลสอันเปนเหตุใหเกิดบาป
และไมมีกิเลสใหถือกําเนิดในภพใหมอีก๘๓ พระอรหันตนั้นไมมีการเวียนเกิด-
เวียนตายและภพใหมก็ไมมีอีก เมื่อไมเกิดอีกก็ไมแก ไมตายอีกตอไป๘๔
ในพระสุตตันตปฎก ทุติยโสเจยยสูตรปรากฏขอความวา “ผูมีกาย
สะอาด มีวาจาสะอาด มีใจสะอาด ไมมีอาสวะ เปนผูสะอาด ถึงพรอมดวย
ความสะอาด บัณฑิตทั้งหลายเรียกวาเปนผูลางบาปไดแลว”๘๕
คัมภีรอรรถกถาอธิบายบทวา บัณฑิตทั้งหลายกลาววา เปนผูมีบาป
อันลางเสียแลว เพราะเปนผูลางคือชําระบาปทั้งปวงที่เกิดขึ้นในอายตนะแม
ทั้งปวง ดวยมรรคญาณ๘๖
อรหันต แปลวา ผูควรแกการบูชาอันวิเศษ เพราะเปนผูควรแก
ทักษิณาอันเลิศ๘๗ ไดชื่อวา ขีณาสพ เพราะเปนผูที่หมดกิเลสอาสวะแลว๘๘
เปนผูสิ้นภพสิ้นชาติแลว เปนผูพนแลว ไมตองเวียนวายตายเกิดอีกตอไป

๘๑
องฺ.ติก. (ไทย) ๒๐/๘๘/๓๑๖.
๘๒
กิเลสที่ผูกมัดใจสัตวไวกับทุกข ๑๐ ประการ คือ ๑) สักกายทิฏฐิ ๒)วิจิกิจฉา
๓) สีลัพพตปรามาส ๔) กามฉันทะหรือกามราคะ ๕) พยาบาทหรือปฏิฆะ ๖)รูปราคะ
๗) อรูปราคะ ๘) มานะ ๙) อุทธัจจะ ๑๐) อวิชชา ดูใน องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๑๓/๒๑.
๘๓
ดูรายละเอียดใน ขุ.อิติ. (ไทย) ๒๕/๔๔/๓๙๔.
๘๔
ดูรายละเอียดใน ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๓๘/๑๓๘., ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๖๐.
๘๕
ดูรายละเอียดใน องฺ.ติก. (ไทย) ๒๐/๑๒๒/๓๖๘.
๘๖
ดูรายละเอียดใน ขุ.ม.อ. (บาลี)๑๔/๑๗๓.
๘๗
วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๑/๑๐๓-๑๑๘.
๘๘
ที.ปา.อ.(บาลี) ๑/๑๑๖/๔๘.
๘๐๔
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล

๔. ผลญาณ
ปญญาที่หยุดความพยายาม ชื่อวาผลญาณ๘๙ เปนญาณในอริยผล
เกิดขึ้นสืบตอจากมรรคญาณ
เมื่อมรรคญาณปรากฏขึ้นแลว ผลญาณก็ปรากฏตามมาทันทีไมมี
ระหวางกลางคันเลย มีขอที่พึงทราบไวในที่นี้คือ มัคคญาณนี้จะเปนมรรคชั้น
ใดก็ตามยอมปรากฏขึ้นครั้งเดียวเทานั้น เมื่อเกิดขึ้นแลวก็ทําการประหาณ
กิเ ลสต างๆ ตามอํ านาจของมรรค นั้ น ๆ เช น ปฐมมรรคเกิ ด ขึ้ น ก็ ทํ าการ
ประหาณกิเลสที่ปฐมมรรคมีอํานาจประหาณได เปนตน สําหรับในที่นี้ คือใน
การปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐานที่กําลังกลาวถึงอยูนี้ มรรคญาณที่ปรากฏนี้
เรี ย กว า ปฐมมรรค หรื อ โสดาป ต ติมรรค ซึ่งทําการประหาณกิเ ลสได ๕
อยาง คือ สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑ อปายคมนียกาม
ราคะ ๑ อปายคมนียปฏิฆะ ๑
ผลญาณนี้เปนโลกุตตระเชนเดียวกับมรรคญาณ เพราะมรรคญาณ
เปนเหตุจึงเกิดผลญาณขึ้น อารมณเปนนิพพาน กิริยาที่เขาสูความดับครั้ง
แรกนี้ จึงแยกไดดังนี้ คือ ดับเงียบตอนแรกเปนโคตรภูญาณ ยังเปนโลกีย แต
อารมณเปนนิพพาน ดับเงียบตอนกลางเปนมัคคญาณเปนโลกุตตระ ดับ
เงียบตอนสุดทายเปนผลญาณเปนโลกุตตระ
ในที่ นี้ การประหาณกิ เ ลสมี ๒ อย า งคื อ สมุ จ เฉทปหาน และ
ปฏิปสสัมภนปหาน การประหาณกิเลสในมรรคญาณนั้นเรียกวา สมุจเฉท
ปหาน สวนในผลญาณนั้นเรียกวา ปฏิปสสัมภนปหาน มีอุปมาเหมือนไฟที่
กําลังลุกไหมติดฟนอยู บุคคลตองการจะดับไฟจึงเอาน้ําไปรดที่ฟนนั้น ไฟก็
จะดับไป แตเมื่อไฟดับแลวยังมีไอเหลืออยู ตอเมื่อเอาน้ํารดอีก ๒-๓ ครั้ง ไอ
ก็จะเงียบหายไป ขอนี้ฉันใด เมื่อกิเลสไดถูกประหาณโดยมรรคญาณแลว แต
อํานาจของกิเลสนั้นยังเหลืออยู เชนเดียวกับเอาน้ํารดไฟจนดับแลว แตยังมี
ไอเหลืออยู การเอาน้ํารดอีก ๒-๓ ครั้งจนไอเงียบหายไปนั้น เปรียบเหมือน
การประหาณอํานาจของกิเลสโดยผลญาณนั่นเอง ฉะนั้น จึงเรียกวา
๘๙
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๓/๑๐๒.
๘๐๕
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ปฏิปสสัมภนปหาน ผลญาณนี้จัดเขาในญาณทัสสนวิสุทธิ โดยอนุโลม๙๐
ในญาณนี้ จิตเห็นพระนิพพานโดยเสวยผลแหงสันติสุข คือ กิเลสจะ
ถูกประหาณไปได อย างเด็ ด ขาดด ว ยมรรคญาณ แต อํานาจของกิเลสก็ยั ง
เหลืออยู เชนเดียวกับการเอาน้ําไปรดถานไฟ ไอรอนยังเหลืออยูในฟน แต
ไฟดับสิ้นแลว ญาณนี้จิตเปนโลกุตตรญาณเกิดขึ้นมา ๒ ขณะ เปนผลของ
มรรคญาณ ทําหนาที่รับนิพพานเปนอารมณ ๒ ขณะแลวก็ดับลง จากนั้นจึง
ตกภวังค ผูนี้บรรลุซึ่งอริยผล เพราะความบังเกิดขึ้นแหงผลจิตใด ถัดจากนั้น
แผความบังเกิดขึ้นแหงผลจิตนั้น ปจจเวกขณญาณจึงตัดกระแสภวังคขาด
เป นไปตามควร เมื่อผลจิ ตเกิด ครบถว นตามจํ านวนที่ควรเกิด (๒ หรือ ๓
ขณะ) แลวก็เปนอันสิ้นสุดวิถีจิต ที่เรียกวา มรรควิถี ซึ่งวิถีนี้มีอนุโลมญาณ
โคตรภูญาณ มรรคญาณและผลญาณ รวม ๔ ญาณดวยกัน ครั้นจบมรรควิถี
แลวก็เปนภวังคตามควร จึงเปนปจจเวกขณญาณตอไป
คัมภีรอรรถกถาแสดงไววา
- โยคีทานใดมีอนุโลมจิต ๒ (อุปจาร และอนุโลม) ชวนจิตที่ ๓ ของ
โยคีทานนั้นเปนโคตรภู ชวนจิตที่ ๔ เปนมรรคจิต มีผลจิต ๓ ชวนะ
- โยคีทานใด มีอนุโลมจิต ๓ (บริกรรม อุปจารและอนุโลม) ชวนจิต
ที่ ๔ ของโยคีทานนั้นเปนโคตรภู ชวนจิตที่ ๕ เปนมรรคจิต มีผลจิต ๒ ชวนะ
ญาณนี้ปรากฏทั้งในคัมภีรปฏิสัมภิทามรรค(ญาณที่ ๑๒) และคัมภีร
วิสุ ทธิ มรรคสาระสําคัญของญาณนี้ก็คือ ผูป ฏิบั ติ ถึงญาณนี้แมกิเ ลสจะถูก
ประหาณไปไดอยางเด็ดขาดดวยมรรคญาณ แตอํานาจของกิเลสก็ยังเหลืออยู
เชนเดียวกับที่เอาน้ําไปรดไอรอนที่เหลืออยูในพื้นที่ไฟไหม แตไฟนั้นดับแลว
การประหาณกิเลสดวยผลญาณก็มีนัยเชนนี้
อนึ่ง ผลญาณนี้เปนการสละคืนแบบปกขันทนปฏินิสสัคคะ (สละคืน
ดว ยการแล นเขาไป) คือ ความแล นไปในพระนิพพาน อัน ตรงกันขามกับ
กิเลสโดยความนอมไปแหงปญญาเห็นโทษในสังขตธรรม จัดเปนสัมมาวิมุต

๙๐
ดร.ภั ท ทั น ตะ อาสภมหาเถระ. วิ ป ส สนาที ป นี ฎี ก า. พิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๙,
กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพเลี่ยงเชียง, หนา ๒๐๐ - ๒๐๕.
๘๐๖
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ในคัมภีรปฏิสัมภิทามรรค๙๑ พระสารีบุตรเถระอธิบายวา
ปญญาที่หยุดความพยายามชื่อวาผลญาณ เปนอยางไร คือ ในขณะ
แหงโสดาปตติมรรค ญาณที่ชื่อวาสัมมาทิฏฐิ เพราะมีสภาวะเห็น ยอมออก
จากมิจ ฉาทิฏ ฐิ ออกจากเหล ากิเ ลสที่เ ป น ไปตามมิจ ฉาทิฏ ฐิ นั้ น จากขัน ธ
ทั้งหลาย และออกจากสรรพนิมิตภายนอก สัมมาทิฏฐิยอมเกิดขึ้นเพราะหยุด
ความ พยายามนั้น การหยุดความพยายามนั้นเปนผลของมรรค
ญาณที่ชื่อวาสัมมาสังกัปปะ เพราะมีสภาวะตรึกตรอง ยอมออกจาก
มิจฉาสังกัปปะ ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาสังกัปปะนั้น จากขันธ
ทั้ง หลาย และ ออกจากสรรพนิ มิ ต ภายนอก สั มมาสั ง กัป ปะย อ มเกิด ขึ้ น
เพราะหยุดความพยายามนั้น การหยุดความพยายามนั้นเปนผลของมรรค
ญาณที่ชื่อวาสัมมาวาจา เพราะมีสภาวะกําหนดไว ย อมออกจาก
มิจฉาวาจา ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาวาจานั้น จากขันธทั้งหลาย
และออกจากสรรพนิมิตภายนอก สัมมาวาจายอมเกิดขึ้นเพราะหยุดความ
พยายามนั้น การที่ ความพยายามนั้นเปนผลของมรรค
ญาณที่ชื่อวาสัมมากัมมันตะ เพราะมีสภาวะเปนสมุฏฐาน ยอมออก
จากมิจฉากัมมันตะ ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉากัมมันตะนั้น จาก
ขันธทั้งหลาย และออกจากสรรพนิมิตภายนอก สัมมากัมมันตะยอมเกิดขึ้น
เพราะหยุดความ พยายามนั้น การหยุดความพยายามนั้นเปนผลของมรรค
ญาณที่ชื่อวาสัมมาอาชีวะ เพราะมีสภาวะผองแผว ยอมออกจาก
มิจ ฉาอาชี ว ะ ออกจากเหล ากิเ ลสที่เ ป นไปตามมิจ ฉาอาชี ว ะนั้ น จากขัน ธ
ทั้งหลาย และออกจาก สรรพนิมิตภายนอก สัมมาอาชีวะยอมเกิดขึ้นเพราะ
หยุดความพยายามนั้น การหยุด ความพยายามนั้นเปนผลของมรรค
ญาณที่ชื่อวาสั มมาวายามะ เพราะมีสภาวะประคองไว ยอมออก
จากมิจฉาวายามะ ออกจากเหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาวายามะนั้น จาก
ขัน ธ ทั้งหลายและออกจากสรรพนิมิต ภายนอกสั มมาวายามะยอมเกิด ขึ้น
เพราะหยุดความพยายามนั้นการหยุดความพยายามนั้นเปนผลของมรรค

๙๑
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๓/๑๐๒ – ๑๐๔.
๘๐๗
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ญาณที่ชื่อวาสัมมาสติ เพราะมีสภาวะตั้งมั่น ยอมออกจากมิจฉาสติ
ออกจาก เหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาสตินั้น จากขันธทั้งหลาย และออก
จากสรรพนิมิต ภายนอก สัมมาสติยอมเกิดขึ้นเพราะหยุดความพยายามนั้น
การหยุดความพยายาม นั้นเปนผลของมรรค
ญาณที่ชื่อวาสัมมาสมาธิ เพราะมีสภาวะไมฟุงซาน ยอมออกจาก
มิ จ ฉาสมาธิ ออกจากเหล า กิ เ ลสที่ เ ป น ไปตามมิ จ ฉาสมาธิ นั้ น จากขั น ธ
ทั้งหลาย และออกจาก สรรพนิมิตภายนอก สัมมาสมาธิยอมเกิดขึ้นเพราะ
หยุดความพยายามนั้น การหยุด ความพยายามนั้นเปนผลของมรรค
ในขณะแห ง สกทาคามิ ม รรค ญาณที่ ชื่ อ ว า สั ม มาทิ ฏ ฐิ เพราะมี
สภาวะเห็น ฯลฯ ญาณที่ชื่อวาสัมมาสมาธิ เพราะมีสภาวะไมฟุงซาน ยอม
ออกจากกามราคสังโยชน จากปฏิฆสังโยชน จากกามราคานุสัย จากปฏิฆา
นุสัยสวนหยาบๆ ออกจากเหลา กิเลสที่เปนไปตามมิจฉาสมาธินั้น จากขันธ
ทั้งหลาย และออกจากสรรพนิมิตภายนอก สัมมาสมาธิยอมเกิดขึ้นเพราะ
หยุดความพยายามนั้น การหยุดความพยายามนั้น เปนผลของมรรค
ในขณะแหงอนาคามิมรรค ญาณที่ชื่อวาสัมมาทิฏฐิ เพราะมีสภาวะ
เห็น ฯลฯ ญาณที่ชื่อวาสัมมาสมาธิ เพราะมีสภาวะไมฟุงซาน ยอมออกจาก
กามราคสังโยชน จากปฏิมสังโยชน จากกามราคานุสัย จากปฏิฆานุสัย สวน
ละเอียดๆ ออกจาก เหลากิเลสที่เปนไปตามมิจฉาสมาธินั้นจากขันธทั้งหลาย
และออกจากสรรพนิมิต ภายนอก สัมมาสมาธิยอมเกิดขึ้นเพราะหยุดความ
พยายามนั้น การหยุดความ พยายามนั้นเปนผลของมรรค
ในขณะแหงอรหัตตมรรค ญาณที่ชื่อวาสัมมาทิฏฐิ เพราะมีสภาวะ
เห็น ฯลฯ ญาณที่ชื่อวาสัมมาสมาธิ เพราะมีสภาวะไมฟุงซาน ยอมออกจาก
รูปราคะ จาก อรูปราคะ จากมานะ จากอุทธัจจะ จากถีนมิทธะ จากอวิชชา
จากภวราคานุสั ย จาก มานานุสัย จากอวิช ชานุสัย ออกจากเหล ากิเลสที่
เป น ไปตามมิ จ ฉาสมาธิ นั้ น จากขั น ธ ทั้ ง หลายและออกจากสรรพนิ มิ ต
ภายนอก สัมมาสมาธิยอมเกิดขึ้นเพราะหยุด ความพยายามนั้น การหยุ ด
ความพยายามนั้นเปนผลของมรรคชื่อวาญาณ เพราะมีสภาวะรูธรรมนั้น ชื่อ
วาปญญา เพราะมีสภาวะรูชัด เพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา ปญญาที่หยุด
๘๐๘
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ความพยายาม ชื่อวาผลญาณ
คัมภีรวิสุทธิมรรค๙๒ อธิบายวา
อนึ่ง ในลําดับแหงปฐมมรรค ญาณนี้ ผลจิต ๒ หรือ ๓ ดวงซึ่งเปน
วิบากของโสดาปตติมรรคจิตนั้นก็เกิดขึ้น วิปากจิตของโสดาปตติมรรคจิตนี้
พระผูมีพระภาคก็ไดตรัสไววา “ปราชญทั้งหลายเรียกกันวา อานั้นตริกสมาธิ
(คือ มรรคสมาธิซึ่งใหอริยผลในทันที) และตรัสไววาภวังค “...ทนฺธํ อานนฺ
ตริกํ ปาปุณาติ อาสวานํ. เพราะอินทรีย ๕ เหลานี้ออน บุคคลผูนั้นจึงบรรลุ
อานั้นตริกสมาธิ เพื่อความสิ้นไปแหงอาสวะทั้งหลายชา”เปนตน เพราะโล
กุตตรกุศลทั้งหลายมีวิบาก (สืบเนื่องอยู) ในลําดับโดยแนนอน
ปญญาที่เ ป น ผลของมรรค คือ หลั งจากความตั้ งมั่น ๑ ขณะของ
มรรคไปแลว ผลจิตมีนิพพานเปนอารมณเกิดขึ้น ๒ ขณะจิตบาง ๓ ขณะจิต
บ า ง เมื่ อ มรรคญาณเกิ ด ผลญาณก็ เ กิ ด ตามมาทั น ที ไม มี อ ะไรมาคั่ น ใน
ระหวางไดเลย ผลญาณเปนโลกุตระเชนเดียวกันกับมรรคญาณ เพราะมรรค
ญาณเปนเหตุ จึงเกิดผลญาณขึ้น กิริยาทีเ่ ขาสูความดับมีลักษณะดังนี้ คือ
๑. ดับเงียบตอนแรกเปน โคตรภูญาณ มีนิพพานเปนอารมณ อยูใน
ระหวางโลกียะกับโลกุตระตอกัน
๒. ดับ เงียบตอนกลางเปน มัคคญาณ มีนิ พพานเป น อารมณ เป น
โลกุตระ ประหาณกิเลสตรงนี้
๓. ดับเงีย บตอนสุ ดทายเปนผลญาณ มีนิ พพานเปนอารมณ เป น
โลกุตระ
การประหาณกิเลสของมรรค เรีย กวา สมุจ เฉทประหาณ คือ ละ
กิเลสไดโดยเด็ดขาด ไมมีวันกลับคืนมาไดอีกเลย สวนในผลญาณนั้นเรียกวา
ปฏิ ป ส สั ม ภนประหาณ อุ ป มาเหมื อ นไฟที่ กํ า ลั ง ลุ ก ไหม ติ ด ฟ น อยู บุ ค คล
ตองการจะดับไฟ จึงเอาน้ําไปรดลงที่ฟนนั้น ไฟก็จะดับไป แตไฟดับแลว ไอ
อุนยังมีเหลืออยู ตอเมื่อเอาน้ํารดลงไปอีก ๒ หรือ ๓ ครั้ง ไออุนก็จะเงียบ
หายไป ขอนี้ฉันใดกิเลสก็ฉันนั้น เมื่อถูกประหาณโดยมัคคญาณเปนสมุจเฉท
๙๒
พระพุทธโฆสเถระ. คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๖๐. หนา ๑๑๓๕-๑๑๓๗
๘๐๙
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
แลว แตอํานาจของกิเลสยังเหลืออยู ดั้งนั้นจึงตองประหาณดวยอํานาจของ
ผลญาณอีกซึ่งเรียกวา ปฏิปสสัมภนประหาณ แปลวา ละดวยอากรอันสงบ
การเขาผลสมาบัติ
ผลสมาบัติ คือ ความแนบอยูในนิโรธแหงอริยผล ผูที่เขาผลไดก็
เฉพาะผูที่บรรลุมรรคแลวเทานั้น ปุถุชนทั้งปวงเขาไมได แตวาพระอริยะ
ชั้นสูงยอมไมเขาผลสมาบัติชั้นต่ํา เพราะผลชั้นต่ําระงับไปแลวดวยการเขาถึง
ชั้ น ที่สู งกว า พระอริ ย ะชั้ น ต่ํ าระงับ ไปแล ว ด ว ยการเขาถึงความเป น อริ ย ะ
ชั้นสูง พระอริยะชั้นต่ําก็เขาผลสมาบัติชั้นสูง หาไดไมเพราะยังไมไดบรรลุ
พระอริยะทั้งหลายยอมเขาผลสมาบัติของตนๆ เทานั้น๙๓
บางคนกล าวว า "แมพระโสดาบั น และพระสกทาคามีก็ยั งเขาผล
สมาบัติไมได พระอริยะชั้นสูงเทานั้นจึงเขาไดเพราะพระอริยะชั้นสูง ๒ พวก
นั้นบริบูรณดวยสมาธิแลว" แกวา ที่กลาวอางเชนนั้นไมถูกตองเลย เพราะแม
ปุถุชนก็เขาโลกิยสมาธิที่ตนไดแลวได แตวาประโยชนอะไรดวยการคิดวาเปน
เหตุไมเปนเหตุในขอนี้เลา เพราะเหตุนั้น จึงควรเขาใจใหถองแทในปญหาขอ
นี้วา "พระอริยะทั้งปวงทุกชั้นยอมเขาผลสมาบัติของตนๆ ได"
ถาม : เขาผลสมาบัติเพื่ออะไร? ตอบ : เพื่อทิฏฐธรรมสุขวิหาร (เพื่อ
ความพักอยูสําราญ) เหมือนอยางพระราชาเสวยสุขในราชสมบัติ เทวดาเสวย
สุขในทิพยวิมาน ฉันใด พระอริยะทั้งหลายคิดวา เราทั้งหลายจักเสวยอริย
โลกุตตรสุข กําหนดเวลาแลวก็เขาผลสมาบัติไดในทุกขณะที่ตองการ
ถาม : เขาผลสมาบัติอยางไร ยั้งอยูอยางไร ออกอยางไร?
ตอบ : การเขาผลสมาบั ติ นั้ น ต องประกอบด ว ยอาการ ๒ อย า ง
คือ เพราะไมมนสิการถึงอารมณอื่นจากพระนิพพาน และเพราะมนสิการถึง
แตพระนิพพาน ดังพระธัมมทินนาเถรีกลาวแกวิสาขอุบาสกวา “ดูกอน
อาวุโส ปจจัยแหงการเขาอนิมิตตเจโตวิมุตติมี ๒ ประการ คือ ไมมนสิการถึง
นิมิตทั้งปวง ๑ มนสิการถึงแตธาตุอันไมมีนมิ ิตคือนิพพาน ๑

๙๓
วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๘๖๐/๓๘๖-๓๘๙.
๘๑๐
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
คัมภีรอภิธัมมัตถสังคหะไดแสดงไววา พระอริยบุคคลทั้งหมดยอม
เปนทั่วไปแกผลสมาบัติวิถี โดยอาศัยผลของตนเอง พระอริยบุคคลทั้งหมด
ทําใหผลสมาบัติวิถีเกิดขึ้นได คือเขาผลสมาบัติได พระโสดาบันยอมเขาโสดา
ปตติผลสมาบัติ พระสกทาคามียอมเขาสกทาคามิผลสมาบัติ พระอนาคามี
ยอมเขาอนาคามิผลสมาบัติ พระอรหันตยอมเขาอรหัตตผลสมาบัติ๙๔
บางพวกกลาวแยงวา “การเขาผลสมาบัตินั้น ตองเปนพระอนาคามี
หรือพระอรหันตเทานั้นจึงจะเขาได สวนพระโสดาบันและพระสกทาคามีไม
สามารถเขาได เนื่องจากยังมีสมาธิไมบริบูรณ”
มีวินิจฉัยวา “แมปุถุชนผูเปนเจาของทรัพยสมบัติของตนเอง คือ
โลกียฌาน ก็สามารถเขาฌานของตนได ฉะนั้น อริยบุคคลผูเปนเจาของ
ทรัพยสมบัติของตนคือผลสมาบัติ เหตุใดจะเขาไมได เขาไดแนนอน” ๙๕

๕. ปจจเวกขณญาณ
ปจจเวกขณญาณ ปญญาในการเห็นธรรมที่มารวมกันในขณะนั้น๙๖
เป น ญาณกํ า หนดรู ด ว ยการพิ จ ารณาทบทวนย อ นหลั ง หรื อ การสํ า รวจ
ทบทวน๙๗ มีอยู ๔ ประการ คือ
๑. พิจารณามรรควา เรามาแลวโดยมรรคนี้
๒. พิจารณาผลวา อานิสงสนี้เราไดแลว
๓. พิจารณากิเลสที่ละแลววา กิเลสเหลานี้เราละไดแลว
๔. พิ จ ารณานิ พ พานว า ธรรมวิ เ ศษนี้ เราแทงตลอดแล ว โดยมี
นิพพานเปนอารมณ๙๘

๙๔
ดูรายละเอียดใน สงฺคห. (บาลี) ๕๗.
๙๕
ดูรายละเอียดใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๓๘๙.
๙๖
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๕/๑๐๖.
๙๗
ธนิต อยูโพธิ,์ วิปสสนานิยม, หนา ๒๕๒.
๙๘
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก าณสิทฺธิ ป.ธ.๙), คูมือสอบอารมณ
กรรมฐาน, หนา ๖๘.
๘๑๑
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ญาณนี้เปนญาณที่เกิดขึ้นตอจากผลญาณ คือ เมื่อไดเขาสูความดับ
แลว ครั้งเมื่อรูสึกตัวก็มาพิจารณาวาตนเองนั้นเปนอะไรไป ขอมูลในคัมภีร
ปฏิสัมภิทามรรคอธิบายวา ตทา สมุทาคเต ธมฺเม ปสฺสเน ปฺญา. ปญญาใน
การพิจ ารณาเห็ น ธรรมที่เ ขามาประชุ มในขณะนั้ น ๙๙ เป นญาณรู ด ว ยการ
พิจารณาทบทวน คือสํารวจรูมรรคผลและกิเลสที่ละไดแลว กิเลสที่เหลืออยู
และนิพพาน(เวนพระอรหันต ไมมีการพิจารณากิเลสที่ยังเหลืออยู) ๑๐๐
จิต เห็น ในมรรคจิต ,ผลจิต,นิพพาน, กิเ ลสที่ล ะแลว และกิเ ลสที่
ยัง คงเหลือ อยู  คื อ พระอริ ย บุ ค คลท า นนั้ น สํ า รวจทบทวนดู ม รรคว า
“ข า พเจ า มาด ว ยมรรคนี้ แ น แ ล ว ”๑ จากนั้ น ก็ สํ า รวจทบทวนดู ผ ลว า
“อานิสงสดังนี้ขาพเจาไดรับแลว ๑ สํารวจทบทวนดูกิเลสทั้งหลายที่ละได
แลว ๑ จากนั้นสํารวจทบทวนดูกิเลสทั้งหลายที่ตองฆาดวยมรรค ๓ เบื้องสูง
วา “กิเลสทั้งหลายชื่อนี้ๆ ของขาพเจายังเหลืออยู”๑ และในที่สุด ก็สํารวจ
ทบทวนดูพระอมตนิพพานวา “พระธรรมนี้ ขาพเจาแทงตลอดโดยอารมณ
แลว”๑ พระโสดาบันอริยสาวกมีปจจเวกขณะ (คือ การสํารวจทบทวน) ๕
ประการดวยประการดังกลาวนี้ และพระโสดาบันมีปจจเวกขณะ ๕ ฉันใด
แมพระสกทาคามีและพระอนาคามีทั้งหลายก็มีปจจเวกขณะ ๕ ฉันนั้น แต
ของพระอรหั นต ไมมีการสํารวจทบทวนดู กิเ ลสที่เ หลื อแล (เพราะทานละ
กิเลสทั้งหลายหมดแลว) ๑๐๑
ญาณนี ้ป รากฏในคัม ภีรขุท ทกนิก าย ปฏิสัม ภิท ามรรค (ญาณที่
๑๔) และในคัม ภีรว ิสุท ธิม รรค สาระสํ า คัญ ของญาณนี ้ก็คือ ผูป ฏิบัติไ ด
พิจารณากิเลสที่ตนละไดและที่ตนยังละไมได สําหรับกิเลสที่ยังละไมได ผู
ปฏิบัติก็จ ะมุง หนาเจริญวิปส สนากรรมฐานเพื่อที่จ ะไดบ รรลุคุณ ธรรมที่
สูงขึ้นไป จนกวาจะสําเร็จเปนพระอรหันต

๙๙
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/๖๕/๑๐๖-๑๐๙
๑๐๐
ขุ.ป.(ไทย) ๓๑/๖๕/๑๐๖-, วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๖๖๒-๘๐๔/๒๕๐-๓๕๐.
๑๐๑
สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภมหาเถระ), คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา
๑๑๓๗.
๘๑๒
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
สภาวะของญาณนี้ : ญาณพิจารณา มรรค ผล นิพพาน เปนญาณ
พิจารณา เหมือนคนที่ผานเหตุการณอะไรมา ก็จะกลับพิจารณาสิ่งที่ผานมา
แตญาณนี้ พิจารณามรรคที่ตนเองได พิจารณาผลที่ตนเองไดพิจารณาพระ
นิพพาน และถาคนมีหลักปริยัติ ก็จะพิจารณากิเลสอันใด ที่ละ ไปไดแลว
กิเลสอันใดที่ยังเหลืออยูและถาคนไมมีหลักปริยัติก็พิจารณาแค มรรค ผล
นิพพาน ในระหวางที่ญาณ กาวขึ้นสูอนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มรรคญาณ
ผลญาณ ปจจเวกขณญาณนี้ ทานก็อุปมาใหฟง เหมือนกับ บุคคลที่จะกาว
กระโดดขามฝง ฝงมันอยูไกล ก็โหนเถาวัลย ก็ตองอาศัยกําลังที่วิ่งมาอยาง
แรง วิ่งมาดวยความไว แลวก็เหนี่ยวเอาเถาวัลยโยนตัวขึ้นไป ในขณะที่โยน
ตัวขึ้นไป ก็เหมือนเปนอนุโลมญาณ คลอยไป พอขามไปถึงฝงหนึ่งก็ปลอย
เถาวัลยนั้นในขณะที่ปลอยนั้นเหมือนกับโคตรภูญาณ คือปลอยอารมณที่เปน
โลกิยะ ไดแกรูป-นาม ไปรับนิพพานซึ่งเปนโลกุตตระเปนอารมณ แลวก็ตก
ลงถึงพื้น ในขณะตกลงถึงพื้น เหมือนเปนมรรคญาณ แลวพอตั้งหลักไดก็เปน
ผลญาณเกิดขึ้น หลังจากนั้นก็พิจารณา
แตวาในสภาวธรรมของโลกุตตระ ผูปฏิบัติที่เขาถึงแลวก็ไมสามารถ
นํามาแสดงใหแจมแจงได เพราะเปนเรื่องที่รูไดเฉพาะตน บุคคลอื่นที่ยังเขา
ไมถึงจะไมสามารถจะทําความเขาใจไดอยางลึกซึ้ง เพราะวาความคิดความ
อานของปุถุชน ก็จะมีความรูสึกที่อยูในโลกเปนไปในโลกนี้ มันจะมีขอบเขต
ของการนึกคิด ความเขาใจอยูในโลก สวนสภาพโลกุตตรธรรมที่พนโลกนั้น
ปุถุชนจะคิดไปไมถึงเลย จะไมสามารถจะทํา ความเขาใจไดอยางถองแท
คัมภี ร วิ สุ ทธิ มรรคได อ ธิ บ ายว า๑๐๒ ป จ จเวกขณะ หมายถึง ขณะ
สุดทายของ (โสดาปตติ) ผลจิต ซึ่งพระอริยบุคคลจะสํารวจทบทวนดูมรรค
๑ สํ า รวจทบทวนดู ผ ล ๑ สํ า รวจทบทวนดู กิ เ ลสทั้ ง หลายที่ ล ะได แ ล ว ๑
สํารวจทบทวนดูกิเลสทั้งหลายที่ยังเหลืออยู ๑ สํารวจทบทวนดูพระนิพพาน
๑ ดวยการเกิดของชวนจิตเหลานั้น ซึ่งตรงกับความหมายในพระอภิธรรม
มัตถสังคหอรรถกถาดั่งที่ไดกลาวไววา อริยบั ณฑิตทั้งหลายยอมพิจารณา

๑๐๒
พระพุทธโฆสเถระ รจนา, คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๖๐, หนา ๑,๑๓๗
๘๑๓
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
มรรค ผล นิพพาน เฉพาะทานที่เปนพหูสูตรคงแกเรียนยอมพิจารณากิเลสที่
ละได แลว และที่ยั งเหลื อ ส วนโยคีบุคคลนอกนั้ นไมได พิจารณา สอบสวน
เพราะไมรูปริยัติแตทําการกําหนดตอไป๑๐๓
ปญญาเปนเครื่องเพงรูในธรรมคือมรรคและผล กับทั้งในธรรม คือ
สัจจะ ๔ ที่เกิดขึ้นในมรรคขณะและผลขณะ ถึงพรอมแลว ประชุมกันในกาล
นั้ น ด ว ยสามารถแห ง การได เ ฉพาะและด ว ยสามารถแห งการแทงตลอด
หลังจากที่โสดาปตติผลในมรรควิถี เกิดขึ้น จิตของพระโสดาบันก็ลงภวังค
เมื่อตัดภวังคขาด มโนทวาราวัชชนะก็เกิดขึ้นเพื่อพิจารณามรรค เมื่อดับลง
ชวนจิตจึงพิจารณามรรคก็เกิดขึ้น ๗ ขณะโดยลําดับ เมื่อลงสูภวังคอีก อาวัช
ชนจิตเปนตนก็เกิดขึ้นเพื่อพิจารณาธรรมทั้งหลาย เชน ผลเปนตน เพราะ
ความเกิดแหงธรรมเหลาใดมีผลเปนตน พระโสดาบันนั้นก็พิจารณามรรค,
ผล, กิเลสที่ละแลว, กิเลสที่ยังเหลือ และพระนิพพาน พระอริยสาวกชั้น
โสดาบันมีปจจเวกขณะ ๕ อยางดวยประการนี้ ปจจเวกขณะของพระสทา
คามีและพระอนาคามีก็มีเหมือนพระโสดาบัน แตของพระอรหันตมีปจจเวก
ขณะ ๔ อยางคือ ไมมีการพิจารณากิเลสที่ยังเหลืออยู
วิถีจิตของปจจเวกขณญาณ
ปจจเวกขณะ แปลวา พิจารณา หมายถึง การพิจารณาเพื่อใหทราบ
ตามสภาวะธรรมที่เปนจริง
ปจจเวกขณวิถี คือ ลําดับความเปนไปของจิตที่พิจารณาถึงสภาพ
แหงความเปนจริง เปนมหากุสลหรือมหากิริยาชวนมโนทวารวิถี อันเปนกาม
วิถี คือ เมื่อมัคควิถีสิ้นสุดลงแลวตองมีปจจเวกขณวิถีอยางแนนอน จะไม
มีปจจเวกขณวิถีเกิดภายหลังมัคควิถีนั้นไมได ในหนังสือวิปสสนากรรมฐาน
ทีปนี ปริเฉทที่ ๙ ไดอธิบายถึงวิถีของจิตในญาณตางๆ โดยอิงมาจากคัมภีร
พระอภิธรรม ปริเฉทที่ ๙ หนา ๒๔๔๑๐๔โดยในสวนนี้จะแสดงถึงมัคควิถีจิต
๑๐๓
สงฺคห. (บาลี) หนา ๖๒
๑๐๔
พระสั ท ธัม มโชติ กะ ธัม มาจริ ยะ, อภิธ รรมมั ตถสั งคหะ ปริเ ฉทที่ ๙,
กรุงเทพมหานคร: หจก. ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๕๙ หนา ๒๔๔
๘๑๔
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
ซึ่งเป น วิถีแห งโลกุต ระซึ่งใช ระดับ สมาธิขั้น อัป ปนาสมาธิ ซึ่งตา งจากป จ จ
เวกขณวิถีที่เปนโลกียญาณ ใชสมาธิระดับขณิกสมาธิ ดังนี้
มัคควิถี
ภ น ท ม ปริ อุ นุ โค โส มัค ผ ผ … ภ ปจจ
ภ น ท ม ปริ อุ นุ โว สก มัค ผ ผ .... ภ ปจจ
ปจจเวกขณวิถี
ภ น ท ม ช ช ช ช ช ช ช ภ ......
จะเห็นไดวา ปจจเวกขณญาณนั้นเกิดหลังจากที่จิตเขาสูภวังคจิต
จากมัค ควิ ถี โดยป จ จเวกขณวิ ถีกั บ มัค ควิ ถี นั้ น เป น คนละวิ ถีแ ห งจิ ต โดย
ในป จ จเวกขณวิ ถี นั้ น จะพิ จ ารณามรรค ผลกิ เ ลสที่ ล ะ กิ เ ลสที่ เ หลื อ และ
นิพพาน ในมโนทวารวิถี ในสวนของ ชวนะทั้ง ๗ นี้ตัวอารมณมิไดปรากฏ
เฉพาะหน า แต เ ป น การตามดู กิเ ลสที่ล ะได แล ว ในอดี ต ในคัมภี ร วิ สุ ทธิ ไ ด
อุปมากระบวนการของญาณทัศนวิสุทธิ ไวประดุจดั่งคนขามคูน้ํา
ปจจเวกขณวิถีที่เกิดภายหลังมัคควิถี ก็เพื่อพิจารณาธรรม ๕
ประการ คือ ๑. พิจารณามัคค ๒. พิจารณาผล ๓. พิจารณานิพพาน ๔.
พิจารณากิเลสที่ไดละแลว ๕. พิจารณากิเลสที่คงเหลืออยู
ในป จ จเวกขณะ ๕ ประการนี้ เ ฉพาะ ๓ ประการแรกคื อ การ
พิจ ารณามัคค ๑ การพิจารณาผล ๑ และการพิจ ารณานิพพาน ๑ ตองมี
ตองพิจารณาอยางแนนอน ขาดไมได
สวนการพิจารณากิเลสที่ไดละแลว ๑ และการพิจารณากิเลสที่ยัง
เหลืออยู ๑ นั้น บางทีก็พิจารณา บางทีก็ไมพิจารณา กลาวคือ ถาผูนั้นได
ศึกษาทางปริยัติ จึงจะทราบเรื่องราวของกิเลส เมื่อทราบก็พิจารณาได แตถา
ไมไดศึกษามา ก็ไมทราบเรื่องจึงไมพิจารณา
ปจจเจกขณวิถีที่เกิดหลังจากโสดาปตติมัคควิถี สกทาคามีมัคควิถี
และอนาคามี มั ค ควิ ถี พิ จ ารณาทั้ ง ๕ ประการ ส ว นป จ จเวกขณวิ ถี ที่ เ กิ ด
ภายหลังอรหัตตมัคควิถีพิจารณาเพียง ๔ ประการ เวนการพิจารณากิเลสที่
คงเหลือ เพราะพระอรหันตละกิเลสไดหมดสิ้นแลว ไมมีกิเลสที่เหลืออยู

๘๑๕
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
รวมปจจเวกขณวิถีที่เกิดภายหลังมัคควิถี เปน ๑๙ ประการ คือ
ปจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง โสดาปตติมัคควิถี ๕
ปจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง สกทาคามิมัคควิถี ๕
ปจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง อนาคามิมัคควิถี ๕
ปจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง อรหัตตมัคควิถี ๔
ปจจเวกขณวิถีเกิดหลังจากอาทิกัมมิกฌานวิถี และฌานสมาบัติวิถี
ทํ า หน า ที่ พิ จ ารณาองค ฌ านนั้ น ก็ มี ไ ด แต ไ ม แ น น อนว า จะต อ งมี เ สมอไป
แตหลังจากอภิญญาวิถี ผลสมาบัติวิถี หรือนิโรธสมาบัติวิถีนั้น ปจจเวกขณ
วิถีไมเกิด
มีขอความสรุปวา๑๐๕ เสมือนบุคคลที่จะกาวกระโดดขามฝง ก็โหน
เอาเถาวั ล ย ก็ต อ งอาศั ย กํ า ลั ง โดยการวิ่ ง มาแต ไกล จากนั้ น ก็ เ หนี่ ย วเอา
เถาวัลยโยนตัวขามไปอยูอีกฝงหนึ่ง เมื่อถึงอีกฝงก็ปลอยเถาวัลยนั้น แลวตก
ลงพื้นแลวก็เริ่มที่จะตั้งหลักได ในหนังสือสัมมนาวิปสสนาไดสรุปขอความ
จากคั ม ภี ร วิ สุ ท ธิ ม รรคไว ว า ขณะที่ โ ยนตั ว คื อ อนุ โ ลมญาณ เมื่ อ ปล อ ย
เถาวัลย คือ โคตรภูญาณ การปลอยเสมือนการปลอยรูปนาม และรับเอา
อารมณโลกุตระเปนอารมณ เมื่อตกลงพื้น คือ มรรคญาณ ขณะตั้งหลักโงน
เงน คื อ ผลญาณ จากนั้ น พิ จ ารณาว า สภาวธรรมของโลกุ ต ระว า เป น
หลักธรรมที่พนโลกแตก็ไมสามารถแสดงใหแจมแจงได คือ ปจจเวกขณญาณ
กิเลสที่พระอริยบุคคลประหาร
พระอริยบุคคลและการละกิเลสแตละประเภท สามารถสรุปไดวา
๑. พระโสดาบัน คือ ผูยังโสดาปตติมรรคใหเกิดแลว ยอมละการ
ไปในอบายไดการละทิฏฐิและวิจิกิจฉา
๒. พระสกทาคามี คือ ผู ยั งสกทาคามีมรรคให เ กิด แล ว ย อมทํ า
ราคะ โทสะ และโมหะให เ บาบางลง จะมาสู โ ลกนี้ อี ก เพี ย งครั้ ง เดี ย ว
(ประหารใหเปนตนุกระ คือ เบาบางลง)

๑๐๕
พระพุทธโฆสเถระ รจนา, คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๖๐, หนา ๑,๑๓๒
๘๑๖
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
๓. พระอนาคามี คือ ผูยังอนาคามิมรรคใหเกิดแลว ยอมละกาม
ราคะและพยาบาทไดโดยไมมีเหลือ ไมกลับมาสูความเปนสัตวในกามภพอีก
(ประหารแบบสมุจเฉท)
๔. พระอรหันตคือ ผูยังอรหัตมรรคใหเกิดแลว ยอมละกิเลสไมมี
สวนเหลือเปนพระขีณาสพเปนพระทักขิไณย ผูเลิศในโลก
ทิฏฐิและวิจิกิจฉา ๒ อยางนี้โสดาปตติมรรคประหาณไดโดยเด็ดขาด
โทสะนั้น อนาคามีมรรคประหาณไดโดยเด็ดขาด โลภะ โมหะ มานะ ถีนะ
อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ นั้นอรหัตตมรรคประหาณไดโดยเด็ดขาด”๑๐๖
พระภัททันตะ อาสภมหาเถระ ไดอธิบายปจจเวกขณญาณไววา
“ป จ จเวกขณญาณ หมายถึง ญาณที่ ผู เ ป น บั ณ ฑิ ต คื อ อริ ย บุ ค คล
ยอมปจจเวกขณะมรรคญาณ ผลญาณและพระนิพพานและยอมพิจารณา
กิเลสที่ประหาณแลวและกิเลสที่ยังไมไดประหาณ แตผูที่ไมพิจารณาก็มีบาง
อริยมรรค ๔ ประการที่เนื่องมาจากการเจริญวิสุทธิ ๖ เรียกวา ญาณทัสสนวิ
สุ ท ธิ ” ๑๐๗ เช น เดี ย วกั บ ในหนั ง สื อ วิ ป ส สนาชุ นี ที่ พ ระโสภณมหาเถระได
อธิบายเอาไววา “ปจจเวกขณญาณ หมายถึง เบื้องตนที่ผูบรรลุนิพพานดวย
มรรค-ผลญาณ ยอมนํามรรค ผล นิพพาน กลับมาพิจารณาดูใหม ยิ่งถาเปน
บุคคลผูมีความรูในพระปริยัติดวยแลว ก็ยิ่งสามารถ พิจารณาตอไปถึงขั้นที่รู
วา กิเลสไหนบางที่ตนละไดแลว และกิเลสเหลาใดบางที่ตนยังมิไดละ”๑๐๘
การละสังโยชนของพระอริยบุคคล
คัมภีรวิสุทธิมรรคไดอธิบายถึงการละสังโยชนของพระอริยบุคคลทั้ง
๔ ประเภท สรุปโดยยอดังนี้
สังโยชน ๑๐ ประการนี้ โสดาปตติมรรคประหาณได ๕ อยาง คือ
สักกายทิฏฐิ ๑ วิจิกิจ ฉา ๑ สีลั พพตปรามาส ๑ อปายคมนิยกามราคะ ๑

๑๐๖
พระพุทธโฆสเถระ รจนา, คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๖๐, หนา ๑,๑๕๖
๑๐๗
ดร.ภัท ทัน ตะ อาสภมหาเถระ ธั ม มาจริ ยะ อั คคมหากั มมั ฏฐานาจริย ะ,
วิปสสนาธุระ, กรุงเทพมหานคร: 100 DESIGN CO.LTD, ๒๕๓๖, หนา ๓๐๘
๑๐๘
พระโสภณมหาเถระ, วิปสสนาชุน,ี ๒๕๕๙, หนา ๕๘๐
๘๑๗
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
อปายคมนี ย ปฏิ ฆ ะ ๑ ส ว นที่ ยั ง เหลื อ อยู นั้ น สกทาคามิ ม รรคสามารถ
ประหาณไดตามอํานาจของตน คือ กามราคะและปฏิฆะที่อยางหยาบ
อนาคามีมรรคสามารถประหาณกามราคะ ปฏิฆะ ที่ไมเปนอปาย
คมนียะชนิดประณีต อรหัต ตมรรคสามารถประหาณสังโยชนที่เป นอุทธั ม
ภาคียะ ๕ ประการไดโดยอํานาจของตน
พระโสดาบั น นั้ น สามารถทํ า ลายสั ง โยชน อ ย า งเด็ ด ขาดได ๓
ประการ คือ ๑.สักกายทิฏฐิ ๒.วิจิกิจฉา ๓. สีลัพพตปรามาส สวนสังโยชนที่
รุนแรงอีก ๘ ประการถูกทําลายลงไป คือ ๑. กามราคะชนิดรุนแรง ๒.ปฏิฆะ
ชนิดรุนแรง ๓. มานะชนิดรุนแรง ๔. ไมมีความตระหนี่ ๕. ไมมีความริษยา
๖. ไมมีความลบหลู ความยกตนเทียบทานและมายาสาไถย ๗. ไมมีอคติ ๔
๘. มีศีล ๕ ประจําใจเหลานี้คือความบริสุทธิ์แหงจิตของพระโสดาบัน
เมื่อ ปฏิ บั ติ ม ากเขา ๆ จิ ต ก็ จ ะมี ความบริ สุ ทธิ์ ม ากขึ้น จนเขาสู การ
บรรลุขั้นสกทาคามี จิตของพระสกทาคามีก็จะทําใหกามราคะ และความ
โกรธนั้น เบาบางลง ส ว นจิต ของพระอนาคามี นอกจากจะสามารถละสั ก
กายทิฏฐิ, วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาส ไดอยางเด็ดขาดแลวยังสามารถละ
กามระคะ และความโกธรไดอยางเด็ดขาดอีกดวย แตยังคงเหลือซึ่งกิเลสที่
ละเอียดอีก ๕ ประการคือ ๑. ความยินดีในรูปญาณ (รูปราคะ) ๒. ความ
ยิ น ดี ใ นอรู ป ญาณ (อรู ป ราคะ) ๓.ความถือ ตนตามจริ ง (มานะ) ๔.ความ
ฟุงซาน(อุทธัจจะ) ๕.ความไมรูแจง (อวิชชา) ไมรูแจงความจริงของชีวิตและ
สิ่งทั้งหลายโดยสมบูร ณ และสุด ทายจิ ตของพระอรหัน ต ก็จ ะสามารถละ
สั งโยชน อ ย างละเอีย ด ๕ ประการที่ได กล าวมากอนหน านี้ อย า งเด็ ด ขาด
สิ้นเชิง แมจะยังมีชีวิตอยูในโลกนี้ จิตของทานก็จะบริสุทธิ์ปราศจากกิเลสทั้ง
มวลเมื่อดับขันธไปแลวก็จะเขาสูพระนิพพานพนจากการเวียนวายตายเกิด
ในหนังสือปฐมวิปสสนาวงศในประเทศไทย ไดอธิบายถึงกิเลสและ
๑๐๙
สังโยชน มีใจความโดยสรุปวา กิเลสคือสภาพธรรมที่ทําเศราหมองและ

๑๐๙
พระภัททันตะอาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ, ปฐม
วิปสสนาวงศในประเทศไทย, กรุงเทพมหานคร: ๒๕๕๔, หนา ๑๗๗ - ๑๗๘
๘๑๘
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
เรารอน เมื่อเกิดขึ้นนั้นตนเองก็เศราหมองเมื่อสัมปยุตกับสิ่งใดก็ทําใหสิ่งนั้น
เศราหมอง สวนสังโยชนนั้น คือ สภาพธรรมที่รอยรัดใหสัตวติดอยูในวัฏฏะ
ฉะนั้นสังโยชนและทิฏฐิจึงมีสภาพธรรมอันเดียวกัน คือ
สังโยชน กิเลส
ทิฏฐิสังโยชน ทิฏฐิกิเลส
วิจิกิจฉาสังโยชน วิจิกิจฉากิเลส
ปฏิฆะสังโยชน โทสะกิเลส
มานะสังโยชน มานะกิเลส
อุทธัจจะสังโยชน อุทธัจจะกิเลส
กามระคะ รูปราคะ อรูปราคะสังโยชน โลภกิเลส
อวิชชาสังโยชน โมหกิเลส
สวนกิเลสที่มีองคธรรมตางกับสังโยชนมี ๓ ประการ คือ ถีนกิเลส
อหิริกกิเลส อโนตัปปกิเลส
เนื่องจากปจจเวกขณญาณนั้นไมไดจัดอยูในวิปสสนาญาณ เปนปญา
พิจารณาทบทวนสิ่งตางๆ ที่ไดเกิดขึ้นกอนหนา จึงไมสามารถจัดอยูใน กาย
เวทนา จิต หรือ ธรรม ได ในญาณนี้แมจะเปนเพียงการพิจารณาธรรม แต
ธรรมที่ใชพิจารณานั้น เปนบัญญัติธรรม ซึ่งไมไดจัด วาเปน วิปสสนา ซึ่งใน
ศาสนาพุทธนั้นสามารถแบงคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาได
๒ ประเภทคือบัญญัติธรรม หมายถึง ธรรมที่พระองคทรงแสดงตามภาษาที่
ชาวโลกเขาใจไดงายคือตามความสมมุติ ขึ้นของชาวโลกใช พูด กัน เพื่อให
เขาใจในการสื่อสาร และ ปรมัตถธรรม ไดแกธรรมที่พระพุทธองคทรงแสดง
ตามความเปนจริงที่มีอยู ของสภาพธรรมทั้งหลายพระพรหมคุณาภรณ ได
กลางถึง ความหมายของบัญญัติ เอาไววา บัญญัติ คือ การกําหนดเรียกหรือ
สิ่งที่ถูกกําหนดเรียกเพื่อใหเปนที่รูกัน๑๑๐ในปรมัตถทีปนี ไดอธิบายคําวา

๑๑๐
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ป. อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตรฉบับ
ประมวลธรรม, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพสหธรรมิกจํากัด, ๒๕๕๓, หนา๖๖
๘๑๙
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
บัญญัติ มีความหมาย ๒ ประการ๑๑๑ คือ
๑. สิ่งที่ชาวโลกสมมุติขึ้น คือ สิ่งที่มหาชนในโลกบัญญัติไว ทั้งใชพูด
และยอมรับวาสิ่งนี้เปนความหมายหนึ่งของศัพท หมายถึง เนื้อความของ
ศัพทที่เปนสมมุติสัจจะอยางใดอยางหนึ่ง
๒. คํ า ที่ใ ช ส มมุติ ความหมาย คื อ คํ าที่ ใช ส มมุ ติ ค วามหมายที่ พึ ง
บัญญัติ หมายถึงคําบัญญัติที่แสดงความหมายของศัพท
โดยในปจจเวกขณญาณนี้เปนการพิจารณากิเลสทั้งหลาย จึงจัดอยู
ในนามบัญญัติ หรือ ที่เรียกอีกชื่อหนึ่งวา สัททบัญญัติ หมายถึง สิ่งที่มนุษย
สรางขึ้นเพื่อเปนสิ่งสังเกต เปนบัญญัติที่แสดงโดยชื่อ และชื่อบุคคลเปนตน
ซึ่งเมื่อแบงแยกยอยลงมาอีกก็จะเปนนามบัญญัติ ประเภท วิชชมานบัญญัติ
หมายถึง บัญญัติที่เปนไปทางเนื้อหาแหงปรมัต คือ บัญญัติที่มีสภาวะปรมัตถ
เชน จิต เจตสิก รูป และนิพพานนั่นเอง

๖. การปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรค/ผลสูงขึ้นไป
เมื่อผูปฏิบัติวิปสสนา ประสงคจะบรรลุอริยมรรคอริยผลเบื้องสูงขึ้น
ไป ก็ปฏิ บัติโ ดยทํานองเดียวกัน นี้ ต างแตเ ริ่มต นปฏิ บัติไปตั้ งแต อุทยั พพย
ญาณเทานั้น เพราะพระโสดาบันบุ คคลนั้น ไดรู แจงขันธ ๕ พรอมทั้งเหตุ
ปจจัย และเห็นขันธ ๕ เปนพระไตรลักษณมาโดยชอบอยางไมแปรผันแลว
จึงไมตองพิจารณานามรูปปริจเฉทญาณ ปจจยปริคคหญาณ และสัมมสน
ญาณ อันเปนญาณเบื้องตนของวิปสสนาญาณซ้ําอีก
ผูที่บรรลุโสดาบันแลวปรารถนาจะเจริญวิปสสนา เพื่อใหบรรลุมรรค
เบื้ องสู ง เป น พระสกทาคามีต อไปนั้ น ให เ ริ่ มกําหนดพิจ ารณาไตรลั กษณ
ความเกิด-ดับของรูปนามตามนัยแหงอุทยัพพยญาณ อันเปนวิปสสนาญาณ
ตนแหงวิป สสนาญาณ ๙ ตอจากนั้นก็กําหนดพิจารณาไปตามลําดับญาณ

๑๑๑
พระญาณธชเถระ (แลดีสยาดอ), อภิธัมมัตถสังคหะ และ ปรมัตถทีปนี, พระ
คันธสาราภิวงศ แปลและอธิบาย, พิมพครั้งที่ ๑, (กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวนจํากัด
ไทยรายวัน กราฟฟค จํากัด, ๒๕๔๖), หนา ๗๕๑.
๘๒๐
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
จนกวาจะบรรลุถึงมรรคญาณ ผลญาณ และปจจเวกขณญาณ อันเปนญาณ
สุดทาย ผูที่ผานทุติยมรรคเปนพระสกทาคามีแลวก็ดี หรือผูที่ผานตติยมรรค
เปนพระอนาคามีแลวก็เชนเดียวกัน หากปรารถนาจะเจริญวิปสสนาเพื่อให
บรรลุมรรคเบื้องบน ก็ใหถึงเริ่มตนที่อุทยัพพยญาณ เชนเดียวกัน
กลาวถึงวิถีจิต : มรรควิถีของพระโสดาบันที่บรรลุสกทาคามิมรรคก็
ดี มรรควิถีของพระสกทาคามีที่บรรลุถึงอนาคามิมรรคก็ดี และมรรควิถีของ
พระอนาคามี ที่บ รรลุ ถึ ง อรหั ต ตมรรคก็ดี เหมื อ นกั บ มรรควิ ถี ของติ เ หตุ ก
บุคคลที่บรรลุโสดาปตติมรรคทุกประการ ผิดกันเล็กนอย ตรงที่ไมเรียก โคตร
ภู แตเรียกวา “โวทาน” เทานั้นเอง สาเหตุที่ไมเรียกโคตรภู เพราะไมตอง
เปลี่ยนโคตรใหม ดวยวาเปนโคตรอริยเหมือนกันอยูแลว
โวทาน แปลว า บริ สุ ท ธิ์ หรื อ ผ อ งแผ ว ซึ่ ง มี ความหมายว า พระ
สกทาคามีมีธรรมที่บริสุทธิ์กวาผองแผวกวาพระโสดาบัน พระอนาคามีก็มี
ธรรมที่บริสุทธิ์ยิ่งกวา ผองแผวยิ่งกวาพระสกทาคามี สวนพระอรหันตนั้น
เปนผูที่ขาวสะอาดบริสุทธิ์หมดจดผองแผวดวยประการทั้งปวง
ขอความที่วา “ผูเจริญเพื่อใหบรรลุมรรคญาณผลญาณเบื้องบน ให
เริ่มที่อุทยั พพยญาณทีเดียว”นั้น เพราะเหตุวาเปนผู ที่ผานปฐมมรรคแล ว
เปนพระโสดาบันแลว เปนผูที่มั่นในศีล ๕ แนนอน จึงชื่อวาเปนผูมีสีลวิสุทธิ
แลว เปนผูมีสมาธิดีแลว จึงผานญาณตางๆ มาไดโดยตลอดรอดฝงจึงไดชื่อวา
มีจิตตวิสุทธิแลว เปนผูที่ไดผานนามรูปปริจเฉทญาณมาแลว เคยประจักษ
แจ ง ในรู ป นามมาแล ว จึ ง ได ชื่ อ ว า มี ทิ ฏ ฐิ วิ สุ ท ธิ แ ล ว เป น ผู ที่ ไ ด ผ า นป จ จย
ปริคคหญาณมาแลว รูแจงในปจจัยที่ใหเกิดรูปเกิดนามมาแลว หมดความ
สงสัยในรูป-นามหมดความสงสัยในพระรัตนตรัย จึงไดชื่อวากังขาวิตรณวิ
สุทธิ ทั้งยังไดผานสัมมสนญาณที่ยกรูปนามขึ้นสูไตรลักษณ เห็นความเกิด
ของรูป-นามซึ่งอาศัยจินตาญาณทําใหรูวารูปนามกอนนั้นดับไปแลว ซึ่งเปน
สวนเดียวในการเห็นทั้งความเกิดและความดับ
อุทยัพพยญาณนี้ไดชื่อวา มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ อันเปนญาณ
ที่ไตรตรองวาใชทางที่ชอบหรือมิใชกันแน ดังนั้นจึงใหเริ่มที่อุทยัพพยญาณ
อันเปนญาณตนที่ตัดสินไดเด็ดขาดแลววา นี่เปนปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ นี่
๘๒๑
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
เปนทางปฏิบัติอันถูกตองแลวที่จะใหถึงซึ่งความดับทุกข ที่ตัดสินไดเด็ดขาด
เชนนี้ เพราะอุทยัพพยญาณ..
๑. เปนญาณที่ปราศจากความวิปลาสคลาดเคลื่อนแลว
๒. เปนญาณที่ไมไดอาศัยปริยัติมาเปนเครื่องใหรู แตเปนความรูที่
เกิดขึ้นจากปฏิปทา คือ การปฏิบัติที่ถูกตองอยางแทจริง
๓. เปนญาณที่ประจักษในขณะเกิดขณะดับ อยางที่เราเรียก รูทัน
ปจจุบัน ไมไดอาศัยกาลเวลาอยางสัมมสนญาณมาเปนเครื่องใหรู
๔. เปนญาณที่รูแจงชัดจริงอยางที่เรียกวา ประจักขสิทธิ โดยไมได
อาศัยจินตาญาณอยางสัมมสนญาณ
๕. เปนญาณที่นับเขาในวิปสสนาญาณแท ในขั้นโลกีย๑๑๒ 
การที่ผูปฏิบัติเพื่อบรรลุมรรคผลเบื้องสูงขึ้นไป ตองกลับมาเจริ ญ
วิปสสนา เพื่อใหผานญาณไปตามลําดับเหมือนกับการปฏิบัติครั้งแรกก็จริง
แตลักษณะและคุณภาพของญาณนั้นๆ มีความละเอียดประณีต และสามารถ
กํ า จั ด กิ เ ลสได ดี แ ละมากขึ้ น ไปกว า กั น โดยลํ า ดั บ ของแต ล ะขั้ น เช น มี
สติสัมปชัญญะปรากฏชัด และสุขุมลึกซึ้งกวากัน โดยเฉพาะญาณใน ๔ มรรค
คือ โสดาปตติมรรคญาณ สกทาคามีมรรคญาณ อนาคามิมรรคญาณ และ
อรหัตมรรคญาณ มีกําลังประหานกิเลสไดมากกวากัน คือ
โสดาปตติมรรคที่ ๑ ละกิเลสชนิดที่เปนเหตุใหไปเกิดในอบายภูมิได
สิ้นเชิง หมายความวา พระโสดาบันบุคคลยอมไมไปเกิดในอบายภูมิอีกตอไป
สกทาคามิมรรคที่ ๒ ละกิเลสอยางหยาบ โดยเฉพาะที่แสดงออกมา
ทางกาย วาจา ไดสิ้นเชิง
อนาคามิมรรคที่ ๓ ละกิเลสชนิดเบาบางไดสิ้นเชิง
อรหัตมรรคที่ ๔ ชั้นสูงสุด ละกิเลสอยางละเอียด ซึ่งแทรกซึมอยูใน
จิตสันดานไดโดยสิ้นเชิง หมายความวาพระอรหันตทั้งหลาย เปนผูวิมุติหลุด

๑๑๒
ขุนสรรพกิจโกศล (โกวิท ปทมะสุนทร). คูมือการศึกษากรรมฐานสังคห-
วิภาค พระอภิธัมมัตถสังคหะปริจเฉทที่ ๙, พระนคร, ประพาสตนการพิมพ, ๒๕๐๙.
หนา ๑๘๘.
๘๒๒
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
พนจากกิเลสทุกประเภททุกชนิด เปนผูมีขันธสันดานบริสุทธิ์หมดจดอยาง
สมบูรณดังนั้น ทานจึงไมมีกิเลสอันเปนเชื้อใหตองเกิด แก เจ็บ ตายในภพ
ทั้งหลายอีก เมื่อดับขันธทั้ง ๕ อันเปนวิบากขันธครั้งสุดทายแลวก็ปรินิพพาน
ไมมีการเวียนวายตายเกิดในวัฏสงสารอีกตอไป
การเจริ ญวิ ป ส สนากรรมฐาน อัน เป น วิ ธี เ ขาถึงพระรั ต นตรั ย ด ว ย
วิปสสนาวิธีนี้ แสดงใหเห็นถึงการไดเห็นอริยสัจ ๔ ไปในตัว กลาวคือ เมื่อผู
ปฏิ บั ติ ไ ด บ รรลุ อ ริ ย มรรคแล ว นั้ น มรรคจิ ต ย อ มได นิ พ พานเป น อารมณ
นิพพานนั้นก็ไดแกนิโรธสัจนั่นเอง ดังนั้น ผูไดบรรลุมรรคญาณจึงไดชื่อวาเปน
ผูเห็นแจงนิโรธสัจดวยมรรคญาณ หรือมรรคปญญา
ปญญาเจตสิกที่เกิดรวมกับมรรคจิตนั้น เปนตัวสัมมาทิฏฐิเปนองค
ธรรมของอริยมรรคที่ ๑ และในขณะมรรคจิตเดียวกันนั้น มีวิตกเจตสิกอัน
เปน สัมมาสังกัปปะ เปนองคอริยมรรคที่ ๒ มีสั มมาวาจา สั มมากัมมันตะ
สั ม มาอาชี ว ะเจตสิ ก อั น เป น องค อ ริ ย มรรคที่ ๓-๔-๕, มี วิ ริ ย ะสติ และ
เอกัคคตาเจตสิก อันเปนตัวสัมมาวิริยะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ องคอริยมรรค
ที่ ๖-๗-๘ เกิด รว มกัน ประกอบพร อมกัน โดยมีนิ พพานเปน อารมณอย าง
เดียวกัน องคอริยมรรค ๘ ประการนี้เปน มรรคสัจ ดังนั้นผูไดบรรลุมรรค
ญาณนั้น จึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงมรรคสัจ
ขันธ ๕ อันเปนอารมณของวิปสสนากรรมฐานที่ผูปฏิบัติพิจารณามา
ตั้งแตตนจนถึงอนุโลมญาณเปนที่สุดนั้นเปนตัวทุกขสัจ ผูบรรลุมรรคญาณนั้น
จึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงทุกขสัจ
ตัณหาอัน เปน เหตุ ให เกิด ขัน ธ ๕ นั้ น เป น สมุทัยสัจ ผูบ รรลุ มรรค
ญาณจึงไดชื่อวาเปนผูเห็นแจงสมุทยสัจ
สรุปวา ผูปฏิบัติภาวนาจนไดบรรลุถึงมรรคญาณแลว ชื่อวาไดเห็นแจง
อริยสัจ ๔ คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค ดวยมรรคญาณ หรือมรรคปญญา๑๑๓

๑๑๓
สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภมหาเถระ) แปลและเรียบเรียง, คัมภีรวิ
สุทธิมรรค, หนา ๑๑๐๒.
๘๒๓
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล

๗. ญาณในวิมุตติสุข
ในคัมภีรปฏิสัมภิทามรรค พระสารีบุตรเถระอธิบายการเกิดญาณ
ในวิมุตติสุข ที่เกิดจากการเจริญอานาปานสติภาวนาไว ๒๑ ประการ คือ
๑. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดสักกายทิฏฐิไดดวย
โสดาปตติมรรค
๒. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดวิจิกิจฉาไดดวยโสดา
ปตติมรรค
๓. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดสีลัพพตปรามาสได
ดวยโสดาปตติมรรค
๔. ญาณในวิมุต ติ สุ ขเกิด ขึ้น เพราะละ ตั ด ขาดทิฏ ฐานุ สั ยได ด ว ย
โสดาปตติมรรค
๕. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดวิจิกิจฉานุสัยไดดวย
โสดาปตติมรรค
๖. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดกามราคสังโยชนอยาง
หยาบไดดวยสกทาคามิมรรค
๗. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดปฏิฆสังโยชนอยาง
หยาบไดดวยสกทาคามิมรรค
๘. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดกามราคานุสัยอยาง
หยาบไดดวยสกทาคามิมรรค
๙. ญาณในวิ มุ ต ติ สุ ข เกิ ด ขึ้ น เพราะละ ตั ด ขาดปฏิ ฆ านุ สั ย อย า ง
หยาบไดดวยสกทาคามิมรรค
๑๐. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดกามราคสังโยชน
อยางละเอียดดวยอนาคามิมรรค
๑๑. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดปฏิฆสังโยชนอยาง
ละเอียดไดดวยอนาคามิมรรค
๑๒. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดกามราคานุสัยอยาง
ละเอียดไดดวยอนาคามิมรรค

๘๒๔
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
๑๓. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดปฏิฆานุสัยอยาง
ละเอียดไดดวยอนาคามิมรรค
๑๔. ญาณในวิ มุต ติ สุ ขเกิด ขึ้น เพราะละ ตั ด ขาดรู ป ราคะได ด ว ย
อรหัตตมรรค
๑๕. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดอรูปราคะไดดวย
อรหัตตมรรค
๑๖. ญาณในวิ มุ ต ติ สุ ข เกิ ด ขึ้ น เพราะละ ตั ด ขาดมานะได ด ว ย
อรหัตตมรรค
๑๗. ญาณในวิมุต ติ สุ ขเกิด ขึ้น เพราะละ ตัด ขาดอุทธั จ จะได ด ว ย
อรหัตตมรรค
๑๘. ญาณในวิ มุ ต ติ สุ ข เกิ ด ขึ้ น เพราะละ ตั ด ขาดอวิ ช ชาได ด ว ย
อรหัตตมรรค
๑๙. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดมานานุสัยไดดวย
อรหัตตมรรค
๒๐. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดภวราคานุสัยไดดวย
อรหัตตมรรค
๒๑. ญาณในวิมุตติสุขเกิดขึ้น เพราะละ ตัดขาดอวิชชานุสัยไดดวย
อรหัตตมรรค๑๑๔
ในเรื่องนี้ พุทธทาสภิกขุไดนําหลักการเรื่อง “วิมุตติสุข” อันเกิดจาก
การเจริญอานาปานสติภาวนา ดังที่ทานอธิบายวา สิ่ ง ที่ จ ะพึ ง ละจํ า แนก
เปน ๒ หมวด คือ หมวดสังโยชนและหมวดอนุสัย ในขอนั้น ขอที่ ๑-๒-๓-๖-
๗-๑๐-๑๑-๑๔-๑๕-๑๖-๑๗-๑๘ สิบสองขอนี้เปนพวกสังโยชน ขอที่ ๔-๕-๘-
๙-๑๒-๑๓-๑๙-๒๐-๒๑ เกาขอนี้เปนหมวดอนุสัย เมื่อเปนดังนี้เห็นไดสืบไป
วา เปนการจําแนกที่ซ้ํา กันอยู คือ ถาถือเอาหลักก็มีสังโยชนซ้ําหรือเกินเขา
มา ๑๐ นอกจากนั้น พึงสังเกตใหเห็นวาทานไดแยกสังโยชน หรืออุปนิสัย
บางอยางออกไปเปนชั้นหยาบและชั้นละเอียดอีก ตามควรแกอํานาจของ

๑๑๔
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๘๓/๒๘๙.
๘๒๕
บทที่ ๑๖ พิจารณามรรค ผล
อริยมรรคจะพึงตัด เชนจําแนกกามราคะและปฏิฆะ วามีเปนอยางหยาบและ
อยางละเอียด ทั้งที่เปนสังโยชนและอนุสัย ดวยการจําแนกออกไปเชนนี้ดวย
และดวยการรวมเขาดวยกัน ทั้งสังโยชนและอนุสัย จึงไดจําแนกออก เปน
๒๑ ประการ
เมื่อกลาวโดยยกเอาอนุสัยเปนหลัก พึงทราบวาอนุสัย(กิเลสที่นอน
เนื่องอยูในขันธสันดาน) มี ๗ คือ
๑. ทิฏฐานุสัย (ความเห็นผิดที่นอนอยู)
๒. วิจิกิจฉานุสัย (ความสงสัยที่นอนอยู)
๓. กามราคานุสัย (ความยินดีในกามที่นอนอยู)
๔. ปฏิฆานุสัย (ความโกรธที่นอนอยู)
๕. มานานุสัย (ความถือตัวที่นอนอยู)
๖. ภวราคานุสัย (ความยินดีในภพที่นอนอยู)
๗. อวิชชานุสัย (ความไมรูตามความเปนจริงที่นอนอยู)
เมื่อสังโยชน ๑๐ และอนุสัย ๗ มาเปรียบเทียบกันดู ยอมจะเห็นได
วา เพียงแตจํานวนตางกัน เพราะเล็งถึงกิริยาอาการที่ทําหนาที่เปนกิเลส
ตางกัน คือสัญโญชน หมายถึงเครื่องผูกพัน และอนุสัยหมายถึงเครื่องนอน
เนื่องอยูในสันดาน แตโดยเนื้อแทนั้นเปนของอยางเดียวกันไดโดยการปรับ
เขากัน ดังตอไปนี้
สักกายทิฏฐิและสีลัพพตปรามาส คือ ทิฏฐานุสัย
วิจิกิจฉา คือ วิจิกิจฉานุสัย
กามราคะ คือ กามราคานุสัย
รูปราคะ คือ ภวราคานุสัย
มานะและอุทธัจจะ คือ มานานุสัย
อวิชชา คือ อวิชชานุสัย
สังโยชน ๑๐ อยาง จึงลงตัวกันไดกับอนุสัย ๒ อยาง ดวยอาการ
ดังกลาวนี้๑๑๕

๑๑๕
พุทธทาสภิกขุ, อานาปานสติภาวนา, หนา ๔๔๖-๔๕๐.
๘๒๖
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
๑. สมาบัติ
สมาบัติ แปลวา เขาถึง คือ เขาถึงจุดของอารมณที่เปนสมาธิ เปน
สภาวะสงบประณี ต ที่ พึ ง เข า ถึ ง โดยทั่ ว ไปหมายถึ ง การบรรลุ ฌ าน การ
เขาฌาน๑ สวนอารมณสมาธิที่ยังไมเขาระดับฌานยังไมเรียกวา สมาบัติ
มีอยู ๓ ประเภท คือ ฌานสมาบัติ ผลสมาบั ติ และนิ โรธสมาบั ติ
โดยมีความตางกัน ดังนี้
ฌานสมาบัติ ผลสมาบัติ นิโรธสมาบัติ
ผูเจริญสมถกัมมัฏฐาน ผูเจริญวิปสสนา จนบรรลุมรรค พระอนาคามี
ไดฌานตั้งแตปฐมฌาน ผล นิพพาน เปนพระอริยบุคคล และพระอรหันต
ขึ้นไป ที่ไดสมาบัติ ๘
มีบัญญัติเปนอารมณ มีพระนิพพานเปนอารมณ จิตและเจตสิกที่
เขาถึงความดับ
โลกียสมาบัติ โลกุตรสมาบัติ โลกุตรสมาบัติ

๑) ฌานสมาบัติ การเขาถึงฌานจิต หรือการเขาอยูในฌานจิต เปน


โลกียะ คือ การเขาอารมณฌานเพื่อหนีทุกขเวทนา โดยปรารถนาจะเสวย
ฌานสุข มีความอิ่มใจ หรือความวางเฉยอยูในอารมณฌานนั้น ตราบเทา
เวลาที่ตนอธิษฐานไว ไดแก รูปฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ (สมถะ)
ผลของฌานสมาบัติทําใหเกิดอภิญญา ๕ ไดแก ๑) อิทธิวิธี ความรูที่
ทําใหแสดงฤทธิ์ตางๆ ได ๒) ทิพพโสต ความรูที่ทําใหมีหูทิพย ๓) เจโตปริย
ญาณ ญาณที่ทําใหกําหนดรูใจคนอื่นได ๔) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ญาณที่
ทําใหระลึกชาติได ๕) ทิพพจักขุ ความรูที่ทําใหมีตาทิพย๒


ดูรายละเอียดใน องฺ.ทุก.อ. (บาลี) ๒/๑๖๔/๗๑.

ที.สี. (ไทย) ๙/๒๓๔-๒๔๘/๗๗-๘๔.
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
๒) ผลสมาบัติ คือ การเขาถึงซึ่งอริยผลจิต หรือการเขาอยูในอริยผล
จิต เปนโลกุตตระ เปนการเขาอยูในอารมณพระนิพพานที่ไดมาจากอริยผล
ฌาน อันบังเกิดแลวแกตน เพื่อเสวยโลกุตตรสุข ซึ่งเปนความสงบสุขที่พึง
เปนประจักษไดในปจจุบัน (วิปสสนา)
๓) นิโรธสมาบัติ คือ การเขาถึงซึ่งความดับของจิตและเจตสิก ไม
จัด เป น โลกีย ะหรื อโลกุต ระ เพราะไมมีจิ ต จะดั บ คือ การเขาถึงความดั บ
สัญญา (ความหมายรู) และเวทนา(ความเสวยอารมณ) ทั้งหมด ซึ่งรวมไปถึง
การดับจิตและเจตสิกอื่นๆ พรอมทั้งรูปที่เกิดจากจิตดวย แตรูปที่เกิดจาก
กรรม อุตุและอาหารยังคงเปนไปอยู เพราะฉะนั้นผูที่เขานิโรธสมาบัติจึงยังมี
ชีวิตอยู ซึ่งเขาไดถึง ๗ วัน เรียกวา เขาสัญญาเวทยิตนิโรธ เปรียบเหมือนฝก
นิพพาน เขาสูความดับสนิทแหงนามขันธ โดยปราศจากอันตรายใดๆ เปน
มหาสันติสุข อันยอดเยี่ยม ดังนั้น พระอริยเจาจึงนิยมเขาผลสมาบัติ และ
นิโรธสมาบัติดวยศรัทธา และฉันทะในอมตรสนั้น จนกวาจะนิพพาน (สมถ+
วิปสสนา)๓
เหตุใกลของสมาบัติ๔
๑) นิ โ รธสมาบั ติ นี้ เ ป น อานิ ส งค ข องฌานสมาบั ติ ประกอบด ว ย
วิปสสนาปญญา
๒) ผลสมาบัตินี้เปนอานิสงคของวิปสสนาภาวนา
๓) ฌานสมาบัตินี้เปนอานิสงคของโลกียฌานสมาธิ
การเขาผลสมาบัตินี้จะฝกหัดใหเกิดความชํานาญจนเปนวสีเหมือน
อยางในการเขาฌานสมาบัติวิถีไมได๕ เพราะอํานาจแหงมรรคจิตที่เกิดขึ้น
เพียงขณะจิตเดียวเทานั้น
สมาบัติวิถี หมายถึง วิถีจิตที่เขาถึงและอยูในที่นั้นแลว คือ เมื่อจะ
เขาสมาบัตินั้น ๆ ตองตั้งความปรารถนาโดยอธิษฐานวาจะอยูในสมาบัติ มี

องฺ.ทุก.อ. (ไทย) ๑/๒/-/๗๑.

ดูรายละเอียดใน อัฎฐสาลินี พรหมวิหารกถา ๒๕๑/๒๔๙-๒๕.

ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๙๗/๑๑๔.
๘๒๘
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
กํ า หนดเวลานานเท า ใด ก็ ข อให จิ ต ที่ ป รากฏนั้ น จงบั ง เกิ ด ขึ้ น ตามความ
ปรารถนาเถิด๖
๑.๑ ฌานสมาบัติวิถี
การเขาฌานสมาบัติ เพื่อหนีทุกขเวทนา โดยปรารถนาจะเสวยฌาน
สุข ยังความอิ่มใจ หรื อความวางเฉย แน วแนอยู ในอารมณกัมมัฏ ฐานนั้ น
ตราบเทา เวลาที่ตนอธิษฐาน (คือตั้งความปรารถนาอันแนวแนมั่นคงอยาง
แรงกลา) ไว
ผู เ ขา ฌานสมาบั ติ ได ต อ งเป น ผู ที่ไ ด ฌ านและต องมีว สี คื อ ความ
ชํานาญความแคลวคลองทั้ง ๕ ประการ๗ ไดแก
๑. อาวัชชนวสี ความชํานาญในการ นึกที่จะเขาฌานตามที่ตนตั้งใจ
๒. สมาปชชนวสี ความชํานาญในการ เขาฌาน
๓. อธิฏฐานวสี ความชํานาญในการ ตั้งความปรารถนาที่จะให ฌาน
จิต ตั้งมั่นอยูเปนเวลาเทาใด
๔. วุฏฐานวสี ความชํานาญในการ ออกจากฌาน
๕. ปจจเวกขณวสี ความชํานาญในการ พิจารณาองคฌาน
เมื่อ ฌานลาภีบุคคล คือบุคคลผูไดฌาน มีความคลองแคลววองไว
ในวสี ทั้ ง ๕ แล ว เวลาจะเข า ฌานสมาบั ติ นั้ น กิ จ เบื้ อ งต น ต อ งตั้ ง ความ
ปรารถนา(อธิษฐาน) วา จะเขาฌานสมาบัติเปนเวลา.... (ตามความประสงค
ว าจะเข าอยู น านสั กกี่ชั่ ว โมง หรื อกี่วั น ) ขอให ฌ านจิ ต ที่ เ คยได แ ล ว นั้ น จง
บังเกิดขึ้นตามความปรารถนานี้เถิด
ขณะที่ตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน)นี้ กามจิตอันเปนมหากุศลญาณ
สัมปยุตต สําหรับปุถุชนและพระเสกขบุคคล หรือกามจิตอันเปนมหากิริยา
ญาณสัมปยุตต สําหรับพระอรหันต ก็เกิดมีวิถีจิต (มโนทวารวิถ)ี ๘ ดังนี้


ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔๒/๖๐๘-๖๐๙.

ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๘๕/๑๔๓.

พระสัทธัมมโชติกะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๔ วิถึสังคหะ, พิมพครั้งที่ ๘,
(กรุงเทพมหานคร: หจก.ทิพยวิสุทธิ์, ๒๕๕๓), หนา ๕๙-๖๑.
๘๒๙
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
น--ท--มโน--ช--ช--ช--ช--ช--ช--ช
ความหมายของอักษรยอ
ภ = ภวังค,
ตี = อตีตภวังค,
น = ภวังคจลนะ,
ท = ภวังคุปจเฉทะ
ป = ปญจทวาราวัชชนะ,
วิ = ปญจวิญญาณ,
สํ = สัมปฏิจฉันนะ,
ณ = สันตีรณะ,
วุ = โวฏฐัพพนะ,
ช = ชวนะ,
ต = ตทาลัมพนะ,
มโน = มโนทวาราวัชชนะ
บริ = บริกรรม
อุป = อุปจาระ
อนุ = อนุโลม
โค = โคตรภู
ฌ = ฌานจิต
ตอจากนี้ก็เจริญสมถภาวนาเขาฌานสมาบัติ โดยเพงปฏิภาคนิมิตที่
ตนเคยได เคยผานมาแลวนั้น วิถีจิต (ฌานสมาปตติวิถี)๙ ก็จะเกิดดังนี้
ภ--ภ--น--ท--มโน--ปริ--อุป--อนุ--โค--ฌ--เกิดดับเรื่อยไป--ฌ--ภ...
(ถาเป น ติกขบุคคลก็ไมมีบริ กรรม) ตอจากโคตรภู ฌานจิ ต ก็เ กิด
เรื่อยไปตราบเทา เวลาที่ตนตั้งความปรารถนาไว ตอเมื่อครบกําหนดเวลาที่
ตนอธิษฐานไวแลว ฌานจิตจึงจะหยุดเกิด แลวก็เปนภวังคจิตตอไปตามปกติ


พระสัทธัมมโชติกะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๔ วิถึสังคหะ, หนา ๑๐๖.
๘๓๐
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
อนึ่ง ฌานลาภีบุคคลผูไดเพียงปฐมฌานก็ตองเขาฌานสมาบัติในปฐมฌาน
เทาที่ตนได ที่เปนธรรมดาสามัญ แตถาไดฌานที่สูงขึ้นไป ก็เขาไดทั้งฌานสูง
เทาที่ตนได และเขาสมาบัติในฌานที่ต่ํากวาก็ไดดวย เชนผูที่ได ตติยฌาน
เขาตติยฌานสมาบัติได เขาทุติยฌานสมาบัติไดหรือจะเขาปฐมฌานสมาบัติ
ก็ได (ขอนี้ผิดกับ การเขาผลสมาบัติ ซึ่งจะไดกลาวตอไป)
๑.๒ ผลสมาปตติวิถี
โลกุตรวิบากจิตที่มีนิพพานเปนอารมณ เปนผลจากการดับกิเลสของ
มรรคเปนสมุจเฉทแลว โลกุตรวิบากจิต(ผลจิต) มี ๔ ประเภท ตามการดับ
กิเลสของมรรค คือ
๑. โสดาปตติผลจิต ทําใหบุคคลผูบรรลุไดชื่อวา พระโสดาบัน
๒. สกทาคามิผลจิต ทําใหบุคคลผูบรรลุไดชื่อวา พระสกทาคามี
๓. อนาคามิผลจิต ทําใหบุคคลผูบรรลุไดชื่อวา พระอนาคามี
๔. อรหัตผลจิต ทําใหบุคคลผูบรรลุไดชื่อวา พระอรหันต
มรรคจิตดวงหนึ่งๆ จะเกิดขึ้นเพียงครั้งดียวในสังสารวัฏ เพราะมีกิจ
ในการละกิเลสไดเปนสมุจเฉท ไมตองเกิดขึ้นมาเพื่อละกิเลสที่ดับไปแลวอีก
สวนผลจิตสามารถเกิดขึ้นไดหลายครั้ง ในมรรควิถีเกิดได ๒ หรือ ๓ ขณะ แต
ในขณะที่เขาผลสมาบัติมีผลจิตเกิดขึ้นนับไมถวน
การเขาผลสมาบัติ เปนการเขาอยูในอารมณพระนิพพาน ที่ไดมา
จากอริยผลญาณอันบังเกิดแลวแกตน เพื่อเสวยโลกุตรสุข ซึ่งเปนความสงบ
สุขที่พึงเห็นประจักษไดในปจจุบัน
พระนิพพานที่เปนอารมณของผลสมาบัตินั้นมี ๓ อาการ๑๐ คือ
๑. อนิมิตตนิพพาน หมายถึงวา ผูที่กาวขึ้นสูมรรคผลนั้น เพราะเห็น
ความไมเที่ยง อันปราศจากนิมิต, เครื่องหมาย คือ อนิจจัง โดยบุญญาธิการ
แตปางกอน แรงดวยศีล เมื่อเขาผลสมาบัติก็คงมีอนิมิตตนิพพานเปนอารมณ
๒. อัปปณิหิตนิพพาน หมายถึงวา ผูที่กาวขึ้นสูมรรคผลนั้น เพราะ
๑๐
ขุ.เถร.อ. (ไทย) ๒/๓/๔/๕๖๓.
๘๓๑
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
เห็นความทนอยูไมได ตองเปลี่ยนแปรไป อันหาเปนปณิธิที่ตั้งไมได คือทุกขัง
โดยบุญญาธิการแตปางกอนแรงดวยสมาธิ เมื่อเขาผลสมาบัติก็คงมีอัปปณิ
หิตนิพพานเปนอารมณ
๓. สุญญตนิพพาน หมายถึงวา ผูที่กาวขึ้นสูมรรคผลนั้น เพราะเห็น
ความไมใชตัวตน บังคับบัญชาไมได อันเปนความวางเปลา คืออนัตตา โดย
บุ ญญาธิ การแต ป างก อนแรงด ว ยป ญญา เมื่อเขาผลสมาบั ติ ก็ คงมีสุ ญญต
นิพพานเปนอารมณ๑๑
บุคคลที่เขาผลสมาบัติไดตองเปนพระอริยบุคคล สวนปุถุชนจะเขา
ผลสมาบัติไมไดเลย พระอริยเจาที่จะเขาผลสมาบัติก็เขาไดเฉพาะอริยผลที่
ตนไดที่ตนถึงครั้งสุดทายเทานั้น แมอริยผลที่ตนไดและผานพนมาแลวก็ไม
สามารถจะเขาได กล าวคือ พระโสดาบั นก็เขาผลสมาบัติ ได แต โ สดาป ต ติ
ผล พระสกทาคามีก็เขาผลสมาบัติไดแตสกทาคามีผลเทานั้น จะเขาโสดา
ปตติผล ซึ่งถึงแมวาตนจะเคยไดเคยผานเคยพนมาแลว ก็หาไดไม
พระอนาคามีก็เขาผลสมาบัติไดแตเฉพาะอนาคามีผล
พระอรหั น ต ก็ เ ข า ผลสมาบั ติ ไ ด แ ต อ รหั ต ตผลโดยเฉพาะเช น กั น
พระอริยบุคคลผูจะเขาผลสมาบัติ กิจเบื้องตนก็จะตองตั้งความปรารถนาวา
จะเขาผลสมาบัติเปนเวลากี่ชั่วโมง หรือกี่วัน ขอใหผลจิตที่เคยปรากฏมาแลว
นั้น จงบังเกิดขึ้นตามความปรารถนานี้เถิด
ขณะที่ตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน) นี้ จิตปรารถนาอันเปนมหากุศล
ญาณสั มปยุ ต ตสํ าหรับ พระอริ ย เบื้ องต่ํา ๓ หรื อจิ ต ปรารถนาอัน เป น มหา
กิริยาญาณสัมปยุตตสําหรับพระอรหันตก็เกิด มีวิถีจิตซึ่งเรียกวา อธิษฐาน
วิถี (มโนทวารวิถ)ี คือ น--ท--มโน--ช--ช--ช--ช--ช--ช--ช
ตอจากอธิษฐานวิ ถี ก็เจริ ญวิป สสนาภาวนามีรู ปนามเป นอารมณ
เริ่มแตอุทยัพพยญาณเปนตนไป ผลจิตจะเกิดวิถีจิตนี้ชื่อวา ผลสมาปตติวิถ๑๒

คือ ภ--น--ท--มโน--อนุ--อนุ--อนุ—อนุ-- ผล--เกิดดับเรื่อยไป--ผล --ภ...

๑๑
ที.ปา.อ. (ไทย) ๓/-/๒/๓๒๐.
๘๓๒
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ผูที่กําลังเจริญวิปสสนาภาวนาอยูนั้น กอนที่เขาสูผลสมาบัติจะเห็น
อารมณรูป-นาม โดยความเปนพระไตรลักษณชัดเจน และในขณะนั้นภวัง
คจลนะและภวังคคุปจเฉทะเกิดขึ้น แลวก็ดับลง ตอจากนั้นมโนทวาราวัชช
จิต ก็เ กิด ขึ้น รั บ สภาพรู ป หรื อนามแลว ก็ดั บ ลง ในลํ าดับ นั้ น มหากุศลญาณ
สัมปยุตต ๔ ดวง หรือมหากิริยาญาณสัมปยุตตชวนจิต ๔ ดวงดวงใดดวง
หนึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ๔ ขณะ ของมั น ทบุ ค คล หรื อ อนุ โ ลมจิ ต ๓ ขณะของติ ก ข
บุคคล๑๓
อนุโลมทั้ง ๔ มีสังขารธรรมที่เปนไตรลักษณเปนอารมณ
เมื่ออนุโลมจิตดวงสุดทายดับลง ตอจากนั้นผลจิตก็เกิดขึ้นติดตอกัน
เรื่อยๆ ผลจิตจะปรากฏขึ้นมามากมายตลอดเวลาที่ไดอธิษฐานไว เมื่อครบ
กําหนดเวลาตามที่ตนไดอธิษฐานไวแลว ภวังคจิตจะเกิดขึ้น เปนอันวาออก
จากผลสมาบัติ คือ สิ้นสุดผลสมาปตติวิถี
อนึ่ง จิตในผลสมาปตติวิถีนี้ ไมเรียกวา บริกรรม อุปจาระ อนุโลม
โคตรภู เหมือนอยางในมรรควิถี แตเรียก อนุโลมอยางเดียว ทั้ง ๔ ขณะ
เพราะผลสมาปตติวิถีนี้ ไมไดทําการประหาณกิเลส เหมือนอยางในมรรควิถี
เปนแตจิต ๔ ดวงนี้เกิดขึ้นเพื่ออนุโลมใหจิตถึงพระนิพพาน หรือใหแนบแนน
ในอารมณพระนิพพาน
เปรียบเทียบมรรควิถีและผลจิต ในระหวางกาลเปนผลของสมาบัติ
๑) ผลจิตชวนในมรรควิถี

ผลจิตชวนในมรรควิถี ไมเรียกวา “ผลสมาบัต”ิ


๑. ผลจิตชวนะ อาศัยมรรคจิตเกิด

๑๒
พระสัทธัมมโชติกะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๔ วิถึสังคหะ, หนา ๑๐๗.
๑๓
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๑๗.
๘๓๓
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
๒. ผลจิตชวนะ เกิดเพียง ๒-๓ ขณะเทานั้น๑๔
ผลจิตนี้ เกิดขึ้นในลําดับแหงมรรค หมายความวา ในขณะที่บรรลุ
มรรคผลนั้น มรรควิถีเกิดขึ้นตามลําดับ คือ บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตร
ภู เมื่อมรรคญาณปรากฏขึ้นแลว มรรคจิตก็จะเกิดขึ้นเพื่อทําการประหาณ
กิเลสเปนสมุจเฉท หลังจากนั้น ผลจิตก็จะเกิดขึ้นทันที โดยไมมีระหวางคั่น๑๕
เรียกวา อกาลิโก ผลญาณนี้จัดเปนวิบากจิต เสวยวิมุตติสุขตามที่ไดทําไวแลว
ถาเปนผูตรัสรูชาที่เรียกวา มันทบุคคล ผลจิตก็จะเกิดขึ้น ๒ ขณะ แตถาเปน
ผูที่ตรัสรูเร็วที่เรียกวาติกขบุคคล ผลจิตก็จะเกิดขึ้นตอไปอีก ๓ ขณะ
๒) ผลจิตชวนในผลสมาบัติ

ผลชวนะในผลสมาบัติ เรียกวา “ผลสมาบัต”ิ


๑. ผลชวนะไมไดอาศัยมรรค แตอาศัยความแรงกลาของวิปสสนา
นับตั้งแตพลวอุทธยัพพยญาณ จนถึงอนุโลมญาณ
๒. ผลชวนะเกิดดับมากมาย
ผลสมาบัติวิถีนี้ ไมไดทําการกําจัดกิเลสเหมือนอยางในมรรควิถี เปน
ผลจิ ต ที่ เ กิ ด ขึ้ น ต อ มาอี ก เรื่ อ ยๆ จากการอธิ ษ ฐาน จิ ต ในผลสมาบั ติ วิ ถี นี้
ขณะที่ผลสมาบัติวิถีเกิดนั้น กามาวจรจิตที่เกิดกอนไมเรียกวา บริกรรม อุป
จาระ อนุโลม โคตรภู เหมือนในมรรควิถี๑๖ แตเรียกจิตขณะนั้นวา “อนุโลม”
โดยอนุโลมจิตอยางเดียวทั้ง ๔ ขณะนี้เกิดขึ้นเพื่อนอมจิตสูนิพพาน เพราะ
อนุ โ ลมต อ การที่ โ ลกุ ต ตรผลจิ ต ซึ่ ง เคยเกิ ด แล ว จะเกิ ด ขึ้ น มี นิ พ พานเป น
อารมณและผลจิตที่เกิดขึ้นตอจากอนุโลมนี้ มีนิพพานเปนอารมณตลอดเวลา
๑๔
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/๑๒/๗๔-๗๕.
๑๕
สํ.ส.อ. (ไทย) ๒๔/๑/๑/-/๘๔.
๑๖
พระอาจารย ดร.ภัททันตะ อาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อัคคมหากัมมัฏฐา
นาจริยะ, วิปสสนาทีปนีฎีกา, ม.ป.ป. หนา ๒๔๖.
๘๓๔
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ที่กําหนดไว โดยไมมีภวังคจิตเกิดคั่นเลย เรียกวา เปนผลสมาบัติ
๑.๓ นิโรธสมาบัติวิถี
การเขานิโรธสมาบัติเหมือนฝกนิพพาน เขาสูความดับสนิทแหงนาม
ขันธ โดยปราศจากอันตรายใดๆ เปนมหาสันติสุขอันยอดเยี่ยม ดังนั้น พระ
อริย เจ าจึ งนิ ยมเขาผลสมาบัติ และนิ โรธสมาบั ติ ดว ยศรัทธาและฉันทะใน
อมตรสนั้น จนกวาจะนิพพาน
นิโรธ มีความหมายวา ความดับแหงกิเลสและไมมีทุกขเกิดขึ้น หรือ
สภาวะที่กิเลสดับ ที่หมายถึงพระนิพพานนั่นเอง๑๗
นิโรธ จําแนกได ๕ อาการ ดังนี้
๑) วิ กขั มภนนิ โ รธ ดั บ ด ว ยขม ไว คือ การดั บ กิเ ลสของท านผู
บําเพ็ญฌาน ถึงปฐมฌาน ยอมขมนิวรณไวได ตลอดเวลาที่อยูในฌานนั้น
๒) ตทังคนิโรธ คือ ดับกิเลสดวยธรรมที่เปนคูปรับหรือธรรมที่
ตรงขาม เชน ดับสักกายทิฏฐิดวยความรูที่กําหนดแยกนามรูปออกได เปน
การดับชั่วคราวในกรณีนั้นๆ
๓) สมุจเฉทนิโรธ ดับดวยตัดขาด คือ ดับกิเลสเสร็จสิ้นเด็ดขาด
ดวยโลกุตตรมรรค ในขณะแหงมรรคนั้น ชื่อสมุจเฉทนิโรธ
๔) ปฏิปสสัทธินิโรธ ดับดวยสงบระงับ คือ อาศัยโลกุตรมรรคดับ
กิเลสเด็ดขาดไปแลวบรรลุโลกุตรผล กิเลสเปนอันสงบระงับไปหมดแลว ไม
ตองขวนขวายเพื่อดับอีก ในขณะแหงผลนั้นชื่อปฏิปสสัทธินิโรธ เชน นิโรธ
ของผูเขาผลสมาบัติ
๕) นิสสรณนิโรธ ดับดวยสลัดออกได คือ ดับกิเลสเสร็จสิ้นแลว
ก็ดํารงอยูในภาวะที่กิเลสดับแลวนั้น ยั่งยืนตลอดไป นี้ชื่อวา นิสสรณนิโรธ
ไดแก อมตมหานิพพาน๑๘
๑๗
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวล
ธรรม, พิมพครั้งที่ ๑๙,(กรุงเทพมหานคร: บริษัทเอส.อาร. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส จากัด
, ๒๕๕๓), หนา ๑๖๗
๑๘
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๔/๕๘๐.
๘๓๕
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ความดั บ คื อ ความสิ้ น ไป หมดไป ตรงกับ คําว า นิ โ รธ หมายถึ ง
สภาวธรรมอยางหนึ่งที่เกิดขึ้นไดในการปฏิบัติวิปสสนาภาวนา มีทั้งความดับ
ที่เปนอุปสรรคในการปฏิบัติธรรมเรียกวา “ความดับเทียม” และความดับที่
เปนความดับกิเลสอยางแทจริง คือ การดับดวยมรรค๑๙
๑) ความดับเทียม เปนความดับที่ยังมีอาการอยู คือ ความดับที่ยังมี
กิเ ลสอยู คือ ความดั บที่เ ปน อุป สรรคในการปฏิ บัติ ธ รรม ที่ทําให ผูป ฏิ บั ติ
เขาใจผิดวาตนไดเขาถึงความดับโดยมรรคแลว คิดวาตนเองไดบรรลุธรรม
แลว สวนมากเกิดใน อุทยัพพยญาณออน ในมุญจิตุกัมยตาญาณ และ ในสัง
ขารุเปกขาญาณ ความดับที่ไมแทนั้นเกิดไดสาเหตุหลายประการคือ ๒๐
๑.๑) ดับดวยปติ เมื่อปติเกิดขึ้นมา จะเปนขณิกาปติ ขุททกาปติ
โอกกันติกาป ติ อุพเพงคาปติ หรือผรณาปติก็ตาม เมื่อเกิดขึ้นมาแลวจะมี
ลักษณะอยางเดียวกัน คือเมื่อเกิดจนถึงที่สุดแลวมันจะสัปหงกวูบลงไปบางที
ไปขางหนา บางทีผงะไปขางหลัง บางทีไปขางซาย บางทีไปขางขวา อยางนี้
ดับดวยอํานาจของปติ มักเกิดในอุทยัพพยญาณ
๑.๒) ดับดวยปสสัทธิ คือ กายสงบ จิตสงบ อารมณภายนอกไมมา
รบกวนได รูสึกตัวเบาเปนพิเศษ คลายกับไมมีน้ําหนัก รางกายไมเจ็บไมปวด
เมื่อกําหนดไปๆ จิตจะดิ่งลึกลงไปจนขาดความรูสึก มักเกิดในอุทยัพพยญาณ
๑.๓) ดับดวยสมาธิ ขณะกําหนดสภาวะที่ปรากฎ จิตกลับจดจอ
จดจองตลอดเวลา ไมเผลอ กําหนดไดดี แลวก็สัปหงกวูบลงไปเลย ทั้งๆ ที่ไม
เผลอ สมาธิดีอยู ขณะที่จองอยูนั้นสัปหงกวูบลงไป บางทีก็ไปขางหนา บางที
ก็ไปขางหลัง บางทีก็ไปขางซาย บางทีก็ไปขางขวา อยางนี้ดับดวยอํานาจ
ของสมาธิ มักเกิดในสังขารุเปกขาญาณ

๑๙
พระภัททันตะ อาสภมหาเถระ, วิปสสนาทีปนีฎีกา, ม.ป.ป., หนา ๑๗๗.
๒๐
พระวินัยธรสมบูรณ สุธีโร (แตงทอง), “ศึกษาธรรมที่เปนปฏิปกษตอการ
บรรลุ ธ รรม ศึ ก ษาเฉพาะความดั บ ในคัม ภี ร วิ ป ส สนาที ป นี ฎีก า”,วิ ท ยานิ พ นธ พุ ท ธ
ศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย),
๒๕๕๘, หนา ๗๔-๗๖.
๘๓๖
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
๑.๔) ดับดวยถีนมิทธะ กําหนดสภาวะตางๆ ไมกระฉับกระเฉง
จิตใจหอเหี่ยวทอแท เซื่องซึม นั่งตัวไมตรง เอนขางนั้นเอนขางนี้ สัปหงกไป
ซ า ย-ขวาบ า ง ขึ้ น บนลงล า งบ า ง กํ า หนดไม ไ ด ป จ จุ บั น ธรรม กํ า หนดไป
สัปหงกวูบลงไป ลงสูภวังค เมื่อลงสูภวังครูสึกตัวขึ้นมาก็เลยหาย แตสักพักก็
จะเซื่องซึมตอ มักเกิดในมุญจิตุกัมมยตาญาณ
๑.๕) ดั บ ด ว ยอุ เ ปกขา จิ ต ใจเลื่ อ นลอยไปสู อ ารมณ ภ ายนอก
กําหนดไปเพลินไปๆ กําหนดไปคิดไป เพลินไปตามความคิดบาง เพลินไป
ตามรูปบาง เพลินไปตามเสียง บางทีเพลินไปตามกลิ่น เปนตน ขณะที่กําลัง
เพลินๆ อยู มีอาการสัปหงกวูบลงไป บางทีไปขางหนา บางทีไปขางหลัง บาง
ทีไปซาย บางทีทางขวา เปนลักษณะของอุเบกขามักเกิดในอุทยัพพยญาณ
๒) ความดับที่เปนมรรค เปนนิโรธสัจ
เมื่อปฏิบัตสิ มถะและวิปสสนาจนวิปสสนาญาณแกกลาสมบูรณแลว
ขณะที่สังขารุเปกขาญาณถึงความแกกลาที่สุด สังขารอารมณซึ่งละเอียดออน
มีอาการสม่ําเสมอแลวกาวเขาสูโคตรภูญาณ เมื่อมรรควิถีเกิดขึ้นแลวอาการ
ดับจะเกิดขึ้น หมายความวา หลังจากอนุโลมญาณเกิดขึ้น ๑ ขณะจิต ตาม
ดวยโคตรภูญาณ ๑ ขณะจิต หลังจากนั้นมรรคจิตผลจิตก็เกิดขึ้น เมื่อมรรค
จิตผลจิตเกิดขึ้น เรียกวาเปน ความดับที่แทจริง คือ ดับโดยมรรค๒๑
ลักษณะของนิโรธที่หมายถึงนิพพาน
นิพพาน แปลวา ดับ หรือ สภาวที่ดับเย็น หรือการพนจากปวงทุกข
และรูปนามที่เกิดดับอยู มีลักษณะพิเศษดังนี้
สนฺติ ลกฺขณํ นิพพานมีอาการสงบจากการแตกดับของรูปนามเปน
ลักษณะ
อจฺ จุติ รสํ นิ พพานย อมทรงไวซึ่งคุณที่พนจากการเสื่อมสลายดั บ
หายเปนรส
อนิ มิ ตฺ ตํ ปจฺ จุ ป ฏ ฐ นํ นิ พ พานย อ มพ น จากสั ณ ฐานนิ มิ ต เป น ผล
ปรากฎ คือไมอยูในวิสัยที่จะบอกได ซึ่งรูปพรรณสัณฐานของนิพพานวาเปน
๒๑
พระภัททันตะ อาสภมหาเถระ, วิปสสนาทีปนีฎีกา, ม.ป.ป., หนา ๑๗๘.
๘๓๗
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
อยางไร
ปทฏฐานํ น ลพฺภติ นิพพานไมมีเหตุใกลใหเกิด เพราะนิพพานเปน
ธรรมที่ พนจากเหตุจากปจจัยทั้งปวง๒๒
ผูที่เขานิโรธสมาบัติไดตองเปนผูที่เพียบพรอมดวยคุณสมบัติ ดังนี้
๑. ตองเปนพระอนาคามี หรือพระอรหันต
๒. ตองไดฌานสมาบัติทั้ง ๘ กลาวคือ ตองไดรูปฌานและอรูปฌาน
๓. ตองมีวสี ชํานาญคลองแคลวในสัมปทา ๔ ประการ ไดแก
๓.๑ มีสมถพละและวิปสสนาพละ คือ มีสมาธิและปญญาเปน
กําลังชํานาญ
๓.๒ ชํานาญในการระงับกายสังขาร (คือลมหายใจเขาออก)
ชํานาญในการระงับ วจีสังขาร (คือ วิตก วิจาร ที่ปรุงแตงวาจา) ชํานาญใน
การ ระงับจิตตสังขาร (คือสัญญาและเวทนาที่ทําใหเจตนาปรุงแตงจิต)
๓.๓ ชํานาญในโสฬสญาณ (คือ ญาณทั้ง ๑๖)
๓.๔ ชํานาญใน ฌานสมาบัติ ๘ มากอน
ดังนั้น การเขานิโรธสมาบัติจําเปนตองใชกําลังทั้ง ๒ ประการ คือ
กําลังสมถภาวนา ตองถึงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และกําลังวิปสสนาก็
ตองถึงตติยมรรคเปนอยางต่ํา กลาวคือตองใชทั้งกําลังสมาธิและกําลังปญญา
ควบคูกันดวย
๔. ตองเปนบุคคลที่อยูใ นภูมิที่มีขันธ ๕ (คือ ปญจโวการภูมิ) เพราะ
ในอรูปภูมิเขานิโรธสมาบัติไมได ดวยเหตุวา ไมมีรูปฌาน
พระอนาคามี ห รื อ พระอรหั น ต ที่ ไ ด ส มาบั ติ ๘ อั น เพี ย บพร อ ม
ดังกลาวนี้ เมื่อจะเขานิโรธสมาบัติ ตองดําเนินการเขาสลับกันระหวางสมถะ
และวิปสสนา เรียกวา ยุคนัทธวิปสสนา๒๓ กระทําดังนี้
(๑) เขาปฐมฌานที่ตนไดมาแลวเปนอารมณ ปฐมฌานกุศลจิต
สําหรับพระอนาคามี หรือ ปฐมฌานกิริยาจิต สําหรับพระอรหันต เปน

๒๒
ขุ.จูฬ (ไทย) ๓๐/๖๗/๒๕๒.
๒๓
องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๑๗๐/๒๓๘.
๘๓๘
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ปฐมฌานวิถี ดังนี้
ภ--น--ท--มโน--ปริ--อุป--อนุ--โค--ฌาน--ภ
(๒) เมื่อออกจากปฐมฌานแลว ตองพิจารณาองคฌาน โดยความ
เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ซึ่งการพิจารณาเชนนี้ เรียกวา ปจจเวกขณวิถี
ภ--น--ท--มโน--ช--ช--ช--ช--ช--ช--ช--ภ
(๓) เขาทุติยฌาน
(๔) เขาปจจเวกขณวิถี (พิจารณาองคฌานโดยไตรลักษณ)
(๕) เขาตติยฌาน
(๖) เขาปจจเวกขณวิถี
(๗) เขาจตุตถฌาน
(๘) เขาปจจเวกขณวิถี
(๙) เขาอากาสานัญจายตนะ
(๑๐) เขาปจจเวกขณวิถี
(๑๑) เขาวิญญาณัญจายตนะ
(๑๒) เขาปจจเวกขณวิถี
(๑๓) เขาอากิญจัญญายตนะ
(๑๔) เมื่อออกจากอากิญจัญญายตนะแลว ไมตองเขาปจจเวกขณวิถี
แตเขาอธิษฐานวิถี โดยทําบุพพกิจ ๔ อยาง๒๔ ไดแก
ก. นานาพทฺธ อวิโกปน อธิษฐานวา บริขารตางๆ ตลอดจน
รางกายของขาพเจา ขออยาใหเปนอันตราย
ข. สงฺฆปฏิมานน อธิษฐานวา เมื่อสงฆประชุมกัน ตองการตัว
ขาพเจา ขอใหออกได โดยมิตองใหมาตาม
ค. สตฺถุปกฺโกสน อธิษฐานวา ถาพระพุทธองคมีพระประสงคตัว
ขาพเจา ก็ขอใหออกได โดยมิตองใหมีผูมาตาม
ง. อทฺธาน ปริจฺเฉท อธิษฐานกําหนดเวลาเขา วาจะเขาอยูนาน

๒๔
พระพุทธโฆสเถระ. คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๖๐, หนา ๑๑๙๖ - ๑๑๙๙.
๘๓๙
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
สักเทาใด รวมทั้งพิจารณาอายุสังขารของตนดวยวาจะอยูถึง ๗ วันหรือไม
ถาจะตายภายใน ๗ วัน ก็ไมเขา หรือเขาใหนอยกวา ๗ วัน
(๑๕) อธิ ษฐานแล ว ก็เขาเนวสั ญญานาสั ญญายตนฌานวิ ถีนี้ เนว
สัญญานาสัญญายตนฌาน เกิดขึ้น ๒ ขณะ
(๑๖) ลําดับนั้น จิต เจตสิกและจิตตชรูปก็ดับไป ไมมีเกิดขึ้นอีกเลย
สวนกัมมชรูป อุตุชรูปและอาหารชรูป ยังคงดํารงอยู และดําเนินไปตามปกติ
หาได ดั บ ไปด ว ยไม จิ ต เจตสิ ก และจิ ต ตชรู ป คงดั บ อยู จ นกว า จะครบ
กําหนดเวลาที่ไดอธิษฐานไว
ภ--น--ท--มโน--ปริ --อุ ป--อนุ --โค--เนว--เนว--จิ ต +จิ ต ตชรู ป ดั บ --ผล-ภ
(๑๗) เมื่อครบกําหนดเวลาที่ไดอธิษฐานไว ซึ่งเรียกวา ออกจาก
นิโรธสมาบัตินั้น อนาคามิผลสําหรับอนาคามิบุคคล หรืออรหัตตผลสําหรับ
อรหัตตบุคคล ก็เกิดขึ้น ๑ ขณะกอน ตอจากนั้น จิต เจตสิกและจิตตชรูปจึง
จะเกิดตามปกติ ตอไปตามเดิม๒๕
๑.๔ วิมุตติวิถี
วิมุตติ หมายถึง ความหลุด แสดงถึงลักษณะการหลุดพนในลักษณะ
ตางๆ เชน วิมุตติสุข๒๖ วิมุตติขันธ๒๗ วิมุตติญาณทัศนะ๒๘ วิมุตตานุตตริยะ๒๙
เจโตวิ มุ ต ติ ป ญ ญาวิ มุ ต ติ ๓๐ วิ มุ ต ติ ร ส ๓๑ เป น ต น มี ค วามหมายที่ แ สดง
ลักษณะแหงความหลุดพนโดยประการตางๆ ในปรมัตถโชติกาอุทานอรรถ
กถา อธิบายความหมายของวิมุตติวา วิมุตติ ไดแก ภาวะที่จิตหลุดพนดวย
๒๕
วรรณสิทธิ ไวทยะเสวี (รวบรวม), คูมือการศึกษา พระอภิธัมมัตถสังคหะ
ปริจเฉทที่ ๔ วิถีสังคหวิภาค, มูลนิธิแนบมหานีรานนท, พิมพครั้งที่ ๗, (นครปฐม:
มูลนิธิแนบมหานีรานนท, ๒๕๕๙), หนา ๑๐๐-๑๐๓.
๒๖
วิ.ม. (ไทย) ๔/๑/๑.
๒๗
วิ.ม. (ไทย) ๔/๘๔/๑๔๕.
๒๘
วิ.ม. (ไทย) ๔/๘๔/๑๔๒.
๒๙
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๐๕/๒๗๓.
๓๐
ที.สี. (ไทย) ๙/๓๗๓/๑๕๖.
๓๑
วิ.จู. (ไทย) ๗/๓๘๕/๒๘๔.
๘๔๐
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
อธิบายความหมายของวิมุตติวา วิมุตติ ไดแก ภาวะที่จิตหลุดพนดวยอํานาจ
สงบระงับอุปกิเลส และทุกขทั้งสิ้น๓๒
ในสัทธัมมปชโชติกาปฏิสัมภิทามรรคอรรถกถา อธิบายความหมาย
ของวิมุตติ วา “ชื่อวาวิมุตติ เพราะอรรถวาปลอย เพราะพนจากกิเลสนั้นดวย
การละกิเลสอันมรรคฆาแลว ไดแก อริยมรรคนั่นเอง”๓๓
คําวา “วิมุตฺติ” มาจาก วิ บทหนา มุจ ธาตุในความหมายวาหลุด,
พน ติ ปจจัย, ลบ จ ซอน ตฺ๓๔ คือ ความหลุดพนออกจากเครื่องผูกมัดเปน
อิสระเสรี เรียกวา เปนผล เมื่อแยกโดยละเอียดแลวเปน ๒ ตอน คือ เปนทั้ง
มรรคและทั้งผล กิริย าที่หลุด พน ออกไปขณะที่ห ลุด พน เปน มรรค ภาวะที่
หลุดพนออกไปแลวมีความเปนอิสระเสรีอยูเปนปกติ เรียกวา ผล ซึ่งวิมุตติ
เปนภาวะฝายผล กลาวอีกอยางหนึ่งวา เปนภาวะเสร็จงานและเปนภาวะที่
อํานวยแกการทํางานตอไป ไมใชเปนตัวการทํางานเอง วิมุตตินั้นเปนเครื่อง
แสดงถึงการเขาถึงนิพพาน เรียกวาเปนอาการสําแดงนิพพาน๓๕
วิมุตตินี้ เปนความหลุ ดพนจากอกุศลธรรมทั้งหลาย หลุดพนจาก
กิเ ลสอั น เป น เครื่ องผู ก จิ ต เป นสภาวะที่ มี ความเป นอิ สระจากความยึ ดมั่ น
ทั้งหลายเปนการพนจากอํานาจของวัฏฏะอยางสิ้นเชิง วิมุตตินี้เปนลักษณะของ
พระนิพพาน ซึ่งเปนจุดหมายปลายทางในการประพฤติพรหมจรรย อันมีวิมุตติ
เปนแกนเปนสาระสูงสุดในพระพุทธศาสนาดังที่ปรากฏในพระสุตตันตปฎก อัง
คุตตรนิกาย จตุกกนิบาตสิกขานิสังสสูตร ความวา
พรหมจรรยมีวิมุตติเปนแกน เปนอยางไร คือ ธรรมทั้งหลายเราแสดง
แก ส าวกทั้ ง หลายในธรรมวิ นั ย นี้ เ พื่ อ ความสิ้ น ไปแห ง ทุ กข โ ดยชอบทุ ก
๓๒
ขุ.อุ.อ. (ไทย) ๑/๓/-/๕๒.
๓๓
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๑๘๐-๑๘๑.
๓๔
พระมหาโพธิวงศาจารย (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙,ราชบัญฑิต),พจนานุกรมเพื่อ
การศึกษาพุทธศาสน ชุด ศัพทวิเคราะห, พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร:โรงพิพ
เลี่ยงเซียง, ๒๕๕๘), หนา ๘๒๙.
๓๕
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พุทธธรรมฉบับปรับขยาย, พิมพครั้งที่
๔๐, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท สํานักพิมพเพ็ทแอนดโฮม จํากัด, ๒๕๕๗), หนา๓๓๔.
๘๔๑
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ประการ ธรรมทั้งหลายเราแสดงแลวแกสาวกทั้งหลาย เพื่อความสิ้นไปแหง
ทุกขโดยชอบทุกประการโดยวิธีใดๆ ธรรมทั้งหลายนั้นเปนธรรมอันวิมุตติ
ถูกตองแลวโดยวิธีนั้นๆ พรหมจรรยมีวิมุตติเปนแกน เปนอยางนี้แล๓๖
ในพระวินัยปฎกแสดงความสําคัญของวิมุตติที่เปนความหลุดพนใน
สิ่งทั้งปวง ซึ่งเปนหัวใจสําคัญอยางหนึ่งของพระพุทธศาสนา ที่พระพุทธเจา
อุป มาไว ว า ธรรมวิ นั ย นี้ มี ร สเดี ย ว คือ วิ มุ ต ติ ร ส(ความหลุ ด พ น ) เหมื อ น
มหาสมุทรมีรสเดียว คือ รสเค็ม๓๗
ความสําคัญของวิมุตติ คือเปนที่สุดแหงทุกข เปนภาวะของนิพพาน
เรียกอีกอยางวา นิโรธสัจ ซึ่งคําวา นิโรธ เปนคําไวพจนของพระนิพพาน๓๘
ปรากฏในคัมภีรปฏิสัมภิทามรรควา ปหานะ ๕ คือ ๑. วิกขัมภนปหานะ (การละ
ดวยการขมไว) ๒. ตทังคปหานะ(การละดวยองคนั้นๆ) ๓. สมุจเฉทปหานะ
(การละด วยการตั ดขาด) ๔. ปฏิ ป สสั ทธิ ป หานะ (การละด ว ยสงบระงับ )
๕. นิสสรณปหานะ (การละดวยสลัดออกได)
การละนิ ว รณด ว ยการขมไว ย อมมีแกบุ คคลผู เจริ ญปฐมฌาน การ
ละทิฏฐิสังโยชนดวยองคนั้นๆ ยอมมีแกบุคคลผูเจริญสมาธิซึ่งเปนสวนแหงการ
ชําแรกกิเลสสมุจเฉทปหานะ ซึ่งเปนโลกุตรมรรค และปฏิปสสัทธิปหานะซึ่ง
เปนโลกุตรผลในขณะแหงผล ยอมมีแกบุคคลผูเจริญมรรคที่ใหถึงความสิ้นไป
และนิสสรณปหานะเปนนิโรธ คือ พระนิพพาน๓๙
วิมุตติ มี ๕ ลําดับ คือ (๑) วิ กขั มภนวิ มุตติ (๒) ตทั งควิมุตติ
(๓) สมุจเฉทวิมุตติ (๔) ปฏิปสสัทธิวิมุตติ (๕) นิสสรณวิมุตติ
วิมุตติ ๕ นี้ เปนเชนเดียวกันกับคําอธิบายของปหาน ๕ วิเวก ๕
๓๖
องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๒๔๕/๓๖๕.
๓๗
วิ.จู. (ไทย) ๗/๓๘๕/๒๘๔.
๓๘
พระพรหมคุณาภรณ(ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวล
ศัพท, พิมพครั้งที่ ๒๑, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท สํานักพิมพเพ็ทแอนดโฮม จากัด,
๒๕๕๖), หนา ๓๘๘.
๓๙
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๔/๓๔.
๘๔๒
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
วิราคะ ๕ และโวสัคคะ ๕ อันหมายถึง ความปลอย ความสละการละนิวรณ
ดวยการขมไว ยอมมีแกผูเจริญปฐมฌาน ชื่อวา วิกขัมภนวิมุตติ การละทิฏฐิ
ดวยองคนั้นๆ ยอมมีแกบุคคลผูเจริญสมาธิ อันเปนไปในสวนการชําแรกกิเลส
ชื่อวา ตทังควิมุตติ สวนสมุจเฉทปหานอันเปน โลกุตตรมรรค ชื่อวาสมุจเฉท
วิมุตติ ปฏิปสสัทธิปหานอันเปนโลกุตตรผล ในขณะแหงผล ยอมมีแกบุคคลผู
ที่เจริญมรรคเครื่องใหถึงความสิ้นไป ชื่อวา ปฏิปสสัทธิวิมุตติ และนิสรณปหาน
เปนนิโรธ คือ นิพพาน ชื่อวา นิสสรณวิมุตติ
คัมภีรปฏิสัมภิทามรรคอรรถกถาบอกวา วิกขัมภนปหานะ การขม
นิวรณเปนตน ไวดวยโลกิยสมาธินั้นๆ ดุจเอาหมอเหวี่ยงลงไปในน้ําที่มีแหน
ทํา ให แหนกระจายไปใกล การละนิ ว รณ ด ว ยการขม ไว ย อ มมี แ กผู เ จริ ญ
ปฐมฌาน เพราะนิวรณปรากฏ อันที่จริงนิวรณยังไมครอบงําจิตเร็วนักทั้งใน
สวนเบื้องตน ทั้งในสวนเบื้องหลังแหงฌาน เมื่อจิตถูกนิวรณครอบงํา ฌาน
ยอมเสื่อม แตวิตกเปนตนยังเปนไปได ไมเปนปฏิปกษทั้งกอนหลังตั้งแตทุติย
ฌานเปนตน เพราะฉะนัน้ การขมนิวรณจึงปรากฏ
การละธรรมที่ควรละนั้นๆ โดยเปนปฏิปกษกันดวยองคฌานอันเปน
สวนของวิปสสนานั้นๆ ดุจตามประทีปไวในตอนกลางคืน ละความมืดเสียได
ดวยตทังคปหานะ การละทิฏฐิดวยองคนั้นๆ ยอมมีแกผูเจริญสมาธิอันเปนไป
ในสวนแหงการชําแรกกิเลส การละทิฏฐิโดยเปนของหยาบ เพราะทิฏฐิเปน
ของหยาบ นิจสัญญาเปนตนละเอียด เพราะหยั่งลงภายในทิฏฐิ ๖๒ สมาธิ
อันเปนไปในสวนแหงการชําแรกกิเลส ไดแก สมาธิสัมปยุตดวยวิปสสนา การ
ละโดยอาการที่ตัดขาดธรรมอันเปนสังโยชน ดวยอริยมรรคญาณ ดุจตนไมที่
ถูกสายฟาฟาด นี้ชื่อวา สมุจเฉทปหานะ คือ นิพพาน กลาวคือ นิโรธ๔๐
ในคัมภีรสุมังคลวิลาสินี อธิบายวา “ตทังควิมุตติ และวิกขัมภนวิมุตติ
ชื่อวา วิมุตติ สวนสมุจเฉทวิ มุตติ ปฏิ ปสสั ทธิ วิ มุตติ และนิ สสรณวิ มุตติ พึง
ทราบวาเปนปรมวิมุตติ”๔๑

๔๐
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๗/๑/-/๓๕๓-๓๕๕.
๔๑
ที.สี.อ. (ไทย) ๒/๑/-/๑๔๘-๑๔๙.
๘๔๓
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ในสุ มังคลวิ ลาสิ นี สรุ ปความว า วิ มุตติ มี ๕ อย าง คื อพนด วยขมไว
(วิกขัมภนวิมุตติ) พนชั่วคราว (ตทังควิมุตติ) พนเด็ดขาด(สมุจเฉทวิมุตติ) พน
อยางสงบ (ปฏิปสสัทธิวิมุตติ) พนออกไป (นิสสรณวิมุตติ) ในวิมุตติเหลานั้น
สมาบัติ ๘ จัดเปนวิกขัมภนวิมุตติ เพราะพนจากนิวรณเปนตนที่ขมไว
ไดเอง อนุปสสนา ๗ มีอนิจจานุปสัสนาเปนตน จัดเปน ตทังควิมุตติ เพราะ
กําหนดโดยเปนขาศึกของธรรมนั้นๆ เพราะพนจากนิจจสัญญาเปนตนเหลานั้น
อริยมรรค จัดเปนสมุจเฉทวิมุตติ เพราะพนจากกิเลสที่ตัดขาดแลวเอง
สามัญญผล ๔ จัดเปนปฏิปสสัทธิวิมุตติ เพราะเกิดขึ้นในที่สุดแหงการ
สงบของกิเลสดวยอานุภาพมรรค
นิ พพาน จั ดเป นนิ สสรณวิ มุ ตติ เพราะพ นคื อเพราะปราศจากคื อ
เพราะตั้งอยูไกลจากกิเลสทั้งปวง๔๒
จําแนกและแสดงลักษณะแตละลําดับ มีรายละเอียดดังนี้
๑) วิกขัมภนวิมุตติ
วิกขัมภนวิมุตติ หมายถึง ความพนดวยการขมไว เปนการหลุดพนที่
ขมอกุศลธรรมทั้งหลาย นอนเนื่องอยูในขันธสันดาน อกุศลธรรมเปนเหตุให
สัตวทองเที่ยวเวียนวายตายเกิดในวัฏฏะสงสารไมรูจบสิ้น ซึ่งมีชื่อเรียกอีก
อยางวา กิเลส อุปาทาน โอฆะ นิวรณ อนุสัย สังโยชน ทั้งหมดเหลานี้ เปน
อกุศลธรรมที่ขมไวได การขมในวิกขัมภนวิมุตติในปรมัตถโชติกา อุทานอรรถ
กถา อธิบายวา “ความหลุดพนที่หมายรูดวยการไมเกิดขึ้นแหงนิวรณมีกาม
ฉันทนิวรณเปนตน และปจจนิกธรรม ธรรมที่เปนขาศึกมีวิตกเปนตนดว ย
สมาธิอันตางดวยอุปจารสมาธิและอัปปนาสมาธิ ตราบเทาที่สมาธินั้นดําเนิน
ไปโดยไมเสื่อม นี้ชื่อวา วิกขัมภนวิมุตติ”๔๓
การขมธรรมที่เปนขาศึกทั้งหลายมีนิวรณเปนตน ไวดวยโลกียสมาธิ
นั้นๆ เหมือนกั้นสาหรายไวดวยหมอที่แกวงไปมาบนพื้นผิวน้ําซึ่งมีสาหราย นี้

๔๒
ที.ม.อ. (ไทย) ๒/๑/-/๙๓-๙๔, สํ.ม.อ. (ไทย) ๕/๑/-/๔๑๘.
๔๓
ขุ.อุ.อ. (ไทย) ๑/๓/-/๕๑.
๘๔๔
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
เรี ย กว า วิ ขั มภนปหาน แต ในพระบาลี ทา นกล า วไว เ ฉพาะการข มนิ ว รณ
เทานั้นวา การละดวยการขมนิวรณนั้นทั้งหลายไวของโยคีผูทําปฐมฌานให
เกิด ทราบวาคําพระบาลีนั้นทานกลาวไวเพราะปหานปรากฏอยู เพราะวา
นิวรณทั้งหลายไดทวมทับจิตทันทีทันใด ทั้งในตอนตน ทั้งในตอนทายของ
ฌานได ธรรมทั้งหลายมีวิตกเปนตน ก็ถูกขมไวเฉพาะในขณะที่ฌานเปนอัปป
นาแลวเทานั้น๔๔
ความหลุ ด พน เพราะการข มกิเ ลสไว ด ว ยฌานสมาบั ติ ปรากฏใน
คั ม ภี ร สุ มั ง คลวิ ล าสิ นี ที ฆ นิ ก ายอรรถกถาว า สมาบั ติ ๘ ย อ มนั บ ว า เป น
วิขัมภนวิมุติ เพราะเหตุที่เปนความหลุดพนจากอกุศลธรรม มีนิวรณเปนตน
อันตนขมไวไดแลว มีวิธีการปฏิบัติเพื่อใหไดบรรลุถึงวิขัมภณวิมุตติ หรือฌาน
สมาบัตินั้นตองเจริญสมถกรรมฐาน มีกสิณภาวนาเปนตน เมื่อมีการเจริญ
สมถะกรรมฐานจนถึงขั้นแลว ก็ยอมมีจิตผองแผวจากกิเลสนิวรณทั้งหลาย
สงบระงับไปได บรรลุวิขัมภนวิมุตติ และอภิญญาสําเร็จเปนฌานลาภีบุคคล
ไดรับผลวิเศษสุด สามารถที่จะเขาฌานสมาบัติ และแสดงอภิญญาได เหนือ
มนุษยธรรมดาสามัญ ครั้นตายไปก็จะเกิดเปนพรหม สถิตเสวยพรมมาสมบัติ
เปนสุขวิเศษอยู ณ พรหมวิมานในพรหมาโลกตางๆ ตามอํานาจแหงวิขัมภนวิ
มุติ หรือฌานสมาบัติที่ตนไดบรรลุแลวนั้น ครั้นถึงการสิ้นอายุในพรหมโลกที่
ตนสถิตอยูอยางแสนสบายดวยวิขัมภนวิมุตติที่ตนได ก็จะคอยเสื่อมคลาย
หายสูญไปจากดวงใจทําใหตองจุติตายจากพรหมาโลกซึ่งเปนรูปาวจรภูมิและ
อรูปจรภูมิ กลับมาเกิดเปนเทวดาหรือมนุษย ซึ่งเปนกามาวจรภูมิอันเปนเหตุ
ใหกิเลสกําเริบ และเขาครอบงําดวงใจตอไปอีกตามเดิม ถาอยากจะใหกิเลส
รายสงบระงับไปก็ตองพยายามบําเพ็ญสถมถะเพื่อใหไดฌานสมาบัติขึ้นมา
ใหม ทั้งนี้ก็เพราะวาดวยวิขัมภนวิมุตติเปนวิมุตติขั้นโลกีย ซึ่งมีสภาพเสื่อมได
เจริญได เปนความหลุดพนที่ไมจีรังยั่งยืน ไมจริงแทแนนอนตลอดไป๔๕
๔๔
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๕๓, หนา ๑๑๗๓.
๔๕
พ ร ะ พ ร ห ม โ ม ลี ( วิ ล า ส  า ณ ว โ ร ) , วิ มุ ต ติ รั ต น ม า ลี เ ล ม ๑ ,
(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมิตรสยาม, ๒๕๓๙), หนา ๒๖๓ - ๒๖๔.
๘๔๕
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
๒) ตทังควิมุตติ
ตทังควิมุตติ หมายถึง ความหลุดพนดวยองควิปสสนา ดังที่ปรากฏ
ในสารัตถปกาสินี มหาวรรคอรรถกถา วา “อนุปสสนา ๗ มีการตามเห็นวา
ไมเที่ยงเปนตน ถึงการนับวา ตทังควิมุตติ พนไดดวยองคนั้นๆ เพราะพนจาก
ความสําคัญวาเที่ยงเปนตน ที่ตนเองละไดดวยอํานาจเปนขาศึกตอนิวรณเปน
ตนนั้น”๔๖ โดยลักษณะที่ปรากฏเปนการบําเพ็ญวิปสสนากรรมฐาน บรรลุถึง
ลําดับญาณในขั้นตางๆ สงผลใหสามารถเขาถึงตทังควิมุตติอันเปนความหลุด
พนจากอกุศลธรรมไปได กลาวคือ เมื่อผูที่ประพฤติปฏิบัติวิปสสนากรมฐาน
จนเกิดปญญาที่เรียกวาวิปสสนาญาณ ยอมกลาวไดวาเปนการเขาถึงตทังค
วิมุตติไดในปรมัตถโชติกา อุทานอรรถกถา สรุปความวาองคแหงวิปสสนา มี
การกําหนดนามรูปเปนตน ดวยการกําหนดวามรรคและมิใชมรรคพนจาก
ภาวะมีสังขารเปนนิมิตดวยโคตรภูญาณ นี้ชื่อวา ตทังควิมุตติ๔๗
ความหลุดพนดวยทังควิมุตติแทๆ ก็ไดแก องควิปสสนาญาณตั้งแต
นามรูปปริจเฉทญาณ จนถึงญาณที่ ๑๓ คือ โคตรภูญาณ ซึ่งความหลุดพนที่
กลาวนี้มีวิธีการปฏิบัติเพื่อใหบรรลุถึงตทังควิมุตติ และความหลุดพนดวยองค
วิปสสนานั้น ก็คือ เกิดมาเปนมนุษยพบพระพุทธศาสนา แลวเปนผูมีศรัทธา
เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาอยางแรงกลา มีอุสาหะบําเพ็ญวิปสสนากรรมฐาน
ตามวิธีการที่ถูกตอง หากมีวาสนาบารมีถึงที่แลว ก็อาจที่จะไดบรรลุตทังค
วิมุตติเปนขั้นๆ ไปไมหยุดยั้ง โดยสามารถที่จะยังองควิปสสนาญาณใหอุบัติ
ขึ้น ในขัน ธสั น ดานแห งตนตามลํ าดับ ดั งต อไปนี้ คือ นามรูป ปริจ เฉทญาณ
ป จ จยปริ ค หญาณ สั ม มสนญาณ อุ ท ยั พ พยญาณ ภั ง คญาณ ภยญาณ
อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ มุญจิตุกัมมตาญาณ ปฏิสังขาญาณ สังขารุเปก
ขาญาณ อนุโลมญาณ และโคตรภูญาณเปนตทังควิมุตติที่ ๑๓
องควิปสสนาญาณเหลานี้ ตั้งแตองควิปสสนาญาณที่ ๑ คือนามรูป
ปริจเฉทญาณ จนถึงองควิปสสนาญาณที่ ๑๑ สังขารุเปกขาญาณ เปนของ
๔๖
สํ.ม.อ. (ไทย) ๕/๑/-/๔๑๘.
๔๗
ขุ.อุ.อ. (ไทย) ๑/๓/-/๕๑.
๘๔๖
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
วิปสสนาญาณขั้นปฏิบัติ จะบรรลุไดดวยการบําเพ็ญวิปสสนาที่ถูกตองเทานั้น
ผูที่ไมบําเพ็ญวิปสสนาที่ถูกตองจะไมสามารถบรรลุถึงวิปสสนาญาณไดเลย
สวนองควิป สสนาญาณตอมาคืออนุโลมญาณและโคตรภู ญาณซึ่งเป นองค
วิปสสนาญาณที่ ๑๒ และ ๑๓ นั้นเปนวิปสสนาญาณที่เปนผล ไดจากองค
วิปสสนาญาณขั้นตนๆ หมายความวา เมื่อมีการปฏิบัติจนเกิดองควิปสสนา
ขั้นตนมาตามลําดับอยางถูกตองแลว และบุคคลผูปฏิบัติมีผองแผว ควรแก
การบรรลุมรรคผลนิพพาน อนุโลมญาณและโคตรภูญาณก็จะอุบัติขึ้นทันที
ตามนัยพระอภิธรรมอธิบายวาญาณที่ ๑๒ หรืออนุโลมญาณ และ
ญาณที่ ๑๓ หรือโครตรภูมญาณนั้นจัดเปนโลกิยญาณ ที่ดําเนินอยูในมรรค
วิถี โดยอนุโลมญาณมีไตรลักษณเปนอารมณครั้งสุดทาย (ปริ อุป อนุ) และ
โคตรภู (โค) หนวงนิพพานเปนอารมณ เรียกวา อัพโพหาริกะ คืออยูระหวาง
โลกียะกับโลกุตระ๔๘ ตอจากนั้นจึงเขาสูมรรคณาน (มัค) ไปตามลําดับ
ความหลุ ด พ น ที่ เ ป น ผลแหงวิ ป ส สนากรรมฐาน เป น องค แ ห ง
วิปสสนาญาณตั้งแตนามรูปปริจเฉทญาณซึ่งเปนญาณที่ ๑ จนถึงญาณที่ ๑๓
คือโคตรภูญาณ ซึ่งเปนขั้นตอนการปฏิบัติเพื่อความรูแจงในความเปนจริงจน
เกิดปญญาตัดละ ปหานกิเลส อกุศลธรรมทั้งหลาย เขาถึงความหลุดพน ที่
เรียกวา ตทังควิมุตติ ความหลุดพนประเภทนี้จัดเปนโลกิยญาณอยู ยังเปนไป
ในอํานาจแหงพระไตรลักษณ สามารถเสื่อมคลายออกจากขันธสันดานได
๓) สมุจเฉทวิมุตติ
สมุจเฉทวิมุตติ คือ ความหลุดพนโดยเด็ดขาด หลุดพนโดยการละ
อกุศลธรรมทั้งหลายที่ฝงแนนอยูในขันธสันดานไดอยางเด็ดขาด อกุศลธรรม
ทั้งหลายนี้รวมเรียกวา สังโยชน สมุจเฉทวิมุตตินี้สามารถการปหานสังโยชน
ทั้งหลายใหหมดสิ้ นไปจากขันธสัน ดานได เรียกว า มรรคญาณ อันเปนตั ว
สมุจเฉทวิมุตติที่แทจริง มีอยูดวยกันตามระดับแหงอริยมรรค ๔ ประการ คือ

๔๘
พระสัทธัมมโชติกะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒ วิปสสนากรรมฐาน,
พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร: หจก.ทิพยวิสุทธิ์, ๒๕๕๔), หนา ๒๒๖-๒๒๗.
๘๔๗
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
พระโสดาปต ติ มรรคญาณ พระสกทาคามีมรรคญาณ พระอนาคามีมรรค
ญาณ พระอรหัตมรรคญาณ ดังที่ปรากฏในคัมภีรปรมัตถโชติกาวา “ความ
หลุดพนดวยอํานาจสมุจเฉทปหาน โดยภาวะที่เกิดขึ้นไมได โดยสิ้นเชิงอีก
แห ง การยึ ด ถื อ ด ว ยกิ เ ลสฝ า ยสมุ ทั ย ที่ ก ล า วไว โ ดยนั ย มี อ าทิ ว า ทิ ฏ ฐิ ค
ตานํปหาย เพราะละทิฏฐิ ตามสมควรในสันดานแหงพระอริยเจาผูดํารงอยู
ในมรรคนั้นๆ เพราะทานทําอริยมรรค ๔ ใหเกิด นี้ชื่อวา สมุจเฉทวิมุตติ”๔๙
สมุจเฉทปหานเปนสวนแหงการละสังโยชนเปนตน ดวยอริยมรรค
ญาณ โดยอาการที่ธรรมทั้งหลายมีสังโยชนเปนตนเหลานั้นไมเปนไปไดอีก
ตอไป เหมือนตนไมที่ถูกจักรวิเศษของสายฟาฟาด นี้เรียกวาสมุจเฉทปหาน
ซึ่งทานกลาวระบุถึงไวในพระบาลี วา อนึ่ง สมุจเฉทปหานของทานโยคีผูทํา
มรรคไปสูความดับ อันเปนโลกุตตระใหเกิด ในปหาน ๓ เหลานี้ดวยประการ
ดังกลาว ในญาณทัสสนวิสุทธินี้ประสงคเอา สมุจเฉทปหานอยางเดียว และ
โดยเหตุ ที่แมวิ ขัมภนปหาน และตทังคปหานในตอนต นๆ ของโยคีนั้ น ก็มี
สมุจเฉทปหานเปนเปาหมายโดยเฉพาะอยูแลว เพราะฉะนั้นโดยปริยายนี้พึง
ทราบวาปหานแม ๓ ก็เปนกิจของมรรคญาณดวยกัน๕๐
ความหลุ ด พน โดยเด็ ด ขาด ความหลุ ด พน โดยการละอกุศลธรรม
ทั้งหลาย เรี ย กอีกอย า งว า สั ง โยชน ที่ฝ งแน น อยู ในขัน ธสั น ดานได อ ย า ง
เด็ดขาด อันเปนสมุจเฉทวิมุตติที่แทจริง อยูดวยกันตามระดับแหงอริยมรรค
๔ ประการ คือ โสดาปตติมรรคญาณ สกทาคามีมรรคญาณอนาคามีมรรค
ญาณอรหัตมรรคญาณ เปนความหลุดพนโดยเด็ดขาดอยางแทจริง หยุดการ
ทองเที่ยววนเวียนใหไดรับความทุกขอีกตอไป๕๑
๔) ปฏิปสสัทธิวิมุตติ
ปฏิปสสัทธิวิมุตติ ความหลุดพนโดยสงบอยางยิ่ง หมายถึง ความ
หลุ ด พ น อั น มี ส ภาพสงบเย็ น เกิ ด ขึ้ น หลั ง จากสมุ จ เฉทวิ มุต ติ ไ ด ป ระหาณ
๔๙
ขุ.อุ.อ. (ไทย) ๑/๓/-/๕๒.
๕๐
พระพุทธโฆสเถระ, คัมภีรวิสุทธิมรรค, หนา ๑๑๗๙.
๕๑
พระพรหมโมลี (วิลาศ าณวโร ป.ธ.๙), วิมุตติรัตนมาลี เลม ๒, หนา ๑๙๙-๒๐๐.
๘๔๘
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
สังโยชนใหออกจากขันธสันดานสิ้นไปได เปนความสุขวิเศษ ที่เรียกวา ผล
ญาณ มี อ ยู ๔ ประการ ตามลํ า ดั บ ขั้ น ผลญาณ คื อ โสดาป ต ติ ผ ลญาณ
สกทาคามีผลญาณ อนาคามีผลญาณ และอรหัตผลญาณ ดังที่ปรากฏในสา
รัต ถปกาสิ นี มหาวรรคอรรถกถา อธิ บายว า “สามัญญผล ๔ ย อมถึงการ
นับวา ปฏิปสสัทธิวิมุตติ พนไดดวยการสงบระงับ เพราะเกิดขึ้นในที่สุดแหง
การสงบระงับกิเลสทั้งหลาย ดวยอานุภาพมรรค”๕๒
คัมภีรปรมัตถโชติกา อุทานอรรถกถาอธิบายวา ภาวะที่กิเลสสงบ
ระงับ ไปในขณะแห ง ผลจิ ต นี้ ชื่ อ ว า ปฏิ ป ส สั ทธิ วิ มุต ติ ..การจํ า แนกความ
เปนไปของผลจิตคือ ในมรรควิถี ๑ ในกาลอื่น ๑ ผลจิต ๓ หรือ ๒ ขณะ ที่มี
พระนิพพานเปนอารมณ อันเปนผลของวิมุตติสุขนั้นๆ ยอมเกิดขึ้นในลําดับ
อริยมรรคแตละมรรค เพราะโลกุตตรกุศลมีวิบากในลําดับ ในคราวที่อนุโลม
จิต ๒ ดวงเกิดในชวนวารที่อริยมรรคเกิดขึ้น จิตดวงที่ ๓ จัดเปนโคตรภูจิต
ดวงที่ ๔ จัดเปนมรรคจิต ตอแตนั้นไปเปนผลจิต ๓ ดวง แตในคราวที่อนุโลม
จิตเกิดขึ้น ๓ ดวง จิตดวงที่ ๔ เปนโคตรภูจิต ดวงที่ ๕ เปนมรรคจิต ตอแต
นั้นไปเปนผลจิต ๒ ดวง จิตดวงที่ ๔ ที่ ๕ ยอมเปนไปดวยอํานาจอัปปนา
ดวยประการฉะนี้ ตอแตนั้นเปนไปไมได เพราะใกลตอภวังคจิต ผลจิตในกาล
อื่น ยอมเปนไปดวยผลสมาบัติและที่เกิดขึ้นแกทานผูออกจากนิโรธสมาบัติ
ทานสงเคราะหดวยผลสมาบัตินั้นเอง
ผลสมาบัตินี้นั้น วาโดยอรรถ เปนวิบากแหงโลกุตรกุศลจิต อันมีพระ
นิพพานเปนอารมณ พึงทราบวาเปนอัปปนา ถามวา ผลสมาบัตินั้นพวกไหน
เขาได พวกไหนเขาไมได ตอบวา ปุถุชนทั้งหมดเขาไมไดเพราะยังไมไดบรรลุ
อนึ่ง พระอริยเจาชั้นต่ําก็เขาผลสมาบัติขั้นสูงไมได แมพระอริยเจาชั้นสูงก็ไม
เขาผลสมาบัติชั้นต่ําเหมือนกันเพราะทานสงบระงับดวยการเขาถึงความเปน
บุคคลอื่น พระอริยเจานั้นๆ ยอมเขาผลสมบัติของตนๆ เทานั้น แตอาจารย
บางพวกกลาววา พระโสดาบันบุคคลและพระสกทาคามีบุคคล ยอมไมเขา
ผลสมาบัติ พระอริยบุคคลชั้นสูง ๒ พวกเทานั้นยอมเขาไดเพราะทานกระทํา
๕๒
สํ.ม.อ. (ไทย) ๕/๑/-/๔๑๘.
๘๔๙
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ใหบริบูรณในสมาธิ ขอนั้นไมใชเหตุ เพราะแมปุถุชนก็เขาโลกิยสมาธิที่ตนได
อีกอยางหนึ่ง จะปวยกลาวไปไยดวยการคิดถึงเหตุในขอนี้ สมจริงดังที่ทาน
กล าวไว ใ นปฏิ สั มภิ ทาว า สั งขารุ เ บกขาญาณ ๑๐ เหล าไหน เกิด ขึ้น ด ว ย
วิปสสนา โคตรภูธรรม ๑๐ เหลาไหน เกิดขึ้นดวยวิปสสนา ในการแกปญหา
ดังกลาวนี้ ทานกลาวถึงการเขาผลสมาบัติของพระอริยเจาเหลานั้นวา เพื่อ
ประโยชน แก โสดาป ตติ ผลสมาบั ติ เพื่ อประโยชน แก สกทาคามิ ผลสมาบั ติ
เพราะฉะนั้น จึงตกลงกันในขอนี้วาพระอริยเจาแมทั้งปวง ยอมเขาผลสมาบัติ
ตามที่เปนของตนถามวา ก็เพราะเหตุไร พระอริยเจาเหลานั้นจึงเขาสมาบัติตอบ
วา เพื่ออยูเปนสุขในปจจุบัน เหมือนอยางวา พระราชาทั้งหลายเสวยสุขในราช
สมบัติ เทวดาทั้งหลายเสวยทิพยสุข ฉันใด พระอริยเจาทั้งหลายก็ฉันนั้น ยอม
กําหนดกาลวา จักเสวยโลกุตรสุข จึงเขาผลสมาบัติในขณะที่ตองการ๕๓
ความหลุดพนอันมีสภาพสงบเย็นเปนความหลุดพนโดยสงบอยางยิ่ง
เกิดขึ้นหลังจากสมุจเฉทวิมุตติไดประหาณสังโยชนออกไปจากขันธสันดาน
สิ้นได เปนความสุขวิเศษ ที่เรียกวา ผลญาณ มีอยู ๔ ประการ ตามลําดับขั้น
ผลญาณ คือ โสดาปตติผลญาณ สกทาคามีผลญาณ อนาคามีผลญาณ และ
อรหัตผลญาณ เปนผลที่เกิดจากการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน จนเกิดสภาวะ
แหงวิปสสนาญาณปรากฏตามลําดับ ตั้งแตนามรูปปริจเฉทญาณ ถึงโคตรภู
ญาณ เมื่อขามผ านโคตรภู ญาณ อันเปนตทังควิ มุตติ แลว โสดาปตติ มรรค
ญาณ ที่เปนสมุจเฉทวิมุตติ ก็เกิดขึ้น เมื่อโสดาปตติมรรคเกิดขึ้นยอมสามารถ
ละอกุศลธรรมทั้งหลายใหหายขาดอันเปนอํานาจหนาที่ของมรรคแลวดับไป
เกิดเปน ผลญาณ ติดตามมา ผลญาณนี้จึงเรียกวา ปฏิปสสัทธิวิมุตติ๕๔
๕) นิสสรณวิมุตติ
นิสสรณวิมุตติ ความหลุดพนโดยสลัดออก หมายถึง ความหลุดพน
โดยสลัดออกของพระอรหันต เปนไปในกาล ๒ คือ ๑ ปจจุบัน ๒ อนาคต คือ
เมื่อบรรลุอรหัตมรรค อรหัตผลแลวอันเปนนิสรณในปจจุบัน เพราะเปนการ
๕๓
ขุ.อุ.อ. (ไทย) ๑/๓/-/๕๒-๕๔.
๕๔
พระพรหมโมลี (วิลาศ าณวโร ป.ธ.๙), วิมุตติรัตนมาลี เลม ๒, หนา ๔๘๕-๔๘๖.
๘๕๐
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
หลุดพนจากกิเลส สังโยชนโดยประการทั้งปวง และการดับขันธเขาสูพระ
นิพพาน หลังจากที่สําเร็จพระอรหันต ซึ่งจะตองปรากฏอยางแนนอนในกาล
ตอมา จัดเปน นิสสรณวิมุตติในกาลอนาคต เพราะเปนความหลุดพนจากภพ
ชาติโดยสิ้นเชิง กลาวไดวา นิสสรณแทๆ เปนจุดมุงหมายปลายทาง อันเปน
ที่ สุ ด ในพระพุ ท ธศาสนา คื อ พระนิ พ พาน ดั ง ที่ ป รากฏสารั ต ถปกาสิ นี
มหาวรรคอรรถกถา ความวา “นิพพาน ถึงการนับวา นิสสรณวิมุตติ พนได
ดวยการสลัดออกเพราะสลัดจากกิเลสทั้งหลาย คือเพราะปราศจาก ไดแก
ตั้งอยูในที่ไกล”๕๕ ในปรมัตถโชติกา อุทานอรรถกถา อธิบายวา “จิตที่หลุด
พนจากสังขารทั้งปวง ชื่อวาพระนิพพาน เพราะสลัดสังขตธรรมทั้งปวง นี้ชื่อ
วา นิสสรณวิมุตติ”๕๖ อันเปนวิมุตติในลําดับที่ ๕ ซึ่งมีวิธีการปฏิบัติเพื่อใหได
บรรลุถึงพระนิพพานอันเปนนิสสรณวิ มุตตินี้ ในขั้นแรกตองเปนผูสงเสริ ม
อบรมบารมีมา ไดพบพระพุทธศาสนาแลวมีจิตศรัทธาเลื่อมใสอุตสาหะเจริญ
วิปสสนาญาณใหบังเกิดขึ้นโดยลําดับ เมื่อไดบรรลุพระอรหัตผลญาณสําเร็จ
เปนพระอรหันตอริยบุคคลขั้นสูงสุดแลวก็จะมีโอกาสเคลื่อนแคลวดับขันธเขา
สูอมตะมหานฤพานอันเปนการไดบรรลุถึงซึ่งนิสสรณวิมุติในพระพุทธศาสนา
อยางจริงแทแนนอน
ความหลุดพนโดยการสลัดออก เปนความรูแจงในลักษณะของพระ
นิพพาน และไดเ สวยอมตสุ ขอันเกิดจากพระนิพพาน อันเป นคุณลั กษณะ
พิเศษของพระอรหันต สามารถที่จะเห็นพระนิพพานไดอยางถูกตองชัดเจน
การที่บุคคลที่จะไดสัมผัสในพระนิพพานอันแทจริง อยางชัดแจงไดนั้น จะ
อาศัยเพียงสุ ตมยปญญา คือปญญาที่เ กิด จากการฟง หรื ออาศัย จิ นตามย
ปญญา คือ ปญญาที่เกิดจากจินตนาการตามอัธยาศัยนั้นไมได โดยแทจริง
แลวตองอาศัยปญญาที่เรียกวา ภาวนามยปญญา คือ ปญญาที่เกิดจากการ
เจริ ญวิ ป ส สนากรรมฐานเทานั้ น ซึ่ งพระนิ พานอัน เป น นิ ส สรณวิ มุต ติ นี้ มี
สภาพที่ดับกองทุกขแลว เป นภาวะที่สุขสู งสุด เพราะไรกิเลสไรทุกข เป น
๕๕
สํ.ม.อ. (ไทย) ๕/๑/-/๔๑๘.
๕๖
ขุ.อุ.อ. (ไทย) ๑/๓/-/๕๒.
๘๕๑
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
อิสระภาพสมบูรณเปนการเสวยสุขในพระนิพพพานอันเปนความสุขอันสงบ
เงียบและสิ้นสูญที่สุดในโลก เขาถึงพระนิพพานอันเปนแดนที่เปนบรมสุขโดย
ประการทั้งปวง
วิมุตติเปนผลอันเกษมสูงสุดที่สามารถหลุดจากเครื่องผูกจากอาสวะ
กิเลสทั้งปวง ไดปญญาอันนําไปสูการกําจัดอวิชชาไดแลว ทําใหผูนั้นหลุดพน
จากกิ เ ลสเครื่ องผู กมัด ทั้งปวง๕๗ วิ มุต ติ มี ๕ ขั้น คื อ ๑) ตทัง ควิ มุต ติ ๒)
วิกขัมภนวิมุตติ ๓) สมุทจเฉทวิมุตติ ๔) ปฏิปสสัทธิวิมุตติ ๕) นิสสรณวิมุตติ
แผนภาพแสดงลําดับของวิมุติ ๕ ขั้นดังนี้

ในผลสมาบัติ วิมุตติมุงถึงปฏิปสสัทธิวิมุตติ ภาวะที่กิเลสสงบระงับ


ไปในขณะแหงผลจิต๕๘ เปนความหลุดพนอันมีสภาพสงบเย็นเปนอยางยิ่ง
และมีสภาพเปนความสุขวิเศษ ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากที่สมุจเฉทปหานไดทําการ
ประหาณสังโยชนใหหมดสิ้นไปจากขันธสันดานแลว องคธรรมไดแก ผลญาณ

๒. การเขาผลสมาบัติ
๒.๑ ผลสมาบัติ
ผล (ผลจิต) + สมาปตฺติ (การเขาถึง) ๕๙ หมายถึง การเขาถึงผลจิต
ของพระอริยบุคคล ที่เกิดขึ้นสืบตอกันทางมโนทวารโดยไมมีภวังคจิตเกิดคั่น
ตลอดเวลาที่อธิษฐานไว เปนการเขาอยูในอารมณพระนิพพาน ที่ไดมาจาก

๕๗
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธ)ิ , วิปส สนากรรมฐาน, หนา ๘๐๑.
๕๘
ขุ.อุ.อ. ๑/๓/๓๘/๕๒.
๕๙
ขุ.ป.อ (ไทย) ๗/๑/๕๕/๓๑๒.
๘๕๒
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
อริยผลญาณ ที่เกิดแกตน เพื่อเสวยเสวยวิมุตติสุข หรือ โลกุตตรสุข
คัมภีรมัชฌิมนิกาย มหาเวทัลลสูตรอธิยายวา ขณะที่กําหนดสังขาร
นิมิต อันไดแก รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณเปนอารมณ อยูดีๆก็
สลัดทิ้งอารมณเหลานั้นหมด ถัดจากนั้นชวงที่ขณะจิตเขานิพพานธาตุ อัน
สงบปราศจากอารมณตางๆ นั่นแหละ คือ การเขาผลสมาบัติ๖๐
คัมภีรอรรถกถาขุททกนิกายอธิบายวา ผลสมาบัติเปนโลกุตรฌาน
จิต เปนวิบากแหงโลกุตรกุศลจิต อันมีพระนิพพานเปนอารมณอยางเดียว๖๑
คัมภีรวิสุทธิมรรคอธิบายวา ผลสมาบั ติคือการเขาอยูในความดั บ
(นิโรธ) ของอริยผลจิต๖๒
ถาม : ผลสมาบัติคืออะไร? ตอบ : ผลสมาบัติ คือ ความแนบอยูใน
นิโรธแหงอริยผล๖๓
ถาม : ใครเขาผลสมาบัติได ใครเขาไมได? ตอบ : บุถุชนทั้งปวงเขา
ไมได เพราะยังไมไดบรรลุ อริยผล สวนพระอริยะทั้งปวงเขาได เพราะได
บรรลุอริยผลแลว แตวาพระอริยะชั้นสูง ยอมไมเขาผลสมาบัติชั้นต่ํา เพราะ
ผลชั้นต่ําระงับไปแลว ดวยการเขาถึงความเปนบุคคลอื่น พระอริยะชั้นต่ํา
ระงับไปแลว ดวยการเขาถึงความเปนบุคคลอื่น พระอริยะชั้นต่ําเลา ก็เขาผล
สมาบัติชั้นสูงหาไดไม เพราะยังไมไดบรรลุ อันพระอริยะทั้งหลาย ยอมเขา
ผลสมาบัติของตนๆ เทานั้น
บางคนกลาววา "แมพระโสดาบันและพระสกทาคามีก็เขาไมได พระ
อริยะชั้นสูงเทานั้นจึง เขาได เพราะพระอริยะชั้นสูง ๒ พวกนั้นบริบูรณดวย
สมาธิแลว" วินิจฉัยวา : ที่กลาวอางเชนนั้นไมถูกตองเลย เพราะแมปุถุชนก็
เขาโลกิยสมาธิที่ตนไดแลวได แตวาประโยชนอะไรดวยการคิดวาเปนเหตุไม
เปนเหตุในขอนี้เลา เพราะเหตุนั้น จึงควรถึงความตกลงในปญหากรรมขอนี้

๖๐
ดูรายละเอียดใน ม.มู (ไทย) ๑๒/๔๕๘/๔๐๗.
๖๑
ขุ.อุ.อ. (ไทย) ๑/๓/๓๘/๕๓.
๖๒
พระพุทธโฆสเถระ. คัมภีรวิสุทธิมรรค, ๒๕๖๐, หนา ๑๑๘๕ - ๑๑๘๙.
๖๓
วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๓ ตอน ๒ - หนาที่ 274
๘๕๓
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ไดวา "พระอริยะทั้งปวงทุกชั้นยอมเขาผลสมาบัติของตนๆ ได"
ถาม : เขาผลสมาบัติเพื่ออะไร?
ตอบ : เพื่อทิฏฐธรรมสุขวิหาร (ความพักอยูสําราญในปจจุบันชาติ)
เหมือนอยางพระราชาเสวยรัชสุข เทวดาทั้งหลายอริยโลกุตรสุข ฉันใด พระ
อริยะทั้งหลายคิดวา เราทั้งหลายจักเสวยอริยโลกุตรสุข ทําอัทธานปริเฉท
(กําหนดกาล) แลวก็เขาผลสมาบัติในทุกขณะที่ตองการ ฉันนั้น
ถาม : เขาผลสมาบัติอยางไร ยั้งอยูอยางไร ออกอยางไร?
ตอบ : อันดับแรก การเขาผลสมาบัตินั้นยอมมีดวยอาการ ๒ คือ
เพราะไมมนสิการถึงอารมณอื่นจากพระนิพพาน๑ เพราะมนสิการถึงแตพระ
นิพพาน๑ ดังพระธัมมทินนาเถรีกลาว (แกวิสาขอุบาสก) วา "ดูกรอาวุโส
ปจจัยแหงการเขาอนิมิตตาเจโตวิมุติมี ๒ คือ ไมมนสิการถึงนิมิตทั้งปวง ๑
มนสิการถึงแต ธาตุอันไมมีนิมิต คือ นิพพาน ๑
ในอภิธัมมัตถสังคหะ ไดแสดงไววา “สพฺเพสมฺป ยถาสกํ ผลวเสน
สาธารณาว”๖๔ พระอริยบุคคลทั้งหมดยอมเปนสาธารณแกผลสมาบัติวิถี
โดยอาศัยผลของตนเอง หมายถึง พระอริยบุคคลทั้งหมดทําใหผลสมาบัติวิถี
เกิดขึ้นได คือเขาผลสมาบัติได พระโสดาบันยอมเขาโสดาปตติผลสมาบัติ
พระสกทาคามี ย อ มเข า สกทาคามิ ผ ลสมาบั ติ พระอนาคามี ย อ มเข า
อนาคามิผลสมาบัติ พระอรหัตนยอมเขาอรหัตผลสมาบัติ
ในวิสุทธิมรรคไดแสดงถึงเกจิวาทะที่แยงไววา
“ในการเขาผลสมาบั ตินั้น ผูเขาตองเปน พระอนาคามีและพระ
อรหัตนเทานั้นจึงจะเขาได สวนพระโสดาบันและพระสกทาคามีเนื่องจากยัง
มีสมาธิไมบริบูรณจึงไมสามารถเขาได”
มีวินิจฉัย (ในคัมภีรวิสุทธิมรรค) วา “แมปุถุชนผูเปนเจาของทรัพย
สมบั ติ ข องตนเองคื อ โลกี ย ฌาน ก็ ส ามารถเข าฌานของตนได ฉะนั้ น
อริยบุคคลผูเปนเจาของทรัพยสมบัติของตนคือผลสมาบัติ เหตุใดจึงจะเขา
๖๔
ธรรมบท, อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห อภิธรรมฺมภตฺวิภาวินีนาม
อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา, พิมพครั้งที่ ๗ (: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘), หนา ๕๗.
๘๕๔
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ไมได ยอมเขาไดแนนอน” ในปฏิสัมภิทามรรคพระบาลี แสดงไววา “โสตา
ปตฺติผลสมาปตฺตตฺถาย สกทาคามิผลสมาปตฺตตฺถาย อุปฺปาทํ อภิภุยฺยตีติ
โคตฺ ร ภู ”๖๕ พระบาลี นี้ เ ป น การแสดงถึ ง โสตาป ต ติ ผ ลสมาบั ติ และ
สกทาคามิผลสมาบัติโดยตรง เพราะฉะนั้น พระโสดาบันและพระสกทาคามี
ยอมเขาผลสมาบัติของตนๆ ไดแนนอน (ซึ่งตรงกันกับที่วิสุทธิมรรควาไว)
ผลสมาบั ติ คื อ จิ ต ที่ เ ข า ถึ ง อริ ย ผล หรื อ จิ ต เข า อยู ใ นอริ ย ผล มี
นิพพานเปนอารมณ นับเปนโลกุตตรสมาบัติ๖๖ ดังที่พระธรรมธีรราชมหามุนี
อธิบายวา ผลสมาบัติ คือการเขาไปชมผลของมรรคที่ตนไดแลวนั้น อธิษฐาน
ใหจิตดับสงบเงียบ โดยไมรูสึกตัวเลย ประมาณ ๕ นาที จนถึง ๒๔ ชั่วโมง
หรือ ๗ วัน ๗ คืนก็ได แลวแตกําลังแหงสมาธิ ถาสมาธิดีก็อยูไดนาน๖๗
พระธรรมสิงหบุราจารย(จรัญ ฐิตธัมโม) อธิบายวา ผลสมาบัติ คือ
การทรงอยูในผล ผูที่ปฏิบัติจนไดถึงมรรคผล ผลญาณตอไปก็จะดํารงอยูใน
ผล โดยผลที่ไดรับคือ การปลอยวางซึ่งสังขารธรรมตางๆ ดับสงบนิ่งอยูโดย
ไมมีอารมณใดๆ มาเกาะเกี่ยวใหจิตไดรับรูทั้งสิ้น อันเปนอารมณพระนิพพาน
ที่ไมมีนิมิต ไมมีรูปพรรณสัณฐานใดๆ อันจะใหรูวาเปนอะไร อยูที่ไหน๖๘
พระบวรปริยัติวิธาน (บุญเรือง สารโท) บอกวา ผลสมาบัติ คือการ
เขาอยูในอารมณของพระนิพพาน ที่ไดจากอริยมรรคญาณที่เกิดขึ้นแลว ผล
สมาบัตินี้ ปุถุชนทั่วไปเขาไมได แมวาจะไดรูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ แลวก็ดี ก็
ไมอาจที่จะเขาผลสมาบัติได เขาไดเฉพาะพระอริยบุคคลเทานั้น๖๙

๖๕
ขุ.ปฏิ.(ไทย)๓๑/๖๐/๙๗
๖๖
วรรณสิทธิ ไวทยะเสวี, คูมือการศึกษา พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่
๔,พิมพครั้งที่ ๕, หนา ๙๗ – ๑๐๐.
๖๗
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธิ ป.ธ. ๙), คูมือสอบอารมณ
กรรมฐานวิชาครู.
๖๘
พระภาวนาวิ สุ ท ธิ คุ ณ (จรั ญ ฐิ ต ธั ม โม), คู มื อ วิ ป ส สนาจารย ,
(กรุงเทพมหานคร: หอรัตนชัยการพิมพ, ๒๕๓๓), หนา ๑๑๑ – ๑๑๕.
๖๙
พระบวรปริยัติวิธาน (บุญเรือง สารโท), แสงสวางทางปฏิบัติ เลม ๔, พิมพ
ครั้งที่ ๑, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ บริษัท ธนาเพรส จํากัด, ๒๕๕๓), หนา ๘๖.
๘๕๕
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
สยาดอภัตทันตะวิโรจน บอกวา หลังจากการเขาสูความดับสังขาร
ครั้ งแรก ด ว ยอํานาจของมรรคญาณแล วการเขาสู ความดั บ สั งขารในครั้ ง
ต อๆไป ซึ่งเขาได โ ดยไมมีร ะยะเวลาจํ ากัด เฉพาะ สามารถเขาสู ความดั บ
สังขารไดหลายๆ ครั้งและเปนระยะเวลานานๆ เรียกวาการเขาผลสมาบัต๗๐ ิ
บุคคลที่สามารถเขาผลสมาบัติได
บุคคลที่เขาผลสมาบัติไดตองเปนผูเจริญวิปสสนา จนบรรลุมรรค
ผล นิพพาน เปนพระอริยบุคคล ดังเชน พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระ
อนาคามี หรือ พระอรหันต สวนปุถุชนจะเขาผลสมาบัติไมได แมวาจะไดรูป
ฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ แลวก็ดี ก็ไมอาจที่จะเขาผลสมาบัติได เหตุเพราะยังไม
เคยบรรลุมรรคผล ไมเคยพบเห็นอารมณนิพพานมากอน
สวนพระอริยอริยบุคคลนั้นๆ จะเขาผลสมาบัติไดก็เฉพาะอริยผลที่
ตนไดครั้งสุดทายเทานั้น๗๑ แมอริยผลที่เคยไดผานมาแลวก็ไมสามารถที่จะ
เขาผลสมาบัติดวยผลจิตที่ผานมาแลวนั้นได เชน ผูไดบรรลุเปนพระอรหันต
แล ว จะมาเข าผลสมาบั ติ ข องพระอนาคามี ไม ได เป น ต น กล าวคือ พระ
โสดาบั น ต อ งเข าผลสมาบั ติ ด ว ยโสดาป ต ติ ผ ลจิ ต พระสกทาคามี เ ข า ผล
สมาบัติดวยสกทาคามีผลจิต พระอนาคามีเขาผลสมาบัติดวยอนาคามีผลจิต
และพระอรหันตเขาผลสมาบัติไดดวยอรหัตผลโดยเฉพาะเชนกัน๗๒
ลําดับการเขาผลสมาบัติ
พระอริยสาวกผูมีความประสงคจะเขาผลสมาบัติ พึงไปในที่ลับคน
ปลีกตัวอยูผูเดียว ทําวิปสสนาเพงพิจารณาสังขารโดยวิปสสนาญาณ ตั้งแต
ญาณที่ ๔ อุทยัพพยญาณ เปนตนไป จิตของพระอริยสาวกผูมีวิปสสนาญาณ
ตามลําดับเปนไปแลว ยอมแนบแนนในนิโรธ โดยเปนผลสมาบัติ ในลําดับ

๗๐
สยาดอภัททันตวิโรจนะ, วิธีเจริญมหาสติปฏฐาน เลม ๒, พิมพครั้งที่ ๑,
(กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพดีเอ็มจี), หนา ๒๒๙.
๗๑
ดูรายละเอียดใน ขุ.อุ.อ.(ไทย) ๑/-/๓/๕๓.
๗๒
ที.ปา.อ. ๓/๙๓/๒๓๒.
๘๕๖
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
แหงโคตรภูญาณอันมีสังขารเปนอารมณ ในการเขาผลสมาบัตินี้ เพราะความ
ที่พระอริยสาวกนั้นนอมจิตไปเพื่อผลสมาบัติ จึงเกิดแตผลเทานั้นแมแกพระ
เสขะ มรรคหาเกิดขึ้นไม
บางคนกลาวา "พระโสดาบันประสงควาจักเขาผลสมาบัติ ทํา
วิปสสนาไปก็เปนพระสกทาคามี
พระสกทาคามีเลา...ตั้งใจทําวิปสนาไปก็เปนพระอนาคามี" คํา
กลาวเชนนี้ไมถูกตอง เพราะวา "เมื่อเปนอยางนั้น พระอนาคามีตั้งใจทํา
วิปสสนาไปก็จักเปนพระอรหันต พระอรหันต...ก็จักเปนพระปจเจกพุทธ
และพระปจเจกพุทธ...ก็จักเปนพระพุทธเจาไดละซิ" เพราะเหตุนั้น คําของ
อาจารยเหลานั้นนั่นจึงไมควรยึดถือ
เรื่องนี้มีอธิบายอยูแลวในเรื่องโคตรภูธรรม ๑๐ ซึ่งแยกวิปสสนา
สําหรับมรรคและสําหรับผลเปนคนละอยางดวย แมเพราะเหตุนี้ จึงไมควร
ถือเอาแตนี่เทานั้น คือ "ผลเทานั้นเกิดขึ้นแมแกพระเสขะ มรรคหาเกิดขึ้น
ไม ผลที่เกิดขึ้นเลา ถามรรคที่พระอริยบุคคลผูนั้นไดบรรลุเปนปฐมฌานิ
กมรรค (มรรคมีปฐมฌาน) ก็เปนปฐมฌานิกผลเหมือนกัน เกิดขึ้นแกพระ
อริยบุคคลผูนั้น ถามรรคเปนทุติยฌานิกะ ผลก็เปนทุติยฌานิกะเปนตน
มรรคเปนฌานิกะใดฌานิกะหนึ่ง ผลก็เปนฌานิกะใดฌานิกะหนึ่งเหมือนกัน"
๒.๒ วัตถุประสงคในการเขาผลสมาบัติ
การเขาผลสมาบั ติ เ ป น การเขาอยู ในอารมณพระนิพพานเป น ทิฏ
ธรรมสุขวิหาร๗๓ อันสืบเนื่องมาแตอารมณของผลจิต ที่ไดมาจากอริยผล
ญาณ ที่เกิดแลวแกตน เพื่อเสวยโลกุตรสุข หรือ เพื่อวิมุตติสุข ซึ่งเปนความ
สงบสุขที่พึงเห็นประจักษไดในปจจุบัน อันเปนความสงบสุขที่เนื่องมาจาก
ความดับของอาสวกิเลส เพราะอํานาจแหงมรรคจิตที่เกิดขึ้นเพียงขณะจิต
เดียวเทานั้นเอง และสามารถประหาณกิเลสเปนสมุจเฉทปหาน
การเขาผลสมาบัติ คือ การพักผอนแบบพระอริยะ ไมไดเจริญมรรค
เพื่อทําลายกิเลสในขณะนั้น แบบเดียวกับที่พระพุทธเจาทรงเสวยวิมุตติสุข
๗๓
สํ.นิ.อ (บาลี) ๒/๕๘๑/๖๗๒.
๘๕๗
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
๔๙ วัน หลังตรัสรูใหมๆ คือ พระองคทรงเขาผลสมาบัติ นั่นเอง
๒.๒ กระบวนการในการเขาผลสมาบัติ
ผูเจริญวิปสสนา จนบรรลุมรรค ผล นิพพาน เปนพระอริยบุคคล มี
พระโสดาบันเปนตน เมื่อประสงคจะกระทําจิตใหเขาอยูในอารมณนิพพานที่
ผลญาณ ก็ยกเอา รูป-นาม มาเปนอารมณ เปนตัวกําหนด โดยเมื่อจะเขาผล
สมาบั ติ นั้ น ต องตั้ งความปรารถนาโดยอธิ ษฐานว า จะอยู ใ นผลสมาบั ติ มี
กําหนดเวลานานสักเทาใด
๑) เริ่มตนอธิษฐาน
การเขาผลสมาบัติไดนั้น ตองตั้งจิตอธิษฐาน๗๔ วา ”โลกุตรธรรมที่
ขาพเจาได บ รรลุ แลว จงบั งเกิด ขึ้น และอารมณที่เ ป นสั งขตธรรมจงดั บ ไป
ตลอดเวลา ๑ ชั่วโมง” หรือ ขอใหจิตสงบตั้งอยูนาน ๕ นาที ๑๐ นาที หรือ
๑ ชั่ ว โมง เป น ต น ก็ ข อให ผ ลจิ ต ที่ ป รากฏแก ต นนั้ น เกิ ด ขึ้ น ตามความ
ปรารถนาเถิด แลวก็ปฏิบัติตามแนวสติปฏฐานทั้ง ๔ กลาวคือ กําหนดรูป
นามที่กําลังเกิดอยูภายในตน
๒) การเจริญวิปสสนาญาณ
พิจารณารูปนาม เห็นความเกิด-ดับของรูปนาม ดวยอุทยัพพยญาณ
ที่ ๔ ทันทีที่กําหนด เนื่องดวยพระอริยบุคคลนั้นไดรูแจงรูป-นาม พรอมดวย
เหตุปจจัย และเห็น รูป-นาม เปนพระไตรลักษณ ไมแปรผันแลว จึงไมตอง
พิจารณานามรูปปริจเฉทญาณ ปจจัยปริคคหญาณ และสัมมสนญาณ ซ้ําอีก
วิ ป ส สนาญาณจึ ง เริ่ ม ที่ อุท พยั พ พยญาณ และตามด ว ยวิ ป ส สนา
ญาณตางๆ เปนลําดับขึ้นไปถึงอนุโลมญาณ หลังจากนั้นจิตก็จะสลัดอารมณ
ที่เปนรูป-นาม อันเปนอารมณประเภทโลกียะทิ้ง ถัดจากนั้นจิตก็จะเขาถึง
นิโรธ ดับอารมณโลกิยะ นอมเขาสูผลสมาบัติ ไดพระนิพพานเปนอารมณ๗๕
อันเปนอารมณประเภทโลกุตระ
๗๔
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๔๒/๖๐๘-๖๐๙.
๗๕
พระพุทธโฆสเถระ. คัมภีรวิสุทธิมรรค. ๒๕๕๔.หนา ๑๑๘๔ – ๑๑๘๙.
๘๕๘
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
๓) การเขาผลสมาบัติ
การเขาถึงผลสมาบัตินั้น มรรคจิตเกิดไมได แมจะไดอัปปนาสมาธิ
เพราะอํานาจของวิปสสนาแลวก็ตาม อัปปนาสมาธินั้นจะไมทําใหเกิดมรรค
วิถีเปนอันขาด อัปปนาสมาธิที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้นในลําดับผลชวนวิถี คือเกิดใน
ลําดับแหงผล เมื่อเขาถึงที่แลวก็เปนผลสมาบัติ เหตุที่มรรคจิตไมเกิดขึ้นนั้น
เพราะวาอัชฌาสัยนอมไปในผลสมาบัติแลว๗๖
๔) สภาวะที่ตั้งอยูในผลสมาบัติ๗๗
สภาวะที่ตั้งอยูในผลสมาบัติ ตั้งอยูดวยหลัก ๓ ประการ คือ
๑) ไมเอา รูป นาม ขันธ ๕ เปนอารมณ
๒) นอมเอานิพพานมาเปนอารมณ
๓) เมื่อยังไมครบเวลาที่กําหนดไว ก็ยังอยูในผลสมาบัติ จนกวาจะ
ครบเวลา
๕) กระบวนการในการออกจากผลสมาบัติ
หลั ง จากเข า ผลสมาบั ติ ค รบตามเวลาที่ กํ า หนดไว ผลจิ ต ที่ เ กิ ด
ติดตอกันมาก็เกิด ขึ้นเปนครั้งสุดทายแลวดับลง ตอจากนั้นภวังคจิตเกิดขึ้น
ต อ กั น ทั น ที เมื่ อ จะออกจากผลสมาบั ติ จิ ต จะได อ ารมณ นิ มิ ต ได แ ก รู ป
เวทนา สั ญญา สั งขาร และวิ ญญาณ หรื อ รู ป นาม อัน ใดอัน หนึ่ ง ซึ่งเป น
อารมณแหงภวังคจิต เมื่อจิตไปยึดเอาอารมณนิมิตนั้นแลว ก็จะพรากจาก
อารมณพระนิพพาน ออกจากผลสมาบัติ ถอยมาสูอารมณปจจุบัน๗๘
๖) นิพพานที่เปนอารมณของผลสมาบัติ
นิพพานที่เปนอารมณของผลสมาบัตินี้ มีชื่อเรียกได ๓ อยาง ตาม
อาการที่เขาสูความดับนั้น มีลักษณะตางกัน๗๙ ดังนี้
๗๖
ขุ.อุ.อ. (ไทย) ๑/๓/๓๘/๕๕-๕๖.
๗๗
ดูรายละเอียดใน ม.มู ๑๒/๔๕๘/๔๐๗.
๗๘
ดูรายละเอียดใน ขุ.อุ.อ ๑/๓/๓๘/๕๗.
๗๙
พระสัทธัมมโชติกะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๒ วิปสสนากรรมฐาน,
หนา ๒๔๗-๒๕๑.
๘๕๙
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
๑) อนิ มิ ต ตนิ พ พาน หมายถึ ง นิ พ พานที่ เ ป น อารมณแ กผู ที่เ ห็ น
อนิ จ จั ง ผู ม นสิ ก ารโดยความไม เ ที่ ย ง ย อ มนํ า จิ ต ออกไปสู นิ พ พาน อั น
ปราศจากนิมิตเครื่องหมาย ซึ่งเปนความดับดวยอํานาจแหง อนิมิตตวิโมกข
สําหรับผูที่สะสมบุพกรรมดานศรัทธามาก คือมีสัทธินทรียแรงกลา
เมื่อเจริญวิปสสนาภาวนาไปตามลําดับ วุฏฐานคามินีวิปสสนากําลังดําเนิน
อยูนั้น(อนุโลมญาณ) ๘๐ เขาใกลสูความดับหรือเขาสูอารมณนิพพาน ผูปฏิบัติ
จะเห็นอนิจจลักษณของสังขารธรรม รูป-นาม โดยความเปน อนิจจัง เห็น
ความไมเที่ยง เห็นอาการ เกิด-ดับ ชัดเจนมากที่สุด
เพราะอนิจจลักษณะมีกําลังแรงมากกวาพระไตรลักษณอื่นๆ เปน
เหตุใหผูปฏิบัติสามารถเห็นรูปนามที่ปรากฏ เชน อาการ พอง-ยุบ จะแสดง
อาการสุขุมละเอียดเปนอยางยิ่ง นิ่มนวล พริ้วเบา แลว พอง-ยุบ คอยๆเร็ว
เขาๆ จนถี่ๆ และดั บ ไปในที่สุ ด เหมือนกับ ว าลื มตั ว ไปไมรู ตั ว เมื่อเขาผล
สมาบั ติ นิ พ พานที่ เ ป น อารมณ แ ก ผู ที่ เ ห็ น อนิ จ จั ง ชื่ อ ว า อนิ มิ ต ตนิ พ พาน
เพราะบุญญาธิการแตปางกอนเปนผูอบรมมามากดวย ศีล
๒) อัปปณิหิตนิพพาน หมายถึง นิพพานที่เปนอารมณแกผูที่เห็น
ทุกข ผูมนสิการโดยความเปนทุกข ยอมนําจิตออกไปสูนิพพาน คือ การสงัด
จากความดิ้นรนอันเปนเหตุใหเกิดสรรพทุกข ซึ่งเปนความดับดวยอํานาจแหง
อัปปณิหิตวิโมกข ๘๑
สําหรับผูที่สะสมบุพกรรมทางดานสมาธิมาก คือมีสมาธินทรียแรง
กลา เมื่อเจริญวิป สสนาภาวนาไปตามลําดั บ วุฏ ฐานคามินีวิ ปสสนากําลั ง
ดําเนินอยูนั้น เขาใกลสูความดับหรือเขาสูอารมณนิพพาน ทุกขลักษณะจะมี
กําลังมาก รูป-นาม จะแสดงอาการทุกขโดยเห็นความทนอยูไมไดของ รูป-

๘๐
พระโสภณมหาเถระ, วิปสสนาชุนี หลักการปฏิบัติวิปสสนา (ฉบับ
สมบูรณ), แปลโดย จํารูญ ธรรมดา, (กรุงเทพมหานคร: หจก.ประยูรสาสนไทย การ
พิมพ, ๒๕๕๓), หนา ๕๖๖.
๘๑
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒๓/๓๘๙.
๘๖๐
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
นามทั้งหลาย ไมมีอะไรเปน “ปณิธิ” อันหาเปนที่ตั้งไมได ตองเปลี่ยนแปรไป
ตองถูกบีบคั้นใหทําลายไปอยูเปนนิตย คือ ทุกขังชัดเจนมากที่สุด
เพราะทุกขลักษณมีกําลังแรงมากกวาพระไตรลักษณอื่นๆ เปนเหตุ
ใหผูปฏิบัติเห็นรูปนามแสดงความเปนทุกข โดยปรากฏอาการทุกขเวทนา
ขึ้นมาอยางแสนสาหัส แลวจิตดับขาดไป ทั้งๆที่มีสติติ่เนื่องดีอยู เชน เกิด
อาการ เจ็ บ ปวด แน น หน าอกจนถึงลําคอ กําหนดไป ไมรู สึ กตั ว ดั บ ไปใน
ที่สุด๘๒ นิพพานทีเ่ ปนอารมณแกผูที่เห็นทุกข ชื่อวาอัปปณิหิตนิพพาน เพราะ
บุญญาธิการแตปางกอนนั้น เปนผูอบรมมามากดวย สมาธิ
๓.) สุ ญ ญตนิ พ พาน หมายถึ ง นิ พ พานที่ เ ป น อารมณ แ ก ผู เ ห็ น
อนัตตา ผูมนสิการโดยความเปน อนัตตา ความไมใชตัวตนของสังขารธรรม
ย อ มนํ า จิ ต ออกไปสู นิ พ พาน ซึ่ ง เป น ความดั บ ด ว ยอํ า นาจแห ง สุ ญ ญต
วิโมกข๘๓
สําหรับผูที่สะสมปญญาบารมีมามาก เคยปฎิบัติวิปสสนามากอนใน
อดี ต ชาติ มี ป ญญิ น ทรี ย แ รงกล า เมื่ อเจริ ญวิ ป ส สนาภาวนาไปตามลํ าดั บ
เมื่อวุฏฐานคามินีวิปสสนากําลังดําเนินอยูนั้น เขาใกลสูความดับหรือเขาสู
อารมณนิพพาน ผูปฏิบัติจะเห็นรูป-นาม แสดงความเปนอนัตตา เห็นความ
ไมใชตัวตนบังคับบัญชาไมได ปรากฏอยางชัดเจน
เพราะอนัตตลักษณมีกําลังแรงกลากวาพระไตรลักษณอื่นๆ เปนเหตุ
ทําใหผูปฏิบัติสามารถเห็นรูปนาม มีอาการละเอียดสุขุมยิ่งขึ้น เชน อาการ
พอง-ยุบมีอาการนิ่มนวล นั่งถูกจางหาย เหลือแตจิตรู กําหนดจิตรูไป อาการ
จิตรูคอยๆ เล็กลงๆ เหมือนเสนดายที่เล็กที่สุด เบาบางแลวดับขาดหายไป๘๔
เมื่อเขาผลสมาบัติ นิพพานที่เปนอารมณแกผูเห็นอนัตตานั้นมีชื่อวา สุญญต
นิพพาน เพราะบุญญาธิการแตปางกอนนั้น เปนผูอบรมมากดวยปญญา
การเสวยวิมุตติสุข กับ การเขาผลสมาบัติ
๘๒
มหาสีสยาดอ เทปบรรยาย เทศนาลําดับญาณ.
๘๓
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒๘/๓๘๖.
๘๔
มหาสีสยาดอ เทปบรรยาย เทศนาลําดับญาณ.
๘๖๑
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
คัมภี ร อรรถกถา๘๕ อธิ บ ายว า วิ มุต ติ สุ ขนี้ นั้ น มี ๒ อย าง โดยการ
จําแนกความเปนไปของผลจิต คือ ในมรรควิถี ๑ ในกาลอื่น ๑ ผลจิต ๓
หรือ ๒ ขณะ ที่มีพระนิพพานเปนอารมณ อันเปนผลของวิมุตติสุขนั้นๆ ยอม
เกิดขึ้นในลําดับอริยมรรคแตละมรรค เพราะโลกุตรกุศลมีวิบากในลําดับ
ในคราวที่อนุโลมจิต ๒ ดวงเกิดในชวนวาระที่อริยมรรคเกิดขึ้น จิต
ดวงที่ ๓ จัดเปนโคตรภูจิต ดวงที่ ๔ จัดเปนมรรคจิต ตอแตนั้นไปเปนผลจิต
๓ ดวง แตในคราวที่อนุโลมจิตเกิดขึ้น ๓ ดวง จิตดวงที่ ๔ เปนโคตรภูจิต
ดวงที่ ๕ เปนมรรคจิต ตอแตนั้นไปเปนผลจิต ๒ ดวง จิตดวงที่ ๔ ที่ ๕ ยอม
เปนไปดวยอํานาจอัปปนา ตอแตนั้นเปนไปไมไดอีก เพราะใกลตอภวังคจิต
แตผลจิตในกาลอื่น ยอมเปนไปดวยผลสมาบัติ และที่เกิดขึ้นแก
ทานผู ออกจากนิโ รธสมาบั ติ ทานสงเคราะห ดว ยผลสมาบัติ นั้ นเอง ก็ผ ล
สมาบัตินี้วาโดยอรรถ เปนวิบากแหงโลกุตรกุศลจิต อันมีพระนิพพานเปน
อารมณ พึงทราบวาเปนอัปปนา
ถามวา ผลสมาบัตินั้น พวกไหนเขาได พวกไหนเขาไมได?
ตอบวา ปุถุชนทั้งหมดเขาไมไดเพราะยังไมไดบรรลุ อนึ่ง พระอริย
เจาชั้นต่ําก็เหมือนกัน เขาผลสมาบัติชั้นสูงไมได แมพระอริยเจาชั้นสูงก็ไม
เขาผลสมาบัติชั้นต่ําเหมือนกัน เพราะทานสงบระงับดวยการเขาถึงความเปน
บุคคลอื่น พระอริยเจานั้นๆ ยอมเขาผลสมาบัติของตนๆ เทานั้น แตอาจารย
บางพวกกลาววา พระโสดาบันบุคคลและพระสกทาคามีบุคคล ยอมไมเขา
ผลสมาบัติ พระอริยบุคคลชั้นสูง ๒ พวกเทานั้น ยอมเขาได เพราะทาน
กระทําใหบริบูรณในสมาธิ ขอนั้นไมใชเหตุ เพราะแมปุถุชนก็เขาโลกิยสมาธิ
ที่ต นได อี ก อย า งหนึ่ ง จะป ว ยกล า วไปไยด ว ยการคิ ด ถึ ง เหตุ ใ นข อ นี้ .
สมจริงดังที่ทานกลาวไวในปฏิสัมภิทาวา สังขารุเบกขาญาณ ๑๐
เหลาไหน เกิดขึ้นดว ยวิป สสนา โคตรภูธรรม ๑๐ เหล าไหน เกิดขึ้นดว ย
วิปสสนา ในการแกปญหาดังกลาวนี้ ทานกลาวถึงการเขาผลสมาบัติของพระ
อริยเจาเหลานั้นวา เพื่อประโยชนแก โสดาปตติผลสมาบัติ เพื่อประโยชน

๘๕
ขุทฺทกนิกายฏฐกถา อุทานวณฺณนา (ปรมตฺถทีปนี), หนา ๕๐.
๘๖๒
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
แกสกทาคามิผลสมาบัติ เพราะฉะนั้น จึงตกลงกันในขอนี้วา พระอริยเจาแม
ทั้งปวงยอมเขาผลสมาบัติตามที่เปนของตน.
ถามวา ก็เพราะเหตุไร พระอริยเจาเหลานั้นจึงเขาสมาบัติ?
ตอบว า เพื่ออยู เ ป นสุ ขในป จ จุ บั น. เหมือนอยางว า พระราชา
ทั้งหลายเสวยสุขในราชสมบัติ เทวดาทั้งหลายเสวยทิพยสุข ฉันใด พระอริย
เจาทั้งหลายก็ฉันนั้น ยอมกําหนดกาลวา จักเสวยโลกุตรสุข จึงเขาผลสมาบัติ
ในขณะที่ตองการ.
ถามวา ก็ผลสมาบัตินั้น เขาอยางไร หยุดอยางไร ออกอยางไร?
ตอบวา การเขาผลสมาบัตินั้นมี ๒ อยาง คือ ไมมนสิการอารมณอื่น
จากพระนิพพาน และมนสิการถึงพระนิพพาน เหมือนดังที่ทานกลาวไววา
ทานผูมีอายุ ปจจัยแหงการเขาเจโตวิมุตติสมาบัติ อันไมมีนิมิต มี ๒
อยาง คือการไมมนสิการถึงนิมิตทั้งปวง และการใสใจถึงธาตุที่หานิมิตมิได
มีลําดับการเขาผลสมาบัติ ดังนี้ พระอริยสาวกผูตองการผลสมาบัติ
ไปในที่ลับ หลีกเรนอยู พึงพิจารณาสังขารดวยอุทยัพพยญาณเปนตน เมื่อ
ทานมีวิปสสนาญาณโดยลําดับ อันดําเนินไปอยางนี้ จิตยอมเปนอัปปนาใน
นิโรธดวยอํานาจผลสมาบัติ ในลําดับโคตรภูญาณมีสังขารเปนอารมณ ก็ผล
จิตเทานั้นเกิด มรรคจิตไมเกิดแมแกพระเสกขบุคคล เพราะทานนอมไปใน
ผลสมาบัติ
สวนบางคนกลาววา พระโสดาบันคิดวาจักเขาผลสมาบัติของตน
แลวเจริญวิปสสนาเปนพระสกทาคามี และพระสกทาคามีคิดวาจักเขาผล
สมาบัติของตนแลวเจริญวิปสสนาไดเปนอนาคามี เชนนี้ไมถูกตอง..
เพราะเมื่อเปนเชนนั้น พระอนาคามีก็จักเปนพระอรหันต พระ
อรหั น ต ก็ จั ก เป น พระป จ เจกพุ ท ธเจ า พระป จ เจกพุ ท ธเจ า ก็ จั ก เป น
พระสัมพุทธเจา ฉะนั้น วิปสสนาจึงใหสําเร็จประโยชนตามความยินดีในจิต
สันดานตามอัธยาศัย ดวยเหตุนั้น แมสําหรับพระเสกขบุคคลก็เกิดแตผลจิต
เหมือนกัน มรรคจิตไมเกิด ถาทานบรรลุมรรคจิตที่สัมปยุตดวยปฐมฌานไซร
แมผลจิตที่สัมปยุตดวยปฐมฌานเทานั้น ก็เกิดแกทาน ถาทานบรรลุมรรคจิต
ที่สัมปยุตดวยฌานอยางใดอยางหนึ่ง ในบรรดาทุติยฌานเปนตนไซร ผลจิตที่
๘๖๓
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
สัมปยุตดวยฌานอยางใดอยางหนึ่ง ในบรรดาทุติยฌานเปนตน ก็ยอมเกิด
ถามวา ก็เ พราะเหตุ ไร ในที่นี้ โคตรภูญาณจึงไมมีนิพพานเป น
อารมณ เหมือนญาณที่เปนปุเรจาริกของมรรคญาณ?
ตอบวา เพราะผลญาณไมเปนนิยยานิกธรรม อริยมรรคเทานั้นเปน
นิยยานิกธรรม สมจริงดังคําที่ทานกลาวไววา ธรรมเหลาไหนเปนนิยยานิก
ธรรม? อริยมรรค ๔ ที่เปนอปริยาปนนะ เปนนิยยานิกธรรม.
เพราะฉะนั้น ญาณอันเปนอนันตรปจจัยแหงสภาวธรรมที่เปนนิยยา
นิกะโดยสวนเดียว ซึ่งดําเนินไปโดยสภาวะที่ออกจากทั้งสองฝาย พึงออกจาก
นิมิตไดเลย เพราะฉะนั้น โคตรภูญาณนั้น มีพระนิพพานเปนอารมณจึงจะถูก
แตวา ญาณที่เปนปุเรจาริกของผลญาณ ซึ่งมีสภาวะไมออกไป เพราะไมเปน
นิยยานิกธรรม เหตุที่ไมตัดขาดกิเลส ซึ่งกําลังเปนไปโดยเปนวิบากของ
อริยมรรคนั้น เพราะไดเจริญอริยมรรคไว แมบางคราวจะมีพระนิพพานเปน
อารมณ ก็ไมถูกไมควร เพราะอนุโลมญาณในทั้ง ๒ ฝาย มีอาการไมเสมอกัน.
จริงอยู อนุโลมญาณในอริยมรรควิถี อันถึงความบริบูรณอยางอุกฤษฏ
ดวยโลกิยญาณ อันเปนเครื่องทําลายกองโลภะเปนตนอันมากมาย ซึ่งไมเคย
แทงตลอดไดอยางดี เกิดขึ้นอนุโลมแกมรรคญาณ สวนในผลสมาบัติวิถี
อนุโลมญาณนั้นๆ ไมมีความขวนขวายในอริยมรรควิถีนั้น เพราะตัดกิเลส
นั้นๆ ไดเด็ดขาด เกิดเปนเพียงบริกรรมแหงความพรั่งพรอม ดวยสุขอันเกิด
แตผลสมาบัติของพระอริยเจาอยางเดียว เพราะฉะนั้น อนุโลมญานเหลานั้น
จึงไมมีการออกจากปจจัยไหนๆ เพราะญาณในที่สุดแหงอนุโลมญานเหลานั้น
(อันมีสังขารเปนนิมิต) พึงมีพระนิพพานเปนอารมณ จากการออกสมาบัต๘๖ ิ
โลกุตรอัปปนาวิถี ๒ อยาง
อัปปนาวิถีทั้ง ๒ คือ มรรควิถี และผลสมาบัติวิถี ฯ บรรดาวิถีทั้ง ๒
นั้น พระโยคาวจรเจริญวิปสสนา มีนามรูปเปนอารมณตั้งแตเบื้องตน เมื่อ
วิปส สนาญาณมีกําลัง (ไมห ลงทาง) แล วอุทยัพพยญาณ (ที่ ๔ ) ก็เกิดขึ้น

๘๖
ขุทฺทกนิกายฏฐกถา อุทานวณฺณนา (ปรมตฺถทีปนี) - หนาที่ 50
๘๖๔
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ดําเนินไป จนถึง สังขารุเปกขาญาณ (ฌานที่ ๘) ถาวิปสสนาญาณไมอาจ
กาวขึ้นสู สัจจานุโลมิกญาณจิตก็จะกลับมาที่อุทยัพพยญาณอีก แลวดําเนิน
ไปจนถึงสังขารุ เ ปกขาญาณ กลับ ไปกลั บ มา จนกระทั่งญาณนั้ น แกกล า
แลวขึ้นสูสัจจานุโลมิกญาณ จนกระทั่งมรรคและผลเกิด นี้เรียกวา มรรควิถี
วิถีของมันทบุคคล
ภวังคจลนะ ไดแก วิปากวิญญาณ ๑๓ ดวง
จิตพนวิถี
ภวังคุปจเฉทะ ไดแก วิปากวิญญาณ ๑๓ ดวง
มโนทวาราวัชชนะ ไดแก กิริยาอเหตุกะ ๑ ดวง
บริกรรม ไดแก กามชวนะจิต
กามวิถี อุปจาระ ไดแก กามชวนะจิต
อนุโลม ไดแก กามชวนะจิต
โคตรภู ไดแก กามชวนะจิต
มรรค ไดแก โลกุตตรกุศลจิต
ผล ไดแก โลกุตตรวิปากจิต
โลกุตตรวิถี
ผล ไดแก โลกุตตรวิปากจิต
จิตพนวิถี ภวังค ไดแก วิปากจิตเปนไปตามปกติ
สวนติกขบุคคล มีวิถีที่ตางจาก มันทบุคคลบาง คือ ในกามชวนะ
ของติกขบุคคล ไมมีจิตชื่อวา “บริกรรม” และในขณะแหงผลจิตก็มี ๓ ขณะ
ก็ขณะที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลมเกิดแลวโคตรภูก็เกิดขึ้น ทําลายปุถุชน
โคตรเพื่อกาวขึ้นสูอริยโคตรแลวมรรคจึงเกิด อนึ่ง มรรค ๓ เบื้องบน ไมมี
โคตรภู เพราะจิตบริสุทธิ์ทานจึงกลาว “โวทาน” (แทน) ทั้ง ๓ มรรคเบื้องบน
ผลสมาบัติวิถี มี ๔ ประเภท
๑. ผลสมาบัติวิถีของพระโสดาบัน เปนไปในรูปฌาน ๕
๒. ผลสมาบัติวิถขี องพระสกทาคามี เปนไปในรูปฌาน ๕
๓. ผลสมาบัติวิถีของพระอนาคามี เปนไปในรูปฌาน ๕
๔. ผลสมาบัติวิถีของพระอรหันต เปนไปในรูปฌาน ๕
ผลจิตในมรรควิถีไมเรียกวา ผลสมาบัติ เพราะไมมีบริกรรมและ
๘๖๕
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
เกิดขึ้น ๒-๓ ขณะจิตดวยอํานาจมรรค แตผลจิตในสมาบัตินี้ มีบริกรรม
โดยเฉพาะ จึงเกิดติดตอกันไปยาวนาน ตามที่ทานปรารถนา อีกอยางหนึ่ง
มรรควิถี เปนวิถีที่ทําใหสัตวพนจากทุกข สวนผลสมาบัติวิถีเปนวิถีของพระ
อริยะผู หลีกเรนเพื่ออยูเ ปนสุขในภพปจจุบั น อนึ่ งกอนที่จะเขาผลสมาบั ติ
ท า นอธิ ษ ฐานเพื่ อ ให จิ ต ตั้ ง อยู โดยกํ า หนดกาลแล ว จึ ง เข า ผลสมาบั ติ
ในวิสุทธิมรรคกลาววา พระอริยสาวก ผูปรารถนาเขาผลสมาบัติ
ไปสูที่ลับเรนอยู แลวพึงพิจารณาสังขารทั้งหลายดวยวิปสสนาญาณ ๙ มี
อุทยัพพยานุปสสนาเปนตน ในลําดับแหงโวทานอันมีสังขารเปนอารมณ จิต
ของพระอริยสาวกผูมีวิปสสนาญาณอันเปนไปโดยลําดับนั้น ก็ถึงนิโรธ คือ มี
นิพพานเปนอารมณดวยสามารถแหงผลสมาบัติ ดังนี้

ผลสมาบัติวิถี ของมันทบุคคล
ภวังคจลนะ ๑ ขณะ ไดแก ติเหตุกภวังคจิต ๑๓ ดวง
ภวังคุปจเฉทะ ๑ ขณะ ไดแก ติเหตุกภวังคจิต ๑๓ ดวง
มโนทวาราวัชชนะ ๑ ขณะ คือ กิริยาอเหตุกจิต
อนุโลม ๑ ขณะ
อนุโลม ๑ ขณะ
คือ อุปจารสมาธิ ๔ ขณะ
อนุโลม ๑ ขณะ
อนุโลม ๑ ขณะ
ผลจิต มีนิพพานเปนอารมณเกิดตอกันไปตามกําหนด ภวังคเกิด
ตามปกติ
อธิ บ ายว า ติ เ หตุ ก ภวั ง ค ๑๓ คื อ ติ เ หตุ ก กามาวจรวิ บ าก ๔
และมหัคคตวิบาก ๙ ก็อนุโลมญาณ ๔ ขณะมีไตรลักษณอยางใดอยางหนึ่ง
เปนอารมณ สวนผลจิต(ผลชวนะ) มีนิพพานเปนอารมณ เรียกวา ผลสมาบัติ
ของพระอริยบุคคล และเปนไปในรูปาวจรฌาน ๕ ฌานใดฌานหนึ่งที่บรรลุ
ตามสมควร สวนผลสมาบัติวิถีของติกขบุคคล ในวิถีมีอนุโลมเกิดขึ้นเพียง ๓
ขณะ แลวผลจิตก็เกิดขึ้น มีนิพพานเปนอารมณ
๘๖๖
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
นิ พ พาน ๓ คื อ อนิ มิ ต ตนิ พ พาน๑ อั ป ปณิ หิ ต นิ พ พาน ๑ และ
สุญญตนิพพาน ๑ ถาพิจารณาเห็นสังขตธรรมโดยเปนอนิจจังในขณะแหง
อนุโลมเกิด ผลจิตก็มีอนิมิตตนิพพานเปนอารมณ ถาพิจารณาเห็นสังขตธรรม
โดยเป นทุกขังในขณะแห งอนุโ ลมเกิด ผลจิ ตก็มีอัปปณิหิ ตนิ พพานเป น
อารมณ ถาพิจารณาเห็นสังขตธรรมโดยเปนอนัตตาในขณะแหงอนุโลมเกิด
แลว ผลจิตก็มีสุญญตนิพพานเปนอารมณ
อีกอยางหนึ่ง เพราะบุญบารมีที่สั่งสมมาในอดีตมากดวยศีล เมื่อเขา
ผลสมาบัติ ก็มีอนิมิตตนิพพานเปนอารมณ เมื่อบุญบารมีที่สั่งสมมาในอดีต
มากดวยสมาธิ เมื่อเขาผลสมาบัติก็มีอัปปณิหิตนิพพานเปนอารมณ เมื่อบุญ
บารมีที่สั่งสมมาในอดีตมากดวยปญญาเมื่อเขาผลสมาบัติก็มี สุญญตนิพพาน
เปนอารมณ
การเขาผลสมาบัตเิ พื่อบรรลุมรรคผลขั้นสูง
การที่มรรคผลขั้น สู งจะเกิด หรื อไมเ กิด ขึ้น นั้ น ขึ้น อยู กั บ ความมุ ง
หมายของอริยะบุคคลนั้นดวย คือขณะที่เจริญวิปสสนาไปจนถึงสังขารุเปกขา
ญาณจนแกกลาแลว ถามุงใหอริยมรรคเบื้องบนเกิดมรรคก็จะเกิด แตในการ
ที่จะบรรลุมรรคเบื้องบนนั้นคอนขางยากกวาการเขาผลสมาบัติ เพราะตราบ
ใดที่ญาณยังไมแกกลาพอที่จะทําใหอริยมรรคเบื้องสูงเกิด สังขารุเปกขาญาณ
ก็จะวนเวียนเกิดอยูอยางนั้น ดังนั้นพระเสขบุคคลผูที่จะมุงปฏิบัติเพื่อมรรค
ผลเบื้องสูงจะตองกําหนดจิตไววาในระยะเวลาประมาณเทานี้ เราจะไมยอม
เขาผลสมาบัติโดยเด็ดขาด แลวก็ตองคอยระวังไมใหจิตนอมไปหาอริยผลที่
ตนเคยได บ รรลุ มาแล ว ด ว ย มิฉะนั้ น แทนที่อ ริ ย มรรคเบื้ องสู งจะเกิด กลั บ
กลายเปนผลสมาบัติเกิดขึ้นแทน
หลังจากอธิษฐานแลว สภาวะธรรมจะเริ่มเปนปรากฎของใหมทันที
ดวยคําอธิษฐานวา “ธรรมะอันใดที่เกิดขึ้นในขันธสันดานของขาพเจา ขอ
อยาใหเกิดขึ้นอีก ธรรมะวิเศษเบื้องสูงอันใด ที่ขาพเจายังไมไดพบ ขอใหพบ
ใหถึงเทอญ” หรือ ขาพเจาไมปรารถนาที่จะเขาผลสมาบัติที่ตนไดแลว

๘๖๗
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
หมายความวา ผลที่เคยไดแลวจะไมปรากฎภายในเวลาที่กําหนดไว และถาผู
ที่มีสมาธิญาณบริบูรณก็จะเขาถึงมรรคผลขั้นสูงโดยตรงทันที
หากไมตัดเยื่อใยในผลที่ตนไดแลวอยางเด็ดขาด ญาณก็จะวกเขาหา
แตผลนั้นนั่นเอง โดยเขาไมถึงมรรคผลขั้นสูงเลย ดวยเหตุนี้ จะตองตัดเยื่อใย
ในผลที่ต นเคยได มาแต กอนออกให ห มด จึ งคอยเริ่ มกําหนดในชว งเวลาที่
กําหนดอยูนี้ วิปสสนาญาณทั้งหลายเริ่มตั้งแตอุทยัพพยญาณยังมีกําลังออน
อยู นิมิต ตางๆ มีแสงสว างเป น ตน สามารถเกิด ขึ้นมาได และ ทุกขเวทนา
ตางๆ ก็สามารถเกิดขึ้นไดเหมือนกัน ความเกิดดับของรูปนามทั้งหลายจะ
ปรากฎชัดและรุนแรง ความกลัว การมองเห็ นโทษ ความเบื่อหนายต อ
อารมณทางโลก หรือตอวัฏฏทุกขจะปรากฎขึ้นเปนพิเศษ ครั้นสมาธิญาณแก
กลาเต็มที่แลว จะขามไปสูอารมณนิพพานเหมือนกับตอนที่บรรลุเมื่อครั้ ง
กอน นี้คือความเกิดขึ้นของมรรคผลขั้นสูงขึ้นไป๘๗
๒.๒ วิธีเขาผลสมาบัติตามแนวทางครูบาอาจารย
๑) พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ) ๘๘
อธิบายขั้นตอนการเขาผลสมาบัติ ทั้งอาการที่ปรากฏกอนการเขา
ผลสมาบัติ อาการในขณะที่จิตเขาถึงอารมณนิพพาน และอาการที่ปรากฎ
เมื่อออกจากผลสมาบัติ ดังนี้
๑) สภาวะกอนเขาผลสมาบัติ
ในขณะที่ใกลจะเขาถึงผลสมาบัติ การกําหนดทุกอยางจะปรากฎชัด
กวาแตกอนมาก ทายสุดเมื่อจิตสลัดอารมณทั้งปวงออกได จิตก็จะเขาสูผล
สมาบัติอันเปนแดนสงบจากสังขารทันที ผูที่เขาผลสมาบัติแลวจึงพูดเปนนัย
เดียวกันวา อารมณและจิตที่กําหนดทั้งหมดจะหยุดหายไปฉับพลันพรอมกัน
๘๗
พระโสภณมหาเถระ, วิปสสนาชุนี หลักการปฏิบัติวิปสสนา (ฉบับ
สมบูรณ), แปลโดย จํารูญ ธรรมดา, (กรุงเทพมหานคร: หจก.ประยูรสาสนไทย การ
พิมพ, ๒๕๕๓), หนา ๔๓๐-๔๓๑.
๘๘
พระโสภณมหาเถระ, วิปสสนาชุนี หลักการปฏิบัติวิปสสนา (ฉบับ
สมบูรณ), แปลโดย จํารูญ ธรรมดา, ๒๕๕๓, หนา ๖๑๕-๖๒๕.
๘๖๘
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ก็มี ขาดหายไปเหมือนกับการเอามีดไปตัดเถาวัลยขาดก็มี จะดับไปรวดเร็ว
มากประดุจประกายไฟที่แตกออกเปนเสี่ยงๆ แลวดับไปก็มี
๒) สภาวะจิตขณะที่ตั้งอยูใ นผลสมาบัติ
ผลจิตสามารถดํารงอยูไดหลายชั่วโมงอยางนาพอใจ และในขณะนั้น
จะไมออกไปรับรูอารมณใดเลย ที่จริงแลว พระนิพพานเปนสภาพที่พนไป
จากสังขาร(รูปนามและบัญญัต)ิ ที่เนื่องดวยโลกนี้และโลกอื่น ดังนั้น ในขณะ
ที่เขาผลสมาบัติจะรับเอาพระนิพพานเปนอารมณ จิตจึงไมรูเรื่องราวของโลก
อีกทั้งปราศจากความซัดสายฟุงซาน แมอารมณอื่นผานเขามาทางทวาร เชน
รูป เสียง กลิ่น และสัมผัส หรือแมแตทุกขเวทนา เปนตน ก็ไมปรากฏแกเขา
๓) สภาวะหลังออกจากผลสมาบัติ
เมื่ออกจากผลสมาบัติทันทีที่กําหนดอารมณตอเนื่อง ความเกิดดับ
ของนามรูปจะเกิดขึ้นอยางหยาบๆ อาจทําใหคิดวา “ชวงของการกําหนดนั้น
หางกันไปหนอย หรืออารมณกําลังตกอยู” แตที่จริงแลว เนื่องจากกําลัง
เขาถึงอุทยัพพยญาณ
บางคนพอกลับไปเริ่มตนกําหนดใหม อารมณก็ไมดีเหมือนเกา คือ
กําหนดอารมณไมทันบาง เร็วเกินไปบาง ชาเกินไปบาง แตโดยสวนมากแลว
จิตจะเกิดอาการแจ มใสเปน พิเศษและเกิดติ ดตอกันเรื่อยๆ สภาพจิต จะมี
ความสุขมาก บริสุทธผุดผองเหมือนกับอยูคนเดียวในที่กลางแจง แตเราจะไม
สามารถกําหนดดูจิตเหลานี้ได แมจะพยายามกําหนดก็ไดไมเต็มที่ แตเมื่อจิต
อันแจมใสนี้หมดกําลังไปแลว พอหันกลับมากําหนดใหม ก็จะกําหนดรูความ
เกิดดับไดอยางชัดเจน เมื่อกําหนดนานเขาก็จะเห็นอารมณละเอียด ออน ถา
หากกําลังของญาณแกกลาพอ ก็จะเขาถึงสภาพที่ดับไปของสังขารไดบอยๆ
๒) พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธิ ป.ธ. ๙)
๑. การอธิษฐานจิตเขาผลสมาบัติ
ในคูมือสอบอารมณกรรมฐานวิชาครู๘๙ ไดอธิบายการอธิษฐานจิต
เขาผลสมาบัติมีอยู ๒ ประการดังนี้
๘๙
พระธรรมธีรราชมหามุนี , คูมือสอบอารมณกรรมฐานวิชาครู, หนา ๕๙-๘๑
๘๖๙
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
๑.๑ การถึ ง ความดั บ สงบบ อ ยๆ คื อ เข า ผลสมาบั ติ เริ่ ม ที่
อุทยัพพยญาณขึ้นไปจนถึงอนุโลมญาณ แลวดับไปอีก คือเขาผลสมาบัติได
ตามอธิ ษฐาน เช น ขอให ดั บ บ อยๆ อย า งน อ ยที่ สุ ด ๑ ชั่ ว โมงต อ ๓ ครั้ ง
อธิษฐานอีกอาจจะ ๕ นาที ตอ ๓-๔ ครั้ง
๑.๒ ดวยการอธิษฐานตั้งอยูไดนาน คืออธิษฐานตั้งแต ๕-๑๐
นาที ๑ ชั่วโมง หรือ ๒ ชั่วโมง เปนตน
การอธิษฐานจิต เพื่อใหบรรลุผลสมาบัติไดเร็วและดํารงอยูนาน ไม
ควรกังวลหรือคาดหวั งการอธิษฐานของตน เพราะบางทานก็คาดหวั งว า
กําลังจะเขาผลสมาบัติ กลับทําใหสติขาดชวงไมอาจบรรลุผลสมาบัติได ใน
กรณีนี้ ถาการคาดหวังเกิดขึ้นก็ควรกําหนดที่การคาดหวังนั้นดวย ที่จริงแลว
กําลังสมาธิและปญญาเปนหลักในการเขาผลสมาบัติ ถากําลังของธรรมทั้ง
สองมีไมมากก็จะทําใหบรรลุผลสมาบัติไดชาหรือดํารงอยูไดไมนาน
๒) สภาวะจิตขณะที่ตั้งอยูในผลสมาบัติ
ผู ที่ เ ข า ผลสมาบั ติ เรี ย กว า เข า ฌานก็ ไ ด ณานมี ๒ ประเภท คื อ
อารัมมณูปนิชฌาณ เปนฌาณโลกีย เพงบัญญัติเปนอารมณ และลักขณูปนิช
ฌาณ เปนโลกุตตระเพงพระไตรลักษณเปนอารมณ
ในขณะเขาผลสมาบัตินั้น เวทนา สัญญา สังขาร ๓ ขันธดับไปหมด
รูปดับก็มี เชน กายวิญญัติรูป วจีวิญญัติรูป หรือ รูปไมดับก็มี เชน ลมหายใจ
เขา-ออกยังมีอยู สวนวิญญาณนั้น มีพระนิพพานเปนอารมณ รูพระนิพพาน
ในเอกทสกนิบาต อังคุตตรนิกายรับรองวา อารมณใดที่เคยเห็น ได
ยิน ได กลิ่น รูรส ถูกสัมผัสและเคยเสวยมาแลว แมในอารมณนั้นๆ ก็ไมมี
ความรูสึกอยางหนึ่งอยางใดเลย แตวาในขณะนั้นจิตเกิดอยู แตไมมีความรูสึก
เพราะการเขาผลสมาบัตินั้นมีนิพพานเปนอารมณ เปนธรรมอันสุขุมประณีต
เปนธรรมที่พนจากโลก ไมมีสัขตธรรมใดๆ ในนิพพานนั้น นิพพานจึงไดชื่อวา
อนิ มิ ต ตะ คื อ ไม มี รู ป สั ณ ฐาน สี สั น วรรณะที่ เ กี่ ย วกับ รู ป นาม เมื่ อ ผลจิ ต
เกิดขึ้นจับนิพพานเปนอารมณจึงไมเกิดความรูสึก คือไมรูอารามณโลกียะ ไม
รูทางปญจทวาร ตา หู จมูก ลิ้น กาย แตทางใจ รับอารมณนพิ พานอยู

๘๗๐
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ในเวลาที่ เ ข า ผลสมาบั ติ อ ยู เมื่ อ เวลาผ า นไป ๑-๒ ชั่ ว โมง จิ ต ที่
พิจารณาอาจปรากฏขึ้นได ๔-๕ ขณะพึงกําหนดรูจิตนั้นแลวก็เขาผลสมาบัติ
ตอไปได
๓) พระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร)
จากหนั งสื อคูมือปฏิ บั ติ พระกรรมฐาน ๙๐ ของหลวงพอฤาษีลิ งดํ า
กล าวถึง อานิ ส งศ ข องทาน ที่ผู บํ า เพ็ญ ทานกุ ศลแด ทา นที่ไ ด ส มาบั ติ ไว ว า
สมาบัตินี้ นอกจากจะใหผลแกทานที่ไดแลว ยังใหผลแกทานที่บําเพ็ญกุศล
ตอทานที่ไดสมาบัติดวย กอนบิณฑบาตรตอนเชามืดใหเจริญวิปสสนาและ
เขาสมาบัติ เพื่อเปนการสนองความดีของทายกทายิกาผูใสบาตรในตอนเชา
อานิสงสของสมาบัติมีอยางนี้
๑. นิโรธสมาบัติ สมาบัตินี้เขายาก ตองหาเวลาวางจริงๆ เพราะ
เขาคราวหนึ่งใชเวลาอยางนอย ๗ วัน อยางสูงไมเกิน ๑๕ วัน ใครไดทําบุญ
แกทานที่ออกจากนิโรธสมาบัตินี้ จะไดผลในวันนั้น หมายความวาคนจนก็จะ
ไดเปนมหาเศรษฐีในวันนั้น
๒. ผลสมาบั ติ เปน สมาบั ติเ ฉพาะพระอริ ย เจ า สมาบั ติ นี้เ ขา
ออกไดทุกวันและทุกเวลา ทานที่ทําบุญแดทานที่ออกจากผลสมาบัติ ทานผู
นั้นจะมีผลไพบูลยในความเปนอยู คือมีฐานะไมฝดเคือง
๓. ฌานสมาบั ติ ทา นที่ บํ า เพ็ญ กุ ศ ลแกท า นที่ อ อกจากฌาน
สมาบัติ จะทรงฐานะไวดวยดีไมยากจนกวาเดิม มีวันแตจะเจริญงอกงามขึ้น
เปนลําดับ
๔) พระพรหมมงคล (ทอง สิริมังคโล)๙๑
วัดพระธาตุศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม ไดขอมูลวา การอธิษฐาน
เขาสูสภาวะดับสงบ (ผลสมาบัติ) ๒ วิธี ดังนี้

๙๐
พระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร), คูมือปฏิบัติพระกรรมฐาน.
๙๑
พระพรหมมงคล (ทอง สิริมังคโล), สอบถามระเบียบการปฏิบัติ.
๘๗๑
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
๑. อธิษฐานดับสงบ เมื่อเริ่มนั่งภาวนา ใหแผเมตตาแกตนเองและ
สรรพสั ต ว ทั้ ง หลาย จากนั้ น อธิ ษ ฐานกํ า หนดในใจเพื่ อ เข า ผลสมาบั ติ ว า
“ภายใน ๑ ชั่วโมงนี้ ขอใหถึงความดับสงบ ๕ นาที” ผูปฏิบัติเดินจงกรม ๑
ชั่วโมงเทากับเวลานั่งภาวนา
เมื่อดับได ๕ นาทีหรือใกลเคียง ตอไปใหขยับขึ้นเปน ๑๐, ๑๕,
หรือ ๓๐ นาที ขณะที่จิตเขาสูผลสมาบัติ โยคีจะไมสามารถรับรูอะไร แมวา
จะมีอารมณ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ปรากฏขึ้นรอบๆ ตัว จะดํารงอยูในทา
นั่งตามที่อธิษฐานไว ตอมาใหอธิษฐานดับนานขึ้น เชน ๔๕ นาที หรือ ๑, ๓,
๖ ชั่วโมง หรือมากกวาก็ได โดยจะทําใหจิตเกิดศรัทธา ไดรับสมาธิสุข และ
ยังทําใหผิวพรรณ อินทรีย บริสุทธิ์ผุดผอง
๒. อธิษฐานดับบอยๆ เมื่อเริ่มนั่งภาวนา วิปสสนาจารยใหอธิษฐาน
ดวยการกําหนดในใจใน วา “ขอใหภายใน ๑ ชั่วโมงนี้ อาการดับ จงเกิดขึ้น
บอยๆ” โดยใหกําหนดวารูหนอ ในขณะที่รูปนามดับไป และนับวามีจํานวนที่
ดับไปประมาณกี่ครั้ง บังลังคตอไปใหนั่งภาวนาอธิษฐานดับบอยๆ ลดลงเปน
๓๐, ๒๕, ๒๐, ๑๕ และ ๕ นาที โดยยังคงเดินจงกรม ๑ ชั่วโมงกอนนั่งทุก
ครั้ง
ในพระไตรป ฎ ก คั ม ภี ร วิ สุ ท ธิ ม รรค และอภิ ธั ม มั ต ถสั ง คหะ ได
อธิบายเรื่องผลสมาบัติ ดวยการอธิษฐานจิตดับนาน สวนเรื่องการอธิษฐาน
จิตใหดับบอยครั้ง เกิดจากประสบการณของบูรพาจารย ที่ถายทอดกันมาใน
เชิงปฏิบัติ เพื่อใหดํารงสติอยูในขณะปฏิบัติ เพื่อใหเห็นสันตติขาดหรือการ
ดับไปของรูปนาม
๕) พระธรรมสิงหบุราจารย (จรัญ ฐิตธัมโม)
จากหนังสือคูมือวิปสสนาจารย๙๒ ไดอธิบายสภาวะของผูที่เขาถึง
ผลสมาบัติวา เปนการดับจิตที่รับอารมณตางๆ จากทวารทั้ง ๖ แคจิตนั้น

๙๒
พระธรรมสิ ง หบุ ร าจารย (จรั ญ ฐิ ต ธั ม โม), คู มื อ วิ ป ส สนาจารย ,
(กรุงเทพมหานคร: หอรัตนชัยการพิมพ, พ.ศ. ๒๕๓๗), หนา ๑๑๑-๑๒๓.
๘๗๒
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ไมไดดับจริงๆ เชนกับคนตาย แตเปนการดับจากอารมณทั้ง ๖ หรือที่กลาว
กันวารับอารมณนิพพาน ดังนี้
๑) การเขาผลสมาบัติ บุคคลผูเขาถึงสภาพนั้นยอมรูไดดวยตนเอง
จะเปรียบเทียบใหใครฟง ก็ยอมจะเปรียบกับอะไรไมไดทั้งสิ้นเปนสภาพที่
สงบจากสุข-ทุกขทั้งปวง เมื่อผูปฏิบัติไดถึงซึ่งอารมณชนิดนี้แลวยอมพึงใจที่
จะอยูในอารมณนั้นอีก
ผูเขาถึงความดับบอยๆ คือเปนผูที่ผานมรรคญาณมาโดยแทจริง
แลว ดังนั้นในคําอธิษฐานวาภายใน ๑ ชั่วโมงนี้ขอใหมีการเกิดดับบอยๆ ก็คือ
การพิสูจนขอเท็จจริงของการผานมรรคญาณ
๒) สภาวะการเข า ผลสมาบั ติ ขณะแรกที่ นั่ ง กํ า หนดพองยุ บ ได
ชัดเจน เปนปกติธรรมดา แลวตอไปจะถี่ขึ้นๆ ไปและดับวูบลงไป เผลอตัวไป
เร็วบาง ชาบาง อันโยคีไมสามารถจะกําหนดเวลาได นั่นคือเขาถึงผลสมาบัติ
เมื่อรูสึกตัวขึ้นจะจับพอง ยุบไดทันที และเปนปกติธรรมดาเหมือนแรกนั่ง
นั่นคือกลับตั้งตนดวยอุทยัพพยญาณ แลวตอไปอาการจะเขาสังขารุเบกขา
ญาณ คือ พองยุบถี่ขึ้นๆ แลวดับวูบลงไปอีกเปนเชนนี้บอยๆ เรื่อยๆ แลวแต
กําลังสมาธิของโยคีผูนั้น
การทรงอาการอยูในสมาบัติไดนานๆ และชํานาญในการออกจาก
สมาบัติไดตามกําหนดเวลา ดวยการอธิษฐานวาขอใหดับ ๕ นาที ๑๐ นาที
๓๐ นาที เรื่ อยๆ ไป จนสามารถกระทําได ตามกําหนดเวลาที่อธิ ษฐานไว
อยางแนนอน จึงจะเปนผลสมาบัติอยางแทจริง ผูที่ไดผลสมาบัติที่แนนอน
แลว จะสามารถเขาไดทุกขณะเวลา และจะทรงอาการนั้นได ตามกําหนด
เวลาที่ตั้งใจไดเสมอ
๓) อาการที่อยูในผลสมาบัติ ในการดับวูบลงไปครั้งหนึ่งนั้น ขณะที่
จิตกับอารมณที่กําหนดอยู ดับวูบ ลงไปนั้น ย อมไมมีความรูสึกอยางใดเลย
ทวารทั้ง ๖ ดับสนิท จิตไมรูอารมณจากทางใดทั้งสิ้น ขณะที่ดับลงไปนั้น ชา
นานเพียงใด โยคีจะมีความรูสึกอยูวาครูเดียวเสมอ แมจะนานประมาณ ๕
นาที ๑๐ นาที ๓๐ นาที ก็จะรูสึกวาครูเดียวเสมอ ผูที่เขาผลสมาบัติ ๒๔
ชั่วโมง ก็ยังกลาววาลืมตัวไปนานสัก ๕ นาที
๘๗๓
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
๔) อาการที่ปรากฎแกผูดูภายนอก เปนภาพคนนั่งเขาสมาธิหลับตา
อยูธรรมดานั่นเอง โดยไมสามารถรูไดเลยวานั่งหลับตาธรรมดา หรืออยูในผล
สมาบัติ ตองเขาไปกระทบจับตองจึงจะไดรู เพราะผูเขาผลสมาบัติมีลักษณะ
ตัวเย็นตัวแข็งผิดปกติจากบุคคลนั่งหลับธรรมดา มีลมหายใจออนรวยๆ
อาการตัวเกร็งแข็งนี้ จะเปนมากหรือนอย ขึ้นอยูกับการเขาถึงผล
อยางสนิทหรือไมสนิท ถายังเขาไมสนิทแท ตัวที่แข็งนั้น ยังงางมืองางเทา
ออกได แตผูที่เขาอยูอยางสนิทแท จะเอามือเอาเทาออกไดยาก เรียกวาตัว
แข็งเกือบเทาคนตายที่แข็ง ผลักใหลมลงก็ไมรูสึกตัว ผูที่นอนเขายกเอาตัวไป
พาดไวบนเกาอี้ ก็ยังคงแข็งอยูเชนเดิม อาการตางๆ เหลานี้ เปนอาการของผู
ที่อยูในผลสมาบัติที่จิตไมรับรูอารมณตางๆ ตามทวารทั้ง ๖
อาการที่เขาสูความดับ-สงบเพียงวับเดียว และบอยๆ นั้น เรียกวา
เขาถึงผล แตยังไมเปนสมาบัติ โดยมากผูปฏิบัติที่ผานมรรคญาณ-ผลญาณไป
แลว ยอมเขาสูผลไดบอยๆ ทุกคน ประมาณรอยละสิบคน ที่สามารถเขาผล
สมาบัติไดนานๆ
เฉพาะที่เขาไดนานๆ ในขณะที่อยูในระหวางปฏิบัติ เมื่อออกจาก
ปฏิบัติแลว การเขาไดนานๆ มักจะเสื่อมลง ไดนอยลง เมื่อหางการปฏิบัติ
อารมณอื่นๆ เขารบกวนจิตใจมากขึ้น ความดับสงบยอมเกิดขึ้นไดยาก แม
กระนั้นก็ยังคงไวซึ่งอาการดับบอยๆ แตไมนาน
ปญหาเกี่ยวกับสมาธิ ตามปกติผูปฏิบัติ เมื่อไดกําหนดรูปนามเปน
กรรมฐาน สมาธิ ยอมเจริญขึ้นจากขณิกสมาธิ เขาสู อัปปนาสมาธิจะเขาถึง
ความดั บ สนิ ท ผู ที่ เ ข ามรรคญาณ ผลญาณ เทีย บได กั บ ผู ที่เ ขา ปฐมญาณ
กลาวคือสมาธิที่เกิดขึ้นในขณะนั้นเปนอัปปนาสมาธิ
๕) อาการที่ออกจากผลสมาบัติ ถาเปนการดับชั่วเวลาประเดี๋ยว
เดียว ความรูสึกอยางอื่นแทบจะไมมี กลาวคือพอดับวูบก็รูสึกเงยขึ้นทันที
และโยคีจะจับพอง-ยุบตอไปใหม โดยไมมีความรูสึกอะไรอื่นเกิดขึ้น แตถามี
อาการทรงอยูในผลสมาบัตินานกวาปกติ เชน ๕ นาที ๑๐ นาที ๓๐ นาที

๘๗๔
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ขณะรูสึกตัวแมจะเขาใจวาเปนเวลาประเดี๋ยวเดียว แตความรูสึกจะมีผิดปกติ
ธรรมดาเกิดขึ้น เชน
๑. ความตกใจในอาการผิดปกติเกิดขึ้น
๒. รูสึกวามีอาการวูบวาบคลายๆ เลือดกําลังฉีดแรงทั่วรางกาย
๓. รูสึกวาสวนตางๆ ของรางกายยังแข็งอยู
๔. มีความรู สึ กลั ว ว าปฏิ บั ติ ต อไปอีกไมได คล ายกับ ว ามีการ
อิ่มตัว หรืออิ่มใจ
การมีสมาธิจนเปนอัปปนา คือจิตดับไมรับอารมณอื่นนั้น ก็มีอยู ๒
วิธี คือ ฌาณ กับ ผลสมาบัติ แตฌาณขึ้นดวยกรรมฐานอยางใดอยางหนึ่ง ใน
กรรมฐาน ๔๐ จิตจึงจะถึงอัปปนาสมาธิ จิตดับไปจากอารมณอื่นก็จริง แตยึด
อารมณสุขอยู แตผูขึ้นดวยกรรมฐานของวิปสสนานั้น ขึ้นดวยอารมณรูปนาม
อัน เป น ขณิ ก สมาธิ อ ยู จนกระทั่ ง จิ ต ดั บ จากอารมณ ทั้ ง ปวง จิ ต รู อ ารมณ
นิพพาน นั้นคือไมรูสึกอะไรเลย
๖) บั น ทึกประสบการณเ ขาผลสมาบัติ ของผู ปฏิ บั ติ ธ รรม ที่ส อบ
อารมณกับ หลวงพอจรัญ ฐิตธัมโม วัดอัมพวัน จังหวัดสิงหบุรี
อุบาสิกาสุม ทองยิ่ง วัดอัมพวัน จังหวัด สิงหบุรี

โดย เมือง ทองยิ่ง (ผูอํานวยการโรงเรียนสิงหบุรี)


สมัยเปนเด็กเห็นแมพายเรือไปกับคุณยายแพและคนแกอีก ๒-๓ คน
ไปวัดอัมพวันทุกวันพระ ประมาณ ๘ กิโลเมตร ไปรับกัมมัฎฐาน พอกลางคืน

๘๗๕
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ประมาณสองทุมแมก็เดินจงกรมและนั่งสมาธิสลับกันไป พอประมาณตีสี่ ก็
เห็นแมนั่งและเดินอีก
แมเ ป น คนขยั น กลางวั น ทํ างาน ปลู ก ผั กถากหญา กลางคืน เดิ น
จงกรมและนั่งสมาธิทุกวันไมขาด ตั้งแตสองทุมถึงหาทุม และตีสี่ถึงหกโมง
เชา เป นเวลาสิ บกวาป ทุกวันพระแมต องไปสอบอารมณกับหลวงพอ แม
จดจําทุกขั้นตอนที่หลวงพอบอก แลวกลับมาปฏิบัติที่บาน จดบัญทึกสภาวะ
ไวทุกครั้ง แลวนําไปรายงานหลวงพอในวันพระถัดไป
เรื่องหนึ่งที่เห็นเปนเรื่องอัศจรรยคือ การกําหนดเวลานั่ง เชน ถา
ตองการจะนั่ง ๑ ชั่วโมง ๒ ชั่ว โมง หรือ ๓๐ ชั่ วโมง ก็ส ามารถกําหนดได
แนนอน โดยการอธิษฐานจิต เชน จะนั่ง ๒ ชั่วโมง ก็อธิษฐานวาจะนั่งสมาธิ
๒ ชั่วโมง เมื่อเริ่มนั่งสัก ๒-๓ นาที จะเกิดสมาธิแนบแนน และสมาธิจะคลาย
เองเมื่อครบเวลา ๒ ชั่วโมง
เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๐๓ แม อ ายุ ๔๕ ป หลวงพ อ ให ฝ ก นั่ ง ที่ บ า น ๓๐
ชั่วโมง เริ่มนั่งตั้งแตหนึ่งทุม และออกจากสมาธิตีสองของวันรุงขึ้น ครบ ๓๐
ชั่วโมงพอดี โดยไมไดเคลื่อนไหวไปไหน แมบอกวาระหวางที่นั่งสมาธิไมรูสึก
หิวหรือตองการขับถาย ตอมา หลวงพอใหแมไปนั่งสมาธิที่วัดอัมพวันเพื่อ
เปนการทดสอบ แมนั่งไดครบตามกําหนดเวลา๙๓
โดยบันทึกคําบอกเลาของอุบาสิกาสุม ทองยิ่ง๙๔
ทํากรรมฐานที่บานตามคําสั่งหลวงพอ วันแรกนั่ง ๑ ชั่วโมง วันที่
สอง ๒ ชั่วโมง เรื่อยไปถึง ๑๐ ชั่วโมง แลวก็ยอนไป ๑ ชั่วโมงใหมอีก ทํา
แบบนี้อยู ๔ ป
๙๓
พระราชสุทธิญาณมงคล, กฏแหงกรรม ธรรมปฎิบัติ เลม ๖ , บันทึกโดย
คุณเมือง ทองยิ่ง, (กรุงเทพมหานคร: หจก หอรัตนชัยการพิมพ, พ.ศ. ๒๕๔๗), หนา
๖๐-๗๔.
๙๔
พระราชสุทธิญาณมงคล, กฏแหงกรรม ธรรมปฎิบัติ เลม ๖ เลาโดยคุณแม
สุม บันทึกโดย คุณสมพร แมลงภู, (กรุงเทพมหานคร: หจก. หอรัตนชัยการพิมพ , พ.ศ.
๒๕๔๗), หนา ๗๕-๙๐.
๘๗๖
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ครั้งแรกที่เขาไดตอนที่ปวดเต็มที่ แลวเจ็บก็ดับปุบไป รูสึกตัวเหมือน
นั่งอยูใตตนโพธิ์ เย็นสบาย ครั้งตอมา ดับแบบดิ่งพสุธาเลย ไปโผลที่เมือง
บาดาล เห็ น เป น อุโ มงค และคูห าอยู ขางล าง มีพ ระบรมสารี ริ กธาตุ อ ยู ใ ต
พื้นดิน มีไฟสวางติดรอบทั้ง ๔ ทิศ ก็เดิ นไปนมัสการ พอกราบเสร็จ ก็เลิ ก
กรรมฐานพอดี
วันหนึ่งหลวงพอใหนั่งที่วัด กําหนดจิตที่พองยุบ จิตดับที่พองยุบ พอ
จิตเขาแลว ตัวแข็งหมด นั่งไป ๑๕ นาที หลวงพอให แมแพเอามือจับ กอน
แลวใหเอาเข็มแทง ปรากฏวาแทงไมเขา เลือดไมออก แข็งไปทั้งตัว ตอนนั้น
มีคนนั่งดูหลายคน หมอชลอก็อยูดวย เขานั่งสูบยา ที่เห็นเพราะแสงเขาตา
เขาเอาบุหรี่มาแหยที่รูจมูก ควันขึ้นเพดาน ก็อัดไวไมใหขึ้น ควันก็ออกมาขาง
นอก รูสึกรอนนิดหนอย แตไมสําลัก หลวงพอไมเห็นที่หมอชลอเอาบุหรี่แหย
รูจมูก วันนั้นนั่ง ๒๐ นาที
ตอมาหลวงพอให ปฏิ บั ติในโบสถ ให ยืน กําหนด ไมไดเ ดิน จงกรม
กําหนดยืนหนอ พอตั้งอธิษฐาน ขอใหสมาธิแนวแน จิตเขาผลสมาบัติกี่นาที
เขาก็ดับไปตามที่กําหนด กําหนดพองหนอ ยุบหนอ ๓-๔ ครั้ง จิตก็เขาเลย
เวลานั่งกรรมฐานที่บาน จะอธิษฐานคราวละ ๓๐ ชั่วโมง พอครบ
กําหนดจิต จะคลายออกเอง ขณะที่จิ ต เขาอยู ตอนนั้ น ไมเ ห็ น อะไร ไมรั บ
อารมณอะไรเลย แรกๆ จะไมไดยินเสียง แตตอนหลังไดยิน
ตอจากนั้นก็ปฏิบัติมาจนแก ลองนั่งโดยไมไดอธิษฐานจิต จิตคลาย
ออกเมื่อไรก็สุดแลวแต ปรากฏวานั่งไป ๓๖ ชั่วโมง ไมมีปติอะไร
เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๕ อายุ ๗๕ ป นั่งไป ๔๘ ชั่วโมง โดยไมไดอธิษฐาน
จิต ขณะที่เขาผลสมาบัติ เห็นพระจุฬามณีมีดอกไมธูปเทียนเต็มไปหมด มีคน
เฝาคนหนึ่งคอยเข็นรถนําไปทิ้ง เปนดอกไมธูปเทียนที่ใสมือคนตาย เมื่อตาย
แลวจะไดนําไปไหวพระจุฬามณี
การเขาผลสมาบัติจะมีกําลัง ไมหิว ไมปวดเมื่อย ไมมีอะไรล้ํา ปติก็
ไมล้ํา สมาธิเสมอเทากันหมดเลย มีความสุข ไมยินดียินราย เปนอุเบกขา รู
แลวก็วาง จิตมีจิตเดียว ไมมีอะไรเขามากระทบเลย การเขาผลสมาบัติอยาง
หนึ่ง เขานิโรธสมาบัติเปนอีกอยางหนึ่ง เขานิโรธสมาบัตินั้นไมมีตัวตน
๘๗๗
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
วิเคราะหการเขาผลสมาบัติของอุบาสิกาสุม ทองยิ่ง เปรียบเทียบกับ
หลักการในคัมภีรพบวา
(๑) เวลาเขาผลสมาบัติ จะมีการอธิษฐานจิตกําหนดเวลาในการ
เขาออก
(๒) เมื่อเขาผลสมาบัติไป จิตจะไมรับรูอารมณใดๆ
(๓) ครบกําหนดเวลาจึงออกผลสมาบัติตามที่ไดอธิษฐานไว
(๔) อาการกอนเขาถึงมรรคผลจากบันทึกกลาววา “ครั้งแรกที่เขา
ไดตอนที่ปวดเต็มที่ แลวเจ็บก็ดับปุบไป รูสึกตัวเหมือนนั่งอยูใตตนโพธิ์ เย็น
สบาย” สภาวะที่อุบาสิกาสุม ทองยิ่ง รายงานนั้น เปนสภาวะที่แสดงอาการ
ไตรลักษณ โดยอาการทุกขังอยางชัดเจน จึงวิเคราะหไดวา ถึงความดับดวย
อํานาจแหง อัปปณิหิตวิโมกข ชื่อวาอัปปณิหิตนิพพาน เพราะบุญญาธิการ
แตปางกอนนั้น เปนผูอบรมมามากดวย สมาธิ
(๕) สําหรับสภาวะที่บางครั้งขณะที่กําลังเขาผลสมาบัติอยูนั้น ยัง
มีสภาวะที่รับอารมณจากทางอายตนะ หรือบางครั้งที่เกิดปรากฏนิมิตขึ้นนั้น
วิเคราะหวาอาจจะเปนความเขาใจผิดของอุบาสิกาสุม ทองยิ่ง วากําลังเขา
ผลสมาบัติอยู เพราะจากหนังสือคูมือสอบอารมณกรรมฐานวิชาครู ไดกลาว
ไววา “ขณะที่เขาในเวลาที่เขาผลสมาบัติอยู เมื่อเวลาผานไป ๑-๒ ชั่วโมง จิต
ที่พิจารณาอาจปรากฏขึ้นไดสี่หรื อหาขณะพึงกําหนดรูจิต นั้นแลว ก็เขาผล
สมาบัติตอไปได” และที่ปรากฏในหนังสือวิปสสนาชุนี โดยมหาสีสยาดอ มี
อรรถาธิบายดังนี้๙๕
ในขณะที่เขาผลสมาบัติอยูนั้น ถาภวังคจิตเขามาแทรก ก็ถือวาเปน
การออกจากสมาบัติ แตวาสําหรับพระอริยบุคคลทั่วไปนั้นยากที่จะกําหนดรู
ภวังคจิตดังกลาวได บางทานสามารถเขาออกผลสมาบัติไดอยางรวดเร็ว ทั้ง
ยังสามารถพลิ กกลับ ไปกลับ มาได อย างรวดเร็ ว ซึ่งถาเปน บุคคลที่ไมมีพื้น
๙๕
พระโสภณมหาเถระ, วิ ป ส สนาชุ นี หลั ก การปฏิ บั ติ วิ ป ส สนา (ฉบั บ
สมบูรณ), แปลโดย จํารูญ ธรรมดา, (กรุงเทพมหานคร: หจก.ประยูรสาสนไทย การ
พิมพ, ๒๕๕๓), หนา ๖๒๔- ๖๒๖.
๘๗๘
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ความรูมากอน อาจทําใหคิดไปวาตนสามารถกําหนดพิจารณาอารมณนั้นๆ
ไดในขณะที่เขาผลสมาบัติ โดยตัวอยางในเรื่องนี้ไดแก พระมหาโมคคัลลาน
เถระ องคอัครสาวก คือทานไดเลาเรื่องของทานใหพวกภิกษุฟงวา “ทานได
ยินเสียงบันลืออันไพเราะของโขลงชางที่ขึ้นลงแมน้ํา” นี้เปนคํากลาวของ
ทานมหาโมคคัลลานเถระ ภิกษุเหลานั้นไมเชื่อ ทานตองนําเรื่องนี้ไปกราบทูล
พระพุทธองคเพื่อใหทรงตัดสิน พระพุทธองคไดทรงตัดสินอยางนี้วา “ภิกษุ
ทั้งหลาย สมาธิที่พระโมคคัลลานะไดนั้นเปนอาเนญชสมาธิจริง แตไมชัดเจน
ไมบริบูรณ เดี๋ยวก็เกิดวิถีสามัญ ผลัดเปลี่ยน สลับกันไป ดังนั้น เมื่อทานออก
จากจตุตถณานแลวไดยินเสียงรองของชาง จึงคิดวาไดยินในขณะที่กําลังเขา
สมาบัติอยู ซึ่งที่จริงแลวเปนการไดยินในขณะที่ออกจากณานแลว”
จะเห็นวา การที่ทานไดยินเสียงชางรองในขณะออกจากสมาบัติ แต
กลับสําคัญวาเปนการไดยินขณะเขาสมาบัตินั้น เปนความสําคัญผิด และดวย
คําพูดที่ยกมาเปนหลักฐานดังกลาวนี้ ทําใหเราสามารถทราบไดวา ในเวลาที่
ออกจากสมาบัตินั้น อาจมีการกําหนดรูอารมณอยางอื่นไดเชนกัน
ผลสมาบัติ ไมไดจัดอยูในลําดับโสฬสญาน หรือ ญาณ ๑๖ แตเปน
ผลที่เกิดจากการปฏิบัติจนไดมรรคผลนิพพาน โดยเริ่มจากโสดาปตติมรรค
และโสดาปตติผล เมื่อทําการเจริญวิปสสนาจะเริ่มจาก ญานที่ ๔ อุทยัพพย
ญาณแลว ญาณปญญาก็จะพัฒนาขึ้นเรื่อยไปจนถึงอนุโลมญาณ และเขาสู
การดับ หรือ เขาผลสมาบัติที่มีนิพพานเปนอารมณ
การจะเขาผลสมบัตินั้น มีทั้งที่ทําการอธิษฐานกําหนดระยะเวลาการ
เขาผลสมาบัติ โดยเมื่อครบกําหนดเวลา จิตจะตกสูภวังตและกลับมามีรูป
นามขันธ ๕ เปนอารมณอีกครั้ง แตถึงอยางไรก็ตาม แมวาจะไมไดทําการ
อธิษฐานกําหนดเวลาเขาผลสมาบัติ ก็ยังสามารถเจริญวิปสสนาจนอินทรีย
เกิด ความเหมาะสมก็จะเขาสูผ ลสมบั ติได เอง เพีย งแตระยะเวลาที่เขาผล
สมาบั ติ ไ ด นั้ น ขึ้ น อยู กั บ ป จ จั ย หลายๆ ประการ เช น ความสมบู ร ณ ข อง
อินทรีย ๕ และ การหมั่นเจริญวิปสสนาอยูเนืองๆ เปนตน

๘๗๙
บทที่ ๑๗ การเขาผลสมาบัติ
ผู เ จริ ญวิ ป ส สนาภาวนาจะรู ได ว าตนเองบรรลุ ม รรค ผล หรื อ ไม
สามารถนํ า การเข า ผลสมาบั ติ ม าเป น เกณฑ ท ดสอบได ป ระการหนึ่ ง แต
อยางไรก็ตาม ทานมหาสีสยาดอ ไดกลาวไววา “ไมวาโยคีจะผาน ญาณ ๑๖
หรือ เขาผลสมาบัติไดกี่รอยครั้งก็ตาม ก็ตองหมั่นตรวจสอบตนเองอยูเนืองๆ
ตามดูกิเลสในใจตน โดยเฉพาะเวลาที่ถูกอารมณภายนอกมากระทบ ทั้งๆที่
นายิ นดี พอใจ และไมน ายิ นดี” และ พระภาวนาภิ ศาลเมธี วิ. ไดกลาวว า
“เมื่อออกจากการเจริญกรรมฐาน แลวไปใชชีวิตตามปกติ ไมตองพยายาม
รักษาศีล เพราะผูที่ผานมรรคผลแรกอยางแทจริงนั้น ศีลจะเกิดขึ้นเองโดยไม
ตองพยายามรักษา”
การเขาผลสมาบัติ ถึงแมวาจะทําใหผูปฏิบัติไดรูจัก ถึงความสุขแบบ
โลกุตระ แตอยางไรก็ตาม การยึดติดแมกระทั่งความสุขในเบื้องตนนี้ อาจ
เปนสิ่งที่กีดขวางไมใหผูปฏิบัติไดพบเจอกับธรรมที่ละเอียดลึกซึ้งขึ้นไป ดังนั้น
การเข า ผลสมาบั ติ ไ ด นั้ น ผู ป ฏิ บั ติ จึ ง ไม ค วรยึ ด ถื อ ว า เป น สิ่ ง อั ศ จรรย น า
หลงไหลแตประการใด แตควรเจริญวิปสสนากรรมฐานตอ เพื่อใหไดถึงที่สุด
แหงทุกข

๓. การเขานิโรธสมาบัติ
นิโรธสมาบัติ คือ สภาวะที่ดับสัญญาและเวทนาไดเด็ดขาดซึ่งเปน
สภาวะสูงสุดของสมาธิ พบไดเฉพาะในพระพุทธศาสนาเทานั้น เพราะเปน
การปฏิ บั ติ ส มาธิ ที่มี ความละเอีย ดขึ้น ไปโดยลํ าดั บ โดยผู ที่จ ะสามารถเข า
สมาบัตินี้ไดจะตองเปนพระอนาคามีและพระอรหันตประเภท เจโตวิมุตติผู
พรั่งพรอมดวยอภิญญา ๖ เทานั้น
อานรายละเอียดในบทที่ ๒๓

๘๘๐
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมตุ ติ
เรียบเรียงโดย แมชีนวพร ทองศรีเพชร๑
การเจริ ญ เมตตาเจโตวิ มุ ต ติ เ ป น ภาวะหลุ ด พ น ของจิ ต โดยอาศั ย
เมตตาฌานเป น บาทฐาน จนสามารถเข าสู ก ารหลุ ด พ น จากอาสวะกิเ สล
ทั้งหลาย อันเปนเจโตวิมุตติและเปนปญญาวิมุตติ๒ ซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติมี
ปรากฏอยูหลายแหงในคัมภีรพุทธศาสนาเถรวาท ไดแกคัมภีรปฏิสัมภิทา
มรรค“เมตตากถา”๓ที่แสดงการแผแบบไมเจาะจง แผแบบเจาะจง แผไปสู
ทิศ แผอินทริยวาร เปนตนพระสูตรที่เกี่ยวกับเมตตา เชน “วัตถูปมสูตร”๔
แสดงขั้นตอนเจริญเมตตาจนบรรลุอรหัตตผล “เมตตาภาวนาสูตร”๕กลาวถึง
อานิสงสของเมตตาเจโตวิมุตติเหนือกวาบุญกิริยาวัตถุทั้งปวง ในคัมภีรวิสุทธิ
มรรค “พรหมวิหารนิเทศ”๖มีเนื้อหาดานสมถะและวิปสสนา รวมทั้งตํารา
ปรมัตถโชติกะ สมถกรรมฐานทีปนี“อัปปมัญญา ๔”๗ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการ
เจริญเมตตา กรุณา มุฑิตา และอุเบกขา เปนตน
จึงไดรวบรวมเนื้อหา นํามาประมวลเปนความรูเขาสูแนวทางการแผ
เมตตาเจโตวิมุตติเต็มรูปแบบ พรอมทั้งหลักการและขั้นตอนการปฏิบัติจาก
ประสบการณ มีดังนี้


พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิปสสนาภาวนารุนที่ ๑๒,มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม.

ที.ปา. (ไทย) ๑๐/๑๑๐/๘๒.

ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒-๒๗/๔๖๐-๔๗๔.

ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๗๗-๗๘/๖๗.

ดูรายละเอียดใน ขุ.อิต.ิ (ไทย) ๒๕/๒๗/๓๗๒.

ดูรายละเอียดใน วิสุทธิ. (ไทย) ๒๔๐-๒๗๔/๔๘๑-๕๘๘.

ดูรายละเอียดใน พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙
เลม ๑ สมถกรรมฐานทีปนี, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสัทธัมมโชติกะ,
๒๕๕๔), หนา ๑๗๘-๒๐๕.
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๑. ความสําคัญของเมตตาเจโตวิมุตติตอการเจริญวิปสสนาขั้นสูง
องคสมเด็จพระสั มมาสัมพุทธเจาทรงตรัส ถึงการเจริ ญเมตตา ส ง
ความปรารถนาดีดวยจิตไมมีเวร ไมเบียดเบียน และทําใหแจงเจโตวิมุตติอัน
สิ้นอาสวะดวยปญญาอันยิ่งแลว พึงเรียกบุคคลนั้นวา พราหมณ หมายถึง
พระอรหั น ต ผู สิ้ น อาสวะกิ เ ลส ๘ ซึ่ ง เป น จุ ด หมายสู ง สุ ด สํ า หรั บ การเจริ ญ
วิปสสนาขั้นสูง โดยมีเมตตาเจโตวิมุตติเปนบาทฐาน
ซึ่งการเจริญวิปสสนาขั้นสูงนั้น จะดําเนินไปเพื่อการตัดละสังโยชน
ไปตามลําดับ จนเขาสูมรรคผลเบื้องสูงขึ้นไป จึงจําเปนตองมีแนวทางการ
ปฏิบัติที่ชัดเจน ถูกตอง และตรงตามที่พระพุทธเจาทรงตรัสไว มีกระบวน
และขั้นตอนการตรวจสอบผล ที่ผู ป ฏิบั ติ ส ามารถวั ด สอบตนเอง รูแจ งได
เฉพาะตน ซึ่งเปนสิ่งที่สําคัญมาก เพราะครูบาอาจารยไมอาจจะพยากรณ
ผูอื่นได ซึ่งการพยากรณเปนญาณที่มีเฉพาะพระพุทธเจาเทานั้น๙ แตทานจะ
คอยแนะนําผูปฏิบัติ ไมใหเห็นผิดไปจากทาง หรือหลงคิดวาตนบรรลุธรรม
แลว อันเปนเหตุทําใหเนิ่นชาได
กระบวนการทั้งหมดนี้เปนสิ่งที่ผูปฏิบัติจะไดประสบจากการเจริญ
เมตตาเจโตวิมุตติอันเปนบาทฐานต อวิปสสนาภาวนา เพื่อพัฒนาจิตเขาสู
มรรคผลขั้นสูง ที่ไดจากการเรียนรูตลอดโครงการ ๗ เดือน ณ ศูนยปฏิบัติ
ธรรม “ธรรมโมลี ” ต.หนองน้ํ าแดง อ.ปากชอง จ.นครราชสี มา สอนโดย
พระภาวนาพิศาลเมธี (พระมหาประเสริฐ มนฺตเสวี) ซึ่งการสอนทั้งหมด
เป น ขั้น ตอนจากพระไตรป ฏ ก ที่เ ป น คําของพระตถาคตและพระอรหั น ต
ทั้ ง หลาย รวมทั้ ง ประสบการณ ข องครู บ าอาจารย ต า งๆ ที่ ไ ด ร วบรวม


ที.สี. (ไทย) ๙/๓๙๗/๑๖๖.

อภิ.กถา.อ. (ไทย) ๑/๗๑๙/๕๘๗., เรียกวา อสาธารณญาณ ๖ ไดแก อินทริยป
โรปริยัตติญาณ มหากรุณาสมาบัติญาณ ยมกปาฏิหาริยญาณ สัพพัญุตญาณ อนาว
รณญาณ และอาสยานุสยญาณ
๘๘๒
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

กลั่นกรองผานบทคําเทศนสอนของพระภาวนาพิศาลเมธี ซึ่งมีการเทศนทุก
วันในชวง ๓-๔ เดือนแรก ชวงทายจะใหเวลากับการปฏิบัติมากขึ้น แตจะมี
การฟงธรรมในชวงเที่ยงตามสภาวะของแตละคน ซึ่งเปนสวนที่สําคัญมากตอ
การปรับทิฏฐิใหตรงตามหลักคําสอนของพระพุทธเจา สงผลใหพัฒนาญาณ
ไดอยางรวดเร็ว เปนไปเพื่อตัดละกิเลสอยางแทจริง ซึ่งเมตตาเจโตวิมุตตินั้น
จะสอนเฉพาะผูที่มีสัมมาทิฏฐิสมบูรณ๑๐แลวเทานั้น
ซึ่งการจะมีสัมมาทิฏฐิสมบูรณไดนั้น มักนิยมใชการเจริญวิปสสนา
ตามแนวทางสติปฏฐาน ๔ หรือสุทธวิปสสนา ซี่งเปนวิปสสนาลวน ดวยการ
กําหนดรูอารมณที่ปรากฏแกรูปนามในปจจุบันขณะ ตามความเปนจริงจะ
เกิดการพัฒนาวิปสสนาญาณไปตามลําดับจนกระทั้งเขาสูมรรคญาณตัดละ
สังโยชนเบื้องต่ํา ๓ เปนผูมีสัมมาทิฏฐิสมบูรณ เรียกวา โสดาปตติผล ซึ่งเปน
ผูมีศีลสมบูรณ สมาธิพอประมาณ และปญญาพอประมาณ๑๑
การปฏิ บั ติ เ พื่ อ ขึ้ น สู ม รรคผลขั้ น สู ง ขึ้ น ไปนั้ น จํ า เป น ต อ งมี ส มาธิ
ระดั บ สมบู ร ณ ด ว ยการปฏิ บั ติ ส มถกรรมฐานกองใดกองหนึ่ ง ที่ ต รงกั บ
อัธยาศัยของผูปฏิบัติ กองที่คนสวนมากนิยมใช ไดแก อานาปานสติ และ
กสิณ ๑๐ เพราะเปนกองที่สามารถทําใหสมาธิเจริญถึงขั้นสมาบัติ ๘ โดยไม
ตองเปลี่ยนอารมณกรรมฐาน ยังสามารถฝกไปในทางฤทธิ์ โดยเฉพาะกสิณ
ซึ่งจําเปนตองอาศัยเวลาและการฝกฝนอยางมาก ตองอยูในสํานักที่มีครูบา
อาจารยดูแลอยางใกลชิด เพื่อไมใหหลงผิดไปจากทางและเปนไปเพื่อมรรค
ผลขั้นสูง
แทจริงแลวการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติเต็มรูปแบบ สามารถพัฒนา
ทั้งดานสมาธิและปญญาไปพรอมกัน คือพัฒนากําลังสมาธิถึงขั้นสมาบัติ ๙๑๒

๑๐
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๗/๔๗๓., ไดแก พระอริยเจา ขั้นโสดาปตติผลเปนตนไป
๑๑
องฺ.ติก. (ไทย) ๒๐/๘๗/๓๑๓-๓๑๔.
๑๒
อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๘๐๘/๕๑๙.
๘๘๓
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ไดแก รูปสมาบัติ ๔ อรูปสมาบัติ ๔ และสัญญาเวทยิตนิโรธ สวนดานปญญา


จะพัฒนาไปตามลําดับโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ไดแก สติปฎฐาน ๔ สัมมัปปธาน
๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ และอริยมรรคมีองค ๘ จนรู
แจงในญาณ ๑๖ โดยไมตองเปลี่ยนกองสมถกรรมฐานแตอยางใด
สิ่งที่พิเศษกวาสมถะกรรมฐานกองอื่น ๆมีเฉพาะการเจริญเมตตา
เทานั้น ก็คือ อานิสงสของการเจริญเมตตา ที่จะไดรับประโยชนโดยตรง
เฉพาะตน มี ๑๑ ประการ ไดแก ๑.หลับเปนสุข๒.ตื่นเปนสุข๓.ไมฝนราย๔.
เป น ที่ รั ก ของมนุ ษ ย ทั้ ง หลาย๕.เป น ที่ รั ก ของอมนุ ษ ย ทั้ ง หลาย๖.เทวดา
ทั้งหลายรั กษา๗. ไฟ ยาพิษ หรือศัส ตรา กล้ํ ากรายไมได๘ . จิต ตั้ งมั่น เร็ ว
๙. สีหนาสดใส๑๐. ไมหลงลืมสติตาย๑๑. เมื่อยังไมแทงตลอดคุณวิเศษอัน
ยอดยิ่งยอมเขาถึงพรหมโลก ดังนั้นผูเจริญเมตตาจะมีสติตั้งมั่น พิจาณาเห็น
ธรรมที่ สิ้ นอุ ปธิ ย อมมี สั งโยชน เบาบาง จนละอาสวะกิ เลสได ๑๓นี้ เป นแนว
ทางการเจริญวิปสสนาที่มีเมตตาเปนพื้นฐาน
จากการศึกษาทําใหขาพเจามั่นใจในการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติวาเปน
แนวทางที่ จะพั ฒนาจิ ตเขาสู การเจริ ญวิ ป สสนาขั้ นสูงได จริง และยังมีความ
มั่นใจในแนวทางการสอนของพระภาวนาพิศาลเมธี ที่ถูกตรงตามหลักคําสอน
เปนขั้นตอน มีการสอบอารมณทุกวัน หรือวันเวนวัน พรอมใหคําแนะนําการ
ปฏิบัติเมื่อสภาวะธรรมปรากฏชัดเจนเปนระยะเวลาพอสมควร และผูปฏิบัติ
กําหนดจดจอตอเนื่อง มีอินทรีย ๕ สมบูรณแลวจะเขาสูกระบวนการอธิษฐาน
ธรรมของแตละบุคคล ตามการตัดละสังโยชนที่ปรากฏ ซึ่งเปนกระบวนการ
วัดผลที่ชัดเจน ที่พระภาวนาพิศาลเมธี ไดดําเนินมาหลายป ซึ่งทานเปนพระ
วิปสสนาจารยที่มีประสบการณสูงมาก ทั้งดานการสอนวิปสสนาภาวนาทั้งภาค
ปริยัติ ภาคปฏิบัติ และประสบการณดานการสอบอารมณ

๑๓
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒/๔๖๐., ขุ.อิต.ิ (ไทย) ๒๕/๒๗/๓๗๒.
๘๘๔
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

เมื่อขาพเจาไดเขาสูการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ สิ่งที่ยิ่งทําใหมั่นใจ
วาเปนแนวทางที่ตรงและเขาสูมรรคผลขั้นสูงได คือสภาพธรรมที่ปรากฏของ
การใชเมตตาฌาน กลาวคือ สภาวะของสมาธิที่ดิ่งเจาะลึกไปยังภาวะจิตใต
สํานึก เห็นการขุดของอนุสัยกิเลสจํานวนมหาศาล สงจิตกระจายไปรอบทุก
ทิ ศ ทุ ก ทาง (๑๐ ทิ ศ ) เป น อานุ ภ าพของสมาธิ ที่ ห าประมาณมิ ไ ด มี
ประสิทธิภาพสูงมาก และเมื่อถึงอุเบกขาฌานแลว ทรงสภาวะความวาง จับ
ที่จิตตัวรูเห็นอาการเกิดดับแบบถี่ยิบ สงจิตทะลุผานความวาง ผานกําแพง
อากาศขึ้นสูอรูปสมาธิไปตามลําดับจนถึงสมาบัติ ๘ ดวยกําลังสมาธิที่ฝกมาดี
แลว สามารถสงจิตดิ่งลึกไปตัดละอนุสัยกิเลสไดรอบทิศ ในทุกอิริยาบถ ทุกที่
ทุกเวลา ยังสงผลใหเกิดอภิญญาจิตขึ้นมาเอง ตามเหตุปจจัย จิตไมหลง เปน
สักวาสภาวะ เพราะสุดทายตองละทั้งหมด ละฌาน ละญาณ ละสมาบัติ จน
ละนิพพานเปนที่สุด (อานเพิ่มเติมไดในบันทึกประสบการณการปฏิบัติ)
๒. วิธีการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ
๒.๑ ความหมาย
เมตตา แปลวา มิตร ภาวะรวมประโยชน ความปรารถนาดีดอผูอื่น
อยางจริงใจเจโตวิมุตติ๑๔ แปลวา ความหลุดพนแหงจิต หลุดจากอํานาจของ
กิเลสดวยการฝกสมาธิเมตตาเจโตวิมุตติ แปลวา ภาวะหลุดพนแหงจิตอาศัย
เมตตาฌานเปนบาทฐานใหวิปสสนา แบงเปน ๓ ขั้น ไดแก
๑. เมตตาเที ย ม คื อ แผ ค วามปรารถนาดี ใ ห ผู อื่ น มี ค วามสุ ข
ปราศจากทุกข๑๕ ซึ่งเปนภาวะปรุงแตงจิตดวยการสงเมตตาใหกับบุคคลอัน
เป น ที่รั ก โดยยึด ว าเป น บิ ดา มารดา ญาติพี่น อง เพื่อน ผูกไวด ว ยอํานาจ

๑๔
ที.ปา. (ไทย) ๑๐/๑๑๐/๘๒., เจโตวิมุตติ หมายถึง หลุดพนดวยกําลังของการ
ฝก เชน สมาบัติ ๘ เปนเจโตวิมุตติอันละเอียดประณีต (ที.สี.อ. ๓๗๓/๒๘๑)
๑๕
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), พรหมวิหาร, แปลโดย พระคันธะสาราภิ
วงศ, (กรุงเทพมหานคร: หจก.ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๕),หนา ๔.
๘๘๕
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ตั ณหาเปมะ องคธ รรมได แก โลภเจตสิ ก จึ ง มีอารมณเ ป น ป ย มนาปสั ต ว


บั ญญั ติ ก ารแผ จ ะเริ่ มจากตนเอง ผู มีพระคุ ณ (บุ ค คล) ญาติ มิต ร-คนรู จั ก
(กลุม)ซึ่งเปนขั้นบริกรรมภาวนาและบริกรรมนิมิต ที่ใชคําบริกรรมพรอมปรุง
จิตเพื่อเขาสูสมาธิระดับสูงขึ้นได
๒. เมตตาแท คือ แผดวยจิตที่เปนกลาง มีความเสมอภาคกันทั้ง ๔
บุคคล ไดแก ตนเอง ผูเปนที่รัก ผูเปนกลาง และผูเปนศัตรู เริ่มมีการทําลาย
ขอบเขต เรียกวา “สีมสัมเภท” จิตเขาสูอุปจารสมาธิและอุคคหนิมิต โดย
แผแบบเจาะจง ๗ กลุม (๑๑ กลุมยอย) ไดแก หญิงทั้งหลาย ชายทั้งหลาย
จนถึง สั ต ว นรกทั้งหลาย จิ ต แนบกับอารมณที่แผให ไดมากขึ้น และเริ่ มมี
อาการปติ สุข ปรากฏขึ้น เมื่อปลอยจิตใหสบายๆ จะขึ้นสูสมาธิขั้นฌานได
๓.เมตตาฌาน ๑๖ คื อ แผ เ มตตาทํ า ลายขอบเขตสี ม สั ม เภทได
สมบูร ณแลว แผด วยจิต ไมมีขอบเขต ไมมีประมาณ มีกําลั งถึงระดั บฌาน
เปนอัปปนาสมาธิและปฏิภาคนิมิตตองใชการแผเมตตาระลึกถึงดวยใจแลว
แผออกไป ไมใชการบริกรรมแบบทองจําเมตตาฌานที่จะมีกําลังนั้น จะเปน
บาทฐานตอการเขามรรคผลได โดยแผไปยังบุคคลแบบไมเจาะจง ๕ บุคคล
มีสัตวทั้งปวง เปนตน และแผไปในทิศทั้ง ๑๐ มีทิศบูรพา เปนตน

๑๖
สํ.นิ. (ไทย) ๑๖/๒๒๕/๓๑๔., เมตตาฌาน หรือ เมตตาเจโตวิมุตติในที่นี้
หมายถึงเมตตาที่เกิดจากตติยฌานและจตุตถฌาน เพราะพนจากปจจนีกธรรม (ธรรมที่
เปนขาศึก) กลาวคือนิวรณ ๕ ประการ ไดแก กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุก
กุจจะ และวิจิกิจฉา (ที.ปา.อ. ๓๒๖/๒๓๔, องฺ.เอกก.อ. ๑/๗/๔๒), องฺ.ฉกฺก.อ. ๓/๑๓/
๑๐๔)
๘๘๖
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ภาพแสดงขั้นตอนการแผเมตตาเจโตวิมุตติ (เต็มรูปแบบ)
- บริกรรมนิมิต - อุคคหนิมิต - ปฏิภาคนิมิต
- ปยมนาปสัตวบัญญัติ - เริ่มทําลายสีมสัมเภท - อัปปนาสมาธิ

ขั้นที่ ๑เมตตาเทียม ขั้นที่ ๒ เมตตาแท ขั้นที่ ๓ เมตตาฌาน


๑. แผใหตนเอง เจาะจง ๗ บุคคล ไมเจาะจง ๕ บุคคล
๑. ญิงทั้งหลาย ๑. สัตวทั้งปวง
๒. แผใหผูอื่น ๑ คน ๒. สิ่งมีชีวิตที่
- ผูมีพระคุณ ๒. ชาย ทล. มีลมหายใจ ทป.
๓. อารยชน ทล. ๓. สิ่งมีวิญญาณ ทป.
๓. แผใหผูอื่น (กลุม) - ผูเปนใหญ ทล. ๔. บุคคล ทป.
- เทวดารักษาตน ๔. อนารยชน ทล. ๕. ผูนับเนื่องดวย
- โยคี, เจาหนาที่ - ชน ทล. อัตภาพ ทป.
- ญาติทั้งหลาย ๕. เทวดา ทล. ทิศ ๑๐
๑. บูรพา ๖.พายัพ
- คนที่รูจักทั้งหลาย - พรหม ทล. ๒. ปจฉิม ๗.อีสาน
- เทวดา ทล. ๓. อุดร ๘.หรดี
๖. มนุษย ทล. ๔. ทักษิณ ๙.บน
๗. วินิปาติกา ทล. ๕. อาคเนย ๑๐.ลาง
คําแผเมตตาภาวนา - สัตวเดรัจฉาน ทล.
“ขอให.....มีความสุข - เปรต ทล.
ปราศจากทุกข” - อสุรกาย ทล.
- สัตวนรก ทั้งหลาย คําแผเมตตาเจโตวิมุตติ
“ขอ(บุคคล) (ทิศ)
จงเปนผูไมมีเวร
ไมเบียดเบียนกัน
ไมมีทุกข มีสุข
รักษาตนอยูเถิด

ผล คําแผเมตตาอินทรีย
พระนิพพาน “ขอ(บุคคล) (ทิศ)
นิโรธสมาบัติ จงเปนผูไมมีเวร
ผลสมาบัติ มีความปลอดโปรง
ฌานสมาบัติ มีสุขเถิด”

๘๘๗
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๒.๒ วิธีการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ(เต็มรูปแบบ)
การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติที่มีขั้นของการพัฒนาจิตเต็มรูปแบบ
นั้น จะเจริญครอบคลุมทั้งเมตตา กรุณา มุฑิตา และอุเบกขา มีอารมณ
จิต ที่มีกําลังสมาธิ สามารถไปถึงขั้น สมาบั ติ ๘ และเกิดป ญญารู แจ งไป
ตามลําดับแหงญาณ ๑๖ ได ดวยการปฏิบัติไปตามขั้นตอนของการเจริญ
เมตตาทั้ง ๓ รูปแบบ ไดแก เมตตาภาวนา เมตตาเจโตวิมุตติ และเมตตา
อินทรียมีรายละเอียดดังนี้
๑) การแผเมตตาภาวนา
การแผเมตตาภาวนา คือ ภาวะที่สงความปรารถนาดีอยางจริงใจ
ใหแกมิตรโดยไมหวังผลตอบแทน เมตตาจึงเปนคุณธรรมที่ปรุงจิตใหมี
ความรักตอผูอื่น และเปนบาทฐานตอจิตที่เปนกรุณา มุฑิตา และอุเบกขา
การแผเมตตาภาวนาแบงเปน๒ คือ เมตตาเทียม และ เมตตาแท มีดังนี้
๑) เมตตาเทียม คือ ภาวะปรุงเมตตาจิตสงใหบุคคลอันเปนที่รัก
เรียกวา ปยมนาปสัตวบัญญัติ ตองมีคําบริกรรมประกอบเสมอ โดยนึกคํา
บริกรรมดวยใจ เรียกวา บริกรรมภาวนา แผไปตามลําดับบุคคลดังนี้
คําบริกรรมเมตตาภาวนา
“ขอให มีความสุขขอให ปราศจากกข”
เชน ขอให ขาพเจา มีความสุข ขอให ขาพเจา ปราศจากทุกข
๑. แผใหตัวเอง (ขาพเจา)
๒. ผูมีพระคุณที่มีชีวิตอยู(ใหระบุชื่อ พรอมระลึกใบหนาทีละคน
จนเห็นใบหนาชัดและยิ้มจึงเปลี่ยนคน ไมควรเกิน ๑๐ ทาน)
๓. เทวดารักษาตน (สงจิตไปเหนือศรีษะ ๑-๒ เมตรแลวระลึก)
๔. พระภิกษุสงฆ และโยคี ที่ศูนยปฏิบัติธรรม
๕. ญาติทั้งหลาย (ระลึกถึงแบบเปนกลุมของญาติ สถานที่)
๖. คนรูจักทั้งหลาย (ระลึกกลุมเพื่อนสมัยเรียน กลุมเพื่อน
ทํางาน กลุมเพื่อนที่วัด เปนตน)
๘๘๘
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

วิธีแผ ปรุงแตงจิตดวยเมตตา พรอมกับบริกรรมไปตามลําดับ


บุคคล โดยเริ่มที่ตนเองกอน ระหวางที่บริกรรมไปใหนึกถึงความสุข พลัง
เมตตาในจิตที่มีในตน เชน ขอบคุณธาตุขันธนี้ที่ยังคงเปดโอกาสใหเรา
ไดมาภาวนา ระลึกจนเกิดความชุมเย็นกายใจ มีรอยยิ้ม อาจมีแสงสวาง
หรือกายใจเบา ก็ใหเปลี่ยนไปแผใหผูมีพระคุณทีละคน นึกใบหนาทาน
นั้น จนหนาทานยิ้ม ก็เปลี่ยนคน ทําเชนเดิมแตเปลี่ยนลําดับไปเรื่อยๆ
ถารูสึกวาแผไมออก หรือมีนิวรณแทรก ก็ใหกลับมาแผใหตนเอง
กอนพรอมบริกรรม เมื่อมีกําลังดีแลวก็กลับไปแผใหผูอื่นตออีก ทําเชนนี้
จนครบ ถึงคนที่รูจักทั้งหลาย
๒) เมตตาแท คือ การสงเมตตาดวยจิตที่เปนกลางๆ เริ่มทําลาย
สีมสัมเภท แผไปยังโอทิสบุคคลหรือแผแบบเจาะจงบุคคล ๗ จําพวก๑๗
ขณะแผตองมีคําบริกรรมประกอบเสมอ แตจิตจะมีกําลังและตั้งมั่นมาก
ขึ้นกวาเดิม เปนอุปจารสมาธิ โดยมีวิธีแผแบบเดียวกับเมตตาเทียมและ
แผตอจากเมตตาเทียม โดยเพิ่มบุคคลแบบเจาะจง ๗ เมื่อวาโดยละเอียด
จะมี ๑๑ จําพวก มีดังนี้

คําบริกรรมเมตตาภาวนา - แบบเจาะจง ๗ จําพวก


“ขอให มีความสุขขอให ปราศจากทุกข”
เชน ขอให หญิงทั้งหลายมีความสุขขอให หญิงทั้งหลายปราศจากทุกข
๑. หญิงทั้งหลาย
๒. ชายทั้งหลาย
๓. ผูเปนใหญทั้งหลาย
๔. ชนทั้งหลาย (โดยขอ ๑-๔ แผขยายออกจากสํานักปฏิบัติ -
> ไปยังหมูบาน->ตําบล ->อําเภอ ->จังหวัด ->ประเทศ ->โลก)

๑๗
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒/๔๖๒.
๘๘๙
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๕. พรหมทั้งหลาย (สงจิตขึ้นเหนือศรีษะไปใหสูงที่สุด)
๖. เทวดาทั้งหลาย (สงจิตแผไลลงจากสวรรค ๖ ชั้นตามลําดับ)
๗. มนุษยทั้งหลาย (สงจิตแผกวางขวางไปทั่วทุกมุมโลก)
๘. สัตวเดรัจฉานทั้งหลาย (สงจิตแผไปทุกประเภทสัตว เชน
สัตวบก สัตวน้ํา สัตวในอากาศ หรือสัตวอาศัยตามธาตุ ๔)
๙. เปรตทั้งหลาย (สงจิตไปตามกลุมเปรตที่เราเห็นหรือรูสึก
เชน ตามปาชา หรือ ที่อยูของภพภูมิเปรต)
๑๐.อสุรกายทั้งหลาย (สงจิตไปตามที่เราเห็นหรือรูสึก เชน
ที่ที่มีคนตาย ริมทางเปลี่ยว เปนตน)
๑๑.สัตวนรกทั้งหลาย (จิตดิ่งลงไปในนรกภูมิ ถารูสึกวารอน
นากลัว ตองกําหนดใหดับกอน จึงถอยจิตกลับ)
ซึ่งการแผเมตตาภาวนาโดยสงจิตไปตามกลุมตางๆ เปนการสง
จิตระลึกไปตามความรูสึก หรือสัญญาจําที่เราเคยรูมา เปนสักวาจิตปรุงแตง
ขึ้นมาเทานั้นหาใชสัตว บุคคล ตัวตน เรา เขา พยายามตั้งสติรักษาจิตใหตั้ง
มั่นเฉพาะสิ่งที่แผใหเทานั้น โดยสงความปรารถนาดีใหบุคคลเหลานั้นมีสุข
ปราศจากความทุกขรักษาอุเบกขาและไมหวั่นไหวตามสิ่งที่จิตปรุงแตงขึ้นมา
พระวิปสสนาจารยนิยมใหเจริญเมตตาภาวาในบัลลังกเชา โดย
แผ เมตตาตั้ งแต แผ ให ตนเอง จนถึงชนทั้งหลายเทานั้ น เพื่อใหจิ ตมีกําลั ง
สมาธิเพื่อเปนบาทฐานใหแกการเจริญวิปสสนา แตระหวางวันจะมุงเนนที่
วิปสสนาเปนสําคัญ จนกวาโยคีบุคคลจะมีญาณปญญาแกรอบเขาสูการตัด
ละสังโยชนเบื้องต่ํา ๓มีสัมมาทิฏฐิสมบูรณแลว เปนผูปดประตูอบายภูมิได
แนนอนแลวจึงจะเพิ่มการแผขึ้นชั้นพรหม จนถึงสัตวนรก และเขาสูการเจริญ
เมตตาเจโตวิมุตติตอไปได
๒) การแผเมตตาเจโตวิมตุ ติ
การแผเมตตตาเจโตวิมุตติ คือ ภาวะหลุดพนแหงจิตโดยอาศัย
เมตตาสมาธิระดับอัปปนาภาวนา ทําลายขอบเขตสีมสัมเภท มีความรักเสมอ

๘๙๐
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

กั น ทั้ ง ต อ ตนเอง ผู เ ป น ที่ รั ก ผู เ ป น กลาง และศั ต รู จิ ต เป น อั ป ปมั ญ ญา


กวางขวาง ไมมีประมาณ จิตแผไปในอาการแผ ๔ ไดแก จงเปนผูไมมีเวรไม
เบียดเบียนกันไมมีทุกข มีสุขรักษาตนอยูเถิด โดยแผไปยังอโนทิสบุคคค คือ
แผไมเจาะจงบุคคล๕ จําพวก และแผไปในทิศทั้ง๑๐ โดยมีคําบริกรรมและ
ขั้นตอน๑๘ ดังนี้

คําบริกรรมเมตตาเจโตวิมุตติ
“ขอ (บุคคล)(ทิศ) จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน
ไมมีทุกข มีสุข รักษาตนเถิด”
เชน ขอสัตวทั้งปวง ในทิศบูรพา จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน
ไมมีทุกขมีสุข รักษาตนเถิด

อโนทิสบุคคล (ไมเจาะจง) ๕ จําพวก ไดแก


๑. สัตวทั้งปวง
๒. สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง
๓. สิ่งมีวิญญาณทั้งปวง
๔. บุคคลทั้งปวง
๕. ผูที่นับเนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง
ทิศทั้ง ๑๐ ไดแก
๑. บูรพา (ตะวันออก)
๒. ปจฉิม (ตะวันตก)
๓. อุดร (เหนือ)
๔. ทักษิณ (ใต)
๕. อาคเนย (ตะวันออกเฉียงใต)
๖. พายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ)

๑๘
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒/๔๖๑.
๘๙๑
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๗. อีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ)
๘. หรดี (ตะวันตกเฉียงใต)
๙. เบื้องบน
๑๐. เบื้องลาง
วิธี แ ผ การแผ เ มตตาเจโตวิ มุ ต ติ จะแผ ต อจากเมตตาภาวนา
กลาวคือ แผ ใหต นเอง จนถึง สัต วนรก มีคําบริกรรมว า “ขอให ขาพเจามี
ความสุข ขอใหขาพเจาปราศจากทุกข” เปนตน จนจิตเปนเมตตาแทแลว
จึงเขาสูการแผเมตตาเจโตวิมุตติ เริ่มจากสัตวทั้งปวง (บุคคล)
และเริ่มที่ทิศบูรพา(ทิศ) คําบริกรรมวา“ขอสัตวทั้งปวงในทิศบูรพา จงเปนผู
ไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน ไมมีทุกข มีสุข รักษาตนเถิด” ขณะแผจะสนใจ
เฉพาะสิ่งที่เราแผให คือสัตวทั้งปวง จะไมสนใจอาการแทรกใดๆทั้งสิ้น เมื่อ
สงไปจนสุด อาจมีอาการตัด หรือแผไปตอไมไดแลว จึงเปลี่ยนทิศถัดไป เปน
ทิศปจฉิม ยังคงแผใหบุคคลเดิมอยู แผไปจนสุด จนกระทั่งครบ ๑๐ ทิศ (ทิศ
เบื้องลาง) จากนั้นใหจะเปลี่ยนเปนบุคคลที่ ๒ คือ“สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้ง
ปวง” ในทิศบูรพา ทําเชนเดิมจนครบ ๑๐ทิศ แลวจึงเปลี่ยนบุคคลจนครบ ๕
บุคคล บุคคลละ ๑๐ ทิศ
พระวิปสสนาจารยจะเปนผูพิจารณาวาในบัลลังกหนึ่งๆ อาจจะ
ใหแผไปทิศเดียวจนสุด หรือ บางบัลลังกใหแผทั้ง ๑๐ ทิศ ขึ้นอยูกับสภาวะ
ของโยคีบุ คคล ดั ง นั้ น ต อ งมีการสอบอารมณเ ป น ประจํ า และเมื่อ มีกําลั ง
อิน ทรี ย พัฒ นาอย างต อเนื่ องจนถึงระดั บ หนึ่ งแล ว พร อมทั้งมีส ภาพธรรม
ปรากฏชัดเจนตามเกณฑที่พระวิปสสนาจารยไดเห็นควร ไดแก สภาวะของ
ฌานสมาบัติ ความเปนวสี และสภาวะของโสฬสญาณเปนตน จึงจะใหโยคี
บุคคลแผเมตตาอินทรียตอไป
๓) การแผเมตตาอินทรีย
การแผ เ มตตตาอิ น ทรี ย คือ ภาวะของเมตตาฌานที่ส ง ความ
ปรารถนาดี แ ก ส รรพสั ต ว ไ ม มี ที่ สุ ด ไม มี ป ระมาณ จนสมาธิ พั ฒ นาไป

๘๙๒
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ตามลําดับสมาธิ ๘ ระดับ ตั้งแตปฐมฌานจนถึงเนวสัญญานาสัญญายตนะ


ซึ่งขณะเดียวกันนั้นผูแผเองจะมีการพัฒนาวิปสสนาญาณไปตามลําดับของ
โพธิปกขิยธรรม ๓๗ มีสติปฏฐาน ๔ สัมมัปปทาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย ๕
พละ ๕ โพชฌงค ๙ และอริยมรรคมีองค ๘ จนเขาถึงความหลุดพน ๒ สวน
เรี ยกวา “อุภโตภาควิ มุต ติ”๑๙คือ ด วยกําลังของสมาธิ เป น “เจโตวิ มุต ติ ”
(สมาบัติ ๘) และหลุดพนดวยปญญาเปน “ปญญาวิมุตติ”๒๐
พระวิปสสนาจารยจะพิจารณาสภาวะของโยคีบุคคลที่แผเมตตา
เจโตวิมุตติจนมีสภาวะที่จะเขาสูการแผเมตตาอินทรียได เชน มีสภาวะของ
ฌาน ๔ ที่สมบูรณเปนระยะเวลาพอสมควร และมีการพัฒนาขึ้นสูอรูปสมาธิ
ไปตามลําดับ จึงใหปรับการแผโดยเริ่มจากแผใหตนเองจนถึงสัตวนรก โดย
แผแยกตามกลุมทั้งเมตตา กรุณา มุฑิตา และอุเ บกขา อันเปนเจโตวิมุต ติ
ประกอบดวยอินทรีย ๕ พัฒนาไปตามลําดับจนกระทั้งถึงโพชฌงค ๗๒๑เมื่อ
แผครบแลวจึงขึ้นสูการแผเมตตาอินทรีย มีคําบริกรรมและวิธีแผ๒๒ ดังนี้

คําบริกรรมเมตตาอินทรีย
“ขอ (บุคคล)(ทิศ)จงเปนผูไมมีเวร มีความปลอดโปรง มีสุขเถิด”
เชนขอสัตวทั้งปวง ในทิศบูรพา จงเปนผูไมมีเวร มีความปลอดโปรง มีสุขเถิด

๑๙
สํ . นิ . (ไทย) ๑๖/๒๒๕/๓๑๔., อุ ภ โตภาควิ มุ ต คื อ ผู ห ลุ ด พ น ทั้ ง ๒ ส ว น
หมายถึงพระอรหันตผูบําเพ็ญสมถะมามากจนไดสมาบัติ ๘ แลวจึงใชสมถะนั้นเปนฐาน
บําเพ็ญวิปสสนาตอไป ชื่อวาหลุดพน ๒ สวน คือหลุดพนจากรูปกายดวยอรูปสมาบัติ
(วิกขัมภนะ) และหลุดพนจากนามกายดวยอริยมรรค (สมุจเฉทะ) (ที.ม.อ. ๑๓๐/๑๑๓).
๒๐
ที.ปา. (ไทย) ๑๐/๑๑๐/๘๒., ปญญาวิมุ ตติ หมายถึง ความหลุดพนดว ย
ปญญา กําจัดอวิชชาได ทําใหสําเร็จอรหัตตผล และทําใหเจโตวิมุตติ เปนวิมุตติที่ไม
กําเริบคือ ไมกลับกลายไดอีกตอไป (ที.สี.อ. ๓๗๓/๒๘๑).
๒๑
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๒๓๕/๑๗๗.
๒๒
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๓/๔๖๔.
๘๙๓
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

อโนทิ ส บุ ค คล (ไม เ จาะจง) ๕ จํ า พวก ได แ ก สั ต ว ทั้ ง ปวง


สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง สิ่งมีวิญญาณทั้งปวงบุคคลทั้งปวง และผูที่นับ
เนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง
ทิศ ทั้ ง ๑๐ ได แ ก บู ร พา(ตะวั น ออก) ป จ ฉิ ม (ตะวั น ตก) อุ ด ร
(เหนือ) ทักษิณ(ใต) อาคเนย(ตะวันออกเฉียงใต) พายัพ(ตะวันตกเฉียงเหนือ)
อีสาน(ตะวันออกเฉียงเหนือ) หรดี(ตะวันตกเฉียงใต) เบื้องบน และเบื้องลาง
วิธีแผ เริ่มจากการแผใหตนเองจนถึงสัตวนรก ใหแยกตามกลุม
แผ ด ว ยจิ ต เป น เมตตา กรุ ณ า มุ ฑิ ต า และอุ เ บกขา อั น เป น เจโตวิ มุ ต ติ
กลาวคือ จิตถึงระดั บสัมโพชฌงค๒๓ อันประกอบดวยฌาน ใชคําบริกรรม
ตามกลุมที่อธิบายไวแลว จนจิตละบริกรรมเองแตยังคงแผไปใหครบ ดังนี้
๑. แผ เ มตตาเจโตวิ มุ ต ติ ได แ ก ตนเอง ผู มี พ ระคุ ณ คนรู จั ก
ญาติ กลุ ม เจาะจง ได แ ก หญิ ง ชาย ผู เ ป น ใหญ และชน
ทั้งหลาย
๒. แผมุฑิตาเจโตวิมุตติ ไดแก พรหม เทวดา มนุษยที่มีความสุข
๓. แผ ก รุ ณ าเจโตวิ มุ ต ติ ได แ ก มนุ ษ ย ที่ ป ระสบทุ ก ข สั ต ว
เดรัจฉาน เปรต อสุรกาย และสัตวนรกทั้งหลาย
๔. แผอุเบกขาเจโตวิมุตติ ไดแก แผอัปปมัญญาออกรอบกายให
สัพพสัตวทั้งหลายไมมีที่สุด ไมมีประมาณ ดวยอุเบกขาจิต
จากนั้นจึงเขาสูการแผเมตตาอินทรีย วิธีแผเชนเดียวกับเมตตาเจโต
วิมุตติ กลาวคือแผบุคคลแรก ไดแก สัตวทั้งปวง คําบริกรรมวา “ขอสัตวทั้ง
ปวง ใน ทิศบูรพา จงเปนผูไมมีเวร มีความปลอดโปรง มีสุขเถิด” จนครบ
๑๐ ทิศ จึงเปลี่ยนบุคคลลําดับที่ ๒ แลวแผจนครบ ๑๐ ทิศ จึงเปลี่ยนบุคคล
ไปจนครบทั้งหมด การแผใหอารมณสนใจอยูเฉพาะสิ่งที่เราแผใหเทานั้น จิต
แรกที่แผออกใหมีคําบริกรรมและเปนเมตตาฌาน เมื่อจิตละบริกรรมจนเขาสู

๒๓
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๒๓๕/๑๗๗.
๘๙๔
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

อุเบกขาฌานแลว ทรงอยู ในความว าง เห็นจิ ตผู รูเ กิด ดับ ในความว างและ
เคลื่อนตอไปนั่นคือเขาสูอรูปสมาธิไปตามลําดับ
การพัฒนาญาณปญญาในเมตตาอินทรียนั้น จะตองสงเมตตาจิต
ที่ระลึกถึงธรรมที่ทําใหพนจากพยาบาทและกิเลสตางๆ เพื่อใหจิตหลุดพน
จากกิเลสที่กลุมรุมจิตทั้งปวงเปน “เจโตวิมุตติ” ดวยอาการ ๘ อยาง๒๔ดังนี้
๑.ดวยเวนความบีบคั้นไมบีบคั้นสัตวทั้งปวง
๒.ดวยเวนการฆาไมฆาสัตวทั้งปวง
๓.ดวยเวนการทําใหเดือดรอนไมทําสัตวทั้งปวงใหเดือดรอน
๔.ดวยเวนความย่ํายีไมย่ํายีสัตวทั้งปวง
๕.ดวยเวนการเบียดเบียนไมเบียดเบียนสัตวทั้งปวง
๖.ขอสัตวทั้งปวงจงเปนผูไมมีเวรอยาไดมีเวรกัน
๗.จงเปนผูมีสุขอยามีทุกข
๘.จงมีตนเปนสุขอยามีตนเปนทุกข
การระลึกถึงธรรม ๘ ประการนี้ ถาสามารถกระทําตลอดทั้งวัน
ทั้งคืน ระลึกดวยสติทุกขณะจิตที่กระทบกับภาวะของสัตวทั้งหลายแลว จิต
จะสํารวมระวังทั้งภายในและภายนอก ทําใหการปฏิบัติพัฒนาอยางรวดเร็ว
จนแจงดวยภาวะแหงเหตุปจจัย จิตจะวางเปนกลางสักวาสภาวธรรม
เมื่อโยคีบุคคลแผเมตตาอินทรียจนมีความชํานาญ และพัฒนา
ไปตามลําดับของสมาบัติ ๘ ซึ่งเปนไปตามเหตุปจจัยที่ไดทําใหมาก เจริญให
มากแลว พระวิปสสนาจารยจะพิจารณาใหเจริญเมตตาอินทรียขั้นสูง
๔) การแผเมตตาอินทรียขั้นสูง
เมื่อผูปฏิบัติพัฒนาอินทรียแกรอบสมบูรณเปนปกติดีแลว พระ
วิปสสนาจารยจะพิจารณาใหขึ้นสูการแผเมตตาอินทรียขั้นสูง ขั้นตอนดังนี้
๑. แผเมตตาใหตนเองจนถึงสัตวนรก (แบบเจโตวิมุตติ ๔ กลุม)

๒๔
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๓/๔๖๓.
๘๙๕
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๒. แผเมตตาเจโตวิมุตติไปยังทิศทั้ง ๑๐
๓. แผ เ มตตาอิน ทรี ย แบบละเอีย ดไปในทิศ เดี ย ว เริ่ ม จากทิ ศ
ตะวันออกมีบริกรรมแบบสมถะ แตอารมณจิตพิจารณาธรรมแบบวิปสสนา
กล า วคื อ ตามดู ค วามเกิ ด ดั บ ของรู ป นามไปขณะที่ แ ผ ส ง จิ ต ไปปกติ แต
พิจารณาธรรมดวย (บางครั้งพระวิปสสนาจารยจะใหแผเมตตาอินทรียไป
๑๐ ทิศ กอน แลวจึงแผเมตตาอินทรียแบบละเอียดในทิศเดียวตอ)
การแผเมตตาอินทรียขั้นสูงนี้ จิตของผูปฏิบัติจะละเอียดมากทั้ง
สมาธิฌานจะสามารถไปถึงสมาบัติ ๘ ไดอยางชํานาญ รวมทั้งเกิดปญญาใน
การพิจารณาธรรมไปตามลําดับของสภาวะญาณ ๑๖ จะแจมชัดมาก เห็น
ความสัมพันธของสมถะและวิปสสนาอยางชัดเจน แจมแจง คลายความสงสัย
ที่เกิดจากความไมรู (อวิชชา) ไดอยางมาก เขาใจสภาวะรูปนาม ทุกแงมุม
ทุกประสบการณ ทุกมิติของจิต รูไดทุกอิริยาบท สุดทายจะคลายอุปาทาน
เพราะเห็ น ว า ทุกๆขณะ เป น สั กว าการทํ างานของขัน ธ ๕ ดู ร ายละเอีย ด
เพิ่มเติมในหัวขอ “การเจริญเมตตาเพื่อเปนบาทฐานขึ้นสูมรรคผลเบื้องสูง”
๒.๓ สมาธิ ๙ ระดับดวยการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ
สมาธิ หรือ ฌาน แปลวา เพงจนจิตแนวแนจนถึงอัปปนาสมาธิ ใน
สมถะ ๔๐ กองนั้นกองที่จัดเปนอัปปนาสมาธิ มี ๓๐ กอง ไดแก กสิณ ๑๐
อานาปานสติ ๑ อสุภะ ๑๐ กายคตาสติ ๑ อัปปมัญญา ๔ และ อารุปป ๔
สมาธิ ๙ ระดั บ คื อ ลํ า ดั บ ของการเพ ง จิ ต จนเป น ฌาน โดยมี
รู ป ธรรมและอรู ป ธรรมเป น อารมณ หรื อ เรี ย กว า สมาบั ติ ๙ ๒๕ ได แ ก รู ป
สมาบัติ ๔อรูปสมาบัติ ๔และสัญญาเวทยิตนิโรธ อธิบายดังนี้
๑. ปฐมฌาน มีองค ๕ คือ วิตก(ตรึก) วิจาร(ตรอง) ปติ(อิ่มใจ) สุข
(สบายใจ) และเอกัคคตา(จิตมีอารมณเปนหนึ่ง)

๒๕
อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๘๐๘/๕๑๙., อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ หรือ สมาบัติ ๙
๘๙๖
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๒. ทุติยฌาน มีองค ๓ คือ ปติสขุ เอกัคคตา


๓. ตติยฌาน มีองค ๒ คือ สุขเอกัคคตา
๔. จตุตถฌาน มีองค ๒ คือ อุเบกขาเอกัคคตา
๕. อากาสานัญจายตนะคือ กําหนดที่วางหาที่สุดมิได เปนอารมณ
๖. วิญญาณัญจายตนะคือกําหนดวิญญาณหาที่สุดมิได เปนอารมณ
๗. อากิญจัญญายตนะคือ กําหนดภาวะที่ไมมีอะไรๆ เปนอารมณ
๘. เนวสัญญานาสัญญายตนะคือ ภาวะมีสัญญาก็ไมใช ไมมีสัญญาก็
ไมใช เปนอารมณ๒๖
๙. สัญญาเวทยิ ตนิโ รธ คือ ภาวะที่ดับ สัญญาและเวทนามี ๒ คือ
อสัญญสมาบัติ มีแกปุถุช น และนิโรธสมาบัติ เฉพาะพระอนาคามีและพระ
อรหันต ผูชํานาญในสมาบัติ ๘ ขางตนจึงจะเขาได๒๗
ฌาน ๒ จําแนกโดยสภาพธรรมของผูปฏิบัติ มี ๒ ประเภท ไดแก
๑. โลกียฌาน คือ ฌานของปุถุชน สมาธิยอมเสื่อมดวยธรรมอันเปน
ขาศึก (นิวรณ) เปนภาวะผูยังไมรูแจงวิมุตติที่ยอดเยี่ยมในธรรมวินัยนี้๒๘แมผู
นั้นจะสามารถเขาถึงสมาบัติ ๘ ได ก็จัดเปนโลกียฌาน ลักษณะของโลกีย
ฌาน ตองใชการเพงสยบในอารมณเดียวที่เปนบัญญัติ (อารัมมณูปนิชฌาน)
โลกียฌานตองใชการนั่งเขาฌานเทานั้น และมีเสียงเปนขาศึกตอฌาน
๒. โลกุตตรฌาน คือฌานที่บุคคลนั้นยอมไมหวั่นไหวเพราะทิฏ ฐิ
ตางๆ เปนผูฉลาดในฌานและวิโมกข ตั้งจิตมั่นแลวยอมเห็นแจงทั้งสมถะและ
วิ ป ส สนาเกิ ด ขึ้ น ได ในขณะนั้ น และเห็ น ว าสั งขารทั้ งหลายเป น ทุก ข เห็ น
นิพพานเป นสุข๒๙เปนฌานของพระอริยเจ าทั้งหลาย ไดแก สมาบัติ ๘ ผล

๒๖
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวล
ศัพท,พิมพครั้งที่ ๒๑, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพผลิธัมม, ๒๕๕๖), หนา ๓๔๔,๕๑๓.
๒๗
อภิ.ปฺจ.อ. ๗๓๕/๒๘๒.
๒๘
สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๒๓๕/๑๗๘.
๒๙
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๖๒/๑๐๑.
๘๙๗
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

สมาบัติ และนิโรธสมาบัติ ซึ่งจะสามารถเห็นการเกิดดับของรูปนามเปนไป


ตามกฎพระไตรลั กษณในขณะทํ าฌาน (ลั กขณู ป นิ ช ฌาน) โลกุต ตรฌาน
สามารถจะทําฌานขณะเดินจงกรม ทําอิริยาบทยอยตางๆ แมขณะนั่งเจริญ
ฌาน หูก็จะไดยินเสียงแตจะไมสนใจ แมแตเจริญจนเขาอรูปสมาธิ บางครั้งรู
กายแตจะไมสน และสามารถกลับเขาสูอารมณฌานไดอยางรวดเร็ว
ฌานของอัปปมัญญา ๔ ลักษณะของฌานที่เกิดจากการเจริญอัปป
มัญญา หรือ พรหมวิหาร ๔ ไดแก เมตตา กรุณา มุฑิตา และอุเบกขา มีดังนี้
๑. อารมณ : เปนบัญญัติ เรียกวา สัตวบัญญัติ ซึ่งตางจากบัญญัติ
อารมณทั้งหมด กลาวคือ เปนบัญญัติอารมณแตไมมีภาพ
๒. ภาวนา๓ : เปนบริกรรมภาวนา อุปจารภาวนา อัปปนาภาวนา
๓. นิมิต ๓ : เปนบริกรรมนิมิต อุคหนิมิต (โดยปริยาย) และ
ปฏิภาคนิมิต (โดยปริยาย)๓๐
๔. รูปฌาน ๔ : เมตตา มุฑิตา กรุณา ไดปฐมฌานถึงตติยฌาน
สวนอุเบกขาไดจตุตถฌาน
๕. ยกขึ้นสูอรูปสมาธิ ๔ : จากภาวะรูปฌาน ๔ มีความวางและจิต
รูเกิดดับทรงอยู ใหกําหนดที่วางหาที่สุดมิได เปนอารมณแลว
เจริญตอไปในอรูปสมาธิ ๔ โดยมีการแผจิตออกไปเปนลําดับ
๑) สมาธิ ๙ ระดับที่ปรากฏในพระไตรปฏก
สมาธิ ๙ ระดับ หรืออนุปุพพวิหารธรรม๓๑ หมายถึงธรรมเครื่องอยู
ที่ตองเขาสมาบัติตามลําดับ เรียกวา สมาบัติ ๙ หรือ สมาธิจริยา ๙๓๒ มีดังนี้

๓๐
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม ๑ สมถกร
รมฐานทีปนี, หนา ๑๘๙., บริกรรมนิมิต คือ เริ่มแผเมตตาตนเองถึงเวรีบุคคล อุคคห
นิมิต คือ เมตตาจิตเกิดทั่วไปยังไมเขาถึงสีมสัมเภท ปฏิภาคนิมิติ คือ สําเร็จสีมสัมเภท
แลว, โดยปริยาย เพราะเปนกรรมฐานที่ใชใจ ไมไดอาศัยการเห็นหรือกระทบ
๓๑
องฺ.นวก.อ. ๓/๓๒-๓๓/๓๐๗
๓๒
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๘๕/๑๔๓.
๘๙๘
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ภิกษุนั้น ละนิวรณ๕ ประการนี้ ที่เ ปน เครื่องเศราหมองแหงจิต เป น


เครื่องทอนกําลังปญญาแลวสงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแลวบรรลุ
“ปฐมฌาน”ที่มีวิตกวิจารปติและสุขอันเกิดจากวิเวกอยู
เพราะวิต กวิจารสงบระงับไปบรรลุ “ทุติยฌาน”มีความผองใสใน
ภายในมีภาวะที่จิตเปนหนึ่งผุดขึ้นไมมีวิตกไมมีวิจารมีแตปติและสุขอันเกิด
จากสมาธิอยู
เพราะปติจางคลายไปมีอุเบกขามีสติสัมปชัญญะเสวยสุขดวยนาม
กายบรรลุ“ตติยฌาน”ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญวา‘ผูมีอุเบกขามีสติอยู
เปนสุข’
เพราะละสุขและทุกขไดเพราะโสมนัสและโทมนัสดับไปกอนบรรลุ
“จตุตถฌาน”ที่ไมมีทุกขและไมมีสุขมีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาอยู๓๓
เพราะลว งรูป สัญญาดับ ปฏิฆสัญญาไมกําหนดนานัตตสัญญาโดย
ประการทั้งปวงบรรลุ“อากาสานัญจายตนะ” โดยกําหนดวา ‘อากาศหา
ที่สุดมิได’
เพราะล ว งอากาสานั ญ จายตนะโดยประการทั้ ง ปวงบรรลุ
“วิญญาณัญจายตนะ” โดยกําหนดวา‘วิญญาณหาที่สุดมิได’
เพราะล ว งวิ ญ ญาณั ญ จายตนะได โ ดยประการทั้ ง ปวงบรรลุ “อา
กิญจัญญายตนะ”โดยกําหนดวา‘ไมมีอะไร’
เพราะลวงอากิญจัญญายตนะโดยประการทั้งปวงบรรลุ“เนวสัญญา
นาสัญญายตนะ”
เพราะล ว งเนวสั ญญานาสั ญญายตนะโดยประการทั้งปวง บรรลุ
“สัญญาเวทยิตนิโรธ”เพราะเห็นดวยปญญา อาสวะทั้งหลายของเธอยอม
สิ้นไป๓๔
สรุปความดับไปตามลําดับองคฌานของสมาธิ ๙ ระดับ๓๕ มีดังนี้

๓๓
ม.ม. (ไทย) ๑๓/๑๓/๑๖.
๓๔
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๓๒๓/๓๕๕.
๘๙๙
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๑.กามสัญญาของผูเขาปฐมฌานดับไป
๒.วิตก วิจารของผูเขาทุติยฌานดับไป
๓.ปติของผูเขาตติยฌานดับไป
๔.ลมหายใจเขาลมหายใจออก(กาย) ของผูเขาจตุตถฌานดับไป
๕.รูปสัญญาของผูเขาอากาสานัญจายตนฌานดับไป
๖.อากาสานัญจายตนสัญญาของผูเขาวิญญาณัญจายตนฌานดับไป
๗.วิญญาณัญจายตนสัญญาของผูเขาอากิญจัญญายตนฌานดับไป
๘.อากิญจัญญายตนสัญญาของผูเขาเนวสัญญานาสัญญายตนดับไป
๙.สัญญาและเวทนาของผูเขาสัญญาเวทยิตนิโรธดับไป
การเขาสมาบัติ ๙ ตองเขาจนเปน “วสี” แปลวา ความชํานาญใน
ฌาน ทําฌานไดตามปรารถนา ณ ทีใ่ ด เมื่อไรก็ได มี ๕ อยาง๓๖ ดังนี้
๑.ชํานาญในการนึกถึงฌาน เชน นึกถึงปฐมฌาน นึกเมื่อไร ที่ใดก็ได
(อาวัชชนวสี)
๒.ชํานาญในการที่เขาฌาน รวดเร็ว ฉับพลัน (สมาปชชนวสี)
๓.ชํานาญในการทรงฌาน หรือรักษาภวังคจิต (อธิฏฐานวสี)
๔.ชํานาญในการจะออกจากฌาน ตรงเวลาที่กําหนด (วุฏฐานวสี)
๕.ชํานาญในการพิจารณาองคฌานแตละองค (ปจจเวกขณวสี)
๒) การแผเมตตาเจโตวิมุตติเขาสูสมาธิ ๙ ระดับ
การแผ เ มตตาเจโตวิ มุ ต ติ จั ด เป น โลกุ ต ตรฌาน เพราะบุ ค คลที่
สามารถปฏิ บั ติ เ มตตาเจโตวิ มุต ติ นั้ น จะต องเป น ผู มีสั มมาทิฎ ฐิ ที่ส มบู ร ณ

๓๕
องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๓๑/๔๙๓., สัญญาเวทยิตนิโรธ หมายถึง สมาบัติที่ดับ
สัญญาและเวทนา มี ๒ อยาง คือ (๑) อสัญญาสมาบัติ มีแกปุถุชน (๒) นิโรธสมาบัติ
เฉพาะพระอนาคามีและพระอรหันตผูชํานาญในสมาบัติ ๘ แลวเทานั้นจึงจะเขาได
(อภิ.ปฺจ.อ. ๗๓๕/๒๘๒)
๓๖
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๘๕/๑๔๓.
๙๐๐
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ไดแก พระอริยะเจาทั้งหลาย มีจิตที่เปนโลกุตตรจิต (ผลจิต) เมื่อทําฌานจึง


เกิดเปนโลกุตตรฌาน
ซึ่งขณะที่แผเมตตาออกไปสูทิศต างๆ ใหบริกรรมไปวา “ขอสัพพ
สัตวทั้งปวง ที่อยูในทิศตะวันออก จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน ไมมี
ทุกข มีสุข รักษาตนเถิด” เปนตน โดยอารมณหลักที่ตองยึดใหมั่นคง ไดแก
สิ่งที่เราแผใหในที่นี้คือ สัพพสัตวทั้งปวง แลวนอมจิตเมตตาออกไป
แทจริงแลวขณะที่แผเมตตาออกไปนั้นจะมีอารมณเปลี่ยนแปลงเกิด
ดั บ ทุ กขณะ แต เ ราจะไมส นใจการเกิ ด ดั บ นั้ น ไมส นใจอารมณแ ทรกใดๆ
ทั้งสิ้น ยิ่งมีสติ สมาธิจดจอตั้งมั่นกับสิ่งที่เราแผใหมากเทาไร ภาวะของฌานก็
จะพัฒนาอยางเร็วขึ้นเทานั้น จากปฐมฌาน เขาสู ทุติยฌานตติยฌาน จน
กระทั้งถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ ไปตามลําดับ มีดังนี้
๒.๑) ปฐมฌาน
องคฌาน: มี ๕ ไดแก วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา
อาการ: แผไปแลวมีความสงบระงับของนิวรณ ๕ จิตตั้งมั่นอยูกับคํา
บริกรรม และอาการแผไปสูสัตวทั้งปวง อาการมีดังนี้
๑. มีคําบริกรรม และนึกนอมไปยังบุคคลที่แผให (วิตก วิจาร)
๒. รางกายเบาสบาย จิตแชมชื่น (ปต)ิ
๓. มีความสุขกาย สุขใจ (สุข)
๔. จิตที่ตั้งมั่น จะสงบไมซัดสาย ระงับจากนิวรณตางๆ (เอกัคคตา)
๕. หูไดยินเสียงชัด แตไมรําคาญ คุมอารมณไดเปนปกติ
๖. ลมหายใจเบาลงเล็กนอย
๗. จิตยังไมมีกําลังมากนัก บางครั้งก็เคลื่อนไปสูอุปจารสมาธิไดงาย
๘. จิ ต มีอ าการเคลิ้ ม เหมือ นจะหลั บ แต ไม ห ลั บ ตั ว ตรงดี ต อมา
คลายหวิวตกจากที่สูง (อารมณหยาบของปฐมฌานที่ไมทรงตัว)
วิธแี ผ : บริกรรมพรอมทั้งสงจิตเมตตา การแผใหปรุงแตงจิตจนรูสึก
เปยมดวยความปรารถนาดีตอเหลาสัตว ชุมเย็น อาจมีแสงสวาง สงจิตเมตตา

๙๐๑
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ใหโดยไมมีสวนเหลือ และสนใจเฉพาะสิ่งที่เราแผให เชน สัตวทั้งปวง จนสงบ


ระงับจากนิวรณ และไมสนใจอาการแทรกใดๆ แมวาจะชัดเจนหรือรุนแรง
สักเพียงใด จนจิตละคําบริกรรมเอง นั่นคือเขาสูทุติยฌาน
๒.๒) ทุติยฌาน
องคฌาน:มี ๓ ไดแก ปติ สุข และเอกัคคตา
อาการ: ไมมีคําบริกรรม จิตละวิตก วิจาร จะเห็นอาการของปติ
ตางๆ อยางชัดเจน อาการมีดังนี้
๑. ไมมีคําบริกรรม ไมมีความคิด ไมมีเสียงพากย (ละวิตก ละวิจาร)
๒. จิตมีความเอิบอิ่ม ชุมชื่น เบา สวาง เปนตน (ปติ)
๓. มีความสุขกาย สุขใจ (สุข)
๔. จิตสงัด สงบ ประณีต ทรงอารมณสมาธิไดดีขึ้น (เอกัคคตา)
๕. จิตจับอารมณไดไวขึ้น จิตนอมเขาภายใน ไมซัดสาย
๖. ลมหายใจและเสียงแผวเบาลงอีก
๗. ตั้งมั่นอยูแ ตบริกรรมหาย(อาการจิตทรงสมาธิสูงขึ้น)
๘. เผลอ ลืมตัว ลืมภาวนา (เคลื่อนจากฌาน ๒ ไปอุปจารสมาธิ)
วิธีแผ: แผโดยจิตจับอยูกับสิ่งที่เราแผให โดยไมสนอาการแทรกใดๆ
จิตจะละความคิด(วิตก) ละเสียงพากย เสียงพูดในจิต (วิจาร) ละบริกรรมเอง
แตจะสังเกตเห็นอาการปติตางๆ เชน เบา หนัก ตัวขยาย ไหว โยก เอน สั่น
ปากงับ สะบัด ซาบซา เย็น รอน เปนตน ซึ่งปติจะสงผลตอกาย ควรทรงกาย
ใหตรงไว ทําเชนนี้ไปเรื่อยๆ จนจิตละปติตางๆ เอง และสังเกตเห็นอาการ
ของสุขอยางชัดเจน นั่นคือเขาสูตติยฌาน
๒.๓) ตติยฌาน
องคฌาน:มี ๒ ไดแก สุข และเอกัคคตา
อาการ: ไมมีคําบริกรรม ไมมีวิตก ไมมีวิจาร ไมมีปติ จะเห็นเฉพาะ
อาการสุข สงบภายในขึ้นอยางชัดเจน ตัวตรงนิ่ง อาการมีดังนี้
๑. ความชุมชื่น เอิบอิ่มหายไป แตจิตจะมีสุขเดนชัดขึ้น (ละปติ)
๙๐๒
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๒. จิตมีความสุข โดยไมมีปติ (สุข)


๓. จิตมีสมาธิ ทรงตัวมากยิ่งขึ้น (เอกัคคตา)
๔. กายตั้งตรง เหมือนถูกล็อคไว
๕. ลมหายใจเบามาก จนเกือบไมรูสึก
๖. หูไดยินเสียงเบามาก พอไดยินแผวๆ ขาดๆ หายๆ
๗. มีเวทนาแรง เชน ปวด รอน หนาว อยาขยับตัวฌานจะเคลื่อน
๘. รักษากําลังใจใหมั่นคง พยายามไมสนใจอาการแทรกใดๆ ทั้งสิ้น
๙. จิตดิ่งลึกในสมาธิมาก จนบางครั้งจะมีภาพนิมิตตางๆ หรือเปน
ภาพภพชาติตางๆ ไหลมาเหมือนดูภาพยนตร อาจเห็นไดชัดหรือไมชัด ที่ชัด
จะเสมือนอยูในเหตุการณจริง สัมผัสไดทางทวารทั้ง ๖
ตรงรอยตอระหวางฌาน ๓ กับ ฌาน ๔ จะใชสําหรับฝกอภิญญาจิต
แตถาเห็นภาพแลวมีสติและปญญาญาณ จะพิจารณาเห็นความเบื่อหนายใน
ภพชาติ สังสารวัฏ จะตัดละไดอยางรวดเร็ว จิตจะนอมเขาสูทางพนทุกข
วิธีแผ : เมื่อแผจนจิตละคําบริกรรม ละวิตก ละวิจาร ละปติ ก็ให
แผ ต อ ไปโดยจิ ต จั บ อยู กั บ สิ่ ง ที่ เ ราแผ ใ ห โดยไม ส นอาการแทรกใดๆจะ
สังเกตเห็นอาการสุข สงบระงับภายในอยางชัดเจน มีอาการตัวล็อคตรงแข็ง
หูไดยินแผวมาก ลมหายใจเบาละเอียด อาจจะมีทุกขเวทนาแทรกเขามาเปน
ระยะ ใหพยายามรักษาอาการนิ่ง สนใจตอสิ่งที่เราแผถึงเทานั้น ก็จะมีอาการ
สงบระงับ ทรงสมาธิ นิ่ง จิตเปนอุเบกขาอยูภายในนั่นคือเขาสูจตุตถฌาน
๒.๔) จตุตถฌาน
องคฌาน:มี ๒ ไดแก เอกัคคตา และอุเบกขา
อาการ: ไมมีบริกรรม ไมมีวิตก ไมมีวิจาร ไมมีปติ ไมมีสุข มีแต
อาการสงบระงับ ทรงสมาธิ เปนอุเบกขาอยูภายใน อาการมีดังนี้
๑. ทรงอารมณเปนหนึ่ง เด็ดเดี่ยว มั่นคงมาก (เอกัคคตา)
๒. เหมือนไมมีลมหายใจ จิตสวาง รูชัด อาจจะหูดับ
๓. ไมรูสัมผัสจากภายนอก ถึงรูจะกลับมาเร็วมาก

๙๐๓
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๔. มีความทรงตัวของจิตเปนปกติ (อุเบกขา)
๕. ไมมีภาพ มีแตสภาวะรู กําหนดแค รูหนอ หรือ รูๆๆ
๖. สัณฐานกายไมชัด สภาวะลอยๆ ถาสงสัยฌานจะเคลื่อนหลุด
วิธีแผ : เมื่อแผ จนจิตละความสุข กายยังคงทรงนิ่ งอยู จิตทรง
อารมณเปนหนึ่งไมเคลื่อน เหมือนไมหายใจ หูดับ ไมรับสัมผัสภายนอก รูชัด
โล ง ๆ ว างๆ จิ ต เฉย อาจมีม านหมอกบางๆหากสงสั ย หรื อนึ กคิ ด ฌานจะ
เคลื่อนออกมาทันที ครั้งแรกๆ ใหพยายามทรงสภาวะฌาน ๔ ไวกอนสัก ๕-
๑๐ นาที ในสภาวะโลง โปรง สบาย
เมื่อฝกจนชํานาญ (วสี)จะทรงไดนานขึ้น แลวใหสังเกตในความโลง
วาง จะมีภาวะรูอยูภายใน ถายังไมเห็นใหลองบริกรรม รูๆๆ เปนจังหวะ และ
เพิ่มสังเกตอาการสุด รูแตล ะครั้งดว ย เปรี ยบเหมือนปากอนดิน (ตัว รู) ใส
กําแพง (ภาวะวาง) ซึ่งกอนดินที่ปาถูกกําแพงอากาศ ยอมแตกไปทุกๆครั้งที่
เราปาไปถึง ก็คือเห็นอาการเกิดดับของจิตรูแตละขณะๆ ทําเชนนี้ไปเรื่อยๆ
จนจิตเรียนรู เห็นอาการเกิดดับของจิตรูไดละเอียดและถี่ขึ้น ตอมาเห็นจิตรู
เกิดดับในสภาวะหมอกหนาแนนทึบ นั่นคือเขาสูอากาสานัญจายตนะ
๒.๕) อากาสานัญจายตน
องคฌาน:มี ๒ ไดแก เอกัคคตา และอุเบกขา
อาการ:มีแตอาการสมาธิตั้งมั่น จิตวางเฉย มีอารมณเปน“อากาส
บัญญัติ” คือ กําหนดรูอ ากาสไมมีที่สิ้นสุด อาการมีดังนี้
๑. เห็นจิตตัวรูเกิดดับในความวางไดอยางชัดเจน
๒. เห็นจิตตัวรูเกิดดับไดละเอียดขึ้น จิตรูอาจเคลื่อนที่ไปเรื่อยๆ
๓. มีความวาง อากาศจางๆ หมอกขาวๆ และหนาแนนทึบ
๔. เห็นจิตพยายามจะเคลื่อนทะลุผานความวาง หรือ สภาวะตางๆ
๕. เห็นจิตหาทางลัดเลาะ กระโดดขามสภาวะที่กั้นอยู
๖. บางครั้งอาจมีแสงสวางเจิดจา จนมองไมเห็นทางไป

๙๐๔
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

วิธีแผ : เมื่อสามารถสังเกตเห็นจิตรู เกิดดับบนความวาง (กําแพง


อากาศ) ไดมากและถี่ขึ้น ละเอียดขึ้น อาจเปนหมอกจางๆ หรือหนาแนนทึบ
หรือสวางจาจนมองไมเห็น ผูปฏิบัติที่สะสมกําลังของจิตอยางดีแลว ดวยการ
กําหนดรูทั้งในและนอกบัลลังกอยางจดจอตอเนื่อง จนบมเพาะอินทรีย ๕
สมบูรณ จิตรูก็จะสามารถพุงทะลุผานสภาวะตางๆ ไดไมยากนัก จนพบแต
ภาวะรูๆๆๆ ที่เคลื่อนพุงออกไปอยางตอเนื่อง นั่นคือเขาสูวิญญานัญจายตนะ
๒.๖) วิญญานัญจายตน
องคฌาน:มี ๒ ไดแก เอกัคคตา และอุเบกขา
อาการ: จิ ตเปนกลาง ทรงสมาธิตั้งมั่นอยู กับภาวะรู อยางเดีย ว
เทานั้นฌานนี้มีอารมณเปนปรมัตถ อาการมีดังนี้
๑. มีอาการเคลื่อนของจิตตัวรูอยางตอเนื่อง เปนภาวะ รูๆๆๆๆๆ
๒. เห็นจิตรูเกิดดับถี่ๆ ไดอยางชัดเจน เหมือนรถวิ่งบนทางขรุขระ
วิธีแผ : เมื่อสามารถสังเกตเห็นจิตรูเกิดดับอยางตอเนื่องไมหยุด
และเห็นไดอยางชัดเจน วามีแตภาวะรูๆๆๆๆ ที่เคลื่อนพุงออกไป โดยไมมี
บริกรรม อาจรูสึกไดชัดเหมือนรถวิ่งบนทางขรุขระ จนกระทั่งจิตวิ่งผานเขาสู
ภาวะโลง วาง แตรูสึกการเคลื่อนในความโลงนั้น โดยไมเห็นจิตรูเกิดดับแต
อยางใด นั่นคือเขาสูอากิญจัญญายตนะ
๒.๗) อากิญจัญยายตน
องคฌาน: มี ๒ ไดแก เอกัคคตา และอุเบกขา
อาการ: มีแตอาการปรากฏของสมาธิตั้งมั่น จิตวางเฉย หรือไมรับ
สัมผัสกระทบภายนอกมีอารมณเปน“นัตถิภาวบัญญัติ” คือ ความเหลืออยู
ของอากาศแมเพียงเล็กนอยก็ไมมี อาการดังนี้
๑. จิตรูๆๆๆ จะพุงเขาสูภาวะโลง วาง ไมมีประมาณ
๒. มีการเคลื่อนอยูในภาวะโลงวางอยางเนื่อง โดยไมเห็นจิตตัวรู
วิธีแผ : เมื่อสามารถสังเกตจิตวิ่งผานเขาสูภาวะโลง วาง กวางขวาง
มีการเคลื่ อนไปอย างไมห ยุ ด โดยไมเ ห็น จิ ต รูเ หมือนเดิ มแล ว มีแต อาการ
๙๐๕
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

เคลื่อนไปยาวๆ อยูในความโลงวาง พุงตอเนื่องไป จนกระทั่งมีภาวะเห็นจิต


ตัวรูเกิดดับขึ้นมาอีกครั้ง แตอาการรูจะเบาบางมาก รูสลับไมรู เหมือนอยูใน
ความฝน นั่นคือเขาสูเนวสัญญานาสัญญายตนะ
๒.๘) เนวสัญญานาสัญญายตน
องคฌาน: มี ๒ ไดแก เอกัคคตา และอุเบกขา
อาการ: มีแตอาการปรากฏของสมาธิตั้งมั่น จิตวางเฉย เมื่อผาน
ภาวะเคลื่อนไปในความโล ง วาง จนเห็น จิต ตัว รูเ กิด ขึ้นมาอีกครั้ง ซึ่งเป น
ภาวะรูอันประณีตยิ่งกวาในฌานกอนนี้ ซึ่งเปนปรมัตถอารมณ มีอาการดังนี้
๑. ครั้งแรกๆ เขาสูเนวสัญญานาสัญญายตนะ จะเห็นจิตตัวรูเกิดดับได
เบาบางมาก เบลอๆ
๒. มีอาการ รูสลับไมรู ขาดๆ ลืมๆ ทรงฌานอยูไดไมนาน
๓. จิตมักจะขาดดับแบบสมาธิ หรือ เคลื่อนออกจากฌาน
๔. เมื่อมีความชํานาญ จะทรงอยูไดนานขึ้น เห็นรายละเอียดไดชัดขึ้น
จะเริ่มจําได และพัฒนาสมาธิขึ้นไปอีกระดับ
๕. ปรากฏภาพนิมิ ต (สัญ ญา) เหมื อนความฝน ซึ่ งเขาใจว าเป นภาวะ
ของจิตใตสํานึกปรากฏขึ้นมาเมื่อสะสมอินทรียที่มากพอ จะสามารถ
พุงทะลุผานนิมิตในจิตใตสํานึกได
วิธีแผ : เมื่อสามารถสังเกตจิตตัวรูเกิดดับอีกครั้ง แบบรูสลับไมรู ไป
เรื่อยๆ คือเขาสูเนวสัญญานาสัญญายตนะในระยะแรก จะเบลอ รูบาง ไมรู
บาง จําไดบาง ไมไดบาง และทรงอยูไดไมนาน ตอเมื่อมีการสะสมอินทรียที่มี
กําลังมากพอ และเขาถึงไดบอยขึ้น จะทําใหเห็นสภาวะชัดเจน และจําได
มากขึ้น คือมีอาการภาพนิมิต เหมือนความฝนเกิดขึ้นมาก ซึ่งเปนภาวะของ
จิตใตสํานึก เชน ภาพอาหารที่ชอบปรากฏขึ้นมา มีภาวะจิตที่อยากจะกิน
แตก็จะมีจิตฉุกคิดขึ้นวา นี้เปนเวลาหลังเที่ยง ก็จะละการกินนั้นลงเสียเพื่อ
รักษาไวซึ่งศีลอันบริสุทธิ์ หรือมีภาพของบุคคลที่เราไมขอบปรากฏขึ้น จะ
เห็นอาการจิตที่ปรุงแตงโทสะตามสัญญาเกา แลวอาการโทสะจะดับลงอยาง
๙๐๖
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

รวดเร็ว เปนตน ภาวะจิตใตสํานึกตรงนั้น จะเบลอๆ ควบคุมไมได มีเพียงแต


ภาวะตามรู ตามดูไปเรื่อยๆ จนดับลงเอง
เมื่อจิตสะสมกําลังมากพอจะสามารถพุงทะลุผานภาวะจิตใตสํานึก
ตางๆ ไดอยางรวดเร็วมาก เปนสักวากองสังขาร รูแลวละ ทะลุผานไปจน
แตะสุดขอบของเนวสัญญานาสัญญายตนะ จะมีภาวะรูที่แคบลง แตชัดเจน
มีภาวะของของเวทนาและสัญญาเกิดดับ อยูภายในภาวะนั้น เปนขั้นที่จ ะ
นําไปสูสัญญาเวทยิตนิโรธ ซึ่งตองอาศัยการฝกความชํานาญ มีวิธีการดังนี้
ขั้นฝกความชํานาญกอนเขาสูสัญญาเวทยิตนิโรธ
อาการ : เมื่อจิตแตะสุดขอบของเนวสัญญานาสัญญายตนะ จะมี
อาการวาง แตจิตรูเวทนาไดชัด โดยจิตจะมีอาการรูที่แคบลง แตภาวะนั้น
แจมชัด เหมือนมาขยายอยูเต็มหนา หรือลงไปแนบอยูกับอาการรูนั้น มีแต
ความว าง ไมมีนิ มิต ไมมีที่ตั้ ง ขอเรี ย กว า “ภาวะรู -วางแคบชั ด” แต จ ะมี
อาการเด น ชั ด ของเวทนาและสั ญ ญาอยู ภ ายในภาวะนั้ น จนกระทั่ ง เห็ น
อาการดับของเวทนาเปนขณะๆ สลับกับภาวะของจิตรู (วิญญาณ)ใหเฝาดูไป
เรื่อยๆ (นี้คือภาวะเตรียมเขาสูสัญญาเวทยิตนิโรธ)
ซึ่งครั้งแรกๆ ที่เขาไปถึงภาวะสัญญาเวทยิตนิโรธ จะเห็นไดสั้นมาก
ยังไมคอยชัด สิ่งที่สําคัญ คือ มีการเก็บสะสมอินทรียทั้งวันที่มากพอ ทําให
สมาธิมีกําลังจะเห็นไดชัดขึ้น การฝกเพื่อเขาสูภาวะวางแคบชัดนั้น คือ จับที่
จิตตัวรูเปนแกนหลัก โดยพิจารณาเฝาดู จิตรูสลับกับเวทนา จิตรูจะเห็นเพียง
การมีอยูของเวทนาและอาการดับของเวทนา สลับกันไป โดยแรกๆ ตองเขา
ไปเห็ น แลว ออกมาพิจ ารณาว าเมื่อครูเ ห็ นอารมณเ กิด ดับ อยางไร เพราะ
สัญญาก็เกิดดับอยูเชนกันใหทําแบบนี้ไปเรื่อยๆจนเห็นการมีอยูของเวทนา
และอาการดั บ ของเวทนา สลับ กับ จิ ตรู อย างรวดเร็ว พิจ ารณาไดร วดเร็ ว
เกิดขึ้นติดตอกันเปนสายเกิดดับนับไมถวน โดยไมมีการจัดแจงสภาวะ รูตาม
ไป จนเปลี่ยนแปลงเคลื่อนออก

๙๐๗
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

หลังจากที่ผานสภาวะนี้มา สังเกตเห็นวาการเห็นเวทนาเกิดดับสลับ
กับจิตรูจะทําไดเปนปกติ เชน เดินจงกรม นั่งภาวนา อาบน้ํา จะสามารถ
แนบจิตลงตามดูการเกิด-ดับในเวทนาไดอยางรวดเร็ว เปนวสี
๒.๙) สัญญาเวทยิตนิโรธ
เมื่อฝกจิตจนชํานาญตามที่กลาวมาแลว จิตเขาไปสูชั้นละเอียด การ
เขาสัญญาเวทยิตนิโรธ จะเกิดขึ้นเอง ไมสามารถจัดแจงสภาวะได เพียงแต
ตามรูเทานั้น หรือเรียกวา เขานิโรธสมาบัติ ซึ่งครั้งแรกๆ จะเขาไดสั้นๆ แต
สังเกตเห็นอาการดับที่ตางจากการดับปกติ คือจิตตชรูปดับดวย ตอมาจิตเขา
ไดอีก เริ่มเห็นเสนทาง เห็นรายละเอียดเพิ่มขึ้น จึงเริ่มเขาสูขั้นตอนดังนี้
๑. อธิษฐานจิต : ตั้งนโม ๓ จบ
“ขอใหภายในบัลลังกนี้เขาสูนิโรธสมาบัติดวยเทอญ”
๒. แผเมตตาตนเองถึงสัตวนรกดวยพรมหวิหาร ๔ (ตามกลุม)
๓. ขยายจิตออกเปนอัปปมัญญา แลวแผเมตตาเจโตวิมุตติ ๑๐ ทิศ
๔. แผเมตตาอินทรียทิศเดียวแบบละเอียด เขาสมาบัติ ๘ ตามลําดับ
ดวยองควสี ๕โดยอธิษฐานเขาปฐมฌาน ทรงอยูสักครูแลวออกมาพิจารณา
องคฌาน จากนั้นอธิษฐานเขาทุติยฌาน (ระงับวจีสังขาร) ทรงอยู พิจารณา
องคฌานเขาตติยฌาน ทรงอยู พิจารณา เขาจตุตตถฌาน (ระงับกายสังขาร)
... อากาสานั ญ จายตนะ ... วิ ญ ญานั ญ จายตนะ... อากิ ญ จั ญ ยายตนะ
(อธิ ษฐานบุพพกิจ )๓๗และเนวสั ญญานาสัญญายตนะ(ส ว นจิ ต ตสั งขาร จะ
ระงับในสัญญาเวทยิตนิโรธ)๓๘

๓๗
วิสุทธิ (ไทย) ๑๑๙๖-๑๑๙๙., ออกจากอากิญจัญยายตนะเพื่อทํา บุพพกิจ ๔
กอนเขานิโรธสมาบัติ ไดแก ๑.อธิษฐานบริขารพนอันตราย ๒.อธิษฐานทันการเขา
ประชุมสงฆ ๓.พระพุทธเจารับสั่งหาใหออกเถิด และ ๔.อธิษฐานตรวจดูชีวิตตั้งอยูได
เกิน ๗ วัน (ขอ ๑-๓ ไมอธิษฐานก็ได แตขอ ๔ ถาเขา ๗ วัน ในมนุสสภูมิพึงกระทํา)
๓๘
ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๑๔/๖๙.
๙๐๘
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๔. แตะขอบเนวสั ญ ญานาสั ญ ญายตนะ สภาวะรู -ว า งแคบชั ด


จากนั้นใหเฝาดูการทํางานของจิต สังเกตเห็นจิตเคลื่อนดิ่งลงเบื้องลาง วน
กลับขึ้นมา แลวละเอียดยิ่งขึ้นไปอีก จนเหมือนนอนอยูในหทัยวัตถุ
๕. จากนั้นจิตจะละเอียดถึงที่สุด ตัดการรับรูภายนอกทั้งหมด ตามรู
อาการดับๆๆๆๆ เกิดแบบละเอียดถี่ยิบๆ จนตัดดับไป ซึ่งการดับนั้นเล็กมาก
เหมือนจุดของปลายเข็ม แตเห็นไดอยางชัดเจน พอจิตรับอารมณจะมีอาการ
สั่นในหทัยวัตถุ ๓ ขณะ อาการขึ้นรับอารมณนี้จะสัมพันธกับมัคคจิต-ผลจิตที่
ตนถึง (ตรงจิตขาดเหมือนเศษเสี้ยววินาที แตเวลาจริงประมาณ ๑๕ นาที)
๖. พอจิตรับอารมณจะยังคงมีอารมณจิตที่ละเอียดมาก เหมือนตอน
กอนขาดไป แลวจะคอยๆ หยาบขึ้นๆ เปนลําดับ เห็นอาการถอยลงมาทีละ
ฌาน ๘ -๗ – ๖ – ๕– ๔ –๓ -๒ – ๑ อยางชัดเจน
จุ ด สั ง เกตการเข า สั ญ ญาเวทยิ ต นิ โ รธ (นิ โ รธสมาบั ติ ) ของพระ
อนาคามี และพระอรหั น ต มี ความแตกต างกัน ตรงที่ค วามละเอีย ดของ
สภาวะที่ปรากฏกอน-หลังการเขานิโรธสมาบัติ ซึ่งความตางนี้จะสอดคลอง
กับสภาวะการเขามัคควิถีของมรรค ๓ และ มรรค ๔ ที่มีอาการแตกตางกัน
ตามผลจิตของแตละมรรค
มัคควิถ๓๙

ภ ภ น ท ม ปริ อุ นุ โว มัค ผล ผล ภ ภ ภ
นิโรธสมาปตติวิถี
ภ ภ น ท ม ปริ อุ นุ โคเนวเนวจิต เจตสิก จิตตชรูปดับ ผล ภ ภ ภ
ความตางนั้นมีลักษณะสอดคลองกับการเขา-ออกจากนิโรธสมาบัติ
ตามผลจิตของตนๆ มีดังนี้

๓๙
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๔วิถีสังคหะ,
พิมพครั้งที่ ๘, (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสัทธัมมโชติกะ, ๒๕๕๓), หนา ๑๑๔-๑๑๖.,
มัคควิถี ไดแก ภวังคจิต(ภ) ภวังคจลนะ(น) ภวังคุปจเฉทะ(ท) มโนทวาราวัชชนจิต(ม)
บริกรรม(ปริ) อุปจาร(อุ) อนุโลม(นุ) โวทาน(โว) มัคคจิต(มัค) ผลจิต(ผล) ภวังคจิต(ภ),
นิโรธสมาปตติวิถี ไดแก โคตรภู(โค) เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลจิต-กิริยาจิต(เนว)
๙๐๙
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๑. พระอนาคามี : หลังจิตเขาถึงเนวสัญญานาสัญญายตนะสมบูรณ
แลว สภาวะกอนเขานิโรธสมาบัติจะเห็นอาการดับๆๆๆ จนรูสึกไดถึงการตัด
ดับของจิตตชรูป เมื่อขึ้นจากภวังครับอารมณจะเหมือนตื่นนอนแลว จึงรับ
อารมณภายนอกได
๒. พระอรหันต : หลังจิตเขาถึงเนวสัญญานาสัญญายตนะสมบูรณ
แลว กอนเขานิโรธสมาบัติสภาวะรูจะละเอียดกวาเดิมมาก เหมือนแนบอยูใน
หทัยวัตถุ จนเห็นอาการดับไปของจิตตชรูป เมื่อขึ้นจากภวังคจิตรับอารมณ
จะเห็นอาการไหวในหทัยวัตถุ ๓ ขณะ แลวอารมณจิตจะคอยหยาบขึ้นๆ ใช
เวลาสักพักจึงจะสามารถรับอารมณภายนอกได
เมื่อผูปฏิบัติมีความรูแจงในญาณจริยา ๑๖ และสมาธิจริยา ๙๔๐ รู
ภาวะแหงเหตุปจจัยของรูปนาม รวมทั้งมีการสะสมอินทรียมาอยางสมบูรณ
แลว พระวิปสสนาจารยจะใหดําเนินขึ้นสูปฏิปทาขั้นสูง ไดแก ปฏิปทาเพิก
ถอนความพอใจในสิ่งทั้งปวงไดแก ละคําอธิษฐาน ละสมาบัติ ละปญญาญาณ
รูแจงในเอกภว นานาภว สัพพภวและดําเนินปฏิปทาละนิพพาน๔๑

๔๐
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๘๔-๘๕/๑๔๓., ไดแก ญาณ ๑๖ และ ฌาน ๙ (วสี)
๔๑
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๘/๑๑.
๙๑๐
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ตารางสรุปรายละเอียดการแผเมตตาเจโตวิมุตติแยกสมาธิ ๙ ระดับ
ฌาน องคฌาน ละ อาการ
๑. ปฐมฌาน วิตก วิจาร นิวรณ มีคําบริกรรม (วิตก-วิจาร) นึกถึง
ปติ สุข (กามสัญญา) สิ่งที่แผ กายเบา ชุมชื่น สุขใจ ตั้ง
เอกัคคตา มั่น ไมรําคาญเสียง
๒. ทุติยฌาน ปติ สุข วิตก ไมมีบริกรรม ไมมีความคิด ไม
เอกัคคตา วิจาร วิจาร เอิบอิ่ม สุขใจ สงบสงัด เสียง
(ละวจีสังขาร) เบาลง
๓. ตติยฌาน สุข ปติ สุข จิตตั้งมั่น กายตั้งตรง ล็อค ลม
เอกัคคตา หายใจเบา ไดยินเบา อาจมี
ทุกขเวทนาแทรก
๔. จตุตถฌาน เอกัคคตา สุข ทรงอารมณเปนหนึ่ง เฉยไมรับ
อุเบกขา (ละกาย สัมผัส เหมือนตัวหาย ลมหายใจ
สังขาร) ระงับ หูดับ จิตสวาง

๕. อากาสนัญ- เอกัคคตา รูปสัญญา รูชัดในความวาง บางก็จางๆ


จายตน อุเบกขา หมอกขาว หรือ หนาแนนทึบ
๖. วิญญานัญ- เอกัคคตา อากาสบัญญัติ รูๆๆๆ ตอเนื่อง บางก็รูสึกเหมือน
จายตน อุเบกขา ทางขุรขระ
๗. อากิญจัญ- เอกัคคตา วิญญานัญจาย อาการรูชัดในความโลงวางไมมี
ญายตน อุเบกขา ตนสัญญา ประมาณ
๘.เนวสัญญานา เอกัคคตา นัตถิภาว รู สลับ ไมรูหรือ
สัญญายตน อุเบกขา บัญญัติ จําได-จําไมได
๙.สัญญาเวทยิต เอกัคคตา สัญญาและ ละจิตตสังขาร ดับจิต เจตสิกและ
นิโรธ อุเบกขา เวทนา จิตตชรูป

๙๑๑
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๓. วิธียกอารมณฌานขึ้นสูวิปสสนา
เมื่อเจริ ญเมตตาภาวนาจนบรรลุฌานแลว ก็ส ามารถใช ฌานเป น
บาทฐานในการเจริ ญ วิ ป ส สนาต อ ไปจนเขา ถึงป ญ ญาญาณขั้น ต างๆ โดย
ลําดับ การยกฌานขึ้นสูวิปสสนา แบงเปน ๒ แบบ ไดแก
๑.เมตตาฌานเปนบาทฐานใหวิปสสนา (วิปสสนาอันมีสมถะนํา)๔๒
คือ แผเมตตาจนจิตเขาถึงเมตตาฌานกอน จนจิตทรงสมาธิอยู โดยสภาวะที่
ชัดจะอยูที่จตุตถฌาน เปนตน หรือเขาสูอรูปสมาธิแลวจิตจะถอยออกจาก
ฌาน แลวพิจารณาองคฌานที่ถอยออกมาตามลําดับ จนเขาสูการพิจารณา
เห็นความเกิดดับของรูปนามเปนวิปสสนา ซึ่งจิตจะมีกําลังของสมาธิที่ตั้งมั่น
เปนบาทฐานใหการตัดละสังโยชน ละอนุสัยกิเลสที่ผุดขึ้นจํานวนมาก เห็น
ความเกิดดับของรูปนามไมขาดสาย และตัดกิเลสไดแบบถอนรากถอนโคน
วิธีการปฏิบัติ เริ่มจากแผใหตนเองจนถึงสัตวนรก โดยจิตที่แผแยก
ตามกลุ มทั้ง เมตตา กรุ ณา มุฑิต า และอุเ บกขาดั งที่ กล าวมาแล ว เมื่อแผ
ออกไปจนจิตละคําบริกรรม ละองคฌานไปจนจิตเปนอุเบกขาฌาน มีความ
ตั้งมั่น ทรงนิ่งอยู (จตตุถฌาน) ตอมาเห็นความเกิดดับของจิตรูในความวาง
คือเขาสูอรูปสมาธิ โดยจิตจะหนวงความวางเปนอารมณ (อากาสบัญญัติ)
ตอมาจิตเพิกความวางออก เห็นแตจิตรูเกิดดับนับไมถวน จนเขาสูความไมมี
อะไร ไมมีประมาณ (นัตถิบัญญัต)ิ ตอมาจิตเพิกความไมมีอะไรออก กลับมารู
ที่ภาวะรูสลับไมรู เขาออกจนชํานาญ (เนวสัญญานาสัญญายตนะ) ทรงอยู
ตามเห็นความเกิดดับของจิตรู จนเริ่มจิตถอยจากฌาณใหตามพิจารณาองค
ฌานที่เปลี่ยนแปลง จนจิตทรงอารมณปกติ แลวพิจารณารูปนามเกิดดับเปน
วิปสสนาตอไป นี้คือวิปสสนาอันมีสมถะที่เปนเมตตาฌานเปนบาทฐาน

๔๒
องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๑๗๐/๒๓๘.
๙๑๒
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๒. การเจริญสมถะและวิปสสนาควบคูกันไป(ยุคนัทธนัย)
ดวยการแผเมตตาโดยบริกรรม เชน "ขอใหสัตวทั้งปวง จงเปนผูไมมี
เวร ไม ทุ ก ข มี สุ ข รั ก ษาตนอยู เ ถิ ด " สลั บ กั บ การใช ส ติ พิ จ ารณาจิ ต ที่
ประกอบด วยเมตตา ภาวนาบริ กรรม อย างมีส ติ เห็ น จิต ที่รั บรู และจิ ต ที่
ภาวนา ตลอดจนอิริยาบถตางๆ และเสียงที่เปลงออกมาจะดับไปทันที นี้คือ
การบรรลุวิปสสนาปญญาที่รูเห็นอนิจจลักษณะไดอยางแทจริง
วิธีนี้ไมตางกับวิธีปฏิบัติของผูเจริญวิปสสนาโดยกําหนดรูการเห็น
การไดยิน การถูกตองสัมผัส หรือการคิดนึก ที่ปรากฏอยูในปจจุบันขณะ ผู
เขาเมตตาฌาน เมื่อออกจากฌานแลวจะตองกําหนดรูฌานจิตที่เพิ่งดับไป
เชนกัน ที่ตางกันก็มีเพียงผูที่ไดฌานจะกําหนดรูฌานจิต สวนผูที่ไมไดฌานก็
กําหนดรูจิตที่รับรูสภาวะเห็น ไดยิน เปนตน ผู ป ฏิ บั ติ ที่ ไ ม ไ ด ฌ าน พึ ง เจริ ญ
ยุคนัทธวิปสสนาดวยการแผเมตตาบริกรรม สลับกับการใชสติพิจารณาจิตที่
ประกอบดวยเมตตา๔๓
๔. ความแตกตางฌานสมาบัติ ผลสมาบัติ และนิโรธสมาบัติ
การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติในขั้นสูงนั้นจะมีสภาวะของการดับรูป
ดับนามเกิดขึ้นถี่และหลากหลายแบบ จนผูปฏิบัติเริ่มสังเกตและแยกแยะได
มีการดับเทียม ไดแก ถีนมิทธะ ปติ ปสสัทธิ และอุเบกขา สวนการดับดวย
สมาธิ เรีย ก ฌานสมาบัติ สําหรั บการดับ แท ได แก ผลสมาบัติ และนิ โรธ
สมาบัติถามีอินทรียแกกลา ใสใจสังเกต จะแยกความแตกตางได
สมาบัติ หมายถึง การเขาอยูในสมาธิ๔๔ หรือภาวะสงบประณีตซึ่ง
พึงเขาถึง แบงเปน ๓ ประเภท ไดแก

๔๓
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), พรหมวิหาร, แปลโดย พระคันธะสาราภิวงศ
, (กรุงเทพมหานคร: หจก.ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๕),หนา ๗๘.
๔๔
วิ.มหา. (ไทย) ๒/๑๕/๒๐๔.
๙๑๓
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๔.๑ ฌานสมาบัติ
ฌานสมาบัติ คือ การเขาอยูในฌาน มีบัญญัติเปนอารมณ ตองเปนผู
เจริญสมถะ ๓๐ กอง (จาก ๔๐) ไดแกกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ อานาปานสติ ๑
กายคตาสติ ๑ อัปปมัญญา ๔ และ อารุปป ๔ และไดฌานตั้งแตปฐมฌานขึ้น
ไป จนถึงจตุตถฌาน และชํานาญจนสามารถยกขึ้นสูอรูปสมาธิได
ผูไดฌานเมื่อจะเขาสมาบัตินั้น โดยนึกถึงความทุกขยากลําบากที่
จะตองรับรูอารมณเล็กๆนอยๆ(ปริตรตารมณ) เทียบไมไดเลยกับอารมณใน
ฌาน (มหัคคตารมณ) จึงนําเอาพระกัมมัฏฐานอยางใดอยางหนึ่งอันถูกกับ
อัธยาศัยของตนขึ้นมาบริกรรม จนเกิดอุคคหนิมิต ปฏิภาคนิมิต เปนอุปจาร
สมาธิจนถึงอัปปนาสมาธิ ขมนิวรณ ๕ เสียได เปนไปตามฌานชวนวิถี คือ
บริกรรมแลวขึ้นสูอนุโลม (นุ) จากอนุโลมขึ้นสูโคตรภูฌาน (โค) ขามโคตร
กาม ถึงฌาน (ฌ) แลวแนวแนอยูในพระกัมมัฏฐาน๔๕
ติกขบุคคล๔๖
ภ ภ น ท ม อุ นุ โค ฌ ฌาณจิตเกิดดับเรื่อยไป ฌ ภ ภ ภ ภ
มันทบุคคล
ภ ภ น ท ม ปริ อุ นุ โค ฌ ฌาณจิตเกิดดับเรื่อยไป ฌ ภ ภ ภ ภ

๔.๒ ผลสมาบัติ
ผลสมาบัติ คือ การเขาอยูในผลจิตที่ตนถึงแลว การที่จิตประกอบไป
ดวยองคฌาน มีพระนิพพานเปนอารมณผลสมาบัตินี้ ปุถุชนทั่วไปเขาไมได

๔๕
พระราชปริยัตยากร (บุญเรือง สารโท), สมาบัติ , [ออนไลน]. แหลงที่มา :
https://www.watpitch.com/dhamma-for-performing/2332/ วัดพิชโสภาราม : [๕ ก.ค.
๒๕๖๒].
๔๖
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๔วิถีสังคหะ,
หนา ๑๑๐., ภวังคจิต(ภ) ภวังคจลนะ(น) ภวังคุปจเฉทะ(ท) มโนทวาราวัชชนจิต(ม)
บริกรรม(ปริ) อุปจาร(อุ) อนุโลม(นุ) โคตรภู(โค) ฌาน(ฌ) ภวังคจิต(ภ)
๙๑๔
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

แมวาจะไดรูปฌาน ๔ อรูปสมาธิ ๔ ก็ไมอาจที่จะเขาผลสมาบัติได เขาได


เฉพาะพระอริยบุคคลเทานั้นผลจิตจะมี ๒ ลักษณะ คือ
(๑) ผลจิตที่เกิดขึ้นตอจากมัคคจิตในมัคควิถี โดยไมมีระหวางคั่น ถา
เป น มั น ทบุ ค คล ผลจิ ต ก็ จ ะเกิ ด ขึ้ น อี ก หนึ่ ง ขณะ (รวมเป น ๒) เพราะมี
บริกรรม (ปริ) ถาเปนติกขบุคคล ผลจิตก็จะเกิดขึ้นตอไปอีก ๒ ขณะ (รวม
เปน ๓)
ติกขบุคคล
ภ ภ น ท ม อุ นุ โว มัค ผล ผลผล ภ ภ ภ
มันทบุคคล๔๗
ภ ภ น ท ม ปริ อุ นุ โว มัค ผล ผล ภ ภ ภ
(๒) ผลจิตที่เปนการเขาผลสมาบัติ เมื่อกําหนดรูปนามจนเห็นพระ
ไตรลั กษณ เกิด วิ ป ส สนาญาณขึ้น ตามลํ าดั บ ๆ ผลจิ ต ดวงแรกนั้ น ก็เ กิด ใน
ลําดับแหงโคตรภู ซึ่งเปนอนันตรปจจัยมาจากอนุโลมจิต(นุ) อนุโลมจิตของ
พระอรหันต ก็เปนอนันตรปจจัยแกผลสมาบัติ (ผล) ของพระอรหันต อนุโลม
จิตของพระเสขบุคคล ก็เปนอนันตรปจจัยแกผลสมาบัติของพระเสขบุคคล
บางทีภวังคจิตเกิดในลําดับแหงผลก็มี หลังจากที่ผลจิตเกิดขึ้นครบ
กําหนด ๒ หรือ ๓ ขณะจิตในมัคควิถี หรือหลังจากเขาผลสมาบัติครบตาม
กําหนดเวลาที่กําหนดไว ผลจิตที่เกิดติดตอกันมาก็เกิดขึ้นเปนครั้งสุดทาย
แลวดับลง ตอจากนั้นภวังคจิตก็จะเกิดขึ้นตอกันทันที คือออกจากผลสมาบัติ
แลวจิตก็จะลงสูภวังค อยางนี้เรียกวา ภวังคจิตเกิดในลําดับแหงผล
ติกขบุคคล
ภ ภ น ท ม นุ นุ นุ ผล ผลจิตเกิดดับเรื่อยไป ผล ภ ภ ภ ภ

๔๗
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๔วิถีสังคหะ,
หนา ๑๑๔.,คํายอ ไดแกภวังคจิต(ภ) ภวังคจลนะ(น) ภวังคุปจเฉทะ(ท) มโนทวาราวัชชน
จิต(ม) บริกรรม(ปริ) อุปจาร(อุ) อนุโลม(นุ) โวทาน(โว)-ใชสําหรับสกทาคามิมรรคขึ้น
ไปมัคคจิต(มัค) ผลจิต(ผล)ภวังคจิต(ภ)
๙๑๕
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

มันทบุคคล
ภ ภ น ท ม นุ นุ นุ นุ ผล ผลจิตเกิดดับเรื่อยไป ผล ภ ภ ภ ภ

๔.๓ นิโรธสมาบัติ
นิโรธสมาบัติ คือ การเขาอยู ในการดับของจิต เจตสิก และจิตตช
รูป (รูปที่เกิดจากจิต) หรือการดับวจีสังขาร กายสังขาร จิตตสังขาร๔๘ เปน
สภาพที่ปราศจากรูปนามโดยแท เปนการเขาสูพระนิพพานในปจจุบัน ตาง
จากผลสมาบัติ คือผลสมาบัตินั้นเปนเพียงจิต คือผลจิต มีพระนิพพานเปน
อารมณเทานั้น
การเขานิโรธสมาบัติเหมือนฝกอนุปาทิเสสนิพพาน เขาสูความดับ
สนิ ทแห งนามขัน ธ โดยปราศจากอันตรายใดๆ เป น มหาสมาบั ติ อัน เยี่ ย ม
ดังนั้นจึงนิยมเขานิโรธสมาบัติดวยศรัทธาและฉันทะในอมตะธรรมนั้น และ
เขาไดครั้งละไมเกิน ๗ วัน ผูที่จะเขานิโรธสมาบัติ มีคุณลักษณะดังนี้
๑) ตองเปนพระอนาคามี หรือพระอรหันต
๒) ตองไดฌานสมาบัติทั้ง ๘
๓) ตองมีวสี ชํานาญคลองแคลวในสัมปทา ๔ ถึงพรอมดวย
ก. ชํานาญสมาธิและปญญา คือ สมถพละและวิปสสนาพละ
ข. ชํานาญในการระงับสังขาร ๓ ไดแก
- กายสังขาร คือลมหายใจเขาออก กองธาตุทั้งหลาย
- วจีสังขาร คือ วิตก วิจาร ที่ปรุงแตงวาจา
- จิตตสังขารคือสัญญาและเวทนาที่ทําใหเจตนาปรุงจิต
ค. ชํานาญในโสฬสญาณ คือ ญาณ ๑๖
ง. ชํานาญในฌานสมาบัติ ๘

๔๘
สํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๔๘/๓๘๑.
๙๑๖
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ดังนั้นการเขานิโรธสมาบัติ จําเปนตองใชกําลังทั้ง ๒ ดาน คือ กําลัง


สมถภาวนา ตองถึงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และกําลังวิปสสนาก็ตอง
ถึงอนาคามีผลเปนอยางนอย๔๙
๔) ตองเปนบุคคลในภูมิที่มีขันธ ๕ คือ ปญจโวการภูมิ เพราะใน
อรูปภูมิ เขานิโรธสมาบัติไมได ดวยเหตุวาไมมีรูปฌาน
เมื่อปรารถนาจะเขานิโรธสมาบัติ ตองเริ่มจากเขาฌานสลับกับเจริญ
วิ ป ส สนา ตั้ งแต ขั้น ปฐมฌานเป น ต น มาตามลํ าดั บ จนถึงฌาน ๘ และเนว
สัญญานาสัญญายตนฌานจะเกิดขึ้นเพียง ๒ ขณะจิต แลวตอจากนั้นก็จะ
เป น นิ โ รธสมาบั ติ ดั บ จิ ต เจตสิ ก จิ ต ตชรู ป ทั้งหมด เมื่ อจะออกจากนิ โ รธ
สมาบั ติ ก็ เ กิ ด ผลจิ ต ขึ้ น ๑ ขณะ แล ว จิ ต จึ ง ลงสู ภ วั ง ค ผลจิ ต ที่ เ กิ ด ขึ้ น
ภายหลังเนวสัญญานาสัญญายตนะอยางนี้ เรียกวา ผลจิตเกิดในลําดับแหง
เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ติกขบุคคล
ภ ภ น ท ม อุ นุ โคเนวเนวจิต เจตสิก จิตตชรูปดับ ผล ภ ภ ภ
มันทบุคคล๕๐
ภ ภ น ท ม ปริ อุ นุ โคเนวเนวจิต เจตสิก จิตตชรูปดับ ผล ภ ภ ภ
อนึ่ง ฌานสมาบัติจิตที่ประกอบดวยองคฌาน ๕ จัดเปนกุศลชาติ
เป น กุศ ลจิ ต เป น ตั ว กรรมที่ ส ามารถให เ กิด ผล สร างภพชาติ ต อไปได ผล
สมาบัติ จิตประกอบดวยองคฌานเชนกันแตจัดเปนวิปากชาติ เปนตัวผลของ
กรรมที่ไดรับผลมาจากการไดบรรลุถึงมัคคจิต จึงมิไดเปนตัวสงผลที่จะใหไป
เกิดในภพภูมิใดๆ ตัวผลจิตเองเปนผลที่ไดรับเทานั้น (วิปากจิต) สวน นิโรธ
สมาบัติเปนทิฏฐธรรมสุขวิหารของพระอนาคามีหรือพระอรหันต ปรารถนา

๔๙
ดูใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๘๓/๑๔๑.
๕๐
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๔วิถีสังคหะ,
หนา ๑๑๖., คํายอ ไดแก โคตรภู(โค) เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลจิต-กิริยาจิต(เนว)
ผลจิต(ผล)
๙๑๗
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ที่จะเขาถึงความดับเหมือนกันกับพระนิพพานชั่ว ระยะเวลาหนึ่ ง ในนิโรธ


สมาบั ติ ไมมีจิ ต เจตสิ กเกิด ขึ้น จึ งไม มีอารมณใด ๆ ไมเ ป น ทั้ งโลกีย ธรรม
และโลกุตตรธรรม (รูปกายของพระอนาคามี หรือพระอรหันตในขณะนั้น
เปนโลกียธรรม เกิดจากสมุฏฐาน ๓ คือ กรรม อุตุ และอาหาร) และอันตราย
ตางๆ มิอาจทําลายชีวิตได ดวยอํานาจแหงสมาธิวิปผาราอิทธิคือ ฤทธิ์ที่เปน
สมาธิแผซึมซาบทั่วรางกายของบุคคลที่กําลังเขานิโรธสมาบัติอยู๕๑ 

๕. การเจริญเมตตาเพื่อเปนบาทฐานขึ้นสูมรรคผลเบื้องสูง
การแผเมตตาเจโตวิมุตติจัดเปนโลกุตตรฌานที่เปนบาทฐานใหเจริญ
วิปสสนาเพื่อตัดละกิเลสขั้นสูงขึ้นไปได บุคคลที่เจริญเมตตาเจโตวิมุตตินั้น
ต อ งเป น ผู มี สั ม มาทิ ฎ ฐิ ส มบู ร ณ รั ก ษาสภาวะอิ น ทรี ย ๕ กํ า หนดจดจ อ
ต อเนื่ อ ง จนเกิด สภาพธรรมของมรรคผลขั้น สู ง กว าเดิ ม และทดสอบจน
สภาวะชั ดเจนแล ว พระวิ ปสสนาจารย จะใหอธิ ษฐานธรรม หรืออธิษฐาน
นิ โ รธสมาบั ติ จึ ง ต อ งมี ก ารสอบอารมณ เ ป น ประจํ า และต อ งอาศั ย พระ
วิปสสนาจารยที่มีประสบการณสูง มีความเขาใจแตกฉานในปริยัติ ปฏิบัติ
และมีประสบการณการสอบอารมณในสภาวะธรรมตางๆ ซึ่งการอธิษฐาน
ธรรมจะมีหลายขั้นตอนตามลําดับของพระอริยเจาแตละบุคคล
ดังนั้นผูปฏิบัติจําเปนตองรูถึงลําดับของการละเกิส หรือละสังโยชน
ของพระอริยเจาแตละขั้น เปรียบเสมือนมีแผนที่ในการเดินทางไปสูจุดหมาย
ซึ่งการดําเนินไปสูวิมุตติประกอบดวยองค ๕ ไดแก การแสดง สดับ สาธยาย
ใครครวญธรรม และอบรมจิต๕๒ โดยเฉพาะการฟงเปนพื้นฐานนําไปสูการ
ใครครวญธรรมและอบรมจิตไดถูกทาง สรุปลําดับและวิธีการปฏิบัติดังนี้

๕๑
วิสุทฺธิ (ไทย) ๓๗๔/๖๕๙.,เชน พระสารีบุตร ทานสัญชีวะ นางอุตตรา
๕๒
องฺ.ปฺจก. (ไทย) ๒๒/๒๖/๓๓.
๙๑๘
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๕.๑. ผูปฏิบัติเพื่อเขาสูสกทาคามี (สกทาคามิมรรค)


เปาหมาย: ทําราคะ(โลภะ) ปฏิฆะ(โทสะ) โมหะใหเบาบางผูปฏิบัติ
ควรรูถึงสภาพธรรมของราคะและปฏิฆะ วามีลักษณะของอาการเปนอยางไร
- ราคะ หรือกามฉันทะ ไดแก โลภมูลจิตอันประกอบดวยความ
พอใจในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสทางกายและใจ เชน รสชาติอาหาร ความ
สวยงาม กลิ่นหอม เสียงไพเราะ การละเลนบันเทิงใจ สัมผัสทางเพศ เปนตน
- ปฏิฆะ ไดแก โทสมูลจิต อันประกอบดวยความโกรธ พยาบาท
(มุงราย) วิหิงสา(เบียดเบียน) รําคาญหงุดหงิด กลัวเสียใจ ฟูมฟาย เปนตน
วิธีปฏิบัติ:สิ่งสําคัญคือ การกําหนดรูแบบซื่อตรงตอธรรม ไมแตง-ไม
แกสภาวะ (อุชุปฏิปนโน) รักษาอินทรีย ๕ ใหสมดุล สํารวมอายตนะ เก็บ
อิริยาบทยอยตั้งแตตื่นจนหลับ ใสใจกับการกราบสติปฏฐาน แผเมตตาดังนี้
๑. แผตนเองถึงสัตวนรก
๒. แผเมตตาเจโตวิมุตติ ๑๐ ใหจิตออกสูอวกาศไดครบทุกทิศ
๓. พื้นฐานที่สําคัญ คือ การแผใหสนใจเฉพาะสิ่งที่เราแผใหเทานั้น
เชน สัพพสัตวทั้งปวง ไมสนใจอาการแทรกทางกายหรือใจ จะทําใหสมาธิตั้ง
มั่นและขึ้นสูฌานขั้นสูงไดเร็ว ถาอินทรียแกกลาจะจดจอไดทั้งบัลลังก
๔. เมื่อจิตทรงสมาธิอยูในความวาง กายไมชัดแลว ใหสังเกตการเกิด
ดับของจิตรูในความวาง ถาไมเห็นใหบริกรรมวา “รู-รู-รู”ชาๆ เปนจังหวะ
๕. เมื่อเห็นจิตตัวรูเกิดดับในความวางไดชัด จนเกิดดับถี่ๆ เห็นได
บอยขึ้น ชํานาญจนเปนปกติ ใชเวลาเขาถึงจุดนี้ไดเร็ว ใหขึ้นสูสมาธิขั้นสูงตอ
ผลการปฏิบัติ:ดานสมาธิ สามารถเขาถึงรูปฌาน ๔ ได เห็นความ
เกิดดับของจิตรูในอาการวางอยางชัดเจน สวนดานปญญา อินทรียแกกลาตัด
ละกิเลสทําใหราคะ โทสะ โมหะเบาบาง และไมลวงคําหยาบออกทางวาจา
๕.๒. ผูปฏิบัติเพื่อเขาสูอนาคามี (อนาคามิมรรค)
เปาหมาย: ทําราคะ(โลภะ) และ ปฏิฆะ(โทสะ) ไดอยางเด็ดขาด
หรือละสังโยชนเบื้องต่ํา ๕สิ่งสําคัญคือ การกําหนดรูธรรมเพื่อออกจากทุกข
๙๑๙
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

(ญายปฏิปนโน) จึงจําเปนตองรูทางดําเนินไปที่ถูกตอง ไดแก รูชัดซึ่งความ


เกิด ความดับ คุณ โทษ และเครื่องสลัดออกจากอกุศลเชน การรูภาวะของ
รสอรอย (คุณ) ของกามฉันทะ วามีเหตุปจจัยอยางไร เมื่อรูแลวจึงละออก๕๓
อกุศลที่ ธาตุ สัญญา สังกัปปะ ฉันทะ ปริฬาหะ ปริเยสนา
ตองละ (อารมณ๖) (หมายรู) (คิดนึก) (พอใจ) (เรารอน) (แสวงหา)
กาม ผล:สอง
เสพ-ยึด
พยาบาท
ทางกาย
วิหิงสา วาจา ใจ
หมายเหตุลูกศร คือ เปนเหตุปจจัยใหเกิดตัวถัดไป เชน กามธาตุ เปนเหตุใหเกิดกาม
สัญญา แลวกามสัญญาเปนเหตุใหเกิดกามสังกัปปะ สงตอๆ กันไป เปนตน
วิธีปฏิบัติ:ทําขั้นตอนเดียวกับสกทาคามิมรรคเมื่อแผถึงจตุตถฌาน
เห็นจิตตัวรูเกิดดับในความวางไดจนชํานาญ จิตตัวรูพุงเคลื่อนผานความวาง
ตอไปอีก มีแตภาวะรูๆๆตอเนื่องไป เขาสูความโลงวาง และเคลื่อนตอเขาสู
ภาวะที่ละเอียด จิตผูรูชัดบาง ไมชัดบาง ซึ่งเปนอรูปสมาธิ ใหทําจนชํานาญ
เมื่อจิตถอยกลับมาสูการกําหนดใหใสใจกับราคะ ปฏิฆะ โดยการกําหนดจน
ดับ เมื่อดับแลวอยาเปลี่ยนจิต ใหดิ่งจิตตามไปตัดละถึงรากทุกครั้ง
ผลการปฏิบัติ : ดานสมาธิเขาถึงสมาบัติ ๘ - ๙ ได ดานปญญา
อินทรียแกกลาตัดละราคะ โทสะไดอยางเด็ดขาด จะยังเหลือความรูสึกใน
ระดับสัญญาและสังกัปปะอยูบาง แตเมื่อกําหนดรูแลวละไปเรื่อยๆจะเบา
บางลงตามลําดับ ไมมีจิตที่คิดจะละเมิดศีล ๘ ขอ แตยังมีพูดเลน พูดเพอเจอ

๕๓
องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๑๐/๑๘.
๙๒๐
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๕.๓. ผูปฏิบัติเพื่อเขาสูพระอรหันต (อรหัตตมรรค)


เปาหมาย: ตัด ละกิเลสที่เ หลื อ หรือสังโยชนเ บื้ องสูง ๕ ได แก
รูปราคะ(ความติดใจในอารมณแหงรูปฌาน)อรูปราคะ(ติดใจในอรูปสมาธิ)
มานะ(ความถือตัว)อุทธัจจะ(ความฟุงซาน) และอวิชชา(ความไมรูแจง)๕๔
สิ่งสําคัญคือ การกําหนดรูปฏิบัติธรรมสมควรแลว(สามีจิปฏิปนโน)
เปนการปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรม ถูกหลักธรรม ธรรมยอยคลอยตามธรรม
ใหญ ธรรมทั้งหลายยอมไหลสูธรรมทั้งหลาย เรียกวา ธรรมานุธรรมปฏิบัติ
ซึ่งจะตองเขาใจลึกซึ้งในหลักปฏิจจสมุปบาทและอริยสัจ ๔
ภาพแสดงสายปฏิจจสมุปบาทและวัฎฎะ ๓

ปฏิจจสมุปบาท คือ การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น มี ๑๒


องค ได แก อวิ ช ชา สั ง ขาร วิ ญ ญาณ นามรู ป สฬายตนะ ผั ส สะ เวทนา
ตัณหา อุปาทาน ภว(ภพ) ชาติ ชรา มรณะ รายละเอียดตามภาพ
วัฏฏะ คือ การวนเวียนวายตายเกิดของสิ่งมีชีวิต มี ๓ อยาง ไดแก
๑. กิเลสวัฏ (โลภะ โทสะ โมหะ) ไดแก อวิชชา ตัณหา อุปาทาน
๒. กัมมวัฏ (กิเลสกระตุนใหเกิดการกระทํา)ไดแก สังขาร และ ภพ
๓. วิปากวัฏ(รับผลของกรรม) ไดแก วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ
ผัสสะ และเวทนา รวมเรียกวา ขันธ ๕ หรือ กายกับใจ

๕๔
องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๑๓/๒๑.
๙๒๑
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ภาพแสดงความสัมพันธวัฎฎะ ๓ อริยสัจ ๔ และปฏิจจสมุปบาท

กรรมจึงชื่อวาเปนไรนา (กุศลและอกุศล)วิญญาณจึงชื่อวาเปนพืช
(อภิสังขาร)ตัณหาจึงชื่อวาเปนยางเหนียว (เชื้อ)ดังนั้นวิญญาณตั้งอยูเพราะ
กามธาตุ (อารมณ ๖) ที่มีอวิชชากั้น ตัณหาผูก การเกิดในภพใหมจึงมี๕๕
การปฏิ บัติ :ขั้น นี้ ต องใช กําลั งสมาธิ จ ากแผ เ มตตาเจโตวิ มุ ต ติ เ ต็ ม
รูปแบบ (ถึงสมาบัติ ๘) เปนบาทฐานในการเจริญวิปสสนา เพื่อตัดละอนุสัย
กิเลสทุกขณะจิตเพราะสมาธิจากการแผเมตตาฯ จะชําระจิตใหสะอาด ขาว
รอบ สามารถพิจารณาธรรมไดแจมแจง รูชัดถึงสภาพธรรมที่หยาบ ประณีต
ธรรมเครื่องสลัดออก สัญญาอันยิ่งกวาทําใหจิตหลุดพนจากกามาสวะ ภวา
สวะ อวิชชาสวะ๕๖ โดยสวนของการพิจารณาธรรม สามารถสรุปไดดังนี้
๑. รูแจงอริยสัจ ๔ (รู-ละ-ดับ-ออก) ไดแก ขันธ ๕ เปนตัวทุกขมีไว
กําหนดรู (ทุกขสัจ) สวนตัณหาหรือกิเลสตองกําหนดละ เนนที่การเฝาดูจิตรู-
ธาตุรู (สมุทยสัจ) จนแจงอาการดับลงของธาตุรูในทุกขณะ (นิโรธสัจ) การ
เจริญภาวนาเห็นอาการเกิดดับของรูปนามทุกขณะ (มัคคสัจ)

๕๕
องฺ.ติก. (ไทย) ๒๐/๗๗/๓๐๐.
๕๖
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๗๗-๗๘/๖๗.
๙๒๒
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๒.เพื่อละรูปราคะและอรูปราคะ เปนความติดใจในฌาน จะเห็นได


ชัดในขณะที่แผเมตตาฯ เต็มรูปแบบ ใหกําหนดตามรูอาการจิตตามจริง ไม
แกไขสภาวะ ตามรูอาการเสพสมาธิ แตล ะขั้น ความเพลิ น เยื่อใย หมกมุน
ความติด ความอยาก จนถึงเบื่อหนาย คลายกําหนัด หลุดพน สลัดคืน เห็น
อาการปรุงแตงจิตภพนอยซอนในภพใหญ เอกภว นานาภว สัพพภว๕๗
๓. เพื่อละมานะ อุทธัจจะ และอวิชชา ใชการกําหนดรูรูปนามโดย
พิจ ารณาเห็ น เหตุ ป จ จั ย เหตุ เ กิด เหตุ ดั บ ตามหลั กปฏิ จ จสมุป บาท และ
อริยสัจ ๔ พรอมทั้งรักษาอินทรีย ๕ ใหสมดุล เฝาดูอาการของขันธ ๕ ดวย
การตามดู วิญญาณขันธ หรือ ธาตุรูเกิดดับ เปนตัวหลัก สลับกับสติรูที่อาการ
กาย อาการลม (รูปขันธ) หรือสลับกับเวทนา สัญญา สังขาร ตามที่จิตไปรู
เมื่อเกิดผัสสะกระทบอายตนะ ๖ ใหรูแลวละอยางฉับพลัน เอาจิตรู
มาอยูกับกายอีก พอกระทบก็รูแลวละทันทีอีก ทําแบบนี้ไปเรื่อยๆ จะเห็น
เปนสักวาการทํางานขันธ ๕ คลายอุปาทานจนสามารถละทิฏฐิสังโยชนและ
อวิชชาสังโยชนไดในที่สุด
ผลการปฏิบัติ:ดานสมาธิ ไดสมาบัติ ๙ (วสี) ทําใหแจงเจโตวิมุตติ
ดานปญญา ละสังโยชนเบื้องสูง ๕ แจงในปญญาวิมุตติ เรียกวาอุภโตภาค
วิมุตติ (หลุดพน ๒ สวน) ยอมรูชัดวาชาติสิ้นแลว จบพรหมจรรยแลว(ทําลาย
อาสวะ) ทํากิจเสร็จแลว(รูแจงอริยสัจ ๔) ไมมีกิจอื่นแลว(บําเพ็ญมรรคญาณ)
ความทุกขยังมีอยู แตจะไมยึด จิตจึงไมทุกข รูแลวปลอยตลอด มีสติไมเผลอ
เมื่อบรรลุอรหัตตผลแลว กิจของตนจบแลว แตถาได สะสมบารมี
หลายภพชาติ ปรารถนาเผยแผพระสัทธรรม ใหเฝาดูการทํางานของขันธ ๕
ตอไปอีกจะเกิดปญญาญาณรูแจงในกองสังขารทั้งปวง จะเขาสูสุ ญญาตา
ธรรม มีจิตอันหนักแนนดั่งเขาแทงทึบ (อตัมมยตา) รูแลวละไดอยางฉับพลัน

๕๗
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๓/๑๖., เอกภว คือ สักกายะเปนอันเดียวกัน นานาภว คือ
เปนสักกายะตางกัน และสัพพภว คือ สักกายะทั้งปวง.
๙๒๓
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

พระวิปสสนาจารยจะพิจารณใหเขาสูปฏิปทาเพิกถอนความพอใจใน
สิ่งทั้งปวงและปฏิปทาละนิพพาน โดยพิจารณารูยิ่งนิพพานโดยความเปน
นิพพานไมกําหนดหมายในและนอกนิพพานไมกําหนดหมายนิพพานวาเปน
ของเราสุดทายคือ “การไมยินดีนิพพาน”๕๘
ภาวะอยูปจจุบันของพระอรหันต เรียกวา อนุปาทาปรินิพพานคือ
ปรินิพพานที่หาปจจัยปรุงแตงมิได เปนความพนพิเศษแหงจิตเพราะไมถือมั่น
เพราะกรรมไมมีแลว ยอมละเบญจขันธ ยอมไดอุเบกขา ไมติดใจในภพ เห็น
ทางที่สงบดวยปญญาอันชอบ ละมานานุสัย ละภวราคานุสัย ละอวิชชานุสัย
ทําใหแจงเจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติอันไมมีอาสวะเขาถึงอยูในปจจุบัน๕๙
๖. การรักษาสมดุลอินทรีย ๕ เพื่อพัฒนาญาณใหกาวหนา
การรั กษาสมดุล ของอินทรีย ๕ ถือเปนหั วใจสําคัญของการเจริ ญ
เมตตาเจโตวิมุตติเพื่อเปนบาทฐานในการเจริญวิปสสนา ซึ่งจะสงผลโดยตรง
ตอความกาวหนาทั้งส วนของสมาธิ (ฌาน) และป ญญา (ญาณ)การรักษา
สมดุลอินทรีย ๕ โดยศรัทธาคูกับปญญา วิริยะคูกับสมาธิ มีสติเปนประธาน
กํ า หนดรู ทุ ก ขณะ เทคนิ ค ที่ ข า พเจ า ปฏิ บั ติ แ ล ว ทํ า ให พั ฒ นา ได แ ก มี ส ติ
กํา หนดรู ต ามที่ เ ขาเป น ไม บั งคั บ สภาวะ ตามรู จิ ต (เจโตวิ มุ ต ติ ) ไม แ ก ไ ข
สภาวะ รูแลวละ ซื่อตอธรรมเปนตน สรุปตามหัวขออินทรีย ๕ ไดดังนี้
๑. ศรัทธา
- สํารวมศีล ๘ เปนปกติ และสํารวมอยางยิ่งในอินทรีย (อายตนะ ๖)
- ใสใจตอการกราบสติปฏฐาน (ระลึกคุณของพระรัตนตรัย)
- มั่นใจในการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ เขาสูพระนิพพานไดจริง
- มั่นใจในการสอนของครูบาอาจารย และนําทุกคําแนะนํามาปฏิบัติ
- ใสใจกับกฎระเบียบของสวนรวม เชน ปดวาจา สํารวม (ศีล-วินัย)

๕๘
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๘/๑๑.
๕๙
องฺ.สตฺตก. (ไทย) ๒๓/๕๕/๙๙.,ม.มู.อ.๒/๒๕๘/๖๓-๖๔.
๙๒๔
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

- จริงใจตอการปฏิบัติ ไมปดบังสภาวะสงอารมณตามจริง (ไมอวดตน)


๒. วิริยะ
- เครงครัดตน ผอนปรนผูอื่น คือ ปฏิบัติอยางจริงจัง จริงใจ เก็บสายตา
เทาทันจิตที่เพงโทษผูอื่น การปดวาจา จะไมเกิดการเบียดเบียนกัน
- กําหนดตามจริง ตั้งแตตื่นจนหลับ ตามที่สติเทาทัน ไมกดดันจิต
- ใสใจกับคําบริกรรมทุกขณะที่เดิน นั่ง อิริยาบถยอย เมื่อจิตละคํา
บริกรรมเองก็ดูไปตามจริง (บริกรรมเปนเหมือนการเล็งเปา เจาะทะลุ
เขาสูสภาวะขั้นสูงที่ละเอียดไดอยางแมนยํา ชวยละอาการไหล-เพลิน)
๓. สติ
- เปน “ผูเฝาดู” กําหนดดูรูตามที่เขาเปน (ทําใหถอนอุปาทาน)
-เปน “ผูตามที่ดี” ตามรูไปเรื่อยๆ จิตจะขุดอนุสัยขึ้นมาเพื่อตัดละ
- ไมบังคับสภาวะ ไมแกไขสภาวะ (ละทิฏฐิ คลายอุปาทาน)
- เทาทันอนุสัยกิเลส เชน อยากบอกเลา อยากสอน อยากสงบ ติดดี
- สติรักษาชีวิตสัตว สํารวมทุกขณะดวยการเดินเทาเปลา และสองไฟ
๔. สมาธิ
- “เจโตวิมุตติ” คือ จิตปรารถนาหลุดพน ใหกําหนดรูไปตามจิตที่ฝกดี
แลวเพราะจิตจะหาชองทางออกจากทุกขเอง เปนทางลัดสั้นที่สุด ให
กําหนดรูดวยสติปญญา จะถอนอุปาทานไดอยางรวดเร็ว
- เทาทันอาการจิตที่เขาถึงสมาธิหรือฤทธิ์ตางๆ เชน บุพเพนิวาสานุสติ-
ญาณ(ระลึกชาติ) จตูปปาตญาณ (ทิพจักษุ) เปนตน ไมหลงเพลิน ปรุง
แตงตาม ใหกําหนดรูแลวละออก ตัดภพชาติ คลายตัณหา อุปาทาน
- จิตชํานาญในสมาบัติตางๆใหพิจารณาเห็นภพของสมาธิ ดวยปญญา
๕. ปญญา
- ซื่อตรงตอธรรม มีความจริงใจตอการปฏิบัติ

๙๒๕
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

- ตั้งใจฟงธรรม บันทึก ใครครวญ นําสูการปฏิบัติ สังเกตผล พัฒนา


- ละคําอธิษฐาน เพราะทําใหจิตฟุง-อยาก(ยกเวนการอธิษฐานธรรม)
- กําหนดรูรูปนามตามหลักอริยสัจ ๔ (รู-ละ-ดับ) ทําใหรูแจงแทงตลอด
- หมั่นพิจารณาอิทัปปจยตา ทุกอยางมีเหตุปจจัย จะลดการปรุงแตง
- เมื่อเขาใจเหตุปจจัยแทงตลอดแลว ใหละกุศลจิต ละปญญาญาณ
- ไมประมาทตอธรรม กําหนดรูตอเนื่องตามสติกําลัง ตลอดชีวิต

๗. ประสบการณการฏิบัติธรรมของแมชีนวพร ทองศรีเพชร
๗.๑ ประสบการณเจริญวิปสสนายานิก
ขาพเจามีประสบการณปฏิบัติวิปสสนาไมมากนัก กลาวคือ ปฏิบัติ
หลักสูตร ๗ วัน ณ ยุวพุทธิกสมาคมฯ กับพระภาวนาพิศาลเมธี รวม ๒ ครั้ง
แลวมาสมัครเรียนหลักสูตร ป.โท วิปสสนาภาวนา รุน ๑๒ ที่มีการปฏิบัติ
คัดเลือกนิสิต ๑ เดือน จากนั้นเขาศึกษาปริยัติ ๑ ปเศษ จึงเขาสูภาคปฏิบัติ
หลักสูตร ๗ เดือน แบงเปน ๓ สถานที่ ไดแก ศูนยธรรมโมลี (๔ เดือน) วัด
นาหลวง จ.อุดรธานี (๑ เดือน) และสํานักมหาสี ยางกุง เมียนมา (๒ เดือน)
ประสบการณการเจริญสุทธวิปสสนา (วิปสสนาลวน) รวม ๔ เดือน
ชวงเขาพรรษา พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ ศูนยปฏิบัติธรรม ธรรมโมลี ต.หนองน้ําแดง
อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา สอนโดยพระภาวนาพิศาลเมธี
ขาพเจาไดบวชเปนแมชีในวันที่ ๖ ก.ค. ๖๐ แลวก็เขาสูการปฏิบัติ
ดวยความศรัทธาในพระรัตนตรัย และรักษาศีล ๕ ตอเนื่องมาหลายป ไดตั้ง
สัจจอธิษฐานเจริญวิปสสนาภาวนาทุกวันติดตอกันกวา ๒ ป จึงเปนพื้นฐาน
ในการปฏิ บั ติ ธ รรม ตั้ งแต ขณะจิ ต ที่รั บ สมาทานกรรมฐาน ข าพเจ าตั้ งใจ
สํารวมกาย วาจา ใจ พยายามมีสติกําหนดรูในอาการปจจุบัน ตั้งแตตื่นจน
หลั บ เคร งครั ด ในกฎระเบี ย บของส ว นรวม และที่ สํ าคั ญคือ การป ด วาจา
ตลอดทั้ง ๔ เดือน จนดูจะเครงเครียดเกินปกติ

๙๒๖
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ความพยายามและตั้งใจที่มากเกิน ประกอบกับมีขั้นตอนวัดผลการ
ปฏิ บั ติ ที่ชั ด เจน ได แก การไดเ ขาฟงลํ าดั บ ญาณ การอธิ ษฐานธรรม และ
ทดสอบการเขาผลสมาบั ติ ยิ่ งทําให เกิด ภาวะอยากได ต ามเพื่อนๆ ยิ่ งเร ง
ความเพียรทวีคูณ จนสุดทายจิตเกิดการเรียนรูวา ความตึงเกินไปก็เปนกิเลส
ละเอียด จิตจึงเริ่มปรับเขาสูความสมดุล เปนผูรู-ผูดูมากขึ้น จนแจงในสภาวะ
อนัตตา จิตลักษณะนี้เอง จึงจะทําใหเขาสูการบรรลุธรรมในที่สุด
สรุปสภาวะการเจริญวิปสสนาตามแนวสติปฎฐาน กําหนดรูสภาวะ
ในปจจุบัน โดยมีสติเปนประธาน จําแนกตามญาณ ๑๖ พอสังเขป ดังนี้
ญาณ ๑ – ๒ – ๓ ป ญ ญาตามกํ า หนดรู รู ป นามตามความจริ ง ที่
ปรากฏในปจจุบัน แยกรูปนามไดชัดเจน เห็นเปนเพียงอารมณกับจิตที่เขาไป
รู จึงละความเปนตัวตนลงได จิตประจักษในการอาศัยกันของรูปนาม เห็น
ความเกิดดับแตละขณะ ดวยภาวะแหงเหตุปจจัย จนปญญาเห็นรูปนามโดย
ความไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตน
ญาณ ๔ ชวงหั วเลี้ยวหัวตอของการปฏิบัติ มีสมาธิ เกิดมาก และ
พอใจในวิ ป ส สนู ป กิ เ ลส ๑๐ ข า พเจ าได พ บครบทุก อั น วนอยู ห ลายรอบ
โดยเฉพาะป ติ ๕ แบบ ส งผลต อกายเคลื่ อนอย างหนั ก จนรู สึ กอาย และ
พยายามจะแกไขบั งคั บ ให เ ป น อย า งต องการ กลั บ ทําให ติ ด นาน จนพระ
วิปสสนาจารยบอกวากําหนดรูถี่ๆ และกําหนด “ชั่งมัน!” “หามแก!” มันไมใช
เราจึงผานได อีกอันคือ “ญาณ” จิตพิจารณาธรรมพิสดารแตกฉานมาก จน
พระวิป สสนาจาย สั่ งหามพิจารณาธรรมเด็ดขาดถึง ๒ ครั้ง ซึ่งวิป สสนูป -
กิเลสทุกขอผานไดดวยการ “กําหนดดะ!” กําหนดรูตอเนื่องไมขาดสาย จน
จิตเขาใจชํานาญในอารมณ มีสัมมาทิฏฐิ เทาทันดวยสติ จะละความพอใจได
ญาณ ๕ อารมณและจิตที่กําหนดรูไดดับลงไปพรอมกันทุกขณะๆ
กายไมชัด เวทนานอย พองยุบไมชัด ตองใชการกําหนดรูปนั่งถูกมาชวย
ญาณ ๖ - ๗ - ๘ เห็นรูปนามเปนภัย เปนโทษ ไมมีแกนสาร มีแต
ความเสื่อมดับไป มีทุกขเวทนาทางทวาร ๖ เชน เจ็บตา ปวดฟน มุมปาก
เปอย ลิ้นไมคอยรูรส ปวดหู ออนเพลีย ไมมีกําลังกาย ปวดตัว การกําหนดก็
๙๒๗
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ไมชัดเบลอๆ งวงซึมทั้งวัน กําหนดไดยาก มีมานดําๆ เหมือนตาขายคลุม จน


เบื่อหนายในรูปนาม เห็นวารูปนามนี้มีแตทุกขโทษทั้งสิ้น ไมเปนที่พึงอาศัยย
เปนกองทุกข อยากหนีอยากพนไป เพียรเรงการปฏิบตั ิยิ่งขึ้นไปอีก
ญาณ ๙ - ๑๐ เปนญาณที่ผูปฏิบัติพบเจอวนเวียนมาตลอด เพียร
กําหนดจดจ อไมล ดละ เห็ น อาการจิ ต ปฏิ เ สธความทุกข ดิ้ น รน อยากหนี
บังคับบัญชาไมได ทุกขเวทนาจิตแรงกลา เรงการปฏิบัติยิ่งขึ้นไปอีก มีอาการ
บิดเกร็งชวงขารุนแรงมาก อึดอัดขัดเคือง เกร็งทั้งตัว มือเทาหงิกหมด ทุกข
มากเหมือนใจจะขาด จิตปรุงแตงเรื่องกรรม มั่วไปหมด พอกําหนดไปอาการ
ก็คลาย แลวก็วนกลั บมาใหม ยิ่งอยากหายก็ยิ่งเปน จนจิตเริ่มเรีย นรูและ
ปลอยวางอาการลง เพราะไมยึดวาอาการนั้นเปนตัวเรา แตการคิดนําวาตอง
วางสิ! ไมใชทางออก ตอเมื่อจิตเจอซ้ําๆ จนจิตเขาใจจริงๆ เคาจะวางเอง
ญาณ ๑๑ – ๑๒ จิ ตวางเฉยต อรูป นาม กําหนดได ดีเ สมอกัน ยิ่ ง
กําหนดยิ่งละเอียด รูปนามทํางานเปนอัตโนมัติ วันที่ ๒ ก.ย. ๖๐ (เดือนที่ ๒)
เชามืด กําหนดพองยุบแนน อึดอัด จนปกติแลว โลง เบา จึงกําหนดนั่งถูก
สลับอาการบิดเกร็งที่ขา ตอมาคําบริกรรมขยายออก เริ่มชาลง จิตลงแนบ
อาการ แล ว สั ก พั ก กลั บ เร็ ว ขึ้ น มาก กํ า หนดรู ๆ ๆ กายระงั บ นิ่ ง ดิ่ ง ลงจิ ต
ละเอียดเหมือนเม็ดแปง เห็นเปนสาย ชัดทุกขณะ มีความคิดผุดขึ้น ๒ คํา ก็
ตัดหายไปชั่วขณะ ตอนกลับมาอาการคลายตื่นนอน มีความเบาบาง คอยๆรู
ชัดพุงขึ้นมา จนตอสนิทกับสภาวะเดิม จิตก็กําหนดเองวา รูๆๆๆ
ญาณ ๑๓ - ๑๔ - ๑๕ ไมสามารถอธิบายได เพราะจิตรับนิพพาน
เปนอารมณ ญาณ ๑๖ พิจารณากิเลสที่ละ กิเลสที่เหลือ มรรค ผล นิพพาน
ที่ตนไดแลว สามารถเห็นไดอยางชัดเจน เนื่องจากมีการศึกษาปริยัติมากอน
การอธิ ษฐานธรรม - ศี ล ๕ เมื่ออิ น ทรี ย ๕ สมดุ ล มีสั มมาทิฏ ฐิ
สมบูรณ จึงขึ้นอธิษฐานธรรม ซึ่งกระบวนการที่ทําใหผูปฏิบัติเกิดความมั่นใจ
ในธรรมวิเศษที่ตนถึง เชน สัมมาทิฏฐิสมบูรณ รับรองตนเองได ดวยวิธีการที่
ครูบาอาจารยดําเนินสืบตอกันมา (ชวงตนเดือนที่ ๔ อธิษฐานธรรมและศีล)

๙๒๘
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

เริ่มสังเกตเห็นความตางของการดับรูปนาม ทั้งดับเทียม ๕ อยาง


ไดแก ปติ ปสสัทธิ สมาธิ อุเบกขา และถีนมิทธะ และดับแท หรือผลสมาบัติ
ซึ่งจะมีลักษณะการดับทั้ง ๓ ลักษณะ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เชน กําหนดรู
ความเกิดดับของรูปนามตอเนื่องเปนสายแลวตัดดับขาดไป ๑-๒ วิ กระแสตัว
รูออนลงดวย หรือกําหนดทุกขเวทนาตอเนื่องอยูแลวตัดขาดไปชั่วขณะ หรือ
กําหนดเห็นความเกิดดับอยูในความโลงวางแลวตัดดับไป กายยังตั้งตรง
๗.๒ ประสบการณสมถยานิก(การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ -
เต็มรูปแบบ)
หลังจากปฏิบัติหลักสูตร ๗ เดือน พ.ศ. ๒๕๖๐ ขาพเจายังปฏิบัติ
วิปสสนาทุกวัน อยางนอย ๑ ชั่วโมง เปนสัจจอธิษฐาน สงผลตอการสะสม
บารมีขออื่นๆ ดวย โดยปฏิบัติแบบผสมผสานจาก ๓ สํานัก คือ
๑. กําหนดพองยุบ กําหนดรูรูปนามในปจจุบัน (ฝกจากธรรมโมลี)
๒. จนจิตดิ่งลงลึก ทะลุลงเบื้องลางเปนชั้นๆ ตัวหาย จิตละเอียด
มาก เห็นการตัดละสภาวะในจิตใตสํานึกอยางชัดเจน (ฝกจากสํานักมหาสีฯ)
๓. เมื่อจิตกลับสูสภาวะปกติ กําหนดรูแลวละ “สัญญากับเวทนา”
สลับกันไปมาอยางรวดเร็ว โดยมีตัวรูเปนแกนกลาง (ฝกจากวัดนาหลวง)
เจริญเมตตาเจโตวิมุตติครั้งแรก รวม ๑๕ วัน ชวง ๑-๓๐ พ.ค. ๖๑
ปฏิบัติสมทบคอรสคัดเลือกนิสิต ป.โท วิ. รุน ๑๔ โดย ๑๕ วันแรกเจริญสติ
ปฏฐาน ๔ ทบทวนลําดับญาณ ๑๖ จนอินทรีย ๕ สมบูรณแลวจึงขึ้นเมตตา
เจโตวิมุตติ เริ่มจากเมตตาภาวนา ตอดวยแผอัปปมัญญา แลวจึงสงออกสู
๑๐ ทิ ศ แรกๆ จะยั ง มี ภ าพที่ ส ง นํ า ทางออกจากตั ว เราไปทิ ศ ต า งๆ จน
สามารถออกอวกาศได ตอมามีความชํานาญมากขึ้น สามารถออกอวกาศได
ทันที หลังจากปดคอรส ยังปฏิบัติตอทุกวัน โดยแผเมตตาเจโตวิมุตติแลวตอ
ดวยวิปสสนา อยางนอยวันละ ๑ ชั่วโมง ตลอด ๑ ป เปนการรักษาสภาวะ
เจริญเมตตาเจโตวิมุตติครั้งที่ ๒ รวม ๓๐ วัน ชวง ๑-๓๐ พ.ค. ๖๒
ปฏิบัติสมทบคอรสคัดเลือกนิสิต ป.โท วิ. รุน ๑๕ ตั้งแตรับกรรมฐาน กําหนด
๙๒๙
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

รูป นามด วยจิต ที่ซื่อตรงตอธรรม ไมแทรกแซงสภาวะ ใน ๑ ย างกาวเห็ น


อารมณเปลี่ยนแปลงเกิดดับเยอะมาก เห็นจิตปรุงแตงแลวจิตวางลงเอง เปน
แบบนี้ ทั้งวั น การแผ เ มตตาเจโตวิ มุตติ สามารถส งออกอวกาศได ทัน ที มี
ความชัดเจนในสภาวะรูปฌาน ๔ ยิ่งขึ้น เห็นจิตตัวรูเกิดดับซอนเปนชั้นๆ
วันที่ ๑๒ พ.ค. ๖๒ ชวงบาย แผไดไกลขึ้นทุกทิศ จิตเกาะกระแสตัว
รูที่รัวถี่ๆ ไปตลอดบัลลังกไมมีหลุด ครบ ๑๐ ทิศ ดิ่งลงเปนชั้นๆ ไมมีตัว มีแต
จิตรู เห็นอาการจิตเพงตัวรูอยู พอจิตคลายเพงลงแค ๒ ขณะ จิตตัดขาดไป
ไมทั น ตั้ งตั ว พอรู ตั ว เหมือ นตื่ น นอน รอบๆ เบานิ่ มนวล พอรู เ ต็ ม ที่ จิ ต ก็
บริ ก รรม รู ๆๆๆๆปฏิ บั ติ เ รื่ อ ยไปจนสภาวธรรมชั ด เจนในผลการละราคะ
ปฏิฆะ โมหะเบาบาง(วันที่ ๓๐ พ.ค. ๖๒ อธิษฐานธรรม)
เจริญเมตตาเจโตวิมุตติครั้งที่ ๓ รวม ๗ เดือน ก.ค. ๖๒ - ก.พ. ๖๓
สมทบภาคปฏิบัติของนิสิต ป.โท วิ. รุน ๑๔ ชวง ๑๐ วันแรกเจริญสติปฏฐาน
ตอมาแผเมตตาเจโตวิมุตติทุกบัลลังกจนจิตถอยมาจับกาย จึงกําหนดตามรู
เปนวิปสสนา ลําดับของการแผเมตตาเจโตวิมุตติจะพัฒนาไปตามลําดับของ
สมาบัติ ๘ จนมีความชํานาญในทุกฌาน สรุปพอสังเขป ดังนี้
รูปฌาน ๔ แผเมตตาตามลําดับจนออกสูทิศ จิตละคําบริกรรมเอง
ไมมีวิตก-วิจาร(ปฐมฌาน) แผตอไปสนใจเฉพาะสิ่งที่แผให จนละปติ กาย
ระงับตัวตรงล็อค(ทุติยฌาน) แผตอไปจนจิตละสุขและทุกขเวทนา(ตติยฌาน)
แผจนจิตอยูทรงในความวาง เห็นความเกิดดับของจิตรู(เปนจตุตถฌาน) แผ
จนสภาวะรูปฌาน ๔ ชัดเจนและชํานาญ แคนึกก็เขาไดทันที
อรู ป สมาธิ ๔ จิ ต ทรงความว า งเห็ น เกิ ด ดั บ ของจิ ต รู ถี่ยิ บ จิ ต เริ่ ม
เคลื่อนไป และหาทางออกจากมานหมอก หรือกําแพงอากาศ (อากาสานัญ
จายตนะ) จิ ต เข า สู ภ าวะที่ มี แ ต จิ ต รู เ กิ ด ดั บ นั บ ไม ถ ว น พุ ง เคลื่ อ นไป
(วิญญานัญจายตนะ) ตอมาเขาสูภาวะโลงวางไมมีประมาณ มีภาวะรูแตไม
เห็นตัวรู (อากิญจัญยายตนะ) ตอมาเริ่มกลับมาเห็นตัวรู มีภาวะจําไดบาง จํา
ไมไดบาง จิตละเอียดมาก (เนวสัญญานาสัญญายตนะ)

๙๓๐
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

เมื่อชํานาญในสมาบัติ ๘ แลวจิตจะมีกําลังสมาธิมหาศาลเพื่อเปน
บาทฐานใหปญญาสามารถดิ่งลึกลงไปในจิตใตสํานึก แลวตัดละอนุสัยกิเลส
สามารถใชงานไดทุกอิริยาบถ ทุกที่ ดวยโลกุตตรฌาน เชน ราคะ ปฏิฆะ จะ
ปรากฏชัดเจน เมื่อกําหนดละแลว อยาเพิ่งเปลี่ยนจิต ใหดิ่งจิตตามไปกําหนด
ตัดละแบบถอนรากถอนโคน ตัดละอยางเฉียบพลันทุกครั้ง โดยเฉพาะกาม
ราคะ เมื่อเพียรละจนถึงรากไปเรื่อยๆ จะเจอตัวแมของราคะ
เดือนที่ ๒ วันที่ ๒๔ ส.ค. ๖๒ ชวงบาย แผตนเองถึงสัตวนรกแบบ
รวดเร็วมาก พอตัดแลวเปลี่ยนจนครบ ใชเวลา ๓ นาที จิตหอเขามา ไมมีตัว
ดําหมด มีแตภาวะรูในความวาง ทรงนิ่งอยู ไมมีบริกรรม ทันใดนั้นจิตก็หา
ชองมุดลอดออกไป พุงแผสูทิศจนครบ ๑๐ ทิศ จิตทํางานเองหมด นั่งดูรูอยู
จากนั้นจิตดิ่งลงทิศลางลึกมาก มีตัดปติเปนระยะๆ ตอมาตัดปติอยางแรง ๑
ครั้ง ไมเกิน ๓ อึดใจ ตัดอยางแรงดับหายไป กลับมาจิตรูละเอียดถี่ยิบๆ ไมมี
บริกรรม จิตพิจารณาปจจเวกขณญาณ เกิดดับถี่ๆ ที่สัณฐานกามราคะ ทรง
ความเกิดดับละเอียดยิบไมขาดสาย ไมมีบริกรรม นาน ๔๕ นาที จึงปกติ
จุดสังเกต:อาการตัดดับของรูปนามครั้งนี้ จะมีลักษณะพิเศษเฉพาะเกิดขึ้น
คือ เห็นอาการดับของจิตตชรูป ซึ่งจะปรากฏตรงกับการดับเขานิโรธสมาบัติ
เดือนที่ ๓ แผเมตตาอินทรียและงดพักเที่ยง ปฏิบัติวันละ ๑๘ ชม.
การละราคะ ปฏิฆะที่จิตปรุงขึ้นตัดอยางรวดเร็ว มีเพียงกระแสของสัญญา
และความคิดที่มีกําลังเบาบางมาก (วันที่ ๒๐ ต.ค. ๖๒ อธิษฐานธรรม)
จิต เริ่มละความยิ นดี ในฌาน (รูป ราคะ อรู ปราคะ) พระวิ ป สสนา
จารย ใหกําหนดตามจิต หามแกไข ถาจิตจะเสพสภาวะ ก็ตามกําหนดรูดวย
สติ จนจิตเบื่อและคลายกําหนัด เห็นภาวะเหตุปจจัยตามสายปฏิจจสมุปบาท
ทุกขณะ ปญญารูละในภาวะมานะ ฟุงในธรรม ถีนมิทธะ สวนกามสัญญา
กามสังกัปปะ ปฏิฆะ ผุดดับอยางรวดเร็ว กิเลสละ กิเลสเหลือ ก็ทํางานไป
ตามปจจัยปรุงแตง เฝาตามกําหนดรู-ละ-ดับ สามารถเขาบุพเพนิวาสานุสติ-
ญาณ และ จุ ตู ป ปาตญาณ เมื่อ มีส ติ ร ะลึ ก รู อ ยู ต ลอด จิ ต จะไมห ลง มี แ ต
สังเวชในภพชาติ และเรงการปฏิบัติ จนเขาสูการตัดละสัญญากรรมที่เปน
๙๓๑
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ฟางเสนสุดทายในจิตใตสํานึกได จิตจะเริ่มปลอยวางการปรุงแตงทุกชนิดที่
เกิดจากสัญญา ละการอธิษฐานจิต ละการปรารถนาในสิ่งใดๆ จะวางลงเห็น
เปนสักวาภาวะของขันธ ๕ ที่ทํางานอยู
เดือนที่ ๔ วันที่ ๑๕ พ.ย. ๖๒ ชวงเชามืดเดิน ๒ ชม. พอชวงสายนั่ง
แผเมตตาอินทรีย จิตเปนอุเบกขาตั้งแตเริ่มเห็นสภาวะเกิดดับเปนสักวารูป
นามทุกประการ จิตมุงนอมสูพระนิพพานโดยสวนเดียว กําหนดรูไปจนดิ่งลึก
ไมมีตัว ไมมบี ริกรรม มีแตรูแลวละ เปนกลาง จนเห็นจิตปรุงผุดขึ้น ๓ คํา ตัด
ดับขาดไป พอกลับมารู ภาวะละเอียดมาก มีอาการสั่นไหวในหทัยวัตถุ ๓
ขณะ แลวคอยๆ หยาบขึ้น เขาสูปจจเวกขณญาณตอ ไมมีจิตอยาก หลังจาก
บัลลังกนั้นจิตเปลี่ยนทันทีชัดเจน ไมยึด ไมเผลอ รูแลวปลอยทันที
เดือนที่ ๕ - ๖ ชวงแรกจิตละเอียดมาก ไมมีเผลอ จิตขยายถึงขีดสุด
จิตตัดละสัญญาและสังขารตางๆ นับไมถวน ตอมาพระวิปสสนาจารยใหบท
ทดสอบสภาวะเยอะมาก จิตตัดละอาสวะดวยญาณไปเรื่อยๆ ดวยการรูทัน
ผัสสะทั้ง ๖ จนถึงภาวะรูแจง จะตัดดับและสวางโพลงแบบหาประมาณไมได
เดือนที่ ๗ การเขานิโรธสมาบัติจะละเอียดขึ้นจากเดิมมากเขาไดทั้ง
๓ ลักษณะ และการตัดดับจะสัมพันธกับมรรคจิตที่ถึงแลว กลาวคือเห็นตัด
ดับในหทัยวัตถุ จากนั้นพระวิปสสนาจารยใหดําเนินปฏิปทาเพิกถอนความ
พอใจในสิ่งทั้งปวงและปฏิปทาละนิพพาน ซึ่งตองมีความเขาใจในปฏิจจสมุป
บาท ลําดับญาณ ๑๖ และสมาบัติ ๘ - ๙ โดยพิจารณาละอาเนญชาภิสังขาร
สรุ ปสมถะเป น บาทฐานให วิ ป ส สนา อัน ประกอบด ว ยสติ ตื่ น รู อยู
อาศัยสมาธิที่มีกําลังและฝกดีแลว ยอมมีผลมาก ชวยใหการละภาวะปรุงแตง
จิตไดอยางฉับพลัน รูตัวทั่วพรอมในปจจุบัน จะเปนรูลม รูกาย รูอิริยาบถ
เปนจิตที่มีสัมมาสมาธิสามารถตัดละความคิดเขาสูสุญญตา (จิตวาง) จึงเปน
บาทฐานในการรองรับขันธ ๕ ชุดใหม ที่เปนสัมมาทิฎฐิเกิดขึ้นในทุกขณะจิต
ทําใหการกระทบรูผัสสะทางทวาร ๖ ปราศจากอวิชชาเขาหอหุมจิต ไมใหผิด
ไปจากทาง เมื่อรูแลวละทันทีอันเปนอินทรียภาวนาชั้นเลิศ ยอมนําเขาสูที่สุด
แหงกองทุกข หลุดพนเปนเจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ เสวยวิมุตติรสในปจจุบัน
๙๓๒
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๗.๓ ประวัติการปฏิบัติธรรมของแมชีนวพร ทองศรีเพชร


ระยะเวลา ๗ ป ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๓ แบงเปน ๒ สวน
๑. การเจริญสติปฏฐานภาวนา รวม ๘ เดือน (พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐)
พ.ศ. จํานวน ผูสอน สถานที่ หมายเหตุ
๒๕๕๗ ๗ วัน พระภาวนา ยุวพุทธฯ ศูนย ๑ เขาคอรส ๗ วัน
พิศาลเมธี กทม. ครั้งแรกในชีวิต
๒๕๕๘ ๗ วัน พระภาวนา ยุวพุทธฯ ศูนย๑ ลาออกจากงาน
พิศาลเมธี กทม. สมัครเรียน ป.โท
๒๕๕๙ ๑ เดือน พระภาวนา ธรรมโมลี คัดเลือกนิสิต ป.โท
พิศาลเมธี จ.นครราชสีมา วิปสสนา รุน ๑๒
๒๕๖๐ ๔ เดือน พระภาวนา ธรรมโมลี ละสังโยชนต่ํา ๓
๗ เดือน พิศาลเมธี จ.นครราชสีมา
๓ สถานที่
๑ เดือน คณะพระวิปสสนา วัดนาหลวง ฝกธุดงควัตร
จารย
จ.อุดรธานี ฝกละสัญญาเวทนา
๒ เดือน คณะพระวิปสสนา สํานักมหาสีฯ สติปฏฐาน ๔ -
จารย
เมียนมา สมาธิดิ่งลึกตามจิตรู
๒. เจริญเมตตาเจโตวิมุตติเต็มรูปแบบ รวม ๙ เดือน (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๓)
พ.ศ. จํานวน ผูสอน สถานที่ หมายเหตุ
๒๕๖๑ ๑ เดือน พระภาวนา ธรรมโมลี -สมทบคัดเลือก วิ.๑๔
พิศาลเมธี จ.นครราชสีมา -เรียนเมตตา ๑๕ วัน
๒๕๖๒ ๑ เดือน พระภาวนา ธรรมโมลี -สมทบคัดเลือก วิ.๑๕
พิศาลเมธี จ.นครราชสีมา -ราคะ ปฏิฆะ เบาบาง
๒๕๖๒ ๗ เดือน พระภาวนา ธรรมโมลี -สมทบภาคปฏิบัติ
พิศาลเมธี จ.นครราชสีมา ป.โท วิ. ๑๔
เดือนที่ ๒ ละสังโยชนเบื้องต่ํา ๕
๙๓๓
บทที่ ๑๘ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ
เดือน ๔-๕ ละกิเลสที่เหลือ – ทดสอบสภาวะ
เดือน ๖-๗ สุญญตา –อตัมมยตา -นิโรธสมาบัติ -ดําเนินปฏิปทาละนิพพาน
๒๕๖๓ ๑๕ วัน โครงการ สพชน. ๓ ณ วัดนาหลวง จ.อุดรธานี
สุญญตาสมาธิ - ขยายกองสมถะ – รูละฉับพลัน(อินทรียภาวนา)

๙๓๔
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมตุ ติ
เรียบเรียงโดย แมชีจันทรจิรา ชินศรี
การเจริ ญ เมตตาเจโตวิ มุ ต ติ เ ป น ภาวะหลุ ด พ น ของจิ ต โดยอาศั ย
เมตตาฌานเป น บาทฐาน จนสามารถเข าสู ก ารหลุ ด พ น จากอาสวะกิเ สล
ทั้งหลาย อันเปนเจโตวิมุตติและเปนปญญาวิมุตติ๑ ซึ่งเมตตาเจโตวิมุตติมี
ปรากฏอยูหลายแหงในคัมภีรพุทธศาสนาเถรวาท ไดแกคัมภีรปฏิสัมภิทา
มรรค“เมตตากถา”๒ที่แสดงการแผแบบไมเจาะจง แผแบบเจาะจง แผไปสู
ทิศ แผอินทริยวาร เปนตนพระสูตรที่เกี่ยวกับเมตตา เชน “วัตถูปมสูตร”๓
แสดงขั้นตอนเจริญเมตตาจนบรรลุอรหัตตผล “เมตตาภาวนาสูตร”๔กลาวถึง
อานิสงสของเมตตาเจโตวิมุตติเหนือกวาบุญกิริยาวัตถุทั้งปวง ในคัมภีรวิสุทธิ
มรรค “พรหมวิหารนิเทศ”๕มีเนื้อหาดานสมถะและวิปสสนา รวมทั้งตํารา
ปรมัตถโชติกะ สมถกรรมฐานทีปนี“อัปปมัญญา ๔”๖ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการ
เจริญเมตตา กรุณา มุฑิตา และอุเบกขา เปนตน
จึงไดรวบรวมเนื้อหา นํามาประมวลเปนความรูเขาสูแนวทางการแผ
เมตตาเจโตวิมุตติเต็มรูปแบบ พรอมทั้งหลักการและขั้นตอนการปฏิบัติจาก
ประสบการณ มีดังนี้


ที.ปา. (ไทย) ๑๐/๑๑๐/๘๒.

ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๒-๒๗/๔๖๐-๔๗๔.

ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๗๗-๗๘/๖๗.

ดูรายละเอียดใน ขุ.อิต.ิ (ไทย) ๒๕/๒๗/๓๗๒.

ดูรายละเอียดใน วิสุทธิ. (ไทย) ๒๔๐-๒๗๔/๔๘๑-๕๘๘.

ดูรายละเอียดใน พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙
เลม ๑ สมถกรรมฐานทีปนี, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสัทธัมมโชติกะ,
๒๕๕๔), หนา ๑๗๘-๒๐๕.
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๑. ประวัติการปฏิบัติสมถะและวิปสสนา
พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๗ ปฏิบัติสมถกรรมฐาน คอรสละ ๓ วันหรือ ๗ วัน
ณ วัดปากน้ํา ภาษีเจริญ
บริกรรม “สัมมาอะระหัง”
พ.ศ. ๒๕๔๘ ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน คอรส ๑๐ วัน
ณ ศูนยปฏิบัติ “ธรรมโมลี”
พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๘ ปฏิ บั ติ ส มถกรรมฐาน (ยกจิ ต ขึ้ น สู วิ ป ส สนา)
บริกรรม “พุทโธ” กับหลวงพอปรีชา ธนวฑฺฒโก
อดีตเจาอาวาสวัดเขาอิติสุคโต หัวหิน
(และในช วงพ.ศ.ดั งกล าว ทุกๆป จะเขาปฏิบั ติ
วิปสสนากรรมฐาน คอรสละ ๓ วัน หรือ ๗ วันณ
วันอัมพวัน จ.สิงหบุรี)
พ.ศ. ๒๕๕๙ (เมษายน - มิถุนายน) (๓ เดือน) ปฏิบัติ
วิ ป ส สนากรรมฐาน ณ วั ด งุ ย เตาอู กั ม มั ฏ ฐาน
สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร
พ.ศ. ๒๕๕๙ -๒๕๖๐ (กรกฎาคม ๒๕๕๙ -กุมภาพันธ ๒๕๖๐)
(๗ เดือน) ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานณ ศูนย
ปฏิบัติธรรม “ธรรมโมลี” จ.นครราชสีมา
(พฤศจิกายน ๒๕๕๙ -กุมภาพันธ ๒๕๖๐
“เจริญเมตตาเจโตวิมุตติ”)
พ.ศ. ๒๕๖๐ (กรกฎาคม -ตุลาคม) (๓ เดือน) ปฏิบัติ
วิปสสนากรรมฐาน ณ บานเพชรบําเพ็ญ
อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี
พ.ศ. ๒๕๖๒ (พฤษภาคม) (๑ เดือน) ปฏิบัติวิปสสนา
กรรมฐาน(เจริญเมตตาเจโตวิมุตติ/เมตตา
อินทรีย) ณ ศูนยปฏิบัติธรรม “ธรรมโมลี”
๙๓๖
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

พ.ศ.๒๕๖๒ -๒๕๖๓ (กรกฎาคม ๒๕๖๒ -กุมภาพันธ ๒๕๖๓)


(๗ เดือน)ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน
(เจริญเมตตาเจโตวิมุตติ/เมตตาอินทรีย)
ณ ศูนยปฏิบัติธรรม “ธรรมโมลี”
จ.นครราชสีมา

๒. ประสบการณการเจริญวิปสสนายานิก
ดวยประสบการณการปฏิ บัติ ทั้งดานสมถกรรมฐานและวิ ปส สนา
กรรมฐานที่ตอเนื่องนานกวา ๒๕ ป ซึ่งพอจะสรุปสภาวธรรมที่เกิดขึ้นในแต
ละสภาวญาณ และการปฏิบัติเกี่ยวกับการเจริญเมตตาเจโตวิมุติและเมตตา
อินทรีย พอสรุปไดดังนี้
ญาณ ๑ ขณะกําหนดพอง-ยุบ รูและแยกไดวาตอนหนึ่งเปน พอง
และตอนหนึ่งเปนยุบ และเมื่ออาการพอง-ยุบ เกิดขึ้น จิตก็รูอาการนั้น และรู
ชัดวาพอง-ยุบก็อยางหนึ่ง จิตที่รูพอง-ยุบก็อยางหนึ่ง โดยเห็นชวงกลางพอง
ชัดที่สุด หรือกลางยุบชัดที่สุด และรูไดวา ตึง หยอน เย็น รอน ออน แข็ง
ที่มากระทบกายนั้น มีตัวจิตที่เขาไปรู (กําหนดจนรูไดวา หลับตอนพองหรือ
ตอน“ยุบ” และตื่นตอน “พอง” หรือตอนยุบ ใน ๗ วันแรกของการปฏิบัติ
และเห็นการทํางานของฟนลางในขณะเคี้ยวอาหาร)
ญาน ๒ เห็นตนและกลาง (พอง - ยุบ) ชัดที่สุด เห็นตนจิตชัดเจนใน
ทุกสภาวะทั้งการเดินจงกรม หรืออิริยาบถยอยอื่นๆพรอมทั้งทดสอบสภาวะ
ตัวเอง จนเห็นจิตอยากเกิดขึ้นมากอน แลวกายจึงจะเคลื่อนไหวตามจิตนั้น
เมื่อมีเวทนาเกิดขึ้นกําหนดยังไมทันหายขาด เวทนาอื่นก็เกิดซอนขึ้นมาอีก
ญาณ ๓ เห็นชัดทั้งตน กลาง และสุด(พอง - ยุบ) และเริ่มเห็นวา
เมื่อสุดพองหรือยุบ จะมี “วาง” นิดหนึ่ง และเห็นพองหรือยุบดับไปพรอม
กับจิตที่เขาไปกําหนดรู มีเวทนาเกิดขึ้นมากมายหลายชนิด เมื่อกําหนดก็
หายไปทีละขณะ (เห็นสภาวะการเปลี่ยนแปลงของเวทนาชัด) จนกระทั่งดับ

๙๓๗
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

หายขาด แตเวทนาอื่นก็เกิดขึ้นอีก (กําหนดก็ดับหายขาด) และเนื่องจากเคย


ฝกแบบ “สัมมาอะระหัง” มา จึ งเกิด นิมิต “ลู กแกว ” ขึ้น บ างในบางครั้ ง
และชว งแรกๆ จิต ก็ไปยิ นดีในนิ มิตนั้น ตองกําหนด (หลายครั้ ง) จึ งคอยๆ
หายไป
ญาณ ๔ พองยุบมีลักษณะเปนชั้นๆ มากมายหลายแบบ เชน เปน
เหมือนวงแหวนมากมายหลายชั้น (พองยุบรัวๆ เปนชั้นๆ ตามกําหนดไมทัน
เพราะเกิดดับเร็ว แตก็เห็นตนพอง สุดพอง ตนยุบ สุดยุบ ชัด มีเวทนาเกิดขึ้น
บางบางครั้ง เมื่อเขาไปกําหนดก็ดับไป แตก็เกิดขึ้นอีก กําหนดไป ดับไป สติ
รูสึกคมชัด รูสึกกําหนดรูไดเร็ว และดวยอํานาจสมาธิ ที่ผานการปฏิบัติมา
นาน ทําใหไดพบกับวิปสสนูปกิเลสมากมายหลายแบบ เริ่มเห็นความเปน
ปรมัตถของตัวอารมณ
ญาณที่ ๕ เห็นสุด (พอง - ยุบ) ชัด จึงทําใหเห็นอาการพอง - ยุบ
ดับแลวจิตรูดับตามไป รูสึกกําหนดไมชัดเจน แตก็กําหนดได รับรูแตอาการ
ตึง - หยอนของทอง ไมปรากฏความเปนทอง ไมปรากฏความเปนแขน ขา มี
แตอาการตึง (พอง) กับอาการหยอน (ยุบ) โดยรูสึกความเปนตัวหายไป มีแต
อาการเห็นแตอารมณที่เปนปรมัตถลวนๆ
ญาณ ๖ เห็นสุด (พอง-ยุบ) ดับ แลว จิตรูดับไปพรอมกัน หรือใน
สภาวะอื่นก็จะเห็นอารมณและจิตรูดับไปพรอมกัน ในขณะนั่งรูสึกวาเวลา
ผานไปไมนาน สามารถกําหนดไดคลอง ไดอารมณปจจุบันขณะนอน รูสึกตัว
ขึ้นมาตอนดึก ขณะพลิกตัวไปมา เห็นตัวเองเปนแคชิ้นเนื้อเหวอะแหวะชิ้น
หนึ่งที่พลิกไปมา เทานั้น เมื่อเขาไปกําหนด ก็รูสึกกลัวขึ้นมา บางครั้งบอกไม
ถูกวา กลัวอะไร แตรูวากลัว
ญาณ ๗ พอง - ยุบ ดูเลือนๆไมชัดดี คอยๆหายไปทีละนิดๆ เมื่อนั่ง
สภาวะเกิดขึ้นเร็วและชัดเจน แตกําหนดไดทันและกําหนดไดดี รูเทาทันทุก
อารมณ หากบางครั้งก็เกิดความรูสึกขึ้นมาเองวา รูปนามนี้ไมมีสาระอะไร
เลยรูสึกวาทั้งกายทั้งใจ คือทุกข เพราะรูสึกเหมือนจะเปนไขตลอดเวลา

๙๓๘
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ญาณ ๘ มีแตพองยุบเบาไปหายไป ขณะนั่งเห็นภาพตัวเอง คอยๆ


ลอกหลุดออกไปทีละชั้นๆ จนเหลือแตโครงกระดูก รูสึกวาปฏิบัติไดยากกวา
เกา เหมือนกับทําไดไมดี บางครั้งรูสึกไมสดชื่น (ตรงจุดนี้ เนื่องจากขาพเจา
ผานการปฏิบัติมานาน จึงทําใหแยกไดวา ความรูสึกไมสดชื่นนี้ ไมไดเกิดจาก
กิเลสหรือความคิดที่เบื่อในการปฏิบัติ) แตดวยความที่ตั้งใจปฏิบัติ จึงจําใจ
กําหนดๆไป
ญาณ ๙ รูสึกวากําหนดไดละเอียด แตเหมือนกําหนดไมไดดี เวทนา
เกิ ด ขึ้ น ทั้ ง ทางกายและทางจิ ต โดยเวทนาทางกายเกิ ด ขึ้ น ไม รุ น แรง แต
ปรากฏมาก บางครั้งเวทนาทางกายสงผลใหเกิดเวทนาทางจิต รูสึกบีบคั้น
และทรมานทางจิตมาก ตองขมใจไว ไมใหลุกออกจากสมาธิ จนบางครั้งรูสึก
อยากพนไปจากกายใจนี้
ญาณที่ ๑๐ เกิดทั้งเวทนาทางกายและเวทนาทางจิตอยางรุนแรง
เกิดเฉพาะจุด และตั้งอยูนาน (มีมึน ตึงขึ้นหัว) และโดยเฉพาะสภาวะตึงๆ
หนักๆ รูสึกหนักมากๆ ตองใชความพยายามอยางหนักในการกําหนด “สู
ตาย” จะตองกําหนดอยางปกใจ จึงหายดับขาด และเห็นความเปนพระไตร
ลักษณ ไดชัดเจน
ญาณ ๑๑ รูสึกกําหนดไดอยางดี งายดาย และสม่ําเสมอ รูสึกไม
เผลอสติ อารมณกับจิตที่เขาไปกําหนดละเอียดมาก พองยุบเล็กเทาเข็ม บาง
เหมือ นกระดาษ และแมจ ะมีเ วทนามารบกวน หากจิ ต ก็รู สึ ก วางเฉยต อ
เวทนานั้น จนสามารถนั่งผานกวา ๗ ชั่วโมง ในชวงนี้ขาพเจานอนประมาณ
๒ หรือ ๓ ชั่วโมงตอวัน (ไมนอนเลยก็มี) เนื่องจากจิตรูสึกตื่นตัวมาก(กลิ่น
อาหาร เชน ขาวเหนียวน้ํากะทิทุเรียน จะรับรูกลิ่นและรส เฉพาะคําแรก
เทานั้น คําตอๆไป จะไมรับรูถึงกลิ่นและรสของอาหารที่ทานเลย)
ญาน ๑๒ขณะกําหนดพองหนอ-ยุบหนอ รูสึกสม่ําเสมอบาง หรือ
แผว เบาบ าง (วนอยูอยางนี้) แลว คอยๆเขาสูส ภาวะแผว เบาและละเอีย ด
คอยๆเล็กลงจนถึงที่สุด แลวดับขาดลงไปในขณะ “ยุบหนอ” (รูชัด)

๙๓๙
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ญาณ ๑๓ ญาณ ๑๔ และญาน ๑๕ รับพระนิพพานเปนอารมณ


รูปนามดับหมด(ไมสามารถกลาวไดวาความรูสึกขณะนั้นเปนอยางไร)
ญาณ ๑๖ ปญญาที่หยั่งรู ทบทวนพิจารณา กิเลสที่ละได กิเลสที่ยัง
เหลือ มรรค ผล พระนิพพาน

๓. ประสบการณเจริญสมถยานิก
การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติและเมตตาอินทรีย พระภาวนาพิศาลเมธี
(ประเสิรฐ มนฺตเสวี) ไดเมตตาสอนการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติใหกับขาพเจา
ครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙ โดยขาพเจาไดเรียนเต็มเดือนในชวง
เดือนแรก แตตอมาในเดือนธันวาคม พระนิสิต/นิสิต รุนที่ ๑๑ ตองเดินทาง
ไปปฏิ บั ติวิ ป สสนากรรมฐานต อ ณ สาธารณรั ฐแห งสหภาพเมีย นมาร ซึ่ง
ภาระหนาที่ในการสอน ณ ศูนยปฏิธรรม ธรรมโมลี ในคอรสนี้ ของทานก็
จะตองสิ้นสุดลง แตดวยความเมตตายิ่งของทานที่มีตอผูปฏิบัติภาคสมทบ
ทานใชวิธีเดินทางไปกลับจาก มจร.วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส– ศูนยปฏิบัติ
ธรรม ธรรมโมลี ทุ กสั ป ดาห (โดยใช เ วลาในการสอนข าพเจ า สั ป ดาห ล ะ
ประมาณ ๓ วัน) จนถึงวันปดคอรสในกลางเดือนกุมภาพันธ ๒๕๖๐ ซึ่งผล
การปฏิบัติของขาพเจาในครั้งนั้น ขาพเจาสามารถเจริญเมตตาเจโตวิมุตติได
จนถึงฌาน ๔ และหลังจากปดคอรส ขาพเจาก็ยังคงเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ
อย างต อเนื่ องและสม่ําเสมอ จนกระทั่ง ในเดื อนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒
ข า พเจ า ได มี โ อกาสเข า ปฏิ บั ติ เ พื่ อ เรี ย นการเจริ ญ เมตตาฯ อี ก ครั้ ง เป น
ระยะเวลา ๑ เดื อ นเต็ ม ในคอร ส นี้ ข า พเจ า สามารถเจริ ญ เมตตาฯ จน
สามารถเขาสูอรูปฌาน๑และในกลางเดือนกรกฏาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ถึงเดือน
กุมภาพันธ ๒๕๖๓ ซึ่งเปนคอรสการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ๗ เดือน ของ
พระนิสิ ต/นิสิ ต รุนที่ ๑๔ และขาพเจ าไดเขาร วมปฏิบั ติ ในฐานะผูป ฏิบั ติ
สมทบอีกครั้ง เพื่อเรียนการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ เปนระยะเวลา ๗ เดือน
เต็ม ซึ่งในคอรสนี้ ขาพเจาสามารถเจริญเมตตาเจโตวิมุตติและเมตตาอินทรีย

๙๔๐
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

จนสามารถเข าสู อรู ป ฌาน ๔ ได และไปจนถึ งสมาธิ ในระดั บ ๙ (สั ญญา
เวทยิตนิโรธ(สัญญาและเวทนาดับ))
การเจริญเมตตาภาวนาเบื้องตน
-เมตตาพรหมวิหาร(ปรารถนาใหผูอื่นเปนสุข)
๑. พึงเจริญเมตตาภาวนาในตนเองเปนอันดับแรก โดย บริกรรมวา
“ขอใหขาพเจามีความสุข ปราศจากทุกข”
หามเจริ ญเมตตาในบุ คคล ๔ จํ าพวกเปน อัน ดับ แรก คือ ๑.คนที่
เกลียดชัง ๒.คนที่รักกันมาก ๓.คนที่เปนกลางๆ ๔.คนที่เปนคูเวรกัน
อนึ่ง คนตางเพศกัน ก็ห ามมิใหเจริญเมตตาไปโดยเฉพาะเจาะจง
และแมคนที่ตายไปแลว ก็ไมควรเจริญเมตตาไป เพราะเหตุใด?
-หากเพงเอาคนที่เกลียดชังมาตั้งไวในฐานะเปนคนที่รักนั้น ยอมเปน
สิ่งที่ลําบากใจมาก (ทําไดยาก สําหรับผูเริ่มตน)
-เมื่อจะเพงเอาคนที่รักมากมาตั้งไวเปนคนกลางๆ ก็เปนสิ่งที่ทําได
ยาก เชนเดียวกัน
-เมื่อจะเพงเอาคนที่เปนกลางๆ มาตั้งไวในฐานะคนที่รัก ก็เปนการ
ทําไดยากเชนกัน
-เมื่ อ ระลึ ก ถึ ง คนที่ เ ป น คู เ วรกั น ความโกรธแค น ก็ จ ะเกิ ด ขึ้ น มา
เมตตาภาวนา ยอมบังเกิดขึ้นไมได
-สวนในกรณีคนตางเพศ เมื่อเจริญเมตตาไปโดยเจาะจง คือ เพงเอา
คนตางเพศนั้นมาเปนอารมณโดยเฉพาะ ราคะ คือ ความกําหนัดยินดีในเพศ
ก็จะเกิดขึ้นมาแทน เมตตาภาวนาไมอาจที่จะเกิดขึ้นได
๒.เจริญเมตตาในคนที่รักหรือคนที่เคารพเปนอันดับสอง
เมื่อเมตตาจิตในตนเองปรากฏเดนชัด ตอไปพึงเจริญเมตตาไปในคน
ที่รักหรือ
“ขอให ..หลวงพอ.. มีความสุข ปราศจากทุกข”
พึงบริกรรมหรือภาวนา แผออกไปๆ จนกวาเมตตาฌานจะเกิดขึ้น

๙๔๑
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๓. เจริ ญ เมตตาในคนที่ เ ป น กลางๆ เป น อั น ดั บ สาม (กลุ ม หญิ ง


ทั้งหลาย,ชายทั้งหลาย,พระอริยเจาทั้งหลาย (ใน ๓๑ ภูมิ))
๔. คนที่ เ ป น คูเ วรกั น เป น อั น ดั บ สี่ (กลุ ม ปุ ถุ ช นหรื อ คนทั้ ง หลาย
(อาจมีผูที่เปนคูเวร))
พึงเจริญเมตตาแผไป จนกวาจะทําจิตใหมีเมตตาเสมอกันในบุคคล
๔ จําพวกดังกลาวขางตนคือ การไดทําลายขอบเขตหรือทําลายเขตแดนแหง
เมตตา ไมใหมีจํากัดอยู เฉพาะแตในบุคคลประเภทใดประเภทหนึ่ง ชื่อว า
เจริญเมตตาโดยไมมีเขตแดน หรือที่เรียกวาสีมสัมเภท๗
เมื่อเจริ ญเมตตาภาวนาถึงขั้น สี มสั มเภทแล ว ชื่ อว า สําเร็ จถึงขั้น
อุปจารสมาธิแลว ใหพึงเจริญเมตตาแผออกไปๆ จนบรรลุถึงอัปปนาสมาธิ ที่
เรียกวา อัปปมัญญา หรือ การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ
- กรุณาพรหมวิหาร(ปรารถนาใหผูอื่นพนจากทุกข)
พึงเจริญกรุณาพรหมวิหาร ไปใน “กลุมมนุษยทั้งหลาย(ที่มีความ
ทุกข) สั ตว เดรัจ ฉานทั้งหลาย เปรตทั้งหลาย อสุร กายทั้งหลาย สัต วน รก
ทั้งหลาย(ใน ๓๑ ภูมิ)“ โดยบริกรรม “ขอ.....จงพนจากทุกข มีความสุขอยู
เถิด” เปนตน จนในที่สุดจิตที่ประกอบอยูดวยกรุณานั้น เขาถึงสมาธิแนวแน
มั่นคง
- มุทิตาพรหมวิหาร (ความยินดีเมื่อผูอื่นมีความสุข)
พึ ง เจริ ญ มุ ทิ ต าพรหมวิ ห ารไปใน “กลุ ม พรหมทั้ ง หลาย เทวดา
ทั้งหลาย มนุษยทั้งหลาย (ที่มีความสุขใน๓๑ ภูมิ)” โดยบริกรรม “ขอนอม
ยินดีใน….มีความสุขจริง สาธุหนอ” เปนตนจนมุทิตาพรหมวิหารเกิดเต็มที่ถึง
ระดับฌาน
พรหมวิหาร ๓ ใหไดสมาธิถึงขั้นตติยฌาน


คูมือการศึกษาสัมมาปฏิบตั ิไตรสิกขา ศูนยประสานงานสํานักปฏิบตั ิธรรม
ประจําจังหวัดแหงประเทศไทย ?

๙๔๒
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

- อุเบกขาพรหมวิหาร(ความวางใจเปนกลาง)
คือ จิตตั้งมั่นวางเฉยในบุคคลและสัตวทั้งหลาย เสมอหนากัน เมื่อ
จิ ต ตั้ ง มั่ น เป น อุ เ บกขา สามารถแผ ไ ปได ใ นทุ ก กลุ ม (ใน ๓๑ ภู มิ ) ให แ ผ
อุเบกขารวมกันไปไมแยกประเภท รวมทั้งตัวเองดวย เมื่อแผออกไปๆ จิตจะ
ตั้งมั่นเปนอัปปนาสมาธิ จตุตถฌาน ที่มีอุเบกขาในสัตวทั้งหลายเปนอารมณ
ก็จะบังเกิดขึ้น
หมายเหตุ: ๓๑ ภูมิ ไดแก ตนเอง ผูมีพระคุณ ญาติทั้งหลาย หญิง
ทั้งหลาย, ชายทั้งหลาย, พระอริยเจาทั้งหลาย, ผูไมใชพระอริยเจาทั้งหลาย
คือปุถุชนหรือคนทั้งหลาย, พรหมทั้งหลาย, เทวดาทั้งหลาย, มนุษยทั้งหลาย,
สัตวเดรัจฉานทั้งหลาย, เปรตทั้งหลาย, อสุรกายทั้งหลาย, สัตวนรกทั้งหลาย)
การเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ
มีวิธีการเจริญ (แผ) ๓ วิธี
๑.อโนธิโสผรณา เจริญเมตตาโดยไมเจาะจง โดยอาการ ๕
(คือ สัตวทั้งปวง, สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง, ภูติ (สิ่งมีวิญญาณ)
ทั้งปวง, บุคคลทั้งปวง, ผูที่นับเนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง (แยกทั้งหมดเปน๕
บท)
๒.โอธิโสผรณา เจริญเมตตาโดยเจาะจง โดยอาการ ๗เปนการเจริญ
(แผ) เมตตาเจาะจงเฉพาะบุคคล/กลุม ๗ ประเภท(คือ หญิงทั้งหลาย, ชาย
ทั้งหลาย, พระอริยเจาทั้งหลาย, ผูไมใชพระอริยเจาทั้งหลาย คือ ปุถุชน,
เทวดาทั้งหลาย, มนุษยทั้งหลาย, อสุรกาย/สัตวนรกทั้งหลาย)
๓.ทิสาผรณา เจริญเมตตาไปในทิศตางๆ โดยอาการ ๑๐เปนการ
เจริญเมตตาไปในทิศทั้ง ๑๐
เมตตาเจโตวิมุตติ แผไปโดยไมเจาะจงใน ๑๐ ทิศ โดยอาการ ๕
อยางคือ
๑. ขอ“สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑)” หรือ “สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง
(บทที่ ๒)” หรือ “ภูต (สิ่งมีวิญญาณ)ทั้งปวง (บทที่ ๓)” หรือ “บุคคลทั้งปวง
(บทที่ ๔)” หรือ “ผูที่นับเนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง (บทที่ ๕)”ในทิศบูรพา
๙๔๓
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

(ทิศตะวันออก) จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน ไมมีทุกข มีสุข รักษาตน


อยูเถิด
๒. ขอ“สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑)” หรือ “สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง
(บทที่ ๒)” หรือ “ภูต (สิ่งมีวิญญาณ)ทั้งปวง (บทที่ ๓)” หรือ “บุคคลทั้งปวง
(บทที่ ๔)” หรือ “ผูที่นับเนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง (บทที่ ๕)” ในทิศปจฉิม
(ทิศตะวันตก) จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน ไมมีทุกข มีสุข รักษาตนอยู
เถิด
๓. ขอ“สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑)” หรือ “สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง
(บทที่ ๒)” หรือ “ภูต (สิ่งมีวิญญาณ)ทั้งปวง (บทที่ ๓)” หรือ “บุคคลทั้งปวง
(บทที่ ๔)” หรือ “ผูที่นับ เนื่ องด วยอัต ภาพทั้งปวง (บทที่ ๕)” ในทิศ อุด ร
(ทิศเหนือ) จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน ไมมีทุกข มีสุข รักษาตนอยู
เถิด
๔. ขอ“สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑)” หรือ “สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง
(บทที่ ๒)” หรือ “ภูต (สิ่งมีวิญญาณ)ทั้งปวง (บทที่ ๓)” หรือ “บุคคลทั้งปวง
(บทที่ ๔)” หรือ “ผูที่นับเนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง (บทที่ ๕)” ในทิศทักษิณ
(ทิศใต) จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน ไมมีทุกข มีสุข รักษาตนอยู
เถิด
๕. ขอ“สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑)” หรือ “สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง
(บทที่ ๒)” หรือ “ภูต (สิ่งมีวิญญาณ)ทั้งปวง (บทที่ ๓)” หรือ “บุคคลทั้งปวง
(บทที่ ๔)” หรือ “ผูที่นับเนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง (บทที่ ๕)” ในทิศอาคเนย
(ทิศตะวันออกเฉียงใต ) จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน ไมมีทุกข มีสุข
รักษาตนอยูเถิด
๖. ขอ“สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑)” หรือ “สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง
(บทที่ ๒)” หรือ “ภูต (สิ่งมีวิญญาณ)ทั้งปวง (บทที่ ๓)” หรือ “บุคคลทั้งปวง
(บทที่ ๔)” หรือ “ผูที่นับเนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง (บทที่ ๕)” ในทิศพายัพ
(ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ) จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน ไมมีทุกข มี
สุข รักษาตนอยูเถิด
๙๔๔
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๗. ขอ“สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑)” หรือ “สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง


(บทที่ ๒)” หรือ “ภูต (สิ่งมีวิญญาณ)ทั้งปวง (บทที่ ๓)” หรือ “บุคคลทั้งปวง
(บทที่ ๔)” หรือ “ผูที่นับเนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง (บทที่ ๕)”ในทิศอีสาน
(ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ) จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน ไมมีทุกข มี
สุข รักษาตนอยูเถิด
๘. ขอ“สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑)” หรือ “สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง
(บทที่ ๒)” หรือ “ภูต (สิ่งมีวิญญาณ)ทั้งปวง (บทที่ ๓)” หรือ “บุคคลทั้งปวง
(บทที่ ๔)” หรือ “ผู ที่นับ เนื่องดว ยอัต ภาพทั้งปวง (บทที่ ๕)” ในทิศหรดี
(ทิศตะวันตกเฉียงใต ) จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน ไมมีทุกข มีสุข
รักษาตนอยูเถิด
๙. ขอ“สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑)” หรือ “สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง
(บทที่ ๒)” หรือ “ภูต (สิ่งมีวิญญาณ)ทั้งปวง (บทที่ ๓)” หรือ “บุคคลทั้งปวง
(บทที่ ๔)” หรือ “ผูที่นับเนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง (บทที่ ๕)” ในทิศเบื้อง
ลาง จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน ไมมีทุกข มีสุข รักษาตนอยูเถิด
๑๐. ขอ“สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑)” หรือ “สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้ง
ปวง (บทที่ ๒)” หรือ “ภูต (สิ่งมีวิญญาณ)ทั้งปวง (บทที่ ๓)” หรือ “บุคคล
ทั้งปวง (บทที่ ๔)” หรือ “ผูที่นับเนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง (บทที่ ๕)” ในทิศ
เบื้องบน จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียนกัน ไมมีทุกข มีสุข รักษาตนอยู
เถิด
๓.๑ สภาวธรรมการปฏิบัติครั้งแรก ( ๔ เดือน)
เมื่ อ เจริ ญ เมตตาเจโตวิ มุ ต ติ ๔ เดื อ น(พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๙ ถึ ง
กุมภาพันธ ๒๕๖๐) สภาวธรรมของสมาธิในรูปฌาน มีดังนี้
ปฐมฌาน (ฌาน ๑)
ปฐมฌาน มีองคฌาน ๕ ไดแก วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา
เมื่อเจริญเมตตาเจโตวิมุตติในฌานนี้ ทวารทั้งหายังรับ รูทุกอยาง
เริ่มจากบริกรรมนิมิต คือ นึกใหเห็นดวยใจ จิตจดจออยูกับคําบริกรรม แลว
แผออกไปๆ จนจิตนิ่งเปนสมาธิมั่นคง องคฌานทั้ง ๕ ก็จะปรากฏ คือวิตก
๙๔๕
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

วิจาร (ความตรึกตรองประคองนิมิต)ปติจะเกิดขึ้นเล็กนอย (เพราะยังมีวิตก


และวิจารอยูในการสรางความนิ่งของจิต) สุข และเอกัคคตา (จิตสงบนิ่งเปน
หนึ่ ง อยู ใ นอารมณ เ ดี ย ว) นิ ว รณ ทั้ ง ๕ หมดสิ้ น ไป จิ ต เริ่ ม ออกจากกาย
เล็กนอย เมื่อแผใหตัวเอง จนรูสึกเห็นหนาหรือเห็นตัวเองยิ้ม, โปรงใส, เย็น,
แสงสวางจามากขึ้นเรื่อยๆ ใหแผออกจากตัวเอง ขยายกวางออกไปๆ ยังกลุม
ตางๆ ใน ๓๑ ภูมิ
ทุติยฌาน (ฌาน ๒)
ทุติยฌาน มีองคฌาน ๓ ไดแก ปติ สุข และเอกัคคตา
ในฌานนี้จะรูสึกไมหวั่นไหวกับสิ่งที่มากระทบทางทวารทั้งหา จิตจะ
นิ่งมาก เปนสมาธิแนวแน ละเอียดยิ่งขึ้นไปอีก ไมซัดสาย ไมตองประคองจิต
วิตก วิ จารจะหายไป เหลื อแต ปติ สุ ข เอกัคคตา โดยอาการของป ติ จะมี
อาการขนลุกขนชัน ซูซา รางกายโยกโคลง รูสึกรางกายใหญโต รูสึกตัวเบา
ตัวลอยขึ้นเหนือที่นั่ง (ไมรูสึกวานั่งอยูบนอาสนะเลย) และเมื่อเจริญเมตตา
กรุณา มุทิตา ใน ๓๑ ภูมิ จะยังฌาน ๓ ใหเกิดขึ้น ซึ่งในฌานนี้ สมาธิระดับ
อุปจารสมาธิ จะเกิดขึ้น
จิตหลุดออกจากกายมากขึ้น เมื่อแผออกไปยังกลุมตางๆ ใน ๓๑ ภูมิ
จิตสามารถเห็น เชน ควันไฟพวยพุงขึ้นมา หรือเห็นความเปนสัตวเดรัจฉาน
เปรต อสุรกาย สัตวนรก ที่ชัดเจน และเมื่อแผไป สภาวะหรือสถานะของ
กลุมเหลานี้ จะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นเปนสุขขึ้น เปนตน
ตติยฌาน (ฌาน ๓)
ตติยฌาน มีองคฌาน ๒ คือ สุข และเอกัคคตา
ในฌานนี้ จิตจะนิ่งสนิทละเอียดยิ่งขึ้นไปอีก สามารถตัดทวารทั้ง ๕
ไดประมาณ ๗๐ – ๘๐% ความรูสึกจะแผวเบาลง จะทรงตัวไดอยางมั่นคง
อารมณจะเปนหนึ่งเดียวแนบแนน (เอกัคคตา) มีสุขเกิดขึ้น อารมณสดชื่น
ผองใส ปติจะหายไปจิตยิ่งหลุดออกจากกายมากขึ้น เมื่อแผออกไปยังกลุม
ตางๆ ใน ๓๑ ภูมิ จิตสามารถสัมผัสได เชน ความหนาวเย็น เมื่อเขาสูขั้วโลก

๙๔๖
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

หรือ ไอรอน เมื่อเขาสูทะเลทราย หรือ จิตสามารถแทรกลงไปในน้ําได หรือ


จิตจะรูสึกไปกับสภาวะที่พบเจอ เชน แรงดึงดูดอยางรุนแรง แรงเหวี่ยงออก
(แผผานสามเหลี่ยมเบอรมิวดา) เปนตน
จตุตถฌาน (ฌาน ๔)
จตุตถฌาน มีองคฌาน ๒ คือ เอกัคคตา และอุเบกขาในฌานนี้ทวาร
ทั้ง ๕ จะไมรับรูใดๆ กายกับจิตจะแยกออกจากกันอยางเด็ดขาด ( จิตหลุด
ออกจากกาย แตยังมีตัวรูอยู) เมื่ออยูในฌาน ๔ อยางตอเนื่อง จิตจะนิ่งสนิท
ละเอียดยิ่งขึ้นไปอีกเปนเอกัคคตา จนรูสึกมีพลัง (มากๆ)สมาธิแนบแนนเปน
อัปปนาสมาธิ
สามารถแผออกนอกโลก สูจักรวาลได รูสึกถึงสภาวะเหมือนอยูใน
หวงอวกาศ ลงไปสัมผัสกับพื้นผิวของดวงดาวตางๆ ในจักรวาลได (อยาแวะ
นาน) จิตจะมีกําลังมากเปนเมตตาอัปปมัญญา (เจริญเมตตาโดยไมเจาะจง
โดยอาการ ๕ (๕ บท)และเมื่อแผสูทิศตาง ๆ ๑๐ ทิศ ในชั้นนี้ ไมจําเปนตอง
เห็น หรือ เขาไปสัมผัส แตจะมีความรูสึก เชน เปนคลื่นๆ แผออกไปๆ
๓.๒ สภาวธรรมการปฏิบัติครั้งที่ ๒ (๔ เดือน)
หลักการปฏิบัติการเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ (ฌาน ๑ ถึง ฌาน ๔)
๑) แผเมตตาภาวนาเบื้องตน
กรณีแผออก(เมตตายังมี)
๑. ภาพนิมิต (หรือบางครั้งชื่อของสิ่งที่จิตไปพบเจอ) จะขึ้นมาใหจิต
รูเองเห็นภาพนิมิตอะไร แผไปตามนั้น
๒. มีปวด มีปติ ไมตองสนใจ (ไมตองกําหนด) ขณะแผไมตองสนใจ
อะไร แผออกอยางเดียว
๓.หากรูสึกมีพลังเขา ปลอยใหเขาเลย (ไมตองกําหนด) ใหแผขยาย
ออกอยางเดียว (เราตองการพลังอยูแลว)
๔. สมาธิ ดี ก็ แ ผ ข ยายออกไป แต ถ า “ง ว ง”หรื อ มี “นิ ว รณ ” ให
กลับมาแผใหตัวเอง หรือกําหนดกอน

๙๔๗
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

กรณีแผไมออก
๑. หากจิตนิ่งแผไมออก (เปนอุเบกขา) สงจิตไมไป นึกหนาไมออก
เพราะเต็มที่ให “ฝนกอน” แลวใหสงจิตไป “ดูจิต” “รู” “วาง”ดูจิตที่เฉย
กําหนด “เฉยหนอ” “รูหนอ” “วางหนอ”
๒. ตามรู จนจิตไปจับอารมณ เชน อาการปวดพอง-ยุบโดยใหจิตไป
จับอารมณเอง
๒) แผเมตตาอัปปมัญญา (บทที่ ๑ – ๕)
กรณีแผออก
๑. ขยายออกไป ไมมีขอบเขต ไมมีหยุด ยกเวนหยุดเอง ถาหยุดเอง
(หรื อ ถ า หยุ ด นิ่ ง )ให สั ง เกต ให ดู จิ ต ว า เมตตายั ง อยู ไ หมดู จิ ต แล ว ยั ง มี
“เมตตา” ก็แผออกไป พรอมคําบริกรรม(แตใหขามกลุมเดิม ไปแผกลุมใหม
เลย)
๒. ถาหยุดนิ่ง แลวรู “เฉยๆ” ก็สงจิตรู “เฉยๆ” แผออกไป โดยไม
ตองบริกรรม(แตใหขามกลุมเดิม ไปแผกลุมใหมเลย)
๓. ขณะแผ แผ อ อกได มี ป วด มีฟุ ง มี ป ติ มีสุ ข ไม ส น ไมต องไป
กําหนด แผออกอยางเดียว
กรณีแผไมออก
๑. แผ ไมออก จํ าคํ าบริ ก รรมไม ได ให ย อนมาที่ตั ว เองกอ น จนมี
กําลังมากขึ้น
๒. ถาจิตนิ่ง ขณะแผ แผออกไมได ใหดู “จิต” เลย ดูจิตรูสึกอยางไร
ก็กําหนดตามนั้น

๓) เริ่มแผไปสูทิศ ๑๐ ทิศ
เมตตาเจโตวิ มุ ต ติ แ ผ ไ ปโดยไม เ จาะจงใน๑๐ ทิศ ด ว ยอาการ ๕
อยางหลักการปฏิบัติดังนี้
กรณีแผออก

๙๔๘
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๑. หากเมื่อแผๆไป แลวจะรูสึกเบาๆ ลงจน “เฉย”ถาเฉยแลวยังมี


“เมตตา” ใหแผออกไปโดยไมตองบริกรรม
๒. หากเปนการแผไปยังทิศตางๆ แลวจิต นิ่ง ใหสงจิตนิ่ งออกไป
โดยไมตองบริกรรม และเปลี่ยนทิศ
๓. ถาแผสูทิศ มีความปวด มีความคิด ไมตองสนใจ แผออกอยาง
เดียว
กรณีแผไมออก
๑. หากจิตนิ่ง คาง หยุด ยอนมาดูจิต “รูหนอ” ตามดูจิตนั้น (ถาจิต
นิ่ง ดูจิตนิ่ง กําหนด “รูหนอ นิ่งหนอ”)
จนจิ ต จั บ อารมณ อะไรก็กํา หนด “รู ห นอ” แล ว ดู ว า ในจิ ต นั้ น มี
สภาวะจิตดับไหมหรือบางครั้งจิตไปรู “อาการปวด” ใหจิตรูเอง อยาสงจิต
๒. เมื่อแผแลวอั้นเหมือนแผไมออก ถาจิตเฉย ใหเอาจิตไปแนบแนน
กับอารมณนั้น ๆ กําหนดไปตามการเปลี่ยนแปลง
๓. ถาจิตไมนิ่ง ก็กําหนดไปตามที่จิตรู “หามยายจิต”
หมายเหตุ : หากแผไปในทิศใดแลว “รูสึกรอน” ใหยอนกลับมาแผ
ใหตัวเอง จนรูสึกเย็นแลวจึงแผไปในทิศเดิม

๔) การกําหนดดู “จิต”
เมื่อปฏิบัติมาถึงจุดนี้การกําหนดดู “จิต” มีดังนี้
๑. ถา “นิ่ง” “วาง” ก็ใหกําหนด “รูหนอ นิ่งหนอวางหนอ”และ
เมื่อจิตนิ่งคาง แลวจะดับวุบๆ ใหกําหนด “รูๆๆ” “ชาๆๆ” “หางๆๆ”และ
หลังจากกําหนด “รูๆๆ” ดับวุบๆ แลวจะเขาสูสภาวะ “โลงวาง”ใหสังเกตวา
“รูๆๆ” แลว “วาง” ตัวรูยังอยูไหม
๒. ดูจิต “รูๆๆ” ยกเวน “จิตรวม” ใหมาดูจิตหนึ่งเดียว
๓. กรณี “ดับ” ไมขาด (ยังอยู) จะกําหนดอยางไร อยูที่สภาวะ
- ถา “แช” ใหกําหนดชาๆ(อยาใหเร็ว) คือ “รู รู รู… .”
- แตถาเปลี่ยนแปลง “เร็ว” ให “ตามดู”
๙๔๙
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

- ถาดับ(ไมขาด) วุบๆๆๆๆ ยาวลงไป ให “ตามรู” คือ “รูๆๆๆๆ”


เปนขณะ
๕) อุเบกขาอัปปมัญญา
มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
๑. ใน ๓๑ ภพภูมิ แผจิตเฉย ๆ ออกไป“ไมตองบริกรรม”
๒.ทิ ศ ทั้ ง ๑๐ แผ จิ ต เฉย ๆ ออกไป และเมื่ อ จิ ต ดั บ “วุ บ ” ให
เปลี่ยนทิศจนกระทั่งครบทุกทิศแลว
๓. การกําหนดดู “จิต”
- คื อ จิ ต ไปจั บ สภาวะนั้ น ๆ ชั ด หรื อ ไม ชั ด (จิ ต รู อ ะไร ไปจั บ
อาการนั้นๆ ของจิตเอง(อยาสงจิต)) โดยถาอาการตั้งอยูนาน ใหเอาจิต “จม”
ลงไปในสภาวะนั้น
- ดูไปตามอาการเกิดดับของจิต
- ดูอาการที่จิตรู (จิตรูดับจากรูปนาม)
(เมื่อจิต ไปจั บอาการปวด อาการปวดเกิดดั บเป นขณะๆ เมื่อเห็ น
อาการปวด“ดับ ”ในแต ละขณะ ก็จ ะเห็นจิ ตรู ดับพรอมกัน ในแตล ะขณะๆ
นั้นๆ)
๔. มี “ราคะ” “ปฏิฆะ” ไหม? และถามีใหดูวา สงผลตอจิตไหม?
- เปนแคอาการจิตรู
- หรือจิตมีอาการไปดวยถาจิตมีอาการไปดวย ตอง “กําหนด”
- ถามี “ราคะ” “ปฏิฆะ” เกิดขึ้น หลังจากกําหนด “ดับ”แลว
(ตนดับ) ใหไปดูจิต (ดูราก) วายังเหลืออยูอีกไหม ให “กําหนดตัดทิ้ง”
๕. มีสภาวะเกิดดับ ใหบริกรรม “รู ๆๆๆ”
๖) เพื่อใหเปนอุเบกขามากขึ้น
มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
๑. ใน ๓๑ ภพภูมิ แผจิตเฉย ๆ ออกไป“ไมตองบริกรรม”

๙๕๐
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๒. ทิศทั้ง ๑๐ แผจิตเฉยๆ ออกไป (ไมตองมีเมตตา) “เพื่อใหเปน


อุเบกขามากขึ้น”
หากแผแลวเจอสภาวะ แชๆ นิ่งๆไมตองเปลี่ยนทิศ ใหแผทิศเดิม
ตอจนกวาจะตัดเปนอุเบกขา(เฉยๆแชๆนิ่งๆ) อีกครั้ง แลวจึงเปลี่ยนทิศ
ดังนั้นแตละทิศจะใชเวลามากกวาเดิม
๓. การกําหนดดู “จิต”
- ถาสภาวะเปลี่ยนแปลง “ชา” แชๆ นิ่งๆ ให “กําหนด”
- ถาสภาวะเปลี่ยนแปลง “เร็ว” ให “ตามดู”(ยกเวน “สุข” ให
กําหนด)
- สภาวธรรมในชวงนี้ เมื่อกําหนดอะไรแลว “ดับหมด”ใหปฏิบัติ
ดังนี้
- ถามี “ราคะ” “ปฏิฆะ” เกิดขึ้น อยากําหนด (ไมจัดการ
ใหดูเฉยๆ พิจารณาดู)
- เปนอะไร ใหเปนไปตามอาการนั้น ให “ปญญาขั้นสูง”
ตัดกิเลสของเขาเอง ถามี “ราคะ” “ปฏิฆะ” เกิดขึ้นใหดูวา
- ถาเปนแคอาการที่ดับไมตองกําหนดอะไร
- หรือจิตรูดับไปดวย ถาจิตรูดับไปดวย ก็กําหนด “รูๆๆๆ”
คือ รูการดับนั้น

๗) จิตเขาสูความเปนอุเบกขาเร็วขึ้น เพิ่มการดู “จิตรู”


มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
๑. ใน ๓๑ ภพภูมิ แผจิตเฉย ๆ ออกไป“ไมตองบริกรรม”
๒. ทิศทั้ง ๑๐ แผจิ ตเฉยๆ ออกไป (สภาวธรรมช วงนี้จิ ตจะเขาสู
ความเปนอุเบกขาเร็วขึ้น)
๓. ใหดู “จิตรู” ใหนานมากขึ้น (ดูวาไปจับอารมณใด)
มีรายละเอียดดังนี้
๑. แผใหตัวเอง ๑ ครั้ง โดย“บริกรรม”
๙๕๑
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๒. สงจิตเฉย ๆ (จิตที่เปนอุเบกขา) ใหตัวเอง “โดยไมตองบริกรรม”


๓. แผ ๓๑ ภพภูมิ ใหสงจิตเฉย ๆ (เห็นหนาเฉยๆ) ๑ ครั้ง “โดยไม
ตองบริกรรม”(ไมถึง ๑๐ นาทีก็ครบแลว)
๔. ยอนมาที่ตัวเอง โดย “ดูจิตเฉยๆ”
๕. ทิศทั้ง ๑๐ แผจิตเฉย ๆ ออกไป จน “วุบ” ตัด “แลวจึงเปลี่ยน
ทิศ”
๖.ยอนมาที่ตัวเอง ให “ดูจิต” “โดยบริกรรม” “รูหนอ”
- จิตไปรูอะไรก็รูไปตามนั้น จน “ดับ”
- ถาวาง ไมมีอะไร (แบบไมมีอะไรในความว าง) บริกรรม “รู
หนอ วางหนอ”
- ถา “ดับขาด” เห็น “ใหขาด”
- ดับขาด “เร็ว (วุบๆๆๆๆ)” ก็ “ดู”
- ดับขาดแบบ “ชาๆ” ก็บริกรรม “รูๆๆ”
- ถา “ดับขาด” ปง แบบขาดความรูสึกไปเลยเมื่อรูสึกตัวขึ้นมา
ใหกําหนด “รูหนอ” เพื่อเปนการกําหนดความรูสึกตัว
- มีอาการลง (เขาไปรูในจิตตัวรู) อยาปลอยใหวุบไปเลย ใหสง
จิ ต ตามรู แ บบถี่ ๆ“รู ๆ ๆๆ”เป น การรู ต ามอาการเพื่ อ รู ว า จะพาไปไหน
(เมื่อกอนนี้ พอ”ดับ” ปลอยจิตใหขาดดับไปเลย แตตอนนี้อยาปลอย เพื่อ
เพิ่มปญญาขั้นสูง)
- เห็นสภาวะ “ดับขาด” เพิ่มขึ้นเปน๒ ขณะ
- เห็นสภาวะ “วุบ” “จะชาลง” แลวดับตัดขาด “แลววุบลงไป
อีกครั้ง”จะรูสึกเห็นวา “ชาลง”
- หากมีราคะ โทสะ โมหะ “ไมตองไปกําหนด” ปลอยเลย “นั่งดู
เฉยๆ”และใหสังเกตตัวเองวามี ราคะ โทสะ โมหะ เกิดขึ้นชวงใดบาง?
- เอาจิตเขาไปดูขางในเลย เปลี่ยนแปลงชัด “เขาไปดูความสุข”
เปลี่ยนแปลงชัด

๙๕๒
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

- ตอนเวทนา “ปวด” เห็ น “ปวด” เปลี่ ย นแปลงเป น แค


“อาการ” เมื่อดูการเปลี่ยนแปลงใน “สุข” และ “ปวด” จะเห็นวาไมตางกัน
เลย
- “รู” กําหนดอะไร อยางเชน อาการปวด สงจิตไปดูกอน อยา
เพิ่ง! กําหนด “ปวดหนอ”ดูวาจิตรูสึกอยางไร ปวดไหม? หรือเปนแคอาการ
ใหกําหนด “อาการปวด” ทุกสภาวะที่จิตรู
- ตอน “เคี้ยว” อาหาร ใหสังเกต ไมใชสังเกต “จิตอยาก” แต
ใหสังเกต“เจตนา” ในการเคี้ยววา ตอนเริ่มเคี้ยว เจตนาในการเคี้ยวตอนแรก
จะ “เขม”แลวจะ “จาง” ลงเรื่อยๆ
๘) ขอแนะนําเพิ่มเติม สําหรับการปฏิบัติตอไป
๑. หากไมนิ่ง “ทุกทิศ” แผเปน “เมตตา” ออกไปกอน ๑ ครั้ง แลว
คอยสง “จิตนิ่ง(อุเบกขา)” ออกไป
๒. หากนิ่ง “ทุกทิศ” แผเปน “อุเบกขา” ออกไปเลย
๓. เมื่อแผ “ครบ ๑๐ ทิศ”แลว หากจิตนิ่ง ไมตองยอนจิต (มาดู
ตัวเอง)
๔. ใหใชเฉพาะคําบริกรรม “รูๆๆ” ไมตองใส “หนอ” (แตถาหาก
ชัดใหใส “หนอ” ได)
๕. ให “ดูจิต”
๖. ใหเขาไปดู “การดับของจิตรู” อาจ โลง วาง หรือไมมีอะไร
บางครั้ง “รู”ใหรูวา “ไมมีอะไร จะใหร”ู
๙) สภาวธรรมที่เกิดขึ้น เมื่อจิตเขาสูความเปนอุเบกขาเร็วขึ้น
๑. เมื่อจิตไปจับอาการปวด ก็เห็น อาการปวดดับ เปนขณะๆ เมื่อ
เห็นอาการปวด “ดับ”ในแตละขณะ ก็จะเห็นจิตรูดับพรอมกันในขณะนั้นๆ
๒. เมื่อ “ดับขาด” แลวจะมีสติรูอยูภายใน(เขาไปในจิตตัวรู เห็น
การเกิดดับในจิตตัวรู)(ชั่วครูหนึ่งไมถึงนาที) (กอนหนานี้ เมื่อ “ดับขาด” แลว
จะหายไปแบบไมรูเลย)
๙๕๓
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๓. เมื่อ “อมขาว” ก็จะเห็นรส “ดับหมด” (ไมเหลือรสอะไรอยูเลย)


และเมื่อ “รสดับ” ทีละขณะ ก็จะรูสึกถึง “จิตรูรส” ที่ดับลงทีละ
ขณะๆ พรอมกันในขณะนั้นๆ
๔. และในขณะเคี้ยว หากมีรสเกิดขึ้นจากการเคี้ยว “รสแตละ
รส” ก็จะดับขาด“คําตอคํา”และ “จิตรูรส” ดับพรอมกันในขณะนั้นๆ
๑๐) การแผชวยผูปวย (เมื่อเขาสูอุเบกขาอัปปมัญญาแลว)
แผชวยผูปวยแบบเจาะจง (ระบุชื่อไดยิ่งดี) (ภายใน ๓๐ นาที)
๑. แผใหตัวเองกอน ๒-๓ นาที
๒. แลวสงจิตที่เปน “เมตตากรุณา” ไปใหแกทานผูที่เราประสงคจะ
แผชวยเหลือ (ทานละประมาณ ๕ นาที)เชน“ขอใหหลวงพอ.... มีความสุข
หายปวย มีสุขภาพแข็งแรง”
๓. ถาไมมเี วทนาไมเปนไร แตถามีเวทนาของผูปวยปรากฏที่เราตอง
ใหเวทนาหายกอน จึงคอยออกจากสมาธิ
๓.๓ สภาวธรรมการปฏิบัติครั้งที่ ๓ (๑ เดือน)
สภาวธรรมของคอรส ๑ เดือน มีดังนี้
๑) สภาวะของอากาสานัญจายตนะ (ฌาน ๕)
เมื่อเขาฌาน ๔ มีสติบริสุทธิ์แลว รูในรูปกาย แลวดับรูปกายนั้น เขา
สู ฌ าน ๕เป น ฌานที่ล ะเอีย ด และประณี ต ยิ่ ง กว ารู ป ฌาน ๔ เห็ น เฉพาะ
อากาศวางอันไรขอบเขต แผออกไปสูจักรวาลอันไรขอบเขตดวยจิตอุเบกขา
จะมีสภาวธรรมที่เกิดขึ้น :
๑. การแผมีแรงสงพุงไปเร็วและแรงชนิดสงจิตปุบผานโลกแวบ แลว
ทะลุออกจักรวาลวุบออกไปเลย เกาะติดจิตตัวรูไดดี รูสึกเกาะติดแนนและ
ชัดเจนไปกับจิตที่แผออกไปนั้น เกาะติดไปตลอด
๒. เห็นการเกิดดับติดตอกันเปนขณะ (กระพริบดับวุบๆ) ของจิตตัว
รู ไดชัดเจนมากขึ้น และนานเปนชวงๆ หลายๆชวง

๙๕๔
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๓. จิต ตัดเร็ว และสภาวะของจิตตั วรูดับวุ บตัดขาดคอนขางเยอะ


(บางครั้งดับวุบตัดขาดแรง)
๔. เห็นการดับของจิตตัวรูที่ชาลงมากขึ้น เชน กอนทีจิตรูจะดับวุบ
ตัดขาดนั้น วุบยาวๆลงไป แลวจิตรูก็ดับวุบ (กําหนด “รูๆๆๆ” กอนที่จิตรูจะ
ดับวุบตัดขาด)
๕. จิตตัวรูดับ ขณะที่สอดจิตเขาไปในจิตตัวรูนั้น แลวรูสึกวูบลงไป
รูสึกเหมือนโดนดึงเขาไปขางในเห็นสภาวะ “จิตตัวรูดับ ๑ – ๒ ขณะ แลว
ดับวุบๆๆๆ เบาๆ เปนสาย” ในนั้น กอนจะดับวุบแรงตัดขาด(การดับภายใน
จิต)
๖. หลังจิตรูดับ มีสภาวะ “วาง” ชัดเจนขณะหนึ่ง ในสภาวะวางนั้น
เปนสภาวะวางแบบลืมไปเลยวาที่ผานมาเมื่อกี้คืออะไรบางครั้งรูสึกลืมไป
หมดทุกสิ่งทุกอยาง และเห็นจิตรูดับ ๒ ขณะ ในสภาวะ “วาง” นั้นตรงนี้**
ตองสังเกตใหดีวา การดับ ๑ หรือ ๒ ขณะในสภาวะ “วาง” นั้น เปนการดับ
ของจิตรู ที่ดับตามสภาวะหรือเปนการดับของจิตรู ที่รูสภาวะ “วาง” นั้น
๗. สภาวะดั บ แลว จิ ต รู ส ภาวะดับ แล ว เกิด สภาวะว าง แล ว จิ ต รู
สภาวะวางนั้นดับ = ๑ ชุด ดับตามกันเปนชุดๆ หลายชุด
๘. ชวงดู “จิต” จิตรูดับวุบตัดขาดลงไปแรง แลววาบขึ้น (เหมือน
สลับขั้ว) (วาบแลววุบวาบแลววุบ)ๆๆ
๙. เห็นสภาวะ “วาง”กอนจิตรูจะดับ และเห็นสภาวะ “วาง”หลัง
จิตรูดับมากขึน้ รูสึกเหมือนไปจมอยูกับสภาวะ “วาง” นั้น (เห็นชัดเจน)
๒) สภาวธรรมอื่นๆ เมื่อถอยออกจากฌาน
๑. ไม ว าจะทํ า อะไร เห็ น จิ ต “อยาก” เกิ ด ขึ้น อั ต โมมัติ และดั บ
ในทันทีอัตโนมัติ (โดยไมตองเขาไปกําหนด) เพียงแตระลึกรูวา“ดับแลวทุก
ครั้ง” กอนที่จะทําอะไร เทานั้น
๒. เมื่อมีสภาวะใดมากระทบ รับรูไดวา จิตจะรูในสภาวะกระทบ
นั้นสภาวะเดียว (สภาวะอื่นดับหมด)

๙๕๕
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๓. เมื่อมีเวทนาแบบปวดสุดๆ สงจิตไปก็คลาย พอถอนจิตออกมา


ปวดอีกแลวแตพอสงจิตไปก็คลาย สงจิตไปก็เบาๆ ลงเรื่อยๆ พรอมเปลี่ยน
สภาพเปนเหน็บ ชา อุน แลวคลายหายไป หรือในบางครั้งเมื่อเกิดเวทนา พอ
สงจิตไป ไมทันไดกําหนด เวทนาก็จางคลายหายไปทันที
๔. มี เ วทนาให ส อดจิ ต เข า ไปดู ในเวทนานั้ น (เวทนาดั บ จิ ต ตั ว รู
ดับๆๆๆ) เปนขณะๆ ติดตอกันไป
๕. เห็นแตละสภาวะเปลี่ยนแปลงเกิดดับเร็ว เชน รูสึกรอนมาก รอน
ดับก็เปลี่ยนเปนหนาว หนาวดับแลวก็เปลี่ยนมารอนอีก รอนดับก็เปลี่ยนเปน
หนาว เปนตน
๓) สภาวธรรมในขณะเขาและสามารถเขาอรูปฌาน ๕ไดสําเร็จ
๑. ในชวงดู “จิต” รูสึกเห็นจิตคอยๆลอยไกลออกไปๆ โดยไมไดสง
จิตไปเลย จิตลอยออกไปเรื่อยๆ ของเขาเอง และมีสภาวะจิตรูดับวุบตัดขาด
๓ – ๔ ครั้งติดๆ กันเห็นสภาวะกอนตัด วูบบบบ ยาวๆ แลวตัดแลวรูสึกตัว
ขึ้นมาหลังจากนั้น จิตรูจะกระพริบดับชาๆ จึงสอดเขาไปในจิตเห็นจิตรูดับใน
จิต ดับวุบ ชัด โดยมีสภาวะจิตรูดับวุบตัดขาดเยอะ ตัดขาด ๓ – ๔ ครั้งตอ
ชวง ติดตอกันหลายชวง(รวมแลวตัดขาดกวา ๒๐ กวาครั้ง)
๒. และในบัลลังกตอมา ในชวงดู “จิต” มีสภาวะจิตรูดับวุบตัดขาด
ทุกขณะ(ดับวุบตัดขาดๆ ทุก “ขณะ” (ขณะของจิต) ติดตอกันนาน) แลวครั้ง
ลาสุดก็ดับวุบตัดขาดแรงมาก รูสึกตัวขึ้นมาอยูในสภาวะคลายๆอยูในอวกาศ
และเห็นที่เปนแควารู วา มีจิตรูกระพริบดับๆ (ไมขาด) เปนระยะๆ แตเขาไป
จับตองไมได คือ แครู
- และในบัลลังกตอมา ในชวงดู “จิต” มีความรูสึกเหมือนจิตโดนดึง
ไกลออกไปๆ โดยไมไดสงจิตไปเลย หลังจากนั้น จิตรูดับวุบตัดขาดแบบเบาๆ
แลวตัดขาดแรงขึ้นๆ จนกระทั่งจิตรูดับวุบตัดขาดทุก “ขณะ” (ขณะของจิต)
นานประมาณ ๑๕ นาที แลวครั้งลาสุดจิตรูดับวุบตัดขาดแรงมาก แลวรูสึก
เขาสูสภาวะเหมือนอยูในอวกาศ และแครูวา มีจิตรูดับวุบๆ แตเขาไปจับตอง
ไมได สักพักอยูในสภาวะที่จับจิตรูที่กระพริบดับไดบาง สักพักก็อยูในสภาวะ
๙๕๖
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ที่จับจิตรูที่กระพริบดับไมไดอีก วนเวียนอยูอยางนี้หลายครั้ง และไมรูสึกถึง


รูปกายเลย จับรูปกายไมไดเลยจริงๆ เพราะพยายามที่จะจับรูปกาย เพื่อใหรู
วา นั่งสมาธิทาไหน แตทําอยางไรก็จับรูปกายไมได ไมรูสึกถึงรูปกายเลย (จิต
ไมมาจับกายทั้งบัลลังก)
- ในบัลลังกตอมา ในชวงดู “จิต” มีสภาวะจิตรูดับวุบตัดขาดแรงๆ
ตลอด ๑๕ – ๒๐ นาทีแลวตอมารูสึกใน “อวกาศ” ชัดเจน และรูสึกตีคูไป
กับจิตรูที่กระพริบดับทีละขณะ ตีคูไปตลอด (คือ ไดแคเห็น แลวตีคูไปตลอด
แตเขาไปเกาะไมได) ตอมารูสึกเกาะได ๓ – ๔ ขณะ (ขณะของจิต) แตก็เกาะ
ไดไมเต็มที่ และ “ขณะของจิต”ตอมาก็ตีคกู ันไปเกาะไมไดอีกแลว
- ในบัลลังกตอมา ชวงดู “จิต”มีสภาวะหายไป โดยเห็นสภาวะกอน
หาย (วูบยาวๆ แลวหายไป) หายไปนานกวาเดิม (หลายวินาที)ครูตอมารูสึก
ใน “อวกาศ” ชัดเจนรูสึกบาง “ขณะของจิต”เริ่มเขาเกาะจิตรูไดเต็มที๘๐ –
๙๐% (เมื่อเกาะได รูสึ กไดวาเกาะได แนนขึ้น กวาบัล ลังกกอนหนา)แต
“ขณะของจิต”ตอมาก็เกาะไมไดอีกแลว วนเวียนอยูอยางนี้
- ในบัลลังกตอมา ชวงดู “จิต”ชวงแรกมีสภาวะจิตรูดับวุบตัดขาด
(ความแรงของการตัดเริ่มเบาๆ ลง) ติดตอกัน ครูตอมารูสึกใน “อวกาศ”
ชัดเจน ชวงแรกรูสึกตีคูกันไปกับจิตรูที่กระพริบดับตอมาเริ่มเกาะได ๙๐%
และตอมาเกาะได ๑๐๐% และเกาะไดแนน และเกาะจิตรูกระพริบดับไปที
ละขณะๆ เกาะแนนไปตลอด
๔) หลักการปฏิบัติ
๑. แผ ๓๑ ภูมิ ดวยจิตเมตตา“บริกรรม”
๒. แผ ๓๑ ภูมิ เห็นชัดแลว จึงใหใชเวลาใหนอยลง ประมาณ ๑๐
นาทีพอและในบัลลังกตอๆมา ใหแผ ๓๑ ภูมิ ใหเร็วขึ้น (เห็นและสัมผัสแบบ
แวบผานๆ)(ซึ่งตองยังคงเห็นและสัมผัสถึงความรูสึกไดชัด)ใหเพิ่มเวลาในทิศ
สงไปใหไกลและนานขึ้น
๓. แผทิศดวยจิตอุเบกขา “ไมบริกรรม”

๙๕๗
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๔. แผแล ว จิ ตเปน อุเบกขาเร็ว ขึ้น หากเมื่อแผทิศใดแล ว จิ ตเป น


อุเบกขาสั้นลง ใหรีบเปลี่ยนทิศเลย
๕. เมื่อแผครบ ๑๐ ทิศแลว (เปนอุเบกขา)อยาใหจิตกลับมา ปลอย
จิตขางนอก แลวดูจิตที่ปลอยขางนอก ไมดึงจิตกลับมา จนจิตกลับมาของเขา
เอง
๖. แผ ไ ปให ไ กลที่ สุ ด ถ า รู สึ ก เฉย หรื อ มี อ าการปวด ให ทิ้ ง คํ า
บริกรรม
๗. สภาวะวาง ไมตองสนใจ สภาวะวาง ใหสังเกตดู จิตตัวรูวาง ที่
กะพริบดับจิตรูวาง สังเกต “จิตที่รูวาง”
๘. ถาเห็นจิตเกิด-ดับชัด ใหสงจิตไปจมกับสภาวะนั้น
- ถาเกาะได “ไมตองบริกรรม”
- ถาแค “ตามดู” ตองบริกรรม “รูหนอ”
๙. จิตรูดับ ลองสอดเขาไปในจิตตัวรูอีกทีหนึ่ง เปนการเห็นการดับ
ภายในจิต
๑๐.ถาสภาวะจิตตัวรู
- เกิดดับขางนอก “ตองบริกรรม”
- แตถาเกิดดับภายในจิต “ไมตองบริกรรม”
๑๑. มีเวทนาอยาจี้ใหดับ ใหสอดจิตเขาไปดูในเวทนานั้น
๑๒. เมื่อเวทนาดับ และจิตตัวรูเวทนาดับ จะมีสภาวะ “วาง”หลัง
จิตตัวรูดับ แลวมีสภาวะวางนั้น ใหสังเกต “จิตที่รู วาง” ดวย(เวทนาดับ +
จิตตัวรูดับ + สภาวะวาง (หลังจิตรูดับ)) = ๑ ชุด เกิดเปนชุดๆ ติดตอกันไป
และตองกําหนดทุกสภาวะใหดับ กอนออกจากสมาธิ
๑๓. หากมี ร าคะ ปฏิ ฆ ะ ไมต องกํ าหนด ให ห น ว งหรื อขุ ด คุย เอา
อารมณนั้นออกมา ใหนึกถึงคนไมชอบออกมา แลวดูปฏิกิริยาของจิต
๑๔. สภาวะทางจิตเกิดขึ้น เชน “เสียใจ” ใหดูวา
- ถาเปนอาการของจิต ใหกําหนดวา “รูๆ”
- ถาเปนเราเสียใจ กําหนดวา “เสียใจหนอๆ”
๙๕๘
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๑๕. เมื่อสงจิตไปไดเร็วขึ้น (ออกนอกจักรวาลเร็วมาก) สงไปไดไกล


ขึ้น (จิตตัด แลวจึงเปลี่ยนทิศ)
- ใหแผสูทิศเลยตัด ๓๑ ภูมิออก (แผตัวเอง แลวแผสูทิศเลย)
- และใชคําแผใหม ดังนี้“ขอ สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑)สิ่งมีชีวิตที่มี
ลมหายใจทั้งปวง (บทที่ ๒)ภูต(สิ่งมีวิญญาณ)ทั้งปวง (บทที่ ๓) บุคคลทั้งปวง
(บทที่ ๔) ผูที่นับเนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง (บทที่ ๕)เปนผูมีความปลอดโปรง
มีความสุขกายสุขใจ รักษาตนอยูเถิด”
** โดยให แ ผ บั ล ลั ง ก ล ะบท (ทั้ ง หมดมี ๕ บท) ใช แ ทนบท
เมตตา
๑๖. และเมื่อจิตเปนอุเบกขามากขึ้น ออกจากกายเร็ว มากขึ้นอีก
เพื่อใหเห็นสภาวะชัดเจนขึ้น ใหใชคําแผใหม (เมตตาอินทรีย) ดังนี้“ ขอ
{สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑) สิ่งมีชีวิ ตที่มีลมหายใจทั้งปวง (บทที่ ๒) ภูติ(สิ่งมี
วิญญาณ)ทั้งปวง (บทที่ ๓) บุคคลทั้งปวง (บทที่ ๔) ผูที่นับเนื่องดวยอัตภาพ
ทั้งปวง (บทที่ ๕)}จงเปนผูไมมีเวร มีความปลอดโปรง มีสุขเถิด ”
- ใหแผ ๓๑ ภูมิดวย โดยใชคําแผใหมนี้
- ในชวงแผทิศ ใหแผบัลลังกละบท (ทั้งหมดมี ๕ บท)
๑๗. เมื่อใชคําบริกรรมใหมนี้ สภาวะจิตตั้งมั่นไดเร็วมาก แคแผให
ตัวเอง จิตก็ตั้งมั่นแลว รูสึกปลอดโปรง จึงเห็นยิ้มไดงายและชัดเจน ในชวง
แผทิศ แรงสงก็ไปไดดีและไกล (เร็วและแรง) เพราะรูสึกปลอดโปรงมากๆ
และรูสึกมีกําลังมากขึ้น (เปนพละ ๕) จิตจับกระแสที่แผไปแนน เกาะติดจิตรู
ไดดี จิตดับตัดขาดเกิดขึ้นเร็วและเกิดขึ้นมากขึ้น
๑๘. ในชวงแผทิศนี้ เมื่อจิตตัดขาดเร็วขึ้น (คําบริกรรมยังไมทันจบ
จิตก็ตัดขาดแลว)ใหสงจิตแผไปอีกครั้ง (ไมเปลี่ยนทิศ) เมื่อจิตตัดขาดอีกครั้ง
จึงเปลี่ยนทิศ

๙๕๙
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๓.๔ สภาวธรรมการปฏิบัติครั้งแรก (๗ เดือน)


เขาสูฌาน ๖ – ๘ จนถึงสมาธิระดับ ๙)
สภาวธรรมชวง กรกฎาคม ๒๕๖๒ – กุมภาพันธ ๒๕๖๓ มีดังนี้
ฌาน ๖ ผานฌาน ๕ แลว ละในความวาง (อากาศ) อันไรขอบเขต
นั้ น เข า สู ส ภาวะที่ มี เ พี ย งจิ ต ตั ว รู ก ระพริ บ เกิ ด ดั บ (ไม ข าด)วุ บ ๆๆ รู ๆ ๆ
ติดตอกันไป
ฌาน ๗ ผานฌาน ๖ แลว เขาสูสภาวะที่มีเพียงความรูสึก “รู”และ
เห็นชัดดวยใจวาสภาวะ “รู” นี้ ไรขอบเขต
ฌาน ๘ ไดฌาน ๗ แลวพิจารณามีก็ไมใช ไมมีก็ไมใช (ความเกิด –
ดับ)เขาสูสภาวะ ความรูสึกเหมือนเปนเสนประ (ไขปลา) คือ ขาดหายไปเปน
ชวงๆ (จิตตัวรูเกิด-ดับ(ตัดขาดทุกขณะจิต)(รูแลวไมรู รูแลวไมรู สลับกันไป)
ฌาน ๙ จากสภาวะรู ไมรู รู ไมรู ....ในฌาน ๘ เมื่อแผไปจนสุ ด
แลวเกิดสภาวะ “วาง”ในสภาวะเกิดทั้งเวทนาทางกายและเวทนาทางจิต
โดยสภาวะของจิ ต ตั ว รู ที่ ไ ปรู เ วทนานั้ น จะมี ก ารเกิ ด ดั บ ขณะต อ ขณะที่
ละเอียดมาก ซึ่งกอนเขาสมาธิระดับ ๙ นี้ จิตตัวรูกระพริบเกิดดับติดตอกัน
ไปถี่และละเอียดมาก แลวดับวุบตัดขาดหมดความรูสึกลงไป เขาสูการดับ
นามขัน ธโ ดยสิ้ นเชิง หยุดการทํางานของเวทนา สัญญา สั งขาร วิญญาณ
(ชั่วคราวตามที่กําหนดไว) ประสาทในอายตนะทั้ง ๖ ไมรับรูอะไรทั้งสิ้น
เมื่ อ ถึ ง กํ า หนดออกจากฌาน ๙ สิ่ ง ที่ จ ะปรากฏก อ นอื่ น คื อ
ความรูสึกโลงๆ วาง ลอยอยู หลังจากนั้นถอยออกมาตามลําดับฌาน รับรูวา
ตนมีกาย (ที่ตั้งอยูเฉยๆ ไมไหวติง) แลวความรูสึกนึกคิดจึงเกิดขึ้น
สภาวธรรมทีเ่ กิดขึ้น
๑) ในเดือนแรกของการปฏิบัติ
๑. กอนที่จิตจะหลุดออกจากกาย ไมไดไปดูลมหายใจ แตรับรูไดวา
หยุดหายใจ เมื่อจิตหลุดออกจากกาย จะรับรูอยูเฉพาะสภาวะภายใน ตัด
สภาวะการรับรูภายนอก

๙๖๐
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๒. ชวงปลายเดือน การเขาหรือออกจากฌาน จะเปนแบบการดับ


ตัด ขาดของจิ ต ตั ว รู (วิธี ก ารเขา หรื ออกจากฌาน รายละเอียดในหัวขอ
ตอไป) โดยเมื่อเริ่มแผ ยังมีความรูสึกเปนรูปนั่ง หรือสัมผัสถูกอยู แผไปได
ครู เ ดี ย ว จิ ต รู ดั บ วุ บ ตั ด ขาด ๑ ครั้ ง ความเป น รู ป นั่ ง หายไป เหลื อ เพี ย ง
ความรูสึกถูกลอยๆ อยู และเมื่อจิตรูดับวุบตัดขาดอีก ๑ หรือ ๒ ครั้ง ก็จะ
เขาสู “ความไรตัวตน”
๓. และทุกครั้งที่จิตตัวรูดับขาดหมดความรูสึก ก็จะเขาสูสภาวะที่ตั้ง
มั่น มั่นคงแนบแนนยิ่งขึ้น
๔. สภาวะขณะแผสูทิศ จะคอยๆ ละเอียดขึ้นๆคือ จากเปนกระแส
การแผที่เปนเหมือนกระดาษทรายหยาบๆ หรือ คลื่นความถี่หยาบๆ ก็คอยๆ
ละเอียดขึน้ ๆ(เมื่อสภาวะละเอียดขึ้น กระแสจิตที่จะแผไป จะตองเปลี่ยนเปน
ละเอียดขึ้นดวย มิฉะนั้นจะไมสามารถผานดานนั้นๆ ได และยิ่งแผออกไป
ไกลมากขึ้นเทาไร สภาวะก็จะยิ่งละเอียดมากขึ้นๆ เห็นการกระพริบดับของ
จิตตัวรูที่ถี่ๆ มากขึ้น)
๕. เริ่มเห็นสภาวะ “วาง” และสภาวะ “รูวา ไมมีอะไร”หนึ่งขณะ
จิตกอนที่จิตรูจะดับ
๖. ชวงปลายเดือนแรก เริ่มเห็นการกระพริบดับของจิตตัวรูแตละ
ขณะที่ชาลงมากๆและการเขาไปรับรูอยูในขณะดับของจิตรู แตละขณะนาน
มากขึ้นและห็นสภาวะหลังจิตตัวรูดับที่ขยายกวางขึ้น หรือนานขึ้น ในแตละ
ขณะที่กระพริบดับติดตอกันนั้น
๗. มีสภาวะจิตตัวรูดับวุบตัดขาดหมดความรูสึก ทุกขณะ เกิดขึ้น
ติดตอกันนาน (๑๐ – ๑๕ นาที)และเห็นสภาวะการดับซอนของจิต (๒ ขณะ)
คือ เมื่อสภาวะ(เชน เวทนาดับ ๑ ขณะ จิตรูตัวที่ ๑ ดับ ๑ ขณะไปพรอมกับ
สภาวะ แลวจิตตัวรูตัวที่ ๒ ดับ ๑ ขณะตอมา = ๑ ชุด)....ดับติดตอกันหลาย
ชุด
๘. สภาวะเมื่อเผลอคิด จิตรูจะดับวุบตัดขาดทันที

๙๖๑
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๙. เมื่อรูสึกตัวตื่นขึ้นมา รับรูอยูภายใน (ไมรับรูภายนอก) แลวเห็น


ความรูสึก (จิต) คอยเคลื่อนมาที่ “ตา” กําหนด “อยากลืมตาหนอ” แลวจึง
ลืมตาออกมารับรูภายนอก
๒) เดือนที่สอง(เขาสูฌาน ๖ และ ฌาน ๗)
สภาวะของวิญญาณัญจายตนะ (ฌาน ๖) และ อากิญจัญญายตนะ
(ฌาน ๗) มีดังนี้
๑. การแผสูทิศ เริ่มตัดขาดทุกขณะจิต และการกระพริบดับของจิต
ตัวรูกระพริบดับตอเนื่องกันถี่ๆ มากขึ้นๆ
๒. ในขณะที่จิตรูกระพริบดับตอเนื่องกันนั้น กอนที่จิตรูจะดับวุบ มี
สภาวะ “ว า ง”และขณะดั บ รู ในสภาวะขณะดั บ นั้ น เป น สภาวะ “ว าง”
กอนที่จะดับ
๓. หลังจิ ต รูดั บวุบตัด ขาด มีสภาวะ “วา ง”(ในสภาวะ “วา ง”
หลังจิตรูดับนั้น มีจิตรูดับเกิดขึ้น ๓ ขณะ) แลวเห็นจิตรูกระพริบดับอีก
แลวหลังจิตรูดับ ก็มีสภาวะ “วาง”(ในสภาวะวางนั้น ก็มีจิตรูดับเกิดขึ้น ๓
ขณะ) เกิดตอเนื่องกันไป
๔. รับรูในสภาวะขณะดับนั้น เปนสภาวะ “ไมมีอะไรเลย” ขณะจิต
หนึ่ง กอนที่จะดับลงไป และหลังจิตตัวรูดับ ก็เปนสภาวะ “ไมมีอะไรเลย”
๕. ขณะที่จิตตัวรูกําลังจะกระพริบดับ ก็สอดจิตเขาไปในจิตตัวรูนั้น
เห็ น สภาวะ จิ ต ตั ว รู วุ บ ๆๆๆ หลายขณะ (นั บ ไม ทั น ) อยู ใ นจิ ต ตั ว รู นั้ น
(ประมาณไมถึง ๕ นาที ) แลวออกมา แลวเขาไปรับรูภายในจิตตัวรูของขณะ
ตอไปอีก แลวออกมา... ซึ่งแตละขณะดับชามาก
๖. ทิศแรกๆ จะแผไปไดไกลมากๆ หลังจากนั้นทิศตอมาๆ จิตตัวรู
จะดับวุบตัดขาดเร็วขึ้นๆ และตัดขาดทุกคําบริกรรมในทิศหลังๆและจิตจะ
เปลี่ยนเปนอุเบกขาเร็วขึ้นมาก
๗. จิตตัวรูดับวุบตัด มากขึ้นเทาไร ก็จะเขาสูสภาวะที่ละเอียดมาก
ขึ้นเทานั้นและจิตตัวรูกระพริบดับตอเนื่องกันไป และทุกครั้งหลังจิตตัวรู
ดับจะเปนสภาวะ “วาง” จนกระทั่งครั้งลาสุดจิตตัวรูดับวุบตัดขาดอยาง
๙๖๒
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

แรง แลวเขาสูสภาวะ “วาง” เปนสภาวะ “อากาศวางไรขอบเขต” แบบ


ไรตัวตน (เพราะจับลักษณะของความเปนกายไมไดเลย นึกหรือสงจิตไป
จับก็นึกหรือจับความเปนกายไมไดเลย)
๘. ประมาณกลางเดือนที่สอง เมื่อแผไกลออกไป จิตรูดับวุบตัด
ขาด รูสึกตัวขึ้นมา เขาสู สภาวะอากาศ วางไรขอบเขต (ฌาน ๕) และแผ
ออกไปอีกเขาสูสภาวะละเอียดขึ้นๆ เขาสูสภาวะที่เห็น จิตตัวรูกระพริบ
เกิดดับ(ไมขาด)วุบๆๆ รูๆๆ รับรูชัดเจนเฉพาะในจิตตัวรูที่กระพริบเกิดดับ
(ไมข าด)วุบๆๆรู ๆๆ นั้ น เทา นั้ น (ฌาน ๖) แผออกไปๆ รู สึก ลึก ลงไปๆ
สภาวะเบาบางและละเอียดขึ้นๆ จนกระทั่งเขาสูสภาวะที่ความรูสึกเปน
“ศูนย” คือ สภาวะตางๆ คอยๆสูญหายไป เหมือนไมมีอะไรใหจับตอง มี
เพียงสภาวะ “รู”(ฌาน ๗) แผไกลออกไปๆ
๙. เริ่มเห็นสภาวะ “ ลืม “ ขณะจิตหนึ่ง กอนจิตตัวรูดับและ เขาไป
รับรูขณะดับของจิตตัวรู รูสึกเหมือนลืมไปทุกอยางเมื่อจิตรูดับ (ไมขาด)
๑๐. ประมาณปลายเดือนที่สอง เขาไปรับรูขณะดับของจิตตัวรูเปน
สภาวะ “ลืม” ที่มากขณะขึ้น และเริ่มเห็นสภาวะ“ลืม” ขณะจิตหนึ่ง หลัง
จิตรูดับ(ไมขาด) แลวรับรู พอจิตรูดับ ก็เกิดสภาวะ “ลืม” ขณะจิตหนึ่ง หลัง
จิตรูดับอีก (เกิดหลายขณะจิต) ที่จิตรูกระพริบดับวุบๆเปนขณะติดตอกันนั้น
๑๑. บางครั้งขณะกําหนดอยูนั้น รูสึก “ลืม” ทุกสิ่งทุกอยางไปครู
หนึ่ง แลวรูสึกตัวขึ้นมาใหม
๓) เดือนที่สาม(เขาสูเนวสัญญานาสัญญายตนะ(ฌาน ๘))
๑.ในวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๒ เมื่อผานสภาวะ “รูปฌาน” (จากฌาน
๔ เขาสูสภาวะอรูปฌาน โดยจิตรูดับวุบตัดขาด (แบบหมดความรูสึกไปขณะ
จิตหนึ่ง) เมื่อรูสึกตัวขึ้นมาอยูในสภาวะ “ไรตัวตน”แลวแผไกลออกไปๆ ผาน
สภาวะ เหมือนครึ้มฟาครึ้มฝน แผไปๆรูสึกอยูในเปนมืดๆ เหมือนจะแผไป
ไมได เหมือนตองฝาความมืดออกไป และเมื่อฝาความมืดออกไป แผไปๆ ก็
จะรูสึกโลงสวางขึ้นๆ มิติของสภาวะที่แผไปกวางขึ้นๆ สภาวะคอยๆ ละเอียด
ขึ้น ๆ ได เ ขา สู ส ภาวะ “อากาศแบบไร ข อบเขต” และแผ อ อกไปอี กเข า สู
๙๖๓
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

สภาวะละเอียดขึ้นๆ เขาสูสภาวะที่รับรูเฉพาะ“จิตตัวรูกระพริบเกิดดับ(ไม
ขาด)วุบๆรูๆๆ ติดตอกันไป” การกระพริ บดับถี่ขึ้นๆ สภาวะละเอียดขึ้น ๆ
จนกระทั่งเขาสูสภาวะที่เหมือนเปน “ศูนย” คือ ไมมีอะไรใหจับตอง มีเพียง
สภาวะ “รู” แผไกลออกไปๆ เริ่มเห็นจิตรูกระพริบดับวุบตัดขาด แลวเกิด
สภาวะ “ลื ม ” พร อ มกั บ การดั บ ตั ด ขาดนั้ น ๑ ครั้ ง แล ว เข า สู ส ภาวะ
ความรูสึกเหมือนเปนเสนประ (ไขปลา) คือ ขาดหายไปเปนชวงๆ (จิตตัวรู
เกิดดับ(ตัดขาดทุกขณะจิต) (รูแลวไมรู รูแลวไมรู สลับกันไป) แลวความรูสึก
ทั้ ง หมดก็ ร วมตั ว กั น ดั บ วุ บ ลงไปพร อ มกั บ จิ ต รู ที่ ดั บ ตั ด ขาดนั้ น (หมด
ความรูสึก) เมื่อรูสึกตัวขึ้นมา อยูในสภาวะ “โลงๆ วางๆ”แลวคอยๆ ถอย
ออกมาตามลําดับฌาน รับรูถึงความเปนกาย
๔) เดือนที่ ๔ – ๗ (เขาสูสมาธิระดับ ๙- สัญญาเวทยิตนิโรธ)
๑. เดือนที่ ๔ มีความชํานาญในการเขาและออกจากฌาน เชน เขา
และถอยออกจากฌานเดิม แลวเขาไปใหมในฌานเดิม (แตเปนการเขาฌาน
เดิ ม ที่ ล ะเอี ย ดลึ ก ลงไปกว า เดิ ม ) แล ว แผ ต อ ไป เข า สู ฌ านที่ สู ง ขึ้ น ไป
ตามลําดับ
๒. สามารถขามฌาน เชน เมื่อเริ่มแผ จิตรูดั บวุบตัดขาด รูสึกตั ว
ขึ้นมา ก็เขาอยูในฌาน ๘ (เดือนที่ ๔ – ๗ ของการปฏิบัติ ขามฌานบอยครั้ง
และหากเขาหรื ออกตามลํ าดับ ฌาน ก็จะเปนแบบจิ ตรูดับ ตัดขาด รู สึกตั ว
ขึ้นมา ก็เขาไปอยูในฌานใหมแลว)
๓. เดือนที่ ๔ และเดือนที่ ๕เมื่อแผไปจนสุดฌาน ๘จะเกิด “ภาพ
นิ มิ ต “ขึ้ น บ อยครั้ ง แล ว จะเกิด “อาการจิ ต ”ที่ รู สึ กต อภาพนิ มิ ต นั้ น หรื อ
พิจารณาสภาพธรรมในภาพนิมิตนั้นขึ้นโดยอัตโนมัติ เชน อาการรัก ชอบ ไม
ชอบ เปนตนในชวงแรกๆ ของการเกิดภาพนิมิต หลังเกิดอาการทางจิตแลวก็
จะถอยลงมาจากฌาน๘ (ทรงอยูไดไมนาน) และตนเดือนที่ ๖ ของการปฏิบัติ
หลังเกิด “ภาพนิมิต” มี “อาการจิต” เกิดขึ้นแลวดับไปพรอมกับจิตรูอาการ
จิตนั้นแลวจิต“ตัดละ” จะเกิดขึ้นทันทีโดยอัตโนมัติ ในขณะจิตตอมา แลวดับ

๙๖๔
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

ตัดขาดหมดความรูสึก เมื่อรูสึกตัวขึ้นมา จิตแรกที่รูสึกตัวขึ้นมา จะเปนตัว


บอกวา จิตที่ดับไปครั้งสุดทาย คือ “จิตตัดละ”
๔. เมื่อแผไปจนสุดฌาน ๘ แลวเกิดสภาวะ “วาง” ในสภาวะนั้น
เกิดเวทนาอยางรุนแรง เห็นเวทนาดับ จิตรูดับ ละเอียดหลายขณะ แลวจิตรู
ดั บ วุ บ ตั ด ขาด หมดความรู สึ ก ไปเบาๆ (แต ชั ด) เมื่ อรู สึ ก ตั ว ขึ้ น มา อยู ใ น
สภาวะ โลง วาง แตเวทนาหายไปเปนปลิดทิ้ง คอยๆ ถอยออกมา รับรูความ
เปนกาย
๕. จากสภาวะรู ไมรู รู ไมรู ....ในฌาน ๘ เแลวเขาสูสภาวะที่รับรูทั้ง
เวทนาทางกายและเวทนาทางจิต โดยสภาวะของจิตตัวรู ที่ไปรูเวทนานั้นจะ
มีการเกิดดับขณะตอขณะที่ละเอียดมาก ซึ่งกอนเขาสมาธิระดับ ๙ นี้ จิตตัวรู
กระพริ บ เกิ ด ดั บ ติ ด ต อ กั น ไปถี่ แ ละละเอี ย ดมาก แล ว ดั บ วุ บ ตั ด ขาดหมด
ความรูสึกลงไป เขาสูการดับนามขันธ ประสาทในอายตนะทั้ง ๖ ไมรับรูอะไร
ทั้งสิ้น
๖. เมื่ อ ถึ ง กํ า หนดออกจากฌาน ๙สิ่ ง ที่ จ ะปรากฏก อ นอื่ น คื อ
ความรูสึกโลงๆ วางๆ ลอยอยู หลังจากนั้นถอยออกมาตามลําดับฌาน รับรู
วาตนมีกาย (ที่ตั้งอยูเฉยๆ ไมไหวติง) แลวความรูสึกนึกคิดจึงเกิดขึ้น
๗. เมื่อถอยออกมาจากฌาน มีสภาวะของจิตตัวรูที่กระพริบดับตัด
ขาด เกิดขึ้นติดตอกันนานมาก เปนรอยๆครั้ง
๘. เดือนที่ ๖ ขาพเจามีสภาวะจิตที่ละเอียดมาก เมื่อถอยลงมาถึง
ฌาน ๔ (จากสมาธิ ที่แนบแน น เป น อัป ปนาสมาธิ ) กอนที่จ ะเขาสู ฌาน ๓
(กอนจะเขาสูอุปจารสมาธิ) ในสภาวะนั้น จิตยังคงหลุดออกจากกาย (มีตัวรู)
(เดือนที่ ๕ จะเห็นเปนภาพ(ที่มีมิติ)แวบขึ้นมาไมนานแลวหายไป) หากใน
เดือนที่ ๖ นี้ ในสภาวะนั้น ไดเขาไปรับรูเรื่องราวในอดีตชาติ
๙. สภาวะในเดือนที่ ๖ – ๗ เมื่อมีอะไรมากระทบทางทวารทั้ง ๖
จิตรูแลวละทันทีโดยอัตโนมัติ
๑๐. เดือนที่ ๗ อธิษฐาน เขาสมาธิระดับ ๙ (๓๐นาที) ออกมาตาม
เวลาที่กําหนด
๙๖๕
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

๑๑. ในเดือนที่ ๗ เห็นสภาวะการดับซอนของจิต (๗ ขณะ) คือ เมื่อ


สภาวะ (เชน เวทนาดับ ๑ ขณะ จิตรูตัวที่ ๑ ดับ ๑ ขณะไปพรอมกับสภาวะ
แลวจิตตัวรูตัวที่ ๒ ดับ ๑ ขณะตอมา .....จิตตัวรูตัวที่ ๗ ดับ ๑ ขณะ = ๑
ชุด).... ดับติดตอกันหลายๆชุด
๑๒. “ จิตแรก” ที่รูสึกตัวขึ้นมา จะเปนตัวบอกวา จิตที่ดับไปครั้ง
สุดทายนั้น คือ “จิตตัดละ” หรือสภาวะดับนั้นเปนสภาวะ “ดับหมด”
๑๓.การที่จะเขาสมาธิระดับ ๙ ไดนั้น จะตองมีสภาวะของจิตตัดละ
อาการจิต(ชอบ,ไมชอบฯลฯ) เกิดขึ้นมากอน (ซึ่ง”จิตตัดละ” นี้จะเกิดขึ้นเอง
โดยอัตโนมัติ) คือ จิตเริ่มละ เริ่มวาง ไมยึดไวในจิต แลวจิตตัดดับดวยตัวของ
จิตเอง
๑๔. เมื่อฝกจนสามารถเขา-ออกฌานไดอยางชํานาญแลว นํามา
พิจารณาเปนวิปสสนาญาณ วิปสสนาปญญาที่เกิดขึ้นจะมีความละเอียดมาก
ขึ้นกวาเดิม ญานจะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วทุกญาน เห็นการเกิดดับอยางชัดเจน
จนถึงความดับตัดขาดอยางชัดเจนผลจากการปฏิบัติ ทําใหสามารถเพิ่มพลัง
ของสมาธิ และใชกําลังของสมาธิที่เขมแข็งแนบแนนมั่นคง เปยมดวยพรหม
วิหาร ๔ นั้น จนมีความสมบูรณในฌานสมาธิ (รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔) และ
ปญญาจากสติปฏฐาน ๔ จนสามารถดับราคะและปฏิฆะลงไดโดยเด็ดขาด
๕) สภาวธรรมที่เกิดขึน้ เมื่อจะเขาสูอรูปฌานที่สูงขึ้นไป
วิธีปฏิบัติเพื่อใหสามารถผานเขาสูอรูปฌานตอไปไดนั้น มีดังนี้
๑. ขณะแผไป แลวเกิดสภาวะ “นิ่ง เฉย” แผไมไป ใหเปลี่ยนทิศ
๒. ขณะแผไป เจอสภาวะ “นิ่ง”แผไมไป ใหพาสภาวะ “นิ่ง” ไป
ด ว ยกั บ การแผ ครู ห นึ่ ง จิ ต ก็ ป ล อ ยสภาวะ “นิ่ ง ” เองโดยอั ต โนมั ติ แล ว
สามารถแผออกไปไกลออกไปอีก (หากแตบางครั้งก็ไมสามารถพาสภาวะ
“นิ่ง” ไปได)
๓. แผแลวตื้อหรือทื่อมากๆ หรือตันแผอยางไร ก็แผไมไป ใหใชวิธี
“สอดจิ ต ” เข า ไปในจิ ต ที่ กํ า ลั ง แผ ไ ปนั้ น จะสามารถแผ ต อ ไปได อี ก และ

๙๖๖
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

บางครั้ ง สามารถสอดจิ ต เข า ได ที ล ะขณะ ก็ จ ะสามารถแผ อ อกไปได ไ กล


ออกไปอีก
วิธีของการเขาสูฌานแตละฌาน
๑.สงจิตแผไกลออกไปๆ เรื่อยๆ จิตตัวรูกระพริบเกิดดับเปนขณะ
ติดตอกันไป วิธีนี้สภาวะจะคอยๆละเอียดขึ้น เขาสูแตละฌาน ตามลําดับ
ฌาน
๒.การเข า สู แ ต ล ะฌาน โดยจิ ต ตั ว รู ดั บ วุ บ ตั ด ขาด (แบบหมด
ความรูสึกไปขณะจิตหนึ่ง) เมื่อรูสึกตัวขึ้นมา คือ เขาไปอยูในฌานใหมแลว
ซึ่งวิธีนี้
๒.๑ สามารถเขาสูแตละฌานตามลําดับฌาน และ
๒.๒ สามารถเขาสูฌานโดยขามฌานไดเลย เชน สามารถเขาสูฌาน
๘ ไดเลยทันที เปนตน(ยกเวนบัลลังกที่ตองการอธิษฐานเขาสมาธิระดับ ๙
ตองเขาสูตามลําดับฌาน)
๖) หลักการปฏิบัติ(คอรส ๗ เดือน)
๑. แผ ๓๑ ภูมิ ดวยจิตเมตตา“บริกรรม”
๒. แผ ๓๑ ภูมิ เห็นชัดแลว จึงใหใชเวลาใหนอยลง ประมาณ ๑๐
นาทีพอและในบัลลังกตอๆมา ใหแผ ๓๑ ภูมิ ใหเร็วขึ้น (เห็นและสัมผัสแบบ
แวบผานๆ)(ซึ่งตองยังคงเห็นและสัมผัสถึงความรูสึกไดชัด)ใหเพิ่มเวลาในทิศ
สงไปใหไกลและนานขึ้น
๓. การแผสูทิศในเดือนที่ ๑ (ตามสภาวะของผูปฏิบัติ) ใหแผ ๑๐
ทิศ ทุกทิศ ใหเริ่มดวย “เมตตา”และ “บริกรรม”
- ถาจิตเฉย สงจิตเฉยออกไป โดย “ไมบริกรรม”
- หากแผทิศใดไมไป ให “เปลี่ยนทิศ”
- เมื่ อ จิ ต รู ดั บ ตั ด ขาด ให แ ผ ซ้ํ า ไปในทิ ศ เดิ ม อี ก ครั้ ง โดย “ไม
บริกรรม” เมื่อจิตรูดับตัดขาดอีกครั้ง จึง “เปลี่ยนทิศ” และใหแผไป แบบ
“ไมบริกรรม”
๔. ในเดือนที่สอง และเดือนตอๆมา การแผสูทิศ ใหแผ “ทิศเดียว
๙๖๗
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

- ใหเริ่มดวย “เมตตา” กอน โดย “บริกรรม“


- เมื่อจิตรูดับตัดขาด ใหแผโดย “ไมบริกรรม“แผทิศเดียว แผไป
ใหไกลที่สุด จนสุด แผไมไป จึงมาดู “จิต”จนจิตมาจับกาย ให “ดูกายสลับ
กับดูจิต” โดยกําหนดทุกสภาวะใหดับหมดกอนออกจากสมาธิ
๗) สรุปหลักการปฏิบัติ เดือนที่๗ (เดือนสุดทายของการปฏิบัติ)
๑. แผตัวเองจนถึง ชนทั้งหลาย ดวย “เมตตา”แผมนุษยทั้งหลาย
(ที่มีความทุกข) จนถึงสั ต ว น รก ด ว ย “กรุ ณา”แผ พรหมทั้งหลาย เทวดา
ทั้งหลาย และมนุษยทั้งหลาย (ที่มีความสุข) ดวย “มุทิตา”
โดยมีเงื่อนไข วา หากสงไปในกลุมดังกลาว แลวจิตเฉย ใหสง จิต
เฉย ออกไป โดย “ไมบริกรรม”(ใหดูสภาพจิตดวย ซึ่งถาเปนเมตตา กรุณา
มุทิตา ตอง “บริกรรม”)
**ตั้งแตตนเองถึงสัตวนรก แผใหจบภายใน ๓๐ นาที**
๒. แลวแผ ๑๐ ทิศ โดยใชคําแผแบบ “เมตตาเจโตวิมุตติ ”(ขอ....
(สัตวทั้งปวง (บทที่ ๑) หรือ สิ่งมีชีวิตที่มีลมหายใจทั้งปวง (บทที่ ๒) หรือ ภูต
สิ่งมีวิญญาณทั้งปวง (บทที่ ๓) หรือ บุคคลทั้งปวง (บทที่ ๔) หรือ ผูที่นั บ
เนื่องดวยอัตภาพทั้งปวง (บทที่ ๕)) ในทิศ..... จงเปนผูไมมีเวร ไมเบียดเบียน
กัน ไมมีทุกข มีสุข รักษาตนอยูเถิด)
๓.เมื่อออกนอกโลก หรือนอกจักรวาลไดแลว ให “เปลี่ยนทิศ”โดย
ใหแผแบบ “เมตตา” และ “บริกรรม”แตถาหากทิศใด จิตเฉยๆ ใหสง “จิต
เฉย” ออกไป โดย “ไมบริกรรม”
๔. หากแผไมออก ไมสามารถออกนอกจักรวาลไดใหกลับมาแผให “
ตัวเอง “ อีกครั้ง โดยแผแบบ “เมตตา” กลับไปกลับมา ๓ ครั้ง หากแผแบบ
เมตตา แล ว ยั ง ไม ส ามารถออกนอกจั ก รวาลได ให แ ผ แบบ “อุ เ บกขา”
กลับไปกลับมา ๓ ครั้ง
๕. ถาหากแผไมออกจริงๆ ใหกลับมา ดู “อาการกาย”

๙๖๘
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

- ถานั่งชัด “นั่งหนอ – ถูกหนอ” ตรง“ถูก” ใหดู “ถูกที่จิตรู”


ตรงไหนจางๆ ก็ “รูหนอ”ตรงไหนหายๆ ก็ทิ้งไปเลย(ทําแบบนี้ จนกวาเวทนา
จะชัด เวทนาถาไมชัด ก็นั่งหนอ – ถูกหนอ ตอไป)
- ถานั่งไมชัด ก็ “รูหนอ”
- ถาอาการนั่ง วางไปเลย ก็ “รูหนอ“ (รูวา วาง)
- แตถามีอาการอะไรมาแทรกและชัด ก็ตัดรูปนั่งออก เชน รูวา
โลง ก็ตัด นั่งออก “โล งหนอ ถูกหนอ”(ถูกหนอ ๑๕ จุ ด หรื อมากกวา มือ
หลังเทาขวา หลังเทาซาย ตาตุมขวา ตาตุมซาย นองขวา นองซาย เขาขวา
เขาซาย สะโพกขวา สะโพกซาย กนขวา กนซาย แผนหลังขวา แผนหลังซาย
ไหลขวา ไหลซาย แขนขวา แขนซาย หลังหูขวา หลังหูซาย ศรีษะขวา ศรีษะ
ซาย)
๖. ขณะ “นั่งหนอ-ถูกหนอ” ถา “พองยุบ” ชัด ใหไปดูพองยุบ ให
ดูพองยุบแบบถี่ๆ “รูๆๆๆ” เจาะเขาไปดูขางในพองยุบ แตถาพองยุบไมชัด
ไมตองไปดู ใหดูนั่งหนอ- ถูกหนอ ตอไป
๗. ขณะ “นั่งหนอ-ถูกหนอ” หากมี “อาการจิต” ใหดู “อาการจิต
สลั บ กั บ จุ ด ถู ก ”( หลั ก การคื อ หากจิ ต มารู กายแล ว ห า มทิ้ง กาย แต ใ ห ดู
“สลับกัน” เชน รูสึกมีปติชุมเย็นที่ใจ ก็ “ชุมหนอ -ถูกหนอ”(หากจิตมารู
กายแลวจะไมทิ้งกายเด็ดขาด จนกวา ๑๕ จุด จะดับหมด จึงคอยดู “จิต”
อยางเดียว ก็ “รูหนอ-วางหนอ”)
๘. สําหรับผูที่สามารถแผออกนอกจักรวาล แผเมตตาครบ ๑๐ ทิศ
ได เมื่อครบ ๑๐ ทิศแลวใหกลับมา ทิศที่หนึ่งใหม (ทิศตะวันออก) แลวแผ
แบบอินทรีย “ทิศเดียว”โดยใชคําแผ “ขอสัตวทั้งปวง ในทิศตะวันออก เปน
ผูไมมีเวร มีความปลอดโปรง มีสุขเถิด”
โดยให “บริกรรมแบบสมถะ” แต “จิตที่สงไปใหสงแบบสติปฏฐาน
(คือดูอาการจิตเกิด-ดับ มีปติ มีสุข ดูอาการเกิด-ดับไป) ดูจิตและตัวอารมณ
โดยเฉพาะ เนนที่ “จิต (ที่เกิด-ดับเกิด-ดับ)” (คือ สงแบบสมถะ แตดูอาการ
รูปนามดูจิต แบบวิปสสนาสติปฏฐาน)
๙๖๙
บทที่ ๑๙ ประสบการณเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ

จนกระทั่ง แผไมไป พอไมไปแลว ใหกลับมาสแกนจุดเลย พอ “จุด


หาย” จึงคอยดู “จิต”(ยกเวน ผูที่กําลังสูงจริง เมื่อแผจนสุดแลว กลับมาดู
กายจะไมเห็น จุดก็ไมเห็น อะไรก็ไมเห็น วางหมดเลย ไมเจอเลย หากไมเจอ
เลย แสดงวา ไมตองสแกนจุด ก็ดู “อาการจิต”เลย “รูหนอ” ดู “ตรงที่จิต
รู”หากไมมีอะไรจะใหรู ก็ “รูหนอ”(รูวา ไมมีอะไร) “ รูๆ ”
๙. สําหรับผูที่แผสิบทิศได
- ใหแผ ๑๐ ทิศ บทที่ ๑ ดวยคําแผ แบบเมตตาเจโตวิมุตติกอนแลว
ขึ้นสูทิศที่หนึ่ง บทที่ ๑ ดวยคําแผแบบอินทรีย
- บัลลังกตอไปก็ใหแผ ๑๐ ทิศ บทที่ ๑ ดวยคําแผ แบบเมตตาเจโต
วิมุตติ แลวขึ้นสูทิศที่สอง บทที่ ๑ ดวยคําแผแบบอินทรีย
- แผอินทรีย บทที่ ๑ จนครบ ๑๐ ทิศ เมื่อครบแลว ก็เปนบทที่ ๒
คื อ แผ ๑๐ ทิ ศ บทที่ ๒ แล ว ขึ้ น สู ทิ ศ ที่ ห นึ่ ง บทที่ ๒ ด ว ยคํ า แผ อิ น ทรี ย
บัลลังกตอไปก็ใหแผ ๑๐ ทิศ บทที่ ๒ ดวยคําแผแบบเมตตาเจโตวิมุตติ แลว
ขึ้นสูทิศที่สอง บทที่ ๒ ดวยคําแผแบบอินทรีย ....

ขาพเจา แมชีจันทรจิรา ชินศรี ขอใหสัจจะดวยการรักษาศีล วา


สภาวธรรมทั้ ง หมดในบัน ทึ ก นี้ เป น สภาวธรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง จากการ
ปฏิบัติของขาพเจาจริงในทุกประการ

๙๗๐
บทที่ ๒๐
การเขานิโรธสมาบัต๑ิ
๑. นิโรธสมาบัติ
นิโรธสมาบัติ เปนสภาวะของความดับจิตและเจตสิก (สัญญาและ
เวทนา) ของผูเขานิโรธสมาบัติไดดับลงอยางสนิท โดยไมมีสวนเหลือ เปน
การที่จิตหยุดการทํางานลงชั่วคราวตราบเทาที่อยูในนิโรธสมาบัติ๒
วิเคราะหความหมายวา "นิรุชฺฌนํ นิโรโธ, สมาปชฺชนํ สมาปตฺติ,
นิโรธสฺส สมาปตฺติ นิโรธสมาปตฺติ. ความดับของจิตและเจตสิก เรียกวา นิโรธ
การทําความเพียรเพื่อเขาถึงนิโรธ เรียกวา สมาบัติ"๓
คัมภีรอรรถกถาอธิบายวา “สํสารจารกสงฺขาโต นตฺถิ เอตฺถ โรโธ,
เอตสฺมึ วา อธิคเต ปุคฺคลสฺส โรธาภาโว โหติ, นิรุชฺฌติ ทุกฺขเมตฺถาติ วา นิ
โรโธ, นิพฺพานํ.๔ ในพระนิพพานนั้น ไมมีสงสารเปนที่เที่ยวไป หรือวา เมื่อ
บุคคลบรรลุพระนิพพานนั้นแลว ยอมไมมีฝง เปนที่ดับทุกข จึงชื่อวา นิโรธ
ไดแก พระนิพพาน๕

สวนใหญคัดลอกมาจากงานวิทยานิพนธของ พรชัย พันธไสว, "ศึกษาวิเคราะห
นิ โ รธสมาบั ติ ใ นพระพุ ท ธศาสนาเถรวาท", วิ ท ยานิ พ นธ พุ ท ธศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต ,
(บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), ๒๘ กรกฏาคม ๒๕๕๔.

ที.สี. (ไทย) ๙/๔๑๔/๑๘๐.

พระภัททันตะ อาสภะมหเถระ, วิปสสนาทีปนีฎีกา, (กรุงเทพมหานคร : ม.
ป.ท. : ม.ป.ป.), หนา ๒๕๐.
พระพุทธโฆสเถระ, วิสุทธิมรรค, แปลและเรียบเรียงโดย สมเด็จพระพุฒาจารย
(อาจ อาสภมหาเถร), พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร :บริษัท ธนาเพรส จํากัด ,
๒๕๔๘), หนา ๑๑๙๐.

ขุ.เถร.อ. (บาลี) ๒/๓๖/๑๕๙.

พระคันธสาราภิวงศ (แปล และเรียบเรียง), ปรมัตถทีปนี, (กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพไทยรายวันการพิมพ) ๒๕๔๙, หนา ๒๘๗ – ๒๘๘.
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
คัมภีรอรรถกถาปรมัตถทีปนี ใหความหมายวา สสารจารกสงฺขาโต
นตฺถิ เอตฺถ โรโธ, เอตสฺมึ วา อธิคเต ปุคฺคลสฺส โรธาภาโว โหติ, นิรุชฺฌติ
ทุกฺขเมตฺถาติ วา นิโรโธ, นิพฺพาน.๖
ชื่อวา นิโรธ เพราะในพระนิพพานนั้นไมมีฝง(สงสารเปนที่เที่ยวไป)
หรือวาเมื่อบุคคลบรรลุพระนิพพานนั้นแลว ยอมไมมีฝง หรือเปนที่ดับทุกข
ไดแกพรนิพพาน
วินิจฉัยโดยการจําแนก นิโรธ มีความหมายวา สลัดออก, สงัด, อัน
ปจจัยปรุงแตงไมได เปนอมตะ ฯลฯ
วินิจฉัยโดยการวิเคราะหศัพท นิ ในบทวา นิโรธ แสดงความไมมี
และศัพทวา โรธ แสดงถึงผูทองเที่ยว เพราะฉะนั้นจึงไดแก ความไมมีความ
ทองเที่ยวไปแหงทุกข(การทองเที่ยวไปในสังสาร) เพราะวางจากคติทั้งปวง
อีกอยางหนึ่ง เมื่อบรรลุอริยสัจที่สามนั้นแลว จึงความไมมีการทองเที่ยวไป
แหงทุกข(การทองเที่ยวไปในสังสาร) พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา ทุกฺขนิโรธ
(ทุกขนิโรธ) เพราะเปนปฏิปกษตอการทองเที่ยวไปนั้น อีกอยางหนึ่ง เรียกวา
ทุกขนิโรธ เพราะเปนปจจัยแกความไมเกิด คือ แหงความดับสนิทแหงทุกข
วินิจฉัยโดยประเภทลักษณะ นิโรธสัจจะ มีความสงบเปนลักษณะ
มีการไมจุติเปนรส มีการไมมีนิมิตเปนปจจุปฏฐาน.
วินิจฉัยโดยอรรถ
นาฺา นิพฺพานโต สนฺติ สนฺต น จ น ต ยโต
สนฺตภาวนิยาเมน ตโต สจฺจมิท มต
ความสงบอื่นนอกจากพระนิพพานแลวยอมไมมี และ
พระนิ พพานนั้น เวน จากความสงบก็ห ามีไม เพราะฉะนั้ น
พระนิพพานนี้ บัณฑิตจึงรูวาเปนสัจจะ โดยกําหนดอรรถวา
เปนความสงบ๗


ขุ.เถร.อ. (บาลี) ๒/๓๖/๑๕๙.

วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๑๔๐-๑๔๓.
๙๗๐
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
พระสารี บุ ต รเถระระบุ ว า ป ญ ญาที่ มี ค วามชํ า นาญในการระงั บ
สังขาร ๓ ดวยญาณจริยา ๑๖ และดวยสมาธิจริยา ๙ เพราะประกอบดวย
พละ ๒ อยาง ปญญานั้นชื่อวา นิโรธสมาปตติญาณ๘
ลักษณะที่สังขาร ๓ (วจีสังขาร กายสังขาร จิตตสังขาร) สงบระงับ
ดับลงนี้ เปนเชนเดียวกันกับสภาวะของคนที่ตายแลว จะมีความตางกันเพียง
อายุ ไออุน และรางกายของคนที่ตายแลวจะเสื่อมสลายไป แตสําหรับผูเขา
นิโรธสมาบัติองคประกอบของชีวิตทั้ง ๓ สวนยังไมเสื่อมสลายไป๙
พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ใหความหมายวา นิโรธสมาบัติ หรือ
สัญญาเวทยิตนิโรธ เปนสมาบัติชั้นสูงสุด และเปนความสามารถเฉพาะของ
พระอริยบุคคลชั้ นพระอนาคามีและพระอรหันต ผูชํานาญในสมาบัติ ๘
เท า นั้ น คื อ ภาวะที่ จิ ต ดั บ สั ญ ญาและเวทนาได ส นิ ท ไม มี ส ว นเหลื อ เป น
สมาบัติขั้นสูงสุดที่มีความละเอียดประณีตมาก ซึ่งเปนผลรวมกันของสมถะ
และวิปสสนาที่มีกําลัง กลาวคือ เปนสมาบัติหนึ่งในอนุปุพพวิหารธรรม ๙
เปนสมาบัติชนิดเสวยผล เปนวิธีการพักผอนอยางเปนสุขในปจจุบันของพระ
อริยเจา นิโรธสมาบัตินี้มีองคธรรมที่ละเอียดเปนสภาพที่สัญญาและเวทนา
ดับสิ้นจึงไมสามารถใชเปนฐานเพื่อการทําวิปสสนาได"๑๐
เสถียร โพธินันทะ ไดแสดงทัศนะเกี่ยวกับนิโรธสมาบัติในกรณีการ
ตีความที่แตกตางกันระหวางนิกายเถรวาทและมหาสังฆิกะ สรุปไดวา นิโรธ
สมาบัติ คือ สภาวะที่ดับสัญญาและเวทนาไดเด็ดขาดซึ่งเปนสภาวะสูงสุด
ของสมาธิ พบไดเฉพาะในพระพุทธศาสนาเทานั้น เพราะเปนการปฏิบัติ
สมาธิ ที่มีความละเอีย ดขึ้น ไปโดยลําดับโดยผูที่จ ะสามารถเขาสมาบั ตินี้ได
จะตองเปนพระอนาคามีและพระอรหันตประเภท เจโตวิมุตติผูพรั่งพรอม

ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๓๔/๓.

ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๕๗/๔๙๕., ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๖๔/๕๐๔.,
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๙๖/๑๑๔., สํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๔๘/๓๘๑.
๑๐
พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับขยายความ, พิมพครั้งที่
๑๑, (กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖), หนา ๓๖๘ -
๓๗๐.
๙๗๑
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ด ว ยอภิ ญ ญา ๖ เท า นั้ น ส ว นพระอนาคามี ห รื อ พระอรหั น ต ป ระเภทสุ ข
วิปสสกหรือเฉพาะปญญาวิมุตติ เขาสมาบัตินี้ไมได เพราะสมาบัตินี้จะตอง
เขาฌานตั้งแตรูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ พรอมกับมีวิปสสนากํากับทุกฌานไป
เมื่อออกจากเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน (อรูปฌาน ๔) ก็เขานิโรธสมาบัติ
คงเหลืออยูแตอายุรูปชีวิตินทรียและไออุนเทานั้นที่แตกตางจากคนตาย ซึ่ง
ฝายนิกายอันธกะถือวานิโรธสมาบัติเปนอสังขตะ แตฝายนิกายเถรวาทไม
เห็นดวยกับ มติดังกลาวเพราะนิโรธสมาบัติไมเปนทั้งสังขตะและอสังขตะ๑๑
๑.๑ ประเภทวิปสสนาเพื่อบรรลุสมาบัติ
วิปสสนานั้นพระอรรถกถาจารยกลาวขึ้นวา หมูเสือยอมแอบจับหมู
เนื้อเปนอาหารแมฉันใด พุทธบุตรผูประกอบความเพียร บําเพ็ญเฝาดูอยางมี
สติ เฝ ากําหนดจดจ อต อเนื่ องไปตามฐานของกาย เวทนา จิ ต และธรรม
อยางตอเนื่องดวยความอดทนไมยอมลดละ นี้ก็เหมือนกัน เมื่อเขาไปสูปา
แลว ยอมยึดไวไดซึ่งผลอันอุดม๑๒
ตามธรรมดา สัตวทั้งหลายมีความเขาใจผิดๆ ในขันธ ๕ (กาย+ใจ)
การเสวยอารมณ การจําอารมณ การจัดแจงปรุงแตงในอารมณ การรูอารมณ
เหลานี้วา เปนของเที่ยง เปนสุข เปนตัวตน อยูภายใตบังคับบัญชา สวยงาม
ซึ่งลวนแตเปนความเห็น ความเขาใจไปในฝายวิปลลาส ที่เปนอกุศล เกี่ยวกับ
วิปลลาสธรรมนี้หาใชประกอบดวยวิ ปสสนาปญญาแตประการใดไม สว น
กุศลญาณสัมปยุตตที่ประกอบกับวิปสสนาปญญานั้น ยอมเห็นแจงในขันธ ๕
วาเปนอนิจจะ ทุกขะ อนัตตะ อสุภะ ดังนั้นจึงมี วจนัตถะวา “ปฺจกฺขนฺเธสุ
วิวิเธน อนิจฺจาทิอากาเรน ปสฺสตีติ วิปสฺสนา”๑๓

๑๑
เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา,หนา ๒๗๘.
๑๒
วิ.ม.อ. (ไทย) ๓/๒๕.
๑๓
วรรณสิทธิ ไวทยะเสวี, พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๙ กัมมัฏฐาน
สังคหวิภาค, หนา ๑๑.
๙๗๒
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ปญญาทีเ่ ห็นนาม-รูปไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตานี้ ยอมมีไดใน ๓
๑๔
โอกาส คือ
๑) สงฺขาปริคคฺ ณฺหนกวิปสฺสนา คือ วิปสสนาญาณที่มีการกําหนดรู
ในสังขารธรรม รูป นาม
๒) ผลสมาปตฺ ติ วิ ป สฺ ส นา คือ วิ ป ส สนาญาณที่เ ป น เหตุ ให เ ขาผล
สมาบัติได
๓) นิโรธสมาปตฺติวิปสฺสนา คือ วิปสสนาญาณที่เปนเหตุใหเขานิโรธ
สมาบัติได๑๕
๑. สังขารปริคคัณหนกวิปสสนา วิปสสนาญาณที่มีการกําหนดรูใน
สังขารธรรม คือ รูปนามและสังขารปริคคัณหนกวิปสสนานั้น ไมวาจะเปน
ชนิด มัน ทะ๑๖ หรื อติ กขวิป สสนาก็ตาม เมื่อเขาถึงความเป นวุฏ ฐานคามินี
วิปสสนา๑๗แลว ก็ยอมเปนเหตุใกลที่จะใหไดมรรคทั้งนั้น ตางกันก็เพียงแตวา
ได สํ าเร็ จ มรรคช าหรื อเร็ ว คื อ ถาวิ ป ส สนาเป น มัน ทะก็ให สํ าเร็ จ มรรคช า
มรรคนั้นเรียกวา ทันธาภิญญามรรค ถาวิปสสนาเปนติกขะก็ใหสําเร็จมรรค
เร็ว มรรคนั้นเรียกวา ขิปปาภิญญามรรค
๒. ผลสมาปตติวิปสสนา วิปสสนาญาณที่เปนเหตุใหเขาผลสมาบัติ
ได และผลสมาปตติวิปสสนานั้น จะตองเปนติกขวิปสสนา(การกําหนดเห็น
สภาวอยางชัดแจง) จึงจะเขาถึงผลสมาบัติได ทั้งนี้ ก็เพราะวาติกขวิปสสนานี้
เปนปจจัยชวยอุปการะใหผลจิตตุปบาทเกิดขึ้นได โดยไมตองอาศัยมรรคจิต
ตุปบาท (จิตที่ตื่นรูเต็มที่) เชนเดียวกันกับมรรคจิตตุปบาทในมรรควิถี เปน
ปจจัยชวยอุปการะใหผลจิตตุปบาทเกิด ๒-๓ ขณะ มุงหมายเอาเฉพาะผูที่

๑๔
เรื่องเดียวกันหนาเดียวกัน.
๑๕
ขุ.ป.อ. (ไทย) ๖๘/๘๘๙, พระเมธีกิตโยดม, ธนิต อยูโพธิ์, วิสุทธิมรรค เลม
๓, พิมพครั้งที่ ๑ (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพวิญญาณ, ๒๕๔๑), หนา ๔๕๖.
๑๖
อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๔๖๔/๓๕๔.
๑๗
ม.มู.อ. (ไทย) ๑๘/๑/๒/๒๘๘-๓๑๕.
๙๗๓
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
เริ่มเขาผลสมาบัติใหมๆ เทานั้น ถาผูนั้นชํานาญในการเขาผลสมาบัติแลว แม
ทวิปสสนา (การกําหนดเห็นสภาวะทีไ่ มคอยชัด) ก็ไดเชนเดียวกัน
๓. นิ โ รธสมาป ตติ วิ ป ส สนา วิ ป สสนาญาณที่เ ป น เหตุ ให เ ขานิ โ รธ
สมาบัติได สวนนิโรธสมาปตติวิปสสนานั้นจะตองเปนวิปสสนากลางๆ จะ
เปนมันทะหรือติกขวิปสสนาอยางใดอยางหนึ่งไปไมได เพราะวานิโรธสมา
ปตติวิปสสนานี้ เปนวิปสสนาที่เกิดขึ้นสลับกันไปกับสมถะเรื่อยๆ ฉะนั้น จึงมี
ชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา ยุคนัทธวิปสสนา
การบรรลุธ รรมของพระอริ ยบุ คคลขั้นแรกไปตามลําดับ จนถึงขั้น
สูงสุดตองอาศัยการทําไวในใจโดยอุบายอันแยบคายในลักษณะเดียวกันไป
ตามขั้นตอนถึง ๔ ขั้นก็ไดบรรลุพระอริยมรรคญาณขั้นสูงสุด คือพระอรหัตต
แตจะนําเนื้อหาที่ทานนํามาเขียนลงไวมาใหดูเพียงขั้นตอนแรกขั้นตอนเดียว
เพราะขั้ น ตอนต อ ไปก็ มี ลั ก ษณาการที่ เ หมื อ นกั น ทุ ก ประการซึ่ ง เป น การ
สนทนากันระหวางพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระ และ พระมหาโกฏฐิต
เถระ ที่ไดสนทนากัน เมื่อครั้งที่พํานักอยูที่ปาอิสิปนตมฤคทายวัน มีใจความ
วา๑๘ทานพระมหาโกฏฐิตเถรเจา ไตถามถึงการบรรลุอริยธรรมวา
“ขาแตทานพระธรรมเสนาบดีสารีบุตร ภิกษุผูเห็นภัยในวัฏสงสาร
ควรจะกระทําธรรมเหลาไหนไวในใจ โดยอุบายอันแยบคาย”
ทานพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรมหาเถรเจาไดสดับขอปุจฉานั้น จึง
พลันมีเถรวาทีวิสัชนาวา “ดูกรทานมหาโกฏฐิตะ ภิกษุผูเห็นภัยในวัฏสงสาร
ผูได สดั บ แลว ควรกระทําอุปาทานขัน ธ ๕ ไว ในใจโดยอุบ ายอัน แยบคาย
โดยความเปนอนิจจัง คือความไมเที่ยง เปนทุกขัง คือเปนทุกข เปนดังโรค
เปนดังหัวฝ เปนดังลูกศร เปนความคับแคน เปนอาพาธ เปนของแปรปรวน
เปนของทรุดโทรม เปนอนัตตา คือเปนของสูญ เปนของไมใชตัวตน
อุปาทานขันธ ๕ เปนไฉน? อุปาทานขันธ ๕ คือ
๑. อุปาทานขันธ คือ รูป
๒. อุปาทานขันธ คือ เวทนา

๑๘
กรรมทีปนี เลม ๒ หนา ๓๔๐–๓๔๑
๙๗๔
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๓. อุปาทานขันธ คือสัญญา
๔. อุปาทานขันธ คือสังขาร
๕. อุปาทานขันธคือวิญญาณ
ดูกรทานมหาโกฏฐิตะ ภิกษุผูไดสดับแลว ควรกระทําอุปาทานขันธ
๕ เหลานี้ ไวในใจโดยอุบายอันแยบคาย โดยความเปนอนิจจัง คือความไม
เที่ยง เปนทุกขังคือเปนทุกข เปนดังโรค เปนดังหัวฝ เปนดังลูกศร เปนความ
คับแคน เปนอาพาธ เปนของแปรปรวน เปนของทรุดโทรม เปนอนัตตา คือ
เปนของสูญ เปนของไมใชตัวตน
ดูกรทานมหาโกฏฐิตะ ก็ขอนี้เปนฐานะที่พึงมีไดโดยแท คือภิกษุผูได
สดับแลว กระทําอุปาทานขันธ ๕ เหลานี้ไวในใจโดยอุบายอันแยบคายแลว
…พึงทําใหเเจงซึ่ง พระโสตาปตติผล”
๑.๒ ผลสมาบัติ
พระอรหันตทุกประเภทสามารถเขาสมาบัติเสวยอรหัตตผล อันเปน
การเสวยผลนิพพานในปจจุบันชาติตามกาลที่ปรารถนา และพระอริยบุคคล
ทุกระดับตั้งแตขั้นโสดาบัน จนถึงขั้นอรหันต ก็มีความสามารถเขาเสวยผล
สมาบัติได แตจะเขาไดตามลําดับขั้น คือ ถาเปนพระโสดาบันก็จะเขาเสวย
พระนิพพานในผลสมาบัติไดเฉพาะในขั้นต่ําสุด ถาเปนพระสกิทาคามี ก็จะ
เขาผลสมาบัติไดเฉพาะในขั้นของตนจะหวนกลับมาเขาขั้นต่ําลงมาหรือขั้น
สู ง ขึ้ น ไปกว า ขั้ น ของตนก็ ไ ม ไ ด พระอนาคามี แ ละพระอรหั น ต ก็ เ ป น
เชนเดียวกันคือจะเขาเสวยพระนิพพานในปจจุบันดวยการเขาผลสมาบัตินั้น
ก็จะมีโอกาสเขาไดเฉพาะในขั้นของตนที่ไดบรรลุถึงเทานั้น
๑.๓ นิโรธสมาบัติ
การเขานิโรธสมาบัติกับการเขาเสวยผลพระนิพพานในปจจุบันนั้น
คนละประเภทกัน เพราะวา การเสวยผลสมาบัตินั้นมีนิพพานเปนอารมณ

๙๗๕
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
แตการเขานิโรธสมาบัติ นี้จิต เจตสิกดับ และพระอริยบุคคลผูจะเขานิโรธ
สมาบัติไดนั้นมีกฏเกณฑอยู ดังนี้๑๙
บุคคลที่เปนปุถุชนอยู ยอมไมสามารถที่จะเขานิโรธสมาบัติได
พระโสดาบันอริยบุคคล ก็ยอมไมสามารถที่จักเขานิโรธสมาบัติได
พระสกิทาคามีอริยบุคคล ก็ยอมไมสามารถที่จักเขานิโรธสมาบัติได
พระอนาคามีอริยบุคคลที่เปนสุกขวิปสสกะก็ยอมไมสามารถที่จัก
เขานิโรธสมาบัติได
พระอรหันตอริยบุคคลที่เปนสุกขวิปสสกะก็ยอมไมสามารถที่จักเขา
นิโรธสมาบัติได
พระพรหมอนาคามีอริยบุคคลและพระพรหมอรหันตอริยบุคคล ซึ่ง
สถิตอยูในอรูปภพพรหมโลก ก็ยอมไมสามารถที่จักเขา นิโรธสมาบัติได ?
วิสัชนาวา พระอนาคามีอริยบุคคล และพระอรหันตอริยบุคคล ผูได
อัฏฐฌานสมาบัติ พระอนาคามีและพระอรหันตมหาขีณาสพ ผูไดบรรลุฌาน
สมาบัติทั้ง ๘ ซึ่งเปนผูประกอบดวยกําลังทั้ง ๒ คือ กําลังแหงสมถะ ๑ กําลัง
แหงวิปสสนา ๑ จึงจะสามารถเขานิโรธสมาบัติอันแสนประเสริฐได เพราะ
การเขานิโรธสมาบัติ ย อมจักปรากฏมีแกพระอริยบุคคลผูบริบูรณอยูดว ย
กําลั งแห งสมถะและกําลั งแห งวิ ป ส สนาเทานั้ น สมจริ งดั งคําที่กล าวไว ใน
คัมภีรวิสุทธิมรรควา
“ก็ทานผูใด พยายามอยูดวยอํานาจแหงสมถะอยางเดียว ทานผูนั้น
ยอมบรรลุถึงเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ แลวก็ดํารงอยูไดเพียงแค
เนวสั ญญานาสัญญายตนสมาบั ติ เ ทานั้ น และทานผู ใดพยายามอยู ด ว ย
อํานาจแหงวิปสสนาอยางเดียว ทานผูนั้นยอมบรรลุถึงผลสมาบัติ แลวก็
ดํารงอยูไ ดเพียงแคผลสมาบัติเทานั้น สวนทานผูใดพยายามอยูดวยอํานาจ
แห งสมถะและวิ ป ส สนาพร อ มเพรี ย งกัน ทั้ง ๒ ประการ ทานผู นั้ น ย อ ม
บรรลุถึงเนวสัญญานาสัญญายตนะแลวยัง เนวสัญญานาสัญญายตนะให
ดับและสามารถเขาถึงนิโรธสมาบัติไดในฉับพลันนั้น” ดังนี้
๑๙
พระพรหมโมลี (วิลาศญาณวโร ป.ธ. ๙ ), กรรมทีปนี ,หนา ๔๑๔–๔๑๕.
๙๗๖
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ

๑.๔ การดับขันธเขาสูปรินิพพาน
นิพพานนั้นมีความหมาย ๓ อยาง คือ
๑. กิเลสนิพพาน หมายถึง การบรรลุอรหัตตมรรคญาณของพระ
อรหันต กิเลสนิพพานมีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา สอุปาทิเสสนิพพาน แปลวา
พระนิพพานที่ยังมีขันธ ๕ เหลืออยู หมายถึงพระนิพพานของพระอรหันตที่
ยังมีชีวิตอยู
๒. ขันธนิพพาน มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา อนุปาทิเสสนิพพาน
แปลว า พระนิ พ พานที่ ไ ม มี อุ ป าทานขั น ธ ๕ เหลื อ อยู หมายถึ ง เป น พระ
นิ พ พานของพระอรหั น ต ที่ ดั บ ขั น เข า สู อ มตมหานิ พ พานแล ว นั้ น เอง
(มรณภาพ) ดับขันธเขาสูปรินิพพาน
ในเรื่องขันธนิพพานนี้ ทานไดเขียนพรรณนาถึงการนิพพานของพระ
พรหมที่เปนพระอรหันต ทั้งอยูในรูปภูมิ ๑๖ ชั้น และอยูในอรูปภูมิ ๔ ชั้น
เมื่อถึงเวลาสิ้นอายุพรหมแลวก็จะดับขันธปรินิพพานที่ชั้นของตน สวนเทวดา
ที่เปนพระอรหันตก็เชนกัน คือ จะตองเขาถึงการดับปรินิพพานในวิมานของ
ตน แตมีเวลากําหนดนิพพานตางกัน คือ ถาเปนเทวดาทั้ง ๕ ชั้น ไมนับชั้น
แรกคือจาตุมหาราชิกาแลว เมื่อบรรลุเปนพระอรหันตแลวก็ยอมจะดับขันธ
เขาสูปรินิพพานในวันนั้น ก็มีแตเทวดาชั้นแรกเทานั้นที่เมื่อบรรลุธรรมเปน
พระอรหันตแลว สามารถที่จะอยูจ วบจนถึงกาลอวสานแหงอายุไขยได
ถามวา ทําไมเทวดาจึงดับขันธปรินิพพานเร็ว?
ตอบวา เพราะบนสวรรคนั้นมีแตความสุขทางกามารมณ ไมมีที่สงัด
อันเปนสัปปายะสําหรับพระอรหันต แตที่เทวดาอรหันตชั้นจาตุมหาราชิกา
อยูไดนาน เพราะภพภูมิของทานอยูที่เดียวกับมนุษย สามารถแสวงหาที่สงัด
อันเปนสัปปายะแกการดํารงชีพของพระอรหันตผูสิ้นอาสวะแลวได
สวนการปรินิพพานของฆราวาสผูไดสําเร็จเปนพระอรหันตนั้น ทาน
ก็ไดยกเอาการดับขันธปรินิพพานของพระพุทธบิดามาแสดงใหเห็น พระเจา
สุทโธทนะนั้นกอนที่จะสวรรคต พระพุทธเจาไดเสด็จไปเทศนาใหฟงจนได
บรรลุ เ ป น พระอรหั น ต ใ นวั น นั้ น แล ว ก็ ดั บ ขั น ธปริ นิ พ พานในวั น นั้ น ด ว ย
๙๗๗
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
เพราะเพศแห งฆราวาสไมสามารถจะรองรั บความเป นพระอรหัน ตได ถา
ฆราวาสบรรลุ ธ รรมเป น พระอรหั น ต แล ว ไมได บ วชภายในวั น นั้น ก็จ ะต อง
สิ้นสุดชีวิตในวันนั้น และการปรินิพพานของพระอรหันตนั้น ทานยกเอาการ
ดับขันธเขาสูปรินิพพานในหลายลักษณะ เชน พระอรหันตยืนนิพพานแลว
อธิษฐานใหศพยกมือพนมหันหนาไปทางที่พระพุทธเจาประทับอยู คือพระ
นาลกะ พระอรหันตนั่งนิพพานแลวอธิษฐานใหไฟลุกไหมธาตุขึ้นเอง โดยไมมี
สวนเหลือ คือ พระพากุละมหาสาวก พระอรหันตนิพพานบนนภากาศแลว
อธิ ษ ฐานให พ ระธาตุ ต กลงมายั ง ฝ ง แม น้ํ า ทั้ ง สองฝ ง ให พ ระญาติ ไ ด นํ า ไป
สักการะ คือ พระอานนทพุทธอนุชา และการนิพพานของพระติสสอรหันต
ในศาสนาของพระพุทธเจาพระนามวากัส สัป ปะ ทานปรินิ พพานโดยการ
อธิษฐานจิตวาไมใหใครสามารถเคลื่อนยายสรีระทานได นอกจากบุรุษเข็นใจ
ที่ถวายทานแกทานกอนที่ทานจะไดบรรลุอรหัตตมรรคญาณ ๗ วัน เพื่อเปน
การสงเคราะหบุรุษเข็นใจ
ในการดั บ ขั น ธปริ นิ พ พานของพระอรหั น ต นั้ น จะต อ งเกิ ด มี
ปาฏิหาริยอยางใดอยางหนึ่ง ถึงแมพระอรหันตองคนั้นจะไมมีอิทธิฤทธิ์ ไมได
อธิษฐานอะไรไวในเวลาดับขันธปรินิพพาน ก็จะตองมีมนุษยหรือเทวดาเปนผู
อธิษฐานใหเกิดปาฏิหาริยเอง
๓. ธาตุนิพพาน หมายถึง ความดับไปโดยไมเหลือแหงพระบรม
สารีริกธาตุทั้งปวง ขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ในกาลเมื่อศาสนา
ของพระองคไดเสื่อมถอยลงไปจนหมดสิ้นแลวโดยแทจริง พระพุทธเจามี
การเขาสูนิพพานถึง ๓ ครั้ง คือ
๓.๑ ครั้งตรัสรูที่ตนพระศรีมหาโพธิ์ ในตอนนั้นพระองคทรง
เขาถึงกิเลสนิพพานซึ่งเรียกวาเปน สอุปาทิเสสนิพพาน
๓.๒ ครังเมื่อพระองคเสด็จดับขันธปรินิพพานที่ปาสาละ เมือง
กุสินารา ซึ่งในตอนนั้นเปนการเสด็จดับขันธปรินิพพาน ที่เรียกวา อนุปาทิ
เสสนิพพาน
๓.๓ การนิพพานแหงพระบรมสารีริกธาตุของพระสัมมาสัม
พุทธเจาซึง่ ยังไมมาถึง แตจะมีขึ้นกอนที่ศาสนาจะถึงกาลอวสาน หมายความ
๙๗๘
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
วา ในอนาคตขางหนาศาสนาของพระโคดมพุทธเจาจะคอยอันตรธาน เพราะ
มนุษยมีกิเลสมากยิ่งขึ้น ขั้นแรกนั้น พระปริยัติธรรมจะอันตรธานกอน ดวย
จะหาผูศึกษาธรรมคําสอนของพระพุทธเจาไมมี เมื่อคําสอนของพระพุทธ
องคอันตรธานไป ผูที่บวชเขามาก็ไมรูวาจะปฏิบัติธรรมอยางไร เพราะหา
อาจารยผูบอกแนวทางปฏิบัติตามคําสอนของพระพุทธเจาไมได ผูที่จะบรรลุ
ธรรมเปนพระอริยบุคคลจึงหมดไป เมื่อไมมีผูปฏิบัติถูกทางตามอริยมรรคมี
องค ๘ ที่ พ ระพุ ท ธองค ไ ด ต รั ส ไว แ ล ว การบรรลุ คุ ณ วิ เ ศษก็ จ ะหมดไป
หลังจากนั้นก็จะเกิดมีโคตรภูสงฆขึ้น
โคตรภูสงฆ คือ พระภิกษุทั้งหลายในสมัยนั้น จะไมมีศีลาจารวัตร
อันดีงาม และเกิดความเบื่อหนายการนุงหมจีวรรุงรัง ก็จะตัดเฉพาะชิ้นสวน
ของจีวรมาผูกที่แขน เพื่อแสดงใหเห็นวาเปนพระในพระพุทธศาสนาเทานั้น
แลวก็จะมีเมียมีลูก และทํามาหากินเองดวยการทําไร ทํานา คาขาย ไมตาง
อะไรจากฆราวาส สมดังทีไ่ ดตรัสกับพระอานนทเถระวา
“ดูกรอานนทสืบไปในอนาคตกาล จะมีภิกษุสงฆซึ่งทรงสมณบริขาร
และไตรจี วร มิจ ะมีก็แต โคตรภู สงฆ ซึ่งทรงผากาสาวพัสตรแต เพียงนิ ด
หนอย โดยผูกพันไวที่ขอมือและที่คอ พอเปนเครื่องหมายใหรูวาตนเปน
ภิกษุเทานั้น ก็โ คตรภูส งฆนั้นเป นภิกษุที่มีอาจาระเลว มีความประพฤติ
หยาบชาลามก หาสีลาจารวัตรมิได หากบุคคลใดประกอบไปดวยศรัทธา
ปรารถนาจะกระทํากองการกุศลใหไดผลมาก ก็จงตั้งจิตอุทิศตอสงฆทําให
เปนสังฆทาน แลวจงใหซึ่งทักษิณาทานแกคนทั้งหลายซึ่งไดนามวา เปน
โคตรภูสงฆนั้น เชนนี้เราตถาคตสรรเสริญ วา ทานของบุคคลนั้นยอมเปน
ทานที่ ถ วายแก ส งฆ เ ป น สั ง ฆทานแท เ ที่ ย งที่ จ ะนํ า มาซึ่ ง ผลานิ ส งส เ ป น
อสงไขยเปนอัปไมย” ดังนี๒๐ ้

๒. นิโรธสมาบัติ ในตําราวิชาการยุคปจจุบัน
๒.๑ ทัศนะของพระภัททันตะ อาสภมหาเถระ
๒๐
พระพรหมโมลี, กรรมทีปนี, เลม ๒ หนา ๕๕๒–๕๕๓
๙๗๙
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
พระภัททันตะอาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อัคคมหากัมมัฏฐานาจริ
ยะ เป น พระภิ ก ษุ ช าวพม า ที่ มี ค วามรู ค วามชํ า นาญในหลั ก คํ า สอนของ
พระพุทธศาสนาเปนอยางดี
นิโรธสมาบัติมีอยูในหนังสือ "วิปสสนาทีปนีฎีกา" เปนหนังสือที่แตง
ขึ้นเพื่อประกอบการสอนวิปสสนากัมมัฏฐาน เนื้อหาเปนการอธิบาย "การ
ปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐานตามแนวคัมภีรอภิธรรมมัตถสังคหะ"๒๑
เรื่อง "นิโรธสมาบัติ" ในหนังสือวิปสสนาทีปนีฎีกามีขอความที่ระบุ
ถึงขั้นตอนการเขานิโรธสมาบัติไว โดยแสดงเปนลําดับขั้นตอน เริ่มจาก
ปฐมฌาน พิจารณาในฌานนั้น ทําเชนนี้กับทุกฌาน จนถึงอากิญจัญญายตน-
สมาบัติ แลวออกจากอากิญจัญญายตนสมาบัติจึงกระทําบุพพกิจ มีการ
อธิษฐานเปนตน แลวจึงเขาสูเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน เกิดการสืบตอ
ของจิตในอัปปนาชวนะ ๒ ขณะแลวดับลง ในขณะที่ออกจากนิโรธสมาบัติ
นั้น อนาคามิผลจิตของพระอนาคามีเกิด และอรหัตตผลจิตของพระอรหันต
เกิดขึ้นเพียง ๑ ขณะ
มีการวิเคราะหความหมายตามรากศัพท ปรากฏในคัมภีรวา "นิ
รุชฺฌนํ = นิโรธ, สมาปชฺชนํ = สมาปตฺติ, นิโรธสฺส สมาปตฺติ = นิโรธสมา
ปตฺติ"๒๒ความดับของจิตและเจตสิกเรียกวานิโรธ ในขณะที่มีนิโรธนี้จิตตชรูป
ไมเกิด การเขาหรือการลงมือทําความเพียรเพื่อวิถีดับเรียกวา สมาบัติ
การเขานิโรธ จิตใจหยุดทํางาน รูปนามใหมไมมีเกิด คือ จิต เจตสิก
และจิตตชรูปดับหมดสิ้น มีสภาพคลายๆ นิพพานชั่วคราว สามารถอยูใน
นิโรธสมาบัติไดนานถึง ๗ วัน "และมีการอางอิงคาถาจากธรรมบทในประเด็น
ของญาณเบื่ อหน ายรู ป นาม อัน เป น การเกิด ดั บ ของสั งขารธรรมของพระ

๒๑
พระภัททันตะ อาสภะมหาเถระ, วิปสสนาทีปนีฎีกา, (กรุงเทพมหานคร :
ม.ป.ป., ม.ป.ท.), หนา ๒๕๘.
๒๒
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๕๐. ๑๕๙
๙๘๐
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
อริยะในการเขานิโรธสมาบัติ คือ "อุทฺยพฺพยา สงฺขาเร อุกกณฺฐิตฺวาน
โยนิโส สุขํ วิหริสฺสามาติ สมาปชฺชนฺติ สุข"ํ ๒๓
มีการจําแนกวิถีจิตออกเปนขณะๆ เพื่อใหเห็นพฤติการณที่ดําเนิน
ไปของจิตตลอดกระบวนการในการเขานิโรธสมาบัติ โดยแสดงไววา ในขณะ
ที่จะเขานิโรธสมาบัตินั้น ฌานของพระอนาคามีที่เกิดจะเปนกุศลฌาน ผลก็
จะเปนอนาคามิผล สวนในพระอรหันตก็จะเปนกิริยาฌาน ผลก็จะเปน
อรหัตตผลจิต เหตุใกลของสมาบัติ คือ นิโรธสมาบัตินี้เปนผลของฌานและ
สมาบัติที่ประกอบดวยปญญา ซึ่งผลสมาบัตินี้เปนอานิสงสของวิปสสนา
ภาวนา และอภิญญานี้เปนผลของโลกียฌานสมาธิ
ในหนั ง สื อ วิ ป ส สนาที ป นี ฎี ก า ได แ สดงรายละเอี ย ดเรื่ อ งของ
ระยะเวลาในการเขานิโรธสมาบัติสําหรับมนุษยไววา เงื่อนใขอันเปนขอจํากัด
เรื่องระยะเวลาที่สามารถเขานิโรธสมาบัติไดเพียง ๗ วันนั้น เพราะในโลก
มนุษย อาหารที่กินเขาไปใน ๑ มื้อสามารถหลอเลี้ยงชีวิตไดนานที่สุดเพียง
เทานั้น หากในพรหมโลกผูเขานิโรธสมาบัติสามารถเขานิโรธสมาบัติไดนาน
ตราบเทาที่ปรารถนา ไมมีขอจํากัดของเวลา เพราะไมมีปญหาเรื่องอาหาร
หลอเลี้ยงรางกาย สวนประเด็นของนิโรธสมาบัติที่ไดมีการถกเถียงกันวาเปน
สังขตะหรืออสังขตะ เปนโลกียะหรือโลกุตตระนั้น คัมภีรวิสุทธิมรรคอธิบาย
วา เปนนิปผันนะ เปนการจําแนกไปตามลักษณะ สภาวะของแตละอยาง วา
จัดเขาพวกหรือไม เมื่อสิ่งใดไมเขาลักษณะก็ตกไปทีละอยาง แลวคงเหลือ
ลักษณะที่ไมชัดเจนไว ปรากฏอยูในความเปนนิปผันนะ"๒๔
๒.๒ ทัศนะของพระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ เปนพระภิกษุชาวพมาที่มีความรู
ความชํานาญในหลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะความรูใน
พระอภิธรรม ทานปฏิบัติหนาที่เผยแผพระพุทธศาสนาดานการสอนพระ
อภิธรรมในประเทศไทย ไดแตงตําราเพื่อการศึกษาพระอภิธรรมไวครบทุก
๒๓
พระภัททันตะ อาสภะมหเถระ, วิปสสนาทีปนีฎีกา, หนา ๒๕๒.
๒๔
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๔๙ - ๒๕๘.
๙๘๑
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ระดับชั้นเรียน คือ "คัมภีรปรมัตถโชติกะ"๒๕ ทัศนะเรื่องนิโรธสมาบัติมี
ปรากฏอยู ในคัมภี ร ป รมัต ถโชติ กะปริ เฉทที่ ๔ วิถีสั งคหะ ซึ่งระบุ ถึงนิ โ รธ
สมาบัติในเรื่อง "รูปวิถีในนิโรธสมาบัติ" อธิบายความเปนไปในขั้นตอนการ
เขานิโรธสมาบัติและขั้นตอนการออกนิโรธสมาบัติไววา นิโรธสมาปติวิถีนั้น..
๑. วาโดยบุคลล เกิดแกบุคคล ๒ จําพวก คือ พระอนาคามีบุคคล
และ พระอรหันตบุคคลผูไดสมาบัติ ๘ หรือ ๙
๒. วาโดยภูมิ เกิดไดใน ๒๒ ภูมิ คือ กามสุคติภูมิ ๗ รูปภูมิ ๑๕ (เวน
อสัญญสัตตภูมิ)
๓. วาโดยองคธรรม ภวังคแรกและภวังคหลัง ไดแก ติเหตุกโวการ
ภวังคจิต ๙ สวนวิถีจิตเหลานั้นไดแก มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุศลญาณ
สัมปยุตตอุเบกขา ๒ มหากิริยาญาณสัมปยุตตอุเบกขา ๒ เนวสัญญานา
สัญญายตนกุศลจิต ๑ กิริยาจิต ๑ อนาคามิผลจิต ๑ และอรหัตตผลจิต ๑
ตามสมควรแกบุคคล
๔. วาโดยอารมณ ภวังคแรกและภวังคหลังที่เปนติเหตุกามภวังคจิต
๔ และ รูปภวังคจิต ๕ มีอารมณเชนเดียวกันกับปาทกฌานวิถี สําหรับวิถีจิต
ทั้งหมดที่อยูในวิถีนี้ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุศลญาณสัมปยุตต อุเบกขา
๒ มหากิริยาญาณสัมปยุตตอุเบกขา ๒ เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลจิต ๑
กิริยาจิต ๑ มีมหัคคตปฏิภาคนิมิตของอากิญจัญญายตนฌานเปนอารมณ
สวนอนาคามิผลจิต ๑ และอรหัตตผลจิต ๑ ที่เกิดขึ้นในขณะออก
จากนิโรธสมาบัติแลวนั้นมีพระนิพพานเปนอารมณ
บุพพกิจกอนการเขานิโรธสมาบัติ
พระอนาคามีบุคคลหรือพระอรหันตบุคคลกอนจะเขานิโรธสมาบัติ
ตองเขาปฐมฌานกอน เมื่อออกจากปฐมฌานแลว ก็พิจารณาปฐมฌานจิต
และเจตสิกที่ดับไปแลว โดยความเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แลวจึงเขา

๒๕
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๔ วิถีสังคหะ,
พิมพครั้งที่ ๗, (กรุงเทพมหานคร : หจก. ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๔๗), หนา ง.
๙๘๒
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ทุติยฌานเปนตน จนถึงวิญญาณัญจายตนฌานตามลําดับโดยทํานองเดียวกัน
นี้ เมื่อออกจากทุติยฌานเปนตน จนถึงวิญญาณัญจายตนฌานตามลําดับแลว
ต อ งพิ จ ารณาฌานจิ ต และเจตสิ ก ที่ ดั บ ไปแล ว นั้ น โดยความเป น
อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาทุกๆ ฌานเสมอไปแลวจึงเขาอากิญจัญญายตน
ฌาน เมื่อออกจากอากิญจัญญายตนฌานแลว ไมตองเจริญวิปสสนา แตตอง
ทําบุพพกิจ ๓ อยางนี้ (ในสมัยนี้ ยกเวนสัตถุปกโกสนะ คือ การอธิษฐานจะ
ออก เมื่อเวลาที่พระพุทธองคตองการพบตัว) คือ
๑. นานาพัทธอวิโกปนะ คือ การอธิษฐานวาใหบริขารตางๆ พนจาก
อันตราย
๒. สังฆปฏิมานนะ คือ การอธิษฐานวาเมื่อสงฆประชุมกัน ขอให
ออกจากนิโรธสมาบัติทันเวลาประชุมสงฆ
๓. อัทธานปริเฉทะ คือ การอธิษฐานกําหนดตรวจดูชีวิตของตนวา
จะตั้งอยูไดนานกวา ๗ วันหรือหลายเดือนหลายปก็ไมมปี ญหาแตอยางใด แต
ถาหากวาชีวิตของตนไมอาจดํารงอยูไดตลอดไปจนครบกําหนด ๗ วันแลว
เมื่อบุคคลนั้นยังเปนพระอนาคามีอยู ก็จะพิจารณาวาไมควรเขานิโรธสมาบัติ
แต ควรเจริ ญวิ ป ส สนาเพื่อบรรลุ อ รหั ต ผลดี ก ว า แต ถา บุ คคลนั้ น เป น พระ
อรหันตก็ควรพิจารณาวาควรเขานิโรธสมาบัติ แตตองอธิษฐานกําหนดเวลา
เขานั้นใหนอยลง โดยออกกอนหนาจะปรินิพพาน ทั้งนี้เพื่อวาจะไดมีเวลา
กลาวอําลาแกเพื่อนสหธรรมิกดวยกัน
อนึ่งในบุพพกิจทั้ง ๓ อยางนั้น นานาพัทธอวิโกปนะและสังฆปฏิ
มานนะทั้ง ๒ นี้ไมตองอธิษฐานก็ได แตสําหรับอัทธานปริเฉทะจําเปนตองทํา
เมื่ออยูในมนุสสภูมิ แตในรูปภูมิไมตองทําเลยก็ได แตอัทธานปริเฉทะ(การ
อธิษฐานกําหนดเวลาเขา) เมื่อทําบุพพกิจ ๓ อยางเสร็จเรียบรอยแลวก็เขา
เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน เนวสัญญานาสัญญายตนฌานก็เกิดขึ้น ๒
ขณะ ตอจากนั้น จิต เจตสิก และจิตตชรูปก็ดับลง คงมีแตกัมมชรูป อุตุชรูป
และอาหารชรูปเกิดอยู เปนอันวาสําเร็จการเขานิโรธสมาบัติทุกประการ
บุคคลที่สามารถเขานิโรธสมาบัติได ไดแก พระอนาคามีบุคคลและพระ
อรหันตบุคคลที่ไดฌานสมาบัติ ๙ (ปญจกนัย) ในกามสุคติภูมิ ๗ และรูปภูมิ
๙๘๓
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๑๕ (เวนอสัญญสัตตภูมิ) ในขณะที่กําลังเขานิโรธสมาบัติอยู เมื่อมีอันตราย
เกิดขึ้น อันตรายตางๆ เหลานั้นมิอาจที่จะทําลายชีวิตของบุคคลเหลานี้ได
และการที่อันตรายตางๆ มิอาจทําลายชีวิตของบุคคลเหลานี้ไดนั้น ก็เพราะ
ดวยอํานาจแหงสมาธิวิปผาราฤทธิ สมาธิวิปผาราฤทธิ คือสมาธิที่แผซึม
ซาบทั่วไปในรางกายของบุคคลผูเที่เขานิโรธสมาบัติอยู
ความเปนไปของรูปวิถีในขณะเขานิโรธสมาบัติ..
๑. จิตตชรูป เมื่อพระอนาคามีบุคคลหรือพระอรหันตบุคคลได
เขาฌานสมาบัติ ๘ หรือ ๙ ตามลําดับ เนวสัญญานาสัญญายตนฌานจิต
เกิดขึ้น ๒ ขณะก็จะเขาถึงนิโรธสมาบัติ และนับตั้งแตขณะนั้นเปนตนไป จิต
เจตสิกดับลงหมด จิตตชรูปไมเกิดขึ้นอีกจนกระทั่งออกจากนิโรธสมาบัติ ซึ่ง
พฤติการณของจิตจําแนกออกไปได ๓ ขณะ คือ
๑) อุปปาทขณะ คือ ขณะที่กําลังเกิด
๒) ฐีติขณะ คือ ขณะที่ตั้งอยู
๓) ภังคขณะ คือ ขณะที่จิตกําลังดับ จิตตชรูปเดิมทั้ง ๑๗ กลาปก็
จะดับลงตามลําดับ
๒. จิ ต ตปจ จยอุตุชรู ป จิ ต ตป จ จยอุตุช รู ปมีพฤติ การณเป น ไป
เชนเดียวกับจิตตชรูปทุกประการ เพียงแตวาการเกิดขึ้นนั้นเหลื่อมกัน ๑
ขณะเทานั้น จิตตปจจัยอุตุชรูปก็ดับลงหมดจนกระทั่งออกจากนิโรธสมาบัติ
๓. อุตุปจจยอุตุชรูป อุตุปจจยอุตุชรูปเปนผลมาจากจิตตปจจยอุตุช
รูป เมื่อจิต ตปจ จยอุตุช รูปมีการเปลี่ย นแปลง อุตุ ปจจยอุตุชรู ปย อมมีการ
เปลี่ยนแปลงตามไปดวย อุตุปจจยชรูปจะลดจํานวนกลาปลงเมื่อถึงภังคะ
ขณะของจิตดวงที่ตอจากฌานจิตดวงที่ ๒ ซึ่งจะลดลงเหลือ ๔๕๙ กลาป ซึ่ง
เปนผลมาจากกัมมปจจยอุตุชรูป และอาหารปจจยอุตุชรูป และจะมีจํานาน
เทานี้เรื่อยไปจนกวาจะออกจากนิโรธสมาบัติ โดยที่กัมมชรูป อาหารชรูป
กัมมปจจยอุตุชรูป อาหารปจจยอุตุชรูปยังคงมีอยูตามเดิม ไมเปลี่ยนแปลง๒๖

๒๖
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริเฉทที่ ๔ วิถีสังคหะ,
พิมพครั้งที่ ๗, (กรุงเทพมหานคร : หจก. ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๔๗), หนา ๑๗๘ - ๑๗๙.
๙๘๔
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ความเปนไปของรูปวิถี ในขณะออกนิโรธสมาบัต.ิ .
๑. จิตตชรูป เมื่อพระอนาคามีบุคคลหรือพระอรหันตบุคคลออก
จากนิโรธสมาบัติ อนาคามิผลจิตหรืออรหัตตผลจิตเกิดขึ้นหนึ่งดวงแลวก็ดับ
ลง ตอจากนั้นจิตก็เปนภวังค ซึ่งภวังคนี้ไมสามารถระบุไดแนชัดวาเกิดมาก
นอยเพียงใด แตจะเปนอยูเพียงชั่วระยะเวลาหนึ่งแลวจิตก็จะขึ้นสูวิถีใน
ลําดับถัดไป ในขณะที่ผลจิตเกิดขึ้นในอุปปาทักขณะ จิตตชรูปก็เกิดขึ้นและ
ตั้งอยูจนครบอายุ คือ ๑๗ กลาป เปนเชนนี้เรื่อยไปทุกขณะของจิต
๒. จิตตปจจยอุตุชรูป จิตตปจจยอุตุชรูปมีพฤติการณ เปนไปเชน
เดียว กับจิตตชรูปทุกประการเพียงแตวาการเกิดขึ้นนั้นเหลื่อมกัน ๑ ขณะ
เทานั้น เมื่อจิตตปจจยอุตุชรูปเกิดขึ้นที่ อุปปาทักขณะของผลจิต จิตตปจจย
อุตุชรูปยอมจะเกิดขึ้นที่ฐีติขณะของผลจิตเชนเดียวกันและเพิ่มจํานวนขึ้นจน
ครบ ๑๗ กลาป และคงมีจํานวนเทานี้เรื่อยไป
๓. อุตุปจจยอุตุชรูป อุตุปจจยอุตุชรูปเปนผลมาจากจิตตปจจยอุตุช
รูป เมื่อจิตตปจจยอุตุชรูปเกิดขึ้นที่ฐีติขณะของผลจิต อุตุปจจยอุตุชรูปยอมมี
การเพิ่มขึ้นที่ภังคักขณะของผลจิต เรื่อยไปจนมีจํานวน ๔๗๖ กลาป และจะ
มีจํานานเทานี้เรื่อยไป จนกวาจะมีการเปลี่ยนแปลงโดยกัมมชรูป อาหารชรูป
กัมมปจจยอุตุชรูป อาหารปจจยอุตุชรูปยังคงมีอยูตามเดิมไมเปลี่ยนแปลง๒๗
การแสดงทัศนะของพระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะนี้ ใชรูปแบบ
คําภี ร อภิ ธั มมั ต ถสั งคหะของพระอนุ รุ ทธาจารย เ ป น ต น แบบ" ๒๘ จํ า แนก
เนื้อหาในการเรียนรูใหเขาใจไดงาย
๒.๓ ทัศนะของพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต)
พระพรหมคุ ณ าภรณ เ ป น พระภิ ก ษุ เ ถระชาวไทยที่ มี ผ ลงานด า น
ศาสนาเปนทีย่ อมรับทั้งในระดับประเทศและระดับสากล ทานไดแสดงทัศนะ
เรื่องนิโรธสมาบัติไวในหนังสือพุทธธรรม ซึ่งไดแสดงขอมูล บทวิเคราะห
๒๗
ดูรายละเอียดใน พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริเฉทที่
๔ วิถีสังคหะ, หนา ๑๗๔ - ๑๗๕.
๒๘
ดูรายละเอียดใน เรื่องเดียวกัน, หนา ง - จ.
๙๘๕
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
เปรี ย บเที ย บเหตุ ก ารณ ใ นพระสู ต รที่ เ กี่ ย วข อ งไว อ ย า งน า สนใจในหลาย
ประเด็น ประเด็นหนึ่งที่เปนขอมูลสําคัญของการศึกษาเรื่องนิโรธสมาบัตินี้มา
จากการตั้ ง ข อ สั ง เกตในการวิ เ คราะห เ หตุ ก ารณ ใ นราตรี ต รั ส รู เ ป น
พระพุทธเจา"๒๙ แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของนิโรธสมาบัติในฐานะเปน
พยานการตรัสรูของพระพุทธเจาดวย "การสัมผัสวิโมกขอันละเอียดของ
บุคคลผูเขานิโรธสมาบัติ"๓๐ เนื่องดวยสภาวะธรรมที่เปนการดับลงของนาม
ขันธ ๔ คือ วิญญาณ สังขาร สัญญา และเวทนานั้น เปนสภาพที่สงบปลอด
จากการรบกวนของกิเลสที่เกิดจากการเบียดเบียนของขันธ ๕ สภาวะนี้จึงดู
เหมือนจะเปนความสุขโดยปริยาย เพราะปราศจากความบีบคั้นทั้งปวง จึง
เปนสภาวะหนึ่งที่ทําใหผูบรรลุธรรมขั้นสูงใชเปนที่พักผอน หรือที่เรียกว า
ทิฏฐธรรมสุขวิหาร สภาวะเชนนี้พระพรหมคุณาภรณกลาววา "มีสภาพ
คลายนิพพานหรือเปนนิพพานในปจจุบัน"๓๑ ของผูที่ยังมีขันธ ๕ อยู เปนสอุ
ปาทิเสสนิพพาน
ในหนังสือพุทธธรรม เนื้อหาบางสวนมีความเกี่ยวของกับเรื่องนิโรธ
สมาบัติและขอบเขตของเนื้อหาที่ไดกลาวไว ๕ ประเด็น คือ
๑. นิโรธสมาบัติในเหตุการณราตรีตรัสรูเปนพระพุทธเจา
๒. สภาวะของนิ โรธสมาบัติ ที่มีสภาพแห งความดั บลงของสังขาร
ธรรม คลายกับพระนิพพาน
๓. การบรรลุธรรมที่เกี่ยวของกับนิโรธสมาบัติ ในกรณีพระสารีบุตร
๔. พระอรหันตประเภทตางๆ ที่บรรลุอรหัตผลตางกัน และพระ
อรหันตบางจําพวกมีความสัมพันธกับนิโรธสมาบัติ
๕. การใชนิโรธสมาบัติเปนที่พักผอนอันประเสริฐ คือ ทิฏฐสุขวิหาร

๒๙
พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับขยายความ, พิมพครั้งที่
๑๑, (กรุงเทพมหานคร : ๒๕๔๖), หนา ๓๓๒ - ๓๔๒.
๓๐
พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับขยายความ, หนา ๒๘๙.
๓๑
เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๑๖.
๙๘๖
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
การแสดงทัศนะของพระพรหมคุณาภรณตอประเด็นเหลานี้ลวนเปน
เรื่องเกี่ยวกับหลักธรรมจากพุทธพจนทั้งสิ้น ผูวิจัยไมพบการอางอิงถึงมติของ
ความขัดแยงที่เปนความเห็นตางเนื่องจากการตีความที่คลาดเคลื่อนของภิกษุ
ฝายธรรมวาทีและฝายอธรรมวาที อยางกรณีที่มีปรากฏอยูในคัมภีรยุคของ
การจัดทําตติยสังคายนาเลย เนื้อหาหลักธรรมที่เกี่ยวกับเรื่องนิโรธสมาบัตินี้
พระพรหมคุณาภรณจะแสดงเพียงสวนที่มีปรากฏในชั้นของพุทธพจนและ
สาวกพจนเปนขอมูลหลักเทานั้น
๒.๔ ทัศนะของเสถียร โพธินันทะ
เสถียร โพธินันทะ เปนนักวิชาการพระพุทธศาสนาที่มีความชํานาญ
ในดานประวัติศาสตรของพระพุทธศาสนา ไดวิพากษประเด็นปญหาเกี่ยวกับ
เหตุการณในพระพุทธศาสนาเรื่องสภาวธรรมของนิโรธสมาบัติก็เปนประเด็น
หนึ่งทีเ่ กิดเปนปญหา และไดยุติลงในชวงสังคายนาครั้งที่ ๓
เสถียร โพธินันทะไดแสดงทัศนะวิพากษโดยอาศัยฐานขอมูลจาก
ฝายเถรวาทและฝายมหายาน ในหนังสือ "ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา"
แยกเปนกรณี ดังนี้
๑) กรณีเห็นขัดแยงเรื่อง "นิโรธสมาบัติเปนสังขตธรรมหรือไม?" มี
ทัศนะที่ไมตรงกันของฝายเถรวาทกับฝายอันธกะ ที่มีขอความระบุวา
นิโรธสมาบัติก็เปนอสังขตะ "นิโรธสมาปตฺติ อสงฺขตาติ" แตมติฝาย
เถรวาทไมยอมรับวา นิโรธสมาบัติเปนอสังขตะ
นิโรธสมาบัตินี้มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา สัญญาเวทยิตนิโรธ คือ
เป น สมาบั ติ ซึ่ง ดั บ สั ญ ญาและเวทนาอย า งเด็ ด ขาด สู งกว า เนวสั ญญานา
สัญญายตนสมาบัติ ซึ่งดับสัญญาและเวทนาไมสนิท นิโรธสมาบัติเปนสมาบัติ
พิเศษมีเฉพาะในพระพุทธศาสนาเทานั้น ผูที่จะเขาสมาบัตินี้ไดจะตองเปน
พระอนาคามีและพระอรหั นตประเภทอุภโตภาควิมุต ติ พรั่งพร อมดว ย
อภิญญา ๖ จึงเขาได พระอรหันตประเภทปญญาวิมุตติหาเขาไดไม ทั้งนี้
เพราะการเขานิโรธสมาบัติตองเขารูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ ตามลําดับ พรอม
กับ มีวิ ปส สนาญาณพิจ ารณากํากับ ทุกฌานไป เมื่อออกจากเนวสัญญานา
๙๘๗
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
สัญญายตนฌานแลวก็เขานิโรธสมาบัติ จิตถึงธรรมชาติความดับสนิท เจตสิก
มีเวทนา สัญญาเปนตนก็ดับ คงเหลือแตอายุ รูปชีวิตนทรีย และไออุนเทานั้น
ที่ตางจากคนตาย นอกนั้นเปนดุจคนตายทุกประการ ฝายเถรวาทถือวา
นิโรธสมาบัตินี้ดับสนิทไมมีการสืบสันตติ จึงบัญญัติไมไดวาเปนสังขตะ๓๒
๒) กรณีทเี่ ห็นขัดแยงกันประเด็น "นิโรธสมาบัติและอสัญญาสมาบัติ
เปนสภาวะหนึ่งที่เปนอยูอยางเอกเทศ" ของฝายสรวาสติวาทิน มีขอความ
ระบุวา
จิตตวิปยุตตสังขารธรรม ๑๔ ไดแกปตติ อปตติ สภาคตา ชีวิตินทรีย
ชาติ ฐิติ ชรา อนิจจา อสัญญีผล อสัญญีสมาบัติ นิโรธสมาบัติ นามกาย
พยัญชนกาย นิกายสรวาสติวาทิน ไดประดิษฐสภาพซึ่งเปนสังขาร แตก็ไมใช
จิตสัมปยุตต ทั้งไมใชรูปธรรม ขึ้น เรียกวา จิตตวิปยุตตสังขาร เชน สภาวะที่
ไดเรียกวาปตติ ในบาลีหรือเรียกวา ปฺราปฺติ ในสํสกฤต คือ สภาพที่เราได
ปญญา ไดกุศล ไดอกุศล ฯลฯ สภาพที่ไดจึงตองมีอยูโดยเอกเทศอันหนึ่ง
สวนสภาพใดที่ตรงกันขามกับสภาพได สภาพนั้นเรียกวา อปตติ (อปฺราปฺติ)
ฝายสรวาทติวาทินบอกวา มีสภาวะเอกเทศตางหากจากจิตใจและวัตถุ๓๓
๓) กรณีที่เห็นขัดแยงกันประเด็นวา "นิโรธสมาบัติและอสัญญา
สมาบัติปราศจากจิต" ระหวางฝายเถรวาทและฝายสรวาสติวาทิน มีขอความ
ระบุวา ถือวาในนิโรธสมาบัติและอสัญญีสมาบัติปราศจากจิต ฝายสรวาสติ
วาทินแถลงเหตุผลเชนเดียวกับฝายเถรวาท วา สมาบัติทั้งสองไมมีจิตเปนที่
ดับแหงเวทนาและสัญญา ตางกันแตฝายอสัญญีสมาบัติเปนของฝายปุถุชน
นิโรธสมาบัติเปนของพระอริยเจา ฝายอสัญญีสมาบัติยังเปนสาสวธรรม เปน
ธรรมเนื่องดวยภพ สวนนิโรธสมาบัติตรงกันขาม๓๔
๔) กรณีที่เห็นขัดแยงกันประเด็นวา "นิโรธสมาบัติและอสัญญา
สมาบัติวายังมีจิตอยู" ระหวางฝายเสาตรันติกวาทิน มีขอความระบุวา

๓๒
เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา, หนา ๒๗๘.
๓๓
เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๑๔.
๓๔
อางแลว, หนา ๓๓๘.
๙๘๘
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ถือวาในนิโรธสมาบัติและอสัญญีสมาบัติก็มีจิตอยู ทั้งนี้เพราะเหตุผล
วา ไมมีสมาบัติใดที่ปราศจากจิตแลวเรียกสมาบัติ เชนเดียวกันกับไมมีสัตวใน
ภพภูมิใดที่ปราศจากรูป แลวเรียกวาสัตว อนึ่ง ถาถือตามมติของฝายเถรวาท
และฝายสรวาสติวาทินที่วา สมาบัติทั้ง ๒ ปราศจากจิตเลยไซร เวลาออก
จากสมาบัติ จิตปรากฏขึ้นจิตดวงนี้มีรากฐานมาจากไหน หรือวาจูๆ ก็โผล
ขึ้นมาเฉยๆ อยางไมมีปมีขลุย และในระหวางที่อยูในสมาบัติ ผลกรรมวิบาก
ตางๆ ที่ทําๆ ไวแตปางกอนๆ ไปอยูเสีย ณ ที่ใด โดยเหตุผลดังกลาวมาจึง
ตองถือวาในสมาบัติทั้ง ๒ จิตหาดับไม หากแตไมสําแดงพฤตติเทานั้น สิ่งที่
ดับไปก็เพียงเวทนา สัญญา สังขารเทานั้นเอง อนึ่ง ถาปราศจากจิตเสีย
ชีวิติ นทรียก็พึงถึงกาลสลายไปดว ย กลายเป นมรณะไป จักชื่อว าอยูใน
สมาบัติไมได คณาจารยเสาตฺรนฺติกวาทินรุนตอมา เชน พระศิริลัพธะถือวา
ในนิโรธสมาบัติยังมีพฤตติเปนไปอยู ในคัมภีรมหายานกรรมสิทธิ์ศาสตรของ
ฝายมหายานปรากฏขอความตอนหนึ่งวา จิตที่ยังมีพฤตติในนิโรธสมาบัติ คือ
มโนวิญญาณนั่นเอง คณาจารยฝายเสาตฺรนฺติกอีกรูปหนึ่ง ชื่อ พระสถวีระรา
ระผูเ ปนสานุศิษยของพระศิริลัพธะอรรถาธิบ ายว า ในนิ โรธสมาบัตินั้ น
มนายตนะไมวิบัติทําลาย ฉะนั้น จึงยังมีมโนวิยญาณไดแตเนื่องดวยขาด
ปจจัยจึงไมมีผัสสะ มติฝายเถรวาทและ สรวาสติวาทินคัดคานขอนี้ เพราะ
ทั้ง ๒ นิกายถือวา "ในนิโรธสมาบัติและอสัญญีสมาบัติ กายสังขารดับ วจี
สังขารดับ จิตตสังขารดับ ฉะนั้น จิตจึงตองดับไปดวย ชั่วกาลแหงสมาบัติ
และ จิตดวงสุดทายกอนเขาสมาบัติยอมเปนอนันตรปจจัยแกจิตดวงแรก
ที่ออกจากสมาบัตินั้นได"๓๕
๕) กรณีที่เห็นขัดแยงกันในประเด็นวา "นิโรธสมาบัติถึงความไมมีรูป
ชีวิตินทรีย" ของฝายสมิติยะมีขอความระบุวา
"นตฺถิ รูปชีวิตนฺทริยนฺติ ถือวาไมมีรูปชีวิตินทรีย" ฝายสมิติยะกลาว
วา รูปชีวิตินทรียไมมี มีแตความธํารงอยูแหงรูปธรรม แตความธํารงอยูแหง
รูปธรรมไมควรเรียกว า เปน รูปชีวิติ นทรีย แตมติฝายเถรวาทกลาววา

๓๕
เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา,หนา ๓๕๕ - ๓๕๖.
๙๘๙
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ชีวิตินทรียมี ๒ ชนิด คือ นามชีวิตินทรีย ๑ และรูปชีวิตินทรีย ๑ อายุความ
ตั้งอยู ความเจริญ การบํารุง การเคลื่อนไหว การเปนไปและการรักษามีแก
รูปธรรมทั้งหลาย ฉะนั้น จึงตองมีรูปชีวิตินทรีย อนึ่ง ผูเขาสัญญาเวทยิตนิโรธ
สมาบัติ นามธาตุยอมดับไป นามชีวิตินทรียก็ไมมี แตรูปกายก็หาไดแตก
ทําลายไปไม ทั้งนี้ เพราะมีรูปชีวิตินทรียรักษาหลอเลี้ยงอยู อสัญญีพรหมไมมี
จิตก็มีรูปชีวิตินทรียหลออยู ในคัมภีรอภิธรรมฎีกาแสดงอรรถไววา ชีวิตรูป
คือ รูปธรรมที่รักษาสหชาติของรูปในรางกายใหทรงอยู ฝายสมีติยะแยงวา
ถาชีวิตินทรียมี ๒ คือ ฝายนามและฝายรูปดังนี้ไซร บุคคลก็ตองตายดวย
มรณะ ๒ อยางซิ ฝายเถรวาทรับโดยปริยายวา เปนเชนนั้นจริง ในเรื่อนี้ เมื่อ
บุคคลปลงรูปแตกนามดับ ในบันทึกของจีนกลาววา ฝายสมิติยะก็ถือวามีรูป
ชีวิตินทรียเหมือนกัน ธํารงอยูชั่วระยะแหงอายุ ถือวาวิญญัติก็เปนสีล
(วิฺญตฺติ สีลนฺติ) แตฝายเถรวาทไมเห็นดวยเพราะถือวาวิญญัติเปนเพียง
อาการทางรางกายเทานั้น เจตนางดเวนจากบาปตางหากที่เปนตัวศีล๓๖
เสถียร โพธินันทะ ไดชี้ใหเห็นอยางชัดเจนจากคําภีรทีปวังสะของ
การไมนําพาไปซึ่งอรรถกถา "เรื่องการนําเอาไปเพียงเงาแหงพยัญชนะ ความ
เขาใจไมทั่วถึงเนื้อความแหงอรรถโดยปริยาย"๓๗ ตลอดชวงเวลากวารอยป
ดังกลาวกอนที่จะเกิดตติยสังคายนาในการชําระสิ่งที่เปนหลักคําสอนของ
ลัทธิอื่นที่ปนเปอนมาในพระพุทธศาสนานั้น เสถียร โพธินันทะ ไดชี้ใหเห็นถึง
ความเห็นที่แตกตางของภิกษุทั้งสองฝาย คือ ฝายธรรมวาทีและฝายอธรรม
วาที ซึ่งประกอบดวยกลุมภิกษุหลายๆ กลุมที่มีปรากฏในขณะนั้น คือ
๑. นิ ก ายอั น ธกะซึ่ ง มี ทิ ฏ ฐิ สํ า คั ญ ของกลุ ม นี้ ๒๒ ข อ ที่ มี ค วาม
แตกตางจากฝายเถรวาท และประเด็นที่เกี่ยวของกับเรื่องนิโรธสมาบัติ คือ
"นิโรธสมาบัติเปนอสังขตธรรม"๓๘

๓๖
เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา, หนา ๓๖๙.
๓๗
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๒๗.
๓๘
เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา, หนา ๒๗๘.
๙๙๐
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๒. นิกายสรวาสติวาทิน ไดประดิษฐศัพทเฉพาะขึ้นเพื่ออธิบาย
ลักษณะของสภาวะสังขารที่ปราศจากจิต ไดแก อสัญญีผล อสัญญีสมาบัติ
นิโรธสมาบัติ นามกาย พยัญชนะกาย โดยเรียกสภาวะเหลานี้วา "จิตตวิปป
ยุ ต ตสั ง ขาร(สภาพที่ ป ราศจากจิ ต แต ยั ง คงมี รู ป ที่ ยั ง เป น ไปอยู ) " และ มี
ความเห็นสอดคลองกับมติของฝายเถรวาทวา ในนิโรธสมาบัติและอสัญญี
สมาบัติ ปราศจากจิตซึ่งเปนที่ดับลงของสัญญาและเวทนา แตมีการจําแนก
กลุมบุคคลผูที่สามารถเขาสมาบัติไดวาเปนใครบาง เพิ่มเติมเขามา"๓๙
๓. นิกายสมิติยะ ไมเห็นดวยกับมติของฝายเถรวาทในประเด็นเรื่อง
ชีวิตินทรีย ที่ฝายเถรวาทแยกออกเปน รูปชีวิตินทรียและนามชีวิตินทรีย
เสถียร โพธินันทะระบุถึง "เหตุแหงความวุนวายและปญหาที่เกิดขึ้น
ในคัมภีรทีปวังสะ ซึง่ ประเด็นปญหาทั้งหมดเหลานี้ ลวนแสดงใหเห็นถึงความ
ไมปรองดองกัน จนกลายเปนความเห็นตางที่พัฒนาไปเปนความขัดแยงกัน
ในที่สุด ซึ่งก็รวมถึงความเห็นตางในเรื่องนิโรธสมาบัติอยางที่ไดเกิดขึ้นและมี
ปรากฏอยูในคัมภีรทางพระพุทธศาสนา"๔๐

๓. หลักธรรมที่เกี่ยวของกับนิโรธสมาบัติ
๓.๑ สัญญาเวทยิตนิโรธ
สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เรียกสั้นๆ กันวา นิโรธสมาบัติ ซึ่งเมื่อ
นับรวมกับฌานทั้ง ๘ ก็เรียกวาเปน อนุปุพพวิหาร ธรรมเปนเครื่องอยูโดย
ลําดับ, ธรรมเครื่องอยูที่ประณีต ตอกันไปโดยลําดับ อันมี ๙ คือ รูปฌาน ๔
อรูปฌาน ๔ และสัญญาเวทยิตนิโรธ เปนองคที่ ๙ ที่ประณีตสูงสุด
สั ญญาเวทยิ ต นิ โ รธสมาบั ติ นี้ มาจากคําว า สัญญา (ความจํ าได ,
ความหมายรู ) เวทนา(การเสวยอารมณ) นิ โ รธ(การดั บ ) และสมาบัติ
(ภาวะสงบประณีต) ทั้ง ๔ คําสมาสรวมกันเปน สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ

๓๙
อางแลว, หนา ๓๑๔. และ หนา ๓๓๘.
๔๐
อางแลว, หนา ๑๒๗.
๙๙๑
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ที่หมายถึง สภาวะสงบประณีตที่เกิดจากสัญญาและเวทนาดับไป๔๑ พระสารี
บุตรไดอธิบายในไว ปรากฏในหลายสูตร เชน
๑) กลหวิวาทสูตร ระบุวา "บุคคลไมเปนผูมีสัญญาโดยสัญญา
ปกติ ไมเปนผูมีสัญญาโดยสัญญาผิดปกติ เปนผูไมมีสัญญาก็มิใช ปราศจาก
สัญญาก็มิใช เมื่อบุคคลดําเนินอยางนี้รูปจึงไมมี เพราะสวนแหงธรรมเปน
เครื่องเนิ่นชามีตนเหตุมาจากสัญญา"๔๒
๒) กลหวิวาทสุตตนิทเทส ระบุวา เปนผูไมมีสัญญาก็มิใช-
ปราศจากสัญญาก็มิใช อธิบายวา คนเหลาใดเขานิโรธสมาบัติไดแลว และ
เปนอสัญญีสัตวคนเหลานั้น ตรัสเรียกวาผูไมมีสัญญาบุคคลนั้นมิใชผูเขานิโรธ
สมาบัติไดแลว มิไดเปนอสัญญีสัตว คนเหลาใดไดอรูปสมาบัติ ๔ คนเหลานั้น
ตรัสเรียกวาผูปราศจากสัญญาบุคคลนั้นมิใชผูไดอรูปสมาบัติ ๔ รวมความวา
เปนผูไมมีสัญญาก็มิใชปราศจากสัญญาก็มิใช๔๓
คัมภีรปญจปกรณอรรถกถา๔๔ระบุวา บัดนี้ ชื่อวาเรื่องสัญญาเวทยิต
นิโรธสมาบัติ คือ สมาบัติที่ดับสัญญาและเวทนา ในเรื่องนั้น ธรรมอะไรๆ ชื่อ
วาสั ญญาเวทยิ ต นิ โรธสมาบั ติ ห ามีไม มีแต ความดั บ ขัน ธทั้ง ๔ เทานั้ น
เพราะฉะนั้น สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัตินั้นจึงไมใชโลกีย ไมใชโลกุตตระ

๔๑
ดูรายละเอียดใน อภิ.ปฺจ.อ. (ไทย) ๒๓/๗๓๕/๒๘๒.
๔๒
ขุ.สุ. (ไทย) ๒๕/๘๘๑/๗๑๒.
๔๓
ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๑๐๙/๓๓๑.
๔๔
คัมภีรปญจปกรณอรรถกถา พระพุทธโฆสเถระแปลจาก คัมภีรปจจรียอรรถ
กถา เรียบเรียงแลวรวบรวมจัดใวเปนคัมภีรอรรถกถาพระอภิธรรมปฏก ชื่อวา คัมภีร
ปรมัตถทีปนี อธิบายเนื้อความในพระอภิธรรมปฏก ๕ คัมภีร คือ ๑. คัมภีรธาตุกถา ๒.
คัมภีรปุคคลบัญญัติ ๓. คัมภีรกถาวัตถุ ๔. คัมภีรยมก ๕. คัมภีรปฏฐาน,
ดูรายละเอียดใน พระพุทธโฆสเถระ, วิสุทธิมรรค, หนา [๑๑],
สมเด็จพระวันรัต วัดพระเชตุพน ในรัชกาลที่ ๑, สังคติยวงศ,พระปริยัติธรรม
ธาดา (แพ ตาลลักษมณ) แปล, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด
ศิวพร, ๒๕๒๑), หนา ๑๐๙,
๙๙๒
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ความเห็นดุจลัทธินิกายเหตุวาทวา สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติไมเปนโลกีย
เพราะเปนโลกุตตระ นั่นแหละผิด
บัดนี้ ชื่อวาเรื่องสมาบัติที่ใหเขาถึงภพอสัญญสัตว ในเรื่องนั้นภาวนา
ที่เปนไปดวยอํานาจแหงสัญญาวิราคะ เปนอสัญญาสมาบัติบาง เปนนิโรธ
สมาบัติบาง ชื่อวาสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เพราะฉะนั้น สัญญาเวทยิต
นิโรธสมาบัติจึงมี ๒ คือ เปนโลกิยะและโลกุตตระ บรรดาสมาบัติเหลานั้น
สมาบัติที่เปนเหตุใหเขาถึงอสัญญสัตวของปุถุชนเปนโลกิยะที่เปนของพระ
อริยะทั้งหลายเปนโลกุตตระ แตสมาบัติที่เปนของพระอริยะนั้นยอมไมเปน
สมาบัติที่เปนเหตุใหเขาถึงความเปนอสัญญสัตว ก็ชนเหลาใดมีความเห็นผิด
ดุจลัทธิของนิกายเหตุวาททั้งหลายวาสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติเปนสมาบัติ
ที่ใหเขาถึงความเปนอสัญญสัตวโดยไมแปลกกัน เพราะไมทําวิภาคอยางนี"้ ๔๕
หนังสือพุทธธรรมระบุวา สัญญาเวทยิตนิโรธ เปนผลของสมถะและ
วิปสสนารวมกัน เฉพาะอยางยิ่งตองอาศัยกําลังสมถะที่บริบูรณคือ สมาธิ ที่
บริสุทธิ์ มีกําลังเต็มที่ ไมมีเชื้อกามฉันทะที่จะรบกวนได กามฉันทะก็คือ กาม
ราคะ เปนสังโยชนที่พระอนาคามีขึ้นไปจึงจะละได ดังนั้น จึงมีแต พระ
อนาคามีและพระอรหันตผูไดสมาบัติ ๘ มากอนแลวเทานั้นที่จะเขาสัญญา
เวทยิตนิโรธได๔๖ และ"นิโรธสมาบัติ เปนภาวะที่สัญญาและเวทนาหยุดการ
ปฏิบัติหนาที่ และเปนความสุขขั้นสูงสุด"๔๗ . . "สัญญาเวทยิตนิโรธจัดไดวา
เปนสมาบัติ จําพวกเสวยผล มิใชประเภทสําหรับใชทํากิจ"๔๘
สรุป สัญญาเวทยิตนิโรธ หมายถึง การดับลงของสัญญา คือ สภาวะ
ความกําหนดไดหมายรู และการดับลงของเวทนา คือ ความรูสึกเสวยอารมณ

๔๕
อภิ.ปฺจ.อ. (บาลี) --/๗๒๘-๗๓๕/๒๘๐-๒๘๒.
๔๖
พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับขยายความ, พิมพครั้งที่
๑๑, (กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖), หนา ๓๓๓.
๔๗
เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๖๘.
๔๘
อางแลว, หนา ๓๖๘.
๙๙๓
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ของผูเขาสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ซึ่ง จิตและเจตสิกของผูเขาสมาบัตินี้จะ
ดับลงตราบเทาที่อยูในสมาบัติ เปนผูไมมีจิตโดยสมาบัติที่ดับ
สัญญาและเวทนาสามารถจําแนกออกไดเปน ๒ ชนิดตามคุณสมบัติ
ของบุคคล คือ
๑.สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ หมายถึง การดับสัญญาและเวทนา
ของพระอริยบุคคลผูที่มีคุณสมบัติครบตามเงื่อนไข โดยการใชกําลัง ๒ สวน
คือ กําลังของสมาธิและกําลังของวิปสสนาทํางานรวมกันแบบบูรณาการจน
บรรลุความดับของจิตสังขาร เรียกวา การเขานิโรธสมาบัติ [ศัพทนี้ใชเฉพาะ
กรณีที่เ ป น การกล าวถึงบุ คคลผู ที่เ ขาสั ญญาเวทยิ ต นิ โ รธสมาบั ติ ที่มีความ
เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนาเทานั้น และภายใตเงื่อนไขในขอนี้ "ศัพทสัญญา
เวทยิตนิโรธสมาบัติจึงเปนคําไวพจนกับศัพทนิโรธสมาบัติ"๔๙]
๒. สัญญาสมาบัติ หมายถึง การดับสัญญาและเวทนาของปุถุชน
(กลุมคนนอกศาสนา) ที่ทําการดับสัญญาและเวทนาโดยการใชกําลังของ
สมาธิเพียงอยางเดียว ซึ่งสามารถพบไดกับคนนอกศาสนาบางพวกที่บําเพ็ญ
สมาธิจนบรรลุจตุตถฌาน เพราะเปนผูเห็นโทษของการมีสัญญาและเกิด
ความหลงผิดเนื่องจากปญญาไมรูชัดตามความเปนจริงจึงบริกรรมเพงการดับ
สัญญา การเขาถึงสมาบัติชนิดนี้ของปุถุชนเรียกวาการเขาอสัญญาสมาบัติ
ปุถุชนผูบรรลุอสัญญาสมาบัติ ถาอํานาจของฌานยังไมเสื่อมไป เมื่อสิ้นชีวิต
จากโลกนี้ก็จะไปเกิดในอสัญญสัตตาภูมิ เปนพรหมภูมิชั้นจตุตถฌาน
การจําแนกสัญญาเวทยิตนิโรธออกเปน ๒ ชนิดนั้น มีปรากฏตั้งแต
ในสมัยพุทธกาลแลว ดังปรากฏขอความในกลหวิวาทสูตร ที่พระพุทธเจาทรง
แสดงธรรมเกี่ยวกับสัญญาที่ปกติและสัญญาที่ผิดปกติ ในเรื่องนี้พระพุทธเจา
ทรงแยกสมาบัติที่มีสัญญาผิดปรกติไวตางหากจากนิโรธสมาบัติ แตเปน
สมาบัติที่มีการดับลงของสัญญาและเวทนาเชนเดียวกัน และเรื่องนี้พระสารี

๔๙
ดูรายละเอียดใน พระธรรมปฏก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน
ฉบับประมวลศัพท,พิมพครั้งที่ ๑๑, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, ๒๕๔๖), หนา ๒๖๙.
๙๙๔
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
บุต รได อธิ บายปรากฎในกลหวิ วาทสุ ต ตนิ ทเทส ความแตกต างจึ งอยู ที่ว า
ความดับสัญญาและเวทนานั้น เปนของพระอริยะหรือเปนของปุถุชน และ
เปนเหตุผลของสัญญาเวทยิตนิโรธวา เปนความดับลงของสัญญาและเวทนา
ซึ่งมี ๒ อยาง คือ นิโรธสมาบัติ และอสัญญาสมาบัติ
เรื่องสมาบัติที่ใหเขาถึงภพอสัญญสัตวนี้ ภาวนาที่เปนไปดวยอํานาจ
แหงสัญญาวิราคะ เปนอสัญญาสมาบัติบาง เปนนิโรธสมาบัติบาง จึงชื่อวา
สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เพราะฉะนั้น สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติจึงมี ๒
คือ เปนโลกิยะอยางหนึ่ง และโลกุตตระอยางหนึ่ง
สมาบัติที่เปนเหตุใหเขาถึงอสัญญสัตวของปุถุชน เปนโลกิยสมาบัติ
สวนที่เปนของพระอริยะทั้งหลายเปนโลกุตตระ และสมาบัติที่เปนของพระ
อริยะนั้นยอมไมเปนสมาบัติที่เปนเหตุใหเขาถึงความเปนอสัญญสัตว คือ ชน
เหลาใดมีความเห็นผิดวา สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติเปนสมาบัติที่ใหเขาถึง
ความเปนอสัญญสัตว โดยไมแปลกกัน เพราะไมไดจําแนกรายละเอียดอยาง
นี้๕๐ การแสดงอรรถาธิบายดังกลาวนั้ นไดปรากฏขึ้นในชวงหลังสังคายนา
ครั้งที่ ๓ เพราะเกิดความเขาใจในพระธรรมวินัยผิดเพี้ยนขึ้น เนื่องจากมี
นั ก บวชนอกศาสนาบางกลุ ม ได ป ลอมบวชเข า มา เพื่ อ ประโยชน ใ นลาภ
สักการะ และเพื่ออาศัยพระศาสนาในการยังชีพ นักบวชเหลานี้ไมไดละทิ้ง
ลัทธิความเชื่อเดิมของตน ทั้งยังไมไดศึกษาเรียนรูหลักคําสอนที่ถูกตอง ใช
ความประพฤติเดิมๆ ที่ตนคุนเคยแลวเที่ยวประกาศวาพระพุทธเจาทรงสอน
อยางนี้ เกิดความเสื่อมขึ้นแกพุทธศาสนา โดยเฉพาะประเด็นเรื่องนิโรธ
สมาบัตนิ ี้ เพราะ"ภิกษุบางพวกมีความเขาใจเพียงแคความหมายตามรูปศัพท
จึ ง เป น ป ญ หาภายในคณะสงฆ ที่ สั่ ง สมความเห็ น ที่ แ ตกต า งกั น มาอย า ง
ยาวนานในประวัติศาสตร"๕๑ ดังนี้ จึงเปนเหตุผลใหหยิบยกประเด็นปญหานี้
มาทําการอธิบายใหเกิดความชัดเจนถูกตอง เพื่อใหปญหายุติลง ในการสัง

๕๐
ดูรายละเอียดในอภิ.ปฺจ.อ. (บาลี) --/๗๓๕/๒๘๒.
๕๑
เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา, หนา ๑๒๗-๑๓๑.
๙๙๕
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
คายนครั้งที่ ๓ [กอนที่ พระพุทธโฆสเถระจะแปลคัมภีรอรรถกถาแลว
รวบรวมใวเปนคัมภีรปรมัตถทีปนีอรรถกถา (ปญจปกรณอรรถกถา)]
๓.๒ อภิสัญญานิโรธ
อภิสัญญานิโรธปรากฏในโปฏฐปาทสูตรเพียงแหงเดียวพระพุทธเจา
ทรงแสดงแกเหลาปริพาชกตาง ที่แสดงทัศนะของตนในเรื่องอภิสัญญานิโรธ
ตามพื้นฐานความรู ความเขาใจของแตละกลุม ซึ่งมีอยู ๔ ทัศนะ คือ
(๑) สมณพรามหณบางพวกเสนอวา "สัญญาของคนไมมีเหตุไมมี
ปจจัยเกิดดับไปเองเวลาที่เกิดสัญญาคนก็มีความจํา เมื่อสัญญาดับคนก็จํา
อะไรไมได"
(๒) สมณพรามหณบางพวกเสนอวา "สัญญาเปนอัตตา (ตัวตน) ของ
คนที่เวียนเขาเวียนออก เวลาที่สัญญาเปนอัตตาเวียนเขาคนก็มีความจํา เมื่อ
สัญญาเปนอัตตาเวียนออกคนก็จําอะไรไมได"
(๓) สมณพรามหณบางพวกเสนอวา"มีสมณพราหมณบางพวกมีฤทธิ์
มาก มีอานุภาพมากสามารถบันดาลสัญญาของคนใหเขาไปหรือออกไปได"
(๔) สมณพรามหณบางพวกเสนอวา"เทวดาผูมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพ
มาก สามารถบันดาลสัญญาของคนใหเขาไปหรือออกไปได"๕๒
เนื้อความของอภิสัญญานิโรธ๕๓ ในบริบทที่โปฏฐปริพาชกทูลถาม
พระพุทธเจานั้นหมายถึง อาการการดับลงของสัญญา เพราะจากทัศนะของ
เหลาเดียรถียที่มีการถกแถลงคางๆ กันไว ทั้ง ๔ ประเด็นนั้นเปนลักษณะของ
อาการสิ้นสัญญาของบุคคลทั้งสิ้น แตทวาสภาวะแหงความสิ้นสัญญานั้น
เปนไปตามพื้นฐานความรูที่แตกตางกัน ดังที่พระพุทธเจาทรงชี้แจงไวในพระ
สูตรนี้วา ทัศนะของปริพาชกแตละกลุมที่เขาใจในเรื่องนี้แตกตางกัน เพราะ
เหตุของการสนทนาที่หาขอสรุปรวมกันไมไดนี้เอง จึงไดมาทูลถามปญหานั้น
กับพระพุทธเจา และพระพุทธเจาก็ไดแสดงธรรมในประเด็นนั้นอยางแจม
แจงใหปรากฏแกผูทูลถามปญหา สาระสําคัญจากทัศนะของการถกแถลง
๕๒
ดูรายละเอียดใน ที.สี. (ไทย) ๙/๔๐๖/๑๗๕.
๕๓
ดูรายละเอียดใน ที.สี.อ. (บาลี) ๑/๔๑๔/๓๐๘.
๙๙๖
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
รวมกันระหวางหมูปริพาชกทําใหเขาใจวา สัญญาที่กลาวถึงนั้น คือ สภาวะ
ความกําหนดไดหมายรู ซึ่งเปนธรรมชาติอยางหนึ่งของจิตที่ทําหนาที่ในการ
จัดเก็บและทรงจํารายละเอียดของขอมูลที่ไดรับรูมา ประเด็นการถกแถลง
เรื่องอภิสัญญานิโรธนี้ จึงเปนประเด็นที่ถกเถียงถึงการดับลงของสภาพความ
ไมมีปรากฏของความกําหนดไดหมายรูข องจิต
เนื้อความในพระสูตรเชื่อมโยงมาถึงการเจริญฌานของเดียรถียดวย
ความเห็ น โทษของความเป นไปในจิ ต จึงเจริญความดั บ ของจิ ตแล ว ไปเกิด
ในอสัญญสัตตาภูมิ"๕๔ พระสูตรเรื่องนี้จะตองแยกกออกเปน ๒ ประเด็น คือ
๑.การดั บ ลงของสั ญ ญาตามความเข า ใจของบุ ค คลภายนอก
พระพุทธศาสนาที่มี พื้นฐานความรูที่แตกตางกัน ซึ่งเปนความเเขาใจตาม
สํานวนโวหารและรูปพยัญชนะวาอภิสัญญานิโรธเปนสภาวะของการหมดสิ้น
ลงของสัญญา ซึ่งเปนความหลงผิดเพราะไมเขาใจสภาพธรรมตามความเปน
จริงเนื่ องจากมีคนนอกศาสนาบางกลุมสามารถเขาถึงสภาวะนั้ นด วยการ
บรรลุ อสัญญาสมาบัติ เพราะดวยอํานาจของสมาบัติเมื่อเปนผูไมเสื่อมจาก
ฌานในขณะสิ้นชีวิตจากโลกนี้ก็จะไปเกิดเปนอสัญญีพรหม
๒.การดั บ ลงของสั ญ ญาและเวทนาของพระอนาคามี แ ละพระ
อรหันตผูมีความชํานาญในสมาบัติ ๘ ซึ่งเปนความรูอยางอริยปญญาในพุทธ
ศาสนาเทานั้น จากพระสูตรนี้ถึงแมวาเหลานักบวชนอกศาสนาเหลานั้นจะมี
ความเขาใจตามมติ อันเปนความรูในหมูคณะเดิมของตนมาอยางไรก็ตาม
เมื่อมาเฝาทูลถามปญหากับพระพุทธเจาเพื่อใหทรงพยากรณปญหานั้นแลว
ยอมจะตองอนุวัตคลอยตามสิ่งที่พระพุทธเจาแสดงทั้งสิ้น
ทัศนะที่แตกตางของเหลาปริพาชกที่ไดนํามาเปนประเด็นปญหาใน
การถกเถียงกันเรื่อง อภิสัญญานิโรธ (ความสิ้นไปของสัญญา) ทั้ง ๔ ทัศนะ
ดังกลาวนั้นมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับเรื่องทิฏฐิ ๖๒ ที่พระพุทธเจาทรง
แสดงไวอยางละเอียดเกี่ยวสาเหตุที่เหลาปริพาชกเหลานี้ เขาใจเนื้อความ

๕๔
ดูรายละเอียดใน ที.สี.อ. (บาลี) ๑/๔๑๑/๓๐๔ - ๓๐๖.
๙๙๗
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ตามทัศนะของตนนั้น วามีมูลเหตุมาจากสิ่งใด ปรากฏในพรหมชาลสูตร
ทิฏฐิ ๖๒ สัสสตวาทะ ๔"๕๕
๓.๓ สัญญาเวทยิตนิโรธธาตุ
สัญญาเวทยิต นิโ รธธาตุป รากฏอยูในสัตตุ ธาตุ สูต รเพียงแหงเดีย ว
พระพุทธเจาทรงแสดงธาตุ ๗ ที่เกี่ยวของกับสัญญาเวทยิตนิโรธธาตุ วา
"ขาแตพระองคผูเจริญ อาภาธาตุ สุภธาตุ อากาสานัญจายตนธาตุ
วิญญาณัญจายตนธาตุ อากิญจัญญายตนธาตุ เนวสัญญานาสัญญายตนธาตุ
และสัญญาเวทยิตนิโรธธาตุ ธาตุเหลานี้อาศัยอะไรจึงปรากฏได""ภิกษุ อาภา
ธาตุอาศัยความมืดจึงปรากฏได สุภธาตุอาศัยความไมงามจึงปรากฏได อา
กาสานัญจายตนธาตุอาศัยรูปสมาบัติจึงปรากฏได วิญญาณัญจายตนธาตุ
อาศัย อากาสานัญจายตนสมาบัติจึงปรากฏได อากิญจัญญายตนธาตุอาศัย
วิญญาณัญจายตนสมาบัติจึงปรากฏได เนวสัญญานาสัญญายตนธาตุอาศัยอา
กิญจัญญายตนสมาบัติจึงปรากฏได สัญญาเวทยิตนิโรธธาตุอาศัยนิโรธ
สมาบัติจึงปรากฏได" "ขาแตพระองคผูเจริญ อาภาธาตุ สุภธาตุ อากาสานัญ
จายตนธาตุ วิญญาณัญจายตนธาตุ อากิญจัญญายตนธาตุ เนวสัญญานา
สัญญายตนธาตุ และสัญญาเวทยิตนิโรธธาตุ บุคคลจะเขาถึงธาตุเหลานี้ได
อยางไร" "ภิกษุ อาภาธาตุ สุภธาตุ อากาสานัญจายตนธาตุ วิญญาณัญจาย
ตนธาตุ อากิญจัญญายตนธาตุ ธาตุเหลานี้ เปนสัญญาสมาบัติที่บุคคลจะ
เขาถึงได เนวสัญญานาสัญญายตนธาตุ เปน สังขาราวิเสสสมาบัติที่บุคคลจะ
เขาถึงได สัญญาเวทยิตนิโรธธาตุเปนนิโรธสมาบัติที่บุคคลจะเขาถึงได"๕๖
สัญญาเวทยิตนิโรธธาตุ หมายถึง สภาวะที่เปนความดับลงของนาม
ขันธ ๔ อันไดแก วิญญาณขันธ สังขารขันธ สัญญาขันธ เวทนาขันธ ซึ่งเปน
สภาวธรรมที่ถือวาเปนความสงบ สงัดสูงสุด เพราะสัญญาเวทยิตนิโรธธาตุ
ตองอาศัยกระบวนธรรมที่เกิดขึ้นและดําเนินไปในฌานสมาบัติ ตามลําดับขั้น
ซึ่งในแตละขั้นของฌานสมาบัติจะมีการดับลงของสภาวธรรมบางอยาง ตาม
๕๕
ดูรายละเอียดใน ที.สี. (ไทย) ๙/๒๘-๓๗/๑๑-๑๖.
๕๖
สํ.นิ. (ไทย) ๑๖/๙๕/๑๖๑.
๙๙๘
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
อํานาจของฌานที่กําจัดสภาวธรรมใหตกไป เพื่อบรรลุฌานที่สูงกวา ดวย
สภาวะธรรมของการดับลงที่เปนไปตามลําดับในอนุปุพพนิโรธ อยางนี้ จนถึง
สภาวะความดั บ ลงของนามขัน ธสุ ด ทาย คือ สั ญญาและเวทนา ก็จ ะเป น
สภาวะธรรมชาติที่เรียกวา สัญญาเวทยิตนิโรธธาตุ เพราะเปนสภาวะที่
จะตองอาศัย เหตุ แห งการเขาถึงด ว ยกระบวนการในการเขานิโ รธสมาบั ติ
สัญญาเวทยิตนิโรธธาตุจะตองอาศัยนิโรธสมาบัติจึงจะสามารถปรากฏได"๕๗
๓.๔ อสัญญาสมาบัติ
สมาบัติที่ดับสัญญาและเวทนามี ๒ คือ อสัญญาสมาบัติและนิโรธ
สมาบัติ ที่เปนอสัญญาสมาบัติมีแกปุถุชน ที่เปนนิโรธสมาบัติมีเฉพาะแตพระ
อนาคามี และพระอรหันตผูชํานาญใน สมาบัติ ๘ แลวเทานั้น จึงจะเขาได๕๘
สัญญาสมาบัติปรากฏอยูในพระสูตรหลายแหง แตที่มีการอธิบาย
สภาวธรรมที่เกี่ยวกับอสัญญาสมาบัติ ปรากฏอยูในพรหมชาลสูตรวา
ภิกษุทั้งหลาย มีทวยเทพชื่ออสัญญีสัตวจ เคลื่อนจากชั้นนั้นเพราะ
เกิดสัญญาขึ้น ขอที่สัตวผูจุติจากชั้นนั้นแลวมาเปนอยางนี้ เปนสิ่งที่เปนไปได
เมื่อเขามาเปนอยางนี้แลวออกจากเรือนไปบวชเปนบรรพชิต เมื่อบวชแลว
อาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลส ความเพียรที่ตั้งมั่น ความหมั่นประกอบ
ความไมประมาท และอาศัยการใชความคิดอยางถูกวิธีแลวบรรลุเจโตสมาธิที่
เปนเหตุทําจิตใหตั้งมั่น ตามระลึกถึงความเกิดสัญญา ถัดจากนั้นไประลึก
ไมได เขาจึงพูดอยางนี้วา `อัตตาและโลกเกิดขึ้นเองไมมีเหตุปจจัย เพราะ
เหตุไร เพราะเมื่อกอนเราไมไดมีแลวบัดนี้ก็ไมมี จึงนอมไปเพื่อเปนผูสงบ'๕๙
คัมภีรสุมังคลวิลาสินีอรรถกถาระบุวา อสัญญีสัตว คือ สัตวมีอัตต
ภาพสักแตวารูป ไมมีจิตเกิดขึ้น ความอุบัติของพวกอสัญญีสัตวอยางนี้ คือ
บุคคลบางคนบวชในลัทธิเดียรถียแลว ทําบริกรรมในวาโยกสิณ ยังจตุตถ

๕๗
ดูรายละเอียดใน สํ.นิ.อ. (ไทย) ๒/๙๕/๑๙๗ - ๑๙๘.
๕๘
ดูรายละเอียดใน อภิ.ปฺจ.อ. (ไทย) ๒๓/๗๓๕/๒๘๒.
๕๙
ดูรายละเอียดใน ที.สี. (ไทย) ๙/๖๘/๒๘.
๙๙๙
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ฌานใหบังเกิด ออกจากฌานแลว เห็นโทษในจิตวา เมื่อมีจิตยอมมีทุกข
เพราะถูกตัดมือเปนตน และมีภัยทั้งปวง พอกันทีดวยจิตนี้ ความไมมีจิตสงบ
แท ครั้นเห็นโทษในจิตอยางนี้แลว เปนผูมีฌานไมเสื่อมถอย ทํากาละแลว ไป
บังเกิดในพวกอสัญญีสัตว๖๐
อสัญญาสมาบัติมีความสัมพันธสัญญาเวทยิตนิโรธ คือ อสัญญา
สมาบัติ หมายถึงสมาบัติที่ทําการดับสัญญาและเวทนาของปุถุชน (นักบวช
นอกศาสนา) เมื่อเจริญวาโยกสิณ ฯลฯ เปนตน จนบรรลุจตุตถฌานแลว แต
เพราะเกิ ด ความเบื่ อ หน า ยในนามขัน ธ จึ งมนสิ การถึง ความดั บ สิ้ น ไปของ
สัญญา(ความกําหนดไดหมายรู) บรรลุความเปนผูไมมีสัญญา ["อสัญญา
สมาบัติ เปนสมาบัติชนิดเดียวที่จะไมสามารถเกิดขึ้นไดภายใตหลักคําสอนใน
พระพุทธศาสนา เพราะปญญาที่รูชัดตามความเปนจริงจะไมนําไปสูความ
หลงผิดในการเจริญฌานเพื่อการดับสัญญา"๖๑]
อนึ่ง เรื่องนี้ เคยเกิดเปนประเด็นขัดแยกระหวางศาสนาพุทธนิกาย
ตางๆ และไดยุติลงในชวงสังคายนาครั้งที่ ๓ ดังที่เสถียร โพธินันทะได
รวบรวมไวในหนังสือ "ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา" ดังนี้
๑) กรณีที่เห็นขัดแยงกันใน "นิโรธสมาบัติและอสัญญาสมาบั ติ
ปราศจากจิต" ระหวางฝายเถรวาทและฝายสรวาสติวาทิน มีขอความระบุวา
ถือวาในนิโรธสมาบัติและอสัญญีสมาบัติปราศจากจิต ฝายสรวาสติ
วาทินแถลงเหตุผลเชนเดียวกับฝายเถรวาทวา สมาบัติทั้งสองไมมีจิตเปนที่
ดั บ แห ง เวทนาและสั ญญา ต างแต ฝ ายอสั ญญี ส มาบั ติ เ ป น ของฝ า ยปุ ถุช น
นิโรธสมาบัติเปนของพระอริยเจา ฝายอสัญญีสมาบัติยังเปนสาสวธรรม เปน
ธรรมเนื่องดวยภพ สวนนิโรธสมาบัติตรงกันขาม๖๒
๒) กรณีที่เ ห็น ขัด แย งกัน ประเด็น "นิโ รธสมาบั ติและอสั ญญา
สมาบัติวายังมีจิตอยู" ระหวางฝายเสาตรันติกวาทิน มีขอความระบุวา

๖๐
ดูรายละเอียดใน ที.สี.อ. (บาลี) ๑/๖๘ -- ๗๓/ ๑๐๘ -- ๑๐๙.
๖๑
ดูรายละเอียดใน ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๒๘/๗๔ - ๗๕.
๖๒
อางแลว, หนา ๓๓๘.
๑๐๐๐
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ถือวาในนิโรธสมาบัติและอสัญญีสมาบัติก็มีจิตอยู ทั้งนี้เพราะเหตุผล
วา ไมมีสมาบัติใดที่ปราศจากจิตแลวเรียกสมาบัติ เชนเดียวกันกับไมมีสัตวใน
ภพภูมิใดที่ปราศจากรูป แลวเรียกวาสัตว อนึ่งถาถือตามมติของฝายเถรวาท
และฝายสรวาสติวาทินที่วาสมาบัติที่ ๒ ปราศจากจิตเลยไซร เวลาออกจาก
สมาบัติ จิตปรากฏขึ้นจิตดวงนี้มีรากฐานมาจากไหน หรือวาจูๆ ก็โผลขึ้นมา
เฉยๆ อยางไมมีปมีขลุย และในระหวางที่อยูในสมาบัติ ผลกรรมวิบากตางๆ
ที่ทําๆ ไวแตปางกอนๆ ไปอยูเสีย ณ ที่ใด โดยเหตุผลดังกลาวมาจึงตองถือวา
ในสมาบัติทั้ง ๒ จิตหาดับไม หากแตไมสําแดงพฤตติเทานั้น สิ่งที่ดับไปก็
เพียงเวทนา สัญญา สังขารเทานั้นเอง อนึ่ง ถาปราศจากจิตเสียชีวิตินทรียก็
พึงถึงกาลสลายไปดวย กลายเปน มรณะไป จั กชื่อวาอยูในสมาบัติไมได
คณาจารยเสาตฺรนฺติกวาทินรุนตอมา เชน พระศิริลัพธะถือวาในนิโรธสมาบัติ
ยังมีพฤตติเปนไปอยู ในคัมภีรมหายานกรรมสิทธิ์ศาสตรของฝายมหายาน
ปรากฏขอความตอนหนึ่งวา จิตที่ยังมีพฤตติในนิโรธสมาบัติ คือมโนวิญญาณ
นั่นเอง คณาจารยฝายเสาตฺรนฺติกอีกรูปหนึ่ง ชื่อ พระสถวีระราระ ผูเปน
สานุศิษยของพระศิริลัพธะอรรถาธิบายวา ในนิโรธสมาบัตินั้น มนายตนะไม
วิบัติทําลาย ฉะนั้น จึงยังมีมโนวิยญาณไดแตเนื่องดวยขาดปจจัยจึงไมมีผัสสะ
มติฝายเถรวาทและ สรวาสติวาทินคัดคานขอนี้ เพราะทั้ง ๒ นิกายถือวา
"ในนิโรธสมาบัติและอสัญญีสมาบัติ กายสังขารดับ วจีสังขารดับ
จิตตสังขารดับ ฉะนั้น จิตจึงตองดับไปดวย ชั่วกาลแหงสมาบัติ และ จิต
ดวงสุดทายกอนเขาสมาบัติยอมเปนอนันตรปจจัยแกจิตดวงแรกที่ออกจาก
สมาบัตินั้นได"๖๓
๓.๖ โมเนยยธรรม
โมเนยยธรรมปรากฏอยูในพระสูตรหลายแหง แตพระสูตรที่มีการ
อธิบายไวอยางละเอียดโดยพระสารีบุตรในคุหัฏฐกสุตร ระบุวา
การละกายทุจริต ๓ อยาง ชื่อวาโมเนยยธรรมทางกาย
๖๓
ดูรายละเอียดใน เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา,หนา
๓๕๕ - ๓๕๖.
๑๐๐๑
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
กายสุจริต ๓ อยาง ชื่อวาโมเนยยธรรมทางกาย
ญาณมีกายเปนอารมณ ชื่อวาโมเนยยธรรมทางกาย
การกําหนดรูกาย ชื่อวาโมเนยยธรรมทางกาย มรรคที่สหรคตดวย
การกําหนดรูกาย ชื่อวา โมเนยยธรรมทางกาย การละความกําหนัดดวย
อํานาจความพอใจ ในกาย ชื่อวาโมเนยยธรรมทางกาย ความดับแหงกาย
สังขารการบรรลุจตุตถฌาน ชื่อวาโมเนยยธรรมทางกายนี้ชื่อวาโมเนยยธรรม
ทางกาย โมเนยยธรรมทางวาจา คือ การละวจีทุจริต ๔ อยาง ชื่อวาโมเนยย
ธรรมทางวาจา
วจีสุจริต ๔ อยางชื่อวาโมเนยยธรรมทางวาจา ญาณมีวาจาเปน
อารมณ ชื่อวาโมเนยยธรรมทางวาจา การกําหนดรูวาจา ชื่อวาโมเนยยธรรม
ทางวาจา มรรคที่สหรคตดวยการกําหนดรูวาจา ชื่อวาโมเนยยธรรมทางวาจา
การละความกําหนัดดวยอํานาจความพอใจในวาจา ชื่อวา โมเนยยธรรมทาง
วาจา ความดับแหงวจีสังขาร
การบรรลุทุติยฌาน ชื่อวา โมเนยยธรรมทางวาจานี้ชื่อวาโมเนยย
ธรรมทางวาจา โมเนยยธรรมทางใจ คือ การละมโนทุจริต ๓ อยางชื่อวาโม
เนยยธรรมทางใจ มโนสุจริต ๓ อยางชื่อวาโมเนยยธรรมทางใจ ญาณมีใจ
เปนอารมณชื่อวาโมเนยยธรรมทางใจ การกําหนดรูจิต ชื่อวาโมเนยยธรรม
ทางใจ มรรคที่สหรคตดวยการกําหนดรูจิต ชื่อวา โมเนยยธรรมทางใจ การ
ละความกําหนัดดวยอํานาจความพอใจในจิตชื่อวาโมเนยยธรรมทางใจ
ความดับแหงจิตตสังขาร การบรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ชื่อวา
โมเนยยธรรมทางใจ นี้ชื่อวา โมเนยยธรรมทางใจ๖๔
โมเนยยธรรม หมายถึง คุณสมบัติและวิธีการปฏิบัติตนเพื่อความ
เปนมุนี ประกอบดวยคุณสมบัติ ใน ๓ ระดับ คือ ความเปนมุนี ทางกาย
ความเปนมุนีทางวาจา ความเปนมุนีทางใจ ซึ่งเปนผูบรรลุความสงบ ระงับ
ดับลงแหงสังขารตามกําลังปญญา คือ (๑) มุนีทางกาย เปนผูมีกายสังขารดับ
สงบ ระงับ (๒) มุนีทางวาจา เปนผูมีวจีสังขารดับ สงบ ระงับ (๓) มุนีทางใจ

๖๔
ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๑๔/๖๙.
๑๐๐๒
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
เปนผูมีจิตตสังขารดับสงบ ระงับโมเนยยธรรม พระพุทธเจาทรงใชในการ
นิย ามความหมายของบุ คคลผู เ ปน นั กบวช ซึ่งสภาวะนั้ น ประกอบด ว ย
คุณสมบัติทั้ง ๓ ระดับ คือ ความเปนมุนีทางกาย ความเปนมุนีทางวาจา
ความเปนมุนีทางใจ ตามลําดับของการบรรลุคุณธรรมแหงความเปนนักบวช
เมื่อคุณสมบัติทั้ง ๓ ประบริบูรณก็จะเปนนักบวชผูมีความสามารถ
ในการเขานิโรธสมาบัติได เนื่องจากคุณสมบัติขอสุดทาย คือ โมเนยยธรรม
ทางใจ (ความเปนมุนีทางใจ) ดังที่พระสารีบุตรเถระไดแสดงอรรถาธิบายไว
วา โมเนยยธรรมนั้นมีการดับลงของสังขาร ๓ ตามลําดับ คือ วจีสังขาร กาย
สังขาร จิตตสังขาร ดังนั้น โมเนยยธรรมทางใจ จึงหมายถึง มุนีผูมีความ
ชํานาญในการควบคุมจิตซึ่งเปนนามขันธใหสงบลง ซึ่งการดับลงของจิตต
สังขารเปนสภาวะธรรมของนิโรธสมาบัตินั่นเอง จากลักษณะธรรมชาติของ
สภาวธรรมที่ดําเนินไปในโมเนยยธรรมทางใจโดยเปนการกําจัดมโนทุจริต ๓
การมีปญญารูในมโนสุจริต ๓ ปญญาในการดับความเบียดเบียนที่เกิดขึ้นทาง
ใจใหสงบลงได ซึ่งเปน ธรรมชาติแห งความดั บลงของจิตสั งขาร จึ งเป น
สภาวธรรมเชนเดียวกับนิโรธสมาบัติ

๓.๖ สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติวิโมกข
สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติวิโมกข คัมภีรปฏิสัมภิทามรรคอธิบาย วา
"สั ญ ญาเวทยิ ต นิ โ รธสมาบั ติ วิ โ มกข เ ป น อย า งไร คื อ ภิ ก ษุ ใ นธรรมวิ นั ย นี้
เพราะลวงเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติโดยประการทั้งปวง บรรลุสัญญา
เวทยิตนิโรธสมาบัติ นี้ชื่อวาสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติวิโมกข๖๕
หนังสือพุทธธรรมระบุวา วิโมกข แปลวา ความหลุดพน หมายถึง
ภาวะที่จิตหลุดพนจากธรรมที่เปนปฏิปกษทั้งหลาย เพราะจิตนั้นยินดียิ่งใน
อารมณที่กําลั งกําหนด จึ งน อมดิ่ งเขาอยู ในอารมณนั้ น ในเวลานั้ น จิ ต
ปราศจากบาปอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงเรียกวา เปนความหลุดพน (แตก็เปน

๖๕
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๒๑๓/๓๕๓.
๑๐๐๓
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
เพียงความหลุดพนดวยกําลังสมาธิในฌานสมาบัติ และเปนไปชั่วคราวตราบ
เทาที่อยูในฌานสมาบัติเหลานั้น ไมใชวิมุตติที่เปนความหลุดพนจากกิเลส)๖๖
สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติวิโมกข คือ สภาวะที่จิตนอมดิ่งไปใน
อารมณแหงความดับของจิตและเจตสิก เพราะการกําจัดลักษณะธรรมชาติ
ความกําหนดไดหมายรูในเนวสัญญานาสัญญายตนฌานลง ซึ่งเปนสภาวะ
ความสงบระงับ ดับลง ของนามขันธ ๔ อยางสิ้นเชิง และการบรรลุสัญญา
เวทยิตนิโรธจึงเปนสภาพแหงความหลุดพนจากการเบียดเบียนของสังขาร
ธรรมที่ละเอียด คือ สัญญาและเวทนา
๓.๗ สมถพละ
คัมภีรปฏิสัมภิทามรรค อธิบายวา สมถพละเปนอยางไร คือ ความที่
จิตเปนเอกัคคตารมณ ไมฟุงซานดวยอํานาจแหง เนกขัมมะ ชื่อวาสมถพละ
ความที่จิตเปนเอกัคคตารมณ ไมฟุงซานดวยอํานาจแหง อพยาบาท ชื่อวา
สมถพละ ความที่จิตเปน เอกัคคตารมณ ไมฟุงซานดวยอํานาจแหงอาโลก
สัญญาชื่อวา สมถพละ ความที่จิตเปนเอกัคคตารมณ ไมฟุงซานดวยอํานาจ
แหง อวิกเขปะชื่อวาสมถพละ ฯลฯ ความที่จิตเปนเอกัคคตารมณ ไมฟุงซาน
ดวยอํานาจแหงการพิจารณาเห็นความสละคืนหายใจเขา ชื่อวาสมถพละ
ความที่จิตเปนเอกัคคตารมณ ไมฟุงซานดวยอํานาจแหงการพิจารณาเห็น
ความสละคืนหายใจออก ชื่อวาสมถพละ คําวา สมถพละ อธิบายวา ชื่อวา
สมถพละ เพราะมีความหมายวาอยางไร คือ ชื่ อวาสมถพละ เพราะไม
หวั่นไหวเพราะนิวรณดวยปฐมฌาน ชื่อวาสมถพละ เพราะไมหวั่นไหวเพราะ
วิตกวิจารดวยทุติยฌาน ชื่อวาสมถพละ เพราะไมหวั่นไหวเพราะปติดวยตติย
ฌาน ชื่อวาสมถพละเพราะไมหวั่นไหวเพราะสุขและทุกขดวยจตุตถฌาน ชื่อ
วาสมถพละ เพราะไมหวั่นไหวเพราะรูปสัญญา ปฏิฆสัญญา นานัตตสัญญา
ดวยอากาสานัญจายตน สมาบัติ ชื่อวาสมถพละ เพราะไมหวั่นไหวเพราะอา
กาสานัญจายตนสัญญาดวยวิญญาณัญจายตนสมาบัติ ชื่อวาสมถพละ เพราะ

๖๖
พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับขยายความ, หนา ๒๘๙.
๑๐๐๔
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ไมหวั่นไหวเพราะวิญญาณัญจายตนสัญญาดวย อากิญจัญญายตนสมาบัติ
ชื่อวาสมถพละเพราะไมหวั่นไหวเพราะอากิญจัญญายตนสัญญา
ดวยเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ ชื่อวาสมถพละ เพราะไม
หวั่นไหว ไมกวัดแกวง ไมเอนเอียง เพราะอุทธัจจะและกิเลสที่ประกอบดวย
อุทธัจจะและเพราะขันธ นี้ชื่อวาสมถพละ๖๗
คัมภีรวิสุทธิมรรคอธิบายวา ชื่อวา สมถพละ เพราะไมหวั่นไหวไปใน
เพราะนีวรณดวยปฐมฌาน ชื่อวาสมถพละ เพราะไมหวั่นไหวไปในวิตกวิจาร
ดวย ทุติยฌาน..ฯลฯ ..ชื่อวาสมถพละ เพราะอรรถคือไมหวั่นไหวในเพราะ
อากิญจัญญายตนสัญญาดวยเนวสัญญาสัญญายตนสมาบัติ ชื่อวาสมถพละ
เพราะไมหวั่นไหวไป ไมเคลื่อนไป ไมสั่นสะเทือนไปในเพราะอุทธัจจะ และ
เพราะกิเลสอันเปนไปกับดวยอุทธัจจะและขันธที่สัมปยุตกับอุทธัจจะ๖๘
สมถพละ หมายถึง กําลังของสมาธิที่เกิดจากปญญาในสมาธิซึ่งเปน
ความรู ความสามารถ ความชํานาญ ทางดาน สมาธิปฏิบัติในการควบคุม
อารมณใหตั้งมั่น ไมสั่นใหว มีความมั่นคง มีอํานาจครอบงํากิเลสไมให
สามารถรบกวนได เปนศักยภาพของสมาธิในขั้นสูงที่มีกําลังบริบูรณที่จะใช
ทํากิจและสามารถกําหนดใหเปนไปไดตามความปรารถนาในฌานทั้งหลาย
๓.๘ สมาธิจริยา ๙
สมาธิจริยา หมายถึง กระบวนการที่ดําเนินไปในวิถีของสมาธิ เพื่อ
สรางอารมณของสมาธิใหมีความชัดเจนเขมขน รวมเปนหนึ่งเดียว เพื่อการ
บรรลุฌานสมาบัติในแตละขั้น ประกอบดวย ๑.ปฐมฌาน ๒. ทุติยฌาน ๓.
ตติยฌาน ๔. จตุตถฌาน ๕. อากาสานัญญา-ยตนฌาน ๖. วิญญาณัญจาย
ตนฌาน ๗. อากิญจัญญายตนฌาน ๘. เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ๙.
อุปจาระขณะของแตละฌานอีก ๑ รวมเปน ๙ ประเภท จึงเรียกอาการที่
เกิดขึ้นทั้งหมดนี้วา "สมาธิจริยา ๙"

๖๗
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๘๓/๑๔๑ - ๑๔๒.
๖๘
พระพุทธโฆสเถระ, วิสุทธิมรรค, หนา ๑๑๙๑.๓๗
๑๐๐๕
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
คั ม ภี ร ป ฏิ สั ม ภิ ท ามรรคระบุ ว า สมาธิ จ ริ ย า ๙ เป น อย า งไร คื อ
ปฐมฌานชื่อวาสมาธิจริยา ทุติยฌานชื่อวาสมาธิจริยา ตติยฌานชื่อวาสมาธิ
จริ ย า จตุ ต ถฌานชื่ อว าสมาธิ จ ริ ย า อากาสานั ญจายตนสมาบั ติ ฯลฯ
วิญญาณัญจายตนสมาบัติ ฯลฯ อากิญจัญญายตน สมาบัติ ฯลฯ เนวสัญญา
นาสัญญายตนสมาบัติชื่อวาสมาธิจริยา วิตกวิจารปติสุข และเอกัคคตาจิต
เพื่อไดปฐมฌาน ฯลฯ วิตกวิจารปติสุขและเอกัคคตาจิต เพื่อไดเนวสัญญานา
สัญญายตนสมาบัติ ชื่อวาสมาธิจริยา ดวยสมาธิจริยา ๙ นี้๖๙
คัมภีรวิสุทธิมรรคระบุวา ถามวา ดวยสมาธิจริยา ๙ เหลาไหน
ตอบวา ปฐมฌานชื่อวาสมาธิจริยา ทุติยฌาน ฯลฯ เนวสัญญานา
สัญญาตยนสมาบัติชื่อวาสมาธิจริยา (เปน ๘) วิตกก็ดี วิจารก็ดี ปติก็ดี สุขก็ดี
จิตเตกัคคตาก็ดเี พื่อมุงหมายไดปฐมฌาน ฯลฯ วิตกก็ดี วิจารก็ดี ปติก็ดี สุขก็
ดี จิตเตกัคคตาก็ดีเพื่อมุงหมายไดเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ ๑ (รวม
กับอุปจารสมาธิของสมาบัติ ๘ อีก ๑) ดวยสมาธิจริยา ๙ เหลานี้๗๐
๓.๘ ญาฌจริยา ๑๖
นิโรธสมาปตติญาณ คือ ปญญาที่รูชัด ปญญาที่เปนผลรวมแบบ
บูรณาการของปญญาทั้ง ๒ สวนอยางลงตัวของปญญาในสมาธิสมาธิและ
ปญญาในวิปสสนาที่มีความชํานาญในการระงับสังขาร ๓ คือ กายสังขาร วจี
สังขาร และจิตตสังขาร ดังนั้นนิโรธสมาปติญาณจึงเปนลักษณะของปญญาที่
เปนเครื่องหมายแสดงถึงนิโรธสมาบัติที่สามารถดับนามขันธอันละเอียด คือ
สัญญาและเวทนาใหสงบ ระงับ ดับลง ตราบเทาที่เขานิโรธสมาบัติ ดังที่
คัมภีรปฏิสัมภิทามรรคระบุวา "ปญญาที่มีความชํานาญในการระงับสังขาร ๓
ดวยญาณจริยา ๑๖ ดวยสมาธิจริยา ๙ เพราะปนผูประกอบดวยพละ ๒
อยาง ชื่อวานิโรธสมาปตติญาณ"๗๑

๖๙
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๘๕/๑๔๓
๗๐
พระพุทธโฆสเถระ, วิสุทธิมรรค, หนา ๑๑๘๓.
๗๑
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๘๓/๑๔๑.
๑๐๐๖
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ญาณจริยา ๑๖ เปนอยางไร คือ อนิจจานุปสสนาชื่อวาญาณจริยา
ทุกขานุปสสนาชื่อวาญาณจริยา อนัตตานุปสสนาชื่อวาญาณจริยา นิพพิทา
นุปสสนาชื่อวาญาณจริยา วิราคานุปสสนาชื่อวาญาณจริยา นิโรธานุปสสนา
ชื่อวาญาณจริยา ปฏินิสสัคคานุปสสนาชื่อวาญาณจริยา วิวัฏฏนานุปสสนา
ชื่อวาญาณจริยา โสดาปตติมรรคชื่อวา ญาณจริยา โสดาปตติผลสมาบัติชื่อ
วาญาณจริยา สกทาคามิมรรคชื่อวาญาณจริยา สกทาคามิผลสมาบัติชื่อวา
ญาณจริยา อนาคามิมรรคชื่อวาญาณจริยา อนาคามิผลสมาบัติชื่อวาญาณ
จริยา อรหัตตมรรคชื่อวาญาณจริยา อรหัตตผลสมาบัติชื่อวาญาณจริยา ดวย
ญาณจริยา ๑๖ นี้๗๒
คัมภีรวิสุทธิมรรคอธิบายวา ญาฌจริยา ๑๖ หมายถึง กระบวนการ
ที่ดําเนินไปในวิถีของปญญาในฝายวิปสสนา ดวยการพิจาณาอยางแยบคาย
ในลักษณะของธรรมที่มีสภาวะตรงขามกัน เปนปญญาที่เห็นแจงในไตร
ลักษณบนพื้นฐานการพิจารณาดวยหลักอริยสัจ ๔ โดยสามารถจําแนกออก
ได เ ป น ๑๖ ลั กษณะ ประกอบด ว ย อนิ จ จานุ ป ส สนา ทุ กขานุ ป ส สนา
อนัตตานุปสสนา นิพพิทานุปสสนา ราคานุปสสนา นิโรธานุปสสนา ปฏินิส
สัคคานุปสสนา วิวัฏฏนานุปสสนา โสดาปตติมรรค โสดาปตติผลสมาบัติ
สกทาคามิมรรค สกทาคามิผลสมาบัติ อนาคามิมรรค อนาคามิผลสมาบัติ
อรหัตตมรรค อรหัตตผลสมาบัติ๗๓
ดวยกริยาอาการที่เปนไปทั้ง ๑๖ ลักษณะนี้ จึงเรียกอาการที่เกิดขึ้น
นี้วาญาณจริยา ๑๖ ซึ่งเปนกระบวนการทางปญญาที่เปนอริยปญญา เปน
ความรูชัดตามความเปนจริงและเปนไปเพื่อการดับทุกข
ญาณจริยา ๑๖ เปนกระบวนการของวิปสสนา คือ กริยาอาการ ที่
แสดงใหเห็นพฤติการณที่ดําเนินไปในการพิจารณาสภาวธรรมโดยแยบคาย
ซึ่งเปนการเจริ ญปญญาเพื่อให เห็นแจ งในสภาพธรรมนั้นๆ จนสามารถ
ประหารกิเลสและบรรลุ อริยผลโดยลําดับตามสมควรแกบุคคล

๗๒
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๘๔/๑๔๓.
๗๓
พระพุทธโฆสเถระ, วิสุทธิมรรค, หนา ๑๑๙๓.
๑๐๐๗
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ปฏิสัมภิทามรรคอรรถกถาระบุวา "ญาณในนิโรธสมาบัติ คือญาณ
อันเปนนิมิตแหงนิโรธสมาบัติ อุปมาเหมือนเสือเหลือง จะถูกจับฆาก็เพราะ
ลายเสือ"๗๔
๓.๑๐ สุญญตผัสสะ อนิมิตตผัสสะ อัปปณิหิตผัสสะ
พระสารีบุตรอธิบายความหมาย ลักษณะ สภาวธรรมที่เกี่ยวกับ
ผัสสะวา ผูเห็นวิเวกในผัสสะทั้งหลาย คือ เห็นจักขุสัมผัสวา วางจากตน จาก
ธรรมที่เนื่องในตน จากความเที่ยง จากความยั่งยืน จากความสืบตอ หรือ
จากธรรมที่ไมแปรผัน เห็นโสตสัมผัส ...ฆานสัมผัส ...ชิวหาสัมผัส ...กาย
สัมผัส ...มโนสัมผัส ...อธิวจนสัมผัส ...ปฏิฆสัมผัส ...สุขเวทนียผัสสะ ...ทุกข
เวทนียผัสสะ ... อทุกขมสุขเวทนียผัสสะ ...ผัสสะที่เปนกุศล ...ผัสสะที่เปน
อกุศล ...ผัสสะที่เปนอัพยากฤต ...ผัสสะที่เปนกามาวจร ...ผัสสะที่เปนรูปาว
จร ...ผัสสะที่เปนอรูปาวจร ...ผัสสะที่เปนโลกิยะ ... เห็นผัสสะที่เปนโลกุต
ตระวา วางจากตน จากธรรมที่เนื่องในตน จากความเที่ยง จากความยั่งยืน
จากความสืบตอ หรือจากธรรมที่ไมแปรผัน
อีกนัยหนึ่ง เห็นผัสสะที่เปนอดีตวา วางจากผัสสะที่เปนอนาคตและ
ผัสสะที่เปนปจจุบัน เห็นผัสสะที่เปนอนาคตวา วางจากผัสสะที่เปนอดีตและ
ผัสสะที่เปนปจจุบัน เห็นผัสสะที่เปนปจจุบันวา วางจากผัสสะที่เปนอดีตและ
ผัสสะที่เปนอนาคต
อีกนัยหนึ่ง เห็นผัสสะที่เปนอริยะ ไมมีอาสวะ เปนโลกุตตระ ปฏิสัง
ยุต ดวยสุญญตธรรมวา วางจากราคะ โทสะ โมหะ โกธะ อุปนาหะ มักขะ
ปฬาสะ อิสสา มัจฉริยะ มายา สาเถยยะ ถัมภะ สารัมภะ มานะ อติมานะ
มทะ ปมาทะ กิเลสทุกชนิด ทุจริตทุกทาง ความกระวนกระวายทุกอยาง
ความเรารอนทุกสถาน ความเดือดรอนทุกประการ อกุสลาภิสังขารทุก
ประเภท ดวยประการอยางนี้ รวมความวา ผูเห็นวิเวกในผัสสะทั้งหลาย๗๕

๗๔
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป.อ. (บาลี)๑/๓๔/๔๕.
๗๕
ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๘๖/๒๖๐.
๑๐๐๘
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ผัสสะ หมายถึง ธรรมชาติของจิตที่เกิดขึ้น เปนไป ดําเนินไป มีการ
กระทบ แตะต อง สั มผั สซึ่งอาการกระทบสัมผั ส ของจิ ต ในขอบเขตที่มี
ความสัมพันธกับเรื่องนิโรธสมาบัติพบวา มี ๓ สักษณะคือ
๑.กระทบสัมผัสกับความวาง (สุญญตผัสสะ)
๒.กระทบสัมผัสกับความไมมีเครื่องหมาย (อนิมิตตผัสสะ)
๓.กระทบสัมผัสกับความไมมีที่ตั้ง (อัปปณิหิตตผัสสะ)
สุญญตผัสสะ อนิมิตตผัสสะ อัปปณิหิตผัสสะ ผัสสะทั้ง ๓ ประการ
ดังกล าวจึ งเป น สภาวะของจิ ต ที่มีส ภาวธรรมเป น ความวาง ความไมมี
เครื่องหมาย ความไมมีที่ตั้ง เปนอาการของความไมเกี่ยวของกับสภาพธรรม
ทั้งหลาย ซึ่งลักษณะของการกระทบสัมผัสทั้ง ๓ ประการนี้ เปนอารมณของ
นิพพาน เปนธรรมชาติที่โนมไปในนิพพานที่เปนการกระทบ ถูกตอง สัมผัส
ของจิตผูออกจากนิโรธสมาบัติ
นิพพานเปนสภาวธรรมที่มีความดับ ปราศจากการรบกวนของกิเลส
เปนธรรมอันสงบ นิโรธสมาบัติเปนสภาพแหงความดับของสัญญาและเวทนา
ซึ่งเปนสภาวธรรมที่ละเอียด สภาวะนั้นเปนสภาพที่ปราศจากการเบียดเบียน
ของธรรมทั้งหลาย พระสูตรหลายแหงมีขอความที่อธิบายความคลายคลึงกัน
ของความสงบระงับระหวางนิโรธสมาบัติกับนิพพานและผลสมาบัติวาเปน
การเขาถึงเพื่อเสวยความสงบสงัดที่มีความคลายนิพพาน ซึ่งนิพพานเปน
สภาวะแหงความวาง จิตของผูเขาสัญญาเวทยิตนิโรธดับลงดวยอารมณแหง
นิพพาน นิพพานเปนธรรมที่มีลักษณะของความวาง ลักษณะของความไมมี
เครื่ อ งหมาย ลั ก ษณะของความไม มี ที่ ตั้ ง ด ว ยลั ก ษณะที่ เ ป น ธรรมชาติ
ดังกลาวของนิพพานนี้ ขณะออกจากนิโรธสมาบัติจิตของผูออกจากนิโรธ
สมาบัติที่เกิดขึ้นจึงมีลักษณะของความวาง ความไมมีเครื่องหมาย ความไมมี
ที่ตั้งดังกลาว

๔. บุคคลทีเ่ ขานิโรธสมาบัติได

๑๐๐๙
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
นิโรธสมาบัติเปนอาการของสมาธิจริยา ๙ และญาณจริยา ๑๖ ซึ่ง
เปนกําลังของสมาธิและวิปสสนาที่ทํางานรวมกันอยางสมดุลย ทั้งสองสวน
โดยการทําสมาธิให เกิด ขึ้น และตั้งอยูดว ยกําลังของปญญาในสมาธิ คือ
ความสามารถในการกําหนดและควบคุมอารมณฌานให ตั่ งมั่น อยู ได ต าม
ความปรารถนาโดยไมสั่นใหวและกําลังของปญญา ในวิปสสนา คือ ปญญาที่
เขาใจสภาวธรรมของความไมเที่ยงในสิ่งทั้งปวงตามความเปนจริง คือ ไตร
ลักษณ แลวพิจารณาดวยหลักอริยสัจ ๔ ซึ่งเปนปญญาของพระอริยบุคคล
ชั้นพระอนาคามีบุคคลขึ้นไป กระบวนธรรมทั้งสองสวนดังกลาวเกิดขึ้นอยาง
เปนระบบดวยปญญาเห็นรูปและนามเปนสิ่งไมเที่ยงตั้งแตในฌานขั้นตน คือ
ปฐมฌานไปตามลําดับขั้นจนถึงอรูปฌาน ๔ แล วนามธรรมสุดทาย คือ
สัญญาและเวทนาก็ดับลงในนิโรธสมาบัติ ซึ่งเปนสมาบัติสูงสุดที่จะเกิดไดแต
เฉพาะกับพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาเทานั้น๗๖
๔.๑ พระอริยบุคคลที่สามารถเขานิโรธสมาบัติได
นิ โ รธสมาบั ติ เ ป น สมาบั ติ ที่ มี ค วามพิ เ ศษ ไม เ หมื อ นสมาบั ติ อื่ น ๆ
เพราะเปนเพียงสมาบัติชนิดเดียวที่ไมสามารถเกิดไดอยางสาธารณะทั่วไป
ขอกําหนดที่เปน คุณสมบัติ ของผูที่จะเขานิ โรธสมาบัติไดนั้ น ตองเปนพระ
อริยะบุคคล ๒ จําพวก คือ (๑) พระอนาคามี และ (๒) พระอรหันต ที่มี
ความชํานาญในสมาบัติ ๘ เทานั้น
พระอริยบุคคล ๒ จําพวกนี้จะตองเปนผูม ีความสามารถในการระงับ
สังขาร ๓ อันไดแก วจีสังขาร กายสังขาร จิตตสังขาร ดวยกําลังของสมาธิ
และกําลังของปญญา โดยกําลังความสามารถทั้ง ๒ สวน คือ สมถพละ อัน
ไดแก สมาธิจริยา ๙ และวิปสสนาพละ อันไดแก ญาณจริยา ๑๖
พละทั้ง ๒ ประการนี้จะตองทํางานรวมกันในฌานทุกขั้นจนเปน
ปญญาในการระงับสังขาร ๓ คือ ความสามารถในความเปนผูสงบระงับ ดวย
ความไมเปนไปแหงสังขารธรรมในสังขาร ๓ ประการ อันไดแก

๗๖
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๑๔๑/๘๓.
๑๐๑๐
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๑. วจีสังขารสงบระงับ คือ อาการตรึกนึกคิดสงบระงับดวยอํานาจ
ของทุติยฌาน เพราะวิตก วิจาร ตกไป
๒. กายสังขารสงบระงับ คือ ลมหายใจเขาและลมหายใจออกอัน
เนื่องดวยกายสงบระงับ ดวยอํานาจของจตุตถฌาน
๓. จิตตสังขารสงบระงับ คือ สัญญาและเวทนาอันเนื่องดวยจิตสงบ
ระงับ ในสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ
สมถพละ(กําลังของสมาธิ) คือ ธรรมชาติที่จิตตั้งมั่นมีอารมณเดียว
ไมฟุงซานและไมหวั่นไหวดวยอํานาจแหงธรรมเหลานี้ คือ ไมฟุงซานดวย
อํานาจแหงเนกขัมมะ ไมฟุงซานดวยอํานาจแหงอพยาบาท ไมฟุงซานดวย
อํานาจแหงอาโลกสัญญา ไมฟุงซานดวยอํานาจแหงอวิกเขปะ ฯลฯ ไม
ฟุงซานดวยอํานาจแหงการพิจารณาเห็นความสละคืน ไมหวั่นไหวเพราะ
นิวรณ ๕ ดวยปฐมฌาน ไมหวั่นไหวเพราะวิตกวิจารดวยทุติยฌาน ไม
หวั่นไหวเพราะปติดวยตติยฌาน ไมหวั่นไหวเพราะสุขและทุกขดวยจตุตถ
ฌาน ไม ห วั่ น ไหวเพราะรู ป สั ญ ญา ปฏิ ฆ ะสั ญ ญา นานั ต ตสั ญ ญาด ว ยอา
กาสานัญจายตนสมาบัติ ไมหวั่นไหวเพราะอากาสานัญญายตนสัญญาดวยอา
กิญจัญญายตนสมาบัติ ไมหวั่นไหวเพราะอากิญจัญญายตนสัญญาดวยเนว
สั ญญานาสั ญญายตนสมาบั ติ ไมกวั ด แกว งไมห วั่ น ไหวไมเ อนเอีย งเพราะ
อํานาจของอุทธัจจะและกิเลสอันสหรคตดวยอุทธัจจะและเพราะขันธ ดวย
สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ
สมาธิ จริยา ๙ คือ กิริยาที่เปน ความสามารถในการบรรลุฌาน
สมาบัติ อันไดแกสมาบัติ ๘ ประกอบดวยปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน
จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌาน อากิญ-
จัญญายตนฌาน เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และวิตก วิจาร ปติ สุข
เอกกัคคตาและอุปจาระขณะแหงสมาบัตินั้นๆ รวมกันเปนสมาธิจริยา ๙
วิปสสนาพละ คือ ปญญารูชัดในสภาพธรรมตามความเปนจริง โดย
เกิดจากการพิจารณาใหเห็นแจงอนิจจานุปสสนา ทุกขานุปสสนา อนัตตา
นุปสสนา วิราคะนุปสสนา นิพพิทานุปสสนา นิโรธานุปสสนา ปฏินิสสัคคา
นุปสสนา และเพราะความไมหวั่นไหวในอนิจจสัญญาดวยอนิจจานุปสสนา
๑๐๑๑
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
เพราะไมหวั่นไหวในสุขสัญญาดวยทุกขานุปสสนา เพราะไมหวั่นไหวในอัตตา
นุสัญญาดวยอนัตตานุปสสนา เพราะไมหวั่นไหวในนันทิดวยนิพพิทานุปสส
นา เพราะไมหวั่นไหวในราคะดวยวิราคานุปสสนา เพราะไมหวั่นไหวในอาทา
นะดวยปฏินิสสัคคานุปสสนา เพราะไมหวั่นไหว ไมกวัดแกวง ไมเอนเอียง
เพราะอวิชชาและกิเลสอันประกอบดวยอวิชชาและขันธ นี้คือ วิปสสนาพละ
ซึ่งประกอบดว ยญาณจริยา ๑๖ ดังนี้ อนิจ จานุปสสนา ทุกขานุปสสนา
อนัตตานุปสสนา นิพพิทานุปสสนา วิราคานุปสสนา นิโรธานุปสสนา ปฏินิส
สัคคานุปสสนา วิวัฏฏนานุปสสนา โสดาปตติมรรค โสดาปตติผลสมาบัติ
สกทาคามิมรรค สกทาคามิผลสมาบัติ อนาคามิมรรค อนาคามิผลสมาบัติ
อรหัตตมรรค อรหัตตผลสมาบัติ เหลานี้คือ วิปสสนาพละ
จะเห็นไดวาคุณสมบัติของบุคคลผูที่จะสามารถเขานิโรธสมาบัติได
นั้นจะตองเปนอริยฌานลาภีบุคคลเทานั้น คือ จะตองเปนบุคคลที่บรรลุอริ
ยผล ตั้งแตชั้นพระอนาคามีบุคคลขึ้นไป และมีความชํานาญในสมาบัติ ๘ ถึง
พรอมดวยวสี ๕๗๗ และพละ ๒ ซึ่งพละทั้ง ๒ สวนนั้นตองเสมอกัน คือ สมถ
พละที่เปนผลของสมถะจริยา ๙ จะตองมีความชํานาญคลองแคลวในฌาน
ทุกขั้น ดวยสามารถแหงวสี ๕ พรอมดวยวิปสสนาพละ คือ ญาณจริยา ๑๖
อันเปนวิปสสนาญาณของพระอริยะที่ไดบรรลุอริยผลแลว ("พระอนาคามี
บรรลุญาณจริยา ๑๔, พระอรหันตบรรลุญาณจริยา ๑๖"๗๘)
ดวยเงื่อนไขเหลานี้จึงเปนเครื่องบงชี้ที่สําคัญวา นิโรธสมาบัติจะไม
สามารถเกิดขึ้นกับบุคคลทั่วไปที่มิไดอยูภายใตหลักคําสอนของพุทธศาสนา
ไดเลย หรือแมแตบุคคลที่อยูภายใตหลักคําสอนของพระพุทธศาสนาเอง ก็ไม
สามารถที่จะเขาสมาบัติชนิดนี้ไดทุกคน เพราะมีเงื่อนไขที่เปนขอกําหนด
คุณสมบัติของความเปนผูที่มีความชํานาญทางดานสมาธิเปนพื้นฐาน

๗๗
พระพุทธโฆสเถระ, วิสุทธิมรรค, หนา ๑๑๙๓.
๗๘
เรื่องเดียวกัน หนา ๑๑๙๔.
๑๐๑๒
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
นอกจากคุณสมบัตดิ ังกลาวแลว ยังมีบุคคลอีก ๒ ประเภท คือ ภิกษุ
ผูเปนสาธุวิหารีและภิกษุผูบรรลุโมเนยยธรรมทางใจก็เปนผูที่สามารถเขา
นิโรธสมาบัติได เพราะมีคุณสมบัติทางดานสมาธิและปญญาเพียบพรอม
สวนพระโสดาบัน และพระสกทาคามียั งไมสามารถประหาณกาม
ฉันทนิวรณอนุสัยธาตุอันเปนอุปสรรคของสมาธิลงไดหมดสิ้น สมาธิจึงมีกําลัง
นอยทําใหเขานิโรธไมได สวนพระอนาคามีและพระอรหันตไดประหาณกาม
ฉันทนิวรณอนุสัยธาตุหมดสิ้น เด็ดขาดแลว ทําใหเขานิโรธสมาบัติได"๗๙
คุณสมบัติของพระอริยบุคคลผูที่สามารถเขานิโรธสมาบัติไดอีก ๒
ประเภท คือ (๑) ภิกษุผูเปนสาธุวิหารี๘๐ และ (๒) ภิกษุผูบรรลุโมเนยยธรรม
ทางใจ๘๑ เพราะมีคุณสมบัติของผูเขานิโรธสมาบัติดังที่พระสารีบุตรกลาวถึง
บุคคลที่สามารถเขานิโรธสมาบัติไดวา ถาไมบรรลุพระอรหันตในชาตินี้ เมื่อ
สิ้นชีวิตแลวจะไปเกิดในพรหมโลก"๘๒
"บุคคลที่จะสามารถไปเกิดในพรหมโลกไดนั้น มีได ๒ จําพวก คือ
(๑) พระอนาคามี และ (๒) ปุถุชนผูไดฌานสมาบัติ"๘๓
การบรรลุอรหัตตผลในพุทธศาสนามีอยู ๒ ลักษณะ คือ
(๑) การบรรลุธรรมที่มีฌานสมาบัติเปนพื้นฐานในการเจริญปญญา
จนถึงความสิ้นอาสวะแบบสมถยานิก
(๒) การบรรลุธรรมที่ใชความสงบของนิวรณ ๕ ในปฐมฌานเปน
ฐานในการใชปญญาพิจารณาใหเห็นถึงสภาพความเปนจริงแลวละจากกิเลส
นั้นจนถึงความสิ้นอาสวะแบบวิปสสนายานิก
๗๙
พระภัททันตะ อาสภะมหาเถระ, วิปสสนาทีปนีฎีกา, หนา ๒๕๕.
๘๐
ขุ.จู. (ไทย) ๓๐/๑๓๑/๔๓๓.,วิ.ม. (ไทย) ๕/ -- /๓๕๕, เชิงอรรถ.
๘๑
ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๑๔/๖๙., องฺ.ปฺจก. (ไทย) ๒๒/๑๖๖/๒๗๓.
๘๒
ดูรายละเอียดใน องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๓๖/๕๐๘., ผศ. ทวี ผลสมภพ,ความรู
เบื้องตนเกี่ยวกับ ปรัญาอภิธรรม PY 414 (PY440), พิมพครั้งที่ ๓,
(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๓๙). หนา ๕๒.
๘๓
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริเฉทที่ ๔ วิถีสังคหะ,
หนา ๑๒๐.
๑๐๑๓
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
พระอริยบุคคลประเภทสมถยานิกเทานั้น เพราะเปนพระอริยบุคคล
ที่มีความสัมพันธกับสมาธิในระดับฌานจนถึงนิโรธสมาบัติ ดังนี้
๑. กายสักขีสูตรระบุวาทานพระอุทายีถามวา "ผูมีอายุ พระผูมีพระ
ภาคตรัสวา `กายสักขี กายสักขี' ผูมีอายุ ดวยเหตุเพียงเทาไรหนอ พระผูมี
พระภาคจึงตรัสเรียกบุคคลวา กายสักขี" ทานพระอานนทตอบวา "ผูมีอายุ
ภิกษุในพระธรรมวิ นั ยนี้ ส งัดจากกาม ฯลฯ บรรลุ ป ฐมฌาน ฯลฯ และ
อายตนะคื อ ปฐมฌานนั้ น มี อ ยู โ ดยประการใดๆ เธอสั ม ผั ส อายตนะคื อ
ปฐมฌานนั้นดวยกายโดยประการนั้นๆ อยู ดวยเหตุเพียงเทานี้ พระผูมีพระ
ภาคจึงตรัสเรียก บุคคลวา `กายสักขี' โดยปริยายแลว (๑) ภิกษุบรรลุทุติย
ฌาน ฯลฯ บรรลุตติยฌาน ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ และอายตนะคือ
จตุตถฌานนั้นมีอยูโดยประการใดๆ เธอสัมผัสอายตนะคือจตุตถฌานนั้นดวย
กายโดยประการนั้นๆ อยู ดวยเหตุเพียงเทานี้ พระผูมีพระภาคจึงตรัสเรียก
บุคคลวา `กายสักขี' โดยปริยายแลว (๒-๔)
ภิกษุบรรลุอากาสานัญจายตนฌานโดยกําหนดวา `อากาศหาที่สุด
มิได' อยูเพราะลวงรูปสัญญา ดับปฏิฆสัญญา ไมกําหนดนานัตตสัญญา และ
อายตนะคืออากาสานั ญจายตนฌานนั้ น มีอยู โ ดยประการใดๆ เธอสั มผั ส
อายตนะคืออากาสานัญจายตนฌานนั้นดวยกายโดยประการนั้นๆ อยู ดวย
เหตุเพียงเทานี้พระผูมีพระภาคจึงตรัสเรียกบุคคลวา `กายสักขี' โดยปริยาย
แลว (๕-๘) ภิกษุลวงเนวสัญญานาสัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุ
สัญญาเวทยิตนิโรธอยู อาสวะทั้งหลายของเธอหมดสิ้นแลว เพราะเห็นดวย
ปญญา และอายตนะคือสัญญาเวทยิตนิโรธนั้นมีอยู โดยประการใดๆ เธอ
สัมผัสอายตนะคือสัญญาเวทยิตนิโรธนั้นดวยกาย โดยประการนั้นๆ ดวยเหตุ
เพียงเทานี้ พระผูมีพระภาคจึงตรัสเรียกบุคคลวา `กายสักขี'โดยนิปปริยาย
แลว" (๙)๘๔

๘๔
ดูรายละเอียดใน องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๔๓/๕๓๖ -- ๕๓๗.
๑๐๑๔
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
และพบขอความเชนเดียวกันในพระสูตรอื่นๆ อีก เชน ปญญาวิมุตต
สูตร อุภโตภาควิมุตตสูตร สันทิฏฐิกธรรมสูตร๘๕
หนังสือพุทธธรรมระบุวา "การบรรลุธรรมจนเปนเกณฑแบงประเภท
ทักขิไณยหรืออริยบุคคล มี ๓ อยาง คือ สัทธินทรีย (อินทรียคือศรัทธา)
สมาธินทรีย (อินทรียคือสมาธิ) และปญญินทรีย (อินทรียคือปญญา)"๘๖
การบรรลุธ รรมมีได หลายประเภท ขึ้นอยูกับเงื่อนไขและพื้น ฐาน
ปญญาของแตละบุคคล อุภโตภาควิมุต (ผูหลุดพนทั้งสองสวน) ไดแก ทานผู
ไดสัมผัสวิโมกข ๘ ดวยกายและอาสวะทั้งหลายก็สิ้นแลวเพราะเห็น อริยสัจ
ดวยปญญา (หมายถึงพระอรหันตผูบําเพ็ญสมถะมาเปนอยางมากกอนแลว
จึงใชสมถะนั้นเปนฐานบําเพ็ญวิปสสนาตอจนสําเร็จ)"๘๗ ลักษณะดังกลาวจึง
เปนเครื่องบงชี้ถึงการเจริญปญญาที่ไดใชฌานสมาบัติและแสดงใหเห็นถึง
ความแตกตางของพระอริยบุคคลผูเขานิโรธสมาบัติไดและเขานิโรธสมาบัติได
๔.๒ ภูมิที่สามารถเขานิโรธสมาบัติได
ภูมิอันเปนตั้งที่เปนที่อยูอาศัย ของสัตวที่จะเขานิโรธสมาบัติไดนั้น
จะตองเปนภูมิของสัตวที่มีองคประกอบของขันธ ๕ ครบ คือ รูป วิญญาณ
สังขาร สัญญา เวทนา ซึ่งไดแกสัตวใน "ปญจโวการภพที่เปนสุคติภูมิ ๒๒ ภูมิ
เทานั้น"๘๘ดังนี้ ๑. มนุษย ๒. จาตุมหาราชิกา ๓. ดาวดึงส ๔. ยามา ๕. ดุสิตา
๖. นิมมานนรดี ๗. ปรนิมมิต สวั ตตี ๘. ปาริสั ชชาพรหม ๙. ปุ โรหิต ตา
พรหม ๑๐. มหาพรหมมาพรหม ๑๑. ปริตตาภาพรหม ๑๒. อัปมาณา
พรหม ๑๓. อาภัสระพรหม ๑๔. ปริตตสุภาพรหม ๑๕. อัปมาณสุภาพรหม
๑๖. สุภกิณหพรหม ๑๗. เวหัปผลาพรหม ๑๘. อวิหาพรหม ๑๙. อตัปปา
พรหม ๒๐. สุทัสสาพรหม ๒๑. สุทัสสีพรหม ๒๒. อกนิษฐพรหม

๘๕
ดูรายละเอียดใน องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๔๔/๕๓๗ -- ๕๔๐.
๘๖
พระธรรมปฎก (ป.อ. ประยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับขยายความ, หนา ๒๘๙.
๘๗
เรื่องเดียวกัน,หนา ๒๙๒.
๘๘

๑๐๑๕
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
สั ต ว ในภู มิ เ หล านี้ ส ามารถบรรลุ ธ รรมเป น พระอนาคามีและพระ
อรหันตได สวนสัตวในภูมิอื่นไมสามารถเขานิโรธสมาบัติได ดังปรากฎของ
ความในนิโรธสูตร วา เปนไปไดที่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ผูถึงพรอมดวยศีล ถึง
พรอมดวยสมาธิ ถึงพรอมดวยปญญา เขาสัญญาเวทยิตนิโรธบาง ออกสัญญา
เวทยิตนิโรธบาง หากเธอไมบรรลุอรหัตผลในปจจุบัน ก็เปนไปไดที่เธอจะลวง
ความเปนผูอยูรวมกับเทวดาผูมีคําขาวเปนภักษาแลวเขาถึงกายมโนมัยชั้นใด
ชั้นหนึ่ง เขาสัญญาเวทยิตนิโรธบาง ออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบาง๘๙
พระสารีบุตรเถระไดกลาวถึงการเขานิโรธสมาบัติในพรหมโลกไววา
"เขาถึงกายมโนมัยชั้นใดชั้นหนึ่ง เขาสัญญาเวทยิตนิโรธบาง ออกจากสัญญา
เวทยิตนิโรธบาง"๙๐
หนังสือวิปสสนาทีปนีฎีการะบุวา "กามภูมินี้ไดแก มนุษยภูมิเทานั้น
เพราะ เทวภูมินั้นไมมีโอกาสเขานิโรธสมาบัติได เนื่องจากโลกียอารมณกาม
คุณมีมากมาย ฉะนั้น หาที่สงบไมได ถาเปนพระอนาคามีก็ยายไปพรหมโลก
ถาเปนพระอรหันตไมชาไมนานก็ปรินิพพาน"

๕. การเขานิโรธสมาบัติ
การเข า นิ โ รธสมาบั ติ ย อ มมี ไ ด เ ฉพาะอนาคามี บุ ค คล และพระ
อรหันตขีณาสพ เพราะทานทั้งหลายเหลานี้เปนผูชํานาญดวยญาณจริยา ๑๖
สมาธิจริยา ๙ เปนผูประกอบดวยพละ ๒ และเพราะความสงบไปแหงสังขาร
๓ ทานผูเปนพระอนาคามีและพระขีณาสพทั้งหลายเมื่อเบื่อหนายในความ
เปนไป และความแตกดับของสังขารทั้งหลาย จึงเขานิโรธสมาบัติเพื่อเปนสุข
ในทิฏฐธรรม๙๑
๕.๑ ทัศนะของนักวิชาการ

๘๙
องฺ.ปฺจก. (ไทย) ๒๒/๑๑๖/๒๗๓.
๙๐
ดูรายละเอียดในองฺ.ปฺจก. (ไทย) ๒๒/๑๑๖/๒๗๓.
๙๑
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๘๓-๘๔/๑๔๑ - ๑๔๓.
๑๐๑๖
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๑) Nyantiloka Mahathera (พระนยานติโลกะมหาเถระ) ไดแสดง
ทั ศ นะเกี่ ย วกั บ นิ โ รธสมาบั ติ ใ ว อ ย า งครอบคลุ ม ตามหลั ก การในคั ม ภี ร
พระพุทธศาสนาแถรวาท มีการแสดงแหลงที่มาของขอมูลดวยการอางอิงทุก
ประเด็นที่มีความเกี่ยวของกับเรื่องนิโรธสมาบัติใวอยางเปนระบบวา
นิโรธสมาบัติ หมายถึง การบรรลุความดับ เรียกอีกอยางหนึ่งวา
สัญญาเวทยิตนิโรธ ซึ่งเปนการดับลงของสัญญาและเวทนา เปนสภาวะความ
สงบระงับที่เกิดขึ้นชั่วคราวทางจิตทั้งหมด โดยจะเขาถึงทันทีหลังจากที่กาว
ลวงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และมีเงื่อนใขวา บุคคลที่สามารถเขานิโรธ
สมาบัติไดนั้นจะตองเปนพระอนาคามีหรือพระอรหันตที่มีความชํานาญใน
สมาบัติ ๘ เทานั้น การเขาถึงสภาวะนิโรธสมาบัติตองอาศัยกําลังของความ
สงบที่เกิดจากสมาธิและผลของวิปสสนาที่ไดบรรลุแลว คือ อนาคามีผลและ
อรหัตตผล หากบรรลุเพียงสมาบัติ ๘ หรืออริยผลอยางใดอยางหนึ่งก็ไม
สามารถเขานิโรธสมาบัติไดเลย ผูที่มีคุณสมบัติครบตามเงื่อนใขดังกลาว
จะตองเขาฌานตามลําดับและมีวิปสสนากํากับทุกฌาน เมื่อกาวลวงเนว
สัญญานาสัญญายตนฌาน ก็จะบรรลุถึงความดับสนิทในนิโรธสมาบัติ โดยจะ
สามารถอยูได ๗ วัน การออกจากนิโรธสมาบัติจะมีความแตกตางกันตาม
ระดับชั้นของอริยผลที่ไดบรรลุ คือ พระอนาคามีจะออกจากนิโรธสมาบัติ
ดวยอนาคามิผลจิต พระอรหันตออกจากนิโรธสมาบัติดวยอรหัตตผลจิต
อนึ่ง บุคคลที่ตายแลว และผูที่เขานิโรธสมาบัติจะมีการดับลงของ
สังขารเชนเดียวกัน คือ กายสังขารดับ วจีสังขารดับ จิตสังขารดับ แตคนตาย
กับผูที่เขานิโรธสมาบัติจะมีความแตกตางกัน คือ ผูที่ตายแลวอายุหมดไป ไอ
อุนของรางกายหมดไป รางกายเสื่อมสลายไป แตบุคคลผูเขา นิโรธสมาบัติ
อายุยังไมหมดไป ไออุนของรางกายยังไมหมดไป รางกายยังไมถูกทําลาย๙๒

๙๒
Nyantiloka Mahathera, Buddhist DictionaryManual of Terms
and Doctrines, Fourth Revised Edition, (Kandy : Buddhist Publication
Society, 1997), pp. 127 -- 128.
๑๐๑๗
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๒) Henepola Gunaratana (เฮเนโปละ คุณรัตนะ) ไดแสดงทัศนะ
ในประเด็นเรื่องกระบวนการ ขั้นตอนในการเขา ขั้นตอนในการออก และ
คุณสมบัติของผูเขานิโรธสมาบัติตามขอมูลซึ่งประกอบดวย พระสุตตันตปฎก
คัมภีรวิสุทธิมรรค คัมภีรวิสุทธิมรรคมหาฎีกา ใวในดุษฎีนิพนธเรื่อง A
Critical Analysis of the Jhnas in Theravda Buddhist Meditation. วา
สัญญาเวทยิตนิโรธเปนอาการสงบ ระงับ ที่ไมเพียงแตสัญญาและ
เวทนาเทานั้นที่สงบ ระงับ ดับลง แตเปนกิจกรรมทั้งหมดของจิตที่สงบ ระงับ
ดับลง การบรรลุนิโรธสมาบัติมีเงื่อนใขที่เปนขอจํากัดเฉพาะ มีความแตกตาง
จากการเขาผลสมาบัติ การที่บุคคลจะสามารถเขานิโรธสมาบัติไดนั้นจะตอง
เปนพระอนาคามีและพระอรหันตผูไดสมาบัติ ๘ เทานั้น ซึ่งพระอริยบุคคล
ดังกลาวจะตองไดทั้งรูปฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ สวนปุถุชน พระโสดาบัน
พระสกิทาคามี ไมสามารถเขานิโรธสมาบัตินี้ไดเพราะขาดคุณสมบัติสําคัญที่
เปนเงื่อนใขเฉพาะ เนื่องจากการเขานิโรธสมาบัติตองอาศัยกําลังของสมถะ
และวิปสสนาในการทํางานรวมกันอย างสมบูร ณ บุคคลทั้ง ๓ ประเภท
ดังกลาวยังไมสามารถละจากกามฉันทะได สมถะและวิปสสนาจึงยังไมมี
กําลังสมบูรณ เพียงพอที่จะบรรลุความดับของสัญญาและเวทนาได การเขา
นิโรธสมาบัติสามารถเขาไดเฉพาะในภูมิของสัตวที่มีองคประกอบของความ
เปนสิ่งมีชีวิตที่มีขันธ ๕ ครบเทานั้น สวนในภูมิอื่นที่สัตว มีองคประกอบของ
ความเปนสิ่งมีชีวิตเพียงขันธ ๔ ที่ปราศจากรูปธรรมไมสามารถเขา นิโรธ
สมาบัติไดเนื่องจากไมสามารถทําใหรูปฌานเกิดขึ้นได การที่พระอนาคามี
และพระอรหั น ต เ ข า นิ โ รธสมาบั ติ เ พื่ อ เป น การพั ก ผ อ นอย า งประเสริ ฐ
เนื่ องจากในนิ โ รธสมาบั ติ เ ป น สภาวะแห งความดั บ ที่คล ายกับ สภาวะของ
นิพพาน ขั้นตอนการเขานิโรธสมาบัติเริ่มดวยการเขาปฐมฌาน เมื่อออกจาก
ปฐมฌานแลวจะตองพิจารณาไตรลักษณ และทําซ้ําๆ อยางนี้ไปทุกฌาน
จนถึง อากิญจัญญายตนฌาน เมื่อออกจากอากิญจัญญายตนฌานจะตอง
กระทําปุพพกิจ ๔ อยาง คือ
๑. อธิษฐานไมใหขาวของที่เกี่ยวเนื่องกับตนตองเสียหายจาก ไฟ น้ํา
ลม ขโมย และหนูในหวางที่เขานิโรธสมาบัติ
๑๐๑๘
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๒. อธิษฐานวาหากมีการเรียกหาของสงฆในหวางที่เขานิโรธสมาบัติ
จะตองสามารถออกจากสมาบัติไดทันทีโดยมิตองใหผูใดมาตาม
๓. อธิ ษฐานว าหากมีก ารเรี ย กหาของพระพุ ทธเจ าในหว างที่เ ข า
นิโรธสมาบัติจะตองสามารถออกจากสมาบัติไดทันทีโดยมิตองใหผูใดมาตาม
๔. ตรวจสอบอายุที่เหลืออยูวาอายุมีอยูเกิน ๗ วันที่จะเขานิโรธ
สมาบัติหรือไม เมื่อไดทําปุพกิจ ๔ ครบตามขั้นตอนแลว หลังจากที่กาวลวง
เนวสัญญานาสัญญายตนฌานเพียง ๑ หรือ ๒ ขณะ จิตก็จะบรรลุสัญญา
เวทยิตนิโรธ การออกจากนิโรธสมาบัติก็จะตางกันตามระดับของอริยภาวะที่
ผูเขานิโรธสมาบัติไดบรรลุแลว กลาวคือ พระอนาคามีจะออกจาก นิโรธ
สมาบั ติ ด ว ยอนาคมี ผ ลจิ ต พระอรหั น ต จ ะออกจากนิ โ รธสมาบั ติ ด ว ย
อรหัตตผลจิต และจิตของผูออกจากนิโรธสมาบัติจะโนมไปในนิพพาน๙๓
วัตถุประสงคของการเขานิโรธสมาบัติ
นิโรธสมาบัติเปนการพักผอนอยางประเสริฐ โดยใชฌานสมาบัติเปน
เครื่องมือในการอยูอยางเปนสุขในวิหารธรรมของพระอริยบุคคล ดวยผล
สมาบัติ หรือนิโรธสมาบัติ ดังปรากฏขอความในคัมภีรตางๆ เชน
๑. มหาปทานสูตร๙๔ เปนพระสูตรที่เหลาภิกษุทั้งหลายไดสนทนา
กันเกี่ยวกับความอัศจรรยในพระปญญาคุณของพระพุทธเจาที่ทรงระลึกถึง
พระพุทธเจาทั้งหลายในอดีตและสรรเสริญถึงการที่พระพุทธเจาทั้งหลายทรง
มีธรรมเปนเครื่องอยู "ธรรมที่เปนเครื่องอยูในที่นี้หมายถึงทรงมีนิโรธสมาบัติ
เปนวิหารธรรม"๙๕
๒. จูฬโคสิงคสูตร เปนพระสูตรที่พระพุทธเจาทรงสรรเสริญพระอนุ
รุทธะ พระนันทิยะ พระกิมิละ วามีธรรมอันเปนเครื่องอยูอยางประเสริฐไมมี

๙๓
ดูรายละเอียดใน Henelopa Gunaratana, A Critical Analysis of the
Jhnas in Theravda Buddhist Meditation, Doctoral Dissertation, (The
Faculty of Art and Science of The American University,1980),pp. 203- 206.
๙๔
ดูรายละเอียดใน ที.ม. (ไทย). ๑๐/๑๓/๖.
๙๕
ดูรายละเอียดในที.ม.อ. (บาลี) ๒/๑๓/๑๘ - ๑๙ .
๑๐๑๙
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ธรรมใดยิ่งกวาดังนี้ พระผูมีพระภาคตรัสวา "ดีละ ดีละ อนุรุทธะ นันทิยะ
และกิมิละ ญาณทัสสนะที่ประเสริฐ อันสามารถ วิเศษยิ่งกวาธรรมของมนุษย
ซึ่งเปนเครื่องอยูอยางผาสุกที่เธอทั้งหลายผูไมประมาท มีความเพียร อุทิศ
กายและใจอยูอยางนี้ไดบรรลุแลว มีอยูหรือ"
ทานพระอนุรุทธะกราบทูลวา "จะไมมีไดอยางไร พระพุทธเจาขา
ข า พระองค ทั้ ง หลายสงั ด จากกามและอกุ ศ ลธรรมทั้ ง หลายแล ว บรรลุ
ปฐมฌานที่มีวิตก วิจาร ปติ และสุขอันเกิดจากวิเวกอยูตามกําหนดเวลาที่
มุงหวัง นี้คือญาณทัสสนะที่ประเสริฐอันสามารถ วิเศษยิ่งกวาธรรมของ
มนุษย ซึ่งเปนเครื่องอยูอยางผาสุก ขาพระองคทั้งหลายเปนผูไมประมาท มี
ความเพียร อุทิศกายและใจอยู ไดบรรลุแลว พระพุทธเจาขา" ฯลฯ
"จะไมมีไดอยางไร พระพุทธเจาขา เพราะลวงเนวสัญญานาสัญญาย
ตนฌานโดยประการทั้งปวง ขาพระองคทั้งหลายบรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยู
เพราะเห็น ด วยป ญญา อาสวะของขาพระองคทั้งหลายย อมสิ้ น ไปตาม
กําหนดเวลาที่มุงหวัง นี้คือ ญาณทัสสนะที่ประเสริฐอันสามารถ วิเศษยิ่งกวา
ธรรมของมนุษยซึ่งเปนเครื่องอยูอยางผาสุกอยางอื่นที่ ขาพระองคทั้งหลาย
ไดบรรลุเพื่อกาวลวงและเพื่อระงับธรรมเปนเครื่องอยูนั้น พระพุทธเจาขา
อนึ่ง ขาพระองคทั้งหลายยังไมพิจารณาเห็นธรรมเปนเครื่องอยู
อยางผาสุกอยางอื่น ที่ยิ่งหรือประณีตกวาธรรมเปนเครื่องอยูอยางผาสุกนี้
พระพุทธเจาขา"
"ดีละ อนุรุทธะ นันทิยะ และกิมิละ ธรรมเปนเครื่องอยูอยางผาสุก
อยางอื่น ที่ยงิ่ หรือประณีตกวาธรรมเปนเครื่องอยูอยางผาสุกนี้ หามีไม"๙๖
๓. สารีปุตตเถรปาทานระบุวา "พระสารีบุตรไดสรรเสริญพระ
ปญญาของพระพุทธเจา ไดบรรลุ แลวตามคําสอนของพระพุทธเจาเป น
ผูสําเร็จสาวกบารมีญาณ ฉลาดในสมาธิ ฉลาดในสมาบัติ ฉลาดในอนุปุพพ
วิหารธรรม ๙ ฯลฯ และนิโรธสมาบัติเปนที่นอนของทาน"๙๗

๙๖
ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๓๒๘ - ๓๒๙/๓๖๐ - ๓๖๒.
๙๗
ดูรายละเอียดในขุ.อป. (ไทย) ๓๒/๓๕๖ -- ๓๖๐ /๕๕ -๕๖.
๑๐๒๐
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๔. คัมภีรวิมุตติมรรค ระบุวา "การเขานิโรธสมาบัติเพื่อความสุขใน
ปจจุบันและเปน อกุปปาสมาธิขั้นสุดทายของพระอริยบุคคล"๙๘
๕. คัมภีรวิสุทธิมรรค ระบุวา "พระอนาคามีและพระอรหันต
ขีณาสพผูไดสมาบัติ ๘ เบื่อหนายในความเปนไปและความแตกดับของ
สังขารทั้งหลายจึงคิดวา "เราจักเปนผูมีจิตบรรลุความดับคลายพระนิพพาน
อยูเปนสุขในทิฏฐธรรมนี้เสีย"๙๙
๖. คัมภีรสังคหะ ระบุวา "การเขานิโรธสมาบัติ เหมือนฝกนิพพาน
ในปจจุบันดวยเขาสูความดับสนิทแหงนามขันธโดยปราศจากอันตรายใดๆ
เปนสันติสุขอันยอดเยี่ยม ดังนั้นพระอริยเจา จึงนิยมเขานิโรธสมาบัติดวย
ศรัทธา และฉันทะในนิโรธสมาบัติขึ้น"๑๐๐
๗. หนังสือพุทธธรรมระบุวา อาศัยนิโรธสมาบัติบรรลุนิพพานเปนวิธี
หนึ่งในการเกี่ยวของกับนิพพานของพระอริยะ ซึ่งเปนธรรมดาของผูบรรลุ
นิพพานแลวที่ยอมจะตองมีความเกี่ยวของกับนิพพานอยูเรื่อยๆ แมเมื่อเขา
ผลสมาบัติพระอริยะทุกระดับก็ยอมกําหนดใจถึงนิพพานเปนอารมณ"๑๐๑
และสัญญาเวทยิตนิโรธจัดไดวาเปนสมาบัติจําพวกเสวยผล มิใชประเภท
สําหรับใชทํากิจ สมาบัติที่ต่ํากวานั้น คือ ตั้งแตอากิญจัญญายตนะลงไป จึง
จะใชไดทั้งสําหรับเสวยผลและสําหรับทํากิจ ทั้งนี้เพราะยังมีสัญญาและธรรม
อืน่ ๆ ที่ประกอบรวมอยูชัดเจนพอ๑๐๒
นิโรธสมาบัติเปนสมาบัติชนิดเสวยผลเทานั้น เปนสภาวะแหงความ
สงบสงัดของสังขารธรรมที่ระงับดับลงชั่วขณะของการตั้งอยูในนิโรธสมาบัติ
เปนสภาวะที่มีความคลายกับนิพพาน การเขานิโรธสมาบัติเปนการพักผอน
อยางประณีตสูงสุดที่จะสามารถเขาถึงได ดังที่พระพุทธเจาทรงแสดงคุณแหง
๙๘
พระอุปติสสเถระ, วิมุตติมรรค, หนา ๒๘๖.
๙๙
พระพุทธโฆสเถระ, วิสุทธิมรรค, หนา ๑๑๙๕.
๑๐๐
สังคหะ(๔) ,[ซีดี-รอม] สาระสังเขปจาก พระไตรปฎก ฉบับเรียน
พระไตรปฎก เวอรชั่น ๒.๑, (๕ ธันวาคม ๒๕๕๐) หนา ๕๓.
๑๐๑
พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับขยายความ, หนา ๓๒๒.
๑๐๒
เรื่องเดียวกัน หนา ๓๖๘-๓๖๙.
๑๐๒๑
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
อนุปุพพวิหารธรรม (ธรรมอันเปนเครื่องอยูอยางประเสริฐ) วาเปนความสงบ
สงัด เปนธรรมที่ควรแกการบรรลุ คือ วิโมกข ๘ อันเปนการดับลงตามลําดับ
ของอนุปุพพนิโรธ คือ สภาวธรรมอันละเอียดจะดับลงเปนลําดับตามขั้นของ
ฌานสมาบัติ ความเบียดเบียนทั้งหลายก็ดับลงสนิทในนิโรธสมาบัตินี้เพราะ
ไมมีความเกิดดับของรูปนาม ไมมีความเบี ยดเบียนของสังขารทั้งหลาย
สภาวธรรมนั้นเปนสมาธิที่ไมกําเริบ สงบ ไมสั่นไหวจึงใชเปนที่พักผอนอัน
ประเสริฐไมมีสิ่งใดเปรียบ
๕.๒ บุรพกิจแหงการเขานิโรธสมาบัติ
การเขานิโ รธสมาบัติต องเขาไปตามลําดับขั้น ของฌานสมาบัติคือ
ตั้งแต ป ฐมฌาน ทุติ ย ฌาน ตติ ยฌาน จตุต ถฌาน อากาสนัญจายตนฌาน
วิ ญ ญานั ญ จายตนฌาน อากิ ญ จั ญ ญายตนฌาน หลั ง จากออกจากอา
กิญจัญญายตนฌานแลวตองพิจารณาถึงบุรพกิจวาตนทําสมบูรณหรือยัง ถา
สมบูรณแลวจึงเขาฌานสมาบัติขั้นสูงสุด คือ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
บุรพกิจ ๔ อยาง คือ
๑. นานาพัทธอวิโกปนะ ไดแก การพิจารณาถึงวัตถุสิ่งของอันเปน
บริขาร หรืออารามที่อยูอาศัยภายใน ๗ วัน วาจะมีอะไรทําใหเกิดอันตราย
หรือไม ฉะนั้นกอนเขาสมาบัติตองอธิษฐานกอน หมายความวา ตองอธิษฐาน
วาไมใหไฟไหม ไมใหโจรลัก ไมใหน้ําพัดไป ไมใหผูใดนําไปได เปนตน
๒.สังฆปฏิมานะ ไดแก การพิจารณาถึงการรอคอยแหงสงฆ คือผูที่
จะเขานิโรธสมาบัติจะตองกําหนดพิจารณาถึงอนาคตกาลภายใน ๗ วันวา
จะมีสังฆกรรมที่จะตองเขารวมประชุมสงฆกับเขาหรือไม ถาเห็นในอนาคต
กาลวาไมมี จึงคอยเขานิโรธสมาบัติ เพราะถาไมไดพิจารณาดูกอนเกิดมีสังฆ
กรรมที่ตองใหทานเขารวมเกิดขึ้นพระสังฆเถระ ก็จะสงพระมานิมนตทานไป
รวม ก็จะตองออกจากสมาบัติ กอนถึงกําหนด ๗ วัน เพราะอาญาแหงสงฆ
ยอมเปนใหญกวาสิ่งใด
๓. สัตถุปกโกสนะ ไดแก การกําหนดพิจารณาถึงพุทธฎีการับสั่งให
หา หมายความวา พระอริยบุคคลที่จะเขานิโรธสมาบัติจะตองพิจารณาวา

๑๐๒๒
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ภายใน ๗ วันนี้ พระพุทธเจาจะมีรับสั่งใหตามหา เพื่อมีกิจหารือหรือไม ถา
พิจารณาเห็นวา ภายใน ๗ วันนี้ พระพุทธเจาจะไมใหผูหนึ่งผูใดมาตามหา
แลวจึงเขา แตถาไมได พิจารณากอน ถาเกิดในขณะนั้นพระพุทธเจามีกิจ
จําเปนที่จะตองประชุมสงฆทั้งหมด ก็ตองใหพระภิกษุมาตามไปประชุมสังฆ
กรรม ก็จะไมสามารถที่จะเขาสมาบัติเสวยนิพพานสุขในปจจุบันไดถึง ๗ วัน
เพราะพุทธอาญา ยอมมีอํานาจเหนือภิกษุทุกรูป
๔. อัทธานปริจเฉทะ ไดแก กําหนดพิจารณาถึงกาลเวลาวา ภายใน
๗ วันนี้ชีวิตของตนจะสิ้นสุดลงกอนกําหนดหรือไม ถาพิจารณาถึงอนาคต
แลวรูวา ชีวิตไมสามารถจะอยูไดตลอด จะตองถูกพญามัจจุราชคือความตาย
มานําไปอยางแนนอนแลว ก็ไมตองเขานิโรธสมาบัติเพราะ จะไมสามารถเขา
ไดถึงตามกําหนด คือ ๗ วัน เพราะการสิ้นสุดชีวิตตามกฏแหงกรรมยอมอยู
เหนือผลสมาบัติ
เมื่ อ พิ จ ารณาเห็ น ว า ไม มี บุ ร พกิ จ ทั้ ง ๔ อย า งต อ งกั ง วลแล ว ก็
อธิษฐานเขา เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ทันใดนั้น เมื่อลวงสมาปตติชว
นะ ๒ ครั้ง จิตสันดานทานก็ขาด คือเปนผูปราศจากจิต เขาในลักษณะที่วา
อจิตฺตโก โหติ นิโรธํ ผุสติ. เปนผูไมมีจิตถูกตองนิโรธอยู กลาวคือ
เปนผูปราศจากจิตสถิตอยูในนิโรธสมาบัติอันประเสริฐ
๕.๓ ขั้นตอนในการเขานิโรธสมาบัติ
พระสูตรหลายแหงที่มีการแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการ
และขั้นตอนการเขานิโรธสมาบัติไวอยางละเอียดเชน แตละขั้น พบวาใน
อนุปทสูตร๑๐๓ มีการแสดงรายละเอียดและขั้นตอนกระบวนธรรมที่ดําเนินไป
ในการเขานิโรธสมาบัติ รวมถึงรายละเอียดของสภาวธรรมที่เกิดขึ้น ไวดังนี้
เบื้องตน ผูที่จะเขานิโรธสมาบัติตองเจริญกุศล เปนผูสงบจากอกุศล
ธรรม คือ นิวรณ ๕๑๐๔ แลวทําฌานใหเกิดขึ้นตามลําดับดังนี้
๑๐๓
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๙๖/๑๑๔., สํ.นิ. (ไทย) ๑๖/๑๕๒/๒๕๐.,
สํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๔๘/๓๔๑., ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๖๐/๕๐๐.
๑๐๔
ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๓๒๕/๓๕๗.
๑๐๒๓
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๑. เจริ ญ กุ ศ ลสมาธิ ภ าวนาเพื่ อ ความสงั ด จากกามและอกุ ศ ล
ทั้งหลาย คือ การพิจารณาใหนิวรณ ๕ ตกไป บรรลุปฐมฌาน
๒. ปฐมฌาน จิตบรรลุความผองใสอยู องคธรรมในปฐมฌาน คือ
วิตก วิจาร ปติ สุข จิตเตกัคคตา ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตตนา วิญญาณ
ฉันทะ อธิโมกข วิริยะ สติ อุเบกขา มนสิการดวยปญญา กําหนดรูตามลําดับ
๓. ทุติยฌาน กําจัดวิตก วิจาร ใหดับไป จิตมีความผองใสภายใน
องคธ รรมในทุติยฌาน คือ ปติ สุข จิตเตกัคคตา ผัส สะ เวทนา สัญญา
เจตตนา วิญญาณ ฉันทะ อธิโมกข วิริยะ สติ อุเบกขา มนสิการดวยปญญา
กําหนดตามลําดับ
๔. ตติยฌาน กําจัดปติใหดับไป เสวยสุขดวยนามกาย องคธรรมใน
ตติยฌาน คือ สุข สติ สัมปชัญญะ จิตเตกัคคตา ผัสสะ เวทนา สัญญา
เจตตนา วิญญาณ ฉันทะ อธิโมกข วิริยะ สติ อุเบกขา มนสิการดวยปญญา
กําหนดรูตามลําดับ
๕. จตุตถฌาน กําจัดสุขและทุกขได โสมนัสและโทมนัสดับไป มีสติ
บริสุทธิ์เพราะอุเบกขา องคธรรมในจตุตถฌาน คือ อุเบกขา อทุกขมสุข สติ
บริสุทธิ์ จิตเตกัคคตา ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตตนา วิญญาณ ฉันทะ
อธิโมกข วิริยะ สติ อุเบกขา มนสิการดวยปญญา กําหนดรูตามลําดับ
๖. อากาสานัญจายตนฌาน กําจัดรูปสัญญาและดับปฏิฆสัญญาแลว
ก็บรรลุ อากาสานัญจายตนฌานดวยการกําหนดอากาศอันหาที่สุดมิได องค
ธรรมในอากาสานัญจายตนฌาน คือ อากาสานัญจายตนสัญญา จิตเตกัคค
ตา ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตตนา วิญญาณ ฉันทะ อธิโมกข วิริยะ สติ
อุเบกขา มนสิการดวยปญญา กําหนดรูตามลําดับ
๗. วิญญาณัญจายตนฌาน กําจัดอากาสานัญจายตนฌานดวยการ
กําหนดวิญญาณอันหาที่สุดมิได องคธรรมในวิญญาณัญจายนตฌาน คือ
วิญญาณัญจายนตนสัญญา จิตเตกัคคตา
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตตนา วิญญาณ ฉันทะ อธิโมกข วิริยะ สติ
อุเบกขา มนสิการดวยปญญา กําหนดรูตามลําดับ
๘. อากิญจัญญายตนฌาน กําจัดวิญญาณัญจายตนฌานดวยการ
๑๐๒๔
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
กําหนดความไมมีอะไร องคธรรม คือ อากิญจัญญายตนสัญญา จิตเตกัคคตา
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตตนา วิญญาณ ฉันทะ อธิโมกข วิริยะ สติ อุเบกขา
๙. เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน กําจัดอากิญจัญญายตนสัญญา
โดยประการ ทั้งปวง ก็บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ออกจากเนว
สัญญานาสัญญายตนฌานมนสิการดวยปญญา กําหนดรูตามลําดับ
๑๐. สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ กําจัดเนวสัญญานาสัญญายตน
ฌาน ก็บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธ๑๐๕
คัมภีรสังคหะแสดงขั้นตอน และกระบวนธรรมที่ดําเนินไปในการเขา
นิโรธสมาบัติและมีวิธีการแสดงรายละเอียดของสภาวธรรมในขณะเขา นิโรธ
สมาบัติโดยการจําแนกจิตออกเปนขณะๆ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
๑. พระอนาคามี หรือ พระอรหันตที่ไดสมาบัติ ๘ ซึ่งเพียบพรอม
ดวยคุณสมบัติดังกลาวแลว เมื่อจะเขานิโรธสมาบัติ ตองปฏิบัติตามขั้นตอน
๒. เขาปฐมฌาน มีกัมมัฏฐานใดกรรมฐานหนึ่ง ที่ตนไดมาแลวเปน
อารมณแลว ปฐมฌานกุศลจิตสําหรับพระอนาคามี หรือปฐมฌานกิริยาจิต
สําหรับพระอรหันตก็เกิดขึ้น ๑ ขณะ
ดังแผนผังตอไปนี้ .
๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐
ภนท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌาน ภ
๓.เมื่อออกจากปฐมฌานแลว ตองพิจารณาองคฌาน โดยความเปน
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ซึ่งการพิจารณาเชนนี้ เรียกวาปจจเวกขณวิถี ดัง
แผนผังตอไปนี้
๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐๐
ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ภ
๔. เขาทุติยฌาน ฌานจิตก็เกิด ๑ ขณะ
๕. เขาปจจเวกขณวิถี
๖. เขาตติยฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ

๑๐๕
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๙๔/๑๑๑.
๑๐๒๕
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๗. เขาปจจเวกขณวิถี
๘. เขาจตุตถฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ
๙. เขาปจจเวกขณวิถี
๑๐. เขาปญจมฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ
๑๑. เขาปจจเวกขณวิถี
๑๒. เขาอรูปฌาน คืออากาสานัญจายตนฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ
๑๓. เขาปจจเกขณวิถี
๑๔. เขาวิญญาณัญจายตนฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ
๑๕. เขาปจจเวกขณวิถี
๑๖. เขาอากิญจัญญายตนฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ
๑๗. เมื่อออกจากอากิญจัญญายตนฌานแลว ไมตองเขาปจจเวกขณ
วิถี แตเขาอธิฏฐานวิถี คือ ทําบุพพกิจ ๔ อยาง ไดแก
(๑) อธิษฐานวา บริขารตางๆ ตลอดจนรางกายของขาพเจา ขอ
อยาใหเปนอันตราย
(๒) อธิษฐานวา เมื่อสงฆประชุมกันตองการตัวขาพเจา ขอให
ออกไดโดย มิตองใหมาตาม
(๓) อธิษฐานวา ถาพระพุทธองคมีพระประสงคตัวขาพเจา ก็
ขอใหออกไดโดยมิตองใหมีผูมาตาม
(๔)อธิษฐานกําหนดเวลาเขา วาจะเขาอยูนานสักเทาใด รวมทั้ง
การพิจารณาอายุสังขารของตนดวยวาจะอยูถึง ๗ วันหรือไม ถาจะตาย
ภายใน ๗ วัน ก็ไมเขา หรือเขาใหนอยกวา ๗ วัน
๑๘. อธิษฐานแลวก็เขาเนวสัญญานาสัญญายตนฌานวิถีนี้ เนว
สัญญานาสัญญายตนฌานเกิดขึ้น ๒ ขณะ
๑๙. ลําดับนั้น จิต เจตสิกและจิตตชรูปก็ดับไป ไมมีเกิดขึ้นอีกเลย
สวนกัมมชรูป อุตุชรูปและอาหารชรูป ยังคงดํารงอยู และดําเนินไปตามปกติ
จิต เจตสิกและจิตตชรูป คงดับอยูจนกวาจะครบกําหนดเวลาที่ไดอธิษฐานไว
๒๐. เมื่อครบกําหนดเวลาที่ไดอธิษฐานไว ซึ่งเรียกวา ออกจากนิโรธ
สมาบัตินั้น อนาคามิผล สําหรับอนาคามิบุคคล หรือ อรหัตตผล สําหรับ
๑๐๒๖
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
อรหัตตบุคคล ก็เกิดขึ้น ๑ ขณะ กอน ตอจากนั้น จิต เจตสิก และ จิตตชรูป
จึงจะเกิดตามปกติตอไปตามเดิม๑๐๖
ขั้นตอนการเขาสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ การทําปุพพกิจแทรกเขา
มาในระหวางที่ออกจากอากิญจัญญายตนญาน ซึ่งปุพพกิจ ๔ อยางนั้น คือ
การอธิ ษ ฐานจิ ต ก อ นที่ จ ะเข า สู นิ โ รธสมาบั ติ เ พื่ อ ให อํ า นาจของสมาบั ติ
คุ ม ครองมิ ใ ห วั ต ถุ สิ่ ง ของที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ ตนได รั บ อั น ตรายที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น
ในขณะเขานิโรธสมาบัติ และเพื่อใหสามารถออกจากนิโรธสมาบัติไดในทันที
หากมีกิจของรอคอยหรือการเรียกหาพรอมทั้งทําการตรวจสอบเวลาของอายุ
ที่มีเหลืออยู คัมภีรปรมัตถโชติกะระบุวา กิจทั้ง ๔ ขอนั้นใน ๓ ขอแรกจะทํา
หรือไมทําก็ได (ในสมัยปจจุบันยกเวนสัตถุปกโกสนะ) แตขอที่ ๔ นั้นจะตอง
ทําเสมอถาอยูในมนุสสภูม"ิ ๑๐๗ กิจที่ตองทําทั้ง ๔ อยางนั้น ไดแก
๑.นานาพัทธอวิโกปนะ การไมทําใหสิ่งของเกี่ยวเนื่องดวยพระภิกษุ
ตางๆ ไดรับความเสียหาย อธิษฐานวา บริขารตางๆ ตลอดจนรางกายของ
ขาพเจาและสิ่งของที่เกี่ยวเนื่องดวยภิกษุตางๆ จงพนจากภัยอันตราย
๒. สังฆปฏิมานะ การรอคอยของสงฆ อธิษฐานวา เมื่อสงฆพรอม
เพรียงประชุมกันและตองการตัวขาพเจา ขอใหออกไดโดยมิตองใหมาตาม
๓. สัตตุปกโกสนะ การทรงมีรับสั่งหาของพระบรมศาสดา อธิษฐาน
วา ถาพระพุทธเจามีพระประสงค ขอใหออกไดโดยมิตองใหมาตาม
๔. อัทธานปริเฉท การอธิษฐานกําหนดเวลาเขา วาจะเขาอยูนานสัก
เทาใดรวมทั้งการพิจารณาอายุสังขารของตนวาจะสามารถอยูถึง ๗ วัน
หรือไม ถาอายุขัยเหลือนอยกวา ๗ วัน ก็จะตองออกจากนิโรธสมาบัติกอน ๗
วั น เท า กั บ อายุ ขั ย ที่ เ หลื อ อยู ๑๐๘ "หากพิ จ ารณาเห็ น ว า จะหมดอายุ ขั ย

๑๐๖
ดูรายละเอียดใน สังคหะ (๔ ), [ซีดี-รอม] สาระสังเขปจาก พระไตรปฎก
ฉบับเรียนพระไตรปฎก เวอรชั่น ๒.๑, (๕ ธันวาคม ๒๕๕๐) หนา ๕๓-๕๕.
๑๐๗
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริเฉทที่ ๔ วิถีสังคหะ,
หนา ๑๑๙.
๑๐๘
พระพุทธโฆสเถระ, วิสุทธิมรรค, หนา ๑๑๙๖.
๑๐๒๗
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ภายใน ๗ วันแลว ก็ไมควรจะเขานิโรธสมาบัติ เพราะถายังไมสําเร็จเปนพระ
อรหันตแลวยอมเสียประโยชนของตน ถาเปนพระอรหันตก็ยังไมไดโปรดสัตว
วาตนไดสําเร็จเปนพระอรหันตแลว ยังไมไดใหโอวาทานุศาสนแกผูอื่น ฉะนั้น
จึงตองพิจารณา"๑๐๙
จิตที่ทานอบรมไวในเบื้องตนอยางนั้น ยอมนําเขาไปในภาวะนั้นได
เอง เพราะสภาวะของอากิ ญ จั ญ ยายตนฌานเป น สภาวะฌานที่ มี ค วาม
ละเอียดที่สุดของฌานที่ยังมีสัญญา เปนสภาวะของความกําหนดไดหมายรูที่
ยังสามารถใชทํากิจได สวนเนวสัญญานาสัญญายตนฌานเปนสภาวะที่ความ
ละเอียดมากเกินไป เพราะมีสัญญาก็ไมใช ไมมีสัญญาก็ไมใช จึงไมใชสมาบัติ
ที่สามารถใชทํากิจได อากิญจัญญายตนฌานจึงไดชื่อวาสัญญัคคสมาบัติ หรือ
สมาบัติที่เปนยอดแหงสัญญา เนื่องจากยังมีสัญญาละเอียดและยังสามารถใช
ทํากิจได ดังนั้นกระบวนธรรมทั้งหลายที่เกิดขึ้นในระหวางที่เขานิโรธสมาบัติ
จะพบวาสังขารธรรมจะคอยๆ ดับลงโดยลําดับตามความละเอียดของฌานที่
บรรลุดังนี้ (๑) วจีสังขารดับ (๒) กายสังขารดับ (๓) จิตตสังขารดับ
ในกระบวนการที่เกิดขึ้นดําเนินไปจากฌานขั้นตนขึ้นไปตามลําดับนี้
เปนสภาวธรรมที่เกิดขึ้นเพราะจิตบรรลุอารมณที่ละเอียดประณีตตามลําดับ
เรียกวาอนุปุพพวิหารธรรมและ ในขณะเดียวกันก็มีสภาวธรรมบางอยางดับ
ลงเพราะถูกกําจัดใหตกไปตามลําดับเรียกวาอนุปุพพ-นิโรธและดับลงอยาง
สนิทไมมีสวนเหลือดังที่ พระพุทธเจาไดทรงแสดงไวในสุขินทรียวรรค ซึ่งเปน
พระสูตรที่วาดวยความสุขในขั้นตางๆ ที่ภิกษุไดบรรลุตามกําลังปญญาของ
ตน "อุเปกขินทรีย ก็ดับไมเหลือในนิโรธสมาบัติ"๑๑๐ อุเปกขินทรีย คือ สภาพ
ความเปนใหญของการเสวยอารมณที่เปนกลาง ไมสุขและไมทุกข ไมแสสาย
ไมเอนเอียงดว ยอํานาจของสิ่ งใดๆ เป นอารมณของ เอกัคคตาที่ตั้งมั่น
โดยนัยของพระสูตรจะแสดงกระบวนการเกิดขึ้นและดับลงของสภาวะตางๆ
ตามลําดับของฌานที่บรรลุ ดังนี้

๑๐๙
พระภัททันตะ อาสภะมหาเถระ, วิปสสนาทีปนีฎีกา, หนา ๒๕๑.
๑๑๐
ดูรายะเอียดใน สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๕๑๐/๓๒๑.
๑๐๒๘
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
การออกจากนิโรธสมาบัติจะเกิดขึ้น ๒ ลักษณะ ตามคุณสมบัติของ
บุคคลผูเขานิโรธสมาบัติ กลาว คือ บุคคลบรรลุอริยผล ชั้นใดก็จะออกดวย
ผลจิตชั้นที่ไดบรรลุนั้น ดังนี้ คือ
๑. พระอนาคามี จ ะออกจากนิ โ รธสมาบั ติ ด ว ยอนาคามี ผ ลจิ ต
อนาคามิผลจิตเกิดขึ้น ๑ ขณะ
๒. พระอรหันต จะออกจากนิโรธสมาบัติดวอรหัตตผล อรหัตตผล
จิตเกิดขึ้น ๑ ขณะ
ตอจากนั้ น จิ ต เจตสิก และจิต ตชรูป จึ งจะเกิดตามปกติต อไป
ตามเดิม ขณะที่ออกจากจากนิโรธสมาบัติ สังขาร ๓ ก็จะเกิดขึ้นตามลําดับ
ดังนี้ (๑) จิตตสังขาร (๒) กายสังขาร (๓) วจีสังขาร
โดยนั ย ของพระสู ต รจะแสดงกระบวนการเกิด ขึ้น และดั บ ลงของ
สภาวะตางๆ ตามลําดับของฌานดังนี้
สภาวธรรมที่มีการเกิดและดับตามลําดับ ตารางที่ ๑
๑๑๑ ๑๑๒ ๑๑๓
อนุปุพพวิหารธรรม อนุปุพพนิโรธ ความดับสังขาร
ปฐมฌาน กามสัญญาดับ
ทุติยฌาน → วิตก วิจารดับ → → วจีสังขารดับ
ตตยิฌาน ปติดับ
จตุตถฌาน → ลมหายใจเขา-ออกดับ → → กายสังขารดับ
อากาสานัญจายตนฌาน รูปสัญญาดับ
วิญญาณัญจายตนฌาน อากาสานัญจายตนสัญญาดับ
อากิญจัญญายตนฌาน อากิญจัญญายตนสัญญาดับ
เนวสัญญานาสัญญายตน เนวสัญญานาสัญญายตน
ฌาน สัญญาดับ
สัญญาเวทยิตนิโรธ→ สัญญาและเวทนาดับ → → จิตตสังขารดับ

๑๑๑
ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๔๓/๓๕๗.
๑๑๒
ดูรายละเอียดใน ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๔๔/๓๕๘.
๑๑๓
ดูรายละเอียดใน สํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๔๘/๓๘๑ - ๓๘๓.
๑๐๒๙
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ตารางที่ ๑.๒ สภาวธรรมที่บรรลุความดับและการเขาถึงปสสัทธิ
๑๑๔ ๑๑๕
สภาวะธรรมที่บรรลุ ความดับอินทรีย ปสสัทธิ
ปฐมฌาน ทุกขขินทรียดับ วาจาสงบ
ทุติยฌาน โทมมนัสสินทรียดับ วิตก วิจารสงบ
ตติยฌาน สุขินทรียดับ ปติสงบ
จตุตถฌาน โสสมนัสสินทรียดับ ลมหายใจเขา - ออกสงบ
อากาสานัญจายตนฌาน ------ -------
วิญญาณัญจายตนฌาน ------ -------
อากิญจัญญายตนฌาน ------ -------
เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ------ -------
สัญญาเวทยิตนิโรธ อุเปกขินทรียดับ สัญญาและเวทนาสงบ
ผูสิ้นอาสวะ ------ ราคะ - โทสะ - โมหะสงบ

“เหตุที่ทําใหตองออกจากนิโรธสมาบัติกอนเวลามีอยู ๓ ประการ
คื อ ๑. อายุ สั ง ขารที่ เ หลื อ อยู ไ ม ถึ ง ๗ วั น ๒. พระพุ ท ธเจ า ทรงเรี ย กหา
๓. สงฆเรียกหา”๑๑๖
คุณสมบัติของผูเขานิโรธสมาบัติ บุคคลผูที่จะสามารถเขานิโรธ
สมาบัติไดนั้นจะตองเปนพระอริยะบุคคล ๒ จําพวกเทานั้น คือ พระอนาคามี
และพระอรหั น ต ที่ มี ค วามชํ า นาญในสมาบั ติ ๘ และจะต อ งเป น พระ
อริยบุคคลที่อยูในปญจโวการภพเทานั้น
ปญจโวการภพ หมายถึง ภพของสัตวที่มีองคประขอบของชีวิตที่มี
ขันธ ๕ ครบ (รูป วิญญาณ สัญญา สังขาร เวทนา) ซึ่งสัตวดังกลาวนี้มีอยูใน
“สุขคติภูมิ ๒๒” ประกอบดวยมนุสสภูมิ ๑ เทวภูมิ ๖ พรหมภูมิ ๑๕๑๑๗
๑๑๔
ดูรายละเอียดใน สํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๒๕๙/๒๘๔.
๑๑๕
ดูรายละเอียดใน สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๕๑๐/๓๒๑.
๑๑๖
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, ปรมัตถโชติกะ ปริเฉทที่ ๔ วิถีสังคหะ,
พิมพครั้งที่ ๗, (กรุงเทพมหานคร : หจก. ทิพยวิสุทธิ,์ ๒๕๔๗) หนา ๑๑๙.
๑๑๗
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๒๐..
๑๐๓๐
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ขั้ น ตอนการเข า นิ โ รธสมาบั ติ ประกอบด ว ยการกระทํ า ฌานให
เกิดขึ้นตามลําดับดวยสมาธิจริยา ๙ (วสี ๕) และปญญาในวิปสสนา คือญาณ
จริยา ๑๖ (พระอรหันตบรรลุญาณจริยา ๑๖ สวนพระอนาคามีบรรลุญาณ
จริยา ๑๔) โดยปญญาฝายสมาธิและฝายวิปสสนาทํางานรวมกันแบบบูรณา
การ โดยการพิ จ ารณาในไตรลั ก ษณ ร ว มกั บ ป ญ ญาในอริ สั จ ๔ ทํ า การ
พิจารณาเชนนี้ในทุกฌานไดอยางชํานาญไมติดขัด๑๑๘
๕.๔ การตั้งอยูในนิโรธสมาบัติ
การตั้งอยูในนิโรธสมาบั ติ หมายถึง ระยะเวลาในการเขานิโรธ
สมาบัติตั้งแตจิตตสังขารดับลงอยางสนิทจนกระทั่งออกจากนิโรธสมาบัติแลว
จิตตสังขารเกิดขึ้น ซึ่งพบขอมูลเกี่ยวกับระยะเวลาในการเขานิโรธสมาบัติทั้ง
ในเอกสารชั้นปฐมภูมิและในเอกสารทุติยภูมิดังนี้
๑. จูฬเวทัลลสูตร ระบุวาวา "ที่แท จิตที่ทานอบรมไวในเบื้องตน
อยางนั้น ยอมนําเขาไปในภาวะนั้นไดเอง"๑๑๙
๒. ทุติยกามภูสูตร ระบุวา "ที่แทจิตที่นําบุคคลเขาไปเพื่อความเปน
อยางนั้น เธอไดอบรมไวในกาลกอนแลว"๑๒๐
๒. กุณฑธานเถราปทานระบุวา "ขาพเจามีจิตเลื่อมใส มีใจยินดีได
บํารุงพระพุทธเจาผูประเสริฐที่สุด เปนพระสยัมภู เปนบุคคลผูเลิศ เสด็จหลีก
เรนอยู ๗ วัน ขาพเจารูเวลาที่พระองคจะเสด็จออกจากสมาบัติ จึงไดถือ
กลวยหวีใหญเขาไปถวายแดพระผูมีพระภาคมหามุนี นามวาปทุมตุ ตระ"๑๒๑
๓. เรวตพุทธวงศ ระบุวา "พระองค..เสด็จออกจากนิโรธสมาบัติใน
วันที่ ๗ ทรงแนะนําเทวดาและมนุษยในอรหัตตผลจํานวน ๑๐๐ โกฏิ"๑๒๒

๑๑๘
สั ง คหะ(๔) , [ซี ดี -รอม] สาระสั ง เขปจาก พระไตรป ฎ ก ฉบั บ เรีย น
พระไตรปฎก เวอรชั่น ๒.๑, (๕ ธันวาคม ๒๕๕๐) หนา ๑๓.
๑๑๙
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๖๔/๕๐๔.
๑๒๐
สํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๔๘/๓๘๓.
๑๒๑
ดูรายละเอียดใน ขุ.อป. (ไทย) ๓๒/๑ -- ๒/๑๕๐.
๑๒๒
ขุ.พุทฺธ. (ไทย) ๓๓/๕/๖๑๓.
๑๐๓๑
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๔. คัมภีรวิสุทธิมรรค ระบุวา "นิโรธสมาบัติตั้งอยูไดดวยมีกําหนดอยู
ดวยกําหนดกาลเวลา มีอยูดวยการไมสิ้นอายุขัย ไมมีการรอคอยของสงฆ ไม
ทรงมีรับสั่งหาของ พระบรมศาสดา"๑๒๓
๕. หนังสือวิปสสนาทีปนีฎีกา ระบุวา "อาหารของมนุษยที่กินเขาไป
นั้นสามารถ หลอเลี้ยงรางกายใหอยูได ๗ วันเพราะฉะนั้นนมนุษยภูมิจึง
สามารถเขานิโรธสมาบัติไดไมเกิน ๗ วัน แตในรูปภูมิสามารถเขาไดนาน
ตราบเทาที่ปรารถนาเพราะไมมีความกังวลในอาหาร"๑๒๔
นิโรธสมาบัติจะตั้งอยูไดนานตามระยะเวลาของการกําหนดปุพพกิจ
๔ คือ สามารถกําหนดเวลาที่ปรารถนาจะอยูในนิโรธสมาบัติไดตราบเทาที่
ตองการ ถาการเขานิโรธสมาบัตินั้นเกิดขึ้นในมนุสสภูมินิโรธสมาบัตินั้นจะ
ตั้งอยูไดนานที่สุดไมเกิน ๗ วัน เพราะวาขอจํากัดเรื่องอาหารและจะตองไมมี
เงื่อนไขอื่น จากการอธิ ษ ฐานทําปุ พพกิจ ที่จ ะเป น เหตุ ทําให ออกจากนิ โ รธ
สมาบัติกอนเวลาที่กําหนดไว คือ (๑) การเรียกหาของพระพุทธเจา (๒) การ
รอคอยของสงฆ (๓) อายุของสังขารที่เหลืออยู หากมีเงื่อนไขบางอยาง
เหลานี้เกิดขึ้นในระหวางที่เขานิโรธสมาบัติ คือ การเรียกหาของพระพุทธเจา
การรอคอยของสงฆ อายุ ขั ย หมดลง จะต อ งออกจากนิ โ รธสมาบั ติ ต าม
ขอจํากัดที่เปนเงื่อนไขนั้นๆ ในทันที สวนการเขานิโรธสมาบัติในรูปภู มิ
สามารถเขาไดนานเทาที่ปรารถนา
ขอความในพระไตรปฎกบางแหงที่มีการระบุถึงการเขานิโรธสมาบัติ
ของพระพุทธเจาในอดีต วาทรงเขานิโรธสมาบัติอยู ๗ วัน และไมพบขอมูลที่
แสดงวามีการเขานิโรธสมาบัติในระยะเวลาที่นานเกินกวา ๗ วันเลย
๕.๕ ขั้นตอนในการออกนิโรธสมาบัติ
อาการที่เ กิดขึ้นเมื่อครบกําหนดเวลาตามที่ไดอธิษฐานในการเขา
นิโรธสมาบัติไวในตอนแรก การออกจากนิโรธสมาบัติจะเกิดขึ้นในทันทีเมื่อ
สิ้นสุดเวลาตามเงื่อนไขที่ไดกําหนด ดวยการอธิษฐานปุพพกิจไว ซึ่งการออก
๑๒๓
พระพุทธโฆสเถระ, วิสุทธิมรรค, หนา ๑๒๐๐.
๑๒๔
พระภัททันตะ อาสภะมหาเถระ, วิปสสนาทีปนีฎีกา, หนา ๒๕๕.
๑๐๓๒
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
จากนิโ รธสมาบัติจะมีลักษณะอาการเชนเดี ยวกันกับการเขานิโรธสมาบั ติ
การออกจากนิโรธสมาบัติจะเกิดขึ้น ๒ ลักษณะตามคุณสมบัติของบุคคลผู
เขานิโรธสมาบัติ คือ บุคคลบรรลุอริยผลชั้นใดก็จะออกจากนิโรธสมาบัติดวย
ผลจิตชั้นที่ไดบรรลุนั้น ดังนี้
๑. พระอนาคามี จ ะออกจากนิ โ รธสมาบั ติ ด ว ยอนาคามี ผ ลจิ ต
อนาคามิผลจิตเกิดขึ้น ๑ ขณะ
๒. พระอรหันตจะออกจากนิโรธสมาบัติดวยอรหัตตผล อรหัตตผล
จิตเกิดขึ้น ๑ ขณะ
ตอจากนั้น จิตเจตสิกและจิตตชรูปจึงจะเกิดตามปกติตอไป ตามเดิม
ขณะที่ออกจากจากนิโรธสมาบัติ สังขาร ๓ ก็จะเกิดขึ้นตามลําดับดังนี้ (๑)
จิตตสังขาร (๒) กายสังขาร (๓) วจีสังขาร
"เมื่อออกจากนิโรธสมาบัติจิตของผูออกจากนิโรธจะนอมไปในวิเวก
โนมไปในวิเวก โอนไปในวิเวก และถูกตองผัสสะ ๓ อยาง คือ สุญญตะผัสสะ
อนิมิตตะผัสสะ อัปปณิหิตผัสสะ เพราะผูเขานิโรธสมาบัติมีนิพพานเปน
อารมณ"๑๒๕ จิตตสังขารเกิดขึ้นกอน หลังจากนั้นกายสังขาร วจีสังขาร จึง
เกิดขึ้นตามลําดับ เทียบเคียงกับเหตุการณการเขาฌานสมาบัติโดยลําดับใน
ขณะที่พระพุทธเจาจะเสด็จดับขันธปรินิพพานจะพบวาการออกจากนิโรธ
สมาบัติจะเกิดขึ้นแบบถอยออกจากฌานสมาบัติแบบปฏิโลม เพราะการ
เขาฌานสมาบัติแบบอนุโลม คือ การเขาฌานสมาบัติโดยการไลลําดับจาก
ฌานชั้นตนขึ้นไปจนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ สวนการออกจากสัญญา
เวทยิ ต นิ โ รธสมาบั ติ ก็ ย อ มจะต อ งเป น การถอยออกมาจากฌานสมาบั ติ
ตามลําดับ คือ สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน อา
กิญจัญจายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌาน อากาสานัญจายตนฌาน จตุตถ
ฌาน ตติยฌาน ทุติยฌาน ปฐมฌาน
เพราะดวยอํานาจของสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติที่ทําการดับสัญญา

๑๒๕
ดูรายละเอียดใน ม.มู.อ. (ไทย) ๒/๔๖๔/๓๖๕., สงฺ.สฬา.อ. (ไทย) ๓/๓๔๘/
๒๐๔ -- ๒๐๕.
๑๐๓๓
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
และเวทนาสิ้นสุดลงและสภาวธรรมในฌานสมาบัติจึงเปนการเกิดขึ้นและดับ
ลงตามเหตุและปจจัยของฌานสมาบัติแตละขั้นโดยไมขามขั้นตอน
๕.๖ ความแตกตางของคนตายกับคนเขานิโรธสมาบัติ
การเขานิโรธสมาบัติมีความสงบระงับ ดับลงของสังขาร ๓ อาการ
ปรากฏภายนอกเชนนี้มีความคลายคลึงกันระหวางความสงบนิ่งของคนตาย
และบุคคลผูเขานิโรธสมาบัติ สภาวะของคนทั้ง ๒ นั้นแทบจะไมมีความ
แตกตางกันในองคประกอบภายนอกที่ปรากฏแกสายตาของคนทั่วไป แต
รายละเอียดที่เปนองคประกอบของความมีชีวิตนั้นมีความตางกัน ซึ่งมีขอมูล
ปรากฏดังตอไปนี้
๑. มหาเวทัลลสูตร ปรากฏขอความที่พระสารีบุตรไดนิยามถึงตวาม
ตายไววา "เมื่อธรรม ๓ ประการ คือ (๑) อายุ (๒) ไออุน (๓) วิญญาณ ละ
กายนี้ไปกายนี้จึงถูกทอดทิ้งนอนนิ่งเหมือนทอนไมที่ปราศจากเจตนา"๑๒๖
๒. ศ.สมภาร พรมทา กลาววา "คนที่ตายแลวประสาททั้งหายอมไม
รับรูอะไร สมองยอมไมทํางาน เพราะคนตายแลวไมมีจิตที่จะคอยควบคุมสิ่ง
เหลานี้" และ "มนุษยในทัศนะของพุทธศาสนา คือ องครวมของขันธอัน
ประกอบดวยรูปขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ วิญญาณขันธ"๑๒๗
การตายของสัตวมีชีวิตโดยลักษณะสามัญ คือ อาการนิ่งของรางกาย
ปราศจากการตอบสนองตอการกระตุนเราที่รุนแรงจากภายนอก ภาวะการ
หยุดเตนของหัวใจ ปราศจากลมหายใจ๑๒๘ ตลอดจนรางกายก็ปราศจากไอ
อุน เพื่อเทียบเคียงกับขอมูลที่มีปรากฏในพระไตรปฎกกับลักษณะอาการ
ของความตายในทางการแพทย ป จจุ บั น ซึ่งพบว านิ ย ามของความตาย
ดังกลาวก็ทั้งในอดีตและปจจุบันนั้นแทบจะไมมีความแตกตางกับลักษณะ
๑๒๖
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๕๗/๔๙๕.
๑๒๗
สมภาร พรมทา, "กาลและอวกาศในพุทธปรัชญาเถรวาท", วิทยานิพนธ
อักษรศาสตร มหาบัณฑิต,(บัณฑิตวิทยาลัย:จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๑), หนา ๗.
๑๒๘
ดูรายละเอียดใน พระพุทธโฆสเถระ, วิสุทธิมรรค, หนา ๔๖๖.

๑๐๓๔
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
อาการของความตายที่มีปรากฏในพระสูตร เชน ทุติยกามภูสูตรที่พระกามภู
ไดอธิบายแกจิตตคฤหบดีเรื่องความแตกตางระหวางคนตายและภิกษุผูเขา
สัญญาเวทยิตนิโรธไว ดังนี้
คหบดี คนที่ตายแลว กายสังขารก็ดับระงับไป วจีสังขารก็ดับระงับ
ไปจิตตสังขารของเขาก็ดับระงับไป อายุสิ้นไป ไออุนหมดไป อินทรียแตก
สลายไป แมภิกษุผูเขาสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ กายสังขารก็ดับระงับไป
วจีสังขารก็ดับระงับไป จิตตสังขารก็ดับระงับไป (แต) อายุไมสิ้นไป ไออุนยัง
ไมหมด อินทรียก็ผองใส คหบดี คนที่ตายแลวกับภิกษุผูเขาสัญญาเวทยิต
นิโรธสมาบัติ ทั้งสองนั้นตางกันอยางนี้๑๒๙
ความแตกตางระหวางคนตายและผูเขานิโรธสมาบัติ
สภาวธรรมที่ปรากฏ ผูเขานิโรธสมาบัติ คนตาย
๑. กายสังขาร ดับ ดับ
๒. วจีสังขาร ดับ ดับ
๓. จิตสังขาร ดับ ดับ
๔. อายุ ยังไมหมด ดับ
๕. ไออุนของรางกาย ยังไมหมด หมดไป
๖. อินทรีย ผองใส แตกสลาย
บุคคลผูเขานิโรธสมาบัติจะมีสภาพภายนอกไมแตกตางจากคนตาย
มีเพียงกรรมชรูป คือ ไออุนเปนเครื่องรักษาสภาพแหงความมีชีวิตไว โดย
มหาภูตรูป ๔ ยังไมเสื่อมสลายไป “เพราะรางกายยังมีอาหารหลอเลี้ยงความ
มีชิวิตของผูเขานิโรธสมาบัติใหดํารงอยูตอไปไดถึง ๗ วัน แมวาจะไมมีการกิน
อาหารเขาไปเลย”๑๓๐ ในการเขานิ โ รธสมาบั ติ บุ คคลผู ที่เ ขานิ โ รธสมาบั ติ
สามารถอยูในสมาบัตินั้นไดนานที่สุด ๗ วันหากไมมีสิ่งใดมาเปนเงื่อนใขที่ทํา
๑๒๙
ดูรายละเอียดใน สํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๔๘/๓๔๘. คัมภีรวิสุทธิมรรคระบุวา
มีบุคคล ๗ จําพวกที่ไมมีลมหายใจ คือ ๑. เด็กที่อยูในครรภมารดา ๒. คนดําน้ํา ๓. คน
สลบ ๔. คนตาย ๕. ผูเขาจตุตถฌาน ๖. รูปพรหมและอรูปพรหม ๗. ผูเขานิโรธสมาบัติ,
๑๓๐
พระภัททันตะ อาสภะมหเถระ,วิปสสนาทีปนีฎีกา, มปป, มปท,หนา ๒๕๕.
๑๐๓๕
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ใหตองออกจากสมาบัติเสียกอน
เหตุการณที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับบุคคลผูเขานิโรธสมาบัติแลวมีบุคคลอื่น
เขาใจว าเสี ย ชี วิ ต แล ว หรื อเพราะไมเ ห็ น สภาพแห งความมีชี วิ ต ปรากฏแก
บุคคลนั้นอยางเชนในคนทั่วไป ที่ยังมีชีวิตอยู มีเหตุการณลักษณะดังกลาว
ปรากฏอยูในพระสูตร อยางเชน เหตุการณในขณะพระพุทธเจาทรงดับ
ขันธปรินิพพาน๑๓๑ พระพุทธเจาทรงเขาฌานโดยลําดับแบบอนุโลมและ
ปฏิโลม จากปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตน
ฌานวิญญาณัญจายตนฌาน อากิญจัญญายตนฌานเนวสัญญานาสัญญายตน
ฌานสั ญญาเวทยิ ต นิ โ รธสมาบั ติ เนวสั ญญานาสั ญญายตนฌาน อา
กิญจัญญายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌาน อากาสานัญจายตนฌาน จตุตถ
ฌาน ตติยฌาน ทุติยฌานปฐมฌานทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ออก
จากจตุตถฌานแลว จึงปรินิพพาน พระอานนทอุปฏฐากใกลชิดพระพุทธเจา
ผูอยูในเหตุการณ
ขณะปริ นิ พพานก็ไมส ามารถรู ไดว าพระพุทธเจ าเสด็จ ดั บ ขัน ธปริ
นิพพานแลวหรือยัง เพราะตั้งแตจตุตถฌานขึ้นไปบุคคลผูเขาจตุตถฌานจะ
ไมมีลมหายใจปรากฏ เนื่องจากกายสังขารดับลงดวยอํานาจของจตุตถฌาน
จุดนี้เองที่ผูวิจัยไดตั้งขอสังเกตจากการที่พระอานนทไดสอบถาม พระอนุ
รุทธะเปนระยะๆ วาพระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพานแลวหรือยัง พระ
อนุ รุ ทธะเฝ าติ ด ตามดู เ หตุ ก ารณอย า งใกล ชิ ด ด ว ยทิพยจั กษุ จึ งรู ได ว า
พระพุทธเจาเขานิโรธสมาบัติยังไมปรินิพพานในขณะนั้น เหตุการณนี้พุทธ
เจ าทรงกระทํ า ฌานให เ กิ ด ขึ้น โดยลํ าดั บ แบบอนุ โ ลมและปฏิ โ ลมในก อ น
ขณะที่จะเสด็จดับขันธปรินิพพาน
อีกเหตุการณหนึ่งที่มีสวนเกี่ยวของกับอาการของคนตายและนิโรธ
สมาบัติ เปนเหตุการณในอดีตชาติของพระมหาโมคคัลลานะสมัยที่เกิดเปน
มารชื่อทูสี เพราะเคยไดประกอบอกุศลกรรมกับพระสมณะผูมีกัลยาณศีล
กัลยาณธรรม จึงเลาเรื่องนั้นใหแกมารผูเปนหลานของทานฟง เพื่อที่มารจะ

๑๓๑
ดูรายละเอียดใน ที.ม. (ไทย) ๑๐/๒๑๙/๑๖๗.
๑๐๓๖
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ไดใหเห็นโทษของการเบียดเบียนภิกษุผเู ปนสาวกของพระพุทธเจา เรื่องนั้นมี
เหตุการณที่เกี่ยวของกับนิโรธสมาบัติ ดังนี้
พระสัญชีวะผูเปนอัคคสาวกของพระกกุสันธะพุทธเจาไดเขานิโรธ
สมาบัติอยูที่โคนตนไม พวกคนเลี้ยงวัว พวกคนเลี้ยงสัตว และผูคนที่เดินทาง
สั ญ จรในเส น ทางผ า นมาพบ และได มี ค วามเข า ใจว า พระสั ญ ชี ว ะได
มรณะภาพแลว เพื่อไมใหสัตวมากัดแทะรางกายของทานและมิใหเปนที่
อุจาดตาจึงไดชักชวนกันชวยกันทําการฌาปนกิจดวยการเอาเศษหญาเศษไม
มากองสุมรวมกัน ไวบนรางกายของพระสัญชี วะ แลวจุ ดไฟเผารางของ
พระสัญชีวะ ครั้นเมื่อราตรีผานไป พระสัญชีวะออกจากนิโรธสมาบัติแลว ก็
มิไดเปนอันตรายแตอยางใด
จากเหตุการณดังกลาวขางตนทั้งสองเหตุการณจึงเปนขอสังเกตได
ว าลั กษณะภายนอกที่ป รากฏของบุ ค คลผู เ ขาสั ญ ญาเวทยิ ต นิ โ ธสมาบั ติ มี
สภาพที่ไมตางจากคนที่เพิ่งจะเสียชีวิต เพราะปกติธรรมดาโดยทั่วไป การที่
บุคคลจะฌาปนกิจหรือทําการเผาศพ ผูที่จะกระทําการดั งกลาวจะต องมี
ความแนใจวาบุคคลนั้นไดเสียชีวิตแลวดวยการตรวจสอบอยางรอบคอบถึง
สัญญาณแหงความมีชีวิต อยางเชน ลมหายใจ การเตนของหัวใจ หรือการ
ตอบสนองของรางกายตอการกระตุนสัมผัสอยางแรง เพื่อใหแนใจวาเปน
บุ ค คลที่ เ สี ย ชี วิ ต แล ว จริ ง ๆ "ส ว นบุ ค คลผู เ ข า นิ โ รธสมาบั ติ นั้ น ยั ง มี
องคประกอบอย างอื่น ที่รั กษาความมีชีวิ ต ของรางกายไว ในระหว างอยู ใน
นิโรธสมาบัติ ไดแก ไออุนของรางกาย คือ เตโชธาตุที่เกิดจากกรรม"๑๓๒และ
รางกายยังคงผองใสอยูไมเสื่อมสลาย เนาเปอยไป นี่คือขอที่ทําใหบุคคลผูเขา
นิโรธสมาบัติแตกตางจากคนตายเพราะลักษณะดังกลาว คือ สภาพของการ
ดํารงรักษาไวซึ่งความมีชีวิตหรือรูปชีวิตินทรีย

๑๓๒
ม.มู.อ. (ไทย) ๒/๔๕๖ /๓๔๓ -- ๓๔๔.
๑๐๓๗
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ

๖. นิโรธสมาบัติกับการบรรลุธรรม
ประเภทของพระอริยบุคคลและการบรรลุอริยผลที่สัมพันธกับนิโรธ
สมาบัติ ในแนวทางการปฏิบัติเพื่อการกําจัดกิเลส ดังนี้
๖.๑ หลักธรรมที่สนับสนุนนิโรธสมาบัติ
นิ โ รธสมาบั ติ เ ป น สภาวะที่ เ กิ ด จากการบรรลุ ฌ านสมาบั ติ ไ ป
ตามลําดับ จนถึงการดับลงอยางไมมีเหลือของสัญญาและเวทนา มีขอความ
หลายแหงที่ระบุถึงธรรมที่เปนเครื่องสนับสนุนเพื่อการปฏิบัติใหบรรลุสัญญา
เวทยิตนิโรธสมาบัติ ดังนี้
๑) จุฬเวทัลลสูตร ระบุวา "ทานวิสาขะ ความที่จิตมีอารมณเปนหนึ่ง
เปนสมาธิ สติปฏฐาน ๔ เปนนิมิตของสมาธิ สัมมัปปธาน ๔ เปนเครื่อง
อุดหนุนสมาธิ การเสพ การเจริญการทําใหมากซึ่งธรรมเหลานั้นนั่นแล เปน
การเจริญสมาธิ"๑๓๓
๒) ทุติยกามภูสูตร ระบุวา "ทานผูเจริญ ธรรมเหลาไหนมีอุปการะ
มากแกสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ" "คหบดี ปญหาที่ควรจะถามกอนทาน
ถามชาไป แตเอาเถิด อาตมภาพจักตอบแกทาน ธรรม ๒ ประการ คือ (๑)
สมถะ (๒) วิปสสนา มีอุปการะมากแกสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ"๑๓๔
๓) ปฏิสัมภิทามรรค ระบุวา "ปญญาที่มีความชํานาญในการระงับ
สังขาร ๓ ดว ยญาณจริย า ๑๖ และด วยสมาธิ จ ริย า ๙ เพราะเป น ผู
ประกอบดวยพละ ๒ อยาง ชื่อวานิโรธสมาปตติญาณ เปนอยางไร คือ พละ
๒ อยาง ไดแก (๑) สมถพละ (๒) วิปสสนาพละ"๑๓๕
ธรรมที่สนับสนุนนิโรธสมาบัติในจุฬเวทัลลสูตร คือ สมาธิ สติปฏ
ฐาน ๔, สัมมัปปธาน ๔ สติปฏฐานเปนพื้นฐานแหงการเจริญสมาธิและ
วิปสสนาและสัมมัปปธาน ๔ คือ ความเพียรที่ประกอบดวยปญญาในกุศล
เปนธรรมที่สงเสริมสนับสนุนแกนิโรธสมาบัติ
๑๓๓
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๖๒/๕๐๓.
๑๓๔
สํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๔๘/๓๘๔.
๑๓๕
ขุ.ป. (ไทย) ๓๑/๘๓/๑๔๑.
๑๐๓๘
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๖.๒ ฌานสมาบัติกับการบรรลุธรรม
นิโรธสมาบัติจะเขาถึงไดก็ดวยอาศัยฌานสมาบัติเปนพื้นฐาน ฌาน
สมาบัติมีความเกี่ยวของโดยตรงกับบุคคลผูที่มีความชํานาญในสมาธิ ดังมี
พระสูตรที่ไดทรงแสดงเรื่อง "ฌานสมาบัติกับการบรรลุธรรม" ดังนี้
๑) ตปุสสสูตรระบุวา.. อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๙ ประการนี้เราเขาก็
ได ออกก็ไดทั้งโดยอนุโลมและปฏิโลมอยางนี้ เมื่อนั้น เราจึงยืนยันไดวาเปนผู
ตรัสรูสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยมในโลกพรอมทั้ง เทวโลก มารโลก
พรหมโลก ในหมู สั ต ว พ ร อ มทั้ ง สมณพราหมณ เทวดาและมนุ ษ ย ก็ แ ล
ญาณทัสสนะไดเกิดขึ้นแกเราวา `เจโตวิมุตติของเราไมกําเริบ ชาตินี้เปนชาติ
สุดทาย บัดนี้ภพใหมไมมีอีก๑๓๖
๒) ฌานสูตร ระบุวา... ภิกษุทั้งหลาย เรากลาววา
๑. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปไดเพราะอาศัยปฐมฌาน
๒. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปไดเพราะอาศัยทุติยฌาน
๓. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปไดเพราะอาศัยตติยฌาน
๔. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปไดเพราะอาศัยจตุตถฌาน
๕. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปไดเพราะอาศัยอากาสานัญจายตนฌาน
๖. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปไดเพราะอาศัยวิญญาณัญจายตนฌาน
๗. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปไดเพราะอาศัยอากิญจัญญายตนฌาน
๘. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปไดเพราะอาศัยเนวสัญญานาสัญญายตน
ฌาน
เรากล าวไว เชนนี้ แลวา `อาสวะทั้งหลายสิ้นไปได เพราะอาศัย
ปฐมฌาน' เพราะอาศัยเหตุอะไร เราจึงกลาวไวเชนนั้น เพราะอาศัยเหตุนี้วา
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลาย บรรลุปฐมฌาน
ฯลฯ เธอยอมพิจารณาเห็นธรรมทั้งหลาย คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ ที่มีอยูในปฐมฌานนั้น โดยเปนสภาวะไมเที่ยง เปนทุกข เปนดังโรค
เปนดัง หัวฝ เปนดังลูกศร เปนสิ่งคอยกอความเดือดรอน เปนที่ทําใหขัดของ

๑๓๖
องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๔๑/๕๓๒.
๑๐๓๙
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
เปนดังคนฝายอื่น เปนสิ่งที่ตองแตกสลาย เปนของวางเปลา เปนอนัตตา เธอ
ยอมทําจิตใหกลับจากธรรมเหลานั้น ครั้นแลว จึงนอมจิตไปเพื่ออมตธาตุ ๔
วา `ภาวะที่สงบ ประณีต คือ ความระงับสังขารทั้งปวง ความสละคืนอุปธิ
กิเลสทั้งปวง ความสิ้นไปแหงตัณหา ความคลายกําหนัด ความดับ นิพพาน `
เธอดํารงอยูในปฐมฌานนั้น ยอมบรรลุความสิ้นไปแหงอาสวะทั้งหลาย หาก
ยังไมบรรลุความสิ้นไปแหงอาสวะทั้งหลาย ก็จะเปนโอปปาติกะ เพราะ
สังโยชนเบื้องต่ํา ๕ ประการสิ้นไปดวยความยินดีเพลิดเพลินในธรรมนั้น จัก
ปรินิพพานในภพนั้น ไมหวนกลับมาจากโลกนั้นอีก ฯลฯ ภิกษุทั้งหลาย ดัง
พรรณนามานี้แล สัญญาสมาบัติมีอยูเทาใด สัญญาปฏิเวธก็มีอยูเทานั้น
ภิกษุทั้งหลาย อายตนะ ๒ ประการนี้ คือ เนวสัญญานาสัญญายตน
สมาบัติและสัญญาเวทยิตนิโรธ ตางก็อาศัยกันและกัน เรากลาววา ภิกษุผูได
ฌาน ฉลาดในการเขาสมาบัติ ฉลาดในการออกจากสมาบัติ เขาออกแลว พึง
กลาวอายตนะ ๒ ประการนี้ไวโดยชอบ๑๓๗
การบรรลุธรรมเปนพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา จะตองอาศัย
ฌานสมาบัติเปนพื้นฐาน ดวยการกําจัดนิวรณ ๕ ใหตกไป เพื่อการเจริญ
ปญญาในลําดับที่สูงขึ้นไป เพราะอาศัยปญญาในฝายสมาธิเพียงอยางเดียว
โดยลําพังไมสามารถทําใหบรรลุอริยผลไดเลย ปญญาในฝายสมาธิทําให
บรรลุความสงบ สงัดเพียงชวงระยะเวลาที่อยูในสมาบัติเทานั้น แตเมื่อใช
ปญญาในฝายวิปสสนา(โยนิโสมนสิการ) พิจารณาโดยแยบคายในไตรลักษณ
และอริยสัจ ๔ คือ ดวยการพิจารณาองคฌานใหเห็นแจงในขันธ ๕ ดวย
ปญญา จึงจะสามารถเพิกถอนกิเลสกําจัดอวิชชาได
จากขอความในตปุ ส สสู ต รแสดงให เ ห็ น ว า ฌานสมาบั ติ เ ป น สิ่ ง ที่
พระพุทธเจ าเคยบรรลุ มาแล ว ในสมัย ที่ยั งเป น พระโพธิ สั ต ว อยู และฌาน
สมาบัติก็เปนสิ่งที่มีอยูกอนการตรัสรูของพระพุทธเจา แตสัญญาเวทยิตนิโรธ
ไดถูกคนพบดวยปญญาที่กระทําความเพียรทางจิตโดยแยบคาย บรรลุอนุ
ปุพพวิหารธรรม ๙ มาตามลําดับจนบรรลุความดับของสัญญาและเวทนาใน

๑๓๗
ดูรายละเอียดใน องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๓๖/๕๐๘ - ๕๑๓.
๑๐๔๐
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ พรอมกับการตรัสรูเปนพระพุทธเจา และจากการ
ที่พระพุทธเจาทรงใชอนุปุพพวิหารธรรม ๙ เปนเครื่องยืนยันการตรัสรูและ
ความเปนพระพุทธเจาในโลก แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธของฌานสมาบัติ
กั บ การบรรลุ ธ รรมได เ ป น อย า งดี ว า ฌานสมาบั ติ ทั้ ง หมดที่ มี อ ยู ตั้ ง แต
ปฐมฌานจนถึงเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน สามารถใชเปนเครื่องมือใน
การเจริญปญญาเพื่อความพนทุกขได ตามกําลังปญญาของผูที่ไดบําเพ็ญ
ฌานสมาบัติมาแลว และเปนผูที่ไดบรรลุสมาบัติใดสมาบัติหนึ่งอยู แมใน
สมาบัติขั้นสูงอยางในอรูปฌานที่มีความละเอียดมาก อยางเชนเนวสัญญานา
สัญญายตนฌาน เมื่อเจริญปญญาแลว สัญญาและเวทนาก็จะดับลงในสัญญา
เวทยิตนิโรธสมาบัติ และถึงความสิ้นอาสวะเพราะเนวสัญญานาสัญญายตน
ฌานและสัญญาเวทยิตนิโรธเปนสิ่งที่ตองอาศัยกันและกัน
๖.๓ การบรรลุอริยผลกับนิโรธสมาบัติ
พระอริ ย บุ ค คลผู ที่ มี อั ธ ยาศั ย ในสมาธิ ม าก อ นแล ว ใช ส มาธิ เ ป น
พื้นฐานในการเจริญปญญาดวยการพิจารณาฌานตอไปตามลําดับ จนสําเร็จ
ผลอันเปนที่สุด ลักษณะดังกลาวนี้เปนเครื่องบงชี้ถึงความแตกตางของพระ
อริยบุคคลที่เปนผูเขานิโรธสมาบัติได และพระอริยบุคคลที่ไมสามารถเขา
นิโรธสมาบัติได ซึ่งมีการบรรลุอริยะผลที่แตกตางกัน ผูที่ใชฌานสมาบัติเปน
ฐานในการบรรลุธรรมมีตัวอยางที่ชัดเจนซึ่งเห็นไดจากการบรรลุธรรมของ
พระสารีบุตรที่เกิดขึ้นตามลําดับ ดังที่พระพุทธเจาทรงแสดงไววา
"ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย สารี บุ ต รเป น บั ณ ฑิ ต มี ป ญ ญามาก มี ป ญ ญา
กวางขวาง มีปญญาราเริง มีปญญารวดเร็ว มีปญญาเฉียบแหลม มีปญญา
เพิ ก ถอนกิเ ลส ภิ ก ษุทั้ ง หลาย เพี ย งกึ่ งเดื อนสารี บุ ต รก็ เ ห็ น แจ งธรรม
ตามลําดับบทได"๑๓๘ "การเห็นแจงธรรมตามลําดับบทของพระสารีบุตรที่
พระพุทธเจาทรงแสดงนั้นหมายความวาเห็นแจงดวยอาศัยอํานาจสมาบัติ
และอํานาจองคฌาน"ซึ่งเกิดขึ้นตามลําดับตั้งแตตนโดยเริ่มจากกําจัดนิวรณ
๕ แลวบรรลุปฐมฌานพิจารณาฌานนั้นดวยปญญาเห็นไตรลักษณ มนสิการ
๑๓๘
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๙๓/๑๑๐.
๑๐๔๑
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
โดยแยบคายดวยอริยสัจ ๔ ขั้นตอนทั้งหมดเกิดขึ้นและดําเนินไปในลักษณะ
อยางนี้เชนเดียวกันทุกฌานจนถึงอากิญจัญญายตนฌานแลวจึงบรรลุสัญญา
เวทยิตนิโรธ๑๓๙
เมื่อออกจากสั ญญาเวทยิ ตนิโ รธสมาบัติ ก็พิจ ารณาธรรมทั้งหลาย
แลวบรรลุอรหัตตผล
การบรรลุ ธ รรมดั ง กล า วจะเห็ น ได ว า ขั้ น ตอนทั้ ง หมดมี ฌ านเป น
พื้นฐานในการพิจารณาธรรมที่สูงขึ้นไป มีฌานสมาบัตินั้นๆ เปนพื้นฐานใน
การเจริญปญญาที่ดําเนินไปอยางเปนระบบและเปนขั้นตอน ดังในพระสูตรที่
พระพุทธเจาทรงแสดงการเกิดปญญาขึ้นตามลําดับแ ละการดับลงของสภาพ
ธรรมบางอยางเพราะการศึกษาไปตามลําดับ ดังพุทธพจนวา
เมื่อภิกษุนั้นพิจารณาเห็นนิวรณ ๕ ที่ตนละไดแลวยอมเกิดความ
เบิกบานใจ เมื่อเบิกบานใจก็ยอมเกิดปติ เมื่อใจมีปติกายยอมสงบ เธอมี
กายสงบยอมไดรับความสุข เมื่อมีความสุข จิตยอมตั้งมั่น ภิกษุนั้นสงัดจาก
กามและอกุศลธรรมทั้งหลายแลวบรรลุปฐมฌานที่มีวิตก วิจาร ปติ และ
สุขอันเกิดจากวิเวกอยู กามสัญญา (ความจําไดหมายรูเรื่องกาม) ของเธอที่
มีอยูกอนจะดับไป สัจสัญญาอันละเอียดมีปติและสุขอันเกิดจากวิเวกจะ
เกิดขึ้นแทน สัญญาอยางหนึ่งเกิดเพราะการศึกษา สัญญาอีกอยางหนึ่งดับ
เพราะการศึกษาอยางนี้ นี้จัดเปนการศึกษาอยางหนึ่ง๑๔๐
จากที่กลาวมาแลวทั้งหมดในเบื้องตนจึงสรุปไดวาพระอริยะบุคคล
ประเภทกายสักขี ปญญาวิมุตต อุภโตภาควิมุตต และสันทิฏฐิกธรรมเปนพระ
อริยบุคคลที่มีพื้นฐานของสมาธิมาอยางดีแลวเจริญวิปสสนาดวยปญญาจน
บรรลุอริยผลพรอมดวยคุณสมบัติพิเศษ คือ สามารถเขานิโรธสมาบัติได
ลักษณะดังกลาวทั้งหมดจึงเปนการสะทอนภาพของความสัมพันธระหวาง
นิโรธสมาบัติกับการบรรลุธรรมของพระอริยบุคคลไดเปนอยางดี

๑๓๙
ดูรายละเอียดใน ม.อุ.อ. (ไทย) ๓/๙๒/๗๙.
๑๔๐
ดูรายละเอียดใน ที.สี. (ไทย) ๙/๔๑๓/๑๗๘.
๑๐๔๒
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๖.๔ ความแตกตางของนิโรธสมาบัตกิ ับการบรรลุอริยผล
ความแตกตางกันในรายละเอียดในขณะบรรลุธรรม สามารถจําแนก
ออกไดเปน ๒ ลักษณะ คือ
๑) นิโรธสมาบัติกับการบรรลุธรรมของพระพุทธเจา
เรื่องนี้มีรายละเอียดแตกตางจากการบรรลุของพระสาวก เพราะ
พระปญญาของพระพุทธเจาสามารถพิจารณาสภาวธรรมที่มีความละเอียดได
มากกวาพระสาวก วิเคราะหจากพระสูตรที่ทรงแสดงการบรรลุอนุปุพพวิหาร
ธรรม ๙ ดังนี้
"อานนท เราลวงอากิญจัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุ
เนวสัญญานาสัญญายตนฌานอยู เมื่อเราอยูดวยวิ หารธรรมนี้สัญญา
มนสิการที่ประกอบดวยอากิญจัญญายตนฌาน ยังฟุงขึ้น ขอนั้นเปนความ
กดดันแกเรา ทุกขพึงเกิดขึ้นแกคนผูมีสุขเพียงเพื่อความกดดัน ฉันใด
สัญญามนสิการที่ประกอบดวยอากิญจัญญายตนฌานยอมฟุงขึ้น ขอนั้น
เปนความกดดันแกเรา ฉันนั้น
อานนท เราจึงมีความดําริดังนี้วา `ทางที่ดี เราควรลวงเนวสัญญานา
สัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยู จิตของ
เราไมแลนไป ไมเลื่อมใส ไมตั้งมั่นในสัญญาเวทยิตนิโรธ ไมหลุดพน' เมื่อ
พิจารณาเห็นวา `สัญญาเวทยิตนิโรธนั่นสงบ' เราจึงมีความดําริดังนี้วา `
อะไรหนอแลเปนเหตุ เปนปจจัยใหจิตของเราไมแลนไป ไมเลื่อมใส ไมตั้ง
มั่นในสัญญาเวทยิตนิโรธ ไมหลุดพน' เมื่อพิจารณาเห็นวา `สัญญาเวทยิต
นิโรธนั่นสงบ' เราจึงมีความดําริดังนี้วา `โทษในเนวสัญญานาสัญญายตน
ฌานเรายังไมไดเห็นและไมไดทําใหมาก อานิสงสในสัญญาเวทยิตนิโรธเรา
ยังไมไดบรรลุและไมไดเสพ เพราะเหตุนั้น จิตของเราจึงไมแลนไป ไม
เลื่อมใสไมตั้งมั่นในสัญญาเวทยิตนิโรธ ไมหลุดพน' เมื่อพิจารณาเห็นวา `
สัญญาเวทยิตนิโรธนั่นสงบ' เราจึงมีความดําริดังนี้วา `ถาเราเห็นโทษในเนว
สัญญานาสัญญายตนฌานแลวทําใหมาก ไดบรรลุอานิสงสในสัญญาเวทยิต
นิโรธ แลวเสพอานิสงสนั้น เปนไปไดที่จิตของเราจะพึงแลนไป เลื่อมใส ตั้ง
มั่นในสัญญาเวทยิตนิโรธ หลุดพน เมื่อพิจารณาเห็นวา `สัญญาเวทยิต
๑๐๔๓
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
นิโรธนั่นสงบ' ตอมาเราไดเห็นโทษในเนวสัญญานาสัญญายตนฌานแลวทํา
ใหมาก ไดบรรลุอานิสงสในสัญญาเวทยิตนิโรธแลวเสพอานิสงสนั้น จิตของ
เราจึงแลนไป เลื่อมใส ตั้งมั่นในสัญญาเวทยิตนิโรธ หลุดพนเมื่อพิจารณา
เห็นวา `สัญญาเวทยิตนิโรธนั่นสงบ'
อานนท เราลวงเนวสัญญานาสัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง
บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยู อาสวะทั้งหลายของเราไดถึงความหมดสิ้น
แลว เพราะเห็นดวยปญญา๑๔๑
ขอความในพระสูตรนี้แสดงใหเห็นไดอยางชัดเจนวากระบวนธรรมที่
เกิดขึ้นในราตรีที่ทรงตรัสรูเปนพระพุทธเจา เปนการพิจารณาสภาวธรรมใน
ฌานสมาบัติที่มีความละเอียดมาก ทรงกระทําความเพียรเพื่อการพิจารณา
สภาวธรรมแลวทรงบรรลุความสงบที่สูงขึ้นตามลําดับ ทรงเห็นสภาพความ
เป น ทุกข ทรงพิจ ารณาหาสาเหตุ ข องธรรมที่ทรงรู สึ กอึด อัด แล ว ทรง
พิจารณาหาทางกําจัดสภาวะที่ทรงอึดอัดนั้น ทรงพิจารณาอยางนี้ขึ้นไป
ตามลําดับในฌานขั้นตางๆ พบวามีความความแตกตางที่ไมเหมือนกับการ
พิจารณาสภาวธรรมของพระสาวกในขั้นตอนของการพิจารณาสภาวธรรมที่มี
ความละเอียดมาก อยางเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
จากพุทธพจนที่ทรงตรัสวา... `โทษในเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
เรายังไมไดเห็นและไมไดทําใหมาก อานิสงสในสัญญาเวทยิตนิโรธเรายังไมได
บรรลุและไมไดเสพ เพราะเหตุนั้น จิตของเราจึงไมแลนไป ไมเลื่อมใส ไมตั้ง
มั่นในสัญญาเวทยิตนิโรธ ไมหลุดพน' เมื่อพิจารณาเห็นวา `สัญญาเวทยิต
นิโรธ นั่นสงบ' เราจึงมีความดําริดังนี้วา `ถาเราเห็นโทษในเนวสัญญานา
สัญญายตนฌานแลวทําใหมาก ไดบรรลุอานิสงสในสัญญาเวทยิตนิโรธ แลว
เสพอานิสงสนั้น เปนไปไดที่จิตของเราจะพึงแลนไป เลื่อมใส ตั้งมั่นในสัญญา
เวทยิตนิโรธ หลุดพน๑๔๒ พุทธพจนบทนี้แสดงใหเห็นวาพระปญญาของ
พระพุทธเจานั้นสามารถที่จะพิจารณาสภาวะความละเอียดของสภาวธรรม

๑๔๑
องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๔๑/๕๓๑.
๑๔๒
องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๔๑/๕๓๑.
๑๐๔๔
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ในเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน แลวทรงพยายามกําจัดสภาวะที่ทรงอึดอัด
นั้นเพื่อบรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ในขณะที่ทรงกํากัดสภาวะความอึด
อัด นั้ นเพื่อบรรลุ สั ญญาเวทยิต นิ โรธสมาบัติ และทรงตรัส รู ในขณะที่บรรลุ
สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ จากพุทธพจนทรงตรัสที่วา....
จิตของเราจึงแลนไป เลื่อมใส ตั้งมั่นในสัญญาเวทยิตนิโรธ หลุดพน
เมื่อพิจารณาเห็นวา `สัญญาเวทยิตนิโรธนั่นสงบ'อานนท เราลวงเนวสัญญา
นาสัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวง บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยู อาสวะ
ทั้งหลายของเราไดถึงความหมดสิ้นแลว เพราะเห็นดวยปญญา
๒) นิโรธสมาบัติกับการบรรลุธรรมของพระสาวก
การบรรลุ ธ รรมของพระสาวกนั้ น แมป ระกอบด ว ยนิ โ รธสมาบั ติ
อยางสมบูรณ เชน พระสารีบุตรเถระ ก็ไมสามารถพิจารณาสภาวธรรมที่มี
ความละเอียดมากอยางเนวสัญญานาสัญญายตนฌานไดอยางตลอด ในอนุ
ปาทสูตร๑๔๓ ระบุถึงการพิจารณาสภาวธรรมของพระสารี ไวดังนี้
"อีกประการหนึ่ง เพราะลวงอากิญจัญญายตนะไดโดยประการทั้ง
ปวง สารีบุตรบรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนะอยู เธอมีสติออกจากสมาบัติ
นั้นแลวพิจารณาเห็นธรรมที่ลวงลับดับ แปรผันไปแลววา `ไดยินวา ธรรม
เหลานี้ที่ยังไมมีก็มีขึ้น ที่มีแลวยอมดับไป' เธอจึงไมยินดี ไมยินราย อันกิเลส
อาศัยไมได อันกิเลสพัวพันไมได หลุดพนแลว พรากไดแลวในธรรมเหลานั้น
มีจิตที่ฝกใหปราศจากเขตแดนคือกิเลสไดแลวอยู สารีบุตรนั้นรูชัดวา `การ
สลัดทุกขที่สูงๆ ขึ้นไปยังมีอยู' เธอมีความเห็นวา การสลัดทุกขมีไดเพราะการ
กระทําธรรมนั้นใหมากขึ้น
อีกประการหนึ่ง เพราะล ว งเนวสั ญญานาสั ญญายตนะได โ ดย
ประการทั้งปวงสารีบุตรบรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยู เพราะเห็นดวยปญญา
อาสวะทั้งหลายของเธอจึงสิ้น ไป สารีบุ ตรนั้นมีสติ ออกจากสมาบัติแล ว
พิจารณาเห็นธรรมที่ลวงลับดับ แปรผันไปแลววา `ไดยินวา ธรรมเหลานี้ที่ยัง
ไมมีก็มีขึ้น ที่มีแลวยอมดับไป' เธอจึงไมยินดี ไมยินราย อันกิเลสอาศัยไมได
๑๔๓
องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๔๑/๕๓๑.
๑๐๔๕
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
อันกิเลสพัวพันไมไดหลุดพนแลว พรากไดแลวในธรรมเหลานั้น มีจิตที่ฝกให
ปราศจากเขตแดน คือ กิเลสไดแลวอยู สารีบุตรนั้นรูชัดวา `การสลัดทุกขที่
สูงๆ ขึ้นไปยังมีอยู' เธอมีความเห็นวาการสลัดทุกขมีไดเพราะการกระทํา
ธรรมนั้นใหมากขึ้น"๑๔๔
จากพระสูตรนี้จะพบวา ตั้งแตเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน จะมี
ความแตกตางของการพิจารณาสภาวธรรม โดยการพิจารณาของพระสารี
บุ ต รไม ส ามารถเกิ ด ขึ้ น ในขณะที่ อ ยู ใ นฌานสมาบั ติ แ บบเดี ย วกั บ ที่
พระพุทธเจาทรงพิจารณาสภาวธรรมของเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน แต
จะพบวาพระสารีบุตรจะตองออกจากเนวสัญญานาสัญญาเสียกอนแลวจึง
พิจารณาสภาวธรรมของเนวสัญญานาสัญญายตนฌานได ดังที่พระพุทธเจา
ตรัสวา "สารีบุตรนั้นมีสติออกจากสมาบัติแลว พิจารณาเห็นธรรมที่ลวงลับ
ดับ แปรผันไปแลววา `ไดยินวา ธรรมเหลานี้ที่ยังไมมีก็มีขึ้น ที่มีแลวยอมดับ
ไป' เธอจึงไมยินดี ไมยินราย อันกิเลสอาศัยไมได อันกิเลสพัวพันไมไดหลุด
พน แล ว พรากได แล ว ในธรรมเหล านั้ น "สารี บุ ต รบรรลุ เ นวสั ญญานา
สัญญายตนะอยู เธอมีสติออกจากสมาบัตินั้นแลวพิจารณาเห็นธรรมที่ลวงลับ
ดับแปรผันไปแลว๑๔๕
เมื่ อ พระสารี บุ ต รบรรลุ สั ญ ญาเวทยิ ต นิ โ รธสมาบั ติ แ ละออกจาก
สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ มีสติแลวจึงพิจารณาสภาวธรรมความดับของ
สัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติแลว พระสารีบุตรจึงบรรลุธรรม จากพุทธพจนที่
ทรงตรัสวา "บรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยูเพราะเห็นดวยปญญา อาสวะ
ทั้งหลายของเธอจึงสิ้นไป สารีบุตรนั้นมีสติออกจากสมาบัติแลว พิจารณา
เห็นธรรมที่ลวงลับ ดับ แปรผันไป แลววา `ไดยินวา ธรรมเหลานี้ที่ยังไมมีก็มี
ขึ้น ที่มีแลวยอมดับไป' เธอจึงไมยินดี ไมยินราย อันกิเลสอาศัยไมได อัน
กิเลสพัวพันไมไดหลุดพนแลว พรากไดแลวในธรรมเหลานั้น"๑๔๖

๑๔๔
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๙๕-๙๖/๑๑๔.
๑๔๕
ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๙๕-๙๖/๑๑๔.
๑๔๖
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๙๖๑/๑๑๔
๑๐๔๖
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ

๗. อานิสงสของนิโรธสมาบัติ
คุณประโยชนของนิโรธสมาบัติจําแนกออกไดเปน ๒ ลักษณะ ไดแก
อานิสงสที่ใหผลโดยตรงแกบุคคลผูเขานิโรธสมาบัติ และอานิสงสที่ใหผลแก
บุคคลอื่นที่มีสวนเกี่ยวของกับบุคคลผูเขานิโรธสมาบัติ ดังนี้
๗.๑ ผลโดยตรงแกบุคคลผูเขานิโรธสมาบัติ
ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยตรงแก บุ ค คลผู เ ข า นิ โ รธสมาบั ติ มี ใ นหลายๆ
ลักษณะ ดังนี้
๑) เปนผูถึงความสําเร็จ ๕ ประการ
อาหุเนยยสูตรและทักขิเณยยสูตรไดแสดงชนิดและประเภทของพระ
อริยบุคคลในระดับตางๆ ตามภูมิธรรมที่ไดบรรลุแลว และแสดงถึงความเปน
บุคคลผูมีคุณสมบัติของพระอริยะ บุคคลดังกลาวเปนกลุมบุคคลที่มีความ
พิเศษ อานิสงสในความเปนบุคคลผูถึงความสําเร็จ ๕ ประการ ของพระ
อริยบุคคล (ทั้งพระอริยบุคคลที่สามารถเขานิโรธสมาบัติไดและที่ไมสามารถ
เขานิโรธสมาบัติได) คือ
๑. อาหุไนย เปนผูควรแกของที่เขานํามาถวาย
๒. ปาหุไนย เปนผูควรแกของตอนรับ
๓. ทักขิไนย เปนผูควรแกทักษิณาของชาวโลกและเทวดา
๔. อัญชลีกรณียะ เปนผูควรทําการอัญชลี
๕. โลกานุตตรปุณยเขตตะ เปนเขตบุญอันยอดเยี่ยมแหงโลก
ตามที่พระพุทธเจาทรงแสดงใวในอาหุเนยยสูตรวา ภิกษุทั้งหลาย
บุคคล ๑๐ จําพวกนี้ เปนผูควรแกของที่เขานํามาถวาย ควรแกของตอนรับ
ควรแกทักษิณา ควรแกการทําอัญชลี เปนนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลกบุคคล
๑๐ จําพวกไหนบาง คือ ๑. พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ๒. พระ
ปจเจกสัมพุทธเจา ๓. ทานผูเปนอุภโตภาควิมุต ๔. ทานผูเปนปญญาวิมุต ๕.
ทานผูเปนกายสักขี ๖. ทานผูเปนทิฏฐิปตตะ ๗. ทานผูเปนสัทธาวิมุต ๘.
ทานผูเปนธัมมานุสารี ๙. ทานผูเปนสัทธานุสารี ๑๐. ทานผูเปนโคตรภู
ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๑๐ จําพวกนี้ เปนผูควรแกของที่เขานํามาถวาย ฯลฯ

๑๐๔๗
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ปนนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก๑๔๗
และในทักขิเณยยสูตร วา ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๙ จําพวกนี้ เปนผู
ควรแกของที่เขานํามาถวายควรแกของตอนรับควรแกทักษิณาควรแกการทํา
อัญชลีเปนนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลกบุคคล ๙ จําพวกไหนบาง คือ
๑. พระอรหันต ๒. บุคคลผูปฏิบัติเพื่ออรหัตตผล
๓. พระอนาคามี ๔. บุคคลผูปฏิบัติเพื่อทําใหแจงอนาคามิผล
๕. พระสกทาคามี ๖. บุคคลผูปฏิบัติเพื่อทําใหแจงสกทาคามิผล
๗. พระโสดาบัน ๘. บุคคลผูปฏิบัติเพื่อทําใหแจงโสดาปตติผล
๙. โคตรภูบุคคล
ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๙ จําพวกนี้ เปนผูควรแกของที่เขานํามาถวาย
ฯลฯ เปนนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก๑๔๘
๒) เปนที่พักผอนอันประเสริฐ("ทิฎฐธรรมนิพพาน"๑๔๙ หรือ "ทิฏฐ
ธรรมสุขวิหาร")
อานิสงสของนิโรธสมาบัติในการใชเปนที่พักผอนอันประเสริฐพบวา
มีอยูในพระสูตรหลายแหงและมีการใชสํานวนภาษาที่แตกตางกัน อยางเชน
"พระพุทธเจาทรงมีธรรมเปนเครื่องอยู" ๑๕๐
"พระพุทธเจาทรงเขาอนุปุพพวิหารธรรม ๙"๑๕๑
"พระพุทธเจาเสด็จหลีกเรนอยู" ๑๕๒
"พระสารีบุตรใชนิโรธสมาบัติเปนที่นอน"๑๕๓

๑๔๗
ดูรายละเอียดใน องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๑๖/๒๙ -- ๓๐.
๑๔๘
ดูรายละเอียดใน องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๑๐/๔๔๙ -- ๔๕๐.
๑๔๙
สงฺ.สฬา.อ. (ไทย) ๓/๓๔๘/๒๐๓.ดูรายละเอียดใน พุทธธรรม ฉบับขยาย
ความ, หนา ๕๕๕.
๑๕๐
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๓/๖., ดูรายละเอียดใน ที.ม.อ. (บาลี) ๒/๑๓/๑๘ - ๑๙.
๑๕๑
ดูรายละเอียดใน องฺ.นวก. (ไทย) ๒๓/๔๑/๕๓๒.
๑๕๒
ขุ.อป. (ไทย) ๓๒/๑/๑๕๐., ดูรายละเอียดใน ขุ.อป.อ (บาลี) ๒/๓๓/๕๖.
๑๕๓
ดูรายละเอียดใน ขุ.ป. (ไทย) ๓๒/๓๕๗/๒๖.
๑๐๔๘
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
"พระอนุ รุทธะ พระนันทิย ะ พระกิมิล ะ มีป ฐมฌานจนถึงนิโรธ
สมาบัติเปนเครื่องอยูอยางผาสุขในปจจุบัน"๑๕๔ ฯลฯ เหลานี้เปนตน
ทุติยกามภูสูตรอรรถกถาระบุวา ชื่อวานิโรธนี้อยางไร ตอบวา การ
พิจารณาขันธ ๔ แลวไมเปนไป ถามวา เมื่อเปนเชนนั้น พวกภิกษุยอมเขา
นิโรธนั้น เพื่อประโยชนอะไร ตอบวา ยอมเขาเพื่อประโยชนวา พวกเรา(เคย)
เปนผูกระสันในความเปนไปแหงสังขารทั้งหลาย (บัดนี้) จักเปนผูไมมีจิตอยู
เปนสุขตลอด ๗ วัน นิโรธนี้ชื่อวาทิฎฐธรรมนิพพานนิพพานในปจจุบัน๑๕๕
หนังสือพุทธธรรมระบุวา เทาที่ไดกลาวมาในเรื่องความสุขนี้ เห็น
ควรสรุปใหเห็นขั้นตอนและประเภทชัดเจนขึ้นอีกครั้งหนึ่งซึ่งจะไดดังนี้
ก. เวทยิตสุข (สุขที่เปนเวทนา หรือสุขที่มีการเสวยอารมณ)
๑. กามสุข สุขเนื่องดวยกามหรือสุขเกิดจากกามคุณ
๒. ฌานสุข สุขเนื่องดวยฌานหรือสุขที่เปนวิบากแหงฌาน (สุข
เนื่องดวยรูปฌาน ๔ ขั้น สุขเนื่องดวยอรูปฌาน ๔ ขั้น)
ข. อเวทยิตสุข (สุขที่ไมเปนเวทนา หรือสุขที่ไมมีการเสวยอารมณ)
๓) นิโรธสมาบัติสุข
สุขเนื่องดวยนิโรธสมาบัติคือการเขาสัญญาเวทยิตนิโรธ เรียกวา
นิพพานสุข สุขเนื่องดวยนิพพาน๑๕๖ เพราะสภาวะของนิโรธสมาบัติเปน
สภาพความดับของนามขันธ ๔ ที่มีความคลายกับสภาวะของนิพพาน ไมมี
สภาพความเกิด ความดับ ของสังขารธรรมที่เบียดเบียน เปนความสงบ สงัด
ที่พึงเขาถึงและเปนสภาวะของความสุขอันประณีตโดยปริยาย นิโรธสมาบัติ
เปนที่หลีกเรน เปนธรรมเครื่องอยูอยางผาสุข เปนวิหารธรรม เปนที่นอน จึง
เปนที่พักผอน อันประเสริฐของพระอริยบุคคลผูที่สามารถเขานิโรธสมาบัติได

๑๕๔
ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๓๒๕/๓๕๗.
๑๕๕
ดูรายละเอียดใน สงฺ.สฬา.อ. (ไทย) ๓/๓๔๘/๒๐๓.,ขุ.ป.อ. (บาลี) ๑/๘๒/
๓๒๗ -- ๓๒๘.
๑๕๖
ดูรายละเอียดใน พุทธธรรม ฉบับขยายความ, หนา ๕๕๕.
๑๐๔๙
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ทั้งหลาย ซึ่งเปนการพักผอนดวยการอาศัยอํานาจของฌานสมาบัติและ
วิปสสนาญาณเพื่อการเขาถึง
๔) สมาธิวิปผาราฤทธิ์
สมาธิวิปผาราฤทธิ์ หมายถึง อํานาจหรือคุณวิเศษที่เกิดจากฌาน
สมาบัติของบุคคลผูเขานิโรธสมาบัติได เปนคุณวิเศษที่เกิดดวยอํานาจสมถะ
ในกาลกอนหรือภายหลังสมาธิหรือในขณะแหงสมาธินั้น"๑๕๗ คือ อํานาจของ
ฌานสมาบัติที่แผซานไปทั่วรางกายของผูเขานิโรธสมาบัติ ซึ่งจะคุมครองมิให
ไดรับอันตรายใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับรางกายและวัตถุสิ่งของที่เกี่ยวเนื่องกับผู
เขานิโรธสมาบัติ อยางเชน "กรณีของพระสัญชีวะที่มิไดรับอันตรายจากไฟที่
คนเลี้ยงโคที่ไดชวยกันทําฌาปนกิจรางกายของทาน เพราะคนเลี้ยงโคเขาใจ
วา ทานไดมรณะภาพ"๑๕๘ และกรณีของพระสารีบุตรที่ไมไดรับอันตรายใดๆ
จากการทํารายของ นันทะยักษที่ฟาดกระบองลงบนศีรษะของพระสารีบุตร
ในขณะที่ ท า นเข า ฌานสมาบั ติ ใ นที่ โ ล ง แจ ง และเป น ขณะที่ อ ยู ใ นนิ โ รธ
สมาบัติ๑๕๙
๕) อินทรียผองใส
อินทรียผองใส หมายถึง รางกายของผูเขาสมาบัติจะมีความผองใสที่
สามารถเห็นและรูสึกไดในเชิงประจักษ ปรากฏอยูในพระสูตรหลายแหงดังนี้
นิโรธสมาปตติสูตร ระบุวา.... ตอมาเวลาเย็น ทานพระสารีบุตรออก
จากที่หลีกเรนแลวเขาไปยังพระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี ทาน
พระอานนทไดเห็นทานพระสารีบุตรกําลังเดินมาแตไกลจึงถามวา "ทานสารี
บุตรอินทรียของทานผองใสยิ่งนัก สีหนาก็บริสุทธิ์ผุดผอง วันนี้ ทานสารีบุตร
อยูดวยวิหารธรรมอะไร" ทานพระสารีบุตรตอบวา "ทานผูมีอายุ วันนี้ ผม
ลวงเนวสัญญานาสัญญายตนฌานโดยประการทั้งปวงเขาสัญญาเวทยิตนิโรธ
(สมาบัติที่ดับสัญญาและเวทนา) อยู ผมนั้นไมไดคิดวา `เราเขาสัญญาเวทยิต
๑๕๗
พระพุทธโฆสเถระ, วิสุทธิมรรค, หนา ๖๕๙.
๑๕๘
ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๖๐-๔๖๗/๕๐๐-๕๐๘.
๑๕๙
ขุ.อุ. (ไทย) ๒๔/๓๔/๒๓๙.
๑๐๕๐
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
นิโรธอยูหรือเขาสัญญาเวทยิตนิโรธแลวหรือวาออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธ
แลว"๑๖๐
มหาเวทัลลสูตร ระบุวา.... สัตวผูต ายคือทํากาละไปแลวมีกาย
สังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขารดับระงับไป มีอายุหมดสิ้นไป ไมมีไออุน มี
อินทรียแตกทําลาย สวนภิกษุผูเขาสัญญาเวทยิตนิโรธ มีกายสังขาร วจี
สังขาร และจิตตสังขารดับ ระงับไป แตอายุยังไมหมดสิ้นยังมีไออุนมีอินทรีย
ผองใส สัตวผูต าย คือ ทํากาละไปแลวกับ ภิกษุผูเขาสัญญาเวทยิตนิโรธ
ตางกันอยางนี๑๖๑

สุสิมสูตร ระบุวา ครั้งนั้น เทพบุตรบริษัทของสุสิมเทพบุตร เมื่อสุสิม
เทพบุตรกําลังกลาวสรรเสริญคุณของทานพระสารีบุตรอยู ตางปลื้มปติเบิก
บานใจ เกิดปติโสมนัสมีรัศมีวรรณะเปลงปลั่งปรากฏอยู ดุจแกวมณีและแกว
ไพฑูรยอันงดงามตามธรรมชาติถูกนายชางเจียระไนดีแลว แปดเหลี่ยม วาง
ไวบนผากัมพลสีเหลือง สองแสงแพรวพราวสุกสกาวอยู ฉะนั้น เทพบุตร
บริษัทของสุสิมเทพบุตร เมื่อสุสิมเทพบุตรกําลังกลาวสรรเสริญคุณของทาน
พระสารีบุตรอยู ตางปลื้มปติเบิกบานใจ เกิดปติโสมนัส มีรัศมีวรรณะเปลง
ปลั่งปรากฏอยู ดุจทองแทงชมพูนุทเปนของที่บุตรนายชางทองผูขยันใสเบา
หลอมไลมลทิน จนสิ้นราคีแลว วางไวบนผากัมพลสีเหลือง สองแสงแพรว
พราวสุกสกาวอยู ฉะนั้น เทพบุตรบริษัทของสุสิมเทพบุตร ฯลฯ มีรัศมี
วรรณะเปลงปลั่งปรากฏอยูดุจดาวศุกรเมื่ออากาศปลอดโปรงปราศจากหมู
เมฆในฤดูสารทกาล สองแสงแพรวพราวสุกสกาวอยูในเวลาใกลรุง ฉะนั้น
เทพบุตรบริษัทของสุสิมเทพบุ ตร เมื่อสุสิมเทพบุตรกําลังกลาว
สรรเสริญคุณของทานพระสารีบุตรอยู ตางปลื้มปติเบิกบานใจ เกิดปติ
โสมนัส มีรัศมีวรรณะเปลงปลั่งปรากฏอยู ดุจดวงอาทิตยเมื่ออากาศปลอด

๑๖๐
สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๓๔๐/๓๔๗.
๑๖๑
สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๓๔๐/๓๔๖.
๑๐๕๑
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
โปรงปราศจากหมูเมฆในฤดูสารทกาล พวยพุงขึ้นสูทองฟา ขจัดความมืดที่มี
อยูในอากาศทั้งปวง สองแสงแพรวพราวสุกสกาวอยู ฉะนั้น๑๖๒

๖) ทําใหมารตาบอด
พระอริ ย บุ ค คลผู บ รรลุ ฌ านสมาบั ติ ตั้ ง แต ป ฐมฌานจนถึ ง สั ญ ญา
เวทยิตนิ โรธสมาบัติ ยอมไดชื่อวาเปนผู ทําใหมารตาบอด ซึ่งมีขอความ
ปรากฏในพระสูตรดังตอไปนี้
(๑) นิวาปสูตร ระบุวา ที่ซึ่งมารและบริวารของมารไปไมถึง เปน
อยางไร คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้สงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแลว
บรรลุปฐมฌานทีม่ ีวิตก วิจาร ปติ และสุขอันเกิดจากวิเวกอยู เราเรียกภิกษุนี้
วา `ไดทํามารใหตาบอด คือ ทําลายดวงตาของมารเสียอยางไมมีรองรอย ถึง
การที่มารใจบาปมองไมเห็น'
ฯลฯ
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง เพราะลวงเนวสัญญานาสัญญายตน
ฌานโดยประการทั้งปวง ภิกษุบรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยู ก็เพราะเห็นดวย
ปญญา เธอยอมมีอาสวะสิ้นไป เราเรียกภิกษุนี้วา `ไดทํามารใหตาบอด คือ
ทําลายดวงตาของมารเสียอยางไมมีรองรอย ถึงการที่มารใจบาปมองไมเห็น
และขามพนตัณหาอันเปนเครื่องของอยูในโลกไดแลว"๑๖๓
(๒) ปาสราสิสูตร ระบุวา
อนึ่ง เนื้อปาเมื่อเที่ยวไปตามปาใหญ ยอมวางใจเดิน ยืน นั่ง นอน
ขอนั้นเพราะเหตุไร เพราะไมไดพบกับนายพรานเนื้อ แมฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้น
เหมือนกัน สงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแลวบรรลุปฐมฌานที่มีวิตก
วิจาร ปติและสุขอันเกิดจากวิเวกอยู เราเรียกภิกษุนี้ วา `ผูทําใหมาร ตาบอด
คือ ทําลายดวงตาของมารอยางไมมีรองรอย ถึงการที่มารใจบาปมองไมเห็น
ฯลฯ

๑๖๒
ดูรายละเอียดใน สํ.ส. (ไทย) ๑๕/๑๑๐/๑๒๒.
๑๖๓
ดูรายละเอียดใน ม.มู. (ไทย) ๑๒/๒๗๑/๒๙๓ - ๒๙๔.
๑๐๕๒
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
ภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง เพราะลวงเนวสัญญานาสัญญายตน
ฌานโดยประการทั้งปวง
ภิกษุบรรลุสัญญาเวทยิตนิโรธอยู ก็เพราะเห็นดวยปญญา เธอยอมมี
อาสวะสิ้นไป เราเรียกภิกษุ นี้วา `ผูทําใหมารตาบอด คือ เปนผูที่มารใจบาป
มองไมเห็นเพราะทําลายดวงตาของมารอยางไมมีรองรอย' เปนผูขามพน
ตัณหาอันของอยูในอารมณตางๆ ในโลกได ยอมวางใจ เดิน ยืน นั่ง นอน ขอ
นั้นเพราะเหตุไร เพราะไมไดดําเนินอยูในทางของมารใจบาป๑๖๔
คําวา ไดทํามารใหตาบอด ความวา ภิกษุไมไดทําลายนัยนตาของ
มาร แตจิตของภิกษุ ผูเขาฌานมีวิปสสนาเปนบาทอาศัยอารมณชื่อนี้เปนไป
ดังนั้น มารจึงไมสามารถเห็นไดเพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาววา ไดทํามารให
ตาบอด คําวา คือทําลายดวงตาของมารเสียอยางไมมีรองรอย ความวาโดย
ปริยายนั้นนั่นเอง เธอจึงทําลายแลวโดยประการที่ดวงตาของมารจะไมมีทาง
คือ หมดทาง ไมมีที่ตั้ง ไมมีอารมณ คําวา ถึงการที่มารใจบาปมองไมเห็ น
ความวา โดยปริยายนั้นนั่นเอง มารผูมีบาปจึงมองไมเห็น แทจริง มารนั้นไม
สามารถเห็นรางกาย คือ ญาณของภิกษุผูเขาฌานมีวิปสสนาเปนบาทนั้น
ดวยตาเนื้อของตนได๑๖๕
พระอริยบุคคลทั้งหลายที่เจริญปญญาเพื่อความพนทุกข โดยใช
ฌานสมาบัติตั้งแตปฐมฌานจนถึงนิโรธสมาบัติเปนพื้นฐาน แหงการเจริญ
ปญญาในการเพิกถอนกิเลส และดวยอํานาจของปญญาในการพิจารณาไตร
ลักษณและอริยสัจ ๔ จึงเปนวิปสสนาญาณที่ทําใหมารตาบอด มารมองไม
เห็น เพราะวิปสสนาญาณที่เปนไปในการเพิกถอนกิเลสจนเปนผูบรรลุความ
สงบ สงัด กําจัดอาสวะไดตามกําลังปญญาของตน เปนอานิสงสของอริย
ปญญาในพระพุทธศาสนาซึ่งมีความสัมพันธเชื่อมโยงมาถึงพระอริยบุคคลผูที่
สามารถเขานิโรธสมาบัติได

๑๖๔
ม.มู. (ไทย) ๑๒/๒๘๗/๓๑๕ - ๓๑๖.
๑๖๕
ม.มู.อ. (ไทย) ๒/๒๗๑/๙๖.
๑๐๕๓
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๗.๒ ผลแกบุคคลอื่นที่มีสวนเกี่ยวของกับบุคคลผูเขานิโรธสมาบัติ
อานิสงสตอบุคคลอื่น หมายถึง ผลแหงบุญที่เกิดขึ้นกับผูที่ไดถวาย
ทานแกพระอริยบุคคลผูออกจากนิโรธสมาบัติใหมๆ เปนบุคคลแรก ปรากฎ
ขอความดังนี้
๑) กุณฑธานเถรปทาน ระบุวาเราจักพยากรณผูที่บํารุงพระพุทธเจา
ผูเปนดังพญาเนื้อชาติไกรสร ทานทั้งหลายจงฟงเรากลาวเถิด ผูนั้นจักเปน
เทวราช ๑๑ ชาติ และจักเปนพระเจาจักรพรรดิ ๓๔ ชาติ ในกัปที่
๑๐๐,๐๐๐ (นับจากกัปนี้ไป) พระศาสดาพระนามวาโคดม ตามพระโคตร
ทรงสมภพในราชกุลโอกกากราช จักอุบัติขึ้นในโลกผูนั้นจักดาสมณะทั้งหลาย
ผูมีศีล ผูไมมีอาสวะ จักไดการขนานนามเพราะวิบากแหงบาปกรรม เขาจักมี
นามวากุณฑธานะ๑๖๖
สักกุทานสูตรอรรถกถา ระบุวา จริงอยู ในปฏิสัมภิทามรรค ทาน
หมายเอานิโรธสมาบัตินี้ ถามวา อยางไร ชื่อวาญาณในสัญญานิโรธสมาบัติ
เพราะประกอบดวยพละ ๒ เพราะสงบระงับสังขาร ๓ เพราะญาณจริยา
๑๖ เพราะสมาธิจริยา ๙ เพราะความเปนผูเชี่ยวชาญ ดังนี้แลว จึงกลาววา
บทวา ทฺวีหิ พเลหิไดแก พละ ๒ คือ สมถพละ วิปสสนาพละ. พึงทราบความ
พิสดารตอไป กถาวาดวยนิโรธสมาบัตินี้นั้น ทานพรรณนาไวแลวในวิสุทธิ
มรรคแล. ก็เพราะเหตุไร พระเถระนี้ไมเขาผลสมาบัติ แตเขานิโรธสมาบัติ ?
เพราะจะอนุเคราะหเหลาสัตว. จริงอยู พระมหาเถระนี้ ใชสมาบัติไดแม
ทั้งหมด แตโดยมากทานเขานิโรธสมาบัติ เพราะจะอนุเคราะหสัตว. เพราะ
เมื่อทานเขานิโ รธสมาบัตินั้นแล วออก สักการะแมมีประมาณนอยที่เขา
กระทํา ยอมมีผลมาก มีอานิสงสมากเปนพิเศษแล๑๖๗
อาจามทานอรรถกถา ระบุวา บทวา โมทิตา จามทายิกาความวา ก็
หญิงชื่อนั้นถวายทานเพียงขาวตัง ยังบันเทิงอยูดวยทิพยสมบัติในกามาวจร
สวรรคชั้นที่ ๕ ทานแสดงวา ขอทานจงดูผลของทานซึ่งพรั่งพรอมดวยเขต

๑๖๖
ดูรายละเอียดใน ขุ.อ. (ไทย) ๓๒/๖-๑๑/๑๕๐ ๒ ๑๕๑.
๑๖๗
ดูรายละเอียดใน ขุ.อุ.อ. (บาลี) --/๒๗/๒๐๗.
๑๐๕๔
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
สัมปทา [คือพระทักษิไณยบุคคลผูเปนปฏิคาหก] ทาวสักกะ สดับวาทานของ
หญิงนั้นมีผลใหญ และมีอานิสงสผลใหญแลว เมื่อทรงสรรเสริญทานนั้นอีก
จึงตรัสวา นาอัศจรรยจริงหนอ ทานที่หญิงผูยากไรตั้งไวดีแลว ในพระคุณ
เจากัสสปะ ดวยไทยทานที่นาง นํามาแตผูอื่น ทักษิณายังสําเร็จผลไดจริง
หนอ ขอที่นารีผูงามทั่วสรรพางค สามีมองไมจืด ไดรับอภิเษก เปนเอกอัคร
มเหสีของพระเจาจักรพรรดิ ก็ยังไมเทาเสี้ยวที่ ๑๖ ของอาจามทานนี้ [ถวาย
ขาวตัง] ทองคํารอยนิกขะ มารอยตัว รถเทียมมาอัสดรรอยคัน หญิงสาว ผู
สวมกุณฑลมณีจํานวนแสนนางก็ยัง ไมเทาเสี้ยวที่ ๑๖ ของอาจามหานนี้
พระยาชาง ตระกูลเหมวตะ มีงางอน มีกําลังและวองไว มีสายรัดทองคํา มี
ตัวใหญ มีเครื่องประดับเปนทองรอยเชือก ก็ยังไมเทาเสี้ยวที่ ๑๖ ของอาจาม
ทานนี้ ถึงแมพระเจาจักรพรรดิ ทรงครองความเปนเจา ทวีปใหญทั้งสี่ ก็ยังไม
เทาเสี้ยวที่ ๑๖ ของอาจามทานนี๑๖๘้
อานิสงสที่เกิดกับบุคคลผูที่ไดถวายทานแกพระอริยบุคคลที่ออกจาก
นิโรธสมาบัติ พบวา การปฏิบัติใดๆ หรือการถวายทานแกพระอริยบุคคลผู
ออกจากนิโรธสมาบัติใหมๆ พบวามีอานิสงสที่ยิ่งใหญและจัดเปนทิฏฐธรรม
เวทนียกรรม คือ กรรมที่ใหผลในทันทีหรือภายใน ๗ วันพระอริยบุคคลผูเขา
นิโรธสมาบัติจึงไดชื่อวาโลกานุตตรปุณยเขตตะ เปนเขตบุญอันยอดเยี่ยมแหง
โลกทานที่ไดถวายแกพระอริยบุคคลผูออกจากนิโรธสมาบัติจะใหผลในทันที
ดังนั้น การถวายทานหรือการกระทําใดๆ แกพระอริยบุคคลผูออก
จากนิโรธสมาบัติที่จัดเปน "ปริปกกทิฏฐธรรมเวทนียกรรมนั้นจะตองถึง
พรอมดวยสัมปทาทั้ง ๔"๑๖๙ คือ
๑. เจตนาสัมปทา มีเจตนาอันแรงกลายิ่งในการทํากุศลนั้น
๑๖๘
ดูรายละเอียดใน ขุ.วิ.อ. (บาลี) --/๑๘๙ - ๑๙๔/๑๑๑ - ๑๑๒.
๑๖๙
ดูรายละเอียดในสังคหะ ๓, [ซีดี-รอม] สาระสังเขปจาก พระไตรปฎก ฉบับ
เรียนพระไตรปฎก เวอรชั่น ๒.๑, (๕ ธันวาคม ๒๕๕๐) หนา ๑๓, แบบประกอบ
นักธรรมโท -- ธรรมปริทรรศน เลม ๒,[ซีดี-รอม]
สาระสังเขปจาก พระไตรปฎก ฉบับเรียนพระไตรปฎก เวอรชั่น ๒.๑, (๕
ธันวาคม ๒๕๕๐), หนา ๒๒๒ - ๒๒๔.
๑๐๕๕
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๒. ปจจยสัมปทา ปจจัยที่ทํากุศลนั้นไดมาดวยความบริสุทธิ์
๓. วัต ถุสั มปทา บุคคลผูรั บทานนั้ นเปนพระอนาคามีห รือพระ
อรหันต
๔. คุณาติเรกสัมปทา พระอนาคามี หรือพระอรหันตผูรับทานนั้นถึง
พรอมดวยคุณอันพิเศษ คือ ออกจากนิโรธสมาบัติใหมๆ
ดังนั้น การถวายทานจะตองบริบูรณพรอมทั้งสองสวน คือ (๑) ฝาย
ผูถวายทาน และ (๒) ฝายของผูรับทานนั้นจึงสงใหทานั้นมีผลมากมีอานิสงส
มาก
การตั้ งความปรารถนาเพื่อฐานะอัน ประเสริฐ ในพระพุทธศาสนา
ทั้งหลายลวนมีสวนเกี่ยวของกับนิโรธสมาบัติทั้งสิ้น โดยเปนผลจากการถวาย
ทานแกพระพุทธเจา พระปจเจกพุทธเจา และพระอริยบุคคลที่ออกจากนิโรธ
สมาบัติ เพราะมีจิตเลื่อมใส เกิดศรัทธา แลวตั้งความปรารถนาในฐานะนั้นๆ
หรือไดรับการพยากรณผลแหงทานเมื่อไดถวายทานแลว ซึ่งผลแหงทานนั้น
ไดสงผลใหประสพแตกุศลวิบากและใหผลตอเนื่องที่ยาวนานทั้งสิ้น จาก
ฐานขอมูลในพระพุทธศาสนาไมพบวามีอานิสงสของทานชนิดใดที่จะใหผล
มากและยิ่งใหญเทียบเทากับการถวายทานกับพระอริยบุคคลผูที่เพิ่งออกจาก
นิ โ รธสมาบั ติ เ ลย จากเหตุ ผ ลขอนี้ จึ งมีน้ํ าหนั ก เพีย งพอที่ จ ะสนั บ สนุ น
สมมติฐานที่วา อานิสงสของทานที่ไดถวายแกพระอริยบุคคลทั้งหลายที่เพิ่ง
ออกจากนิโรธสมาบัติใหผลที่ยิ่งใหญที่สุดในบรรดาทานทั้งหลาย
นิโรธสมาบัติมีลักษณะสภาวะที่เปนอาการดับลงของสังขาร ๓ ไมมี
จิตในขณะที่อยูในนิโรธสมาบัติ สภาวะนั้นไมแตกตางจากคนตาย มีเพียง
กรรมชรูป คือ ไออุนเปนเครื่องรักษาสภาพแหงความมีชีวิตไว โดยมหาภูตรูป
๔ ยังไมเสื่อมสลายไป เพราะรางกายยังมีอาหาร หลอเลี้ยงความมีชีวิตของผู
เขานิโรธสมาบัติตอไปไดถึง ๗ วัน แมไมมีการกินอาหารเขาไปเลย ในการเขา
นิโรธสมาบัติสามารถอยูในสมาบัตินั้นไดนานที่สุด ๗ วัน หากไมมีสิ่งใดมา
เปนเงื่อนไขที่ทําใหตองออกจากสมาบัติเสียกอน เหตุที่ทําใหตองออกจาก
นิโรธสมาบัติกอนเวลามีอยู ๓ ประการ คือ
๑. อายุสังขารที่เหลืออยูไมถึง ๗ วัน
๑๐๕๖
บทที่ ๒๐ การเขานิโรธสมาบัติ
๒. พระพุทธเจาทรงเรียกหา
๓. สงฆเรียกหา
คุณสมบัติของผูเขานิโรธสมาบัติ ผูที่จะสามารถเขานิโรธสมาบัติได
นั้นจะตองเปน พระอริยะบุคคล ๒ จําพวกเทานั้น คือ (๑) พระอนาคามี
และ (๒) พระอรหันต ที่มีความชํานาญในสมาบัติ ๘ และบุคคลดังกลาวนั้น
จะตองเปนพระอริยบุคคลที่อยูในปญจโวการภพเทานั้น หมายถึง ภพภูมิของ
สัตวที่มีองคประกอบของชีวิตที่มีขันธ ๕ ครบ ซึ่งสัตวดังกลาวนี้อยูในสุคติภูมิ
๒๒ ประกอบดวยภูมิตางๆ ดังนี้ มนุสสภูมิ ๑ เทวภูมิ ๖ พรหมภูมิ ๑๕

๑๐๕๗
บรรณานุกรม
ก. ขอมูลปฐมภูมิ
(๑) พระไตรปฎก :
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปฏกํ,
๒๕๐๐.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕.
____ .พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. เนื่องใน
มหามงคลสมัยฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ปของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๙
มหามกุฏราชวิทยาลัย . พระไตรปฎกพรอมอรรถกถา แปล ชุด ๙๑ เลม,
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔.

(๒) ปกรณวิเสส อรรถกถา และฎีกา :


มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. อรรถกถาภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาอฏฐกถา.
กรุงเทพฯ:โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,โรงพิมพวิญญาณ,๒๕๓๒.
____ .ฎีกาภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาฎีกา. กรุงเทพมหนคร : โรงพิมพ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และโรงพิมพวิญญาณ, ๒๕๓๙.
____ .ปกรณวิเสสภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาปกรณวิเสโส. กรุงเทพมหนคร:
โรงพิมพวิญญาณ, ๒๕๓๙.
____ .วินยปฏก สมนฺตปาสาทิกา มหาวิภงฺคอฏกถา. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔.
____ .ทีฆนิกาย สุมงฺคลวิลาสินี สีลกฺขนฺธวคฺคอฏกถา. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพวิญญาณ, ๒๕๓๒.
____ .ทีฆนิกาย สุมงฺคลวิลาสินี มหาวคฺคอฏกถา. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพวิญญาณ, ๒๕๓๓.
____ .มชฺฌิมนิกาย ปปฺจสูทนี มูลปณฺณาสกอฏกถา. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพวิญญาณ,๒๕๓๓.
____ .มชฺฌิมนิกาย มชฺฌิมปณฺณาสกอฏกถา. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ
วิญญาณ, ๒๕๓๓.
____ .สํยุตฺตนิกาย สารตฺถปฺปกาสินี สคาถวคฺคอฏกถา. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพวิญญาณ, ๒๕๓๓.
____ .องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี ทุกาทินิปาตอฏกถา. กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓.
____ .ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทฏกถา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย, ๒๔๙๕.
____ .ขุทฺทกนิกาย ปรมตฺถทีปนี สุตฺตนิปาตอฏกถา. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพวิญญาณ, ๒๕๓๔.
____ .ขุทฺทกนิกาย เอกกนิปาตชาตกอฏกถา. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพวิญญาณ, ๒๕๓๔.
____ .ขุทฺทกนิกายสทฺธมฺมปฺปชฺโชติกา มหานิทฺเทสอฏกถา. กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพวิญญาณ, ๒๕๓๔.
____ .ขุทฺทกนิกาย สทฺธมฺมปฺปชฺโชติกา จูฬนิทฺเทสอฏกถา. กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพวิญญาณ, ๒๕๓๔.
____ .ขุทฺทกนิกายปฏิสมฺภิทามคฺคอฏกถา.กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพวิญญาณ
๒๕๓๔.
____ .ธมฺมสงฺคณี อฏฐสาลีนีอฏกถา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพวิญญาณ,
๒๕๓๔.
____ .ปรมตฺถมฺชูสา วิสุทฺธิมคฺคมหาฏีกา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘.
____ .มิลินฺทปฺหอฏกถา ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพวิญญาณ , ๒๕๔๑.
____ .วิสุทฺธิมคฺคปกรณ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพวิญญาณ ,๒๕๓๙.
____ .อภิธรรมปฏกปฺจปกรณอฏกถา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพวิญญาณ,
๒๕๓๔.
____ . อภิธมฺมตฺถสงฺคโห. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพวิญญาณ, ๒๕๔๒.
____ .อภิธมฺมตฺถวิภาวินฏี กี า .กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพวิญญาณ , ๒๕๔๒.

๑๐๖๑
____ . เนตติอฏฐกถา ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. รจนา โดย
พระมหากัจจายนเถระ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ หจก.ทิพยวิสุทธิ์,
๒๕๔๔.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา ปฺจิกา นาม อตฺถโยชนา.
โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย หนาวัดบวรนิเวศวิหาร,กรุงเทพมหานคร
๒๕๓๗.
____ .อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห อภิธมฺมตฺถวิภาวินีนามอภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย หนาวัดบวรนิเวศวิหาร,
๒๕๓๘.
____ .พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๑. พิมพครั้งที่ ๑๗. กรุงเทพมหานคร : โรง
พิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.
____ .พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๓. พิมพครั้งที่ ๑๖. กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐.
_____ . พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๕. พิมพครั้งที่ ๑๕. กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔.
_____ . พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๘. พิมพครั้งที่ ๑๔. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒.

ข. ขอมูลทุติยภูมิ
๑. หนังสือทั่วไป
กรมศิลปากร. มิลินทปญหา พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: พิมพที่โสภณการ
พิมพ, ๒๕๔๙.
กลฺยาณภิกฺขุ, พุทธการกธรรมทีปนี, ม.ป.ท., ๒๕๔๙.
ขุนสรรพกิจโกศล (โกวิท ปทมะสุนทร). คูมือการศึกษาพระอภิธรรมปริจเฉทที่ ๗
สมุจจยสังคหวิภาคหลักสูตรปริญญาธรรมชั้นเอก, สถาบันการศึกษาพระ
อภิธรรมมูลนิธิปริญญาธรรม กรุงเทพมหานคร พิมพครั้งที่ ๒.
โรงพิมพวิญญาณ. ๒๕๔๔.
๑๐๖๒
จําลอง ดิษยวณิช. วิปสสนากรรมฐาน และเชาวอารมณ (ฉบับปรับปรุง). พิมพ
ครั้งที่ ๓.เชียงใหม: หางหุนสวนจํากัด เชียงใหมโรงพิมพแสงศิลป, ๒๕๔๙.
ธนิต อยูโพธิ์, วิ ป ส สนานิ ย ม, พิมพครั้งที่ ๗, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐.
บุญมี เมธางกูร และ วรรณสิทธิ์ ไวทยะเสวี. คูมือการศึกษาพระอภิธัมมัตถ
สังคหะปริจเฉทที่ ๑. กรุงเทพมหานคร : ดวงดีการพิมพ, ๒๕๓๐.
พินิจ รัตนกุล., รศ.ดร., สวดมนต สมาธิ วิปสสนา รักษาโรคได. พิมพครั้งที่ ๓
นนทบุรี. บริษัทเพชรรุงการพิมพจํากัด, ๒๕๔๗.
พระคันธสาราภิวังศ ,อภิธัมมัตถสังคหะ และปรมัตถทีปนี.พิมพครั้งที่ ๒ ,
กรุงเทพฯ : ไทยรายวันการพิมพ . พฤษภาคม ๒๕๔๖.
พระติสสทัตตเถร. อภิธมฺมตฺถวิภาวิน.ี มหามกุฏราชวิทยาลัย, พิมพครั้งที่ ๘.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒.
พระพุทธโฆส. วิสุทธิมัคค ปฐมภาค. มหามกุฏราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔.
_____ . คัมภีรวิสุทธิมรรค. สมเด็จพระพุฒาจารย (อาจ อาสภมหาเถร) แปล
และ เรียบเรียง,พิมพครั้งที่ ๖. กรุงเทพ : บริษัท ธนาเพรส จํากัด, ๒๕๔๘.
พระญาณธชเถระ (แลดีสยาดอ). อานาปานทีปนี. พระคันธสาราภิวงศ แปลและ
เรียบเรียง. กรุงเทพมหานคร: ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๙.
_____ . ปรมัตถทีปนี. แปลโดย พระคันธสาราภิวงศ. กรุงเทพมหานคร : หาง
หุนสวนจํากัด ไทยรายวัน กราฟฟค เพลท, ๒๕๔๖.
พระญาณธชเถระ(แลดีสยาดอ), อานาปานทีปนี, พระคันธสาราภิวงศ แปล
และเรียบเรียง. โรงพิมพไทยรายวันการพิมพ,กรุงเทพฯ, ๒๕๔๙.
พระญาณโปนิกเถระ , หัวใจกรรมฐาน, ชาญ สุวรรณวิภัช แปล, (พิมพครั้งที่ ๕).
สํานักพิมพศยาม บริษัทเคล็ดไทยจํากัด. กรุงเทพฯ ๒๕๔๑
พระธัมมปาลมหาเถระ รจนา, อาจารยสิริ เพ็ชรไชย ป.ธ. ๙ แปล.
ปรมัตถมัญชุสา วิสุทธิมัคคมหาฎีกา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ บริษัท
ธนาเพรส แอนด กราฟฟค จํากัด , ๒๕๔๕.
_____ . สัทธรรมปกาสินี (บาลี-ไทย) ภาค ๓., สิริ เพ็ชรไชย (และคณะ) แปล,

๑๐๖๓
กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ, ๒๕๔๕.
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก าณสิทฺธิ), คูมือสอบอารมณกรรมฐาน,
กรุงเทพมหานคร: พิมพที่ โรงพิมพพิทักษอักษร, ๒๕๓๓.
พระธรรมปฏก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลศัพท.
กรุงเทพ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย , ๒๕๓๘.
_____. พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ, พิมพครัง้ ที่ ๖.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘.
_____. เทคนิคการสอนของพระพุทธเจา. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร พริ้นติ้ง
กรุฟ จํากัด. ๒๕๓๐.
พระภัททันตะอาสภมหาเถระ ธัมมาจริยะ อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ, ดร.
วิปสสนาทีปนีฎีกา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, ๒๕๓๙.
_____ . วิปสสนาวงศ ในประทศไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพบริษัท
อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), ๒๕๕๔.
_____ . ๑๐๐ ปอัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ. กรุงเทพมหานคร: บริษัทอมรินทร
พริ้นติ้ง แอนด พับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), ๒๕๕๔.
พระภาวนาพิศาลเมธี วิ. (ประเสริฐ มนฺตเสวี). การยกอารมณฌานขึ้นสูวิปสสนา
ตามแนวอานาปานสติภาวนา. สมเด็จพระพุทธชินวงศ
(สมศักดิ์ อุปสมมหาเถระป.ธ.๙, M.A., Ph.D.) ตรวจชําระ. กรุงเทพมหานคร
: หางหุนสวนจํากัด ประยูรสาสนไทย การพิมพ,๒๕๕๕.
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. ปรมัตถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๑-๒-๖,พิมพครั้งที่ ๘.
กรุงเทพฯ: มูลนิธิสัทธัมมโชติกะ จัดพิมพ. โรงพิมพทิพยวิสุทธิ์, ๒๕๔๐.
_____ . ปรมัตถโชติกะ (ปริเฉทที่ ๕) โรงพิมพทิพยวิสุทธิ์ กรุงเทพฯ. ๒๕๔๐
พระพรหมโมลี (วิลาศ าณวโร ป.ธ.๙). มุนีนาถทีปนี, สํานักพิมพดอกหญา,
กรุงเทพฯ. ๒๕๓๙.

๑๐๖๔
_____. ภูมิวิลาสินี , สํานักพิมพดอกหญา กรุงเทพฯ. ๒๕๔๐
_____. กรรมทีปน,ี สํานักพิมพดอกหญา กรุงเทพฯ. ๒๕๔๕
_____ . โลกทีปนี , สํานักพิมพดอกหญา กรุงเทพฯ. ๒๕๔๕
_____ . วิปสสนาทีปนี. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพดอกหญา,
๒๕๔๓.
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), ธัมมจักกัปปวัตนสูตร, พระพรหมโมลี
ศาสตราจารยพิเศษ (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.๙, M.A., Ph.D.) ตรวจชําระ,
พระคันธสาราภิวงศ แปลและเรียบเรียง (กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวน
จํากัด ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๒), หนา ๑๒๙-๑๓๑.
_____ . มหาสติปฏฐาน ทางสูพระนิพพาน. พระพรหมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม
ป.ธ.๙, M.A., Ph.D.) ตรวจชําระ. แปลและเรียบเรียงโดย พระคันธสาราภิวงศ.
กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๙.
_____ . วิปสสนาชุนี หลักการวิปสสนาภาวนา (ฉบับสมบูรณ). แปลโดย
จํารูญ ธรรมดา. กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด ประยูรสาสนไทย
การพิมพ, ๒๕๕๓.
_____ . วิปสสนานัย เลม ๑. พระพรหมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.๙, M.A.,
Ph.D.) ตรวจชําระ. แปลและเรียบเรียงโดย พระคันธสาราภิวงศ. นครปฐม
: หางหุนสวนจํากัด ซีเอไอ เซ็นเตอร จํากัด, ๒๕๕๐.
_____ . วิปสสนานัย เลม ๒. พระพรหมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.๙, M.A., Ph.D.)
ตรวจชําระ. แปลและเรียบเรียงโดย พระคันธสาราภิวงศ. นครปฐม :
หางหุนสวนจํากัด ซีเอไอ เซ็นเตอร จํากัด, ๒๕๕๐.
_____ . คําแนะนําในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานเบื้องตน. (มหาวิทยาลัย
หอการคาไทย พิมพท:ี่ กองบริการคําสอนและสิ่งพิมพ, ม.ป.ป.).
_____ . นิพพานกถา. พระพรหมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.๙, M.A., Ph.D)
ตรวจชําระ.แปลเรียบเรียงโดย พระคันธสาราภิวงศ. กรุงเทพมหานคร:
จัดพิมพโดยหางหุนสวนจํากัด ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๔.
_____ . มหาสติปฏฐานสูตร ทางสูพระนิพพาน. แปลโดย พระคันธสาราภิวงศ.
พระพรหมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.๙, Ph.D.) ตรวจชําระ. พิมพครั้งที่ ๒.
๑๐๖๕
กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๙.
_____. หลักการปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน, จํารูญ ธรรมดา แปล.
กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๖.
พระอัคควังสเถระ. สัททนีติธาตุมาลา. พระธรรมโมลี ตรวจชําระ. พระมหานิมิต
ธมฺมสาโร และจํารูญ ธรรมดา แปล, พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: โรง
พิมพหางหุนสวนจํากัด ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๖.
ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพทปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตย-
สถาน, พิมพครั้งที่ ๔,๒๕๔๘,
สมเด็จพระพุทธชินวงศ (สมศักดิ์ อุปสมมหาเถระ). อริยวังสปฏิปทา ปฏิปทาอัน
เปนวงศแหงพระอริยเจา, กรุงเทพมหานคร: พิมพที่ หางหุนสวนจํากัด
ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๔.
แสง จันทรงาม. วิธีสอนของพระพุทธเจา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฏ
ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. พระไตรปฎกฉบับประชาชน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ
มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
๒. วิทยานิพนธ
พระครูประคุณสรกิจ (สุชาติ ชิโนรโส),. การศึกษาวิธีการสอนวิปสสนา
กัมมัฏฐานตามแนวของสํานักวิเวกอาศรม. วิทยานิพนธปริญญาพุทธ
ศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาพระพุทธศาสนา). บัณฑิตวิทยาลัย มหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗.
พระมหาประเสริฐ มนฺตเสวี(พรหมจันทร).“ศึกษาวิเคราะหหลักปฏิบัติอานาปาน-
สติภาวนา เฉพาะกรณีคําสอนของพุทธทาสภิกขุ”. วิทยานิพนธพุทธ
ศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, ๒๕๕๑.
พระมหาประพันธ ศุภษร. “ความสําคัญของบุคลิกภาพของพระพุทธเจาตอ
ความสําเร็จในการเผยแผพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต.
บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๔.
๑๐๖๖
พระภูริวัทน ฐิตปุฺโญ (ดอกบัว), ศึกษาเปรียบเทียบวิธีการเขาถึงความจริงของ
พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร : ศึกษากรณีปฏิจจสมุปบาท, หลักสูตร
ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยพุทธศักราช ๒๕๔๙
พระอธิการดิเรก ถิราโณ (สีหะ) ,ศึกษาการบรรลุธรรมของวิปสสนายานิกบุคคล
วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ-
ราชวิทยาลัย, พุทธศักราช ๒๕๕๗,
พันตํารวจโทหญิง สุชาดา พระเขียนทอง,ศึกษาหลักวิปสสนาภาวนาในเจโตขีล
สูตร, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย, พุทธศักราช ๒๕๕๕.
ศิริรักษ ขาวสนิท. “บทบาทของพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานในการเผยแพร
พระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต. ภาควิชา
ตะวันออก. คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๒๒.
มาลี อาณากุล,การศึกษาเปรียบเทียบกรรมฐานในคัมภีรพระอภิธัมมัตถสังคหะ
กับ คัมภีรวิสุทธิมรรค และวิธีปฏิบัติกรรมฐานของสํา นักวิปสสนาออม
นอยกับวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ,์ วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ,มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๙.
วริยา ชินวรรโณ และคณะ. รายงานวิจัยเรื่อง วิวัฒนาการการตีความคําสอน
เรื่องสมาธิในพระพุทธศาสนาฝายเถรวาทในประเทศไทย. คณะ
มนุษยศาสตร,มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๗.
๓. ภาษาอังกฤษ
Phra Sripariyattimoli.The Buddha in the Eyes of Eminent Scholars,
1999. ISBN 974-575-539-7.(May 19th, 1939, Albert Einstein’s
speech on "Science and Religion" in Princeton, New Jersey,
U.S.A.)

๑๐๖๗
ประวัติของผูเขียน
ชื่อ : พระภาวนาพิศาลเมธี วิ. (น.ธ.เอก, ป.ธ.๘)
[พระมหาประเสริฐ มนฺตเสวี (พรหมจันทร)]
การศึกษา : นักธรรมชั้นเอก (พ.ศ.๒๕๓๘) วัดราษฎรบํารุง อําเภอระโนด
จังหวัดสงขลา,
เปรียญธรรม ๘ ประโยค (พ.ศ. ๒๕๔๖) วัดมหาสวัสดิ์-
นาคพุฒาราม อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม,
ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.บาลีพุทธศาสตร
เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย รุนที่ ๕๐ ปการศึกษา ๒๕๔๖
ปริญญาโท พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม.วิปสสนาภาวนา
วิทยานิพนธ ระดับ ดี ) มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม พ.ศ. ๒๕๕๒
บรรพชา : วันที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕ ณ วัดราษฎรบํารุง อ.ระโนด
จ.สงขลา โดยมีพระครูปกาศิตพุทธศาสตร เปนพระอุปชฌาย
อุปสมบท : วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๓ ณ วัดราษฎรบํารุง อ.ระโนด
จ.สงขลา โดยมี พระมหาพงศธร เขมจาโร เปนพระอุปชฌาย
ประสบการณ :
พ.ศ. ๒๕๔๗-๕๐ ครูสอนปริยัติธรรมแผนกบาลี วัดมหาสวัสดิ์ฯ
พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔ อาจารยพิเศษสอนหลักสูตรประกาศนียบัตร “วิปสสนา
ภาวนา” ( ปว.ภ.)
พ.ศ. ๒๕๕๒ -ปจจุบัน พระวิปสสนาจารยโครงการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน
หลักสูตร ๑ เดือน, หลักสูตร ๔๕ วัน, หลักสูตร ๓ เดือน
หลักสูตร ๔ เดือน และหลักสูตร ๗ เดือน ณ สํานักปฏิบัติ
ธรรม “ธรรมโมลี” อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา
พ.ศ. ๒๕๕๒ - ปจจุบัน เปนอาจารยบรรยาย รายวิชา สติปฏฐานภาวนา
๑๐๖๘
โสฬสญาณ และสัมมนาวิปสสนาภาวนา หลักสูตรพุทธ
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิปสสนาภาวนา
ศูนยบัณฑิตศึกษา วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
พ.ศ. ๒๕๕๕ อาจารยบรรยายพิเศษปริญญาเอก หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎี
บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ และสาขาวิชารัฐ-
ประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วังนอย พระนครศรีอยุธยา
พ.ศ. ๒๕๕๔-ปจจุบัน พระวิปสสนาจารย หลักสูตรปฏิบัติวิปส สนาภานา ๗
เดือน พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิปสสนาภาวนา
ศูนยบัณฑิตศึกษา วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ที่อยูปจจุบัน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั ย วิทยาเขตบาฬีศึกษา
พุทธโฆส นครปฐม
ตั้งอยู ณ วัดมหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม ถนนศาลายา - นครชัยศรี อ.
พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐ และ
สํานักปฏิบัติธรรม “ธรรมโมลี” ถนนธนรัชต (กม.๔) ตําบลหนองน้ํา
แดง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา
Email : pm.montasavi@gmail.com
Web : www.facebook.com/pm.montasavi/
งานปกครอง
พ.ศ. ๒๕๕๖ – ปจจุบัน เปนผูชวยเจาอาวาสพระอารามหลวง วัด
พิชยญาติการามวรวิหาร ถนนสมเด็จ-เจาพระยา แขวงสมเด็จเจาพระยา
เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร

๑๐๖๙
Biography of Insight Meditation Master
Name : Phra Bhavanaphisanmethi Vi. (Prasert Promchan),
Date of Birth : March 28, 1979.
Place of Birth : Siriraj Hospital, Bangkok, Thailand.
Higher Ordination : July 14, 2000 at Rajbamrung Temple, Ranot,
Songkhla, Thailand.
By Phrakru Srikanabhirak as preceptor.
Education : 1995, Dhamma Scholar, Advanced Level,
Rajbamrung Temple, Ranot, Songkhla, Thailand.
: 2003, Pāli VIII, Wat Mahasawat Nak Phuttharam,
Phutthamonthon, Nakhon Pathom, Thailand.
: 2003, Bachelor of Arts in Pali Buddhism
(B.A. in Pali Buddhism,with a first-class honors)
Mahachulalongkornrajavidyalaya University,
Palisuksa Buddhagosa Campus, Nakhon Pathom.
: 2009, Master of Arts in Vipassana Meditation
(M.A. in Vipassana Meditation, with The Good
Thesis Award) Mahachulalongkornrajavidyalaya
University, Palisuksa Buddhagosa Campus.
Meditations Experience
: 2008, 7 Months, Advance Insight Meditation Course at Ngwe
Taung Oo Meditation Center, Tachilek, Shan State,
Myanmar. instructed by Sayadaw Bhaddantavirojana
Mahaganthavajakapundit.
Jobs Experience :
: 2015 - Currently, 7 Months Meditation Master of Program
Master of Arts in Vipassana Meditation, Mahachulalongkornrajavidyalaya
University, Palisuksa Buddhagosa Campus, Nakhon Pathom.
Contact : Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Palisuksa
Buddhagosa Campus, Wat Mahasawat Nak Phuttharam, Phutthamonthon,
Nakhon Pathom,Thailand, 73170 : www.facebook.com/pm.montasavi/
๑๐๗๐
ผูรวมบุญพิมพหนังสือ “วิปสสนาเพื่อความดับกรรม”
นอมถวายบุญกุศล แดหลวงพอสมเด็จพระพุทธชินวงศ
จํานวน ๓,๐๐๐ เลม
คุณเกียรติชัย- โยมเล็ก ศีลาเจริญธนกิจ และครอบครัว ๑๐๒,๐๐๐ บาท
มหาวิทยาลัยธนบุรี, วิทยาลัยเทคโนโลยีหมูบานครู
แมชีระเอิบ แยมชุติ, คุณนภวรรณ แยมชุติและครอบครัว ๓๐,๐๐๐ บาท
มหาบัณฑิตสาขาวิชาวิปสสนาภาวนา รุนที่ ๗ ๑๐,๐๐๐ บาท
มหาบัณฑิตสาขาวิชาวิปสสนาภาวนา รุนที่ ๘ , ญาติธรรมวัดหทัยนเรศวร
อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๑๕,๐๐๐ บาท
มหาบัณฑิตสาขาวิชาวิปสสนาภาวนา รุนที่ ๙ ๑๖,๐๐๐ บาท
มหาบัณฑิตสาขาวิชาวิปสสนาภาวนา รุนที่ ๑๐ ๑๑,๗๐๐ บาท
มหาบัณฑิตสาขาวิชาวิปสสนาภาวนา รุนที่ ๑๑ ๕,๐๐๐ บาท
มหาบัณฑิตสาขาวิชาวิปสสนาภาวนา รุนที่ ๑๒ ๑๑,๐๐๐ บาท
มหาบัณฑิตสาขาวิชาวิปสสนาภาวนา รุนที่ ๑๓ ๑๑,๙๐๐ บาท
มหาบัณฑิตสาขาวิชาวิปสสนาภาวนา รุนที่ ๑๕ และคณะญาติธรรม
พลอากาศโท ธรรมพล พงศภักดีบริบาล (รองราชเลขานุการในพระองค)
ดร.โรศะนี ชัยพันธและครอบครัว คุณประยงค ยิ่งเจริญและครอบครัว
คุณประยูร จันแพทยรักษและครอบครัว ๒๐,๐๐๐ บาท
แมชีนนทพร โสภณ ชมพู- ทองเอก โสภณ ๑๐,๐๐๐ บาท
บานขนมนันทวัน อ.เมือง จ.เพชรบุรี ๑๐,๐๐๐ บาท
คุณภรณี ถนอมกุล และคุณนิธินารถ ภวภาคย ๑๐,๐๐๐ บาท
ผูรวมบุญทานละ ๕,๐๐๐ บาท
พระสมศักดิ์ กิตฺติธมฺโม พระมหาไกรศร สุลโภ
พระมหาบุญเลิศ อินฺทปฺโ คุณวดี รัตนดิลก ณ ภูเก็ต
แมชีศมาภา ปญญานันที (เพชรมา)
คณะอุบาสก-อุบาสิกาวัดปริวาสราชสงคราม กรุงเทพฯ
คุณสุทธิชัย เต็มประเสริฐดี และครอบครัว
๑๐๗๑
พระปริชาโน (ณัฐวิชญ เรืองสุวรรณ) ๔,๒๐๐ บาท
ผูรวมบุญทานละ ๓,๐๐๐ บาท
พระประยงค สุวณฺโณ (คลายสุบรรณ) นายฐินวัน ตระกูลฮุน
แมชีอัมพาพัชร อัสนีพลเสนา โยมเปรมจิตร โทมล (โยมอี๋)
แมชีณัฐพร อาภรณศิริพงษ พล.ตรี ธงชัย คลายสุบรรณ
ดร.พิณจทอง แมนสุมิตรชัย (ฉัตรนะรัชต) และครอบครัว
คณะผูรวมบุญ ๒,๐๗๐ บาท
คุณกฤษดา ผลประสาร ๒ เลม คุณละมอม กิจปกรณสันติ (๕ เลม)
คุณวิศา เอ็บสูงเนิน ๒ เลม คุณปราณี แซเสี้ยก ๑ เลม
คุณเบญจวรรณ หนูทอง ๑๐ เลม คุณจุฆารัตน ตักเตือน ๒ เลม
คุณอรญา พรหมเพ็ญ ๑ เลม
ผูรวมบุญทานละ ๒,๐๐๐ บาท
พระมหาชิด วชิรญาโณ แมชีโมลี มุทิตา
นางสาวกชพรรณ รัตนเกษร นายเจษฎา ตั้งเขาทอง
โยมเปรมจิตร โทมลและญาติธรรม คุณสุวคนธ บุญเกิด
คณะลูกศิษยวัดชิโนรสาราม คุณนองนุช หงสสงา
นายมนูญ เรืองสุวรรณ และครอบครัว คุณสุทธภา วัฒนาเอี๊ยบพันธ
คุณสุภา-คุณสุณีย รัตนะชีวกุล และคุณบุณชญา วิวิธขจร (๒,๓๐๐ บาท)
คณะแมชี, อุบาสกอุบาสิกาวัดสามัคคีธรรม (ปาสาน) ๑,๘๐๐ บาท
นายเกริกเกียรติ แกวจําปา (๑,๘๐๐ บาท)
พระใบฎีกาณรงคฤทธิ์ ฐานวุฒฺโฑ (๑,๖๐๐ บาท)
คณะผูรวมบุญ ๑,๐๘๐ บาท
นางณัฐพร – ด.ช.ณัฐเวทย แซหลี
นายสัตยา – นางอมรศรี โพธิ์ทองคนอง
ผูรวมบุญทานละ ๑,๐๐๐ บาท
ที่พักสงฆวัดสมใจนึกสามัคคีธรรม ต.หนองตาคง อ.โปงน้ํารอน จ. จันทบุรี
พระศิวเมศวร วรมงฺคโล พระมหาคมกฤษณ พันธุคง
พระธนพัชร นิสฺสกฺโก พระปาณชัย ชยธมฺโม

๑๐๗๒
พระสามารถ สมาจาโรและญาติธรรม นายธนาวิทย-นางเขมขจี ลิ่นแกว
นายประสาท - นางพิมพร เนียมนาค คุณนปติ สิริยะบุญนภา
โยมจําป แซเล็ก นางนพวรรณ บุญชวย
ครอบครัวไทยวงษ คุณนิชาพัฒน ปราณีต
แมชีนวพร ทองศรีเพชร ครอบครัว มาลากุล ณ อยุธยา
น.ส.จุฑามาศ ไพรศรี และครอบครัว นางเยาวมาลย บุณยรัตกลิน
นายวิชัย - นางวิภาวรรณ สุขเจริญ น.ส. กติกา ศรีทอง
ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ น.ส.กวินธร พิเสฏฐศลาศัย
น.ส.รุงนภา อัศดรศักดิ์และครอบครัว แมชีนันทนัช อัศดรศักดิ์
คุณณัฏฐชยธร (ครูหงส) ติชิลาสุตนันท แมชีจันทรจิรา ชินศรี, ครอบครัว
คณะนักศึกษาเตปฎกสุตสี รุนที่ ๗ และพระพรธนวัจน ธนวจโน
นายอรรถพล มีเพียร และ น.ส.ศรัญญา ศิรินิรันดร (๙๐๐ บาท)
คุณหมอเปา (พ.จ.อ.สันติชัย ปญญาพาณิชย) และครอบครัว
คณะผูรวมบุญ ๙๐๐ บาท
นางศรีสุดา ถิ่นพังงา น.ส.อมลรดา-นายเศรษฐวัฒน ถิ่นพังงา
ด.ญ.พิมพญาดา จินพละ คุณโงวเตียง แซเบ
นางวิภาวี รามอินทรา (๗๒๐ บาท)
ผูรวมบุญทานละ ๕๐๐ บาท
นางเบญจมาภรณ ทองทวีวิวัฒน น.ส.สุรัชนี หงษคงคา
อุบาสิกาจริญญา ปลองเกิด อุบาสิกาปุณยาพร หลองเกิด
คุณฉวีวรรณ ศรีเชาว คุณมาลี จีนเอี่ยม
คุณกิตติศักดิ์ ศรีเชาว คุณประเทือง ตรีเพ็ชร
คุณกนกพร ปานฝกดี น.ส.ปาณิศา เอื้ออารี
คุณพัฒนา ตรีเพ็ชร คุณอภิรมย ลิ้มสกุล
คุณแสงทิพย อินทรสวัสดิ์ คุณเสวย เพชรสุวรรณ
นางณัฐธยาน ทองสง นายประยูร แทนบุญ
คุณละมอม กิจปกรณสันติ นางสุดารัตน จันทรเจริญ
คุณกาญจนา ชัยกุลเสรีวัฒน แมชีพัฒนาวรรณ โตไพบูลย

๑๐๗๓
แมชีวรรนรักษ ธนธรรมทิศ น.ส.วลัยรัตน จันทโชติ
คุณพรรณี วงศวรพฤกษ นายสุรพงษ รอดพลอย
คุณวรรณกร ธรรมกุลาเลิศ คุณสุดา ลิ้มสกุล
คุณวิมล ตั้งสมบัติวิสทิ ธิ์ คุณพิมนิภา รัตนพฤกษสกุล
นายสุนทร - นางอรพันธ ทองสะอาดและลูกๆ
คุณพวงทอง วิจิตรพันธ และคุณณัฏฐณิชา วิจิตรพันธ
นางทัศนา เหลืองศุภบูลย น.ส. สมจิต ภัสสัตยางกูร
ด.ญ.สาริศา- ด.ญ.เขมินทรา เกิดเกลี้ยง (๔๕๐ บาท)
ผูรวมบุญทานละ ๓๐๐ บาท
นายธีรพงศ แกวดอนโหนด น.ส.มนทิรา ลอยวัฒนะ
นายพิพัฒน มิตรสินพันธุ โยมญาณิศา ผลกาจ
น.ส.สุภิศรา บุญชวย นายวิทยา ตันสกุล
น.ส.สุภิศรา บุญชวยและครอบครัว คุณนวลฉวี ลินลาด
นางเจนิศา จันทสุวรรณ และครอบครัว (๒๙๙ บาท)
นายชาญณรงค บุญศรีจันทร และครอบครัว (๒๗๐ บาท)
ผูรวมบุญทานละ ๒๐๐ บาท
พระสมุหเอกนรินทร สิรินฺทโร พระมณี สํวโร
โยมพัฒนา ตรีเพ็ชร น.ส.อรอนงค อัฐิ
น.ส.ลัดดาวัลย จินพละ น.ส.ลัดดาวัลย บุญรักษ
นายเจษฏา ผลประสาร คุณวิศา เอ็บสูงเนิน
คุณจิรายุทธ – คุณธนกร ศรียาภัย คุณสุมาลี เรืองภักดี
คุณจิราพร ภูทองวัฒนวงศ
นายกุศล-นางสารภี วงศสุวรรณ และครอบครัว
ผูรวมบุญทานละ ๑๐๐ บาท
น.ส.พิมพพิศา พรมพันใจ ครอบครัว “อวมจันทร”
นายไพบูลย ผั้วผดุง ครอบครัว “ปริมานนท”
นายอนุพงษ เพชรพินิจ นายกฤษณะ มวงเมือง
ด.ช.ปุณณสิน สติปญ ด.ญ.ศุภิสรา คําเนตร

๑๐๗๔
คุณปราณี แซเสี่ยว คุณอรญา พรหมเพ็ญ
นายวัฒนา พูลสวัสดิ์ น.ส.วรรณรัตน แซโกย
น.ส.ณฐมนต ทวีนวกิจเจริญ น.ส.ธนัชญา นิลประดับแกว
น.ส.จุฑารัตน นิลประดับแกว ด.ญ.วรรณรดา อาญาเมือง

๑๐๗๕
หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต

ศึกษาคัมภีรพ
ระไตรปฎก ภาษาบาลี
อรรถกถาฎีกา

สถิติการวิจัย ภาษาอังกฤษ

ปฏิบัติวิปสสนาภาวนา 7 เดือนเต็ม
กอนจบหลักสูตร

เปดรับสมัครผูจบปริญญาตรีทุกสาขา
เขาศึกษา ทุกเดือนมีนาคมและเมษายน ทุกๆ ป

www.pali.mcu.ac.th 086-036-3899, 094-967-2299

You might also like