Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 186

ประชาสั งคมกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี : กรณีศึกษามูลนิธิเพือ่ นหญิง

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง

โดย
นางสาวปราง ยอดเกตุ

วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2556
ลิขสิ ทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ประชาสั งคมกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี : กรณีศึกษามูลนิธิเพือ่ นหญิง

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง

โดย
นางสาวปราง ยอดเกตุ

วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2556
ลิขสิ ทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
CIVIL SOCIETY WITH GENDER EQUALITY AND WOMEN'S RIGHTS
: A CASE STUDY FRIEND OF WOMEN FOUNDATION

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง

By
Miss Prang Yodket

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree


Master of Public Administration Program in Public Administration
Graduate School, Silpakorn University
Academic Year 2013
Copyright of Graduate School, Silpakorn University
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมตั ิให้วิทยานิพนธ์เรื่ อง “ ประชาสังคมกับ
ความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี : กรณี ศึกษามูลนิธิเพื่อนหญิง ” เสนอโดย นางสาวปราง ยอด
เกตุ เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริ ญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐ
ประศาสนศาสตร์

……...........................................................
(รองศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์)

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย

ส วันที่..........เดือน.................... พ.ศ...........

อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์
รองศาสตราจารย์พรชัย เทพปัญญา

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์

.................................................... ประธานกรรมการ
(อาจารย์ ดร.นพดล เหลืองภิรมย์)
............/......................../..............

.................................................... กรรมการ
(อาจารย์ ดร.สุ วิชา วรวิเชียรวงษ์)
............/......................../..............

.................................................... กรรมการ
(รองศาสตราจารย์พรชัย เทพปั ญญา)
............/......................../..............
55603310: สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
คําสําคัญ: ประชาสังคม / ความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี / มูลนิธิเพื่อนหญิง
ปราง ยอดเกตุ: ประชาสังคมกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี : กรณี ศึกษา
มูลนิธิเพื่อนหญิง. อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์: รศ.พรชัย เทพปัญญา. 175 หน้า.

การวิ จ ัยเรื่ อง “ประชาสังคมกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี : กรณี ศึก ษา


มูลนิธิเพื่อนหญิง” ในครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความเป็ นประชาสังคมของมูลนิ ธิเพื่อนหญิง
กับ ความเสมอภาคทางเพศและสิ ท ธิ ส ตรี เพื่ อ ศึ ก ษาถึ ง สาเหตุ ข องการใช้ค วามรุ น แรงภายใน

ำน ั ห อ ส มุ ด กลาง
ครอบครัวที่เกิดขึ้นกับสตรี และแนวทางการป้ องกัน และเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาความเสมอ


ภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี รวมถึงปั ญหาความรุ นแรง และแนวทางป้ องกัน เป็ นการวิจยั เชิงคุณภาพ
โดยการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ เชิ งลึกกับผูท้ ี่เกี่ ยวข้อง แบ่งเป็ น 3 กลุ่ม คือ นักจิ ตวิทยา นัก
สังคมสงเคราะห์ นักวิชาการสตรี นิ ยม และผูท้ ี่ เ กี่ ย วข้อง โดยเป็ นการคัด เลื อกแบบเจาะจงตาม
คุณสมบัติที่ผวู ้ ิจยั ได้กาํ หนดเอาไว้ ดังนี้ คือ บุคคลที่มีบทบาทหน้าที่ในการดูแลและรักษาสิ ทธิ สตรี
สตรี ที่ได้รับผลจากความรุ นแรงจากการกดขี่ทางเพศ และนักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสิ ทธิ สตรี การ
วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้ อหา ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การตีความข้อมูล
การเปรี ยบเทียบข้อมูล การสังเคราะห์ขอ้ มูลและการสร้างข้อสรุ ป
ผลการวิจยั พบว่าความเป็ นประชาสังคมของมูลนิ ธิเพื่อนหญิงเป็ นมูลนิ ธิที่จดทะเบียน
ตามกฎหมาย มีภารกิจที่ประกอบด้วย นโยบายของมูลนิ ธิเพื่อให้สตรี ได้รับการคุม้ ครองสิ ทธิ์ ต่าง ๆ
ตามกฎหมาย การพัฒนาหรื อการยกระดับศักยภาพของสตรี ให้มีบทบาทในสังคม ศูนย์พิทกั ษ์รับ
เรื่ องราวร้องทุกข์ การจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดการรวมกลุ่ม การออมทรัพย์และการขยายเครื อข่ายทัว่
ประเทศ สาเหตุของการใช้ความรุ นแรงภายในครอบครัวที่เกิดขึ้นกับสตรี ได้แก่ ความไม่มีเหตุผล
ของสามีโดยการหึ งหวงจนเกินเหตุ ความเจ้าชูแ้ ละชอบทําร้ายร่ างกายผูอ้ ื่น
นอกจากนั้นยังพบว่า แนวทางในการพัฒนาความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี
สามารถกระทําได้ 3 แนวทางคือการคุม้ ครองตามกฎหมายอย่างจริ งจัง การส่ งเสริ มการประกอบ
อาชีพให้สตรี สามารถอยู่ได้ดว้ ยตนเอง และการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความเท่าเทียมทางเพศให้
เกิดขึ้นภายในครอบครัวไม่วา่ จะเป็ นบุรุษหรื อสตรี

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร


ลายมือชื่อนักศึกษา........................................ ปี การศึกษา 2556
ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ ........................................


55603310: MAJOR: PUBLIC ADMINISTRATION
KEYWORD: CIVIL SOCIETY / GENDER EQUALITY AND WOMEN'S RIGHTS.
/ FRIENDS OF WOMEN FOUNDATION
PRANG YODKET: CIVIL SOCIETY WITH GENDER EQUALITY AND WOMEN'S
RIGHTS: A CASE STUDY FRIEND OF WOMEN FOUNDATION. THESIS ADVISOR: ASSOC.
PROF. PORNCHAI DHEBPANYA. 175 pp.

This research " Civil Society with gender equality and women's rights : A case study Friend

ั ห อ ส มุ ด กลาง
of Women Foundation" aims to study the Civil Society Foundation's female friends with gender equality
ำน

and women's rights, to study the causes of the violence occurring within the family and protecting women
and to improve gender equality and women's rights including problem and preventive. It is qualitative
research by storing data with in-depth interviews with those involved , divided into three groups: a
psychologist , a social worker. Feminist scholars And related It is the specific feature selection method was
defined as the person whose role in the care and treatment of women's rights, women are affected by
sexual violence of oppression and academics related to women's rights. There are four steps in content
analysis, data interpretation, constant comparisons, data synthesis and conclusion.
The results show that civic Foundation was a registered charity under the law. Mission was
composed of Policy of the Foundation to give women the right to be protected under the law to develop or
enhance the potential of women's role in society. Protection Complaint Activities to achieve integration.
Savings and network expansion across the country. Causes of violence within the family that happens to
women, including the irrational jealousy of her husband by overly . Flirting and drafting body like others.
It was also found that the development of gender equality and women's rights can be protected by third
approach is to betaken seriously. To promote the careers of women can live by themselves. And creating
awareness about gender equality within the family, whether they are men or women.

Program of Public Administration Graduate School, Silpakorn University


Student's signature ........................................ Academic Year 2013
Thesis Advisor's signature ........................................

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิ พนธ์เรื่ อง “ประชาสังคมกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี : กรณี ศึกษา


มูลนิธิเพื่อนหญิง” ฉบับนี้สาํ เร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดีโดยได้รับความช่วยเหลือและความอนุเคราะห์จาก
ทุกท่านที่ให้ความร่ วมมือในการทําวิทยานิพนธ์ครั้งนี้
ขอกราบขอบพระคุณผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก คุณธนวดี ท่าจีน ผูอ้ าํ นวยการมูลนิ ธิเพื่อนหญิง
คุณบัณฑิต แป้ นวิเศษ ตําแหน่ ง หัวหน้าฝ่ ายขับเคลื่อนนโยบายด้านสตรี และป้ องกันการค้ามนุ ษย์
มูลนิ ธิเพื่อนหญิง คุณพัชรี ไหมสุ ข หัวหน้าศูนย์พิทกั ษ์สิทธิ สตรี มูลนิ ธิเพื่อนหญิง คุณภาณุ วฒั น์

น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
กษิดิส นักสังคมสงเคราะห์ บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดพระนครศรี อยุธยา คุณสรรพวัต มุขโต


นักจิตวิทยา บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดพระนครศรี อยุธยา คุณวีรวัลย์ กรมสุ ริยศักดิ์ นักสังคม
สงเคราะห์ สถานแรกรับเด็กหญิงบ้านธัญพร คุณนวลศรี เพ็ชรนวล ตําแหน่ ง ผูป้ กครองสถานแรก
รับเด็กหญิงบ้านธัญพร และผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักที่ไม่ประสงค์ออกนามทุกท่าน
ท้ายสุ ดนี้ ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ที่ปรึ กษา และทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือใน
การทํา วิ ทยานิ พ นธ์ มา ณ ที่ น้ ี ด้ว ย ซึ่ งผูว้ ิจ ัย หวังเป็ นอย่า งยิ่งว่า จะก่ อให้เ กิ ดประโยชน์ ต่อผูอ้ ่ าน
ตลอดจนผูส้ นใจ สําหรับข้อบกพร่ องที่พบในวิทยานิ พนธ์ครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ขอน้อมรับไว้ในอันที่จะเป็ น
แนวทางแก้ไขวิทยานิพนธ์ให้ดียงิ่ ขึ้นไป


สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ................................................................................................................... ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ .............................................................................................................. จ
กิตติกรรมประกาศ .................................................................................................................... ฉ
สารบัญภาพ .............................................................................................................................. ญ
บทที่
1 บทนํา ............................................................................................................................. 1

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา ................................................................ 1

วัตถุประสงค์ ..........................................................................................................
ขอบเขตของการวิจยั ..............................................................................................
5
5
ขอบเขตวิธีวิจยั .............................................................................................. 5
ขอบเขตประชากรและกลุ่มตัวอย่าง .............................................................. 5
ขอบเขตเนื้อหาการวิจยั .................................................................................. 5
กรอบแนวคิดในการวิจยั ........................................................................................ 6
คํานิยามเชิงปฏิบตั ิการ ........................................................................................... 7
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจยั ................................................................. 7
2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ................................................................................................... 8
แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับความเป็ นประชาสังคม ............................................. 8
แนวคิดประชาสังคมในทัศนะของอิมมานูเอล ค้านท์ .................................... 12
แนวคิดประชาสังคมที่ใช้ในประเทศตะวันตก ............................................... 13
แนวคิดประชาสังคมที่ใช้ในประเทศไทย ...................................................... 13
แนวคิดประชาสังคมกับการเกิดโลกยุคสมัยใหม่ ........................................... 14
ขบวนการเคลื่อนไหวประชาสังคม (civil society movement) ..................... 15
การก่อตัวของแนวคิดประชาสังคม ................................................................ 16
องค์ประกอบประชาสังคม ............................................................................. 17
องค์ประกอบประชาสังคมที่เข้มแข็ง.............................................................. 18
แนวคิดเกี่ยวกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี ............................................ 19
ความเสมอภาค............................................................................................... 19
ความเสมอภาคในฐานะที่เป็ นอุดมคติ .................................................... 20

บทที่ หน้า
มาตรการเชิงบวก(Affirmative/Positive Action) .................................... 21
สิ ทธิและเสรี ภาพของสตรี .............................................................................. 22
ความเสมอภาคระหว่างเพศชายและหญิง....................................................... 23
ทฤษฎีการเมือง .............................................................................................. 26
ทฤษฎีเสรี นิยม (Liberalism) ................................................................... 26
แนวเฟมินิสม์ (Feminism) ...................................................................... 27
แนวความคิดมาร์คซิสม์ (Marxism) ........................................................ 28

ั ห อ ส มุ ด กลาง
หลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสตรี นิยม .......................................................
ำน 30

สตรี นิยม (Feminism) ....................................................................................
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการกระทํารุ นแรงในครอบครัว....................................
30
36
สาเหตุความรุ นแรงในครอบครัว ................................................................... 40
ความรุ นแรงที่เกิดขึ้นกับภรรยา ..................................................................... 41
พัฒนาการของการกระทํารุ นแรงต่อภรรยา.................................................... 41
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ................................................................................................. 41
3 วิธีดาํ เนินการวิจยั ........................................................................................................... 50
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก ...................................................................................................... 50
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั และการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ ........................... 51
คุณภาพของงานวิจยั เชิงคุณภาพ............................................................................. 51
ความถูกต้องตรงประเด็นและความเชื่อถือได้ ........................................................ 52
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ .............................................................................. 55
4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล .................................................................................................... 57
การใช้ความรุ นแรงภายในครอบครัว ..................................................................... 57
ความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี .................................................................... 59
รู ปแบบของการพัฒนาความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี ................................. 60
แนวคิดพื้นฐานของการเป็ นประชาสังคม .............................................................. 61
5 สรุ ป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ............................................................................... 75
สรุ ปผลการวิจยั ...................................................................................................... 75
อภิปรายผล............................................................................................................. 76
บทสรุ ป .................................................................................................................. 80

บทที่ หน้า
ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................... 81
ข้อเสนอแนะสําหรับหน่วยงานนําผลวิจยั ไปใช้............................................. 81
ข้อเสนอแนะในการวิจยั ต่อไป ....................................................................... 81
รายการอ้างอิง ........................................................................................................................... 83
ภาคผนวก ................................................................................................................................. 88
ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ์ ชุดที่ 1 ............................................................................... 89
ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณ์ ชุดที่ 2 ............................................................................... 91

ั ห อ ส มุ ด กลาง
ภาคผนวก ค แบบสัมภาษณ์ ชุดที่ 3 ...............................................................................
ำน 93

ภาคผนวก ง ถอดเทปการสัมภาษณ์ ...............................................................................
ประวัติผวู ้ จิ ยั .............................................................................................................................
95
175


สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
1 กรอบแนวคิดในการวิจยั เชิงคุณภาพ......................................................................... 6
2 การสังเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ............................................................................... 74
3 มูลนิธิเพื่อนหญิง....................................................................................................... 170
4 คุณธนวดี ท่าจีน ........................................................................................................ 170
5 คุณบัณฑิต แป้ นวิเศษ ............................................................................................... 171
6 คุณธนวดี ท่าจีน และคุณบัณฑิต แป้ นวิเศษ .............................................................. 171
7
น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
คุณวีรวัลย์ กรมสุ ริยศักดิ์ ...........................................................................................

172
8
9

คุณนวลศรี เพ็ชรนวล ...............................................................................................
คุณภานุวฒั น์ กษิดิส..................................................................................................
172
173
10 คุณสรรพวัต มุขโต ................................................................................................... 173
11 กลุ่มตัวอย่าง case ที่ 1 ............................................................................................... 174
12 กลุ่มตัวอย่าง case ที่ 2 ............................................................................................... 174


บทที่ 1
บทนํา

ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา


ในประเทศไทยตั้งแต่สมัยอดีต สถานภาพของสตรี ไทยไม่เป็ นที่ยอมรับในสังคม สตรี
มักถูกมองเป็ นสิ่ งที่ดอ้ ยคุณค่า ไร้ความสามารถ ถูกกดขี่ ข่มเหง และกีดกัน ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
และ การเมือง ไม่มีสิทธิและบทบาทหรื อฐานะใดในทางสังคม ซึ่ งไม่ได้รับความเสมอภาคเท่าเทียม

ผูช้ าย ทั้งที่สตรี เองก็เป็ นมนุ ษย์เช่นเดียวกันกับผูช้ าย สถานภาพความเป็ นมนุษย์น้ นั มีอยูใ่ นตัวของ
มนุ ษย์ทุกคน โดยไม่คาํ นึ งถึง เพศ วัย สัญชาติ ศาสนา ทั้งยังเป็ นสาระสําคัญตามธรรมชาติ ความ
เป็ นมนุ ษย์จึงไม่ อาจจํากัดหรื อทําให้สูญเสี ยไปไม่ว่าด้วยวิธีการใดๆ การไม่เคารพในสิ ทธิ สตรี
ตลอดจนการเลือกปฏิบตั ิต่อผูเ้ ป็ นสตรี น้ นั แต่เดิมอาจเป็ นเพราะสภาพสังคมสมัยโบราณที่มีการถือ
ปฏิบตั ิสืบต่อกันมาโดยที่ผชู ้ ายจะมีความรับผิดชอบในฐานะที่ เป็ นหัวหน้าครอบครัว เป็ นสาเหตุ
หนึ่งที่ทาํ ให้บทบาทของสตรี ลดลง
ที่ผ่านมา ผูห้ ญิงถูกปฏิบตั ิอย่างเป็ นมนุษย์ชนชั้นสองในเรื่ องสิ ทธิ ต่างๆ เช่น กฎหมาย
ลักษณะครอบครัวในเรื่ องเหตุหย่า หรื อกฎหมายอาญาในเรื่ องข่มขืนฯ ซึ่ งถือว่าเป็ นการเลือกปฏิบตั ิ
ฯ อย่างหนึ่ง และเพิ่งจะมีการแก้ไขกฎหมายเหล่านี้ให้ไปเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ “ความเสมอภาคเท่า
เทียมกัน” ในรัฐธรรมนูญ ไม่ถึงสามปี นี้ เอง คําว่า “เลือกปฏิบตั ิ” มาจากคําว่า “Discrimination” ซึ่ ง
หมายถึง การแบ่งแยก กีดกัน หรื อการจํากัดใดๆ เพราะเหตุแห่ งเพศ และการกระทําดังกล่าวมีผล
หรื อมีความประสงค์ที่จะทําให้สิทธิ ของผูห้ ญิง ไม่ว่าจะสมรสหรื อไม่สมรส ต้องเสื่ อมเสี ยไป ไม่
เสมอภาคกับผูช้ ายในเรื่ องเสรี ภาพและสิ ทธิ มนุ ษยชนขั้นพื้นฐานในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม และสิ ทธิความเป็ นพลเมือง
การแบ่งแยกงานตามเพศจะแสดงออกมาในรู ปของการจํากัดโอกาสด้านการศึกษาและ
การทํางานในบางสาขาของสตรี เช่ น การทํางานด้านการเมือง การปกครองและกฎหมาย ซึ่ งงาน
เหล่านี้ เป็ นงานของสังคมส่ วนรวม(public work) และเป็ นงานที่ยดึ อํานาจในการวางแผนของการ
ตัดสิ นใจ ซึ่งจะส่ งผลต่อ ชะตากรรมของประชาชนและอนาคตของสังคมโดยรวม แนวคิดเรื่ องการ
แบ่งแยกงานทางเพศยังกีดกันผูห้ ญิงจากงานอื่นๆ ที่มีรายได้ดีและเป็ นงานที่สังคมยกย่อง เช่น งาน
แพทย์ งานด้านการเมืองการปกครองและกฎหมาย ฯลฯ (มาลี พฤกษ์พงศาวลี, 2552: 12)

1
2

ในปั จจุบนั สตรี ได้รับการศึกษาในขั้นสู งมากขึ้น มีความสามารถ และมีบทบาทสําคัญ


อย่างมาก ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองทําให้สิทธิสตรี ได้รับการยอมรับ การพัฒนา และการ
คุม้ ครองในด้านต่างๆ มากมายหลายด้าน เห็นได้จากในปั จจุบนั มีกฎหมายที่คุม้ ครองด้านสิ ทธิ สตรี
อยูม่ ากมาย
แนวคิดเรื่ อง “เพศสภาวะ (gender)” ได้มีการนํามาใช้อย่างกว้างขวางเมื่อสามสิ บกว่าปี
มานี้ เอง โดยกลุ่มที่นาํ มาใช้ คือ นักสตรี นิยมในประเทศสหรัฐอเมริ กาและประเทศอังกฤษ (พจี ยุว
จิต, 2542: 162) ซึ่งนํามาใช้เพื่ออธิ บายความสัมพันธ์เชิงอํานาจระหว่างหญิงและชายในสังคม ที่มี
แนวโน้มที่จะจัดความสําคัญของผูช้ ายไว้เหนื อกว่าหญิง หรื อระบบสังคมแบบเพศชายเป็ นใหญ่

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
(Patriarchal System) กล่าวคือ เพศชายเป็ นผูก้ าํ หนดกฎเกณฑ์ความเป็ นไปของสังคม ทําให้เกิด

ความเหลื่อมลํ้าระหว่างเพศ ผูห้ ญิงถูกกดขี่ และกลายเป็ นผูด้ อ้ ยโอกาสทางสังคมในรู ปแบบต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็ นการถูกเลือกปฏิบตั ิ การไม่ได้รับความเป็ นธรรม ตลอดจนกรณี ปัญหาต่างๆ ของผูห้ ญิง
ที่ปรากฏอยูใ่ นปั จจุบนั อันเกิดมาเป็ นเวลาช้านาน (ปฐมาภรณ์ บุษปธํารง, 2546: 26)
ตลอดระยะเวลาในช่วง 4 ทศวรรษที่ผา่ นมา องค์การสหประชาชาติร่วมกับขบวนการ
สตรี นิยม ได้มีส่วนสําคัญอย่างมากในการทําให้เกิดกระบวนการพัฒนาผูห้ ญิงและขจัดอุปสรรคต่อ
ความก้าวหน้าของผูห้ ญิงขึ้นในประเทศสมาชิกต่างๆ ทัว่ โลก ทั้งนี้ ด้วยตระหนักว่าปั ญหาของการ
พัฒนาผูห้ ญิงที่สาํ คัญส่ วนหนึ่ งมาจาก ความไม่เสมอภาค ผูห้ ญิงถูกเลือกปฏิบตั ิในสังคม เนื่ องจาก
สังคมส่ วนใหญ่ถูกครอบงําด้วยระบบชายเป็ นใหญ่ (Patriarchal System) ในสังคมไทยนั้นมีการ
เปลี่ ยนแปลงมาเป็ นลําดับ ส่ วนหนึ่ งน่ าจะมาจากการที่ ผูห้ ญิงได้เรี ยนรู ้ ถึงปั ญหาอุปสรรคต่ างๆ
โดยเฉพาะผูห้ ญิงในกลุ่มรากหญ้า ซึ่งเป็ นผูห้ ญิงส่ วนใหญ่สงั คมที่ตอ้ งประสบปัญหาความรุ นแรงใน
รู ปแบบต่า งๆ รวมทัง่ ผูห้ ญิ งบางกลุ่มที่ มีโอกาสได้รับการศึ กษามากขึ้น เกิ ดการเคลื่ อนไหวใน
รู ปแบบต่างๆ อันนําไปสู่ การเรี ยกร้องสิ ทธิ ของผูห้ ญิง และได้กลายเป็ นขบวนการทางสังคมในเวลา
ต่อมา แม้ขบวนการเคลื่อนไหวของผูห้ ญิงในประเทศไทยจะไม่ได้โดดเด่นในระดับสากลแต่ก็ทาํ ให้
กระแสแนวคิดสตรี นิยมในประเทศไทยทั้งในฐานที่เป็ นแนวคิดและเป็ นการเคลื่อนไวมีออกมาเป็ น
ระยะๆ เมื่อมีเหตุการณ์ในสังคมที่ช้ ีให้เห็นถึงการเอารัดเอาเปรี ยบ หรื อความไม่ยตุ ิธรรมเกิดขึ้นกับ
ผูห้ ญิง (เพ็ญนภา ภัทรนุกรม, 2551: 99)
สําหรับในประเทศไทยได้มีการดําเนินงานเกี่ยวกับสตรี อย่างชัดเจนในช่วงแผนพัฒนา
เศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2515-2519) มีการจัดตั้งคณะกรรมการส่ งเสริ มและ
ประสานงานสตรี แ ห่ ง ชาติ (กสส.) เป็ นองค์ก รระดับชาติ ด้านสตรี ใ นปี 2532 จากนั้น จึ ง มี ก าร
วางเป้ าหมายหลักของแผนสร้างระบบเฝ้ าระวังปั ญหา และช่วยเหลือผูห้ ญิงที่ถูกกระทํารุ นแรงใน
ครอบครั ว มี ก ฎหมายขจัด ความรุ น แรงในสตรี เ พื่อ ขจัด การเลื อ กปฏิ บตั ิ ต่ อสตรี ใ นทุ ก รู ปแบบ
3

(สํานักงานกิ จการสตรี และสถาบันครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุ ษย์,


มปพ.) ทั้งนี้ เป็ นไปตามบทบัญญัติของรั ฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 31
บัญญัติไว้วา่ บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรี ภาพในชีวิตและร่ างกาย การทรมาน การทารุ ณกรรม หรื อการ
ลงโทษด้วยวิธีการโหดร้ ายหรื อไร้ มนุ ษยธรรม จะกระทํามิ ได้ จะเห็ นได้ว่าเรื่ องความรุ นแรงมี
ความสําคัญในระดับประเทศที่นาํ มาสู่ แผนของการพัฒนาสุ ขภาพแห่ งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ.2550-
2554 (บุญสื บ โสโสมและคณะ, 2550: 1)
ปั จจุบนั ข่าวคราวเกี่ยวกับผูห้ ญิงที่ปรากฏในสื่ อมวลชนแขนงต่างๆยังคงแสดงให้เห็น
ว่าผูห้ ญิงยังคงถูกทารุ ณกรรม เอารัดเอาเปรี ยบ ทั้งทางด้านร่ างกายและจิตใจ ซึ่ งปั ญหาเหล่านี้ ลว้ น

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
แต่เป็ นปั ญหาที่สะท้อนถึงรากฐานค่านิ ยมและทัศนคติของสังคมไทยยุคปั จจุบนั ที่ยงั มองผูช้ ายเป็ น

ใหญ่ไม่แตกต่างกับสังคมไทยในอดีตที่ผา่ นมา โดยเฉพาะปั ญหาความรุ นแรงต่อผูห้ ญิง เป็ นปั ญหา
ร่ วมกันของผูห้ ญิงทัว่ โลก และได้รับการยอมรับว่าเป็ นรู ปแบบหนึ่ งของการละเมิดสิ ทธิ มนุ ษยชน
ต่อผูห้ ญิง โดยเมื่อปี พ.ศ.2537 องค์การสหประชาชาติ ได้ออกคําประกาศเพื่อยุติความรุ นแรงต่อ
ผูห้ ญิง โดยได้ให้นิยามความหมายของ "ความรุ นแรงต่อผูห้ ญิง" หมายถึง การใช้ความรุ นแรงใดๆ
อันสื บเนื่องมาจากแตกต่างระหว่างหญิง - ชาย ซึ่งมีผลหรื อมักจะมีผล ทําให้เกิดอันตรายหรื อความ
เดือนร้อน ทางกาย ทางเพศ หรื อทางจิตใจต่อผูห้ ญิง ซึ่ งความรุ นแรงต่อผูห้ ญิงนั้นเกิดขึ้นได้ในทุก
มิติของสังคม ทั้งในครอบครัว ในชุมชน สถานที่ทาํ งานและสถาบันการศึกษา
ที่ผ่านมา ความพยายามในการแก้ไขปั ญหาความรุ นแรงต่อผูห้ ญิงทั้งในระดับสากล
และระดับ ประเทศ ได้มีการสร้างมาตรการทางสังคม เช่น การรณรงค์สร้างสรรค์ความเข้าใจกับ
สังคม เพื่อตระหนักถึงปั ญหาความรุ นแรงต่อผูห้ ญิง และมาตรการทางกฎหมาย เช่ น การบัญญัติ
กฎหมาย ปรับปรุ งกฎหมาย เพิ่มบทลงโทษกับผูก้ ระทําความรุ นแรงต่อผูห้ ญิงในหลายรู ปแบบ ทั้งนี้
ในการทํางานให้ความช่วยเหลือผูห้ ญิงที่ประสบปั ญหา พบว่า ผูห้ ญิงจํานวนมากได้ถูกกระทําความ
รุ นแรงในครอบครั วโดยสามี ความรุ นแรงที่ผูห้ ญิงถูกกระทํานั้น ครอบคลุมทั้งความรุ นแรงทาง
ร่ างกายและทางเพศ
ความไม่เท่าเทียมกันเป็ นปั ญหาให้เกิดความรุ นแรงกับเด็กและสตรี มากที่สุด จึงต้องหา
ข้อสรุ ป ของปั ญหาและมี ก ารยื่น มื อมาช่ ว ยเหลื อสําหรั บ ผูท้ ี่ ไ ด้รับ ความรุ น แรงทั้ง เด็ก และสตรี
มูลนิ ธิต่างๆ จึงเป็ นอีกทางเลือกหนึ่ งสําหรับผูถ้ ูกกระทําและผูไ้ ม่ได้รับความยุติธรรมขึ้นในสังคม
ปัจจุบนั
จากหลักฐานพบว่า หนึ่ งในสามของผูห้ ญิงถูกกระทํารุ นแรงทางเพศ รวมถึงถูกบังคับ
ให้มีเพศสัมพันธ์โดยใช้กาํ ลัง และหญิงที่เคยถูกกระทํารุ นแรงทั้งทางกายและทางเพศ เคยคิดฆ่าตัว
ตายสู ง รวมทั้งมีการใช้ยานอนหลับและยาแก้ปวดสู งกว่าผูห้ ญิงที่ถูกกระทํารุ นแรง และจากการ
4

ทํางานช่ วยเหลือผูห้ ญิงที่ประสบปั ญหาของมูลนิ ธิ อันเนื่ องมาจากการถูกคุกคามจากภัยทางเพศ


สามีทอดทิ้ง ทําร้ายทุบตี (ม.ค. - ก.ย. 2545) มีผมู ้ าใช้บริ การ 643 ราย สะท้อนให้เห็นถึงความรุ นแรง
ยังเป็ นที่ปรากฏ และปั จจุบนั สถานการณ์สังคมที่เปลี่ยนไปมาก บทบัญญัติดงั กล่าวไม่อาจคุม้ ครอง
ผูเ้ สี ยหายได้ทุกกลุ่ม เช่น ผูห้ ญิงซึ่งเป็ นภรรยา เด็กชาย หรื อ ชายที่แปลงเพศเป็ นหญิง เป็ นต้น บุคคล
ดังกล่าวยังขาดโอกาสในการที่จะได้รับการคุม้ ครองจากกฎหมายอาญาทั้งที่ผเู ้ สี ยหายถูกล่วงละเมิด
ทางเพศ ในลักษณะที่ใกล้เคียงกับการข่มขืนกระทําชําเรา
มูลนิธิเพื่อนหญิง เป็ นองค์กรพัฒนาเอกชน ก่อตั้งขึ้นเมื่อปลายปี พ.ศ. 2523 ภายใต้ชื่อ
"กลุ่มเพื่อนหญิง" ได้รับการจดทะเบียนโดยกรุ งเทพมหานคร เป็ น "มูลนิธิเพื่อนหญิง" และมีฐานะ

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
เป็ นนิติบุคคลจากกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2534 มีบทบาทพิทกั ษ์สิทธิ และให้ความ

ช่วยเหลือสตรี ที่ตกอยู่ในภาวะวิกฤติ อาทิ จากภัยคุกคามทางเพศ ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ สามี
ทอดทิ้งทําร้ายทุบตี ถูกล่อลวงและบังคับค้าประเวณี ถูกเลิกจ้างโดยไม่เป็ นธรรม และถูกเลือกปฏิบตั ิ
ในเรื่ องของอาชีพ เพื่อเป็ นการแก้ไขปั ญหาที่ตน้ เหตุ มูลนิ ธิฯ ได้นาํ ข้อมูลเผยแพร่ ต่อสาธารณชน
และต่อภาครัฐเพื่อผลักดันให้กาํ หนดนโยบายและ แนวปฏิบตั ิที่เป็ นจริ งในการคุม้ ครอง พิทกั ษ์สิทธิ
รวมถึงการส่ งเสริ มคุณภาพชีวิตของสตรี โดยรวม
กิจกรรมของมูลนิ ธิ ได้แก่ ศูนย์ช่วยเหลือและพิทกั ษ์สิทธิ สตรี ให้ความช่วยเหลือด้าน
2 2

กฎหมายและสังคมสงเคราะห์เฉพาะรายแก่ ผูห้ ญิงที่ตกอยู่ในสภาวะ วิกฤติความรุ นแรงใน


ครอบครัว ถูกคุกคามทางเพศ ถูกบังคับล่อลวงให้คา้ ประเวณี ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ถูกเลิกจ้าง
งานโดยไม่ได้รับความเป็ นธรรมและถูกเลือกปฏิบตั ิจากภาวะความเป็ นหญิง โดยทนายความ นัก
สังคมสงเคราะห์ มีกระบวนการฟื้ นฟูจิตใจและเป็ นกําลังใจให้ต่อสู เ้ พื่อหลุดพ้นจากความทุกข์ ความ
กดดัน จากสภาวะที่ตอ้ งการทางเลือก ให้มีความเป็ นอิสระ และสามารถพึ่งตนเองได้
2 งานข้อมูล วิชาการ และเผยแพร่ เป็ นศูนย์ขอ้ มูล รวบรวม จัดเก็บ จัดทํา และวิเคราะห์
2

ข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ผหู ้ ญิงที่มูลนิธิ ฯ ดําเนินกิจกรรม จัดทําเป็ นองค์ความรู ้ รณรงค์เผยแพร่ สู่


สาธารณชนทั้งในประเทศและต่างประเทศในรู ปแบบต่าง ๆ ผลิตสื่ อและสิ่ งพิมพ์ เช่น หนังสื อพิมพ์
หญิ ง ชายก้า วไกล วารสารสตรี ท ัศ น์ ร ายงานสถานการณ์ ผูห้ ญิ ง ในเชิ ง วิ เ คราะห์ จดหมายข่ า ว
ภาษาอังกฤษ เป็ นเวทีแลกเปลี่ยนข้อมูลกับเครื อข่ายผูห้ ญิงในระดับสากล คู่มือต่าง ๆ เช่น คู่มือเพื่อน
หญิง เขียนบทความเผยแพร่ ในหนังสื อพิมพ์และวารสารต่าง ๆ และจัดทําเว็บไซต์ของมูลนิธิฯ
จากความสําคัญของปั ญหาเหล่านี้ จึ งเป็ นที่มาของความประสงค์ของผูว้ ิจยั ในการ
ศึกษาวิจยั ถึงความความเสมอภาคทางเพศและการให้ความช่ วยเหลือกับเด็กและสตรี ที่ถูกละเมิด
สิ ทธิ ถูกทารุ ณกรรม ถูกเอารัดเอาเปรี ยบในรู ปแบบต่างๆ โดยผูว้ ิจยั มุ่งศึกษาในประเด็นของบทบาท
5

และหน้าที่ในความเสมอภาคของสิ ทธิ สตรี สาเหตุของความรุ นแรงที่เกิ ดขึ้นกับสตรี และแนว


ทางการป้ องกัน รวมทั้งแนวทางในการพัฒนาความเสมอภาคทางเพศ
ดังนั้น ผูว้ ิจยั มีความสนใจศึกษาวิจยั ในหัวข้อ “ ประชาสังคมกับความเสมอภาคทางเพศ
และสิ ทธิสตรี : กรณี ศึกษามูลนิธิเพื่อนหญิง”

วัตถุประสงค์ การวิจัย
1. เพื่อศึกษาถึงความเป็ นประชาสังคมของมูลนิ ธิเพื่อนหญิงกับความเสมอภาคทางเพศ
และสิ ทธิสตรี

น ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
2. เพื่อศึกษาถึงสาเหตุของการใช้ความรุ นแรงภายในครอบครัวที่เกิดขึ้นกับสตรี และ

แนวทางการป้ องกัน ส
3. เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี รวมถึงปั ญหา
ความรุ นแรง และแนวทางการป้ องกัน

ขอบเขตของการวิจัย
1. ขอบเขตวิธีการวิจัย
ผูว้ ิจยั ใช้ระเบียบวิธีวิจยั แบบการวิจยั เชิงคุณภาพ(Quantitative research) ด้วยวิธีการ
เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview)
2. ขอบเขตประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
ในการศึกษาครั้งนี้ ผูว้ ิจยั เก็บรวมรวมข้อมูลจากประชากร ซึ่ งเป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก
(Key informants) เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลเชิ งคุณภาพ ในการสัมภาษณ์เชิงลึก จํานวน 10 คน
0 0

ประกอบด้วย ผูท้ ี่เกี่ ยวข้อง แบ่งเป็ น 3 กลุ่ม คือ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการสตรี
นิยม และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง โดยเป็ นการคัดเลือกแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่ผวู ้ ิจยั ได้กาํ หนดเอาไว้ ดังนี้
คือ
2.1 บุคคลที่มีบทบาทหน้าที่ในการดูแลและรักษาสิ ทธิสตรี
2.2 สตรี ที่ได้รับผลจากความรุ นแรงจากการกดขี่ทางเพศ
2.3 นักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสิ ทธิสตรี
3. ขอบเขตเนือ้ หาการวิจัย
เนื่ องจากการศึกษาครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เชิงคุณภาพ ดังนั้น ผูว้ ิจยั จึงกําหนดกรอบของ
แนวคิดในการวิจยั ดังนี้ เป็ นการวิเคราะห์เนื้ อหา (content analysis) ประกอบด้วยกระบวนการ
จํา นวน 4 ขั้น ตอนคื อ การตี ค วามข้อ มู ล (interpretation) การเปรี ย บเที ย บข้อ มู ล (constant
6

comparison) การสังเคราะห์ขอ้ มูล (data synthesis) และการสร้างข้อสรุ ป (conclusion) ทั้งนี้ เพื่อ


ศึกษาถึงความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี การใช้ความรุ นแรงภายในครอบครัวที่เกิดขึ้นกับสตรี
และแนวทางในการพัฒนาความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี รวมทั้งความเป็ นประชาสังคมของ
มูลนิธิเพื่อนหญิง ดังที่จะแสดงให้เห็นเป็ นกรอบแนวคิดในการวิจยั

กรอบแนวคิดในการวิจัย
การวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ ิจยั กําหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั เป็ นการวิจยั เชิงคุณภาพโดยอาศัย
ข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งได้มาจากแหล่งข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ดังปรากฏต่อไปนี้

ข้อมูลเชิงคุณภาพ

ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก

บุคคลที่มีบทบาทหน้าที่ใน สตรี ที่ได้รับผลจากความ นักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับ


การดูแลและรักษาสิ ทธิสตรี รุ นแรงจากการกดขี่ทางเพศ สิ ทธิสตรี

เพื่อหาแนวทางในการ เพื่อศึกษาถึงสาเหตุของการ เพื่อศึกษาถึงความเป็ น


พัฒนาความเสมอภาคทาง ใช้ความรุ นแรงภายใน ประชาสังคมของมูลนิธิ
เพศและสิ ทธิสตรี ครอบครัวที่เกิดขึ้นกับสตรี เพื่อนหญิง ในความเสมอ
และแนวทางการป้ องกัน ภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี

ประชาสังคมกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี : กรณี ศึกษา มูลนิธิเพื่อนหญิง

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั เชิงคุณภาพ


7

คํานิยามเชิงปฏิบัติการ
ประชาสั งคม หมายถึง สังคมพลเรื อนซึ่ งประชาชนมีสิทธิ และหน้าที่ในการกําหนด
ขอบเขตความสําคัญ และมาตรฐานทางศรี ธรรมภายในสังคม
ในการศึกษาวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ให้ความหมายของคําว่า ประชาสังคม หมายถึง การร่ วม
ตัวของประชาชนที่มีอุดมการณ์ร่วมกันในการช่วยเหลือเด็กและสตรี ที่ได้รับการเอาเปรี ยบหรื อถูก
กดขี่ทางเพศโดยการร่ วมตัวกันครั้งนี้ อยู่ภายใต้การนําของ นายจะเด็จ เชาวน์วิไล ผูจ้ ดั การมูลนิ ธิ
เพื่อนหญิง ซึ่งมีชื่อเรี ยกว่า มูลนิธิเพื่อนหญิง
ความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี หมายถึง การที่เพศผูห้ ญิงและเพศผูช้ ายซึ่ งมี
ความแตกต่างกันทางกายภาพ แต่ท้ งั สองเพศได้มีโอกาสในการได้รับการพัฒนาตนเองอย่างเต็ม
ศัก ยภาพ และทั้ง สองเพศได้รั บ ความพึ ง พอใจอย่า งเสมอภาคในความต้อ งการที่ แ ตกต่ า งกัน
โดยเฉพาะการให้ความสําคัญแก่เพศหญิงให้มีความเท่าเทียมกับเพศชาย
การใช้ ความรุ นแรงภายในครอบครัว หมายถึง การใช้กาํ ลังบังคับหรื อข่มขู่โดยสมาชิก
ของครอบครัวที่กระทําต่อสมาชิก เป็ นการล่วงละเมิดสิ ทธิ ส่วนบุคคลโดยตั้งใจทําร้ายให้สมาชิกคน
อื่นในครอบครัวได้รับผลของความทุกข์ทรมานทั้งร่ างกายแก่ผถู ้ ูกกระทํา

ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับจากการวิจัย


1. เพื่อใช้เป็ นแบบอย่างของแนวทางให้สุภาพสตรี ยดึ ถือปฏิบตั ิและสามารถดํารงชีพอยู่
ได้ในสังคมโดยปราศจากการเอาเปรี ยบหรื อการกดขี่ทางเพศ
2. เพื่อเป็ นการศึกษาและค้นหาแนวทางในการลดการใช้ความรุ นแรงภายในครอบครัว
โดยให้ความสําคัญแก่เพศหญิงและเด็กในฐานะที่เป็ นสมาชิกของครอบครัว
3. เพื่อเป็ นแนวทางในการส่ งเสริ มความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี โดยทั้งเพศ
หญิงและเพศชายต่างได้รับความพึงพอใจอย่างเสมอภาคในความต้องการที่แตกต่างกัน รวมไปถึง
การให้ความสําคัญแก่เพศหญิงให้มีความเท่าเทียมกับเพศชาย
บทที่ 2
วรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง

การศึกษาวิจยั เรื่ อง “ประชาสังคมกับความเสมอภาคเพศและสิ ทธิ สตรี : กรณี ศึกษา


มูลนิ ธิเพื่อนหญิง” โดยในการวิจยั ครั้งนี้ มีเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องเพื่อนํามาประกอบในวิจยั
ประกอบด้วย
1. แนวคิดและหลักการของความเป็ นประชาสังคม
2. แนวคิดเกี่ยวกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี
3. หลักการ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับสตรี นิยม
4. แนวคิดและหลักการของการใช้ความรุ นแรงภายในครอบครัว
5. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

1. แนวคิดและหลักการเกีย่ วกับความเป็ นประชาสั งคม


ความเป็ นประชาสังคม (Civil Society, อ้างอิงใน ประเวศ วะสี และคณะ, 2541: คํานํา)
เป็ นปั จจัยกําหนดคุณภาพและประสิ ทธิ ภาพของสังคม การที่เศรษฐกิ จจะดีหรื อไม่ การเมืองจะดี
หรื อไม่ และศีลธรรมจะดี หรื อไม่ ขึ้นกับการมีความเป็ นประชาสังคมมากน้อยเพียงใด เนื่ องจาก
ความเป็ นประชาสังคมเป็ นพื้นฐานทางศีลธรรม ทุกส่ วนในสังคมจึงควรให้ความสนใจและทําความ
เข้าใจเรื่ องประชาสังคม
คําว่า "ประชาสังคม" มาจากภาษาอังกฤษว่า Civil Society และมีผใู ้ ช้คาํ ภาษาไทย
เทียบเคียงกันหลายคํา อาทิ "สังคมประชาธรรม" (ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม, อ้างอิงใน ประเวศ วะสี
และคณะ, 2541: 162) และวีถีประชา (ชัยอนันต์ สมุทวณิ ช, อ้างอิงใน ประเวศ วะสี และคณะ, 2541:
39-41) ใช้คาํ นี้โดยมีนยั ของคําว่า Civic movement) "อารยสังคม" (อเนก เหล่าธรรมทัศน์, อ้างอิงใน
ประเวศ วะสี และคณะ, 2541: 73-75) และ "สังคมเข้มแข็ง" (ธี รยุทธ บุญมี ทัศน์, อ้างอิงใน ประเวศ
วะสี และคณะ, 2541: 154-155) เป็ นต้น ทั้งนี้ นักคิดสําคัญๆ ของสังคมไทยได้อธิ บายขยายความคํา
ว่า "ประชาสังคม" หรื อ Society นี้ในบริ บทเงื่อนไขและการให้น้ าํ หนักที่แตกต่างกัน อันพอ
รวบรวมในเบื้องต้นได้ (ประเวศ วะสี และคณะ, 2541) ดังนี้

8
9

ศ.นพ.ประเวศ วะสี นับเป็ นผูท้ ี่มีบทบาทสําคัญในการจุดประกายการคิดถกเถียง ใน


เรื่ อง "ประชาสังคม" ให้มีความเข้มข้นอย่างมากในช่วงระยะ 5-6 ปี ที่ผา่ นมา โดยผ่านงานเขียนชิ้น
สําคัญคือ "สังคมสมานุ ภาพและวิชชา" โดยในงานเขียนดังกล่าวประกอบกับบทความย่อยๆ และ
การแสดงปาฐกถาและ การอภิปรายในที่ต่างๆ พอประมวลเป็ นความคิดรวบยอดได้วา่ ในสภาพของ
สังคมไทยปั จจุ บนั ภาคส่ วนหลัก (Sectors) ของสังคมที่มีความเข้มแข็ง และมีความสัมพันธ์
เชื่ อมโยงกันอย่างมากคือ ภาครั ฐ หรื อ "รั ฐานุ ภาพ" และภาคธุ รกิ จเอกชนหรื อ "ธนานุ ภาพ" ซึ่ ง
ปรากฏการณ์ น้ ี ส่ ง ผลทํา ให้ สั ง คม ขาดดุ ล ยภาพและเกิ ด ความล้า หลัง ในการพัฒ นา ของฝ่ าย
ประชาชนหรื อ ภาคสังคม ซึ่งเรี ยกว่า "สังคมานุภาพ"
ดังนั้น การนํา เสนอแนวคิด ของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี จึ งมุ่ งไปที่ ก ารทําอย่างไรที่ จ ะ
เกื้อหนุนให้ภาคสังคมหรื อภาคประชาชนมีความเข้มแข็งและเกิดดุลภาพทางสังคมขึ้น ที่เรี ยกว่าเป็ น
"สังคมสมานุ ภาพ" โดยนัยยะนี้ ศ.นพ.ประเวศ วะสี เชื่ อว่าจะต้องพัฒนาให้เกิ ดความเข้มแข็งที่
ชุมชน (Community Strengthening) (ประเวศ วะสี , 2536) จนเกิดคําขยายความตามมา อาทิ ชุมชน
เข้มแข็ง ความเป็ นชุ มชน เป็ นต้น ดังการให้ความหมายของการเป็ น "ชุมชน" ในที่น้ ี ว่าหมายถึง
"การที่ประชาชนจํานวนหนึ่ งมี วัตถุประสงค์ร่วมกัน มีอุดมคติร่วมกันหรื อมีความเชื่ อร่ วมกันใน
บางเรื่ อ ง มี ก ารติ ด ต่ อ สื่ อ สารกัน หรื อ มี ก ารรวมกลุ่ ม กัน มี ค วามเอื้ อ อาทรต่ อ กัน มี ค วามรั ก มี
มิตรภาพ มีการเรี ยนรู ้ร่วมกันในการ ปฏิบตั ิบางสิ่ งบางอย่างและมีระบบการจัดการในระดับกลุ่ม"
(ประเวศ วะสี , 2539) ซึ่ งโดยนัยยะนี้ ประชาสังคมที่เข้มแข็ง ต้องมีรากฐานที่เกิดจากการมีชุมชนที่
หลากหลายและเข้มแข็งด้วย
มีขอ้ พึงสังเกตสําคัญต่อเรื่ องการเกื้อหนุ นภาคสังคม ที่เสนอแนวคิดในเชิงกลยุทธ์ที่ว่า
ด้วย "ความร่ วมมือเบญจภาคี" (ต่อมาใช้คาํ ว่า "พหุ ภาคี") โดยมองว่าชุมชนในปั จจุบนั อ่อนแอมาก
การที่จะทําให้ชุมชน มีความเข้มแข็งได้น้ นั จะต้องเกิดจากความร่ วมมือและการทํางานร่ วมกันของ
ภาคสังคมต่างๆ ซึ่ งรวมทั้งภาครัฐและภาคธุ รกิจเอกชนด้วย "สังคมสมานุ ภาพ" จะเกิดขึ้นได้ก็ดว้ ย
กระบวนการถัก ทอความรั ก ของคนในสัง คม ของคนในชุ ม ชน ถัก ทอทั้ง แนวดิ่ ง อัน หมายถึ ง
โครงสร้างอํานาจที่เป็ น ทางการและแนวนอนซึ่ ง หมายถึงพันธมิตร/เพื่อน/เครื อข่ายเข้าหากัน ซึ่ ง
หากพิจารณาจากประเด็นนี้ การให้ความหมายหรื อความสําคัญของ "ประชาสังคม" ของ ศ.นพ.
ประเวศ วะสี นั้น มิได้กล่าวถึง "การปฏิเสธรัฐ" หรื อ State Disobedience แต่อย่างใด
อ.ธีรยุทธ บุญมี และ ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ สองนักคิดทางสังคมคนสําคัญ ที่ได้ให้
ความสนใจกับเรื่ อง "ประชาสังคม" อย่างมากเช่นเดียวกัน อ.ธี รยุทธ มองว่าการแก้ปัญหา พื้นฐาน
ทางสังคมนั้นควรให้ความสําคัญกับ "พลังที่สาม" หรื อพลังของสังคม หากแม้นว่าสังคมโดยรวมมี
ความเข้มแข็ง นักธุรกิจ นักวิชาชีพ นักศึกษา ปัญญาชนชาวบ้าน สามารถร่ วมแรงร่ วมใจกัน ผลักดัน
10

สังคม ปั ญหาต่างๆ ที่เป็ นพื้นฐาน ก็จะสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ทั้งนี้ สังคมที่เข้มแข็งในความหมาย


ของ ธีรยุทธ บุญมี นั้น จะเน้นที่ลกั ษณะที่กระจัดกระจาย (Diffuse) พลังทางสังคมที่มาจากทุกส่ วน
ทุกวิชาชีพทุกระดับ รายได้ ทุกภูมิภาคของประเทศ ซึ่ งโดยนัยยะนี้ จะมีความแตกต่างจากแนวคิด"
ประชาชนเป็ นส่ วนใหญ่" หรื อ "อํานาจของประชาชน" ดังเช่นขบวนการ เคลื่อนไหวทางการเมือง
ในอดีตเป็ นอย่างมาก (ธีรยุทธ บุญมี, 2536)
อเนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้ให้ความหมายของ "ประชาสังคม" หรื อ "อารยสังคม" ที่
ครอบคลุมทุกชนชั้นของสังคม เน้นเรื่ องความสมานฉันท์ ความกลมเกลียว ความกลมกลืนในภาค
ประชาสังคมมากกว่าการดูที่ความแตกต่างหรื อ ความแตกแยกภายใน อย่างไรก็ตามมุมมองของ ดร.
อเนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้ให้ความสนใจเป็ นพิเศษกับประเด็นของ "คนชั้นกลาง" "การมีส่วนร่ วม"
"ความผูกพัน" และ "สํานึ กของความเป็ นพลเมื อง" กล่าวคือ "ประชาสังคม" โดยนัยยะนี้ มิ ได้
หมายถึงความเป็ นชุมชนของสังคมชนบทเท่านั้นแต่กิน ความรวม ไปถึงคนชั้นกลางภาคเมืองที่ไม่
จําเป็ นต้องมีความ สัมพันธ์ใกล้ชิดเป็ นเครื อญาติหรื อเป็ น แบบคุน้ หน้า (face to face relationship)
แต่เป็ นความผูกพัน (bond) ของผูค้ นที่หลากหลายต่อกันบนฐาน แห่ งความร่ วมมือและการแสวงหา
การมีส่วนร่ วม และด้วยสํานึกที่มีต่อความเป็ นพลเมือง หรื อ Citizenship นัน่ เองนอกจากนี้ ดร.อเนก
เหล่ า ธรรมทัศ น์ ยัง ได้ต้ ัง ข้อ สั ง เกตที่ สํา คัญ ถึ ง รากฐานของคนไทย และสัง คมไทยว่า คนไทย
ส่ วนมากยังมีระบบวิธีคิดว่าตนเองเป็ นไพร่ (client) หรื อคิดแบบไพร่ ที่จะต้องมีมูลนายที่ดี โหยหา
คนดี จึงมักขาดสํานึกของความเป็ นพลเมืองและมองปัญหาในเชิง โครงสร้างไม่ออก
อย่างไรก็ตาม ดร.อเนก เหล่ าธรรมทัศน์ ได้ให้ความสํา คัญต่ อการผลักดัน ให้เรื่ อง
"ประชาสังคม" กลายเป็ นแนวคิดในเชิงอุดมการณ์ ทางสังคม "ผมขอเสนอให้เรื่ อง Civil Society
เป็ นเรื่ องของอุดมการณ์ จะต้องมีคาํ ขึ้นมาก่อน ไม่มีคาํ ก็ไม่มีความคิด ไม่มีความคิดก็ไม่มีอุดมการณ์
เพราะฉะนั้นคําว่า Civil Societyต้องสร้างให้เป็ น Concept อย่างเช่น วัฒนธรรมชุมชน จึงจะเห็นมี
พลัง มีประโยชน์" (อเนก เหล่าธรรมทัศน์, 2539)
ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิ ช และนายแพทย์ชูชยั ศุภวงศ์ เป็ นนักคิดอีก 2 ท่านที่กล่าวถึง
"ประชาสังคม" โดยเน้นที่การปรับใช้ในบริ บท ของสังคมไทย ค่อนข้างมาก โดยที่ ศ.ดร.ชัยอนันต์
สมุทวณิ ช มองว่า "ประชาสังคม" หมายถึง ทุกๆ ส่ วนของสังคมโดยรวมถึงภาครัฐ ภาคประชาชน
ด้วย ถือว่าทั้งหมด เป็ น Civil Society ซึ่ งแตกต่างจากความหมายแบบตะวันตกที่แยกออกมาจาก
ภาครัฐ หรื อนอกภาครัฐ แต่หมายถึงทุกฝ่ ายเข้ามาเป็ น partnership กัน (ชัยอนันต์ สมุทวณิ ช, 2539)
โดยนัยยะนี้ ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิ ช ให้ความสําคัญกับ Civic movement หรื อ "วิถีประชา" ที่เป็ น
การดําเนิ นกิจกรรม ของกลุ่มองค์กรต่างๆ โดยเอาตัวกิจกรรมเป็ นศูนย์กลางปราศจากการจัดตั้ง ดัง
ข้อเสนอที่ สําคัญใน เชิ งยุทธศาสตร์ การพัฒนา ในช่ วงของการจัดทําแผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 8 คือ
11

Area-Function-Participation - AFP กล่าวคือจะต้องเน้นที่กระบวนการมีส่วนร่ วม ในการดําเนิ น


กิจกรรมการพัฒนาของ ทุกฝ่ ายร่ วมกันในระดับพื้นที่ (ย่อยๆ) ซึ่งในที่น้ ี อาจเป็ นพื้นที่จงั หวัด อําเภอ
ตําบล หมู่บา้ น หรื อพื้นที่ในเชิ งเศรษฐกิ จ เช่ น เขตพื้นที่ชายฝั่ งทะเล ภาคตะวันออก เป็ นต้น (ชัย
อนันต์ สมุทวณิ ช, 2539)
นายแพทย์ชูชยั ศุภวงศ์ ให้ความหมายของ "ประชาสังคม" ที่กว้างขวางและผนวกเอา
แนวคิดที่กล่าว มาข้างต้น มาผสมผสานกันอย่างกลมกลืน กับบริ บทของสังคมไทยว่า หมายถึง "การ
ที่ ผูค้ นในสังคม เห็ น วิกฤตการณ์ หรื อสภาพปั ญหาในสังคมที่ สลับซับซ้อนยากแก่ การแก้ไข มี
วัตถุประสงค์ร่วมกันซึ่ งนําไปสู่ การก่อจิตสํานึ ก (Civic consciousness) ร่ วมกัน มารวมตัวกันเป็ น
กลุ่มหรื อองค์กร (Civic group) ไม่ว่าจะเป็ นภาครัฐ ภาคธุ รกิจเอกชน หรื อภาคสังคม (ประชาชน)
ในลักษณะที่เป็ นหุ น้ ส่ วนกัน (Partnership) เพื่อร่ วมกันแก้ปัญหาหรื อ กระทําการบางอย่างให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ ทั้งนี้ ด้วยความรัก ความสมานฉันท์ความเอื้ออาทรต่อกันภายใต้ระบบการจัดการโดย
มีการเชื่อมโยงเป็ นเครื อข่าย (Civic network)" (ชูชยั ศุภวงศ์, 2540)
ทั้งนี้ นายแพทย์ชูชยั ศุภวงศ์ ยังได้เสนออีกว่าปั จจุบนั ขบวนการประชาสังคมของไทย
ได้มีพฒั นาการและ ความเข้มแข็งเชื่ อมโยงเครื อข่ายกันมาก พอสมควร โดยเฉพาะเครื อข่ายของ
ชาวบ้านและเครื อข่า ยขององค์กรพัฒนาเอกชนต่ างๆ ที่ ก าํ ลัง มี บทบาทสําคัญ ต่อกระบวนการ
แสวงหา ทางเลือกเพื่อการแก้ปัญหาในด้านต่างๆ ของสังคม เช่น ปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ปั ญหาเอดส์
ปั ญ หาสาธารณสุ ข การทํา เกษตรทางเลื อ ก เป็ นต้น อย่า งไรก็ดี นายแพทย์ชู ข ยั ศุ ภ วงศ์ ได้ต้ ัง
ข้อสังเกตที่ สําคัญไว้ว่า ในเงื่ อนไขของสังคมไทยปั จจุบนั ยังคงมี กระแสเหนี่ ยวรั้ งที่จะฉุ ด มิให้
กระบวนการสร้างความ เข้มแข็งของสังคมเติบโตขึ้น อันได้แก่ ระบบพรรคการเมือง รัฐไทยและ
ระบบราชการ ระบบการศึกษา ความสัมพันธ์แบบแนวดิ่ง และสื่ อมวลชนที่ขาด อิสระเป็ นต้น (ชูชยั
ศุภวงศ์, 2540)
คุ ณ ไพบู ล ย์ วัฒ นศิ ริ ธ รรม นัก คิ ด นัก พัฒ นาอาวุ โ สอี ก ท่ า นหนึ่ ง ซึ่ ง มี บ ทบาททาง
ความคิด และการเชื่อมโยงภาคีต่างๆ ของสังคมเพื่อ การพัฒนามาอย่าง ต่อเนื่ อง ได้ให้ความหมาย
ของ "ประชาสังคม" ว่าหมายถึง "สังคมที่ประชาชนทัว่ ไป ต่างมีบทบาทสําคัญในการจัดการเรื่ อง
ต่างๆ ที่ เกี่ ยวกับวิถีชีวิต ของประชาชน โดยอาศัยองค์กร กลไก กระบวนการ และกิ จกรรมอัน
หลากหลาย ที่ประชาชนจัดขึ้น" โดยนัยยะของความหลากหลาย ขององค์กรนี้ ไม่ว่า จะเป็ น กลุ่ม
องค์กร ชมรม สมาคม ซึ่ งล้วนแต่มีบทบาทสําคัญต่อการผลักดันการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทั้งสิ้ น
จึงเป็ นเสมือน "สังคม" ของ "ประชา" หรื อ Society ของ Civil นัน่ เอง อย่างไรก็ดี คุณไพบูลย์
วัฒนศิ ริธรรม ยังเสนอต่ออี กด้วยว่า "ประชาสังคม" นั้นเป็ นส่ วนของสังคม ที่ ไม่ใช่ ภาครั ฐ ซึ่ ง
12

ดําเนิ นงานโดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายและก็ไม่ใช่ภาคธุ รกิจ ซึ่ งดําเนิ นงานโดยมุ่งหวังผลกําไร


เป็ นสําคัญ
จากตัวอย่างความหมาย และแนวคิดข้างต้นจะ เห็นถึงความต่าง ความเหมือน และการ
วางนํ้าหนักในการอธิ บายที่ แตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ดี จะสังเกตได้ว่าคําอธิ บายจากนักคิด
นักวิชาการของไทย ในข้างต้น เป็ นคําอธิ บายที่วางอยู่บนพื้นฐานของสถานการณ์หรื อ บริ บทของ
สังคมไทยร่ วมสมัย (Contemporary Situation) อีกทั้งยังมีลกั ษณะของ ความคาดหวังต่อการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในอนาคตทั้งสิ้ น ซึ่ งที่จริ งปรากฏการณ์น้ ี ก็ไม่ต่างไปจากประเทศในซีก
โลกตะวันตกแม้แต่น้อย อย่างไรก็ดี ความเคลื่อนไหว เรื่ องประชาสังคมในประเทศตะวันตกนั้น
ก้าวหน้าและเป็ นรู ปธรรมกว่าในเมืองไทยมากนัก อีกทั้งกระแสการรื้ อฟื้ น "ความเป็ นประชาคม"
หรื อ "ความเป็ นชุ มชน" ในความหมายใหม่น้ ันดู จะเป็ นทางออกที่ ลงตัวสําหรั บสังคมที่ มีความ
พร้อมของ "พลเมือง" จริ งๆ
หากพิจารณาถึงความลึกซึ้ ง ของแนวคิดภายใต้กระแสงการสร้างชุ มชนดังกล่าว จะ
พบว่า ชุมชนในที่น้ ี หมายถึงชุมชนแห่ งสํานึ ก (Conscious community) ที่สมาชิกของชุมชน ต่าง
เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบ โดยรวมที่มีความสัมพันธ์กนั อย่างแนบแน่น อาจจะด้วยพื้นฐานของระบบ
คุณค่า เก่าหรื อเป้ าประสงค์ใหม่ของการเข้ามาทํางาน ร่ วม ดังนั้น คําว่า "ประชาคม" หรื อ "ชุมชน"
จึงอาจมีขนาดและลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ตั้งแต่บริ ษทั ขนาดเล็ก บริ ษทั หนึ่ ง ถนนสายหนึ่ ง
หมู่บา้ นๆ หนึ่ ง เมืองๆ หนึ่ ง หรื อกลุ่มสนใจเรื่ องๆ หนึ่ ง เป็ นต้น ความเป็ นชุมชนจึงมีลกั ษณะ เป็ น
พลวัตที่บุคคลและกลุ่มคนต่างมีส่วนร่ วมในการทํากิจกรรมที่สน ใจ ร่ วมกัน มีความสัมพันธ์และ
ตัดสิ นใจร่ วมกัน โดยมีพนั ธะ เชื่อมโยงกับระบบใหญ่ บนพื้นฐานแห่ งความเป็ นอยูท่ ี่ดีร่วมกันและ
หัวใจสําคัญอันหนึ่ งที่ จะเป็ นเงื่ อนไขของการสร้ าง ความเป็ นชุ มชนที่ แข็งแรงก็คือ การสื่ อสาร
(Communication) นัน่ เอง
กระแสการรื้ อฟื้ นชุมชนเป็ นกระแสที่เกิดขึ้นท่ามกลางวิกฤติที่โค รงสร้างของรัฐชาติ
ไม่ ส ามารถเข้า มาจัด การได้ ในขณะเดี ย วกัน ความเป็ นเสรี ช น ก็ อ่ อ นแอเกิ น ไป ต่ อ วิ ก ฤติ ที่
สลับซับซ้อน การเกิดขึ้นของชุมชนไม่ใช่การสร้างให้เกิดขึ้น หากแต่เป็ นเพราะความจําเป็ นที่ตอ้ ง
เกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อเข้ามา เติมเต็มช่องว่างระหว่างรัฐและพลเมือง
แนวคิดประชาสั งคมในทัศนะของอิมมานูเอล ค้ านท์
แนวคิดสัญญาประชาสังคมในทัศนะของค้านท์มองว่าสัญญาประชาคมคือที่รวมของ
เหตุผลในการสร้างกระบวนการยุติธรรม กฎหมายตามรั ฐธรรมนู ญแห่ งสาธารณะจะต้องมองว่า
กฎหมายมี ไว้เพื่อคนทั้งมวลตราบใดที่ยงั เห็ นด้วยที่จะให้มีกฎหมายนั้นๆ ต่อไป แนวคิดประชา
สังคมนี้ เป็ นหลักการสําคัญในปรัชญาทางการเมือง เป็ นหลักการเน้นยํ้าว่ารัฐจะต้องมีหลักประกัน
13

ให้พลเมืองแต่ละคนมีเสรี ภาพให้มากที่สุดเท่าที่เป็ นได้ และเป็ นเสรี ภาพที่สอดคล้องกับพลเมืองทุก


คน กล่าวคือเป็ นเสรี ภาพที่ไม่ไปละเมิดเสรี ภาพของคนอื่นๆ ดังนั้นการมีเสรี ภาพที่เท่าเทียมกันให้
มากที่สุดคือเป้ าหมายแบบมี เหตุผลของเจตจํานงร่ วม หลักการนี้ ถือว่าเป็ นแก่ นหลักของแนวคิด
สาธารณรัฐนิ ยม (Republicanism) ค้านท์เชื่อว่ารู ปแบบของรัฐบาลแบบสาธารณรัฐเป็ นรู ปแบบรัฐที่
มีศีลธรรมที่ดีและเป็ นประโยชน์ที่สุด เพราะเป็ นรู ปแบบที่ทาํ ให้พลเมืองมีเสรี ภาพมากที่สุดเท่าที่จะ
มีได้ นอกจากนี้ รูปแบบสาธารณรั ฐยังช่ วยทําให้จุดมุ่งหมายตามหลักการของสัญญาประชาคมมี
ความสมบูรณ์ (ข้อมูลจากหนังสื อ พัฒนาการและการพัฒนาประชาสังคม โดย ผศ.ทศพล สมพงษ์)
แนวคิดประชาสั งคมทีใ่ ช้ ในประเทศตะวันตก
เป็ นแนวคิดที่เริ่ มมาจากประเทศตะวันตก ที่นักคิดแนวอนุ รักษ์นิยมไม่พอใจต่อการ
ปฏิบตั ิฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1789 อาทิ ปิ เตอร์ เบอร์ เกอร์ (Peter Berger) โดยเขาใช้คาํ ว่า mediating
structure (องค์กรที่เป็ นสื่ อยึดโยงรัฐกับปั จเจกชน) ริ ชาร์ ค นิ วเฮาส์ (Richard Neuhaus) ในหนังสื อ
ชื่อ “To empower people” ที่มองว่า พวกเสรี นิยมหรื อพวกปฏิวตั ิได้สร้างรัฐใหม่ เป็ นรัฐ “เอกนิ ยม”
คือ ผูกขาด อํานายอธิ ปัตย์ โดยไม่แบ่งอํานาจในการจัดการปั ญหาส่ วนรวมให้กบั กลุ่มต่างๆ ใน
สังคม ทําให้รู้สึกว่า ปั ญหาต่างๆ ต้องแก้โดยรัฐเท่านั้น พวกอนุ รักษ์นิยมมองว่า รัฐต้องแบ่งอํานาจ
หน้าที่และทรัพยากรให้กบั ท้องถิ่น ชุมชน วัด โบสถ์ และกลุ่มสมาคม ชมรมต่างๆ ให้มีบทบาทใน
การแก้ไขปั ญหาส่ วนรวมให้มากยิง่ ขึ้น (อเนก เหล่าธรรมทัศน์, 2545: 18-19)
โรเบิร์ต นิสเบต (Robert Nisbet) ในหนังสื อ “The Quest of the Community” กล่าวถึง
รัฐซึ่ งเดิมเคยมีบทบาทหน้าที่จาํ กัด อยู่กนั อย่างมีพหุ นิยม มีความหลากหลายแตกต่าง แบ่งอํานาจ
หน้าที่ร่วมกันปกครอง ร่ วมกันดูแลประชาชน ไม่มีใครมีอาํ นาจเด็ดขาดแท้จริ ง ครั้นหลังจากปฏิวตั ิ
ฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 พหุ นิยม ก็กลายเป็ นสภาวะเอกนิ ยม (monism) รัฐมีอาํ นาจเหนื อองค์กรทาง
สั ง คมอย่า งสิ้ น เชิ ง จะเข้า มาทํา การหลายๆ อย่ า งแทนองค์ก รภาคสั ง คม แม้รั ฐ จะอนุ ญ าตให้
ประชาชนรวมตัวเป็ นกลุ่มเครื อข่าย สมาคม ชุมชน ชุมชนต่างๆ แต่ในมุมมองรัฐ องค์กรที่เกิดจาก
การรวมกลุ่มนั้นไม่มีความชองธรรมเป็ นเพียงของสมมุติข้ ึนมาโดยปัจเจกชนและรัฐ เท่านั้น
แนวคิดประชาสั งคมทีใ่ ช้ ในประเทศไทย
ประเวศ วะสี การนําเสนอแนวคิดของท่าน มุ่งไปที่การทําอย่างไรจะเกื้อหนุ นให้ภาค
สังคม หรื อภาคประชาชน มีความเข้มแข็ง และเกิดดุลยภาพทางสังคมขึ้นที่เรี ยกว่า “สังคมสมานุ
ภาพ” โดยนัยนี้ ท่านเชื่อว่าจะต้องพัฒนาให้เกิดความเข้มแข็งที่ชุมชน (community strengthening)
จนเกิ ดคําขยายความตามมา อาทิ ชุมชนเข้มแข็ง ความเป็ นชุมชนและท่านให้ความหมายของการ
เป็ น “ชุมชน” ว่าหมายถึงการที่ประชาชนจํานวนหนึ่งมีวตั ถุประสงค์ร่วมกัน มีอุดมคติร่วมกันหรื อมี
ความเชื่อร่ วมกันในบางเรื่ องมีการติดต่อสื่ อสารกัน หรื อมีการรวมกลุ่มกัน มีความเอื้ออาทรต่อกัน มี
14

ความรัก มีมิตรภาพ มีการเรี ยนรู ้ร่วมกัน ในการปฏิบตั ิบางสิ่ งบางอย่าง และมีระบบการจัดการใน


ระดับกลุ่ม (ประเวศ วะสี , 2536: 6) ซึ่ งโดยนัยนี้ ประชาสังคมที่เข้มแข็งต้องมีรากฐานจากการมี
ชุมชนที่หลายหลาย และเข้มแข้ง
แนวคิดประชาสั งคมกับการเกิดโลกยุคสมัยใหม่
การศึกษาความเป็ นสมัยใหม่และรู ปแบบโครงสร้างการเมือง ประชาสังคม ปริ มณฑล
สาธารณะซึ่งเกิดขึ้นในยุคสมัยใหม่น้ ี ในแต่ละประเทศต้องอาศัยการศึกษาวิจยั เฉพาะแต่ละประเทศ
ทั้งสิ้ น อย่างไรก็ตามมีแบบแผนกว้างๆ ที่เราสามารถจําลองแบบการคลี่ คลายตัว พัฒนาการทาง
การเมืองของความคิดในโลกยุคสมัยใหม่ ได้ดงั นี้
1. สิ่ งที่เป็ นลักษณะโดดเด่นของโลกยุคสมัยใหม่ คือ การเกิ ดรัฐสมัยใหม่และระบบ
ราชการสมัยใหม่ (modern state and bureaucracy) การเกิดความคิดเรื่ องชาติและลัทธิ ชาตินิยม
(Nation and Nationalism)
2. ความคิดทางการเมืองที่เกิดขึ้นควบกับรัฐ-ชาติสมัยใหม่ที่อาํ นาจการเมืองมีรากฐาน
เป็ นประชาธิ ป ไตยของประชาชน แต่ อ าํ นาจการเมื อ งนี้ บางครั้ งก็ต กไปอยู่ใ นมื อ คนกลุ่ ม น้อ ย
กลายเป็ นระบบเผด็จการไปได้
3. ในยุคสมัยใหม่น้ นั จะเกิดแนวคิดว่าบุคคลต้องอยูร่ ่ วมกันโดยเป็ นสังคม (sociality)
หรื อมีตวั สังคม (society) รวมทั้งวัฒนธรรม (culture) เกิดขึ้นควบคู่ไปด้วย และถือเป็ นแก่นของโลก
ยุคสมัยใหม่ไม่แพ้การเกิดรัฐและชาติเลย
การทํางานของประชาสังคมเกิ ดขึ้นได้ก็ต่อเมืองสังคมนั้นมีการถ่วงดุ ลอํานาจอย่าง
พอเพียงที่จะระงับยั้งการใช้กาํ ลังได้ การแสดงความคิดเห็นจึงเป็ นอาวุธสําคัญของชนชั้นกลางและ
ภาคสังคมมาแต่ตน้ เป็ นเครื่ องมื อทําให้เกิ ดการเมื องแบบ “ประชาธิ ปไตย” ดังนั้น สิ่ งที่เรี ยกว่า
ประชาสังคมจึงมีลกั ษณะเป็ นกลุ่มหรื อสังคมวาทกรรมและสังคมสื่ อสารมาแต่ตน้ ส่ วนประเทศใด
ที่ “ประชาสังคม” ไม่ทาํ งาน คณะผูถ้ ืออาวุธยังคงดํารงตนเองเป็ น “ชมรมผูถ้ ืออาวุธ” และใช้อาํ นาจ
อาวุธเป็ นเครื่ องตัดสิ นประเทศนั้นก็มกั มีการปกครองแบบเผด็จการตํารวจ ทหาร หรื อเผด็จการ
รู ปแบบอื่น
นักวิชาการเริ่ มมองเห็นบทบาทสําคัญที่ท้ งั มโนทัศน์ สังคม และวัฒนธรรมมีลกั ษณะ
ผูกและเชื่อมโยงอย่างแน่ นแฟ้ นก็เพื่อทัดทานและกดบทบาทของกลุ่มที่มีอาํ นาจโดยกําลังอาวุธเดิม
ขณะเดียวกันมันก็ทาํ หน้าที่ที่ Antonio Gramsci (1891-1937) เรี ยกว่าการสร้างภาวการณ์ครอบนํา
(hege-mony) กล่าวคือ การที่ชนชั้นใดชนชั้นหนึ่งจะก้าวขึ้นมาเป็ นผูป้ กครองหรื อเป็ นผูถ้ ืออํานาจได้
พวกเขาต้องมีเครื่ องมือทางความคิดหรื ออุดมการณ์ที่จะครอบนําวิถีชีวิต ความเชื่ อ การปฏิบตั ิใน
ชีวิตประจําวันของผูค้ นด้วย สิ่ งที่ควรสังเกตจากประเด็นนี้มีหลายแง่มุม คือ
15

1. การเกิดแนวคิดเรื่ องวัฒนธรรมขึ้นในช่วงประมาณ 2 ศตวรรษที่ผา่ นมาก็อธิบายได้


โดยผ่านแนวคิดของ Gramsci ว่าเป็ นการที่ชนชั้นกลางกระฎุมพี ปั ญญาชน และธุรกิจจะสร้างภาวะ
ครอบนํา วิ ถี ข องผูค้ นทั่ว ไปในสั ง คมให้ อ ยู่ ใ นกรอบจริ ต (habitus) ความคิ ด ความเชื่ อ
ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ค่านิ ยมเดี ยวกันเพื่อการดํารงอยู่ในอํานาจของรั ฐชาติ สังคมสมัยใหม่
ระบบทุนนิยม รวมทั้งการอยูใ่ นอํานาจของพวกกระฎุมพีดว้ ย
2. คําว่า civil society ซึ่ งเราแปลง่า ประชาสังคม โดยที่ถา้ แปลงให้ตรงตัวและตรง
ความหมาย ควรใช้คาํ ว่า สังคมอารยะหรื อสังคมวัฒนะ หรื อสังคมพฤติกรรมมากกว่า แนวคิดนี้ โดย
ชื่อก็บ่งบอกว่าการก่อตัวเป็ นกลุ่มสังคมสมาคมที่มีวิถี ค่านิยมที่ “อารยะ” หรื อที่มี “วัฒนธรรม” ด้วย
3. การเสนอแนวคิด “ประชาสังคม” นี้ เสนอขึ้นโดยนักคิดที่เป็ นตัวแทนกระฎุมพีและ
ชนชั้นกลาง โดยมีวตั ถุประสงค์หลายอย่าง เช่น เพื่อปกป้ องสังคมจากอํานาจการใช้อาวุธและความ
รุ นแรงจากรัฐ เพื่อศักยภาพรวมของสังคม เพื่อปกป้ องประโยชน์ของชนชั้นกระฎุมพีหรื อเศรษฐกิจ
แบบเสรี นิยม เป็ นต้น
4. เนื่ องจาก “ประชาสังคม” มีมิติของการปกป้ องประโยชน์ของทุนนิ ยมและมี
ประวัติศาสตร์ ผูกพันกับปั ญญาชน ชนชั้นกลาง จึงถูกวิจารณ์จากนักคิดมาร์ กซิ สต์และปั ญญาชน
ตัวแทนของชาวบ้าน ชาวนา คนยากจน ว่าไม่สามารถเป็ นตัวแทนประโยชน์ของคนจนได้ดีพอ มี
ลักษณะที่กีดกันปากเสี ยงของคนจน เพราะคําว่าอารยะหรื อวัฒนะก็บ่งถึงความไม่ใช่คนจนอยูใ่ นตัว
แล้ว จึงมีคาํ ถามว่า “ประชาสังคม” จะมีพลังในการปลดปล่อย (emancpatory power) คนจนหรื อผู ้
ยากไร้ ไ ด้จ ริ ง หรื อ จึ ง มี ก ารเสนอแนวคิ ด ประชาสังคมของคนจนหรื อภาคสาธารณะทางเลื อ ก
(alternative public sphere) ขึ้นมาแข่งขันด้วย เป็ นต้น (ธีรยุทธ บุญมี, 2547: 25-27, 29-30)
ขบวนการเคลือ่ นไหวประชาสั งคม (civil society movement)
ขบวนการเคลื่อนไหวประชาสังคม หรื อ ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรู ปแบบใหม่
ที่ มิได้ตอ้ งการช่ วงชิ งอํานาจรั ฐ หากเป็ นการเคลื่ อนไหว ที่ มีลกั ษณะ ต้องการสร้ างความหมาย
กฎเกณฑ์ กติ ก า คํา นิ ย ามชุ ด ใหม่ หรื อ การสร้ า ง “วาทกรรม” (discourse) ชุ ด ใหม่ ให้กับ สิ่ ง ที่
เคลื่อนไหวเรี ยกร้อง ด้วยการเคลื่อนไหวเรี ยกร้องด้วยตนเอง มากกว่าเรี ยกร้องผ่านระบบตัวแทน
ต่างๆ ตัวอย่างการเคลื่อนไหวรู ปแบบใหม่ในต่างประเทศได้แก่ ขบวนการโซลิดาริ ต้ ี (solidarity)
ของประเทศโปแลนด์ ขบวนการเอริ ทเ์ ฟิ ร์ ส (earth first) อนุ รักษ์ธรรมชาติ โดยเฉพาะป่ าไม้ และ
ที่ดินสาธารณะ ความหลากหลายทางชีวภาพ ขบวนการเรี ยกร้องสิ ทธิ (the rights movements) เช่น
สิ ทธิของคนพื้นเมืองดั้งเดิม (คนอินเดียน) ในลาตินอเมริ กา เป็ นต้น (พงษ์ยทุ ธ สี ฟ้า, 2547: 22)
ขบวนการประชาสังคม ในต่างประเทศ จะเห็นได้ว่า มีลกั ษณะที่เน้นการเคลื่อนไหว
ทางสังคมรู ปแบบใหม่ ที่มีลกั ษณะ คือ (พงษ์ยทุ ธ สี ฟ้า, 2547: 22)
16

1. ขบวนการเหล่านี้ เป็ นการร่ วมมือกันข้ามกลุ่มชนชั้น มิได้เคลื่อนไหวอยูบ่ นฐานของ


ชนชั้นใด เพียงชนชั้นเดียว
2. ประเด็นการเคลื่อนไหว จะมิใช่เรื่ องเกี่ยวกับผลประโยชน์เฉพาะกลุ่มแต่เชื่อมโยงถึง
สาธารณะ ไม่วา่ ระดับชุมชุน ท้องถิ่น ประเทศ หรื อระดับโลก
3. ขบวนการเคลื่อนไหว มิได้เรี ยกร้องผ่านกลไกทางการเมืองที่ดาํ รงอยู่ เพราะไม่เชื่อ
ในระบบตัวแทนของรัฐ
4. เป้ าหมายในการเรี ยกร้อง มิได้ช่วงชิงอํานาจรัฐ แต่ตอ้ งการสร้างกติกา หรื อกฎเกณฑ์
ชุดใหม่ ในการดําเนินชีวิตผ่านการสร้าง “วาทกรรม” (Discourse) (ไชยรัตน์ เจริ ญสิ นโอฬาร, 2540:
12)
การก่ อตัวของแนวคิดประชาสั งคม
หากศึกษาการก่อตัวของแนวคิดประชาคมทั้งระดับโลก และในประเทศไทยอาจกล่าว
ได้วา่ กระแสประชาสังคมก่อตัวมาจากหลายเหตุปัจจัยด้วยกัน
1. วิกฤตในสังคม ที่รัฐและทุนไม่สามารถแก้ไขได้โดยลําพังหรื อเป็ นวิกฤตระดับโลก
(Global Crisis) เช่น วิกฤตสิ่ งแวดล้อม สิ ทธิมนุษยชน เอดส์
2. การก่อกําเนิ ดของชนชั้นกลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พ่อค้า นักธุ รกิจ นักวิชาการ ที่มี
การศึกษาและมีฐานะทางเศรษฐกิจ
3. พัฒนาการของกระบวนการประชาธิ ปไตย ซึ่ งเปิ ดโอกาสให้ประชาชนสามารถ
แสดงออกทางความคิดเห็นได้โดยอิสระ
4. ระบบการติดต่อสื่ อสาร ซึ่งช่วยให้การรวมตัวเป็ นไปได้สะดวกขึ้น โดยที่บางครั้งไม่
จําเป็ นต้องพบกัน
5. ปั ญหาเรื่ องประสิ ทธิ ภาพและความโปร่ งใสทางภาครัฐ ทําให้รัฐไม่สามารถเป็ น ผู ้
แก้ปัญหาในสังคมได้แต่เพียงอย่างเดียว จึงต้องการหาทางเลือกอย่างอื่น
การที่ปัญหาเกิดขึ้นในสังคม ซึ่ งประชาชนผูแ้ บกรับปั ญหาไม่สามารถพึ่งพารัฐแต่เพียง
อย่างเดียว ไม่ว่าด้วยเหตุความสลับซับซ้อนของปั ญหา หรื อเพราะความจํากัดของประสิ ทธิ ภาพใน
ภาครัฐ ประชาชนก็จะต้องหาทางแก้ไขปั ญหานั้น ตั้งแต่แก้ไขด้วยตัวเองเป็ นกลุ่มเล็กๆ จนเมื่อมี
โอกาสในการสนทนา แลกเปลี่ ย นความเห็ น ในวงกว้าง จึ งเกิ ด การรวมตัว กัน ที่ จ ะกระทํา การ
บางอย่างเพื่อแก้ปัญหานั้นให้ลุล่วงไป ทั้งนี้ อาจดําเนิ นการโดยประชาสังคมเอง หรื อร่ วมกับภาครัฐ
ภาคธุรกิจเอกชนก็ได้
17

องค์ ประกอบประชาสั งคม


กิจกรรมหรื อกระบวนการที่จะเรี ยกว่าเป็ นประชาสังคมได้น้ ัน จะต้องประกอบด้วย
องค์ประกอบที่สาํ คัญ 3 ส่ วน คือ (สายฝน น้อยหี ด, 2549: 41 - 44)
1. จิตสํานึกประชาคม (Civic Consciousness) หมายถึงความคิดและความยอมรับเรื่ อง
การรวมตัวกันอย่างอิสระด้วยความรัก ความเอื้ออาทร ความยอมรับในความคิดเห็นของกันและกัน
ในอัน ที่ จ ะเรี ย นรู ้ ร่ ว มกัน หรื อ แก้ไ ขปั ญ หาที่ เ ผชิ ญ อยู่ การรวมตัว กัน จึ ง เป็ นลัก ษณะหุ ้น ส่ ว น
(Partnership) เป็ นความสัมพันธ์ในแนวราบ (Horizontal) มีอิสระเท่าเทียมกัน และมีการเรี ยนรู ้
ร่ วมกัน
2. โครงสร้างองค์กรประชาสังคม (Civic Organization) หมายถึง กลุ่มการรวมตัวซึ่ ง
อาจเป็ นองค์กรที่เป็ นทางการ (นิติบุคคล) หรื อไม่เป็ นทางการก็ได้ เป็ นกลุ่มที่รวมตัวกันเฉพาะคราว
เฉพาะเรื่ องหรื อต่อเนื่ องก็ได้ สมาชิ กของกลุ่มอาจเป็ นบุคคลในภาครัฐ ภาคธุ รกิจ หรื อประชาชน
หรื อรวมกันอยูก่ ็ได้ จํานวนสมาชิกไม่จาํ กัด มีสมาชิกเพียง 2 - 3 คนก็ได้ รู ปแบบที่เห็นได้มากที่สุด
ก็ คื อ องค์ก รเอกชนสาธารณะประโยชน์ ใ นลัก ษณะต่ า งๆ ไม่ ว่ า จะเป็ นมู ล นิ ธิ สมาคม ชมรม
สมาพันธ์ สหพันธ์ ชุมนุม สหกรณ์ กลุ่มออมทรัพย์ หรื อกลุ่มอื่นๆ ประเด็นสําคัญการรวมกลุ่มต้องมี
จิตสํานึกประชาคมครบถ้วน การรวมกลุ่มที่มีลกั ษณะจัดตั้ง ชี้นาํ ขาดการสร้าง Partnership ไม่มีการ
เรี ยนรู ้ร่วมกันและมีลกั ษณะความสัมพันธ์ในแนวดิ่ง แม้จะเกิดอยูใ่ นชุมชนไม่ว่าจะสนับสนุน โดย
ภาครัฐหรื อองค์กรเอกชนก็ไม่สามารถนับเป็ นประชาสังคมได้ เพราะขาดจิตสํานึกประชาสังคม
3. เครื อข่ายประชาคม (Civic Network) หมายถึง โครงสร้างและกระบวนการซึ่ ง
เชื่ อมโยงสมาชิ กในกลุ่ ม หรื อ เชื่ อมโยงองค์กรประชาสังคมต่างๆ เข้าด้วยกัน ปั จจัยสําคัญของ
เครื อข่ายประชาสังคม คือ ระบบการสื่ อสารที่มีประสิ ทธิ ภาพและการประชาสัมพันธ์ดว้ ยความ
สมานฉันท์ เครื อข่ายประชาสังคมจะเป็ นสิ่ งที่ช่วยรวมจิตสํานึกของสมาชิกและองค์กรประชาสังคม
ต่าง ๆ ให้เกิด "อํานาจที่สาม" ที่มีความเข้มแข็งในสังคมขึ้นมา
องค์ ประกอบประชาสั งคมทีเ่ ข้ มแข็ง
1. จิตสํานึกประชาสังคม (Civic Consciousness) คือ สํานึกว่าตนเป็ นเจ้าของปั ญหาของ
ชุ มชนและมี เจตจํานงที่ จะเข้าร่ วมรั บผิดชอบและร่ วมแก้ไขปั ญหากับฝ่ ายต่างๆ ยอมรั บในการ
รวมตัวและความคิดเห็ นอย่างเท่าเทียมกัน ด้วยมิตรภาพในการเรี ยนรู ้ร่วมกันหรื อแก้ไขปั ญหาที่
เผชิ ญอยู่ให้ความสําคัญกับศักยภาพของปั จเจกชนในชุมชน ยอมรับและเห็นคุณค่าความแตกต่าง
หลากหลายของสมาชิกในชุมชนในการร่ วมทํางานด้วยกัน การมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการแก้ปัญหา
ชุมชนเป็ นตัวกระตุน้ ให้เกิดจิตสํานึกความเป็ นชุมชน
18

2. โครงสร้างพื้นฐานสาธารณะและช่องทางสื่ อสาร หมายถึง โครงสร้างที่เอื้อให้ผคู ้ นมี


โอกาสสื่ อสารพูดคุยถึงปั ญหาร่ วมกัน ไม่ว่าจะเป็ นการพูดคุยที่เป็ นทางการหรื อไม่เป็ นทางการ เวที
ประชาคม (Civic Forum) ในรู ปแบบต่างๆ จึงเป็ นที่ที่สร้างความเป็ นพลเมืองให้กบั ประชาชนใน
การร่ ว มมื อ กัน แก้ไ ขปั ญ หาของชุ ม ชนและสาธารณะ โครงสร้ า งพื้ น ฐานสาธารณะ (Civic
Infrastruction) แยกได้หลายระดับ พื้นฐานที่สุด ก็คือ การพบปะของผูค้ นเป็ นบางครั้งบางคราว
(Adhoc Association) เช่นการพบปะของเพื่อนบ้านในวัด ซึ่ งเปิ ดโอกาสให้คนมาสัมพันธ์กนั และ
พูดคุยถึงประเด็นสาธารณะ ระดับถัดมาคือการรวมตัวเป็ นกลุ่มงานด้านใดด้านหนึ่ งหรื อเป็ นองค์กร
เช่ น กลุ่ มเกษตรกร กลุ่ มออมทรั พ ย์ มูล นิ ธิชุม ชน ชมรม ระดับ สู งสุ ด คื อ องค์ก รร่ ม (Umbrella
Organization) ที่เชื่ อมองค์กรสมาชิ กและสมาชิ กเข้าหากันเป็ นเครื อข่ายชุ มชน องค์กรต่างๆ ใน
ประชาสังคมที่ เข้มแข็ง การพบปะกันในเวทีประชาคม ต้องขยายไปถึงการให้โอกาสคนแปลก
หน้าที่สนใจในเรื่ องเดียวกันด้วย ประชาชนมีโอกาสเข้าร่ วมในการพูดถึงปั ญหาความเป็ นอยู่ของ
ชุมชนไม่เพียงในเวที วงเล็ก แต่รวมไปถึงเวทีสาธารณะขนาดใหญ่ดว้ ย
3. กระบวนการเรี ยนรู ้ของชุมชนและการตัดสิ นใจ การตัดสิ นใจในกิจกรรมสาธารณะ
จําต้องดําเนิ นการหลังกระบวนการเรี ยนรู ้ของชุมชน ซึ่ งหมายถึง สิ่ งที่ประชาชนเรี ยนรู ้ซ่ ึ งกันและ
กัน ผ่านการแลกเปลี่ยนข้อมูลความคิดกับคนในชุมชนสาธารณะ สิ่ งที่ผนู ้ าํ มักทํากันเป็ นนิ จคือการ
รวบรวมหลักฐานข้อมูลชักจูงให้ประชาชนเชื่อว่าข้อเสนอของผูน้ าํ ถูกต้องชอบธรรมเหมาะสมที่สุด
อย่างไรก็ดี กระบวนการเรี ยนรู ้ ของชุ มชนมิ ใช่ การรั บฟั งข้อเสนอและข้อมูลเท่านั้น ประชาชน
จําต้องพูดคุยถกเถียงแลกเปลี่ยนข้อมูลความคิดเห็ นซึ่ งกันและกัน เพราะไม่มีใครมีประสบการณ์
เหมือนกันในเรื่ องเดียวกัน ต่างคนต่างมีประสบการณ์และมองสิ่ งเดี ยวกันจากมุมมองและการให้
คุณค่าที่แตกต่างกัน ชุมชนที่มีประชาสังคมเข้มแข็งจึงเป็ นชุมชนแห่งการเรี ยนรู ้
4. ภาวการณ์นาํ และผูน้ าํ ชุมชน ลักษณะเด่นของชุมชนที่เป็ นประชาสังคม มิได้เกิดจาก
จํานวนและแหล่งที่อยู่ของผูน้ าํ แต่อยู่ที่วิถีทางที่ผนู ้ าํ สัมพันธ์กบั คนอื่น ผูน้ าํ เช่นนี้ จะทําหน้าที่เป็ น
ผูใ้ ห้โอกาสแก่ ผูค้ นเข้ามามี ส่วนร่ ว มและริ เริ่ มสร้ างสรรค์ และไม่ผูกขาดความคิ ดหรื อการเป็ น
เจ้า ของปั ญ หาหรื อ เจ้า ของชุ ม ชน ชุ ม ชนจะเต็ม ไปด้ว ยภาวการณ์ นํา จากผู ค้ นหลากหลายที่ มี
ความสามารถต่างๆ กัน มีวิสัยทัศน์กา้ วไกล มองปั ญหาชุมชนทั้งชุมชนอย่างเชื่อมโยง พร้อมที่จะ
เรี ยนรู ้แลกเปลี่ยนข้อมูลความคิดเห็น ผูน้ าํ ที่หลากหลายเหล่านี้จะไม่ค่อยแตกต่างจากชาวบ้านคนอื่น
คือไม่มีชนชั้นผูน้ าํ ที่แยกจากผูต้ ามและคอยปกป้ องฐานะของตนเอง รวมทั้งควบคุมการกระทําของ
คนอื่นอย่างเข้มงวด
หากแต่จะเป็ นผูน้ าํ ที่ผนึ กตัวเองเข้ากับชุมชนอย่างแนบแน่นและร่ วมทําประโยชน์เพื่อ
ชุมชน การเข้าร่ วมพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับปั ญหาสาธารณะในเวทีประชาคม และมี
19

ส่ วนร่ วมในกิ จกรรมแก้ปัญหาของชุ มชน จะทําให้ประชาชนจํานวนมากเกิ ดภาวการณ์นาํ ภายใน


ตนเอง กลายเป็ นผูน้ าํ ตามธรรมชาติที่หลากหลายในชุมชน
5. ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งคนกับ สถาบัน ชุ ม ชนที่ เ ป็ นประชาสัง คมมัก จะไม่ พ่ ึ ง พา
สถาบัน ของรั ฐ อย่ า งเดี ย ว ตรงข้า มกับ ชุ ม ชนที่ ไ ม่ เ ข้ม แข็ง มัก จะพึ่ ง พารั ฐ ส่ ง ผลให้รั ฐ มี ภ าระ
รั บผิดชอบชุ มชน ทุกด้าน จนไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้ท้ งั หมด นํามาซึ่ งความไร้
ประสิ ทธิ ภาพในที่สุด ในประชาสังคมความสัมพันธ์ของคนไม่ว่าจะเป็ นรู ปองค์กรหรื อเครื อข่ายทั้ง
ที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการมักเป็ นความสัมพันธ์ต่อกันในแนวระนาบในชุ มชนที่ ไม่เป็ น
ประชาสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนและคนกับสถาบันทางสังคม เป็ นความสัมพันธ์ใน
แนวดิ่ งหรื อแบบอุ ปถัมภ์ ข้อมู ล ที่ ไ หลตามช่ องทางความสัมพัน ธ์ใ นแนวดิ่ ง มัก เชื่ อถื อได้น้อย
ความสัมพันธ์ใน แนวดิ่งก่อให้เกิดการปกครองแบบมาเฟี ยและเศรษฐกิจการเมืองล้าหลัง
การพัฒ นาทุ น ทางสังคมซึ่ ง เป็ นแบบพื้ น ฐานของความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิ จ ที่ ย ง่ั ยืน
จะต้องกําหนดวิธีการสร้างเสริ มและพัฒนาองค์ประกอบประชาสังคมทั้งห้าให้เข้มแข็ง การกําหนด
ยุทธวิธีดงั กล่าวจําเป็ นต้องเข้าใจจุดอ่อนจุดแข็งของวิถีชีวิตวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง

2. แนวคิดเกีย่ วกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี


2.1 ความเสมอภาค (Equality, อ้างอิงใน วิระดา สมสวัสดิ์, 2547: 115 - 118)
ความเสมอภาคมีหลายความหมาย โดยสรุ ปแล้ว ความเสมอภาคมาจากพื้นฐานของ
ความคิดที่ว่าไม่มีผใู ้ ดด้อยกว่าผูอ้ ื่นในโอกาสหรื อสิ ทธิ มนุ ษยชน สตรี นิยมแนวเสรี นิยมรณรงค์ว่า
ทางแก้ของความไร้อาํ นาจของผูห้ ญิงก็โดยการให้สิทธิที่เป็ นทางการ (formal rights) อย่างเสมอภาค
และอย่างสมบูรณ์ ความเสมอภาค ในฐานะที่เป็ นสิ ทธิ เสมอภาคจะเป็ นส่ วนหนึ่ งของการให้เหตุผล
ที่กา้ วหน้าของสังคมมนุษย์ซ่ ึ ง Harriet Taylor เขียนไว้ใน The Enfranchisement of Women (ค.ศ.
1851) ว่าความไม่เสมอภาคของผูห้ ญิงได้กลายเป็ นจารี ตประเพณี ก็เพียงเพราะความแข็งแรงด้าน
สรี ระของผูช้ ายเท่านั้น
สตรี นิ ย มแนวเสรี นิ ย มถู ก วิ จ ารณ์ ว่ า แม้น ว่ า ผู ้ห ญิ ง ได้รั บ ความเสมอภาคในชี วิ ต
สาธารณะแล้ว แรงงานในบ้านของผูห้ ญิงก็ยงั คงไม่เสมอภาคกับผูช้ ายอยูว่ นั ยังคํ่าที่มองไม่เห็นก็คือ
วาระซ่อนเร้นของระบบชายเป็ นใหญ่ในสถาบันสาธารณะก็อาจบ่อนทําลายความเสมอภาคในสิ ทธิ
ตามกฎหมายที่เห็นกันอยูแ่ จ่มชัดได้
นักทฤษฎี ยุคร่ วมสมัยนี้ เห็ นว่าหลักการของความเสมอภาคไม่อาจใช้กับระบบการ
ประเมินตามคุณค่า (ซึ่งมักแตกต่างไปตามสถานการณ์ที่ควบคุมโดยผูช้ าย) หากมาตรฐานของคุณค่า
เป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไปเป็ นสากลและไม่มีการโต้แย้ง หลักการเรื่ องความเสมอภาคในโอกาสอาจ
20

ใช้ได้ แต่มนั จะกลายเป็ นเครื่ องมื อที่ ลา้ สมัยในบางครั้ งที่ความสัมพันธ์ในสังคมถูกกําหนดโดย


โครงสร้างซึ่งต้องมีการเปลี่ยนแปลงถึงราก
ความเสมอภาคในฐานะทีเ่ ป็ นอุดมคติ
Martha Albertson Fineman ( อ้างอิงใน วิระดา สมสวัสดิ์, 2547: 116 ) เห็นว่า การถือ
ว่าความเสมอภาคเป็ นเรื่ องการปฏิบตั ิอย่างเดี ยวกันแล้วทําให้เป็ นเหตุผลที่เป็ นสัญลักษณ์อนั ทรง
พลัง ซึ่ ง ทํา ให้เ กิ ด ปั ญ หาเมื่ อ มัว แต่ ใ ห้ความสําคัญ กับ สัญลัก ษณ์ ใ นขณะที่ ค วามเสมอภาคหรื อ
“กฎเกณฑ์” ที่เป็ นทางการของความเสมอภาคอาจหลีกเลี่ยงความเสี ยบเปรี ยบของกฎเกณฑ์ที่ “ให้
การปฏิบตั ิเป็ นพิเศษ” ที่จะใช้ในการทําให้ผูห้ ญิงเสี ยเปรี ยบในขณะเดี ยวกันก็ช่วยเหลือผูห้ ญิงได้
การใช้การปฏิบตั ิอย่างเดียวกันเหมาเอาว่าผูท้ ี่อยูภ่ ายใต้กฎเกณฑ์เดียวกันอยูใ่ นสถานะเดียวกัน หาก
ไม่เป็ นเช่นนั้น ผลของการใช้กฎแห่ งความเสมอภาคอาจเป็ นการทําให้เกิดผลที่ไม่เสมอภาคดํารงอยู่
ต่อไปตลอดกาลก็ได้
ในทางกลับกัน กฎเกณฑ์ที่เน้นในความเสมอภาคตามผล (result-equality) เป็ นความ
พยายามที่จะให้หลักประกันว่าผลการใช้กฎเกณฑ์น้ ันจะทําให้บุคคลอยู่ในสถานะที่เสมอภาคกัน
กฎเกณฑ์เช่ นนั้นถูกสร้ างขึ้ นโดยพิจารณาถึ งสถานภาพของผูห้ ญิ งและผูช้ ายที่ อยู่ในโครงสร้ าง
แตกต่างกันในสังคม และเพื่อแสวงหาสถานภาพที่เท่าเทียมกันระหว่างบุคคล ความเสมอภาคตาม
ผล เป็ นแนวพินิจที่ใช้เครื่ องมือเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหญิงชายเสี ยใหม่และอาจกําหนดให้
มีการปฏิบตั ิต่อกลุ่มต่างๆ แตกต่างกันในท้ายที่สุดก็เพื่อให้คนเหล่านั้นอยูใ่ นระดับที่เท่าเทียมกัน แต่
เนื่ องจากว่า เมื่ อดู จ ากภาพภายนอกนั้น ความเสมอภาคตามผลดู ไ ม่ เ สมอภาค ทําให้ย ากที่ จ ะให้
ความชอบธรรม ต้องให้รายละเอียดและต้องปกป้ องพื้นฐานของการปฏิบตั ิที่แตกต่างกัน และผูท้ ี่จะ
อยูภ่ ายใต้กฎเกณฑ์เหล่านั้นต้องยอมรับด้วย
การใช้ระบบคิดเรื่ องความเสมอภาคอยู่ท้ งั ในภาคทฤษฎี และการขึ้นอยู่กบั การสรุ ป
ข้อเท็จจริ งในสังคม บทบาทของผูห้ ญิงและหน้าที่ของกฎหมาย
ปั ญหาการใช้แนวคิดเรื่ องความเสมอภาคมีดงั เช่น ในเรื่ องทรัพย์สินระหว่าสามีภริ ยา
ประเภทสิ นสมรสประการแรกนั้นมีผหู ้ ญิงจํานวนน้อยนิดที่มีอภิสิทธิ์ ทางเศรษฐกิจที่จะมีสถานภาพ
เป็ นแม่บา้ น ความจริ งนั้นผูห้ ญิงจํานวนมากทํางานทั้งในบ้านแบะนอกบ้าน ดังนั้นคุณูปการของ
พวกเธอในหน่ วยของครอบครัวนั้นพิจารณาได้ว่าอยู่ในระดับที่มีส่วนร่ วมมากเกินไปไม่ใช่มีส่วน
ร่ วมอย่างเท่าเทียมกับผูช้ าย เราอาจเห็นว่าพวกเธอสมควรจะได้รับส่ วนแบ่งมากกว่าไม่ใช่ส่วนแบ่ง
เท่ากันยิ่งไปกว่านั้น สําหรับพวกที่เป็ นแม่บา้ นจริ งๆ ก็ได้ประโยชน์จากรายได้ที่สามีนาํ เข้าบ้านอยู่
แล้ว (คือแบ่งสิ นสมรสครึ่ งหนึ่ง)
21

มาตรการเชิงบวก (Affirmative/Positive Action)


มาตรการเชิงบวก (วิระดา สมสวัสดิ์, 2549: 115-118) เริ่ มใช้สหรัฐอเมริ กาในช่วง ค.ศ.
1964 ที่ประธานธิ บดีลินดอน จอห์นสัน ห้ามการจ้างงานที่เลือกปฏิบตั ิ โครงการนี้ กาํ หนดว่าผูจ้ า้ ง
ต้องจัดให้มีเป้ าหมายและตารางเวลาที่วดั ได้ว่าสามารถนําไปสู่ ความเสมอภาคได้โดยไม่คาํ นึ งว่า
ผูร้ ับจ้างจะมีเชื้อชาติใด สี ผวิ ใด เพศใดหรื อสัญชาติใด
นัก วิ จยั สตรี นิ ย มได้พฒ ั นาทฤษฎี องค์ก ารเพื่อส่ งเสริ มวัตถุ ประสงค์ที่เป็ นธรรมใน
สหภาพแรงงาน ตลาดแรงงานและเทคโนโลยี นักสตรี นิยมเสนอว่าหลักการของมาตรการเชิงบวก
เกิ ดขึ้นเพราะกลไกของตลาดไม่อาจทําให้เกิ ดสภาพของความเสมอภาคในผลด้วย และนําเสนอ
หลักฐานของการเลือกปฏิบตั ิในอดีตและอนาคตในพระราชบัญญัติว่าด้วยค่าจ้างที่เท่าเทียมกัน ค.ศ.
1970 ของสหราชอาณาจักรไม่ได้เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางวัตถุในชีวิตผูห้ ญิงเท่าไรนักเพราะ
มีการกีดกันผูห้ ญิงในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริ การ ในพระราชบัญญัติที่แก้ไขเมื่อปี ค.ศ. 1984
ที่เปิ ดโอกาสให้ผหู ้ ญิงเรี ยกร้องค่าจ้างที่เท่าเทียมกัน (และผลประโยชน์ซ่ ึ งเมื่อเทียบเคียงกันแล้วไม่
น้อยกว่าที่ผชู ้ ายได้รับ) สําหรับงานที่มีค่าเท่ากัน (กําหนดว่าเป็ นงานในระดับเดียวกันกับผูช้ ายที่อยู่
ในการจ้างงานแห่ งเดียวกัน) จะมีศกั ยภาพมากกว่า
ทฤษฎีเรื่ องมาตรการเชิ งบวกมีนัยในทางศึกษาและวัฒนธรรม มีความเปลี่ยนแปลงที่
เห็ น ได้ใ นเรื่ อ งการเข้า การศึ ก ษาและการได้รั บ การศึ ก ษาทํา ให้เ กิ ด ความเปลี่ ย นแปลงในด้า น
การศึกษา บางคนมี ความเห็ นว่ามาตรการเชิ งบวกเป็ นเรื่ องเล็กน้อยไม่มีสาระสําคัญสําหรับการ
ปฏิรูปในขณะที่มีผทู ้ ี่เห็นว่าการกล่าวเช่นนั้น เป็ นการไม่สนับสนุ นผูห้ ญิงของระบบชายเป็ นใหญ่
(วิระดา สมสวัสดิ์. 2549: 115-118)
2.2 สิ ทธิและเสรีภาพของสตรี (ชนินทร์ ติชาวัน, 2552)
สิ ท ธิ หมายถึ ง สิ่ ง ที่ ไ ม่ มี รู ป ร่ า งซึ่ งมี อ ยู่ ใ นตัว มนุ ษ ย์ม าตั้ง แต่ เ กิ ด หรื อ เกิ ด ขึ้ น โดย
กฎหมาย เพื่อให้มนุษย์ได้รับประโยชน์ และมนุษย์จะเป็ นผูเ้ ลือกใช้สิ่งนั้นเอง โดยไม่มีผใู ้ ดบังคับได้
เช่น สิ ทธิ ในการกิน การนอน แต่สิทธิ บางอย่างมนุ ษย์ได้รับโดยกฎหมายกําหนดให้มี เช่น สิ ทธิ ใน
การมี การใช้ทรัพย์สิน สิ ทธิในการร้องทุกข์เมื่อตนถูกกระทําละเมิดกฎหมาย เป็ นต้น
เสรี ภาพ หมายถึง การใช้สิทธิ อย่างใดอย่างหนึ่ ง หรื อกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ งได้
อย่างอิสระ แต่ท้ งั นี้ จะต้องไม่กระทบต่อสิ ทธิ ของผูอ้ ื่น ซึ่ งหากผูใ้ ดใช้สิทธิ เสรี ภาพเกินขอบเขตจน
ก่อความเดือดร้อนต่อผูอ้ ื่น ก็ยอ่ มถูกดําเนินคดีตามกฎหมาย
สตรี เป็ นประชากรครึ่ งหนึ่ งของทุกสังคมและโลก ถ้าโลกนี้ ขาดเพศหญิง มนุ ษย์จะไม่
สามารถดํารงเผ่าพันธุ์หรื อมีชีวิตต่อไปได้ ผูห้ ญิงเป็ นเพศแม่ เป็ นทั้งแม่ ผูใ้ ห้กาํ เนิดและเลี้ยงดู อบรม
22

บ่มนิ สัยลูก เป็ นผูม้ ีบทบาทสําคัญยิ่งของครอบครัว เป็ นกําลังการผลิต และกิจกรรมของชุมชนและ


สังคมทุกประเทศ
ตั้งแต่สมัยโบราณถึงปั จจุบนั สภาพและสถานภาพของสตรี จะตํ่าต้อยด้อยค่า ไม่เสมอ
ภาคเท่าเทียมชาย และที่สาํ คัญ สตรี ถูกกดขี่ ขูดรี ด เหยียดหยาม และกีดกันทางสังคม เศรษฐกิจและ
การเมื อ ง สภาพดังกล่ า ว ถื อเป็ นไม่ เ คารพสิ ทธิ มนุ ษ ยชนของสตรี ใ นทุ ก สัง คม จึ ง มี ก ารลุ ก ขึ้ น
เรี ยกร้องสิ ทธิสตรี รัฐและสังคมประเทศต่างๆ ค่อยยอมรับฐานะและบทบาทของสตรี สิ ทธิ สตรี ใน
ระดับสากล มีการออกอนุ สัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ิต่อสตรี ในทุกรู ปแบบ ค.ศ. 1979
(พ.ศ. 2522) ซึ่งประเทศไทยได้รับรองอนุสญ ั ญาฯ ดังกล่าวไว้ สิ ทธิสตรี ได้รับการคุม้ ครองอย่างน้อย
ก็ไม่ให้ถูกเลือกปฏิบตั ิ และเสมอภาค เท่าเทียมกันในด้านการทํางาน ค่าจ้าง การประกันสังคม การ
ตัดสิ นใจมีบุตร สิ ทธิในการพัฒนา ทั้งการศึกษาและสันทนาการ การมีส่วนร่ วมทั้งการเลือกตั้ง การ
รับตําแหน่ ง การปฏิบตั ิหน้าที่ราชการในทุกๆ ระดับ ฯลฯ นอกจากนี้ ยงั มีมาตรการพิเศษที่เอื้อให้
คุม้ ครองสิ ทธิสตรี เช่น การให้บริ การสําหรับสตรี ที่มีครรภ์
กล่าวเฉพาะรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้รับรองคุม้ ครองสิ ทธิสตรี
ไว้หลายมาตรา มาตราที่สาํ คัญอย่างมาก อาทิ มาตรา 30 ที่มีใจความว่าบุรุษและสตรี มีความเท่าเทียม
กันตามกฎหมาย จะเลือกปฏิบตั ิอย่างไม่เป็ นธรรมต่อสตรี ไม่ได้ และที่สําคัญคือการมีมาตรการที่
กําหนดขึ้นเป็ นพิเศษเพื่อสตรี ก็ไม่ถือว่าเป็ นการเลือกปฏิบตั ิ เนื่ องจากสตรี ถูกเอาเปรี ยบอย่างมาก
และอย่างต่อเนื่ อง นอกจากนี้ ยงั มีอีกหลายมาตราที่ส่งเสริ มและคุม้ ครองสิ ทธิ สตรี ไม่ว่าจะเป็ นด้าน
แรงงาน รวมถึงการยกร่ างกฎหมายที่เกี่ยวกับสตรี ก็ตอ้ งมีตวั แทนที่ประกอบด้วยสตรี อยู่ดว้ ย การ
เรี ยนรู ้ถึงสิ ทธิ เสรี ภาพของผูห้ ญิงเป็ นการรวบรวมกฎหมายของประเทศกฎหมายที่ใช้บงั คับอยู่ใน
พื้นภูมิภาคและกฎหมายระหว่างประเทศด้วย การรู ้ ว่ากฎหมายรั บรองและคุม้ ครองปกป้ องสิ ทธิ
ต่างๆ
การละเมิดสิ ทธิ สตรี ยงั ดํารงอยูอ่ ย่างกว้างขวาง แม้จะน้อยลงเมื่อเปรี ยบเทียบกับสมัยที่
ผ่านๆ ทั้งนี้ เป็ นเพราะโครงสร้างทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่ผชู ้ ายยังเป็ นใหญ่
ค่านิ ยมในสังคมไทยที่ ครอบงําสังคมให้ผูห้ ญิ งอยู่ภายใต้อาํ นาจเป็ นมาอย่างต่อเนื่ อง สังคมยังมี
ทรรศนะว่าผูช้ ายเป็ นช้างเท้าหน้าผูห้ ญิงเป็ นช้างเท้าหลัง ผูช้ ายมี ภรรยาได้หลายคน ผูห้ ญิ งต้อง
ทํางานบ้าน เลี้ยงลูก มีบทบาทสําคัญในครัว หรื อถ้าผูห้ ญิงทํางาน นอกบ้านก็ยงั ต้องกลับมาทํางาน
ในบ้านด้วย รวมถึ งทัศนคติ ที่คิดว่าการที่ผูห้ ญิงออกมาเรี ยกร้ องสิ ทธิ มากๆ ทําให้ครอบครั วเกิ ด
ความแตกแยก สังคมปั่ นป่ วน ฯลฯ
สภาพดัง กล่ า ว ก่ อ ให้เกิ ด ปั ญหาสะสม พอกพูน ขึ้ น เรื่ อ ยๆ ไม่ ว่ า จะเป็ นปั ญ หาการ
เลือกใช้นามสกุลตามสามี โดยที่ผหู ้ ญิงไม่สามารถเลือกใช้นามสกุลของตนได้เอง ปั ญหากฎหมายที่
23

บัญญัติให้สามีสามารถข่มขืนภรรยาของตนเองได้ ปัญหาการมีส่วนร่ วมทางการเมืองหรื อการเข้าไป


มีบทบาทในตําแหน่ งสําคัญของภาคราชการและเอกชน ผูห้ ญิงก็ยงั ได้ตาํ แหน่ งโดยมีสัดส่ วนน้อย
มากเมื่ อ เที ย บกับ ผูช้ าย รวมถึ ง ปั ญ หาการค้า มนุ ษ ย์ซ่ ึ ง ส่ ว นมากเป็ นเด็ ก และสตรี รายงานของ
กระทรวงต่างประเทศสหรัฐฯ ระบุว่าประเทศไทยเป็ นทั้งทางผ่านและจุดหมายปลายทางของการค้า
สตรี และเด็ก โดยการค้าเด็กสตรี ที่เป็ นคนไทยลดจํานวนลง แต่คา้ คนต่างชาติโดยใช้ไทยเป็ นจุดแวะ
พักปลายทางมีจาํ นวนเพิ่มขึ้น การค้าสตรี และเด็กกระทําในหลายรู ปแบบ อาทิ หลอกเด็กอายุ 15 ว่า
ให้ไปทํางานเป็ นเด็กเสิ ร์ฟที่ประเทศมาเลเซี ยได้เงินเดือนหลายหมื่นบาท แม้แต่ผหู ้ ญิงที่บรรลุนิติ
ภาวะและมี ก ารศึ กษาถึ งระดับอนุ ปริ ญญายังถูก หลอกว่าจะให้ไ ปทํางานแต่ ก็ยงั ถูกนํา ไปขายที่
ประเทศสิ งคโปร์ ถ้าไม่ยอมขายบริ การทางเพศก็จะถูกทรมานด้วยวิธีการต่างๆ เหล่านี้เป็ นต้น
2.3 ความเสมอภาคระหว่ างเพศชายและหญิง (พิมลพรรณ ขานพล, 2550: 36 - 37)
สาเหตุและปั จจัยที่ทาํ ให้เกิ ดความไม่เสมอภาคระหว่างชายและหญิง มาจากแนวคิด
ที่ ว่ าผูช้ ายและหญิ ง มี ความแตกต่ างกัน เนื่ องมาจากพื้ น ฐานที่ ต่ า งกัน ทั้ง ด้า นร่ างกายและจิ ต ใจ
เนื่ องจากธรรมชาติ ได้สร้ างทั้งสองเพศให้ต่างกันผูช้ ายมีสรี ระที่แข็งแรงกว่าผูห้ ญิง จึ งสมควรมี
หน้าที่ปกป้ องเพศหญิงซึ่ งอ่อนแอกว่า ผูช้ ายมีจิตใจที่เข้มแข็ง จึ งสมควรเป็ นผูน้ าํ เป็ นผูต้ ดั สิ นใจ
ผูห้ ญิงจึงสมควรเป็ นผูต้ ามและคอยดูแลปรนนิบตั ิผชู ้ ายเท่านั้น ซึ่งความคิดเหล่านี้ยงั เป็ นความคิดที่มี
อิทธิพลอยูม่ ากและหลายคนคิดว่าเป็ นเรื่ องปกติอยูแ่ ล้วไม่น่าจะใส่ ใจอะไร
แต่เนื่ องจากสภาพทัว่ ไปในสังคมปั จจุบนั ที่บทบาทของผูห้ ญิงมีเพิ่มมากขึ้น ผูห้ ญิงมี
ภาระหน้าที่การงานเคียงคู่กบั ผูช้ าย และสังคมก็ไม่ปฏิเสธความสามารถของผูห้ ญิง จึงสมควรเริ่ มมา
พิจารณาให้ถ่องแท้ว่าแนวคิดดังกล่าวนั้นยังเป็ นจริ งอยู่หรื อไม่เพียงใดในปั จจุบนั จากการกําหนด
บทบาทในสังคมตามความแตกต่างทางเพศโดยอ้างรากฐานทฤษฏีว่า ด้วยความแตกต่างทางด้าน
ร่ างกายและจิตใจ เรื่ องเกี่ยวกับ ฮอร์ โมนที่ต่างกัน ซึ่ งทําให้พฤติกรรมทางเพศย่อมจะแตกต่างกัน
โดยมักจะมีคาํ อธิบายว่า ผูช้ ายเป็ นเพศที่แข็งแรง เป็ นอิสระ หนักแน่น ไม่ใช้อารมณ์ ไม่มีอคติ ไม่ถูก
ครอบงําง่าย มีเหตุผล กล้าตัดสิ นใจ และมีความเชื่ อมัน่ ในตัวเองสู งและที่สําคัญคือมีอาํ นาจเหนื อ
ผูห้ ญิง ในขณะที่ผหู ้ ญิงปกติจะถูกมองว่าปราศจากความหนักแน่น อ่อนไหว ไร้เหตุผล อ่อนแอ รู ้สึก
เจ็บปวดง่าย ไม่กล้าตัดสิ นใจ ไม่กล้ารับผิดชอบ ขาดความมัน่ ใจในตัวเองต้องอยูโ่ ดยอาศัยเพศชาย
ซึ่งคําอธิบายเกี่ยวกับจิตใจเหล่านี้ทาํ ให้การมองภาพรวมของผูห้ ญิงและผูช้ ายต่างกัน
การละเมิดสิ ทธิ สตรี ยงั ดํารงอยูอ่ ย่างกว้างขวาง แม้จะน้อยลงเมื่อเปรี ยบเทียบกับสมัยที่
ผ่านๆ ทั้งนี้ เป็ นเพราะโครงสร้างทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่ผชู ้ ายยังเป็ นใหญ่
ค่านิ ยมในสังคมไทยที่ ครอบงําสังคมให้ผูห้ ญิ งอยู่ภายใต้อาํ นาจเป็ นมาอย่างต่อเนื่ อง สังคมยังมี
ทรรศนะว่าผูช้ ายเป็ นช้างเท้าหน้าผูห้ ญิงเป็ นช้างเท้าหลัง ผูช้ ายมี ภรรยาได้หลายคน ผูห้ ญิ งต้อง
24

ทํางานบ้าน เลี้ยงลูก มีบทบาทสําคัญในครัว หรื อถ้าผูห้ ญิงทํางาน นอกบ้านก็ยงั ต้องกลับมาทํางาน


ในบ้านด้วย รวมถึ งทัศนคติ ที่คิดว่าการที่ผูห้ ญิงออกมาเรี ยกร้ องสิ ทธิ มากๆ ทําให้ครอบครั วเกิ ด
ความแตกแยก สังคมปั่ นป่ วน ฯลฯ
ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย เป็ นเป้ าหมายที่ยงั ไม่ได้บรรลุในสังคมปั จจุบนั ซึ่ งดู
ได้จากสัดส่ วนของผูห้ ญิงผูช้ ายที่ไม่เท่าเทียมกัน ในตําแหน่งสําคัญๆ ของสังคม เช่น คณะรัฐมนตรี
และสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร หรื อในความไม่เท่าเทียมระหว่างรายได้ของผูห้ ญิงและผูช้ ายเป็ นต้น
แต่สําหรับผูห้ ญิงส่ วนใหญ่ในสังคม ประเด็นความเสมอภาคที่สาํ คัญที่สุด เกี่ยวข้องกับค่านิ ยมใน
สังคม ที่มองว่าผูห้ ญิงควรมีบทบาทหลักในการดูแลครอบครัว ซึ่ งทําให้กลายเป็ นพลเมืองชั้นสอง
ในสังคมนอกครัวเรื อน และทําให้ผหู ้ ญิงขาดสิ ทธิเสรี ภาพเหนือเนื้ อตัวร่ างกายตนเอง นอกจากนี้ เมื่อ
เราพูดถึงปั ญหาความไม่เท่าเทียมระหว่างเพศ เราต้องรวมถึงสิ ทธิเสรี ภาพของคนรักเพศเดียวกัน ซึ่ง
ยังขาดตกบกพร่ องอยูม่ าก
ถึงแม้ว่า “สังคมโลกยุคใหม่” จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว หลากหลายแนวคิดและ
พฤติการณ์ต่างๆ ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปในทิศทางที่ดีข้ ึน แต่ก็ยงั มีบางเหตุการณ์ จน
สามารถเรี ยกได้วา่ เป็ น “พฤติกรรม” จนถึงขั้น “วัฒนธรรม” ที่มีการเปลี่ยนแปลงที่นอ้ ยมากหรื ออาจ
ไม่มีความคืบหน้าเลย โดยเฉพาะ ในกรณี ของ “สิ ทธิ สตรี ” กับกลุ่มประเทศด้อยพัฒนาและกําลัง
พัฒนา
อย่างไรก็ตาม ในกลุ่มประเทศที่กาํ ลังพัฒนาและพัฒนาแล้วนั้น ต้องยอมรับว่า “สิ ทธิ
สตรี ” ได้รับการยอมรับและพัฒนายกฐานะดีข้ ึนกว่าเดิมอย่างมาก จนถึงขั้น “สิ ทธิเท่าเทียม” กันกับ
“สุ ภาพบุรุษ” ดังที่เราสามารถศึกษาติดตามได้จากบางประเทศที่มี “ผูน้ าํ ” เป็ นสุ ภาพสตรี ระดับ
“ผูน้ าํ ประเทศ” ในตําแหน่ง “นายกรัฐมนตรี ” และ “รัฐมนตรี ”
ประเทศไทยก็ไม่ต่างจากประเทศอื่นใดในโลก ขนบธรรมเนียม และประเพณี ที่ยอมรับ
ความด้อยสถานะของสตรี ที่ว่า “สตรี เป็ นช้างเท้าหลัง” บุรุษเป็ นผูน้ าํ จึงพบเสมอว่าสตรี ไทยยัง
ประสบปั ญหาการถูกละเมิ ดสิ ทธิ ในรู ปแบบต่างๆ อาทิ ความรุ นแรงต่อตัวสตรี ความรุ นแรงใน
ครอบครั ว แรงงานสตรี ที่ถูกเอารั ดเอาเปรี ยบจากเจ้าของกิ จการ หรื อผูว้ ่าจ้าง และกฎหมาย หรื อ
ระเบียบบางอย่างที่จาํ กัดสิ ทธิของสตรี อย่างไม่เป็ นธรรม ทําให้การพัฒนาสิ ทธิสตรี เป็ นไปด้วยความ
ล่าช้ากว่าที่ควร
ปั จจุ บนั แนวคิดว่าด้วยความเท่าเทียมกันของสตรี และบุรุษ และแนวคิดว่าด้วยสิ ทธิ
เสรี ภาพ และศักดิ์ ศรี ของมนุ ษย์ ปรากฏเป็ นที่ตระหนักของนานาอารยประเทศทัว่ โลก ได้มีการ
เคลื่อนไหวเพื่อความเท่าเทียมกันระหว่างเพศ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายด้าน อาทิ การให้
สิ ท ธิ แ ก่ ส ตรี ใ นการเลื อกตั้ง และสิ ทธิ เ สรี ภ าพอื่ น ๆ อย่า งกว้า งขวาง โดยได้มี องค์ก รในระดับ
25

นานาชาติ อาทิ สหประชาชาติ ได้จดั ทําอนุ สัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ิต่อสตรี ในทุก


รู ปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination Against Woman-
CEDAW) เมื่อ พ.ศ. 2522 โดยอนุสญ ั ญาฉบับนี้ มีความมุ่งหมายที่จะคุม้ ครองสิ ทธิ สตรี ให้มีสิทธิ เท่า
เทียมกับบุรุษ
ประเทศไทย ได้เห็นความสําคัญในการพัฒนาสิ ทธิเสรี ภาพของสตรี ในทุกด้าน โดยได้
ร่ วมลงนามเป็ นภาคีในอนุ สัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ิต่อสตรี ในทุกรู ปแบบ (CEDAW)
โดยมีแนวทางการพัฒนาตามที่สหประชาชาติกาํ หนด เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2528 และได้มีการ
ปรับปรุ งกฎหมายต่างๆ ให้สอดคล้องกับพันธกรณี ทั้งกฎหมายอาญา กฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์
ตลอดจนกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับสิ ทธิ สตรี อย่างต่อเนื่ อง อาทิ สิ ทธิ ในการรับราชการ
สิ ทธิ ในการเข้าร่ วมทางการเมือง สิ ทธิ ในการทํานิ ติกรรมสัญญาต่างๆ ทําให้สิทธิ และเสรี ภาพของ
สตรี ไทยเท่าเทียมกับบุรุษ
โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจัก รไทย พุท ธศัก ราช 2550 ซึ่ ง เป็ น
รัฐธรรมนูญฉบับปั จจุบนั ได้ให้ความคุม้ ครองรับรองสิ ทธิ และสร้างหลักประกัน รวมถึงกําหนดให้
เป็ นหน้าที่ของรัฐที่ตอ้ งคํานึงถึงศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ และจะต้องส่ งเสริ มความเสมอภาคระหว่าง
สตรี และบุรุษ เสริ มสร้างและพัฒนาความเป็ นปึ กแผ่นของครอบครัว และความเข้มแข็งของชุมชน
โดยกําหนดให้มีมาตรการและกระบวนการต่างๆ เพื่อขจัดอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดจากการเลือกปฏิบตั ิ
ที่ไม่เป็ นธรรม ตลอดจนส่ งเสริ มให้บุคคลสามารถใช้สิทธิ เสรี ภาพได้อย่างเท่าเทียมและเสมอภาค
กัน
อย่างไรก็ดี ในทางข้อเท็จจริ งยังคงปฏิเสธไม่ได้ว่าการเลือกปฏิบตั ิต่อสตรี การจํากัด
สิ ทธิและบทบาทของสตรี ยงั คงหลงเหลืออยูใ่ นสังคมไทย
2.4 ทฤษฎีการเมือง
ทฤษฏีการเมืองที่พยายามทําความเข้าใจกับปัญหาความเสมอภาคระหว่างหญิงและชาย
รวมทั้งพยายามอธิบายและแก้ไขประเด็นเรื่ องเพศ มีท้ งั หมด 3 ทฤษฏีดว้ ยกัน คือ
ทฤษฏีเสรี นิยม (Liberalism)
ทฤษฏีเฟมินิสม์ (Feminism)
ทฤษฏีมาร์คซิสม์ (Marxism)
ทฤษฎีเสรีนิยม (Liberalism)
แนวคิ ด เสรี นิ ย มว่ า ด้ ว ยปั ญหาสิ ทธิ สตรี ถู ก พั ฒ นาในช่ ว งแรกโดย Mary
Wollstonecraft ในหนังสื อ A Vindication of the Rights of Womanที่ออกมาในปี 1792 ซึ่ งเป็ นช่วง
การปฏิวตั ิทุนนิยมอันยิง่ ใหญ่ในฝรั่งเศส Wollstonecraft เน้นหนักในเรื่ องสิ ทธิ ปัจเจกของหญิง ช่วง
26

นั้นกระแสที่มีการพูดถึงสิ ทธิมนุษยชนแรงมากขึ้น แต่มกั มีการละเลยประเด็นของผูห้ ญิง นอกจากนี้


Wollstonecraft จะพูดถึงเรื่ องความรู ้สึกของสตรี ในความสัมพันธ์กบั ชาย และสิ ทธิ และหน้าที่ของ
สตรี ในครอบครัวอีกด้วย
ในยุคต่อมา John Stuart Mill ในหนังสื อ The Subjection of Women ซึ่ งออกมาใน
ปี 1869 เสนอว่า ถ้าเสรี ภาพเป็ นเรื่ องดีสาํ หรับชาย ก็ตอ้ งดีสาํ หรับหญิงด้วย และพวกที่ไม่เห็นด้วย
กับจุดยืนนี้ เพราะมองว่าธรรมชาติของชายและหญิงต่างกันจนต้องมีสิทธิเสรี ภาพต่างกัน มักจะเป็ น
พวกอนุรักษ์นิยมที่เชื่อใน ไสยศาสตร์
ในปั จจุบนั แนวเสรี นิยมมักจะเน้นหนักในเรื่ องการปฏิรูปกฎหมาย ให้ชายและหญิง
เท่าเที ยมกัน และมี การรณรงค์ให้การศึกษาผ่านองค์กรอย่างสหประชาชาติ เช่ นจากการประชุ ม
นานาชาติเรื่ องสตรี ครั้งที่สี่ที่ประเทศจีน ซึ่งประกาศ Beijing Platform for Action ในปี 1995รู ปแบบ
การรณรงค์ใ ห้มี ค วามเท่ า เที ย มทางเพศที่ พ บเห็ น เป็ นนโยบายขององค์ก รรั ฐ ต่ า งๆ คื อ Gender
Mainstreaming ซึ่งเป็ นการพยายามนําความเท่าเทียมทางเพศ เข้ามาปฏิรูปและกําหนด กฎหมายและ
ระเบียบการทํางานในทุกหน่วยงาน แนวทางนี้ มีการนํามาใช้ในหน่วยงานของรัฐประเทศไทย และ
นําไปสู่ การแก้กฎหมาย เพื่อเพิ่มความเท่าเทียมทางกฎหมายให้กบั ผูห้ ญิง โดยเฉพาะในช่ วงที่ใช้
รัฐธรรมนูญปี ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ เป็ นต้น
อย่างไรก็ตาม แนวคิดเฟมินิสต์ และแนวคิดมาร์คซิสต์ มองว่าการที่แนวเสรี นิยมมุ่ง
หน้าสร้างความเท่าเทียมในด้านกฎหมาย ผ่านการให้การศึกษา มักจะทําให้มีรูปแบบนามธรรม เป็ น
การละเลยปัญหาความเหลื่อมลํ้าทางชนชั้น ที่ทาํ ให้สตรี ส่วนใหญ่ในโลกขาดสิ ทธิ เสรี ภาพ และเป็ น
การละเลยที่จะศึกษารากฐานปั ญหาของการกดขี่ทางเพศ ผ่านความคิดจารี ตเกี่ยวกับครอบครัวอีก
ด้วย
แนวคิดสิ ทธิสตรี เสรี นิยมมองว่า ผูห้ ญิงควรมีบทบาทในสังคมเท่ากับผูช้ าย แต่เป็ น
มุมมองที่ไม่สนใจความเหลื่อมลํ้าทางชนชั้นและความเหลื่อมลํ้าภายในประชากรเพศเดียวกัน เช่นมี
การส่ งเสริ มให้ผหู ้ ญิงขึ้นมาเป็ นผูบ้ ริ หารมากขึ้น แต่ไม่ถามว่าทําไมต้องมีเจ้านายหรื อผูบ้ ริ หารแต่
แรก หรื อมีการยินดีเมื่อผูห้ ญิงขึ้นมาเป็ นผูน้ าํ ประเทศ อย่างในกรณี ประธานาธิ บดี คอร์ รี่ อคีโน หรื อ
กลอเรี ย อะรอโย ในฟิ ลิปปิ นส์ หรื อประธานาธิ บดี เมกะวะตี ในอินโดนี เซี ย โดยไม่สนใจว่าสตรี
เหล่านั้นมาจากตระกูลชนชั้นนําหรื อไม่ และไม่สนใจความสามารถของเขาที่จะเป็ นผูแ้ ทนของหญิง
ส่ วนใหญ่ในสังคมอีกด้วย
ทฤษฎีเฟมินิสม์ (Feminism)
สาระสําคัญของแนวนี้ มองว่า ระบบปั จจุบนั เป็ นระบบ“พ่อเป็ นใหญ่”(Patriarchy)
ซึ่ งหมายถึง การกดขี่ที่เพศชายกระทําต่อเพศหญิง ทั้งภายในครอบครัวและในสถาบันต่างๆ ของ
27

สังคม ต้นกําเนิ ดของแนวความคิดนี้ มีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 แต่ในรู ปแบบขบวนการปลดแอกสตรี


(Women’s Liberation Movement) เริ่ มมีมาตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็ นต้นมา ในขั้นตอนแรก
ขบวนการนี้ ให้ความสําคัญกับชนชั้นและใกล้ชิดกับฝ่ ายซ้ายและขบวนการแรงงานในตะวันตก
โดยเฉพาะในอังกฤษและยุโรป แต่เมื่อการต่อสู ้ของแรงงานและกระแสซ้ายอ่อนลงในทศวรรษ
1970 เริ่ มเปลี่ยนจากการต่อต้านระบบทุนนิยมและการเน้นชนชั้นเป็ นหลัก มาเป็ นต่อต้านเพศชายตา
มทฤษฎีพอ่ เป็ นใหญ่ เพื่อเน้นผลประโยชน์ของผูห้ ญิงชนชั้นกลาง
ในยุคนี้แนว เฟมินิสต์ มองขบวนการสังคมนิยมว่า “เน้นแต่มิติดา้ นเศรษฐกิจและยัง
มีความลึกซึ้ งไม่เพียงพอ” ซึ่ งสาเหตุของการมองข้ามภูมิปัญญาและทฤษฏีของแนวมาร์ คซิ สต์
เกี่ยวกับเพศแบบนี้ เป็ นเพราะแนวเฟมินิสต์เข้าใจผิดว่าพรรคคอมมิวนิสต์สายสตาลิน - เหมาใช้แนว
มาร์คซิสต์
นักคิดที่สาํ คัญ ๆ ใน แนวคิดนี้ มี เคท มิลเล็ท (Kate Millet) ซึ่ งเขียนหนังสื อ ชื่อ
Sexual Politicsในปี 1970 ที่เสนอทางออกว่า จะต้องยกเลิกระบบถือชายเป็ นใหญ่ ทั้งที่ปรากฏอยูใ่ น
ระดับสังคม และทั้งที่อยู่ในระดับเล็ก ๆ เช่น ในรู ปแบบความสัมพันธ์ส่วนตัวอีกด้วย และอีกคน
หนึ่ งที่ถือว่าได้วางพื้นฐานทางทฤษฎีให้แก่ขบวนการเฟมินิสต์ คือ ชูลามิช ไฟร์ สโตน ( Shulamith
Firestone) ผ่านหนังสื อชื่อ The Dialectic of Sex ในปี เดียวกัน โดยอธิบายปั ญหาความเหนื อกว่าของ
ชาย ว่ามาจากรู ปแบบของหน่ วยครอบครั วที่ จดั ลําดับชั้นเป็ น ชาย/หญิง/เด็ก อันเป็ นบ่อเกิ ดของ
สภาวะการครอบงํา และที่สาํ คัญไฟร์ สโตน มองว่าพัฒนาการของสังคมนั้น เกิ ดจากความขัดแย้ง
ทางเพศ ไม่ใช่การต่อสู ้ทางชนชั้น ดั้งนั้นทางออกก็คือการวิพากษ์วิจารณ์ระบบครอบครัว ความรัก
และเพศ และการให้การศึกษากับคนในสังคมเป็ นหลัก
จะเห็ นได้ว่ากรอบสําคัญของแนวนี้ ให้ความสําคัญในเรื่ องเพศเท่านั้น เช่ น เน้น
ระบบครอบครัวว่าส่ งเสริ มการครอบงํา และเป็ นการกําเนิ ดลักษณะของอํานาจนิ ยม แต่ไม่ต้ งั คําถาม
ที่สําคัญว่าระบบครอบครั วแบบนี้ เกิ ดขึ้นได้อย่างไร อะไรคือสิ่ งผลักดันให้เกิ ดระบบครอบครั ว
ปั จจุบนั ระบบครอบครัวถูกครอบงําด้วยระบบอะไร และที่สาํ คัญแนวความคิดนี้ มองว่าผูห้ ญิงควร
สมานฉันท์สามัคคีกนั ไม่ว่าจะรวยหรื อจน หรื ออยู่ชนชั้นใด ข้อเรี ยกร้องต่างๆ จะคล้ายแนวเสรี
นิ ยมตรงที่ เรี ยกร้ องให้มีการปฏิรูปกฎหมาย รณรงค์ให้การศึกษา และสนับสนุ นให้สตรี เข้าไปมี
บทบาทนําในสังคม โดยถือตําแหน่ งผูบ้ ริ หารมากขึ้น แต่ในอีกด้านหนึ่ ง แนว เฟมินิสต์ กล้าที่จะ
วิจารณ์โครงสร้างสังคม และแนวคิดจารี ตของครอบครัว มากกว่าแนวเสรี นิยม ซึ่ งเห็นได้จากการ
รณรงค์เรื่ องสิ ทธิเจริ ญพันธ์หรื อการทําแท้ง
28

ทฤษฎีมาร์ คซิสม์ (Marxism)


การวิเคราะห์เรื่ องของการกดขี่ทางเพศนั้น แนวมาร์คซิสต์มองว่าเราไม่สามารถแยก
เรื่ องการกดขี่ทางเพศออกจากปั ญหาที่มาจากสังคมชนชั้นได้ เพราะพัฒนาการของสังคมมนุ ษย์ที่
ผ่านมา ในแต่ละระบบหลังยุคบุพการ ล้วนแต่เป็ นสังคมแห่ งความขัดแย้งทางชนชั้นที่มีพลังผลักดัน
ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มวลชนคนส่ วนใหญ่ของโลกถูกคนจํานวนน้อยที่ครอบครองส่ วนเกิน
จากการผลิต กดขี่ขูดรี ด ไม่ว่าจะเป็ นเพศหญิงหรื อเพศชาย และในขณะเดี ยวกันมีการจัดระเบียบ
ความสัมพันธ์ระหว่างชายกับหญิง ที่นาํ ไปสู่ การกดขี่ทางเพศ
แนวมาร์คซิสต์ มองว่าการกดขี่ทางเพศที่ทาํ ให้หญิงเป็ นพลเมืองชั้นสอง ไม่ใช่เรื่ อง
ธรรมชาติ และไม่ใช่ นิสัยใจคอแท้ของชายอีกด้วย การกดขี่ทางเพศเกี่ ยวข้องกับการครอบครอง
ทรัพย์สิน และการถ่ายทอดมรดกของชนชั้นปกครอง และเกี่ยวกับการทําให้ภาระงานบ้านเป็ นภาระ
ปั จเจกภายในครอบครั ว เครื่ องมื อสําคัญของชนชั้นปกครองคือความคิดจารี ตเกี่ ยวกับเพศและ
ครอบครัว แนวคิดเกี่ยวกับครอบครัว “ชาย-หญิง” นี้ เอง เน้นว่าบทบาทหลักของหญิงอยู่ในบ้าน
และยังเป็ นผลให้คนรักเพศเดียวกันกลายเป็ นพลเมืองชั้นสามอีกด้วย ดังนั้นการแก้ปัญหา ต้องอาศัย
ทั้งการรณรงค์เพื่อเปลี่ยนค่านิ ยมคับแคบ และการต่อสู ้กบั โครงสร้างอํานาจในสังคม ซึ่ งรวมทั้งรัฐ
ระบบชนชั้น และสถาบันครอบครัว
เมื่ อมนุ ษ ย์พ ฒ
ั นาการเลี้ ยงชี พ ค้นพบวิธีก ารเกษตร แทนการเก็บของป่ า จึ งเกิ ด
"ส่ วนเกิน" จากความต้องการวันต่อวัน ทรัพย์สินส่ วนตัวก็เกิดขึ้นได้ในสถานการณ์แบบนี้ เพราะ
การที่ชายถืออาวุธในการล่าสัตว์อยูใ่ นมือ มีกาํ ลังทางกายเหนื อหญิง และมีบทบาทในการรวบรวม
ส่ วนเกิน โดยเฉพาะจากการเลี้ยงสัตว์ในยุคแรกๆ ทําให้ชายบางคนตั้งตัวเป็ นใหญ่ข้ ึนในสังคมได้
ซึ่ งนําไปสู่ กาํ เนิ ดสังคมชนชั้น การปกป้ องมรดก และการใช้สถาบันครอบรัวและรัฐในการรองรับ
อํานาจใหม่ดงั กล่าว
ข้อเสนอของเองเกิลส์เป็ นสาเหตุที่ชาว มาร์ คซิ สต์ มองว่าการกดขี่ทางเพศ สังคม
ชนชั้น ระบบครอบครัว และรัฐ แยกออกจากกันไม่ได้ และเราพอจะสรุ ปหลักการใหญ่ๆ ได้ดงั นี้
1. การกดขี่ทางเพศไม่ใช่เรื่ องธรรมชาติที่มาจากสรี ระ
2. การกดขี่ทางเพศเกิดขึ้นพร้อมๆ กับการแบ่งมนุษย์ท้ งั ชายและหญิงออกเป็ น
ชนชั้น ภายใต้การปกครองของคนส่ วนน้อย
3. ครอบครัวคือสถาบันสําคัญในการกําหนดและกล่อมเกลาความคิดแบบกดขี่
ทางเพศที่เกิดขึ้นในสังคม แต่รูปแบบครอบครัวปั จจุบนั ไม่ใช่รูปแบบที่มาจากธรรมชาติ รู ปแบบ
ครอบครัวมีการเปลี่ยนแปลงเสมอตามยุคของระบบการผลิต
29

4. วิธีแก้ปัญหาการกดขี่ทางเพศในระยะยาวต้องประกอบไปด้วยการจัดการ
เปลี่ยนสังคมไม่ให้มีชนชั้น และการเปลี่ยนรู ปแบบของครอบครัวจากที่เป็ นอยูท่ ุกวันนี้ เพื่อให้สตรี
มัน่ ใจในสิ ทธิ์ของตนเองมากขึ้น พร้อมๆ กับการรณรงค์แก้ไขความคิดอีกด้วย
การปลดแอกผูห้ ญิง จะเริ่ มเป็ นไปได้ ในขั้นตอนแรกก็ต่อเมื่อผูห้ ญิงได้รับโอกาส
เข้าไปมีส่วนในการผลิต และมีรายได้ของตนเอง ดั้งนั้นต้องหาทางที่จะแปรเปลี่ยนงานบ้านต่าง ๆ
ให้เป็ นงานสาธารณะ ซึ่งหมายถึงการสร้างรัฐสวัสดิการเต็มรู ปแบบ
ภาวะเศรษฐกิจของระบบทุนนิ ยมปั จจุบนั มีการดึงสตรี เข้ามามีส่วนในการทํางาน
มากขึ้น ซึ่งสร้างความอิสระให้สตรี ระดับหนึ่ ง และส่ งเสริ มให้เกิดขบวนการเรี ยกร้องสิ ทธิ สตรี มาก
ขึ้น แต่ ในมุมกลับ ชนชั้นนายทุนไม่พร้ อมและไม่สามารถจะสละกําไรเพื่อสร้ างระบบสังคมที่
"ภาระบ้าน" ทั้งหมดกลายเป็ นภาระของสังคมโดยรวม ดังนั้นจึ งมีการรณรงค์จากรั ฐในกระแส
ความคิดที่เชิดชูสถาบันครอบครัวและค่านิยมอนุรักษ์เกี่ยวกับบทบาทสตรี สิ่ งนี้ ทาํ ให้มีความขัดแย้ง
ดํารงอยูใ่ นสังคมสมัยใหม่ตลอดเวลา
สําหรั บตัวชี้ วดั ที่จดั ทําขึ้นเพื่อวัดความเสมอภาคระหว่างหญิงชายของมาตรฐาน
และองค์ประกอบต่าง ๆ เป็ นตัวชี้วดั ทั้งในเชิงปริ มาณและคุณภาพ เนื่ องจากต้นตอของอุปสรรคใน
การสร้างความเสมอภาคระหว่างหญิงชายในประเทศไทย เป็ นประเด็นเรื่ องความเชื่อและวัฒนธรรม
ที่ ต กทอดมาจากยุค สมัย ในอดี ต ที่ ย งั ได้รั บ การสื บ ทอดมาจนถึ ง ปั จ จุ บ ัน เสมื อ นหนึ่ ง เป็ นเรื่ อ ง
ธรรมชาติที่ท้ งั หญิงและผูช้ ายได้รับการบ่มเพาะมาให้มีความเชื่อเช่นเดียวกัน ด้วยเหตุน้ ี ตวั ชี้ วดั ใน
เชิงปริ มาณอย่างเดียวจึงไม่สามารถสะท้อนสภาพที่เป็ นจริ งได้ ตัวชี้วดั ในเชิงคุณภาพจะช่วยทําให้
สังคมเห็นปั ญหาอุปสรรคที่ชดั เจนขึ้น ประเด็นที่ใช้กาํ หนดตัวชี้ วดั ได้เก็บรวบรวมจากแผนพัฒนา
สตรี ระยะยาว (พ.ศ. 2522-2544) ซึ่ งจัดทําในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 4
(พ.ศ. 2520-2524) ถึงแผนพัฒนาสตรี ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติฉบับปั จจุบนั
คือ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554)
โครงการนี้จึงเป็ นการจัดทํามาตรฐานความเสมอระหว่างหญิงชายหลังจากที่รัฐบาล
ได้มีการพัฒนาสตรี และการส่ งเสริ มความเสมอภาคระหว่างหญิงชายอย่างต่อเนื่ องมาเป็ นเวลา 30 ปี
ตัวชี้วดั ที่จดั ทําขึ้นจึงเป็ นการวัดผลลัพธ์ (results) ของการพัฒนาที่ดาํ เนินการมาตลอด 30 ปี สรุ ปก็
คือ โครงการนี้ เป็ นทั้ง โครงการที่ สร้ างมาตรฐานความเสมอภาคระหว่างหญิ ง ชายและกําหนด
ตัวชี้วดั เพื่อประเมินผลลัพธ์ของนโยบายและแผนการพัฒนาสตรี ว่าอยูใ่ นเกณฑ์ไหนของมาตรฐาน
ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย โดยมีการกําหนดเกณฑ์การวัดเพียง 2 เกณฑ์ คือ เกณฑ์พฒั นา และ
เกณฑ์เป้ าหมาย เกณฑ์พฒั นา หมายความว่า ยังต้องได้รับการพัฒนาต่อไป ส่ วนเกณฑ์เป้ าหมาย
หมายความว่า อยูใ่ นระดับที่ไว้วางใจได้ ซึ่ งข้อมูลที่ได้เหล่านี้ ลว้ นมีความสําคัญต่อการวางแผนการ
30

พัฒนาสตรี ในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้น้ าํ หนักและลําดับความสําคัญของประเด็นที่จะ


ได้รับการบรรจุ ใ นแผนพัฒ นาสตรี ฉบับ ต่ อไป อี ก ทั้งช่ ว ยให้ก ารวางแผนมี ยุท ธศาสตร์ ที่ความ
สอดคล้องกับปั ญหามากยิง่ ขึ้น (มาลี พฤกษ์พงศาวลีและคณะ. 2552: 7)

3. หลักการ แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับสตรีนิยม


1 สตรีนิยม (Feminism)
1 สตรี นิยมได้เติบโตอย่างรวดเร็ วในช่วง 40 ปี หลังของศตวรรษที่ 20 นําไปสู่ การศึกษา
เกี่ยวกับผูห้ ญิงในมิติต่าง ๆ โดยให้ความสําคัญในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ และได้ใช้
ความคิดรวบยอดในเรื่ องความเป็ นเพศ (Gender) เป็ นเครื่ องมือในการวิเคราะห์ที่สาํ คัญความเหลื่อม
ลํ้า ทางเพศได้ก่ อ ให้เ กิ ด การเคลื่ อ นไหวเรี ย กร้ อ งความเท่ า เที ย มกัน ระหว่ า งเพศมาโดยตลอด
โดยเฉพาะในช่ วงสี่ ทศวรรษที่ผ่านมา ในช่วงเวลาดังกล่าวยังได้เกิ ดการศึกษาและคําอธิ บายหรื อ
แนวคิดเกี่ยวกับความเป็ นรองของผูห้ ญิงในด้านต่าง ๆ อย่างมากมายอีกด้วย (วันทนี ย ์ วาสิ กะสิ น ,
2543: 6 – 7)
1 แนวคิดทางสตรี นิยมที่เกิดขึ้นส่ วนใหญ่พฒั นาขึ้นจากแนวคิดกระแสหลักๆ ที่มีอยู่ใน
สังคม ไม่ว่าจะเป็ นเสรี นิยม (Liberalism) ลัทธิ มาร์ กซ์ (Marxism) จิตวิเคราะห์(Psychoanalysis)
หรื อแนวคิดหลังสมัยใหม่ (Postmodernism) นักสตรี นิยมได้นาํ แนวคิดเหล่านั้นมาขยายความ
ปรับแต่งให้กลายเป็ นกรอบทฤษฎีที่กว้างขึ้นและใช้อา้ งอิงได้ (Arneil, 1999) ซึ่ งสามารถแบ่ง
ออกเป็ นหลายสํานักคิดด้วยกัน และในปั จจุบนั คนส่ วนใหญ่ยอมรับประเด็นที่นกั สิ ทธิ สตรี นาํ เสนอ
โดยเฉพาะประเด็น เรื่ องเพศ เรื่ องความเสมอภาค ประเด็น เหล่ านี้ ได้มีสื่อออกไปไม่ เ ฉพาะแต่
ประเทศในตะวันตกเท่านั้น แต่ยงั มีอิทธิ พลต่อการเคลื่อนไหวเรื่ องสิ ทธิ สตรี ในประเทศอื่นๆ ด้วย
เช่ นกัน และเป็ นประเด็นปั ญหาที่ ควรจะหยิบยกมาพิจารณาในการแก้ไขปั ญหาครอบครั ว และ
ปัญหาสังคมของผูท้ ี่ทาํ งานเกี่ยวข้องกับปัญหาดังกล่าว
1 ในส่ วนของสิ ทธิ สตรี ในประเทศไทยนั้น จะเห็ นได้ว่าขบวนการเคลื่อนไหวของสตรี
ไทยได้มีพฒั นาการเปลี่ยนแปลงบทบาทและสถานภาพตั้งแต่ระบบการเมืองการปกครอง ในการ
เปลี่ยนแปลงนั้นเริ่ มจากระบบการปกครองโดยมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข ซึ่งเริ่ มปรากฏเด่นชัด
ในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นว่ากฎหมายเก่าไม่ยุติธรรม เช่น
การขายเมีย หรื อการบังคับให้ลูกสาวแต่งงานโดยไม่เต็มใจ จึงโปรดเกล้าให้เลิกเสี ย และต่อจากนั้น
ก็ไ ด้มีก ารปรั บปรุ ง กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ ความเสมอภาคระหว่า งหญิ ง และชายมาโดยตลอด
โดยเฉพาะกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ว่าด้วยครอบครัว นับได้ว่าสตรี ไทยไม่ได้มีความยากลําบากใน
การต่อสู ้เพื่อความเสมอภาค แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าสตรี ไทยส่ วนใหญ่ได้รับการพัฒนา ได้รับ
31

โอกาสทางกฎหมายหลายๆ ด้าน แต่ในทางปฏิบตั ิก็ยงั มีการกี ดกันและการปิ ดกั้นโอกาสผูห้ ญิง


มากกว่าผูช้ าย ซึ่ งสมควรที่จะได้รับการพัฒนาเรื่ องนี้ ให้ดียิ่งขึ้น เพื่อเป็ นการให้ความสําคัญกับเรื่ อง
สิ ทธิมนุษยชน ซึ่งผูห้ ญิงก็เป็ นกลุ่มหนึ่งในเรื่ องสิ ทธิมนุษยชน เช่นกัน
1 แม้วา่ การเรี ยกร้องสิ ทธิสตรี จะมีพฒั นาการมายาวนานและนานาประเทศให้ความสนใจ
ในประเด็นสิ ทธิ สตรี มากขึ้น แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าการเรี ยกร้องนี้ ควรจะยุติ และในบางสังคม
ความเสมอภาคที่แท้จริ งยังไม่ได้เกิ ดขึ้นและยังต้องมีการค้นหาต่อไปว่า ความเสมอภาคระหว่าง
ผูช้ ายและผูห้ ญิงที่แท้จริ งคือจุดใด และจะทําอย่างไรเพื่อที่จะขจัดความเป็ นเพศออกไปได้
1 แนวคิดนี้ มีหลักการคิดจากแนวคิดกระแสหลัก ๆ ที่มีอยูใ่ นสังคม ไม่วา่ จะเป็ นเสรี นิยม
(Liberalism) ลัทธิ มาร์ กซ์ (Marxism) จิตวิเคราะห์(Psychoanalysis) หรื อแนวคิดหลังสมัยใหม่
(Postmodernism) นักสตรี นิยมได้นาํ แนวคิดเหล่านั้นมาขยายความ ปรับแต่งให้กลายเป็ นกรอบ
ทฤษฎีที่ กว้างขึ้นและใช้อา้ งอิงได้ (Arneil, 1999) ทั้งนี้ สามารถแบ่งออกเป็ นหลายสํานักคิดด้วยกัน
(วันทนีย ์ วาสิ กะสิ น, 2543: 37-72)ได้แก่
1. สตรี นิยมสายเสรี นิยม (Liberal feminism) การพัฒนาแนวคิดเสรี นิยมในคริ สต์วรรษ
ที่ 18 เกิดขึ้นจากกลุ่มที่ต่อต้านกลุ่มกระฎุมพี และพวกศักดินา ภายใต้ระบบศักดินา ฐานะสังคมถูก
กําหนดมาแต่กาํ เนิ ด แนวคิดเสรี นิยมยืนยันว่าฐานะทางสังคมควรจะถูกกําหนดโดยความสามารถ
และทักษะของปั จเจกบุคคล และวัดโดยความสําเร็ จของบุคคลในการแข่งขันกับบุคคลอื่น ซึ่ งสตรี
นิยมสายเสรี นิยมถือว่าเป็ นสํานักคิดแรกและถูกมองว่าเป็ นแนวคิดกระแสหลักของสตรี นิยม เพราะ
คนส่ วนใหญ่จะคุน้ เคยกับแนวคิดนี้ สตรี นิยมสายเสรี นิยมได้รับอิทธิพลอย่างสู งจากแนวคิดเสรี นิยม
ที่ ให้ความสําคัญกับความเท่าเที ยมกันของมนุ ษย์โดยเฉพาะในทางกฎหมาย ให้ความสําคัญต่อ
ปั จเจกนิ ยมที่มีเหตุผล ทําให้นกั สตรี นิยมในแนวนี้ มกั เรี ยกร้องให้ผหู ้ ญิงเปลี่ยนแปลงตนเองให้เป็ น
คนมีเหตุผล ปรับปรุ งตัวเองให้เหมือนกับผูช้ าย เช่นต้องไม่ใช้อารมณ์ ไม่แสดงความอ่อนแอ และ
เชื่อว่าผูห้ ญิงและผูช้ ายไม่มีความแตกต่างกัน เป็ นมนุษย์เหมือนกัน
1 ดังนั้น ผูห้ ญิ งควรมี โอกาสที่ จ ะทําทุ กอย่างให้ได้เหมื อนผูช้ ายโดยการเรี ยกร้ องให้
ผูห้ ญิ ง มี โ อกาสที่ เ ท่ า เที ย มในการแข่ ง ขัน ภายในระบบสัง คมที่ เป็ นอยู่โ ดยเฉพาะในปริ ม ณฑล
สาธารณะ ให้ความสําคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมาย ทางการเมือง เพื่อสิ ทธิ ของปั จเจกบุคคล
ในการแข่งขันในตลาดสาธารณะ เพราะเชื่ อว่าถ้า ผูห้ ญิ งมี โอกาสที่ เ ท่าเที ยมแล้ว ผูห้ ญิ งจะเป็ น
เหมือนผูช้ ายได้ทุกอย่าง การต่อสู ้หลักของสตรี นิยมสายนี้ คือ การต่อสู ้ผา่ นทางการแก้ไขกฎหมาย
หรื อ การแก้ไ ขในแนวสั ง คมสงเคราะห์ ไม่ ใ ห้ ค วามสํา คัญ กับ การแก้ไ ขหรื อ เปลี่ ย นแปลงที่
โครงสร้ างสังคม นักสตรี นิยมสายเสรี นิยมถูกวิจารณ์ ค่อนข้างมากโดยเฉพาะการให้ความสําคัญ
เฉพาะประเด็นของกฎหมาย เพราะความด้อยโอกาสของผูห้ ญิงหลายประการไม่สามารถแก้ไขผ่าน
32

ทางการแก้ไขกฎหมาย เช่น ไม่มีกฎหมายใดระบุว่าผูห้ ญิงต้องเป็ นหลักในการดูแลลูก แต่ผหู ้ ญิงก็


ต้องทําแม้วา่ อาจจะไม่ตอ้ งการทํา (Eisenstein, 1981)
1 นอกจากนี้ การเรี ยกร้องให้ผหู ้ ญิงต้องปรับตัวเอง ไม่ว่าจะเป็ นการแต่งกายหรื อแสดง
ท่าทางตลอดจนการคิด อารมณ์ให้เหมือนผูช้ าย ก็ถูกวิจารณ์เช่นกันว่าเป็ นการแสดงถึงการยอมรับ
ให้ "ความเป็ นผูช้ าย" เป็ นตัวแบบของมนุษย์ที่พึงประสงค์ ซึ่ งไม่น่าถูกต้อง เพราะคุณลักษณะหลาย
ๆ ประการของผูช้ าย เช่น การชอบแข่งขัน ไม่มีความเอื้ออาทรต่อผูอ้ ื่น ไม่มีความอ่อนโยน ความ
ก้าวร้าว การเก็บกดทางอารมณ์ ล้วนไม่ใช่คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของมนุษย์อีกต่อไป
2. สตรี นิยมสายมาร์กซิสต์ (Maxist feminism) เป็ นอีกแนวคิดหนึ่ งเกิดขึ้นในช่วงต้น
ทศวรรษที่ 1970 ได้รั บ อิ ท ธิ พ ลทางความคิ ด ของคาร์ ล มาร์ ก ซ์ และเฟรดเดอริ ก ค์ เองเกลส์
(Frederick Engels) โดยเชื่ อว่าการกดขี่ที่ผหู ้ ญิงได้รับเป็ นผลจากระบบเศรษฐกิจที่ไม่เป็ นธรรม
โดยเฉพาะในระบบการผลิตแบบทุนนิยม
1 สตรี นิยมสายนี้เชื่อว่าระบบทุนนิยมอุตสาหกรรมทําให้เกิดการแบ่งการทํางานออกเป็ น
งานบ้านที่ถือว่าเป็ นงานที่ไม่ก่อให้เกิดผลผลิต ไม่มีคุณค่าและไม่มีค่าตอบแทน และงานนอกบ้าน
ซึ่งเป็ นงานที่ก่อให้เกิดผลผลิตมีค่าตอบแทน ระบบทุนนิยมพยายามที่จะให้เก็บผูห้ ญิงไว้ทาํ งานบ้าน
การกระทําเช่นนี้ ถือว่าเป็ นประโยชน์ต่อทุนนิ ยมเพราะผูช้ ายสามารถทํางานได้อย่างเต็มที่โดยไม่
เสี ยเวลาในการทํางานบ้านหรื อทําอาหาร และนายทุนไม่จาํ เป็ นต้องจ่ายค่าแรงงานสู งขึ้นเพื่อนํามา
จ่ายให้กบั คนทํางานบ้านเพราะมีผหู ้ ญิงหรื อภรรยาทําให้ฟรี อยูแ่ ล้ว
1 ในกรณี ที่ผูห้ ญิ งได้มีโอกาสทํางานนอกบ้าน ภายใต้ระบบทุน นิ ย มที่ เป็ นอยู่ งานที่
ผูห้ ญิงส่ วนใหญ่ทาํ ถูกถือว่าเป็ น "งานของผูห้ ญิง" เช่น งานพยาบาล งานเย็บผ้า งานเลขานุ การ ซึ่ ง
เชื่อว่าเป็ นงานที่คล้ายคลึงกับงานที่ผหู ้ ญิงทําที่บา้ น จึงทําให้งานเหล่านั้นได้รับค่าตอบแทนตํ่าเมื่อ
เทียบกับงานที่ผชู ้ ายส่ วนใหญ่ทาํ เพราะงานบ้านถูกตัดสิ นว่าเป็ นค่าที่ไม่มีคุณค่าในระบบทุนนิ ยม
ระบบเศรษฐกิจโดยเฉพาะเศรษฐกิจแบบทุนนิยมจึงถือว่าเป็ นสาเหตุที่สาํ คัญที่สุดของความเป็ นรอง
ของผูห้ ญิง
1 ดังนั้นการต่อสู ข้ องผูห้ ญิงสําหรับสตรี นิยมสายนี้ คือต้องเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจที่
ไม่เป็ นธรรมที่เป็ นอยู่ การเสนอดังกล่าวทําให้สตรี นิยมสายมาร์ กซิ สต์ถูกวิจารณ์ว่ามองไม่เห็นการ
กดขี่ ผูห้ ญิ ง ในรู ป แบบอื่ น ๆ ที่ สํา คัญ เช่ น การกดขี่ ที่ ผูห้ ญิ ง ได้รั บ ในโลกส่ ว นตัว หรื อ ภายใน
ครอบครั ว มองไม่ เห็ นว่าการกดขี่ ผูห้ ญิ งมี ลกั ษณะเฉพาะที่ แตกต่างจากการกดขี่ทางชนชั้น ข้อ
วิจารณ์น้ ีนาํ ไปสู่ การเกิดขึ้นของสํานักคิดสตรี นิยมสายถอนรากถอนโคน (Radical Feminism)
3. แนวคิดสตรี นิยมสายถอนรากถอนโคน (Radical feminism) อธิ บายว่า การกดขี่
ผูห้ ญิงเกิดขึ้นเพราะเธอเป็ นผูห้ ญิง หรื อผูห้ ญิงถูกกดขี่เพราะเพศของเธอ ความไม่เทียมกันทางเพศที่
33

เกิดขึ้นเป็ นผลมาจาก อุดมการณ์ชายเป็ นใหญ่ (Patriarchy) ระบบชายเป็ นใหญ่ หมายถึง ระบบของ


โครงสร้างสังคมและแนวการปฏิบตั ิที่ผชู ้ ายมีความเหนือกว่า กดขี่และเอารัดเอาเปรี ยบผูห้ ญิง
1 กล่าวอีกนัยหนึ่ งคือ เป็ นระบบที่ผชู ้ ายมีความเหนื อกว่าผูห้ ญิงในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็ น
เศรษฐกิ จ การเมือง หรื อวัฒนธรรม กลุ่มแนวคิดนี้ ให้ความสนใจต่อสถานะที่เป็ นรองของผูห้ ญิง
และมองว่าความเป็ นรองที่เกิดขึ้น มีสาเหตุมาจากความต้องการเหนื อกว่าของผูช้ าย และอุดมการณ์
ชายเป็ นใหญ่ได้พยายามสร้างความชอบธรรมต่อความเหนื อกว่าของผูช้ าย (ผูช้ ายเข้มแข็งกว่า ฉลาด
กว่า มี เหตุผลมากกว่า คิดอะไรที่ลึกซึ้ งได้มากกว่า ฯลฯ) และทําให้ความเหนื อกว่านี้ ดาํ รงอยู่ใน
ความเชื่อของคนในสังคมผ่านทางกระบวนการขัดเกลาทางสังคมในรู ปแบบต่าง ๆ สตรี นิยมสายนี้
ได้มีการแตกย่อยเป็ นสตรี นิยมสายวัฒนธรรม (cultural feminism) และสตรี นิยมสายนิ เวศ (eco
feminism)
4. สตรี นิยมสายวัฒนธรรม (Cultural feminism) จะยอมรับว่าผูห้ ญิงและผูช้ ายมี
คุณลักษณะที่แตกต่างกัน เหมือนที่เคยเชื่ อกันในอดี ต แต่นักสตรี นิยมสายนี้ เสนอว่าคุณลักษณะที่
เป็ นหญิงนั้นดีกว่าหรื อเหนื อกว่าของผูช้ าย (ไม่ใช่ ดอ้ ยกว่าดังที่เชื่ อกันในอดี ต) ไม่ว่าจะเป็ นความ
เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ผอู ้ ื่น การเอาใจใส่ ดูแล ความอ่อนโยน ความสันติไม่กา้ วร้าว ล้วนเป็ นคุณลักษณะที่
ผูห้ ญิงควรชื่นชม และรักษาความเป็ นหญิงเหล่านั้นไว้
5. สตรี นิยมสายนิเวศ ( Postmodern feminism) มีความเชื่อคล้ายคลึงกับสายวัฒนธรรม
ว่าผูห้ ญิงมีความแตกต่างจากผูช้ ายและดีกว่าผูช้ ายตามธรรมชาติ แต่เสนอเพิ่มเติมว่าผูห้ ญิงมีความ
ใกล้ชิดหรื อเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันกับธรรมชาติ เช่นการที่ผหู ้ ญิงเป็ นผูใ้ ห้กาํ เนิ ดบุตร ทําให้ผหู ้ ญิง
เชื่ อมโยงกับธรรมชาติ เชื่ อมโยงกับโลก ส่ ว นผูช้ ายนั้น ใกล้ชิ ด กับวัฒ นธรรม และในนามของ
วัฒนธรรมผูช้ ายได้พยายามและประสบความสําเร็ จในการข่มเหงรังแกทั้งผูห้ ญิงและธรรมชาติ การ
เชื่อมโยงผูห้ ญิงเข้ากับธรรมชาติน้ ี ได้นาํ ไปสู่ การฟื้ นฟูพิธีกรรมโบราณที่ให้ความสําคัญกับการบูชา
พระแม่เจ้า รวมทั้งระบบสื บพันธุ์ของผูห้ ญิง โดยมองว่าธรรมชาติเปรี ยบเสมือนแม่และพระแม่เจ้า
ซึ่ งเป็ นที่ มาของพลัง อํา นาจและแรงบัน ดาลใจ และเรี ย กร้ องให้มีก ารปฏิ เ สธวิทยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยี (Merchant, 1995) ทั้งสตรี นิยมสายวัฒนธรรมและสายนิ เวศถูกวิจารณ์ว่าเป็ นพวก
สารัตถะนิยม คือเชื่อว่ามีธาตุแท้ของความเป็ นหญิง
6. สตรี นิยมสายสังคมนิ ยม (Socialist Feminism) ถือว่ามีความคล้ายคลึงกับสตรี นิยม
สายมาร์ก ซิสต์อยูห่ ลายประการ ไม่ว่าการเชื่อว่าผูห้ ญิงกับผูช้ ายมีความเหมือนกันหรื อการวิเคราะห์
สังคมโดยแบ่งเป็ นโลกส่ วนตัวและโลกสาธารณะ รวมทั้งการเสนอให้ผลักดันโลกส่ วนตัวเข้าไปอยู่
ในโลกสาธารณะ แต่ที่แตกต่างกันคือ สตรี นิยมสายสังคมนิ ยมมองว่าการอธิ บายถึงการกดขี่ผหู ้ ญิง
34

จําเป็ นต้องทําความเข้าใจต่อโลกหรื อพื้นที่ส่วนตัวด้วย เช่นความสัมพันธ์เชิ งอํานาจระหว่างเพศ


หญิงกับเพศชายและหน้าที่การให้กาํ เนิดเด็กของผูห้ ญิง
1 ดัง นั้น สตรี นิ ย มสายนี้ จึ ง เสนอว่ า ความไม่ เ ท่ า เที ย มกัน ทางเพศ เป็ นผลจากการ
ปฏิสัมพันธ์กนั ของระบบชายเป็ นใหญ่และระบบทุนนิ ยมในสังคม หรื อกล่าวได้ว่า เมื่อทั้งระบบ
ความเป็ นเพศและระบบเศรษฐกิ จ มาสัมพัน ธ์กันในยุคสมัย หนึ่ ง ๆ ได้ทาํ ให้เ กิ ด โครงสร้ างทาง
เศรษฐกิจและสังคมที่ผชู ้ ายอยูใ่ นฐานะที่ได้เปรี ยบ ส่ วนผูห้ ญิงอยูใ่ นฐานะที่เสี ยเปรี ยบ ตัวอย่างเช่น
ระบบชายเป็ นใหญ่ได้สร้างความเชื่อที่วา่ คุณค่าของผูห้ ญิงอยูท่ ี่ความสวยและความสาว (คุณค่าของ
ผูช้ ายอยู่ที่ความสามารถ การประสบความสําเร็ จในหน้าที่การงาน) ความเชื่ อนี้ เมื่อปฏิสัมพันธ์กบั
เศรษฐกิ จแบบตลาดที่ตอ้ งการขายสิ นค้าให้ได้มาก ดังนั้น ผ่านทางการโฆษณา ผูห้ ญิงจึงตกเป็ น
เหยือ่ ทางการค้าของธุรกิจเครื่ องสําอางหลากหลายชนิดอย่างเต็มใจ เพื่อต้องการสวยและรักษาความ
สาวไว้
7. สตรี นิยมสายจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Feminism) เป็ นแนวคิดสตรี นิยมอีก
สํานักหนึ่ ง ได้ใช้แนวคิดของจิตวิเคราะห์อธิ บายถึงการเกิดขึ้นของความเป็ นชายความเป็ นหญิงซึ่ ง
นําไปสู่ ความเป็ นรองของผูห้ ญิง โดยเชื่อว่าการทําความเข้าใจต่อพัฒนาการความเป็ นชายเป็ นหญิง
จําเป็ นต้องทําความเข้าใจในระดับจิตใจ
1 นักสตรี นิยมสายนี้เชื่อว่าความเป็ นเพศ หรื อความเป็ นชายเป็ นหญิงไม่ใช่เรื่ องทางชีวะที่
มีมา แต่เป็ นสิ่ งที่ถูกสร้างขึ้นในระดับจิตไร้สาํ นึ ก (unconsciousness) ในพัฒนาการชีวิตช่วงต้นๆ
ของเด็ก ซึ่ งถือว่าเป็ นช่วงที่สาํ คัญในการก่อรู ปและอัตลักษณ์ของความเป็ นเพศ เช่นงานของแนนซี่
โชโดรอฟ (Nancy Chodorow, 1978) ที่อธิบายว่าการเลี้ยงดูเด็กอ่อนที่ไม่สมดุล คือ
1 การที่แม่เลี้ยงดูเด็กใกล้ชิดแต่เพียงผูเ้ ดียวโดยมีพ่อคอยดูอยู่ห่างๆ ก่อให้เกิดการก่อรู ป
และอัตลักษณ์ความเป็ นเพศที่แตกต่างกัน ทําให้ผชู ้ ายมักเป็ นคนที่ปิดกั้นตัวเอง ไม่มีทกั ษะในการ
สร้างความสัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่น มีความเป็ นตัวของตัวเองสู ง ส่ วนผูห้ ญิงจะมีความสามารถในการสร้าง
ความสัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่น แต่มีความเป็ นตัวของตัวเองน้อย ซึ่งเธอเสนอว่าความเป็ นหญิงเป็ นชายแบบนี้
ไม่เหมาะสมทั้งคู่ มนุ ษย์ที่พึงประสงค์ควรเป็ นการผสมผสานคุณลักษณะของทั้งสองเพศ ซึ่ งจะ
ได้ม าโดยเปลี่ ย นวิ ธี ก ารเลี้ ย งดู เ ด็ ก ให้ พ่ อ มี ส่ ว นในการเลี้ ย งดู ลู ก ในระดับ เดี ย วกับ แม่ (equal
parenting)
8. สตรี นิยมสายหลังสมัยใหม่ (Post radical feminism) สตรี นิยมแนวคิดต่างๆ ข้างต้น
ถูกมองว่าเป็ นผลผลิตของแนวคิดในยุคสมัยใหม่ (ยกเว้นนักสตรี นิยมสายจิตวิเคราะห์บางคน) และ
ถูกวิจารณ์จากสตรี นิยมสายแนวคิดหลังสมัยใหม่ว่ามีขอ้ บกพร่ องโดยเฉพาะประเด็นการเสนอภาพ
ผูห้ ญิงที่ เป็ นหนึ่ งเดี ยว คือเชื่ อว่าผูห้ ญิ งทั้งโลกมีความเหมื อนกัน ไม่คาํ นึ งถึ งความแตกต่ างทาง
35

วัฒนธรรม ทางชาติพนั ธุ์ ทางชนชั้น สตรี นิยมสายหลังสมัยใหม่ ซึ่ งได้รับความสนใจอย่างสู งตั้งแต่


ทศวรรษที่ 1980 เป็ นต้น มา ได้ใ ห้ค วามสํา คัญ ต่ อ ความแตกต่ า งของกลุ่ ม ผูห้ ญิ ง รวมทั้ง ความ
หลากหลายที่มีอยูข่ องผูห้ ญิงแต่ละคน
1 นอกจากนี้ ยงั ปฏิ เสธความคิ ดสารั ตถะนิ ยม โดยเสนอว่าไม่มีผูห้ ญิ ง ไม่ มีความเป็ น
ผูห้ ญิง ทุกอย่างล้วนสร้างผ่านปฏิบตั ิการทางวาทกรรม จึงไม่มีความเป็ นผูห้ ญิงที่แท้ คงที่ตายตัวและ
ไม่เปลี่ยนแปลง การเสนอว่าไม่มี "ผูห้ ญิง" ของสตรี นิยมหลังสมัยใหม่ได้นาํ ไปสู่ การถูกวิจารณ์
อย่างรุ นแรงจากนักสตรี นิยมสายอื่ น ๆ ว่าทําให้การต่ อสู ้เ พื่อสถานะที่ ดีข้ ึ นของผูห้ ญิ งเป็ นเรื่ อง
เป็ นไปไม่ได้เพราะไม่มีสิ่งที่เรี ยกว่าผูห้ ญิงเสี ยแล้ว ถือเป็ นการทําลายความชอบธรรมของขบวนการ
เคลื่อนไหวของผูห้ ญิง
1 นอกจากแนวคิดดังกล่าวที่กล่าวมาแล้วนั้น ยังมีแนวคิดสตรี นิยมแนวรัฐสวัสดิการ และ
แนวคิดสตรี นิยมผิวดําและสตรี นิยมในโลกที่สาม ซึ่งมีหลักการคิด คือ
9. สตรี นิยมแนวคิดรัฐสวัสดิการ (Welfare - state feminism) เป็ นแนวคิดที่เน้นในเรื่ อง
สวัสดิการของผูห้ ญิงเป็ นหลัก ผูห้ ญิงจําเป็ นต้องได้รับสวัสดิการที่ดี ที่เหมาะสมในฐานะมารดาและ
ภรรยา ขณะเดียวกันผูช้ ายก็ตอ้ งเข้ามามีบทบาทและรับผิดชอบต่อผูห้ ญิงในฐานะมารดาและภรรยา
เช่นเดียวกัน แนวคิดนี้ เน้นให้เห็นคุณค่าของผูห้ ญิงในบทบาททั้งสองที่สังคมคาดหวัง แนวคิดนี้ ยงั
แสดงให้เห็ นถึ งความสัมพันธ์ระหว่างรั ฐสวัสดิ การ ครอบครั ว ผูห้ ญิ ง และต่อผูห้ ญิ งในบริ การ
สวัสดิการในฐานะมารดา อ คนงาน สิ ทธิส่วนบุคคลของผูห้ ญิง
10. แนวคิดสตรี นิยมผิวดําและสตรี นิยมในโลกที่สาม (Black feminism and Third
world feminism) แนวคิดนี้ สนับสนุ นแนวคิดสตรี นิยมแนงสังคมนิ ยม โดยแสดงให้เห็นถึงการที่
ผูห้ ญิงผิวดําถูกกดขี่ซ้ าํ ซ้อนจากการกดขี่ต่างๆ ทางสังคม เช่น จากคนผิวขาว หรื อเริ่ มมาจากผูช้ ายผิว
ดํา และระบบเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งสตรี นิยมในโลกที่สามที่ถูกกดขี่ในลักษณะเดียวกันด้วย
1 จากแนวคิดสตรี นิยมในแนวคิดต่างๆ จะเห็นได้ว่าโครงสร้างเศรษฐกิจ สังคม ค่านิ ยม
ความเชื่อ แบบแผนต่างๆ ในทางสังคมเป็ นผูก้ าํ หนดในเรื่ องแนวคิดของสังคมต่อผูห้ ญิง ไม่ว่าจะ
เป็ นแนวคิดใดก็ตาม จุดประสงค์หลักคือ เน้นการแก้ไขความไม่เสมอภาคทางสังคม ถ้าเราสามารถ
นําแนวคิดต่างๆ มาร่ วมกันและพิจารณาสิ่ งที่ดีที่สุดที่เป็ นประโยชน์ต่อสังคม ก็จะเป็ นทางแก้ปัญหา
ความไม่เสมอภาคที่ดีที่สุด

4. แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับการกระทํารุนแรงในครอบครัว
สําหรับความหมายของความรุ นแรงต่อภรรยามีผใู ้ ห้ความไว้หลายประการ ดังนี้
36

เกลส์และสเตราส์ (Gelles and Straus,1979: 554) ที่กล่าวว่า การกระทํารุ นแรงต่อ


ภรรยาถือเป็ นการตั้งใจกระทําหรื อรับรู ้ว่าตั้งใจกระทําให้ผอู ้ ื่นรู ้สึกเจ็บปวดและบาดเจ็บทางร่ างกาย
ตั้งแต่การบาดเจ็บเล็กน้อยจนถึงการทําอันตรายแก่ชีวิต
ฟรี แมน (Freeman, 1980, อ้างถึงใน ปั ญชลี โชติคุต, 2541: 1) กล่าวว่า การกระทํา
รุ น แรงต่ อภรรยานั้น เป็ นการทํา ให้ได้รับบาดเจ็บซึ่ งไม่ ใช่ เพีย งแต่ เพื่อทําให้ได้รับบาดเจ็บทาง
ร่ างกายเท่านั้นแต่รวมถึงการกระทําที่กระทบกระเทือนต่ออารมณ์ ความรู ้สึกและจิตใจด้วย
แฮมตัน (Hamton, 1996: 1131) ได้ให้ความหมายของความรุ นแรงที่เกิดขึ้นกับภรรยา
ว่าเป็ นรู ปแบบของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากสามีที่กระทําต่อร่ างกาย อารมณ์ จิตใจ เพศ และเศรษฐกิจ
ที่เกิดขึ้นในทันทีทนั ใดเพื่อแสดงความมีอาํ นาจและเพื่อควบคุมภรรยา
วอลเลค (Wallace, 1996: 3) ให้ทรรศนะว่าเป็ นการกระทําที่ทาํ โดยบุคคลที่อยูก่ ิน
ด้วยกันหรื อแต่งงานกันให้ได้รับบาดเจ็บทางกายหรื อจิตใจ หรื อจํากัดในด้านสิ ทธิและอิสรภาพของ
สมาชิกในครอบครัว
กฤตา อาชวนิจกุล (2546: 5) ให้ความหมายของความรุ นแรงที่เกิดขึ้นกับภรรยาว่าเป็ น
การที่ผหู ้ ญิงถูกสามีทาํ ทารุ ณกรรม ซึ่ งมีรูปแบบหลากหลายตั้งแต่การกระทําร้ายทางกาย ได้แก้ การ
ต่อยเตะ ทุบตีดว้ ยวัตถุ กระทืบ ทําให้บาดเจ็บด้วยวิธีต่าง ๆ และการฆ่าให้ตาย การทําร้ายทางจิตใจ
ไม่ ว่า จะเป็ นการบี บ คั้น ทางจิ ต ใจ การด่ า ทอข่ ม ขวัญ ขู่จ ะทํา ร้ า ย การกัก ขัง การบี บ บัง คับ ทาง
เศรษฐกิจและสังคม การปฏิเสธที่จะให้ความช่วยเหลือทางการเงิน การดูถูกเหยียดหยาม และกาทํา
ร้ายทางเพศ ในรู ปแบบต่างๆ เช่น การข่มขืน บังคับให้ร่วมเพศในท่าที่ผหู ้ ญิงไม่เต็มใจ โดยสรุ ปอาจ
กล่าวได้ว่าความรุ นแรงต่อภรรยา หมายถึงการกระทําใด ๆ ของบุรุษผูเ้ ป็ นสามี ซึ่ งทําให้สตรี ผเู ้ ป็ น
ภรรยาได้รับความเจ็บปวดทั้งด้านร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ และทางเพศในรู ปแบบใดรู ปแบบหนึ่งหรื อ
หลายแบบร่ วมกัน
แนวคิดและทฤษฏีที่ใช้ในการอธิ บายถึงการกระทํารุ นแรงมีหลายแนวคิดและทฤษฏี
หลักได้แก่ ทฤษฏีแลกเปลี่ยน แนวคิดสตรี นิยม การเลือกอย่างมีเหตุผล แนวคิดเกี่ยวกับอัตมโนทัศน์
และแนวคิดการสนับสนุนทางสังคม โดยจะนําเสนอตามลําดับดังนี้
1. ทฤษฏีแลกเปลี่ยน (Exchange Theory) มีความคิดพื้นฐานคือการทําร้ายภรรยามิใช่
เรื่ องที่มีสาเหตุมาจากความผิดปกติทางจิตใจของทั้งสามีและภรรยา แต่การทําร้ายร่ างกายระหว่าง
สามีภรรยาเป็ นเรื่ องปกติธรรมดาในชีวิตของครอบครัว (Holaing & Strauss, 1980)โดยที่สามีและ
ภรรยาต่างก็แสวงหาการตอบแทนที่เป็ นรางวัลสู งสุ ด และพยายามให้มีการสู ญเสี ยน้อยที่สุดในการ
ดําเนิ นความสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกัน ดังนั้น เมื่อสามีคิดว่าความสัมพันธ์ฉันท์สามีภรรยาทําให้เขา
สู ญเสี ย “ทรั พยากร” เช่ น รายได้ สถานะทางสังคม บุคลิกภาพส่ วนตัวในการเป็ นผูน้ าํ ครอบครัว
37

เป็ นไปอย่างไม่สมดุลกับผลที่ได้รับ สามีจึงทําร้ายร่ างกายภรรยาเพื่อเรี ยกร้องความเป็ นธรรมหรื อ


เพื่อให้เกิดความสมดุลในการแลกเปลี่ยน (balance of exchange) (Goode, 1971) และถ้าภรรยามี
พฤติ กรรมที่ เบี่ ยงเบนไปจากบรรทัดฐานของสังคมแสดงอํานาจเหนื อสามี ภรรยาจะถูกทําร้ าย
เนื่องจากภรรยาพยายามลดอํานาจของสามี (Strauss, 1973)
2. แนวคิดสตรี นิยม (Feminist Perspectives) มีพ้ืนฐานความคิดว่าการทําร้ายภรรยาถูก
ทําให้เป็ นความถูกต้องทางประวัติศาสตร์ เพื่อการกดขี่ ครอบงํา และควบคุมผูห้ ญิงในโครงสร้าง
ครอบครัวแบบชายเป็ นใหญ่ (Mckinnon, 1982) และได้วิวฒั นาการมาจนกลายเป็ นวัฒนธรรมที่ยอม
ให้สามีข่มเหงภรรยาได้ทาํ ให้สถานภาพของภรรยาตํ่าต้อยลง เกิดการสนับสนุนการใช้ความรุ นแรง
ของสามี โดยเฉพาะเรื่ องเศรษฐกิจและการสื บทอดมรดกซึ่ งมีส่วนเกี่ ยงข้องอย่างยิ่งกับการทําร้าย
ภรรยา (Dobash & Dobash, 1981)
3. ทฤษฏีการอย่างมีเหตุผล (Rational Chotce Theory) เป็ นการใช้เพื่อศึกษาเหตุผลใน
การตัดสิ นใจยุติความรุ นแรง ซึ่ งมาจากแนวคิดพื้นฐานว่า มนุ ษย์เป็ นคนที่มีเหตุผลและตัดสิ นใจ
กระทําการใดๆ ก็ตามมนุษย์จะกระทําไปในทางที่ก่อประโยชน์สูงสุ ดแก่ตน อาจเป็ นรู ปธรรมได้แก่
เงินตราหรื อสิ่ งของ รางวัลที่จบั ต้องได้ หรื อนามธรรมได้แก่ความรักความเข้าใจ ความอิ่มเอิบ โดยที่
ประโยชน์สูงสุ ดนั้นอาจมิใช่ประโยชน์ที่พอใจที่สุดหรื อเหมาะสมที่สุดในสายตาของผูอ้ ื่น (Hindess,
1988, อ้างถึงในโชติมา กาญจนกุล, 2540: 46-48) สําหรับในการตัดสิ นใจยุติความรุ นแรงภรรยาได้
วิเคราะห์แล้วว่าจะได้รับผลตอบแทนอันเป็ นประโยชน์สูงสุ ดเหมาะสมกับตนที่สุด
4. แนวคิดเกี่ยวกับอัตมโนทัศน์ (Self concept) โดยมองว่าอัตมโนทัศน์เป็ นความรู ้สึก
นึ กคิด เจตคติ ที่มีบุคคลมีต่อตนเองทั้งทางด้านร่ างกาย สุ ขภาพ หน้าที่การงาน ศีลธรรม ความเชื่อ
ทางศาสนา สังคมวัฒนธรรม สุ ขภาพร่ างกายและภาพพจน์ในใจที่ บุคคลมี อยู่ ซึ่ งเป็ นลักษณะที่
สําคัญของบุคลิกภาพ มีอิทธิพลต่อการสร้างสัมพันธภาพกับอื่น (Stuart Sundeen, 1983, อ้างถึงใน
โชติมา กาญจนกุล, 2540: 48-49) ความคิดอัตมโนทัศน์มีผลต่อพัฒนาการของการรั บรู ้ เกี่ ยวกับ
ตนเอง ในการประเมินคุณค่าและความสามารถของตนเอง การนับถือตนเองและมีความหวังในชีวิต
ก่อให้เกิ ดการตัดสิ นใจกระทําพฤติกรรมเพื่อเป้ าหมายในการดูแลปกป้ องตนเองจากการกระทํา
รุ นแรง (Bandura, 1973)
5. แนวคิดเรื่ องการสนับสนุ นทางสังคม (Social Support) เป็ นปรากฏการณ์ ทาง
จิตวิทยาสังคมของบุคคล ที่เกิดขึ้นจากการมีปฏิสมั พันธ์ทางสังคมที่บุคคลรับรู ้หรื อประเมินว่าได้รับ
ความช่วยเหลือ และได้รับการสนองความต้องการของตนทางด้านร่ างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม
ซึ่ งมีผลทั้งทางบวกและทางลบต่อความเป็ นอยู่ การตัดสิ นใจและการปรับตัวกับความเครี ยดของ
บุคคลนั้น
38

ดังนั้นการสนับสนุนทางสังคมจึงเป็ นเงือนไขที่สาํ คัญที่มีผลต่อการตัดสิ นใจของภรรยา


ที่ตกอยู่ในปั ญหาการถูกกระทํารุ นแรงจากสามี ประเภทของการสนับสนุ นทางสังคมเบ่งเป็ น 2
ประเภท คื อ แหล่งสนับสนุ นที่ไม่เป็ นทางการ เช่ น ครอบครั ว เพื่อน เพื่อนบ้าน และแหล่ง
สนับสนุ นที่เป็ นทางการ คือ สถานี ตาํ รวจ นักจิตบําบัดหรื อแพทย์ พระหรื อนักบวช นักกฎหมาย
หน่ วยงานสวัสดิ การสังคม นักสังคมสงเคราะห์ กลุ่มผูห้ ญิงและศูนย์ช่วยเหลื อหญิงที่ถูกทําร้ าย
(Bowker, 1993: 155) เมื่อภรรยาถูกสามีทาํ ร้ายนั้นเป็ นเรื่ องยากที่จะค้นหาความช่วยเหลือที่เป็ น
ทางการ เพราะผูห้ ญิงไม่รู้วา่ หน่วยงานใดที่จะเข้าไปขอความช่วยเหลือได้ จึงต้องหาแหล่งช่วยเหลือ
ที่ไม่เป็ นทางการ เช่น พ่อแม่ญาติพี่นอ้ ง หรื อ เพื่อน (Homeretal, 1985: 93) ภรรยาจะเข้าสู่ แหล่ง
ช่วยเหลือที่เป็ นทางการก็ต่อเมื่อการร้ายนั้นเกิดบ่อยและมีแนวโน้มรุ นแรงยิง่ ขึ้น (Johnson ,1985:
109) การที่ภรรยาตกอยูใ่ นภาวการณ์ถูกกระทําซํ้าอยูใ่ นช่วงระยะเวลาหนึ่ งนั้น ไม่ได้หมายความว่า
ภรรยาจะยอมทนอยูก่ บั ความรุ นแรงนั้นโดยไม่จดั การกับปั ญหา แต่การที่ภรรยายอมทนให้สามีทาํ
ร้ายอยูใ่ นช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนตัดสิ นใจยุติการทําร้ายนั้นเป็ นเพราะยังไม่พร้อมที่จะปฏิเสธการใช้
กําลังของสามี ทั้งนี้ อาจเนื่ องจากการขาดการสนับสนุ นทางสังคมและความคิดความเชื่อแบบเดิมที่
มองการทําร้ายภรรยาเป็ นเรื่ องส่ วนตัว จึงทําให้ดูเหมือนว่าผูห้ ญิงยอมจํานนเนื่ องจากสิ้ นหวังแต่ใน
ความเป็ นจริ งแล้วเป็ นช่วงที่ผหู ้ ญิงเตรี ยมตัวเพื่อหยุดการทําร้ายของสามีมากกว่า (Boker, 1993: 155)
ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้น อาจกล่าวได้ว่ารู ปแบบการถูกกระทํารุ นแรงตามผลกระทบที่
ภรรยาได้รับสามารถแบ่งได้ 3 แบบหลัก ดังนี้ (Kevin & Martin, 1997: 62)
1. การกระทํารุ นแรงทางร่ างกาย (Physical Abuse) เป็ นการกระทํารุ นแรงที่เห็นได้
ชัดเจนที่สุดเพราะทําให้ร่างกายได้รับบาดเจ็บตั้งแต่เล็กน้อยไปจนถึงสาหัสหรื อเสี ยชี วิต ทั้งที่มี
ร่ องรอยและไม่มีโดยมีต้ งั แต่การใช้กาํ ลังเพียงเล็กน้อย เช่ นการผลัก การหยิก การตบ การตี การ
กระชาก ขว้างปาสิ่ งของใส่ ไปจนถึงการใช้กาํ ลังขั้นรุ นแรง เช่น การบีบคอ การเตะ การใช้อาวุธ
ประทุษร้ายร่ างกาย รวมทั้งการจับโยนลงนํ้า การล่ามโซ่ กักขัง การจี้ดว้ ยบุหรี่ หรื อ ของร้ อนการ
กรอกด้วยยาพิษ การราดด้วยนํ้ากรด เป็ นต้น
2. การกระทํารุ นแรงทางจิตใจ (Psychological Abuse) เป็ นการใช้วาจาคุกคามทาง
จิตใจหรื ออารมณ์ ทําให้เกิดความรู ้สึกเสี ยใจ ปวดร้าว กระทบกระเทือนใจ หวาดกลัว หวาดระแวง
กังวล ไม่สบายใจ ความรู ้สึกว่าตนเป็ นผูผ้ ิด และความกดดันทางอารมณ์อื่นๆ เช่น การพูดจากดูถูก
ด่าด้วยคําหยาบคาย ตะคอก ตวาด เปรี ยบเทียบเป็ นสัตว์ ประณามว่าชัว่ ช้า เลวทราม พูดจาประชด
ประชัน ขู่ว่าจะทําร้ายร่ างกาย จะทําร้ายบุตรหรื อคนที่เคารพรัก ทําลายสิ่ งของ หรื อทําลายสัตว์ที่รัก
รวมทั้งการแสดงท่าทีและการกระทําที่มีผลต่อจิตใจ เช่นการแสดงท่าทีเฉยเมย ท่าทีโกรธ ไม่พอใจ
เป็ นต้น
39

3. การกระทํารุ นแรงทางเพศ (Sexual Abuse) จัดเป็ นรู ปแบบเฉพาะที่มีการกระทํา


รุ นแรงทางร่ างกายและ/หรื อจิตใจร่ วมด้วย ได้แก่ การลวนลาม การจับต้องอวัยวะที่เป็ นของสงวน
เช่น เต้านม อวัยวะสื บพันธุ์ การรุ กรานทางเพศอื่นๆ เช่น การใช้กิริยาวาจาแทะโลมหรื อชักชวนให้
มีเพศสัมพันธ์โดยการข่มขู่ การข่มขืน บังคับให้มีเพศสัมพันธ์โดยไม่สมัครใจ การเฉยเมยต่อความ
ต้องการทางเพศของภรรยา เป็ นต้น
การกระทํา รุ น แรงที่ ส ามี ก ระทํา ต่ อ ภรรยานั้น มัก มี ล ัก ษณะซํ้า ๆ และเกิ ด ขึ้ น อย่า ง
ต่อเนื่องสามารถอธิบายได้โดยวงจรของการถูกสามีทารุ ณกรรมซึ่ งมีอยู่ 3 ระยะ (Walker, 1987: 31-
40) ได้แก่
1. ระยะสร้างความตึงเครี ยด (Tension Building Phase) โดยระยะนี้ สามีจะเริ่ มทารุ ณ
กรรมภรรยาด้วยการแสดงอารมณ์โกรธ อาจมีการโต้เถียง ทะเลาะวิวาทกัน ขณะที่ภรรยาจะพยายาม
ควบคุมสถานการณ์ให้สงบไว้
2. ระยะของการทําร้าย (Serious Battering Incident Phase) จะเกิดการทําร้ายหรื อ
ทารุ ณกรรมขึ้นโดยสามีไม่สามารถควบคุมอารมณ์ไว้ได้
3. ระยะสงบหรื อระยะหวานชื่น (Honeymoon Phase) กล่าวคือ เมื่อเวลาผ่านไปสามีจะ
สํานึ กผิดต่อการกระทําทารุ ณกรรมภรรยา สามีจะพยายามทําดีทุกอย่างเพื่อชดเชยและขอโทษกับ
เหตุการณ์ที่เกิ ดขึ้นโดยอาจแสดงความรัก เอาอกเอาใจ ซื้ อของขวัญให้และสัญญาว่าจะไม่กระทํา
ทารุ ณกรรมภรรยาอีก ทําให้สตรี คิดว่าการให้อภัยจะเป็ นวิธีที่ทาํ ให้สามีเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้
แต่ความเป็ นจริ งแล้ว กลับทําให้เกิดการทารุ ณกรรมครั้งต่อๆ ไปและวงจรการถูกสามีทารุ ณกรรม
จะเกิ ดขึ้นซํ้าๆ วนเวียนอยู่เรื่ อยไปโดยจะใช้ระยะเวลาในการก่อตัวน้อยลง แต่จะเพิ่มความถี่และ
ระดับความรุ นแรงมากขึ้น จึงนับเป็ นปั ญหาที่ไม่มีวนั สิ้ นสุ ดหากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างจริ งจัง
สาเหตุความรุ นแรงในครอบครัว
การเกิดความรุ นแรงในครอบครัวอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ เพราะสถาบันครอบครัว
ถือเป็ นระบบที่มีความสัมพันธ์ซับซ้อนมาก กล่าวคือ ครอบครัวเป็ นสถาบันที่มีความใกล้ชิดและ
สัมพันธ์กนั อย่างเด่นชัด มีความอ่อนไหวด้านอารมณ์สูง ดังนั้นปั จจัยที่จะทําให้เกิดความรุ นแรงจึง
อาจเกิ ด ได้จ ากแรงกระตุ น้ หลายรู ป แบบ อาจกล่ าวได้ว่าสาเหตุ ของความรุ น แรงในครอบครั ว
สามารถจําแนกได้ 2 ระดับ (Gelles, 1993: 9) ดังนี้
1. ระดับภายในบุคคล (Intra-individual Level) หรื อรู ปแบบของจิตใจ (Psychiatric
Model) การกระทํารุ นแรงในระดับรู ปแบบของจิตใจนั้นจะเน้นถึงบุคลิกภาพลักษณะของผูก้ ระทํา
รุ นแรง ขณะที่มีการตัดสิ นใจซึ่ งนําไปสู่ ความรุ นแรงและการทําร้ายผูใ้ กล้ชิดซึ่ งเกิดการขาดความ
พร้อมในการพัฒนาบุคลิกของบุคคล บุคลิกภาพที่ผดิ ปกติ (Personality disorders) บุคลิกลักษณะที่
40

ผิดปกติ (Character Disorders) การเจ็บป่ วยทางจิตใจ การใช้แอลกอฮอล์และสารเสพติด และ


ขบวนการภายในจิตใจ (Intra-individual Processes) นําไปสู่ การกระทํารุ นแรงในครอบครัว (อร
อนงค์ อินทรวิจิตร, 2542: 8)
2. ระดับจิตสังคม (Social-psychological Level) โดยจะมองว่าความรุ นแรงและการถูก
ทําร้ายสามารถอธิ บายได้จากสิ่ งแวดล้อมที่เป็ นองค์ประกอบภายนอกของจิตใจที่มีผลต่อครอบครัว
เช่น โครงสร้างและองค์ประกอบของครอบครัวและปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว อีกทั้ง
ในครอบครัวที่ขาดความเข้าใจ ความเมตตาและความเอื้ออาทรต่อกัน ชอบแสดงพฤติกรรมที่รุนแรง
ต่อกันจะทําให้เกิดการดูดซับพฤติกรรมที่นาํ ไปสู่ การกระทํารุ นแง (จิตฤดี วีระเวสส์, 2543 ฃ: 223)
และรู ปแบบโครงสร้างของครอบครัว ภาวะความเครี ยดก็สามารถส่ งผ่านความรุ นแรงจากรุ่ นหนึ่ ง
ไปสู่ อีกรุ่ นหนึ่งได้
เมื่อมีการทําร้ายกันเกิดขึ้น ย่อมส่ งผลกระทบทั้งต่อตัวผูถ้ ูกกระทํา ผูก้ ระทํา และบุคคล
อื่น อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แสดงให้เห็นว่าความรุ นแรงในครอบครัวอาจก่อให้เกิดปั ญหาอื่นๆ ตาม
หากการทําร้ายนั้นมีระดับรุ นแรงมาก
ความรุนแรงทีเ่ กิดขึน้ กับภรรยา
แม้ความรุ นแรงในครอบครัวจะสามารถเกิดได้กบั ทั้งเพศชายหรื อสามี และเพศหญิง
หรื อภรรยา แต่ ส่ ว นใหญ่ แ ล้ว พบว่ า ความรุ น แรงมัก เกิ ด ภรรยามากกว่าสามี ซึ่ ง อาจเป็ นเพราะ
สังคมไทยให้อาํ นาจกับเพศชายมากกว่า ดังที่เห็นได้ต้ งั แต่อดีตที่ผา่ นมาซึ่งมีการใช้กฎหมายตราสาม
ดวงที่ให้สิทธิ สามีสามารถลงโทษภรรยาของตนได้ และแม้จะมีการยกเลิกกฎหมายดังกล่าวแล้วแต่
สังคมก็ยงั คงให้ผชู ้ ายเป็ นใหญ่และมีอาํ นาจบทบาทเหนือกว่าเพศหญิง จึงไม่น่าแปลกใจที่ยงั คมเห็น
ภาพความรุ นในครอบครัวซึ่งภรรยาถูกกระทําโดยสามี
พัฒนาการของการกระทํารุนแรงต่ อภรรยา
การกระทํารุ นแรงต่อภรรยานั้นไม่ได้เริ่ มต้นและสิ้ นสุ ดในทันที แต่จะทวีความรุ นแรง
มากขึ้น สําหรั บการกระทํารุ นแรงต่อภรรยานั้นแบ่งออกตามระดับขั้นการกระทําได้ 3 ขั้นตอน
(Pagelow, 1981, อ้างถึงในโชติมา กาญจนกุล, 2542: 558)
ขั้นแรก คือ พัฒนาการ (Development) มักเกิ ดขึ้ นจากประสบการณ์ ที่เคยอยู่ใน
ครอบครั ว แบบบิ ด าเป็ นใหญ่ โดยภู มิ ห ลัง ของบุ คคลจะเป็ นจุ ด ที่ พ ฒ ั นาไปสู ก ารยอมับหรื อไม่
ยอมรับการกระทํารุ นแรง
ขั้นที่สอง เป็ นการเริ่ มกระทํารุ นแรงครั้งแรก (Primary Battering) กล่าวคือ เมื่อสามี
กระทํารุ นแรงต่อภรรยาครั้งแรก ภรรยามักไม่เปิ ดเผยพฤติกรรมการทําร้ายนี้ ต่อบุคคลที่สาม เพราะ
ต้องการให้ชีวิตสมรสยืนยาวและยังคงยึดในประเพณี เดิมเกี่ยวกับความเชื่อในเรื่ องชีวิตคู่
41

ขั้นที่สมา เป็ นการกระทํารุ นแรงครั้งที่สอง (Secondary Battering) จัดเป็ นขึ้นที่การ


กระทํารุ นแรงหรื อการทําร้ายร่ างกายจะดําเนิ นต่อไปซํ้าแล้วซํ้าอีก กลายเป็ นวงจรของการกระทํา
รุ นแรงหรื อการทําร้ายร่ างกายจะดําเนิ นต่อไปก็จะเพิ่มความถี่และระดับของความรุ นแรงมากขึ้น
อย่างเห็นได้ชดั ทําให้ภรรยาเกิดความรู ้สึกวิตกกังวลต่อสถานการณ์รอบตัว รับรู ้คุณค่าของตนเอง
ตํ่าลง เมื่อการรับรู ้ คุณค่าภายในของตนลดลงมากก็จะเกิ ดความยากลําบากต่อการปฏิสัมพันธ์กบั
ผูอ้ ื่น ทั้งสมาชิ กในครอบครั วและสังคมภายนอก ซึ่ งอาจกลายเป็ นปั ญหาสังคมตามมา (กนกพร
บุญญาพิพรรธน์, 2549: 11-13,16-17)

5. งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


ในการศึ ก ษาวิ จ ัย ครั้ งนี้ ผูว้ ิ จ ัย ได้ค น้ คว้า เอกสารงานวิ จ ัย ที่ เ กี่ ย วข้อ งเพื่ อ นํา มาเป็ น
ตัวอย่างประกอบการวิจยั ดังต่อไปนี้
ศาสตราจารย์ ดร.ศิ ริ พร จิ ร วัฒ น์ กุ ล หั ว หน้ า โครงการวิ จ ั ย ผู ้อ ํา นวยการศู น ย์
ประสานงานองค์ก ารอนามัย โลกด้า นการวิ จ ัย และฝึ กอบรมด้า นเพศภาวะและสุ ข ภาพสตรี
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2553) ศึกษาเรื่ อง “การสํารวจข้อมูลการละเมิดสิ ทธิ สตรี ในประเทศไทย”
เป็ นผลลัพธ์ของการปฏิบตั ิงานร่ วมกันระหว่าง ศูนย์วิจยั และฝึ กอบรมด้านเพศภาวะและสุ ขภาพสตรี
มหาวิ ท ยาลัย ขอนแก่ น ซึ่ งเป็ นคณะนัก วิ จ ัย กับ สํา นัก งานกิ จ การสตรี แ ละสถาบัน ครอบครั ว
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ ซึ่ งเป็ นผูส้ นับสนุนงบประมาณและนําผลการวิจยั
ไปใช้ประโยชน์ งานวิจยั เรื่ องนี้ เป็ นการสํารวจเกี่ยวกับการละเมิดสิ ทธิ สตรี ในระดับประเทศเป็ น
เรื่ องแรก
ผลการวิจยั ได้แสดงให้เห็ นว่าผูห้ ญิงไทยจํานวนมากยังถูกละเมิดสิ ทธิ ต่างๆ ด้วยเหตุ
แห่ ง ความเป็ นผูห้ ญิ ง มี ส ถานการณ์ ก ารเลื อ กปฏิ บ ัติ ป รากฏชัด เจน ผลการวิ จ ัย นี้ สามารถใช้
สนับสนุ นการกําหนดนโยบายเพื่อเป้ าหมายการพัฒนาแห่ งสหัสวรรษของประเทศไทย โดยทําให้
การปฏิบตั ิงาน เชิงนโยบายมีกลุ่มเป้ าหมาย และประเด็นที่ชดั เจนยิง่ ขึ้น
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิ ดล (2549) โครงการศึกษา เรื่ องสิ ทธิ
เสรี ภาพขั้นพื้นฐานตามกรอบรั ฐธรรมนู ญในบริ บทของสังคมไทยและมาตรฐานสากลระหว่าง
ประเทศด้านสิ ทธิ มนุ ษยชน มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมกรอบแนวคิดเกี่ยวกับ
สิ ท ธิ แ ละเสรี ภาพขั้น พื้ น ฐานตามบทบัญ ญัติ ข องรั ฐ ธรรมนู ญ ในบริ บทสั ง คมไทยและตาม
มาตรฐานสากลระหว่างประเทศด้านสิ ทธิ มนุ ษยชน และศึกษาวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความเหมือน
หรื อแตกต่ างกันระหว่างสิ ทธิ และเสรี ภาพขั้นพื้นฐานตามบทบัญญัติของรั ฐธรรมนู ญในบริ บท
42

สังคมไทยและตามมาตรฐานสากลระหว่างประเทศด้านสิ ทธิมนุษยชนที่จะสามารถนํามาปรับใช้กบั
การปฏิบตั ิงานในการส่ งเสริ มและพัฒนาด้านสิ ทธิมนุษยชนในโอกาสต่อไป
คณะผูว้ ิจ ัยดําเนิ น การศึ กษาวิจยั โดยการวิจยั เอกสาร โดยการอธิ บายและวิเคราะห์
เนื้ อหาของสิ ท ธิ เ สรี ภ าพขั้น พื้ น ฐานตามบทบัญญัติข องรั ฐธรรมนู ญ และเนื้ อหากติ ก าระหว่า ง
ประเทศว่าด้วยสิ ทธิ พลเมืองและสิ ทธิ ทางการเมือง กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิ ทธิ ทางเศรษฐกิจ
สังคม และวัฒนธรรม อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ิต่อสตรี ทุกรู ปแบบอนุสัญญาว่าด้วย
สิ ทธิ เด็ก อนุ สัญญาระหว่า งประเทศว่าด้ว ยการขจัด การเลื อกปฏิ บตั ิ ทางเชื้ อชาติ ในทุ ก รู ปแบบ
รวมทั้ง การวิ เ คราะห์ เ นื้ อ หาเปรี ย บเที ย บระหว่ า งสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพขั้น พื้ น ตามบทบัญ ญัติ ข อง
รั ฐธรรมนู ญ และสิ ทธิ เสรี ภ าพตามกติ ก าหรื ออนุ สัญญาระหว่างประเทศว่า ด้ว ยสิ ทธิ มนุ ษ ยชน
ดังกล่าวจากการศึกษาวิจยั พบว่า กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิ ทธิ ของพลเมืองและสิ ทธิ ทางการ
เมือง ได้กาํ หนดหลักการพื้นฐานเกี่ ยวกับสิ ทธิ มนุ ษยชน คือสิ ทธิ ในการกําหนดเจตจํานงตนเอง
หลักการห้ามการเลือกปฏิบตั ิหลักการความเสมอภาคตามกฎหมาย หลักความเสมอ
ภาคระหว่างบุรุษและสตรี หลักการ การรอนสิ ทธิ ในภาวะพิเศษหรื อเหตุฉุกเฉิ น และได้รับรองต่างๆ
ที่ เกี่ ย วข้องความเป็ นพลเมื องและการเมื อง คื อสิ ทธิ ที่จะมี ชีวิต สิ ทธิ ที่จ ะไม่ ถูก ทรมานสิ ทธิ ใ น
เสรี ภาพและความปลอดภัยของบุคคล สิ ทธิ ที่จะได้รับการพิจารณาคดีที่เป็ นธรรม เสรี ภาพในการ
เดินทางและการเลือกถิ่นที่อยู่ สิ ทธิ ที่จะได้รับการยอมรับว่าเป็ นบุคคลตามกฎหมาย สิ ทธิ ในความ
เป็ นส่ วนตัว สิ ทธิ ในเสรี ภาพทางความคิด มโนธรรม และศาสนา สิ ทธิ ในเสรี ภาพในความคิดเห็น
และการแสดงออก สิ ทธิ ในการชุมนุ มโดยสงบ สิ ทธิ ในเสรี ภาพในการรวมกันเป็ นสมาคม สิ ทธิ ใน
การมีส่วนร่ วมในการบริ หารรัฐกิ จ ในการที่จะออกเสี ยง หรื อได้รับการเลือกตั้ง และในการที่จะ
เข้าถึงการบริ การสาธารณะ การคุม้ ครองครอบครัว การคุม้ ครองเด็กและเยาวชน สิ ทธิ ชนกลุ่มน้อย
และการคุม้ ครองคนต่างด้าว
โครงการศึกษาสิ ทธิเสรี ภาพขั้นพื้นฐานตามกรอบรัฐธรรมนูญในบริ บทของสังคมไทย
และมาตรฐานสากลระหว่างประเทศด้านสิ ทธิ มนุ ษยชน ของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยว่าด้วย
สิ ทธิ ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมมีการกําหนดหลักการที่สาํ คัญ คือภาระหน้าที่หลักขั้นตํ่า
รั ฐ จะต้อ งดํา เนิ น การให้บุ ค คลสามารถได้รั บ สิ ทธิ ข้ นั พื้ น ฐานในการดํา รงชี วิ ต คื อ อาหาร การ
รักษาพยาบาล ที่อยู่อาศัย และการศึกษา การทําให้สิทธิ เป็ นจริ งอย่างก้าวหน้า หมายถึง รัฐต้องให้
การประกันสิ ทธิ เป็ นจริ งได้สอดคล้องกับสภาพของประเทศของตน และต้องดําเนิ นการให้บรรลุ
วัตถุประสงค์น้ ันอย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้ การใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรที่มีอยูใ่ ห้มากที่สุด รัฐมีภาระหน้าที่ดาํ เนินการทุกวิถีทางในใช้ทรัพยากรที่มีอยูน่ อ้ ยนั้นให้
43

มากที่สุด ในการทําหน้าที่ เพื่อให้บรรลุ “ภาระหน้าที่หลักขั้นตํ่า” หรื อให้ปัจเจกบุคคลสามารถมี


ปัจจัยพื้นฐานในการยังชีพ
สํานักงานกิจการสตรี และสถาบันครอบครัวกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คง
ของมนุษย์� (2548) ความรุ นแรงต่อเด็กและสตรี เป็ นปั ญหาสําคัญของสังคมที่ตอ้ งเร่ งดําเนินการ
ทั้งด้านการป้ องกันแก้ไข และช่ วยเหลือผูป้ ระสบปั ญหาอย่างจริ งจัง โดยหน่ วยงานราชการและ
องค์กรเอกชน รวมทั้งต้องอาศัยความเข้าใจและร่ วมมือของคนในสังคม เนื่ องจากเป็ นปั ญหาที่มี
ความละเอียดอ่อน มีรากเหงาของปัญหามาจากค่านิยม เจตคติของสังคมที่กาํ หนดความไม่เท่าเทียม
กันระหว่างหญิงชายนอกจากนี้ ในระดับสากลปั ญหาความรุ นแรงต่อเด็กและสตรี ได้รับการยอมรับ
ว่าเป็ นปั ญหาที่เกิ ดขึ้นในทุกสังคมและเป็ นประเด็นที่ต� ้ องการความร่ วมมือจากทุกฝ่ ายในการ
แก้ไข ดังปรากฏในกติการะหว่างประเทศของสหประชาชาติหลายฉบับ ได�แก� ปฏิญญาว่าด้วย
การขจัด ความรุ น แรงต่ อ สตรี อ นุ สัญ ญาว่ า ด้ว ยการขจัด การเลื อ กปฏิ บ ัติ ต่ อ สตรี ใ นทุ ก รู ป แบบ
อนุ สัญญาว่าด้วยสิ ทธิ เด็ก รวมทั้ง ปฏิญญาปั กกิ่ง และแผนปฏิบตั ิการเพื่อความก้าวหน้าของสตรี
นโยบายและแผนขจัดความรุ นแรงต่อเด็กและสตรี เกิ ดขึ้นจากการทํางานร่ วมกันของหน่ วยงาน
ภาครัฐองค์กรเอกชน และนักวิชาการผูท้ รงคุณวุฒิสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในขณะนั้นหน่วยงานเจ�
าภาพหลักในการจัดทําร่ างคือ สํานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มและประสานงานสตรี แห่ งชาติ
สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี ได�มีมติให้ความเห็นชอบนโยบายและแผน
ขจัดความรุ นแรงต่อเด็กและสตรี ฉบับนี้ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2543 กําหนดให้เป็ นนโยบายแผน
แห่ งชาติ โดยใช้เป็ นแนวทางการดําเนิ นงานและประสานงานของหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ
และภาคเอกชนในการป้ องกันและแก�ไขปั ญหาความรุ นแรงต่ อเด็กและสตรี อนึ่ ง เนื่ องจาก
ข้อมูลเกี่ยวกับปั ญหาความรุ นแรงต่อเด็กและสตรี ในนโยบายและแผนขจัดความรุ นแรงต่อเด็กและ
สตรี ฉบับที่ คณะรั ฐมนตรี เห็ นชอบเป็ นข้อมูลปี 2541 ดังนั้น สํานักงาน กิ จการสตรี และสถาบัน
ครอบครัว จึงได�เพิ่มข้อมูลปี � 2547 ซึ่ งเป็ นข้อมูลล่าสุ ดในภาคผนวกไวด้วยสํานักงานกิจการ
สตรี และสถาบันครอบครัวหวังว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์ต่อหน่วยงานองค์กรและผูท้ ี่สนใจ
ปั ญหาความรุ นแรงต่อเด็กและสตรี ท้ งั นี้ ความร่ วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ ดําเนิ นงานอย่างเป็ น
เครื อข่ายสหวิชาชี พ เป็ นกระบวนการที่จาํ เป็ นต่อการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา ซึ่ งนโยบายและ
แผนขจัดความรุ นแรงต่อเด็กและสตรี น่าจะเป็ นเครื่ องมือเพื่อให้การดําเนินงาน ดังกล่าวรวมทั้งการ
ติ ด ตาม ผลการดํา เนิ น งานเพื่ อ ยุติ ค วามรุ น แรงต่ อ เด็ ก และสตรี ใ นประเทศไทยเป็ นไปอย่า งมี
ประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น
วารี เจริ ญกุลไชย (2537) ศึกษาการมีส่วนร่ วมของสตรี ระดับผูบ้ ริ หารในการประกอบ
ธุรกิจขนาดย่อมในกรุ งเทพมหานคร การศึกษาครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการมีส่วน
44

ร่ วมของผูบ้ ริ หารกิจการธุ รกิ จขนาดย่อม โดยเปรี ยบเทียบการมีส่วนร่ วมในการประกอบธุ รกิจ


ระหว่างผูบ้ ริ หารกิจการที่เป็ นเพศชายและผูบ้ ริ หารกิจการที่เป็ นเพศหญิง รวมทั้งศึกษาปั จจัยที่คาด
ว่า จะมีผลต่อการมีส่วนร่ วมในการประกอบธุรกิจขนาดย่อมของผูบ้ ริ หารกิจการทั้งชายและหญิง
ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา การได้รับการยอมรับว่าเป็ นส่ วนหนึ่ งของสถานประกอบการ การได้รับ
การยกย่องจากการทางานในสถานประกอบการนั้น การได้รับการพัฒนาศักยภาพการทางานใน
สถานประกอบการนั้น และระยะเวลาปฏิบตั ิงานในสถานประกอบการนั้น
พิมลพรรณ วยาจุต (2536) ศึกษาสถานภาพและบทบาทของสตรี ไทย : การ
เปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ภายในครอบครัว การวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์ (1) เพื่อ
ศึกษาเปรี ยบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างสามีและภรรยาในครอบครัวซึ่ งภรรยามิได้ออกไปทางาน
นอกบ้านกับครอบครัวซึ่งภรรยาออกไปทางานนอกบ้าน (2) เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงในวิธีการ
อบรมเลี้ยงดูบุตรของครอบครัวซึ่ งภรรยาออกไปทางานนอกบ้าน (3) เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยน
บทบาทและหน้าที่ของสามีซ่ ึงภรรยาออกไปทางานนอกบ้าน (4) เพื่อศึกษาปั ญหาในการดารงชีวิต
ของครอบครัวซึ่ งสามีและภรรยาต่างออกไปทางานนอกบ้านกับครอบครัวซึ่ งภรรยามิได้ออกไปทา
งานนอกบ้าน วิธีการศึกษาในเรื่ องนี้ใช้การสัมภาษณ์แบบไม่เป็ นทางการโดยเน้นการสัมภาษณ์แบบ
เจาะลึกและสังเกตการณ์ โดยมีกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มหลัก คือ กลุ่มที่สตรี
ออกไปทางานนอกบ้าน 6 ครอบครัว และกลุ่มที่สตรี ไม่ออกไปทางานนอกบ้านอีก 6 ครอบครัว
รวมกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาทั้งหมด 12 ครอบครัว ผลการศึกษาพบว่า
1. ความสัมพันธ์ระหว่างสามีและภรรยาในครอบครัวซึ่งภรรยามิได้ออกไปทางานนอก
บ้าน มีความแตกต่างจากความสัมพันธ์ระหว่างสามีและภรรยาของครอบครัว ซึ่งสามีและภรรยาต่าง
ออกไปทางานนอกบ้าน ในเรื่ องบทบาทการหาเลี้ยงครอบครัวและอานาจในการตัดสิ นใจภายใน
บ้าน ครอบครัวซึ่งภรรยามิได้ออกไปทางานนอกบ้าน ความสัมพันธ์ระหว่างสามีและภรรยาออกมา
ในรู ปความไม่เสมอภาคในการตัดสิ นใจภายในครอบครัว ส่ วนครอบครัวซึ่ งสามีและภรรยาออกไป
ทางานนอกบ้าน ความสัมพันธ์ระหว่างสามีและภรรยาออกมาในรู ปเสมอภาคในการตัดสิ นใจใน
ครอบครัว
2. การเปลี่ยนแปลงในวิธีการอบรมเลี้ยงดูบุตร ครอบครัวซึ่ งมารดาออกไปทางานนอก
บ้านมีวิธีการในการเลี้ยงดูบุตรแตกต่างกับครอบครัวซึ่ งมารดามิได้ออกไปทางานนอกบ้าน พบว่า
มารดาที่ออกไปทางานนอกบ้านมีความใกล้ชิดและมีเวลาให้กบั บุตรน้อยลง
3. สามีของภรรยาซึ่งออกไปทางานนอกบ้าน มีการปรับเปลี่ยนบทบาทในด้านความคิด
และพฤติกรรมในการยอมรับบทบาทหาเลี้ยงครอบครัวร่ วมกัน ยอมรับการตัดสิ นใจของภรรยา
ภายในครอบครัวมากขึ้น สามีของภรรยาที่ออกไปทางานนอกบ้านมีบทบาทในการดูแลบุตรมากขึ้น
45

4. ปั ญหาในการดาเนิ นชี วิตของครอบครั วซึ่ งภรรยามิได้ออกไปทางานนอกบ้าน


แตกต่างจากครอบครัวซึ่ งสามีและภรรยาออกไปทางานนอกบ้าน คือ ครอบครัวที่ภรรยามิได้
ออกไปทางานนอกบ้าน มีปัญหาในเรื่ อง (1) เศรษฐกิจของครอบครัว (2) ภรรยาเอาใจใส่ ต่อบุตร
และสามีมากเกินไป ส่ วนครอบครัวซึ่งสามีภรรยาออกไปทางานนอกบ้านประสบปั ญหาในเรื่ อง (1)
การให้เวลาระหว่างสามีภรรยาและการให้เวลาแก่บุตร (2) การแบกรับภาระของภรรยาที่มีต่องาน
ภายในบ้านและงานภายนอกบ้าน มีขอ้ เสนอแนะในการแก้ปัญหา ดังนี้
1. ครอบครัวซึ่ งภรรยามิได้ออกไปทางานนอกบ้าน 1.1 ส่ งเสริ มให้ภรรยาซึ่ งมิได้
ออกไปทางานนอกบ้านหารายได้พิเศษ 1.2 ส่ งเสริ มให้ภรรยาใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์หรื อให้
ความสนใจในรอบตัวมากขึ้น เพื่อแก้ปัญหาความเอาใจใส่ ที่มีต่อสามีและบุตรมากเกินไป
2. ครอบครัวซึ่งสามีและภรรยาออกไปทางานนอกบ้าน 2.1 ส่ งเสริ มให้สามี ภรรยา
และบุตร มีกิจกรรมร่ วมกันภายในครอบครัวเป็ นการเพิ่มโอกาสในการพูดคุยปรึ กษากัน เพื่อลด
ปั ญหาความขัดแย้งและความเหิ นห่ างภายในครอบครัว 2.2 ส่ งเสริ มให้มีการเปลี่ยนแปลงค่านิ ยม
ภายในครอบครัว โดยเริ่ มตั้งแต่เด็กว่าหน้าที่และภาระรับผิดชอบภายในบ้านเป็ นเรื่ องของผูห้ ญิง
และผูช้ ายที่จะทาร่ วมกัน
กนกวรรณ ไม้สนธิ์ (2544) ศึกษาการต่อรองอํานาจของผูห้ ญิงจากการนาเสนอเรื อน
ร่ างผ่านสื่ อนิตยสารไทย การวิจยั นี้ มีวตั ถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะของภาพตัวแทน จากแนวคิด
การสร้ างและตีความหมายภาพตัวแทนเรื อนร่ างของผูห้ ญิง ปั จจัยเรื่ องของการต่อรองอํานาจ
ระหว่างผูห้ ญิงกับสื่ อนิ ตยสารตามแนวคิดการเมืองเรื่ องของการต่อรอง จากการนาเสนอเรื อนร่ าง
ผ่านสื่ อนิ ตยสารไทย โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ศึกษาจากเอกสารภาพจากสื่ อ
นิ ตยสารไทย เอกสารสิ่ งพิมพ์อื่น และการสัมภาษณ์เชิงลึก นางแบบ บรรณาธิ การนิ ตยสารหลัก นัก
สื่ อสารมวลชนอื่น ๆ และนักวิชาการด้านสื่ อสารมวลชนและสตรี นิยม ผลการวิจยั พบว่า
1. ลักษณะของภาพตัวแทนของเรื อนร่ างผูห้ ญิงในนิ ตยสาร ที่ผา่ นกระบวนการใส่ รหัส
และต่อรองด้วยตัวผูห้ ญิงเอง สอดคล้องกับแนวคิดการต่อรองเพื่อกําหนดภาพตัวแทน คือ Reverse
the Stereotype (การกลับทิศทางเสี ยใหม่), Substitute positive image into negative image (การนํา
ภาพบวกไปใส่ แทนภาพลบ), Live with stereotypes but change meaning (การอยูก่ บั ภาพตัวแทน
นั้น แต่เปลี่ยนความหมายใหม่ โดย stereotype ยังคงอยู)่
2. ลักษณะของการต่อรองเพื่อให้ได้ภาพตัวแทนผ่านการนําเสนอเรื อนร่ างตามที่ผหู ้ ญิง
ต้องการประกอบด้วย การต่อรองกับเจ้าของทุน (ทุนนิ ยม), การต่อรองในกระบวนการผลิต
(ช่างภาพและสไตลิส), การต่อรองกับสังคม
46

3. พบลักษณะการท้าทายแนวคิดสังคมแบบปิ ตาธิ ปไตยที่ปรากฏในสื่ อนิ ตยสาร จาก


การที่ผหู ้ ญิงเป็ นฝ่ ายกําหนดภาพตัวแทนของเรื อนร่ างขึ้นเอง คือ นางแบบอยูใ่ นฐานะผูก้ ระทําให้มี
ภาพสวยงามจากการแสดงท่าทางของตนเอง โดยเลนส์ของกล้องเป็ นเพียงเครื่ องมือส่ งผ่านภาพนั้น
ๆ นางแบบสร้างความหมายของภาพเปลือยตามแนวคิดของตนเอง อย่างไรก็ตาม การต่อรองยังอยู่
ภายใต้กรอบจํากัดของทุนนิ ยมและปิ ตาธิ ปไตย ในลักษณะที่นางแบบไม่มีโอกาสเลือกที่จะไม่ถ่าย
หรื อไม่มีนางแบบคนใดกล่าวตําหนิผรู ้ ับสารที่บริ โภคภาพดังกล่าว
ทรงพร ศรี ช่วย (2544) ศึกษาบทบาททางวารสารศาสตร์ ในเรื่ องสตรี ของ คุณนิ ลวรรณ
ปิ่ นทอง มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาททางวารสารศาสตร์ และแนวคิดเรื่ องสตรี 54 ของคุณ
นิ ลวรรณ ปิ่ นทอง โดยมุ่งศึกษาประวัติชีวิตและการทางานด้านวารสารศาสตร์ รวมทั้งบทบาทใน
ฐานะนักหนังสื อพิมพ์สตรี ประเด็นเรื่ องสตรี ที่ศึกษาแบ่งเป็ น 2 ประเด็น คือ สตรี กบั การเมือง และ
สตรี กบั สังคม วิธีการศึกษาเป็ นการวิเคราะห์เนื้อหาและสัมภาษณ์ผถู ้ ูกวิจยั โดยพิจารณาจากบทบาท
การเป็ นบรรณาธิการที่สะท้อนแนวความคิดในการนําเสนอเนื้อหาเรื่ องสตรี ประชากรที่ศึกษาได้แก่
ข้อเขียนของคุณนิลวรรณในนิตยสารสตรี สาร ข้อเขียนของผูเ้ ขียนอื่นๆ ที่คุณนิ ลวรรณเป็ นผูค้ ดั สรร
ในฐานะบรรณาธิการและข้อเขียนในวารสารสิ่ งพิมพ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า
1. คุณนิลวรรณมีแนวคิดสตรี นิยมที่ค่อนไปทางเสรี นิยม (Liberal Feminism) กล่าวคือ
สนับสนุ นให้สตรี ได้รับโอกาสที่เท่าเทียมในการมีส่วนร่ วมทางการเมือง การศึกษา และการ
ประกอบอาชีพ โดยไม่รังเกียจงานบ้านซึ่งเป็ นความคาดหวังเดิมของสังคมไทย ในขณะเดียวกันก็ไม่
ท้าทายอํานาจของผูช้ ายด้วยการเรี ยกร้องสิ ทธิ แต่กระตุน้ ให้สตรี ศึกษาเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนาตนเอง
2. ความสําเร็ จของการทําหน้าที่บรรณาธิ การนิ ตยสารสตรี ของคุณนิ ลวรรณ ได้รับแรง
เสริ มจากสถานภาพทางสังคม ซึ่งเธอมีบทบาทอย่างสําคัญอยูใ่ นองค์กรสตรี และสถาบันทางวิชาการ
ด้านภาษาและหนังสื อของชาติ
3. คุณนิลวรรณมีคุณสมบัติพิเศษที่แตกต่างจากนักหนังสื อพิมพ์สตรี ทวั่ ไป ในข้อที่มี
ความเชี่ยวชาญทางภาษาต่างประเทศเป็ นอย่างดี เป็ นนักกิจกรรมในแวดวงสตรี พร้อมกับการทํา
หน้าที่นกั หนังสื อพิมพ์เพื่อสตรี นอกจากนี้ยงั มีคุณสมบัติในการเป็ นนักภาษาและนักวรรณกรรม ทํา
ให้เธอสามารถแสดงวาทกรรมเกี่ยวกับสตรี ได้อย่างน่าสนใจ
รุ่ งทิวา มณฑา (2545) ศึกษาแนวคิดและการจัดการปั ญหาสตรี ผปู ้ ระกอบการอาชีพ
ค้าประเวณี : ศึกษาเฉพาะกรณี มูลนิ ธิส่งเสริ มโอกาสผูห้ ญิงและกรมประชาสงเคราะห์ ผลการศึกษา
พบว่า ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสตรี ผปู ้ ระกอบอาชีพค้าประเวณี มีอยู่ 3 แนวคิดคือ 1. การยอมรับ 2.
การปราม และ 3. การป้ องกันและปราบปราม
47

มูลนิ ธิส่งเสริ มโอกาสผูห้ ญิง ซึ่ งเป็ นองค์กรพัฒนาเอกชน มีแนวสิ ทธิ มนุษยชนเป็ น
แนวทาง จึงยอมรับการประกอบอาชีพค้าประเวณี ก็เป็ นอีกอาชีพหนึ่ งที่สามารถปฏิบตั ิได้ โดย
มูลนิ ธิฯ จะเป็ นผูส้ นับสนุ นให้สตรี เหล่านั้นได้มีการพัฒนาต่างๆ ของตนเองให้สูงขึ้น โดยใช้
การศึกษาเป็ นเครื่ องมือ รวมทั้งให้สิทธิในการรับรู ้ข่าวสารปัจจุบนั เพื่อให้สตรี กลุ่มนี้มีความรู ้เท่าทัน
ต่อโลก แต่ละคนก็เลิกประกอบอาชีพค้าประเวณี หนั ไปประกอบอาชีพอื่นๆ ด้วยความสมัครใจ ซึ่ ง
มูลนิธิฯ เชื่อมัน่ ว่าเป็ นการแก้ปัญหาการค้าประเวณี อย่างยัง่ ยืน
กรมประชาสงเคราะห์ ซึ่ งเป็ นหน่วยงานของภาครัฐมีแนวคิดต่อการค้าประเวณี ท้ งั 3
แนวคิด โดยสามารถศึกษาได้จากกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าประเวณี เดิมว่า เดิมมีการยอมรับ
การค้าประเวณี เป็ นสิ่ งที่ถูกต้องตามกฎหมายโดยต้องมีการจดทะเบียน ต่อมาก็มีแนวคิดในการปราม
เพื่อไม่ให้มีการค้าประเวณี อย่างเปิ ดเผย ในกฎหมายฉบับปั จจุบนั คือ พระราชบัญญัติป้องกันและ
ปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. 2539 ก็มีแนวคิด ทั้งป้ องกัน และปราบปรามการค้าประเวณี
กล่าวคือ มีแนวคิดทางเพื่อป้ องกันไม่ให้สตรี เข้ามาประกอบอาชีพโสเภณี ด้วยการให้การศึกษา
ตั้งแต่ยงั เป็ นเยาวสตรี รวมทั้งมีการปราบปรามผูค้ า้ ประเวณี และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องอย่างจริ งจัง ด้วย
การมีบทบาทกําหนดโทษเป็ นครั้งแรก
กรมประชาสงเคราะห์ เชื่อว่าการบังคับใช้กฎหมายจะสามารถแก้ไขปั ญหานี้ ได้ซ่ ึงมีท้ งั
กระบวนการยุติธรรมและกระบวนการสงเคราะห์ ซึ่ งจะเกิดขึ้นในสถานคุม้ ครองและพัฒนาอาชีพ
ทั้ง 4 แห่ งในสังคมของกรมประชาสงเคราะห์ โดยในวิธีการให้การสงเคราะห์น้ นั สตรี ผรู ้ ับการ
สงเคราะห์จะต้องปฏิบตั ิตามกฎหมายระเบียบต่างๆ ที่วางไว้ซ่ ึ งครอบคลุมทั้งในการดําเนินชีวิตประ
จาวันและการพัฒนาศักยภาพของสตรี ผนู ้ ้ นั เพื่อไม่ให้หวนกลับมาค้าประเวณี อีก
ฉัตรสุ มาลย์ กบิลสิ งห์ (2525) ได้กล่าวถึงบทบาทของสตรี ไทยสมัยรัตนโกสิ นทร์ ที่ได้รับอิทธิ พล
จากศาสนาว่า เนื่องจากในสมัยอยุธยาเราได้รับเอาศาสนาพราหมณ์เข้ามามีบทบาทในสังคมไทย คือ
บทบาทของสตรี ถูกจากัดเฉพาะในครัวเรื อน สตรี ไม่ได้รับการสนับสนุนให้มีการศึกษา สตรี ไทยใน
สมัยนั้นจึ งมี โลกทัศน์ที่แคบ เมื่ อสังคมไทยเป็ นอิสระจากการครอบงาด้วยอิทธิ พลพราหมณ์
พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาที่ให้อิสรเสรี ภาพแก่สตรี สตรี ได้รับการศึกษา และได้พฒั นาโลกทัศน์
มากขึ้น
เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ (2527) ศึกษาสถานภาพของสตรี ในวรรณคดีว่าผูห้ ญิงไทยได้
ถูกเอาเปรี ยบมาตลอด เป็ นฝ่ ายยอมและเป็ นฝ่ ายรับในทุก ๆ เรื่ อง ต้องเปลี่ยนแปลงค่านิยม
สุ ชาดา ทวีสิทธิ์ (2554) ศึกษาถึงเรื่ อง ภาวะสมรสและทัศนคติต่อการสมรสของสตรี
ไทยในสังคมยุคใหม่ การวิจยั ครั้งนี้ สุ่มตัวอย่างจากผูห้ ญิงใน 3 กลุ่มอาชีพ ประกอบด้วย ข้าราชการ
9

พนักงานรัฐวิสาหกิ จ และผูห้ ญิงที่ทาํ งานในหน่ วยงานเอกชน (รวมบริ ษทั และโรงงาน) ใน 12


48

จังหวัด ของทุ ก ภาค รวมทั้ง เขตปริ มณฑล และกรุ งเทพมหานคร การเก็บข้อมูลใช้วิธีแ จก


แบบสอบถามให้กรอกด้วยตัวเอง ตัวอย่างในการศึกษาได้แก่ ผูห้ ญิงจํานวน 4,305 ราย อายุระหว่าง
20-60 ปี ทั้งโสด สมรส หม้าย แยก/หย่า และสมรสใหม่ ข้อค้นพบที่สาํ คัญในโครงการวิจยั นี้ ทําให้
ทราบถึงสถานการณ์ล่าสุ ดเกี่ยวกับทัศนะต่อการสมรสของผูห้ ญิงไทย ซึ่งน่าสนใจในหลายประเด็น
9 1. ทัศนะต่อการเป็ นโสดและการสมรสของผูห้ ญิ ง 9

ผูต้ อบร้อยละ 72.5 มีทศั นะว่า การที่ผหู ้ ญิงอยูเ่ ป็ นโสดมากขึ้นในปั จจุบนั จะไม่เป็ น
ปั ญหาในอนาคตในขณะที่ร้อยละ 10.1 คิดว่าจะเป็ นภาระกับครอบครัว/ญาติตอ้ งดูแล และร้อยละ
9.3 เห็นว่า ผูห้ ญิงโสดจะไม่มีความมัน่ คงในชีวิต ผูต้ อบมากกว่าครึ่ งเพียงเล็กน้อยเห็นว่า การจด
ทะเบียนสมรสมีความสําคัญเพราะมีผลผูกพันทางกฎหมาย ร้อยละ 17.2 ที่เห็นความสําคัญของการ
จดทะเบียนสมรส ให้เหตุผลสนับสนุ นว่า การจดทะเบียนสมรสเป็ นสัญลักษณ์สาํ คัญของการใช้
ชีวิตคู่ ส่ วนประเด็นเรื่ องทัศนะต่อการแต่งงานใหม่ของผูห้ ญิงที่หย่าร้างมาก่อน ผูต้ อบร้อยละ 33.3
คิดว่า ผูห้ ญิงที่ผา่ นการหย่าร้างมาแล้ว แต่งงานใหม่ได้แต่ร้อยละ 4.8 บอกว่า ไม่ควรแต่งงานใหม่
ข้อมูลน่าสนใจตรงที่วา่ มีผตู ้ อบที่บอกว่า ไม่มีความเห็นเรื่ องนี้สูงถึงร้อยละ 61.4
9 2. การใช้นามสกุล และการใช้คาํ นําหน้าตน
แม้ว่ากฎหมายไทยปั จจุบนั อนุ ญาตให้หญิงสมรสแล้ว สามารถเลือกใช้นามสกุล
เดิมของตัวเองได้ แต่ผลการวิจยั นี้ ยืนยันว่า สัดส่ วนของผูต้ อบสู งถึงร้อยละ 50.2 มีความเห็นว่า
ผูห้ ญิงควรใช้นามสกุลของสามี ในขณะที่ร้อยละ 23.6 ตอบว่า ควรใช้นามสกุลเดิมของตัวเอง และ
ร้อยละ 25.7 ตอบว่า ไม่แน่ ใจ ความเห็นเรื่ องการเลือกใช้คาํ นําหน้าชื่อตัวหลังสมรสของผูห้ ญิงก็
เช่นกัน ผูต้ อบเกินครึ่ ง คือร้อยละ 58.8 มีความเห็นว่า ผูห้ ญิงที่แต่งงานแล้วควรใช้คาํ นําหน้าตนว่า
“นาง” แม้วา่ กฎหมายอนุญาตให้เลือกใช้คาํ นําหน้าตนว่า “นางสาว” แล้วก็ตาม
9 3. เพศสัมพันธ์ก่อนสมรส และการอยูฉ่ นั ท์สามีภรรยาโดยไม่สมรส
ผูท้ ี่ตอบว่าเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยมีสดั ส่ วนเท่ากัน คือ ร้อยละ 40 ส่ วนประเด็นการ
ยอมรับการอยู่กินกันฉันท์สามีภรรยา โดยไม่คิดทําการสมรส มีสัดส่ วนของผูต้ อบที่ยอมรับ
พฤติกรรมนี้ สู งกว่าที่ไม่ยอมรับ ในจํานวนของคนที่ตอบว่ายอมรับได้ ร้อยละ 44.6 ให้เหตุผลว่า
เป็ นความพึงพอใจของคนสองคน ร้อยละ 11.3 ให้เหตุผลว่า หากอยูก่ นั ไม่ได้ก็เลิกราได้ง่ายส่ วนผูท้ ี่
ตอบว่ายอมรับไม่ได้ ร้อยละ 15 ให้เหตุผลว่า เพราะเป็ นเรื่ องไม่ถูกต้องตามประเพณี ส่ วนร้อยละ
12.7 เพราะคิดว่าทําให้เกิดปั ญหาสังคม ที่น่าสนใจคือ ผูต้ อบร้อยละ 66.3 มีเพื่อนหรื อคนรู ้จกั ที่อยู่
กินกันฉันท์สามีภรรยาโดยยังไม่ได้แต่งงาน
49

9 4. การยอมรับชีวิตคู่ของคนรักเพศเดียวกัน
ผูต้ อบร้อยละ 51.8 ยอมรับได้กบั การที่คนเพศเดียวกันอยู่กินกันฉันท์สามีภรรยา
เพราะเห็นว่าเป็ นเรื่ องความชอบส่ วนบุคคล ในขณะที่ร้อยละ 15.4 ยอมรับได้ เพราะเห็นว่าสังคม
ปั จจุบนั เปลี่ยนไปแล้ว แต่ผตู ้ อบร้อยละ 14.1 ยังรับไม่ได้ เพราะเห็นว่าผิดธรรมชาติ และร้อยละ 5.7
รับไม่ได้ เพราะเห็นว่าผิดบรรทัดฐานเรื่ องเพศ
สําพรรณ น่วมบุญลือ (2519) ศึกษาสิ ทธิ และหน้าที่ของสตรี ตามกฎหมายไทยในสมัย
กรุ งรัตนโกสิ นทร์ พบว่า ฐานะของสตรี ตามกฎหมายไทยสมัยก่อนด้อยกว่าบุรุษมาก สตรี มีแต่
ภาระหน้าที่ ส่ วนสิ ทธิ แทบไม่มี ตามประเพณี ถือว่าชายเป็ นช้างเท้าหน้า หญิงเป็ นช้างเท้าหลัง ความ
เท่าเทียมกันทางกฎหมายระหว่างหญิงกับชายได้รับการรับรองเมื่อ พ.ศ. 2517 โดยกําหนดไว้ใน
มาตรา 28 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517
พรพิไล ถมังรักษ์สัตว์ (2527) ศึกษาวิเคราะห์เชิงปรัชญา เรื่ องปั ญหาความเสมอภาค
ของสตรี จากการศึกษาพบว่า แนวคิดสตรี นิยมแบบต่าง ๆ นั้น เมื่อวิเคราะห์ถึงปั ญหาพื้นฐานที่สุด
แล้ว คือ ความแตกต่างระหว่างเพศ ความแตกต่างนี้ ถูกนํามาอ้างเพื่อกดขี่สตรี เพศทั้งในทางสังคม
วัฒนธรรม และเศรษฐกิจเสรี นิยมพยายามชี้วา่ ความแตกต่างทางเพศไม่ใช่เหตุผลสําคัญที่ทาํ ให้ตอ้ ง
สรุ ปผลไปสู่ การกดขี่ทางเพศ และประการที่สาํ คัญที่สุดคือ ต้องเข้าใจว่าปั ญหาความเสมอภาคของ
สตรี ไม่ใช่ ปั ญหาที่มีการเรี ยกร้องกันตามสมัยนิ ยม แต่เป็ นปั ญหาจริ ยธรรมของมนุ ษย์ท้ งั มวลที่
จะต้องช่วยเหลือแก้ไข
สุ ดสวาท ดิศโรจน์ (2533) พบว่าการศึกษาทําให้ช่องว่างระหว่างสถานภาพผูช้ ายกับ
ผูห้ ญิ งลดน้อยลงเมื่อเทียบกับในอดี ต นอกจากนี้ ระบบการศึ กษานอกโรงเรี ยนทําให้ผูห้ ญิงมี
สถานภาพทางสังคมสู งขึ้น จากการเพิ่มพูนความรู ้และทักษะในการปฏิบตั ิงาน
จิตติมา พรอรุ ณ (2538) ศึกษาการเรี ยกร้องสิ ทธิ สตรี ในสังคมไทยเกิดการเคลื่อนไหว
เรี ยกร้องสิ ทธิสตรี ของสองกลุ่ม คือ ฝ่ ายเสรี นิยมและฝ่ ายสังคมนิ ยม ระหว่าง พ.ศ. 2510–2515 สมัย
จอมพลสฤษดิ ธนะรัชต์ การเรี ยกร้องสิ ทธิ สตรี ของฝ่ ายเสรี นิยมได้มีบทบาทลงเป็ นเพียงให้บริ การ
ทางกฎหมาย ต่อมาเมื่อสถานการณ์ทางการเมืองเริ่ มคลี่คลาย ฝ่ ายเสรี นิยมจึงได้เริ่ มต้นเรี ยกร้องต่อ
รัฐบาลให้แก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสตรี อีกครั้งหนึ่ ง ในขณะที่แนวคิดฝ่ ายสังคมนิ ยมหยุดชะงัก
ไป พ.ศ. 2516–2519 ฝ่ ายเสรี นิยมได้ดาํ เนินการหาแนวร่ วม ทั้งในสถาบันการเมืองและสาธารณชน
ส่ วนฝ่ ายสังคมนิยมได้รับความสนใจจากปัญญาชนสตรี การเรี ยกร้องสิ ทธิสตรี ดงั กล่าวมีท้ งั ฝ่ ายเห็น
ด้วยและไม่เห็นด้วย โดยฝ่ ายเสรี นิยมสามารถผลักดันให้มีการแก้ไขกฎหมายได้หลายประการ
ในขณะที่ฝ่ายสังคมนิยมต้องยุติบทบาทลงภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519
บทที่ 3
วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาวิจยั เรื่ อง “ประชาสังคมกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี : กรณี ศึกษา


มูลเพื่อนหญิง” ในครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เชิงประยุกต์ (Applied Research) โดยเน้นรู ปแบบของการวิจยั
เชิงสํารวจ (Survey research) ที่อาศัยข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) จากการเก็บรวบรวม
ข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
1. ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก
2. เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั และการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ
3. คุณภาพของงานวิจยั เชิงคุณภาพ
4. ความถูกต้องตรงประเด็นและความเชื่อถือได้
5. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ

1. ผู้ให้ ข้อมูลหลัก
ในการศึกษาวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ได้เลือกใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) เป็ น
การสัมภาษณ์ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องและผูท้ รงคุณวุฒิ แบ่งเป็ น 3 กลุ่ม คือ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์
นักวิชาการสตรี นิยม และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเชิงลึกเกี่ยวกับความเป็ นประชาสังคม
ของมูลนิธิเพื่อนหญิงในความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี สาเหตุของการใช้ความรุ นแรงภายใน
ครอบครัวที่เกิดขึ้นกับสตรี และแนวทางการป้ องกัน และแนวทางในการพัฒนาความเสมอภาคทาง
เพศและสิ ทธิ สตรี รวมทั้งปั ญหาและอุปสรรคในการดําเนิ นงานและคุณลักษณะประชาสังคมของ
มูลนิธิเพื่อนหญิงที่เกี่ยวกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี
ในการศึกษาครั้งนี้ ผูว้ ิจยั เก็บรวมรวมข้อมูลจากประชากร คือ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก (Key
informants) ในลักษณะของการสัมภาษณ์เชิ งลึก ซึ่ งเป็ นข้อมูลเชิ งคุณภาพ จํานวน 10 คน
0

ประกอบด้วย ผูท้ ี่เกี่ยวข้อง และผูท้ รงคุณวุฒิ แบ่งเป็ น 3 กลุ่ม คือ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์
นักวิชาการสตรี นิยม และผูท้ ี่เกี่ ยวข้องโดยเป็ นการคัดเลือกแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่ผูว้ ิจยั ได้
กําหนดเอาไว้ ดังนี้
1. บุคคลที่มีบทบาทหน้าที่ในการดูแลและรักษาสิ ทธิสตรี
2. สตรี ที่ได้รับผลจากความรุ่ นแรงจากการกดขี่
50
51

3. นักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสิ ทธิสตรี

2. เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้ อมูลเชิงคุณภาพ


ในการวิ จ ัย ครั้ งนี้ ผูว้ ิ จ ัย ได้ใ ช้รู ป แบบวิ ธี ก ารในการเก็ บ รวบรวมข้อ มู ล จากแหล่ ง
0

รวบรวมข้อมูล คือ การสัมภาษณ์แบบเชิงลึก (in-depth interview) เป็ นการสัมภาษณ์แบบไม่เป็ น


ทางการและไม่มีโครงสร้าง โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกนี้ ผูว้ ิจยั จะเน้นคําถามที่เป็ นประเด็นในการ
สัมภาษณ์แบบเปิ ดโอกาสให้ผใู ้ ห้ขอ้ มูลหลักมีอิสระในการให้ขอ้ มูลรายละเอียดต่าง ๆ มากเท่าที่จะ
มากได้ โดยผูว้ ิจยั จะทําหน้าที่ตะล่อมกล่อมเกลา (probe) เพื่อนําไปสู่ การเชื่อมโยงกับวัตถุประสงค์
0

ของการวิจยั
ผูว้ ิจยั ได้กาํ หนดประเด็นในการสัมภาษณ์เชิงลึก จํานวน 4 ประเด็น ดังนี้
ประเด็นที่ 1 คิดว่าประเทศไทยยังมีมุมมองเกี่ยวกับความไม่เสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ
สตรี หรื อไม่ อย่างไร และเหตุใด
ประเด็นที่ 2 ลักษณะและรู ปแบบของความไม่เสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี เป็ น
อย่างไร
ประเด็นที่ 3 ที่ผา่ นมาประเทศไทยมองความไม่เสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี อย่างไร
ประเด็นที่ 4 คิดว่ามูลนิธิวีณา หงสกุล ประสบความสําเร็ จในการช่วยเหลือสตรี และเด็ก
จากการใช้ความรุ นแรงภายในครอบครัวหรื อไม่

3. คุณภาพของงานวิจัยเชิงคุณภาพ
0 คุณภาพของงานวิจยั เชิ งคุณภาพ ส่ วนใหญ่น้ ันขึ้นกับศักยภาพของผูว้ ิจยั เอง ทั้งด้าน
ทักษะระเบียบวิธีวิจยั ความไวต่อความรู ้สึกของตนเองและต่อสิ่ งต่าง ๆ รอบตัว (sensitivity) และ
ความคงเส้นคงวา (integrity)
เกณฑ์พิจารณาคุณภาพงานวิจยั เชิงคุณภาพ
0 เกณฑ์พ้ืนฐาน (fundamental criterion) ของการพิจารณาคุณภาพรายงานวิจยั เชิ ง
คุณภาพคือ คุณค่าของความเชื่อใจได้ (trustworthiness) โดยผูว้ ิจยั จะได้สร้างสัมพันธภาพที่ดีจนเป็ น
ที่ไว้วางใจแก่ผใู ้ ห้ขอ้ มูลหลักและสามารถเปิ ดใจให้ขอ้ มูลต่างๆ แก่ผวู ้ ิจยั ขณะเดียวกันผูว้ ิจยั เองจะ
วางตนเป็ นกลาง (อุเบกขา) โดยปราศจากอคติ (bias) ต่อข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้รับ มุมมองระเบียบวิธีวิจยั
ที่ให้ความสําคัญกับผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักและการสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกันเช่นนี้ เรี ยกว่า Subjectivity
0 องค์ประกอบสําคัญในการพิจารณาคุณค่าของรายงานการวิจยั เชิงคุณภาพ คือ
52

3.1 ความน่ าเชื่ อถื อได้ (Credibility) หมายถึ ง ความเชื่ อถื อได้ต่อความจริ งของสิ่ ง ที่
ค้นพบ และต่อความเข้าใจของบริ บทที่เที่ ยงตรง โดยให้ความสําคัญที่ คาํ ถามสําคัญซึ่ งจะทําให้
มองเห็นความน่าเชื่อถือได้ตามข้อเสนอของ Miles and Huberman, 1994 คือ
0 3.1.1 สิ่ ง ที่ คน้ พบ (findings) ต่ างๆนั้น มี ความสัมพัน ธ์ที่เ ป็ นเหตุ เ ป็ นผล (logic)
หรื อไม่และข้อค้นพบนั้นมีความหนักแน่นในการอธิบายสนับสนุนข้อคิด/ข้อเสนอเพียงใด
0 3.1.2 ข้อมูลที่พรรณนาในรายงาน (narrative data) มีน้ าํ หนัก/ความเป็ นหลักฐาน
มากพอที่ จ ะสนับสนุ น สิ่ งที่ พ บหรื อไม่ สิ่ งที่ พบนั้น ต้องการข้อมูลเพิ่ มเติ มจากแหล่ งอื่ น ในการ
สนับสนุนหรื อไม่
0 3.1.3 ประชากรที่ผวู ้ ิจยั เข้าไปศึกษา พิจารณารายงานการวิจยั นั้นว่ามีความเที่ยงตรง
หรื อไม่
3.2 ความวางใจได้ (Dependability) หมายถึง ความน่ าเชื่ อถื อของข้อมูล และคําถาม
สําคัญในกระบวนการวิจยั ที่ใส่ ใจอย่างระมัดระวังกับการดําเนิ นการตามระเบียบวิธีวิจยั เชิงคุณภาพ
กล่าวคือ
0 3.2.1 คําถามการวิจยั ชัดเจนและเชื่อมโยงอย่างสมเหตุผลกับเป้ าหมายของการวิจยั
(research purpose) และการออกแบบการวิจยั หรื อไม่
0 3.2.2 แหล่งข้อมูลต่างๆ (data sources) เทียบเคียงสอบทานกันได้หรื อไม่
0 3.2.3 ผูเ้ ก็บข้อมูลในสนามต่างๆ (field workers) มีบนั ทึกแนวทาง (protocol)
สําหรับเก็บข้อมูลที่สามารถเปรี ยบเทียบกันได้หรื อไม่
ความสามารถในการยืน ยัน ว่าไม่ เปลี่ ย นแปลง (Conformability) ข้อมูลที่ ยืนยัน ได้
(confirmable) คือข้อมูลที่เที่ยงตรงเสมอ หากทําการวิจยั ซํ้าในกลุ่มเดิม ข้อมูลและข้อค้นพบในการ
สะท้อนมุมมอง และประสบการณ์ ของกลุ่มที่ผูว้ ิจยั เข้าไปศึกษาย่อมไม่แตกต่างกัน โดยผูว้ ิจยั จะ
แยกแยะมุมมองความเห็นส่ วนตัวของตนเองออกจากกลุ่มที่ตนศึกษา ผูว้ ิจยั จะสังเกต/สะท้อนและ
บันทึกบทบาทข้อสันนิ ษฐาน (assumption) อคติ ปฏิกิริยา ของตนเอง ซึ่ งอาจมีอิทธิ พลต่อการเก็บ
และวิเคราะห์ขอ้ มูล
0 3.3 ความสามารถถ่ายย้ายไปใช้ได้ (Transferability) องค์ความรู ้ที่เรี ยบเรี ยงไว้อย่างดี
จากงานวิจยั เชิ งคุณภาพ อาจนําไปประยุกต์ใช้ได้กบั กลุ่มประชากรอื่นที่คล้ายคลึงกับประชาชน ที่
ผูว้ ิจยั เข้าไปศึกษา
0 ดังนั้น การเลือกตัวอย่างที่เหมาะสมเพื่อเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ให้ได้ความคิดเห็นหรื อ
ประสบการณ์ที่สะท้อนประเด็นสําคัญในปั ญหาวิจยั (research problem) จึงเป็ นเรื่ องสําคัญเพื่อให้
53

สามารถนําองค์ความรู ้ที่ได้ไปขยายผล อย่างไรก็ตาม ผูท้ ี่จะนําผลงานวิจยั นั้นไปใช้ ต้องเข้าใจบริ บท


ของงานวิจยั นั้นและบริ บทของพื้นที่ของกลุ่มที่ผวู ้ ิจยั จะนําองค์ความรู ้ไปประยุกต์ใช้ดว้ ย

4. ความถูกต้ องตรงประเด็นและความเชื่อถือได้
ในการวิจยั ครั้งนี้ สามารถตรวจสอบความถูกต้องตรงประเด็นและความเชื่อถือได้ของ
ข้อมูล (validity and credibility) โดยสามารถตรวจสอบได้จากวิธีการเก็บข้อมูลหลายแบบตามความ
เหมาะสมของลักษณะข้อมูลที่ ตอ้ งการและการตีความข้อมูลได้ตรงตามสภาพที่เป็ นอยู่ของกลุ่ม
ตัวอย่าง ได้ดงั หัวข้อดังต่อไปนี้
ความถูกต้องตรงประเด็นและความเชื่อถือได้ของข้อมูลในการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก
ผูว้ ิจยั ใช้คาํ ถามในการสัมภาษณ์ตรงกับวัตถุของการวิจยั นี้ โดยผูว้ ิจยั ได้กาํ หนดประเด็น
ต่างๆ ไว้ล่วงหน้าว่าต้องการซักถามในเรื่ องใดบ้าง นอกจากนี้ ผูว้ ิจยั ได้เปิ ดโอกาสให้ผสู ้ ัมภาษณ์มี
การเสนอแนะข้อคิดเห็นที่เกี่ยวกับที่ทาํ วิจยั ได้โดยเสรี ส่วนหนึ่ งตามแนวการสัมภาษณ์ที่ผวู ้ ิจยั ได้
กําหนดไว้โดยในการสัมภาษณ์น้ นั ผูว้ ิจยั จะสร้างความคุน้ เคยและความไว้วางใจกับผูใ้ ห้ขอ้ มูล ด้าน
การแนะนําตัวเองและอธิบายถึงวัตถุประสงค์ในการวิจยั เพื่อทําให้ผใู ้ ห้ขอ้ มูลเข้าใจ นอกจากนี้ ผวู ้ ิจยั
ยังต้องเตรี ยมสมุดบันทึก รวมถึงเครื่ องบันทึกเสี ยงที่แบ่งไว้ 3 ส่ วน คือ รายละเอียดที่ได้จากประเด็น
สัมภาษณ์ (descriptive notes) ความคิดเห็นส่ วนตัวของผูว้ ิจยั (reflective notes) และข้อมูลที่เป็ น
ข้อเท็จจริ งที่ได้ในขณะสัมภาษณ์(demographic information)
นอกจากนี้ ผูว้ ิจยั ได้นาํ วิธีการตรวจสอบข้อมูลด้วยวิธีแบบสามเส้า (Triangulation) เข้า
มาเพื่อทราบว่าเป็ นข้อเท็จจริ งมี ความถูกต้องตรงประเด็นและความเชื่ อถือได้เพียงพอที่จะตอบ
ปัญหาการวิจยั ได้ ดังนี้
4.1 การตรวจสอบสามเส้าด้านวิธีการรวบรวมข้อมูล (Methodological triangulation)
คือการใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ หลายวิธี รวบรวมข้อมูลเรื่ องเดียวกัน เพื่อสํารวจว่าผลที่ได้มี
ความเหมือนหรื อแตกต่างกัน
4.2 การตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูล (data triangulation) คือการสํารวจว่าข้อมูลที่
ผูว้ ิจยั ได้มานั้นเป็ นข้อมูลที่ แท้จริ ง โดยผ่านการตรวจสอบแหล่งที่มาของข้อมูล 3 กรณี คือ เวลา
สถานที่ และบุ ค คลโดยถ้า ข้อ มู ล ที่ ไ ด้ม ามี ค วามต่ า งด้า น เวลา สถานที่ และบุ ค คล ข้อ มู ล จะ
เหมือนกันหรื อเปลี่ยนแปลงไป
0 ด้วยเหตุน้ ี คุณภาพของงานวิจยั เชิงคุณภาพ ส่ วนใหญ่น้ นั ขึ้นกับศักยภาพของผูว้ ิจยั เอง
ทั้งด้านทักษะระเบียบวิธีวิจยั ความไวต่อความรู ้สึกของตนเองและต่อสิ่ งต่างๆ รอบตัว (sensitivity)
และความคงเส้นคงวา (integrity)
54

เกณฑ์พิจารณาคุณภาพงานวิจยั เชิงคุณภาพ
0 เกณฑ์พ้ืนฐาน (Fundamental criterion) ของการพิจารณาคุณภาพรายงานวิจยั เชิ ง
คุณภาพคือ คุณค่าของความเชื่อใจได้ (trustworthiness) โดยผูว้ ิจยั จะได้สร้างสัมพันธภาพที่ดีจนเป็ น
ที่ไว้วางใจแก่ผใู ้ ห้ขอ้ มูลหลักและสามารถเปิ ดใจให้ขอ้ มูลต่างๆ แก่ผวู ้ ิจยั ขณะเดียวกันผูว้ ิจยั เองจะ
วางตนเป็ นกลาง (อุเบกขา) โดยปราศจากอคติ (bias) ต่อข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้รับ มุมมองระเบียบวิธีวิจยั
ที่ให้ความสําคัญกับผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักและการสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกันเช่นนี้ เรี ยกว่า Subjectivity
0 องค์ประกอบสําคัญในการพิจารณาคุณค่าของรายงานการวิจยั เชิงคุณภาพ คือ
1. ความน่ า เชื่ อ ถื อ ได้ (Credibility) หมายถึ ง ความเชื่ อ ถื อ ได้ต่ อ ความจริ ง ของสิ่ ง ที่
ค้นพบ และต่อความเข้าใจของบริ บทที่เที่ยงตรง คําถามสําคัญซึ่งจะทําให้มองเห็นความน่าเชื่อถือได้
ตามข้อเสนอของ Miles and Huberman, 1994 คือ
0 1.1 สิ่ ง ที่ ค ้น พบ (Findings) ต่ า งๆนั้น มี ค วามสั ม พัน ธ์ ที่ เ ป็ นเหตุ เ ป็ นผล (logic)
หรื อไม่และข้อค้นพบนั้นมีความหนักแน่นในการอธิบายสนับสนุนข้อคิด/ข้อเสนอเพียงใด
0 1.2 ข้อมูลที่พรรณนาในรายงาน (Narrative data) มีน้ าํ หนัก/ความเป็ นหลักฐาน
มากพอที่ จ ะสนับสนุ น สิ่ งที่ พ บหรื อไม่ สิ่ งที่ พบนั้น ต้องการข้อมูลเพิ่มเติ มจากแหล่ งอื่ น ในการ
สนับสนุนหรื อไม่
0 1.3 ประชากรที่ผวู ้ ิจยั เข้าไปศึกษา พิจารณารายงานการวิจยั นั้นว่ามีความเที่ยงตรง
หรื อไม่
2. ความวางใจได้ (Dependability) หมายถึง ความวางใจได้ ในกระบวนการวิจยั ที่ใส่ ใจ
อย่างระมัดระวังกับการดําเนินการตามกฎ/ระเบียบวิธีวิจยั เชิงคุณภาพ คําถามสําคัญ คือ
0 2.1 คําถามการวิจยั ชัดเจนและเชื่ อมโยงอย่างสมเหตุผลกับเป้ าหมายของการวิจยั
(Research purpose) และการออกแบบการวิจยั หรื อไม่
0 2.2 แหล่งข้อมูลต่างๆ (Data sources) เทียบเคียงสอบทานกันได้หรื อไม่
0 2.3 ผูเ้ ก็บข้อมูลในสนามต่างๆ (Field workers) มีบนั ทึกแนวทาง (protocol)
สําหรับเก็บข้อมูลที่สามารถเปรี ยบเทียบกันได้หรื อไม่
ความสามารถในการยืน ยัน ว่า ไม่ เปลี่ ย นแปลง (Conformability) ข้อ มู ล ที่ ยืน ยัน ได้
(confirmable) คือข้อมูลที่เที่ยงตรงเสมอ หากทําการวิจยั ซํ้าในกลุ่มเดิม ข้อมูลและข้อค้นพบในการ
สะท้อนมุมมอง และประสบการณ์ของกลุ่มที่นักวิจยั เข้าไปศึกษาย่อมไม่แตกต่างกัน นักวิจยั ต้อง
สามารถแยกแยะมุมมองความเห็นส่ วนตัวของตนเองออกจากกลุ่ม ที่ตนศึกษาย่อมไม่แตกต่างกัน
นักวิจยั ต้องสามารถสังเกต/สะท้อนและบันทึกบทบาทข้อสันนิ ษฐาน (assumption) อคติ ปฏิกิริยา
ของตนเอง ซึ่งอาจมีอิทธิพลต่อการเก็บ และวิเคราะห์ขอ้ มูล
55

0 3. ความสามารถถ่ายย้ายไปใช้ได้ (Transferability) องค์ความรู ้ที่เรี ยบเรี ยงไว้อย่างดีจาก


งานวิจยั เชิ งคุ ณภาพ อาจนําไปประยุกต์ใ ช้ได้กับกลุ่ มประชากรอื่ นที่ คล้ายคลึ งกับประชาชน ที่
นักวิจยั เข้าไปศึกษาดังนั้นการเลือกตัวอย่างที่เหมาะสมเพื่อเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ให้ได้ความคิดเห็น
หรื อประสบการณ์ที่สะท้อนประเด็นสําคัญในปั ญหาวิจยั (research problem) จึงเป็ นเรื่ องสําคัญ
เพื่อให้สามารถนําองค์ความรู ้ ที่ได้ไปขยายผล อย่างไรก็ตาม ผูท้ ี่จะนําผลงานวิจยั นั้นไปใช้ ต้อง
เข้าใจบริ บทของงานวิจยั นั้นและบริ บทของพื้นที่/ของกลุ่มที่ผวู ้ ิจยั จะนําองค์ความรู ้ไปประยุกต์ใช้
ด้วย

การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content
analysis) แสดงความคิดเห็นของผูถ้ ูกสัมภาษณ์ มาประกอบการวิเคราะห์ตีความข้อมูลที่ได้ตาม
กระบวนการ 4 ขั้นตอน คือ การตีความข้อมูล (Interpretation) การเปรี ยบเทียบข้อมูล (Comparison)
การสังเคราะห์ขอ้ มูล (Data Synthesis) และการสร้างข้อสรุ ป (Conclusion) ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
1. การตีความข้อมูล (Data Interpretation) จะเป็ นการแสวงหาความหมายขั้นลึกจาก
ข้อมูลดิบที่ได้รับมาจากการเก็บรวบรวมข้อมูลให้อยูใ่ นรู ปของถ้อยคําสนทนาจากการสัมภาษณ์เชิง
ลึก โดยผูว้ ิจยั รวบรวมข้อมูลเชิ งคุณภาพมาแยกแยะ และจัดประเภทให้เป็ นหมวดหมู่ เพื่อให้ได้
ข้อมูลคําตอบตามวัตถุประสงค์
2. การเปรี ยบเทียบข้อมูล (Data Constant) คือ การค้นหาความเหมือนกันและความ
แตกต่างกันของคุณลักษณะ (Qualities) หรื อคุณสมบัติ (Attributes) ของข้อมูลดิบตั้งแต่สองชุดขึ้น
ไปอย่างเป็ นระบบ และนํามาประมวลผลเข้าด้วยกันถึงความเหมือนกันและความแตกต่าง เป็ นการ
สั่ง สมข้อ ค้น พบหรื อ ข้อ สรุ ป ย่อ ยๆ จากการเปรี ย บเที ย บข้อ มู ล เพื่ อ สร้ า งเป็ นข้อ สรุ ป เกี่ ย วกับ
ลักษณะร่ วมของข้อมูล หลักจากที่ได้คน้ พบความหมายขั้นลึกจากการตีความข้อมูลมาแล้ว
3. การสังเคราะห์ขอ้ มูล (Data synthesis) เป็ นขั้นตอนที่สาํ คัญที่สุดของการวิเคราะห์
เนื้ อหา เป็ นการสรุ ปข้อมูลภาพรวมในขั้นสุ ดท้ายในวิธีแบบกระบวนการเชิ งอุ ปนัย (Inductive
Method) โดยเป็ นการรวบรวมข้อมูลที่มีอยูท่ ้ งั หมดอย่างเป็ นรู ปธรรมในลักษณะพรรณนา เพื่อสร้าง
ข้อมูลเชิงนามธรรมในลักษณะของบทสรุ ป โดยเป็ นการเชื่อมโยงไปสู่วตั ถุประสงค์ของการวิจยั
4. การสร้ างข้อสรุ ป (Conclusion) โดยผูว้ ิจยั ดําเนิ นการเชื่ อมโยงข้อมูลที่ได้ จาก
กระบวนการวิเคราะห์ขอ้ มูลทั้งหมดที่ผ่านมา และแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลเป็ นรู ปธรรมใน
ลักษณะของการพรรณนา (Descriptive of the data) จากนั้นหาความสัมพันธ์ของแต่ละกลุ่มแต่ละ
ประเด็นเพื่อสร้างบทสรุ ปของกระบวนการทางความคิดในภาพรวม (Holistic)
56

ผูว้ ิจยั จะทําการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยการตีความและการเปรี ยบเทียบข้อมูล แล้วนําข้อมูล


ที่ได้ไปทําการสังเคราะห์ขอ้ มูล และหาข้อสรุ ป ตามขั้นตอนการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

ในบทนี้ ผูว้ ิจยั ดําเนิ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยการวิเคราะห์เนื้ อหา (Content analysis)


ตามลักษณะของการวิจยั เชิ งคุณภาพ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ เชิ งลึกจากผูท้ ี่
สามารถให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับความเป็ นประชาสังคมของมูลนิ ธิเพื่อนหญิงในความเสมอภาคทางเพศ
และสิ ทธิ สตรี สาเหตุของการใช้ความรุ นแรงภายในครอบครัวที่เกิดขึ้นกับสตรี และแนวทางการ
ป้ องกัน รวมทั้งการพัฒนาความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี
การวิ เ คราะห์ ข อ้ มู ล ผูว้ ิ จ ัย ได้ใ ช้แ นวคิ ด ทฤษฎี แ ละหลัก การต่ า งๆ ที่ ท บทวนและ
นําเสนอไว้ใน บทที่ 1 และ 2 รวมทั้งวิธีการดําเนิ นงานวิจยั ในบทที่ 3 มาใช้ประกอบการวิเคราะห์
ข้อมูลในเชิงพรรณนา ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพทั้ง 4 รู บแบบ คือ 1) การตีความ
ข้อมู ล 2) การเปรี ย บเที ย บข้อมู ล 3) การสัง เคราะห์ ขอ้ มูล และ 4) การสรุ ปผลข้อมูล ผูว้ ิจ ัย จะ
นํา เสนอผลการวิ เ คราะห์ ข ้อ มู ล เชิ ง คุ ณ ภาพทั้ง สี่ ข้ ัน ตอนไปพร้ อ มกัน เพื่ อ ให้ เ ห็ น แง่ มุ ม และ
รายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูลโดยมีประเด็นที่น่าสนใจที่จะนําเสนอในบทที่ 4 ดังที่จะกล่าวใน
หัวข้อต่อไปนี้
ตอนที่ 1 การใช้ความรุ นแรงภายในครอบครัว
ตอนที่ 2 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับความเป็ นประชาสังคม
ตอนที่ 3 ความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี
ตอนที่ 4 รู ปแบบของการพัฒนาความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี

การใช้ ความรุนแรงภายในครอบครัว
เหตุความรุ นแรงที่ประสบ ได้แก่ การโดนด่าตบตี ทําร้ายร่ างกาย ได้รับบาดแผลทัว่
ร่ างกาย สาเหตุเพราะสามีเป็ นคนขี้หึง ไม่มีเหตุผล หาเรื่ องซ้อม ทําร้ายร่ างกาย เป็ นร่ องรอยให้อบั
อายต่อชาวบ้านเป็ นประจํา รวมทั้งยังกระทําต่อหน้าลูก ประชาชนมักไม่ทราบว่าเมื่อเกิดความ
รุ นแรงในครอบครัวจะต้องทําอย่างไร จะต้องให้ความรู ้

57
58

ทําให้ทะเลาะกัน มีปากมีเสี ยง ลงไม้ลงมือกัน จนพี่!! ทนไม่ไหว เลยไปแจ้ง


ตํารวจให้มาจับมัน ส่ วนตํารวจเองเค้าก็ไม่ค่อยอยากจะดําเนิ นการแจ้งความหรอกค่ะ เรื่ อง
ผัวๆ เมียๆ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)
ถ้าเป็ นเรื่ องการทุบตีโดยทัว่ ไป คุณก็ให้การคุม้ ครองแต่ว่าถ้าเป็ นกรณี ผวั ทุบตี
ภรรยาเนี่ ยตํารวจมักจะไม่ให้ความคุม้ ครองเท่าไร คือไม่ให้ความสนใจอะคะ เพราะยังเชื่ อ
เรื่ องว่า เรื่ องผัวเมียเป็ นเรื่ องภายในครอบครัว…บางที่ผหู ้ ญิงถูกคุกคามทางเพศเนี่ย บางกรณี
ผูห้ ญิงก็เป็นฝ่ ายไปหาผูช้ าย เขาก็จะตั้งประเด็นว่าคุณไปหาเขาทําไม ทั้งๆที่บางทีว่าผูห้ ญิง
ไม่ได้มีเจตนาเพื่อที่วา่ จะให้ผชู ้ ายข่มขืน (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

เหตุความรุ นแรงที่ประสบ ได้แก่ การถูกพ่อเลี้ยงข่มขืนเมื่ออายุ 16 แม่ขายข้าวแกงใน


ตลาด ไม่ค่อยมีเวลาอยู่บา้ น แต่พ่อเลี้ยงทําร้านปะยางอยู่ที่บา้ นทั้งวัน และพ่อเลี้ยงเป็ นคนติดเหล้า
วันหนึ่ ง แม่ไม่อยูบ่ า้ น พ่อเมาแล้วเข้ามาลวนลาม ข่มขืน และไม่ให้บอกใคร ไม่ง้ นั จะทําร้ายตัวเธอ
และแม่ หลังจากนั้นเมื่อมีโอกาสก็กระทํามาเรื่ อย ๆ จนความแตกเมื่ออายุ 18 ปี ที่ทนไม่ไหว และ
บอกแม่ให้ทราบ แม่ก็ตดั สิ นใจเลิกกับพ่อเลี้ยง และแจ้งความดําเนิ นคดี ผูช้ ายที่เป็ นพ่อเลี้ยงหรื อคน
ใกล้ตวั จะหาโอกาสกระทําเมื่อสบโอกาส เช่น อยูต่ ามลําพัง ไม่มีพ่อแม่ที่แท้จริ ง โดยไม่แสดงออก
แต่แรกเพื่อให้ไว้ใจ

เพราะตอนหนูอายุ 13 นั้น จนถึงอายุ 16 ในตอนนั้นอ่ะค่ะ พ่อเลี้ยงหนูเขาก็ไม่


เคยแสดงท่าทีอะไรที่ทาํ ให้เห็นว่าเขาหื่ นเลยนะคะ … ในวันนั้นที่หนูกลับมาจากโรงเรี ยน
หนูจะเข้าบ้านไปเปลี่ยนเสื้ อผ้า แล้วหนูจะออกไปช่วยแม่ขายของ พอหนูเข้าห้องไปเปลี่ยน
เสื้ อผ้า พ่อเลี้ยงก็เดินเข้ามา (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)
หนูคิดว่าในการใช้ชีวิตประจําวันทุกอย่างก็ดูเท่าเทียมกันดีนะคะ ในสิ ทธิ ต่างๆ
แต่ในบางเรื่ องก็ยงั มีความไม่เท่าเทียมอยูด่ ีคะ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)
บางทีเนี่ยชาวบ้านเขาก็ไม่รู้หรอกว่ามี พรบ. คุม้ ครองผูถ้ ูกกระทําความรุ นแรงใน
ครอบครั ว ตอนแรกเราอาจจะ ถ้า เราลงไปในเนี้ ยครั บ ผู ้ใ หญ่ บ้า น เขาอาจจะเกรงใจ
ผูใ้ หญ่บา้ นหรื อ อบต.ที่ลงไป บางที อบต. หรื อว่าผูใ้ หญ่บา้ นเขาอาจไม่รู้หรอกว่ามี พรบ.
ตรงนี้มาแล้ว ทางเราก็เวลาประสานเราก็จะชี้แจงว่ามันมี พรบ. ตรงนี้ลงมาแล้ว (ผูใ้ ห้ขอ้ มูล
หลัก, 2557)
59

เหตุความรุ นแรงที่ประสบ ได้แก่ การถูกกลุ่มชายวัยรุ่ นรุ มข่มขืน 6 คน ในขณะที่มีอายุ


เพียง 15 ปี เนื่ องจากขับขี่รถมอเตอร์ ไซค์กลับบ้านคนเดียวในช่วงดึก ซึ่ งเป็ นถนนที่เปลี่ยว ถูกกลุ่ม
ชายวัยรุ่ นที่ มีอาการมึ น เมา ซึ่ ง ก็เ ป็ นคนในพื้น ที่ ขับขี่รถมอเตอร์ ไ ซค์ตามมาประกบ ผูเ้ สี ยหาย
พยายามขับหนี แต่ถูกปาดหน้าให้หยุด ยึดกุญแจรถไว้ แล้วใช้กาํ ลังฉุ ดลากเข้าสวนปาล์มข้างทาง
โดยรุ่ นพี่ที่มีอายุสูงสุ ดในวัยรุ่ นกลุ่มนั้นเป็ นคนเริ่ มข่มขืนแล้วจึงเรี ยกคนอื่นๆ มากระทําต่อ แล้วจึง
ปล่อยกลับบ้านโดยขู่ฆ่าไว้ ผูเ้ สี ยหายแจ้งบิดามารดาให้ทราบในตอนเช้า แล้วจึ งไปแจ้งความจับ
ผูก้ ระทําผิดได้ท้ งั หมด

หนูก็ขอร้องพวกเขา ว่าหนูขอกุญแจรถของหนูคืนเถอะ อย่าทําอะไรหนูเลย หนู


กลัว… หนูออ้ นวอนพวกเขาอยูน่ าน เขาก็ไม่ยอมคืนกุญแจรถหนู แล้วผูช้ ายคนที่ดูแก่ที่สุด
ในนั้นเขาก็มาจับมือหนู ฉุดกระชากหนูให้เข้าไปข้างทางซึ่งมีตน้ ปาล์มอยูเ่ ยอะเลยคะ พร้อม
ด้วยผูช้ ายคนอื่นๆก้อจับแขน ขา หนูคนละข้าง แบบว่าช่วยกันแบกไปอ่ะค่ะ …เขาก็ชกท้อง
หนู 2 ที แล้วก็เอามือมาอุดปากหนูไว้ พอหนูเริ่ มหมดแรง ผูช้ ายที่มีอายุมากที่สุดคนนั้นเขาก็
เริ่ มถอดเสื้ อผ้าหนู โดยให้พวกเด็กผูช้ ายที่เป็ นรุ่ นน้องดูตน้ ทางคะ แล้วพอเขาทําอะไรหนู
เสร็ จแล้ว เขาก็เรี ยกน้องๆเขาให้มาทําหนูต่อคนแล้วคนเล่า พอเสร็ จแล้วเขาก็ทิ้งหนูไว้ตรง
นั้นเลยคะ แล้วบอกว่าถ้าหนูไปบอกใคร เขาจะมาฆ่าหนู … หนูบอกพ่อกับแม่ตอนเช้าอ่ะคะ
หนูกอดแม่แน่นเลย หนูกลัว หนูกงั วล หนูอาย คือว่า ทุกความรู ้สึกที่ย่าํ แย่หนูรู้สึกหมดเลย
คะในตอนนั้น (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

ความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี
ในปั จจุบนั โดยทัว่ ไปชายและหญิงมีความเสมอภาคหรื อความเท่าเทียมกันมากขึ้นกว่า
ในสมัยก่อน แต่ยกเว้นบางเรื่ อง ความคิดเรื่ องความเสมอภาคเท่าเทียมกันระหว่างชายและหญิงมา
จากแนวคิดตะวันตกซึ่ งแตกต่างจากสังคมไทย และความเท่าเทียมทางเพศและสิ ทธิ สตรี ก็ไม่ได้
หมายถึงเท่าเทียมทุกกรณี
60

พี่ คิ ด ว่ า ในสมัย นี้ ความเสมอภาคหรื อ ความเท่ า เที ย มกัน อ่ ะ คะมี ม ากขึ้ น กว่ า
สมัยก่อนเป็นอย่างมาก ทําให้ผหู ้ ญิงเริ่ มมีบทบาททางสังคมมากยิง่ ขึ้นคะ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก,
2557)
หนูคิดว่าความเสมอภาคหรื อความเท่าเทียมกันระหว่างชายหญิงอ่ะค่ะ ก็เท่าที่ดูๆ
ไปแล้ว ก็มีความเท่าเทียมกันนะคะ เพียงแต่ในบางเรื่ องก็อาจไม่มีความเท่าเทียมกันอ่ะคะ
เพราะสําหรับหนูยงั ไงผูช้ ายก็เหนื อกว่าอยู่ดี ส่ วนผูห้ ญิงสมัยใหม่ก็มีความรู ้ความสามารถ
มากขึ้นอ่ะนะคะแต่การยอมรับในบางสถานะ หรื อบางตําแหน่งก็อาจจะยังไม่เป็ นที่ยอมรับ
เท่าที่ควรอ่ะคะ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)
ในมุมมองของตะวันตกก็อาจจะมองถ้าพวกสตรี นิยมแนวคิดอะไรแบบเนี้ ยเขา
อาจจะมองไปว่าผูห้ ญิงสามารถทําอะไรก็ได้เหมือนผูช้ าย… แต่ว่าประเทศไทยเนี่ ย ถ้า
ดั้งเดิมมันจะเป็นเรื่ องลักษณะของการสอดประสานซึ่ งกันและกันระหว่างเพศชายและเพศ
หญิ ง …ก็เริ่ มมี มากขึ้นก็อ ย่างเช่ น ให้เลื อกตั้งอะไรประมาณเนี้ ย ผูช้ ายผูห้ ญิ งก็สามารถ
เลือกตั้งได้สามารถมีสิทธิ ในการเลือก สส. อะไรประมาณเนี้ ย ก็คือเราเห็นอยู่ในปั จจุบนั
แล้วก็ผูด้ าํ รงตําแหน่งสู งๆ สมัยนี้ ก็มาจากผูห้ ญิง จะเห็นได้จากปั จจุบนั ก็คือนายกรัฐมนตรี
(ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)
อาจจะไม่ทุกกรณี อาจจะเท่าเทียมกันในเรื่ องของตําแหน่ งเท่าเทียมกันแต่บางที
บทบาทในที่ น้ ี อาจจะไม่เท่าเที ยมกันนะครั บ ก็คือว่าตําแหน่ งอาจจะเสมอกันแต่บทบาท
อาจจะแตกต่างกัน (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)
โครงสร้างสังคมไทย ยังมีความไม่เสมอภาค และปั ญหาสิ ทธิ สตรี อีกมาก โดยมี
มายาคติ เป็ นสําคัญ แต่แนวโน้มของความไม่เท่าเที ยมกันทางเพศในวันนี้ มีปัญหาลดลง
เพราะมีกฎหมายครอบคลุม และหน่วยงานให้ความปรึ กษาหรื อช่วยเหลือ เช่น มูลนิ ธิหรื อ
ศูนย์ต่างๆ ยังจําเป็ นต้องมี
เขาก็ให้อะไรใกล้เคียงกันเท่าๆ กันนะ ไม่มีอะไรที่โดดเด่นไปกว่ากันเพราะเราก็
มีกฎหมายครอบคลุม …จําเป็นอยูไ่ หมบางครั้ง จําเป็นต้องมีในเรื่ องของการให้คาํ ปรึ กษา
อย่างถ้าเราไม่มุ่งถึงความรุ นแรงเนี่ ยบางครั้งเด็กบางคนเขาก็ตอ้ งการคําปรึ กษากัน ในเมื่อ
พ่อแม่เขาให้ไม่ได้ ครู บางทีกไ็ ม่ได้เหมือนกัน (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

รู ปแบบของการพัฒนาความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี
อยากให้ทางภาครั ฐและภาคเอกชนเข้ามารณรงค์และช่ วยเหลือสตรี อย่างจริ งจังและ
ยัง่ ยืนอยากให้ภาครัฐและเอกชนเข้ามาดูแลอย่างจริ งจัง ให้มีกฎหมายที่เคร่ งครัดและคุม้ ครองผูห้ ญิง
ได้ดีกว่านี้
61

หนูอยากให้ภาครัฐและเอกชนหันกลับเข้ามาดูแลเรื่ องนี้ กนั อย่างจริ งจัง อยากจะ


ให้ทางภาครัฐมีกฎหมายที่เคร่ งครัดกว่านี้ ที่สามารถคุม้ ครองผูห้ ญิงอย่างเราได้ดีกว่า เมื่อ
เวลาที่เกิดเหตุการณ์เหล่านี้ข้ ึน หนูคิดว่าถ้ากฎหมายของเราหนาแน่นพอ ปัญหาเหล่านี้คงลด
น้อยลงกว่านี้มากๆเลยคะ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)
หนู อยากให้ทางภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามาช่ วยกันทํางานให้มากขึ้นคะ และ
หนู อยากให้มีบทลงโทษหรื อ เอ่ อ!! กฎหมายที่ชดั เจน และอยากให้มีกฎหมายที่ เข้มงวด
มากกว่า นี้ อ่ ะคะเพราะหนู สัง เกตจากคนที่ ก ระทํา ผิด ก็ม กั จะกระทํา ผิด ซํ้า ซาก เหมื อ น
กฎหมายที่เราใช้กนั อยูม่ นั ยังไม่เข้มงวดพออ่ะคะ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

แนวคิดพืน้ ฐานของการเป็ นประชาสั งคม


มูลนิ ธิที่ทาํ งานด้านความเสมอภาคของสตรี และเด็ก มีบทบาทช่วยในเรื่ องสร้างความ
เสมอภาคได้

อย่ า งผมอ่ ะ ผมเป็ นองค์ก รของภาครั ฐ นะครั บ อาจจะเข้า ไปดู แ ลไม่ ท ั่ว ถึ ง
เพราะฉะนั้นเราก็ตอ้ งอาศัยองค์กรเอกชนเพราะว่าเขาจะเป็ นเจ้าของพื้นที่ เพราะว่าเขาจะ
ทํางานมีงบสนับสนุนเพื่อทํางานเฉพาะในพื้นที่น้ นั ก็คือเราก็จะต้องประสานกับเขา (ผูใ้ ห้
ข้อมูลหลัก, 2557)

การทํางานต้องใช้คนและภาษาในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนไว้วางใจ เข้าถึงได้

การจัดตั้งศูนย์ประชาบดีเริ่ มแรกอยู่ที่กรุ งเทพที่เดียวแล้วก็ขยายมาจังหวัดต่างๆ


เพื่อให้มีเจ้าหน้าที่เฉพาะในการใช้ภาษาเฉพาะพื้นที่ เพราะว่าเราจะคํานึ งถึ งผูร้ ั บบริ การ
ผูใ้ ช้บริ การด้วยเกี่ยวกับในการเข้าสู่ ที่นี่อย่างเช่น ถ้าผูใ้ ห้บริ การทางด้านโทรศัพท์นะครับ ใช้
ภาษาเดี ยวกับผูใ้ ช้บริ การก็จะทําให้ความไว้วางใจและก็ในการพูดเรื่ องราวเกี่ยวกับปั ญหา
นั้นหน่ะ สามารถกล้าพูดและกล้าระบายเรื่ องที่อยากให้ศูนย์ประชาบดีเข้าไปจัดการปั ญหา
ตรงนั้น (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)
บางทีเนี่ยชาวบ้านเขาก็ไม่รู้หรอกว่ามี พรบ. คุม้ ครองผูถ้ ูกกระทําความรุ นแรงใน
ครอบครั ว ตอนแรกเราอาจจะ ถ้า เราลงไปในเนี้ ยครั บ ผู ้ใ หญ่ บ้า น เขาอาจจะเกรงใจ
ผูใ้ หญ่บา้ นหรื อ อบต.ที่ลงไป บางที อบต. หรื อว่าผูใ้ หญ่บา้ นเขาอาจไม่รู้หรอกว่ามี พรบ.
ตรงนี้มาแล้ว ทางเราก็เวลาประสานเราก็จะชี้แจงว่ามันมี พรบ. ตรงนี้ลงมาแล้ว (ผูใ้ ห้ขอ้ มูล
หลัก, 2557)
62

การทํางานต้องใช้คนและภาษาในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนไว้วางใจ เข้าถึงได้

การจัดตั้งศูนย์ประชาบดีเริ่ มแรกอยู่ที่กรุ งเทพที่เดียวแล้วก็ขยายมาจังหวัดต่างๆ


เพื่อให้มีเจ้าหน้าที่เฉพาะในการใช้ภาษาเฉพาะพื้นที่ เพราะว่าเราจะคํานึ งถึ งผูร้ ั บบริ การ
ผูใ้ ช้บริ การด้วยเกี่ยวกับในการเข้าสู่ ที่นี่อย่างเช่น ถ้าผูใ้ ห้บริ การทางด้านโทรศัพท์นะครับ ใช้
ภาษาเดี ยวกับผูใ้ ช้บริ การก็จะทําให้ความไว้วางใจและก็ในการพูดเรื่ องราวเกี่ยวกับปั ญหา
นั้นหน่ะ สามารถกล้าพูดและกล้าระบายเรื่ องที่อยากให้ศูนย์ประชาบดีเข้าไปจัดการปั ญหา
ตรงนั้น

การพัฒนาคุณภาพชี วิตสตรี ผูห้ ญิงต้องได้รับการคุม้ ครองสิ ทธิ์ ในทุกเรื่ องโดยเฉพาะ


บทบาทการบริ หารจัดการชุมชนเพราะทุกการตัดสิ นใจ ผูห้ ญิงก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน

จะทําไงให้ผหู ้ ญิงมีพ้ืนที่ในส่ วนของการเข้าไปเป็ นผูบ้ ริ หารจัดการและมีอาํ นาจ


มีการ มีผลจากการตัดสิ นใจด้วย ไม่ใช่ไปบริ หาร หมายถึงไม่ใช่เข้าไปมีบทบาทไปนัง่ เฉยๆ
แต่ว่าจะต้องมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจด้วยมีเสี ยงมีอาํ นาจในการตัดสิ นใจ … การจะมี
โรงงานอุตสาหกรรมเข้าไปในชุมชน การที่จะมีใครไปขุดเหมืองแร่ ทองคําแล้วมันมีผลต่อ
ชุมชน ผูห้ ญิงจะต้องมีบทบาทการตัดสิ นใจด้วยเพราะว่าผูห้ ญิงเป็ นผูไ้ ด้รับผลกระทบด้วย

การทําให้เกิดความเสมอภาคทางเพศในสังคม ต้องเริ่ มจากการเลี้ยงดูของครอบครัว

ต้องเริ่ มมาตั้งแต่เรื่ องของการเลี้ ยงดู ในครอบครั ว หรื อว่าพ่อแม่ตอ้ งมี ความรู ้


ความเข้าใจในเรื่ องนี้ และก็ตอ้ งทําให้ลูกของตัวเองเนี่ ยมี ความเข้าใจในมิ ติเรื่ องเพศด้วย
อย่างเช่ นเรื่ อ งภายในครอบครั ว เรื่ องเล็กๆง่ ายๆเรื่ องของงานบ้านเนี่ ย พ่อแม่ก็ตอ้ งเปิ ด
โอกาสให้เด็กหญิงเด็กชายได้มีโอกาสทํางานบ้านเหมือนกันอะไรเงี้ย ไม่ใช่ไปมองว่างาน
บ้านก็คือเป็ นเฉพาะของลูกผูห้ ญิงแต่เด็กผูช้ ายไม่ตอ้ งทําอะไรเงี้ย (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

แม้จ ะต้อ งมี ค วามเสมอภาค แต่ ก็ ต ้อ งยอมรั บ ว่ า มี ค วามเหมื อ น ความต่ า ง สิ่ ง ที่
เปลี่ยนแปลงได้และไม่ได้

หลักในมิติของ เจนเดอร์ เซ็กเจนเดอร์ ที่จะให้เข้าใจซะใหม่ว่า บทบาทหญิงชาย


เนี่ ย มันมีความเหมือน และยังมีความต่าง และยังมีความตายตัว และยังมีสิ่งที่เปลี่ยนแปลง
63

ได้ อย่างไรบ้างนะเพื่อที่จะสร้ างความละเอียดอ่อนบางเฉพาะที่ผูห้ ญิงจะต้องได้รับความ


คุม้ ครองในบางเรื่ อง ผูช้ ายจะต้องได้รับความคุม้ ครองในบางเรื่ อง (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

นโยบายรัฐดี แต่การปฏิบตั ิยงั ไม่จริ งจัง ต้องมีงบประมาณรองรับ มีการสนับสนุ น


เพียงพอ

รัฐบาลมีนโยบายผูห้ ญิงก็จริ ง มีนโยบายที่ดูดี แต่ในภาคปฏิบตั ิมนั ยังไม่จริ ง คุณ


อาจจะมีพนักงานเจ้าหน้าที่แต่อาจจะไม่มีเพียงพอ งบประมาณก็ไม่เพียงพอด้วย แล้วก็จะ
เป็ นปัญหาทําให้เกิดปัญหาต่อมูลนิธิเวลาเราจะส่ งเคสไปทีกก็ ลายเป็ นเจ้าหน้าที่ไม่ว่าง (ผูใ้ ห้
ข้อมูลหลัก, 2557)

ผูห้ ญิงยังไม่รู้บทบาทและสิ ทธิ์ของตัวเอง ยังติดในความเชื่อที่ผหู ้ ญิงไม่เท่ากับผูช้ าย

ผูห้ ญิ ง ส่ ว นมากก็ย งั ถู ก ปลู ก ฝั ง มาในแบบเดิ ม ๆอยู่อ่ ะ นะ เพราะงั้น เนี่ ย ทํา ให้


ผูห้ ญิงส่ วนหนึ่ งไม่มีความกล้าที่จะต่อสู ้ ไม่มีความมัน่ ใจ สับสน หรื อไม่มีความเข้มแข็ง ก็
ยังยอมจํานนก็ยงั ยอมรับการถูกทุบตี ทําร้าย การถูกใช้ความรุ นแรง หรื อยอมจํานนที่จะอยู่
ภายใต้การถูกกดขี่แรงงาน เพราะว่ายังไม่ได้ถูกทําความเข้าใจในเรื่ องของความเสมอภาค
(ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

เด็กมักจะได้รับความรุ นแรงที่มาจากคนในครอบครัว คนที่อยู่ใกล้ชิด จากในชุมชน


เด็กที่ตอ้ งมาอยูส่ ถานแรกรับมีสาเหตุมาจาก 3 ข้อ ข้อ 1 ถูกทารุ ณทางด้านร่ างกาย จิตใจ 2 เสี่ ยงต่อ
การกระทําผิด 3 มีสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม

ความรุ น แรงในครอบครั ว จากคนในครอบครั ว จากคนที่ อ ยู่ใกล้ชิ ด จากใน


ชุ มชน…ที่ตอบมานะคะที่เข้ามาอยู่ที่นี่เพราะอะไรมีอยู่ 3 ข้อ 1 ถูกทารุ ณทางด้านร่ างกาย
จิ ตใจ 2 เสี่ ยงต่อการกระทําผิด 3 มี สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เนี่ ยแหละคะที่ดูแลเขา
(ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

เรื่ องความเสมอภาคดีข้ ึนกว่าแต่ก่อนแต่ยงั ไม่พอ “มันดีข้ ึนกว่าแต่ก่อนนะคะแต่ว่าการ


เสมอภาคยังไม่พอแต่ดีข้ ึน …มันก็ดีข้ ึนเรื่ อยๆอะนะ แต่ดูจากสถิติใหม่เหมือนกันอะนะ… ผูห้ ญิงก็
ทํางานได้ดว้ ยถ้าไม่ใช่ ตําแหน่งทหาร ตํารวจ กระแสงานหน้าทีการงานก็มีความเสมอภาค” (ผูใ้ ห้
64

ข้อมูลหลัก, 2557) ปรัชญาของสังคมสงเคราะห์คือต้องช่วยเหลือเพื่อให้อยูด่ ว้ ยตัวเองได้ต่อไป “ตาม


ปรัชญาของสังคมสงเคราะห์เนี่ ยเราก็ตอ้ งช่วยเหลือเพื่อให้อยู่ดว้ ยตัวเองได้ต่อไป ตามหลักกว้างๆ
ของสังคมสงเคราะห์” (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557) การมีองค์กรภาคเอกชนมาช่วยทํางานด้านนี้ ได้เป็ น
สิ่ งดี เพราะหน่วยงานราชการมีไม่เพียงพอ มีความสามารถรองรับได่ไม่มาก “ก็ดีที่หน่ วยงานเราที่
ทําด้านนี้ มีไม่มาก ถ้าเอกชนเขาสามารถทําได้ ก็ดีช่วยกัน… แต่ถา้ มามากๆเราก็ไม่มีความสามารถ”
(ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557) กองทุนหรื อนโยบายต่างๆ ที่ต้ งั ขึ้นเพื่อพัฒนาบทบาทสตรี ยังทํางานไม่ตรง
เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ เป็ นแต่เพียงการปล่อยเงินกู้

ตอนนี้ ที่ชดั เจนก็คือว่าประเด็นในเรื่ องของผูห้ ญิงกับการเข้าถึ งกองทุนพัฒนา


บทบาทสตรี หรื อนโยบายสาธารณะด้านสตรี เราก็พยายามทํากิจกรรมในเรื่ องของการเข้า
ไปนําเสนอรวมกลุ่ มผูห้ ญิ งแล้วก็เข้าไปนําเสนอเรื่ องของการปรั บเปลี่ ยนกองทุนพัฒนา
บทบาทสตรี ให้มนั ตรงเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการพัฒนาบทบาทสตรี จริ งๆ ไม่ใช่
เป็ นกองทุนเพื่อการกูย้ มื หรื อกองทุนที่ไปสร้างหนี้ให้ผหู ้ ญิงอีก (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

ความเท่าเทียมเสมอภาคของชายหญิงยังเป็ นเพียงรู ปแบบ เช่นเปิ ดโอกาสทางการศึกษา


แต่เนื้อหายังไม่ใช่ เพราะทัศนคติ วิธีคิด การให้คุณค่าต่อชายและหญิงยังไม่เปลี่ยน ยังคงถ่ายทอดสั่ง
สอนกันมาจนเป็ นความเชื่อทั้งผูช้ ายและผูห้ ญิง

แม้ว่าผูห้ ญิงจะมีโอกาสทางการศึกษามากขึ้นเนี่ ย เมื่อดูโดยภาพรวมแล้วเนี่ ย คือ


การศึกษาที่ผูห้ ญิงได้รับเนี่ ยก็ยงั เป็ นการศึกษาที่เหมือนเปิ ดโอกาสเพียงรู ปแบบ แต่ในเชิ ง
เนื้ อหาที่จะนําไปให้ผหู ้ ญิงเนี่ ยได้เป็นนักคิดนักเขียนหรื อว่าเป็นมันสมองทางสังคมเนี่ ยคือ
โอกาสเนี่ ยมันยังเปิ ดน้อยอยู่ อันนี้ อาจจะมองไปถึงเรื่ องทัศนคติเดิ มด้วยนะ เรื่ องบทบาท
หญิงชายที่ยงั มีความเหลื่อมลํ้าอยูก่ ็ การสอนกันระหว่างลูกหญิงลูกชายเนี่ยก็ยงั ให้คุณค่าลูก
ชายมากกว่า ผูห้ ญิ งหรื อว่ากรณี ของการเปิ ดโอกาสในเรื่ องของการทํางานหรื อการเปิ ด
โอกาสในทางสถานะที่มีตาํ แหน่ งทางสังคมหรื อทางการเมื องเนี่ ย ก็ยงั เห็ นชัดว่าตัวเป็ น
ผูห้ ญิงแต่วิธีคิดยังเป็ นแบบผูช้ ายเป็ นใหญ่อยู่ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)
เป็ นเรื่ องทัศนคติที่ยงั มองว่าผูห้ ญิงเป็ นสมบัติของผูช้ าย ทัศนคติว่าผูห้ ญิงอ่อนแอ
ผูช้ ายเข้มแข็ง มีทศั นคติเรื่ องอะไรอ่ะ ผูห้ ญิงทํางานบ้านส่ วนผูช้ ายก็ไปลั้ลลาได้…ไอ้ระบบ
วิธีคิดแบบเนี้ ย มันถูกสอนแล้วก็ถูกทําให้เชื่ อจนกลายเป็ นวัฒนธรรมประเพณี ค่านิ ยมสื บ
ทอด บอกต่อกันมาจนกระทัง่ เป็ นความเชื่อ แล้วก็ผหู ้ ญิงก็เชื่อจริ งๆนะ ผูช้ ายก็เชื่อจริ งๆนะ
แล้วเขาก็ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงด้วย (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)
65

งบประมาณภาครั ฐ ยัง ไม่ เ พี ย งพอ และก็ ไ ม่ มี ค วามตื่ น ตัว ทํา งานไปแบบขาดแรง


กระตุน้ ต่างกับองค์กรพัฒนาเอกชนที่ตอ้ งเร่ งทํางานเพราะต้องทํางานให้เห็ นผลงานเพื่อจะขอ
งบประมาณจากต่างประเทศ

ส่ วนใหญ่ แ ล้วได้จ ากต่ า งประเทศครั บ เพราะว่าเราเป็ น Non Goverment


Organization เป็ นองค์กรพัฒนาเอกชนนะฮะ คือส่ วนหนึ่ งภาครัฐเองก็เขาก็บอกว่างบน้อย
… คือเงินของเราเนี่ยมันเป็ นเงินงบประมาณที่เราขอจากต่างประเทศ ระยะสั้นมาก เพราะงั้น
เนี่ ยเราทํางานเราก็ทาํ งานเร็ วไง ทํางานเร็ วเห็นผลงานเนาะ คือเราจะต่างกับภาครัฐตรงที่ว่า
ภาครั ฐ เขาจะทํา งานไปเรื่ อ ยๆ ถ้า ไม่ มี ต วั กระตุ ้น เพราะยัง ไงเขาก็ ไ ด้เ งิ น เดื อ น เขาก็ มี
งบประมาณ เขามีสวัสดิการ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

ผูห้ ญิงที่มีครอบครัว มีลูกแล้ว เมื่อถูกผลักภาระให้กลายเป็ นผูด้ ูแลลูกแต่ฝ่ายเดียว ต้อง


สู ญ เสี ย สั ง คม อาชี พ การงานของตัว เอง เมื่ อ วัน ที่ ผูช้ ายไม่ รั บ ผิ ด ชอบอี ก ต่ อ ไป ผูห้ ญิ ง ก็ ข าด
ความสามารถที่รับผิดชอบตัวเองกลายเป็ นผูต้ อ้ งพึ่งพิง

ถ้าผูห้ ญิงจะแต่งงานไปแล้วหรื อว่ากําลังจะมีชีวิตครอบครัวเนี่ ย คือความรักอ่ะ


มันโอเค มันดี แต่วา่ อยูไ่ ปนานวันเข้าเนี่ยคือ อย่างว่าแหละเนาะ ผูห้ ญิงก็อาจจะต้อง คือมีลูก
กันทั้งคู่อ่ะ แต่ว่าสิ่ งที่ผหู ้ ญิงจะถูกบอกมาก โดยเฉพาะผูห้ ญิงที่มีฐานะทางสังคม หรื อว่ามี
โอกาสทางการศึกษา แต่ว่าอยูใ่ นบริ บทของความรักแบบ โงหัวไม่ข้ ึน หรื อว่ารักมากอะไร
แบบเนี้ย ก็ไว้เนื้อเชื่อใจไง ก็ลาออกจากงาน ออกจากเรี ยนเพราะ ขาดสังคมเพื่อน เพื่อผูช้ าย
(ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)
สุ ดท้ายก็คือว่าวันหนึ่ งเขาไปมีใครอีก แล้วก็เขาไม่รับผิดชอบ ผูห้ ญิงก็อายุมาก
ขึ้น ลูกก็ยงั ต้องเรี ยนหนังสื อหรื อยังต้องดูแล ผูห้ ญิงก็ไม่มีเศรษฐกิจของตัวเอง ไม่มีอาชี พ
ของตัวเอง การตัดสิ นใจอะไรเนี่ยก็ยงั ต้องพึ่งพิงผูช้ ายอยูอ่ ย่างเนี้ยก็เลยกลายเป็ นว่าผูห้ ญิงไม่
สามารถไปไหนได้ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

ผูห้ ญิงเมื่อมีครอบครัว ถึงจะมีการปรับตัวเพื่อครอบครัวแต่ยงั ควรเชื่อมัน่ และมีความ


เป็ นตัวเอง ยังต้องทํางาน ยังต้องมีรายได้ของตัวเอง และผูช้ ายต้องเคารพสิ ทธิ์ ผูห้ ญิงเรื่ องนี้ เพราะ
อนาคตถ้าเกิดการเปลี่ยนแปลง ผูห้ ญิงจะยังยืนอยูไ่ ด้ดว้ ยตัวเอง พึ่งตัวเองได้
66

ที่แนะนําก็คือถ้าเกิดต้องใช้เศรษฐกิจร่ วมกันหรื อรายได้ร่วมกัน อะไรพวกเนี้ ยคือให้


แยกกระเป๋ าไม่ตอ้ งรวมกระเป๋ าเพราะว่ารวมกระเป๋ าปุ๊ บเนี่ ยมันจะมีปัญหา แต่ว่าใช้ระบบ
แชร์ แชร์ นี่ก็ไม่ตอ้ งขนาดต้อง 50-50 อ่ะนะ มันเป็ นเรื่ องความรู ้สึกที่เราควรจะ เขาจะให้เรา
ขนาดไหน เราจะให้เขาขนาดไหน ... นี่ คือสิ ทธิ์ ของเราไง คือผูช้ ายก็ตอ้ งเคารพในสิ ทธิ์
เหล่านี้ดว้ ย… ผูห้ ญิงเนี่ยต้องมีความเชื่อมัน่ ในตัวเอง และตัวเองเป็ นแบบไหนเนี่ยก็ตอ้ งเป็ น
แบบนั้น แต่ก็ตอ้ งมีปรับบ้างเพื่อที่จะอยู่ร่วมกัน แต่ไม่ตอ้ งถึงขนาดต้องทิ้งอัตลักษณ์ของ
ตัวเอง ทิ้งความเป็ นตัวเอง อะไรแบบเนี้ ย และก็ตอ้ งมีเศรษฐกิจของตัวเองมีอาชีพ มีรายได้
ของตัวเองเพราะว่าถ้าเกิดเราไม่เป็ นตัวเองเนี่ ยแล้ววันนึ งเนี่ ยมันไม่ใช่สิ่งที่เขาต้องการเนี่ ย
แล้วเรากลับมาเป็ นตัวเองอ่ะรับได้ไหม (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

ผูห้ ญิงที่มีครอบครัวมีภาระที่ตอ้ งรับผิดชอบมากเกินไป ทั้งเรื่ องในครอบครัวและการ


ทํางาน ทําให้ขาดโอกาสในการพัฒนาตนเอง ผูช้ ายควรจะเข้าแบ่งเบาด้วย

มันก็เป็ นภารกิ จที่ค่อนข้างจะหนักนะถ้าพูดถึ งในสังคมในยุคปั จจุ บนั นี้ เนี่ ย ที่


ผูห้ ญิงจะต้องออกไปทํางานนอกบ้านด้วย แล้วก็จะต้องรับภาระผิดชอบต่อครอบครัวด้วย
แต่วา่ ในขณะเดียวกันเนี่ย เราก็อยากจะให้ เอ่อ ผูช้ าย ซึ่ งก็ถือว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของครอบครัว
นะ ก็จะต้องมาแบ่งเบา ภาระตรงนี้ ดว้ ยเนื่ องจากว่า ถ้าเกิดว่าเอ่อภารกิจตกไปอยู่แต่ผูห้ ญิง
ฝ่ ายเดี ยวเนี่ ยทุกครั้ง ทําให้ผูห้ ญิงขาดโอกาสไปเรี ยนรู ้ในการที่จะพัฒนาตัวเองในด้านอื่น
เพราะว่ามันมีภารกิ จหน้าที่ที่จะต้องดู แลคนในครอบครั ว และก็จะต้องทํางานไปด้วย…
หลายคนก็ไม่สามารถที่จะไปเรี ยนหนังสื อได้หรื อว่าแม้กระทัง่ ว่าบางคนก็อาจจะต้องลาอก
จากงานเพื่อที่จะต้องมาดูแลครอบครัว (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

สังคมพูดถึงความเท่าเทียมระหว่างหญิงชายซึ่ งเป็ นในทางอุดมคติ แต่ในทางปฏิบตั ิยงั


เต็มไปด้วยอคติทางเพศ มองปั ญหาต่างๆ ว่ามีตน้ เหตุจากตัวผูห้ ญิง

ถึงแม้วา่ กระแสของสังคมเนี่ยจะพูดถึงเรื่ องของสิ ทธิ ความเท่าเทียมระหว่างหญิง


ชาย แต่วา่ ในภาคปฏิบตั ิจริ งๆมันก็ยงั มีอคติทางเพศเยอะ โดยเฉพาะในแง่ของกฎหมาย ซึ่ งก็
ยังมองว่าปั ญหาความรุ นแรงของผูห้ ญิ ง ก็เป็ นเรื่ องส่ วนตัว มันไม่ใช่ เป็ นปั ญหาสังคมที่
บุคคลภายนอกจะต้องเข้าไปแก้ไข แล้วก็ยงั มีอคติทางเพศด้วย ว่าผูห้ ญิงเนี่ ยแหละคือตัว
ต้นเหตุของปัญหา ซึ่งมันเป็ นการคิดแบบระบบเหมารวม…ถ้าผูห้ ญิงไม่ทาํ ตัวแบบนี้ ก็จะไม่
ถูกกระทําแบบนี้…ผูห้ ญิงออกมาประกอบอาชีพขายบริ การ ถ้าผูห้ ญิงไม่ออกมาก็จะไม่มีคน
ไปซื้ อบริ การ แต่สังคมไม่ได้มองว่า ถ้าคุณเลื อกที่จะไม่ซ้ื อบริ การก็อาจไม่มีผูห้ ญิงมาทํา
67

อาชีพขายบริ การ ยังเงี้ยนะคะ คือยังมองว่าเรื่ องของสิ ทธิ เท่าเทียมเนี่ ย ในอุดมคติเนี่ ย เขาก็


พูดกันว่ามันน่ าจะเป็ นแบบนั้นแต่ในความเป็ นจริ ง มันยังไม่ถึงขั้นที่ว่าจะเท่าเทียมกันได้
(ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

การที่จะทําให้เกิดความเท่าเทียมระหว่างชายหญิงได้จริ งๆ ต้องเริ่ มจากการสร้างคนรุ่ น


ใหม่ การสอนให้รู้จกั ให้เกียรติต่อเพศตรงข้าม และเคารพตัวเอง เรี ยนรู ้หลักความเสมอภาคที่ถูกต้อง
ซึ่งต้องใช้ระยะเวลายาวนานจึงจะเห็นผล

ในปกติตอนนี้ เนี่ ยมันก็ไม่ได้เห็นว่าสังคมมันจะได้ทาํ ให้เกิดความเท่าเทียมเนาะ


แต่ว่าประเด็นเรื่ องนี้ ถา้ เกิ ดว่า เอ่อ เรามีการสร้ างคนรุ่ นใหม่ เด็กผูช้ ายรุ่ นใหม่ ให้เติบโต
ขึ้นมา และก็มีแนวคิดในเรื่ องของการให้เกียรติต่อเพศตรงข้าม การไม่เอารัดเอาเปรี ยบ และ
ก็การให้เกียรติตวั เองด้วย ให้เกียรติต่อเพศตรงข้ามด้วยนี่คือสิ่ งที่สาํ คัญ คือว่าจริ งๆแล้วหลัก
ความเสมอภาคของมนุษย์ทุกคนซึ่ งต้องเรี ยนรู ้ว่าจริ งๆแล้ว เอ่อ คุณเกิดมาเป็ นผูช้ ายก็ไม่ได้
หมายความว่าคุณจะอยูเ่ หนือความเป็ นผูห้ ญิง (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)
หรื อแม้กระทัง่ การสร้างความคิดของผูห้ ญิงรุ่ นใหม่ดว้ ยเหมือนกันว่า แม้คุณจะ
เกิ ดมาเป็ นผูห้ ญิงก็ไม่ได้หมายถึงว่า คุณจะต้องอยู่ภายใต้เพศชาย ไปในทุกๆ เรื่ อง คือมัน
เป็ นเรื่ องของการให้เกี ยรติซ่ ึ งกันและกันมากกว่า พี่ว่าส่ วนเนี้ ยมันเป็ นสิ่ งที่สังคมรุ่ นใหม่
จะต้องปลูกฝั งเด็กรุ่ นใหม่ข้ ึนมาเพื่อที่จะ ในอนาคตอีก 10ปี 20 ปี ข้างหน้าเนี่ ยในประเด็น
เรื่ องความเท่าเทียมเนี่ ยมันก็อาจจะซึ มซับอยู่ในสังคมไทยมากขึ้นก็ได้ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก,
2557)

อุปสรรคคือกลไกสหวิชาชีพที่เข้ามาแก้ปัญหายังไม่เกิดการบูรณาการที่แท้จริ ง เพราะ
ติดในเงื่อนไขต่างๆ ของผูท้ ี่เกี่ยวข้อง รวมทั้งตัวผูห้ ญิงเองที่ถูกปลูกฝังให้ยอมรับในสิ่ งที่เจอ

กลไกที่มีอยู่เนี่ ยมันไม่ได้เกิดการบูรณาการที่แท้จริ ง เหมือนการทํางานแบบสห


วิชาชี พเนี่ ย แต่ละสหวิชาชี พก็จะมีเงื่ อนไขของเขา อย่างเช่ นตํารวจก็อาจจะมีเงื่ อนไขใน
เรื่ องของกระบวนการการตีความทางด้านกฎหมายใช่ไหม นักจิตวิทยาก็อาจจะมีเงื่อนไขใน
การทํางานของเขาไปอีกรู ปแบบหนึ่ ง เอ่อ นักสังคมสงเคราะห์ก็ดี หรื อว่าเอ่อหน่ วยงานที่
เอ่อ เข้ามา ซัพพอร์ทในเรื่ องของเงินทุนที่มนั นอกเหนือจากการดูแลเยียวยาทางด้านร่ างกาย
ทางด้านจิ ตใจแล้วบางทีปัจจัยทางด้านดํารงชี พก็มีส่วนที่สําคัญด้วย กับอีกส่ วนหนึ่ งก็คือ
เอ่อที่มูลนิ ธิเพื่อนหญิงเจอเนี่ ยก็คือมาจากตัวของผูห้ ญิงเองที่ยงั มองว่าเอ่อ เป็ นผูห้ ญิงก็ตอ้ ง
เสี ยสละชีวิต ทุกอย่างเพื่อครอบครัวได้อาจจะเป็ นเรื่ องของความคิดที่ถูกปลูกฝังมายาวนาน
68

อันนี้ ก็เป็ นอุปสรรคอย่างหนึ่ งที่เราก็จะต้องให้เวลากับผูห้ ญิงในการที่จะเปลี่ ยนความคิด


เพื่อที่จะให้ผหู ้ ญิง เอ่อ เพื่อที่จะให้ชีวิตของผูห้ ญิงเปลี่ยนไป (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

สิ่ งสําคัญในการฟื้ นฟูผหู ้ ญิงที่ประสบปัญหาความรุ นแรง คือเรื่ องสภาพจิตใจ การสร้าง


ความเชื่อใจ การไว้ใจ และการมีเพื่อนที่พดู คุยแลกเปลี่ยนความคิดได้ เพื่อทําให้เกิดกําลังใจและสติ
ในการแก้ปัญหาด้วยตัวเอง

สิ่ งที่สาํ คัญก็คือทางด้านจิตใจนะคะ เวลาที่ผหู ้ ญิงประสบปั ญหาในครอบครัวเนี่ย


ส่ วนใหญ่เรื่ องเรื่ องจิ ตใจเนี่ ยจะสําคัญว่า เอ่อเวลาผูห้ ญิงมีปัญหาก็ตอ้ งการเพื่อน ต้องการ
เพื่อนคุยที่เข้าใจต้องการที่จะปลดล็อคความรู ้สึกปลดความคิดของตัวเองซึ่ งเท่าที่เคยคุยกับ
ผูห้ ญิงหลายคนเนี่ ยเขาก็ไม่แน่ ใจว่าสิ่ งที่เขาคิดเนี่ ยเอ่อมันถูกมั้ย เขาก็อยากจะมี เพื่อนคุ ย
หลายๆคนมาร่ วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิตและเวลาที่เขาเจอปั ญหาแบบนี้ คิดแบบนี้
รู ้สึกแบบนี้ มนั ควรจะบวกลบตัวเองยังไงนะคะ ซึ่ งถ้าเกิดว่าเมื่อไรที่เราทําให้ผหู ้ ญิงก้าวพ้น
ความกลัวตรงนั้นไปได้ เนี่ ยผูห้ ญิงก็จะมี กาํ ลังใจและก็มีสติในการที่จะแก้ปัญหาได้ดว้ ย
ตัวเองไปโดยอัตโนมัตินะคะ แต่สิ่งที่เขาทําคือผูห้ ญิงจะต้องมีเพื่อนคะ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก,
2557)

สังคมระดับล่าง ยังมีความไม่เท่าเทียมระหว่างชายหญิง มากกว่าสังคมระดับกลางขึ้น


ไป เพราะสังคมระดับล่าง ผูช้ ายมักเป็ นผูห้ ารายได้เป็ นหลัก ผูห้ ญิงเป็ นผูพ้ ่ ึงพิง จึ งรู ้ สึกมีอาํ นาจ
มากกว่า

มันก็ยงั มีอยูเ่ ยอะในเรื่ องของความไม่เท่าเทียมถ้าเรามองในระดับคนระดับกลาง


ขึ้นไป อันเนี้ ยก็ที่จะเข้าใจเรื่ องมิติความเท่าเทียมระหว่างหญิงชายมากขึ้นกว่าเดิมนะแต่ว่า
ในระดับล่างเนี่ ยเรื่ องนี้ จะยังไม่ชดั เจนเพราะเขามองว่าการที่ผูช้ ายเป็ นหัวหน้าครอบครั ว
ออกไปทํางานนอกบ้าน แล้วก็ผหู ้ ญิงก็ไม่ได้ทาํ งาน อยูบ่ า้ นต้องเลี้ยงลูก เพราะฉะนั้นผูห้ ญิง
ต้องพึ่งก็แต่ผูช้ ายเนี่ ย เมื่อผูช้ ายรู ้ สึกว่าตัวเองมี อาํ นาจมากกว่าก็สามารถที่จะทําอะไรกับ
ภรรยากับลูกของตัวเองก็ได้ เพราะถือว่าเป็นคนหาเงินให้กบั ครอบครัว (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก,
2557)
69

เด็กที่เข้ามาอยูส่ ถานแรกรับมักมีปัญหาพฤติกรรม ซึ่งสัง่ สมมาจากสภาพแวดล้อมที่เด็ก


อยู่ ขาดการอบรมสัง่ สอน เมื่อได้มาอยูใ่ นสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เด็กสามารถเรี ยนรู ้ และปรับตัว
ได้ อาจมีการต่อต้านไม่ยอมรับบ้าง ซึ่งต้องใช้การอบรมและลงโทษ ต้องใช้เวลา

คือ ปั ญหาพฤติกรรมพวกเนี้ยมันสั่งสม และเป็นเรื่ องของสภาพแวดล้อม ที่น้ ีพอ


เข้ามาอยู่ในนี้ อ่ะคะ อันนี้ ที่เราเห็ นได้คือคามแตกต่างระหว่างสภาพแวดล้อมภายในกับ
สภาพแวดล้อมภายนอก เนื่ องจากสภาพแวดล้อภายนอกมันมีสิ่งเร้ าต่างๆ มันมีเรื่ องของ
ปัจจัยเรื่ องเพื่อน มันมีเรื่ องของโอกาสในการเข้าสู่ โลกที่มนั ไม่ค่อยเหมาะสม ...พอเข้ามาอยู่
ตรงนี้ เนี่ ย ส่ วนหนึ่ งคือเขาเรี ยนรู ้อะไรบางอย่างได้ เช่น สิ่ งที่เขาปฏิบตั ิมาเนี่ ย เขาทําพลาด
เขาทําผิด ทําให้เขาถูกส่ งมาอยูใ่ นนี้ …แต่จากพฤติกรรมที่มนั สั่งสมมานาน มันก็จะต้องให้
เวลาเขาในการปรับตัว เพราะบางทีเข้าใจ แต่พอเผลอตัวละก็เริ่ มมีบา้ ง เริ่ มมีต่อต้าน เริ่ มมี
ก้าวร้าว เริ่ มมีทาํ อะไรที่ผิดระเบียบผิดกติกา …เราก็จะใช้ในเรื่ องของการอบรม ... ถ้าทําผิด
จริ งๆ ก็มีเรื่ องของการลงโทษ ... ก็มนั เป็ นเรื่ องของการให้การอบรมสั่งสอน เนื่ องจาก
บทบาทของสถาบันครอบครัวไม่ได้ทาํ หรื อทําไม่เหมาะสม (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

ปั ญหาความไม่เสมอภาคทางเพศยังไม่เกิดได้จริ งในสังคม ถ้าหากว่าในกลุ่ม


ที่มีการศึกษายังคาดหวังไม่ได้ แล้วกลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษายิง่ เกิดได้ยาก

มันคงเป็นเรื่ องของวัฒนธรรมที่ผ่านมาด้วยในสังคมไทยที่ยกย่องให้เพศชายใน
ฐานะที่เป็นผูน้ าํ ครอบครัว และอะไรต่างๆซึ่ งการเรี ยกร้องหาความเสมอภาคทางเพศ หรื อ
ความเท่าเทียมกันทางเพศเนี่ย มันยังไม่ไปถึงระดับที่มนั เท่าจริ งๆ ...คุกคามทางเพศ ก็ยงั มีอยู่
เยอะ แล้วในสังคมทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็ นกลุ่มมีการศึกษา หรื อไม่มีการศึกษา เพราะฉะนั้น
เนี่ ย ถ้า ในระดับ กลุ่ ม ที่ มี ก ารศึ ก ษาเรายัง คาดหวัง ความเท่ า เที ย มกัน ไม่ ไ ด้เ นี่ ย กลุ่ ม
ผูด้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษาเรายิ่งไปไม่ถึงเลยคะเรื่ องนี้ เพราะฉะนั้นมันไม่เรื่ องง่ายที่จะทํา
ให้เรื่ องนี้กลายเป็ นเรื่ องที่เสมอภาคจริ งๆได้ในสังคม (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

การแก้ปัญหาความไม่เท่าเทียมทางเพศ ต้องเป็ นวาระแห่ งชาติ ไม่ใช่องค์กรใดองค์กร


หนึ่งจะทําได้สาํ เร็ จ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าระดับผูใ้ หญ่ในชาติซ่ ึงมักเป็ นผูช้ ายยังไม่เห็นด้วย ไม่เข้าใจ
ก็ยงั ไม่ง่ายที่จะเดินหน้าให้สาํ เร็ จ
70

จริ งๆตัวเองก็อยากช่วยผลักดันเรื่ องนี้นะคะ แต่จริ งๆ มันต้องเป็ นเรื่ องของกลไก


ระดับชาติ ไม่ใช่แค่องกรองค์กรเดียวแล้วก็ โดยเฉพาะในสาย เอ็นจีโอ สายเดียวที่จะทําได้
เอ่อ เขาอาจจะทําได้ในระดับนึ ง แต่ถา้ จะเคลื่อนเรื่ องเนี้ ยต้องเป็ นระดับชาติ ต้องเป็ นวาระ
แห่งชาติ เหมือนยุคนึงที่พดู กันเรื่ องของที่มีการค้ามนุษย์ แล้วก็ยกประเด็นเรื่ องการค้ามนุษย์
ขึ้ น มาเป็ นวาระแห่ งชาติ แต่ ถามว่า เรื่ อ งนี้ เรื่ อ งสตรี จ ะมี โ อกาสหยิบ ยกขึ้ น มาเป็ นวาระ
แห่ งชาติไหม ไม่ง่ายคะ เพราะว่า เพราะว่าผูช้ ายก็จะพยายามมองว่า โอ้ย ลุกขึ้นมาเรี ยกร้อง
อะไรวะเนี่ ย คือเขาก็ยงั ไม่เข้าใจคําว่าความเสมอภาค หรื อความเท่าเทียมกันมากนัก (ผูใ้ ห้
ข้อมูลหลัก, 2557)

มูลนิธิหรื อองค์กรเอ็นจีโอที่มีอยูส่ ามารถเข้ามาช่วยแก้ปัญหาได้ดี เพียงแต่ปัญหาสําคัญ


คือขาดงบประมาณ “จริ งๆมูลนิธิหรื อเอ็นจีโอบางแห่ งก็ทาํ ได้ดีนะคะ เพียงแต่ว่าปั ญหาก็คือเขาไม่มี
งบประมาณหลัก…เพราะไม่มีงบประมาณหลักในการสนับสนุน มันแตกต่างจากภาครัฐ คือยังไงก็มี
งบประมาณถึงจะน้อย แต่กม็ ี” (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557) การวัดความสําเร็ จของหน่วยงานด้านนี้ คือ ทํา
ให้กลุ่มเป้ าหมายกลับคืนสู่ สงั คมได้ในวิถีทางที่ถูกต้อง ดูแลตัวเองได้

ถ้าถามตัว เองนะคะ ถ้า ถามตัว เองเราวัด ที่ เอ่ อ กลุ่ มเป้ าหมายของเราเนี่ ย ได้
กลับคืนสู่ สังคมหรื อไม่ คําว่ากลับคืนสู่ สังคมหรื อไม่มนั มีหลายมุมมองเช่นกลับครอบครัว
ดูแลตัวเองได้ เพราะในกรณี ที่ไม่มีครอบครัว นะคะ หรื อว่าแม้กระทัง่ ว่าได้ใช้ชีวิตในสังคม
ได้ อยู่ในวิถีทางที่ ถูกต้องคือ ไม่ ไปก่ อคดี ไม่ไปลักขโมย อันนั้นคือมองที่ ตวั เองประสบ
ความสําเร็ จ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

ความรุ นแรงในครอบครัว เช่น ตีกนั ทะเลาะกัน ถ้าเกิดเป็ นครั้งคราวก็นบั ว่าปกติ แต่ที่


เป็ นปั ญหาคือมีการเกิดความรุ นแรงสะสมหลายๆครั้ง

ก็คือว่าการที่ครอบครัวก็คือ ตีกนั อย่างรุ นแรงในเรื่ องของการใช้วาจาอะไรกัน


แบบเนี้ ยมันเป็นเรื่ องปกติ แต่ถา้ เกิดว่าการรุ นแรงครั้งนึ งมันก็ถือว่าอาจจะเป็นปกติสาํ หรับ
เขา แต่ส่วนมากที่เราได้เจอเนี่ยมันก็จะเป็ นเรื่ องการที่แบบว่าสะสมหลายๆครั้งมันเลยทําให้
เกิดความรุ นแรงในครอบครัวเกิดขึ้นแล้วมาถึงเราครับ (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557)

กฎหมายให้ความคุม้ ครองทั้งชายและหญิง แต่ส่วนใหญ่ปัญหาความรุ นแรงเป็ นผูช้ าย


กระทําต่อผูห้ ญิงมากกว่า “จริ งๆ แล้ว พรบ.ความรุ นแรงมันเป็ น พรบ.ในครอบครัว ที่ว่ารุ นแรงกัน
71

ไม่ว่าจะเป็ นผูห้ ญิงทําผูช้ ายหรื อผูช้ ายทําผูห้ ญิง แต่เหตุการณ์ที่มนั เกิดขึ้นส่ วนมากจะเป็ นผูช้ ายทํา
ผูห้ ญิงมากกว่า” (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557) ปั ญหาความรุ นแรงที่ได้รับแจ้งดูเหมือนลดลง แต่ส่วน
ใหญ่ผแู ้ จ้งกรณี ต่างๆ เข้ามามักเป็ นบุคคลที่ 3

ลดลงนี่ อาจจะเป็ นเพราะว่าเขาอาจจะไม่มีใครโทรแจ้งหรื อว่าเขาไม่กล้าแจ้ง


อะไรอย่างเงี้ย เพราะว่าบางกรณี โทรมาปุ๊ บมีปัญหา พอแจ้งปุ๊ บแล้วเราโทรไปเขาก็เคลียร์ กนั
ล่ะ มันก็กลายเป็ นว่าจบแล้วอะไรเงี้ย …คือเขาอาจจะมองว่าไม่ใช่เรื่ องของเขาอะไรอย่างเงี้ย
มากกว่า …เพราะส่ วนมากคนที่แจ้งจะเป็ นบุคคลที่ 3 นอกจากว่าภรรยาโดนจริ งๆโดนมากๆ
หนักๆ แฟนติดยา คือสติไม่มีแล้วอะไรอย่างเงี้ยเขาก็จะแจ้งด้วยตัวเอง (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก,
2557)

มูลนิ ธิเอกชนต่างกับมูลนิ ธิของรัฐบาลในเรื่ องของความพร้อม ถ้าหากยังมีมูลนิ ธิของ


รัฐบาลในพื้นที่ ก็จะได้รับการยอมรับและเข้าถึงมากกว่า “อย่างเคสแต่ละเคสที่ผา่ นมาเนี่ ยพออยูใ่ น
พื้นที่เราปุ๊ บ เอกชนจะโทรมาหาเราเลย เราจะต้องเป็ นคนลงประสานและรายงาน และก็พดู คุยอะไร
อย่างเงี้ย คือเหมือนกับว่า การลงพื้นที่จริ งๆหรื อการที่จะยอมรับจากประชาชนอะไรอย่างเนี้ ย เขายัง
ไม่ถึง” (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก, 2557) การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพของงานวิจยั นี้ ผูว้ ิจยั ยังได้นาํ เอา
ถ้อยคํา สัมภาษณ์ ของผูใ้ ห้ขอ้ มู ลหลัก มาเปรี ย บเที ย บกัน เพื่อให้เ ห็ น ความเหมื อนกัน และความ
แตกต่างกัน ดังปรากฏในตารางต่อไปนี้

ตารางที่ 1 ตารางเปรี ยบเทียบถ้อยคําสัมภาษณ์ของผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก


ประเด็น ความเห็นเหมือน ความเห็นแตกต่ าง หมายเหตุ
ความรุ นแรงที่กระทํา ผูห้ ญิงถูกกระทําความ -
ต่อผูห้ ญิงมักมาจากคน รุ นแรงจาก สามี พ่อเลี้ยง
ใกล้ชิด คนใน และคนในชุมชนที่เคยเห็น
ครอบครัว หรื อคนใน หน้ากัน
ชุมชนพื้นที่ 4 คน
รู ปแบบการพัฒนา อยากให้ภาครัฐและเอกชน กฎหมายมีอยูแ่ ล้ว แต่
ความเสมอภาคทาง เข้ามาช่วยเหลืออย่างจริ งจัง ประชาชนหรื อแม้แต่
เพศและสิ ทธิสตรี มีกฎหมายที่เคร่ งครัด องค์กรปกครองท้องถิ่น
ภาครัฐและเอกชนต้อง เข้มงวดมากขึ้นและ เช่น อบต. ก็ไม่ทราบว่ามี
72

ตารางที่ 1 ตารางเปรี ยบเทียบถ้อยคําสัมภาษณ์ของผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก (ต่อ)


ประเด็น ความเห็นเหมือน ความเห็นแตกต่ าง หมายเหตุ
ช่วยเหลือจริ งจังและมี คุม้ ครองผูห้ ญิงได้จริ งๆ ไม่มีความรู ้ เมื่อเกิดความ
กฎหมายที่เข้มงวด 3 คน รุ นแรงก็ไม่ทราบว่าต้องทํา
อย่างไร
1 คน
ชายหรื อหญิงมีความ ปั จจุบนั ชายหญิงมีความ ดูเหมือนมีความเท่าเทียม
เสมอภาคหรื อเท่า เสมอภาคหรื อเท่าเทียมกัน กัน แต่ในบางเรื่ องก็ยงั ไม่
เทียมกันมากขึ้น มากขึ้น โดยได้รับแนวคิด เท่าเทียม ยังไงผูช้ ายก็ยงั
จากตะวันตก มีกฎหมายที่ เหนือกว่าผูห้ ญิง
ให้ความเท่าเทียมใกล้เคียง การศึกษาของผูห้ ญิงดีข้ ึน
กัน แต่ยงั เป็ นเพียงแต่รูปแบบ
2 คน แต่โอกาสการยอมรับใน
ด้านต่างๆ ยังน้อย
4 คน
ผูห้ ญิงมีการแสดงออก ผูห้ ญิงเริ่ มมีบทบาทใน ผูห้ ญิงอาจมีตาํ แหน่งเท่า
และมีบทบาทในสังคม สังคมมากขึ้น ผูห้ ญิงได้ เทียมแต่บทบาทก็ยงั
มากขึ้น ดํารงตําแหน่งสูงๆ มากขึ้น แตกต่างกัน
หน้าที่การงานก็มีความ ผูห้ ญิงต้องมีส่วนร่ วมใน
เสมอภาค การตัดสิ นใจ มีอาํ นาจใน
2 คน การบริ หารจัดการชุมชน
มากขึ้น
วิธีคิดยังเป็ นแบบผูช้ ายเป็ น
ใหญ่ เป็ นผูต้ ดั สิ นใจ
3 คน
อคติทางเพศในสังคม เจ้าหน้าที่รัฐมักปฏิบตั ิต่อ
มีการปฏิบตั ิต่อผูห้ ญิง ผูห้ ญิงไม่เท่าเทียมกับผูช้ าย
ไม่เท่าเทียมแม้วา่ ใน เช่น การรับแจ้งความ การ
สังคมจะมีการพูดถึง ดําเนินคดีต่างๆ โดยมองว่า
ความเท่าเทียมกัน สาเหตุการถูกกระทํามาจาก
73

ตารางที่ 1 ตารางเปรี ยบเทียบถ้อยคําสัมภาษณ์ของผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก (ต่อ)


ประเด็น ความเห็นเหมือน ความเห็นแตกต่ าง หมายเหตุ
ผูห้ ญิง หรื อเป็ นเรื่ องผัวเมีย
ผูช้ ายรู ้สึกว่าเหนือกว่า
ผูห้ ญิง และผูห้ ญิงเองก็
ยอมรับสภาพที่อยูใ่ ต้ผชู ้ าย
3 คน
พื้นฐานการเป็ น องค์กรภาครัฐอาจเข้าไปไม่ องค์กรภาครัฐได้รับการ
ประชาสังคม ทัว่ ถึง ต้องใช้องค์กรเอกชน ยอมรับมากกว่า และมี
ที่สามารถเข้าไปในพื้นที่ งบประมาณ ถึงจะมีนอ้ ย
และมีงบประมาณ แต่กม็ ี ต่างจากเอกชนที่
สนับสนุน ขาดงบประมาณหลัก ต้อง
องค์กรภาครัฐมีไม่เพียงพอ ขอรับการสนับสนุนจาก
รองรับต้องให้เอกชนเข้ามา ต่างประเทศ และเป็ นงบ
ช่วยกัน ระยะสั้น
1 คน 2 คน
การพัฒนาคุณภาพ ผูห้ ญิงส่ วนมากถูกปลูกฝัง
ชีวิตสตรี การสร้าง ในความเชื่อแบบเดิมๆ ต้อง
ความเสมอภาคทาง สอนให้รู้จกั บทบาทหน้าที่
เพศ ต้องเริ่ มจาก ความรับผิดชอบใน
ครอบครัว การสอนให้ ครอบครัว การให้เกียรติกนั
รู ้จกั ให้เกียรติตนเอง และกัน การแบ่งเบา
รวมถึงเพศตรงข้าม ภาระหน้าที่รับผิดชอบทั้ง
ผูช้ ายผูห้ ญิง
2 คน
รัฐบาลมีนโยบาย มีนโยบายที่ดูดี แต่
เกี่ยวกับผูห้ ญิงที่ดี แต่ ภาคปฏิบตั ิยงั ขาดเจ้าหน้าที่
ยังปฏิบตั ิไม่ได้จริ ง ขาดงบประมาณ กองทุน
ต่างๆ ที่ต้ งั ขึ้นเพื่อพัฒนา
สตรี กย็ งั ต้องทําให้ถูกต้อง
74

ตารางที่ 1 ตารางเปรี ยบเทียบถ้อยคําสัมภาษณ์ของผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก (ต่อ)


ประเด็น ความเห็นเหมือน ความเห็นแตกต่ าง หมายเหตุ
ตรงเป้ าหมายและ
วัตถุประสงค์
1 คน
กลไกการแก้ปัญหา การทํางานสหวิชาชีพ แต่วา่
แบบสหวิชาชีพยังขาด แต่ละวิชาชีพก็มีเงื่อนไข
การทํางานเชิงบูรณา ของตัวเอง
การที่แท้จริ ง ต่างฝ่ าย 1 คน
ต่างมีเงื่อนไขข้อจํากัด

ในบทนี้ ผูว้ ิจยั ได้แบ่งส่ วนของเนื้ อหาเป็ นประเด็นของการวิเคราะห์ขอ้ มูล ออกเป็ น


ประเด็นต่าง ๆ ตามแหล่งข้อมูลโดยทําเป็ นแผนภาพเพื่อง่ายต่อการทําความเข้าใจ ดังที่แสดงใน
ภาพประกอบดังต่อไปนี้
ข้ อมูล แหล่งข้ อมูล
ความรุ นแรงภายใน
ครอบครัว
ประชาสังคมกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ
ความเสมอภาคทางเพศและ สตรี : กรณี ศึกษามูลนิธิ เพื่อนหญิง
สิ ทธิสตรี 1. เพื่อศึกษาถึงความเป็ นประชาสังคมของ
มูลนิธิเพื่อนหญิงในความเสมอภาคทางเพศและ
สิ ทธิสตรี
2. เพื่อศึกษาถึงสาเหตุของการใช้ความ
รู ปแบบแนวทางการพัฒนา รุ นแรงภายในครอบครัวที่เกิดขึ้นกับสตรี และแนว
ความเสมอภาค ทางการป้ องกัน
ทางเพศและสิ ทธิสตรี 3. เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาความเสมอ
ภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี รวมถึงปัญหาความ
แนวคิดพื้นฐานของการเป็ น รุ นแรง และแนวทางการป้ องกัน
ประชาสังคม

ภาพที่ 2 การสังเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ


บทที่ 5
สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

การศึ กษาวิจยั หัวข้อ “ ประชาสังคมกับความเสมอภาคของสิ ทธิ สตรี : กรณี ศึกษา


มูลนิ ธิเพื่อนหญิง ” ในครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์การวิจยั เพื่อศึกษาถึงความเป็ นประชาสังคมของมูลนิ ธิ
เพื่อนหญิง ในความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี เพื่อศึกษาถึงสาเหตุของการใช้ความรุ นแรง
ภายในครอบครัวที่เกิดขึ้นกับสตรี และแนวทางการป้ องกัน และ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาความ
เสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี การวิจยั ครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เชิงคุณภาพโดยอาศัยข้อมูลเชิงคุณภาพ
ซึ่ งได้มาจากแหล่งข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ เชิ งลึก บุคคลที่มีบทบาทหน้าที่ในการดูแลและรักษา
สิ ทธิ สตรี สตรี ที่ได้รับผลจากความรุ นแรงจากการกดขี่ทางเพศ และนักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสิ ทธิ
สตรี

สรุปผลการวิจัย
1. ความเป็ นประชาสังคมของมูลนิ ธิเพื่อนหญิงเป็ นมูลนิ ธิที่จดทะเบียนตามกฎหมาย มี
ภารกิจที่ประกอบด้วย นโยบายของมูลนิ ธิเพื่อให้สตรี ได้รับการคุม้ ครองสิ ทธิ์ ต่างๆ ตามกฎหมาย
การพัฒนาหรื อการยกระดับศักยภาพของสตรี ให้มีบทบาทในสังคม ศูนย์พิทกั ษ์รับเรื่ องราวร้องทุกข์
การจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดการรวมกลุ่ม การออมทรัพย์และการขยายเครื อข่ายทัว่ ประเทศ
2. สาเหตุของการใช้ความรุ นแรงภายในครอบครัวที่เกิ ดขึ้นกับสตรี ได้แก่ ความไม่มี
เหตุผลของสามีโดยการหึ งหวงจนเกินเหตุ ความเจ้าชูแ้ ละชอบทําร้ายร่ างกายผูอ้ ื่น
3. แนวทางในการพัฒนาความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี สามารถกระทําได้ 3
แนวทางคือการคุม้ ครองตามกฎหมายอย่างจริ งจัง การส่ งเสริ มการประกอบอาชีพให้สตรี สามารถอยู่
ได้ดว้ ยตนเอง และการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความเท่าเทียมทางเพศให้เกิดขึ้นภายในครอบครัว
ไม่วา่ จะเป็ นบุรุษหรื อสตรี

75
76

อภิปรายผล
1. ความเป็ นประชาสั งคมของมูลนิธิเพื่อนหญิง กับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ
สตรี
ความเป็ นประชาสังคมของมูลนิ ธิเพื่อนหญิ งเป็ นไปตามแนวคิดเกี่ ยวกับสัญญา
ประชาสั ง คมในทัศ นะของค้า นท์ที่ ม องว่ า สั ญ ญาประชาคมคื อ ที่ ร วมของเหตุ ผ ลในการสร้ า ง
กระบวนการยุติธรรม กฎหมายตามรัฐธรรมนูญแห่ งสาธารณะโดยจะต้องมองว่ากฎหมายมีไว้เพื่อ
คนทั้งมวลตราบใดที่ยงั เห็นด้วยที่จะให้มีกฎหมายนั้นๆต่อไป แนวคิดประชาสังคมนี้ เป็ นหลักการ
สําคัญในปรัชญาทางการเมือง เป็ นหลักการที่เน้นยํ้าว่ารัฐจะต้องมีหลักประกันให้พลเมืองแต่ละคน
มีเสรี ภาพให้มากที่สุดเท่าที่เป็ นได้ และเป็ นเสรี ภาพที่สอดคล้องกับพลเมืองทุกคนไม่ว่าจะเป็ นเพศ
หญิงหรื อเพศชาย กล่าวคือเป็ นเสรี ภาพที่ไม่ไปละเมิดเสรี ภาพของคนอื่นๆ ดังนั้น การมีเสรี ภาพที่
เท่าเทียมกันให้มากที่สุดคือเป้ าหมายแบบมีเหตุผลของเจตจํานงร่ วม หลักการนี้ ถือว่าเป็ นแก่นหลัก
ของแนวคิดสาธารณรัฐนิ ยม (Republicanism) ซึ่ งค้านท์เชื่อว่ารู ปแบบของรัฐบาลแบบสาธารณรัฐ
เป็ นรู ปแบบรัฐที่มีศีลธรรมที่ดีและเป็ นประโยชน์ที่สุด เพราะเป็ นรู ปแบบที่ทาํ ให้พลเมืองมีเสรี ภาพ
มากที่ สุดเท่าที่ จะมี ได้ นอกจากนี้ รูปแบบสาธารณรั ฐยังช่ วยทําให้จุดมุ่งหมายตามหลักการของ
สัญญาประชาคมมีความสมบูรณ์ (ข้อมูลจากหนังสื อ พัฒนาการและการพัฒนาประชาสังคม โดย
ผศ.ทศพล สมพงษ์) ซึ่ งจะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบที่สําคัญ 3 ส่ วน คือ (สายฝน น้อยหี ด,
2549: 41 - 44)
1.1 จิตสํานึกประชาคม (Civic Consciousness) หมายถึงความคิดและความยอมรับ
เรื่ องการรวมตัวกันอย่างอิสระด้วยความรัก ความเอื้ออาทร ความยอมรับในความคิดเห็นของกัน
และกันในอันที่จะเรี ยนรู ้ร่วมกัน หรื อแก้ไขปั ญหาที่เผชิญอยู่ การรวมตัวกันจึงเป็ นลักษณะหุ น้ ส่ วน
(Partnership) เป็ นความสัมพันธ์ในแนวราบ (Horizontal) มีอิสระเท่าเทียมกัน และมีการเรี ยนรู ้
ร่ วมกัน
1.2 โครงสร้างองค์กรประชาสังคม (Civic Organization) หมายถึง กลุ่มการรวมตัว
ซึ่ งอาจเป็ นองค์กรที่เป็ นทางการ (นิ ติบุคคล) หรื อไม่เป็ นทางการก็ได้ เป็ นกลุ่มที่รวมตัวกันเฉพาะ
คราว เฉพาะเรื่ องหรื อ ต่ อ เนื่ อ งก็ไ ด้ สมาชิ ก ของกลุ่ ม อาจเป็ นบุ คคลในภาครั ฐ ภาคธุ รกิ จ หรื อ
ประชาชน หรื อรวมกันอยู่ก็ได้ จํานวนสมาชิกไม่จาํ กัด มีสมาชิกเพียง 2 - 3 คนก็ได้ รู ปแบบที่เห็น
ได้มากที่สุด ก็คือ องค์กรเอกชนสาธารณะประโยชน์ในลักษณะต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ นมูลนิ ธิ สมาคม
ชมรม สมาพัน ธ์ สหพัน ธ์ ชุ ม นุ ม สหกรณ์ กลุ่ มออมทรั พย์ หรื อกลุ่ มอื่ น ๆ ประเด็น สํา คัญการ
รวมกลุ่ มต้องมี จิตสํานึ ก ประชาคมครบถ้ว น การรวมกลุ่มที่ มีลกั ษณะจัด ตั้ง ชี้ นํา ขาดการสร้ าง
Partnership ไม่มีการเรี ยนรู ้ร่วมกันและมีลกั ษณะความสัมพันธ์ในแนวดิ่ง แม้จะเกิดอยูใ่ นชุมชนไม่
77

ว่าจะสนับสนุ น โดยภาครั ฐหรื อองค์กรเอกชนก็ไม่สามารถนับเป็ นประชาสังคมได้ เพราะขาด


จิตสํานึกประชาสังคม
1.3 เครื อข่ายประชาคม (Civic Network) หมายถึง โครงสร้างและกระบวนการซึ่ ง
เชื่ อมโยงสมาชิ กในกลุ่ม หรื อ เชื่ อมโยงองค์กรประชาสังคมต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ปั จจัยสําคัญของ
เครื อข่ายประชาสังคม คือ ระบบการสื่ อสารที่มีประสิ ทธิ ภาพและการประชาสัมพันธ์ดว้ ยความ
สมานฉันท์ เครื อข่ายประชาสังคมจะเป็ นสิ่ งที่ช่วยรวมจิตสํานึกของสมาชิกและองค์กรประชาสังคม
ต่าง ๆ ให้เกิด "อํานาจที่สาม" ที่มีความเข้มแข็งในสังคมขึ้นมา
การที่ปัญหาเกิดขึ้นในสังคม ซึ่ งประชาชนผูแ้ บกรับปั ญหาไม่สามารถพึ่งพารัฐแต่
เพียงอย่างเดียว ไม่วา่ ด้วยเหตุความสลับซับซ้อนของปัญหา หรื อเพราะความจํากัดของประสิ ทธิภาพ
ในภาครัฐ ประชาชนก็จะต้องหาทางแก้ไขปั ญหานั้น ตั้งแต่แก้ไขด้วยตัวเองเป็ นกลุ่มเล็ก ๆ จนเมื่อมี
โอกาสในการสนทนา แลกเปลี่ ย นความเห็ น ในวงกว้าง จึ งเกิ ด การรวมตัว กัน ที่ จ ะกระทํา การ
บางอย่างเพื่อแก้ปัญหานั้นให้ลุล่วงไป ทั้งนี้ อาจดําเนิ นการโดยประชาสังคมเอง หรื อร่ วมกับภาครัฐ
ภาคธุรกิจเอกชนก็ได้
2.สาเหตุของการใช้ ความรุ นแรงภายในครอบครั วที่เกิดขึ้นกับสตรี และแนวทางการ
ป้องกัน
สาเหตุและปั จจัยที่ทาํ ให้เกิดความไม่เสมอภาคระหว่างชายและหญิง มาจากแนวคิด
ที่ ว่าผูช้ ายและหญิ ง มี ความแตกต่ างกัน เนื่ องมาจากพื้ น ฐานที่ ต่ า งกัน ทั้ง ด้า นร่ างกายและจิ ต ใจ
เนื่ องจากธรรมชาติ ได้สร้ างทั้งสองเพศให้ต่างกันผูช้ ายมีสรี ระที่แข็งแรงกว่าผูห้ ญิง จึ งสมควรมี
หน้าที่ปกป้ องเพศหญิงซึ่ งอ่อนแอกว่า ผูช้ ายมีจิตใจที่เข้มแข็ง จึงสมควรเป็ นผูน้ าํ เป็ นผูต้ ดั สิ นใจ
ผูห้ ญิงจึงสมควรเป็ นผูต้ ามและคอยดูแลปรนนิบตั ิผชู ้ ายเท่านั้น ซึ่งความคิดเหล่านี้ยงั เป็ นความคิดที่มี
อิทธิพลอยูม่ ากและหลายคนคิดว่าเป็ นเรื่ องปกติอยูแ่ ล้วไม่น่าจะใส่ ใจอะไร
แต่เนื่องจากสภาพทัว่ ไปในสังคมปั จจุบนั ที่บทบาทของผูห้ ญิงมีเพิ่มมากขึ้น ผูห้ ญิง
มีภาระหน้าที่การงานเคียงคู่กบั ผูช้ าย และสังคมก็ไม่ปฏิเสธความสามารถของผูห้ ญิง จึงสมควรเริ่ ม
มาพิจารณาให้ถ่องแท้วา่ แนวคิดดังกล่าวนั้นยังเป็ นจริ งอยูห่ รื อไม่เพียงใดในปั จจุบนั จากการกําหนด
บทบาทในสังคมตามความแตกต่างทางเพศโดยอ้างรากฐานทฤษฏีว่า ด้วยความแตกต่างทางด้าน
ร่ างกายและจิตใจ เรื่ องเกี่ยวกับ ฮอร์ โมนที่ต่างกัน ซึ่ งทําให้พฤติกรรมทางเพศย่อมจะแตกต่างกัน
โดยมักจะมีคาํ อธิบายว่า ผูช้ ายเป็ นเพศที่แข็งแรง เป็ นอิสระ หนักแน่น ไม่ใช้อารมณ์ ไม่มีอคติ ไม่ถูก
ครอบงําง่าย มีเหตุผล กล้าตัดสิ นใจ และมีความเชื่ อมัน่ ในตัวเองสู งและที่สําคัญคือมีอาํ นาจเหนื อ
ผูห้ ญิง ในขณะที่ผหู ้ ญิงปกติจะถูกมองว่าปราศจากความหนักแน่น อ่อนไหว ไร้เหตุผล อ่อนแอ รู ้สึก
78

เจ็บปวดง่าย ไม่กล้าตัดสิ นใจ ไม่กล้ารับผิดชอบ ขาดความมัน่ ใจในตัวเองต้องอยูโ่ ดยอาศัยเพศชาย


ซึ่งคําอธิบายเกี่ยวกับจิตใจเหล่านี้ทาํ ให้การมองภาพรวมของผูห้ ญิงและผูช้ ายต่างกัน
ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย เป็ นเป้ าหมายที่ยงั ไม่ได้บรรลุในสังคมปั จจุบนั ซึ่ง
ดู ไ ด้ จ ากสั ด ส่ ว นของผู ้ห ญิ ง ผู ้ช ายที่ ไ ม่ เ ท่ า เที ย มกั น ในตํา แหน่ ง สํ า คัญ ๆ ของสั ง คม เช่ น
คณะรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร หรื อในความไม่เท่าเทียมระหว่างรายได้ของผูห้ ญิงและ
ผูช้ ายเป็ นต้น แต่สาํ หรับผูห้ ญิงส่ วนใหญ่ในสังคม ประเด็นความเสมอภาคที่สาํ คัญที่สุด เกี่ยวข้องกับ
ค่านิยมในสังคม ที่มองว่าผูห้ ญิงควรมีบทบาทหลักในการดูแลครอบครัว ซึ่งทําให้กลายเป็ นพลเมือง
ชั้น สองในสัง คมนอกครั ว เรื อน และทําให้ผูห้ ญิ งขาดสิ ทธิ เสรี ภ าพเหนื อเนื้ อ ตัว ร่ างกายตนเอง
นอกจากนี้ เมื่อเราพูดถึงปั ญหาความไม่เท่าเทียมระหว่างเพศ เราต้องรวมถึงสิ ทธิ เสรี ภาพของคนรัก
เพศเดียวกัน ซึ่งยังขาดตกบกพร่ องอยูม่ าก
การละเมิดสิ ทธิ สตรี ยงั ดํารงอยู่อย่างกว้างขวาง แม้จะน้อยลงเมื่อเปรี ยบเทียบกับ
สมัยที่ผา่ นๆ ทั้งนี้ เป็ นเพราะโครงสร้างทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่ผชู ้ ายยังเป็ น
ใหญ่ ค่านิยมในสังคมไทยที่ครอบงําสังคมให้ผหู ้ ญิงอยูภ่ ายใต้อาํ นาจเป็ นมาอย่างต่อเนื่อง สังคมยังมี
ทรรศนะว่าผูช้ ายเป็ นช้างเท้าหน้าผูห้ ญิงเป็ นช้างเท้าหลัง ผูช้ ายมี ภรรยาได้หลายคน ผูห้ ญิ งต้อง
ทํางานบ้าน เลี้ยงลูก มีบทบาทสําคัญในครัว หรื อถ้าผูห้ ญิงทํางาน นอกบ้านก็ยงั ต้องกลับมาทํางาน
ในบ้านด้วย รวมถึ งทัศนคติ ที่คิดว่าการที่ผูห้ ญิงออกมาเรี ยกร้ องสิ ทธิ มากๆ ทําให้ครอบครั วเกิ ด
ความแตกแยก สังคมปั่ นป่ วน ฯลฯ
ประเทศไทย ได้เห็นความสําคัญในการพัฒนาสิ ทธิเสรี ภาพของสตรี ในทุกด้าน โดย
ได้ร่ วมลงนามเป็ นภาคี ใ นอนุ สั ญ ญาว่ า ด้ว ยการขจัด การเลื อ กปฏิ บ ัติ ต่ อ สตรี ในทุ ก รู ป แบบ
(CEDAW) โดยมีแนวทางการพัฒนาตามที่สหประชาชาติกาํ หนด เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2528
และได้มีการปรับปรุ งกฎหมายต่างๆ ให้สอดคล้องกับพันธกรณี ทั้งกฎหมายอาญา กฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ ตลอดจนกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับสิ ทธิ สตรี อย่างต่อเนื่ อง อาทิ สิ ทธิ ใน
การรับราชการ สิ ทธิ ในการเข้าร่ วมทางการเมือง สิ ทธิ ในการทํานิ ติกรรมสัญญาต่างๆ ทําให้สิทธิ
และเสรี ภาพของสตรี ไทยเท่าเทียมกับบุรุษ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งรั ฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่ งเป็ น
รัฐธรรมนูญฉบับปั จจุบนั ได้ให้ความคุม้ ครองรับรองสิ ทธิ และสร้างหลักประกัน รวมถึงกําหนดให้
เป็ นหน้าที่ของรัฐที่ตอ้ งคํานึงถึงศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ และจะต้องส่ งเสริ มความเสมอภาคระหว่าง
สตรี และบุรุษ เสริ มสร้างและพัฒนาความเป็ นปึ กแผ่นของครอบครัว และความเข้มแข็งของชุมชน
โดยกําหนดให้มีมาตรการและกระบวนการต่างๆ เพื่อขจัดอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดจากการเลือกปฏิบตั ิ
79

ที่ไม่เป็ นธรรม ตลอดจนส่ งเสริ มให้บุคคลสามารถใช้สิทธิ เสรี ภาพได้อย่างเท่าเทียมและเสมอภาค


กัน
สตรี นิย มแนวเสรี นิย มถูก วิจารณ์ ว่าแม้นว่าผูห้ ญิ ง ได้รับความเสมอภาคในชี วิต
สาธารณะแล้ว แรงงานในบ้านของผูห้ ญิงก็ยงั คงไม่เสมอภาคกับผูช้ ายอยูว่ นั ยังคํ่าที่มองไม่เห็นก็คือ
วาระซ่อนเร้นของระบบชายเป็ นใหญ่ในสถาบันสาธารณะก็อาจบ่อนทําลายความเสมอภาคในสิ ทธิ
ตามกฎหมายที่เห็นกันอยูแ่ จ่มชัดได้
การใช้ความรุ นแรงต่อสตรี และเด็ก ได้มีการศึกษามากมายดังเช่น สํานักงานกิจการ
สตรี และสถาบันครอบครัวกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์� (2548) ความ
รุ นแรงต่อเด็กและสตรี เป็ นปั ญหาสําคัญของสังคมที่ตอ้ งเร่ งดําเนิ นการทั้งด้านการป้ องกันแก้ไข
และช่ วยเหลือผูป้ ระสบปั ญหาอย่างจริ งจัง โดยหน่ วยงานราชการและองค์กรเอกชน รวมทั้งต้อง
อาศัย ความเข้าใจและร่ วมมือของคนในสังคม เนื่องจากเป็ นปั ญหาที่มีความละเอียดอ่อน มีรากเหงา
ของปั ญ หามา จากค่ า นิ ย ม เจตคติ ข องสั ง คมที่ ก ํา หนดความไม่ เ ท่ า เที ย มกัน ระหว่ า งหญิ ง ชาย
นอกจากนี้ ในระดับสากล ปั ญหาความรุ นแรงต่อเด็กและสตรี ได้รับการยอมรับว่าเป็ นปั ญหาที่
เกิดขึ้นในทุกสังคมและเป็ นประเด็นที่ ต�องการความร่ วมมือจากทุกฝ่ ายในการแก้ไข ดังปรากฏ
ในกติการะหว่างประเทศของสหประชาชาติหลายฉบับ ได�แก� ปฏิญญาว่าด้วยการขจัดความ
รุ นแรงต่อสตรี อนุสญ ั ญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบตั ิต่อสตรี ในทุกรู ปแบบ อนุสญ ั ญาว่าด้วยสิ ทธิ
เด็ก รวมทั้ง ปฏิญญาปั กกิ่ ง และแผนปฏิบตั ิการเพื่อความก้าวหน้าของสตรี นโยบายและแผนขจัด
ความรุ นแรงต่อเด็กและสตรี เกิดขึ้นจากการทํางานร่ วมกันของหน่วยงานภาครัฐองค์กรเอกชน และ
นักวิชาการผูท้ รงคุณวุฒิสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในขณะนั้นหน่ วยงานเจ�าภาพหลักใน การจัดทํา
ร่ างคื อ สํา นัก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ มและประสานงานสตรี แ ห่ ง ชาติ สํา นัก งานปลัด สํานัก
นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี ได�มีมติให้ความเห็นชอบนโยบายและแผนขจัดความรุ นแรงต่อ
เด็กและสตรี ฉบับนี้ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2543 กําหนดให้เป็ นนโยบายแผนแห่ งชาติ โดยใช้เป็ น
แนวทางการดําเนินงานและประสานงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการ
ป้ องกันและแก�ไขปั ญหาความรุ นแรงต่อเด็กและสตรี
3. เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี รวมถึงปั ญหา
ความรุ นแรง และแนวทางการป้องกัน
ในกลุ่มประเทศที่กาํ ลังพัฒนาและพัฒนาแล้วนั้น ต้องยอมรับว่า “สิ ทธิ สตรี ” ได้รับ
การยอมรั บ และพัฒ นายกฐานะดี ข้ ึ น กว่า เดิ ม อย่า งมาก จนถึ ง ขั้น “สิ ท ธิ เ ท่ า เที ย ม” กัน กับ
“สุ ภาพบุรุษ” ดังที่เราสามารถศึกษาติดตามได้จากบางประเทศที่มี “ผูน้ าํ ” เป็ นสุ ภาพสตรี ระดับ
“ผูน้ าํ ประเทศ” ในตําแหน่ง “นายกรัฐมนตรี ” และ “รัฐมนตรี ”
80

ประเทศไทยก็ไม่ต่างจากประเทศอื่ นใดในโลก ขนบธรรมเนี ยม และประเพณี ที่


ยอมรับความด้อยสถานะของสตรี ที่ว่า “สตรี เป็ นช้างเท้าหลัง” บุรุษเป็ นผูน้ าํ จึงพบเสมอว่าสตรี ไทย
ยังประสบปั ญหาการถูกละเมิดสิ ทธิ ในรู ปแบบต่างๆ อาทิ ความรุ นแรงต่อตัวสตรี ความรุ นแรงใน
ครอบครั ว แรงงานสตรี ที่ถูกเอารั ดเอาเปรี ยบจากเจ้าของกิ จการ หรื อผูว้ ่าจ้าง และกฎหมาย หรื อ
ระเบียบบางอย่างที่จาํ กัดสิ ทธิของสตรี อย่างไม่เป็ นธรรม ทําให้การพัฒนาสิ ทธิสตรี เป็ นไปด้วยความ
ล่าช้ากว่าที่ควร

บทสรุ ป
แนวคิดสตรี นิยมได้เติบโตอย่างรวดเร็ วในช่ วง 40 ปี หลังของศตวรรษที่ 20 นําไปสู่
การศึกษาเกี่ยวกับผูห้ ญิงในมิติต่างๆ โดยให้ความสําคัญในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ และ
ได้ใช้ความคิดรวบยอดในเรื่ องความเป็ นเพศ (Gender) เป็ นเครื่ องมือในการวิเคราะห์ที่สาํ คัญความ
เหลื่อมลํ้าทางเพศได้ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวเรี ยกร้องความเท่าเทียมกันระหว่างเพศมาโดยตลอด
โดยเฉพาะในช่ วงสี่ ทศวรรษที่ผ่านมา ในช่วงเวลาดังกล่าวยังได้เกิ ดการศึกษาและคําอธิ บายหรื อ
แนวคิดเกี่ยวกับความเป็ นรองของผูห้ ญิงในด้านต่างๆ อย่างมากมายอีกด้วย (วันทนี ย ์ วาสิ กะสิ น,
2543: 6 – 7)
0 ในส่ วนของสิ ทธิ สตรี ในประเทศไทยนั้น จะเห็ นได้ว่าขบวนการเคลื่อนไหวของสตรี
ไทยได้มีพฒั นาการเปลี่ยนแปลงบทบาทและสถานภาพตั้งแต่ระบบการเมืองการปกครอง ในการ
เปลี่ยนแปลงนั้นเริ่ มจากระบบการปกครองโดยมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข ซึ่งเริ่ มปรากฏเด่นชัด
ในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นว่ากฎหมายเก่าไม่ยุติธรรม เช่น
การขายเมีย หรื อการบังคับให้ลูกสาวแต่งงานโดยไม่เต็มใจ จึงโปรดเกล้าให้เลิกเสี ย และต่อจากนั้น
ก็ไ ด้มีก ารปรั บปรุ ง กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ ความเสมอภาคระหว่า งหญิ ง และชายมาโดยตลอด
โดยเฉพาะกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์วา่ ด้วยครอบครัว นับได้ว่าสตรี ไทยไม่ได้มีความยากลําบากใน
การต่อสู ้เพื่อความเสมอภาค แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าสตรี ไทยส่ วนใหญ่ได้รับการพัฒนา ได้รับ
โอกาสทางกฎหมายหลายๆ ด้าน แต่ในทางปฏิบตั ิก็ยงั มีการกี ดกันและการปิ ดกั้นโอกาสผูห้ ญิง
มากกว่าผูช้ าย ซึ่ งสมควรที่จะได้รับการพัฒนาเรื่ องนี้ ให้ดียิ่งขึ้น เพื่อเป็ นการให้ความสําคัญกับเรื่ อง
สิ ทธิมนุษยชน ซึ่งผูห้ ญิงก็เป็ นกลุ่มหนึ่งในเรื่ องสิ ทธิมนุษยชน เช่นกัน
81

ข้ อเสนอแนะ
1.ข้ อเสนอแนะสํ าหรับหน่ วยงานนําผลวิจัยไปใช้
1.1 ส่ งเสริ มหรื อสนับสนุ นให้บุคคลทัว่ ไปหรื อคนในพื้นที่มีส่วนร่ วมในกิจกรรม
ในทุกระดับ นับแต่ระดับสมาชิ ก ควรเพิ่มสิ่ งจูงใจในการร่ วมกิจกรรม เช่น สถาบันหรื อองค์กรใน
ท้องถิ่นจัดอบรมให้ความรู ้ เกี่ยวกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี โดยมีบุคลากรของภาครัฐ
หรื อภาคเอกชนให้การสนับสนุนด้านวิทยากร เป็ นต้น
1.2 จัดอบรมให้ความรู ้ดา้ นกฎหมาย เช่น พระราชบัญญัติคุม้ ครองผูถ้ ูกกระทําด้วย
ความรุ นแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ฯลฯ หรื อความผิดที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อจูงใจให้ประชาชนมี
ความสนใจและตระหนักถึงความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี เพื่อจะได้ปฏิบตั ิตนให้สอดคล้อง
กับความมุ่งหมายหรื อเจตนารมณ์ของกฏหมาย
1.3 สนับสนุนการใช้สื่อโซเซี ยลมีเดีย (Social Media ) เช่น เฟสบุก (Face book)
ส่ งข้อความสั้น (SMS) และทวิตเตอร์ (Twitter) ร่ วมในการประชาสัมพันธ์แนวทางในการพัฒนา
ความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี เพื่อเพิ่มการสื่ อสารสองทาง
1.4 เพิ่มการประชาสัมพันธ์การพัฒนาความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี มากขึ้น
ทางสื่ อต่างๆ เพื่อให้ประชาชนรู ้จกั และสนใจที่จะติดตามข้อมูลข่าวสาร
2.ข้ อเสนอแนะในการวิจัยต่ อไป
2.1 ควรมีการวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของประชาชนในการมีส่วนร่ วมกับ
มูลนิ ธิ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ สตรี อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและ
สอดคล้องกับหลักจิตวิทยาและหลักสังคมสงเคราะห์
2.2 ควรมีการศึกษาวิจยั เกี่ยวกับมูลนิ ธิที่วตั ถุประสงค์เพื่อส่ งเสริ มความเสมอภาค
ทางเพศและสิ ทธิสตรี ให้มากกว่านี้ เพื่อเป็ นการค้นหาแนวทางการพัฒนาหรื อปรับปรุ งวิธีการอบรม
อย่างมีประสิ ทธิภาพ เพื่อให้ได้มาตรฐานและเป็ นที่ยอมรับ
2.3 ควรมีการสํารวจช่องทางการเผยแพร่ ขอ้ มูลต่างๆ ให้เป็ นที่รู้จกั และสร้างความ
น่าสนใจแก่สมาชิกและบุคคลทัว่ ไปอย่างต่อเนื่อง
82

2.4 ในการทํา วิ จ ัย ครั้ งต่ อ ไปควรเก็บข้อ มู ล ทั้งในลัก ษณะเชิ ง ปริ ม าณ คื อ


แบบสอบถาม และเชิ งคุณภาพ คือ การสัมภาษณ์ ผสมผสานกัน ทั้งนี้ เพื่อจะได้ขอ้ มูลที่เป็ นทั้งเชิ ง
ปริ มาณและคุณภาพ จะทําให้ผลการวิจยั ครอบคลุมทั้งแนวกว้างและแนวลึก
83

รายการอ้ างอิง

กนกวรรณ ไม้สนธิ์. (2544). “ศึกษาการต่อรองอํานาจของผูห้ ญิงจากการนําเสนอเรื อนร่ างผ่านสื่ อ


นิตยสารไทย.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวารสารศาสตร์ บัณฑิต
วิทยาลัย จุฬาลงกรณ์วิทยาลัย.
กมลพร แพทย์ชีพ. (2542). “ความรุ นแรงในคู่ครองและผลกระทบต่อปั ญหาด้านจิตใจในกลุ่ม
อาการความวิตกกังวล ความซึมเศร้าและความก้าวร้าว: กรณี ศึกษา อ.เมือง จ.ราชบุรี.”
วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกพยาบาลสาธารณสุ ข บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหิ ดล.
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์. (2552). มาตรฐานและตัวชี้วดั ความเสมอภาค
0

ระหว่ างหญิงชาย. โครงการสตรี และเยาวชนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.


คณะกรรมการวิจยั และพัฒนาของวุฒิสภา. (2553). สรุปผลการสั มมนาทางวิชาการเฉลิมพระเกียรติ
เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้ าฯ พรบรมราชินี
นาถ เรื่อง “สิ ทธิสตรีไทยในโลกปัจจุบัน” กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์วิฑูรย์การปก.
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2556). Erich Fromm : แนวคิดสตรีนิยม มาตาธิปไตย และ
0

สั นติภาพ. เข้าถึงเมื่อ 18 พฤศจิกายน. เข้าถึงได้จาก http://www.midnightuniv.org/mid


univ2546/newpage5.html.
จิตฤดี วีระเวสส์. (2543). “ความรุ นแรงภายในครอบครัว.” บทบัณฑิต. 56,3: 223-232.
จิ ร าภา เจริ ญ วุ ฒิ . (2549). “ความรุ น แรงที่ เ กิ ด ขึ้ น กับ ฝ่ ายหญิ ง ในความสั ม พัน ธ์ แ บบคู่ รั ก .”
วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต สํานักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จิตติมา พรอรุ ณ. (2538). “ศึกษาการเรี ยกร้องสิ ทธิสตรี ในสังคมไทยเกิดการเคลื่อนไหวเรี ยกร้อง
สิ ทธิสตรี ของสองกลุ่ม.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ อักษร
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฉัตรสุ มาลย์ กบิลสิ งห์. (2525). ความรู้พนื้ ฐานทางศาสนา. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฎราช
1

วิทยาลัย
โชติมา กาญจนกุล. (2540). “ความรุ นแรงในครอบครัว: กรณี ศึกษาการทําร้ายร่ างกายภรรยา.”
วิทยานิพนธ์ปริ ญญาดุษฏีบณ ั ฑิต, สาขาพัฒนศึกษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ.
ดนยา ธนะอุดม. (2539). “ความรุ นแรงในครอบครัว: ศึกษาในหญิงตั้งครรภ์.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
มหาบันฑิต สาขาวิชาเอกอนามัยครอบครัว บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิ ดล.
84

ทองใบ ทองเปาด์. (2542). “ตํารวจแห่ งชาติกบั ปัญหาความรุ นแรงในครอบครัว.”


สยามรัฐสั ปดาห์ วจิ ารณ์ 46, 5(มิถุนายน): 40-41.
ทรงพร ศรี ช่วย. (2544). “ศึกษาบทบาททางวารสารศาสตร์ในเรื่ องสตรี ของคุณนิลวรรณ ปิ่ นทอง.”
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต นิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิ จวรรณ วีรวัฒโนดม. (2540). “ความรุ นแรงต่อสตรี : ศึกษาในกลุ่มผูห้ ญิงอายุ 15-44 ปี ที่มารั บ
บริ การ ณ แผนกผูป้ ่ วยนอก โรงพยาบาลชัยนาท จังหวัดชัยนาท.” วิทยานิพนธ์ ปริ ญญา
มหาบัณฑิต สาธารณสุ ขศาสตร์บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิ ดล.
ธีรยุทธ บุญมี. (2536). สั งคมเข้ มแข็ง. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์ม่ิงมิตร.
บุญสื บ โสโสม และคณะ. (2550). ความรุนแรงในสตรี : การทบทวนความรู้งานวิจัยในประเทศ
ไทย. งานวิจยั วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท สถาบันพระบรมราชชนก
กระทรวงสาธารณสุ ข.
บุศริ นทร์ คล่องพยาบาล. (2542). “ความรุ นแรงในครอบครัว: ปั จจัยที่มีความสัมพันธ์กบั การถูกทํา
ร้ายของภรรยาในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต
สาขาวิชาเอกอนามัยครอบครัว สาธารณสุ ขศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิ ดล.
ประเวศ วะสี และคณะ. (2541). ประชาสังคม ทรรศนะนักคิดในยุคสั งคมไทย. กรุ งเทพ: มติชน.
ปิ ติพงศ์ เต็มเจริ ญ. (2543). “การมีส่วนร่ วมของประชาชนในการแก้ไขความขัดแย้ง โดยการใช้
กระบวนการประชาสังคม.” ภาคนิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พจนี ย ์ บัณฑิตวงศ์.(2544). “ปั จจัยที่ส่งผลต่อการกระทํารุ นแรงต่อภรรรยา ในเขตอําเภอบรรพต
พิสัย จังหวัดนครสวรรค์.” วิทยานิ พนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต ภาควิชาจิตวิทยาและการ
แนะแนว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พงษ์ยทุ ธ สี ฟ้า. (2547). “ประชาสังคมท้องถิ่น.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต รัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
พิมลพรรณ ขานพล.(2550). “มาตราทางกฎหมายที่เหมาะสมในการป้ องกันการเลือกปฏิบตั ิต่อ
สตรี .” วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
พิมลพรรณ วยาจุต. (2536). “ศึกษาสถานภาพและบทบาทของสตรี ไทย: การเปลี่ยนแปลงที่มี
ผลกระทบ ต่อความสัมพันธ์ภายในครอบครัว.” วิทยานิ พนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์.
พรพิไล ถมังรักษ์สตั ว์. (2527). “ศึกษาวิเคราะห์เชิงปรัชญา เรื่ องปัญหาความเสมอภาคของสตรี .”
วิทยานิพนธ์ปริ ญญาบัณฑิต ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงมหาวิทยาลัย.
85

ภัสสร ลิมานนท์. (2541). “บทบาทของผูช้ ายกับปัญหาครอบครัวไทยในปัจจุบนั .” วารสารสมาคม


จิตแพทย์ แห่ งประเทศไทย. 43,3(กรกฎาคม-กันยายน) : 258-264.
เมทินี พงษ์เวช. (2546). ความรุ นแรงต่ อผู้หญิงและเด็กในประเทศไทย สภาพการณ์ ของความ
รุนแรงต่ อผู้หญิงและเด็กสรุป.
มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ คณะสังคมศาสตร์ . (2556). ความเป็ นเพศ (GENDER). เข้าถึงเมื่อ 18
0

พฤศจิกายน เข้าถึงได้จาก http://www.midnightuniv.org/midnightuniv/newpage91.ht


ml.
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2543). สั งคมสงเคราะห์ แนวสตรีนิยม : ทฤษฎีและการปฏิบัตงิ าน.
0

กรุ งเทพฯ:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สําพรรณ น่วมบุญลือ. (2519). สิ ทธิและหน้ าทีข่ องสตรีตามกฎหมายไทยในสมัยกรุงรัตนโกสิ นทร์
กรุ งเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รังสิ มา ลิมปิ สวัสดิ์และคณะทํางานเรื่ องผูห้ ญิงกับความรุ นแรง เวทีไทยกลุ่มรากหญ้า. (2537).
“ผูห้ ญิงกับความรุ นแรง.” รายงานการสั มมนา “ผู้หญิงไทยในทศวรรษหน้ า เวทีผ้ ู
หญิงไทยกลุ่มรากหญ้ าสู่ การ ประชุ มระดับโลกเรื่องสตรีทปี่ ักกิง่ ”. สมาคมส่ งเสริ ม
สถานภาพสตรี ฯ ทุ่งสี กนั ดอนเมือง กรุ งเทพมหานคร.
รุ่ งทิวา มณฑา. (2545). “ศึกษาแนวคิดและการจัดการปั ญหาสตรี ผปู ้ ระกอบการอาชีพค้าประเวณี :
ศึ ก ษาเฉพาะกรณี มู ลนิ ธิ ส่ง เสริ มโอกาสผูห้ ญิ ง และกรมประชาสงเคราะห์ . ”
วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
วัน ทนี ย ์ วาสิ ก ะสิ น . (2541). สั ง คมไทยคาดหวั ง อย่ า งไรกั บ ผู้ ห ญิ ง . กรุ งเทพฯ :โรงพิ ม พ์
0 0

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วารุ ณี ภูริสินสิ ทธิ์. (2556). แนวคิดสตรีนิยมในสกุลความคิดต่ าง ๆ. เข้าถึงเมื่อ18 พฤศจิกายน. เข้าถึง
0

ได้จาก http://www.midnightuniv.org/datamid2001/newpage17.html.
0

วิระดา สมสวัสดิ์. (2549). ทีทรรศน์ สตรีนิยม. เชียงใหม่: วนิดาเพรส


วารี เจริ ญกุลไชย. (2537). “ศึกษาการมีส่วนร่ วมของสตรี ระดับผูบ้ ริ หารในการประกอบธุรกิจขนาด
ย่อมในกรุ งเทพมหานคร.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ
หารศาสตร์.
วิลาสิ นี พนานครทรัพย์. (2546). “ความรุ นแรงต่อผูห้ ญิงในคู:่ เสี ยงของผูห้ ญิง.” เอกสาร
ประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ สาขาสังคมวิทยา ครั้งที่ 2 คณะกรรมการสภา
วิจยั แห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ลาํ ปาง, 19 ธันวาคม.
86

สมเกียรติ ตั้งนโม ผูแ้ ปล. (2556). อีริค ฟรอม์ ม, เฟมินิสม, และแฟรงค์ เฟริทสคูล. เข้าถึงเมื่อ 18
พฤศจิกายน. เข้าถึงได้จาก http://www.midnightuniv.org/miduniv2546/newpage4.ht
ml.
สายฝน น้อยหี ด. (2549). ประชาสั งคมกับการพัฒนาประชาธิปไตย. กรุ งเทพฯ : มิสเตอร์ก๊อปปี้
(ประเทศไทย).
สุ ชาดา ทวีสิทธิ์. (2554). ศึกษาถึงเรื่ อง ภาวะสมรสและทัศนคติต่อการสมรสของสตรีไทยในสังคม
ยุคใหม่ . สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
4

กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุ ษย์ สํานักงานกิ จการสตรี และสถาบันครอบครั ว.


(2552). เรื่ องจริ งของหญิงชาย!. กรุ งเทพฯ : สํานักงานกิ จการสตรี และสถาบัน
ครอบครัว.
สํา นัก งานปลัด สํา นัก นายกรั ฐ มนตรี สํา นัก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม และประสานงานสตรี
แห่ งชาติ . (2551). มิติหญิงชายกับการพัฒนา. กรุ งเทพฯ : สํานักงานปลัดสํานัก
นายกรัฐมนตรี
ศิริพร จิรวัฒน์กลุ . (2553). วิจัยจากงานประจําเรียนแบบทีละขั้น : R to R step by step. กรุ งเทพฯ :
วิทยพัฒน์.
อนุช อาภิรม. (2543). ฉากความรุ นแรงในยุคโลกาภิวตั น์ . กรุ งเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์.
อมรา พงศาพิชญ์. (2548). สตรีนิยมและขบวนการผู้หญิง : ความเคลือ่ นไหวของเครือข่ ายประชา
สั งคมข้ ามชาติและขบวนการสั งคมแนวใหม่ . นนทบุรี : สํานักวิจยั สังคมและสุ ขภาพ.
อรอนงค์ อิ นทรวิจิตร และ นริ นทร์ กริ นชัย. (2542). ผู้หญิงและเด็ก : เหยื่อความรุ นแรงใน
ครอบครัว. กรุ งเทพฯ : ปกเกล้าการพิมพ์.
อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2544). จิตบําบัดและการให้ คําปรึกษาครอบครัว. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุ งเทพฯ:
ศูนย์วิจยั และพัฒนาครอบครัว.
Broome,M.E. (2000). Integrative Literature Reviews in the Development of Concept. In Concept
Development in Nursing Foundaions, Techniques, and Applications. Edited by
Beth, R.L. & Knafl K.A.Philladelphia: Suanders.
Bums,N and S.K. Grove. (2001). The practice of Nursing Research : Conduct, Critique &
Utillization. 4th ed.W.B.Suaders Company,New York.Cobb,& Hagrmaster.
Cobb, A. K. & J.N. Hagemaster (1987). “Ten criteria for evaluating qualitative research
proposals.” Journal of Nursing Education.26, 4(April): 138-142.
87

Neuman, W. L. (1997). Social Research Method : Qualitative and Quantitative Approach.


London : Allyn and Bacon.
Pires, A.F., and others. (2002). “Violence against women in health-care institutions : an emerging
problem.” The Lancet 359, 9318(May 11): 1681-1685.
Puch (1998). Introduction of Social Research Quantitative & Qualitative Approach. London.
Sage Publication.
ภาคผนวก
89

ภาคผนวก ก
แบบสั มภาษณ์ชุดที่ 1
90

แบบสัมภาษณ์ ชุดที่ 1 สําหรับบุคคลที่มีบทบาทในการดูแลและรักษาสิ ทธิสตรี


วิทยานิพนธ์ เรื่ อง ประชาสังคมกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี
: กรณี ศึกษามูลนิธิเพื่อนหญิง

ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูใ้ ห้ขอ้ มูลสําคัญ


1. ชื่อ-นามสกุล.............................................................................................................
2. เพศ...........................................................................................................................
3. อายุ.........................ปี
4. ระดับการศึกษา.........................................................................................................
5. อาชีพ........................................................................................................................
6. ตําแหน่งในสมาคม...................................................................................................
7. เวลาเริ่ มต้นสัมภาษณ์..................................วันที่......................................................

ตอนที่ 2 ความเป็ นมาของมูลนิธิเพื่อนหญิง


1. การก่อตั้งมูลนิธิเพื่อนหญิงเกิดขึ้นเมื่อไหร่ ? โดยใคร? และเกิดขึ้นเพราะอะไร?
และมีพฒั นาการอย่างไร?
2. นโยบายของมูลนิธิเพื่อนหญิงในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรี มีอะไรบ้าง?
3. ผลงานที่สาํ คัญของมูลนิธิเพื่อนหญิงในอดีตมีอะไรบ้าง?
4. มูลนิธิเพื่อนหญิงมีบทบาทอย่างไรในการเรี ยกร้องสิ ทธิ เสรี ภาพของสตรี ? และ
สิ ทธิเสรี ภาพนั้นส่ งผลต่อคุณภาพชีวิตของสตรี หรื อไม่? อย่างไร?

ตอนที่ 3 การบริ การของมูลนิธิเพื่อนหญิง


1. มูลนิธิเพื่อนหญิงมีการให้บริ การช่วยเหลือสตรี ดา้ นใดบ้าง?
2. มูลนิธิเพื่อนหญิงมีเครื อข่ายสําหรับให้บริ การสตรี ที่ใดบ้าง? มีการประสานงานกัน
อย่างไร?
3. ในการช่วยเหลือสตรี มีการติดต่อกับหน่วยงานภาครัฐใดบ้าง? ติดต่อในเรื่ องใด?
91

ภาคผนวก ข
แบบสั มภาษณ์ชุดที่ 2
92

แบบสัมภาษณ์ ชุดที่ 2 สําหรับนักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสิ ทธิสตรี


วิทยานิพนธ์ เรื่ อง ประชาสังคมกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี
: กรณี ศึกษามูลนิธิเพื่อนหญิง

ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูใ้ ห้ขอ้ มูลสําคัญ


8. ชื่อ-นามสกุล.............................................................................................................
9. เพศ...........................................................................................................................
10. อายุ.........................ปี
11. ระดับการศึกษา.........................................................................................................
12. อาชีพ........................................................................................................................
13. ตําแหน่ง....................................................................................................................
14. เวลาเริ่ มต้นสัมภาษณ์..................................วันที่......................................................

ตอนที่ 2 คิดว่าประเทศไทยยังมีมุมมองเกี่ยวกับความไม่เสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี หรื อไม่


อย่างไร เพราะเหตุใด

ตอนที่ 3 ที่ผา่ นมาประเทศไทยมองความไม่เสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี อย่างไร

ตอนที่ 4 คิดว่าด้านประชาสังคมในมุมมองของนักวิชาการในบทบาทขององค์กรมูลนิธิเพื่อนหญิง
เป็ นอย่างไร
93

ภาคผนวก ค
แบบสั มภาษณ์ชุดที่ 3
94

แบบสัมภาษณ์ ชุดที่ 3 สําหรับสตรี ที่ได้รับผลจากความรุ นแรงจากการกดขี่ทางเพศ


วิทยานิพนธ์ เรื่ อง ประชาสังคมกับความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี
: กรณี ศึกษามูลนิธิเพื่อนหญิง

ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูใ้ ห้ขอ้ มูลสําคัญ


1. ชื่อ-นามสกุล.............................................................................................................
2. เพศ...........................................................................................................................
3. อายุ.........................ปี
4. ระดับการศึกษา.........................................................................................................
5. อาชีพ........................................................................................................................
6. สถานภาพทางครอบครัว..........................................................................................
7. เวลาเริ่ มต้นสัมภาษณ์..................................วันที่......................................................

ตอนที่ 2 ลักษณะความรุ นแรงที่ได้รับ และความต้องและการแก้ปัญหา


1. ความรุ นแรงที่ได้รับมานั้นเป็ นมาอย่างไร และเกิดขึ้นได้อย่างไร
2. คิดอย่างไรกับความเสมอภาคระหว่างชายกับหญิงในปั จจุบนั
3. ต้องการให้ทางภาครัฐและเอกชนเข้ามาจัดการแก้ปัญหาในด้านใดบ้าง
95

ภาคผนวก ง
ถอดเทปการสั มภาษณ์
96

ถอดเทปการสั มภาษณ์
คุณธนวดี ท่ าจีน (ผู้อาํ นวยการมูลนิธิเพือ่ นหญิง)
ผู้สัมภาษณ์ : สวัสดีคะจากศิลปากรอ่ะคะที่จะขอสัมภาษณ์อ่ะนะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก :คะ นี่ไม่ทราบว่าสัมพาสนานรึ ป่าว กี่นาที ประมาณ
ผู้สัมภาษณ์ : สัมภาษณ์สกั ประมาณ ๑๕ ถึง ๒๐ นาทีกไ็ ด้คะถ้ารี บอ่ะนะคะ เดี๋ยวหนูจะยิงคําถามเลย
ไม่ออ้ มค้อมเลยนะคะ หนูจะถามว่าอ่า การก่อตั้งมูลนิธิเพื่อนหญิงเนี่ยคะ เกิดขึ้นเมื่อไรโดยใครคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : การก่อตั้งของมูลนิ ธิเนี่ ยจริ งๆแล้วตอนแรกเป็ นมูลนิ ธิเด็กและสตรี อ่ะนะ ก่อตั้งมา
ตั้งแต่ปี สองพันห้าร้อย เอ่อ สองพันห้าร้อย ยี่สิบสามอ่ะนะคะ และก็หลังจากนั้น ตอนแรกก็เป็ น
กลุ่มมี นักวิชาการสตรี อ่ะนะ ส่ วนมากที่อยูต่ ามมหาลัยเนี่ ย รวมทั้งกลุม้ นักศึกษาผูห้ ญิงในมหาลัยที่
มีการมารวมกลุ่มเป็ นกลุ่มสตรี ตามม.และก็มี สี่ ...สี่ ห้า สถาบัน ธรรมศาสตร์ จุฬาฯ เกษตร อะไร
อย่างเนี้ยอ่ะนะ มารวมกลุ่มกันตั้งเป็ นเครื อข่ายผูห้ ญิงตามมหาลัยอ่ะนะ และก็หลังจากนั้นเนี่ย กลุ่มที่
จบการศึกษาก็ออกมาตั้งเพื่อนหญิงก่อนอ่ะนะ ซึ่ งก็เกิดมาจากเนี่ ยนะ กลุ่มนักศึกษา อาจารย์นะคะ
นักวิชาการและก็ต้ งั เป็ นกลุ่มเล็กๆรณรงค์ในเรื่ องของsextour ดําเนิ นการต่อสู ้ช่วยเหลือคนงานหญิง
ที่ทาํ งานในโรงงานอุตสาหกรรมแล้วไม่ได้รับความเป็ นธรรมจากนายจ้างอ่ะคะ คือในยุคนั้นก็เลย
ช่วยเหลือผูห้ ญิงที่ยุคนั้นก็จะมีเรื่ องของ sextour ของประเทศญี่ปุ่นเยอรมันนะคะที่เข้าที่ผูช้ าย
ต่างประเทศเข้ามาแสวงหาประโยชน์ทางเพศกับปู้ หญิงไทยอ่ะนะคะ ก็มีการรณรงค์ต่อต้าน sex tour
นะคะและก็หลังจากนั้นก็ได้มีการตั้งเป็ นกลุ่มเพื่อนหญิงและก็มีศูนย์ที่ช่วยเหลือผูห้ ญิงที่ประสบ
ปัญหาการถูกระเมิดอ่ะคะ ซึ่งก็จะมีศูนย์มีทนายความให้ความช่วยเหลือผูห้ ญิงจากคดีเอ่อสามีทาํ ร้าย
อะไรอย่างนี้ อ่ะ นะ ถูกคุกคามทางเพศ ถูก เอ่อ ล่อลวงให้คา้ ประเวณี บังคับให้คา้ ประเวณี อะนะ ซึ่ ง
ยุคแรกๆก็จะมีงานหลักๆก็เนี่ ยอ่ะคะมีเรื่ องของศูนย์พิทกั ษ์สิทธิ สตรี ที่มีทนายความที่จะให้กบั คดี
ช่วยเหลือผูห้ ญิง จนในที่สุดเราก็ได้มีการพัฒนามาเป็ นมูลนิ ธิในปี ๒๕๓๔ นะ แล้วก็จดทะเบียน
เป็ นมูลนิธิเพื่อนหญิงอ่ะนะตั้งแต่ ๕ กันยายนแล้วก็มาจนถึงปั จจุบนั อะนะฮะ ก็จะมีกิจกรรมหลักๆก็
จะมีศูนพิทกั ษ์ ซึ่งยังมีอยู่ คือรับเรื่ องราวร้องทุก ช่วยเหลือผูห้ ญิงที่มีปัญหาความรุ นแรงในมิติต่างๆ
ทั้งเรื่ องความรุ นแรงทางเพศ ครอบครัว การถุกแสวงจากการค้ามนุษย์ เรื่ องท้องไม่พร้อม เรื่ องแจ้ง
ไม่เป็ นธรรมอะไรพวกเนี้ ย ก็จะมีงานพวกนี้ อยู่อะนะ แต่สิ่งๆหนึ่ งคือจะมีทหารที่จะช่วยส่ งเสริ ม
ความเข้มแข็ง การรวมกลุ่มนะ โดยการจัดกิจกรรม สนับสนุนงบประมาณนะฮะให้ผหู ้ ญิงรวมกลุ่ม
มี การฝึ กอบรมเรื่ องของกฎหมายต่ างๆที่ ผูห้ ญิ งต้องรุ ้ นะคะ นโยบายต่างๆที่ เกี่ ยวข้องกับผูห้ ญิ ง
กลไกต่างๆที่ ผูห้ ญิ ง ถึ งการรั บบริ การนะฮะของกระทรวงต่างๆอะไรอย่างเนี้ ย ก็จะมีการ และก็
สนับสนุ นให้ ผูห้ ญิงรวมกลุ่มกันนะระดับชุมชน จะทําเรื่ องของอาชีพ ทําเรื่ องของการออมทรัพย์
ทําเรื่ องของศูนย์ให้ความช่วยเหลือผูห้ ญิงที่ประสบปั ญหาในหลากหลาย หรื อว่าผูห้ ญิงที่อยากจะ
97

เข้าถึ งการรั บบริ การของรั ฐเนี่ ยศูนย์จากที่กลุ่มผูห้ ญิงเขาตั้งขึ้นก็สามารถที่ จะทําหน้าที่ตรงนี้ ใน


ชุมชน อันนี้ ก็เป็ นกิจกรรมในส่ วนที่สองที่เรา นะฮะ การเสริ มสร้างความเข้มแข็งแล้วหลังจากนั้น
เราก็จะมีการมารณรงค์ร่วมกับกลุ่มผูห้ ญิง อย่างเช่นว่า เอ่อ กลุ่มผูห้ ญิงก็จะมีอยูใ่ นสี่ ภูมิภาคใน ก็จะ
มีการเชิญชวนในการทํากิจกรรมรณรงค์ในระดับชุมชนในระดับจังหวัดในวันสตรี สากลมัง่ วันยุติ
ความรุ นแรงจากผูห้ ญิงก้ได้ เพื่อที่จะทําให้ผหู ้ ญิงโดยทัว่ ไปสามารถเข้าถึงการคุม้ ครองสิ ทธิ์ และก็
ในขณะเดียวกันเพื่อที่ตอ้ งการปรับปรุ งนะฮะ แก้ไขกฎระเบียบ กลไกต่างๆของกระทรวงต่างๆที่มี
ยังเป็ น ยังมีปัญหาไม่สามารถคุม้ ครองผุห้ ญิงได้ หรื อยังเลือกปฏิบตั ิหรื อ กลไกยังไม่สามารถมีแผน
และแนวปฏิบตั ิต่างๆ ให้สามารถที่จะสร้างกลไกนั้นได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพในการทํางานช่วยเหลือ
ผูห้ ยิงมากขึ้นนะเนี่ ยก็เป็ นงานในส่ วนที่สองนะฮะที่เราทําซึ่ งปั จจุบนั เราก็มีการเปิ ดศูนย์ของมุลนิ ธิ
ในสี่ ภูมิภาคเลยนะ ใหญ่เราก็จะอยู่ที่กรุ งเทพซอยรัชดาสี่ สิบสองนะ แล้วก็ศูนย์ที่ภาคใต้ก็จะมีที่
สงขลาแล้วก้ปัตตานี แล้วก็จะมีศูนยือยูท่ ี่ภาคเหนื อ เช่นที่เชียงใหม่ และก็พะเยาและก็จะมีศูนย์อยูท่ ี่
ภาคอีสาน ก็จะมีอยู่ที่อุบล กับมุกดาหารนะคะ ก็จะเป็ นศูนย์ย่อยๆ ตรงนั้นเนี่ ยยังสามารถเข้าไป
ขอรั บคําปรึ กษาก้ดี หรื อว่าอยากจะให้เราไปฝึ กอบรมให้ความรุ ้ นะฮะ เรื่ องของภัยผุห้ ญิง เรื่ อง
กฎหมายต่างๆ เรื่ องของสิ ทธิ์ พลเมืองหยิง อะไรก้แล้วแต่ เรื่ องของปั ญหาท้องไม่ทอ้ ง เรื่ องของสุ ข
ภาวะวัยเจริ ยพันธุ์เนี่ ยเขาก็จะติดต่อผสานมาให้ มาได้ที่ศุนย์ต่างๆนี่ เขาก้จะมีการไปอบรมให้กบั
ผูห้ ญิงด้วยกันนะคะก็เป็ นงานในภาพรวมอะนะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : อย่างตลอด ระยะเวลาที่มีมาเนี่ ยคะ การพัฒนาก็คือมูลนิ ธิเพื่อนหญิงก็พยายามที่จะ
ขยาย เขาเรี ยกว่าขยายเครื อข่าย ให้ๆ ทัว่ ประเทศมากขึ้นใช่ไหมคะเพื่อให้มีการพัมนาให้ๆทัว่ ถึง
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ๆ เพื่อที่ทาํ ให้เอ่อ อันที่หนึ่ งเพื่อที่ทาํ ให้ผหู ้ ญิงที่เข้าไม่ถึงข้อมูลให้เข้าถึงข้อมูล
ในทุกพื้นที่โดยเฉพาะพื้นที่ในชนบทที่ค่อนข้างจะห่ างไกลนโยบายต่างๆของรัฐบาลไม่ว่าจะเป็ น
เรื่ องกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ศูนย์ช่วยเหลือทางสังคม ศูนย์ประชาบดีอ่า ศูนย์คุม้ ครองสิ ทธิ ของ
ผูห้ ญิงพร้อม นโยบายต่างๆที่รัฐบาลไม่วา่ จะยุคสมัยไหนประกาศออกมาใช้เรื่ องผูห้ ญิง บางทีผหู ้ ญิง
ในชนบทจะเข้าไม่ถึง เพราะงั้นเราก็เลยจะต้องมีศูนย์ของเราในภูมิภาคเพื่อไปช่ วยในการประชา
สัมพันให้ผหู ้ ญิงเข้าถึงการคุม้ ครองในทุกมิติ ไม่วา่ จะเรื่ องสุ ขภาพ การเข้าถึงการศึกษา การสร้างงาน
สร้ างรายได้ต่า งๆแก่ น ะ ผูห้ ญิ ง จําเป็ นจะได้รับรู ้ ขอ้ มูลและเข้าถึ ง น่ ะ คะตรงนี้ เป็ นเรื่ องที่ เ ราให้
ความสําคัญ ในอีกส่ วนหนึ่งก็คือว่าสนับสนุนให้ผหู ้ ญิงรวมกลุ่มกันเพื่อที่จะ รับงบประมาณจากทั้ง
ของรัฐก้ดี ของอบตก้ดีเพื่อที่จะทํา ดึงงบประมารตรงนั้นไปทํากิจกรรมพัฒนา เพราะงั้นแต่ว่ากลุ่มผู ้
หยิงในชุ มชนต่างๆจะพัฒนาในเรื่ อง บางชุ มชนก็พฒั นาเรื่ องอาชี พ บางชุ มชนก็พฒ ั นาเรื่ องของ
ความคิด บางชุมชนก็พฒั นาเรื่ องของสุ ขภาวะอนามัยเจริ ญพันธุ์นะฮะ หลากหลายนะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : นโยบายของมูลนิธิเพื่อนหญิงเนี่ยคะในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรี มีอะไรบ้างคะ
98

ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็จะมีในเรื่ องของเอ่อ ในเรื่ องของอาชีพนะฮะอันที่สองในเรื่ องของการที่ทาํ ไงให้


ผูห้ ญิงได้รับการคุม้ ครองสิ ทธิ์ ในทุกเรื่ องนะ ไม่ว่าสิ ทธิ์ ในเรื่ องของการศึกษา สิ ทธิ ในเรื่ องอาชี พ
ใช่ม้ ยั ฮะสิ ทธิ ในเรื่ องของการเข้าถึงอ่าสุ ขภาวะอนามัยเจริ ญพันธุ์ต้ งั แต่วยั เด็กจนถึงวัยสู งอายุนะฮะ
ช่วงไวไฟนะฮะผูห้ ญิงควรต้องที่จะระงับ สิ ทธิในการที่จะได้รับในเรื่ องของการส่ งเสริ มในเรื่ องของ
งานอาชีพและรายได้นะฮะและก็อีกส่ วนหนึ่ งก็คืออาชีพ และอีกส่ วนก็สิทธิ เรื่ องของการมีส่วนร่ วม
ทางการเมืองในฉบับใหม่ให้มนั มีให้ผหู ้ ญิงมี มีช่องทางมีพ้ืนที่ที่สามารถเข้าไปมีบทบาทในเรื่ อง
ของการบริ หารชุ ม ชนนะฮะ ตั้ง แต่ ก ารเป็ นคณะกรรมการในระดับ ชุ ม ชน การเข้า ไปเป็ น
คณะกรรมการอําเภอ ตําบล จังหวัด หรื อแม้กระทัง่ การสมัครไปอ่าเป็ นสมาชิกสภาอบต ไรเงี้ยนะ
คะทั้งกลไกทั้งในระบบและนอกระบบ ทําไงให้ผหู ้ ญิงสามารถก้าวไปสู่ เอ่อ บทบาทของการเป็ นผุ ้
มีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจบนการจัดการงบประมาณ บริ หารจัดการทรัพยากรในชุมชนด้วยนะฮะ
ไม่ใช่ เฉพาะเป็ นผูร้ ับบริ การเฉยๆ นะฮะที่ขาดมาจริ งๆเพราะผุห้ ญิงยังไม่ค่อยจะมีบทบาทในการ
บริ หารจัดการชุมชน มากจะเป็ นโดยฝ่ ายที่ผชุ ้ ายเป้ นผูน้ าํ ชุมชนเป็ นผูน้ าํ ท้องถิ่นซะมากกว่าใช่ม้ ยั ฮะ
ตอนนี้ เราก็ช่วยอี กส่ วนหนึ่ งก็ที่ว่าจะทําไงให้ผูห้ ญิ งมี พ้ืนที่ ในส่ วนของการเข้าไปเป็ นผูบ้ ริ หาร
จัดการและมีอาํ นาจ มีการ มีผลจากการตัดสิ นใจด้วย ไม่ใช่ไปบริ หาร หมายถึงไม่ใช่เข้าไปมีบทบาท
ไปนั่งเฉยๆ แต่ว่าจะต้องมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจด้วยมีเสี ยงมีอาํ นาจในการตัดสิ นใจเพื่อที่จะ
กําหนดก็งบประมาณในท้องถิ่นก็ดี ทรัพยากรในชุ มชนที่มีอยู่เนี่ ยมันจะบริ หารจัดการอย่างเป็ น
ธรรมได้ยงั ไง เป็ นธรรมให้กบั ทุกเพศ ทุกวัยใช่ม้ ยั ฮะ ทุกกลุ่มเชื้อชาติสาสนาเนี่ ย มันจะบริ หารกัน
ยังไงกันในชุ่ มชนอย่างเนี้ ยอ่ะนะซึ่ งอันนี้ ก็เป็ นของการพัฒนาหรื อการ ยก ยกระดับศักยภาพของ
ผูห้ ญิงที่ทาํ ให้ผหู ้ ญิงเข้าถึงและเป็ นสิ ทธิ์ ผมู ้ ีบทบาทมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการในประเด็นต่างๆ
ตรงนั้นด้วยว่าจะเป็ นเรื่ องการศึ กษา เรื่ องสุ ขภาพ เรื่ องอาชี พใช่ ม้ ยั ฮะ ซึ่ งการมี ส่วนร่ วมในการ
บริ หาร จัด ทรัพยากรสิ่ งแวดล้อมของชุมชนอะไรอย่างเงี้ย นํ้า ป่ า ต้นไม้ ใช่ม้ ยั ฮะลําธาร การจะมี
โรงงานอุตสาหกรรมเข้าไปในชุ มชน การที่จะมีใครไปขุดเหมืองแร่ ทองคําแล้วมันมีผลต่อชุมชน
ผูห้ ญิงจะต้องมีบทบาทการตัดสิ นใจด้วยเพราะว่าผูห้ ญิงเป้ นผูไ้ ด้รับผลกระทบด้วย
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วอย่างบทบาทของมูลนิ ธิเนี่ ยคะในการเรี ยกร้องสิ ทธิ์ สิ ทธิ เสรี ภาพของสตรี นี่คือเรา
จะต้องมีกระบวนการยังไงบ้างคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็ที่หนึ่ งเราก้ตอ้ งมาศึกษากฎหมายแต่มีสองส่ วนนะอันที่หนึ่ งก็เป้ นเรื่ องของตัว
บุคคลแล้วก็คือเราก็คุม้ ครองสิ ทิของผูห้ ญิงเรี ยกร้องสิ ทิของผูห้ ญิงเป็ นตัวบุคคลอยูแ่ ล้ว อย่างเช่นถ้า
ผูห้ ญิงถูกสามีทาํ ร้าย ถูกคุกคามทางเพศ เราก็มีทนายที่จะคุม้ ครองสิ ทธิ ให้ผหู ้ ญิงเข้าถึงการคุม้ ครอง
นะฮะ ว่าผูห้ ญิงจะต้องได้ ตามผุท้ ี่กระทําความผิดกับผุห้ ญิงจะต้องได้รับการลงโทษ และในอีกส่ วน
หนึ่ งก็ผูห้ ญิ งเป็ นผูเ้ สี ยหายก้จะได้รับเงิ นชดเชยค่าเสี ยหาย อันนี้ เป็ นสิ ทธิ์ อันนี้ ถือเป็ นสิ ทธิ ของ
99

บุคคลใช่ม้ ยั ฮะทีน้ ี สิทธิ อีกส่ วนหนึ่ งก้คือว่าเราจะทําให้ผหู ้ ญิงเนี่ ยได้รับการเข้าถึงสิ ทธิ์ ต่างๆ ผูห้ ญิง
บางคนอาจต้องรวมกลุ่ม มีการรวมกลุ่มผุห้ ญิงเพื่อที่จะเข้าไปมีพ้ืนที่มีบททบาทเป้ นคณะกรรมการ
ต่างๆ อันนี้กเ้ ป็ นสิ ทธิ์ของผูห้ ญิงที่เราจะต้องทําให้เกิดกฎระเบียบต่างๆที่จะเป้ นอุปสรรคที่มนั ทําให้
ผุห้ ญิงเข้าไม่ถึง อันเนี้ ยเราก้ไปแก้ที่ผ่านมามันก้จะไม่มีนายอําเภอที่เป็ นผูห้ ญิงใช่มะไม่มีผวู ้ ่าเป้ น
ผูห้ ญิ งและก็ช่วยแก้กฎระเบี ยบพวกเนี้ ยซึ่ งบางทีน้ ี ก็ไปแก้หลายข้อ ไปรณรงค์แก้ เมื่อก่ อนไม่มี
นายอําเภอเป็ นผูห้ ญิง เราก็ผลักดันให้มีการแก้ไขกฎของมหาดไทยที่จะอนุญาตให้ผหู ้ ญิงสมัครสอบ
เป้ นนายอําเภอได้อะไรอย่างเนี้ยคะ
ผู้สัมภาษณ์ : การช่วยเหลือสตรี นี่เคยมีในด้านไหนบ้างคะนอกจากจะในด้าน
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือนี้ไงเราก็คุม้ ครองสิ ทธิทางกฎหมาย
ผู้สัมภาษณ์ : ทั้งเงินช่วยเหลืออะไรด้วยเปล่าคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ การบําบัดฟื้ นฟูจิตใจสนับสนุ นเงิ นทุนให้มนั เป็ นการรวมกลุ่มในเรื่ องของ
อาชี พทั้งตัวบุคคลและเป็ นกลุ่มนะคะอันนี้ ก็เป็ นงานส่ วนหนึ่ งที่เราทําอยู่แล้วก็เป็ นงานช่ วยเหลือ
อะนะ
ผู้สัมภาษณ์ : คะเรามีเครื อข่ายไหมคะที่ให้สตรี ได้รับการบริ การ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มีเครื อข่ายสตรี 4 ภาคอยูน่ ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : อ๋ อสตรี 4 ภาค
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ในส่ วนของเราเนี่ ยเราจะสร้างสร้างแกนนําผูห้ ญิงขึ้นมาในภาคต่างๆและแกนนํา
เราเนี่ ยหลังจากที่ผ่านการอบรมความรู ้ในที่เค้าก็จะไปเป็ นอาสาสมัครนี้ รักษาอยู่ในชุมชนของเขา
เหมือนเป็ นอาสาสมัครของมูลนิ ธิที่จะรับเรื่ องราวร้องทุกข์ในทุกเรื่ องมีงานรณรงค์เราก็จะมาร่ วม
รณรงค์ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกฎหมายอย่างเป็ นธรรมต่อเป็ นธรรมของผูห้ ญิง หรื อกฎระเบียบ
ของอบตที่มนั ไม่เป็ นธรรมหรื อไม่เปิ ดโอกาสให้ผูห้ ญิงเนี่ ยขึ้นไปมีคนพวกเนี้ ยไปขับเคลื่ อนใน
พื้นที่ของตนเอง
ผู้สัมภาษณ์ : คือการประสานงานกันระหว่างสตรี ขอ้ มูลวิธีการเพื่อนหญิงทั้งหมดเนี่ ยคะก็คือจะอยู่
ในสตรี 4 ภาคใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ่ะใช่จะอยูใ่ นสตี 4 ภาค
ผู้สัมภาษณ์ : ก็คือว่าจะมีการประชุมกันคุยกันว่าเราจะมีกนั ทํางานกันอย่างไรใช่ไหมคะ ใช่คะ แล้ว
ก็เอาผลมารวมกัน
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ่า นัน่ แหละถูกต้องแล้วเราประชุมเสร็ จแล้วเขาก็จะเอาประเด็นที่ผหู ้ ญิงส่ วนใหญ่
ไปขับเคลื่อนนโยบายใหญ่ดว้ ยนะ นโยบายของชาติ อย่างเช่นเราขับเคลื่อนในกองทุนพัฒนา
บทบาทสตรี กบั การพัฒนาให้คนในของส่ วนช่วยเหลือผูห้ ญิงเนี่ ยมีงบประมาณมีพนักงานเจ้าหน้าที่
100

ที่จะลงมาทํางานจริ งจังใช่ ไหมคะก็จะมีงบประมาณสนับสนุ นส่ วนต่างๆที่นาํ เรื่ องเด็กและสตรี


ไม่ใช่จะจัดขึ้นมาใช้เฉยๆไม่มีท้ งั คนไม่มีงบประมาณมีแต่นโยบายอันนี้ ก็ไม่ได้เป็ นเรื่ องที่เราจะมา
ช่วยกันขับเคลื่อนนะหรื อที่ผา่ นมากระทรวงมหาดไทยยังไม่แก้ส่วนต้องการเข้ามามีส่วนร่ วมในทาง
การเมืองของผูห้ ญิงโดยเฉพาะในระดับอบต.ต่อไปนี้ จะมีการทําให้แก้ว่าอย่างน้อยต้องเป็ นผูห้ ญิง 2
ในสามอะไรยังงี้ เนี่ ยนะ คณะกรรมการต่างๆอะไรยังเนี่ ยอันนี้ เรื่ องที่เรากําลังขับเคลื่อนในเชิ ง
นโยบายระดับชาติดว้ ยนะ
ผู้สัมภาษณ์ : ก็คือการติดต่อกับหน่วยงานในทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเลยใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะๆ
ผู้สัมภาษณ์ : ก็คือติดต่อในการเรี ยกร้องสิ ทธิ สตรี ทวั่ ไป เรื่ องของกฎหมายและงบประมาณอะไร
อย่างนี้ใช่ไหมคะ
ผู้ ให้ ข้ อ มู ล หลัก : ช่ า ยก็ ข้ ึ น อยู่ว่า ประเด็น นั้น มัน เกี่ ย วข้อ งกับกฎหมายตรงไหนบางเรื่ องเข้าไป
เกี่ยวข้องอยู่กบั กระทรวงพัฒนาสังคมใช่ไหมคะ เราควรจะเรี ยกร้องกระทรวงพัฒนาสังคมเยอะ
เรี ยกร้องไปที่รัฐบาลให้มีการเปิ ดนโยบายบางอย่างที่เกิดการพัฒนากลไกของกระทรวงพรรคให้
สามารถคุม้ ครอง ผูห้ ญิงให้มากขึ้นอะไรอย่างเนี้ ยอนะหรื อถ้าเป็ นเรื่ องสุ ขภาพเราก็เรี ยกร้องไปที่
รัฐบาลเพื่อให้เขาปรับหรื อทบทวนกลไกของกระทรวงสาธารณสุ ขที่ท้ งั ผูห้ ญิงท้องไม่พร้อมได้รับ
การคุม้ ครองดูได้อย่างเข้าใจมากขึ้นอะไรอย่างนี้ นะคะ ขอเป็ นเรื่ องแต่นโยบายการศึกษาก็ตอ้ งไปที่
กระทรวงการศึ กษาก็รู้ว่า เป็ นประเด็น เรื่ องอะไร ไรอย่า งเนี้ ยนะคะจะเรี ย กร้ องไปตามมิ ติของ
ประเด็นนะคะและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องนะแต่ก็โดยรวมๆเนี่ ยอีกส่ วนหนึ่ งก็คือว่าเราจะขับเคลื่อน
ให้รัฐบาลมี การปรั บปรุ งแก้ไขกลไกต่างๆที่ไม่สามารถทําหน้าที่เอ่อ คุม้ ครองผูห้ ญิงและเด็กได้
เข้าใจไม่วา่ จะมิติไหนก็แล้วแต่นะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วอย่างงบประมาณที่มูลนิที่ได้รับเนี่ยคะส่ วนใหญ่มาจากทางไหนคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็จะเป็ นเงินจากต่างประเทศเป็ นหลักนะคะหมายถึงจะมีของสหภาพยุโรปของของ
ฝรั่ งเศสของเอ่อ อะไรนะ ยูเครนสหภาพยุโรปและก็สถานทูตต่างๆรวมทั้งของสทสด้วยนะคะ
สํานักงานสนับสนุ นการสร้างเสริ มสุ ขภาพของเมืองไทยแล้วก็อีกส่ วนหนึ่ งก็จะมีในส่ วนของภาค
ประชาชนที่เค้าบริ จาคมาเป็ นแบบบุคคลมัง่ บริ ษทั ห้างร้านต่างๆสิ นค้าผลิตภัณฑ์ผหู ้ ญิงต่างๆเข้าก็จะ
บริ จาคมาให้มูนิธินะคะ ก็หลากหลาย แล้วก็อีกส่ วนหนึ่งก็เริ่ มจัดตั้งกล่องบริ จาคจัดตั้งในพิพิธภัณฑ์
ของมูลนิธิจะขายสิ นค้รณรงค์ต่างๆของมูนิธิไม่วา่ จะเป็ นเสื้ อยืดกระเป๋ าอะไรพวกเนี่ยนะ
ผู้สัมภาษณ์ : ก็จะมีขายที่มูลนิธิท้ งั 4 ภาคเลยใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ่ามี มีท้ งั 4 ภาคเลย คือเราขายไปพร้อมกับสิ นค้าของผูห้ ญิงที่ผหู ้ ญิงผลิตขึ้นไว้ก็
เป็ นการตลาดด้วยอ่าเขาก็จะมีหัตถกรรมนะ คะ ข้าวของหัตถกรรมต่างๆอ่ะนะที่ผหู ้ ญิงผลิตขึ้นมา
101

เราก็จะคล้ายเป็ นการหาช่องการตลาดให้ท้ งั ตัวผูห้ ญิงเองและก็ให้กบั มูลนิ ธิในการระดมทุนในการ


ทํางานร่ วมกันอ่ะนะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : คะ อย่างผูห้ ญิงที่ได้การช่วเหลือจากมูลนิ ธิเนี่ ยนะคะ ในช่วงที่มีการฟื้ นฟูมีการบําบัด
ไรอย่างเนี้ยอ่ะคะ อ่า จะให้เขาไปอยูท่ ี่ไหนอ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือ มันมี 2 ส่ วนทั้งแบบ มีท้ งั พักพิงนะฮะอยูช่ วั่ คราวแต่หลังจากที่อ่า รัฐบาลได้มี
การออก พรบ.คุม้ ครองผูถ้ ูกกระทําความรุ นแรงในครอบครัวก็ดี พรบ เรื่ องของ...ดีนะฮะ เรื่ องท้อง
ไม่พร้อมก็ดี มันก็จะมีบา้ นพักสว่นของรัฐบาลที่จะเกิดขึ้นในทุกจังหวัดนะฮะ เพราะงั้นภายใต้ พรบ.
เนี้ย มูลนิธิจะต้องส่ งนะฮะ หรื อว่ามีการประสานความร่ วมมือไปยังบ้านพักเด็กและครอบครัวต่างๆ
เพื่ อ ที่ จ ะให้ ผูห้ ญิ ง มี ที่ พ ัก พิ ง นะฮะ เพราะมัน เป็ นระบบภายใต้ก รอบของกฎหมายทุ ก ๆกลุ่ ม
หน่ วยงานต้องทําเช่ นกันอ่ะนะคะ ก็จะ เราก็จะบําบัดฟื้ นฟูเด็ก จิ ตใจผูห้ ญิ งแล้วผูห้ ญิ งจะไปอยู่
บ้านพักเด็กและครอบครัว ถ้าเคสไหนเขาไม่สะดวกใจที่จะอยู่บา้ นพักนะฮะของ สามารถที่อยู่กบั
บ้านของญาติพี่นอ้ งหรื ออะไรได้ จะบําบัดฟื้ นฟูสร้างงานสร้างรายได้อะไรตรงเนี้ ย มูลนิ ธิก็จะช่วย
แล้วหากเคสไหนเขาไม่มีที่ไหจริ งๆเขาก็พร้อมที่จะไปอยูใ่ นส่ วนของบ้านพักเด็กและครอบครัวจน
ในที่สุดก็มีอาชี พเป็ นของตัวเองหรื อมีรายได้ที่สามารถเลี้ยงดูตวั เองได้เขาก็จะออกไปหาที่อยู่ของ
เขาอ่ะนะคะ ซึ่งดูเป็ นเคสๆกันไปอ่ะนะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : คิดว่ามูลนิ ธิเพื่อนหญิงนี่ ประสบความสําเร็ จในการช่วยเหลือสตรี และเด็กจากการใช้
ความรุ นแรงภายในครอบครัวหรื อเปล่าคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือ คือเท่าที่เราจากเคสอย่างปี ที่ผา่ นมานี่มนั พันกว่ารายใช่ไหมคะ ต่อปี พันกว่าราย
โดยเฉลี่ ย นเนี่ ย 1000กว่า รายต่ อปี เนี่ ย ดู จ ากที่ เ ราช่ ว ยเนี่ ย เราก็ทาํ ให้เ ด็ก สามารถที่ จ ะได้รับการ
คุม้ ครองอย่างน้อยก็ทางกฎหมายนะใช่ม้ ยั ฮะหรื อจ่ายเงินเป็ นแสน มีการแจ้งความดําเนิ นคดี ส่ วน
เคสเนี่ ยเรารู ้ถึงขั้นนําตัวผูก้ ระทําความผิด ลงโทษตามกฎหมายเนี่ ยกี่เปอร์ เซ็นเนี่ ยขึ้นกับผูเ้ สี ยหาย
ด้วยเนี่ย บางเคสยอมความ แล้วแต่การตัดสิ นใจของผูเ้ สี ยหายด้วย บางเคสผูเ้ สี ยหายก็คดีไปถึงท่สุด
ใช่ ไหมคะ ก็สามารถนําผูก้ ระทําความผิดมาดําเนิ นคดี ได้อะไรเงี้ย ขึ้นอยู่กบั ความผิดด้วย ถ้าเป็ น
กรณี ที่เป็ นความผิดทางผูเ้ ยาว์ ความผิดกับเด็กนี่ยงั ไงมันก็ยอมความไม่ได้อยูแ่ ล้ว ก็ทาํ ไปถึงที่สุดนะ
เนี่ ยเป็ นผูใ้ หญ่มนั ก็อาจมีการยอมความระหว่างกัน ซึ่ งขึ้นอยู่กบั เคส แต่ส่วนมากก้สามารถทําให้ผู ้
ได้รับการคุม้ ครองในทางกฎหมายถ้าเปรี ยยบเทียบก็ทางที่มูลนิ ธิก็อาจไม่ได้รับค่าเสี ยหาย แต่ก็จะดู
ว่า เคสไหนที่เขาได้รับความเสี ยหาย ก็คือมี...จนในที่สุดผูห้ ญิงได้รับการคุม้ ครองใช่ม้ ยั ฮะ อย่างเช่น
ที่เขาไม่ยอมนะฮะ ไม่ยอมที่จะรับเงินเฉพาะค่าเสี ยหาย เขาต้องการตัวผูก้ ระทําความผิดลงโทษด้วย
นี้ ก็ต่อสู ้จนถึ งที่ สุดอ่ะนะส่ วนจะติดคุ กกี่ ปีนี่ ก็เป็ นเคสๆไปนี่ ก็โดยภาพรวม โดยภาพรวมเราก็...
102

ถึ งแม้ผูเ้ สี ยหายจะอ่ า ยอมเจราจารั บเงิ น ไม่ยอมดําเนิ ก ารต่ อไปอย่างน้อยผูเ้ สี ยหายก็ได้รับการ


คุม้ ครองนะฮะจะเป็ นเงินค่าชดเชย นะฮะ
ผู้สัมภาษณ์ : ที่ผา่ นมาเนี่ยคะ คุณธนวดีคิดว่าประเทศไทยยังมีมุมมองเกี่ยวกับความไม่เสมอภาคและ
สิ ทธิสตรี อยูห่ รื อเปล่าคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ยังมีอนู่เยอะเลยโดยเฉพาะในโครงของสังคม ดูง่ายๆเลยโดยเฉพาะกระทรวงต่างๆ
เวลาผูห้ ญิงจะเข้าถึงกลไกการคุม้ ครองสิ ทธิกจ็ ะเจอปัญหา 2 เรื่ องอันที่ 1 ในเรื่ องของมายาคติ นะคะ
ที่ทาํ ให้เขาไม่สามารถคุม้ ครองได้อย่างเช่นว่าเอาง่ายๆอย่างสํานักงานตํารวจแห่ งชาติ เวลาผูห้ ญิงไป
ร้องทุกข์เนี่ ย 1 มาด้วยเรื่ องผัวเมีย เมียก็ตอ้ งไปค้นสมบัติของผัว ผัวจะทําร้ายก็ยอมรับ อันเนี้ ยคือ
อคติที่ทาํ ให้ผหู ้ ญิงไม่สามารถเข้าถึง ผูป้ ฏิบตั ิงานคิดอย่างนี้ ปั๊บมันก็ทาํ ให้การไปแจ้งความร้องทุกขื
ของผูห้ ญิงมันไม่เกิดประโยชน์ มันไม่เกิดกลไกการคุม้ ครองผูห้ ญิงอย่างจริ งจัง อันนี้ คือในเรื่ องของ
มายาคตินะคะ ซึ่ งมันก็นาํ ไปสู่ การเลือกปฏิบตั ิ การที่คุณมีมายาคติ ในมิติแบบนี้ มนั ทําให้ผหู ้ ญิงมัน
ไม่ได่รับการคุม้ ครองเกิดการเลือกปฏิบตั ิไงฮะ ถ้าเป็ นเรื่ องการทุบตีโดยทัว่ ไป คุณก็ให้การคุม้ ครอง
แต่วา่ ถ้าเป็ นกรณี ผวั ทุบตีภรรยา เนี่ย ตํารวจมักจะไม่ให้ความคุม้ ครองเท่าไร คือไม่ให้ความสนใจอะ
คะ เพราะยังเชื่ อเรื่ องว่า เรื่ องผัวเมียเป็ นเรื่ องภายในครอบครัวอะไรเงี้ ย หรื อ สามีมีสิทธิ์ ที่ทาํ ร้าย
ภรรยาได้ แล้วการที่ไปคุม้ ครองสิ ทธิ ภรรยาเนี่ ยก็จะน้อยลง แต่ว่าถ้าเป็ นเรื่ องการทุบตีระหว่างผุช้ าย
กับผูช้ ายเนี่ ย ทุบตีกนั เอ่อ เขากลับไปคุม้ ครองได้นะ เอาเรื่ องตามกฎหมายจนเป็ นเรื่ องเป็ นราว พอ
ผูห้ ญิงไปแจ้งความร้องทุกข์เรื่ องผัวเมีย เขาก็จะอิดออดไม่ค่อยไปช่วย ไม่ค่อยอยากไปทําคดีพวกนี้
อะนะ
ผู้สัมภาษณ์ : ปั ญหาครอบครัว
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เออ ปั ญหาครอบครัวหรื อปั ญหาเรื่ องเพศก็เหมือนกันนะคะ เรื่ องเพศเนี่ ยอย่างเช่น
ว่าบางที่ผหู ้ ญิงถูกคุกคามทางเพศเนี่ยบางกรณ๊ผหู ้ ญิงก็เป็ นฝ่ ายไปหาผูช้ าย เขาก็จะตั้งประเด็นว่าคุณ
ไปหาเขาทําไม ทั้งๆที่บางทีว่าผูห้ ญิงไม่ได้มีเจตนาเพื่อที่ว่าจะให้ผชู ้ ายข่มขืนนึ กออกมะ ไปอยาก
เพื่อนไปโดยไม่ได้คิดเพราะว่าให้ผชู ้ ายระเมิดทางเพศตัวเองแต่ไปเพื่ออยากจะมีเพื่อน แค่น้ นั ใช่ม้ ยั
คะ ตํารวจก็ต้ งั โจทย์ว่า ถ้าคุณเป็ นผูห้ ญิง คุณก็ไม่ควรไปหาผูช้ ายก่อน มันก้จะทําให้ คุณพร้อมที่จะ
ไปมีความสัมพันอันก็ทาํ ให้ผหู ้ ญิงที่จะไปหาตํารวจเพื่อให้ดาํ เนินคดีมองว่าผูห้ ญิงเป็ น...หรื อเปล่า นี่
ก็เป็ นเรื่ องที่เรากําลังทําความเข้าใจกันที่ว่า เป็ นผูห้ ญิงไปหาผุช้ ายก่อนก็ไม่ได้หมายความว่า ผูห้ ญิง
ไปให้เพื่อถูกข่มขืนนะ ผูห้ ญิงไปเพื่อ มีธุระ หรื อแม้กระทัง่ ไปเพื่อสร้างความสัมพันธ์เป็ นเพื่อน แต่
มันไม่ได้หมายถึงผุห้ ญิงไปเพื่อให้ ไปเพื่อที่จะถูกข่มขืนอะไรอย่างเนี้ยนะต้องทําความเข้าใจอีกทีนะ
อันเนี้ยเค้าก็เรี ยกมายาคติที่ทาํ ให้ผหู ้ ญิงถูกเลือกปฏิบตั ิอย่างเข้าไม่ถึง ก็จะทําให้ผหู ้ ญิงเองก็รู้สึกไม่มี
ใครเคยฟั งความเห็น การที่เราไปเป็ นความผิดของเราหรื อเปล่าอะไรอย่างเนี้ ยอะนะ มันก็เลยทําให้
103

เคสของคดีการล่วงละเมิดทางเพศเป็ นเรื่ องทีทาํ ยากพอสมควรที่จะฝ่ าด่านของตํารวจให้เข้าใจว่าเคส


บางเคสมัน ผูห้ ญิงไม่เป็ นใจ ถ้าผูห้ ญิงไม่ได้เป็ นใจ คุณต้องดําเนินคดีทนั ที การถูกวางยาทุกอย่างถือ
ว่าเป็ นการละเมิดทางเพศผูห้ ญิงทั้งหมด ใช่ไหมคะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วในอีกแง่นึงที่นอกจากมายาคติมีอีกแง่นึงมั้ยคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มีก็โดยภาพรวมว่าจาก คือภาพรวมก็ดูจากทัศนะของบุคคลที่เป็ นหน่ วยงานของ
รัฐเนี่ยเราจะเห็นว่าเขายังไม่เชื่อของความเสมอภาคนัน่ เอง ใช่ไหมคะ ก็ยงั รู ้สึกว่าผูห้ ญิงต้องเป็ นช้าง
เท้าหลัง ผูช้ ายต้องเป็ นช้างเท้าหน้า ผูช้ ายต้องเป็ นผูน้ าํ เท่านั้นอ่ะ ความเชื่อตรงเนี้ ยมันก็กลายเป็ นว่า
เนื้ องานบางอย่างที่เขาไปทํากับกลุ่มผูห้ ญิงในชุชนต่างๆมันก็จะติดสิ่ งนี้ ไปด้วย ใช่ไหมคะ สมมติ
คุณลงไปชุมชนก็ก็สร้างความเป็ นผูน้ าํ แต่ลึกๆคุณยังมีคว่ามเชื่อตรงนี้ ที่คิดว่าผูห้ ญิงไม่สามารถมา
เป็ นผูน้ าํ ได้ คุณก็ทศั นคติที่ว่าเวลาคุณฝึ กอบรมคุณก็จะพูดว่าเนี่ ย ไอกฎหมายเนี่ ยมันก็จะพูดถึงสิ ทธิ
ความเท่าเทียมเนี่ ย แต่ในความเป็ นจริ งเป็ นเหมือนผูช้ ายไม่ได้นะ เป็ นผูน้ าํ ไม่ได้เพราะว่าเรายังมี
ความเป็ นผูห้ ญิง เรายังไม่มีการตัดสิ นใจเด็ดขาด เรายังต้องเป็ นแม่ตอ้ งอยุบ่ า้ นอะไรอย่างเนี้ ยอ่ะนะ
มันก็เป็ นทัศนะคติที่ทาํ ให้ผหู ้ ญิงไม่กล้าที่จะก้าวข้ามมาเป็ นผูน้ าํ อ่ะนะอันนี้ ก็จะเป็ นปั ญหาใหญ่เลย
ทีเดียวนะ นี่คือที่ยกตัวอย่างว่ามันนําไปสุ่ การเลือกปฏิบตั ิอนั ที่หนึ่ ง นําไปสู่ การสร้างมายาคติให้ตวั
ผูห้ ญิงเองทําให้ผหู ้ ญิงไม่เชื่อมัน่ ที่จะก้าวขึ้นมาเป็ นผูน้ าํ ถึงแม้เราจะมีผนุ ้ าํ หญิงมากมาย แต่ผนู ้ าํ หญิง
คนนั้นจะต้องต่อสู ้มายาคติอย่างมากใช่ม้ ยั คะที่จะก้าวขึ้นมาอย่างงั้น หรื อมีปัจจัยของในครอบครัว
อย่างมีพวกพ่อ มีสามีเป็ นผูม้ ีอิทธิ พลอยู่แล้ว ผูห้ ญิงก็จะก้าวขึ้นมาได้ อันนี้ ก็เป็ นเรื่ องของการต่อสู ้
อีกยาวนานที่ผูห้ ญิงจะทําลายมายาคติ สร้างความเข้าใจให้สังคม โดยเฉพาะในมุมของบุคคลที่มี
บททบาทไม่ว่าจะเป็ นในรัฐบาล เป็ นค่าราชการใช่ม้ ยั คะ หน่วยงานต่างๆเข้าใจเรื่ องพวกเนี้ ย เพราะ
งั้นคุณเข้าใจเวลาคุณไปทํางานของคุณเนี่ยคุณก็จะทําให้ผหู ้ ญิงเกิดความมัน่ ใจ เชื่อมัน่ และก็เห็นถึง
ศักยภาพของผูห้ ญิงขึ้นมาในการมีบทบาทหรื อเข้าถึงนโยบายต่างๆได้อย่างเสมอภาคอ่ะนะ
ผู้สัมภาษณ์ : แนวทางการสงเสริ มเนี่ ยคะ การธํารงไว้ซ่ ึ งความเสมอภาคทางเพศเนี่ ยคะ เขาต้องทํา
ยังไงบ้างคะ ต้องสร้างความเข้าใจอย่างนี้ใช่ม้ ยั คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ต้องเริ่ มมาตั้งแต่เรื่ องของการเลี้ยงดูในครอบครัว หรื อว่าพ่อแม่ตอ้ งมีความรู ้ความ
เข้าใจในเรื่ องนี้ และก็ตอ้ งทําให้ลูกของตัวเองเนี่ ยมี ความเข้าใจในมิติเรื่ องเพศด้วยอย่างเช่ นเรื่ อง
ภายในครอบครัว เรื่ องเล็กๆง่ายๆเรื่ องของงานบ้านเนี่ยพ่อแม่กต็ อ้ งเปิ ดโอกาศให้เด็กหญิงเด็กชายได้
มีโอก่าศทํางานบ้านเหมือนกันอะไรเงี้ย ไม่ใช่ ไปมองว่างานบ้านก็คือเป็ นเฉพาะของลูกผูห้ ญิงแต่
เด็กผูช้ ายไม่ตอ้ งทําอะไรเงี้ย ทัศนะคติอย่างเนี้ ยต้องเปลี่ยนเพราะจริ งๆแล้วงานบ้านมันเป็ นมิติของ
เรื่ อง Gender เป็ นมิติของเรื่ องสังคมให้มาสร้างกรอบกติกาในภายหลัง เพราะอย่างนั้นเนี่ ยมันเป็ น
มิติของสิ่ งที่ มนั เปลี่ยนแปลงได้อ่ะนะ โดยไม่ใช่ เรื่ องของเซ็ก เรื่ องของเซ็ กมันเป็ นกฎธรรมชาติ
104

บางอย่า งที่ เ ราเปลี่ ย นไม่ ไ ด้อ ยากจะให้ผูช้ ายไปมี ม ดลู ก มัน ก็ ค งเป็ นไปไม่ ไ ด้ มัน เป็ นมิ ติ โ ดย
ธรรมชาตินี่มนั เปลี่ยนไม่ได้ เป็ นกฎในเรื่ องบทบาททางสังคมที่สงั คมเป็ นผูก้ าํ หนดให้มนั แปลี่ยนได้
อย่างเช่นการทํางานบ้านอย่างเนี้ยให้ผชู ้ ายสามารถทําได้การเลี้ยงลูกผูช้ ายก็สามารถทําได้ผหู ้ ญิงก็ทาํ
ดี มันต้องช่วยกัน มิติพวกนี้ มนั ต้องขยับ ถ้าเราเริ่ มในครอบครัวแล้วในโรงเรี ยนก็จะต้องมีหลักสู ตร
ที่จะสอนให้ ให้ความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกัยบเรื่ องหลักของความเสมอภาค หลักในมิติของ เจนเดอร์
เซ็กเจนเดอร์ที่จะให้เข้าใจซะใหม่วา่ บทบาทหญิงชายเนี่ย มันมีความเหมือน และยังมีความต่าง และ
ยังมีความตายตัว และยังมีสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ อย่างไรบ้างนะเพื่อที่จะสร้างความละเอียดอ่อนบาง
เฉพาะที่ผหู ้ ญิงจะต้องได้รับความคุม้ ครองในบางเรื่ อง ผูช้ ายจะต้องได้รับความคุม้ ครองในบางเรื่ อง
พวกเนี้ ยจําเป็ นต้องมีการมาเรี ยนรู ้และทําความเข้าใจเพื่อที่จะสร้างฐานนะฮะ ให้เด็กได้เติบโตเป็ น
ผูใ้ หญ่ที่มีความเข้าใจในมิติของเจนเดอร์ ในมิติของสิ ทธิ มนุ ษยชนมากขึ้น เพราะงั้นเนี่ ยมันมีฐาน
เข้าใจตรงเนี้ ยเป็ นมายาคติต่างๆการเลือกปฏิบตั ิมนั ก็จะหายไปนะคะมันก็จะเกิดการยอมรับผูห้ ญิง
ในฐานะที่เป็ นมนุ ษย์ที่เท่าเทียมกันมากขึ้น ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างหรื อกฎหมาย
บางอย่างมันต้องอกมาเฉพาะผูด้ ูแลผูห้ ญิงอะไรเงี้ย
ผู้สัมภาษณ์ : ตั้งแต่มีการรณรงค์มาเนี่ยคิดว่าความรุ นแรงหรื อการกดขี่ทางเพศนี่มนั ลดลงมั้ยคะ
ผู้ใ ห้ ข้ อมู ลหลัก : ที่ จริ งประเด็น มัน สัง คมให้ความสํา คัญมากขึ้ นนะ ประเด็นคื อมัน ยัง ไม่ ลดลง
เพราะว่าเมื่อก่อนเนี่ยมันถูกเก็บเงียบไว้ แต่ปัจจุบนั เมื่อมันมีองค์กรต่างๆขึ้นมาเคลื่อนไหวหน่วยงาน
รัฐจัดตั้งกลไกขึ้นมาดูแลมากขึ้นเนี่ยมันก็เลยทําให้ผหู ้ ญิงมีความกล้าที่จะออกมาเปิ ดเผยมาร้องเรี ยน
มากขึ้น แต่เมื่อก่อนเนี่ ยถูกคุกคามทางเพศที่ยิ่งในครอบครัวยิ่งเป็ นเรื่ อยากเลยที่จะร้องเรี ยนเลยยิ่ง
ต้องเก็บไว้เพราะกลัวที่จะสู ญเสี ยสถาบันการศ฿กษาอะไรเงี้ยนะเสี ยหน้าเสี ยตาตรงเนี้ ย มันค่อยๆ
หายไปไง แต่ว่าพอปั จจุบนั ผูห้ ญิงเริ่ มรู ้มากขึ้นว่าเออ มันไม่ได้เป็ ความผิดของผูห้ ญิงนะ ต้องได้รับ
การคุม้ ครองนะต้องมีการไปพิสูจน์หลักฐานตรงที่ว่าเรื่ องนี้ มนั เกิดมาจากอะไรบ้าง พอเริ่ มมีกลไก
พวกนี้มากขึ้น ผูห้ ญิงก็ออกมาร้องทุกข์มากขึ้น มันก็ดูเหมือนว่ามีปัญหามากขึ้นกว่าเดิมนะ และมันก็
ยังไม่เบาบางลงเพราะว่าเรื่ องของมายาคติเรื่ องของกลไกอย่างที่พี่บอกอ่ะ ว่ามันยังปรับตัวไปอย่าง
ช้าๆ ในขณะที่ปัญหามันมีเยอะไง การให้ความช่วยเหลือก็ยงั มีมายาคติ คนก็ยงั ไม่เต็มที่ ผูห้ ญิงก็มี
มากขึ้น ผูห้ ญิงท้องที่จะมาร้องทุกข์แล้วอ่ะ แต่หน่ วยงานมันยังไม่พร้อม อันเนื่ องมาจาก กลไกไม่
พอ งบประมาณไม่พอ พนักงานไม่พอพวกเนี้ยอ่ะนะ หลายๆปั จจัย
ผู้สัมภาษณ์ : ปั ญหาและอุปสรรคในการทํางานของมูลนิธิมีมากน้อยยังไง
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็มีมากเลยโดยเฉพาะข้อที่ 1 ก็มีเรื่ องของทัศนะคติ อันที่ 1 ทัศนคติของหน่วยงาน
รัฐที่เกี่ยวข้องสมมติเราจะไปขอความช่วยเหลือไม่วา่ กระทรวงไหนเราก็จะเจอในเรื่ องของทัศนะคติ
ที่ยงั มีมายาอคตินาํ ไปสู่ การเลือกปฏิบตั ิ คุม้ ครองผูห้ ญิงตรงเนี้ ยเป็ นปั ญหาใหญ่ อันที่ 2 รัฐบาลมี
105

นโยบายผูห้ ญิงก็จริ ง มนโยบายที่ดูดี แต่ในภาคปฏิบตั ิมนั ยังไม่จริ ง คุณอาจจะมีพนักงานเจ้าหน้าที่


แต่อาจจะไม่มีเพียงพอ งบประมาณก็ไม่เพียงพอด้วย แล้วก็จะเป็ นปั ญหาทําให้เกิดปั ญหาต่อมูลนิ ธิ
เวลาเราจะส่ งเคสไปทีกก็ ลายเป็ นเจ้าหน้าที่ไม่วา่ ง ปี นี้งบประมาณมีแค่น้ ีที่คุณส่ งมามีต้ งั หลายเคสรอ
ปี หน้า อันนี้ กเ้ ป็ นเรื่ องที่เป็ นปั ญหามันก็เลยทําให้เราต้องคอยรณรงค์ที่จะทําให้กลไกเนี่ ยที่ออกมา
คุม้ ครองสิ ทธิ และผูห้ ญิงในกระทรวงต่างๆนี่ มนั สามารถทํางานได้อย่างเข้าใจและก็มีงบประมาณที่
เพียงพอ มีเจ้าหน้าที่ที่เข้าใจ มีกลไกรองรับอย่างเต็มที่ ไม่ใช่วา่ งบประมาณหมดไปครึ่ งปี ที่เหลืออยู่
ก็ตอ้ งรอไปปี หน้า คืออย่างนี้ มนั จะเป็ นอุปสรรค อันเนี้ ย อันที่ 3 ก็ตวั ผูห้ ญิงเอง ผูห้ ยิงส่ วนมากก็ยงั
ถูกปลูกฝังมาในแบบเดิมๆอยูอ่ ่ะนะ เพราะงั้นเนี่ยทําให้ผหู ้ ญิงส่ วนหนึ่งไม่มีความกล้าที่จะต่อสู ้ ไม่มี
ความมัน่ ใจ สับสน หรื อไม่มีความเข้มแข็ง ก็ยงั ยอมจํานนก็ยงั ยอมรับการถูกทุบตี ทําร้าย การถูกใช้
ความรุ นแรง หรื อยอมจํานนที่จะอยู่ภายใต้การถูกกดขี่แรงงาน เพราะว่ายังไม่ได้ถูกทําความเข้าใจ
ในเรื่ องของความเสมอภาค บางคนเองยังรู ้สึกว่าเป็ นภรรยาก็เป็ สิ ทธิ์ ของสามีที่จะทุบตีได้หรื อเป็ น
ภรรยาหลวงเนี่ ย ผูช้ ายจะไปมีหลายครอบครัวก็เป็ นสิ ทธิ์ ผูช้ าย ผูช้ ายทําได้ ในความเชื่อตรงนี้ มนั ก็
เป็ นผูห้ ญิงจํานวนมากเลยทีเดี ยวที่มูลนิ ธิจะต้องใช้เวลาฟื้ นฟูจิตใจ สร้างความเข้มแข็ง เสริ มสร้าง
พลังให้แก่ความคิด ว่าผูห้ ญิงหลุดพ้นจากความเชื่อเดิมๆ และความเชื่อเหล่านั้นก็เป็ นอุปสรรคที่ทาํ
ร้ายตัวผูห้ ญิงเองด้วย ทําให้ผหุ ้ ญิงเจ็บปวดและก็ทาํ ร้าย โดนอยุใ่ นความทุกข์ มีอีกหลายคนต้องหลุด
ออกมาไม่ได้ จะต้องอยูใ่ นความทุกข์และก็มีอาการทางจิตใจไปในระยะยาว บางคนก็ฆ่าตัวตาย ถ้า
หลุดไม่พน้ ดูแลตัวเองไม่ได้ เพราะฉะนั้นก็เป็ นงานที่ยากพอสมควร การทําให้ผูห้ ญิงได้มีความ
เข้มแข็ง เสริ มสร้างพลังและก็หลุดพ้น และก็สามารถดูแลตัวเองได้ ยังเป็ ภาระกิจที่หนักหน่วงที่เรา
ยังต้องใช้พละกําลังมากมายของเจ้าหน้าที่ในการช่วยผุห้ ญิงให้หลุดพ้นตรงเนี้ยเป็ นงานที่หนักมาก
ผู้สัมภาษณ์ : มูลนิธิมีการประสานงานกับนักวิชาการที่ทาํ หน้าที่เกี่ยวกับทางสิ ทธิสตรี บา้ งไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็มีคะ กรรมการของเราส่ วนหนึ่ งก็จะเป็ นกลุ่มนักวิชาการสตรี อ่ะนะที่เขาสนใจ
เรื่ อสตรี ศึ ก ษามาเรื่ องสตรี ศึ ก ษาอะไรทางเนี้ ย ก็จ ะเป็ นกลุ่ มนัก วิชาการกลุ่ มเนี้ ย ซึ่ งจะมาเป็ น
กรรมการด้วยกลุ่มหนึ่ง แล้วอีกกลุ่มหนึ่ งก็จะช่วยเป็ นที่ปรึ กษาเป้ นผูช้ ่วยทําวิจยั ให้ ทําเรื่ องขององค์
ความรู ้ให้ จะมีอยู่
ผู้สัมภาษณ์ : ก็มีส่วนช่วยได้เยอะเลยใช่ไหมคะที่ทาํ ให้มูลนิธิพฒั นาขึ้น
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เป็ นส่ วนช่วยงานวิชาการ กลุ่มนักวิชาการก็จะมีขอ้ มูลเปรี ยบเทียบซึ่ งบางทีเราก็
อยากจะให้เขาทําให้เขาเปรี ยบเทียบกับต่างประเทศเขาก็ได้มีโอกาศศึกษาข้อมูลของประเทศต่างๆ
ด้วย การเปรี ยบเทียบจากฐานข้อมูลที่มูลนิ ธิเพื่อนหญิงทําขึ้นมาเนี่ ย ก็ดูในเชียงเปรี ยบเทียบและก็มี
ข้อเสนอเป็ นองค์ความรู ้ข้ ึนมาซึ่ งแน่ นอนว่าองค์ความรู ้มนั ก็เป็ นประโยชน์ท้ งั ในแง่ของรัฐบาลเอง
ในเรื่ องการออกนโยบาย ในเรื่ องของการทําให้มูลนิ ธิมีทิศทางในการขับเคลื่อนเรื่ องของผูห้ ญิงมาก
106

ขึ้น หรื อว่าเป็ นองค์ความรู ้ที่ทาํ ให้ผหู ้ ญิงที่รวมกลุ่มในระดับชุมชนสามารถใช้องค์ความรู ้ตรงนี้ ไป


ต่อยอดขยายผลในการทํางานได้
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วได้มีการออกไปนําเสนอในประเทศต่างๆ หรื อในประเทศตัวเองบ้างมั้ยคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มีคะ บางทีเวลาในการประชุมเวทีกจ็ ะเอากําหนดการของมูลนิธิ องค์ความรู ้ต่างๆที่
เราได้ทาํ งานมาเนี่ย ไปเสนอและแลกเปลี่ยนในเวทีเกี่ยวกับสตรี เช่น World Women อะไรทั้งหลาย
ทุก 10 ปี ก็จะมีการประชุมสตรี โลกเราก็จะพยายามไปประชุม รวมทั้งการนําเสนอเรื่ องของผูห้ ญิง
ในมิติของเอเชียอะไรประมานเนี้ ย ก็มีหลากหลายแล้วแต่เวที บางทีเขาก็จะเน้นเรื่ องการมีส่วนร่ วม
ในทางการเมืองของผูห้ ญิง บางเวทีก็เน้นเรื่ องของ environment แล้วแต่เวทีไหนเราก็จะหยิบเอา
ความรู ้ในประเด็นนั้นไปร่ วมประชุม
ผู้สัมภาษณ์ : ได้มีการร่ วมงานกับศูนย์ประชาบดีบา้ งไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือต้องร่ วมโดยอัตโนมัติอยู่แล้วเพราะว่าโดยกฎหมายเนี่ ยในศูนย์ประชาบดีเนี่ ย
จะต้องทําหน้าที่ เป็ นกองเลขาหลักของทุกจังหวัดมันจะมีคณะทํางาน ฝ่ ายวิชาชี พในทุกจังหวัด
เกิดขึ้นภายใต้กฎหมายคุม้ ครองผูถ้ ูกกระทําความรุ นแรงในครอบครัวก็ดี คุม้ ครองเด็กก็ดี คุม้ ครอง
ผูห้ ญิงที่ถูกกระทําความรุ นแรงทางเพศค้ามนุษย์เนี่ย ศูนย์ประชาบดีจะต้องทําทุกเรื่ อตรงนี้ ในแง่ของ
กฏหมาย เพราะงั้นเนี่ ยในภาระกิจเนี่ ยเวลามีเคสเข้ามาปั๊ บมูลนิ ธิเพื่อนหญิงเนี่ ยเบื้องแรกเจ้าหน้าที่
ของเราต้องนัดทนายและนักสังคมจะต้องเอาข้อเท็จจริ งนั้นมาประมวลเรื่ องก่อนเพราะเรื่ องนี้ มนั จะ
เข้ากระทรวงใด อย่างเช่น ถ้าเป็ นเรื่ องความรุ นแรงในครอบครัว การค้ามนุ ษย์ ความรุ นแรงทางเพศ
เนี่ย เราก็มุ่งเน้นไปที่พนักงานเจ้าหน้าที่ของกระทรวงพัฒนาสังคม เชิญเขามาร่ วมประชุมร่ วมกันว่า
จะคุม้ ครองยังไง เรื่ องฟ้ องไม่ฟ้อง เรื่ องกิจกรรมทั้งหมดเราจะไปที่กระทรวงสาธารณะสุ ข ศูนย์พ่ ึง
ได้อ่ะนะ แต่ก็เป็ นเรื่ องของการคุม้ ครองในการดําเนิ นคดี การต้องดําเนิ นคดี บางเคสเป็ นเคสความ
รุ นแรงในครอบครัว แต่เขาต้องการแค่การคุม้ ครองแค่เรื่ องสวัสดิภาพก็ไปที่กระทรวงพรรค แต่ถา้
เป็ นเรื่ องคดี ฟ้องเนี่ ยเราจะต้องไปสํานักงานตํารวจแห่ งชาติ ทุกเคสเราจะต้องดูก่อน สิ่ งที่ผูห้ ญิง
ต้องการก็คือประเด็น ไหนก่ อน ถ้าเป็ นกฎหมายเราก็ไปที่ สํานัก งานตํารวจ แต่ ถา้ เป็ นเรื่ องการ
คุม้ ครองสวัสดิภาพการบําบัด ฟื้ นฟูจิตใจ เราก็จะไปกระทรวงพัฒนา หรื อกระทรวงสาธารณะสุ ข
ขึ้นอยูก่ บั ประเด็นที่เข้ามา
107

คุณบัณฑิต แป้นวิเศษ
ผู้สัมภาษณ์ : สวัสดีคะพี่บณั ฑิต
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : สวัสดีครับ
ผู้สัมภาษณ์ : การก่อตั้งมูลนิธิเพื่อนหญิงเนี่ยคะ เกิดขึ้นเมื่อไร โดยใคร และก็เกิดขึ้นเพราะอะไรคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อมูลนิธิเพื่อนหญิงเนี่ยก่อตั้ง...คือจริ งๆแล้วเนี่ย เรารวมตัวกันเป็ นกลุ่มเพื่อนหญิง
ก่อนเมื่อปี 2523 นะครับ โดยการรวมตัวเนี่ ยก็ ในช่วงนั้นเนี่ ยอาการของผูห้ ญิงที่ถูก ถูกใช้ความรุ ณ
แรงเนาะ แล้วก็มนั มีเรื่ องสถานการณ์การค้าปเวณี การทลายตามซ่อง คือซ่องเนี่ย ซ่องที่เอาผูห้ ญิงไป
ขัง คือถูกหลอกมาแล้วเอาไปขังเนี่ ยก็ คือถูกไฟไหม้ซ่อง แล้วก็มีสถานการณ์เรื่ องของคนมาเที่ยว
เมืองไทยเนี่ยก็จะเป็ นก็คือมาเที่ยว คือมาเที่ยวผูห้ ญิงเยอะอ่ะ มันก็ทาํ ให้ภาพลักษณ์ของผูห้ ญิงแล้วก็
การที่ผหู ้ ญิงเนี่ ยถูกใช้ความรุ ณแรงมากขึ้นเรื่ อยๆ ก็เลยทางคณาจารย์และก็กรรมกรหญิง แล้วก็จะมี
พวกทางพวกนักศึกษาผูห้ ญิงแล้วก็มารวมตัวกันแล้วก็ต้ งั เป็ นกลุ่มเพื่อนหญิงขึ้นมาเมื่อปี 2523 อ่ะ
ครับ เป้ าหมายวัตถุประสงค์ก็คือเพื่อที่จะช่วยเหลือผูห้ ญิงแล้วก็นาํ ประเด็นของผูห้ ญิงที่ถูกใช้ความ
รุ ณแรงหรื อว่าผูห้ ญิ งที่ ตกอยู่ในสังคมไทย แต่ยงั ถูกกดขี่อยู่เนี่ ย รณรงค์ ไปปรั บปรุ งในเชิ งของ
กฎหมาย หรื อว่านโยบาย ให้มีสทธิ์ เท่าเที ยมกับผูช้ ายและก้ได้รับความยุติธรรมในสังคม เพราะ
ฉะนั้นเนี่ยก็คือเป้ าหมาย หรื อยุทธศาสตร์ของกลุ่มเพื่อนหญิงและมูลนิธิเพื่อนหญิงเนี่ยนะฮะ ก็คือว่า
ยุทธศาสตร์ ก็คือการส่ งเสริ มและ พัฒนาและส่ งเสริ มบทบาทของ ผูห้ ญิงให้มีพ้ืนที่ ทางสังคม ทาง
นโยบาย ทางกฎหมาย นะฮะ แล้วก็ผหู ้ ญิงก็จะต้องตัดสิ นใจและกําหนดอนาคตของตนเองได้ ด้วย
ตัวของผูห้ ญิงเอง อันนี้ คือยุทธศาสตร์ เนาะส่ วนเรื่ องของกิจกรรมของมูลนิ ธิเนี่ ยนะฮะ คือมูลนิ ธิเนี่ย
เนื่ องจากว่าเราทํางานทางกรุ งเทพอ่ะนะ เพราะฉะนั้นเราก็จะมีเซนเตอร์ หรื อหรื อว่าศุนย๋ กลางของ
สํานักงานใหญ่เนี่ ย อยูท่ ี่กรุ งเทพฯ แล้วก็มีที่เชียงใหม่เนี่ ย เขาจะมี ภาคเหนื อเขาจะมีที่เชียงใหม่ นะ
ครับ และก็มีศูนย์ที่ผหู ้ ญิงเขาไปทํางานอยูด่ ว้ ยและเป็ นแกนนําอยูด่ ว้ ยอยูท่ ี่จงั หวัดพะเยาด้วย นะครับ
ส่ วนภาคอิสานเนี่ ย เราก็มี เครื อข่ายผูห้ ญิง 12 จังหวัดภาคอิสาน นะฮะ แต่ศูนย์ที่เราทํางานและเป็ น
ศูนย์ประสานงานก็จะอยู่ที่จงั หวัดอุบลราชธานี กับที่จงั หวัดมุกดาหาร นะครับส่ วนทางภาคใต้เนี่ ย
เราก็จะมีที่หาดใหญ่นะฮะ จ.สงขลา กับที่ปัตตานี และยะลานะครับ ซึ่ งหมด ศูนย์ที่เรามีอยูเ่ นี่ ยส่ วน
ใหญ่กจ็ ะอยูต่ ามแนวชายแดนนะฮะ ซึ่งเป็ นจังหวัดที่ติดกับชายแดน เช่นอิสานก็ติดกับลาวโนะ
ผู้สัมภาษณ์ : ตรงจุดเสี่ ยงใช่ไหมคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ ๆ เป็ นพื้นที่เสี่ ยงต่อผูห้ ญิงและเด็กเนี่ ยจะถูกใช้ความรุ ณแรง เรื่ องการถูกค้า
มนุ ษย์ นี่ คือพื้นที่ที่เราทํางานอยู่ส่วนในประเด็นหรื อว่าตัวของนโยบายเนี่ ย ตอนนี้ ที่ชดั เจนก็คือว่า
ประเด็นในเรื่ องของผูห้ ญิงกับการเข้าถึงกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี หรื อนโยบายสาธารณะด้านสตรี
เราก็พยายามทํากิ จกรรมในเรื่ องของการเข้าไปนําเสนอรวมกลุ่มผูห้ ญิงแล้วก็เข้าไปนําเสนอเรื่ อง
108

ของการปรับเปลี่ยนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ให้มนั ตรงเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการพัฒนา


บทบาทสตรี จริ งๆ ไม่ใช่เป็ นกองทุนเพื่อการกูย้ ืม หรื อกองทุนที่ไปสร้างหนี้ ให้ผหู ้ ญิงอีก อันนี้ เป็ น
นโยบายหนึ่ ง และนโยบายที่2ก็คือเรากําลังขับเคลื่อนเรื่ อง พรบ.คุม้ ครองผูถ้ ูกกระทําความรุ ณแรง
ในครอบครั ว นะครั บ ซึ่ งกฎหมายเนี่ ยก็ออกมาแล้วแหล่ะ แต่ว่าเรื่ องของการบังคับใช้เรื่ องของ
ประสิ ทธิ ภ าพในเชิ ง ของกลไกเจ้าหน้าที่ เนี่ ย เราก็ย งั ต้องไปผลักดัน ติ ดตามในเรื่ องของการใช้
กฎหมายและก็กลไกที่หน่ วยงานรัฐเนี่ยเขาต้องลงไปทําให้การช่วยเหลือผูห้ ญิงและเด็กนะฮะ ส่ วน
เรื่ องของนโยบายอื่นๆเกี่ ยวกับเรื่ องสตรี เนี่ ยเขาก็ไปหนุ นเสริ มซะมากกว่า หรื อเฉพาะเรื่ องของ
กฎหมายเรื่ องของความเท่าเทียม เรื่ องของทางเพศ เรื่ องของกฎหมายการส่ งเสริ มอนามัยเจริ ญพันธุ์
เรื่ องกฎหมายประกันสังคมนะฮะ อันนี้กเ็ ป็ น แล้วก็อีกอันนึงก็คือว่า เรื่ องของกฎหมายที่เราพยายาม
ที่ จะผลักดันเผยแพร่ ให้กบั ผูห้ ญิงได้รู้ได้เข้าใจ นอกจากเรื่ องกฎหมายคุ ม้ ครองความรุ ณแรงใน
ครอบครัวยังมีเรื่ องของพรบ.ป้ องกันการค้ามนุ ษย์ เนาะ เรื่ องของกฎหมายอาญาที่ถูกปรับปรุ งเช่น
เรื่ องของกฎหมายอาญามาตรา 276 277 เนี่ ยแล้วก็เรื่ องของไอนี่ ก็คือ เรื่ องเกี่ ยวกับเรื่ อง การห้าม
ข่มขืนภรรยาตัวเอง เราก็มีการรณรงค์แล้วก็ให้ความรู ้กบั ผูห้ ญิงนะครับ อันนี้ ก็เป็ นกฏหมายที่เรา
พยายามขับเคลื่อนอยูแ่ ต่หลักสําคัญก็คือว่า เราพยายามที่จะส่ งเสริ มให้ผหู ้ ญิงได้มีความรู ้ความเข้าใจ
ในเรี่ องของสิ ทธิเบื้องต้นที่ผหู ้ ญิงเนี่ยควรจะรู ้และได้รับนะว่าเนี่ย เวลาถูกใช้ความรุ ณแรง หรื อว่าถูก
ล่วงละเมิดทางเพศ ถูกข่มขืนเนี่ย คุณจะไปประสานงานที่ใคร หรื อว่าคุณจะไปขอความช่วยเหลือได้
ที่ใครนะฮะ แล้วก็เราก็จะนําเคสเหล่านั้นเนี่ยมาผลักดันในกลไก เขาเรี ยกสหวิชาชีพ ตอนเนี้ ยที่มีอยู่
ก็คือกลไกที่ประกอบด้วยหน่ วยงานภาครั ฐที่ทาํ งานเกี่ ยวข้องกับเรื่ องประเด็น เรื่ องการคุม้ ครอง
ผูห้ ญิงและเด็กให้เกิดประสิ ทธิภาพในการทํางาน
ผู้สัมภาษณ์ : ผลงานสําคัญของเพื่อนหญิงเนี่ยคะ มีอะไรบ้างคะ ในอดีตเลยอ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อ ผลงานสําคัญของเพื่อนหญิงในอดีต ตั้งแต่อดีตมาก็คือว่า เรารณรงค์เรื่ องการ
เรื่ องกรณี ของการนําผูห้ ญิงมาถูกค้าประเวณี นะฮะ อย่างกรณี เรื่ องของการรณรงค์เรื่ องไฟไหม้ซ่อง
ที่ภูเก็ตเงี้ย เมื่อ 20 เกือบ 30 ปี ที่แล้วโนะ แล้วก็มีเรื่ องของสี ผางที่ เรื่ องของการฆ่าสามีเนี่ยนะฮะ แต่
ว่าเป็ นเรื่ องของการไม่ได้เจตนาอันเนี้ ยเราก็รณรงค์แล้วก็อีกผลงานที่เด่นชัดมากก็คือ เรื่ องของการ
รณรงค์ให้ให้รัฐบาลเนี่ ยออกกฎหมายประกันสังคม แล้วก็พอกฎหมายประกันสังคมออกมาเมื่อปี
2533 เราก็รณรงค์ต่อเนื่ องว่า เมื่อค่าราชการได้ลาคลอดเนี่ ย ผูห้ ญิงในส่ วนของที่เป็ นแรงงานใน
ภาคเอกชนเนี่ ยก็ควรจะได้สามารถที่จะมีสิทธิ์ ลาคลอด ได้ 90 วันนั้นก็คือ 3 เดือน ได้ค่าจ้างเต็ม นะ
ซึ่งตอนเนี้ย ไอกฎหมายลาคลอดเนี่ยมันเข้าไปอยูใ่ นสิ ทธิ ประโยชน์ของประกันสังคมไปแล้ว และก็
อีกอันนึงเนี่ยเราก็รณรงค์เรื่ องของที่เป็ นผลงานเด่นก็คือว่าไอเรื่ องของกรณี ไฟไหม้เคเดอร์อ่ะครับ ที่
มีคนงานตายไป 188 คนอ่ะ เราก็มีการรณรงค์ให้มีร่วมขบวนการแรงงานอ่ะนะ พวกสภาเครื อข่าย
109

ผูป้ ่ วยเนี่ยให้มีกฎหมายไอสถาบันคุม้ ครองความปลอดภัย แล้วก็เรื่ องของพนักงานสอบสวนหญิงที่


เรารณรงค์จนกระทัง่ เนี่ ย กับเครื อข่ายผูห้ ญิงเนี่ ยฮะ รณรงค์จนกระทัง่ ที่สํานักงานตํารวจแห่ งชาติ
รัฐบาลได้มีมติให้มีพนักงานสอบสวนหญิง แล้วก็มีการขยายพนักงานสอบสวนหญิงออกไปทัว่
ประเทศรวมถึงเรื่ องของการให้ผหู ้ ญิงเนี่ ยเข้าไปสามารถมีสิทธิ เรี ยน เป็ นนักเรี ยนนายร้อยตํารวจได้
ซึ่งตอนนี้ ก็ออกมา 1 รุ่ นแล้วเนาะ 100 กว่าคนที่จะกระจายไปทัว่ ประเทศ และก็ยงั มีเรื่ องอีกเรื่ องนึ ง
ที่คิดว่าน่าจะเป็ นผลงานเด่นกันก็คือเรื่ องของการรณรงค์และก็เรี ยกร้องให้โรงพยาบาลหน่ะมีโอเอส
ซี ซี ก็คือ วัน สตอป เซอวิ ส ไคลซิ สเซนเตอร์ ก็คื อ เป็ นศูน ย์พ่ ึง ได้ใ นโรงพยาบาล ซึ่ ง ก็ประสบ
ความสําเร็ จเพราะว่ากระทรวงสาธารณะสุ ขเนี่ยได้มีนโยบายและก็มีคาํ สัง่ ออกไปให้ทุกโรงพยาบาล
ที่เป็ นโรงพยาบาลจังหวัดและโรงพยาบาลอําเภอเนี่ ยมีศูนย์พ่ ึงได้หรื อศูนย์ oscc ที่จะให้คาํ ปรึ กษา
ให้ความช่ วยเหลือผูห้ ญิ งและเด็กที่ถูกกระทําความรุ ณแรง นะฮะ อันนี้ ก็เป็ นในส่ วนของผลงาน
เด่ นๆที่ ผ่านมา และก็ยงั มี เรื่ องนึ งก็คือ เราพยายามรณรงค์เรื่ องของการผลักดันให้คุม้ ครองสิ ทธิ์
ผูห้ ญิ ง ข้า มชาติ ในเรื่ อ งของแรงงานข้า มชาติ ก ับ การใช้ป ระกัน สั ง คม ใช้สิ ท ธิ ป ระกัน สัง คมที่
เหมาะสมสอดคล้องกับตัวของแรงงานข้ามชาติ ซึ่ งมันจะไปรวมถึงเรื่ องของพรบ.ผูร้ ับงานไปทําที่
บ้านแล้วก็ที่สําคัญอีกอันนึ งที่มูลนิ ธิเพื่อนหญิงเนี่ ยเข้าไปผลักดันจนเกิดทางกฎหมายเนี่ ยก็มีเรื่ อง
ของกองทุนการออมแห่งชาติอนั เนี้ยฮะที่ผา่ นมานะเท่าที่นึกออกนะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วอย่างการช่วยเหลือสตรรี เนี่ ยคะมีการติดต่อกับภาครัฐทางด้านใดบ้างคะแบบ
ติดต่อในเรื่ องอะไรอะคะเวลาเราจะติดต่อทางภาครัฐอ่ะคะ?
ผู้ ใ ห้ ข้ อมู ล หลัก : คื อ ส่ ว นใหญ่ มูล นิ ธิ เ พื่อ นหญิ งก็จ ะคื อ ทํา งานของเชิ ง ให้ค าํ ปรึ ก ษาด้ว ย
เพราะฉะนั้นก็จะมีผหู ้ ญิงที่ถูกใช้ความรุ ณแรงในรู ปแบบต่างๆเนี่ยโทรศัพท์เข้ามาบ้าง หรื อไม่ก็บอก
ผ่านแกนนําบ้าง หรื อไม่กม็ าหาด้วยตัวเอง เพราะฉะนั้นเนี่ย คือเราทํางานกับภาครัฐเนี่ย เราทํางาน 2
ระดับ ระดับนโยบายกับระดับปฏิบตั ิการ เพราะฉะนั้นระดับปฏิบตั ิการเนี่ ยก็คือการนําเคสเนี่ยที่มา
ขอความช่ วยเหลื อเนี่ ยก็ ประสานส่ งต่อ เพราะว่ามูลนิ ธิเพื่อนหญิ งเนี่ ย ไม่ มีบา้ นพัก เราก็จะให้
ความรู ้ กบั ผูห้ ญิงแล้วก็ประสานส่ งต่อโดยเรามีนักสังคม นักจิ ตวิทยา แล้วก็นักกฎหมาย ที่จะให้
ความรู ้แล้วก็ให้ความมัน่ ใจคืนกับผูห้ ญิง ก็คือการใช้กระบวนการที่เราเรี ยกว่า Mpowerment หรื อ
Group support ผูห้ ญิง ให้กล้าที่จะลุกขึ้นมาและก็กล้าที่จะเดินไปบอก ก็เราก็จะให้ความรู ้กบั ผูห้ ญิง
ว่า การที่คุณจะไปแจ้งความเนี่ย และให้ดาํ เนินคดีได้ตาม พรบ.คุม้ ครองผูถ้ ูกกระทําความรุ ณแรงใน
ครอบครัวเนี่ ย หรื อว่าคดีไหนๆเนี่ ยคุณจะต้องแจ้งความดําเนิ นคดี บอกกับตํารวจ ว่าต้องแจ้งความ
ดําเนินคดี เพราะอย่าไปแค่ไปแจ้งเฉยๆ เพราะแจ้งเฉยๆเขาจะแค่บนั ทึกประจําวัน ซึ่งมันจะไม่ผลต่อ
การดําเนินคดีของผูก้ ระทําความรุ ณแรง เพราะงั้นเราก็จะแนะนําให้ผหู ้ ญิงเดินไปก่อนรวมเครื อญาติ
เดินไปก่อน คือเราเนี่ ยจะเป็ นแค่หน่ วยสนับสนุนให้ความรู ้ แล้วก็ประสานส่ งต่อ ถ้าเกิดมีการท้อง
110

ขึ้นมา หรื อว่า ท้อง แท้ง ทิ้ง อะไรพวกเนี้ ยนะฮะ ที่เราเจอกันเยอะเนี่ ยเราก็จะประสาน อย่างเช่นเรา
จะประสานบ้านพักฉุ กเฉิ นที่ดอนเมืองให้นาํ ผูห้ ญิงเนี่ ย หรื อเด็กผูห้ ญิงที่ทอ้ งไม่พึงประสงค์หรื อว่า
ยังไม่พร้ อมที่จะมีบุตร หรื อเขาไม่สามารถที่จะเอาเด็กออกได้และเกิ น 5 เดื อนอะไรแบบเนี้ ย คือ
เพื่อนหญิ งไม่ได้สนับสนุ นเรื่ องการทําแท้งนะแต่ว่าเราก็จะมีกระบวนการสหวิชาชี พในการให้
คําปรึ กษากับเด็กและครอบครัวว่าเขาพร้อมแค่ไหนหรื ออะไรแบบเนี้ย และก็ถา้ เขาไม่พร้อมและมัน
มีผลต่อชีวิตเขาในอนาคตอย่างมากเนี่ ย เราก็ตอ้ งมีตาํ รวจมี มีนกั สหวิชาชีพมีนกั สังคม นักจิตวิทยา
นักอะไรเหล่ าเนี้ ย มานั่งประชุ มกันแล้วก็ตดั สิ นใจร่ ว มเพราะว่าการทําแท้งเนี่ ยมันเป็ นเรื่ องผิด
กฎหมาย แต่ว่ากรณี มีขอ้ ยกเว้นว่าถ้าเกิดจะทําแท้ง จําเป็ นจริ งๆที่มนั มีผลต่อชีวิตเขา ต่ออนาคต มัน
ยังไงก็ไม่ได้ละแบบเนี้ ย ก็สามารถทําได้แต่ตอ้ งใช้กลไกสหวิชาชีพที่กฎหมายรับรอง เพราะงั้นเนี่ ย
เราก็จะทํางานในเชิงนี้ ล่ะครับ ก็คือเชิงในระดับของปฏิบตั ิการ คือการรับเคสให้ความรู ้ให้กาํ ลังใจ
แล้วก็นาํ ไปสู่ การประสานส่ งต่อ และก็ใช้กลไกของกฎหมายที่มีอยู่ เช่น พรบ.คุม้ ครองผูถ้ ูกกระทํา
ความรุ ณแรงในครอบครัว พรบ คุม้ ครองเด็ก พรบ.ป้ องกันการค้ามนุษย์ พรบเหล่าเนี้ ยมันจะมีกลไก
ก็คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการที่มีอาํ นาจตามกฎหมายในการต้องทํา ทํางาน ซึ่ งอันนี้ รวมถึงกระทรวง
พัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุ ษย์ที่ตอนนี้ เขามีบา้ นพักผูห้ ญิงและเด็ก บ้านพักเด็กเนี่ ย ทุก
จังหวัดเลยเนี่ ยเราก็จะประสานส่ งต่อ ส่ วนในระดับนโยบายเนี่ ย เราก็จะทํางานอย่างเช่น ของการ
ณรงค์ผลักดันกฎหมาย หรื อว่าข้อบัญญัติต่างที่ มนั เป็ นอุ ปสรรคของการดํา เนิ นชี วิตของผูห้ ญิ ง
อย่างเช่นกองทุนพัฒนาบทยาทสตรี อย่างเนี้ ย คือมันเป็ นนโยบายที่ดีแต่ว่ามันยังมีปัญหาเรื่ องของ
การปฏิบตั ิการแต่วา่ ความรู ้ความเข้าใจของผูห้ ญิงของเครื อข่าย หรื อแม้แต้คณะกรรมการที่กฎหมาย
นโยบายฉบับเนี้ ยมันยังไม่เป็ นกฎหมาย ในการที่จะทํางานต่ออันเนี้ ยโดยหลักนโยบายเนี่ ยเราก็ไป
ทําการยื่นหนังสื อรณรงค์เดินรณรงค์ หรื อจัดเวทีต่างๆซึ่ งที่จะให้รัฐบาลเนี่ ยเห็นปั ญหาสังคมเห็น
ปัญหา แล้วก็ เขาเรี ยกว่าออกกฎหมายมาเพื่อที่จะทําให้รับรองกับชีวิตของผูห้ ญิงที่อยูใ่ นสังคม
ผู้สัมภาษณ์ : พี่บณ ั ฑิตคิดว่าประเทศไทยยังมีมุมมองเกี่ยวกับความไม่เสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ
สตรี อยูห่ รื อไม่คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อ ยังมีอยูเ่ ยอะครับ เพราะว่าแม้วา่ ผูห้ ญิงจะมีโอกาสทางการศึกษามากขึ้นเนี่ย เมื่อ
ดูโดยภาพรวมแล้วเนี่ ย คือการศึกษาที่ผหู ้ ญิงได้รับเนี่ ยก็ยงั เป็ นการศึกษาที่เหมือนเปิ ดโอกาสเพียง
รู ปแบบ แต่ในเชิ งเนื้ อหาที่จะนําไปให้ผูห้ ญิงเนี่ ยได้เป็ นนักคิดนักเขียนหรื อว่าเป็ นมันสมองทาง
สังคมเนี่ ยคือโอกาสเนี่ ยมันยังเปิ ดน้อยอยู่ อันนี้ อาจจะมองไปถึงเรื่ องทัศนะคติเดิ มด้วยนะ เรื่ อง
บทบาทหญิงชายที่ยงั มีวามเหลื่อมลํ้าอยู่ก็ การสอนกันระหว่างลูกหญิงลูกชายเนี่ ยก็ยงั ให้คุณค่าลูก
ชายมากกว่า ผูห้ ญิ งหรื อว่ากรณี ของการเปิ ดโอกาสในเรื่ องของการทํางานหรื อการเปิ ดโอกาส
ในทางสถานะที่มีตาํ แหน่ งทางสังคมหรื อทางการเมืองเนี่ ย ก็ยงั เห็นชัดว่าตัวเป็ นผูห้ ญิงแต่วิธีคิดยัง
111

เป็ นแบบผูช้ ายเป็ นใหญ่อยูก่ ค็ ือว่าวิธคิดแบบผูช้ ายที่มองผูห้ ญิงว่าเป็ น ใช้อาํ นาจเป็ นทรัพย์สินบังคับ
ผูห้ ญิงถูกบังคับได้คือยังมีวิธีคิดในเชิ งของการเลือกผฏิบตั ิอยู่ เพราะยังงั้นเนี่ ยคิดว่าในมุมมอง ณ
ขณะนี้ เนี่ย ถ้ามองโดยภาพรวมเนี่ ยเหมือนผูห้ ญิงจะมีโอกาสมากขึ้นแต่ว่าอุปสรรคปั ญหาใหญ่ก็คือ
ว่าการที่จะเปิ ดทางหรื อยอมรับในบทบาทหน้าที่ของผูห้ ญิงเนี่ ยอันนี้ ยงั ต้องมีความพยายามในการ
ให้ความรู ้หรื อว่าในการปรับเปลี่ยนทัศนะคติอีกเยอะ
ผู้สัมภาษณ์ : งบประมาณของมูลนิธิอ่ะคะที่ได้มานี่ส่วนใหญ่นี่ได้มาจากทางภาครัฐหรื อป่ าวคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อ ส่ วนใหญ่แล้วได้จากต่างประเทศครับ เพราะว่าเราเป็ น Non Goverment
Organization เป็ นองค์กรพัฒนาเอกชนนะฮะ คือส่ วนหนึ่งภาครัฐเองก็เขาก็บอกว่างบน้อย นะฮะ 2ก็
คือว่ามูลนิธิเนี่ยหรื อว่าองค์กรพัฒนาเอกชนหรื อ ngo เนี่ยส่ วนใหญ่เราทํางานเนี่ย เราทํางานลงไปใน
ระดับลึกพื้นฐาน เราก็จะเห็นปั ญหานําปั ญหาออกมาตีแผ่อย่างตรงไปตรงมา ถ้าพูดงบประมาณเนี่ ย
ตอนเนี้ยเราก็รับมาจากต่างประเทศเป็ นหลัก มูลนิธิต่างๆที่เขาอยากจะช่วยเหลือประเทศยากจนหรื อ
ว่าประเทศที่มีปัญหาเรื่ องของความรุ ณแรงอยูเ่ ช่นสหภาพยุโรป หรื อ USAID ของสหรัฐ หรื อถ้าเกิด
เป็ นองค์กรที่ถูกรับรองตามกฎหมายในเมืองไทยอย่างเช่นเงินภาษีบาปหรื อว่าภาษีเหล้าบุหรี่ เนี่ ย ก็
คือ สสส ยังเงี้ย แต่ว่าเราไม่ได้รับจากรัฐโดยตรง หรื อว่าบางทีเราก็ได้จาก UN Women เหมือนกัน
องค์กรสหประชาชาติที่ทาํ งานด้านผูห้ ญิงเนี่ ย คือเราก็รับหลายที่เพราะว่าได้ในส่ วนเล็กส่ วนน้อย
ต้องทํางานไง เพราะงั้น NGO ก็ คือเงินของเราเนี่ ยมันเป็ นเงินงบประมาณที่เราขอจากต่างประเทศ
ระยะสั้นมากเพราะงั้นเนี่ ยเราทํางานเราก็ทาํ งานเร็ วไง ทํางานเร็ วเห็นผลงานเนาะ คือเราจะต่างกับ
ภาครั ฐตรงที่ ว่าภาครั ฐเขาจะทํางานไปเรื่ อยๆถ้าไม่มีตวั ตุน้ เพราะยังไงเขาก็ได้เงิ นเดื อน เขาก็มี
งบประมาณ เขามีสวัสดิการ แต่พวกพี่กถ็ ือว่า 1 เราก็ทาํ งานทางสังคมด้วย 2ถือว่าเป็ นอาชีพหรื อเป็ น
งานที่เรารั กอ่ะ...... นี่ เป็ นเรื่ องทัศนะคติที่ยงั มองว่าผูห้ ญิงเป็ นสมบัติของผูช้ าย ทัศนคติว่าผูห้ ญิง
อ่อนแอร์ ผูช้ ายเข้มแข็ง มีทศั นคติเรื่ องอะไรอ่ะ ผูห้ ญิงทํางาบ้านส่ วนผูช้ ายก็ไปลั้ลลาได้ อะไรอย่าง
เงี้ย ผมเป็ นผูช้ ายผมก็มีนะ ออกไปคือเจอเพื่อนเจออะไรบ้าง มันมีสังคม แต่สิ่งเหล่าเนี้ ยคือมันถูก
คาดหวังว่าผูห้ ญิงจะต้องทําอย่างงั้นอย่างงี้ ดูอย่างบทบาท ถ้าเกิดเป็ นครอบครัวสมัยเก่าหรื อว่าอะไร
แบบเนี้ ยก็จะเห็นว่าบทบาทของแม่เนี่ ยเต็มไปหมดเลยในขณะที่บทบาทของพ่อเนี่ ย ก็ถูกบอกอีก
แบบนึงหน่ะ ซึ่งในหลายบทบาทมันสามารถช่วยกันได้ไง ไม่ใช่บทบาทว่าฉันเป็ นผูห้ ญิง ฉันต้องทํา
แบบนี้ตลอดไป ผมเป็ นผูช้ ายผมก็ทาํ แบบนี้ตลอดไปมันไม่ใช่ไง
ผู้สัมภาษณ์ : มันเลยกลายมาเป็ นแบบทุกสมัยเลยที่ผหู ้ ญิงจะต้องเป็ นแม่บา้ น ผูช้ ายจะต้องออกไป
ทํางานนอกบ้าน
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ มันก็เลยทําให้โอกาสที่ผหู ้ ญิงเนี่ ยจะออกมาได้รับการส่ งเสริ มพัฒนามีเวทีมี
อะไรต่างๆเหล่าเนี้ย เปิ ดโลกทัศน์ของตัวเองอ่ะ มันก็เลยแบบมันมีนอ้ ยไง พอมีนอ้ ยปุ๊ บเนี่ยมันทําให้
112

ข้อจํากัดของผูห้ ญิงในเรื่ องของการที่ จะไปพัฒนาในเชิ งระบบแนวคิดหรื ออะไรต่างๆ เหล่าเนี้ ย


ทักษะมันไม่มี มันอยูท่ ี่ผชู ้ ายหมดไง อันเนี้ ยคือสิ่ งที่ผหู ้ ญิงกําลังต้องเผชิญอยู่ แต่ถามว่าปั จจุบนั เนี้ ย
มันเปิ ดมากขึ้น แต่ว่ามันก็ยงั มีความเหลื่อมลั้ม การเลือกปฏิบตั ิอยู่ อาจเป็ นเพราะกลไกที่เป็ นพวก
ตํารวจทหาร หรื อว่าอะไรพวกเนี้ย อันนี้กจ็ ะเป็ นระบบที่แข็งปั้ ก เขาเรี ยกระบบสังคมชายเป็ ใหญ่ ซึ่ง
ผูห้ ญิงไม่ใช่ถูกนะ ผูช้ ายก็ไม่ใช่ผิดนะ แต่ว่าไอระบบวิธีคิดแบบเนี้ ยมันถูกสอนแล้วก็ถูกทําให้เชื่อ
จนกลายเป็ นวัฒนธรรมประเพณี ค่านิยมสื บทอด บอกต่อกันมาจนกระทัง่ เป็ นความเชื่อ แล้วก็ผหู ้ ญิง
ก็เชื่อจริ งๆนะ ผูช้ ายก็เชื่อจริ งๆนะ แล้วเขาก็ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงด้วยใช่มะ เช่นเรื่ องลูกทาส ก็เลยคิด
ว่าตอนนี้ เนี่ ยถือว่าโอกาสของผูห้ ญิงเนี่ ยก็เปิ ดเยอะ อย่างเช่นทางยุโรป แต่ว่าระบบใช้ความรุ ณแรง
เนี่ยยังหนักอยูก่ ็มีเยอะฮะ ก็ตอนนี้ มนั เป็ นเรื่ องของผูห้ ญิง เด็ก หรื ออะไรพวกเนี้ ยที่ถูกข่มขืนจากคน
ใกล้ตวั เนี่ ยเยอะมาก ที่พ่ ึงมาจากอิสานเนี่ ยก็ถูก ก็ไปช่วยเหลือผูห้ ญิงเด็กเนี่ ยแหละ ก็คือบางคนก็
ผูช้ ายเป็ นคนพิการด้วยอยูใ่ นหมู่บา้ นดูหน้าสงสารแต่ที่ไหนได้ข่มขืนแต่เด็กและก็ 6 ขวบกี่คนแล้ว
เนี่ยในหมู่บา้ นถึงรู ้ถึงได้จบั กัน ตํารวจก็ไม่ค่อยสนใจเรื่ องเหล่านี้ ไม่ค่อยมีใครติดตาม เนี่ย เราก็ตอ้ ง
ไปจี้ไปติดตามจนกระทัง่ สามารถจับได้อย่างเงี้ย มันก็เป็ นอาชญากรเหมือนกันนะคนเหล่าเนี้ ย กรณี
พ่อเลี้ยง หรื อแม้แต่ปู่ ตาอะไรพวกเนี้ ย อะไรอย่างเนี้ ยก็ตอ้ ง คือสุ ดท้ายต้องให้ความรู ้กบั ผูห้ ญิงว่า
จะต้องปกป้ องลูกตัวเองที่เป็ นลูกสาวได้ยงั ไง หรื อว่าเด็กผูห้ ญิงจะปกป้ องตัวเองได้ยงั ไงให้รอดพ้น
จากพวกฉวยโอกาสซึ่งเป็ นคนใกล้ตวั ไง แม้แต่เพื่อนก็ตอ้ งระมัดระวังอะไรเหล่าเนี้ย
ผู้สัมภาษณ์ : ก็ จริ งเพราะผูห้ ญิงจะเป็ นเพศที่ไว้ใจคนได้ง่ายกว่า
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่อนั นี้ ก็ แล้วอีกอย่างหนึ่ ง ก็คือพอเรามาพูดถึงมุมเนี้ ยเราก็มองถึงว่าคือด้วยโดย
วิธีคิดของผูห้ ญิงเนี่ ยโดยจิตลึกของความรู ้สึกของผูห้ ญิงเนี่ ยเวลาเรามองมิติเรื่ องความรักเรื่ องอะไร
แบบเนี้ยเนาะ ก็จะกลายเป็ นว่าผูห้ ญิงเนี่ย รู ้สึกว่าความรักของผูห้ ญิงเนี่ยมันเป็ นความรักที่น่าเทิดทูน
ไง ในขณะผูช้ ายเนี่ ย ก็รักนะ แต่ว่ารักแบบมีวิธีคิดอีกแบบนึ งอะ แต่ว่าหลายคนหรื อว่าคือแบบนี้ ก็
คือมันต้องมันใช้เวลากับคนเหล่าเนี้ ย แต่ว่าเพียงแต่ว่าเวลามันเกิ ดปั ญหาขึ้นอ่ะหรื อว่าแม้แต่เรื่ อง
ของท้อง แท้ง ทิ้ง ใช่มะ อันนี้ ก็เป็ นเหมือนกันว่าพอเวลาเรื่ องของไปเจอพวกทําแท้งหรื อเด็กหรื อ
อะไรแบบเนี้ ย เขาจะตราหน้าผูห้ ญิงแบบเนี้ ย หรื อว่าภรรยาฆ่าสามีอย่างเงี้ย ก็คือก็ยงั ไปตรากหน้า
แม่ใจยัก มัง่ เมียใจมาร เมียใจร้าย แต่ว่าสื่ อไม่ได้บอกว่าแล้วผูช้ ายที่ไปทําเขาท้องอ่ะ ที่ทาํ แล้วไม่
รับผิดชอบ หรื อว่าทิ้งเขาไปมีคนใหม่โดยที่ไม่รับผิดชอบอะไรเหล่าเนี้ ย คือ แล้วผูห้ ญิงต้องอยูย่ งั ไง
ทําไมอารมของผูห้ ญิงถึงระเบิดออกมาแบบนั้น หรื อว่าบางทีไปทําร้ายผูห้ ญิงตั้งใจหรื อเปล่า หรื อ
คุณเมามาเตะอยูต่ ลอดแล้ววันนึงผูห้ ญิงแค่เอามีดเนี่ยมาขู่วา่ อย่าเข้ามานะ ตัวเองเมาสะดุดล้มโดนมีด
เสี ยบอย่างเนี้ ยตายอย่างเนี้ ยเราก็ช่วยมาหลายรายเนาะ เราก็จะพยายามจะให้กรณี แบบเนี้ ย เวลา
ตํารวจตั้งข้อหาตํารวจก็จะตั้งข้อหาเจตนาฆ่า ซึ่ งมันรุ ณแรงไงเราก็ตอ้ งไปสู ้ดว้ ยใช้พยานแวดล้อม
113

ใช้อะไรเหล่าเนี้ยเพื่อจะลดโทษให้ผหู ้ ญิงว่าสิ่ งที่ผหู ้ ญิงกระทําเนี่ยมันมีเบื้องหลังของการถูก เก็บจาก


ความรู ้สึกในการอึดอัดหรื อว่าความรู ้สึกที่เขาถูกกระทํามายังไงอะไรแบบเนี้ ย เพื่อจะให้ศาลเห็น
เหตุบรรเทาโทษเนี่ย แล้วก็นาํ ไปสู่ ในเรื่ องของการไม่เจตนาฆ่าเนี่ย เราก็มีเคสเรื่ องแม่ยดั ลูกในตูเ้ ย็น
อย่างเงี้ย ยัดศพลูกในตูเ้ ย็นอย่างเงี้ยซึ่งแม่กย็ งั เป็ นเด็กอยู่ อะไรแบบเนี้ย แล้วคุณคิดดูวา่ มีลูกขณะที่ยงั
เด็กอยูเ่ นี่ยวุฒิภาวะเป็ นยังไงล่ะ
ผู้สัมภาษณ์ : มันก็ไม่พร้อมอ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : แล้วผูห้ ญิงต้องอยูค่ นเดียว ต้องทําอะไรคนเดียวแบบเนี้ ย แล้วผูช้ ายไปไหนอ่ะ คน
ที่แบบมีความสุ ขในเรื่ องแบบเนี้ ย อันนี้ คือสิ่ งที่เราเจอไงแล้วเราพยายามบอกผูห้ ญิงเยอะ ว่าผูห้ ญิง
ควรจะมีวิธีการป้ องกันตัวเองยังไง อันที่สองเนี่ยก็คือว่าถ้าผูห้ ญิงจะแต่งงานไปแล้วหรื อว่ากําลังจะมี
ชีวิตครอบครัวเนี่ ย คือความรักอ่ะ มันโอเค มันดี แต่ว่าอยูไ่ ปนานวันเข้าเนี่ ยคือ อย่างว่าแหล่ะเนาะ
ผูห้ ญิงก็อาจจะต้อง...คือมีลูกกันทั้งคู่อ่ะ แต่ว่าสิ่ งที่ผหู ้ ญิงจะถูกบอกมาก โดยเฉพาะผูห้ ญิงที่มีฐานะ
ทางสังคม หรื อว่ามีโอกาสทางการศึกษา แต่วา่ อยูใ่ นบริ บทของความรักแบบ โงหัวไม่ข้ ึน หรื อว่ารัก
มากอะไรแบบเนี้ย ก็ไว้เนื้อเชื่อใจไง ก็ลาออกจากงาน ออกจากเรี ยนเนาะ ขาดสังคมเพื่อน เพื่อผูช้ าย
สุ ดท้ายก็คือว่าวันหนึ่ งเขาไปมีใครอีก แล้วก็เขาไม่รับผิดชอบ ผูห้ ญิงก็อายุมากขึ้น ลุกก็ยงั ต้องเรี ยน
หนังสื อหรื อยังต้องดูแล ผูห้ ญิงก็ไม่มีเศรษฐกิจของตัวเอง ไม่มีอาชีพของตัวเอง การตัดสิ นใจอะไร
เนี่ ยก็ยงั ต้องพึ่งพิงผูช้ ายอยูอ่ ย่างเนี้ ยก็เลยกลายเป็ นว่าผูห้ ญิงไม่สามารถไปไหนได้ จนกว่าลุกจะโต
จบมหาวิทยาลัยแบบเนี้ย ผูห้ ญิงหลายคนก็มาขอคําปรึ กษามูลนิธิกจ็ ะขอเลิกกับสามีเพราะว่าสามีเริ่ ม
ใช้ความรุ ณแรงหรื อไปมีผอู ้ ื่นในขณะที่ตวั เองก็ทนไม่ได้แล้วอะไรแบบเนี้ ย เนี่ ยก็เลยกลายเป็ นว่าก็
เลยต้องบอกกับผูห้ ญิงหลายคนว่า คือถ้าผูช้ ายไม่ดีไม่เคารพเราอะไรแบบเนี้ ยก็อย่าพึ่งไว้ใจ อันที่
สองเนี่ ยถ้าแต่งงานแล้วก็ไม่ตอ้ งเขื่อคําหวานว่าฉันจะเลี้ยงเธอ เธออยู่บา้ นทํากับข้าวเลี้ยงลุกอะไร
แบบเนี้ ย คืออันเนี้ ยก็พยายามบอกผูห้ ญิงว่าถ้าเกิดคุณแต่งงานมีสามีมีอะไรไปแล้วเนี่ยก็ไม่เป็ นไร ก็
ไปบอกว่าก็ไม่เป็ นไร เราก็ต่างคนต่างช่วยครอบครัวกันไป
ผู้สัมภาษณ์ : ใช่เพราะหนูวา่ ผูห้ ญิงควรจะทํางาน
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : และมีอีกแบบนึ งนะที่แนะนําก็คือถ้าเกิดต้องใช้เศรษฐกิ จร่ วมกันหรื อรายได้
ร่ วมกัน อะไรพวกเนี้ ยคือให้แยกกระเป๋ าไม่ตอ้ งรวมกระเป๋ าเพราะว่ารวมกระเป๋ าปุ๊ บเนี่ ยมันจะมี
ปัญหา แต่วา่ ใช้ระบบแชร์ แชร์นี่กไ็ ม่ตอ้ งขนาดต้อง 50-50 อ่ะนะ มันเป็ นเรื่ องความรู ้สึกที่เราควรจะ
เขาจะให้เราขนาดไหน เราจะให้เขาขนาดไหน เนี้ยก็คือใช้ความรู ้สึกของความเป็ นเพือ่ นเป็ นคนที่จะ
อยู่ดว้ ยกันอ่ะ คืออันเนี้ ยมากกว่าที่จะใช้ระบบแบบเศรษฐกิจกระเป๋ าเดียว ซึ่ งวันนึ งเนี่ ยมันไม่จีรัง
ยัง่ ยืนไง เผือ่ เราจะมีเงินเก็บของเราบ้างยามที่จิตใจมันปรวรแปรหรื อมันเลลวนทั้งหญิงชาย
ผู้สัมภาษณ์ : ต่างคนต่างจะได้มีเงินเก็บเป็ นของตัวเองจะได้ไม่ตอ้ งมาเรี ยกร้องทีหลัง?
114

ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : แต่เราก็ไม่ได้ปิดบังนะแต่ว่านี่ คือสิ ทธิ์ ของเราไง คือผูช้ ายก็ตอ้ งเคารพในสิ ทธิ์
เหล่านี้ ดว้ ยโนะ ถ้าเกิ ดผูช้ ายไม่เคารพสิ ทธิ์ เหล่านี้ ปุ๊บเนี่ ยก็สามารถประเมินอนาคตได้ไง ว่ามันจะ
ออกมายังไง คือผูห้ ญิงก็คือ อันนี้กค็ ือสิ่ งที่เราเนี่ยพยายามให้ความรู ้กบั ผูห้ ญิงด้วย คือก็บอกว่าสําคัญ
คืออะไร ผูห้ ญิงเนี่ยต้องมีความเชื่อมัน่ ในตัวเอง และตัวเองเป็ นแบบไหนเนี่ยก็ตอ้ งเป็ นแบบนั้น แต่ก็
ต้องมี ปรั บบ้างเพื่อที่ จะอยู่ร่วมกัน แต่ไม่ตอ้ งถึงขนาดต้องทิ้งอัตลักษณ์ ของตัวเอง ทิ้งความเป็ น
ตัวเอง อะไรแบบเนี้ ย และก็ตอ้ งมีเศรษฐกิจของตัวเองมีอาชีพ มีรายได้ของตัวเองเพราะว่าถ้าเกิดเรา
ไม่เป็ นตัวเองเนี่ยแล้ววันนึงเนี่ยมันไม่ใช่สิ่งที่เขาต้องการเนี่ ยแล้วเรากลับมาเป็ นตัวเองอ่ะรับได้ไหม
รับไม่ได้ใช่ไหม อ่ะ อย่างต้องเลิกรากันไป หรื อว่าเจ็บปวดอะไรอย่างเนี้ ย เราต้องพยายามให้ความรู ้
กับผูห้ ญิง กับเด็กผุห้ ญิง กับวัยรุ่ นผูห้ ญิง แล้วก็ถา้ เกิดผูห้ ญิงที่มีอายุมากขึ้นเนี่ ก็ตอ้ งบอกด้วยครับว่า
คําว่า ท้อง แท้ง ทิ้งเนี่ย มันไม่ได้กบั เด็กวัยรุ่ นเพียงอย่างเดียวนะ มันเกิดกับผูห้ ญิงที่มีอายุมากขึ้นเนี่ย
ผูใ้ หญ่เนี่ยก็มีสิทธิ์เพราะว่าบางคนเนี่ ยคือเขาออาจจะไม่ได้มีสามีคนเดียวอะไรแบบเนี้ ย เอ่อหรื อเขา
อาจจะไปพลาดไปมีกิ๊กหรื อมี อะไรแบบเนี้ เพราะฉะนั้นเนี่ ย ผูห้ ญิงเองก็ตอ้ งป้ องกันตัวเองด้วย
เพราะว่าผูห้ ญิงโดยส่ วนหนึ่งเนี่ยจากกรณี การทําแท้งเนี่ยหรื อว่าเด็กออกมาเนี่ยมันเป็ นผูห้ ญิงที่ไม่ใช่
แค่เด็กวัยรุ่ นหรื อว่าเด็กอย่างเดี ยวคือคนเหล่านี้ ก็น่าเห็ นใจนะบางทีแบบรู ้ เท่าไม่ทนั ผูช้ ายหรื อว่า
เดี่ยวนี้ ก็มีหลายร้อยเล่มเกวียน ตอนเนี้ ยเรื่ องของปั ญหาเรื่ องผูห้ ญิงและเด็กเนี่ ยนับวันจะมีมากขึ้น
เรื่ อยๆในสังคมปั จจุบนั เนี่ ยนะ ซึ่ งบางทีเราก็ขาดความระวัดระวังอ่ะ คือเรื่ องความรักกับเรื่ องความ
ต้องการหน่ ะ ที่ ว่ามันเป็ นเรื่ องของมนุ ษย์ท้ งั หญิงและชาย แต่ว่าประเด็นก็คือว่า เรื่ องของหน้าที่
ความรับผิดชอบ ตรงเนี้ ยผูช้ ายไม่ถูกสอนมาแนวคิดแบบสังคมชายเป็ นใหญ่ไง คือในขณะที่ผหู ้ ญิง
ถูกสอนถูกบอกอีกแบบหนึ่งไง แต่เดี๋ยวนี้เนี่ยมันก็เริ่ มมีผหู ้ ญิงก็มีสิทธิ เสรี ภาพมากขึ้น มันก็สามารถ
จะเลือกได้มากขึ้นไง แต่ว่าสิ่ งเหล่าเนี้ ยมันจะคิดจะเลือกยังไงอะไรแบบเนี้ ย หรื อว่าถ้าพลาดไปแล้ว
เนี่ ยตรงเนี้ ยสังคมหรื อว่าครอบครัวเองหรื อว่าตัวของเราก็จะต้องมีมุมมองความคิดขึ้นมาว่า 1 การ
ให้อภัย การเปิ ดโอกาสเนี้ ย การให้พ้ืนที่ ของคนที่ พลาดไปแล้วอะไรแบบเนี้ ย เช่ นโฆษณาไทย
ประกันชี วิต การที่พลาดอ่ะ ถ้าเกิดให้โอกาสเขาให้ความรักความอบอุ่นเนี่ ย มันก็จะกลับมาได้ แต่
ส่ วนใหญ่ ตอนเนี้ ยคือ มันพลาดแล้วเนี่ ยหลายคนคิ ดว่ามันมี เรื่ องหน้าตาเรื่ องศักดิ์ ศรี เรื่ องอะไร
เยอะแยะไปหมดเงี้ย
ผู้สัมภาษณ์ : แต่ไม่ได้คิดถึงจิตใจของคนแค่คนเดียว แต่ดนั ไปคิดถึงในที่มนั อยูภ่ ายนอกอ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : สังคมรอบข้างอันนี้ เป็ นสิ่ งที่มนั เป็ นเขาเรี ยกว่าเปลือกไม้ไง แต่ว่าแก่นของไม้ไม่
เห็นไง
ผู้สัมภาษณ์ : จริ งๆแล้วปั ญหาพวกนี้เกิดขึ้นมาเนี่ยเราต้องแก้ปัญหาที่ตน้ เหตุก่อน
115

ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ถ้าเกิดคิดหน้าตาของคนอื่นมากกว่าของเราเนี่ ยเขาก็จะเรี ยกไปทําแท้ง เวลาเรา


ช่วยเหลือเนี่ ยในเรื่ องแบบเนี้ ยเราจะเรี ยกฝ่ ายชายฝ่ ายหญิง ถ้าฝ่ ายหญิง ฝ่ ายชายไม่มาหรื อว่าหาไม่
เจอจริ งๆเนี่ ย ก็ตอ้ งให้สตรี ผูห้ ญิงกับครอบครัวถ้าเรี ยกมาได้นะเราก็จะพาผูห้ ญิงเนี่ ยไปอาศัยพักที่
บ้า นพัก เพื่ อ รอคลอดแล้ว กับ มาเลี้ ย ง ที่ อ ยู่ด อนเมื อ งอ่ ะ ครั บ หรื อ ไม่ เ ดี๋ ย วนี้ ก็ บ ้า นพัก เด็ ก และ
ครอบครัว และก็พอออกมาเนี่ ยก็จะเห็นหน้าตาเด็กอะไรแบบเนี้ ยบางคนก็ไม่อยากทิ้งอ่ะ แต่ว่าใน
เวลานั้นรู ้สึกที่จะต้อง ออกไปเรี ยนต้องมีอาชี พอ่ะ ก็เอาเด็กไว้ตรงนั้นก่อน แล้วก็ตวั เองก็ออกไป
ทํางาน อาชีพ มีรายได้เรี ยนหนังสื อจบ มีรายได้ แล้วกลับมารับเด็กกลับมารับลุกกลับไป คือมันต้อง
มีสถานสงเคราะห์และก็คุณต้องเข้าใจเรื่ องนี้ ดว้ ย ไม่ง้ นั เนี่ ยก็จะมีปัญหาตอนเนี้ ยสังคมมันมีปัญหา
มากแล้วผูห้ ญิงก็บาดเจ็บ หรื อว่าตายเพราะเหตุของการต้องทําแท้งเยอะไง เพราะงั้นเนี่ ยเราทํางาน
เรื่ องเนี้ยเราก็พยายามที่จะให้ทศั นะคติ ซึ่งคือความรักความอบอุ่นและก็การให้โอกาส
ผู้สัมภาษณ์ : ประเด็นคือการให้โอกาสของคนในบ้านเท่านั้น...
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : แต่ว่าการให้โอกาสเนี่ ยมันก็มีขีดจํากัดของมันไง เพียงแต่ว่าผูห้ ญิงหรื อว่าผูช้ าย
บางคนเนี่ ย บางทีเนี่ ยให้โอกาสเป็ น 10 ครั้งเนี่ ยก็ไม่พอ อาจจะด้วยเหตุอะไรก็ตามเนี่ ยแต่ว่าวันนึ ง
เขาก็ตอ้ งได้บทเรี ยนเขาไง ถึงร่ างกายไปไม่ไหวแล้ว รู ้สึกบอบชํ้ามากแล้วอะไรแบบเนี้ ย อันนี้ เป็ น
หน้าที่ที่พวกพี่ทาํ งานอยูก่ เ็ ลยต้อง Encoverment กับกลุ่มเหล่าเนี้ยเยอะ เพราะว่างานของผูห้ ญิง เรื่ อง
ของเนี่ ยมันเป็ นเรื่ องที่แบบมันละเอียดอ่อนและก็สังคมยังไม่ค่อยเข้าใจเยอะ คือสังคมก็ยงั มองว่า
ผูห้ ญิงโตแล้วผูห้ ญิงน่ าจะคิดได้ ผูห้ ญิงวิจารณญาน มีอะไรแบบเนี้ ย เวลาเราทํางานกับเรื่ องผูห้ ญิง
และเรื่ องเด็กเนี่ ย เด็กมากกว่าผูห้ ญิงไง แต่จริ งๆแล้วเรามองว่า คือใครทํางานประเด็นไหนก็จะรู ้สึก
ว่าประเด็นนั้นสําคัญ แต่ส่ิ งสําคัญก็คือว่า ถ้าเกิดคุณแก้ปัญหาเก่งมาก แต่วา่ ผูห้ ญิงยังไม่ถูกแก้เนี่ยมัน
ก็จะเป็ นปั ญหาว่าผูห้ ญิงจะเป็ นคนที่จะดูแลครอบครัวด้วยและก็ เป็ นหลายสิ่ งอ่ะที่เด็กต้องพึ่งพิง
เพราะฉะนั้นเนี่ ย คือมันเหมือนปั ญหาที่ไก่เกิ ดก่อนไข่หรื อไข่เกิ ดก่อนไก่อย่างเนี้ ย มันอาจจะต้อง
ช่วยกันในการรณรงค์แล้วก็ปรับทัศนคติ ปรับความคิดอะไรเหล่าเนี้ย
ผู้สัมภาษณ์ : พี่บณ ั ฑิตคิดว่ามูลนิ ธิเพื่อนหญิงเนี่ ยคะ ประสบความสําเร็ จในการทํางานด้านนี้ มาก
น้อยแค่ไหนคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อ คิดว่าประสบความสําเร็ จเนี่ ยมันก็ประสบความสําเร็ จในเชิงของการผลักดัน
กลไกหรื อกฎหมายเนี่ยมันก็มีหลายตัวนะที่คิดว่าน่าจะประสบความสําเร็ จ แต่ว่าสิ่ งสําคัญก็คือว่าเรา
ยังไม่กล้าพูดว่าประสบความสําเร็ จอย่าง 100% ก็คือการปรับเรื่ องทัศนะคติของคนในสังคมที่มอง
เรื่ อ งบทบาทหญิ ง ชายมองเรื่ อ งปั ญ หาผูห้ ญิ ง เด็ ก ที่ ถู ก กระทํา ความรุ ณ แรงเนี่ ย เป็ นยัง เรื่ อ งใน
ครอบครัวยังเป็ นเรื่ องธรรมดายังเป็ นเรื่ องที่ห่างไกลตัวเองอยูอ่ นั เนี้ ย ถือว่ายังต้องทํางานอีกหนักอีก
116

เยอะ เพราะฉะนั้นไอเรื่ องการปรับทัศนคติของคนในสังคมเนี่ ยคือเรายังทํางานไม่สาํ เร็ จ เขาเรี ยกว่า


ยังต้นๆอ่ะ
117

คุณพัชรี ไหมสุ ข
ผู้สัมภาษณ์ : สวัสดีคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : สวัสดีคะ เป็ นไงบ้าง
ผู้สัมภาษณ์ : โอเคคะ พอดีเมื่อกี้ได้คุยกับพี่ ธนวดี แล้วอ่ะคะ ก็
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อ คุยกับพี่เจี๊ยบแล้วใช่ไหม
ผู้สัมภาษณ์ : ได้มาเบื้องต้นแต่วา่ ต้องถามให้ได้ 3 คนคะ ก็เลยต้องมาถามพี่ออ้ มต่อ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ไม่ได้อะไรนะ?
ผู้สัมภาษณ์ : อ๋ อ พอดีตอ้ งได้ให้ครบ 3 คนอ่ะคะ ก็เลยมาถามพี่พชั รี ต่อ เรี ยกพี่ออ้ มได้ใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ได้ๆๆ
ผู้สัมภาษณ์ : คะ เดี๋ยวถามข้อมูลเบื้องต้นต่ออ่ะคะ พี่ออ้ มอยูใ่ นตําแหน่งอะไรคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : พิทกั ษ์สิทธิสตรี ...
ผู้สัมภาษณ์ : ตําแหน่งอะไรนะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อ เป็ นหัวหน้าศูนย์พิทกั ษ์สิทธิสตรี
ผู้สัมภาษณ์ : หัวหน้าศูนย์พิทกั ษ์สิทธิ สตรี นะคะ ต้องระบุม้ ยั คะว่าอยู่ที่หาดใหญ่รึป่าว ที่สงขลารึ
เปล่าอะไรอย่างงี้อ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อ แล้วแต่
ผู้สัมภาษณ์ : อ๋ อ แล้วแต่นะคะใส่ กไ็ ด้ไม่ใส่ กไ็ ด้ อ่า อายุคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : 41 แล้ว
ผู้สัมภาษณ์ : 41 นะคะ ระดับการศึกษาคะ ปริ ญญาตรี รัฐศาสตร์ รามคําแหง โอเคคะ งั้นเดี๋ยวมาเริ่ ม
กันเลยแล้วกันจะได้ไม่นานนะคะ เอ่อหนู จะถามว่าการก่ อตั้งมูลนิ ธิเพื่อนหญิ งเนี่ ยอะคะเกิ ดขึ้น
เมื่อไรคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อ ของมูลนิ ธิเพื่อนหญิงเราก็ก่อตั้งเมื่อปี 2523 ตอนแรกเราก็ใข้ชื่อว่ากลุ่มเพื่อน
หญิง นะ แล้วก็เราก็ได้พาจดทะเบียนเป็ นมูลนิธิเพื่อนหญิงก็เมื่อปี 2534
ผู้สัมภาษณ์ : คะ แล้วก็ที่เกิดขึ้นนี่คือเกิดขึ้นเพราะอะไรคะ การรวมตัวของ เขาเรี ยกกอะไร
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อ ในสมัยนั้นเนี่ ย ก็ เอ่อ ก็มีการรวมตัวกันของคนทํางาน และของคนทํางานที่
สนใจประเด็นเกี่ยวกับเรื่ องสิ ทธิ เรื่ องของผูห้ ญิง แล้วก็ใน รู ้สึกว่าเวลาที่ผหู ้ ญิงประสบปั ญหาถูกทํา
ร้ายร่ างกายก็ดี ถูกคุกคามก็ดีเนี่ ยมันยัง เอ่อ ไม่ได้รับการช่วยเหลือ ไม่ได้รับการคุม้ ครอง นะก็เลยมี
การรวมตัวกันของกลุ่มผูห้ ญิงแล้วก็ใช้ชื่อว่ากลุ่มเพื่อนหญิง เพื่อที่จะมาทําหน้าที่ในการให้ความ
ช่วยเหลือผูห้ ญิงที่อยูใ่ นภาวะวิกฤต จากการคุกคามทางเพศ หรื อว่าจากการข่มขู่ จากการถูกทําร้าย
โดยคนในครอบครั ว แล้วก็อ่า มันก็ทาํ ให้ผูห้ ญิงได้รับผลกระทบเนาะ ทางด้านร่ างกาย ทางด้าน
118

จิ ต ใจ เรื่ องสิ ท ธิ เรื่ อ งความปลอดภัย ในการใช้ชี วิ ตแต่ ล ะวัน อย่า งเงี้ ย และก็ ม ัน มี ก ารแสวงหา
ประโยชน์ทางเพศ อย่างเช่นการใช้แรงงานที่ผิดกฎหมาย มีการล่อลวง ผูห้ ญิงเข้าสู่ กระบวนการค้า
มนุ ษย์ แต่ว่าการเลิ กจ้างโดยไม่เป็ นธรรม อย่างเนี้ ยนะ อันเนี้ ยก็คือปั ญหา โดยเบื้ องต้นที่ผูห้ ญิ ง
ประสบแล้วก็เอ่อตอนนั้นยังไม่มีองค์กรที่เป็ นนิ ติบุคคล ก็เกิดการรวมตัวกันเป็ นกลุ่มแล้วก็ค่อยมา
จดทะเบียนเป็ นมูลนิธิเพื่อนหญิงก็คือเมื่อปี พศ. 2534 อย่างที่บอก
ผู้สัมภาษณ์ : คะ แล้วนโยบายของมูลนิ ธิเพื่อนหญิงในการพัฒนาคุณภาพคุณภาพชีวิตของสตรี น้ ี มี
อะไรบ้างคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ่า ก็โดยภาระกิจของมูลนิ ธิเพื่อนหญิงเนี่ ยก็คือ เอ่อ เรามีนโยบายที่จะ ส่ งเสริ ม
แนวคิดแล้วก็ทาํ ความเข้าใจบนพื้นฐานที่ว่า ไม่ว่าผูห้ ญิงหรื อว่าผูช้ ายก็มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
แล้วก็เราก็อยากจะให้ทางสังคมเนี่ ยให้ใช้มาตรฐานเดียวกันในการให้การคุม้ ครองช่วยเหลือ หรื อ
แม้กระทัง่ ในเรื่ องของการพิทกั ษ์สิทธิ์ ผูห้ ญิงก็คือให้เท่าเทียมกับผูช้ ายนะ แล้วก็ ส่ งเสริ มคุณภาพ
ชีวิต ของผูห้ ญิงให้ผหู ้ ญิงเนี่ยได้สามารถที่จะพึ่งพาตนเองได้
ผู้สัมภาษณ์ : คะ แล้วมูลนิ ธิเพื่อนหญิงนี่ มีบทบาทอย่างไรในการเรี ยกกร้องสิ ทธิ เสรี ภาพของสตรี
บ้างคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ่า ก็คือว่าในหลายๆประเด็นที่มูลนิธิเพื่อนหญิงเข้าไปเรี ยกร้องต่อรัฐบาลนะอย่าง
ที่ผา่ นมาเนี่ยก็อย่างเช่นเรื่ องของการออกกฎหมายให้ผหู ้ ญิงสามารถที่จะลาคลอด 90 วันนะ ผลักดัน
ในเรื่ องของการออก พรบ คุม้ ครองผูถ้ ูกกระทําอยู่ในครอบครั ว ซึ่ งจริ งๆแล้วไม่ค่อยมี แต่มูลนิ ธิ
เพื่อนหญิงนั้นอย่างในบ้านเราทํางานกับองค์กรอื่นๆที่ทาํ งานด้านคุม้ ครอง ในหลายๆองค์กร
ผู้สัมภาษณ์ : คะแล้วอย่างสิ ทธิเสรี ภาพเนี่ ยคะที่เรามีบทบาทในการในการเรี ยกร้องเนี่ ยคะ ส่ งผลต่อ
คุณภาพชีวิตต่อสตรี อย่างไรบ้าง?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือจริ งๆแล้วโดยสภาพทัว่ ไปเนี่ ย เราก็จะเห็นว่าบทบาทภาระกิจของผูห้ ญิงต้อง
รับผิดชอบทั้งในส่ วนของครอบครั ว ทั้งต้องรั บผิดชอบต่อหน้าที่การงาน ซึ่ งมันก็เป็ นภาระกิ จที่
ค่อนข้างจะนักนะถ้าพูดถึงในสังคมในยุคปั จจุบนั นี้ เนี่ ย ที่ผหู ้ ญิงจะต้องออกไปทํางานนอกบ้านด้วย
แล้วก็จะต้องรับภาระผิดชอบต่อครอบครัวด้วย แต่ว่าในขณะเดียวกันเนี่ ยเราก็อยากจะให้ เอ่อ ผูช้ าย
ซึ่ งก็ถือว่าเป็ นส่ วนหนึ่ งของครอบครัวนะ ก็จะต้องมาแบ่งเบา ภาระตรงนี้ ดว้ ยเนื่ อจากว่า ถ้าเกิดว่า
เอ่อภาระกิ จตกไปอยู่แต่ผูห้ ญิ งฝ่ ายเดี ยวเนี่ ยทุกครั้ งทําให้ผูห้ ญิ งขาดโอกาสไปเรี ยนรู ้ ในการที่จะ
พัฒนาตัวเองในด้านอื่น เพราะว่ามันมรี ภาระกิจหน้าที่ที่จะต้องดูแลคนในครอบครัว และก็จะต้อง
ทํางานไปด้วยในขณะเดียวกันเพราะฉะนั้นการเรี ยกร้องสิ ทธิ ตรงนี้ เนี่ ยมันก็ทาํ ให้ผหุ ้ ญิงได้มีโอกาส
ที่จะพัฒนาอย่างเช่ น อ่า เวลาที่ผูห้ ญิงมีครอบครัว หลายคนก็ไม่สามารถที่จะไปเรี ยนหนังสื อได้
อหรื อว่าแม้กระทั้งว่าบางคนก็อาจจะต้องลาอกจากงานเพื่อที่จะต้องมาดูแลครอบครัว หรื อว่าบาง
119

คนเนี่ ย เอ่อทํางานอยูใ่ นโรงงานแล้วเกิดตั้งครรภ์พอตั้งครรภ์แล้วเนี่ ยอ่า สถานประกอบการหลายๆ


ที่กถ็ ือว่าอ่าไม่อยากจะจ้างต่อ ซึ่งตรงเนี้ยทําให้เอ่อผูห้ ญิงก็ไม่สามารถที่จะเลี้ยงชีพได้ดว้ ยตัวเอง มัน
ก็จะต้องทําให้ผหู ้ ญิงเนี่ ยจะต้องไปพึ่งพา พึ่งพาหัวหน้าครอบครัว พึ่งพาสามี ซึ่ งสภาพปั ญหาที่มนั
เป็ นอยูเ่ นี่ยปั ญหาความรุ ณแรงในครอบครัวที่เกิดขึ้น ประเด็นหลักใหญ่เนี่ยก็คือมาจากการที่ฝ่ายชาย
ไม่รับผิดชอบ ไม่ส่งเสี ยเลี้ยงดู ทอดทิ้งลูก ทอดทิ้งภรรยา อันนี้ ก็จะเป็ นปั ญหานึงที่มูลนิธิเพื่อนหญิง
เราพบแลพก็เจอบ่อยมาก
ผู้สัมภาษณ์ : คะ แล้วมูลนิธิเพื่อนหญิงเนี่ยคะมีการช่วยเหลือสตรี ในด้านใดบ้างคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็จริ งๆแล้วเราเอ่อ เราช่วยเหลือ ให้คาํ แนะนําและก็ประสานงานในทุกๆด้านอ่ะคะ
แล้วแต่ว่ากรณี ปัญหาที่เข้ามาอย่างเช่นว่าเป็ ยนปั ญหาที่เข้าไปเกี่ยวข้องในเรื่ องของคดีความ เราก็จะ
มีทนายที่จะคอยให้คาํ ปรึ กษา แล้วก็จะมีเครื อข่ายที่เป็ นตํารวจ ซึ่ งก็จะมีการทํางานร่ วมกัน ส่ วนใน
เรื่ องของอาชีพ เราก็จะมีหน่ วยงานที่เราทํางานประสานร่ วมด้วย อย่างเช่น พัฒนาสังคมและความ
มัน่ คงของมนุ ษย์ คะ หรื อว่าเรื่ องของทุนในการประกอบอาชีพ ซึ่ งก็จะมี เดี๋ยวนี้ ก็มนั จะมีกองทุน
พัฒนาบทบาทสตรี ที่ เป็ นนโยบายของรั ฐบาลตรงเนี้ ย เราก็พยายามที่จะชี้ ช่องเพื่อให้ผูห้ ญิงเนี่ ย
สามารถที่จะเข้าถึงแหล่งทุน สามารถที่จะมีอาชีพและก็มีรายได้ ที่พ่ ึงพาตัวเองได้ในระยะยาวด้วย
คะ
ผู้สัมภาษณ์ : เอ่อ มูลนิธิเพื่อนหญิงเนี่ยคะมีเครื อข่ายที่ให้บริ การสตรี ที่ไหนบ้างคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ มูลนิธิเพื่อนหญิงเรามีศูนย์อยูท่ ้ งั 4 ภาคนะคะที่ภาคเหนื อก็จะอยูท่ ี่จ.เชียงใหม่
ที่ภาคอิสานเราก็จะมีอยูท่ ี่จ.มุกดาหารและก็ที่อุบลฯ ส่ วนภาคใต้ก็จะมีอยู่ 2 ที่ก็คือหาดใหญ่ แล้วก็ที่
3 จังหวัดชายแดนใต้ จะมีกท็ ้ งั สี่ ภาคแล้วส่ วนที่ภาคกลางก็คือที่กรุ งเทพฯเลย คะ
ผู้สัมภาษณ์ : พี่ออ้ มคิดว่ามูลนิธิเพื่อนหญิงเนี่ยคะ ประสบความสําเร็ จในการช่วยเหลือสตรี และเด็ก
จากการใช้ความรุ ณแรงมั้ยคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ ถามว่าประสบความสําเร็ จมั้ย จะบอกว่าประสบความสําเร็ จ 100% มันก็คงจะ
ไม่ได้เนาะ เพราะว่าปั จจัยเนี่ยมันไม่ได้อยูท่ ี่มูลนิธิเพื่อนหญิงอย่างเดียว ปั จจัยหลักเนี่ยก็อยูท่ ี่ตวั ของ
ผูห้ ญิงที่มาขอรับบริ การด้วย เพราะว่าบางอย่างอาจจะต้องใข้เวลา ในหลายๆเคส อย่างเช่น กรณี
ความรุ ณ แรงในครอบครั ว ที่ เ กิ ด ขึ้ น เนี่ ย การเข้า มาขอรั บ บริ ก ารจากมู ล นิ ธิ เ พื่ อ นหญิ ง ก็ ไ ม่ ไ ด้
หมายความว่าเข้ามาครั้งเดียวแล้วเรื่ องมันก็จะจบหรื อว่าจะคลี่คลายเลย ในหลายๆเคสเนี่ ยจะต้องใช้
เวลา ต้องมีการติดตามนะคะ แล้วก็เอ่อ ในหลายๆเคสก็ประสบความสําเร็ จ ก็คือว่าเขาก็สามารถที่จะ
กลับไปใช้ชีวิตได้ตามปกติกม็ ีดว้ ยเหมือนกัน นะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : คะ เอ่อ พี่ออ้ มคิดว่าประเทศไทยยังมีมุมมองเกี่ยวกับความไม่เสมอภาคและสิ ทธิ สตรี
หรื อไม่คะ?
120

ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ ก็มีบา้ งนะ ก็มีบา้ ง แต่ว่าเอ่อจริ งๆถึงแม้ว่ากระแสของสังคมเนี่ ยจะพูดถึงเรื่ อง


ของสิ ทธิ ความเท่ า เที ย มระหว่า งหญิ งชาย แต่ว่าในภาคปฏิ บตั ิ จ ริ งๆมันก็ยงั มี อคั ติ ทางเพศเยอะ
โดยเฉพาะในแง่ของกฎหมาย ซึ่ งก็ยงั มองว่าปั ญหาความรุ ณแรงของผูห้ ญิง ก็เป็ นเรื่ องส่ วนตัว มัน
ไม่ใช่เป็ นปั ญหาสังคมที่ บุคคลภายนอกจะต้องเข้าไปแก้ไข แล้วก็ยงั มีอคั ติทางเพศด้วย ว่าผูห้ ญิง
เนี่ยแหละคือตัวต้นเหตุของปั ญหา ซึ่งมันเป็ นการคิดแบบระบบเหมารวม นะคะ สังคมไทยเราเนี่ยยัง
มองว่า ปั ญหาทุกอย่างที่เกิดขึ้นกับผูห้ ญิงเนี่ยต้นเหตุกม็ าจากผูห้ ญิงนัน่ แหล่ะ ถ้าผูห้ ญิงไม่ทาํ ตัวแบบ
นี้ ก็จะไม่ถูกกระทําแบบนี้ ถ้าผูห้ ญิง อ่า อย่างสมมติว่ามองว่าถ้าผูห้ ญิงออกมาประกอบอาชีพขาย
บริ การ ถ้าผูห้ ญิงไม่ออกมาก็จะไม่มีคนไปซื้ อบริ การ แต่สังคมไม่ได้มองว่า ถ้าคุณเลือกที่จะไม่ซ้ื อ
บริ การก็อาจไม่มีผหู ้ ญิงมาทําอาชีพขายบริ การ ยังเงี้ยนะคะ คือยังมองว่าเรื่ องของสิ ทธิ เท่าเทียมเนี่ ย
ในอุดมคติเนี่ ย เขาก็พูดกันว่ามันน่ าจะเป็ นแบบนั้นแต่ในความเป็ นจริ ง มันยังไม่ถึงขั้นที่ว่าจะเท่า
เทียมกันได้
ผู้สัมภาษณ์ : คะ เอ่ออย่าง เขาเรี ยกว่าการติดต่อกับหน่ วยงานรัฐเนี่ ยคะในการช่ วยเหลือสตรี นี่คือ
ติดต่อกับที่ใดบ้างคะ?
ผู้ให้ ข้อมู ลหลัก : เอ่อ จริ งก็มีหลายหน่ วยงานอ่ะนะ ตามนโยบายของรั ฐบาลเอง กลไกที่รัฐบาล
ตั้งขึ้นเนี่ยมันก็ องค์กรภาคเอกชนก็จะต้องประสานงานร่ วมกันอยูแ่ ล้วไม่ว่าจะเป็ นกระทรวงพัฒนา
สุ งคมก็ดี หรื อว่าบ้านพักเด็กและครอบครัวก็ดี ศูนย์ของทุกโรงพยาบาลที่องค์กรอีจีโออยูใ่ นพื้นที่ก็
สามารถประสานได้ทุกหน่วยงาน แต่วา่ กลไกตรงนี้มนั ก็ยงั ไม่เข้มแข็งพอที่จะเข้าไปคุม้ ครองผูห้ ญิง
ได้อย่าง 100 เปอร์ เซ็น นะคะ เนื่ องจากว่ามันก็ติดเรื่ องของ 1 ในเรื่ องของระยะเวลาที่มนั อาจจะช้า
และก็ไม่ทนั ต่อผูห้ ญิ ง หรื อว่าบุคลากรของรั ฐเองก็อาจจะยังมีอคติต่อปั ญหาของผูห้ ญิงอยู่ หรื อ
แม้กระทัง่ กระบวนการในกระบวนการมันค่อนข้างที่จะเยอะ มันก็ค่อนข้างที่จะเยอะ มันไม่สามารถ
ที่จะตอบสนอง ต่อปั ญหาที่ผหู ้ ญิงกําลังเผชิญหน้าได้อย่างฉับพลัน
ผู้สัมภาษณ์ : คะ แล้วแนวทางการส่ งเสริ มการธํารงค์ไว้ซ่ ึ งความเสมอภาคทางเพศเนี่ ยคะ เขาต้องทํา
ยังไงบ้างคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ จริ งๆแล้วไม่เรี ยกว่าเป็ นการดํารงไว้อะนะ พี่ว่ามันต้องค่อยๆสร้างกับคนรุ่ น
ใหม่เพราะว่าไม่รู้ว่ามันจะบอกว่ามันธํารงค์อยูไ่ ด้ยงั ไงเพราะว่าในปกติตอนนี้ เนี่ยมันก็ไม่ได้เห็นว่า
สังคมมันจะได้ทาํ ให้เกิดความเท่าเทียมเนาะ แต่ว่าประเด็นเรื่ องนี้ ถา้ เกิดว่า เอ่อ เรามีการสร้างคนรุ่ น
ใหม่ เด็กผูช้ ายรุ่ นใหม่ ให้เติบโตขึ้นมา และก็มีแนวคิดในเรื่ องของการให้เกียรติต่อเพศตรงข้าม การ
ไม่เอารัดเอาเปรี ยบ และก็การให้เกียรติตวั เองด้วย ให้เกียรติต่อเพศตรงข้ามด้วยนี่ คือสิ่ งที่สาํ คัญ คือ
ว่าจริ งๆแล้วหลักความเสมอภาคของมนุ ษย์ทุกคนซึ่ งต้องเรี ยนรู ้ ว่าจริ งๆแล้ว เอ่อ คุณเกิ ดมาเป็ น
ผูช้ ายก้ไม่ได้หมายความว่าคุณจะอยู่เหนื อความเป็ นผูห้ ญิง หรื อแม้กระทัง่ การสร้างความคิดของ
121

ผูห้ ญิงรุ่ นใหม่ดว้ ยเหมือนกันว่า แม้คุณจะเกิดมาเป็ นผูห้ ญิงก็ไม่ได้หมายถึงว่า คุณจะต้องอยูภ่ ายใต้


เพศชาย ไปในทุกๆเรื่ อง คือมันเป็ นเรื่ องของการให้เกียรติซ่ ึ งกันและกันมากกว่า พี่ว่าส่ วนเนี้ ยมัน
เป็ นสิ่ งที่สงั คมรุ่ นใหม่จะต้องปลุกฝังเด็กรุ่ นใหม่ข้ ึนมาเพื่อที่จะ ในอนาคตอีก 10ปี 20ปี ข้างหน้าเนี่ย
ในประเด็นเรื่ องความเท่าเทียมเนี่ยมันก็อาจจะซึมซับอยูใ่ นสังคมไทยมากขึ้นก็ได้
ผู้สัมภาษณ์ : คะ แล้วปั ญหาและอุปสรรคในการทํางานของมูลนิธินี่มีเยอะมั้ยคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ่า ปั ญหาและอุปสรรคมันก็มีหลายปัจจัยเนาะ ไม่ว่าจะเป็ นกลไกที่มนั มีอยู่ อย่างที่
บอกเอาไว้ว่า กลไกที่ มีอยู่เนี่ ยมัน ไม่ ได้เกิ ด การบู รณาการที่ แ ท้จ ริ ง เหมื อนการทํางานแบบสห
วิชาชี พเนี่ ย แต่ละสหวิชาชี พก็จะมีเงื่อนไขของเขา อย่างเช่นตํารวจฏ็อาจจะมีเงื่อนไขในเรื่ องของ
กระบวนการการตีความทางด้านกฎหมายใช่ไหม นักจิตวิทยาก็อาจจะมีเงื่อนไขในการทํางานของ
เขาไปอีกรู ปแบบหนึ่ ง เอ่อ นักสังคมสงเคราะห์ก็ดี หรื อว่าเอ่อหน่วยงานที่เอ่อ เข้ามา ซัพพอร์ ทใน
เรื่ องของเงินทุนที่มนั นอกเหนื อจากการดูแลเยียวยาทางด้านร่ างกายทางด้านจิตใจแล้วบางทีปัจจัย
ทางด้านดํารงชี พก็มีส่วนที่สําคัญด้วย กับอีกส่ วนหนึ่ งก็คือ เอ่อที่มูลนิ ธิเพื่อนหญิงเจอเนี่ ยก็คือมา
จากตัวงของผูห้ ญิงเองที่ยงั มองว่าเอ่อ เป็ นผูห้ ญิงก็ตอ้ งเสี ยสละชีวิต ทุกอย่างเพื่อครอบครัวได้อาจจะ
เป็ นเรื่ องของความคิดที่ถูกปลูกฝังมายาวนาน อันนี้กเ็ ป็ นอุปสรรคอย่างหนึ่งที่เราก็จะต้องให้เวลากับ
ผูห้ ญิงในการที่จะเปลี่ยนความคิด เพื่อที่จะให้ผหู ้ ญิง เอ่อ เพื่อที่จะให้ชีวิตของผูห้ ญิงเปลี่ยนไป อันนี้
ก็จะเป็ นอุปสรรคสําคัญ ถึงบอกว่าสังคมต้องสร้างการเรี ยนรู ้ให้กบั ผูห้ ญิงมากๆ เพราะว่าสังคมโลก
มันเปลี่ยนไปเร็ วข้อมูลข่าวสารมันก็ผา่ นไปเร็ วมาก เพราะฉะนั้นถ้าเกิดว่า เราสมารถที่จะสร้างหลัก
ความคิดให้กบั ผูห้ ญิงให้เข้าใจถึงสิ ทธิ เนี่ ยอันเนี้ ยมันจะทําให้ปัญหาที่เขาว่าไม่กล้าที่จะไปแจ้งความ
ไม่กล้าที่จะไปขอความช่วยเหลือ ไม่กล้าที่จะบอกคนใกล้ตวั ว่าเขามีปัญหาแบบนั้นแบบนี้ อันเนี้ ย
มันก็จะค่อยๆลดน้อยถอยลงไปเรื่ อยๆ นะ
ผู้สัมภาษณ์ : คะ แล้วงบประมาณของมูลนิธิเนี่ยคะได้มาจากที่ไหนบ้างคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็จะมีท้ งั เอ่อ แหล่งทุนจากต่างประเทศอ่ะนะคะที่เขาอ่ายังคงให้การสนับสนุ นอยู่
และก็อาจจะมีแหล่งทุนจาภายในประเทศบ้างอย่างเช่น สสส อย่างเนี้ ยอ่ะ ก็จะยังให้การสนับสนุ น
อยู่ คะ
ผู้สัมภาษณ์ : คะ ในแต่ละเดือนเนี่ยคะปั ญหาทางสิ ทธิ สตรี หรื อว่าความรุ ณแรงที่เกิดขึ้นเนี่ ยคะ เยอะ
มั้ยคะที่ทางมูลนิธิเพื่อนหญิงได้รับมาคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ ก็มีเยอะนะคะ มีเอยะในแต่ละเดือนนะบางทีวนั นึ งก็เอ่อ มากน้อยไม่เท่ากัน
นะคะ บางวันก็เป็ น 10 เคส บางวันก็ 3 เคส 4 เคสแล้วแต่ บอกไม่ได้ว่าเยอะทุกวันไหมแต่มนั มีมา
ตลอด
ผู้สัมภาษณ์ : ส่ วนใหญ่จะเป็ นเคสในด้านไหนคะ
122

ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อเป็ นเรื่ องครอบครัวซะเป็ นส่ วนใหญ่เนาะ เป็ นเรื่ องครอบครัว
ผู้สัมภาษณ์ : การใช้กาํ ลังหรื ออะไรอย่างงี้ใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็มีท้ งั ทําร้ายร่ างกาย ทอดทิ้ง ไม่ส่งเสี ยเลี้ยงดู เยี่ยมปกครองบุตร นอกใจ ทํานอง
เนี้ยอ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : คะ แล้วกว่าที่เราจะรู ้เรื่ องเนี่ ยคะเราจะประสานงานกับที่ไหนคะ ถึงเรื่ องจะมาถึงตรง
เนี้ยอ่ะคะ อย่างเรื่ องที่เกิดขึ้นในกรณี แบบเหตุฉุกเฉิ นเนี่ ยคะทางสตรี ที่ได้รับผลกระทบอ่ะคะ เขาจะ
ติดต่อมาจากทางไหนคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อ ส่ วนใหญ่เขาจะติดต่อทางโทรศัพท์โนะ แล้วก็จาก เขาจะรู ้จากทางสื่ อต่างๆนะ
คะ เพราะว่ามูลนิ ธิเพื่อนหญิงเองเนี่ ยเราก็มีการออกสื่ อกระแสหลักอยุบ่ า้ ง อย่างเช่น รายการผูห้ ญิง
ถึงผูห้ ญิ ง ที่ เขาก็จะมี การช่ วยในการประชาสัมพันธ์เวลาที่ผูห้ ญิงประสบปั ญหาแล้วจะขอความ
ช่วยเหลือไปที่หน่ วยไหนบ้าง ก็กลุ่มผูห้ ญิงที่มาขอรับบริ การก็ ส่ วนใหญ่ก็จะรู ้จกั มูลนิ ธิเพื่อนหญิง
ผ่านทางสื่ อ ก็จะโทรมาด้วยตนเอง
ผู้สัมภาษณ์ : โทรมาด้วยตัวเองก็มีใช่ไหมคะ แล้วอย่างศุนญ์ประชาบดีอย่างเงี้ยอ่ะคะก็มีส่วนในการ
ประสานงานกับทางมูลนิธิเพื่อนหญิงด้วยกันใช่ไหมคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อคะก็มีบา้ งคะ อย่างในบางพื้นที่ ในหลายๆพื้นที่เนี่ ยก็มีการประสานงานร่ วมกัน
นะคะถ้าเกิดเคสไหนที่เอ่อ องคืกรภาคเอกชนจะช่วยได้เนี่ ย เขาก็จะประสานความร่ วมมือนะคะ ใน
ที่ มูลนิ ธิ เคสแบบเนี้ ย อาจจะมี ปัญหาอยากจะให้ทางองค์ก รเอกชนช่ วยในเรื่ องของการทํา งาน
ทางด้านความคิดช่ วยทางกระบวนการเรื่ องพวกซัพพอร์ ท การเสริ มสร้ างความเข้มแข็งทางด้าน
จิตใจ ซึ่ งมันก็เป็ นสิ่ งที่มูลนิ ธิเพื่อนหญิงเราก็ถนัดที่จะทําในเรื่ องของการกระทํากิ จกรรมพวกซัพ
พอร์ ทตรงนี้ ให้ดว้ ย ก็จะเป็ นการประสานความร่ วมมือกับทางศูนย์ปะชาบดีบา้ งเป็ นแบบเคสบาย
เคส
ผู้สัมภาษณ์ : คะ อย่างสตรี ที่ได้รับการช่วยเหลือเนี่ยอ่ะคะ จะได้รับการฟื้ นฟูอย่างไรบ้างคะ
ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล หลั ก : อ๋ อ สิ่ ง ที่ สํ า คัญ ก็ คื อ ทางด้า นจิ ต ใจนะคะ เวลาที่ ผู ้ห ญิ ง ประสบปั ญ หาใน
ครอบครั วเนี่ ยส่ วนใหญ่ เรื่ องเรื่ องจิ ตใจเนี่ ยจะสําคัญว่า เอ่อเวลาผูห้ ญิ งมี ปัญหาก็ตอ้ งการเพื่อน
ต้องการเพื่อนคุยที่เข้าใจต้องการที่จะปลดล็อคความรู ้สึกปลดความคิดของตัวเองซึ่ งเท่าที่เคยคุยกับ
ผูห้ ญิงหลายคนเนี่ ยเขาก็ไม่แน่ใจว่าสิ่ งที่เขาคิดเนี่ ยเอ่อมันถูกมั้ย เขาก็อยากจะมีเพื่อนคุยหลายๆคน
มาร่ วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิตและเวลาที่เขาเจอปั ญหาแบบนี้ คิดแบบนี้ รู้สึกแบบนี้มนั ควรจะ
บวกลบตัวเองยังไงนะคะซึ่ ง ถ้าเกิดว่าเมื่อไรที่เราทําให้ผหู ้ ญิงก้าวพ้นความกลัวตรงนั้นไปได้ เนี่ ย
ผูห้ ญิงก็จะมีกาํ ลังใจและก็มีสติในการที่จะแก้ปัญหาได้ดว้ ยตัวเองไปโดยอัตโนมัตินะคะ แต่ส่ิ งที่เขา
ทําคือผูห้ ญิงจะต้องมีเพื่อนคะ
123

ผู้สัมภาษณ์ : คะ ก็คือการฟื้ นฟูนี่ทางสภาพจิตใจนี่ คือจะให้อยูใ่ นการมีส่วนร่ วมในการทํากิจกรรม


กับคนอื่นๆใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ่าใช่ คะ คือรู ปแบบของกรุ๊ ปซัพพอร์ ทเนี่ ยมันเนี่ ยจะสามารถทําได้ท้ งั แบบเป็ น
กลุ่มและก็สามารถทําได้ท้ งั แบบตัวต่อตัวนะ ก็อย่างเช่นการพูดคุยทางโทรศัพท์กบั เจ้าหน้าที่นะคะ
หรื อว่าการมารวมกลุ่มกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะอ่า แลกเปลี่ยนมุมมองความคิดววีการแก้ปัญหาวาวิธีการ
ของคนนี้ อาจจะเป็ นประโยชน์กบั เพื่อนอีกคนนึ งนะคะแล้วมันจะทําให้ผูห้ ญิงรู ้สึกว่าเขาไม่โดด
เดี่ยวในการต่อสู ้
ผู้สัมภาษณ์ : คะคิดว่าปั ญหาในด้านความรุ ณแรงเนี่ยคะ จากที่มีการรณรงค์ออกไปเนี่ยมีส่วนช่วยทํา
ให้ปัญหาเหล่านี้ลดลงบ้างไหมคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ ประเมิ นยากเหมือนกันนะ เพราะว่าจริ งๆแล้วการรณรงค์ที่ออกมาเนี่ ยใน
ความรู ้ สึกส่ วนตัวเนี่ ยรู ้ สึกว่าอาจจะได้เป็ นบางส่ วน มันอาจจะได้เป็ นบางส่ วนที่เขาเข้าถึงข้อมูล
อย่างเช่นกลุ่มผูห้ ญิงที่อาจจะผ่านกิจกรรม หรื อว่ามาร้วมกิจกรรมรณรงค์หรื อว่าอบรมอย่างเงี้ย เขาก็
จะเข้าใจแล้วก็จะเป็ นกลุ่มคนที่เอ่อ สามารถที่จะดูแลตัวเอง หรื อว่าใจให้ตวั เองเนี่ ยอยู่ในภาวะที่
ปลอดภัยได้แต่ว่าในภาพรวมเนี่ ยคนที่เขาไม่เห็ นข้อมูลก็ยงั มองว่า เรื่ องแบบเนี้ ยมันเป็ นเรื่ องไกล
ในขณะที่ผกู ้ ระทําความผิด หรื อว่าผูท้ ี่กระทําความรุ ณแรงในขณะนี้ เนี่ ยเราเห็นว่ามีอายุนอ้ ยลงนะ
คะ เหมือนล่าสุ ดเนี่ ยที่ ผูท้ ี่ก่อเหตุ ผูท้ ี่กระทําเนี่ ยก็ยงั เป็ นเด็กอยู่เลยอายุก็คือ 18ปี แต่ว่าไปก่อเหตุก็
คือ ฆ่าแล้วก็ข่มขืนนะคะ ซึ่งอันนี้เป็ นหนึ่งในกลสยกรณี ที่เกิดขึ้นในสังคม
ผู้สัมภาษณ์ : คะ ผลงานที่สาํ คัญของมูลนิธิเพื่อนหญิงนี่มีอะไรบ้างคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็ จริ งๆเราสามารถที่จะสร้างเครื อข่ายผูห้ ญิงที่อยูต่ ามส่ วนภูมิภาคต่างๆให้สามารถ
ขึ้นมาทํางานแทนเราได้นะคะ เนื่องจากว่ามูลนิ ธิเพื่อนหญิงเองเราก็มีบุคลากรอยูจ่ าํ นวนน้อยนิ ดเอง
นะคะ ไม่ถึง 20 คนแต่ว่าเราสามารถที่จะไปสร้างแกนนําที่อยูใ่ นระดับชุมชนให้เขาเป็ นตัวในการที่
จะเป็ นตัวกลางในการที่จะรับเรื่ องราวร้องทุกข์ ในการที่จะให้คาํ ปรึ กษาเบื้องต้นนะคะ ให้ความ
ช่วยเหลือเบื้องต้น และก็ประสานงานไปยังหน่วยงานต่างๆ ที่อยูใ่ นพื้นที่ของตัวเองได้ นะคะนี่ สิ่งที่
เราเอ่อ สามารถที่จะสร้างแกนนําขึ้นมาตรงเนี้ยได้ ทัว่ ประเทศเลย
ผู้สัมภาษณ์ : อย่างลักษณะรู ปแบบของความไม่เสมอภาคทางเพศเนี่ ยคะ ก็คือจะมีอะไรบ้างคะ เช่น
แบบ รู ปแบบของความรุ ณแรงหรื อสิ่ งที่สตรี ได้รับมาแล้วเกิ ดเหตุที่ทาํ ให้กระทบกระเทือนจิตใจ
อะไรอย่างเงี้ยคะมีจากด้านใดบ้างคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็อย่างเช่นยกตัวอย่างสังคมมองว่าการที่ผชู ้ ายนอกใจภรรยาของตัวเองเนี่ ยมันเป็ น
เรื่ องปกติ หรื อว่าเวลาที่เกิดข่าวแบบนี้ ข้ ึนมา ถ้าเกิดว่าเป็ นผูห้ ญิงเกิดไปนอกใจสามีหรื ออาจจะไปมี
กิ๊ก หรื ออะไรก็แล้วแต่เนี่ ยส่ วนใหญ่สังคมก็จะประนามผูห้ ญิง มองว่าเป็ นผูห้ ญิงไม่ดีบา้ งล่ะ นะคะ
124

แต่ถา้ หากผูช้ ายทําแบบเนี้ ยก็ถือว่าเป็ นเรื่ องปกติ ธรรมดา อย่างว่า ยกตัวอย่างอีกกรณี นึงอย่างเช่นว่า
เวลาที่ ผูห้ ญิ งตกเป็ นผูต้ อ้ งหาฆ่าสามีของตัวเอง กระบวนการยุติธรรมเนี่ ยก็จะตั้งขอหาหนักเลย
อย่างเช่นว่า เจตนาฆ่า ทั้งๆที่เหตุที่มนั เกิดขึ้นเนี่ ยบางทีผหู ้ ญิงทําไปเพราะว่าต้องป้ องกันตัวเองแต่
มันอาจจะเกิดพลาดแล้วก็ทาํ ให้ผชู ้ ายถึงขั้นเสี ยชีวิตผูห้ ญิงก็จะถูกดําเนิ นคดีแล้วก็ต้ งั ข้อหาหนัก แต่
ว่าในขณะเดียวกันเนี่ยเวลาที่ผชู ้ ายทําร้ายผูห้ ญิงจนถึงขั้นเสี ยชีวิตเนี่ ยการตั้งข้อหามันจะแตกต่างกัน
คือจะไม่ต้ งั ข้อหาหนักแต่จะตั้งข้อหาเบาไว้ก่อน อย่างเช่ นเมาแล้วขับ ในขณะที่ต้ งั ข้อหาผูห้ ญิง
เจตนาฆ่า เนี่ยคือกระบวนการกฎหมายก็มนั ก็ไม่เท่าเทียมกันแล้วด้วยความมีอคติทางเพศ หรื อบางที
ผูห้ ญิงตั้งครรภ์แล้วไม่พร้อมสังคมก็มกั จะประนามว่าก็ผหู ้ ญิงนัน่ แหล่ะเป็ นต้นเหตุนะ ทําไมเป็ นแม่
ใจร้ายไปทําแท้งเอาเด็กไปทิ้งตามถังขยะต่างๆ สังคมก็จะประนามผูห้ ญิงเลยว่าเป็ นแม่ใจยัก เป็ นแม่
ใจมาร แต่สงั คมไม่เคยตั้งคําถามเลยว่า ไอคนที่ไปทําให้ผหู ้ ญิงท้องเนี่ยมันหายไปไหน สังคมไม่เคย
เรี ยกร้องที่จะให้อีกฝ่ ายนึงมารับผิดชอบ นี่ คือตัวอย่างในสังคมที่เห็นได้ชดั ว่าความเท่าเทียมมันยังมี
น้อยอยู่ เป็ นตัวอย่างที่เราเห็นได้ชดั ที่มนั เกิดในชีวิตประจําวันเลย
ผู้สัมภาษณ์ : คะ คิดว่าประเทศไทยเนี่ยยังมีมุมมองเกี่ยวกับความไม่เสมอภาคอยูบ่ า้ งไหมคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ ก็อย่างที่พี่ยกตัวอย่างอ่ะนะ มันก็ยงั มีอยูเ่ ยอะในเรื่ องของความไม่เท่าเทียมถ้า
เรามองในระดับคนระดับกลางขึ้นไป อันเนี้ ยก็ที่จะเข้าใจเรื่ องมิติความเท่าเทียมระหว่างหญิงชาย
มากขึ้ นกว่าเดิ มนะแต่ว่าในระดับล่างเนี่ ยเรื่ องนี้ จะยังไม่ชัดเจนเพราะเขามองว่าการที่ผูช้ ายเป็ น
หั ว หน้ า ครอบครั ว ออกไปทํา งานนอกบ้า น แล้ว ก็ ผู ห้ ญิ ง ก็ ไ ม่ ไ ด้ท ํา งาน อยู่บ ้า นต้อ งเลี้ ย งลู ก
เพราะฉะนั้นผูห้ ญิงต้องพึ่งก็แต่ผชุ ้ ายเนี่ ย เมื่อผูช้ ายรู ้สึกว่าตัวเองมีอาํ นาจมากกว่าก็สามารถที่จะทํา
อะไรกับภรรยากับลูกของตัวเองก็ได้ เพราะถือว่าเป็ นคนหาเงินให้กบั ครอบครัว อย่างเงี้ย อันนี้ คือ
สังคมระดับล่างเนี่ยก็ยงั ห่ างไกลในเรื่ องของความเท่าเทียมอยูใ่ นสภาพของความเป็ น ถึงแม้วา่ ตอนนี้
เนี่ ยองค์กรที่ทาํ งานทางด้านสตรี เนี่ ยเขารณรงค์ให้มีกฎหมายเสมอภาคหญิงชายออกมา แต่ก็ยงั ไป
ไม่ถึงฝั่งฝันอ่ะนะ
ผู้สัมภาษณ์ : นโยบายของรัฐก็มีส่วนเข้ามาช่วยได้เหมือนกันใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมู ลหลัก : ก็มี อย่างเช่ นนโยบายเรื่ องของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรเนี่ ยอันนี้ ก็ถือว่าเป็ น
นโยบายที่ดีเนาะ พี่กถ็ ือว่าเป็ นนโยบายที่ดีที่จะยกระดับให้ผหู ้ ญิงสามารถที่จะมีรายได้ หรื อว่าพึ่งพา
ตัวเองได้ในเรื่ องของอาชีพ ตรงเนี้ ยเมื่อผูห้ ญิงเอ่อมีเงินสามารถเข้าถึงแหล่งทุนก็ประกอบอาชีพได้
ผูห้ ญิงก็จะมีรายได้เป็ นของตัวเองเมื่อผูห้ ญิงสามารถที่จะพึ่งพาตัวเองทางด้านเศรษฐกิจได้เนี่ ยมันก็
จะไปลดภาวะการช่วงชิง เมื่อลดภาวะการช่วงชิงลงแล้วเนี่ ยเวลาที่เกิดปั ญหาขึ้นมาปุ๊ บเนี่ ยผูห้ ญิงก็
จะยัง สามารถใช้ชี วิ ต ได้ต ามปกติ ซึ่ งมัน ต่ า งกัน อย่างสมัย ก่ อ นเนี่ ย เวลาที่ ผูห้ ญิ ง จะไปขอกู้เงิ น
เพื่อที่จะมาลงทุนทําธุ รกิจ อะไรเล็กๆน้อยๆเนี่ ยบางครั้งมันต้องขออนุ มตั ิผา่ นทางสามีก่อน ให้สามี
125

ยินยอม ถ้าสามีไม่ยนิ ยอมก็คือผูห้ ญิงก็ทาํ อะไรไม่ได้ นะคะ ซึ่งที่ผา่ นมาเนี่ยจริ งๆแล้วผูห้ ญิงเนี่ยต้อง
แบกรั บภาระหนี้ สิ นของครอบครั ว ทั้ง ๆที่ ตวั ไม่ ใช่ เ ป็ นคนกู้เ งิ น นะ อย่า งที่ ผ่า นมาเนี่ ย พอมัน มี
นโยบายตัวเนี้ ยเข้ามาเนี่ ยก็ถือว่าเป็ นกระโยชน์กบั ผูห้ ญิง ที่จะทําให้ผูห้ ญิงเข้าถึงแหล่งทุนได้ดว้ ย
ตัว เองโดยไม่ ต ้อ งผ่า นพ่ อ บ้า น ไม่ ตอ้ งรอว่า พ่อ บ้า นจะยิน ยอมหรื อ ไม่ แต่ ผูห้ ญิ ง สามารถที่ จ ะ
ตัดสิ นใจได้ดว้ ยตัวเอง
ผู้สัมภาษณ์ : ก็คือโดยทัว่ ไปแล้วเนี่ยในปั จจุบนั เนี่ยคะ ชายและหญิงในปั จจุบนั นี้กค็ ือสิ ทธิในการใช้
ชีวิตนี่คือพี่คิดว่ามันเท่าเทียมกันมากขึ้นใช่ม้ ยั คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อถ้ามองในภาพรวมนะ มันก็อาจจะเห็นการปรับตัวของผูค้ นในสังคมคือมันต้อง
มีตวั อย่างเยอะที่ผชู ้ ายในสังคมยุคปั จจุบนั เนี่ ยก็ให้เกียรติแฟนของตัวเอง นะ อย่างเช่ นอนุ ญาติให้
แฟนไปทํางานประกอบอาชีพที่ตวั เองรักที่ตวั เองชอบ หรื อว่าทําในสิ่ งที่ตวั เองรักได้ ซึ่งมันแตกต่าง
กับในยุคสมัยก่อนหน้านี้ ที่ ผูช้ ายจะไม่ยอมให้ผหู ้ ญิงไปทํางานก็คือผูห้ ญิงคนไหนที่ทาํ งานอยู่แล้ว
เมื่ อ มี ค รอบครั ว หลายเคสที่ เ ขามาที่ มู ล นิ ธิ เ พื่ อ นหญิ ง เนี่ ย ก็ ต ้อ งออกจากงานเพื่ อ ที่ จ ะมาดู แ ล
ครอบครัว แต่พอท้ายที่สุดเมื่อวันเวลาผ่านไป ผูช้ ายก็ไม่ได้ส่งเสี ยเลี้ยงดูซ่ ึงตรงเนี้ ยมันจะเป็ นปั ญหา
ว่า เมื่ อผุห้ ญิ งถูกทอดทิ้งหรื อว่าผูช้ ายไม่ได้ส่งเสี ยเลี้ยงดูเนี่ ยปั ญหาก็จะตกมาที่ ผูห้ ญิ งเลยเพราะ
ผูห้ ญิงไม่มีรายได้ ซึ่งมันคงจะต้องเลี้ยงลุกที่ยงั เล็กอยู่ ค่าใช้จ่ายจิปาถะอะไรเยอะแยะมากมาย แต่ว่า
ในยุคสมัยนี้เนี่ยเราก็เริ่ มเห็นบ้างในสังคมของผูช้ ายที่เปลี่ยนไป
126

คุณวีรวัลย์ กรมสุ ริยศักดิ์ (นักสั งคมสงเคราะห์ )


ผู้สัมภาษณ์ : สวัสดีคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : สวัสดีคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ที่ เข้ามาในดู ความดู แลในความปกครองของสถานที่แห่ งนี้ นะคะ ต้องมี หลายกรณี
หลายเคสนะคะ พอจะขยายความให้เห็นได้ไหมคะว่ามันมีกรณี ใดบ้างคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ที่อยูใ่ นความดูแลของเราก็คือกลุ่มเป้ าหมายที่อยูใ่ นบ้านเราใช่ไหมคะ ก็โดยหลักๆ
แล้วเนี่ ย เนื่ องจากหน่ วยงานทําหน้าที่ในการคุม้ ครองสวัสดิภาพเด็ก ตาม พรบ คุม้ ครองเด็ก พศ.
2546 เพราะฉะนั้นกลุ่มเป้ าหมายที่อยูใ่ นความดูแลของเรากลุ่มหลักๆก็คือกลุ่มเด็กที่ถูกทารุ ณกรรม
ทั้งทางเพศ ร่ างกาย และจิตใจ กลุ่มที่ 2 คือกลุ่มของเด็กที่มีพฤติกรรมเสี่ ยงต่อการกระทําความผิดนะ
คะ กลุ่มที่ 3 คือกลุ่มเด็กที่พึงได้รับการคุค้ รองสวัสดิภาะตามที่กฎกระทรวงกําหนด กฎกระทรวงที่
กําหนดไว้เนี่ยหลักๆก็จะมีในเรื่ องของเด็กที่อายุต่าํ กว่า 10 ปี ไม่ตอ้ งรับโทษตามกฎหมายอาญา อัน
นี้เป็ นเกณที่เขากําหนดไว้นะคะ ก็คือเด็กอายุต่าํ กว่า 10 ต่อให้กระทําความผิดอาญาก็ไม่ตอ้ งรับโทษ
นะคะ ก็จะถูกส่ งเข้ามาสู่ กระบวนการในการคุม้ ครองเด็ก แล้วก็เด็กที่ถูกหาประโยชน์ในทางมิชอบ
อะไรต่ า งๆ ซึ่ ง กฎกระทรวงที่ เ ปิ ดไปก็เ ป็ นกลุ่ ม เด็ก ที่ เอ่ อ ถู ก เลี้ ย งดู ไ ม่ เ หมาะสม ถู ก แสวงหา
ประโยชน์ อะไรต่ างๆเนี่ ย คะ ก็จะเข้าข่าย เพราะฉะนั้นแด็กกลุ่มนี้ จ ะเข้าสู่ ก ระบวนการในการ
คุม้ ครองสวัสดิภาพ ซึ่ งจะแตกต่างจากเด็กที่พึงได้รับความสงเคราะห์ นัน่ หมายความว่า อาจจะเป็ น
เด็กกลุ่มที่พ่อแม่ยากจน หรื อกําพร้าพ่อแม่ ซึ่ งตรงนั้นเนี่ ยกระบวนการให้การช่วยเหลือในเบื้องต้น
หลังจากที่มีการรับตัวแล้วเนี่ ย ก็จะวินิจฉัยสาเหตุ วินิจฉัยข้อเท็จจริ งที่เกี่ยวข้องแล้วก็ ประสานส่ ง
ต่อ ซึ่งหน่วยงานที่ดูแลกลุ่มเด็กประเภทนี้จะเป็ นสถานสงเคราะห์ แต่บา้ นเราจริ งๆคือ ชื่อสถานแรก
รับเด็กกึกก้องธัญพร ทําหน้าที่เป็ นสถานคุม้ ครองสวัสดิภาพเด็กด้วย
ผู้สัมภาษณ์ : เอ่อ เมื่อเข้ามาแล้วเนี่ ยนะคะ กระบวนการในการสงเคราะห์หรื อในการการดูแล มันมี
ยังไงบ้างคะ
ผู้ให้ ข้อมู ลหลัก : ก็ บ้านเราเนี่ ยเราต้องมาดูที่ประเด็นในการการรับตัวเด็กก่อนนะคะ ซึ่ งจะเป็ น
สถานที่รับตัวรองจากบ้านพักเด็กและครอบครัวเพื่อน ซึ่ งจะเป็ นสถานรองรับแรกในการรับตัวเด็ก
เมื่อพบปั ญหา นะคะ ซึ่ งกระบวนการจริ งๆ สถานแรกรับเราเนี่ ยก็ตอ้ งทําหน้าที่เป็ นเหมือนบ้านพัก
เด็ก ด้ว ยในขณะรั บตัว เบื้ องต้น แต่ เนื่ องจากปั ญจุ บญ
ั เนี่ ยมี ก ารตั้งบ้านพัก เด็ก และครอบครั ว ทัว่
ประเทศแล้ว เพราะฉะนั้นเนี่ ย บทบาททางบ้านเราเนี่ ยจะยกขึ้นเป็ นสถานคุม้ ครอง ก็คือทําหน้าที่
ดูแลเด็กระยะยาวในช่ วงที่ 2 มากกว่าที่จะเป็ นบทบาทแรก นะคะ แต่ทีน้ ี เรามาพูดถึงบทบาทแรก
ก่อน กระบวนการในการช่วยเหลือเด็ก ณ ขั้นต้นเลยที่พบเด็กประสบปั ญหา 1 คือดูว่าถ้าครอบครัว
สามารถทําหน้าที่ในเบื้องต้นได้คือให้การดูแลเด็กเช่น สิ่ งที่เกิดขึ้นโดบอุบตั ิเหตุ โดยพลั้งเผลอ หรื อ
127

โดยเหตุสุดวิสัย แต่ยงั อยูใ่ นวิสัยที่สามารถอยูใ่ ห้การคุม้ ครองได้ เช่นกรณี เด็กถูกกระทํา ครอบครัว


รับรู ้ รั บทราบ และไม่มียินยอม ยินดี ที่จะให้ความร่ วมมือในการแจ้งความดําเนิ นคดี กบั ผูก้ ระทํา
หรื ออะไรต่างๆ เราก็จะมาประเมินว่าครอบครัวเนี่ย สามารถดูแลเด็กได้หรื อไม่ ถ้าดูแลได้เราจะไม่
แยกเด็กออกจากครอบครัวโดยทันที ถ้าเรามาประเมินดูแล้วว่าครอบครัวไม่สามารถทําหน้าที่ใน
ฐานะสถาบันหลักในการดูแลเด็ก ใน ขณะนั้นได้ เราจะแยกเด็กออก มาโดยอาสัยกฎหมายตาม
กฎหมายคุม้ ครองเด็ก คัดแยกเด็กออกมาเพื่อให้อยูใ่ นที่ปลอดภัยกว่านี้ เบื้องต้น แล้วดําเนิ นการตาม
กฎหมายคือสื บเสาะพินิจ โดยเฉพาะกรณี พบเด็กถูกกระทําถูกกระทําทารุ ณ กรรม 1 แจ้งความ
ดําเนิ นคดี 2 ไม่ว่าจะเป็ นเจ้าที่เอง หรื อว่าจะเป็ นตํารวจ สามารถส่ งเด็กไปตรวจร่ างกาย เพื่อเป็ น
หลักฐานทางคดีได้ ถ้าวินิจฉยแล้วเด็กมีมีอาการได้รับผลกระทบทางจิตอาจเข้าพบจิตแพทย์ได้ ก็
เป็ นกระบวนการในการให้ความช่ วยเหลือตามขั้นตอนนะค่ะ แล้วก็หลังจากนั้นเนี่ ยก็บาํ บัดฟื้ นฟู
เช่น อาจจะใช้กิจกรรมเชิงจิตวิทยาในการทํางาน ในการพูดคุย ในการอะไรต่างๆ เนี่ ยคะ แล้วก็ใน
กระบวนการช่วยเหลือเบื้องต้นตามกฎหมายจะทําได้ไม่เกิน ไม่เกิ น 3 เดือน ไม่เกิ น 180 วันและ
หลังจากนั้นเด็กจะถูกส่ งตัวไปอยูใ่ นสถานที่รองรับในระยะยาวโดยเฉพาะอย่างเช่นบ้านธัญพร ซึ่ ง
สามารถดูแลเด็กได้ต่อเนื่องจนกระทัง่ เด็กอายุถึง 18 แล้วก็ถา้ ถึง18 แล้วยังอยูใ่ นกระบวนการในการ
คุม้ กัน คุม้ ครองไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องของการเรี ยน หรื ออะไรต่างๆ เราสามารถขอขยายระยะเวลาในการ
คุม้ ครองกับท่านผูวา่ ราชการจังหวัดได้ต่อ ขั้นแรก 20 แล้วก็ถา้ 20 แล้วยังอยูใ่ นกระบวนการ ก็ต่อได้
ถึง 24
ผู้สัมภาษณ์ : สนใจคําว่าสถานแรกรับเด็ก คําว่าแรกรับเนี่ยหมายถึงอะไรคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : จริ งๆ บ้านธัญพรตั้ง ตั้งแต่สมัยที่ยงั เป็ นสถานแรกรับเด็กหญิงบ้านพญาไท ซึ่ งอยู่
ที่ พญาไทเก่า คะ แต่วา่ ณ ขณะที่ต้ งั สถานแรกรับเนี่ย ยังไม่มีกฎหมายคุม้ ครองเด็ก นั้นมันก็จะมีเด็ก
ที่ประสบ ปั ญหา เยอะแยกมากมาย เพราะฉะนั้นสถานแรกรับก็จะทําหน้าที่ในการรับตัว ในการให้
ความช่วยเหลือ ในการให้ความปลอดภัยเด็กในเบื้องจต้น นับตั้งแต่อดีตที่ผา่ นมา แล้วพอระยะหลัง
มันมีการปรับเปลี่ยน เรื่ องของกฎหมาย มีการแก้ไขกฎหมาย มีกฎหมาย พรบ คุม้ ครองเด็กขึ้นมา
คุม้ ครองเด็กเมื่อปี พศ 2546 เมื่อมี พรบ คุม้ ครองเด็กขึ้นมาปุ๊ บเนี่ ย กฎหมายมอบหมายให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมัน่ คงของมนุ ษย์จดั ตั้งสถานรองรับเด็ก
จะต้องทําหน้าที่มีสถานรองรับเด็กขึ้นมา เพราะฉะนั้น ผูบ้ ริ หาร ก็พิจารณาแล้วว่า ลําพังสถานแรก
รับเด็กหญิงบ้านพญาไท หรื อบ้านธัญพรในปั จจุบนั เนี่ย เพียงแห่ งเดียว ไม่น่าจะรองรับได้หมด กับ
สภาพปั ญหา กับกฎหมาย ก็มีการตั้งบ้านพักเด็กและครอบครั้ วขึ้นมาทัว่ ประเทศ คะ แล้วก็มีการ
ขยายงาน คือ จากเดิมเนี่ยก็ต้ งั ถ้าจําไม่ผดิ ก็ 10 กว่าจังหวัด แล้วก็ขยายใหญ่จนปั จจุบนั เนี่ย มีครบทั้ง
77 จังหวัด ทัว่ ประเทศแล้วอ่ะคะ ก็คือทําหน้าที่ในการเป็ น สถานรองรั บเด็กที่ประสบปั ญหาใน
128

เบื้องต้นเพราะฉะนั้นสถานแรกรับเด็กก็ยงั ไม่ได้ยกเลิกภาระกิจเดิ ม แต่ในขณะเดี ยวกันเราได้รับ


บทบาทในการมอบหมายภาระกิ จใหม่มาเพิ่มเติ มหลังจากกฎหมายบังคับใช้ได้1ปี เมื่ อปี 2547
กระทรวงมีหนังสื อแจ้งมอบหมายภาระกิจให้ปฏิบตั ิงานให้เป็ นสถานคุม้ ครองสวัสดิภาพเด็กเพิ่ม
ด้วยอีก 1 แห่ง
ผู้สัมภาษณ์ : อีกแล้วหรอคะ แรกรับนี่คือรับจาก สถานพัฒนาเด็กและครอบครัวใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ ไม่ใช่คะ ถ้าเรามองในบทบาทของสถานแรกรับ จะรับตัวจากผูป้ กครองเด็ก
โดยตรง จะรั บตัวจากอาสาสมัครต่างๆ จะรั บตัวจากตํารวจ รั บตัวจากทุกแห่ งที่สามารถ แจ้งขอ
ความช่วยเหลือเด็กได้ คะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วสถานที่ พัฒนาเด็กและครอบครัวนั้นเขามีหน้าที่?
ผูใ้ ห้สัม ภาษภ์ : เอ่ อ คื อ ถ้า เป็ นบ้า นพัก เด็ ก และครอบครั ว จะทํา หน้า ที่ เ ป็ นสถานรองรั บ ตาม
กฎหมาย โดยหลักๆแล้วจะเป็ น 3 ฉบับก็คือ พรบ.คุม้ ครองเด็ก พรบ คุม้ ครองผูถ้ ูกกระทําด้วยความ
รุ นแรงในครอบครัวและก็ พรบ.ป้ องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ตรงนั้นเนี่ ยจะต้องรับ ที่นี่ถา้
ถามถึงตัวภาระกิจจริ งๆ จะเน้นที่ตวั เอ่อ ภาระกิจเรื่ องของการคุม้ ครองเด็ก ถ้าเป็ นกรณี ของเด็กที่ถูก
กระทําความรุ ณแรงในครอบครัว มันก็จะมาเข้าค่ายใน พรบ.คุม้ ครองเด็ก แต่ถา้ เป็ นกลุ่มเป้ าหมายที่
เป็ นสตรี นะคะ สตรี ที่อายุเกิ น พรบ คุม้ ครองเด็ก คือมากกว่า 18 ตรงนั้นเนี่ ยบ้านเราจะไม่รับ ก็จะ
เป็ นบทบาทของบ้านพักเด็กและครอบครัวในการให้การช่วยเหลือเบื้องต้นไปอย่างเนี้ ยอ่ะค่ะ แล้วก็
ไปวินิจฉัยว่าควรจะต้องทํายังไงถ้าเขายังกลับครอบครั วไม่ได้ จะส่ งฝึ กอาชี พไหม หรื อจะต้อง
ดําเนิ นการอย่างไร ก็จะถูกส่ งไปตามกระบวนการอีกขั้นตอนนึ ง แต่ก็ไม่ใช่ตาม พรบ. คุม้ ครองเด็ก
เราจะยึดที่ตวั ช่วงอายุของกลุ่มเป้ าหมายเป็ นหลักคะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วที่นี่อายุกไ็ ม่เกิน 18 ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ มีเกินบ้างแต่ส่วนน้อยคะ เกินก็คือยังอยูใ่ นช่วงระหว่างเรี ยนอย่างที่แจ้งไปแล้ว
ผู้สัมภาษณ์ : อายุ 18 ก็ยงั เรี ยกว่าคุม้ ครองเด็ก?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่คะ
ผู้สัมภาษณ์ : สตรี น้ ีกค็ ือ ความเป็ นเด็ก 18 นี้กค็ ือมีสตรี อยูด่ ว้ ย?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่คะ
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะงั้นคําว่าสตรี กค็ ือในกลุ่มนี้แหล่ะนะคะ เอ่อ เมื่อกี้น้ ี พดู ถึงการรับมาปั๊ บแล้วเนี่ ยก็
จะมีกระบวนการในการดูแล ใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ
ผู้สัมภาษณ์ : เอ่อการดูแลเนี่ย มันมีกระบวนการยังไงคะ
129

ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ ถ้าพูดถึง กระบวนการในการดูแล เราก็จะ เอ่อ โดยขั้นตอนการดําเนินงานก็จะ


เป็ นไปตามกฎหมาย 1 ก็คือดูว่าสาเหตุที่เด็กเข้ามาสู่ การให้ความคุม้ ครองสวัสดิภาพเนี่ ยมาอย่างไร
สาเหตุ คือถ้าเป็ นเรื่ องของการถูกทารุ ณกรรม แน่ นอนต้องมีการแจ้งความดําเนิ นคดี กบั ผูก้ ระทํา
สาเหตุเรื่ องของพฤติ กรรมไม่เหมาะสมเสี่ ยงต่อการกระทําความผิดไม่ตอ้ งมีการดําเนิ นคดี แต่ก็
นํามาสู่ เรื่ องของการ เอ่อ จัดทํากิจกรรมพวกปรับ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เด็กสามารถกลับคืน
สู่ สังคมในอนาคตนะคะ เอ่อ ในกรณี ของเด็กที่ กฎกระทรวงเช่ นเด็กอายุต่าํ กว่า 10 ไม่ตอ้ งได้รับ
โทษ อันนี้ ก็จะเข้าข่ายอยูใ่ น คือจะแยกหลักๆเลยคือกลุ่มเด็กมีคดี กับไม่มีคดี แต่เด็กมีคดีที่ว่าไม่ใช่
เป็ นผูก้ ระทํา แต่เป็ นผูถ้ ูกกระทํา นั้นกระบวนการก็จะมีแตกต่างกันนิ ดเดี ยวตรงที่ เรื่ องของการ
ช่วยเหลือในเรื่ องของข้อกฎหมาย ในเรื่ องของการเรี ยกร้องสิ ทธิ์ เอ่อ ตามกฎหมายให้กบั เขาอย่าง
นี้อ่ะคะ ทีน้ ีพอเข้ามาอยูใ่ นบ้านก็มาดูในเรื่ องของการให้บริ การของบ้าน การให้บริ การของบ้านก็จะ
มีหลักๆคือสังคมสงเคราะห์ ก็คือเรื่ องของการให้คาํ ปรึ กษาแนะนําการสื บค้นข้อเท็จจริ งอะไรต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับตัวเด็ก เด็กบางคนเนี่ ย มาอาจจะเอ่อ ไม่มีญาติ หรื อติดต่อญาติไม่ได้หรื ออะไรต่างๆ
เราก็จะให้บริ การด้านนี้ มีการให้บริ การด้านจิตวิทยา มีเรื่ องของการประเมินสภาวะจิต มีเรื่ องของ
การประเมินสภาวะความเครี ยดหรื ออะไรต่างๆ เพื่อที่จะเอาผลการประเมินมาใช้ในการวางแผน
เพื่อให้บริ การกับเขาไม่วา่ จะเป็ นด้านการศึกษา หรื อการประกอบอาชีพในอนาคต เราก็จะยึดจากตัว
จากผลการประเมินไอคิวอะไรต่างๆนี้ เป็ นหลักด้วย นะคะ มีการให้บริ การด้านกฎหมาย ก็อย่างที่
เรี ยนให้ทราบว่า ถ้ายังไม่มีการแจ้งความดําเนิ นคดี เราก็ตอ้ งเป็ นผูพ้ าเด็กไปแจ้งความดําเนิ นคดี มี
เรื่ องของการเรี ยกร้องสิ ทธิ์ เช่นค่าตอบแทนผูเ้ สี ยหายในคดีอาญา อะไรอย่างเงี้ยอ่ะคะ เราก็พาเด็กไป
ยืน่ คําร้อง ก็แล้วแต่คณะกรรมการจะพิจารณาว่าเด็กจะสามารถที่จะได้รับเงินเท่าไร อะไรต่างๆ เอ่อ
มีเรื่ องของการพาเด็กไปขึ้นศาลให้ความร่ วมมือเพราะว่ากระบวนการทางคดีบางคดีก็ใช้เวลาเป็ นปี
2 ปี เหมือนกัน พอเด็กมาอยู่ที่เรา เราก็ พอเวลาศาลแจ้งมา หรื อเราได้รับการแจ้งมาจากญาติเด็ก
หรื อหน่ วยงานที่ให้ความช่วยเหลือเด็กเบื้องต้น เราก็จะทําหน้าที่ในการพาเด็กไปขึ้นศาล ให้ความ
ร่ ว มมื อการสื บพยานในชั้น ศาลรอจนผลการพิพากษาออก ถ้าในกรณี ที่เด็ก ถูก ระทําแล้ว ผลคํา
พิพากษามีการจําคุกจําเลยหรื ออะไรต่างๆเราก็จะนํามาใช้ในการวางแผนในการคืนเด็กสู่ ครอบครัว
ด้ว ยนะคะ แล้ว ก็น อกเหนื อ จาก 3 ด้า นที่ ก ล่ าวมาก็คื อ สัง คม จริ ย ะ กฎหมาย หลัก ๆก็ คื อเรื่ อ ง
การศึกษา เด็กที่มาอยูก่ บั เราเนื่องจากอยูใ่ นระยะเวลานาน เพราะฉะนั้นกระบวนการเรื่ องการศึกษาก็
เป็ นเรื่ องสําคัญ นั้นเราก็จะวางแผนให้การศึกษาเด็ก ถ้าเป็ นกรณี ของเด็กเล็กที่สามารถเข้าเรี ยนต่อใน
ระดับชั้นประถมได้เลยโดยที่การศึกษาไม่ขาดตอนมาอะไรอย่างเงี้ย เราก็สามารถให้การสนับสนุน
ได้ก็คือส่ งเด็กเข้าเรี ยน เราประสานความร่ วมมือกับโรงเรี ยนในพื้นที่ใกล้เคียง โดยเฉพาะบ้านเราก็
จะทํางานกับโรงเรี ยนกลางคลอง 10 ก็จะส่ งเด็กไปเรี ยนในระดับประถมที่นนั่ สว่นถ้าเป็ นในระดับ
130

มัธยมเนี่ ย เนื่ องจากส่ วนหนึ่ ง ถ้าเป็ นกลุ่มเด็กโตเราต้องยอมรับว่า เด็กส่ วนหนึ่ งมีปัญหาพฤติกรรม


ร่ วมด้วย เพราะฉะนั้นเมื่อเรารับตัวเด็กมาเบื้องต้น เราจะไม่สามารถส่ งเด็กเข้าเรี ยนได้ทนั ที ก็ตอ้ งอยู่
เพื่ อ ประเมิ น พฤติ ก รรม แล้ว ก็ ป ระเมิ น พฤติ ก รรมเบื้ อ งต้น ก่ อ น ถ้า ในระยะนึ ง เราคิ ด ว่ า เด็ ก มี
พฤติกรรมดีข้ ึนแล้วก็ไม่มีปัญหาในเรื่ องของพฤติกรรมเราก็จะสนับสนุ นให้เรี ยน เพราะมีการส่ ง
เรี ยนในระดับมัธยมด้วยคะ
ผู้สัมภาษณ์ : เฉพาะชั้นมัธยมต้น?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มีคะ มีท้ งั มัธยมต้นและก็มีมธั ยมปลาย แล้วก็ตอนนี้ เรามีเด็กที่อยูใ่ นความดูแลของ
เรา เรี ยนในระดับมหาวิทยาลัยอยู่ 1 คน เอ่ออายุ 20 ปี ที่แล้วคะ พึ่ง 20 ใหม่ๆ
ผู้สัมภาษณ์ : ก็ ก็ ตามเกณฑ์ อายุ 18?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อือ... ส่ วนหนึ่งเด็กมาอยูท่ ี่เราไม่ได้เรี ยนตามเกณฑ์ค่ะ ตอนนี้ มีเด็กอยูร่ ายหนึ่ง อายุ
ประมาณ 16 กว่าละ แต่ยงั เรี ยน ป.6 เพราะว่าเด็กไม่ได้เรี ยนมา แต่ว่ารร ไม่ได้ปิดกั้นในเรื่ องของ
การศึ ก ษาว่า เด็ก อายุเ กิ น เกณฑ์แ ล้ว จะไม่ รั บ หรื อ อะไรต่ า งๆ แต่ ว่ า ตอนนี้ สิ่ ง ที่ พ วกเราจะต้อ ง
ประเมินกันมากขึ้นก็คือเรื่ องของ สภาวะของการปรับตัวในขณะที่เด็กเรี ยนประถมอาจจะไม่เกิ ด
ผลกระทบอะไรนัก แต่พอเมื่อเด็กกําลังจะต้องเข้าเรี ยนมัธยมอาจจะมีเรื่ องของการล้อเลียน อาจจะมี
เรื่ องของอะไรต่างๆ เพราะเด็กอายุ 17 ปี หน้า 16 ปี หน้า 17 เข้าเรี ยน ม.1 อายุ 17 กับเพื่อนที่เรี ยนม.1
แบบ 13-14 อะไรอย่างเนี้ ย เราก็กาํ ลังเป็ นกังวลในเรื่ องนี้ กนั พอสมควร ก็อาจจะต้องมาวางแผนกัน
ดีๆอะคะว่าเราจะดําเนินการยังไง เพราะฉะนั้นเรื่ องของการเรี ยนเนี่ย ถ้ารรไม่ขดั ข้อง จริ งๆ เด็กเกิน
เกณฑ์เรี ยน เราก็จะสนับสนุ นให้เรี ยนได้ แต่ส่วนหนึ่ งที่เราไม่สามารถสนับสนุ นให้เรี ยนภายนอก
ได้เนื่ องจาก เด็กมีปัญหาพฤติกรรม โดยสาเหตุของการนําส่ งเข้ามาเราจะเห็นได้ชดั คือถ้าเป็ นเด็ก
ปั ญหาพฤติกรรม เอ่อ เสี่ ยงต่อการกระทําความผิดอยูแ่ ล้วเนี่ ย เด็กกลุ่มเนี้ ยสิ่ งที่เราเห็นได้ชดั เลย คือ
หนีเรี ยน ติดเพื่อน ก้าวร้าว ไม่เชื่อฟัง เพราะฉะนั้นเด็กกลุ่มเนี้ ยที่เข้ามาเนี่ย จะส่ งร้ ี ยนทันทีไม่ได้ เรา
ก็ตอ้ งหยุดปรับพฤติกรรมก่อนอย่างเนี้ยอ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : คือมีอยู่ 2 ประเด็นพออายุ 18 ปั๊บเนี่ยเขาต้องไปจากที่นี่
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ ไม่จาํ เป็ นต้องไปทันทีคะ ก็ข้ ึนอยู่กบั กระบวนการให้ความช่ วยเหลือ แต่ถา้
สมมติวา่ ครอบครัวเขาพร้อม คือ เด็กส่ วนหนึ่งมีครอบครัว เด็กส่ วนหนึ่งก็ไม่มีครอบครัว กรณี ที่เด็ก
มีครอบครัวก็ไม่จาํ เป็ นต้องอยูจ่ นถึง 18 หรื อเพียงเพื่อแค่คดีจบ สําหรับรายที่ไม่มีปัญหาพฤติกรรม
นะ ก็อยูพ่ อคดีจบ ผูก้ ระทํามีเขาเรี ยกว่า อาจจะถูกจําคุก หรื ออาจจะ เอ่อ พิสูจน์แล้วไม่เป็ นความจริ ง
หรื อถูกยกฟ้ องหรื ออะไรต่างๆเราก็วางแผนแต่ถา้ เด็กมีครอบครัว เราสามารถคืนก่อน 18 ได้ แต่ถา้
เด็กไม่มีครอบครัวแล้วมีปัญหาพฤติกรรมร่ วมด้วย เราก็สามารถดูแลเขาต่อไป คะ
131

ผู้สัมภาษณ์ : เด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมแล้วไม่สามารถจะส่ งไปเรี ยน ในระดับมัธยม แก้ปัญหายังไง


คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ ก็เป็ นลักษณะของการทํากิจกรรมร่ วมกัน การให้การอบรมสั่งสอน เพราะว่า 1
เลยคือ ปั ญหาพฤติกรรมพวกเนี้ยมันสัง่ สม และเป็ นเรื่ องของสภาพแวดล้อม ที่น้ ี พอเข้ามาอยูใ่ นนี้ อ่ะ
คะ อันนี้ ที่เราเห็ นได้คือคามแตกต่ างระหว่างสภาพแวดล้อมภายในกับสภาพแวดล้อมภายนอก
เนื่ องจากสภาพแวดล้อภายนอกมันมี สิ่งเร้ าต่างๆ มันมี เรื่ องของปั จจัยเรื่ องเพื่อน มันมี เรื่ องของ
โอกาสในการเข้า สู่ โลกที่ มนั ไม่ ค่อยเหมาะสม แต่ก ารที่ เด็ก มาอยู่ในนี้ เนี่ ย ค่ะ เนื่ องจากเราเป็ น
สถานที่ คือบ้านเราภาษาเด็กเขาเรี ยกว่าศูนย์ปิด ศูนย์ปิด คือเด็กไม่ได้รับสิ ทธิ์ ในการออกข้างนอก
โดยไม่ ได้รับอนุ ญาตหรื ออะไรต่ างๆ แล้ว ก็ใ นนี้ ก็จ ะแยก แยกเพศ เพราะฉะนั้น ในนี้ ก็จ ะมี แ ต่
เด็กผูห้ ญิง เอ่อ เด็กส่ วนหนึ่ งที่มีปัญหาพฤติกรรมภายนอก พอเข้ามาอยู่ตรงนี้ เนี่ ย ส่ วนหนึ่ งคือเขา
เรี ยนรู ้อะไรบางอย่างได้ เช่น สิ่ งที่เขาปฏิบตั ิมาเนี่ ย เขาทําพลาด เขาทําผิด ทําให้เขาถูกส่ งมาอยูใ่ นนี้
ส่ วนหนึ่งก็คือ เริ่ มมีความเข้าใจล่ะ ในเรื่ องของการที่จะต้องปรับตัว แต่จากพฤติกรรมที่มนั สั่งสมมา
นาน มันก็จะต้องให้เวลาเขาในการปรับตัว เพราะบางทีเข้าใจ แต่พอเผลอตัวละก็เริ่ มมีบา้ ง เริ่ มมี
ต่อต้าน เริ่ มมีกา้ วร้าว เริ่ มมีทาํ อะไรที่ผิดระเบียบผิดกติกา อะไรเงี้ยคะ เราก็จะใช้ในเรื่ องของการ
อบรม เป็ นเรื่ องของการ เอ่อ ถ้าทําผิดจริ งๆ ก็มีเรื่ องของการลงโทษ แต่เป็ นลักษณะของการลงโทษ
เช่น เอ่อ บําเพ็ญสาธารณะประโยชน์ เอ่อ งดสิ ทธิ์ ที่พึงได้เช่น การทํากิจกรรมข้างนอก อะไรต่างๆ
อ่ะคะ แล้วก็อีกส่ วนหนึ่งเป็ นเรื่ องของ เอ่อ กระบวนการของการทํากิจกรรมบําบัดก็คือเป็ นลักษณะ
ของ เพื่อนช่วยเพื่อน เอ่อ มีการพาเด็กออกไปใช้ชีวิตในสังคมข้างนอก เป็ นเรื่ องของการทํากิจกรรม
ทัศนะศึกษา เรามีเรื่ องของ กิจกรรมทางศาสนามีการนิ มนต์พระอาจารย์มาสอน ให้ทุกวัน พฤหัส
อะไรต่ า งๆ น่ ะ คะ ก็ ม ัน เป็ นเรื่ อ งของการให้ก ารอบรมสั่ง สอน เนื่ อ งจากบทบาทของสถาบัน
ครอบครัวไม่ได้ทาํ หรื อทําไม่เหมาะสม คะ
ผู้สัมภาษณ์ : และมีการฝึ กวิชาที่อยูใ่ นนั้น?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ เราใช้คาํ ว่าเป็ นอาชีวะบําบัด ที่เราใช้คาํ ว่าอาชีวะบําบัดเพราะว่าบ้านเราไม่ได้
เป็ นศูนย์ฝึกอาชีพโดยตรงและเราไม่มีประกาศนี ยบัตรให้ แต่อาศัยว่าใช้ความสามารถเฉพาะตัวของ
ผูด้ ูแลเด็กในการสอน เอ่อ แม่บา้ นคนนึ งถนัดในเรื่ องของการทําดอกไม้ประดิ ษฐ์ ก็สอนดอกไม้
ประดิษฐ์ แม่บา้ นคนนึ งถนัดในเรื่ องของการร้อยลูกปั ดก็สอนร้อยลูกปั ด อ่า ถนัดบาติก ก็สอนเรื่ อง
บาติก เรื่ องอะไรต่างๆ ที่ใช้คาํ ว่า อาชี วะบําบัดเพราะว่าเด็กกลุ่มนี้ ส่วนหนี่ งคือเราพบว่ามีปัญหา
ทางสถาวะจิตร่ วมด้วยคือ 1 เด็กไม่นิ่งมีแอลดีปนเยอะ มีเรื่ องของสมาธิ ส้ ัน มีเรื่ องของอะไรต่างๆ
เป็ นเรื่ องของการเรี ยนรู ้ การเรี ยนทักษะต่างๆ ทักษะด้านภาษา ทักษะด้านการคํานวณต่างๆ ซึ่ งทาง
นักจิตวิทยาเขาจะประเมินพบ เด็กบางคนที่เรี ยนตํ่า จริ งๆไม่ใช่เด็กสมองไม่ดีอย่างเดียว แต่เด็กมี
132

ภาวะแอลดี ดว้ ย เด็กบางคนสภาวะไอคิวปกติ ก็คือ 90-100 109 แต่เด็กเป็ นแอลดี ก็เลยทําให้การ


เรี ยนตํ่า อะไรอย่างเนี้ ยค่ะ แล้วเด็กกลุ่มเนี้ ย ด้วยความที่สังคมภายนอกไม่เข้าใจ ก็มองว่าเอ๊ะ ทําไม
แบบ เด็กโง่บา้ งอะไรบ้างแล้วก็ผลักเด็กออกจากระบบเงี้ยอ่ะคะ เพราะฉะนั้นอาชีวะบําบัดของบ้าน
เราคือ 1 มุง้ เน้นเรื่ องของการฝึ กสมาธิ มุง้ เน้นให้เขารู ้จกั ที่จะแบบ สงบ ผ่อนคลายอะไรต่างๆ แล้วก็
ในบางรายเราก็จะเห็ นว่าในภาวะที่ มาแรกๆอาจจะมี เศร้ าซึ มอาจจะมี อะไร แม่ บา้ นก็จะสังเกตุ
พฤติกรรมจากกิจกรรมอาชีวะบําบัดเยนี่ ยอ่ะคะ แล้วก็ส่งต่อข้อมูลให้คนที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็ นนัก
สังคม นักจิตฯ แล้วก็วางแผนร่ วมกันในการปรับพฤติกรรม แต่ว่า โดยหลักแล้วบ้านเราต้องใช้ใน
เรื่ องของ ต้องถามว่าเด็กปรับพฤติกรรมได้ไงก็คือเป็ นเรื่ องของการใช้เวลาและก็การอบรมสั่งสอน
มากกว่าเพราะว่าเราไม่มีกิจกรรมเด่นๆหลักๆ บอกว่าเด็กต้องเข้าคอสแบบนี้ แล้วจะกลายเป็ นคนดี
ได้หรื ออะไรอย่างเนี้ ย เราไม่ใช่แบบนั้นนะเพราะว่าการปรับพฤติกรรมต่างจากกการบําบัดยาเสพ
ติด น้องมันไม่สามารถจะบอกได้วา่ ต้องเข้าคอสนี้ไปแล้วจะดีจะหายอะไรอย่างเนี้ยอ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ที่น้ ี ในความเห็นส่ วนตัวนะคะหนูว่า เหตุหนึ่ งที่ทาํ ให้เด็กเหล่านี้ มาอยู่ที่นี่ มันเกิดขึ้น
จากการได้รับผลกระทบจากการกระทําความรุ นแรงในครอบครัว หรื อการไม่ได้รับความเท่าเทียม
ทางเพศ ใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็มีบา้ งส่ วนหนึ่งค่ะ แต่เพียงแต่วา่ เอ่อ ถ้าถามในสัดส่ วนเนี่ยคงยังตอบในลักษณะนี้
ไม่ได้เพราะเราไม่เคยทําการประเมิน เนาะ แต่ว่าอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชดั เลยก็คือ จากประวัติของการ
เลี้ ยงดู ของคนในครอบครั วมีเรื่ องของการใช้ความรุ นแรงอันเนี้ ยมี เอ่ อพ่ออาจจะทําร้ ายแม่ แม่
อาจจะทําร้ายพ่อ พ่อทําร้ายลูก แม่ทาํ ร้ายลูก มีคะ อันนี้มีแน่นอน
ผู้สัมภาษณ์ : ก็เลยส่ งผลทําให้เกิดปั ญหา
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่คะ
ผู้ สั ม ภาษณ์ : อัน นี้ อาจจะถามนอกเรื่ อ งนิ ด นึ ง นะคะ ว่ า คิ ด ว่ า ปั จ จุ บ ัน นี้ นะคะ ประเทศไทย
สังคมไทย หรื อจะคนในสังคมเนี่ย เอ่อ ความไม่เสอมภาคทางเพศมีม้ ยั ตอนนี้คิดว่ายังมีม้ ยั คะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อืออ มันคงเป็ นเรื่ องของวัฒนะธรรมที่ผ่านมาด้วยในสังคมาไทยที่ยกย่องให้เพศ
ชายในฐานะที่เป็ นผูน้ าํ ครอบครัว และอะไรต่างๆซึ่ งการเรี ยกร้องหาความเสมอภาคทางเพศ หรื อ
ความเท่าเยมกันทางเพศเนี่ย มันยังไม่ไปถึงระดับที่มนั เท่าจริ งๆ เพราะฉะนั้นมันก็เลยเป็ นส่ วนหนึ่ ง
ที่ส่งเสริ ม เอ่อ ถ้าในความคิดของตัวเองเนี่ ย ไม่ว่าจะเป็ นการ ดูจากสื่ อ หรื ออะไรต่างๆเนี่ย การดูถูก
เหยียดหยามทางเพศ การ...เขาเรี ยกอะไร คุกคามทางเพศ ก็ยงั มีอยูเ่ ยอะ แล้วในสังคมทุกกลุ่ม ไม่ว่า
จะเป็ นกลุ่มมีการศึกษา หรื อไม่มีการศึกษา เพราะฉะนั้นเนี่ ย ถ้าในระดับกลุ่มที่มีการศึกษาเรายัง
คาดหวังความเท่าเทียมกันไม่ได้เนี่ ย กลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษาเรายิ่งไปไม่ถึงเลยคะเรื่ องนี้
เพราะฉะนั้นมันไม่เรื่ องง่ายที่จะทําให้เรื่ องนี้กลายเป็ นเรื่ องที่เสมอภาคจริ งๆได้ในสังคม
133

ผู้สัมภาษณ์ : แล้วก็เห็นมีมูลนิ ธิ หรื อชมรมสมาคม พยายามจะตั้งตรงเนี้ ยขึ้นมาเพื่อจะลด ไอความ


รุ นแรง ส่ งเสริ มความเท่าเทียมทางเพศ เอ่อ คิดว่า พวกเขาทําได้ไหม?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ ถามว่าคิดว่าเขาจะทําได้ไหม เรื่ องนี้ ถา้ ทําโดยลําพังทําไม่ได้แน่ นอนคะ ต้อง
อาศัยกลไกหลายๆส่ วน หลายๆภาคส่ วนในการขับเคลื่อนแล้วก็ตอ้ งใช้เวลา เป็ นเรื่ องที่ตอ้ งใช้เวลา
จากอันนึงที่เคยทํางานในสํานักงานส่ งเสริ ม เอ่อ สํานักงานกิจการสตรี และสถาบันครอบครัวนะ ซึ่ ง
ตรงนั้นเนี่ ยทําเรื่ องส่ งเสริ มความเสมอภาคหญิงชายโดยตรง มีหน่วยงานระดับกองนึ งในสํานัก ใน
กรมนี้อ่ะนะคะ เรื่ องความเสมอภาคโดยตรงเนี่ย ก็ทราบว่าเรื่ องที่เราเห็นได้ชดั เช่น การเรี ยกร้อง เอ่อ
สิ ทธิสตรี นเรื่ องของ อะไรล่ะ สัดส่ วนของคนทํางานในองค์กรต่างๆไม่ว่าจะเป็ นองค์กรอิสระ ไม่ว่า
จะเป็ นใน อบต. หรื อในอะไรต่างๆ ที่จะต้องมีสตรี จาํ นวนเท่านี้ ถึงเท่านี้ อะไรอย่างเงี้ยคะ ก็ยงั เห็น
ว่าทําได้ไม่เต็ม 100% อย่างเงี้ย เรา คือ ถามว่าเป็ นความตั้งใจที่ดีที่จะทําแล้วก็ แต่ตอ้ งอาศัเวลาและ
ต้องอาศัยความร่ วมมือจากทุกภาคส่ วนหน่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : คะ แล้วคิดว่าวันนี้พร้อมหรื อยังที่จะเกิด ให้มนั มีความเท่าเทียมทางเพศ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ถามว่าพร้อมมั้ย จริ งๆตัวเองก็อยากช่วยผลักดันเรื่ องนี้ นะคะ แต่จริ งๆมันต้องเป็ น
เรื่ องของกลไกระดับชาติ ไม่ใช่แค่องกรองค์กรเดียวแล้วก็ โดยเฉพาะในสาย เอ็นจีโอ สายเดียวที่จะ
ทําได้ เอ่อ เขาอาจจะทําได้ในระดับนึ ง แต่ถา้ จะเคลื่อนเรื่ องเนี้ ยต้องเป็ นระดับชาติ ต้องเป็ นวาระ
แห่ งชาติ เหมือรยุคนึ งที่พูดกันเรื่ องของที่มีการค้ามนุษย์ แล้วก็ยกประเด็นเรื่ องการค้ามนุ ษย์ข้ ึนมา
เป็ นวาระแห่ งชาติ แต่ถามว่าเรื่ องนี้เรื่ องสตรี จะมีโอกาสหยิบยกขึ้นมาเป็ นวาระแห่ งชาติไหม ไม่ง่าย
คะ เพราะว่า เพราะว่าผูช้ ายก็จะพยายามมองว่า โอ้ยลุกขึ้นมาเรี ยกร้องอะไรวะเนี่ ย คือเขาก็ยงั ไม่
เข้าใจคําว่าความเสมอภาค หรื อความเท่าเทียมกันมากนักเพราะฉะนั้น มันตีความได้หลายอย่างอ่ะ
คะ ว่าถ้าจะเคลื่ อนเรื่ องนี้ จริ งๆ ต้องในระดับใหญ่ ก่อน คือระดับใหญ่ตอ้ งเห็ นด้วยไม่ใช่ เคลื่อน
ระดับใหญ่ แต่การเคลื่อนจากจุดเล็กๆแล้วกระเพื่อนออกไปมันก็มีควารมเป็ นไปได้ แต่ตอ้ งใช้เวลา
คะ
ผู้สัมภาษณ์ : เอ่อ มีมูลนิ ธิหลายแห่ งเลยคะ เป็ นเอกชน ได้ก็ต้ งั มูลนิ ธิเหล่านี้ ข้ ึนมา วัตถุประสงค์ มี
มูลนิธิไหน พอจะบอกได้ไหมคะว่า ทํางานลักษณะเหมือนกับบ้านนี้?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มูลนิ ธิที่ทาํ งานเหมือนลักษณะบ้านนี้ คือถ้ามองในเรื่ องของเป็ นสถานรองรับผู ้
ประสบปั ญหา เราก็จะรู ้จกั มูลนิ ธิ เอ่อ เพื่อนหญิง มูลนิ ธิ เอ่อ อย่างกรณี บา้ นพักฉุ กเฉิ นอะไรต่างๆ
พวกเนี้ ยค่ะ แต่ว่าถ้าเป็ นลักษณะหน่ วยงานที่เป็ นสถานรองรับเนี่ ย ก็จะมีอีกพอสมควร แต่ถา้ เป็ น
มูลนิ ธิหรื อองค์กรที่ทาํ เรื่ อง ในเรื่ องของการส่ งเสริ มความเสมอภาคโดยตรงหรื อในเรื่ องสิ ทธิ สตรี
โดยตรงเนี่ ย เท่าที่รู้จกั ก็จะเป็ นมูลนิ ธิส่งเสริ มหญิงชายก้าวไกล อะไรอย่างเงี้ยค่ะ ของคุณสุ เพ็ญศรี
อย่างเงี้ย คือลักษณะของมูลนิธิลกั ษณะแบบนี้กจ็ ะ ภาระกิจก็จะแตกต่างจากบ้านนี้
134

ผู้สัมภาษณ์ : แต่นี่จะบอกว่าภาระกิจของเพื่อนหญิงมีลกั ษณะคล้ายกับที่นี่หรอคะ?


ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล หลัก : โดยเท่ า ที่ ท ราบนะคะ แต่ ว่า ไม่ แ น่ ใ จว่า เขามี ร องรั บ เป็ นบ้า นหรื อ เปล่ า แต่ ก็
เหมือนกับว่าเขาเป็ นหน่วยงานที่ให้คาํ ปรึ กษา เป็ นหน่วยงานที่ ที่เป็ นหน่วยรุ กประเภทหนึ่งในการที่
เข้าถึงผูป้ ระสบปั ญหาอ่ะคะ แต่ว่าไม่แน่ ใจว่ามีสถานรองรับไหม แต่อย่างบ้านพักฉุ กเฉิ นที่ดอน
เมือง โอเค เรารู ้วา่ เขามี อย่างเงี้ยคะ
ผู้สัมภาษณ์ : คําว่ามีคือมี...
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มีเป็ นสถานรองรับ ผูไ้ ด้รับการดูแลอยูใ่ นนั้นคะ
ผู้สัมภาษณ์ : เมื่อกี้เอ่ยชื่อคุณสุ เพ็ญศรี นี่เป็ น?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ คุณสุ เพ็ญศรี จะเป็ นเอ็นจีโอที่ทาํ งานเรื่ องสตรี ที่เราเคยมีการร่ วมประชุมกัน
อะไรกันอย่างเงี้ยอ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : อยูท่ ี่ไหนอ่ะคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ถ้าจําไม่ปิดจะเป็ นมูลนิธิหญิงไทยก้าวไกลนะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ไม่ใช่คุณจเด็จหรอคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คุณจเด็จจะเป็ นมูลนิธิเพื่อนหญิงเนาะ
ผู้สัมภาษณ์ : เพื่อนหญิงย้ายไปแล้วคะ พอดีเมื่อวานหนูคุยกับคุณจเด็จ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : หมายถึงมูลนิธิยา้ ยหรื อคุณจเด็จย้าย
ผู้สัมภาษณ์ : คุณจเด็จย้ายคะ คุณจเด็จย้ายปูลนิ ธิหญิงไทยก้าวไกล แล้วรู ้สึกว่าคุณสุ เพ็ญศรี เนี่ ย จะ
อยูเ่ พื่อนหญิง
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ้าว หรอคะ ไม่แน่ ใจเพราะว่าในสายเอ็นจีโอไม่แน่ ใจ ส่ วนใหญ่ก็จะเห็ นเขาอยู่
แล้วอยูเ่ ลยอะไรอย่างเงี้ยคะ แต่ว่าถ้าพูดถึงเรื่ องสิ ทธิสตรี เนี่ย พี่โก๋ เนี่ยจะค่อนข้าง พี่โก๋ คือคุณสุ เพ็ญ
ศรี เนี่ย จะค่อนข้าง เขาเรี ยกว่าอะไร ดังในแวดวงของคนที่ทาํ งานในเรื่ องของสิ ทธิสตรี นะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : นี่ คุณสุ เพ็ญศรี นี่ เขาเคยอยูเ่ พื่อนหญิงอยูห่ น่ะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่คะ ใช่ๆ แล้วระยะหลัง จัดตั้งมูลนิ ธิ ในระยะหลังที่มีเรื่ องของการส่ งเสริ มเรื่ อง
ความเสมอภาคขึ้นมาเนี่ยค่ะ เอ่อ ก็รู้สึกว่าจะมีการขยาย ขยายองค์กรขึ้น
ผู้สัมภาษณ์ : แต่รู้สึกว่าที่ใหญ่ที่สุดในเพื่อนหญิงตอนนี้น่าจะเป็ นคุณสุ เพ็ญศรี
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ไหม
ผู้สัมภาษณ์ : น่าจะใช่ คุณจเด็จมาที่... แต่รู้สึกว่าเขาจะได้เป็ นผูจ้ ดั การคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อันนี้ยงั ไม่แน่ใจในเรื่ อของตําแหน่งของตัวบุคคล
ผู้สัมภาษณ์ : แต่วา่ ทําหนังสื อ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ่า ใช่
135

ผู้สัมภาษณ์ : เอ่อ เด็กที่มาอยู่ในเนี้ ยอ่ะคะ ที่ตรงๆเลย และที่ชดั เลยที่ว่ากระทบจากได้รับการกดขี่


ทางเพศหรื อรุ ณแรงทางเพศมีไหม?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มีคะ เป็ นลักษณะคุกคามทางเพศคือผูท้ ี่ถูกผูท้ ี่โตกว่า ผูท้ ี่มีอาํ นาจมากกว่าข่มเหง
รังแกคะ ก็มี มีท้ งั พ่อแท้ ทั้งพ่อเลี้ยง พี่เพื่อน คนรู ้จกั ของครอบครัว มีทุกประเภทคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ก็เลยต้องอยูท่ ี่นี่?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เนื่องจากในรายที่ ได้รับการประเมินแล้วว่าครอบครัวไม่สามารถให้ความปลอดภัย
กับเด็กได้ในขณะนั้นก็ถูกส่ งเข้ามารับ เอ่อ ถูกส่ งเข้ามาคุม้ ครองสวัสดิภาพที่นี่ก่อน คะ
ผู้สัมภาษณ์ : กฎหมายที่ใช้ในหน่วยนี้ จะเป็ นกฎหมายคุม้ ครองเด็กมากกว่าหรื อยังไง?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เรายึดตัว พรบคุม้ ครองเด็กเป็ นหลักคะ พ่อว่า พรบ คุม้ ครองเด็กเนี่ ยจะมีเนื้ อหอที่
ครอบคลุมมากกว่า พรบ คุม้ ครองผูถ้ ูกกระทําความรุ ณแรง ในกรณี ของผูท้ ี่กระทําความผิดใน พรบ
เด็กเนี่ ย ส่ วนใหญ่จะเป็ นลักษณะความผิดในคดีอาญา แต่กระบวนการของ พรบ. คุม้ ครองเด็ก คือ
เน้น กระบวนการในการดู แ ลเด็ก แต่ก รณี ของ พรบ คุ ม้ ครองผูถ้ ูกกระทําด้ว ยความรุ ณ แรงเนี่ ย
ใจความหลักของ พรบนี้ คือมุ่งเน้นที่สร้างความสมานฉันในครอบครัวไม่เน้นที่กระบวนการในการ
ลงโทษผูห้ กระทําความผิดเพราะฉะนั้น ตัวหลักของ พรบ.เนื่องจากบ้านเราดูแลกลุ่มเป้ าหมายที่เป็ น
เด็กเป็ นหลักเราก็เลยยึดตัว พรบ. คุม้ ครองเด็กเป็ นหลักคะ
ผู้ สั ม ภาษณ์ : อัน นี้ ถามนอกเรื่ อ งเลยคะเนี่ ย ขออี ก สั ก คํา ถามหนึ่ ง นะคะ เอ่ อ ถ้า มู ล นิ ธิ ที่ เ ป็ น
ภาคเอกชนที่ดอ็นจีโอที่ว่าเนี่ ย ทํางานลักษณะอย่างเนี้ ยนะ ซึ่ งเป็ นปั ญหาสําคัญแห่ งชาติเนี่ ยอ่ะคะ
คิดว่าเขาจะแก้ปัญหาได้ไหม
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อที่ทาํ งานลักษณะนี้ หมายความว่า ลักษณะในเรื่ อของเด็กที่ถูกกระทําความรุ ณ
แรงหรื อ...
ผู้สัมภาษณ์ : คือทั้งความรุ ณแรงและส่ งเสริ มให้ได้รับการพัฒนา คือความพร้อมเนี่ ยเขาจะทําได้
ไหม
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ในนามของมูลนิธิหรื อเอ็นจีโอใช่ไหมคะ จริ งๆมูลนิธิหรื อเอ็นจีโอบางแห่ งก็ทาํ ได้
ดีนะคะ เพียงแต่วา่ ปั ญหาก็คือเขาไม่มีงบประมาณหลัก
ผู้สัมภาษณ์ : กําลังมองตรงนี้อยู่
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ เพราะไม่มีงบประมาณหลักในการสนับสนุนมันแตกต่างจากภาครัฐคือยังไงก็มี
งบประมาณถึงจะน้อย แต่กม็ ี
ผู้สัมภาษณ์ : ก็เลยอยากให้ประเมินดูคะว่าจริ งๆแล้วเนี่ยมีมูลนิธิใดที่อยูใ่ นใจ และคิดว่าเขาทําได้?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มูลนิธิใดที่อยูใ่ นใจแล้วทําได้...
ผู้สัมภาษณ์ : นอกเหนือจากมูลนิธิปวีณา ปวีณาอยูไ่ ด้ม้ ยั คะ
136

ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล หลัก : คื อ ถ้า เราพูด กัน ประเด็น นี้ คื อ ต้อ งย้อ นไปดู ว่ า กระบวนการในการให้ค วาม
ช่วยเหลือของแต่ที่เนี่ ย ทําขนาดไหน เพราะว่าถ้าเราพูดถึงยกตัวอย่างมูลนิ ธิปวีณา มูลนิ ธิปวีณาทํา
หน้าที่เหมือนเป็ นหน่วยงานในการคัดกรองเคส เป็ นตัวรับเคส
ผู้สัมภาษณ์ : คัดกรองเท่านั้น แล้วส่ งต่อ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ เพราะว่าเด็กส่ วนหนึ่ งก็มาอยู่กบั เรา ถึงแม้ว่ามูลนิ ธิปวีณาช่ วงหนึ่ งเคยมีการ
รับเคสเข้าไปดูแล แต่กร็ ะยะหลังๆก็เท่าที่เราทราบก็คือ ไม่ได้ดูแลเอง คัดกรองแล้วก็ส่งต่อ
ผู้สัมภาษณ์ : ก็เรี ยกว่าไม่ครบวงจร?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เราต้องไปดูบทบาทภาระกิจของเขาเนาะเพราะว่าเราไม่รู้จริ งๆว่าขอบเขตของเขา
แค่ไหน แต่อย่างอีกมูลนิ ธินึงที่เราทํางานด้วยกันนะคะ และก็ว่าทุกวันนี้ ก็ยงั ทํางานด้วยกันอยู่ คือ
มูลนิธิศุนย์พิทกั ษ์สิทธิเด็กของอาจารย์สัพสิ ทธ์ คุมประพันตรงนั้น นี้ ของมูลนิ ธิเนี่ย เขาก็ทาํ งานเต็ม
รู ปแบบเต็มกระบวนการเหมือนเรา เขามีพนักงานเจ้าหน้าที่คุม้ ครองเด็กเยอะมาก เอ่อ มีนกั สังคม มี
นักจิตฯ มีพนักงานคุม้ เอ่อ สิ ทธิเด็กอะไรต่างๆ แต่เขาข้อจํากัดของเขาคือหน่วยงานเขารับเด็กได้แค่
14 คน แล้วพอเต็ม 14 ปุ๊ บเขาก็รับไม่ได้และ เขาก็จะสามารถส่ งต่อไปอยูท่ ี่อื่นได้ แต่อย่างหน่วยงาน
ของรัฐเนี่ ยเราเต็นไม่ได้ เราก็ตอ้ งรับมาอยู่ตลอดเวลาคือแม้ว่าจํานวนคนจะเกินจํานวนผูด้ ูแลหรื อ
อะไรต่างๆ แต่เราก็ตอ้ งบริ หารจัดการให้ได้นะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : เป็ นคําตอบที่ดีเลยนะคะว่ามูลนิ ธิต่างๆเนี่ ยคะ มันจะมีความพร้อมนึ กภาพนะใช่ไหม
คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่คะ
ผู้ สัมภาษณ์ : เราต้องพิ จ ารณาถึ งว่า มูลนิ ธิปวี เช่ น มี ระยะเวลาแค่น้ ี แค่น้ ี แค้น้ ี เพราะงั้น เราจะ
คาดหวังว่าทุกแห่ งเท่ากัน ตรงนี้ ซึ่งความพร้อม คือคิดว่ามันมีปัญหาเรื่ องบประมาณ ก็คงจะไม่ดีไป
กว่ารัฐบาลแน่นอน เขาเป็ นเครื อข่ายให้กบั รัฐบาลไหมคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็ทาํ งานร่ วมกันคะ คืออย่างมูลนิธิปวีณาเนี่ย คือเรามองกันครงที่ว่า เอ่อ บางมูลนิธิ
เนี่ ย เขาดังอยูแ่ ล้ว ไม่ตอ้ งประชาสัมพันธฺ เขาก็ดงั เพราะว่าเขามีวิธีการในการประชาสัมพันธ์ตวั เอง
เนาะ เป็ นที่รู้จกั ของชาวบ้านอะไรอย่างเงี้ ยคะ ในส่ วนตัวเรามองว่าถ้าเป็ นช่ องทางนึ งในการให้
ความช่ วยเหลือประชาชนไม่ว่าประชาชนเดื อดร้อนและจะเข้าสู่ ช่องทางไหนก็ตาม ถ้ามันมีการ
ประสานความร่ วมมือกันเนี่ ยเราไม่มานั่งเกี่ยงกันหรอก โอ้ยอันนี้ มาจากสายนี้ เราไม่รับหรื ออะไร
อย่างเนี้ยอ่ะคะ เพราะฉะนั้นแทนนชที่จะติดต่อมาในสายของราชกาลโดยตรงหรื อของกรมโดยตรง
เนี่ ย ก็คุณก็ติดต่ อในจุ ดที่ คุณรู ้ จกั ในขณะเดี ยวกันเนี่ ย ภาคี เครื อข่ายที่ จะต้องทํางานร่ วมกันเนี่ ย
จะต้องมารั บช่ วงต่ อเพราะฉะนั้นคือถ้าเขาเอ่อทําตรงนั้นได้ แล้วเราก็ประสานความร่ วมมือกัน
137

สุ ดท้ายแล้วคนที่เดือดร้อน เข้าสู่ กระบวนการในการให้ความช่วยเหลือได้เนี่ยมันก็ไม่น่าจะใช่ปัญหา


อ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วที่นี่เกี่ยวข้องกับศูนย์ประชาบดีม้ ยั ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ เป็ นหน่ วยงานในสังกัดกรมเดียวกันคะเพราะว่าศูนย์ประชาบดีก็ข้ ึนกับกรม
พัฒนาสังคมและสวัสดิการ แต่ว่าศูนย์ประชาบดีจะไม่มีในเคสในบ้าน คือบ้านเราทําหน้าที่เป็ น คือ
ถ้าพูดในภาษาเขาเรี ยกเป็ น สถานให้บริ การ ก็คือเราจะมีผูด้ ูแลในบ้าน แต่ศูนย์ประชาบดี ก็จะทํา
หน้าที่เป็ นหน่ วยรับเรื่ องเบื้องต้น แล้วก็นอกเหนื อจากศูนย์ประชาบดี ที่เป็ นพันสานในกรุ งเทพฯ
โดยตรงเนี่ ยนะในแต่ละจังหวัดจะเป็ นพันสานที่อยู่ที่บา้ นพักเด็กและครอบครัว ซึ่ งนโยบายของ
รัฐมนตรี นโยบายของผูบ้ ริ หารก็คือ ให้พนั สานเนี่ ยทําหน้าที่เสมือนเป็ นหน่ วยงาน เซ็นเตอร์ ดว้ ย
ตัวเอง คือแทนที่จะให้ประชาชนไปแจ้งมูลนิ ธิปวีณาอย่างเดียว หรื อไป หรื อไม่รู้จะหันไปแจ้งใคร
ก็เรา ก็จะใช้สดลแกนสั้นๆ ของศูนย์ประชาบดีเนี่ ยคะก็คือ 1300 ให้จาํ ง่ายๆ อะไรต่างๆเงี้ยคะ ก็คือ
เป็ นหน่ วยรับเรื่ องเบื้องต้น เหมือนกันแล้วก็เข้าสู่ กระบวนการ ส่ วนกลุ่มเป้ าหมายนั้นก็จะเป็ นเด็ก
จะเป็ นสตรี จะเป็ นคนชรา จะเป็ นคนไร้ที่พ่ ึงหรื อจะเป็ นคนพิการต้องสู่ การดูแลของสถาบัน ก็จะเป็ น
กระบวนการในการพิจารณาตามขั้นตอนไปเพราะนอกเหนือจากบ้านเรา อย่างบ้านเราดูแลเด็ก บ้าน
ผูส้ ู ง อายุก็ ต่ า งหาก บ้า นคนพิ ก ารก็ต่ า งหาก บ้า นคนไร้ ที่ พ่ ึ ง คนเร่ ร่ อ นก็ ต่ า งหาก เพราะฉะนั้น
กลุ่มเป้ าหมายก็จะถูกส่ งไปตามที่ต่างๆ
ผู้สัมภาษณ์ : โดยที่ผา่ นศูนย์ประชาบดี?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ด้วยคะ ด้วย
ผู้สัมภาษณ์ : อีกทางนึง เอ่อมูลนิธิเอกชนนี่ตอ้ งผ่านศูนย์ประชาบดีไหม?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ไม่จาํ เป็ นคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ไม่จาํ เป็ น แต่ผา่ นเพราะว่า?
ผู้ให้ ข้อมู ลหลัก : เพราะว่า ตอนนี้ เนี่ ยเนื่ องจากบ้านพักเด็กและครอบครั วในแต่ละจังหวัดแล้ว
มูลนิ ธิที่ต้ งั อยูใ่ นจังหวัดไหนก็ตามก็สามารถประสานงานกับบ้านพักเด็กและครอบครัวได้โดยตรง
หรื อบางมูลนิ ธิก็สามารถประสานงานการรองรับได้โดยตรง เช่ น กรณี ของศูนย์พิทกั ษ์สิทธิ เด็กที่
แจ้งให้ทราบอะคะ อยูท่ ี่จรัญ จริ งๆตามกระบวนการถ้าเราเกี่ยงเขาก็ตอ้ ง เคสต้องไปเข้าบ้านพักเด็ก
กรุ ง เทพก่ อ น แต่ ส่ว นใหญ่ แ ล้ว เคสที่ เ ขาเจอ เขาก็ จ ะเป็ นเคสที่ เขาถู ก กระทํา ทารุ ณ กรรม แล้ว
ค่ อ นข้า งมี ห ลัก ฐานชัด เจนเพราะว่ า ส่ ว นใหญ่ เ ราจะได้รั บ การประสานากโรงพยาบาลนั้ น
หมายความว่าเด็กได้มีผลการตรวจร่ างกายล่ะว่าพบร่ องรอยพบความเสี่ ยงต่อการถูกกระทําแน่นอน
เพราะฉะนั้นเนี่ ยกลุ่มปั ญหาแบบนั้นเนี่ ยก็จะถูกแยกเด็ก เด็กจะถูกแยกออกจากครอบครัว เมื่อแยก
138

ออกจากครอบครัวปุ๊ บ พอประเมินแล้วมีการประสานงานกันเขาสามารถส่ งโดยตรงมาที่เราได้ ก็ไม่


จําเป็ นต้องผ่านพันสาน คะ
ผู้สัมภาษณ์ : มูลนิธิส่งได้เลย?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่คะ หรื อในบางกรณี ตาํ รวจเมื่อได้รับแจ้ง ตํารวจอาจจะประวานงานเราก็ได้ใน
กรณี ที่เด็กไม่มีครอบครัวหรื อไม่สามารถรู ้ว่าจะส่ งเด็กไปที่ไหน เราก็จะสามารถติดต่อหน่ วยงาน
กรมได้ซ่ ึ งกติดต่อพันสานได้เหมือนกันหรื อจะติดต่อสถานแบบบ้านเราโดยตรงได้ก็ได้เหมือนกัน
อย่างเงี้ยค่ะ
ผู้สัมภาษณ์ : แต่ในทางปฏิบตั ิเขาก็จะต้องผ่านศูนย์ประชาบดีต่อพันสานถ้าเป็ นในงานในของ พปม
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือ คือถามว่าจําเป็ นจะต้องผ่านมั้ย เอาเป็ นว่าคําตอบคือพันสานจะเป็ นหน่ วยรับ
เรื่ องเบื้ องต้น เพราะฉะนั้นถ้าประชาชนเดื อดร้ อน หรื อใครก็ตามที่พบเห็ นผูเ้ ดื อดร้ อน สามารถ
ติดต่อพันสานได้โดยตรงเพราะว่าโอกาสที่เราจะประชาสําพันธ์บา้ นเราว่าถ้ามีเด็กแบบนี้ ให้ส่งมา
บ้านเราเลย อย่างเงี้ยมันค่อนข้างจะยาก เพราะฉะนั้นนโยบายของผูบ้ ริ หารก็คือให้พนั สานเนี่ ยเป็ น
เซนเตอร์ คําว่าศูนย์ประชาบดีเนี่ย มันก็คือกรจายอยูท่ วั่ ประเทศ ในกรุ งเทพจะมีศูนย์ประชาบดีหลัก
โดยตรง แต่ตามต่างจังหวัดจะ เป็ นบ้านพักเด็กและครอบครัว ทําหน้าที่เป็ ศูนย์ประชาบดีของจังหวัด
นั้น ๆ ทํา หน้า ที่ เ ป็ นพัน สานของจัง หวัด นั้น ๆ เพราะฉะนั้น มัน ก็ เ หมื อ นกับ ว่ า ในสายงานศุ น ย์
ประชาบดีกบั สายของบ้านพักเด็กมันก็จะเข้าสู่ กระบวนการ ในการให้ความช่วยเหลือล่ะ อย่างกรณี
ของสถานรองรับแบบบ้านเราอย่างเงี้ยอ่ะคะ เวลาเราได้รับการประสาน เราก็ส่วนใหญ่จะได้รับการ
ประสานจากบ้านพักเด็ก บ้านพักเด็กเขาก็จะส่ งเคสมาให้เรา คะ
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะงั้นบ้านพักเด็กเนี่ยเขาก็ได้รับกับศูนย์ประชาบดี?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็ ก็ส่วนหนึ่งคะ ก็ส่วนหนึ่ง
ผู้สัมภาษณ์ : ช่วยๆกัน?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ คือเบอร์ โทร 1300 หรื อศูนย์ประชาบดีในต่างจังหวัดจะอยูใ่ นบ้านพักเด็กเลย
คะ
ผู้สัมภาษณ์ : ทัว่ หมด?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่คะ พอโทรที่กรุ งเทพมันจะติดที่ศูนย์ประชาบดีในกรุ งเทพ แต่ถา้ อยูใ่ นเขตปทุม
เวลาที่กด 1300 มันจะเข้าที่บา้ นพักเด็กและครอบครัวจังหวัดประทุม ถ้าไปอยูเ่ มืองกาญมันก็จะเข้าที่
เมืองกาญ อย่างเงี้ยคะ
ผู้สัมภาษณ์ : อยูท่ ี่วา่ เราอยูท่ ี่ไหน
139

ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่คะ เพราะฉะนั้นคือถามว่ามันจะต้องไปผ่านศูนย์ประชาบดีม้ ยั ก็ตอบอย่างงั้นก็


ได้คะว่ามันก็จะไปผ่านนัน่ แหล่ะ แต่ว่าไม่ใช่ศูนย์ประชาบดีที่เซนเตอร์ที่กรุ งเทพอย่างเดียว ต้องทํา
ความเข้าใจว่าศูนย์ประชาบดีอยูท่ ุกจุด
ผู้สัมภาษณ์ : ตามสถานที่ที่เราแจ้ง
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่คะ ทุกจุดของทัว่ ประเทศ
ผู้สัมภาษณ์ : หมายถึงว่าอะไรคะ ขอคําถามสุ ดท้ายจริ งๆ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ยินดีคะ
ผู้สัมภาษณ์ : เอ่อ มองมูลนิ ธิหรื อหน่วยงานแบบนี้ อ่ะคะในทางในฐานะที่อยูใ่ นโองการ หน่วยงาน
เหล่านี้เราจะเรี ยกว่าประสบความสําเร็ จ หรื อ เขาเรี ยกว่าได้รับการยอมรับว่าเป็ นหน่วยงานที่มีสี่ภาค
เนี่ย เราวัดตรงไหน?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ถ้าถามตัวเองนะคะ ถ้าถามตัวเองเราวัดที่ เอ่อ กลุ่มเป้ าหมายของเราเนี่ย ได้กลับคืน
สู่ สังคมหรื อไม่ คําว่ากลับคืนสู่ สังคมหรื อไม่มนั มีหลายมุมมองเช่นกลับครอบครัว ดูแลตัวเองได้
เพราะในกรณี ที่ไม่มีครอบครั ว นะคะ หรื อว่าแม้กระทัง่ ว่าได้ใช้ชีวิตในสังคมได้ อยู่ในวิถีทางที่
ถูกต้องคือไม่ไปก่อคดีไม่ไปลักขโมย อันนั้นคือมองที่ตวั เองประสบความสําเร็ จ แต่ถา้ ในมุมของคน
อื่นหรื อในมุมของการประเมินทัว่ ๆไป ซึ่ งตอนนี้ เนี่ ยกรมก็มีเรื่ องของการเอา มาตรฐานการสัดส่ วน
ทางสังคมในสถานรองรั บเนี่ ยมากําหนด จะมีเรื่ องของการบริ หารจัดการใม่ว่าจะเป็ นเรื่ องของ
งบประมาณเรื่ องสัดส่ วนผูด้ ูแลต่อเด็กหรื ออะไรต่างๆซึ่ ง ถ้ามองในเชิงของบริ หารเนี่ ยบ้านเราคือ
ประสบความสําเร็ จยากอ่ะคะ เพราะว่ามันขาดกัน เช่ นการดูแลเด็กจริ งๆเนี่ ยตามาตรฐานจะต้อง
สัด ส่ ว นผูด้ ู แ ลเด็ก 1 คนต่ อเด็ก 20 คนแต่ ปัจ จุ บนั มันก็เกิ นแล้ว อย่างเงี้ ย คื อถ้า มองในเรื่ องของ
มาตรฐานเนี่ ย บ้านเราตก แต่ในทางที่ตวั เองเป็ นผูป้ ฏิบตั ิแล้วทํางานกับเด็กโดยตรง เรามองการ
ประสบความสําเร็ จของ การทํางานของเราคือ เด็กคืนสู่ สังคมและสามารถใช้ชีวิตในสังคมปกติได้
คะ
ผู้สัมภาษณ์ : คือว่ามาจากตรงไหนก็กลับไปอยูต่ รงนั้น?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่คะ หรื อไปอยูใ่ นที่ที่ดีกว่านั้น
ผู้สัมภาษณ์ : ที่นี่อ่ะคะกลับคืนสู่ สงั คมได้ดีไหม
ผู้ให้ ข้ อมู ลหลัก : เอ่อ ที่ ผ่า นมาก็มนั มี ท้ งั สองส่ วนคะ แต่ ว่าเอ่ อ มี ท้ งั 2 ส่ วน ก็คือส่ วนหนึ่ งเด็ก
กลับคืนสู่ ครอบครัวด้วยกระบวนการของเราและก็มีบางส่ วนที่เด็กกลับคืนสู่ ครอบครัวหรื อสังคม
แต่ว่าไม่ใช่ ตามกระบวนการเช่ น มีหลบหนี ออกไปบ้างหรื ออะไรออกไปบ้าง แต่ก็ยงั ไม่เคยเห็ น
ได้รับรายงานหรื อเป็ นข่าวที่เด็กที่เคยได้อยูใ่ นความดูแลของเราออกไปก่อคดี หรื อว่าอะไรต่างๆซํ้า
140

แต่อาจจะแบบไม่ได้ใช้ชีวิตที่แบบ ปกติสุขนักก็อาจจะมีบา้ งคือลําบากนิ ดหน่อย ก็คงมี คือ ถ้าอยูก่ บั


เรา เราก็จะให้เรี ยนหนังสื อ หรื ออะไรต่างๆ
ผู้สัมภาษณ์ : คือว่าถ้าอยูค่ รบคอสนี่กจ็ ะบรรลุ แต่ถา้ ไม่ครบคอสก็ยงั ไม่เคยสร้างปัญหา?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เรายังไม่เคยได้รับเสี ยงสะท้อนกลับมาหรื อยังไม่เคยได้รับการติดต่อกลับมาว่าเอ่อ
เด็กรายนี้ถูกจับอยูต่ รงนี้เนี่ยเขาบอกว่าเขาเคยอยูต่ รงนี้มาก่อนไออย่างเนี้ยเรายังไม่เคยได้รับ
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะนั้นก็ตอ้ งรู ้เป้ าหมายของแต่ละหน่วย
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่คะ
ผู้สัมภาษณ์ : ว่าเขาทํายังไง
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : แล้วก็เป้ าหมายของแต่ละคนด้วย ตะกี้ถึงบอกว่าถ้าเป็ นเป้ าหมายของตนเอง ตัวเอง
มองแบบนี้อะไรงี้คะ
ผู้สัมภาษณ์ : ดีคะ อันนี้เป็ นการกระทําที่ดี
141

คุณนวลศรี เพ็ชรนวล
(ผู้ปกครองสถานแรกรับเด็กหญิงบ้ านธัญญพร)
ผู้สัมภาษณ์ : การเรี ยนจะส่ งให้ถึงระดับไหนคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ถ้าเด็กคนไหนเรี ยนระดับอุดมศึกษาได้เราก็สนับสนุ น ถ้าไม่ได้ก็ตามนั้นไป ถ้า
ไม่ได้กฝ็ ึ กอาชีพ
ผู้สัมภาษณ์ : คือประเด็นที่เราสนใจคือว่าในหน่ วยงานที่เนี่ ย มันเหมือนมีโรงเรี ยนที่ฝึกเลยใช่ไหม
คะ
ผู้ ใ ห้ ข้ อมู ลหลัก : โรงเรี ย นฝึ ก มี กศน อ่ ะ คะ เรี ย นในนี้ เลยคะก็จ ะถึ ง ในระดับ มัธ ยมต้น แต่ ถ ้า
บางส่ วนที่ออกไปเรี ยนข้างนอกได้ ก็คือให้เรี ยนที่โรงเรี ยนข้างนอก
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วถ้าวิชาชีพล่ะคะ มีไหม?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : วิชาชีพไม่มี จะต้องไปที่ศูนย์ฝึกอาชีพ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วรู ปแบบของความรุ ณแรงในครอบครัวที่พบมาคืออะไรแล้วเจอในลักษณะไหน
บ้าง
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ความรุ ณแรงในครอบครัว จากคนในครอบครัว จากคนที่อยูใ่ กล้ชิดจากในชุมชน
ผู้สัมภาษณ์ : เช่นคุณพ่อคุณแม่ พ่อเลี้ยง แม่เลี้ยง สามี ภรรยา...
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ที่นี่จะเป็ นเด็กนะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ตั้งแต่อายุเท่าไรคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : 6-18ปี
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะฉะนั้นก็คือการกระทําความรุ นแรงที่น้องได้รับมาอะคะก็คือ เรี ยกว่าก็จะเป็ น
การทุบตีอะไรอย่างงี้มากกว่าหรื อป่ าวคะ หรื อว่า...
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็จะมีกรณี การทําทารุ ณทางร่ างกายและจิตใจ ร่ างกายนี่ไม่มาก
ผู้สัมภาษณ์ : ร่ างกายนี่ไม่มาก แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเริ่ มมาจากจิตใจมากกว่า ในการพูดใส่ นอ้ งอะไรงี้
ใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ไม่ใช่
ผู้สัมภาษณ์ : เป็ นยังไงอะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็อีกอย่างนึงก็คือ เด็กอยูใ่ นสภาวะที่เสี่ ยงต่อการกระทําผิดกฎหมาย มี 3 ข้อ เด็กอยู่
ในสิ่ งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมการจะมาที่นี่ 3 ข้อ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วเอ่อก่อนที่นอ้ งจะมาอยูท่ ี่นี่อ่ะคะ ใครเป็ นผูร้ ับมาส่ งคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : จะเป็ นบ้านพักเด็กและครอบครัวที่จะคัดมาส่ ง
142

ผู้สัมภาษณ์ : ส่ วนใหญ่ที่นี่ก็จะเป็ นเด็กอย่างที่บอกใช่ไหมคะ ขอถามนะคะ พี่คิดว่าความเสมอภาค


ทางเพศอะคะระหว่างชายกับหญิงในปัจจุบนั เนี้ยอ่ะคะพี่คิดว่ามีความเสมอภาคกันหรื อยังคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มันดีข้ ึนกว่าแต่ก่อนนะคะแต่วา่ การเสมอภาคยังไม่พอแต่ดีข้ ึน
ผู้สัมภาษณ์ : ถ้าไม่เสมอภาคนี่คือไม่เสมอภาคทางไหนบ้างคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มันก็ดีข้ ึนเรื่ อยๆอะนะ แต่ดูจากสถิติใหม่เหมือนกันอะนะ
ผู้สัมภาษณ์ : ด้านอาชีพด้านบทบาท หรื ออะไรอย่างงี้ การยอมรับในด้านผูช้ ายจะมีมากกว่า อย่างก็
เหมือนนายกอะไรอย่างงี้ใช่ไหมคะ คือการเป็ นผูห้ ญิงก็ แสดงถึงว่าเป็ นเพศหญิงมันยังไม่เก่ง
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : แต่วา่ ดีข้ ึน
ผู้สัมภาษณ์ : แต่ยงั โดยสวัสดีภาพโดยรวมก็เสมอภาค ก็คือเหมือนว่าผูช้ ายก็ทาํ ได้ ผูห้ ญิงก็ทาํ ได้
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ผูห้ ญิงก็ทาํ งานได้ดว้ ยถ้าไม่ใช่ ตําแหน่งทหาร ตํารวจ กระแสงานหน้าทีการงานก็
มีความเสมอภาค
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะว่าการศึกษาก็ได้รับมากว้างขึ้น เรี ยกอีกอย่างนึงก็คือไม่มีขอบเขตอ่ะคะ
(ต่อ)
ผู้สัมภาษณ์ : ที่คุยมาทั้งหมดเนี่ ยนะคะมันเป็ นการให้เด็กไม่ติดใจหรื อลืมในเรื่ องของความจําใน
เรื่ องความรุ นแรงทางเพศใช่ไหมคะ? เป้ าหมายสําคัญคือยังไงคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็ไม่ใช่อ่ะคะ เป้ าหมายคือ ตามปรัชญาของสังคมสงเคราะห์เนี่ยเราก็ตอ้ งช่วยเหลือ
เพื่อให้อยูด่ ว้ ยตัวเองได้ ต่อไปตามหลักกว้างๆของสังคมสงเคราะห์
ผู้สัมภาษณ์ : การที่ได้รับความกระทบกระเทือนหรื อถูกกดขี่ทางเพศเนี่ ยมีส่วนมาจากเขาช่วยเหลือ
ตัวเองไม่ได้หรื อเปล่าคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือเขายังเป็ นเด็กอะ ตอนที่ไปรู ้
ผู้สัมภาษณ์ : ตั้งแต่ 6ขวบถึง 18ปี
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ที่ตอบมานะคะที่เข้ามาอยู่ที่นี่เพราะอะไรมีอยู่ 3 ข้อ 1ถูกทารุ ณทางด้านร่ างกาย
จิตใจ 2เสี่ ยงต่อการกระทําผิด 3มีสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เนี่ยแหล่ะคะที่ดูแลเขา
ผู้สัมภาษณ์ : คือดูแลเพื่อจะไม่ให้มนั เกิดขึ้น เด็กคนนึงจะอยูใ่ ช้ระยะเวลายาวนานเท่าไรคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ไม่เท่ากันนะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : น้อยที่สุดกี่ปีคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : น้อยที่สุดอาจจะไม่กี่เดื อนก็ได้หลังจากคดีเขาเสร็ จสิ้ น เขามีการฟ้ อง แจ้งความ
ดําเนินคดีผตู ้ อ้ งหา เมื่อคดีจบ ศาลตัดสิ นผูก้ ระทําผิดแล้ว แล้วก็ครอบครัวมีความเหมาะสมแล้วที่จะ
รับได้ ที่อยูอ่ าศัยหรื อว่าครอบครัว พร้อม เหมาะสมแล้ว ก็คืนครอบครัวได้
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะงั้นเวลามันไม่แน่นอน
143

ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ไม่แน่นอน เพราะแต่ละคนก็จะไม่แน่นอนบางคนก็สูงที่สุดที่เรามอยูก่ ็ 5 ปี ตํ่าสุ ดก็


ไม่กี่เดือน
ผู้สัมภาษณ์ : ปกติแล้วจะต้องแยกแต่ละวัยออกไหมคะ ระหว่างวัย
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : แยกตามระดับการศึกษาอ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ให้เขาอู่กนั ตามอายุตามระดับชั้นปที่เรี ยน
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ เขาก็จะต้องเข้าห้องเรี ยน หรื อเด็กที่ไปเรี ยนข้างนอกก็มีอีกกลุ่มหนึ่งที่เราส่ งไป
เรี ยนตามโรงเรี ยนสามัญ
ผู้สัมภาษณ์ : จะถามความเห็นส่ วนตัวนะคะว่า กรณี ที่มีมูลนิธิข้ ึนเป็ นภาคเอกชนเนี่ยคะ ก่อตั้งขึ้นมา
โดยมีจุดประสงค์อย่างนี้คิดว่าวัตถุประสงค์เหล่านี้ที่มี 3 ข้อนี้เขาจะทําได้ไหมคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็ดีที่หน่วยงานเราที่ทาํ ด้านนี้มีไม่มาก ถ้าเอกชนเขาสามารถทําได้ ก็ดีช่วยกัน
ผู้สัมภาษณ์ : เป็ นงานหนึ่งในการช่วยเหลือราชกาล
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : แต่ถา้ มามากๆเราก็ไม่มีความสามารถ
ผู้สัมภาษณ์ : ความพร้อมเขาก็คงจะพร้อมนะ
144

คุณภานุวฒ
ั น์ กษิดิส (นักสังคมสงเคราะห์ )
ผู้สัมภาษณ์ : สวัสดีคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : สวัสดีครับ เอ่อ งั้นผมขอเริ่ มเลยแล้วกันนะครับ ความเสมอภาคทางด้านเพศหญิง
และเพศชายเนี่ยอะครับ ถ้ามองในบทบาทของเจนเดอร์ ในมุมมองของตะวันตกก็อาจจะมองถ้าพวก
สตรี นิ ย มแนวคิ ด อะไรแบบเนี้ ยเขาอาจจะมองไปว่า ผูห้ ญิ ง สามารถทํา อะไรก็ไ ด้เ หมื อ นผูช้ าย
ประมาณนั้นโดยที่แบ อ่ามีศกั ยภาพเท่าเทียมกันแต่ลืมไปมองว่าจุดอ่อนและจุดแข็งเกี่ยวกับทางด้าน
กายภาพมันไม่เท่าเทียมกัน ก็ แต่ว่าประเทศไทยเนี่ ย ถ้าดั้งเดิมมันจะเป็ นเรื่ องลักษณะของการสอด
ประสานซึ่งกันและกันระหว่างเพศชายและเพศหญิงก็คือว่าช่วยเหลือซึ่ งกันและกันประมาณเนี้ ยอ่ะ
ครับ
ผู้สัมภาษณ์ : คือพูดเนี้ยกําลังประเมินความว่าอาจจะไม่ตอ้ งเสมอภาคก็ได้
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่แต่คนที่ปเรี ยนงานจากเมมืองนอกหรื อว่าอะไรเงี้ยอาจจะมองไปว่าอ่า บางทีเป็ น
แม่เลี้ยงเดี่ยวอะไรอย่างนี้ อ่ะครับเรามีศกั ยภาพสามารถเลี้ยงลูกตัวเองได้ประมาณเนี้ ย อันนี้ อาจจะ
เป็ นเพราะว่าโดยสังคมปั จจุบนั บังคับ และก็โดยการรับเอสาประเพณี จากต่างประเทศอะไรอย่างเงี้ย
เข้ามาประมาณเนี้ย
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะงั้นมุมมองในความาเท่าเทียมกันเนี่ ยจริ งๆแล้วมีความคิดว่ามาจากต่างประเทศ
แต่ประเทศไทยคิดว่าการเท่าเทียมกันนี้มีหรื อยัง
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มีแล้วครับ ก็เริ่ มมีมากขึ้นก็อย่างเช่น ให้เลือกตั้งอะไรประมาณเนี้ ย ผูช้ ายผูห้ ญิงก็
สามารถเลือกตั้งได้สามารถมีสิทธิ ในการเลือก สส อะไรประมาณเนี้ ย ก็คือเราเห็นอยู่ในปั จจุบนั
แล้วก็ผูด้ าํ รงแหน่ งสู งๆสมัยนี้ ก็มาจากผูห้ ญิง จะเห็ นได้จากปั จจุบนั ก็คือนายกรัฐมนตรี และเห็ น
เด่นชัดเลยก็กระทรวง กม.นะครับ อาจจะให้เกี่ยวกับบทบาทสตรี เข้ามาดํารงตําแหน่งสู งๆ แต่อาจ
ยังจะมีบา้ งในส่ วนของกระทรวงกลาโหม หรื อว่าอะไรประมาณเนี้ย เพราะว่ามันเป็ นกระทรวงที่เขา
เรี ยกว่าทหารก็ตอ้ งใช้ เขาเรี ยกว่าเขาจะมีกลุ่มอํานาจของเขา อันนั้นซึ่ งจะแยกออกไปให้เหมือนกับ
เกี่ยวกับบริ บททางด้านสังคมซึ่ งผูห้ ญิงเนี่ ยจะละเอียดอ่อนแล้วสามารถจะดูแลได้ทวั่ ถึงและละเอียด
มากกว่าผูช้ าย เพราะงั้นเลยทําให้มนั สามารถก้าวขึ้นมาระดับสู งแต่ผมว่ามันก็เสมอกันแต่ไม่ใช่ใน
ทุกๆตําแหน่ง เพราะว่ามันมีความเฉพาะของแต่ละเพศหรื อ เพราะว่าถ้าขึ้นมาทุกตําแหน่งได้มนั ก็ไม่
เกิดความแตกต่างขึ้นในสังคมประมาณนี้อ่ะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : ในความเห็นส่ วนตัวนะคะคิดว่าเพศชายเนี่ ยพร้อมหรื อยังที่จะส่ งเสริ มความเท่าเทียม
กัน
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : พร้อมนะครับ จะไม่ใช่แค่ผหู ้ ญิง เพศชาย อาจจะเป็ นเพศที่สาม เพศที่สามหน่ะที่มี
ก็อาจจะแบ่งออกไปหลายๆประเภท ซึ่ งมันมีความหลากหลายในสังคม เพราะฉะนั้นการแสดงออก
145

ถึงว่าในการที่สนับสนุนความเสมอภาคหรื อว่ามีส่วนที่สาํ คัญ กฎหมายเกี่ยวกับการเจริ ญพันธุ์ตอนนี้


เขาก็กาํ ลังผลักดันให้มากขึ้นเกี่ยวกับสิ ทธิต่างๆเนี่ ยครับเกี่ยวกับทางด้านเพศก็คือว่าถ้ากฎหมายตรง
เนี้ ยออกมาผมเชื่อว่าเราจะสามารถใช้ชีวิตได้อย่างอิสระมากขึ้นสําหรับคนในเพศต่างๆที่อยูร่ วมกัน
ในสังคมอ่ะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : การเท่าเทียมกันนี้การเท่าเทียมกันทุกกรณี หรื อเปล่าคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อาจจะไม่ทุกกรณี อาจจะเท่าเทียมกันในเรื่ องของตําแหน่ งเท่าเทียมกันแต่บางที
บททบาทในที่น้ ี อาจจะไม่เท่าเทียมกันนะครั บ ก็คือว่าตําแหน่ งอาจจะเสมอกันแต่บทบาทอาจจะ
แตกต่างกันเพราะว่าคนนี้ อาจจะเก่งทางดานการบริ หาร บางทีเราจจะไม่เก่งในทุกรอบด้านก็อาจจะ
ต้องแบ่งไปอะไรประมาณนี้อ่ะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : และให้ยกตัวอย่างชัดๆนิดนึงนะคะว่า ในส่ วนของความไม่เท่าเทียมกันที่คนต้องศึกษา
ไว้หรื อควรต้องมีมนั คือส่ วนไหนคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ในส่ วนของความรู ้ความสามารถมากกว่าผมว่า ถ้าเราอยูใ่ นครอบครัวหรื อว่าอะไร
อย่างเงี้ย ใช้ชีวิตคนเดียวเราอาจจะใช้ได้แต่เมื่อเราทํางานแล้วอ่ะ อย่างบ้านพักเด็กและครอบครัว
จะต้อ งทํา งานเป็ นสหวิ ช าชี พ เพราะว่ า เราไม่ มี อ งค์ค วามรู ้ ทุ ก ด้า นอย่า งเช่ น ผมเป็ นนัก สั ง คม
สงเคราะห์ผมก็อาจจะต้องใช้ อย่างเช่นแพทย์ประมาณเนี้ ยอ่ะครับ อัยการหรื อว่าตํารวจอะไรอย่าง
เงี้ยอ่ะครับในการที่จะคอยทํางานร่ วมกันกับเราแต่ว่าในเรื่ องของเพศ อย่างเช่นแพทย์ อาจจะมีเพศ
หญิงเพศชาย นักสังคมจะเป็ นเพศหญิงเพศชาย ก็ได้ อันนี้ ก็คือเท่าเทียมกันแต่ว่ามันอาจจะแตกต่าง
ทางด้านเขาเรี ยกกายภาพของแต่ละคนอาจจะไม่เสมอกันอย่างเช่น ไอคิวอาจจะไม่เหมือนกันหรื อว่า
วุฒิภาวะของแต่ละคนอ่ะครับ แรงงานก็อาจไม่เท่ากัน ต้วยจํากัดของด้านกายภาพ
ผู้สัมภาษณ์ : ที น้ ี ถา้ หนู พูดถึ งประเด็นในนี้ ตอนนี้ เอ่ อเท่าที่ มีมูลนิ ธิเกิ ดขึ้นระยะหนึ่ งเนี่ ยนะคะ
อย่างเช่นในเรื่ องของการรักษาความเสมอภาคคุม้ ครองสตรี เด็กไรงี้นะคะ โดยที่เหล่านี้ นะคะคิดว่า
เขามีบทบาทหน้าที่ในการที่จะช่วยทําให้เกิดความเสมอภาคได้ยงั ไงคะ
ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล หลั ก : อย่ า งผมอ่ ะ ผมเป็ นองค์ก รของภาครั ฐ นะครั บ อาจจะเข้า ไปดู แ ลไม่ ท ั่ว ถึ ง
เพราะฉะนั้นเราก็ตอ้ งอาศัยองค์กรเอกชนเพราะว่าเขาจะเป็ นเจ้าของพื้นที่ เพราะว่าเขาจะทํางานมีงบ
สนับสนุนเพื่อทํางานเฉพาะในพื้นที่น้ นั ก็คือเราก็จะต้องประสานกับเขา และก็สร้างความสนิทสนม
เพื่อว่าเวลาเกิดเรื่ องหรื อว่าเกี่ยวกับอย่างเช่นความรุ ณแรงในครอบครัว หรื อว่าเกี่ยวกับเรื่ องของสตรี
อะไรประมาณเนี้ ยอะครับแล้วก็จะประสานองค์กงเอกชนเหล่านั้นแหล่ะ ลงไปก่อนเพื่อไปดสภาพ
ปั ญ หาแล้ว ก็ ไ ป อย่า งเช่ น ต้อ งมี เ งิ น มาที่ จ ะสนับ สนุ น เขาได้เ นี่ ย เราก็ ใ ห้ง บสนับ สนุ น เขาเพื่ อ
สนับสนุ นเกี่ยวกับความเสมอภาคหรื อเกี่ยวกับบทบาทสตรี ถา้ มันมีงบตัวนี้ มานะ สว่นยมากจะเป็ น
เกี่ยวกับความรุ ณแรงในครอบครัวที่เรารับผิดชอบอยูแ่ บบเนี้ยอ่ะครับ
146

ผู้สัมภาษณ์ : สังคมไทยเนี่ ย ปั ญหาที่เกิดขึ้นกับความไม่เสมอภาคหรื อความรุ ณแรงในครอบครัวนี้


มักจะเป็ นในเรื่ องของรู ปแบบใดคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ในรู ปของการทําร้ายร่ างกานอ่ะ 1 สามีมีเมียน้อยมีภรรยาน้อยอะไรอย่างงี้ ก็ทาํ ให้
อาจทําร้ายจิตใจก่อน และตอนแรกนะครับผูห้ ญิงก็ยงั ก็คือว่าทนไม่ไหว ผูห้ ญิงอาจจะเป็ นฝ่ ายเลิก
แต่บางทีเราอาจจะมองไปว่า ผูห้ ญิงเป็ นฝ่ ายทําร้ายผูช้ ายก่อน แต่หารู ้ไหมว่าผูห้ ญิงอ่ะถูกกระทํา
ความรุ ณแรงทางด้าจิตใจก่อนจากผูช้ ายอะไรอย่างเงี้ย ก็เลยทําให้เกิดความรุ ณแรงขึ้นแระมาณนั้น
ครับ
ผู้สัมภาษณ์ : ความรุ ณแรงที่เกิดขึ้นนี่ส่วนใหญ่กจ็ ะเป็ นเรื่ องสามีมีเมียน้อย?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : แล้วก็อาจจะเป็ นถ้าเป็ นในเรื่ องครอบครัวก็อาจจะเป็ นประมาณนี้ ถ้าเป็ นเรื่ องเด็กก็
จะเป็ นพ่อเลี้ยงส่ วนมากที่พ่อเลี้ยงกระทํากับลูกเลี้ยงนะครับ โดยส่ วนมากที่เราทํางานเราก็จะเป็ น
พ่อเลี้ยงมากกว่าพ่อแท้ๆ เพราะว่าพ่อเลี้ยงส่ วนมาก ผูใ้ หญ่ก็มีบา้ งเหมือนกันว่าจะแค่ทาํ อนาจารแต่
ไม่ถึงกระทําความรุ ณแรงทางเพศ แต่ถา้ พ่อเลี้ยงจะทางเพศเลยจะไม่อนาจาร
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วผูห้ ญิงที่เป็ นโสเภณี หรื อขายบริ การเนี่ ยอ่ะคะอันนี้ มีผลกับการใช้ความรุ ณแรง
ความไม่เสมอภาคไหมคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ที่วา่ ผูห้ ญิงที่ไปค้าปเวณี วา่ มีผลอาจจะมีสาเหตุจากความใช้ความรุ ณแรงมั้ย ผมว่ามี
สาเหตุจากครอบครัวแตกแยก สําหรับผูใ้ ช้บริ การในบ้านเรานะครับ ส่ วนมากที่เข้ามา ที่ขายบริ การ
หรื อเป็ นเด็กส่ งยาหรื อว่าอะไรทั้งผูห้ ญิงผูช้ ายอาจจะมีสาเหตุจาก 1 ครอบครัวแตกแยก สาเหตุที่ 2 ก็
คือว่าอยากได้วตั ถุนิยม ประมาณนั้น 3 ที่สาํ คัญเลยก็คือว่าสภาพแวดล้อมก็คือถ้าเพื่อนชวนเพื่อนอยู่
ในกลุ่ม ยังไงแล้วก็ดว้ ยที่ผมกล่าวมาก็สามารถให้ไปขายบริ การได้
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะงั้นผลจากการใช้ความรุ ณแรงนั้นในกรณี น้ ี จดั เป็ นระดับรองๆนะคะ ไม่ได้อยู่
ระดับต้นๆ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ ในหน่วยงานของผมอ่ะความรุ ณแรงจะอยูอ่ นั ดับรอง
ผู้สัมภาษณ์ : ส่ วนใหญ่จะเป็ นเพราะเด็กมัครใจ? แต่ถา้ ใช้ความรุ ณแรงนี่ คือไม่ใช่เป็ นประเด็นหลัก
การที่เกิดโสเภณี เนี่ย
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : การที่เกิดโสเภณี ของผม ครอบครัวแตกแยกจะอยูใ่ นประเด็นแรก เด็กที่เข้ามาใน
บ้านเวลาสอบข้อเท็จจริ งแล้ว 1 ครอบครัวจะไม่สมบูรณ์เหมือนเด็กทัว่ ไป
ผู้สัมภาษณ์ : แต่ไม่ได้หมายถึงการใช้ความรุ ณแรง?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ไม่ได้หมายถึงความรุ ณแรง
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะงั้นความรุ ณแรงนั้นก็ไม่ใช่ประเด็นหลักในการนําไปสู่การเป็ นโสเภณี
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ครับ
147

ผู้สัมภาษณ์ : ที่มีมูลนิ ธิต่างๆไม่ว่าจะเป็ นของรัฐอย่างที่เนี่ ยถือเป็ นของรัฐใช่ไหมคะ มูลนิ ธิปวีณา


เหล่านี้ เป็ นของเอกชน มูลนิ ธิเหล่านี้ นะคะจะช่วยบรรเทา ช่วยลดความรุ นแรง หรื อช่วยสร้างความ
เท่าเทียมกันได้มากน้อยแค่ไหน?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ผมว่าสร้างได้มากเลยครับ อย่างหน่ วยงานของผมเป็ นหน่ วยงานราชการก็คือรับ
ภาระกิจโดยทํางานภายใต้ พรบ. คุม้ ครองผูถ้ ูกกระทําความรุ นแรง พรบ.คุม้ ครองเด็ก และก็ พรบ.ค้า
ค้ามนุ ษย์ ก็คือว่าจะทําด้านนี้ โดยตรงและก็จะมีส่วนในเรื่ องของงบประมาณมาช่วยกับรณรงค์ใน
โรงเรี ยนต่างๆ มีวิทยากรมาอบรมให้รู้เท่าทันเกี่ยวกับความรุ ณแรงในครอบครัวและก็เกี่ยวกับการ
ตั้งครรภ์ไม่พร้อม ภายใน 3 พรบ.เนี้ย แล้วก็เกี่ยวกับให้มีความเป็ นตัวของตัวเองไม่ตามเพื่อน
ผู้สัมภาษณ์ : กิจจกรรมหลักๆอ่ะนะคะที่เห็นชัดๆในเรื่ องของการเป็ นภาระกิจหลักๆของหน่วยงาน
ที่นี่เป็ นยังไงคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มีก็คือภาระกิจในการแก้ไขก็คือว่า อย่างเช่นเคสสื่ อมีเคสเร่ งด่วนที่เข้ามาเกี่ยวกับ
โทรรายงานเข้ามาทางด้านพันสาร ทางด้านโทรศัพท์ก่อนก็จะเป็ นศูนย์ประชาบดี หรื อ FTC นะครับ
ให้ความช่วยเหลือในกรณี เร่ งด่วนเราก็จะประสานตํารวจ หรื อ อบต หรื อ ผูน้ าํ ชุมชนที่เกี่ยวข้องลง
ไปดู ปัญหาก่ อนว่า อย่างเช่ น ความรุ ณ แรงในครอบครั ว เนี่ ย เกิ ด ขึ้น แล้วก็ประสาน อบต แล้ว ก็
ผูใ้ หญ่บา้ นลงไปดูให้ก่อนไปเคลียร์ปัญหาให้ก่อนว่าสามารถ แก้ปัญหาได้ไหม ถ้าไม่ได้ก็คือว่าโทร
มาประสานทางเราอีกทีทางเราก็จะจัดทีมสหวิชาชีพร่ วมกันก็คือบ้านพักเด็ก พัฒนาสังคมและความ
มัน่ คงของมนุษย์จงั หวัดแล้วก็อาจจะประสานตํารวจ ร่ วมกันครับ
ผู้สัมภาษณ์ : ที่เรารู ้วา่ บ้านไหนมีความรุ นแรงเนี่ยมักจะมีคนแจ้งมา
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ มักจะมีคนแจ้งมาอย่างเช่น ผูน้ าํ ชุมชนแจ้ง เพราะเรามีโครงการป้ องกัน ก็คือ
อบรมอาสาสมัครศูนย์ประชาบดีทุกปี ปี แรกก็จะเป็ น อบต. เราอาจจะเลือกแค่เขต อบต.สักจํานวน
หนึ่งก่อนและก็ครั้งที่ 2 ก็จะเป็ น อบต.เหมือนกันหน่ะครับ ก็คือพยายามอบรมเครื อข่ายภาคท้องถิ่น
และก็ผนู ้ าํ ชุ มชนในการเป็ นอาสาสมัครศูนย์ประชาบดี เพื่อคอยระวังเหตุทางสังคมให้แก่เราอีกที
หนึ่ ง และก็คอยรายงานให้เราทราบ คอยแจ้งกระแส คอยเป็ นหู ้เป็ นตาให้ เราก็จะมี อพม. อาสา
พัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์อยูแ่ ล้ว ในส่ วนนั้นเราก็จะประสานด้วย แต่ว่า อพม.เนี่ยคอย
เป็ นหน่วยประสานหลักกับอาสาสมัครในการติดต่อประสานงาน
ผู้สัมภาษณ์ : อันนี้คือการแก้ไข?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อันนี้คือการแก้ ไอส่ วนของอาสาสมัครเนี่ยคือการป้ องกันครับในการแก้ไขก็คือเรา
จะให้เครื อข่ายเหล่านี้ ที่ได้อบรมไปแล้วในการป้ องกันเนี่ ยก็ให้เป็ นส่ วนในเรื่ องของการช่ วยเฝ้ า
ระวังปั ญหาทางสังคมให้เราในระดับพื้นที่แล้วคอยประสานถ้าเกิดเหตุอะไรเราก็จะลงไป จัดทีมสห
วิชาชีพประสานก่อนเป็ นอันดับแรกเพื่อให้ชุมชนเขาจัดการปั ญหาของเขาก่อน ถ้าชุมชนจะจัดการ
148

ไม่ได้ ทางเราก็จะจัดทีมสหวิชาชีพลงไปพร้อมกับผูน้ าํ ชุมชนไปดูแลในเรื่ องปั ญหาในความรุ ณแรง


ในตรงนั้นอ่ะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : ความรุ นแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัวเนี่ ยอ่ะคะ เอ่ออย่างคนอกบ้านเนี่ ยเข้าไปแก้ไขเนี่ ย
เขาทําได้หรอ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : บางทีเนี่ ยชาวบ้านเขาก็ไม่รู้หรอกว่ามี พรบ คุม้ ครองผูถ้ ูกกระทําความรุ ณแรงใน
ครอบครัวตอนแรกเราอาจจะ ถ้าเราลงไปในเนี้ ยครับ ผูใ้ หญ่บา้ น เขาอาจจะเกรงใจผูใ้ หญ่บา้ นหรื อ
อบต.ที่ลงไป บางทีอบต หรื อว่าผูใ้ หญ่บา้ นเขาอาจไม่รู้หรอกว่ามีพรบ.ตรงนี้ มาแล้ว ทางเราก็เวลา
ประสานเราก็จะชี้แจงว่ามันมี พรบตรงนี้ ลงมาแล้ว แต่ถา้ เราลงไปเราจะจัดทีมลงไปและก้เอา พรบ.
ไปด้วยเลย และก็เอาพนักงานที่อบรมเกี่ยวกับผูถ้ ูกกระทําความรุ ณแรงในครอบครัวในการดูแลตรง
นี้โดยเฉพาะตาม พรบ.
ผู้ สั ม ภาษณ์ : เพราะงั้น บทบาทภาระกิ จ ในระหว่ า งหน่ ว ยงานรั ฐ กับ ของหน่ ว ยงานเอกชนก็
ประสานกัน?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ได้ แต่ว่าหน่ วยงานของเอกชนบางทีอาจจะไม่ได่จบั ในเรื่ องของ กฎหมาย อาจจะ
ต้องประสานหน่ วยงานภาครัฐในเรื่ องของเจ้าหน้าที่อีกเพราะว่า ทางภาครัฐมีเจ้าหน้าที่ที่เรี ยกว่า
พนักงานคุม้ ครองผูก้ ระทําความรุ ณแรงในครอบครัวเนี่ยเข้าไปจัดการปัญหาโดยเฉพาะ
ผู้สัมภาษณ์ : ตามกฎหมายเลย
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ตามกฎหมาย
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะงั้นทางหน่วยงานเอกชนก็อาจจะเป็ นตัวเป็ นผูแ้ ทนหรื อเป็ นคนคอยสอดส่ องและ
ก็แจ้งอี กที เอ่ อ ประเภทของความรุ นแรงในครอบครั วนะคะ เห็ นพูดกันมากเลยว่าการใช้ความ
รุ นแรงในครอบครัวเนี่ ยอันนี้ คือการทุบตี ทําร้ ายร่ างกายใช่ ไหม อันนี้ คือประเด็นหลักใช่ไหมคะ
นอกจากตรงนี้แล้วยังมีหน้าที่แสดงให้เห็นถึงความรุ นแรงในครอบครัวได้
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ผมว่าสาเหตุการทุบตีกนั การมีปากเสี ยงกันมันก็คือมันเป็ นผลที่เกิดขึ้นมาแล้วแต่
เหตุจริ งๆอาจจะมีกรณี อย่างเช่น สามีมีเมียน้อย ภรรยานอกใจ หรื อว่ารายได้ไม่เพียงพอก็เลยทําให้
เกิดความรุ นแรงในครอบครัว หรื ออาจจะท้องไม่พร้อมในครอบครัวที่ไม่พร้อม อาจจะเกิดการหย่า
ร้างได้เพราะว่า ความไม่พร้อมของครอบครัวที่อาจจะเกิดจากการท้องหน่ะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วในแต่ละปี ที่ลงไปแก้ไขหรื อไปป้ องกันนะคะได้ผลกี่เปอร์เซ็นคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ส่ วนมากก็อย่างเช่นถ้าวัดโดยศูนย์ประชาบดีนะครับ 2 ปี แล้วที่มีการโปรโมทศูนย์
ประชาบดีข้ ึนมาจะเห็นได้ชดั ว่าปี แรกผุร้ ับบริ การจะเยอะมากเลยทั้งในบ้านพัก และทั้งโทรเข้ามาใน
พันสารทางด้านศูนย์ประชาบดีในการลงไปจัดการกับปั ญหา พอปี 2 เหมือนเริ่ มค่อยๆดีข้ ึน แญหา
เริ่ มค่อยๆลดลง อย่างพอย่างเข้าปี ที่ 3 ปี นี้หน่ะครับเราสามารถจัดการกับปั ญหาได้อย่างทันท่วงทีข้ ึน
149

โดยได้รับความร่ วมมือจากหน่ วยงานภาคท้องถิ่นและเอกชนครับ จะเห็นได้ว่าผูห้ ญิงที่ถูกกระทํา


ความรุ ณแรงอ่ะปกติจะไม่ค่อยขาด หรื อท้องไม่พร้อมจะไม่ค่อยขาด ตอเนี้ ยแทบจะไม่มีเลยโดยให้
ชุมชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการดุแลปั ญหา
ผู้สัมภาษณ์ : เขาเข้าใจปั ญหามากขึ้น เข้าใจปัญหาทั้งผูช้ ายผูห้ ญิง?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ครับในเรื่ องของเมื่อเราจัดการกับปัญหาได้มากขึ้น
ผู้สัมภาษณ์ : ศูนย์ประชาบดีนี่คืออะไรอ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เป็ นหน่วยในการรับเรื่ ราวร้องทุกข์ผา่ นทางโทรศัพท์ 24 ชม.อ่ะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : ศูนย์น้ ีเป็ นของที่นี่?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เป็ นของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ผู้สัมภาษณ์ : ทัว่ ประเทศนี่มีศูนย์ประชาบดี?
ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล หลั ก : ในจัง หวัด ทุ ก จัง หวัด จะต้อ งมี ศู น ย์ เริ่ ม แรกวัต ถุ ป ระสงค์ใ นการจัด ตั้ง ศู น ย์
ประชาบดีเริ่ มแรกอยูท่ ี่กรุ งเทพที่เดียวแล้วก็ขยายมาจังหวัดต่างๆเพื่อให้มีเจ้าหน้าที่เฉพาะในการใช้
ภาษาเฉพาะพื้น ที่ เพราะว่ า เราจะคํานึ ง ถึ ง ผูร้ ั บบริ ก าร ผูใ้ ช้บริ ก ารด้ว ยเกี่ ย วกับในการเข้าสู่ ที่ นี่
อย่างเช่ น ถ้า ผูใ้ ห้บริ การทางด้านโทรศัพท์นะครั บใช้ภาษาเดี ย วกับผูใ้ ช้บริ การก็จ ะทําให้ความ
ไว้วางใจและก็ในการพูดเรื่ องราวเกี่ยวกับปัญหานั้นหน่ะสามารถกล้าพูดและกล้าระบายเรื่ องที่อยาก
ให้ศูนย์ประชาบดีเข้าไปจัดการปั ญหาตรงนั้น
ผู้สัมภาษณ์ : ศูนย์น้ ีเป็ นหน่วยงานราชกาล
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ ก็คือว่าเป็ นหน่วยที่อยูใ่ นบ้านพักเด็กและครอบครัวทุกจังหวัดครับ
ผู้สัมภาษณ์ : ถ้างั้นแสดงว่ามูลนิธิที่เป็ นเอกชนก็จะไม่เกี่ยวข้องกับศูนย์ประชาบดี?
ผู้ ให้ ข้ อมู ล หลัก : อ่ า ใช่ แ ต่ เ ราจะประสานกัน เป็ นหน่ ว ยประสานศูน ย์ประชาบดี เนี่ ย เป็ นหน่ ว ย
ประสาน
ผู้สัมภาษณ์ : ทํางานร่ วมกัน
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ แล้วก็ในกรณี ที่เกิดความรุ ณแรงในครอบครัว เด็กถูกทอดทิ้ง หรื อว่าเคสสื่ อ ก็
คือมีการเฝ้ าระวังสื่ อทางโทรทัศน์ทุกเช้าเราก็จะเปิ ดข่าวฟัง อย่างเช่น ผมดูแลในจ.อยุธยาเราก็จะดูว่า
เช้าเนี้ยจะมีข่าวของจ.อยุทธยามั้ยเกี่ยวกับเด็ก เกี่ยวกับความรุ ณแรงในครอบครัว
ผู้สัมภาษณ์ : ถ้ามีข้ ึนมาเราก็เตรี ยมการเลย
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ประสานกับสหวิชาชีพ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วอย่างงี้หน่ วยงานเอกชนที่ทาํ หน้าที่แบบเนี้ ยก็จะมีหน่ วยงานไม่เท่าเทียมกับทาง
ราชกาลใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ส่ วมมากไม่เท่าเทียม
150

ผู้สัมภาษณ์ : เหมือนกับว่าหน่วยงานมีไม่พร้อมกว่า?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : นัน่ อาจจะเป็ นอย่างนั้น
ผู้สัมภาษณ์ : งั้นการทําหน้าที่เขาอาจจะไม่สมบูรณ์หว่า
ผู้ให้ ข้อมู ลหลัก : ใช่ อาจจะเป็ นหน่ วยประสานในเบื้ องต้นลงร่ วมกัน แล้วก็มีทรั พยากรอะไรที่
สามารถจะช่วยเหลือเคสนั้นได้ อย่างเช่นปั จจัย 4 หรื อว่าสามารถติดตามให้เราได้อย่างต่อเนื่ องแล้ว
ก็เขาจัด การในเรื่ องของการติ ด ตามประมวลผลอี ก ที นึงเพราะว่า อย่างเช่ นบ้านพัก เด็กอ่ ะ มี กัน
อยูป้ ระมาณ 11 คนปั ญหาทั้งจังหวัดเราไม่สามารถ ถ้าเราไม่ได้เครื อข่ายในการช่วยระวังและติดตาม
ให้ มันก็จะทํางานให้งานล่าช้าและก็ไม่ประสบความสําเร็ จในการช่วยเหลือ
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะงั้นเขาก็ไม่สามารถจะเป็ นเจ้าหน้าที่ตาม พรบ. คุม้ ครองได้ใช่ไหมคะ เพราะงั้น
เขาต้องพึ่งหน่วยงานทางภาครัฐ ศูนย์ประชาบดีนี่เขาก็จะสามารถประสานได้ แต่เขาก็ไม่สามารถทํา
หน้าที่เป็ นศูนย์ประชาบดีประจําจังหวัดได้?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ เป็ นอาสาสมัครเงี้ยได้
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วในเรื่ องของสิ ทธิ สตรี เนี่ ยคะ ถ้าจะคิดว่ามีการให้สิทธิ สตรี มากขึ้นนะคะ เมื่อมา
เทียบกับชายนะคะ วันนี้สิทธิสตรี ได้มากขึ้นบ้างหรื อยังขาดตรงไหนไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : สิ ทธิ สตรี สาํ หรับชายหญิงผมว่าเท่าเทียมกัน ณ ตอนนี้ เท่าเทียมกัน เพราะว่ามีท้ งั
กฎหมายหรื อว่าอนุสญ ั ญาที่ออกมาเราก็ร้องกันมาเรื่ อยๆ มาสร้างเป็ นนโยบาย และก็ลงมาจนกระทัง่
เป็ น ผมว่าในรุ่ นผมเนี่ยมันก็ซึมเข้าไปในระบบคิดแล้ว เพราะว่าเดี๋ยวนี้ผหู ้ ญิงก็เก่งกว่าผูช้ ายแล้ว
ผู้สัมภาษณ์ : คือในเรื่ องของแนวคิด ในเรื่ องของในทางให้สิทธิเนี่ยคิดว่าเท่าเทียมแล้ว?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ผมว่าถ้ามองเผินๆมันก็เท่าเทียมกันแต่ผมว่ามันก็ยงั มีบา้ งถ้าเรามองในเรื่ องของ
รายละเอียดในเรื่ องของอคติเล็กๆน้อยๆ แต่โดยส่ วนใหญ่เท่าเทียมกัน
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะงั้นก็ไม่น่าเป็ นห่วง ในเรื่ องที่เรี ยกร้องในความเสมอภาคทางเพศ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : แต่วา่ ส่ วนที่สาํ คัญก็คือการให้เกียรติกนั มากกว่าการสอดประสานซึ่งกันและกันผม
ว่าถ้าไม่มีในจุดตรงเนี้ ย ไม่ว่าจะเป็ นการทํางานการใช้ชีวิตร่ วมกันหรื อในเรื่ องความสัมพันระหว่าง
เพื่อนหรื อระหว่างประมาณเนี้ยครับ มันก็อาจจะไปไม่รอด
ผู้สัมภาษณ์ : บทบาทของนักสังคมสงเคาะห์ที่คุณภานุ วฒั น์ที่ทาํ หน้าที่อยู่เนี่ ยคะ จากที่ฟังมาแล้ว
ทั้งหมดเนี่ยคือบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ ครบถ้วนแล้ว
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ครับ อ๋ อจะมีในเรื่ องของการฟื้ นฟู ป้ องกันแก้ไขไปแล้วก็ในเรื่ อยของการฟื้ นฟูจะมี
การคัดกรองครับอย่างเช่นผูใ้ ช้บริ การจากการประเมินทางด้านจิตวิทยาแล้วก็สอบประวัติ ก็คือว่า
เวลาเราได้ขอ้ มูลจากตรงนี้ มาเราก็จะเอามาอย่างเช่นผูช้ ายผูห้ ญิงเนี่ ยแต่ละคนเนี่ ยถ้าจะเอาในเรื่ อง
ของ เจนเดอร์ มาจับปั ญหาของแต่ละคนมันก็จะแตกต่างกันอย่างเช่นปั ญเข้ามา เด็กพฤติกรรมไม่
151

เหมาะสม ปัญหาเด็กผูห้ ญิง พฤติกรรมเด็กผูช้ าย พฤติกรรมไม่เหมาะสมปั ญหาก็จะแตกต่างกัน บาง


ปัญหาอาจจะเกิดจากครอบครัวแตกแยก บางปั ญหาอาจเกิดจากตัวผูร้ ับเอง
ผู้สัมภาษณ์ : ประเด็นหลักๆเลยนะคะในการส่ งเสริ มสิ ทธิ สตรี หรื อความเสมอภาคเนี่ ยคะ ของที่เนี่ย
เน้นอะไรมัง่
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อย่างเช่น ผุข้ าย ผูห้ ญิง อันนี้ ตอ้ งแยกเลยครับอย่างเช่นเกี่ยวกับตอนแรกเนี่ ยครับ
บ้านพักเด็กและครอบครัวจะมีหอ้ งบริ การทั้งผูช้ ายและผูห้ ญิง และก็แยกให้อยูด่ ว้ ยกัน แต่ถา้ อันนั้น
อาจจะไม่เท่าเทียมกันนะครับก็คือเป็ นการแยก ในส่ วนของเรื่ องความเท่าเทียมการช่วยเหลือก็จะมี 1
ให้ผรู ้ ับบริ การมีส่วนในเรื่ องของการจัดกับข้าวอะไรอย่างเงี้ยร่ วมกัน ทําความสะอาดร่ วมกัน แล้วก็
เวลาทํา กิ จ กรรมอย่างเช่ นนันทนาการ เราก็ทาํ ร่ วมกัน แล้วก็มีก ารให้เด็กทั้งผูช้ ายผูห้ ญิ งเนี่ ย ได้
แสดงออกถึงความคิด และก็ถึงความต้องการของเขา และก็ในการเข้ารับบริ การที่บา้ นพักเด็กและ
ครอบครัวจ.พระนครศรี อยุทธยาก็คือว่าเราก็มีกฎเหมือนกันในการเข้ามาเราก็จะปฐมนิ เทศก่อน มี
กฎเหมื อ นกัน อย่า งเช่ น การลงโทษ กฎเราก็ จ ะใช้เ หมื อ นกัน บทลงโทษเราก็ จ ะใช้เ หมื อ นกัน
อย่า งเช่ น ครั้ งแรกว่ า กล่ า วตัก เตื อ น ครั้ งที่ 2 ก็ อ าจจะทํา งานบ้า นลงโทษ ครั้ งที่ 3ก็ จ ะเป็ นหั ก
สวัสดิการ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วหลักพวกศาสนาที่ต่างกันนี่ เช่นอสลามหน่ ะคะเขาจะให้เกียรติให้เครดิตผูช้ ายอยู่
แล้วใช่ไหมคะ ผูห้ ญิงค่อนข้างจะถูกกดขี่เพราะงั้นเรื่ องศาสนาเนี่ยในประเทศไทยเนี่ยคะมีปัญหามั้ย
คะในเรื่ องของการดําเนิ นการเกี่ยวกับความเสมอภาคและสิ ทธิ สตรี เพราะอย่างศาสนาอิสลามใน
นิยามเนี่ยมีม้ ยั อิสลาม
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มีเยอะมากเลยครับอิสลาม
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วปั ญหาเกี่ยวกับเรื่ องของความรุ ณแรงในครอบครัวมีม้ ยั ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ความรุ ณแรงในครอบครัวมีครับ แต่ส่วนมากจะเป็ นพุทธมากกว่า อิสลามเนี่ ยเขา
จะสามารถจัดการปัญหาของเขาได้และก็บางทีถา้ เกิดปั ญหาขึ้นจริ งอ่ะ ศาสนาอิสลามจะเป็ นอะไรที่
เราเข้าถึงลําบากถ้าเราไม่ประสานชุมชนก่อน
ผู้สัมภาษณ์ : อย่างนี้ หมายความว่าถ้าศาสนาเขาโอเคอยูแ่ ล้ว แล้วเขาก็ยินยอนที่จะไม่เสมอภาค จะ
เป็ นเรื่ องไม่ก่อความไม่สงบ ไม่เดือดร้อนอยูแ่ ล้ว
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็คือว่าเป็ นเรื่ องของเขาอ่ะครับแต่จากประสบการทํางานที่ผมทํางานประสานกับ
มุสลิมผูน้ าํ ชุมชนที่เป็ นมุสลิมหรื อว่าอะไรพวกเนี้ ยอ่ะครับเขาจะให้ความร่ วมมือดีแล้วก็ให้เกียรติ
เรามากก่าคนไทยกันเองด้วยซํ้า บ้านพักเด็กก็ให้บริ การที่เป็ นอิสลามก็เยอะนะครั บ แต่ว่าเมื่อเข้า
มาแล้วอ่ะเหมือนผูใ้ ช้บริ การเขาก็ยินยอมที่จะทําตามกฎหลัก และเราก็จะมีการจัดอาหารไว้ส่วน
หนึ่ งให้สาํ หรับมุสลิม และก็ผา้ ละหมาด ถ้าผูห้ ญิงเราก็จะละหมาดในห้องนอนเลย ถ้าผูช้ ายเราเคย
152

รับโลฮิงยาเข้ามาซึ่ งเราก็ให้เกียรติเราเราให้เกี ยรติซ่ ึ งกันและกัน เขาขอละหมาด5ครั้งเราก็ให้เขา


ละหมาดในห้องนอนแล้วก็จะไม่มีใครไปรบกวน
ผู้สัมภาษณ์ : คือกําลังมองว่าในประเทศไทยเนี่ ยนะคะ ขณะนี้ เนี่ ยปั ญหาเกี่ยวกับเรื่ องความไม่เท่า
เทียมกันหรื อไม่เสมอภาคทางเพศและการใช้ความรุ ณแรงในครอบครัวนะคะ คิดว่ายังมีอยูไ่ หม มี
เยอะไหม และก็รัฐบาบเนี่ ยคะได้เข้าไปแก้ไขที่เล่าว่าเนี่ ยนะคะอย่างเนี้ ยคะตรงประเด็นไหมกําลัง
มองอยู.่ ..
ผู้ให้ ข้อมู ลหลัก : จากการที่ ผมทํา งานมาเนี่ ย ก็ถือว่าตรงประเด็นนะครั บก็คือว่าปั ญหาเหล่ านั้น
หน่ ะลดลงไปได้เยอะเลยแทบจะจัดการกับปั ยหาได้อย่างทันท่วงที ก็เพราะว่าได้ความร่ วมมือจาก
ด้านเครื อข่าย
ผู้สัมภาษณ์ : เครื อข่ายนี่คือหน่วยเอกขน?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ่าใช่ ก็เครื อข่ายทางภาคท้องถิ่น เอกชนประมาณเนี้ ยครั บในการคอยเฝ้ าระวัง
ปัญหาให้เรา
ผู้สัมภาษณ์ : แล้ววันนี้ประเทศไทยไม่น่ามีปัญหาเรื่ อง...
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มีปัญหาครับ ยังไงผมว่าตราบใดที่ยงั มีสังคม ปั ญหานั้นก็ยงั คงมีอยู่แต่เราจะเฝ้ า
ระวังและจัดการกับปัญหาอย่างงั้นได้เณ้วแค่ไหนถ้าเราปล่อยให้ปัญหาเหล่านั้นยังคงเกิดขึ้นหรื อไม่
มีใครเข้าไปสอดส่ องดุแล ผมว่าครอบครัวมันก็เป็ นจุดเล็กๆ ในสังคมครับ ถ้าครอบครัวแตกแยก
หรื อเกิ ด กระทํา ความรุ ณ แรงเกิ ด ขึ้ น ผมว่าในระดับจังหวัด หรื อระดับ ประเทศมัน ก็ไม่ ประสบ
ความสําเร็ จ
153

คุณสรรพวัต มุขโต (นักจิตวิทยา)


ผู้สัมภาษณ์ : ก็มีหลายคนเลยก็นกั วิชาการทางด้านรัฐศาสตร์ นะคะก็มีอยูว่ ่าศูนย์พฒั นาเนี่ ยคุม้ ครอง
เด็กสตรี ถูกตั้งขึ้นมาแล้วเนี่ยจริ งๆแล้วมันมีผลในการที่แบ่งเบา ป้ องกีนน แก้ไขปั ญหาความรุ ณแรง
และความเสมอภาคได้จริ งหรื อเปล่า เขาสงสัยอยูห่ น่ ะคะที่น้ ี จะถามในมุมมองของคุณสรรพวัฒนะ
คะว่าในความคิดส่ วนตัวนี่มนั แก้ไข ป้ องกันได้จริ งไหมคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ถามว่าได้จริ งมั้ยคือมันก็ได้จริ งในระดับหนึ่งนะครับสําหรับมันเป็ นบางกรณี อ่ะนะ
ครับ อย่างเคสที่เราก็มีในเรื่ องของการจัดอบรมอย่างเนี้ ยนะครับเป็ นโครงการต่างๆอย่างเช่ นการ
ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่ นอย่างเนี้ ย ปั ญหาดูแล้วก็เหมือนลดลง เด็กก็เหมือนกับว่ากล้าที่จะมาขอ
คําปรึ กษาจากเราและจากโรงพยาบาลมากขึ้น การทําแท้งหรื ออะไรอย่างเงี้ยเขาก็จะไปคุยกับล็อบบี้
ที่เป็ นอาสา หรื อพยาบาลที่เขาอยู่ในเครื อเดียวกับทางเรา ในการแก้ไขปั ญหารอบข้องอย่างถูกวิธี
อย่างอะไรอย่างเงี้ยอะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : ช่วยในเรื่ องของที่พดู มานี้มนั เกี่ยวกับความรุ ณแรงใช่ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อันนี้มรั คือการตั้งครรภ์ไม่พร้อมก็คือในเรื่ องของอาจจะเป็ นเด็กด้วย พรบ. เด็กร่ วม
ด้วย ส่ วนความรุ ณแรงนี่ ป้ องกันยากแต่เราก็พยายามสร้างเครื อข่าย
ผู้ สัมภาษณ์ : เอ่ อ ความรุ ณแรงในครอบครั ว เนี่ ยคะ คุ ณ สรรพวัตคิ ด ว่าเป็ นพฤติ ก รรมที่ เกิ ด ใน
รู ปแบบใด ที่วา่ ความรุ ณแรงในครอบครัว?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็คือว่าการที่ครอบครั วก็คือ ตีกนั อย่างรุ ณแรงในเรื่ องของการใช้วาจาอะไรกัน
แบบเนี้ ยมันเป็ นเรื่ องปกติ แต่ถา้ เกิดว่าการรุ ณแรงครั้งนึ งมันก็ถือว่าอาจจะเป็ นปกติสาํ หรับเขา แต่
ส่ วนมากที่เราได้เจอเนี่ ยมันก็จะเป็ นเรื่ องการที่แบบว่าสะสมหลายๆครั้งมันเลยทําให้เกิดความรุ ณ
แรงในครอบครัวเกิดขึ้นแล้วมาถึงเราครับ
ผู้สัมภาษณ์ : รุ ณแรงนี้เป็ ฝ่ายชายรุ ณแรงฝ่ ายหญิง?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ส่ วนมากจะเป็ นฝ่ ายชายรุ ณแรงฝ่ ายหญิงแล้วก็ผปู ้ กครองรุ ณแรงกับเด็ก
ผู้สัมภาษณ์ : ฝ่ ายหญิงรุ ณแรงกับฝ่ ายชายมันมีไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ยังไม่ค่อยเจอนะครับ น่าจะไม่มี แต่ถา้ แม่ตีลูกเนี่ยมันคือปกติของเขาอยูแ่ ล้ว
ผู้สัมภาษณ์ : แล้ว พรบ. คุม้ ครองที่ว่า ผูก้ ระทําความรุ ณแรงในครอบครั วนี่ คุม้ ครองกับผูช้ ายถูก
ผูห้ ญิงใช้ความรุ ณแรงไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : จริ งๆแล้ว พรบ.ความรุ ณแรงมันเป็ น พรบ.ในครอบครัวที่ว่ารุ ณแรงกันไม่ว่าจะ
เป็ นผูห้ ญิ งทํา ผูช้ ายหรื อผูช้ ายทําผูห้ ญิ ง แต่ เ หตุ การที่ มนั เกิ ด ขึ้ นส่ วนมากจะเป็ นผูช้ ายทํา ผูห้ ญิ ง
มากกว่า
154

ผู้สัมภาษณ์ : งั้นประเด็นนี้ พรบ.นี้ หมายถึงความเสมอภาคไม่ว่าหญิงหรื อชายก็คุม้ ครองนะคะ เขา


บอกว่ามีมูลนิ ธิเอกชนที่ทาํ หน้าที่ลกั ษณะอย่างเนี้ ยมีหลายแห่ งนะคะ เอ่อตรงนั้นนะคะคิดว่าเขาทํา
หน้าที่ ได้เท่ากับส่ วนของราชกาลหรื อเปล่าคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เท่ากันไหม ผมมองว่าแล้วแต่การแจ้งอ่ะครับ อย่างเราเนี่ ยบางทีเรามีเครื อข่ายที่เขา
แจ้งมาแบบหลายๆด้าน หลายๆมุม เพราะว่าเราอยูห่ ลายๆที่ แต่ถา้ เกิดว่ามูลนิ ธิเอกชนบางที่เนี่ ยเขา
จะมุ่งประเด็นไปทางหญิงคั บผูห้ ญิงที่ถูกทําร้ายอะไรอย่างเงี้ย
ผู้สัมภาษณ์ : อย่างที่นี่เนี่ยมุ่งประเด็นไปที่...
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือบ้านพักเด็กนี่ มุ่งประเด็นคือทุกอย่างเลยที่เกิ ดจากความรุ นแรงไม่ว่าจะเป็ น
ผูห้ ญิงผูช้ าย หรื อเด็กคนแก่อะไรอย่างเงี้ยคือเราดูแลหมด
ผู้สัมภาษณ์ : แสดงว่ามีความพร้อมมากกว่า
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็มีความพร้อมเพราะว่า พรบ.ความรุ นแรงเนี่ ยมันจะต้องได้ตามนั้นหมดหน่ะครับ
เพราะว่า เจ้าหน้าที่ที่ทาํ งานอยูท่ ี่นี่กต็ อ้ งผ่านการอบรมกันในเรื่ องของ พรบ.ความรุ นแรงไปด้วย
ผู้สัมภาษณ์ : ซึ่งเจ้าหน้าที่เอกชนอาจจะไม่ผา่ น?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : แต่ผมว่าเขาจะดีกนั เป็ นบางจุด
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วในฐานะที่เป็ นนักจิตวิทยาเนี่ ยคะ เขาต้องเอามาใช้ในหน่ วยงานในนี้ ต้องแนะนํา
เกี่ยวกับเรื่ องอะไรบ้างคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็คือว่าอาจจะเป็ นในเรื่ องของการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวมากกว่าอาจจะ
พูดให้เขากลับมาคืนดีกนั ก่อน ก็คือเราไม่ได้ตอ้ งการจะเอาเรื่ องกฎหมายเข้ามาเกี่ยวข้องเรื่ อง พรบ.
ตัวนี้ มันเป็ นเหมือนการสร้างสัมพันธภาพว่าอาจจะเกิดที่อารมหรื ออะไรอย่างงี้อ่ะครับมากกว่า
ผู้สัมภาษณ์ : ในนี้มีผมู ้ ีปัญหาด้านนี้หลายคนไหมคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ไม่เยอะอ่ะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : ไม่เยอะ อาจเป็ นเพราะว่าเมื่อก่อนเยอะแล้วลดลง ลดลงเนื่องจากว่า?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ลดลงนี่ อาจจะเป็ นเพราะว่าเขาอาจจะไม่มีใครโทรแจ้งหรื อว่าเขาไม่กล้าแจ้งอะไร
อย่างเงี้ ย เพราะว่าบางกรณี โทรมาปุ๊ บมี ปัญหา พอแจ้งปุ๊ บแล้วเราโทรไปเขาก็เคลี ยกันล่ะ มันก็
กลายเป็ นว่าจบแล้วอะไรเงี้ย
ผู้สัมภาษณ์ : ประเด็นสนใจว่าไม่กล้าโทรแจ้งนี่เพราะอะไรคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือเขาออาจจะมองว่าไม่ใช่เรื่ องของเขาอะไรอย่างเงี้ยมากกว่า
ผู้สัมภาษณ์ : หมายถึงถึงบุคคลที่3?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : หมายถึงบุคคลที่3 เพราะส่ วนมากคนที่แจ้งจะเป็ นบุคคลที่3 นอกจากว่าภรรยาโดน
จริ งๆโดนมากๆหนักๆ แฟนติดยา คือสติไม่มีแล้วอะไรย่างเงี้ยเขาก็จะแจ้งด้วยตัวเอง
155

ผู้สัมภาษณ์ : มันมีเกี่ยวข้องเรื่ องยาเสพติดด้วยไหมคะ?


ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เกี่ยวเลยครับ เป็ นตัวหลักเลย ยาเสพติด เหล้าด้วย เหล้าก็เป็ นสาเหตุ และก็พวกยา
พวกอะไรอย่างเงี้ย ฤทธิ์ยาค่อนข้างเยอะ
ผู้สัมภาษณ์ : ถามความเห็นส่ วนตัวนิดนึงนะคะว่า คิดว่าขณะนี้ สังคมไทยในประเทศไทย ในอยุธยา
ก็ได้ ความเท่าเทียมกันทางเพศวันนี้มีหรื อยังคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มุมมองของผมมุมมองว่ามันเขาก็ให้อะไรใกล้เคียงกันเท่าๆกันนะ ไม่มีอะไรที่โดด
เด่นไปกว่ากันเพราะเราก็มีกฎหมายครอบคลุม
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะงั้นก็ปัญหาเรื่ องนี้มนั ก็น่าจะลดลง เพราะงั้นมูลนิธิไม่วา่ จะเอกชนหรื อรัฐบาลใน
อนาคตอาจจะไม่จาํ เป็ นแล้วก็ได้ ยังจําเป็ นต้องมีอยูไ่ หมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : จําเป็ นอยูไ่ หมบางครั้ง จําเป็ นต้องมีในเรื่ องของการให้คาํ ปรึ กษา อย่างถ้าเราไม่มุ่ง
ถึงความรุ นแรงเนี่ยบางครั้งเด็กบางคนเขาก็ตอ้ งการคําปรึ กษากัน ในเมื่อพ่อแม่เขาให้ไม่ได้ ครู บางที
ก็ไม่ได้เหมือนกัน อยุธยาความรุ นแรงที่เกิดขึ้นส่ วนมากจะเป็ นเด็กมากกว่าที่สามีภรรยาจะทะเลาะ
กันครับ อย่างเคสล่าสุ ดก็คือว่าโดนปู่ กับหญ้าตบตีอะไรแบบเนี้ ย เราก็ได้ลงเข้าช่วย ด้วยความที่ปู่
เหมือนกับมีอารมหงุดหงิดอะไรเงี้ยเราก็ไปประเมินทางด้านจิตแพทย์ พบจิตแพทย์เพราะปกติไม่
เป็ น
ผู้สัมภาษณ์ : ก็แสดงว่าหน่วยงานยังคงต้องมีความจําเป็ นอยู?่
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คงต้องมีความจําเป็ นอยูค่ รับ เพียงแต่ว่า บางอย่างมันก็ไม่มี บางอย่างมันก็ยงั คงมี
อยู่
ผู้สัมภาษณ์ : แต่ก็คงต้องมีหน่ วยงานนี้ ไปก่อน อย่างน้อยๆก็ให้คาํ แนะนําการปูพ้ืนฐาน เรื่ องต่างๆ
หลายๆอย่าง แล้วความรุ นแรงในครอบครัวเนี่ ยคะ ที่พบมามากที่สุดเนี่ ยคือพฤติกรรมแบบใดคะ
หมายถึงผูท้ ี่มีปัญหาเข้ามาขอคําแนะนําอะคะ ส่ วนใหญ่กเ็ จอกรณี ใดมากที่สุด
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือสามีติดยา ตอนแรกก็คือรักกันอยูด่ ว้ ยกันดีครับ พอติดยาก็ไม่สามารถควบคุมอา
รมตัวเองได้
ผู้สัมภาษณ์ : พ่อข่มขืนลูกมีม้ ยั คะ ส่ วนใหญ่เกิดจากพ่อเลี้ยงหรื อพ่อแท้ๆคะ แล้วเขามีสติม้ ยั คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อาจจะไม่มีสติครับ เพราะยาด้วย
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วเด็กผูห้ ญิงเนี่ ยส่ วนใหญ่อายุเท่าไรคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เด็กที่โดนไม่เกิน 10 ปี ในช่วงปี นี้นะครับ แต่วา่ ปี ที่ผา่ นมาก็ประมาณนี้หน่ะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : นี่ คือประเด็นซึ่ งไม่เยอะนะคะ แต่ประเด็นที่เยอะก็คือทุบตี อาการมึนเมา ใช้อาํ นาจ
ข่มขู่ อันนี้เยอะ และการที่ไปเป็ นโสเภณี ไปขายตัวนี่มีผลมาจากความรุ นแรง มั้ยคะ
156

ผู้ให้ ข้อมู ลหลัก : ไม่ค่อยมี นะครั บ อาจจะเกิ ดจากความสมัครใจ อยากได้เงิ น ได้อะไรอย่างเนี้ ย


มากกว่า
ผู้สัมภาษณ์ : ถ้างั้นในบ้านที่กกั ขังบุคคลเหล่านี้ เนี่ ย ถ้าเราไปสอบถามก็อาจจะไม่พบคนที่เกิดความ
รุ ณแรง ส่ วนใหญ่เพราะเด็กสมัครใจมาเอง เขาบอกว่ามูลนิ ธิเอกชนเนี่ ยนะคะ ทําหน้าที่ต่างกับ
มูลนิ ธิของรัฐบาลในเรื่ องของความพร้อม ในเรื่ องของการทําหน้าที่ในการธํารงค์ไว้ซ่ ึ งความเสมอ
ภาคจริ งไหมคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อาจจะมีส่วนเพราะว่า อย่างเคสแต่ละเคสที่ผา่ นมาเนี่ยพออยูใ่ นพื้นที่เราปุ๊ บ เอกชน
จะโทรมาหาเราเลย เราจะต้องเป็ นคนลงประสานและรายงาน และก็ พูด คุ ย อะไรอย่างเงี้ ย คื อ
เหมือนกับว่า การลงพื้นที่จริ งๆหรื อการที่จะยอมรับจากประชาชนอะไรอย่างเนี้ ย เขายังไม่ถึง แต่
ถามว่าบ้านพักเด็กถึงหรื อยัง ณ ตอนเนี้ ยถามว่าเขารู ้จกั กันมั้ย บางคนก็บอกว่ายังไม่รู้จกั แต่ถา้ บอก
ว่าศูนย์ประชาบดี 1300 เนี่ยจะรู ้จกั เพราะว่าตอนนี้อยูด่ ว้ ยกันแล้ว
ผู้สัมภาษณ์ : ศูนย์ประชาบดีนี่ทาํ หน้าที่ตรงๆก็คือป้ องกันความรุ นแรง
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือเราจะมี พรบ. 3 ตัวที่ ร่ วมกันกับที่นี่อ่ะครับ และก็อีกตัวนึ งก็จะเป็ นกฎหมาย
พิจารณาความอาญาปกติของเด็กทัว่ ไป อย่างบ้านเราเนี่ยก็จะมีผมที่เป็ นนักจิตวิทยาที่สามารถลงไป
พูดคุยกับเคสในในอัยการ และก็สอบเด็กที่อายุไม่เกิน 18 ปี ไม่ว่าเด็กจะเป็ นผูก้ ระทํา เป็ นผูต้ อ้ งหา
หรื อเป็ นผูเ้ สี ยหายอะไรอย่างนี้อะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : ที่คิดว่าปั ญหาน้อยลงเนี่ยครับมาจากสาเหตุอะไรคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็คือประชาชนอาจจะเคลียร์ กนั เองได้ คิดว่าครอบครัวน่าจะมีความสุ ขมากขึ้นกว่า
เมื่อก่อนเนี่ย
ผู้สัมภาษณ์ : คืออย่างกรณี ที่เขาแจ้งเข้ามาคือนั่นเป็ นกรณี ที่แตกหักจริ งๆ หรื อไม่ไหวแล้วจริ งๆ
อยากได้รับการช่วยเหลืออะไรอย่างเงี้ย รับไม่ได้แล้ว แสดงว่าถ้าในอยุธยาตอนนี้ เนี่ ยเราจะเจอเคส
แบบนี้สกั เคสสองเคสนี่ หาลําบาก
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ลําบากครับ แต่ถา้ เกิดเจอก็คือเจอหนักไปเลย เคสสื่ อไปเลย เราก็ตอ้ งลงร่ วมกับ
ทาง พงจ.
ผู้สัมภาษณ์ : เคสที่ฉาวโฉ่จนกระทัง่ ออกสื่ อมวลชน แต่ว่าก็อาจจะมีรุนแรงกว่านั้นแต่ไม่ถึงออกสื่ อ
อันนี้กค็ ือละเลยได้อยู?่
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : จริ งๆแล้ว ถ้าจริ งๆเราก็ไม่อยากให้ออกสื่ ออะครับ ถ้าเราแก้ไขปั ญหาเองได้เราก็จะ
แก้ไข แต่ดว้ ยความที่สทชื่อมันเร็ วกว่าเรา
157

ผู้สัมภาษณ์ : แต่เห็นว่าเวลามีปัญหาแบบนี้ ทีไรเนี่ ยครับจะพบมูลนิ ธิปวีณาแทบทุกครั้ง จะไม่ค่อบ


พบมูลนิธิอื่น หรื อไม่ก็ศูนย์ประชาบดีก็ไม่ค่อยได้ยนิ พึ่งได้ยนิ วันนี้ ศูนย์ประชาบดี ทําถึงเป็ นปวีณา
ไปซะทุกที?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ปกติก็เป็ นศูนย์ประชาบดี ถ้าเป็ นเขตุอยุธยานะครับส่ วนมาก แต่ทีน้ ี ทางมูลนิ ธิป
วีณาเนี่ ยถ้า เกิ ดเป็ นผูห้ ญิ งที่ ถูกกระทําอะไรต่างๆ ไม่ รู้นะผมก็มองว่าเป็ นทางเขา คื อคนจะรู ้ จ ัก
มูลนิธิปวีณาค่อนข้างเยอะ จากบางเคสที่เขาโทรมาเขาบอกว่าเนี่ยประสานมาจากมูลนิธิปวีณา
ผู้สัมภาษณ์ : เพื่อนหญิงรู ้จกั ไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือเพื่อนหญิงผมรู ้จกั โดยส่ วนตัวผมอบรมกับเขาบ่อย แต่ถา้ ถามกับคนอื่นอาจจะ
ยังไม่รู้จกั
ผู้ สัมภาษณ์ : แล้วชื่ อเกี่ ยวกับศูนย์เกี่ ยวกับความรุ นแรงเนี่ ย มี ต้ งั ห้าหกสิ บแห่ งใช่ ไหมคะ เป็ น
เอกชนก็มีเราไม่เคยได้ยินเลยคะ ได้ยินแต่ปวีณา ก็เลยงงว่าทําไมถึงมีปวีณา แล้วศูนย์ประชาบดีนี่ก็
ไม่เคยได้ยนิ แต่ส่วนใหญ่แล้วถ้าเป็ นในพื้นที่ทุกจังหวัดนี่ตอ้ งมาที่ศูนย์ประชาบดีก่อนใช่ไหมคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่ครับ
ผู้สัมภาษณ์ : จังหวัดพระนครศรี อยุธยา?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือ ศูนย์ประชาบดี 1300 บ้านพักเด็กและครอบครัวอยูท่ ี่นี่ล่ะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : อ๋ อแล้วถ้าเป็ นจังหวัดอื่นก็เหมือนกัน ทุกจังหวัดมีหมด เพราะงั้นในเรื่ องนี้ โดยตรงคือ
ศูนย์ประชาบดี มูลนิธิเอกชนก็เป็ นเครื อข่ายอีกที ถามนิ ดนึ งตรงนี้ เห็นมีบา้ นคนชราด้วย คนชราเนี่ย
เกี่ยวข้องกับเรื่ องของการได้รับความรุ ณแรงบ้างไหม
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มีครับ ก็คือลูกทอดทิ้ง ก็คือทําร้ายด้านสภาพจิตใจเขาอะไรอย่างเงี้ยอะครับ มีอยู่
เคสนึ งที่ค่อนข้างดังเมื่อปี ที่แล้ว หรื อเมื่อ 2 ปี ที่แล้วจําไม่ได้เหมือนกัน อยูแ่ ถวๆดอนเมืองครับที่ลูก
ทอดทิ้ง
ผู้ สั ม ภาษณ์ : ลู ก ทิ้ ง นี่ คื อ ความรุ ณ แรงในครอบครั ว โนะ แล้ว ของอยุธ ยาราชนเวทนี่ พ อมี ไ หม
หมายถึงความรุ นแรงในครอบครัวที่เกิดปัญหาแล้วหนีมาอยูท่ ี่นี่
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ไม่น่ามีนะครับ
ผู้สัมภาษณ์ : ส่ วนใหญ่แล้วมาเองโดย?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เต็มใจแล้วก็เร่ ร่อนบ้าง ทางสถาน ทางบ้านพักเด็กอื่นส่ งมาบ้าง สื บหาญาติไม่เจอ
ไรเงี้ย แล้วทีน้ ีตวั เขาตรงกับเป้ าหมายที่วา่ ต้องส่ งมาที่นี่
ผู้สัมภาษณ์ : เพราะงั้นไม่เกี่ยวกับความรุ นแรง แต่อาจจะมีบา้ งอยูท่ ี่อื่น เพราะงั้นเราก็เข้าใจมากขึ้น
ล่ะ สงสัยในศูนย์ประชาบดีมากเหลือเกิน ถ้างั้นถ้าหน่วยงานราชกาลเรี ยกศูนย์ประชาบดี ไอตรงที่
158

ชื่อศูนย์พฒั นาเด็กและครอบครัวนี่คือ หมายถึงภาพรวมที่ทาํ หลายภาระหน้าที่ แต่ถา้ ความรุ นแรงใน


ครอบครัวก็คือศูนย์ประชาบดี
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : จริ งๆแล้วบ้านพักเด็กเราเนี่ ยนะครับ เมื่อก่อนเนี่ ยเป็ นบ้านพักเด็กและครอบครัว กํ
คือบ้านพักฉุ กเฉิ น ทีน้ ี เราก็อยู่ในบ้านพักเด็กกันก่อนศุนย์ประชาบดีก็มาเกิด แต่ว่าในช่วงที่ว่าเป็ น
บ้านพักเด็กอยู่เนี่ ยเราก็ 1300 เหมือนกัน ก็คือศูนย์ประชาบดีเหมือนกันเพราะว่าของเราเป็ นพรรค
ประชาบดีอ่ะครับ ก็เป็ นศูนย์ประชาบดีการรับโทรศัพท์เหมือนกัน แต่ว่าช่วงเมื่อประมาณปี ที่แล้ว ปี
กว่าๆเนี่ยแหล่ะ ทางกรมเขาก็ได้แยกออกมาเลยเป็ นฝ่ ายศูนย์ประชาบดี ที่บา้ นก็จะมีฝ่ายบริ หาร ฝ่ าย
สวัสดิการสังคม และก็ฝ่ายศูนย์ประชาบดี
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วคนที่มีปัญหาเหล่านี้ปกติตอ้ งมาพักค้างที่นี่ไหม หรื อแล้วแต่กรณี ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : แล้วแต่กรณี แต่ช่วงนี้ ก็คือของเราจะรับแต่ผหู ้ ญิง ถ้าเป็ นผูช้ ายเราจะส่ งให้กบั ทาง
สถานสงเคราะห์ในบริ เวณใกล้เคียงก่อน เพราะว่าตั้งแต่เกิดเหตุที่บา้ นพักเด็กมันก็จราจลอยู่ดีตอน
นั้นที่เกิดเหตุ ก็เลยมีการเปลี่ยนแปลง
ผู้สัมภาษณ์ : ถ้างั้นของมูลนิ ธิเอกชนเนี่ ยเขาออาจจะไม่มีเคสที่มาพักค้างใช่ ไหมคะ เพราะความ
รัดกุมอาจจะไม่เท่ากัน แล้วการฟื้ นฟูสภาพจิตใจเหล่านี้ทาํ ยังไงคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็อย่างมา จะมีพี่นงั่ ร้อยลูกปั ดบ้าง ระบายสี ก็คือปกติเหมือนกัน บําบัดรู ้สึกว่าเข้า
กับเพื่อนในกลุ่มได้มนั จะมีอยูช่ ่วงนึ งที่เคสอยูก่ นั เยอะก็มี คือหลักของเราจะอยูไ่ ด้ไม่เกิน 1-3 เดือน
เงี้ย ผูใ้ หญ่ 1 เดือน เด็ก 3 เดือน ช่วงระยะเวลาที่อยูเ่ นี่ยเราจะต้องให้เขาไปอยูใ่ นกลุ่มเป้ าหมายที่ตรง
กับเขาอย่างในกรณี เด็กเนี่ ยเราก็ตอ้ งให้เด็กไปอยู่ในอยู่กรมพัฒนาสังคมคือเราเป็ นแค่แรกรับอย่าง
เดียว เป็ นสถานแรกรับ
ผู้สัมภาษณ์ : การทํากิ จกรรมเนี่ ยคือให้เขาได้ลืมในสิ่ งที่ผ่านมาด้วยอะไรด้วยหลังจากนั้นก็คือส่ ง
ต่อไปยังบ้านพักต่างๆ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ส่ งต่อไปหน่วยงานต่างๆ กรมต่างๆ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วระยะที่เขาจะได้ไปอยูอ่ ่ะคะนานไหมคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ขึ้นอยูก่ บั ทางกรมเลย ก็คือจริ งๆแล้วเด็กก็คือ 18 ปี ถ้าเกิดญาติติดต่อจะไปรับก็คือ
ต้องไปคุยกับเขา ถ้าเกิดมีการเยีย่ มบ้านเขาจะให้เราเยีย่ มเอง
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วถ้าไม่มีญาติ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ถ้าไม่มีญาติคือทางกรมสงเคราะห์เขาก็จะส่ งเรี ยนจนจบหรื อว่าทางใครมาขอเป็ น
บุตรบุญธรรมก็ทาํ อะไรอย่างเงี้ยแล้วแต่
ผู้สัมภาษณ์ : หรื อจนบรรลุนิติภาวะเลี้ยงตนเองได้ แล้วที่วา่ ส่ งต่อนี่ส่งต่อไปไหนคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ส่ งต่อไปหน่วยงานของกรมอ่ะนะครับ ที่เกี่ยวข้องกับตัวเด็กคนนั้น
159

ผู้สัมภาษณ์ : เช่นส่ งไปที่บา้ นเกร็ ดตระการ


ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เกร็ ดตระการก็ในเรื่ องของการค้ามนุษย์ ของการค้าปเวณี
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วถ้าเกิดความรุ ณแรง?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ความรุ ณแรงถ้าเกิดเป็ นในเรื่ องของ ก็คือดูเด็กก่อนว่าเด็กมีลกั ษณะแบบไหน อายุ
เท่าไร ก็จะมีบา้ นธัญพร
ผู้สัมภาษณ์ : คือบ้านธัญพรส่ งต่อกรณี ความรุ นแรงในครอบครัว
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เด็กที่ ปัญหาด้านพฤติกรรมอะไรอย่างนี้ อ่ะครั บบ้านธัญพร ถ้าเกิ ดในเรื่ องของ
การค้ามนุ ษย์จะเป็ นแรงงาน บ้านเกร็ ดตระการหมดเลย ก็อยู่ในส่ วนของการค้ามนุ ษย์ ส่ วนมากจะ
เป็ นต่างชาติอะครับ พวกลาว กัมพูชาอะไรอย่างเงี้ย อยุทธยาจะมีคา้ ปเวณี นน่ั ก็เยอะเหมือนกัน ค้า
มนุษย์เยอะในปี ที่ผา่ นมา
ผู้สัมภาษณ์ : และเด็กชายเด็กหญิงก็ไปบ้านธัญพรเหมือนกัน?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือบ้านมหาราชก็มีเหมือนกันนะครับ เด็กชาย บ้านมหาราช บ้านธัญพร
ผู้สัมภาษณ์ : ส่ วนใหญ่ส่งต่อไปบ้านธัญพรแล้วก็ไม่ไปไหนแล้วก็คือมีอายุความหมดก็กลับมาอยู่
บ้านตามปกติ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็อาจจะส่ งไปฝึ กอาชี พต่อไป ก็คือจะมีศูนย์ฝึกอาชี พสตรี ของกรมอีกเงี้ยครับ ก็
ต่อไปเรื่ อย
160

กลุ่มตัวอย่ าง Case ที่ 1


(สามีไม่ มีเหตุผล หึงเกินเหตุ เจ้ าชู้ และชอบทําร้ ายร่ างกาย)
ผู้สัมภาษณ์ : สวัสดีคะพี่หนูเป็ นนักศึกษาปริ ญญาโท จากมหาวิทยาลัยศิลปากรนะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ
ผู้ สั ม ภาษณ์ : เอิ่ ม !! วัน นี้ หนู จ ะมาขอพี่ สั ม ภาษณ์ เพื่ อ ที่ ห นู จ ะนํา ข้อ มู ล ที่ ห นู ไ ด้จ ากพี่ ไ ปทํา
วิทยานิพนธ์อ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ได้เลยคะน้อง เชิญๆ
ผู้สัมภาษณ์ : เหมือนที่หนูได้บอกกับพี่ในตอนแรกว่า หนูทาํ วิทยานิ พนธ์เรื่ องประชาสังคมกับการ
ธํารงไว้ซ่ ึงความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิสตรี อ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ่อ!!
ผู้สัมภาษณ์ : หนูเลยอยากจะเอาพี่มาเป็ นกลุ่มตัวอย่าง เพื่อที่หนูจะได้รู้ว่าความรุ นแรงที่พี่ได้รับมา
นั้น เป็ นมาอย่างไร เกิดขึ้นได้อย่างไรอ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ
ผู้สัมภาษณ์ : เอิ่ม!! งั้นหนูขอเริ่ มเลยนะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : พยักหน้าตอบรับ
ผู้สัมภาษณ์ : พี่อายุเท่าไหร่ แล้วคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : 29 แล้วคะน้อง
ผู้สัมภาษณ์ : แล้ว เอ่อ!!! ตอนนี้พี่ประกอบอาชีพอะไรอยูค่ ะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : พี่ทาํ งานอ๊อฟฟิ ศแห่ งนึงอ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : เอ่อ!! ยังไงต่อดีล่ะ แล้วเงินเดือนล่ะคะ ได้เท่าไหร่ คะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ตอนนี้ ก็ได้หมื่นต้นๆอ่ะน้อง แทบจะไม่พอดีกินพอใช้เหมือนกันอ่ะ ไหนพี่จะต้อง
เลี้ยงลูก เลียงปากท้องอีก เรี ยกว่าเงินที่พี่ทาํ งานได้มานะ ไม่มีเหลือที่จะเก็บเลยคะ
ผู้สัมภาษณ์ : โห!! งั้นก็แย่น่ะซิคะพี่
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : โถ่!! น้องถามมาได้ มันก็ตอ้ งแย่เป็ นธรรมดาแหละคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ตอนนี้พี่อยูบ่ า้ นกับใครคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : พี่อ่ะหรอ? (หัวเราะ) พี่อยูบ่ า้ นกับแม่ แล้วก็ลูกสาวอีกคนนึงคะ
ผู้สัมภาษณ์ : อ้าว!! แล้วคุณพ่อของพี่และแฟนพี่ไปไหนหรอคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : พ่อพี่แกป่ วยอ่ะ เลยขึ้นสวรรค์ไปก่อนหน้านี้แล้ว ส่ วนแฟนพี่พี่กเ็ ลิกกัน
ผู้สัมภาษณ์ : อุ่ย!! แล้วพี่เลิกกับแฟนพี่ดว้ ยสาเหตุอะไรหรอคะ?
161

ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : โอ๊ย!! แฟนพี่มนั เลวคะน้อง มันตบตีพี่ ด่าพี่เสี ยๆหาย บางที่อ่ะนะ เวลามันเกิ ด
โมโหขึ้นมา มันก็ยงั มาลามด่าแม่พี่เล้ย!!
ผู้สัมภาษณ์ : ซะงั้นอ่ะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ให้พดู ภาษาชาวบ้านก็คือ “เหี้ ย” ดีๆนี่เอง
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วเวลาพี่โดนตบ โดนด่า พี่มีการโต้ตอบ กลับคืนบ้างมัย๊ คะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : จะเหลือหรอคะน้อง พี่กเ็ ป็ นคนนะคะ มีหวั ใจ มีความรู ้สึกเหมือนกัน ใครทําพี่ พี่ก็
ทําคืนหมดแหละคะ คนอื่นมันไม่ใช่พอ่ ใช่แม่พี่ซะหน่อย
ผู้สัมภาษณ์ : โหดจังเลยคะ แล้วพี่สูเ้ ค้าได้หรอคะเห็นตัวนิดเดียวเองอ่ะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ถึงสู ไ้ ม่ได้พี่กส็ ู อ้ ่ะคะน้อง แต่ส่วนใหญ่ที่กลับมา แผลพี่กเ็ ต็มตัวทุกที
ผู้สัมภาษณ์ : แฟนพี่เค้าทําร้ายพี่ตรงไหนบ้างคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ส่ วนใหญ่กจ็ ะเป็ นแผลที่ตวั แขน ขา และใบหน้าคะ เจ็บมากๆ
ผู้สัมภาษณ์ : โอย!! แล้วสาเหตุที่ทาํ ให้พี่กบั แฟนทะเลาะกัน มันเกิดมาจากสาเหตุอะไรหรอคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็แฟนพี่อ่ะ แม่ง!! เป็ นคนขี้หึงจนเกินเหตุ หึ งจนบางทีพี่นี่อยากจะหนี มนั ไปเดี๋ยว
นั้นเลย สาเหตุคือ เรื่ องของเรื่ องอ่ะไม่มีอะไรเลย พี่อยู่ของพี่เฉยๆ มันก็หาว่าพี่อ่ะมีกิ๊ก แฟนพี่มนั
เหมือนเป็ นคนโรคจิตอ่ะน้อง คนไม่ได้ทาํ อะไรผิดมันก็หาว่าเราอ่ะทําผิด แล้วมันก็มาซ้อมพี่ซะเยิน
เลย
ผู้สัมภาษณ์ : เอิ่ม!! เอิ่ม!! แล้วอาการการบาดเจ็บของพี่เป็ นยังไงบ้างคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ถ้าทะเลาะกันแบบไม่แรงมาก ส่ วนใหญ่ก็มกั จะขาเขียว แขนเขียว แต่พกั หลังที่
ก่อนจะเลิกกันอ่ะ แฟนพี่มนั ชอบต่อยที่หน้าพี่ เบ้าตาพี่ พูดก็พดู เถอะนะน้อง พี่โครตจะอายชาวบ้าน
ชาวช่องเค้าที่มีผวั เหี้ ยๆแบบนี้ แถมบางครั้งนะ ลูกพี่อยูด่ ว้ ย มันก็ตบพี่ต่อหน้าลูกเลย
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วพี่ทนได้ยงั ไงคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : พี่เคยคิดนะคะน้องว่าพี่จะทนมือทนตีนมันได้ อย่างน้อยๆก็อดทนเพื่อลูก ทําไงได้
ล่ะคะ สิ่ งเหล่านี้เราเป็ นคนเลือกเอง ไม่ได้มีใครมาบังคับเราซักหน่อย แต่ในตอนหลังยิงเรื่ องราวมัน
เริ่ มหนัก ขึ้ น ตัวพี่เองก็เริ่ มทนไม่ ไหว พี่สงสารแม่พี่ที่เขาต้องมาเห็ นพี่ โดนทํา ร้ ายอยู่บ่อยๆ อี ก
อย่างนึงนะ พี่อ่ะสงสารลูก เคยคิดนะว่าจะอีกนานมัย๊ ? กว่าที่แฟนพี่จะดีซกั ที สุ ดท้ายสิ่ งที่เราคิดมัน
ก็เป็ นไปไม่ได้ เพราะแฟนพี่มนั ทําไม่ได้ แถมมันยังพาผูห้ ญิงเข้ามานอนกันที่บา้ นอีกต่างหาก
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วพี่ทาํ ไงอ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : พี่ไม่ทาํ อะไรเลยคะพี่เลิกให้คะ ตอนแรกๆแฟนพี่มนั ก็จะไม่เลิก ทําให้ทะเลาะกัน
มีปากมีเสี ยง ลงไม้ลงมือกัน จนพี่เนี่ย!! ทนไม่ไหว เลยไปแจ้งตํารวจให้มาจับมัน ส่ วนตํารวจเองเค้า
ก็ไม่ค่อยอยากจะดําเนินการแจ้งความหรอกคะ “เรื่ องผัวๆ เมียๆ”
162

ผู้สัมภาษณ์ : เห้อ!! แย่ที่สุด


ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ใช่แล้วคะ มันแย่จริ งๆ พอตอนหลังพี่ก็เลิกกับแฟนและกลับมาใช้ชีวิตอยูท่ ี่บา้ น มี
ความสุ ขที่สุขที่สุดเลยคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ดีแล้วแหละคะ อยูบ่ า้ นเรายังไงก้อสบายใจที่สุดคะ ไม่มีอะไรที่ตอ้ งห่ วงเลยคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : จริ งที่สุดเลยคะ
ผู้สัมภาษณ์ : และคําถามต่อไปนี้ ที่หนู จะถามพี่ก็คือ พี่คิดยังไงกับความเสมอภาคระหว่างชายกับ
หญิงในปั จจุบนั
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : พี่คิดว่าในสมัยนี้ความเสมอภาคหรื อความเท่าเทียมกันอ่ะคะมีมากขึ้นกว่าสมัยก่อน
เป็ นอย่างมาก ทําให้ผหู ้ ญิงเริ่ มมีบทบาททางสังคมมากยิง่ ขึ้นคะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้ว!! แล้ว!! พี่อยากจะให้ทางภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามาจัดการในด้านใดบ้างคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : พี่อยากให้ทางภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามารณรงค์และช่วยเหลือสตรี อย่างจริ งจัง
และยัง่ ยืน ส่ วนส่ วนอื่นๆพี่กไ็ ม่ได้มีความคิดเห็นอะไรมากมาย เพียงแค่อยากให้ปัญหาเรื่ องเกี่ยวกับ
ความรุ นแรงนั้นลดลงหรื อหมดไปจากสังคมเท่านั้นเองคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ขอขอบคุณพี่มากๆนะคะที่มาให้ความร่ วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมือของหนูในครั้ง
นี้คะ และข้อมูลที่มาก็จะไม่ถูกปรากฎชื่อของพี่เลยนะคะ ทุกอย่างจะเป็ นนามสมมติท้ งั หมดคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ
163

กลุ่มตัวอย่ าง Case ที่ 2


(ถูกรุ มข่ มขืนในทีเ่ ปลีย่ ว 6 คน)
ผู้สัมภาษณ์ : สวัสดีคะน้อง พี่เป็ นนักศึกษาปริ ญญาโท จากมหาวิทยาลัยศิลปากรนะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะพี่
ผู้ สั ม ภาษณ์ : เอิ่ ม !! วัน นี้ พี่ จ ะมาขอสั ม ภาษณ์ น้อ ง เพื่ อ ที่ พี่ จ ะนํา ข้อ มู ล ที่ พี่ ไ ด้จ ากน้อ งไปทํา
วิทยานิพนธ์อ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ่ะคะพี่
ผู้สัมภาษณ์ : พี่ทาํ วิทยานิ พนธ์เรื่ องประชาสังคมกับการธํารงไว้ซ่ ึ งความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ
สตรี อ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะพี่
ผู้สัมภาษณ์ : พี่เลยอยากจะเอาน้องมาเป็ นกลุ่มตัวอย่าง เพื่อที่พี่จะได้รู้ว่าความรุ นแรงทีนอ้ งได้รับมา
นั้น เป็ นมาอย่างไร เกิดขึ้นได้อย่างไรอ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ
ผู้สัมภาษณ์ : เอิ่ม!! งั้นพี่ขอเริ่ มเลยนะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เชิญเลยคะพี่
ผู้สัมภาษณ์ : ตอนนี้นอ้ งอายุเท่าไหร่ แล้วคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : 19 คะ
ผู้สัมภาษณ์ : เอิ่ม!!! แล้วตอนนี้นอ้ งทํางานอะไรคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : หนู ช่วยพ่อแม่ขายแตงโมอยู่ที่ขา้ งถนนอ่ะคะ แบบว่าใครผ่านไปผ่านมาก็จะเห็น
ร้านของหนูอ่ะอ่ะคะ ขายตั้งแต่ประมาณ 9 โมงเช้า จนถึง 2 ถึง 3 ทุ่มอ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : รายได้ที่ได้รับต่อเดือนได้ดีมย๊ั คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็พออยูไ่ ด้นะคะพี่
ผู้สัมภาษณ์ :เอ่อ!! แล้วตอนนี้นอ้ งเรี ยนอยูร่ ึ ป่าวคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อ๋ อ!! เรี ยนอยูค่ ะแต่พอดีหนูเรี ยนแบบ กศน. ใกล้จะจบ ม.5 แล้วคะ พอดีเรี ยนช้าอ่ะ
คะ เลยเรี ยนไม่ทนั ชาวบ้านชาวช่องเขา
ผู้สัมภาษณ์ : พี่ตอ้ งขอรบกวนในข้อมูลที่พี่ตอ้ งการจะเอาจากน้องหน่อยนะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ถามมาได้เลยคะพี่ หนูโอเคคะ
ผู้สัมภาษณ์ : กรณี ที่นอ้ งได้รับความรุ นแรงมาอ่ะคะ น้องได้ถูกกระทํามาในแบบไหนคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อืม!! นึกถึงแล้วก็เสี ยใจนะคะ หนูโดนรุ มข่มขืน 6 คนคะพี่
164

ผู้สัมภาษณ์ : อุ่ย!! ช่วยเล่าเหตุการณ์วนั นั้นให้พี่ฟังหน่อย ได้มยั๊ คะ


ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ได้คะ คือ เอ่อ!! เรื่ องมีอยู่ว่าในวันนั้นหนูช่วยพ่อกับแม่เฝ้ าร้านอยูค่ นเดียวคะ พ่อ
กับแม่เขาไปติ ดต่ อซื้ อแตงโม เพื่อที่ จะมาลงขายที่ ร้านใหม่ คะ แล้วรู ้ สึกว่าตอนนั้นจะประมาณ
เกือบๆ 3 ทุ่ม หนูเก็บร้านเสร็ จพอดี ทุกอย่างก็เป็ นปกติดีคะพี่ หนูก็ขี่มอเตอร์ ไซค์กลับบ้านปกติ แต่
ต่างจังหวัดอ่ะคะพี่มนั ก็จะมื ด จะเปลี่ ยว แต่เอิ่ม!!! หนู เป็ นคนพื้นที่ ก็เลยชิ นกับสถานที่ พอขี่รถ
ออกมาได้ซกั แป๊ ปนึง ก็มีกลุ่มผูช้ ายวัยรุ่ นขี่รถมอเตอร์ไซค์มาเทียบรถของหนู (เดี๋ยวแป๊ ปนะคะพี่)
ผู้สัมภาษณ์ : คะๆ ตามสบายเลยคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : มาแล้วคะพี่ ขอโทษทีนะคะพอดีลืมปิ ดนํ้าในห้องนํ้าอ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : อ๋ อ!! คะ ไม่เป็ นไรเลยคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เล่าต่อเลยนะคะ อืม!! พอกลุ่มวัยรุ่ นมาขี่รถมอเตอร์ ไซค์เทียบหนู อ่ะคะ รู ้สึกจะ
ประมาณ 3-4 คันได้คะ เขาก็มีการแซวทัว่ ๆไป และกลุ่มคนเหล่านั้นหนู ก็เคยเห็นหน้าคะ บางคนก็
รู ้จกั ชื่อคะ แต่ไม่สนิ ทเลยคะ อืม!! รู ้สึกว่าคนพวกนั้นจะมีอาการเมาด้วยนะคะ พูดจาไม่รู้เรื่ อง พอ
หนูบิดรถหนี เขาก็บิดรถตามหนู แซวแบบว่าโหวกเหวกโวยวายอ่ะคะ ในตอนนั้นก็ไม่มีรถขี่ผา่ นไป
มาเลยคะ ข้างทางมีแต่ป่า เพราะอีกประมาณครึ่ งทางก็จะถึงบ้านหนูแล้ว หนูก็คิดที่จะขี่รถกลับบ้าน
อย่างเดียวเลยคะ พอขี่รถถึงสวนปาล์มที่มีตน้ ปาล์มเยอะๆๆอ่ะคะ ก็มีรถมอไซค์คนั นึ งขี่รถปาดหน้า
เพื่อที่จะให้หนูเบรครถ พอหนูถูกปาดหน้ารถ หนูกต็ อ้ งเบรครถคะ ไม่ง้ นั รถก็จะล้มใช่มย๊ั คะ?
ผู้สัมภาษณ์ : อ่ะใช่คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : พอรถหนูเบรคมันก็มาดึงกุญแจมอไซค์ของหนูออก
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วตอนนั้นน้องทํายังไงคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : หนู ก็ขอร้องพวกเขา ว่าหนู ขอกุญแจรถของหนูคืนเถอะ อย่าทําอะไรหนูเลย หนู
กลัว แต่พวกเขาก็ยืนหัวเราะกัน แซวโน่นแซวนี่ แล้วเขาก็บอกว่าเขามีคนในกลุ่มเขาคนนึ ง เหมือน
คนที่ พวกเขาชี้ ว่าเขาชอบหนู อ่ะคะ จะมีอายุมากที่สุดในนั้น หนู ก็บอกเขาว่าหนู ยงั เด็กคะ ยังไม่
พร้อมที่จะใครหรอกคะ อ่อ!! พี่คะหนูลืมบอกไปคะ ตอนนั้นหนูมีอายุแค่ 15 เองนะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : อ๋ อ!! คะ แล้วเหตุการณ์เป็ นยังไงต่อคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : หนูออ้ นวอนพวกเขาอยูน่ าน เขาก็ไม่ยอมคืนกุญแจรถหนู แล้วผูช้ ายคนที่ดูแก่ที่สุด
ในนั้นเขาก็มาจับมือหนู ฉุ ดกระชากหนู ให้เข้าไปข้างทางซึ่ งมีตน้ ปาล์มอยู่เยอะเลยคะ พร้อมด้วย
ผูช้ ายคนอื่นๆก้อจับแขน ขา หนูคนละข้าง แบบว่าช่วยกันแบกไปอ่ะคะ ในตอนนั้นไม่ว่าด้วยวิธีการ
ใด หนูจะพูดอะไรพวกเขาก็ไม่ฟังหนู แล้วพอหนูดิ้นหรื อกรี๊ ด!! เสี ยงดังๆ เขาก็ชกท้องหนู 2 ที แล้ว
ก็เอามือมาอุดปากหนู ไว้ พอหนู เริ่ มหมดแรง ผูช้ ายที่มีอายุมากที่สุดคนนั้นเขาก็เริ่ มถอดเสื้ อผ้าหนู
โดยให้พวกเด็กผูช้ ายที่เป็ นรุ่ นน้องดูตน้ ทางคะ แล้วพอเขาทําอะไรหนูเสร็ จแล้ว เขาก็เรี ยกน้องๆเขา
165

ให้มาทําหนู ต่อคนแล้วคนเล่า พอเสร็ จแล้วเขาก็ทิ้งหนูไว้ตรงนั้นเลยคะ แล้วบอกว่าถ้าหนูไปบอก


ใคร เขาจะมาฆ่าหนู วินาทีน้ นั หนูก็รับปากว่าหนูจะไม่บอกใคร แล้วพวกมันก็โยนกุญแจรถคืนหนู
คะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วมีใครมาช่วยน้องรึ เปล่าคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ไม่มีคะ หนูพยายามใส่ เสื้ อผ้า ซึ่ งก็ขาดและเปื้ อน แล้วเนื้ อตัวในตอนนั้นไม่ตอ้ ง
บอกใครก็รู้คะว่าไปโดนอะไรมา
ผู้สัมภาษณ์ :แล้ว แล้ว แล้ว ในตอนนั้นรู ้สึกยังไงคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ในตอนนั้นหนูอยากจะฆ่าตัวตายมากๆเลยคะ แต่หนูสงสารพ่อกับแม่คะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วพอน้องกลับถึงบ้านที่บา้ นไม่เกิดความสงสัยเลยหรอคะ? ว่าน้องไปไหนมา
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : วินาทีแรกที่หนูถึงบ้าน พ่อกับแม่มายืนรอที่หน้าบ้านคะ เอิ่ม!! ตอนนั้นรู ้สึกว่าน่ า
ประมาณ ตี 1 มั้งคะ หนูไม่แน่ใจ พอพ่อกับแม่เจอหนูในสภาพนั้นเขาก็งงอ่ะคะ ระหว่างที่หนูวิ่งเข้า
บ้าน เขาก็ถามหนูว่าหนูไปไหนมา หนูก็ไม่พดู ไม่ตอบอะไรทั้งสิ้ นเลยคะ เขาพยายามถามหนูหลาย
ครั้ง แต่หนูกไ็ ม่ยอมออกมาพูดกับเขา
ผู้สัมภาษณ์ : เอ่อ!! แล้วอย่างงี้นอ้ งทํายังคะ? พ่อแม่ถึงได้รู้เรื่ องที่เกิดขึ้น?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอิ่ม!! หนูบอกพ่อกับแม่ตอนเช้าอ่ะคะ หนูกอดแม่แน่นเลย หนูกลัว หนูกงั วล หนู
อาย คือว่า ทุกความรู ้สึกที่ยา่ ํ แย่หนูรู้สึกหมดเลยคะในตอนนั้น
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วพ่อกับแม่ทาํ ยังไงต่อไปคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เขาก็พาหนู ไปแจ้งความคะ ตอนแรกหนู ก็บอกว่าไม่ให้แจ้ง เพราะมันขู่ฆ่าหนู ไว้
คะ แต่วา่ เอิ่ม!! พ่อก็บอกหนูวา่ ไม่ตอ้ งกลัว พ่อจะเอาคนที่มนั มาทําลูกของพ่อเข้าคุกให้ได้
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วสุ ดท้ายเป็ นยังไงบ้างคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : พวกมันก็โดนจับทุกคนเลยคะ แล้วก็ถูกดําเนิ นคดีตามกฎหมายคะ แต่หนูคิดว่าต่อ
ให้มนั จะได้รับโทษหนักแค่ไหน มันก็ไม่หนักเท่าหนู หรอกคะ หนู ตอ้ งแบกตราบาปที่พวกมันทํา
หนูเอาไว้ท้ งั ชีวิต หนูคิดนะคะว่ามันคงเป็ นเวรเป็ นกรรมของหนูอ่ะคะ หนูเลยต้องมาเจอเรื่ องอะไร
แบบนี้ เรื่ องทั้งหมดก็มีประมาณนี้อ่ะคะพี่
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วการฟื้ นฟูสภาพจิตใจเป็ นยังไงบ้างคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็ทางพ่อแม่ก็ดูแลหนูอย่างใกล้ชิดดีมากคะ พวกเขากลัวว่าหนูจะฆ่าตัวตาย แต่หนู
ไม่ทาํ หรอกคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ดีแล้วคะ พี่วา่ น้องเก่งมากๆและเข้มแข็งมากๆคะ พี่เป็ นกําลังใจให้นะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : (ยิม้ ให้) ขอบคุณมากคะ
166

ผู้สัมภาษณ์ : และคําถามต่อไปนี้ที่พี่จะถามน้องก็คือว่า น้องคิดยังไงกับความเสมอภาคระหว่างชาย


กับหญิงในปั จจุบนั
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : หนูคิดว่าความเสมอภาคหรื อความเท่าเทียมกันระหว่างชายหญิงอ่ะคะ ก็เท่าที่ดูๆ
ไปแล้ว ก็มีความเท่าเทียมกันนะคะ เพียงแต่ในบางเรื่ องก็อาจไม่มีความเท่าเทียมกันอ่ะคะ เพราะ
สําหรับหนูยงั ไงผูช้ ายก็เหนือกว่าอยูด่ ี ส่ วนผูห้ ญิงสมัยใหม่ก็มีความรู ้ความสามารถมากขึ้นอ่ะนะคะ
แต่การยอมรับในบางสถานะ หรื อบางตําแหน่งก็อาจจะยังไม่เป็ นที่ยอมรับเท่าที่ควรอ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้ว!! แล้ว!! น้องอยากจะให้ทางภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามาจัดการในด้านใดบ้างคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : หนูอยากให้ทางภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามาช่วยกันทํางานให้มากขึ้นคะ และหนู
อยากให้มีบทลงโทษหรื อ เอ่อ!! กฎหมายที่ชดั เจน และอยากให้มีกฎหมายที่เข้มงวดมากกว่านี้ อ่ะคะ
เพราะหนูสังเกตจากคนที่กระทําผิด ก็มกั จะกระทําผิดซํ้าซาก เหมือนกฎหมายที่เราใช้กนั อยูม่ นั ยัง
ไม่เข้มงวดพออ่ะคะ หนูกไ็ ม่รู้จะใช้คาํ พูดยังไงอ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ขอขอบคุณน้องมากๆนะคะที่มาให้ความร่ วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมือของพี่ใน
ครั้งนี้ คะ และข้อมูลที่มาก็จะไม่ถูกปรากฎชื่อของน้องเลยนะคะ ทุกอย่างจะเป็ นนามสมมติท้ งั หมด
คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ
167

กลุ่มตัวอย่ าง Case ที่ 3


(พ่ อเลีย้ งข่ มขืนลูกเลีย้ ง)
ผู้สัมภาษณ์ : สวัสดีคะน้อง พี่เป็ นนักศึกษาปริ ญญาโท จากมหาวิทยาลัยศิลปากรนะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ
ผู้ สั ม ภาษณ์ : เอิ่ ม !! วัน นี้ พี่ จ ะมาขอสั ม ภาษณ์ น้อ ง เพื่ อ ที่ พี่ จ ะนํา ข้อ มู ล ที่ พี่ ไ ด้จ ากน้อ งไปทํา
วิทยานิพนธ์อ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะพี่
ผู้สัมภาษณ์ : พี่ทาํ วิทยานิ พนธ์เรื่ องประชาสังคมกับการธํารงไว้ซ่ ึ งความเสมอภาคทางเพศและสิ ทธิ
สตรี อ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ
ผู้สัมภาษณ์ : พี่เลยอยากจะเอาน้องมาเป็ นกลุ่มตัวอย่าง เพื่อที่พี่จะได้รู้ว่าความรุ นแรงทีนอ้ งได้รับมา
นั้น เป็ นมาอย่างไร เกิดขึ้นได้อย่างไรอ่ะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ
ผู้สัมภาษณ์ : อืม!! งั้นพี่ขอเริ่ มเลยนะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะพี่
ผู้สัมภาษณ์ : ตอนนี้นอ้ งอายุเท่าไหร่ แล้วคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : 21 คะ
ผู้สัมภาษณ์ : เอิ่ม!!! แล้วตอนนี้นอ้ งทํางานอะไรคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ!! ตอนนี้หนูทาํ งานอยูเ่ ซเว่นอีเลฟเว่น
ผู้สัมภาษณ์ : รายได้ที่ได้รับต่อเดือนได้ดีมย๊ั คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ก็อยูป่ ระมาณ 9,000-11,000 บาท อ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ :เอ่อ!! แล้วตอนนี้นอ้ งเรี ยนอยูร่ ึ ป่าวคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อืม!! ไม่ได้เรี ยนแล้วคะ แต่หนูกจ็ บชั้น ปวส. นะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : พี่ตอ้ งขอรบกวนในข้อมูลที่พี่ตอ้ งการจะเอาจากน้องหน่อยนะคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คะ
ผู้สัมภาษณ์ : กรณี ที่นอ้ งได้รับความรุ นแรงมาอ่ะคะ น้องได้ถูกกระทํามาในแบบไหนคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอิ่ม!! คือหมายถึงสิ่ งที่ได้เจอมาใช่มยั๊ คะ?
ผู้สัมภาษณ์ : ใช่คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : อืม!! คือหนูถูกพ่อเลี้ยงข่มขืนตอนอายุ 16 คะ
168

ผู้สัมภาษณ์ : อุ่ย!! แล้วเหตุการณ์เป็ นยังไงบ้างคะ?


ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : คือแม่หนูอ่ะคะ มาได้กบั พ่อเลี้ยงหนู ตอนหนูอายุได้ 13 ปี อ่ะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วแม่กบั พ่อเลี้ยงของหนูทาํ งานอะไรคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : แม่หนู เขาเป็ นแม่คา้ ขายข้าวแกงที่ตลาดคะ เอิ่ม!! ส่ วนพ่อเลี้ยงก็มีร้านปะยางร้าน
เล็กๆอยูห่ น้าบ้านอะคะ แม่ก็จะออกไปขายข้าวแกงตั้งแต่เช้า พอสายๆหน่อยก็รีบกลับมาทํากับข้าว
เพิ่มเพื่อที่จะไปเข็นขายตอนเย็นคะ กว่าแม่จะกลับมาก็ค่าํ ๆอ่ะ ส่ วนพ่อเลี้ยงก็จะทํางานอยูท่ ี่บา้ นทั้ง
วันคะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วเรื่ องที่ถูกพ่อเลี้ยงข่มขืน นี่เกิดขึ้นได้ยงั ไงคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอิ่ม!! ก็คือว่า แม่หนูเขาไม่ค่อยอยูบ่ า้ น ส่ วนพ่อก็รับปะยางอย่างเดียวคะ แล้วเขาก็
ติดเหล้าขาวด้วยคะ เรี ยกว่าคนแถวนั้นเขาก็เห็นพ่อเลี้ยงหนูกินเหล้าทุกวันคะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วยังไงต่อคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ!! ก็วนั นั้นอ่ะคะ แม่หนูเขาก็ขายของตามปกติ ส่ วนหนู ก็ไปโรงเรี ยนคะ พอ
ตอนเย็นหนู กลับมาบ้าน แม่ก็ออกไปขายของตอนเย็นแล้วคะ แล้ววันนั้นพ่อเลี้ยงก็เมามากด้วยคะ
แต่หนูก็ไม่ได้แปลกใจอะไรคะ เพราะตอนหนูอายุ 13 นั้น จนถึงอายุ 16 ในตอนนั้นอ่ะคะ พ่อเลี้ยง
หนูเขาก็ไม่เคยแสดงท่าทีอะไรที่ทาํ ให้เห็นว่าเขาหื่ นเลยนะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ในวันนั้นที่ หนู กลับมาจากโรงเรี ยนหนู จะเข้าบ้านไปเปลี่ยนเสื้ อผ้า แล้วหนู จะ
ออกไปช่วยแม่ขายของ พอหนูเข้าห้องไปเปลี่ยนเสื้ อผ้า พ่อเลี้ยงก็เดินเข้ามา เอิ่ม!! ตัวหนูเองในตอน
นั้นก็นุ่งกระโจมอกอยูอ่ ่ะคะ หนูก็ถามพ่อเลี้งว่า “พ่อมีอะไร เดี๋ยวหนูจะไปช่วยแม่ขายของอ่ะ เดี๋ยว
ตอนเย็นหนูเอากับข้าวมาให้นะ” แล้วอยูๆ่ พ่อเขาก็เข้ามากอดหนู ลวนลามหนูเล็กน้อย แล้วหนูก็
ผลักพ่อออก แล้วบอกพ่อว่า “หนู ว่าพ่อคงจะเมาแล้วนะ” แล้วพ่อก็บอกหนู ว่า “พ่ออ่ะมองหนูมา
ตั้งแต่ 13 แล้ว แต่เห็นว่ายังเด็กอยู่ ตอนนี้ โตเป็ นสาวแล้วขอพ่อเถอะ แล้วพ่อจะไม่บอกใคร” หนู
ตกใจแล้วหนูกเ็ ดินหนีพอ่ แล้วพ่อเขาก็ว่ิงมาลากหนู หนูก็ขดั ขืนสู ้ พ่อเขาก็เลยต่อยท้องหนู ทุบหลัง
หนูจนหนูสู้ไม่ได้ แล้วพ่อเขาก็ข่มขืนหนู แล้วเขาก็บอกหนูว่าอย่าไปบอกแม่นะ ไม่อย่างนั้นเขาจะ
ทําร้ายทั้งแม่และหนู คือโดยปกติพอ่ เลี้ยงกับแม่เขาก็มกั จะมีปากเสี ยงกันบ่อยครั้ง เพราะพ่อชอบเอา
เงินที่แม่ขายของได้ไปซื้อเหล้าขาว
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วในตอนหลังแม่ของน้องรู ้ได้ยงั ไงคะ?
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : เอ่อ!! ความมาแตกตอนหนู อายุได้ 18 ปี คะ คือวันนั้นพ่อเขาจะมาทําหนู อีก ซึ่ ง
ก่อนหน้านั้นพอแม่เผลอ พ่อก็จะมาทําหนูทุกครั้งเมื่อมีโอกาส ในวันนั้นหนู ม่ไหวแล้วคะ หนู เก็บ
169

กดพูดอะไรกับใครก็ไม่ได้ วันนั้นแม่กลับมาถึงหน้าบ้านพอดี หนูเลยด่าพ่อเลี้ยงลัน่ บ้าน แล้วเดินไป


บอกแม่ หนูร้องไห้ หนูไม่ไหวแล้วจริ งๆคะพี่
ผู้สัมภาษณ์ : พอแม่รู้ความจริ งแล้วแม่นอ้ งน้องทํายังไงคะ?
ผู้ให้ ข้อมู ลหลัก : แม่หนู ก็ไล่เอาทุ กสิ่ งทุกอย่างไล่ขว้างพ่อเลี้ยง ด่ าทุกสิ่ งอย่าง และสุ ดท้ายแม่ก็
ตัดสิ นใจเลิกกับพ่อเลี้ยงคะ แล้วพาหนูไปแจ้งความกับตํารวจ สุ ดท้ายพ่อเลี้ยงของหนูก็ถูกดําเนินคดี
แต่ก็นะคะ หนูก็ตอ้ งจําสิ่ งที่เลวร้ายที่สุดในชีวิตไปตลอด แต่ทุกวันนี้ หนูอยูไ่ ด้ก็เพราะแม่คะ หนูรัก
แม่มากๆ เรื่ องก็มีอยูป่ ระมาณนี้อะคะ
ผู้สัมภาษณ์ : คําถามต่อไปนี้ ที่พี่จะถามน้องก็คือว่า น้องคิดยังไงกับความเสมอภาคระหว่างชายกับ
หญิงในปั จจุบนั
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : หนูคิดว่าในการใช้ชีวิตประจําวันทุกอย่างก็ดูเท่าเทียมกันดีนะคะ ในสิ ทธิ ต่างๆ แต่
ในบางเรื่ องก็ยงั มีความไม่เท่าเทียมอยูด่ ีคะ
ผู้สัมภาษณ์ : แล้ว!! น้องอยากจะให้ทางภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามาจัดการในด้านใดบ้างคะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : หนูอยากให้ภาครัฐและเอกชนหันกลับเข้ามาดูแลเรื่ องนี้ กนั อย่างจริ งจัง อยากจะให้
ทางภาครั ฐมีกฎหมายที่เคร่ งครั ดกว่านี้ ที่สามารถคุม้ ครองผูห้ ญิงอย่างเราได้ดีกว่า เมื่อเวลาที่เกิ ด
เหตุการณ์ เหล่านี้ ข้ ึน หนู คิดว่าถ้ากฎหมายของเราหนาแน่ นพอ ปั ญหาเหล่านี้ คงลดน้อยลงกว่านี้
มากๆเลยคะ
ผู้สัมภาษณ์ : ขอขอบคุณน้องมากๆนะคะที่มาให้ความร่ วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมือของพี่ใน
ครั้งนี้ คะ และข้อมูลที่มาก็จะไม่ถูกปรากฎชื่อของน้องเลยนะคะ ทุกอย่างจะเป็ นนามสมมติท้ งั หมด
คะ
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก : ขอบคุณคะ
170

ภาพที่ 3 มูลนิธิเพื่อนหญิง

ภาพที่ 4 คุณธนวดี ท่าจีน


171

ภาพที่ 5 คุณบัณฑิต แป้ นวิเศษ

ภาพที่ 6 คุณธนวดี ท่าจีน และคุณบัณฑิต แป้ นวิเศษ


172

ภาพที่ 7 คุณวีรวัลย์ กรมสุ ริยศักดิ์

ภาพที่ 8 คุณนวลศรี เพ็ชรนวล


173

ภาพที่ 9 คุณภานุวฒั น์ กษิดิส

ภาพที่ 10 คุณสรรพวัต มุขโต


174

ภาพที่ 11 กลุ่มตัวอย่าง case ที่ 1

รู ปที่ 12 กลุ่มตัวอย่าง case ที่ 2


175

ประวัติผู้วจิ ัย

ชื่อ – สกุล นางสาวปราง ยอดเกตุ


ที่อยู่ บ้านเลขที่ 24/162 ห้อง3/62 คอนโดเมืองทองธานี ตึก T11
ถนนป๊ อบปูล่า ตําบลบ้านใหม่ อําเภอปากเกร็ ด
จังหวัดนนทบุรี รหัสไปรษณี ย ์ 11120
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2548 สําเร็ จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนเบญจมราชานุสรณ์
จังหวัดนนทบุรี
พ.ศ. 2550 สําเร็ จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบางสะพานน้อยวิทยาคม
จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ (แผนการเรี ยนอังกฤษ-สังคม)
พ.ศ. 2554 สําเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาการจัด
สาขาวิชาการจัดการชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ. 2555 ศึกษาต่อระดับปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสตร์ คณะ
วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

You might also like