Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์

27
บทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถมของประเทศเมียนมา

บทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถมของประเทศเมียนมา1

ณัฐราพร พรหมประสิทธิ์
นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา ส�ำนักวิชาศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช 80161
อีเมล์: nattarapornp@gmail.com

บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถม
ของประเทศเมียนมา ตามหลักสูตรการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประเทศเมียนมา
ข้อค้นพบส�ำคัญของการศึกษานี้ คือ ทัศนคติเกีย่ วกับผูช้ ายทีม่ บี ญ ุ บารมียงั คงถูกให้ความส�ำคัญ
ในฐานะของบุคคลทีม่ บี ญ ุ บารมีทสี่ งู ส่ง มีความรูค้ วามสามารถ และอยูใ่ นระดับทีส่ งู กว่าผูห้ ญิง
เนื้อหาในต�ำราเรียนอธิบายถึงหน้าที่หรือการแบ่งหน้าที่ของหญิงและชายไว้ออย่างชัดเจน
แต่ในความเป็นจริงแล้วเนื้อหาในต�ำราเรียนเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างทางเพศ
มี ก ารน� ำ เสนอเรื่ อ งราวของเพศชายมากกว่ า เพศหญิ ง เกื อ บทุ ก ด้ า น ประการแรก คื อ
ด้านครอบครัว ต�ำราเรียนน�ำเสนอภาพ “พ่อ” ในฐานะของเสาหลักของครอบครัว เปรียบเสมือน
เทพประจ�ำบ้าน ในขณะที่ “แม่” ซึ่งเป็นเพศหญิงนั้นเป็นเพียงผู้ดูแลและผู้สนับสนุนสมาชิก
ในครอบครัวเท่านั้น ประการที่สอง คือ ด้านการท�ำงาน อาชีพที่ได้รับการยกย่อง มีผู้นับหน้า
ถือตา และมีความมั่นคงของสังคม คือ ทหาร แพทย์ ครู ซึ่งเนื้อหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอาชีพ
ส่วนใหญ่นั้นถูกอธิบายและถูกแทนด้วยภาพของเพศชาย อาชีพที่ได้รับเกียรติของเพศหญิง
คือ อาชีพครู และพยาบาล ซึ่งมีหน้าที่ในการดูแลผู้อื่น อาชีพของเพศหญิง คือ อาชีพที่ต้อง
มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจ และเสี ย สละเพื่ อ ดู แ ลผู ้ อื่ น รวมทั้ ง ผู ้ ห ญิ ง ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ การน� ำ เสนอ
1
บทความชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ชื่อ บทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถมของประเทศ
เมียนมา ผลงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และโครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิตสกว.
ด้านมนุษยศาสตร์ - สังคมศาสตร์ รุ่นที่ 11

17 2 OK.indd 27 22/12/2560 15:43:01


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
28 Walailak Abode of Culture Journal

ในภาพของแม่บ้าน ผู้ที่ท�ำหน้าที่ในการดูแลบ้าน ครอบครัว และสมาชิกในบ้านได้อย่างมี


ประสิทธิภาพ และประการที่สาม คือ ด้านสังคม ผู้ชายพม่าถูกคาดหวังให้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการด�ำเนินการต่าง ๆ ในสังคม เด็ก ๆ เริม่ จากการมีสว่ นร่วมภายในโรงเรียน และขยับขยาย
ออกสู่ระดับประเทศตามล�ำดับอายุที่มากขึ้น ในขณะที่ผู้หญิงนั้นถูกคาดหวังในเรื่องความงาม
การมีหน้ามีตาในสังคม และการชี้ให้เห็นว่าผู้ชายมีโอกาสในการเรียนรู้สิ่งรอบข้างมากกว่า
เพศหญิง และพื้นที่ของเพศหญิงถูกจ�ำกัดไว้แค่พื้นที่ที่ปลอดภัยเท่านั้น

ค�ำส�ำคัญ: บทบาทหญิงชาย, เมียนมา, การศึกษา

17 2 OK.indd 28 22/12/2560 15:43:01


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
29
บทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถมของประเทศเมียนมา

Gender Roles in Myanmar’s Elementary School

Nattaraporn Promprasit
Studies Master’s Student in Southeast Asian, School of Liberal Arts,
Walailak University, Nakhon Si Thammarat 80161, Thailand
E-mail: nattarapornp@gmail.com

Abstract
This research project investigates the roles of men and women that
have been demonstrated in the textbooks of primary schools by the Ministry
of Education of Myanmar. It finds that patriarchy is more emphasized. Men are
believed as the charismatic leaders and educated, while women are viewed
as inferiors. Having scrutinized the contents of those textbooks in detail, it also
finds that careers are categorized according to their sexuality. In addition, the
contents of those textbooks illustrate the differences of gender. The male
roles are represented more than female. First, in terms of family, textbooks
represent the figure of “father” as the family’s leader. He is also symbolized
as a god in his house. In contrast, a “mother” is compared to a domestic
worker who supports all family members. Second, for careers, the admirable
and stable occupations are soldiers, doctors, and teachers, which most of
those pictures are represented by men. For women, their recommended
careers are teachers and nurses, which educate women to serve and take care
of others. However, the pictures of housekeeper and family’s supporter of
women have not been potentially represented. Third, in social aspect,
Burmese men are expected to participate in every social activity. Boys have to

17 2 OK.indd 29 22/12/2560 15:43:01


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
30 Walailak Abode of Culture Journal

play a vital role in their schools and their roles are of course extended when
they are growing up. Meanwhile Burmese women are expected to gain social
respect through their beauty. However, their opportunity in learning is less
than men because their lives are limited within some spheres.

Keywords: Gender, Myanmar, Education

17 2 OK.indd 30 22/12/2560 15:43:01


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
31
บทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถมของประเทศเมียนมา

ที่มาและความส�ำคัญของปัญหา
จากการศึกษางานที่เกี่ยวข้องกับหญิงชายพม่าที่ผ่านมา ผู้วิจัย พบว่า มีการศึกษา
เกี่ ย วกั บ หญิ ง ชายในหลากหลายรู ป แบบ งานเขี ย นของ Mi Mi Khaing (1984) ได้ มี
การน�ำเสนอเรื่องราวของผู้หญิงชาวพม่า สิ่งส�ำคัญที่พบในงานเขียนของ Mi Mi Khaing คือ
การระบุว่าผู้หญิงพม่ามีความภาคภูมิใจบทบาทของที่เป็นอยู่ของตนเอง และอธิบายให้เห็น
ถึงความเชื่อของผู้หญิงชาวพม่าที่ว่า ผู้หญิงมี โบง (phon) หรือ บุญบารมีต�่ำกว่าผู้ชาย
(Khaing, 1984, p. 16) ในขณะที่ผู้ชายได้รับการยกย่องในฐานะของเองน์อูนัต (ein-oo-nat)
หรื อ เทพประจ� ำ บ้ า น ในฐานะของผู ้ น� ำ ครอบครั ว และการให้ ค วามเคารพนั บ ถื อ โดย
Aye Nwe (2009) ได้อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดของเรื่องดังกล่าวว่า ความเชื่อเรื่อง
บุญบารมีเป็นสาเหตุของล�ำดับชั้นเพศและการกดขี่ผู้หญิงในพม่า ครอบครัว และสังคม
ของพม่า
Furnivall นักวิชาการอาณานิคมที่ส�ำคัญอีกคนหนึ่ง ได้ระบุว่า “เสรีภาพของ
ผูห้ ญิง” ในพม่ามีสถานะไม่เหมือนใคร และมีเพียงไม่กปี่ ระเทศทีป่ ระสบความส�ำเร็จในเรือ่ งนี้
มากกว่าประเทศพม่า (Tharaphi, 2014, p. 2) สอดคล้องกับที่อุษณีย์ พรหมสุวรรณ์ (2547)
ได้ศึกษาเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของผู้หญิงพม่าในการน�ำเสนอของตะวันตก พบว่า ผู้หญิงมีสิทธิ
เท่าเทียมกับผู้ชายแทบทุกด้านทั้งในบ้านและนอกบ้าน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะผู้หญิงพม่า
ไม่ต้องเปลี่ยนนามสกุลหลังจากแต่งงานซึ่งต่างกับผู้หญิงในสังคมอื่น ต่างจากที่ Than Than
Nwe (2003) ได้อธิบายไว้ว่าภาพลักษณ์ของผู้หญิงและผู้ชายพม่ามีความแตกต่างกันค่อน
ข้างชัดเจน ตัวอย่างเช่น ในครอบครัวของคนพม่า ผูช้ ายจะท�ำหน้าทีท่ ตี่ อ้ งใช้แรงงาน ในขณะที่
ผู้หญิงมีหน้าที่ในการเป็นแม่บ้าน ผู้หญิงและผู้ชายมีอ�ำนาจในการตัดสินใจเรื่องราวต่าง ๆ
แตกต่างกันไป Chie Ikeya (2012) ได้อธิบายเพิ่มเติมว่า สถานะอันสูงส่งของผู้หญิงพม่า
ที่ได้รับจากอังกฤษนั้น เป็นเพียงเครื่องมือในการสร้างความชอบธรรมในการเรียกร้องอ�ำนาจ
ทางการเมืองให้เพิ่มมากขึ้น สอดคล้องกับที่ Tharaphi Than (2014) ได้พยายามอธิบาย
ให้ เ ห็ น ถึ ง อ� ำ นาจของผู ้ ห ญิ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ มี อ ยู ่ จ ริ ง ตามข้ อ เขี ย นของตะวั น ตก หรื อ วาทกรรม
“สถานภาพที่สูงส่งของผู้หญิงพม่า” โดย Tharaphi ได้ชี้ให้เห็นว่าจริง ๆ แล้วผู้หญิง
มีอิสรภาพเพียงบางอย่างเท่านั้น และน้อยมากที่ผู้หญิงพม่าจะได้รับสิทธิเท่าเทียมกับผู้ชาย
บางส่วนก็ถูกท�ำให้ลืมไปจากประวัติศาสตร์พม่า เช่น การเป็นผู้น�ำ การต่อสู้เพื่อให้ได้รับ
การยอมรับในฐานะนักเขียน หรือการยอมรับในการมีอยูข่ องกองทัพหญิงในช่วงต่อสูเ้ พือ่ เอกราช

17 2 OK.indd 31 22/12/2560 15:43:01


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
32 Walailak Abode of Culture Journal

นอกจากนี้ Ikeya ได้อธิบายไว้ว่า ผลจากการสนับสนุนด้านการศึกษาให้แก่ผู้หญิง


ท�ำให้เดิมผู้หญิงได้รับโอกาสทางการศึกษาและเข้ามามีบทบาทในสังคมมากยิ่งขึ้น เช่น
เข้ามาเป็นครูในโรงเรียนเอกชน เป็นพยาบาล ผู้ช่วยของหมอชาวอังกฤษ หรือการเข้ามา
มีบทบาทในฐานะสื่อและนักเขียน (Ikeya, 2012, p. 59) การได้รับศึกษาท�ำให้ผู้หญิงพม่า
เริ่มมีความคิดที่เปลี่ยนแปลงไปและเข้ามามีบทบาทในสังคมมากขึ้น มีเรื่องราวเกี่ยวข้องกับ
ผู้หญิงตีพิมพ์มากขึ้น และมีบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ที่เป็นผู้หญิงคนแรกคือ ด่อผเวซิน
(Daw Phwa Shin) หนังสือพิมพ์ที่ด่อผเวซินเป็นผู้ดูแลมีชื่อว่า ตารวดี (Tharawaddy)
แต่เมื่อหนังสือพิมพ์ได้รับการตีพิมพ์ฉบับแรก ชื่อของบรรณาธิการกลับเป็นชื่อของ หม่าว (ง์)
ซาน (Muang Zan) ซึ่งเป็นสามีของด่อผเวซินแทน (Tharaphi, 2014, p. 25) สิ่งเหล่านี้
สะท้อนให้เห็นได้วา่ ถึงแม้ผหู้ ญิงจะได้รบั การศึกษาและได้รบั โอกาสมากขึน้ จากการเปลีย่ นแปลง
ของสังคม แต่อย่างไรก็ตามผู้หญิงพม่ายังคงถูกปิดกั้นและการยอมรับการในการเป็นผู้น�ำ
ยังคงไม่สามารถท�ำได้อย่างสมบูรณ์แบบ
ในขณะที่ นิสารัตน์ มองว่าการเปลี่ยนของผู้หญิงพม่าในสมัยอาณานิคมท�ำให้เกิด
ผู ้ ห ญิ ง แบบใหม่ ที่ อ ่ า นออก เขี ย นได้ ค� ำ นวณได้ และได้ รั บ การศึ ก ษาสู ง แบบตะวั น ตก
ที่มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพอนามัย ภาพรวมของการพัฒนาคุณภาพสตรีแบบสมัยใหม่
เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ในการเพิ่ม จ�ำนวนประชากรอาณานิคมอั น เนื่ อ งมาจากการดู แลสุ ข ภาพ
อนามัยพื้นฐานที่ดีขึ้น และท�ำให้เกิดประชาชนอาณานิคมที่มีความสามารถในการรับมือกับ
การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมสมัยใหม่เพิม่ ขึน้ (นิสารัตน์ ขันธโภค, 2555, น. 134)
ในสังคมพม่าจะมีการก�ำหนดพื้นที่ทางสังคมว่าผู้หญิงผู้ชายควรปฏิบัติตนอย่างไร
โดยเฉพาะในบทบาทภายในครอบครัว ผู้หญิงพม่าจะมีหน้าที่คอยท�ำอาหาร และดูแลสมาชิก
ในครอบครัว แต่ผู้หญิงสามารถเข้าไปมีบทบาทในเรื่องของเศรษฐกิจภายในครอบครัว
และการค้าได้ การแบ่งแยกความแตกต่างระหว่างผู้หญิงผู้ชายในสังคมพม่าสามารถเห็นได้
ตั้งแต่เรื่องบทบาทหน้าที่ในครอบครัว แต่เรื่องที่แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างผู้หญิง
กับผู้ชายมาที่สุด คือ เรื่องของพุทธศาสนาที่มีการก�ำหนดขอบเขตของผู้หญิงและผู้ชาย
อย่างชัดเจนซึ่งส่งผลให้ผู้ชายมีความส�ำคัญมากกว่าผู้หญิงและท�ำให้บทบาทของผู้หญิงถูก
จ�ำกัดขอบเขต หากเปรียบเทียบกับผู้หญิงกลุ่มอื่น ๆ ภาพลักษณ์ของผู้หญิงพม่าอาจดูดีกว่า
ในแง่ของการมีบทบาทในสังคม แต่อย่างไรก็ตามสิ่งเหล่านี้ไม่ได้เป็นจริงเสมอไป ผู้วิจัยเห็นว่า
สังคมพม่ามีการแสดงให้เห็นเรื่องความไม่เท่าเทียมกันของผู้หญิงและผู้ชายตั้งแต่สถานะ

17 2 OK.indd 32 22/12/2560 15:43:01


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
33
บทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถมของประเทศเมียนมา

ในครอบครัว ความคิด ความเชื่อ เรื่องเทพประจ�ำบ้านและบุญบารมีของผู้ชายเป็นเครื่อง


ยืนยันความไม่เสมอภาคระหว่างเพศได้อย่างชัดเจน สิ่งเหล่านี้คือปัจจัยในการสร้างล�ำดับ
ชั้นทางเพศในสังคมพม่าได้เป็นอย่างดี
ความน่าสนใจในการศึกษาเรื่องบทบาทหญิงชายในต�ำราเรียนของประเทศพม่า
คือ ที่ผ่านมางานวิชาการที่ศึกษาเกี่ยวกับต�ำราเรียนในพม่านั้นจะเน้นไปที่การศึกษาเกี่ยวกับ
การพยายามสร้างความเป็นชาติและการสร้างความชอบธรรมของรัฐบาลพม่าโดยการใช้
ต�ำราเรียนเป็นเครื่องมือ เพื่อไปสู่เป้าหมายเหล่านั้น วิรัช นิยมธรรม (2551) ได้อธิบายไว้ว่า
เนื้อหาที่ได้รับการอ้างถึงส่วนใหญ่จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องของการสร้างชาติให้เป็นปึกแผ่น
ตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น ทั้ ง การต่ อ สู ้ ข องกษั ต ริ ย ์ เ พื่ อ สร้ า งอาณาจั ก รที่ ยิ่ ง ใหญ่ ใ นอดี ต
การเข้ามาของอังกฤษที่เป็นผู้ท�ำลายความเป็นเอกภาพท�ำให้เกิดความแตกแยกในพม่า
การเข้ามาของรัฐบาลทหาร และผู้น�ำที่น�ำพาประเทศไปสู่การพัฒนาที่ดียิ่งขึ้น เป็นต้น
สอดคล้ อ งกั บ Nick Cheesman (2002) ประเทศพม่ า ถู ก ครอบง� ำ ด้ ว ยกองทั พ ที่ มี
วัตถุประสงค์ในการสร้างความชอบธรรมตามกฎหมายให้กบั ตนเองผ่านต�ำราเรียน โดยเฉพาะ
ต�ำราเรียนระดับประถม Nicolas & Rosalie (2012) ที่ระบุว่ารัฐบาลพม่าใช้กระบวนการ
ของการศึกษาเพื่อเผยแพร่อุดมการณ์ในระดับชาติ โดยเน้นเกี่ยวกับวีรบุรุษ การสร้าง
ความสามัคคีของชาติ การสร้างศัตรูร่วมกัน การต่อต้านอาณานิคม รวมไปถึงการน�ำเสนอ
ภาพของรัฐบาล เพื่อสร้างรากฐานทางอุดมการณ์ขึ้น แต่อย่างไรก็ตามประเด็นที่เกี่ยวของกับ
เรื่องเพศหรือ เรื่องบทบาทของผู้หญิงและผู้ชายในต�ำราเรียนยังไม่มีการกล่าวถึงมากนัก
ว่า ในต�ำราเรียนของประเทศพม่า มีการจัดรูปแบบการเรียนการสอนที่มีการออกแบบ
รูปแบบและจัดวางเนื้อหาต่าง ๆ เกี่ยวกับเพศ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย หรือ
บทบาทของผู้หญิงและผู้ชายอย่างไร ซึ่งสิ่งนี้เป็นปัจจัยส�ำคัญอย่างหนึ่งที่จะท�ำให้ทัศนคติ
ค่านิยมเกี่ยวกับผู้หญิงและผู้ชาย รวมทั้งการปฏิบัติตนของคนในสังคมเป็นไปในลักษณะ
เดียวกัน ด้วยเหตุดังกล่าวผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาบทบาทหญิงชายที่ปรากฏในต�ำราเรียน
ของประเทศพม่ า ซึ่ ง ผลิ ต ขึ้ น โดยกองต� ำ ราและหลั ก สู ต รการศึ ก ษาพื้ น ฐาน กระทรวง
ศึกษาธิการ ว่ามีการหล่อหลอมและถ่ายทอด ทัศนคติ ค่านิยม ประเพณีปฏิบัติในเรื่องเพศ
รวมทั้งบทบาทของผู้หญิง ผู้ชายในครอบครัวและสังคมอย่างไร
การศึ ก ษาระดั บ พื้ น ฐานของพม่ า ในปั จ จุ บั น จะอยู ่ ภ ายใต้ ก ารก� ำ กั บ ดู แ ลของ
กระทรวงศึกษาธิการ มีการจัดระบบการศึกษาและก�ำหนดเกณฑ์อายุในการเข้าเรียนไว้

17 2 OK.indd 33 22/12/2560 15:43:01


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
34 Walailak Abode of Culture Journal

อย่างชัดเจน ในการศึกษาระดับพื้นฐานใช้ระบบ 5 - 4 - 2 ประกอบด้วย การศึกษาในระดับ


ประถมศึกษา (Primary Education) คือ ระดับ 1 - 5 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Middle
school Education) คือ ระดับ 6 - 9 และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (High school
Education) คือ ระดับ 10 - 11 ดังนี้
ตารางที่ 1 ระดับการศึกษาและช่วงอายุในการเข้าศึกษาของประเทศพม่า
ระดับ จ�ำนวนปี อายุ ระดับชั้น
ระดับประถม ต้น 3 5+ ถึง 7+ 1 ถึง 3
ปลาย 2 8+ ถึง 9+ 4 ถึง 5
ระดับมัธยม ต้น 4 10+ ถึง 13+ 6 ถึง 9
ปลาย 2 14+ ถึง 15+ 10 ถึง 11
ที่มา : (Development of Education in Myanmar, September 2004)

ในการศึ ก ษาเรื่ อ ง “บทบาทหญิ ง ชายต� ำ ราเรี ย นระดั บ ประถมของประเทศ


เมี ย นมา” ผู ้ วิ จั ย ใช้ วิ ธี ก ารแปลเนื้ อ หาจากต� ำ ราเรี ย นด้ ว ยตนเองและมี ก ารตรวจสอบ
โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ โดยการวิเคราะห์จากต�ำราเรียนระดับประถมศึกษา 5 ปีการศึกษา ตัง้ แต่หนังสือ
เรียนในระดับชั้นอนุบาล (เกรด 1) ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (เกรด 5) ตามหลักสูตร
ของกองต�ำราและหลักสูตรการศึกษาพื้นฐาน (The Basic Education Curriculum and
Textbook Committee) กระทรวงศึกษาธิการ ที่ตีพิมพ์ในปี 2012 และใช้ในการเรียน
การสอนระหว่างปี 2012 - 2013 ทั้งหมด 6 วิชา จ�ำนวนทั้งหมด 27 เล่ม ดังต่อไปนี้ ระดับชั้น
อนุบาล (เกรด 1) ประกอบด้วย วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาการอ่านภาษาพม่า
วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคุณลักษณะและหน้าที่พลเมือง ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
(เกรด 2) ประกอบด้วย 5 วิชา คือ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาการอ่านภาษาพม่า
วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคุณลักษณะและหน้าที่พลเมือง ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
(เกรด 3) ประกอบด้วย 5 วิชา คือ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาการอ่านภาษาพม่า
วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคุณลักษณะและหน้าที่พลเมือง ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
(เกรด 4) ประกอบด้วย 6 วิชา คือ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์วิชาการอ่านภาษาพม่า

17 2 OK.indd 34 22/12/2560 15:43:01


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
35
บทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถมของประเทศเมียนมา

วิชาภาษาอังกฤษ วิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ และวิชาคุณลักษณะและหน้าที่พลเมือง


และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (เกรด 5) ประกอบด้วย 6 วิชา คือ วิชาคณิตศาสตร์
วิชาวิทยาศาสตร์วิชาการอ่านภาษาพม่า วิชาภาษาอังกฤษ วิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์
และวิชาคุณลักษณะและหน้าที่พลเมือง
การน�ำเสนอเกี่ยวกับหญิงและชายในต�ำราเรียนระดับประถมของประเทศพม่า
ผูว้ จิ ยั แบ่งเนือ้ หาออกเป็น 6 ส่วน เพือ่ อธิบายเกีย่ วกับความแตกต่างในการน�ำเสนอ
เกีย่ วกับหญิงและชายในต�ำราเรียนระดับประถมของประเทศพม่า โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. การปรากฏของบทบาทหญิงชายในภาพประกอบ
ผูว้ จิ ยั เห็นว่าการท�ำความเข้าใจเรือ่ งการน�ำเสนอภาพเป็นสิง่ ทีน่ า่ สนใจเป็นอย่างยิง่
เพราะภาพประกอบในหนังสือต่าง ๆ เป็นสิ่งที่มีส่วนช่วยให้ส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดความสนใจ
ในหนังสือมากขึ้น เมื่อภาพกับตัวอักษรมีความเชื่อมโยงกัน ความเป็นไปได้ในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการจดจ�ำเนื้อหาและจดจ�ำบทบาทหญิงชายในภาพประกอบได้แม่นย�ำขึ้น
จะสามารถท�ำความเข้าใจบทบาทหญิงชายได้มากขึ้น และผู้วิจัยจึง พบว่า เป้าหมายของ
ต�ำราเรียนในระดับอนุบาลและประศึกษาศึกษาปีที่ 1 นัน้ ไม่ใช่การเรียนเพือ่ ให้อา่ นออกเขียนได้
เท่านั้น แต่เป็นการปลูกฝังความคิดบางอย่างผ่านการท่องจ�ำเนื้อหาในต�ำราเรียน เพราะ
เนื้อหาวิชาการอ่านภาษาพม่า ระดับชั้นอนุบาลนั้นเป็นการเรียนการสอนเกี่ยวกับพยัญชนะ
พื้นฐาน สระพื้นฐาน และอักษรควบกล�้ำทั้งหมด ขณะที่การเรียนวิชาการอ่านภาษาพม่า
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เป็นการเรียนเรื่องพยัญชนะท้าย หรือเทียบได้กับตัวสะกด
ในภาษาไทย แต่เนื้อหาในต�ำราเรียนวิชาการอ่านภาษาพม่า ระดับชั้นอนุบาลกลับมีเนื้อหา
ที่ต้องใช้ตัวพยัญชนะท้ายในการอ่านเกินกว่าครึ่งหนึ่งของเนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาของต�ำราเรียนปรากฏให้เห็นถึงน�ำเสนอภาพของผู้ชายในฐานะผู้มีความรู้
และแข็งแรง และผู้หญิงแง่มุมของความงามเป็นหลัก รวมทั้งภาพของงานบ้านที่น�ำเสนอ
ด้วยภาพของผู้หญิงนั้น คือ งานที่ค่อนข้างละเอียดอ่อน ไม่ต้องใช้พละก�ำลังมากนัก เช่น
การกวาดบ้าน ล้างจาน ซักผ้า ในขณะที่ภาพการท�ำงานบ้านของผู้ชายเป็นจ�ำนวนน้อยมาก
งานบ้านที่น�ำเสนอด้วยภาพของเพศชาย คือ งานที่ต้องใช้พละก�ำลัง เช่น ผ่าฟืน ขนน�้ำ ทั้งนี้
ภาพที่ปรากฏมีเพียงแค่เด็กชายเท่านั้นที่มีส่วนร่วมในการท�ำงานบ้าน ไม่ปรากฏภาพผู้ใหญ่
ชายในลักษณะดังกล่าว

17 2 OK.indd 35 22/12/2560 15:43:01


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
36 Walailak Abode of Culture Journal

จากการศึกษา พบว่า ในต�ำราเรียนในระดับประถมศึกษามีการน�ำเสนอภาพเนื้อหา


ที่เกี่ยวข้องกับบทบาทหญิงชายได้มีการน�ำเสนอภาพบุคคล 2 ลักษณะ คือ ภาพบุคคลเดี่ยว
และภาพบุคคลกลุ่ม การปรากฏของภาพบุคคลที่เป็นภาพเดี่ยวเพศชายนั้น มีมากกว่า
ภาพบุ ค คลของเพศหญิ ง ในทุ ก ระดั บ ชั้ น และทุ ก รายวิ ช า แต่ ใ นขณะที่ ภ าพกลุ ่ ม บุ ค คล
ภาพที่กลุ่มชาย - หญิง กลับมีจ�ำนวนมากที่สุด รองลงมาคือภาพกลุ่มชาย - ชาย โดยผู้วิจัย
ได้ แ บ่ ง ศึ ก ษาภาพไว้ ดั ง นี้ ภาพบุ ค คลเกี่ ย วกั บ อาชี พ ภาพบุ ค คลเกี่ ย วกั บ มารยาทและ
การประพฤติ ต น ภาพบุ ค คลเกี่ ย วกั บ การแสวงหาความรู ้ ภาพบุ ค คลเกี่ ย วกั บ งานบ้ า น
ภาพบุคคลเกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ และภาพบุคคลส�ำคัญ ตัวอย่างเช่น ภาพของครูที่ชื่อ
ด่อดานในขณะที่เข้ามายังห้องเรียน เด็ก ๆ ลุกขึ้น และกล่าวว่า “สวัสดีคุณครู” ด่อตาน
ตอบกลับไปว่า “สวัสดีนักเรียน นั่งลงได้” เด็ก ๆ นั่งลง ด่อดานเขียนบนกระดานและนักเรียน
จดลงในสมุด 10 โมงเช้า เด็ก ๆ ลงไปวิ่งเล่นที่สนามเด็กเล่น 10.15 น. เอเอและซอซอ
กลับมาทีห่ อ้ งเรียน กาวกาวมองไปทีน่ าฬิกา มันเป็นเวลา 10.20 น. แล้ว เขาเคาะประตูหอ้ งเรียน
กาวกาวเข้ามาในห้องเรียน เอเอปิดมัน ครูชี้ไปที่กระดาน จ่อจ่อ ลบกระดาน ครูยิ้ม ครูพูดว่า
“ขอบคุณ จ่อจ่อ” จ่อจ่อกลับไปนัง่ ที่ เด็กวาดรูปปลา แมว และลูกบอลบนกระดาน 13.00 น.
พวกเขากลับบ้าน

ภาพ การเรียนในห้องเรียน
ภาพ
ที่มา :การเรี ยนในห้
(Ministry องเรียน Myanmar, 2014, p. 14)
of Education
ที่มา : (Ministry of Education Myanmar, 2014, p. 14)
ภาพบุคคลกลุภาพบุ่มจากวิ
คคลกลุ ชาภาษาอั
่มจากวิ งกฤษระดั
ชาภาษาอั บชั้นงทีกฤษระดั
่ 5 นี้ เมื่อบดูชัรูป้นภาพประกอบกั
ที่ 5 นี้ เมื่อดูบรการอ่ านเนื้อหาทาให้บ
ูปภาพประกอบกั
ทราบถึา งนเนื
การอ่ การมี ป ฏิ สั ำมให้
้ อ หาท� พั นทธ์ กราบถึ
ั น ระหว่ า งตั ว ละครครู
ง การมี ป ฏิ สั ม พัแนละนั
ธ์ กั นก เรีระหว่
ย น มีากงตั
ารท ากิ จ กรรมร่
ว ละครครู ว มกั นก เรีและ
แ ละนั ยน
มีการท�ำกิจกรรมร่วมกัน และภาพประกอบก็แสดงให้เห็นถึงต�ำแหน่งหน้าทีข่ องบุคคลแต่ละคน่
ภาพประกอบก็ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง ต าแหน่ ง หน้ า ที ่ ข องบุ ค คลแต่ ล ะคนในภาพ ท าให้ ส ามารถเห็ น ภาพที
สะท้อนเนื้อหาประกอบได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ผู้หญิงที่ยืนอยู่หน้าห้อง ภาพของเด็กชายที่ยืนอยู่หน้ากระดาน
ดา และเด็กจานวนหนึ่งที่กาลังนั่งอยู่ที่โต๊ะ แสดงให้เห็นถึงการมีปฏิสัมพันธ์กันตัวละครที่ปรากฏใน
ภาพ บุคคลในภาพคือใคร และกาลังทาอะไร ผู้หญิงที่ยืนอยู่หน้าห้อง เป็นครูชื่อ ด่อตาน (Daw Than)
เด็ก17ชายที่ย2 ืนOK.indd
อยู่หน้36ากระดานดา คือ จ่อจ่อ (Kyaw Kyaw) ซึ่งกาลังลบกระดานตามคาสั่งของครู และ22/12/2560 15:43:02
สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
37
บทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถมของประเทศเมียนมา

ในภาพ ท�ำให้สามารถเห็นภาพที่สะท้อนเนื้อหาประกอบได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ผู้หญิงที่ยืนอยู่


หน้าห้อง ภาพของเด็กชายที่ยืนอยู่หน้ากระดานด�ำ และเด็กจ�ำนวนหนึ่งที่ก�ำลังนั่งอยู่ที่โต๊ะ
แสดงให้เห็นถึงการมีปฏิสัมพันธ์กันตัวละครที่ปรากฏในภาพ บุคคลในภาพคือใคร และ
ก�ำลังท�ำอะไร ผู้หญิงที่ยืนอยู่หน้าห้อง เป็นครูชื่อ ด่อตาน (Daw Than) เด็กชายที่ยืนอยู่
หน้ากระดานด�ำ คือ จ่อจ่อ (Kyaw Kyaw) ซึ่งก�ำลังลบกระดานตามค�ำสั่งของครู และ
เด็กนักเรียนจ�ำนวนหนึ่งที่ก�ำลังนั่งอยู่ที่โต๊ะของตนเอง
จากการศึกษา พบว่า ภาพบุคคลที่ปรากฏสามารถสื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับ
เนือ้ หาและสอดแทรกความคิดเรือ่ งบทบาทหญิงชายไว้หลายด้าน โดยพิจารณาจากการแต่งกาย
เครือ่ งแบบ สถานที่ กิจกรรมทีป่ รากฏในภาพ เช่น ภาพอาชีพของเพศชายมีความหลากหลาย
กว่าเพศหญิง อาชีพที่ถูกแทนด้วยภาพของเพศชาย ได้แก่ ครู แพทย์ วิศวกร เกษตรกร ทหาร
นักดับเพลิง บุรุษไปรษณีย์ พนักงานขับรถ นักเรียน ช่างฝีมือ และช่างยนต์ และอาชีพ
ที่ แ ทนด้ ว ยภาพของเพศชายนั้ น ล้ ว นเป็ น อาชี พ ที่ ต ้ อ งใช้ ทั ก ษะ ความสามารถ หรื อ
ความแข็งแกร่ง ในขณะที่เพศหญิงมีการน�ำเสนอเพียงไม่ก่ีอาชีพเท่านั้น เช่น แม่บ้าน ครู
พยาบาล เกษตรกร นักเรียน และต�ำรวจจราจร ส่วนใหญ่เป็นอาชีพที่ไม่ต้องใช้แรงงาน
แต่เป็นอาชีพที่ต้องมีความละเอียดอ่อน และมีบทบาทในการเป็นผู้สนับสนุนมากกว่า
2. คุณลักษณะของตัวละครที่ปรากฏในต�ำราเรียน
ผู้วิจัยได้แบ่งออกเป็นด้านต่าง ๆ เพื่ออธิบายให้เห็นภาพแสดงของบทบาท
หญิงชายที่ปรากฏอยู่ในต�ำราเรียนได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนี้ ความเป็นผู้น�ำ ความประพฤติ
ความรู้ความสามารถ ด้านการอบรมสั่งสอน การแสดงออกทางความรู้สึก ทักษะ ความงาม
และอาชีพ จากการศึกษาพบว่าเนื้อหาต�ำราเรียนมีการน�ำเสนอเกี่ยวกับการแสดงออกถึง
ความมี ม ารยาทและอ่ อ นน้ อ มถ่ อ มตนของเด็ ก หญิ ง และเด็ ก ชายในลั ก ษณะเดี ย วกั น
มี ก ารแสดงออกที่ สุ ภ าพ ให้ ค วามเคารพต่ อ พ่ อ แม่ ครู หรื อ ผู ้ ใ หญ่ ใ นลั ก ษณะเดี ย วกั น
โดยมีผใู้ หญ่ทงั้ เพศหญิงและเพศชายเป็นผูใ้ ห้ความรูแ้ ละคอยอบรมสัง่ สอนเด็ก ๆ ในด้านต่าง ๆ
แต่ดา้ นทักษะและความเป็นผูน้ ำ� ทีป่ รากฏได้นำ� เสนอภาพของเด็กผูช้ ายหรือผูใ้ หญ่ชายเท่านัน้
ไม่มเี นือ้ หาทีก่ ล่าวถึงผูน้ ำ� หรือผูห้ ญิง โดยเฉพาะเนือ้ ต�ำราเรียนวิชาประวัตศิ าสตร์และภูมศิ าสตร์
ระดั บ ประถมศึ ก ษาตอนปลายปี ที่ 3 และ 4 ที่ มี เ นื้ อ หาเกี่ ย วกั บ กษั ต ริ ย ์ ต ่ า ง ๆ
ที่เป็นผู้รวบรวมพม่าให้เป็นปึกแผ่น และวีรบุรุษหรือผู้น�ำของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ที่มี
ส่วนร่วมในการต่อสู้กับเจ้าอาณานิคมอังกฤษเพื่ออิสระของประเทศพม่า

17 2 OK.indd 37 22/12/2560 15:43:02


อาณานิ คอาณานิ
อาณานิ มอัคงมอั กฤษเพื
คงมอั ง่อกฤษเพื
กฤษเพื อิส่อระของประเทศพม่
อิส่อระของประเทศพม่
อิสระของประเทศพม่ า า า
ด้าด้นต่
านต่างๆางๆแต่แต่ ด้าดนทั กษะและความเป็
้านทั กษะและความเป็ น ผูน้นผูาที
้นาที ่ปรากฏได้ นาเสนอภาพของเด็
่ปรากฏได้ นาเสนอภาพของเด็ กผูก้ชผูายหรื
้ชายหรื อผูอ้ใผูหญ่ ้ใหญ่ ชาย ชาย
เท่เท่
า นัา้ นนั้ นไม่ไม่
มี เมนืี เ้ อนืหาที ่ ก ล่่ กาล่วถึา วถึ
้ อ หาที ง ผูง้ นผูาหรื อผูอ้ หผูญิ้ หงญิโดยเฉพาะเนื
้ น าหรื ง โดยเฉพาะเนื ้ อ ต้ อาราเรี
ต าราเรี ย นวิ ย นวิช าประวั
ช าประวั ติ ศตาสตร์ิ ศ าสตร์ และ และ
ภูมภูิศมาสตร์
ิศาสตร์ระดัระดั บประถมศึ
บประถมศึ กษาตอนปลายปี
กษาตอนปลายปี ที่ ท3ี่ 3และ และ4 ที4 ่มทีีก่มารเนื
ีการเนื ้อหาเกี ่ยวกั
้อหาเกี บกษั
่ยวกั บกษัตริตยริ์ตย่า์ตงๆ่างๆที่เทีป็่เนป็ผูน้ ผู้
รวบรวมพม่
รวบรวมพม่ าให้าให้ ปึกแผ่แผ่ น นและวี รบุฒ รรบุุษนธรรมวลั
รหรื อผูอ้นผูยาของกลุ ษณ์ ่มชาติ พันพธุัน์ตธุ่า์ตงๆ่างๆที่มทีีส่ม่วีสนร่ วมในการต่ อสูอ้กสูับ้กเจ้ับาเจ้า
38 ปึกWalailak และวี ุษหรื ้นลักาของกลุ ่มชาติ ่วนร่ วมในการต่
สารอาศรมวั

อาณานิ
อาณานิ คมอั คมอังกฤษเพื
งกฤษเพื ่ออิ่อสอิระของประเทศพม่
Abode of Culture Journal
สระของประเทศพม่ าา

ผูผู้ช้ชายก ายกาลัาลังงยิยิงงปืปืนน ผูผู้ห้หญิญิงงกกา


ผู้ชายก ผู้ชายก าลัผู้ชงายก ยิาลังปืงาลั ยินงปืงยินงปืน ผู้หญิผูง้หกญิาลั ผูง้หกงญิจัาลัดงกดอกไม้ งาลั
จัดงดอกไม้ จัดดอกไม้
าลังจัดดอกไม้ ผู้หญิงกาลั ทีที่มง่มจัาาด:ดอกไม้ :(Ministry
(MinistryofofEducation EducationMyanmar, Myanmar, ทีที่ม่มาา: :(Ministry (MinistryofofEdE
ที่มาที:่ม(Ministry าที่ม: (Ministry า : (Ministry of Education of Education of Education Myanmar, Myanmar, Myanmar,ที่มาที:่ม(Ministry าที่ม: (Ministry า : (Ministry of Education of Education of Education Myanmar, Myanmar, Myanmar
Education ที่มา Myanmar, : (Ministry of Education 2012, 2012,p.p.15) Myanmar,
15) 2012,2012,p.p.5)5)
2012, 2012, p.2012, 15)
p. 15) p. 15) 2012, 2012, p.2012, 5)p. 5)p. 5)
2012, p. 5)
ผู้ชายก�ำลังในขณะที ยิในขณะที ่ผ่ผู้หู้หงญิตัญิงวงตละครต่ ตาราเรี าราเรีายงยนได้ นได้ ออ่มธิผูผูธิบีก้ห้หบญิารแสดงออกทางความรู
ายถึ ายถึ
งก�ำงลังตัจัตัวดวละครต่ ละครต่ าางงๆๆทีที้ส่มึก่มีกระหว่ ีการแสดงออกท
ารแสดงออก
ในขณะที ในขณะที ่ที่มผาู้หผู:ญิ้ช่ผ(Ministry
ในขณะที ผูายก
งู้หชตายก าลั
ญิ่ผาราเรี
ู้หงตญิ งาราเรี
าลั ยิงงงยตยิปืนได้ ง นงปืปืยนนนได้
าราเรี อ

ธิย บ นได้ อ ายถึ ธิ บ อ ายถึ
ธิ บ ายถึ
ง ตั ว ง ละครต่
ตั ว ละครต่ ๆ า ง ที ๆา ง ที ๆ
ผู ่ ญิ
ม ห
้ ี ก งทีญิการแสดงออกทางความรู
่ ม ง งจัดอกไม้
าลัีกาลั ดจัดอกไม้
ารแสดงออกทางความรู
ง ด ดอกไม้ ้ ส ึกระหว่ ้สาึกงเพศ ระหว่ างเพา
of Education ที่มา : (Ministry of Education
ครต่
กทางความรู
ที่มทีาหญิาง ๆงหญิ ทีหญิ้งส่มและชายแตกต่
ึกี ระหว่
ารแสดงออกทางความรู าEducation
งเพศ านหญิ หญิ คืานงอMyanmar, งและชายแตกต่
และชายแตกต่ ้สอึ้กอเนื ระหว่ า่กทีวถึาล่า่มงเพศ
างกังกั ล่:าน(Ministry
านง:วถึ คืคืองอเพศหญิ งเนืทัMyanmar,
เนื้ ง้ อofง้ช่อหาที ทัวหาที ทั่ยวก้ ง่กงวั
ล่ช่ล่าวกยาวถึ วถึp.ยงกMyanmar,
งเพศหญิ เพศหญิ ผูง้ งใทัยมหญ่
ทั้ งผูี ก้ งช่้ ใารแสดง
ช่หญ่
มววีงวั กงวั มยี กยเด็ารแเด็กก
่ม:า(Ministry และชายแตกต่
: (Ministry งof และชายแตกต่ofEducation
Myanmar, างกั2012, งกัMyanmar, p.คืเนื
งกั นอ้อคืเนื
15) หาที ่ก้อล่หาที
หาที ทีาง่ก่มวถึ
เพศหญิ เพศหญิ
(Ministry ofEducation้ งงวั งช่Education เด็
2012, และวั
งวั
เด็ เด็และวั ยกผูและวั
5)Myanmar, ้ ใยหญ่ ารแสด
วถึ
กและวั
2012, งความรู
เพศหญิ ยความรู
p. ผูp.15)
้ ใ้สหญ่ ึกงมากกว่ ทั้สม้ งึกี กช่มากกว่ วึกงวั
้สารแสดง ามากกว่
เพศชาย ยาเด็เพศชาย กาความรู และวั
ความรู ย้ส้ง้สผูึกความรู
ึก้ ใทัมากกว่
หญ่
มากกว่ ึกดีม้สอใี กจึกธิาารแสดง
าเพศชาย
เพศชาย
้ส2012, ใจงทัp.วล
p.เสี ทัย้งกัใจ
5) ้งความรู
5)งความรู ้สน้สึกเช่ึกดีบทอ่ ดีในเกี จใจบทอ่ าเสี่ยเสี
ยวกัยาใจนเกี ใจ กักั่ยงบงวล วลบ้ยเช่งลู เช่น้ยกนงลู บทอ่
บทอ่ าวกานเกี
ยนเก ว่ย
2012, ความรู
15) ในขณะที ่ผู้หเพศชาย ญิทัง้งต�ความรู ำทัราเรี ย้งสนได้ความรู บดีเสี ใึกจย2012,
ายถึ ดีใจ งใตัจยวกัละครต่
เสี เช่วล
ากังนงๆเช่ วล บทอ่ ที่มีกานารแสดงออกทาง นเกี ่ยบวกั การเลี วกัการเลี การเลี ชายด้ ้ยกงลู ชายด้ ชาย
กีเสี่ยวกั
ยใจความรั
บการเลี กัความรั
งวลกความรั ความรู เช่งลู
้ยความอบอุกนกความอบอุ ้สบทอ่ึกกชายด้ ระหว่ความอบอุ า่นานเกี
วงเพศหญิ
ยและกอดลู ่ยความรั
่นความรั วกั่นงบและชายแตกต่
และกอดลู การเลี
และกอดลู กกกชายไว้ ความอบอุ ก้ยชายไว้
ความอบอุ งลูกอากชายไว้
ย่งกัชายด้ ่นย่่นคืาและกอดลู
าอนงทะนุ วย่เนืยถา้นอมของแหม่
ออและกอดลู
งทะนุ องทะนุหาที ถนอมของแหม่ ่กล่ถกากนอมของแหม่
ชายไว้
วถึชายไว้ งเพศหญิ งเว ออย่ย่ง(Ministry
งาเว
ทัางทะนุ
้งงทะนุ
ช่ง(Ministry
วเวงวัย(Ministry ถเด็ถนอมของแหม่
นอมของแหม่
กof ofEducation ofEducatio งEduc
งเวเว(M(M
างทะนุ
ในขณะที
Ministryในขณะที ถMyanmar,
Myanmar, นอมของแหม่
่ผู้หof ญิู้หงญิตEducation
และวั
่ผMyanmar, งยาราเรี
2012, ้ใหญ่งยมเว
ตผูาราเรี 2012, นได้
p.นได้
2012, (Ministry
ีกยารแสดงความรู อMyanmar,
ธิMyanmar,
47)
p. อบธิายถึ p.บ47) ายถึ
หรื ง47) อตัหรื วof
ตัึกละครต่
ง้สการน วมากกว่
อ 2012,
ละครต่
หรื
การน Education
2012,
าเสนอภาพของผู
อ การน างเพศชาย
าๆงp.p.
าเสนอภาพของผู ๆที่ม47)
าเสนอภาพของผู ทีีก47)
ทั่มารแสดงออกทางความรู
้งีกความรู
้หหรืญิอ้สองการน
หรื
ารแสดงออกทางความรู ้ ห ึกการน
พม่ ดีใจ าเสนอภาพของผู
ญิ ง
้ าพม่
ห ทีญิเสีาเสนอภาพของผู
่ใงห้ายพม่ ใจ กังวล
ค่ใวามส
ที า ห้ ที ค ่ ้สวามส
ใ ห้ึกาคั
้สคระหว่
เช่ึกระหว่
ญนาคั
วามส กับาญ้หาคังเพศ
้หญิกัาญิ่องเพศ
เรื บญงงการดูงเรื
พม่ กัพม่
่บอางการดู
เรืาที่อทีแ่ใงกา
ห้่ใลห้คแคว
หญิหญิ งความสะอาดและการต่
และชายแตกต่ บทอ่ า นเกี ย
่ วกั
างกังกั บ การเลี ย

น่ใแห้นาลคืคงกายของตนเองเป็
อวามส งลู ก ชายด้ ว ยความรั ก ความอบอุ น
่ และกอดลู ก ชายไว้ อ ย่ า งทะนุ ถ นอม
นอภาพของผู
วามส าคั บ้หเรืญิ่องพม่
ญกัความสะอาดและการต่
ง และชายแตกต่
ความสะอาดและการต่ของแหม่ งการดู งเวาาที(Ministry อาเนืงกายของตนเองเป็
้ อ หาที
ofเนืาาคั
คืความสะอาดและการต่
ความสะอาดและการต่ ญ่กกัล่บ่กาล่เรืวถึา่อMyanmar,
้ องกายของตนเองเป็
Education หาที นงงการดู
วถึ เพศหญิ
อย่งเพศหญินาอย่ งมาก ลงอย่ทังการมี
แนางกายของตนเองเป็
าางกายของตนเองเป็ งมาก
2012,
้ งาทัช่งมาก ้ งวช่การมีงวัวผงวั
p. มด
ยการมี เด็เด็
47)ยผาและยาว
กมด และวั
หรืกผอาและยาว นนอย่อย่
และวั
มด
การน�
ยผูายละเอี
าและยาว า้ ใงมาก
ำเสนอภาพ ผูหญ่
งมาก ้ ใหญ่ มยีดลออกั
ละเอี กการมี
ารแสดง
การมี
มละเอี
ี กยารแสดง
ดลออกั ผยผบดลออกั
มด มด
เรืาและยาว่อบาและยา
งของ
เรื่บองขอ เรื่อ
ความรู
วย่าละเอี
งมาก ้ ส ึ ก มากกว่
้สการมี ผผ้้มด า เพศชาย าและยาว ทั ้ ง ความรู้บงละเอี ้ ส ึ ก ดี ใ จ เสี ย ใจ กั ง วล เช่ น บทอ่ า นเกี ่ ย วกั บ การเลี ้ ย งลู ก ชายด้ ว ย
ความรู
การเสื ยการเสื ้อึกผ้การเสื
ดลออกั มากกว่
ของผู า้อเครื างประดั
หบา่อ้ ญิเครื
เรื ผ้งเพศชาย
่อพม่ งของ
า่อเครื าที่อบ่ให้งประดั
งประดั คทัและการประทิ
การเสืการเสื
วามส� ความรู บำ้อคัย้อและการประทิ
และการประทิ ผ้ญดลออกั
้สผ้ากัึกาเครื
บดีเครื เสีบวงประดั
เรืในจ่ออผิงการดู
่องประดั นด้เรื
ยผิวใจ่อยทานาคาสม่
วแนงของ กัผิบวบงวยทานาคาสม่
วล
และการประทิ
ด้และการประทิ
ด้ลความสะอาดและการต่ เช่น บทอ่
วยทานาคาสม่ าเสมอ านเกี
าเสมอ นผิว่ยาผิวอย่
นตัาเสมอ วกั
วตัด้ด้วาบวอย่
งกายของตนเอง ตัการเลี
ยทานาคาสม่
งเช่ ยทานาคาสม่
วานอย่ งเช่า้ยนงเช่ งลูกนชายด้ าเสมอ าเสมอ วย ตัตัววอย่ อย่าาง
ความรั
ความรั ก ความอบอุ เป็ น อย่ า ่ น
งมาก และกอดลู การมี ผ มด� ก ำ ชายไว้
และยาว อ ย่ า
ละเอีงทะนุ ย ดลออกั ถ นอมของแหม่ บ เรื ่ อ งของการเสื ง เว ้ อ (Ministryผ้ า เครื ่ อ งประดั of บ Education
และ
น ก ความอบอุ
วยทานาคาสม่
างเช่ การประทิ
าเสมอนผิ่นตัววด้และกอดลู อย่

างเช่นกชายไว้
ยทานาคาสม� ำ
่ เสมอ
อย่ างทะนุถนอมของแหม่ งเว (Ministry of Education
ตัวอย่างเช่น ้หญิงพม่าที่ให้ความสาคัญกับเรื่องการดูแล
Myanmar,
Myanmar,“2012, 2012, p. p.47)47)หรืหรื อการน อ การน าเสนอภาพของผู
าเสนอภาพของผู ้ห့္တျခိ ญิ့့္္ပြဲงပြဲพม่ าမ့ျခိ ทีလား။ ่ใ့္ห้မ့ျခိ ค့္วามส าคั ญၾကားြသည္။ กัတျခိบเรื่อမိงการดู แ့့္္မိ့္ลးကကလးမ
ရြာထဲ “ရြာထဲ မ“ွ ာရြာထဲ မွ ာ အျငိ မွ ာ အျငိ မ့္ ပြဲ မရ့္ိ ွသ
အျငိ “ပြဲမ“ရြာထဲ
ရရြာထဲ
လား။
့္ ိ ွသ
ပြဲ ရလား။ မဆို
ိ ွသ မွ ာလား။
ွ ာင္ ့ ဆိုးသံ င္အျငိ အျငိ
့တျခိ
ဆို းသံင္မ့မ မးသံ ရမရိ ွသ
့ျခိ
တျခိ ့္ိ ွသ ့္လား။
မ ဆို
မဆို ့္င္င့္
ၾကားြသည္။ ့းသံ
ၾကားြသည္။ းသံ တျခိမမ့္ ့္န့ျခိ့္ျခိ
့မိးကကလးမ် မ
နမ န့္ းကကလ ၾက
ာၾက း
ความสะอาดและการต่
ความสะอาดและการต่ า งกายของตนเองเป็
างกายของตนเองเป็ น อย่ า งมาก
น့့္္อย่းကကလးမ် าယိงมาก การมี การมี ผ มด ผပြဲมด าและยาว าและยาว ละเอี ละเอี ย ดลออกั
ยးလွ ดลออกั บ เรื ่ อ
บၾပြဲเรื งของ่อသ งของ
င္ ့ းသံ့ျဖီ
ကားြသည္။ တျခိ းလိ
့ျဖီမး့္းက့နျြီ ့္ လိ့ျခိ
့ျဖီ
မိ နမ့္ း့္းက့နျြီ
လိ မမ့့္္းက့နျြီ
းကကလးမ် ။ ယိ ။မၾကားြသည္။ ့္းအက
ယိ
ာ း။မ့ျဖီ ့္းအက
ယိ့ျဖီ မး့္းအက လိးလိ ့ျငိ
မမ ့္းက့နျြီ မ့ျငိ
့္းက့နျြီ့္မိက့ညာင္ နမ့ျငိ က့ညာင္
။မ။့္ ယိ့ မးလွ
က့ညာင္မ ့္းအက
့္းအက ့သးလွ ာ းည္။ ့သ းလွည္။ သ သ
့ျငိ ့ျငိ ိပြဲ
မမ့္းလွ
ည္။ သ
မ့့္္ပြဲ ိ မက့ညာင္
က့ညာင္ ့်င္အ
့္းလွ
သ ိ မိ မ ့္ျြန္
့္းလွ
့ ်င္အ
့ိ့ မးလွ
့့္ျြန္ၾ
်င္အိသ မကမည္။
့္ျြန္
သ ၾ
ည္။
ည္။ ကမည္။ ”ပြဲကမည္။
သ แปลว่
ိ မ”ိ မ ့္းလွ แปลว่
့္းလွ ”า ့แปลว่
“ใน
့ าိမိမ့္ျ
်င္အ်င္အ “ใ့္า
การเสื
การเสื อ
้ ผ้ อ
้ า เครื
ผ้ า เครื อ
่ งประดั

่ งประดั บ บและการประทิ
และการประทิ น ผิ น ว ผิด้ วว ยทานาคาสม่
ด้ ว ยทานาคาสม่ าเสมอ าเสมอ ตั ว ตัอย่ ว อย่ า งเช่
า งเช่ น น
င္ျြန္
့းလွ ၾ หมู
သကမည္။ ่บည္။
หมู ้านมี่บပြဲหมู
้า”งသ านอะเญ่
นมี
่บแปลว่
ိ မ้าง့္းလွ
นมีานอะเญ่ ့ ง်င္အมั“ใน
งาานอะเญ่ ้ยိမ့္ျြန္
งได้ มัหมู ้ยยหมู งินมัได้
ၾ ่บคนส่
้ย่บ้ายကမည္။
้านมีได้
ินนมี งยงเสีินงานอะเญ่
คนส่ ยง”งดั
คนส่
านอะเญ่ งยงงดั
เสีแปลว่
แปลว่ เสีสาวๆ งยงงมัางดั
ามัสาวๆ งกได้ได้
้ย“ใน
้ย“ในหมู าลัยยกงิน่บแต่
สาวๆ ินาลั
คนส่
้าคนส่ กงาลั
นมี ตังงวานอะเญ่
แต่ งอยู
เสี งเสี แต่ตัยว่ ยงดั งท่อยู
ตัางวงทางการร
งดั ่ งมัอยู
ท่สาวๆ า่ ทางการร
้ยสาวๆ ท่ายทางการร
ได้ ินกาดู าลัาลัสงาดู
กคนส่ วยงาม
งแต่ แต่สงาดู งตัตัวสวถ้อยู
วยงาม วยงาม
อยู างานจบ ่ ถ้ท่่ ท่างานจ ถ้ทาง
าทางก างา
เสี งบ้ยตัวงดั งอยู
บ้ถ้สาว าๆวนนด้ ”ก�ำว(Ministry
นลัยกั ง”แต่น(Ministry ง”ตัาดู ว(Ministry
อยู ่ ท่าEducation ทางการร� ำดูสMyanmar, วยงามMyanmar, ถ้าMyanmar, งานจบแล้ ว กลั บ9)บ้p.านด้9)p.วยกั9)น”
การรแล้
าวๆ าลัวแล้
กาดู ส“งกลั แต่
วยงาม
ရြာထဲ
วแล้ บกลั าวบนด้
မ ွ ာ
กลั าาวบ่ นด้ยกัท่บ้အျငိ
งานจบ ยกั
ทางการร
မ ့္ แล้
ပြဲ แล้ ရ ว
ိ ွ သ ว กลั
လား။ กลั สบofบวยงาม บ้ บ้ า
ဆို าof
นด้นด้
င္ ့
Education
ว ofวยกั
းသံ
ถ้ยกั Education
าတျခိ
งานจบ
น น ” ” (Ministry
(Ministry
p. 9)တျခိ မ့္ ့ျခိ မ့္ ၾကားြသည္။မိ နမိ့္နးကကလးမ်
မ ့္ ့ျခိ မ ့္ of 2012,
of ၾကားြသည္။Education 2012,
Education p.2012, Myanmar,
Myanmar,2012, ာ2012,
း ာ း p. p.9)9
“(Ministry
ရြာထဲ မွ ာ of Education အျငိ မ့္ ပြဲMyanmar, ရိ ွသ လား။ 2012, ဆို င္ ့ းသံ ့္ းကကလးမ်
9)ion
့ျဖီ့ျဖီ
းလိMyanmar,
းမ လိ့္းက့နျြီ မ့္းက့နျြီ
။ 2012, ယိ။ ယိ မผ့္ูးအကห้ မญิ့္းအက งp.พม่9) าทีถ့่ျငိ อื ့ျငိ ว่မามี့္မคက့ညာင္ วามงดงามต้
့္က့ညာင္ ့းလွ องเป็
့းလွ သသ นคนที
ည္။ ည္။ ပြဲม ่ ပြဲผี ိ သ
သ မวิ ့္းလွ
พรรณดี
ိ မ့္းလွ ့်င္အ့ ดวงตาสดใส
ိ မ်င္အ့္ျြန္ ိ မ့္ျြန္ ၾၾ ကမည္။ เอวคอด
ကမည္။ ” และ แปลว่
” แปลว่ า “ใน า “ใน
หมูหมู่บ้า่บนมี งานอะเญ่ มี เ ส้ น ผมที งมัง้ยมัได้ ่ เ ป็ น เงางามยินยคนส่ นอกจากความงามทางร่
งเสีงยเสีงดัยงดั ง สาวๆ า งกายแล้ ว ผู ้ ห ญิ ง พม่ า ในแบบอุ ด มคติ จ ะต้ อ ง
้านมี งมีานอะเญ่ กิ ริ ย ามารยาทที ้ย ได้ ินคนส่
่ ส วยงามอี ก ด้ ว ยในขณะทางกลั ง สาวๆกาลักาลั งแต่งแต่ งตัวตัอยูวอยู
บ กั นงเนื ้ อ หาที
่ ท่่ าท่ทางการร
่ เากีทางการร ่ ย วข้ อ งกั บาดู
าดูสวยงาม
ผู ้ ชสายไม่ วยงาม ถ้างานจบ
ไ ด้ ถ้างานจบ
แล้แล้ว กลัว กลั บบ้บาบ้ชีนด้ ้ใาห้นด้ วเห็ยกั นวเกียกั น่ย”นวกั(Ministry ด้านนี้ ofofEducation
”บ(Ministry EducationMyanmar, Myanmar,2012, 2012,p. p.9) 9)

17 2 OK.indd 38 22/12/2560 15:43:02


ผู้หญิงพม่าที่ถือว่ามีงดงามต้องเป็นคนที่มีผิวพรรณดีสารอาศรมวั
ดวงตาสดใส เอวคอด
ฒนธรรมวลั และมียเส้ลันกผมที
ษณ์่เงา
งาม นอกจากความงามทางร่างกายแล้ว ผู้หญิงพม่ าในแบบอุ ดมคติจกะต้ องมีบกประถมของประเทศเมี
ิริยามารยามที่สวยงาม
39
บทบาทหญิ งชายในการศึ ษาระดั ยนมา
อีกด้วยในขณะทางกลับกันเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับผู้ชายไม่ได้ชี้ให้เห็นเกี่ยวกับด้านนี้

3. กิจกรรมของหญิ3. กิจกรรมของหญิ
งชายที่ปรากฏในต งชายทีาราเรี่ปรากฏในต�
ยน ำราเรียน
ผู้วิจัยได้แบ่งการน ผู้วิจัยาเสนอเกี
ได้แบ่งการน�่ยวกับำการท
เสนอเกี ากิจ่ยกรรมที
วกับการท� ำกิจกรรมที
่ป รากฏในต าราเรี่ปยรากฏในต�
น ได้แก่ ด้ำาราเรี นกีฬยาน ได้แก่
กิจกรรมด้ด้าานการเรี
นกีฬา ยกินรูจกรรมด้
้ และ กิาจนการเรีกรรมด้ายนศาสนานรู้ และการท กิจกรรมด้
ากิจกรรมต่านศาสนาางๆ ของเพศหญิ การท�ำกิงจและชาย
กรรมต่ามีง ๆ ของ
ความแตกต่ เพศหญิ างชัดงเจนอย่
และชาย างมากมีความแตกต่
ตาราเรี ย นมี างชัการแสดงให้
ดเจนอย่างมาก เห็ น ถึงต�กิำจราเรี
กรรมที ยนมี่หลากหลายของผู
การแสดงให้เห็น้ชาย ถึงกิจกรรม
ในขณะทีที่ผ่หู้หลากหลายของผู
ญิงมีแค่กิจกรรมในพื ้ชาย้นทีในขณะที ่ผู้หญิงยมีสูแงค่อย่กิจางบ้
่ที่มีความปลอดภั กรรมในพื
านและโรงเรี ้นที่ทยี่มนีคในกรณี
วามปลอดภัที่ผู้หญิยงสูและ งอย่างบ้าน
ผู้ชายมีกและโรงเรี
ารทากิจกรรมในลั ยน ในกรณี กษณะเดีที่ผู้หยวกั
ญิงนและผู ้ชายมีการท�
กิจกรรมของผู ำกิกจจะมี
้ชายมั กรรมในลั
ความโดดเด่ กษณะเดี นกว่ายในเรื
วกัน่องของ กิจกรรมของ
ผู้ชายมักคจะมี
ทักษะและการใช้ วามคิ ความโดดเด่
ดสร้ างสรรค์นมกว่ าในเรื
ากกว่ ่องของทักษะและการใช้
า และความแตกต่ างของภาพลัความคิ กษณ์ ดลั กสร้ษณะ
างสรรค์ และมากกว่า
กิจกรรมต่และความแตกต่
างๆ แสดงให้เห็นว่าางของภาพลั ผู้หญิงมีความด้ กษณ์
อยกว่ลัาผูก้ชษณะ าย ทั้งและกิ
ด้านพละก จกรรมต่
าลัง ทักาษะ ง ๆและความรู
แสดงให้้ เห็นว่าผู้หญิง
มีความด้อยกว่าผู้ชาย ทั้งด้านพละก�ำลัง ทักษะ และความรู้
4. พื้นที่ของบทบาทหญิ
4. พื้นที่ของบทบาทหญิ
งชายที่ปรากฏในต งชายที ่ปรากฏในต�
าราเรี ยน ำราเรียน
ผู้วิจัยได้แบ่งเนืผู้อ้วหาในการอธิ
ิจัยได้แบ่งเนืบายออกเป็
้อหาในการอธิ น 2 ส่บวายออกเป็ น 2 ส่วน คือ การปรากฏของบทบาท
น คือ การปรากฏของบทบาทหญิ งชายใน
หญิงาราเรี
พื้นที่บ้านในต ชายในพื ยน ้นและการปรากฏของบทบาทหญิ
ที่บ้านในต�ำราเรียน และการปรากฏของบทบาทหญิ งชายในพื้นที่สาธารณะในตงาราเรี ชายในพื ยน ้นโดยมี ที่สาธารณะ
รายละเอีในต�ยดดัำงราเรี
ต่อไปนียน้ โดยมี รายละเอีการปรากฏของบทบาทหญิ
ประการแรก ยดดังต่อไปนี้ ประการแรก งชายในพืการปรากฏของบทบาทหญิ
้นที่บ้านในตาราเรียน งชาย
ในพืน้ ทีาครอบครั
สาหรับชาวพม่ บ่ า้ นในต�วำเปรี ราเรียยบเสมื
น ส�อำหรันศูบนชาวพม่ าครอบครัวเปรีคคียบเสมื
ย์กลางของความสามั ความรัอนศู นย์กลางของความสามั
ก และความเคารพที ่ คคี
เรียงลาดัความรั
บมากตัก้งแต่และความเคารพที
ผู้อาวุโสมากจนถึงเ่ ผูรี้ทยี่องล�ายุำดัน้บอยทีมากตั ง้ แต่ผอู้ าวุโสมากจนถึ
่สุดในครอบครั งผูท้ อี่ ายุนอ้ งยที
ว การแบ่งงานของหญิ ส่ ดุ ในครอบครัว
และชายมี
ความแตกต่ การแบ่างกันงผูงานของหญิ
้ชายจะทางานที ง และชายมี
่ใช้แรงงานหรื ค วามแตกต่
อทางานนอกบ้ า งกัานเพื
น ผู่อดู้ ชแายจะท�
ลสมาชิกำในบ้ งานที ่ ใ ช้นแหลัรงงานหรื
านเป็ ก อ
ในขณะทีท�่ผำู้หงานนอกบ้
ญิงจะเป็นผูา้ทนเพื ี่คอยสนั่อดูบแสนุ
ลสมาชิ กในบ้
นผู้ชายเพื ่อให้านเป็
งานนัน้นหลัๆ สกาเร็ในขณะที
จตามเปูา่ผหมาย ู้หญิงตัจะเป็
วอย่านงเช่
ผู้ทนี่คอยสนับสนุน
ผู้ชายเพื่อให้งานนั้น ๆ ส�ำเร็จตามเป้าหมาย ตัวอย่างเช่น
“พ่อของเรามี บุ ญคุณ ที่ยิ่ งใหญ่ คอยหาเงิน เพื่ อ
“พ่เป็อนของเรามี
ค่าใช้จ่ าย บเมืุ ญ่อคุเกิณดปัทีญ่ ยิ่ งหาพ่
ใหญ่อของเราจะช่
คอยหาเงิวนยเพื่อเป็น
ค่แก้
า ใช้ไขจพ่่ าอยของเราน่
เมื่ อ เกิาดเคารพ
ปั ญ หาพ่ เป็นอผู้วของเราจะช่
างแผนภายในว ยแก้ ไ ข
พ่ครอบครั
อของเราน่ าเคารพ เป็นผู้วางแผนภายในครอบครัว
ว พ่อของเรามีสติปัญญาและความคิดที่
พ่กว้
อ ของเรามี ส ติ ป ั ญ ญาและความคิ ด ที่ ก ว้ า งไกล
างไกล พ่อของเราสอนว่า เรื่องของประเทศก็
พ่ อ ของเราสอนว่ า เรื่ อ งของประเทศก็ เ หมื อ นเรื่ อ ง
เหมือนเรื่องของเรา”
ของเรา”

ภาพ พ่อของเรา
ที่มา : (Ministry of Education Myanmar, 2012, p. 6)

17 2 OK.indd 39 22/12/2560 15:43:03


ภาพ พ่อของเรา
สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
ที40่มา : (Ministry of Education
Walailak Abode Myanmar, 2012, p. 6)
of Culture Journal

ในภาษาพม่
ในภาษาพม่ามีคาำ� มีศัพคท์าศัคำ� พหนึท์ง่ คทีาหนึ แ่ สดงถึ่ ง ทีงสถานะในครอบครั
่แสดงถึงสถานะในครอบครั ว นัน่ คือค�ำว่า “เองน์ ว นัอ่นนู คืตั ”อค าว่า “เองน์อู นัต
( အိမ္ဦးနတ္ ) แปลว่ แปลว่าา“เทพประจ� “เทพประจ ำบ้าาบ้
น”าน” ชาวพม่ชาวพม่ ามีความเชื
ามีความเชื ่อเรื่อง ่อ“นัเรืต่อ”ง นั“นั ต”งคมพม่
ตในสั นัตในสัา งคมพม่า หมายถ
หมายถึ
“วิ ญญาณศั ง “วิญกญาณศั ดิ์สิทธิ์ขกองผู ดิ์สิท้ตธิ์ขายร้
องผูา้ตย”
ายร้เป็าย”
นภูเป็ตผูน้เภูป็ตนผูที้เป็่พนึ่งทีของปุ
่พึ่งของปุ
ถุชนทั ถุชนทั
่วไป่วไปนัตนัทีต่เทีป็่เนป็ภูนตผีจะมี ฐานะกึ่งเทพ
ภูตผีจะมี ฐานะกึ่งเทพกึ่งผี คือ อยู่ระหว่างเทพและผี มีระดับสูงกว่าผีทั่วไป แต่มิเทียบเท่า
กึเทวดา่งผี คืนัอตอยู ่ระหว่างเทพและผี มีระดับสูงกว่าผีทั่วไป แต่มิเทียบเท่าเทวดา นัตจึงไม่ใช่ผีธรรมดาสามัญ
จึงไม่ใช่ผีธรรมดาสามัญ (วิรัช - อรนุช นิยมธรรม, 2551, 144) ค�ำว่า “เองน์อูนัต”
(วิ
ได้รกัชล่า-อรนุ วถึง ผูช้ชายทีนิยมธรรม,
่มีอายุมากที 2551,่สุดในบ้144)
าน เป็คนาว่ ผู้ทาี่ท�ำ“เองน์
หน้าที่ดอูแูนล ัตปกครอง ” ได้กล่และมี าวถึงอ�ำผูนาจสู ้ชายทีงสุ่มดีอายุมากที่สุดในบ้าน
ในบ้นาผูน้ ทกรณี
เป็ ี่ท าหน้ ที่ปู่หารืทีอ่ ดพู่ แอเสี
ล ยปกครอง
ชีวิต ลูกชายจะกลายเป็
และมีอ านาจสู นเทพประจ�ง สุ ดในบ้ ำบ้านหรืาน อกรณี เองน์อทูนี่ ปัตูุ หท�ำรืหน้
อ พ่าทีอ่ เสี ย ชี วิต ลู กชายจะ
เป็นเสาหลักของครอบครัว และจากการศึกษาในต�ำราเรียนระดับประถม
กลายเป็ นเทพประจาบ้านหรือเองน์อูนัตและทาหน้าที่เป็นเสาหลักของครอบครัว และจากการศึกษ
นอกจากนี้ เนื้อหาต�ำราเรียนระดับประถมศึกษาที่เกี่ยวกับพื้นที่ในบ้าน อธิบาย
ในต าราเรี
ถึงบทบาทของลู ยนระดักได้ชบดั ประถมพบว่
เจนทีส่ ดุ เพราะต� า ำราเรียนชุดนีเ้ ป็นต�ำราเรียนส�ำหรับเด็กเล็ก ตัวอย่างเช่น
ลูกสาวควรจะปฏิ นอกจากนี บัติต้เนให้ นื้อดหาต
ีพร้อาราเรี
มช่วยเหลื
ยนระดั อแม่บในการท�
ประถมศึ ำงานบ้กษาที านไม่่เกีใ่ยห้วกั
ขาดตกบกพร่
บพื้นที่ในบ้ องาและ น อธิบายถึงบทบาทขอ
ลูเชืก่อได้ฟังชค�ัำดสัเจนที่งสอนของผู่สุด เพราะต ้ใหญ่ (Ministry าราเรียofนชุEducation
ดนี้เป็นตาราเรี Myanmar, ยนส2012,
าหรับเด็ p. ก6)เล็แม้กวตั่าเนืวอย่้อหาางเช่น ลูกสาวควรจ
ในบทเรียนนี้จะไม่ได้กล่าวถึงแม่หรือภรรยาโดยตรง แต่ก็แสดงให้เห็นถึงคุณลักษณะของแม่
ปฏิ
หรือบภรรยาตามแบบที
ัติตนให้ดีพร้อมช่ วยเหลื
่ต�ำราเรี ยนต้ออแม่ ในการท
งการน� ำเสนอได้ างานบ้ านไม่
โดยเนื ให้ขาดตกบกพร่
้อหาในส่ วนดังกล่าวได้สออดคล้ ง และเชือง ่อฟังคาสั่งสอนขอ
ผูกับ้ใหญ่ ทัศนคติ (Ministryของชาวพม่ of Education
าที่คาดหวังให้Myanmar, ผู้หญิงมีความเป็ 2012, นแม่p.บ้า6) นแม่แม้เรืวอ่านเนืภรรยาที
้อหาในบทเรี ่ดีต้องยนนี้จะไม่ไ ด้กล่าวถ
หุงหาอาหาร
แม่ ห รื อภรรยาโดยตรง ดูแลบ้านให้เป็นแต่ ระเบี
ก็แยสดงให้
บเรียบร้เอห็ยนในบทเรีถึงคุณลัยนข้ างต้นได้สร้างความคาดหวั
กษณะของแม่ หรือภรรยาตามแบบที งว่า ่ตาราเรียน
เด็กหญิงจะเติบโตและปฏิบัติตนเช่นเดียวกับแม่ เพราะเนื้อหาระบุชัดเจนว่าสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้
ต้ล้วอนเป็ งการน นหน้าเสนอได้
าที่ของลูกสาว โดยเนื้อหาในส่วนดังกล่าวได้สอดคล้องกับทัศนคติของชาวพม่าที่คาดหวังให้ผู้หญ
มี ความเป็ประการที นแม่บ้านแม่ ่สอง เรืการปรากฏของบทบาทหญิ
อน ภรรยาที่ดีต้องหุงหาอาหาร งชายในพืดู้นแทีลบ้ านให้เป็นระเบี
่สาธารณะในต� ำราเรียยบเรี
น ยบร้อย ในบทเรียน
ข้ผูว้ าจิ งต้ยั นพบว่
ได้าสร้มีากงความคาดหวั
ารอธิบายถึงบทบาทหญิ งว่าเด็งกชายในพื
หญิงจะเติ น้ ทีส่ บาธารณะตามช่
โตและปฏิบวงอายุ คือนบทบาทของ
ัติตนเช่ เดียวกับแม่ เพราะเนื้อหาระบ
นักเรียนในช่วงวัยเด็ก การท�ำกิจกรรมในโรงเรียนของเด็กหญิงและเด็กชายมีสว่ นทีเ่ หมือนกัน
ชัคือดเจนว่ การเรีายสินหนั ่งต่างๆ งสือเหล่ านี้ ล้วำนเป็
และการท� นหน้าที่ขำองลู
กิจกรรมประจ� วัน กสิ่สาว
งที่สามารถชี้ให้เห็นถึงความแตกต่าง
ของการท�ำกิจกรรมในโรงเรียนของนักเรียน คือ การเล่นกีฬงาและการแข่
ประการที ส
่ อง การปรากฏของบทบาทหญิ ชายในพื้นทีงกี่สฬาธารณะในต
าสี การเล่นกีฬาราเรี า ยน ผู้วิจัยพบว่าม
ของเด็ กบผูายถึ
การอธิ ้ ช ายส่ ว นใหญ่ คื องชายในพื
งบทบาทหญิ การเล่ น้นฟุทีต่สบอล และการวิ่ งวแข่
าธารณะตามช่ ง ในขณะที
งอายุ ่ เ ด็ ก ผู ้ ห ญิ ง กเรียนในช่วงวัยเด็ก
คือ บทบาทของนั
เล่นกีฬาพื้นบ้านหรือกีฬาที่ไม่ได้ใช่ทักษะการเล่นมากนัก เช่น การวิ่งแข่ง การเล่นเตย
การท ากิจกรรมในโรงเรียนของเด็กหญิงและเด็กชายมีส่วนที่เหมือนกัน คือ การเรียนหนังสือและการ
การเต้นประกอบจังหวะ เป็นต้น
ทากิจ กรรมประจ าวัน สิ่ งที่ส ามารถชี้ให้ เห็ น ถึงความแตกต่างของการทากิจกรรมในโรงเรีย นขอ
นักเรียน คือ การเล่นกีฬาและการแข่งกีฬาสี การเล่นกีฬาของเด็กผู้ชายส่วนใหญ่ คือ การเล่นฟุตบอล
และการวิ่งแข่ง ในขณะที่เด็กผู้หญิงและเล่นกีฬาพื้นบ้านหรือกีฬาที่ไม่ได้ใช่ทักษะการเล่นมากนัก เช่น
การวิ่งแข่ง การเล่นเตย การเต้นประกอบจังหวะ เป็นต้น
17 2 OK.indd 40 22/12/2560 15:43:03
สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
41
บทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถมของประเทศเมียนมา

5. ค�ำบ่งเพศที่ปรากฏในต�ำราเรียน
ต�ำราเรียนในระดับประถมของประเทศพม่ามีการใช้ค�ำบ่งเพศของเพศชาย
มากกว่าเพศหญิง เนื้อหาในต�ำราเรียนส่วนใหญ่ พบว่า ผู้ชายอยู่ในฐานะของผู้เล่าเรื่องหรือ
ใช้สรรพนามค
เจ้าของเรื่องโดยการใช้ สรรพนามค� าว่ำาว่า“จะหน่
“จะหน่ออ”” (ကကၽန္က့တာ့္ ) แปลว่ แปลว่าา ผม ผม แต่ไม่ได้หมายความว
หมายความว่ าการเล่ เพศหญิ าเรืง่อไม่งของตนเองปรากฏในต
มี พื้ น ที่ ใ นการเล่ า เรื่ อ งของตนเองปรากฏในต�
าราเรียน แต่มีปรากฏเพีำ ยราเรี ง 2ยเรืน ่องเท่านั้น นอ
แต่มีปรากฏเพียง 2 เรื่องเท่านั้น นอกจากนั้น เป็นการเล่าเรื่องของผู้หญิงโดยบุคคลอื่น
เรื่องของผู้หญิงโดยบุคคลอื่นเป็นผู้เล่า ไม่ใช่ตัวละครหลักที่ปรากฏในเนื้อหาเป็นผ
เป็นผู้เล่า ไม่ใช่ตัวละครหลักที่ปรากฏในเนื้อหาเป็นผู้เล่า
6. ความคิดทางเพศที่ปรากฏในต�ำราเรียน
คุณลักษณะของแต่ 6. ความคิ ดทางเพศที
ละเพศภาวะไม่ ใช่ส่ปิ่งทีรากฏในต าราเรียน แต่ได้ถูกก�ำหนด
่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
ผ่านกระบวนการขัดเกลาทางสั คุ ณ ลังกคมที ่มีความซับซ้ลอะเพศภาวะไม่
ษณะของแต่ น และแต่ละบุคคลก็ ใ ช่ สจิ งะค่
ที่ เอกิยดๆขึ้ นซึมตามธรรมชาติ
ซับ แ
เข้าไปเรือ่ ย ๆ จนกลายเป็นทัศนคติ ค่านิยมทางเพศ หรือการปฏิบตั ติ น กระบวนการขัดเกลา
กระบวนการขัดเกลาทางสังคมที่มีความซับซ้อน และแต่ละบุคคลก็จะค่อยๆ ซ
นั้นมีรูปแบบวิธีการหรือกลไกต่าง ๆ ในการก�ำหนดความเป็นเพศขึ้นมาหลายประการ
กลายเป็นทัแน่ศนคติ
เพราะการเติ บ โตของคน น อนย่ค่อามต้ นิยอมทางเพศ หรือการปฏิบ้ัตงทางชี
งขึ้ น อยู ่ กั บ กระบวนการทั ิตน กระบวนการขั
ว วิ ท ยาและ ดเกลานนั้น
ทางวัฒนธรรม กลไกต่ (ปรานี าวงษ์ งๆ เใน ทศ,การก 2544, าหนดความเป็
น. 23) กระบวนการขั นเพศขึ้นมาหลายประการ
ดเกลาไม่ใช่การเริ่มเพราะการเติ ต้น บโต
เมื่อคน ๆ นั้นมีต้วอัยวุงขึฒ้นิในการตั
อยู่กับดกระบวนการทั
สินใจเรื่องต่าง ๆ้ งทางชี แต่กระบวนการขั
ววิทยาและทางวั ดเกลาเหล่ฒานธรรม นี้เริ่มตั้งแต่
(ปรานี วงษ์เท
ในครอบครั ว ความแตกต่ า งในการเลี้ ย งดู เ ด็ ก แรกเกิ ด และจะเริ่ ม เห็ น ได้ ชั ด เจนขึ้ น
กระบวนการขั
เมื่อเด็กค่อย ๆ โตขึ ้น ดเกลาไม่ใช่การเริ่มต้นเมื่อคนๆ นั้นมีวัยวุฒิในการตัดสินใจเรื่องต
ขัดเกลาเหล่
จากการศึ ก ษาต� ำ ราเรี านี้เริย่มนในระดั
ตั้งแต่ในครอบครั
บ ประถมของประเทศเมีว ความแตกต่ายงในการเลี นมาเนื้ อ หาและ ้ยงดูเด็กแรกเกิดแล
ภาพต�ำราเรียนระดั ขึน้ เมืบประถมศึ
อเด็กค่อกยๆ ษาของพม่
โตขึ้น านั้น ถึงแม้จะมีการน�ำเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
เพศหญิงและชายในเนื้อหาต่าง ๆ ที่เหมือนกัน แต่ต�ำราเรียนก็ได้มีการสอดแทรกทัศนคติ
ทางเพศอย่ างเห็น ได้ชัด จากการศึ โดยเนื้อหาของต� กษาตำาราเรี ราเรี ยยนมีนในระดั
ค วามสอดคล้บประถมของประเทศเมี
อ งกั บความเชื่ อ เรื่ อ ง ยนมาเนื้อห
บุญบารมีของผู้ชระดั ายทีบ่มประถมศึ
ีมากกว่าผู้หกญิษาของพม่ ง เนื้อหาไม่านัได้้นแสดงออกถึ
ถึงแม้จะมีงความเท่
การนาเสนอเนื
าเทียมกัน้อของหญิ หาที่เกีง ่ยวข้องเพศห
และชาย ผู้วิจัยเห็ ต่านงๆว่าความคิ
ที่เหมืดอทางเพศยั
นกัน แต่งตคงปรากฏอยู
าเรียนก็ได้่ใมนต�ีกำารสอดแทรกทั
ราเรียนชุดนี้ ทัศศนคติ นคติเกีท่ยางเพศอย่
วกับ างเห็นไ
เพศในเรื่องผูช้ ายทีม่ บี ญ ุ บารมี ยังคงถูกให้ความส�ำคัญในการน�ำเสนอเกีย่ วกับบทบาททางเพศ
ในต� ำ ราเรี ย น ตภาพของผู
าราเรียนมี ความสอดคล้
้ ช ายยั องกับความเชื่อเรืค่อคลที
ง คงถู ก น� ำ เสนอในฐานะของบุ งบุญ่ สบารมี
ู ง ส่ ง มีขคองผู ้ช ายที
วามรู ้ ่มี มากกว
ความสามารถ และอยู แสดงออกถึใ่ นระดับทีงส่ความเท่งู กว่าผูห้ ญิางเทีถึยงแม้
มกัวนา่ จะมี
ของหญิ งและชาย
เนือ้ หาเรือ่ งการแบ่งผูงานกั ้วิจัยนเห็
ท�ำนในบ้
ว่าาความคิ
น ด ทางเพ
แต่ไม่ปรากฏเนื้อตหาว่ า พ่ยอนชุ
าราเรี มีหดน้นีาที้ ทั่รับศผินคติ
ดชอบเกี
เกี่ย่ยวกัวกับบเพศในเรื
การท�ำงานบ้ ่องผูาน้ชายที
มีเพีย่มงเนื
ีบุญ้อบารมี
หาที่ระบุยัถงึงคงถูกให้ความ
หน้าทีข่ องเด็กผูช้ ายทีช่ ว่ ยเหลืองานบ้าน และชีใ้ ห้เห็นว่าเป็นลูกชายทีน่ า่ ภาคภูมใิ จของพ่อแม่
เกี่ยวกับบทบาททางเพศในตาราเรียน ภาพของผู้ชายยังคงถูกนาเสนอในฐาน
ความรู้ความสามารถ และอยู่ในระดับที่สู งกว่าผู้หญิง ถึงแม้ว่าจะมีเนื้อหาเรื่อง
บ้าน แต่ไม่ปรากฏเนื้อหาว่า พ่อมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการทางานบ้าน ม
17 2 OK.indd 41 22/12/2560 15:43:03
สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
42 Walailak Abode of Culture Journal

ต�ำราเรียนพยายามแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของเพศหญิงและเพศชายในแง่มมุ ต่าง ๆ ถึงแม้วา่


เนือ้ หาทีน่ ำ� เสนอกลับมีเนือ้ หาและรูปภาพของเพศชายมากกว่าเพศหญิงเกือบทุกด้าน ยกเว้น
เรื่องการท�ำงานบ้านและการให้คุณค่าเรื่องความงาม แต่สิ่งที่ปรากฏในต�ำราแสดงให้เห็นว่า
บทบาทของผู้ชายยังคงมีความส�ำคัญและได้รับการยอมรับมากกว่า เช่น การยอมรับผู้ชาย
ในฐานะผู้น�ำทางความคิด หรือต้นแบบของคุณงามความดีต่าง ๆ
สรุปและอภิปรายผล
การเรียนการสอนในโรงเรียนพม่านั้นมีครูท�ำหน้าที่เป็นผู้บรรยายและอธิบาย
เนื้อหาให้แก่นักเรียน โดยนักเรียนมีหน้าที่จดและท่องจ�ำ และมีความเป็นไปได้น้อยมาก
ที่ครูจะสอนนอกเหนือจากต�ำราเรียน ต�ำราเรียนการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาล (เกรด 1)
ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (เกรด 11) ลักษณะของการเรียนของพม่าเป็นเครื่องมือที่ดี
ในการเสริมสร้างทัศนคติ แนวคิด และมุมมองต่อเพศของเด็ก ส�ำหรับระดับประถมศึกษา
เด็กนักเรียนชาวพม่าจะต้องไปโรงเรียนสัปดาห์ละ 5 วัน วันละ 6 ชั่วโมง ต่อวัน และต่อเนื่อง
กันนานถึง 5 ปี เนื้อหาต�ำราเรียนในระดับประถมส่วนใหญ่เป็นลักษณะของบทกลอนและ
วิธีการเรียนการสอนของพม่าที่ยังคงใช้หลักการท่องจ�ำเนื้อหาตามแบบการท่องบทสวดมนต์
ของพุทธศาสนา ประกอบกับครูพม่าไม่ได้มีสื่อการเรียนการสอนอื่น ๆ นอกจากต�ำราเรียน
และความรู้จากครูเท่านั้น ท�ำให้การศึกษาของพม่าถูกก�ำหนดมาจากนโยบายที่ควบคุมโดย
การศึกษาระดับพืน้ ฐานของพม่าอยูภ่ ายใต้การก�ำกับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ ต�ำราเรียน
ของพม่าจึงเป็นเครื่องมือที่ดีในการเสริมสร้างทัศนคติ แนวคิด และมุมมองต่อเพศของเด็ก
การเรียนในโรงเรียนพม่าเป็นลักษณะของการทีค่ รูบรรยายและอธิบายให้นกั เรียนฟัง
หรือครูบางท่านใช้วิธีการอ่านเนื้อหาจากหนังสือให้นักเรียนฟัง โดยนักเรียนมีหน้าที่จดและ
ท่องจ�ำ มีความเป็นไปได้น้อยมากที่ครูจะสอนนอกกรอบหรือนอกเหนือจากต�ำราเรียน
พื้นที่ในโรงเรียนจึงเป็นพื้นที่ที่ขีดเส้นก�ำหนดความดีงาม สิ่งที่ควรหรือไม่ควรปฏิบัติ เนื้อหา
เรื่องผลิตที่อยู่ในต�ำราเรียนจึงค่อย ๆ ถูกถ่ายทอดให้แก่นักเรียน การปลูกฝังเนื้อหาเหล่านี้
อย่างสม�่ำเสมอ จะค่อย ๆ พัฒนาไปเป็นความเคยชิน และท�ำให้เกิดการยอมรับในที่สุด
โดยเฉพาะประเทศพม่ า ที่ มี ค วามเชื่ อ และนั บ ถื อ พุ ท ธศาสนาแบบแนบแน่ น ยิ่ ง ท� ำ ให้
ความคิดทางเพศยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อย่างเช่น การยอมรับในเรื่องบุญบารมี
ของผู้ชาย และยกย่องให้ผชู้ ายเป็นเทพประจ�ำบ้าน ผูห้ ญิงจึงมีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องดูแลผูช้ าย
เป็นอย่างดี

17 2 OK.indd 42 22/12/2560 15:43:03


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
43
บทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถมของประเทศเมียนมา

ด้ า นครอบครั ว ในต� ำ ราเรี ย นระดั บ ประถมของประเทศพม่ า นั้ น ในเนื้ อ หา


ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง บทบาทของพ่ อ แม่ ที่ มี ค วามเท่ า เที ย มและแบ่ ง หน้ า ที่ กั น อย่ า งชั ด เจน
แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม บทบาทของผู ้ ช ายมี อ� ำ นาจมากกว่ า เพศหญิ ง เนื้ อ หาในต� ำ ราเรี ย น
มี ก ารเน้ น ย�้ ำตลอดเรื่องบทบาทของผู้หญิงหรือ แม่ ว ่ า เป็ น ผู ้ ดูแลและผู ้ ส นั บสนุ น สมาชิ ก
ในครอบครัว ในขณะที่ผู้ชายหรือพ่อเป็นผู้มีรายได้ในการหาเลี้ยงครอบครัว และเนื้อหา
แสดงถึงบทบาทของพ่อมักมีสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสติปัญญาและสิ่งเร้าจากภายนอกเข้ามา
เกี่ยวข้องเสมอ ตรงข้ามกับเนื้อหาที่เกี่ยวกับแม่จะมีการน�ำเสนอเกี่ยวกับเรื่องราวภายในบ้าน
เท่านั้น ในขณะที่ “พ่อ” คือ ผู้ที่เป็นเสาหลักของครอบครัว เปรียบเสมือนเทพประจ�ำบ้าน
มีหน้าที่ในการประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงดูสมาชิกในบ้านและเป็นผู้มีอ�ำนาจเด็ดขาดต่อสมาชิก
ในครอบครัว “แม่” ซึ่งเป็นเพศหญิงนั้นเป็นเพียงดูแลและผู้สนับสนุนเท่านั้น และเนื้อหา
ต�ำราเรียนอธิบายบทบาทของพ่อแม่และลูกได้ชัดเจนที่สุด การอธิบายถึงความนอบน้อม
เชือ่ ฟังผูห้ ลักผูใ้ หญ่ คือ สิง่ ทีเ่ ด็กพึงปฏิบตั ิ และในการท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ของเด็กหญิงและชาย
พบว่ า จะได้ เ ห็ น บทบาทในด้ า นการศึ ก ษาการท� ำ งานบ้ า น การเล่ น กี ฬ า ปี น ไต่ ต ้ น ไม้
ท�ำกิจกรรมที่มีความท้าทาย ตรงกันข้ามกับเด็กผู้หญิงมักจะแสดงให้เห็นถึงการท�ำกิจกรรม
ในบ้าน ท�ำงานบ้าน ช่วยเหลือแม่ และกิจกรรมด้านการศึกษาเท่านั้น
ด้านการท�ำงาน จากผลการศึกษา พบว่า อาชีพทีไ่ ด้รบั การยกย่อง มีผนู้ บั หน้าถือตา
และมีความมั่นคงของสังคม คือ ทหาร แพทย์ ครู ซึ่งเนื้อหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอาชีพส่วนใหญ่
นั้นถูกอธิบายและถูกแทนด้วยภาพของเพศชายสวมเครื่องแบบต่าง ๆ เหล่านั้นอยู่ รวมทั้ง
การน�ำเสนอภาพของอาชีพเกษตรกรซึ่งเป็นอาชีพหลักของชาวพม่า มีการน�ำเสนอเนื้อหา
เกี่ยวกับการท�ำงานโดยอธิบายให้เห็นว่าหญิงและชายมีหน้าที่เท่าเทียมกัน แต่สามารถ
แบ่งงานกันท�ำได้ตามความสามารถและพละก�ำลัง แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการกล่าวถึง
เกษตรกรผู้ที่น่ายกย่อง น่านับถือ และเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ไร่นา กลับถูกน�ำเสนอด้วยภาพ
และเนื้ อหาที่เกี่ยวข้องกับ ผู้ช ายทั้งหมด และมี ก ารน� ำ เสนอเกี่ ย วกั บอาชี พ ของเพศชาย
หลากหลายกว่าเพศหญิง เช่น ครู แพทย์ วิศวกร เกษตรกร ทหาร แต่ในขณะที่เพศหญิง
มีการน�ำเสนอเพียงไม่กี่อาชีพเท่านั้น เช่น แม่บ้าน ครู พยาบาล นอกจากนี้ อาชีพที่น�ำเสนอ
ด้านภาพของเพศชายนั้นล้วนเป็นอาชีพที่ต้องใช้ทักษะ ความสามารถ หรือความแข็งแกร่ง
อีกด้วย ในขณะที่อาชีพที่ได้รับเกียรติของเพศหญิง คือ อาชีพครู และพยาบาล ซึ่งมีหน้าที่
ในการดู แลผู้อื่น ลัก ษณะอาชีพของเพศหญิงที่ ปรากฏในต� ำ ราเรี ย น คื อ อาชี พ ที่ ต ้ อ งมี

17 2 OK.indd 43 22/12/2560 15:43:03


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
44 Walailak Abode of Culture Journal

ความมุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจ และเสี ย สละเพื่ อ ดู แ ลผู ้ อื่ น นอกจากนี้ ผู ้ ห ญิ ง ยั ง ได้ รั บ การน� ำ เสนอ
ในภาพของแม่บา้ น ผูท้ ที่ ำ� หน้าทีใ่ นการดูบา้ น ครอบครัว และสมาชิกในบ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประกอบกับค่านิยมพม่าที่ให้ความส�ำคัญกับการท�ำงานบ้านของผู้หญิงและการท�ำอาหาร
ด้านการสังคม ผู้ชายพม่าถูกคาดหวังให้เข้ามามีส่วนร่วมในการด�ำเนินการต่าง ๆ
ในสังคม เด็ก ๆ เริม่ จากการมีสว่ นร่วมภายในโรงเรียน คอยช่วยเหลือครูและเพือ่ นทีเ่ ดือดร้อน
และขยับขยายออกสูห่ มูบ่ า้ น ชุมชน และประเทศตามล�ำดับอายุทมี่ ากขึน้ เช่น ในช่วงวัยเรียน
มีการน�ำเสนอเรื่อง การเสียสละในการดูแลโรงเรียน ทั้งด้านความสะอาด และเป็นผู้ใหญ่
ชื่อเสียงการเสียสละเพื่อประเทศชาติ การท�ำสิ่งต่าง ๆ เพื่อประโยชน์อันสูงสุดของชาติ
เนื้อหาส่วนนี้เมื่อประกอบกับส่วนที่กล่าวถึงวีรบุรุษของพม่ายิ่งท�ำให้เห็นชัดเจนมากยิ่งขึ้น
แต่เนือ้ หาเหล่านี้ไม่มีการกล่าวถึงผู้หญิงเลย
ในขณะที่ผู้หญิงนั้นถูกคาดหวังในเรื่องความงาม การมีหน้ามีตาในสังคม มีเนื้อหา
หลายส่วนที่กล่าวถึงลักษณะท่าทางของผู้หญิง การแต่งกาย แต่งหน้า และการท�ำผม
นอกจากนี้ ความงามที่ถูกคาดหวังของผู้หญิงนั้นยังรวมไปถึงความงามจากภายในทั้งท่าทาง
กิริยามารยาท การท�ำงานบ้าน หรือไม่ออกนอกบ้าน และไม่มีการน�ำเสนอภาพของเพศหญิง
ให้หลุดไปจากกรอบความเป็นพม่า หรือการเปิดโอกาสให้ผหู้ ญิงสามารถออกไปท่องโลกกว้าง
แตกต่างจากเนื้อหาของเพศชายที่แสดงให้ว่า เพศชายมีการใฝ่รู้อยู่ตลอดเวลา โอกาส
ในการเดินทางไปยังที่ต่าง ๆ ในต�ำราเรียน ทั้งป่า เมือง ภูเขา จึงเป็นการชี้ให้เห็นว่าผู้ชาย
มีโอกาสในการเรียนรู้สิ่งรอบข้างมากกว่าเพศหญิง และพื้นที่ของเพศหญิงถูกจ�ำกัดไว้แค่
พื้นที่ที่ปลอดภัยอย่างบ้านและโรงเรียนเท่านั้น
จากการศึกษา พบว่า เนื้อหาและภาพประกอบในต�ำราเรียนมีการกล่าวถึงบทบาท
หญิ ง ชายจ� ำ นวนมาก โดยต� ำ ราเรี ย นและครู ท� ำ หน้ า ที่ ใ นการปลู ก ฝั ง ความคิ ด เรื่ อ งเพศ
ก� ำ หนดความเป็ น หญิงชายในสังคมขึ้น ตัว อย่างเช่น การสอนว่ า เด็ ก ชายต้ อ งเป็ น ผู ้ น� ำ
เด็กหญิงต้องช่วยแม่ท�ำงานบ้าน การเรียนการสอนในลักษณะนี้ มีผลต่อการสร้างหรือ
การเปลีย่ นแปลงทัศนคติและแนวคิดของคน ๆ หนึง่ ได้ คือ ประสบการณ์ทเี่ ด็กได้รบั จากโรงเรียน
ที่ถูกให้การยอมรับว่าเป็นสถาบันที่ปลูกฝังแต่สิ่งที่ดีงาม และทุกอย่างที่เรียนผ่านโรงเรียนคือ
กระบวนการที่คิดและไตร่ตรองมาอย่างถี่ถ้วนแล้ว และสิ่งเหล่านี้ คือ สิ่งที่ควบคุมโดยรัฐ
อย่างชัดเจน โดยเฉพาะรัฐพม่าทีม่ กี ารออกแบบและผลิตต�ำราเรียนจากศูนย์กลาง ต�ำราเรียน
ทุ ก เล่ ม ผ่ า นการดู แ ลของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ยิ่ ง ท� ำ ให้ เ ห็ น ได้ ชั ด ว่ า ต� ำ ราเรี ย นเหล่ า นี้

17 2 OK.indd 44 22/12/2560 15:43:03


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
45
บทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถมของประเทศเมียนมา

ถูกควบคุมโดยรัฐอย่างแท้จริง ประกอบกับเด็กนักเรียนในระดับประถมของประเทศพม่า
จะต้องใช้เวลาเรียนถึง 5 ปีเต็ม โดยไม่มีส่ืออื่น ๆ เลยนอกจากครูและต�ำราเรียน การเรียน
ในโรงเรียนของพม่าจึงเป็นการบ่มเพาะและขัดเกลาความคิดทางเพศที่มีประสิทธิภาพ
เพราะใช้ระยะเวลานานและมีความต่อเนื่อง
ต�ำราเรียนระดับประถมศึกษาของพม่าจึงเป็นเครื่องมือที่ผลิตอุดมการณ์และ
ทัศนคติตา่ ง ๆ ของรัฐ รวมถึงเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกันด้วย รูปภาพและลายลักษณ์อกั ษรทีเ่ ด็กสามารถอ่าน
และท�ำความเข้าใจรูปภาพได้ดียิ่งขึ้น ประกอบกับเนื้อหาต�ำเรียนในระดับประถมส่วนใหญ่
เนื้อหาเป็นลักษณะของบทกลอนและวิธีการเรียนการสอนของพม่าที่ยังคงใช้หลักการท่องจ�ำ
เนือ้ หาตามแบบการท่องบทสวดมนต์ของพุทธศาสนา การปลูกฝังเนือ้ หาเหล่านีอ้ ย่างสม�ำ่ เสมอ
จะค่อย ๆ พัฒนาไปเป็นความเคยชิน และท�ำให้เกิดการยอมรับในทีส่ ดุ โดยเฉพาะประเทศพม่า
ทีม่ คี วามเชือ่ และนับถือพุทธศาสนาแบบแนบแน่นยิง่ ท�ำให้ความคิดทางเพศยิง่ เพิม่ ประสิทธิภาพ
มากยิ่ ง ขึ้ น อย่ า งเช่ น การยอมรั บ ในเรื่ อ งบุ ญ บารมี ข องผู ้ ช าย และยกย่องให้ผู้ชายเป็น
เทพประจ�ำบ้าน ผู้หญิงจึงมีความจ�ำเป็นที่จะต้องดูแลผู้ชายเป็นอย่างดี ถึ ง แม้ ว ่ า เนื้ อ หา
ในต� ำ ราเรี ย นจะอธิ บ ายถึ ง หน้ า ที่ ห รื อ การแบ่ ง หน้ า ที่ ข องหญิ ง และชายไว้ อย่างชัดเจน
แต่ในความเป็นจริงแล้วเนื้อหาในต�ำราเรียนเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างทางเพศ
เพราะเนื้อหาได้สอดแทรกเรื่องเกี่ยวกับการให้คุณค่าของเพศหญิงและชายที่แตกต่างกัน
การสอดแทรกเนื้อหาในต�ำราเรียนลักษณะนี้จึงเป็นการสร้างกรอบความคิดทางเพศและ
ปลูกฝังความคิดทางเพศให้คงอยู่ต่อไป

เอกสารอ้างอิง
นิสารัตน์ ขันธโภค. (2555). ผูห้ ญิงกับภาวะสมัยใหม่แบบอาณานิคมในพม่า ค.ศ. 1885 - 1945.
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
ปรานี วงษ์เทศ. (2544). เพศและวัฒนธรรม. นครปฐม : เรือนแก้วการพิมพ์.
วิรชั นิยมธรรม. (2551). คิดแบบพม่า : ว่าด้วยชาติและวีรบุรษุ ในต�ำราเรียน. มหาสารคาม :
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
. (2552). ไทยในการรับรูแ้ ละความเข้าใจของประเทศเพือ่ นบ้าน กรณีศกึ ษาตัวบท
ในต�ำราเรียนสังคมศึกษาของพม่า ว่าด้วย “ความสัมพันธ์เมียนมา-โยดะยา”.
ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

17 2 OK.indd 45 22/12/2560 15:43:03


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
46 Walailak Abode of Culture Journal

อุษณีย์ พรหมสุวรรณ์. (2547). ภาพลักษณ์ของผู้หญิงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จากต้น


คริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยศิลปากร).
Aye Nwe. (2009). Gender Hierarchy in Myanmar. RAYS, 10, 131 - 139.
Cheesman Nick. (2002). Legitimising the Union of Myanmar through primary
school textbooks. (Master’s Thesis, University Western of Australia,
Crawley, Australia).
Chie Ikeya. (2012). Refiguring Women Colonialism and Modernity in Burma.
Bangkok : Silkworm Books
Nicolas S. and Rosalie M. (2012). A Textbook Case of Nation-Building : The
Evolution of History Curricula in Myanmar. Journal of Burma Studies,
16, 27 - 78.
Tharaphi Than. (2014). Women in modern Burma. London : Routledge.
Than Than Nwe. (2003). Gendered Spaces : Women in Burmese Society.
Tranformations, 6, 1 - 11.
Mi Mi Khaing. (1984). The World of Burmese Women. London : Zed Books.
Ministry of Education Myanmar. (2012). Myanmar Reading Grade 1. NayPyiTaw :
Myanmar.
Ministry of Education Myanmar. (2012). Myanmar Reading Grade 2. NayPyiTaw :
Myanmar.
Ministry of Education Myanmar. (2012). Myanmar Reading Grade 3. NayPyiTaw :
Myanmar.
Ministry of Education Myanmar. (2012). Myanmar Reading Grade 4. NayPyiTaw :
Myanmar.
Ministry of Education Myanmar. (2012). Myanmar Reading Grade 5. NayPyiTaw :
Myanmar.
Ministry of Education Myanmar. (2012). Character and Citizenship Grade 1.
NayPyiTaw : Myanmar.

17 2 OK.indd 46 22/12/2560 15:43:03


สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์
47
บทบาทหญิงชายในการศึกษาระดับประถมของประเทศเมียนมา

Ministry of Education Myanmar. (2012). Character and Citizenship Grade 2.


NayPyiTaw : Myanmar.
Ministry of Education Myanmar. (2012). Character and Citizenship Grade 3.
NayPyiTaw : Myanmar.
Ministry of Education Myanmar. (2012). Character and Citizenship Grade 4.
NayPyiTaw : Myanmar.
Ministry of Education Myanmar. (2012). Character and Citizenship Grade 5.
NayPyiTaw : Myanmar.

17 2 OK.indd 47 22/12/2560 15:43:03

You might also like