เสาวลักษณ์ กิ่มสร้าง

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 113

0

ปัจจัยที่ส่งผลต่ อประสิทธิภาพการจัดทาบัญชีของผู้ทาบัญชีในธุรกิจ
อสังหาริมทรัพย์ ที่จะทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ในประเทศไทย
FACTORS AFFECTING ACCOUNTING PERFORMANCE
OF BOOKKEEPERS IN REAL ESTATE LISTED ON
THE STOCK EXCKANGE OF THAILAND

เสาวลักษณ์ กิม่ สร้ าง


SAOWALUK KIMSANG

การค้นคว้าอิสระนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร


บัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชี
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ปี การศึกษา 2560
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยศรีปทุม
1

FACTORS AFFECTING ACCOUNTING PERFORMANCE


OF BOOKKEEPERS IN REAL ESTATE LISTED ON
THE STOCK EXCKANGE OF THAILAND

SAOWALUK KIMSANG

INDEPENDENT STUDY SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT


OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF
MASTER OF ACCOUNTANCY SCHOOL OF ACCOUNTANCY
SRIPATUM UNIVERSITY
ACADEMIC YEAR 2017
COPYRIGHT OF SRIPATUM UNIVERSIT
0

หัวข้ อการค้ นคว้าอิสระ ปั จจัยที่มีส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชีของ


ผูท้ าบัญชีในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนใน
ตลาดหลักทรัพย์ในประเทศไทย
FACTORS AFFECTING ACCOUNTING
PERFORMANCE OF BOOKKEEPERS IN
REAL ESTATE LISTED ON THE STOCK
EXCKANGE OF THAILAND
นักศึกษา เสาวลักษณ์ กิ่มสร้าง รหัสนักศึกษา 60501284
หลักสู ตร บัญชีมหาบัณฑิต
คณะ บัญชี
อาจารย์ทปี่ รึกษา ดร.ประเวศ เพ็ญวุฒิกุล

คณะกรรมการสอบการค้ นคว้าอิสระ

.................................................................…….. ประธานกรรมการ
( ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์ สาระพัด )

........................................................................... กรรมการ
( ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิตาภรณ์ สิ นจรู ญศักดิ์ )

........................................................................... กรรมการ
(ดร.ประเวศ เพ็ญวุฒิกุล)

คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม อนุมตั ิให้นบั การค้นคว้าอิสระฉบับนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของ


การศึกษาตามหลักสู ตรบัญชีมหาบัณฑิต

คณบดีคณะบัญชี

...........................................................................
( ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิตาภรณ์ สิ นจรู ญศักดิ์ )
วันที่..........เดือน.........................พ.ศ...............
I

การศึกษาค้ นคว้าอิสระเรื่อง ปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชีของผูท้ า


บัญชีในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่ง
ประเทศไทย
คาสาคัญ ประสิ ทธิภาพ / การจัดทาบัญชี / ผูจ้ ดั ทาบัญชี
นักศึกษา นางสาวเสาวลักษณ์ กิ่มสร้าง
อาจารย์ทปี่ รึกษาการศึกษาค้ นคว้าอิสระ ดร.ประเวศ เพ็ญวุฒิกุล
หลักสู ตร บัญชีมหาบัณฑิต
คณะ บัญชี
ปี การศึกษา 2560

บทคัดย่ อ
การศึ กษาในครั้ งนี้ มีวตั ถุ ป ระสงค์หลักในการศึ กษาปั จจัย ที่ ส่งผลต่ อประสิ ทธิ ภาพการ
จัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิ จอสังหาริ มทรั พย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศ
ไทย กลุ่ ม ตัว อย่ า งที่ ใ ช้ เ ป็ นตัว แทนของกลุ่ ม ประชากรเป้ าหมายในการศึ ก ษามาจากธุ ร กิ จ
อสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ จานวน 113 คน ใช้การสุ่ มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ
การศึกษาในครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เชิ งปริ มาณ ซึ่ งใช้แบบสอบถามที่ผศู ้ ึกษาสร้ างขึ้นเพื่อเป็ นเครื่ องมื อ
ในการรวบรวมข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
การวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ
ผลการศึกษา พบว่า ปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิ จ
อสังหาริ มทรั พย์ที่ จดทะเบี ย นในตลาดหลักทรั พ ย์แห่ ง ประเทศไทย ได้แก่ ปั จจัยด้านความรู้ ใ น
วิชาชี พบัญชี ปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชี พ ปั จจัยด้านคุ ณค่าแห่ งวิชาชี พ และปั จจัยด้านเจตคติใน
วิชาชีพ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียน
ในตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย อย่างมี นัยสาคัญทางสถิ ติที่ 0.05 โดยปั จจัยด้านเจตคติ ใ น
วิชาชี พมีอิทธิ พลสู งสุ ดต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี รองลงมาคือปั จจัยด้านทักษะ
ทางวิชาชีพ ปั จจัยด้านคุณค่าแห่งวิชาชีพ และปัจจัยด้านความรู้ในวิชาชีพบัญชีตามลาดับ
II

กิตติกรรมประกาศ
การศึ ก ษาค้ น คว้ า อิ ส ระฉบั บ นี้ ส าเร็ จสมบู ร ณ์ ไ ด้ ด้ ว ยความกรุ ณาอย่ า งสู งจาก
ดร.ประเวศ เพ็ญวุฒิกุ ล อาจารย์ที่ ปรึ ก ษา ที่ ไ ด้ก รุ ณาให้ค าปรึ ก ษา ค าแนะนา ตรวจสอบ แก้ไ ข
ตลอดจนชี้ แนะแนวทางเพื่ อให้ก ารศึ ก ษาค้นคว้า อิ ส ระฉบับ นี้ มี ค วามสมบู รณ์ ผูศ้ ึ ก ษาขอกราบ
ขอบพระคุณเป็ นอย่างสู ง
ขอขอบพระคุณผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิตาภรณ์ สิ นจรู ญศักดิ์ อาจารย์ วัชธนพงศ์ ยอดราช
ที่ได้ให้ความรู้และแนวทางในการดาเนินงานวิจยั รวมถึงคณาจารย์หลักสู ตรบัญชีมหาบัณฑิต ผูใ้ ห้
ความรู้ ตลอดจนเจ้าของผลงานวิจยั วิทยานิ พนธ์ และเอกสารวิชาการทุ กท่าน ที่ผูศ้ ึกษาได้นามา
ศึกษาเพื่อประยุกต์ใช้เป็ นแนวทางในการวิจยั ในครั้งนี้ทุกท่าน
ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ฝ่ายบัญชี ธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ ง
ประเทศไทยที่ ส ละเวลาในการให้ข้อมูล และกรอกข้อมูล ตอบแบบสอบถาม เพื่ อประโยชน์ใ น
การศึกษาครั้งนี้
ขอขอบคุ ณ เพื่ อ นๆร่ ว มหลัก สู ต รบัญ ชี ที่ ค อยช่ ว ยเหลื อ ให้ ค าแนะน า และแบ่ ง ปั น
ประสบการณ์ ช่ วยกันคิดและแก้ไขปั ญหาต่างๆในการจัดทารายงานการค้นคว้าอิสระฉบับนี้ จน
สาเร็ จเป็ นที่เรี ยบร้อย
ท้ายนี้ ผูศ้ ึกษาขอกราบขอบพระคุ ณบิดามารดา และครอบครัวที่คอยสนับสนุ นและ เป็ น
ก าลัง ใจในการศึ ก ษาการค้น คว้า อิ ส ระในครั้ งนี้ จนส าเร็ จ ลุ ล่ ว ง ผูศ้ ึ ก ษาขอกราบขอบพระคุ ณ
เป็ นอย่างยิง่

เสาวลักษณ์ กิ่มสร้าง
กันยายน 2561
III

สารบัญ
บทคัดย่อภาษาไทย.............................................................................................................. I
กิตติกรรมประกาศ.............................................................................................................. II
สารบัญ............................................................................................................................... III
สารบัญตาราง..................................................................................................................... VI
สารบัญภาพ....................................................................................................................... VII

บทที่
1 บทนา.............................................................................................................. 1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา.................................................................. 1
วัตถุประสงค์ของการศึกษา..................................................................................... 3
กรอบแนวคิดในการศึกษา....................................................................................... 3
สมมติฐานของการศึกษา......................................................................................... 5
ขอบเขตของการศึกษา............................................................................................. 5
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ..................................................................................... 6
นิยามศัพท์............................................................................................................... 7

2 แนวคิด ทฤษฏี และผลงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง...................................................... 10


แนวคิดเกี่ยวกับธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์…………………………………………… 10
แนวคิดเกี่ยวกับการบัญชี และผูท้ าบัญชี………………………………………….. 12
แนวคิดเกี่ยวกับประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี และ การวัดประสิ ทธิภาพ
การจัดทาบัญชี …………………………………………………………………… 16
แนวคิดประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชีของเกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อผูท้ าบัญชี.......... 21
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี 28
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง.................................................................................................. 34
IV

สารบัญ(ต่ อ)
บทที่ หน้ า
3 ระเบียบวิธีการศึกษา....................................................................................... 44
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง..................................................................................... 44
เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................. 45
การทดสอบเครื่ องมือ.............................................................................................. 49
การเก็บรวบรวมข้อมูล............................................................................................ 51
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล.............................................................................. 51

4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล..................................................................................... 53
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล............................................. 53
ลาดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล................................................... 54
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล…………………………………………………………… 54
ส่ วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม……………………………. 54
ส่ วนที่ 2 ค่าสถิติแบบสอบถาม…………………………………………...... 57
ส่ วนที่ 3 ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ........................ 62
ส่ วนที่ 4 ผลการทดสอบสมมติฐาน………………………………............... 63
สรุ ปผลการทดสอบสมมติฐานการวิจยั ................................................................... 65

5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ............................................. 67


สรุ ปผลการศึกษา.................................................................................................... 67
สรุ ปผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์........................................................................ 68
อภิปรายผลการศึกษา............................................................................................. 70
ข้อเสนอแนะ........................................................................................................... 71
บรรณานุกรม...................................................................................................................... 73
ภาคผนวก........................................................................................................................... 75
ภาคผนวก ก แบบตรวจสอบคุณภาพด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของเครื่ องมือโดย
ผูท้ รงคุณวุฒิ.......................................................................................................... 76
V

สารบัญ(ต่ อ)
บทที่ หน้ า
ภาคผนวก ข ผลการตรวจสอบค่าความสอดคล้องของข้อคาถามกับนิยามของ
ตัวบ่งชี้ ………………………………………………………………………….. 86
ภาคผนวก ค ผลการทดสอบค่าความเชื่อมัน่ ของแบบสอบถาม................................. 95
ประวัติผศู้ ึกษา.................................................................................................................... 97
VI

สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้ า
1 สรุ ปปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการปฏิบตั ิงานของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีบญั ชี ..... 27
2 แสดงจานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ............................... 55
3 แสดงจานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามอายุ................................ 55
4 แสดงจานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามระดับการศึกษา………. 56
5 แสดงจานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามประสบการณ์………… 56
6 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามรายได้..................................... 57
7 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปั จจัยต่างๆ............................................ 57
8 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยด้านความรู้ในวิชาชีพบัญชี .......... 58
9 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชีพ.................. 59
10 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปั จจัยด้านคุณค่าแห่งวิชาชีพ................. 60
11 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปั จจัยด้านเจตคติในวิชาชีพ................... 60
12 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี ................ 61
13 แสดงการวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุ คูณของปั จจัยต่างๆ ที่มีผลต่อประสิ ทธิ ภาพการ
จัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี ............................................................................................... 62
14 การวิเคราะห์การถดถอยเพื่อพยากรณ์ประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี
โดยนาปัจจัยทุกด้านเข้าในสมการ................................................................................ 64
15 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานการวิจยั ........................................................................ 65
VII

สารบัญภาพ
ภาพประกอบที่ หน้ า
1 กรอบแนวคิดการศึกษา.................................................................................................. 3
1

บทที่ 1
บทนา

ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
ในการดาเนิ นงานทางธุ รกิจเจ้าของกิจการในฐานะผูบ้ ริ หารย่อมต้องการที่จะรับรู ้ผลการ
ดาเนิ นงานและฐานะการเงิ นของกิ จการ ดัง นั้นการท าบัญชี จึง มี ส่ วนส าคัญอย่า งยิ่ง เนื่ องจาก
ผูบ้ ริ หารจะสามารถนาข้อมูลทางการเงินไปใช้ในการวางแผนจัดทางบประมาณต่างๆ และวางแผน
ในการดาเนินงานใน อนาคตได้ท้ งั นี้ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ได้กาหนดให้ ห้าง
หุ ้นส่ วนจดทะเบียน บริ ษทั จากัด บริ ษทั มหาชนจากัด นิ ติบุคคลที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่
ประกอบธุ รกิจในประเทศไทย กิจการร่ วมค้าตามประมวลรัษฎากร การที่เป็ นผูม้ ีหน้าที่จดั ทาบัญชี
และต้องจัดให้มีผทู ้ าบัญชี ซ่ ึ งเป็ นผูม้ ีคุณสมบัติตามที่ อธิ บดี กาหนดเพื่อจัดทาบัญชี ให้เป็ นไปตาม
พระราชบัญญัติน้ ี โดยผูม้ ีหน้าที่จดั ทาบัญชี มีหน้าที่ ควบคุมดูแล ผูท้ าบัญชี ให้จดั ทาบัญชี ให้ตรงต่อ
ความเป็ นจริ งและถูกต้อง (กรมพัฒนาธุ รกิจการค้า,2560)
ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ เป็ นรากฐานที่สาคัญของระบบเศรษฐกิจประเทศไทย ด้วยพลังเล็ก ๆ
ของอสัง หาริ ม ทรั พ ย์ หลายต่ อหลายแรง สามารถรวมตัวกันกลายเป็ นพลัง อันยิ่ง ใหญ่ ที่ จะช่ วย
ขับเคลื่ อนให้ ป ระเทศไทยเดิ นหน้าดัง นั้น อสังหาริ มทรัพ ย์ จึ งกาเนิ ดขึ้ นจากความมุ่ง มัน่ ในการ
พัฒนาการให้มีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุดโดยยึดหลักลูกค้าคือศูนย์กลาง มุ่งใส่ ใจดูแลความต้องการ
ของลู ก ค้า ผูป้ ระกอบการซึ่ งอยู่ใ นช่ ว งชี วิ ต ของธุ ร กิ จ ที่ แ ตกต่ า งกัน ย่ อ มมี ค วามต้อ งการที่ ไ ม่
เหมื อนกัน กล่ าวคื อ ธุ รกิ จที่ กาลังเริ่ มต้น คื อผูป้ ระกอบการที่ เพิ่งเริ่ มต้นทาธุ รกิ จในช่ วงของการ
ค้นหาโมเดลทางธุ รกิจที่เหมาะสม ธุ รกิจที่กาลังเติบโต คือผูป้ ระกอบการที่คน้ หาโมเดลที่เหมาะสม
พบแล้ว และก าลังขยายธุ รกิ จให้เติ บ โต และธุ รกิ จที่ ม นั่ คง คื อผูป้ ระกอบการที่ ผ่า นพ้นช่ วงการ
เติบโตและมีรากฐานมัน่ คง ซึ่ งอาจอยูร่ ะหว่างการส่ งต่อธุ รกิจให้รุ่นต่อไป (ผูพ้ ฒั นาอสังหาริ มทรัพย์
,2560)
ในยุคปั จจุบนั ที่โลกมีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วในทุกๆด้านไม่วา่ จะเป็ น ด้าน
เศรษฐกิ จ ด้านสังคมการเมือง ความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี สภาพแวดล้อม สิ่ งเหล่านี้ ก่อให้เกิ ด
การแข่งขัน ส่ งผลให้หลายองค์กร และหลายหน่วยงานมีการปรับเปลี่ยนระบบการปฏิบตั ิงานเพื่อให้
องค์กรสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ที่วางไว้ได้ แต่การที่องค์กรจะสามารถบรรลุ
2

เป้ าหมายหรื อวัตถุประสงค์ที่วางไว้ได้ มิ ได้อาศัย แค่เพียงบุคลากรที่เก่ง หรื อเทคโนโลยีทนั สมัยแต่


เพี ย งอย่า งเดี ย ว แต่ ย งั ต้อ งรวมไปถึ ง การบริ ห ารงานที่ ดี เ พื่ อ ให้ ไ ด้ม าซึ่ งการปฏิ บ ตั ิ ง านอย่า งมี
ประสิ ทธิ ภาพเพราะหากบุคลากรสามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ก็จะส่ งผลลัพธ์ให้งาน
ที่ได้รับมอบหมาย หรื องานที่อยูใ่ นความรับผิดชอบมีคุณภาพ เรื่ องของประสิ ทธิ ภาพเป็ นเรื่ องของ
การใช้ปัจจัย และกระบวนการในการดาเนินงาน โดยมีผลที่ได้รับเป็ นตัวแสดงความมีประสิ ทธิ ภาพ
ของการดาเนิ นงานนั้นประสิ ทธิ ภาพอาจไม่สามารถแสดงอยูใ่ นรู ปแบบของตัวเลขได้ แต่สามารถ
แสดงในรู ปแบบของต้นทุนการปฏิบตั ิงาน ทันต่อการตัดสิ นใจ ความถูกต้อง และความมีคุณภาพ
ของงานประสิ ทธิ ภาพการปฏิบตั ิงานจัดทาบัญชี น้ นั ไม่ได้ข้ ึนอยูก่ บั ตัว บุคคลเพียงอย่างเดียว แต่ยงั
ขึ้ นอยู่ก ับ อี ก หลายปั จจัย เช่ น คุ ณลัก ษณะของบุ ค คล คุ ณลัก ษณะองค์ก ร คุ ณธรรมจริ ย ธรรม
ความรู ้เกี่ยวกับงานบัญชี ทักษะทางปั ญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทักษะการวิเคราะห์
เชิ งตัวเลขการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยที่ประสิ ทธิ ภาพในการจัดทาบัญชี น้ นั อาจจะวัด ค่าได้
จากการกาหนดตัวชี้ วดั ความสาเร็ จของงาน (Key Performance Indicators) ที่ใช้วดั ประสิ ทธิ ภาพ
ทางการบัญชี (ศิริกาญจน์ วงษ์เสรี และสุ รีย ์ โบษกรณัฏ :2559)
ปั จ จัย ที่ มี ผ ลที่ จ ะท าให้ ผูท้ าบัญ ชี ส ามารถด าเนิ น งานอย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจนน าไปสู่
เป้ าหมายที่ต้ งั ไว้หรื อสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ได้ก็เกิดขึ้นจากหลายสิ่ งประกอบกัน เช่น มี
การใช้ค วามรู้ ท างด้า นการท าบัญชี มากที่ สุ ด การใช้ความรู้ วิชาชี พ ด้านการบัญชี การใช้ความรู้
วิชาชี พ ด้านการศึกษาและเทคโนโลยีการบัญชี ในการใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ปต่าง ๆสิ่ งเหล่านี้ เกิด
จากผลของการบริ หารงานทั้งสิ้ นทั้ง เชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพ องค์กรที่มีกระบวนการบริ หารงาน
ที่ดียอ่ มส่ งผลให้เกิดประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น การศึกษาเรื่ องปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทา
บัญชี ของผูท้ าบัญชี จะเป็ นประโยชน์แก่ผบู ้ ริ หารงานที่ตอ้ งการเพิ่มปั จจัยที่ดีแก่การปฏิบตั ิงานของ
พนักงานภายในองค์กร และเป็ นประโยชน์แก่ผทู ้ าบัญชี วา่ ควรปฏิบตั ิงานในลักษณะใด เพื่อนาไปสู่
ประสิ ท ธิ ภ าพในการจัด ท าบัญ ชี ข องผู ้ท าบัญ ชี อี ก ทั้ง มี ปั จ จัย หนึ่ งที่ ท าให้ ผู ้ท าบัญ ชี ส ามารถ
ปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ คือความสามารถขององค์กรในการสร้ างขวัญและกาลังใจ เพื่อ
เป็ นแรงจูงใจให้คนในองค์กรมีความกระตือรื อร้นต่อการพัฒนางานที่ได้รับมอบหมาย ถ้าผูท้ าบัญชี
มีแรงจูงใจในการทางานสู ง ก็จะส่ งผลให้งานที่ปฏิบตั ิมีประสิ ทธิ ภาพสู งตามไปด้วย โดยในปั จจุบนั
ผูท้ าบัญชีถือเป็ นอาชีพหนึ่งที่ตอ้ งอาศัย ความรู้ความสามารถเฉพาะทางศึกษามาโดยตรง และยังต้อง
อาศัย ประสบการณ์ โดยตรงจากการทางาน จนมีประสบการณ์ มากเพียงพอ อีกทั้งยังต้องมี ค วาม
รับผิดชอบในงานที่ตวั เองทา เพราะข้อมูลจากผูท้ าบัญชีน้ นั เป็ นข้อมูลที่ผบู ้ ริ หารและบุคคลภายนอก
นาไปใช้ประกอบการตัดสิ นใจในเรื่ องต่างๆ ด้วยซึ่ งหากข้อมูลผิดพลาด หรื อไม่ทนั ต่อการตัดสิ นใจ
อาจส่ งผลกระทบต่อองค์กรได้ (ศิริกาญจน์ วงษ์เสรี และสุ รีย ์ โบษกรณัฏ, 2559)
3

จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นนาไปสู่ การศึกษาเรื่ อง ปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพ การ


จัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศ
ไทย โดยการทบทวนวรรณกรรมเพื่อให้ทราบว่ามีปัจจัยใดบ้างที่มีส่วนส่ งเสริ มผูท้ าบัญชี ให้มีการ
จัดท าบัญชี ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพมากขึ้ น เพื่ อนาไปเป็ นแนวทางในการปฏิ บตั ิ งาน หรื อใช้เป็ นแนว
ทางการพัฒนาความรู้ความสามารถในการจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี ซึ่ งจะช่วยให้เกิดการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจของประเทศไทย เพราะหากผูท้ าบัญชีสามารถจัดทาบัญชี ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ก็จะเป็ น
การสร้ างมูลค่า และเพิ่มความได้เปรี ยบในการแข่งขันเพื่อความเจริ ญเติบโตและยัง่ ยืน และมัน่ คง
ของประเทศสื บไป

วัตถุประสงค์ ของการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ ดังนี้
1. เพื่ อ ศึ ก ษาอิ ท ธิ พ ลของความรู ้ ใ นวิ ช าชี พ ที่ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ข อง
ผูท้ าบัญชีในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2. เพื่ อ ศึ ก ษาอิ ท ธิ พ ลของทัก ษะทางวิ ช าชี พ ที่ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ข อง
ผูท้ าบัญชีในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
3. เพื่ อ ศึ ก ษาอิ ท ธิ พ ลของคุ ณ ค่ า แห่ ง วิ ช าชี พ ที่ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ข อง
ผูท้ าบัญชีในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
4. เพื่ อ ศึ ก ษาอิ ท ธิ พ ลของเจตคติ ใ นวิ ช าชี พ ที่ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ข อง
ผูท้ าบัญชีในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
การวิ จ ัย เรื่ อ ง ปั จ จัย ที่ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ข องผูท้ าบัญ ชี ใ นธุ ร กิ จ
อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ที่จดทะเบี ยนในตลาดหลักทรั พ ย์ในประเทศไทย ผูว้ ิจยั ได้ใ ช้กรอบแนวคิดใน
การวิจยั ดังนี้
4

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
ความรู้ ในวิชาชี พบัญชี
1. ด้านความรู ้ทวั่ ไป
2. ด้านธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์และการจัดการทัว่ ไป
3. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. ด้านการบัญชี
ทักษะทางวิชาชีพ
1. ด้านการใช้เหตุผล
2. ด้านการปฏิสัมพันธ์
3. ด้านการสื่ อสาร
คุณค่ าแห่ งวิชาชี พ ประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี
1. ด้านความโปร่ งใส ของผู้ทาบัญชี
2. ด้านความเป็ นอิสระ
3. ด้านความเที่ยงธรรม
4. ด้านความซื่อสัตย์สุจริ ต
เจตคติในวิชาชีพ
1. ด้านความรู้สึก
2. ด้านความคิดเห็น

ภาพประกอบที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจยั

2
เจตคติในวิชาชีพ
1. ด้าน
2.
5

สมมติฐานการวิจัย

สมมติฐานที่ 1 ความรู ้ในวิชาชีพบัญชี ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี


สมมติฐานที่ 2 ทักษะทางวิชาชีพ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี
สมมติฐานที่ 3 คุณค่าแห่งวิชาชีพ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี
สมมติฐานที่ 4 เจตคติในวิชาชีพ ส่ งผลต่อประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี

ขอบเขตของการวิจัย
การศึกษาครั้งนี้มีขอบเขต ดังนี้
1. ขอบเขตด้ านเนือ้ หา
มุ่งศึ กษาปั จจัย ได้แก่ ความรู ้ ในวิชาชี พบัญชี ทักษะทางวิชาชี พ คุ ณค่าแห่ งวิชาชี พ และ
เจตคติในวิชาชี พที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ที่
จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2. ขอบเขตด้ านประชากร และตัวอย่าง
ประชากรที่ ท าการศึ ก ษาในครั้ งนี้ คื อ พนั ก งานบั ญ ชี หรื อผู ้ ท าบั ญ ชี ในธุ รกิ จ
อสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2560 จานวน
157 บริ ษทั (ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย, 2560) บริ ษทั ละ 1 คน คิดเป็ นพนักงานบัญชี หรื อ
ผูท้ าบัญชี จานวน 157 คน
ตัวอย่างในการศึกษา คือ พนักงานบัญชีหรื อผูท้ าบัญชีในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย จานวน 113 คน โดยการกาหนดขนาดตัวอย่างจากสู ตรของ
ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95%
3. ขอบเขตด้ านตัวแปรทีศ่ ึกษา
3.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่
3.1.1 ความรู้ในวิชาชีพบัญชี ประกอบด้วย ด้านความรู ้ทว่ั ไป ด้านธุ รกิจและ การ
จัดการทัว่ ไป ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านการบัญชี
3.1.2 ทัก ษะทางวิช าชี พ ประกอบด้วย ด้านการใช้เหตุ ผล ด้านการปฏิ สัมพันธ์ และ
ด้านการสื่ อสาร
6

3.1.3 คุณค่าแห่งวิชาชีพ ประกอบด้วย ด้านความโปร่ งใส ด้านความเป็ นอิสระ ด้าน


ความเที่ยงธรรม และด้านความซื่อสัตย์สุจริ ต
3.1.4 เจตคติในวิชาชีพ ประกอบด้วย ด้านความรู้สึก และด้านความคิดเห็น
3.2 ตัวแปรตาม คือ ประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี

ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ


1. ประโยชน์ ในเชิงปฏิบัติ
ผลการศึกษาครั้งนี้ ทาให้ทราบปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี สามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ในเชิงปฏิบตั ิ ดังนี้
1.1 สามารถก าหนดนโยบายการท างานของพนั ก งานบั ญ ชี ห รื อผู ้ท าบั ญ ชี ใ ห้ มี
ประสิ ทธิภาพในการจัดทาบัญชีให้มีประสิ ทธิภาพได้
1.2 พัฒนาตัวบุคคลโดยพิจารณาถึงปั จจัยด้านความรู้ในวิชาชี พบัญชี ทักษะทางวิชาชี พ
ด้านคุณค่าแห่งวิชาชีพ และเจตคติในวิชาชีพ
1.3 เพื่อเป็ นแนวทางให้กบั พนักงานบัญชี หรื อผูท้ าบัญชี ธุรกิ จอสังหาริ มทรั พย์ในตลาด
หลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ได้มีการปรับเปลี่ ยนการปฏิ บตั ิงานและเสริ มสร้ างความรู ้ ในวิชาชี พ
ทักษะทางวิชาชี พบัญชี ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับความสามารถทางการบริ หารงาน
อันจะนาไปสู่ การพัฒนาที่เพิ่มขึ้นของประสิ ทธิ ภาพทางการจัดทาบัญชี
2.ประโยชน์ ในเชิงวิชาการ
2.1 การศึกษาครั้งนี้ ศึกษาปั จจัยที่ส่งผลต่อการจัดทาบัญชี อย่างมีประสิ ทธิ ภาพในรู ป แบบ
การวิจยั เชิงปริ มาณ การศึกษาครั้งต่อไปควรศึกษาปั จจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบตั ิงานการจัดทาบัญชี ให้
มีประสิ ทธิ ภาพในรู ปแบบการวิจยั เชิงคุณภาพ โดยการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ เพื่อทาให้ทราบ
ถึงข้อมูลเกี่ยวกับปั จจัยสนับสนุกการปฏิบตั ิงานด้านบัญชี
2.2 ผูส้ นใจสามารถนาการศึกษาครั้งนี้ไปศึกษาต่อในเรื่ องของปั จจัยที่มีผลต่อประสิ ทธิ ผลใน
การปฏิบตั ิงานด้านบัญชีในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์
7

นิยามศัพท์
การวิจยั ครั้งนี้มีการกาหนดคานิยามศัพท์เฉพาะ ดังนี้
ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ หมายถึ ง กิ จ การที่ มี ก ารสร้ า งรายได้จ ากการขายที่ ดิ น บ้า น
การพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ การก่อสร้าง และการให้เช่าอสังหาริ มทรัพย์ให้เกิดรายได้
ผู้ทาบัญชี หมายถึง บุคลากรในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ ง
ประเทศไทยที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการทาบัญชี
ความรู้ ในวิชาชี พ (Professional Knowledge) หมายถึง ความสามารถเกี่ยวกับการบัญชี และ
เกี่ ยวกับธุ รกิ จอสังหาริ มทรั พย์ ประกอบด้วย ด้านความรู ้ ทวั่ ไป ด้านธุ รกิ จและการจัดการทัว่ ไป
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านการบัญชี
ความรู้ ในวิชาชี พ ด้านความรู ้ ทวั่ ไป หมายถึ ง ผูท้ าบัญชี มีความรู ้ ทวั่ ไปเกี่ ยวกับเศรษฐกิ จ
การเมือง ความเข้าใจหลักการปฏิบตั ิงานด้านบัญชี ความรู้ในการปฏิบตั ิงานด้านบัญชี ได้ถูกต้อง
ตามระเบียบของ ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ การเรี ยนรู ้เกี่ยวกับระเบียบที่เกี่ยวข้องกับงานด้านบัญชีของ
ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์
ความรู้ ใ นวิช าชี พ ด้า นธุ รกิ จ และการจัดการทัว่ ไป หมายถึ ง การนาความรู้ ที่ ไ ด้รั บ การ
ฝึ กอบรมมาใช้กบั งานด้านบัญชี ในธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ การปฏิบตั ิงานด้านบัญชี ของผูท้ าบัญชี
เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของ ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ ความเข้าในกระบวนการทางบัญชี ของธุ รกิจ
อสังหาริ มทรัพย์
ความรู้ในวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การเข้ารับการฝึ กอบรมคอมพิวเตอร์
เกี่ ยวกับการบันทึ กบัญชี ความสามารถใช้ระบบสารสนเทศในการทาบัญชี ไ ด้อย่างถู ก ต้องและ
รวดเร็ ว
ความรู้ในวิชาชีพด้านการบัญชี หมายถึง ความสามารถปฏิบตั ิงานในด้านบัญชี มีความรู้ใน
ด้ า นการบัน ทึ ก บัญ ชี เ ป็ นอย่ า งดี ผู ้ท าบัญ ชี เ ข้า ใจทัก ษะกระบวนการจัด ท าบัญ ชี ข องธุ ร กิ จ
อสั ง หาริ มทรั พ ย์ ผู้ท าบัญ ชี ส ามารถใช้ ค วามรู้ แยกพิ จ ารณารายได้ แ ละรายจ่ า ยของธุ ร กิ จ
อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ได้เป็ นอย่างดี ผูท้ าบัญชี ส ามารถแยกประเภทหมวดหมู่ รายการทางบัญชี ได้เป็ น
อย่างดี และผูท้ าบัญชีสามารถใช้ความรู้ในการเข้ารับการอบรมมาใช้ในกระบวนการจัดทาบัญชี ได้
เป็ นอย่างดี
ทัก ษะทางวิช าชี พ (Professional Skill) หมายถึ ง ความเป็ นมื อ อาชี พ ของผูจ้ ัด ท าบัญ ชี
ประกอบด้วย ด้านการใช้เหตุผล ด้านการปฏิสัมพันธ์ และด้านการสื่ อสาร
8

ทักษะทางวิชาชีพด้านการใช้เหตุผล หมายถึง สามารถแก้ไขปั ญหา ในการปฏิบตั ิงาน ได้


เป็ นอย่างดี มีการจัดลาดับความสาคัญของงานได้เป็ นอย่างดี
ทักษะทางวิชาชีพด้านการปฏิสัมพันธ์ หมายถึง ความสามารถให้คาแนะนาใน
การปฏิบตั ิงานบัญชี ตามระเบียบแก่ฝ่ายบริ หารได้ ความสามารถเจรจาต่อรองการแก้ปัญหาความ
ขัดแย้งจากแผนกต่างๆภายในบริ ษทั ได้เป็ นอย่างดี
ทักษะทางวิชาชีพด้านการสื่ อสาร หมายถึง มีการรายงานสารสนเทศทางการบัญชีให้แก่
ผูบ้ ริ หารได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ ว มีความคล่องแคล่วในการปฏิบตั ิงาน พูดคุยเจรจางานจาก
แผนกต่างๆได้เป็ นอย่างดี
คุ ณ ค่ า แห่ ง วิ ช าชี พ (Professional Values) หมายถึ ง ลัก ษณะของจรรยาบรรณเกี่ ย วกับ
ความมีศกั ดิ์ศรี การใช้หลักฐานอันเที่ยงธรรม มีความสามารถทางวิชาชีพและการปฏิบตั ิงาน มีความ
รั บ ผิด ชอบในงานของตนประกอบด้ว ย คุ ณ ค่ า แห่ ง วิ ช าชี พ ประกอบด้ว ย ด้า นความโปร่ ง ใส
ด้านความเป็ นอิสระ ด้านความเที่ยงธรรม และด้านความซื่อสัตย์สุจริ ต
คุณค่าแห่งวิชาชีพด้านความโปร่ งใส หมายถึง มีความตั้งใจในการปฏิบตั ิงานอย่างโปร่ งใส
คุณค่าแห่ งวิชาชี พด้านความเป็ นอิสระ หมายถึง มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับผิดชอบ
งานที่ได้รับมอบหมาย มีความเป็ นอิสระในการทางาน
คุ ณค่าแห่ งวิชาชี พด้านความเที่ยงธรรม หมายถึ ง มี ความตั้งใจในการปฏิ บตั ิ งานอย่า งมี
คุณธรรม ความเที่ยงธรรม
คุ ณค่าแห่ งวิชาชี พด้านความซื่ อสัตย์สุจริ ต หมายถึ ง มี ความตั้งใจในการปฏิ บตั ิ งานอย่าง
ซื่ อสัตย์สุจริ ต มีความรู้ความสามารถและมาตรฐานในการปฏิบตั ิงาน มีความรับผิดชอบและรักษา
ความลับขององค์กร
เจตคติในวิชาชี พ (Professional Attitudes) หมายถึง ความรู้สึก ความคิดเห็น ความเชื่ อของ
บุคคลที่มีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง อันเป็ นผลเนื่ องมาจากประสบการณ์ การเรี ยนรู ้ ซึ่ งสะท้อนออกมาเป็ น
พฤติกรรมหรื อความรู้สึก โดยจะแสดงออกมาใน 2 ลักษณะ คือ ทางบวกและทางลบ ประกอบด้วย
ด้านความรู้สึก และด้านความคิดเห็น
เจตคติในวิชาชีพ ด้านความรู้สึก หมายถึง มีความมุ่งมัน่ ในการปฏิบตั ิงานบัญชี ให้กบั องค์
มีการทุ่มเท เสี ยสะในการปฏิบตั ิงานให้กบั องค์กร ให้ความร่ วมมือในการพัฒนาองค์กรให้เกิดความ
เจริ ญก้าวหน้ามากยิง่ ขึ้น
9

เจตคติในวิชาชี พด้านความคิดเห็น หมายถึง มีการแสดงความคิดเห็นในองค์กร ให้ความ


ร่ วมมือยอมรับกับความคิดเห็นที่เกิดขึ้น
ประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี หมายถึง กระทาโดยมุ่งไปที่ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นของข้อมูล
ทางบัญชี ที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน เชื่ อถือได้ และทันเวลา เพื่อนาไปใช้ในการตัดสิ นใจด้านต่างๆ
เช่น การวางแผน การควบคุม การวัดผล การดาเนินงาน หรื อการตัดสิ นใจลงทุน เป็ นต้น
10

บทที่ 2
ทฤษฏีและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

การศึกษาอิสระ เรื่ อง “ปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิจ
อสังหาริ มทรัพย์ในตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย” ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ ยวข้อง
โดยแบ่งออกเป็ น 6 หัวข้อ ดังนี้
1. แนวคิดเกี่ยวกับธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์
2. แนวคิดเกี่ยวกับการบัญชี และผูท้ าบัญชี
3. แนวคิดเกี่ยวกับประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี และการวัดประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี
4. แนวคิดเกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี
5. แนวคิดเกี่ยวกับการวัดปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี
6. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
1. แนวคิดเกีย่ วกับธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์
การศึกษาในหัวข้อนี้แบ่งออกเป็ นหัวข้อย่อย ดังนี้
1.1 ความหมายของธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์
คาว่า อสั งหาริ มทรั พย์ ในทางกฎหมาย ได้แก่ ที่ ดินและทรั พย์สินอื่ นที่ ติดอยู่กบั ที่ ดิน มี
ลักษณะเป็ นการถาวรหรื อประกอบเป็ นอันเดี ย วกับที่ ดินนั้น เช่ น อาคาร บ้านเรื อน ทาวน์ เฮาส์
คอนโดมิเนียม อาคารพาณิ ชย์ หอพัก และสิ ทธิ ท้ งั หลายอันเกี่ยวกับกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดิน ทั้งกรรมสิ ทธิ์
ในที่ดินที่มีโฉนดและสิ ทธิ ครอบครองในที่ดินที่ไม่มีโฉนดที่ดิน (กองทุนอสังหาริ มทรัพย์,2560)
ความหมายของ ธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมต่างๆที่จะจาหน่ายและให้บริ การภายใต้กฎเกณฑ์ที่
ได้กาหนดไว้ โดยมีการซื้ อขายแลกเปลี่ยนกัน และมีวตั ถุประสงค์เพื่อประโยชน์หรื อกาไรจากการ
กระทากิจกรรมนั้น (กองทุนอสังหาริ มทรัพย์,2560)
ดังนั้น ความหมายของคาว่า “ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์” จึงหมายถึง การสร้างรายได้จากการ
ขาย การให้ เ ช่ า การพัฒ นาบริ หาร ที่ ดิ น บ้า น และอาคารต่ า งๆให้ เ กิ ด รายได้ ข้ ึ นมา ธุ ร กิ จ
อสังหาริ มทรัพย์เป็ นธุ รกิจที่มีความสาคัญสาหรับระบบเศรษฐกิจ ทั้งนี้ หลายๆ ครั้ง วิกฤตเศรษฐกิจ
ของประเทศมักจะมีจุดเริ่ มต้นจากอสังหาริ มทรัพย์แทบทั้งสิ้ น ภาครัฐมีการเก็บรวบรวมข้อมูล
11

ตัวเลขต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องกับอสังหาริ มทรัพย์ เพื่อใช้เป็ นส่ วนประกอบในการตัดสิ นใจลงทุน


และใช้เพื่อติดตามสภาวะเศรษฐกิจระดับประเทศสื บเนื่องมาถึงปั จจุบนั
ประการ มาถาวร(2552) กล่าวว่า ธุ รกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ในประเทศไทยมีความสาคัญ
กับ ระบบเศรษฐกิ จ ของประเทศ โดยพิ จ ารณาได้จ ากสั ด ส่ ว น มู ล ค่ า ทางเศรษฐกิ จ ของธุ ร กิ จ
อสังหาริ มทรัพย์ ต่อมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) มากถึงร้อยละ 40 เนื่องจากเป็ น
ธุ รกิ จที่เกี่ ยวสาหรับมนุ ษย์มีความสัมพันธ์กบั ภาคเศรษฐกิ จอื่นๆ เพราะมีการพึ่งพาปั จจัยการผลิ ต
จากหลายสาขาเศรษฐกิจ รวมทั้งเป็ นธุ รกิจที่สามารถดาเนิ นการได้ง่ายและให้ผลตอบแทนที่สูงใน
ระยะยาวทาให้ผทู ้ ี่มีเงินทุนอาจจะไม่มีความชานาญก็ให้ความสนใจในการลงทุนและประกอบธุ รกิจ
ในด้านนี้ เป็ นจานวนมากในอุตสาหกรรมพัฒนาอสังหาริ มทรั พย์จึงมี ท้ งั ผูซ้ ้ื อและผูข้ าย ทั้งผูท้ ี่ มี
ความต้องการที่แท้จริ ง ที่ตอ้ งการที่อยูอ่ าศัยเป็ นของตนและผูท้ ี่ตอ้ งการลงทุน ประกอบธุ รกิจ หรื อ
การเก็งกาไร ดังนั้น เมื่อเศรษฐกิจได้ขยายตัว ธุ รกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์จะมีอตั ราการเจริ ญเติบโต
ที่ดีและรวดเร็ ว จนในบางช่วงเวลาก็ เข้าสู่ สภาวะฟองสบู่นนั่ คือ สภาวะที่มีการ เก็งกาไรหรื อมีการ
ซื้ อเพียงแค่ต้องการขายต่ อ ในราคาที่ สูงกว่า ราคาทุ น ซึ่ งไม่ใช่ ความต้องการที่ แท้จริ ง และหาก
เศรษฐกิจอยูใ่ นสภาวะตกต่าธุ รกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ก็จะตกต่าลงอย่างรวดเร็ วเช่นกัน เนื่องจาก
กาลังซื้ อที่แท้จริ งและคนที่เข้ามาลงทุน หายไปนัน่ เอง
1.2 ลักษณะของธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์
การท าธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์มี ห ลายรู ป แบบ ลัก ษณะของธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์เ ราสามารถ
แยก ออกเป็ นประเภทใหญ่ๆได้ ดังนี้
1. การซื้อขายทั่วไป การซื้ อขายอสังหาริ มทรัพย์ เป็ นการซื้ อขายที่มีลกั ษณะคล้ายกับการ
ซื้ อขายในธุ รกิ จอื่ นๆทัว่ ไป เช่ น การซื้ อมาแล้วขายไป ผลตอบแทนหรื อส่ วนต่ า งที่ ไ ด้คื อก าไร
ต่ า งกันที่ ก ารซื้ อขายในธุ รกิ จอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ในทางกฎหมายก าหนดให้ต้องท านิ ติก รรมเป็ น
หนังสื อและจดทะเบียนการได้มากับพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น โฉนดที่ดินเป็ นเอกสารสิ ทธิ ที่แสดงตัว
ผูถ้ ือกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินแปลงนั้นๆ ทั้งนี้ ก็เพราะว่าอสังหาริ มทรัพย์เป็ นทรัพย์สินที่มูลค่าสู ง จึงต้อง
มีกฎหมายควบคุมเพื่อไม่ให้เกิดปั ญหา
2. การปล่ อยเช่ า ลักษณะการปล่อยเช่า เช่น การให้เช่าหอพัก อพาร์ ตเมนต์ เช่าห้องพัก เช่า
บ้าน ให้เช่าโกดังเก็บสิ นค้า เช่าอาคารพาณิ ชย์ สานักงานให้เช่า หรื อการเช่าที่ดินว่างเปล่า เป็ นการ
12

ทาธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่เรี ยกว่า “เสื อนอนกิน” เพราะเมื่อลงทุนสร้างหรื อซื้ ออาคารซื้ อที่ดินว่าง
เปล่าแล้วนาออกให้เช่า ก็จะทาให้เกิดรายได้อย่างสม่าเสมอ และเป็ นรายได้ที่ตายตัว ทาให้มีเงินใช้
สอยไม่ขาดมือ
3. การเป็ นนายหน้ าซื้อขายหรื อเช่ า เป็ นอาชี พที่คนส่ วนใหญ่คุน้ เคย เช่ น เป็ นนายหน้าซื้ อ
ขายที่ดิน ซื้ อขายรถยนต์ ส่ วนใหญ่ทาเป็ นอาชี พเสริ มหรื อทาเป็ นงานเสริ ม แต่การซื้ อขายแต่ละครั้ง
อาจทาให้นายหน้ามีรายได้สูงถึง 100 เปอร์ เซ็นต์ ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั ความสามารถและองค์ประกอบด้าน
อื่นๆด้วย
สรุ ป ภาพรวมของธุรกิจอสั งหาริ มทรั พย์ ก็คือ การสร้างรายได้จากการขาย การให้เช่า การ
พัฒ นาบริ ห ารบ้า นและที่ ดิ น ว่ า งเปล่ า ให้ มี ร ายได้ใ นรู ป แบบต่ า งๆ รวมถึ ง การเป็ นนายหน้ า
อสังหาริ มทรัพย์ที่ไม่จาเป็ นต้องใช้เงินทุนมากนัก ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์จึงไม่เฉพาะคนรวยหรื อคน
ที่มีเงิ นทุนเท่านั้นที่สามารถทาได้ การเป็ นนายหน้าซื้ อขายที่ดินในบางครั้งยังเป็ นการ “จับเสื อมือ
เปล่ า ” โดยไม่ ต้องใช้เงิ นลงทุ น หากคุ ณมี เงิ นสั กก้อนหรื อคิ ดที่ จะลงทุ นทาธุ รกิ จ การลงทุ นใน
อสังหาริ มทรัพย์ก็เป็ นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ (กองทุนอสังหาริ มทรัพย์,2560)
สาหรับการศึกษาครั้ งนี้ เป็ นการศึ กษาธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ ซึ่ งเป็ นการบริ หารบ้านและ
ที่ดินว่างเปล่าให้มีรายได้ในรู ปแบบต่างๆ
1.3 จานวนของธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์ ทจี่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทย
สาหรับจานวนการจดทะเบียนจัดตั้งธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์มีท้ งั สิ้ น 157 ราย จดทะเบียน
จัดตั้ง ในพื้ น ที่ ก รุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล ซึ่ ง สั ง เกตได้ว่า ผูป้ ระกอบการนิ ย มจัด ตั้ง ธุ ร กิ จ
ดังกล่าวในพื้นที่จงั หวัดสาคัญๆ ที่มีจานวนประชากรมาก มีความต้องการและกาลังซื้ อสู ง รวมทั้งมี
ระบบสาธารณู ปโภคพื้นฐานที่ ค รบถ้วนเหมาะสมในการประกอบธุ รกิ จ (ตลาดหลักทรัพ ย์แห่ ง
ประเทศไทย, 2560)

2. แนวคิดเกีย่ วกับการบัญชี และผู้ทาบัญชี


การศึกษาในหัวข้อนี้แบ่งออกเป็ นหัวข้อย่อย ดังนี้

2.1 ความหมายของการบัญชี
13

เนื่ องจากในปั จจุ บนั ได้มีการเปลี่ ยนแปลงอย่างมากทางด้านเศรษฐกิ จและสังคมวิชาการ


บัญชี จึงเป็ นวิชาชี พที่ ผูป้ ฏิ บ ตั ิ ต้องมี ค วามรั บผิดชอบสู ง เพราะเป็ นวิช าที่ เกี่ ย วข้องกับการบันทึ ก
รายการ สรุ ป ผลพร้ อมทั้ง ตี ค วามหมายข้อมู ล ทางการเงิ น เพื่ อให้บุ ค คลทั่วไป นัก ธุ รกิ จเจ้า หนี้
องค์การรัฐบาล และผูเ้ กี่ยวข้องอื่นๆได้ทราบเพื่อใช้ในการตัดสิ นใจ การบัญชี จึงมีบทบาทและเป็ น
เครื่ องมือที่สาคัญในด้านการจัดการและวิชาการบัญชี มีขอบเขตกว้างขวางมากจึงมี บุคคลรวมทั้ง
หน่วยงานต่างๆพยายามที่จะให้คาจาความและความหมายของคาว่า “การบัญชี” ดังนี้

สมาคมนักบัญชีของสหรัฐอเมริ กา (The American Institute of Certified Public Accounting


: AICPA)ได้ให้คาจากัดความและความหมายของการบัญชี ไว้ว่า การบัญชี หมายถึ งศิลปะการจด
บันทึกรายการหรื อเหตุการณ์สาคัญทางการเงินไว้ในรู ปเงินตราตลอดจนการจัดประเภทสรุ ปผลและ
ตีความหมายของรายการที่จดบันทึกนั้นการบัญชี (Accounting) คือ ขั้นตอนของระบบการรวบรวม
การวิเคราะห์และการรายงานรายงานข้อมูลทางการเงิน(Pride, Hughes and Kapoor,1996, pp.534)

สมาคมนัก บัญชี และผูส้ อบบัญ ชี รับ อนุ ญาตแห่ ง ประเทศไทย ซึ่ ง เรี ย กย่อว่า ส.บช.(The
Institute of Certified Accountants and Auditor of Thailand : ICAAT) ได้ให้ความหมายของบัญชีไว้
ว่าการบัญชี (Accounting) หมายถึ ง ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จาแนกและทาสรุ ปข้อมูล
อันเกี่ ยวกับเหตุการณ์ ทางเศรษฐกิ จในรู ปตัวเงิ นผลงานขั้นสุ ดท้ายของการบัญชี ก็คือการให้ขอ้ มูล
ทางการเงิน ซึ่ งเป็ นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่ ายและผูท้ ี่สนใจในกิจกรรม

เรื องศรี ศรี ทอง และนุชนารถ สุ นทรพันธ์ (2550, ออนไลน์) ได้ให้ความหมายของการบัญชี


ว่า การบัญชี หมายถึ ง ศิลปะวิชาการและหน้าที่งานเกี่ ยวกับการเริ่ มรายการและเหตุการณ์ ทางการ
เงิ น โดยใช้หน่ วยเงิ นตรา การตรวจสอบอนุ มตั ิ การจดบันทึก การจัดหมวดหมู่ การเรี ยบเรี ยง การ
สรุ ปผล การวิเคราะห์ การตีความ การแปลความของผลดังกล่าวการเสนออย่างมี หลักเกณฑ์ตาม
ความต้องการของฝ่ ายบริ หารและการดาเนิ นงานของกิ จการเพื่อประโยชน์ในการจัดทารายงานที่
จะต้องเสนอตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้มอบหมาย

สมนึ ก เอื้อจิระพงศ์พนั ธ์ และสมเดช โรจน์คุรีเสถี ยน (2540, หน้า2) การบัญชี คือการจด


บัน ทึ ก รายการค้า ของกิ จ การ การจัด จ าแนกรายการค้า ออกเป็ นหมวดหมู่ ร วมทั้ง สรุ ป ผลการ
ดาเนิ นงานและฐานะการเงิ นของกิจการโดยใช้เป็ นหน่ วยเงินตรา นอกจากนี้ ยงั หมายความรวมถึง
14

การวิเคราะห์และการแปลความหมายจากข้อมูลทางการบัญชี ที่ได้จากการจดบันทึกดังกล่าวด้วยซึ่ ง
บุคคลที่ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการบัญชีน้ นั เรี ยกว่า “นักบัญชี”

สรุ ป จากการทบทวนวรรณกรรมข้างต้น การบัญชี หมายถึง การนารายงานและเหตุการณ์


ทางการเงิ นมาจดบันทึก จัดหมวดหมู่ สรุ ปผล และวิเคราะห์ ตีความอย่างมีหลักเกณฑ์ตามความ
ต้องการของฝ่ ายบริ หารและการดาเนิ นงานของกิจการเพื่อประโยชน์ในการจัดทารายงานที่จะต้อง
เสนอ ตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้มอบหมาย
2.2 ความหมายของผู้ทาบัญชี
บุคคลผูป้ ฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการบัญชี เรี ยกว่า นักบัญชี (Accountant) ส่ วนผูท้ ี่มีหน้าที่บนั ทึก
และรวบรวมข้อมูลเกี่ ยวกับการเงิ นประจาวัน เรี ยกว่า ผูท้ าบัญชี (Bookkeeper) ดังนั้นความหมาย
ของผูท้ าบัญชี มีขอบเขตกว้างขวางมากจึงมีบุคคลรวมทั้งหน่วยงานต่างๆพยายามที่จะให้คาจาความ
และความหมายของคาว่า “ผูท้ าบัญชี” ดังนี้
สุ ม นา เศรษฐนัน ท์ (2546 : 28-32) ได้ก ล่ า วถึ ง พระราชบัญ ญัติ ก ารบัญ ชี พ.ศ. 2543
เรื่ อง ผูม้ ีหน้าที่จดั ทาบัญชี ตามมาตรา 8 ถึง 18 ว่า ผูม้ ีหน้าที่จดั ทาบัญชี คือผูม้ ีหน้าที่จดั ให้ มีการทา
บัญ ชี ต ามพระราชบัญ ญัติ ก ารบัญ ชี พ.ศ. 2543 ซึ่ งได้แ ก่ ห่ า งหุ ้ น ส่ ว นจดทะเบี ย น บริ ษ ัท จ ากัด
บริ ษทั มหาชน จากัด นิ ติบุคคลที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศที่ประกอบธุ รกิ จในประเทศ
ไทย และกิจการร่ วมค้า โดยหน้าที่ของผูม้ ีหน้าที่จดั ทาบัญชีมีดงั นี้
- จัดให้ มี การทาบัญชี สาหรั บการประกอบธุ รกิ จของตนโดยมี รายละเอี ยด หลักเกณฑ์ และ
วิธีการตามที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543

- ควบคุมดูแล “ผูท้ าบัญชี” ให้จดั ทาบัญชีให้ตรงต่อความเป็ นจริ งและถูกต้อง

- จัดให้มี “ผูท้ าบัญชี” ซึ่ งเป็ นผูม้ ีคุณสมบัติตามที่อธิ บดีกาหนดในประกาศกรมทะเบียน การค้า

- ส่ งมอบเอกสารที่ ตอ้ งใช้ ประกอบการลงบัญชี ให้แก่ ผูท้ าบัญชี ให้ถูกต้องครบถ้วน เพื่อให้


บัญชีที่จดั ทาขึ้นสามารถแสดงผลการดาเนินงาน ฐานะการเงิน หรื อการ เปลี่ยนแปลงฐานะการเงินที่
เป็ นอยูต่ ามความเป็ นจริ งและตามมาตรฐานการบัญชี

- เริ่ มทาบัญชีตามวันที่กาหนด
15

- จัดทาบัญชี และลงรายการในบัญชี จากเอกสารประกอบการลงบัญชี ที่กาหนดใน ประกาศ


กรมทะเบียนการค้า

- ปิ ดบัญชีตามระยะเวลาที่กาหนด

- จัดทางบการเงินตามรายการย่อและจัดส่ งงบการเงินภายในเวลาที่กาหนด

- เก็ บ รั ก ษาบัญชี และเอกสารประกอบการลงบัญชี ต้องจัด เก็ บ ไว้ ณ สถานที่ ป ระกอบการ


ไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วนั ปิ ดบัญชี และหากเอกสารสู ญหายเสี ยหายต้องแจ้งต่อ สารวัตรใหญ่
บัญชี หรื อสารวัตรบัญชี ภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ทราบ พระราชบัญญัติการบัญชีพ.ศ. 2543 เรื่ อง
ผูท้ าบัญชี ตามมาตรา 19 ถึง 21 ว่าผู ้ ทาบัญชี คือผูร้ ับผิดชอบในการทาบัญชี ให้ผมู ้ ีหน้าที่จดั ทาบัญชี
ไม่วา่ จะกระทาในฐานะ ลูกจ้างของผูม้ ีหน้าที่จดั ทาบัญชี หรื อไม่ก็ตาม โดยแบ่งออกเป็ น 4 ลักษณะ
คือ

- กรณี เป็ นพนักงานของผูม้ ีหน้าที่จดั ทาบัญชี ได้แก่ ผูอ้ านวยการฝ่ ายบัญชี สมุห์บญั ชี หัวหน้า
แผนกบัญชี

- กรณี เ ป็ นส านัก งานบริ ก ารรั บ ท าบัญ ชี ได้แ ก่ ส านัก งานมิ ไ ด้จ ัด ตั้ง ในรู ป คณะบุ ค คล คื อ
หัวหน้าสานักงาน สาหรับสานักงานจัดตั้งในรู ปคณะบุคคล คือผูเ้ ป็ นหุ ้นส่ วนซึ่ ง รับผิดชอบในการ
ให้บ ริ ก ารรั บ ท าบัญชี และส านัก งานจัดตั้ง ในรู ป นิ ติบุ ค คล คื อ กรรมการหรื อผูเ้ ป็ นหุ ้นส่ วนซึ่ ง
รับผิดชอบในการให้ บริ การรับทาบัญชี

- กรณี เป็ นผูร้ ับจ้างทาบัญชีอิสระ คือ บุคคลธรรมดาผูป้ ระกอบวิชาชีพ

- กรณี “ผูท้ าบัญชี ” รับทาบัญชี เกินกว่า 100 ราย “ผูช้ ่วยผูท้ าบัญชี ” มีหน้าที่ความรับผิดชอบเป็ น
“ผูท้ าบัญชี ” ตามกฎหมาย นอกจากนี้ ตามประกาศกรมทะเบี ยนการค้าได้ กาหนดคุ ณสมบัติของ
ผูจ้ ดั ทาบัญชี ไว้ว่าผูท้ าบัญชี จะต้องมีภูมิลาเนาในประเทศไทย มีความรู้ภาษาไทยเพียงพอที่จะทา
หน้า ที่ เป็ นผูท้ าบัญ ชี ไ ด้แ ละข้อ ส าคัญ คื อ ไม่ เ คยต้อ งโทษจ าคุ ก เนื่ อ งจากกระท าความผิ ด ตาม
กฎหมาย ซึ่ งผูท้ าบัญชี ของห้างหุ ้นส่ วนจดทะเบียน บริ ษทั จากัดที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมาย ไทย ซึ่ งมีทุน
จดทะเบียนไม่เกิน 5 ล้าน มีสินทรัพย์รวมไม่เกิน 30 ล้าน และมีรายได้ รวมไม่เกิน 30 ล้าน จะต้องมี
คุณวุฒไม่ต่ากว่า อนุ ปริ ญญา หรื อประกาศนี ยบัตร วิชาชี พชั้นสู ง (ปวส.) ทางการบัญชี แต่สาหรับผู ้
16

ที่มีวุฒิ ไม่ต่ากว่าปริ ญญาตรี ทางการ บัญชี สามารถทาบัญชี ให้แก่ ห้างหุ ้นส่ วนจดทะเบียน บริ ษทั
จากัด บริ ษทั มหาชน จากัด นิ ติบุคคลที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศประกอบกิจการในประเทศ
ไทย และกิจการร่ วมค้า

สรุ ป จากการทบทวนวรรณกรรมข้างต้น ผูท้ าบัญชี หมายถึง ผูม้ ีหน้าที่ปฏิบตั ิงานด้านบัญชี


หรื อมีหน้าที่บนั ทึกและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเงินประจาวัน เพื่อการนารายงานและเหตุการณ์
ทางการเงิ นมาจดบันทึก จัดหมวดหมู่ สรุ ปผล และวิเคราะห์ ตีความอย่างมีหลักเกณฑ์ตามความ
ต้องการของฝ่ ายบริ หาร

3. แนวคิดเกีย่ วกับประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี และการวัดประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี


การศึ กษาในหัวข้อนี้ เป็ นการศึ กษาความหมายของประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี และ
การวัดประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี จากแนวคิดที่เกี่ยวข้องของนักวิชาการต่าง ๆ ดังนี้
3.1 ความหมายของประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี
โศรยา บุตรอินทร์ และคณะ (2557 ) ได้กล่าวว่า ประสิ ทธิภาพการปฏิบตั ิงานทางการบัญชี
(Efficiency of accounting practice) เป็ นความสามารถ ในการปฏิบตั ิให้มีความถูกต้องและน่าเชื่ อถือ
และเป็ นประโยชน์ในการตัดสิ นใจ เชิ งเศรษฐกิ จ ซึ่ งจะส่ งผลให้การ ดาเนิ นงานขององค์กรบรรลุ
วัตถุ ประสงค์ขององค์กรและสามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า ซึ่ งการปฏิบตั ิงานที่มี
ประสิ ท ธิ ภาพจะต้องประกอบด้วย การท างานต้องเชื่ อถื อได้ งานส าเร็ จทันเวลาและผลงานได้
มาตรฐาน ดังนั้นการปฏิบตั ิงานทางการบัญชีที่ดีจึงเป็ นสิ่ งสาคัญยิง่ ที่ผมู ้ ีส่วน เกี่ยวข้องภายในองค์กร
โดยเฉพาะผูบ้ ริ หารจะต้องมีการควบคุมดูแล เพื่อให้การปฏิบตั ิทางการบัญชีมี ประสิ ทธิ ภาพทันต่อ
เวลามีความถูกต้องในการรายงานผล และสามารถตรวจสอบได้ ทั้งนี้ขอ้ มูลการบัญชีที่ดีจะ ช่วยให้ผู ้
ที่ เกี่ ยวข้องรวมทั้งผูบ้ ริ หารสามารถนาไปใช้ใ นการตัดสิ นใจและวางแผนการดาเนิ นงานได้ ซึ่ ง
ประสิ ทธิภาพการปฏิบตั ิงานทางการบัญชีจะมีได้น้ นั ควรเริ่ มจากผูบ้ ริ หารจะต้องมีวสิ ัยทัศน์ทางการ
บัญชี และ การบริ หารงานที่ดีที่สามารถนาองค์กรไปสู่ ความสาเร็ จ และสาเร็ จตามเป้ าหมาย
กิตติศกั ดิ์ มะลัย (2557) ได้กล่าวว่า ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี (Accounting Preparation
Efficiency) ถื อเป็ นตัวชี้ วดั ระดับคุ ณภาพ แสดงให้เห็ นว่า การปฏิ บตั ิงานทางด้านบัญชี น้ นั ดาเนิ น
17

ไปด้วยความรับผิดชอบ เอาใจใส่ โดยใช้ทกั ษะความรู ้ ความสามารถอย่างเต็มที่เพื่อให้การนาเสนอ


ข้อมูลในงบการเงินมีความถูกต้องน่าเชื่อถือและทันกาล
Millet (1954)ได้ให้ทรรศนะเกี่ยวกับประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency) หมายถึงผลการปฏิบตั ิงาน
ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความพึ ง พอใจแก่ มวลมนุ ษ ย์ และได้รั บ ผลก าไรจากการปฏิ บ ัติ ง านนั้น (Human
Satisfaction and Benefit Produced) ซึ่ งความพึงพอใจ หมายถึ ง ความพึงพอใจในการบริ การให้กบั
ประชาชนโดยพิจารณาจาก
1. การให้บริ การอย่างเท่าเทียม (Equitable Service)
2. การให้บริ การอย่างรวดเร็ วและทันเวลา (Timely Service)
3. การให้บริ การอย่างเพียงพอ (Ample Service)
4.การให้บริ การอย่างก้าวหน้า (Progression Service)
Peterson and Plowman (1953) ได้ ใ ห้ แ นวคิ ด ว่ า โดยได้ ต ั ด ทอนบางข้ อ ลงและสรุ ป
องค์ประกอบของประสิ ทธิภาพ ไว้4ข้อด้วยกันคือ
1. คุ ณภาพของงาน (Quality) จะต้องมี คุณภาพสู ง คื อผูผ้ ลิ ตและผูใ้ ช้ได้ประโยชน์คุ่มค่า
และมี ค วามพึ ง พอใจ ผลการท างานมี ความถู ก ต้องได้มาตรฐาน รวดเร็ ว นอกจากนี้ ผ ลงานที่ มี
คุณภาพควรก่อเกิดประโยชน์ต่อองค์กรและสร้างความพึงพอใจของลูกค้าหรื อผูม้ ารับบริ การ
2. ปริ มาณงาน (Quantity) งานที่เกิดขึ้นจะต้องเป็ นไปตามความคาดหวังของหน่วยงานโดย
ผลงานที่ปฏิบตั ิได้มีปริ มาณที่เหมาะสมตามที่กาหนดในแผนงานหรื อเป้ าหมายที่บริ ษทั วางไว้และ
ควรมีการวางแผน บริ หารเวลา เพื่อให้ได้ปริ มาณงานตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้
3. เวลา (Time) คือเวลาที่ใช้ในการดาเนิ นงานจะต้องอยู่ในลักษณะที่ถูกต้องตามหลักการ
เหมาะสมกับงานและทันสมัย มีการพัฒนาเทคนิคการทางานให้สะดวกรวดเร็ วขึ้น
4. ค่ า ใช้จ่า ย (Costs) ในการดาเนิ นการทั้ง หมดจะต้องเหมาะสมกับ งาน และวิธี ก ารคื อ
จะต้องลงทุนน้อยและได้ผลกาไรมากที่สุด ประสิ ทธิ ภาพในมิติของค่าใช้จ่าย หรื อ ต้นทุนการผลิ ต
ได้แก่ การใช้ทรั พยากรด้า นการเงิ น คน วัสดุ เทคโนโลยีที่มีอยู่อย่างประหยัดคุ ม้ ค่า และเกิ ดการ
สู ญเสี ยน้อยที่สุด

สัญญา สัญญาวิวฒั น์ (2544)ได้กล่าวถึง ประสิ ทธิ ภาพว่าหมายถึงการวัดผลการทางานของ


องค์กรนั้น ว่าทางานได้ปริ มาณมากน้อยเพียงใดคุ ณภาพงานดี มากน้อยเพียงใดใช้เงิ น ใช้เวลา ใช้
18

แรงงานไปมากน้อยเพียงใดเป็ นผลดีต่อผูร้ ับบริ การมากน้อยแค่ไหน โดยรวมความมีประสิ ทธิ ภาพ


จึงหมายถึง การทางานให้ได้ปริ มาณและคุณภาพมาก องค์กรมีความสมัครสมานสามัคคี มี สันติภาพ
และความสุ ขร่ วมกัน เป็ นผลดี ต่อส่ วนรวมและผูร้ ับบริ การ แต่ใช้เวลา แรงงาน และ งบประมาณ
น้อย

Peterson, E., & Plowman, E.G. (1989) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกบประสิ ทธิ ภาพไว้ใกล้เคียงกับ


แนวคิดของ Herring Emerson (1853-1931) โดยสามารถสรุ ปองค์ประกอบของประสิ ทธิ ภาพไว้
4 อย่างด้วยกัน คือ คุณภาพของงาน (Quality) จะต้องมีคุณภาพสู งที่สุด ปริ มาณงาน (Quantity) งาน
ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะต้อ งเป็ นไปตามความคาดหวัง ของ หน่ ว ยงาน เวลา (Time) คื อ เวลาที่ ใ ช้ใ นการ
ดาเนิ นงานจะต้องอยู่ในลักษณะที่ถูกต้องตามหลักการ เหมาะสมกับงาน และทันสมัย ค่าใช้จ่าย
(Costs) ในการดาเนิ นการทั้งหมดจะต้องเหมาะสมกับงานและวิธีการ คือจะต้องลงทุนน้อย และได้
กาไรมากที่สุด

สรุ ป ได้ว่า จากการทบทวนวรรณกรรมข้างต้น ประสิ ท ธิ ภาพการจัดท าบัญชี หมายถึ ง


การจัดทาบัญชีให้มีความถูกต้องและน่าเชื่ อถื อและเป็ นประโยชน์ในการตัดสิ นใจ ซึ่ งงานจะต้องมี
ความเชื่ อถือได้ ผลงานต้องได้มาตรฐานตามที่ต้ งั ไว้ โดยจะเป็ นตัวชี้ วดั ระดับคุณภาพ แสดงให้เห็น
ว่าการจัดทาบัญชีน้ นั มีประสิ ทธิ ภาพในการจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี

3.2 แนวคิดเกีย่ วกับการวัดประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี

สัญญา สัญญาวิวฒั น์ (2544) กล่าวไว้ว่า ประสิ ทธิ ภาพ หมายถึ ง การวัดผลการปฏิ บตั ิงาน
ของบุคคลในแต่ละ องค์กรนั้น ว่าสามารถทางานได้ปริ มาณมากหรื อน้อยแค่ไหน มีคุณภาพงานที่
ทาดี มากหรื อน้อยแค่ไหน และ ใช้ตน้ ทุ นในการดาเนิ นงาน เช่ น เงิ น เวลา แรงงานไปมากน้อย
เพียงใด และเป็ นผลดีต่อผูร้ ับบริ การมากน้อยแค่ไหน โดยรวมความมีประสิ ทธิ ภาพจึงหมายถึง การ
ทางานให้ได้ปริ มาณและคุณภาพมาก องค์กรมีความสมัครสมาน สามัคคี มีสันติภาพและมีความสุ ข
ร่ วมกน ซึ่ งเป็ นผลดีต่อส่ วนรวมและผูร้ ับบริ การ โดยใช้ตน้ ทุนในการดาเนินงาน ไปอย่างคุม้ ค่าที่สุด

ศิริกาญจน์ วงษ์เสรี และสุ รีย ์ โบษกรณัฏ (2559) กล่ าวว่า ประสิ ทธิ ภาพในการท างาน
อาจจะวัดค่ า ได้จากการก าหนดตัว ชี้ ว ดั ความส าเร็ จของงาน (Key Performance Indicators) ที่ ใ ช้
วัดผลการปฏิ บตั ิงานหรื อประเมินผลการดาเนิ นงานในด้านต่างๆ โดยการกาหนดตัวชี้ วดั สามารถ
19

แบ่ ง ได้ เ ป็ นหลายระดับ ตั้ง แต่ ต ัว ชี้ วัด ระดั บ องค์ ก ร (Organization indicators) ตัว ชี้ วัด ระดับ
หน่ วยงาน (Department indicators) และตัวชี้ วดั ระดับ บุ ค คล (Individual indicators) โดยตัว ชี้ วัด
ระดับบุคคลจะหมายถึงสิ่ งที่ใช้วดั ผลการ ทางานรายบุคคล ตามขอบเขตหน้าที่รับผิดชอบหรื อ ตาม
ตาแหน่ ง งานที่ ไ ด้รับ ว่า มี ป ระสิ ท ธิ ภาพมากเพี ยงใด โดยที่ ประสิ ทธิ ภาพของการปฏิ บตั ิ งานจะ
ประกอบด้ว ย 3 ประเภท ได้แ ก่ ต้น ทุ น ในการด าเนิ น งาน (Implementation cost) ระยะเวลาที่
ให้บริ การ (Service timing) และคุณภาพของการบริ การ (Service quality)

กิ ตติศกั ดิ์ มะลัย (2557) กล่าวว่า แนวคิดประสิ ทธิ ภาพการปฏิ บตั ิงาน เป็ นแนวคิดพื้นฐาน
ในการปฏิบตั ิงานของบุคคลทัว่ ไป แต่สาหรับผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี
(Accounting Preparation Efficiency) ถื อเป็ นตัวชี้ วดั ระดับคุ ณภาพ แสดงให้เห็ นว่า การปฏิ บตั ิงาน
ทางด้านบัญชี น้ นั ดาเนิ นไปด้วยความรับผิดชอบ เอาใจใส่ โดยใช้ทกั ษะความรู ้ ความสามารถอย่าง
เต็มที่เพื่อให้การนาเสนอข้อมูลในงบการเงินมีความถูกต้องน่าเชื่ อถือและทันกาล

สภาวิ ช าชี พ บัญ ชี ( 2547 : 26-30) กล่ า วว่ า ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี (Accounting
Preparation Efflciency) หมายถึง ระดับคุณภาพของการปฏิบตั ิงานด้านบัญชี ที่ได้ใช้ทกั ษะ ความรู้
ความสามารถอย่างเต็มที่ มีความรับผิดชอบต่องานบัญชี เพื่อให้การจัดทารายงานทางการเงินเป็ นไป
ตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปและเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ตามหลักการ อุดมการณ์องค์กรอย่าง
มีประสิ ทธิภาพ เพื่อให้รายงานทางการเงินแสดงฐานะการเงินตามมาตรฐานการบัญชี ในเรื่ องนั้นไว้
ช่ วยให้ผใู ้ ช้เข้าใจถึ งประโยชน์ที่ได้รับ และข้อจากัดของข้อมูลทางการบัญชี ช่วยเสริ มสร้ างความ
เข้าใจระหว่างบุคคลหลายฝ่ ายทั้งผูจ้ ดั ทาและผูใ้ ช้ขอ้ มูลในรายงานทางการเงิน และสามารถนาข้อมูล
ทางการบัญชี ไปใช้อย่างถูกต้องโดยอาจมุ่งเน้นการจัดทาบัญชี ได้ในหลายลักษณะ ทั้งนี้ ในการวิจยั
นี้ ผวู ้ ิจยั ได้ประยุกต์ใช้จากแม่บทการบัญชี ซึ่ งได้กาหนดให้ปัจจัยสาคัญที่บ่งชี้ ถึงประสิ ทธิ ภาพใน
การจัดทาบัญชี ประกอบไปด้วย 5 ด้าน ได้แก่

1. ด้า นความเข้า ใจได้ (Understanding) หมายถึ ง ผู้ใ ช้ง บการเงิ น สามารถเข้า ใจข้อ มู ล
ในงบการเงินที่จดั ทาขึ้นได้ในทันที โดยมีขอ้ สมมติวา่ ผูใ้ ช้งบการเงินต้องมีความรู ้ตามควร เกี่ยวกับ
ธุ รกิ จกิ จกรรมเชิ งเศรษฐกิ จ และการบัญชี รวมทั้งมีความตั้งใจตามควรที่จะศึกษาข้อมูลดังกล่ าว
ข้อมูลที่ได้จากการจัดทาบัญชีในงบการเงินจะต้องนาเสนอข้อมูล ทุกประการในรายงานทางการเงิน
20

ถ้า ฝ่ ายบริ หารของกิ จการเล็ ง เห็ นว่า ข้อมู ล นั้นส าคัญ มี ป ระโยชน์ ต่อการตัดสิ นใจเชิ ง เศรษฐกิ จ
ต่อผูใ้ ช้งบการเงินแม้วา่ ข้อมูลนั้นจะยากและซับซ้อน

2. ด้า นความเชื่ อ ถื อ ได้ (Reliability) หมายถึ ง ข้อ มู ล ที่ จ ัด ท าขึ้ น เป็ นข้อ มู ล ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้
อย่างมีนยั สาคัญไม่มีความผิดพลาด โดยไม่มีความลาเอียงในการนาเสนอข้อมูลที่อาจทาให้ขอ้ มูลไม่
ตรงกับความเป็ นจริ งที่เป็ นอยู่ ข้อมูลที่เป็ นข้อมูลเชื่ อถื อได้ ถื อว่าเป็ นข้อมูลที่เป็ นตัวแทนอันเที่ยง
ธรรมที่ใช้ในรู ปแบบของงบการเงิน ซึ่ งมีลกั ษณะดังนี้

2.1 การเป็ นตัว แทนอัน เที่ ย งธรรม หมายถึ ง ข้อ มู ล ที่ แ สดงในงบการเงิ น เป็ นไปตาม
ความเป็ นจริ งที่ควรแสดง รายการที่นาเสนอในงบการเงินต้องเข้าเกณฑ์การรับรู้ รายได้จึงจะรับรู้
และแสดงรายการในงบการเงิน ซึ่ งมีเกณฑ์ ดังนี้
2.1.1 มี ค วามเป็ นไปได้ค่ อ นข้า งแน่ น อน ที่ กิ จ การจะได้รั บ หรื อ สู ญ เสี ย ประโยชน์
เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการดังกล่าว
2.1.2 รายการดังกล่าวมีราคาทุน หรื อมูลค่าที่สามารถวัดได้อย่างน่าเชื่ อถื อบันทึกและ
รับรู ้รายการในงบการเงินนั้นจะใช้หลักเนื้อหาสาคัญกว่ารู ปแบบตามเกณฑ์เพียงอย่างเดียว
2.2 เนื้ อหาสาคัญกว่ารู ปแบบ หมายถึง ข้อมูลที่จะบันทึก และรับรู ้รายการในงบการเงินนั้น
จะใช้หลักเนื้ อหาสาคัญกว่ารู ปแบบโดยเน้นเนื้ อหาและความเป็ นจริ งเชิ งเศรษฐกิจโดยมิได้คานึงถึง
รู ปแบบตามกฎหมายเพียงอย่างเดียว
2.3 ความเป็ นกลาง หมายถึ ง ข้อมูลที่นาเสนองบการเงิ นต้องมีความเป็ นกลางปราศจาก
ความลาเอียง ไม่นาเสนองบการเงิ นที่ทาให้ผใู ้ ช้งบการเงิ นไขว้เขวในการตัดสิ น ซึ่ งจะส่ งผลทาให้
ข้อมูลในงบการเงิ นขาดความเป็ นกลางถ้าผูใ้ ช้งบการเงิ นการเงินนาข้อมูลไปใช้ตามที่ผูจ้ ดั ทางบ
การเงินกาหนดไว้
2.4 ความระมัดระวัง หมายถึง การนาเสนองบการเงินบางรายการต้องทาการประมาณการ
โดยไม่ ท าให้ สิ น ทรั พ ย์ หรื อ รายได้สู ง เกิ น ไปรวมทั้ง ไม่ ท าให้ ห นี้ สิ น และค่ า ใช้ จ่ า ยต่ า เกิ น ไป
นอกจากนี้ ในการจัดทางบการเงิ นนั้น กิ จการจะประสบกับปั ญหาความไม่แน่ นอนอันหลี กเลี่ ยง
ไม่ได้ ซึ่ งกิจการต้องแสดงความไม่แน่นอนโดยเปิ ดเผยในลักษณะของผลกระทบนั้นทาให้ขอ้ มูลใน
งบการเงินขาดความเป็ นกลางถ้าผูใ้ ช้งบการเงินนาข้อมูลไปใช้ตามที่ผจู ้ ดั ทางบการเงินกาหนดไว้
21

3. ด้า นความครบถ้วน (Completeness) หมายถึ ง ข้อมู ล ในงบการเงิ นที่ จดั ท าขึ้ นมี ค วาม
ครบถ้วนภายใต้ขอ้ จากัดของความมีนยั สาคัญ ซึ่ งต้องคานึ งถึงการแสดงข้อมูลที่จาเป็ นมีประโยชน์
ต่อการนาไปใช้ประกอบการตัดสิ นใจ ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
4. ด้า นความเกี่ ย วข้อ งกับ การตัด สิ น ใจ (Relates to Decision) หมายถึ ง ผูใ้ ช้ง บการเงิ น
สามารถนาข้อมูล ที่ จดั ทาขึ้ นไปใช้ในการคาดคะเนผลลัพ ธ์ ได้อย่า งมี ประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ ง สามารถ
ประเมินเหตุการณ์ ท้ งั ในอดี ต ปั จจุบนั และอนาคต จากข้อมูลที่แสดงในงบการเงิ นนั้น โดยข้อมูล
จะต้องยืนยัน และชี้ขอ้ ผิดพลาดจากผลการประเมินของเหตุการณ์ในอดีตได้
5. ด้านความทันเวลา (Timely) หมายถึง ผูใ้ ช้งบการเงินสามารถนาข้อมูลที่จดั ทาไปใช้ใน
การตัด สิ น ใจ ในช่ ว งเวลาที่ ต้อ งการภายใต้ค วามน่ า เชื่ อ ถื อ ของรายงานทางการเงิ น ได้อ ย่า งมี
ประสิ ทธิ ภาพ โดยข้อมูลบัญชีได้แสดงการรับรู ้รายการตามรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้น
จากการทบทวนวรรณกรรมข้างต้นสามารถสรุ ปได้วา่ การจัดทาบัญชีให้มีประสิ ทธิ ภาพนั้น
มีความจาเป็ นสาหรับองค์กร เพื่อช่วยให้องค์กรมีขอ้ มูลทางบัญชี ที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน เชื่ อถือ
ได้ และทันเวลา เพื่อนาไปใช้ในการตัดสิ นใจด้านต่างๆ เช่ น การวางแผน การควบคุ ม การวัดผล
การดาเนินงาน หรื อการตัดสิ นใจลงทุน เป็ นต้น

4. แนวคิดประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชีของเกีย่ วกับปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อผู้ทาบัญชี


นักบัญชี หรื อผูท้ าบัญชี น้ นั คือ บุคคลที่ปฏิ บตั ิงานเกี่ ยวกับการบัญชี ปกตินกั บัญชี จะต้อง
เป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ความสามารถทางการบัญชี โดยพื้นฐานจะสังเกตได้จากระดับความสามารถในการ
ทางานและการนาระดับ ความสารถท างานใช้ใ ห้เป็ นประโยชน์และสามารถประยุกต์ใ ช้ไ ด้ทุก
สถานการณ์ ดังนั้น ผูท้ าบัญชี จาเป็ นต้องมีความสามารถต่างๆ ที่จะนาระดับความสามารถในการ
ทางานออกมาแสดงไว้ในทุกสถานการณ์ ซึ่ งการวัดที่จะใช้เป็ นเกณฑ์ในการพิจารณารับบุ คคลที่
เหมาะสม (Candidates) เข้า สู่ ก ารเป็ นมื ออาชี พเพื่ อการก้าวสู่ ก ารเป็ นนักบัญชี มืออาชี พ ซึ่ ง สิ่ งที่
บุคคลเหล่านั้นต้องมีประกอบด้วย 4 ด้าน (ศิลปะพร ศรี จนั่ เพชร:2545) ได้แก่

1. ความรู้ ในวิ ช าชี พ (Professional Knowledge) ด้ า นความรู้ ต้ อ งการเน้ น ให้ มี


ความตระหนักถึงการให้บริ การ ความรู ้ที่จาเป็ นในสถาบันการศึกษา ซึ่ งเป็ นการเตรี ยมพื้นฐานและ
22

ความพร้ อ มก่ อ นเป็ นนั ก วิ ช าชี พ บัญ ชี ซึ่ งเป็ นการเตรี ยมพื้ น ฐานและความพร้ อ มก่ อ นเป็ น
นักวิชาชีพบัญชี ซึ่ งได้แบ่งเป็ น 4 ประเภท ศิลปะพร ศรี จนั่ เพชร(2545,หน้า 13-19)

1.1 ความรู ้ ท ั่ว ไป รวมถึ ง ความรู ้ เ กี่ ย วกับ สั ง คมเศรษฐกิ จ การเมื อ ง การปกครอง
วิทยาศาสตร์ ความรู ้และซาบซึ้ งในศิลปะ วรรณกรรมและวัฒนธรรม ความสามารถในการคิด อ่าน
เขียน การวิเคราะห์ เป็ นต้น ความรู ้ ทวั่ ไปนี้ ช่วยให้นกั วิชาชี พบัญชี มีความรอบรู ้ ความสามารถใน
การคิด อ่าน เขียน การใช้ดุลยพินิจ หรื อมีปฏิสัมพันธ์กบั บุคคลอื่น คณะกรรมการการศึกษาเชื่ อว่า
การศึกษาที่ให้มีความรู ้ทวั่ ไปในวงกว้างเป็ นพื้นฐานสาคัญที่กระตุน้ ให้เกิดการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง
และเป็ นจุดเริ่ มต้นของวิชาชีพบัญชี
1.2 ความรู ้เกี่ยวกับธุ รกิจและการจัดการทัว่ ไป รวมถึงเศรษฐศาสตร์ พฤติกรรมองค์การ
การตลาด การจัดการ ธุ รกิ จระหว่างประเทศ การวิเคราะห์เชิ งปริ มาณและสถิติ เป็ นต้น ความรู ้ ใน
ส่ วนนี้มีความจาเป็ นอย่างยิง่ ต่อหน้าที่งานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี
1.3 ความรู ้ เกี่ ย วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู ้ ใ นส่ วนนี้ มีค วามสาคัญเนื่ องจาก
เทคโนโลยีสารสนเทศอาจมาจากการจัดให้มีการเรี ยนการสอนเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ น
วิชาเฉพาะหรื อผสมผสานเข้ากับเนื้อหาวิชาแกนอื่นๆ
1.4 ความรู ้ดา้ นบัญชี และเรื่ องที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการบัญชี การเงิน รายงานการเงิน การ
บัญชีบริ หาร การสอบบัญชี กฎหมายธุ รกิจ ภาษีอากร การควบคุมและการตรวจสอบภายใน การเงิน
ธุ รกิ จและการจัดการทางการเงิ น จรรยาบรรณวิชาชี พ เป็ นต้น ความรู ้ ในส่ วนนี้ เป็ นพื้นฐานของ
ความที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับวิชาชีพบัญชี
2. ทักษะทางวิชาชีพ (Professional Skill) ส่ วนประสมของทักษะที่นกั บัญชีตอ้ งมีเพื่อให้มี
คุ ณสมบัติเป็ นนักบัญชี มืออาชี พเนื่ องจากความคาดหวังที่เพิ่มมากขึ้ นของผูว้ ่าจ้างนักบัญชี ลูกค้า
และสาธารณชน ในเรื่ องของการทางานให้เป็ นประโยชน์ต่อที่ทางานและสังคมของนักบัญชี มื อ
อาชี พ ทาให้เกิ ดการให้ความสาคัญกับเรื่ องทักษะความเป็ นมืออาชีพ โดยผูป้ ระกอบวิชาชี พควรมี
ทักษะหรื อความชานาญในเรื่ องที่จาเป็ นต่อไปนี้ ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร(2545, หน้า13-19)

2.1 ทัก ษะในการใช้เ หตุ ผ ล รวมถึ ง ทัก ษะในการใช้ดุ ล ยพิ นิ จ ในสถานการณ์ ที่ มี
ความซับซ้อน ความสามารถในการถามและการวิจารณ์อย่างมีเหตุผลความสามารถในการระบุและ
23

แก้ปัญหา การจัดลาดับความสาคัญของงาน ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม เป็ น


ต้น
2.2 ทักษะในการปฏิสัมพันธ์ รวมถึงความสามารถในการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น การทางาน
เป็ นทีม การจูงใจ การมอบหมายงาน การเป็ นผูน้ า การเจรจาต่อรองการแก้ปัญหาความขัดแย้ง เป็ น
ต้น
2.3 ทักษะในการสื่ อสาร รวมถึ งความสามารถในการฟั ง การอ่าน การปรึ กษาหารื อ
การนาเสนอ การแสดงความคิ ดเห็ นอย่างเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ การใช้ขอ้ มูลรายงาน
สิ่ งพิมพ์และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้น
3. คุณค่ าแห่ งวิชาชี พ (Professional Values) ซึ่ งที่นกั วิชาชีพบัญชีจาเป็ นต้องมี ได้แก่ ความ
ตั้ง ใจในการปฏิ บ ตั ิ ง านอย่า งมี คุ ณธรรม ความเที่ ย งธรรม ความซื่ อสั ตย์สุ จริ ต ความเป็ นอิ ส ระ
ตามมาตรฐานของวิชาชีพ มารยาทของวิชาชีพ ความสานึกต่อความรับผิดชอบทางสังคม ความสังวร
(Concern) เกี่ยวกับประโยชน์ของสาธารณชน ความตั้งใจที่จะเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง เป็ นต้น การให้
ศึกษาและความชานาญ ต้องทาให้นกั วิชาชี พบัญชี ตระหนักถึงคุณค่าทางวิชาชีพและปฏิบตั ิตนอย่าง
มีคุณธรรมเพื่อประโยชน์ต่อสังคมและวิชาชีพ

4. เจตคติในวิชาชีพ (Professional Attitudes) เจตคติ มาจากคาว่า “Aptos” ในภาษาลาติน ตรง


กับคาว่า ความเหมาะเจาะ (Fitness) หรื อการปรับปรุ งแต่ง (Adaptedness) เดิมใช้คาว่าทัศนคติ ต่อมา
คณะกรรมการบัญญัติศ พั ท์ โดยความเห็ นชอบของราชบัณฑิ ตยสถาน ให้ใช้คาว่า เจตคติ แทน
รักษ์ศิริ สิ ทธิโชค(2531,หน้า 43) และราชบัณฑิตยสถานได้บญั ญัติศพั ท์คาว่า “Aptus” เป็ นภาษาไทย
ว่า เจตคติ ทัศนคติ ท่าที (ราชบัณฑิตยสถาน,2532,หน้า 9) และนักวิชาการได้ให้ความหมายไว้ดงั นี้

วิรัช สงวนวงศ์วาน (2546, หน้า 49) กล่าวว่า เจตคติ หมายถึง ปฏิกิริยาโต้ตอบที่คนเรามีต่อ


สิ่ งเร้ าทางสังคม การชอบ ไม่ชอบบางอย่าง เห็ นด้วย หรื อไม่เห็ นด้วย การที่เกิ ดปฏิ กิริยาเช่ นนี้ ข้ ึน
เรี ยกว่าการมีเจตคติต่อบางสิ่ งบางอย่างที่เกิดขึ้น

ประภาเพ็ญ สุ วรรณ (2526, หน้า 3) กล่าวว่า เจตคติ หมายถึง ความคิดเห็ นซึ่ งมีอารมณ์
เป็ นส่ วนประกอบ พร้อมที่จะมีปฏิกิริยาเฉพาะอย่างต่อสถานการณ์ภายนอก
24

อรัญญา เวียงวะลัย (2538, หน้า 10) กล่าวว่า เจตคติ หมายถึ ง การแสดงท่าที ความรู ้ สึก
ความคิดเห็นต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ งของบุคคล เป็ นผลเนื่ องมาจากการเรี ยนรู ้
ประสบการณ์ ซึ่งอาจแสดงออกในทางบวก ทางลบ หรื อเป็ นกลาง

กล่ า วโดยสรุ ป เจตคติ หมายถึ ง ความรู ้ สึ ก ความคิ ด เห็ น ความเชื่ อ ของบุ ค คลที่ มี ต่ อ
สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง อันเป็ นผลเนื่องมาจากประสบการณ์การเรี ยนรู้ ซึ่ งสะท้อนออกมาเป็ นพฤติกรรมหรื อ
ความรู้สึก โดยจะแสดงออกมาใน 2 ลักษณะ คือ ทางบวก (P) จะแสดงในลักษณะความชอบ เห็น
ด้วย ความสนใจ หรื อไม่ยอมรับ และอีกลักษณะหนึ่ งคือ ทางลบ (N) จะแสดงในลักษณะความไม่
ชอบไม่เห็นด้วย ไม่สนใจ หรื อไม่ยอมรับ นอกจากนี้เจตคติอาจแสดงออกในลักษณะความเป็ นกลาง
ก็ได้ เช่ น รู ้ สึกเฉยๆ ไม่มีความรู ้ สึกต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งที่มาเกี่ ยวข้อง โดยเฉพาะหน้าที่ การงานของ
บุคคลจะต้องมีเจตคติต่ออาชีพของตนเอง อย่างไรก็ตามผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี ทุกสาขาจะต้องเป็ น
นักบัญชีที่มีความรู ้ความสามารถในทางวิชาชี พที่สูงเพียงพอต่อการสร้ างความเชื่ อมัน่ ให้กบั บุคคล
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเพื่อให้มนั่ ใจได้วา่ ผลงานที่ได้ผา่ นการกลัน่ กรองจากนักบัญชี ที่มี
องค์ประกอบของความรู ้ความสามารถที่ครบถ้วนในทุกๆด้าน จะเป็ นงานที่มีประสิ ทธิ ภาพและก่อ
ให้ประโยชน์สูงสุ ดต่อผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย มุจริ นทร์ แก้วหย่อง(2548, หน้า 18)

ั น์ ไ พศาล (2554) ได้ใ ห้ แ นวคิ ด เกี่ ย วกับ ตัว แปรที่ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ผ ล
จารุ ณี อภิ ว ฒ
การปฏิบตั ิงานของพนักงานบัญชี สามารถจัดกลุ่มตัวแปรเป็ น 7 กลุ่ม ดังนี้

1. คุณลักษณะของบุคคลเป็ นสิ่ งที่ช้ ี ให้เห็นถึงความเป็ นตัวตนของนักบัญชี ที่เป็ นคุณลักษณะ


เฉพาะตัวของนัก บัญชี แต่ล ะคน ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึ ก ษา รายได้ สวัส ดิ การ
อัตราการเข้าออกในการทางานและประสบการณ์ในการทางาน

2.คุ ณลัก ษณะองค์ก ร เป็ นลัก ษณะของสภาพแวดล้อมขององค์ก ร การบริ หารงานหรื อ


สภาพต่างๆ ขององค์กรที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพในการทางาน ได้แก่ วัฒนธรรมองค์กร สถานภาพ
ขององค์ก ร โครงสร้ า งองค์ก ร นโยบายการท างาน สหภาพแรงงาน เทคโนโลยีที่ อ งค์ก รใช้
สภาพแวดล้อม และการบริ การต่อลูกค้า

3.คุ ณธรรมจริ ยธรรม เป็ นสิ่ งที่ แสดงออกของความดี อาจจะแสดงออกด้วยการปฏิ บ ัติซ่ ึ ง


คนทัว่ ไปมองเห็ นได้ ในเรื่ องความรู ้ และความเข้าใจในจรรยาบรรณวิชาชี พ คุ ณค่าแห่ งวิช าชี พ
25

ความซื่ อสัตย์สุจริ ต ทัศนคติที่ดีต่อวิชาชี พ มีวินยั เคารพกฎระเบียบ สามารถปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ


ของสถาบันและสัง คมได้ส ามารถบริ หารเวลาในการท างานได้ป รั บ เปลี่ ย นวิธี ก ารดาเนิ น ชี วิ ต
อย่า งสร้ า งสรรค์อย่า งมี มี จิตส านึ ก ในสั ง คม และพฤติ ก รรมที่ แสดงออกว่า ค านึ ง ถึ ง ประโยชน์
ส่ วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างแท้จริ ง
4.ความรู ้ เกี่ ยวกับงาน เป็ นพฤติกรรมที่แสดงถึ งความเข้าใจในทฤษฎี แนวคิด หลักการและ
วิธีการทางการบัญชีสามารถเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กบองค์ความรู้ดา้ นการบัญชี
โดยสามารถน ามาประยุ ก ต์ใ ช้ไ ด้อ ย่า งเหมาะสมกับ งานด้า นบัญ ชี สามารถเข้า ใจเทคนิ ค การ
ปฏิ บ ตั ิ ง านด้า นการบัญชี และอื่ นๆ โดยใช้วิธี ก ารเรี ย นรู้ จากประสบการณ์ รวมถึ งมี การทบทวน
ความรู ้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่อง
5. ทัก ษะทางปั ญญา เป็ นความสามารถในการนาความรู ้ ไ ปประยุกต์ใ ช้ในการแก้ปั ญหา
ในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างถูกต้องกล่าวคือ สามารถนาข้อมูลที่สืบค้นนาไประมวลผลข้อมูลตาม
แนวคิดต่างๆ สามารถระบุและวิเคราะห์ปัญหาได้ดว้ ยตนเอง สามารถประยุกต์ความรู ้ทางการบัญชี
และด้านอื่นที่สัมพันธ์กนเพื่อนาไปใช้ในทักษะ ทางวิชาชี พ รวมถึงดุลยพินิจในการแก้ไขปั ญหา
ในสถานการณ์ ต่า งๆ อย่า งสร้ า งสรรค์โดยค านึ ง ผลกระทบที่ อาจเกิ ด ขึ้ น จากการตัดสิ นใจและ
สามารถติดตาม ประเมินผลและรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
6. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุ คคล เป็ นความชานาญที่ เกิ ดจากการทางานตามกิ จกรรม
บ่อยๆ จนสามารถทางานได้ดว้ ยความรวดเร็ วและถูกต้องจนก่อให้เกิดความสัมพันธ์อนั ดีกบบุคคล
อื่นที่เกี่ยวข้องกัน ส่ งผลให้การปฏิบตั ิงานไปสู่ เป้ าหมายที่วางไว้ได้คือสามารถทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น
มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีสามารถปฏิบตั ิและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และ
ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ และวัฒนธรรมขององค์กร ได้เป็ นอย่างดี สามารถให้ความช่ วยเหลือ
และอานวยความสะดวกในการแก้ไขปั ญหาในสถานการณ์ ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผูน้ าหรื อใน
บทบาทของผูร้ ่ วมทีมงาน
7. ทักษะการวิเคราะห์เชิ งตัวเลขการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นความชานาญที่เกิ ดจาก
การปฏิ บตั ิ ตามกิ จกรรมอย่างสม่ าเสมอจนสามารถปฏิ บตั ิ ได้ด้วยความรวดเร็ วและถู กต้องในเชิ ง
ตัวเลข สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปสู่ อีกบุคคลหนึ่งโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ อาทิเช่น
การมีทกั ษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริ มาณเพื่ อการตัดสิ นใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย
26

และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปั ญหา หรื อข้อโต้แย้ง อย่างมีประสิ ทธิ ภาพทั้งการพูดและการ


เขียนรู ้จกั เลือกและใช้รูปแบบการนาเสนอที่เหมาะสมกบปั ญหาและกลุ่มผูฟ้ ังที่แตกต่างกัน

พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา กองจันทร์ (2560) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับปั จจัยหลักที่ส่งผล


ต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี คื อ ปั จ จัย ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ ผู ้ท าบัญ ชี โ ดยตรง ได้ แ ก่ ความรู ้
ความสามารถทางด้านบัญชี ประสบการณ์ การฝึ กอบรม ความเข้าใจในขั้นตอนการจัดทาบัญชี และ
ปั จจัยภายนอกจากการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. ความรู ้ทางด้านบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในการจัดทาบัญชี สิ่งสาคัญคือ ผูท้ าบัญชี ตอ้ งมีความรู ้
ความเข้าใจเกี่ ยวกับหลักการบัญชี หมวดบัญชี วงจรบัญชี และการรายงานทางการเงิ น หากผูท้ า
บัญชีไม่มีความรู ้ พื้นฐานเกี่ยวกับบัญชีแล้ว ยากที่จะทาให้การจัดทาบัญชีประสบความสาเร็ จได้
2. ประ ส บการณ์ ในการท าบั ญ ชี ของผู้ ท าบั ญ ชี ประ ส บการณ์ ในการท าบั ญ ชี
เป็ นหนึ่ ง องค์ป ระกอบที่ ส ะท้อนให้เห็ นว่า ผูท้ าบัญชี มี ค วามสามารถในการประยุก ต์ใ ช้ค วามรู ้
ทางด้านบัญชี ผูท้ าบัญชีที่มีประสบการณ์ในการทาบัญชี ที่เหมาะสมมาก่อนจะทาให้มีความรู ้ความ
เข้าใจในการจัดทาบัญชีอย่างดีและเมื่อเกิดปั ญหาในการทาบัญชี จะอาศัยประสบการณ์ที่มีแก้ปัญหา
ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
3.การฝึ กอบรมเกี่ ย วกับ การจัด ท าบัญ ชี การฝึ กอบรมถื อ เป็ นการพัฒ นาบุ ค ลากรให้ เ กิ ด
ความ เข้าใจในการทางานขององค์กร และสามารถนาความรู้ ความสามารถของตนมาใช้ในการ
พัฒนาองค์กรได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ ทั้งยังเป็ นการกระตุน้ ให้ผทู ้ าบัญชีมีความกระตือรื อร้นในการ
ทางานอีกด้วย
4. ความเข้าใจในขั้นตอนจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในการจัดทาบัญชี ให้มีประสิ ทธิ ภาพผูท้ า
บัญชี จะต้องมีความเข้าใจในขั้นตอนการจัดทาบัญชี อย่างถ่องแท้ หากขั้นตอนในการจัดทาบัญชี มี
ความยุง่ ยากและ ซับซ้อนต่อการปฏิบตั ิงาน ทาให้ผทู ้ าบัญชีไม่เข้าใจขั้นตอนการจัดทาบัญชี และไม่
สามารถจัดทาบัญชี ตามระเบียบ ของหน่ วยงานส่ งเสริ มได้ หน่ วยงานที่มีส่วนเกี่ ยวข้องควรมี การ
ประยุกต์วธิ ี การจัดทาบัญชีหรื อขั้นตอนในการ จัดทาบัญชีให้เหมาะสมกับบริ บทการดาเนินงานของ
แต่ละหน่วยงาน
5. หน่ วยงานกากับดู แล ในการจัดทาบัญชี ใ ห้ถูก ต้องตามระเบี ยบ หน่ วยงานกากับ ดู แลมี
บทบาทสาคัญในการให้คาแนะนา คาปรึ กษา ส่ งเสริ ม สนับสนุ น และให้ความช่ วยเหลื อเกี่ ยวกับ
27

การจัดทาบัญชี แก่ธุรกิ จ ดังนั้นเจ้าหน้าที่ของหน่ วยงานกากับดูแลควรมีความรู ้ ทางด้านบัญชี และ


ระเบียบในการจัดทาบัญชีและให้การสนับสนุนอย่างสม่าเสมอ

ตารางที1่ สรุ ปปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อประสิ ทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้ประกอบวิชาชี พบัญชี บัญชี

แหล่งอ้างอิง ประสิ ทธิภาพการ ปัจจัยทีไ่ ด้ จากวรรณกรรม


ปฏิบัติงานของผู้ประกอบ
วิชาชีพบัญชี
จารุ ณี อภิวฒั น์ พนักงานบัญชี - คุณลักษณะของบุคคล
ไพศาล (2554) - คุณลักษณะองค์กร
- คุณธรรมจริ ยธรรม
- ความรู ้เกี่ยวกับงานบัญชี
- ทักษะทางปัญญา
- ทั ก ษะความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า ง
บุคคล
- ทัก ษะการวิ เ คราะห์ เ ชิ ง ตัว เลข
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร ผูท้ าบัญชี - ความรู้ทางด้านบัญชี
และ ปวีนา กองจันทร์ - ประสบการณ์ในการทาบัญชี
(2560) - การฝึ กอบรมเกี่ ย วกับ การจัดท า
บัญชี
- ความเข้ า ใจในขั้ น ตอนจั ด ท า
บัญชี
- หน่วยงานกากับดูแล
ศิลปะพร ศรี จนั่ เพชร ผูท้ าบัญชี - ความรู้ในวิชาชีพ
(2545) - ทักษะทางวิชาชีพ
- คุณค่าแห่งวิชาชีพ
- เจตคติในวิชาชีพ
28

สาหรับการศึกษาครั้งนี้ ผูศ้ ึกษาได้นาผลการทบทวนวรรณกรรมข้างต้นตามที่มีผศู ้ ึกษาไว้


มาวิเคราะห์ และสังเคราะห์เพื่อใช้ในการกาหนดเป็ นปั จจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบตั ิงานของผูท้ าบัญชี
โดยผูศ้ ึ กษาพิจารณาแล้วเห็ นว่า แนวคิ ดของ ศิ ลปะพร ศรี จนั่ เพชร (2545) เป็ นแนวคิ ดที่ ต รงกับ
การศึ กษาครั้ งนี้ ซึ่ งต้องการศึ กษาปั จจัย เกี่ ย วข้องกับ ตัวบุ ค คลคื อผูจ้ ดั ท าบัญชี ดังนั้น ผูศ้ ึ กษาจึ ง
กาหนดตัวแปรอิสระในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ 1) ความรู้ในวิชาชีพ 2) ทักษะ
ทางวิชาชีพ 3) คุณค่าแห่งวิชาชีพ และ 4) เจตคติในวิชาชีพ

5. แนวคิดเกีย่ วกับการวัดปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชีของผู้ทาบัญชี

การศึ ก ษาครั้ งนี้ มี ปั จ จัย ที่ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ข องผูท้ าบัญ ชี ได้แ ก่
1) ความรู้ ใ นวิช าชี พ 2) ทัก ษะทางวิชาชี พ 3) คุ ณค่ า แห่ ง วิช าชี พ และ 4) เจตคติ ใ นวิชาชี พ ซึ่ ง
สามารถวัด ได้จ ากตัว แปรที่ ไ ด้จ ากการทบทวนแนวคิ ด การวัด ประสิ ท ธิ ภ าพการปฏิ บ ัติ งานที่
เกี่ยวข้องกับการศึกษาครั้งนี้ ดังต่อไปนี้
5.1 แนวคิดเกีย่ วกับการวัดปัจจัยตัวที่ 1 ความรู้ ในวิชาชี พ
อัมพร เที่ยงตระกูล (2551) ได้ให้ความหมายว่า หัวข้อต่างๆที่รวมมาเป็ นหัวข้อการเรี ยน
ของวิชาชี พบัญชี รวมทั้งสาขาวิชาทางธุ รกิ จต่างๆที่ เมื่ อมารวมกันแล้วจะเกิ ดองค์ความรู ้ ที่จาเป็ น
ต่ อ นัก วิ ช าชี พ ได้แ ก่ ความรู ้ ท ั่ว ไปความรู ้ ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ วิ ช าชี พ บัญ ชี ความรู ้ เ ทคโนโลยี และ
ความรู้ในวิชาชีพบัญชี
5.1.1 ความรู ้ ท ั่ ว ไป ประกอบด้ ว ย ความรู ้ ด้ า นสั ง คม ความรู ้ ด้ า นเศรษฐกิ จ
ความรู้ดา้ นการเมือง และความรู้ดา้ นวัฒนธรรม
5.1.2 ความรู ้ เกี่ ย วข้องกับ วิชาชี พ บัญชี ประกอบด้วย ความรู ้ ท างด้า นเศรษฐศาสตร์
ความรู้ ด้า นการตลาด ความรู้ ด้า นการเงิ น ความรู้ ด้า นการจัด การ ความรู้ ด้า นกฎหมาย และ
ความรู้ดา้ นภาษีอากร
5.1.3 ความรู ้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย ความรู ้พ้นื ฐานการใช้คอมพิวเตอร์
ความรู้การใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ปทางบัญชี และความรู้ทางระบบพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
29

5.1.4 ความรู้ ในวิชาชี พบัญชี ประกอบด้วย ความรู้ ด้านบัญชี การเงิ น ความรู้ ด้านบัญชี
บริ หาร ความรู้ดา้ นการสอบบัญชี และความรู้ดา้ นการตรวจสอบภายใน

5.2 แนวคิดเกีย่ วกับการวัดปัจจัยตัวที่ 2 ทักษะทางวิชาชีพ


อัมพร เที่ยงตระกูล (2551) ได้ให้ความหมายว่า ความสามารถประเภทต่างๆที่จาเป็ นต่อ
การนาความรู ้ทางวิชาชี พ ค่านิ ยม จริ ยธรรมและแนวความคิดทางวิชาชี พไปปฏิ บตั ิอย่างเหมาะสม
และมีประสิ ทธิ ภาพภายใต้สภาพแวดล้อมทางวิชาชี พ กล่าวคือ นักวิชาชี พบัญชี จาเป็ นต้องมีทกั ษะ
จานวนหนึ่ ง รวมทั้งทักษะเฉพาะด้านและทักษะในการสื่ อสารระหว่างบุ คคล ทักษะด้านความรู ้
ต่างๆ และทักษะในการพิจารณาเยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพ ได้แก่ ทักษะในการใช้สติปัญญา ทักษะด้าน
มนุษย์สัมพันธ์ ทักษะในการติดต่อสื่ อสาร และทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.1 ทัก ษะในการใช้ส ติ ปั ญ ญา ประกอบด้ว ย การมี วิ จ ารณญาณในการไตรตรอง
ความสามารถในการเลื อกใช้วิธีแก้ปัญหาที่เหมาะสม และความสามารถในการวิเคราะห์และเลื อก
ข้อมูล
5.2.2 ทักษะด้า นมนุ ษย์สัมพันธ์ ประกอบด้วย ความสามารถในการประสานงานได้เป็ น
อย่างดี และการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้
5.2.3 ทัก ษะในการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ประกอบด้ว ย การมี ศิ ล ปะในการแสดงความคิ ด เห็ น
การนาเสนอ การพูด และการเขียนได้ตรงประเด็น
5.2.4 ทัก ษะในการใช้เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ ประกอบด้ว ย ความสามารถในการใช้
คอมพิวเตอร์บนระบบเน็ทเวิร์คได้ และความสามารถในการใช้อีเมล์ ดาวน์โหลดข้อมูลออนไลน์
5.3 แนวคิดเกีย่ วกับการวัดปัจจัยตัวที่ 3 คุณค่ าแห่ งวิชาชี พ
ตนตามจรรยาบรรณ แสดงความคิด ความรู ้สึกอย่างเปิ ดเผยตรงไปตรงมาและปฏิบตั ิตนให้
สอดคล้องกับสภาวิชาชี พบัญชี (2556) ได้ให้ความหมายว่า ความประพฤติและลักษณะนิ สัยทาง
วิชาชีพที่บ่งบอกถึงการเป็ นนักวิชาชีพบัญชี ซึ่ งเป็ นสมาชิกของวิชาชีพ พฤติกรรมและลักษณะนิ สัย
เหล่านี้ รวมถึงหลักปฏิบตั ิตน(เช่ นหลักจริ ยธรรม) ที่โดยทัว่ ไปแล้วจะเกี่ยวโยงไปถึ งและจาเป็ นต่อ
การชี้ ให้เห็ นถึงลักษณะที่แตกต่างของพฤติกรรมเยี่ยงผูป้ ระกอบวิชาชี พ คือ คุณค่า จริ ยธรรม และ
แนวคิดทางวิชาชี พนั้นรวมถึงความมุ่งมัน่ ตั้งใจปฏิบตั ิงานพร้อมชี้ แจงและรับผิดชอบผลการกระทา
หน้าที่โดยสุ จริ ตและประพฤติคล้องกับความคิดและคาพูดของตน มีวินยั ในการทางาน เช่น ตรงต่อ
30

เวลา มี ค วามรั บ ผิดชอบต่ องานที่ ไ ด้รับ ผิดชอบงานที่ ไ ด้รับ มอบหมาย มี ค วามเป็ นอิ ส ระในการ
ทางาน และมีการปฏิบตั ิที่คานึงถึงมรรยาททางบัญชีได้แก่ ความโปร่ งใส ความเป็ นอิสระ ความเที่ยง
ธรรม และความซื่ อ สั ต ย์สุ จ ริ ต ความรู้ ค วามสามารถและมาตรฐานในการปฏิ บตั ิ ง าน มี ค วาม
รับผิดชอบและรักษาความลับขององค์กร
5.4 แนวคิดเกีย่ วกับการวัดปัจจัยตัวที่ 4 เจตคติในวิชาชีพ
ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553) ได้ให้ความหมายว่า เจตคติที่บุคคลมีต่อวิชาชี พถือว่าเป็ นเรื่ อง
ที่ตอ้ งให้ความสาคัญเนื่ องจากการที่บุคคลมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชี พที่ปฏิบตั ิก็ยอ่ มปฏิบตั ิงานนั้นอย่าง
เต็มกาลังความสามารถ หากองค์กรใดมี พนักงานที่ มีเจตคติ ที่ดีต่องานที่ ทาองค์กรก็ย่อมมี ค วาม
พร้อมที่ดีสามารถสร้างความได้เปรี ยบทางการแข่งขันได้ นาพาองค์กรไปสู่ เป้ าหมายที่กาหนดไว้ได้
ซึ่ งทฤษฎีแรงจูงใจของ Herzbrg จากการศึกษาค้นคว้าวิจยั ปั จจัยที่ทาให้เกิ ดความพึงพอใจในงาน
ที่ทาปั จจัยเหล่านี้ จะเกี่ยวข้องกับความรู ้สึกในทางบวก กับงานที่ปฏิบตั ิและเกี่ยวข้องกับเนื้ อหาของ
งานที่ ปฏิ บตั ิ บุคคลจะได้รับการจูงใจหรื อแรงจูงใจ ให้เพิ่มผลผลิ ตด้วยปั จจัยแหล่งนี้ ซ่ ึ ง Herzbrg
เรี ยกว่า ปั จจัยจูงใจ ประกอบด้วย
1.ความสาเร็ จในงาน หมายถึง การที่บุคคลสามารถทางานได้เสร็ จสิ้ นและประสบผลสาเร็ จ
ด้วยดี เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาต่างๆ การรู ้จกั ป้ องกันปั ญหาที่จะเกิดขึ้น
2.การยอมรั บ นับ ถื อ หมายถึ ง การได้รับ การยอมรั บ นับ ถื อไม่ ว่า จากผูบ้ งั คับ บัญ ชาการ
ยอมรับนี้อาจจะอยูใ่ นการยกย่องชมเชยแสดงความยินดีให้กาลังใจ
3.ลักษณะของงาน หมายถึง สภาพของงานที่ทาอยูน่ ้ นั ผูท้ ารู ้สึกว่าเป็ นงานที่มีเกียรติปริ มาณ
งานมีความเหมาะสมกับเวลา ได้ใช้ความรู ้ความสารถของตนเองอย่างเต็มที่ในการปฏิบตั ิงาน
4.ความรั บ ผิ ด ชอบ หมายถึ ง การที่ บุ ค คลได้รั บ มอบหมายงานที่ เ หมาะสมกับ ความรู ้
ความสามารถ ความถนัด และเป็ นที่ไว้วางใจในการทางาน
5.ความก้าวหน้า หมายถึ ง การที่มีโอกาสได้เลื่ อนตาแหน่ งสู งขึ้น การได้รับผิดชอบในงาน
ที่เพิ่มขึ้น เป็ นต้น
5.5 แนวคิดเกีย่ วกับการวัดปัจจัยตัวที่ 5 ความรู้ ความสามารถทางการบัญชี
กรรณิ การ์ จันทร์ โพธิ์ (2549,หน้า 6) ได้ให้ความหมายว่า ความรู้ ความสามารถทางการ
บัญชี หมายถึง การที่บุคคลใดมีการเรี ยนรู้และความเข้าใจในสาขาการบัญชี มีทศั นคติลกั ษณะทาง
31

พฤติกรรม ความคิดที่เป็ นระบบและกว้างไกล ความรู้ทางด้านเทคนิค รวมถึงทักษะด้านการเรี ยนรู้


อย่างชาญฉลาด ให้เหมาะสมในการปฏิบตั ิงานในฐานผูป้ ระกอบวิชาชีพ

มุจริ นทร์ แก้วหย่อง (2548,หน้า 13) ได้ให้ความหมายว่า ความรู ้ ความสามารถทางการบัญชี


หมายถึง การที่มีทกั ษะในการเรี ยนรู้ ความสามารถในการเรี ยนรู้และประสบการณ์ในเรื่ องหลักการ
แนวคิดและการประยุกต์การจัดทาบัญชี จากความหมายข้างต้น ความรู้ความสามารถทางการบัญ ชี
หมายถึ ง การที่ บุ ค คลมี ค วามสามารถในการเรี ย นและเข้า ใจในสาขาการบัญ ชี มี ค วามรู้ เ ยี่ย งผู้
ประกอบวิชาชีพบัญชี เพื่อพัฒนาตนในการปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น ซึ่ งการที่จะเป็ น
ผูท้ าบัญชี ในธุ รกิจหรื อในหน่ วยงานต่างๆได้น้ นั ผูท้ าบัญชี ก็จะต้องเป็ นผูท้ ี่มีความรู้ความสารถใน
การทาบัญชีอีกด้วย

5.6 แนวคิดเกีย่ วกับการวัดปัจจัยตัวที่ 6 ความรู้ ทางด้ านบัญชี


สมเดช โรจน์คุรีเสถี ยร(2544) กล่ าวว่า โดยปกติ แล้วการดาเนิ นธุ รกิ จอสังหาริ ม ทรั พ ย์
จะต้องเกี่ยวข้องกับธุ รกิจรับเหมาก่อสร้าง อย่างหลีกเลี่ยงไม่พน้ วิธีการบัญชีธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ก็
จะมี ลกั ษณะในการจัดทาแตกต่างกับธุ รกิ จรั บเหมาก่อสร้ าง บ้างเล็กน้อย ในที่ น้ ี จะแยกพิจารณา
รายได้และรายจ่ายธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. รายได้ ของธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์ มีอยู่ 2 ประเภท ได้แก่
1.1 รายได้ จากการขาย การบันทึ กบัญชี และการรั บรู ้ กาไรจากการขายตามมาตรฐาน
การบัญชี และมีการเปิ ดเผยข้อมูลทางการเงินจะต้องแยกรายได้ของบริ ษทั ออกให้ชดั เจน
ดังนี้

1.1.1 รายได้จากการขายตามประเภทของผลิตภัณฑ์
- รายได้จากการขายบ้านพร้อมที่ดิน
- รายได้จากการขายอาคารชุด
- รายได้จากการขายที่ดินเปล่า
1.1.2 รายได้จากการให้เช่า
1.1.3 รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง
32

2. รายได้ อื่น รายได้อื่นๆ ที่ มิ ใ ช่ รายได้จากการขายตามข้อ 1.1 และในกรณี ที่ รายได้อื่น


ประเภทใดที่มีจานวนเงิ นตั้งแต่ 10% ของยอดรวมรายได้ท้ งั สิ้ น ให้แยกรายได้น้ นั เป็ นอีกรายการ
หนึ่ ง สาหรับรายได้ของธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ในทางปฏิ บตั ิจะมีรายได้เกิ ดขึ้น 4 ขั้นตอนด้วยกัน
คือ

2.1 วางเงินจอง (เงินมัดจา)


2.2 ชาระเงินค่าทาสัญญาจะซื้ อจะขาย
2.3 ผ่อนชาระค่างวดเงินดาวน์
2.4 ชาระเงินส่ วนที่เหลือในวันโอนกรรมสิ ทธิ์
หลักการพิจารณารายได้ ของธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์ จะต้ องพิจารณาเรื่องของการรับรู้ รายได้
สมเดช โรจน์คุรีเสถียร (2544) กล่าวว่า ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ และธุ รกิจรับเหมาก่อสร้ าง
มักจะมี ปัญหาในการบันทึ กบัญชี โดยเฉพาะอย่า งยิ่งการรั บ รู ้ รายได้ และรายจ่ายของกิ จการ ซึ่ ง
กิ จการยังคงจะต้องคานึ งถึ งการรั บ รู ้ รายได้ และรายจ่ายให้เป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี และ
กฎหมายภาษีอากร ในการดาเนิ นธุ รกิ จเมื่อมีรายการค้าเกิ ดขึ้นจะต้องมีการจาแนกเอกสารในส่ วน
ของรายได้ และค่าใช้จ่ายให้ถูกต้องเป็ นหมวดหมู่ สิ่ งที่สาคัญที่ผจู ้ ดั ทาบัญชี ควรจะทราบก็คือการ
รับรู ้รายได้ และรายจ่ายก่อนว่ามีหลักเกณฑ์พิจารณา อย่างไร กิจการจะต้องมีการรับรู ้ รายได้ และ
รายจ่ายเพื่อจะ ได้นารายได้ และรายจ่ายไปคานวณกาไรหรื อขาดทุนสุ ทธิ ของกิจการ การรับรู ้รายได้
และรายจ่ายเป็ นการรับรู ้วา่ ได้มีรายได้ และรายจ่ายได้เกิดขึ้นตามรายการค้านั้นแล้วจะต้องนารายได้
และรายจ่ายไปบันทึกบัญชี และนาไปคานวณกาไรหรื อขาดทุ นของกิ จการต่อไป สาหรับในกรณี
ของธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ ผูบ้ ริ หารได้มีการพัฒนาธุ รกิ จด้านนี้ กนั มาก และก็สามารถสร้ างกาไร
อย่างเป็ นกอบ เป็ นกาแต่การเลือกการรับรู ้รายได้เพื่อใช้ในการบันทึกก็แตกต่างกันด้วย บางครั้งการ
รั บ รู ้ รายได้จะมี ผ ลต่ อการแสดงรายการในงบการเงิ น และการเปิ ดเผยข้อมู ล ทางการเงิ น ให้ ก ับ
บุคคลภายนอกเข้าใจผิดได้ง่าย ดังนั้นสมาคมนักบัญชี และผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย
ได้กาหนดแนวทางของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 เพื่อให้ทุกบริ ษทั ที่ ดาเนิ นกิ จการด้านธุ รกิ จ
อสังหาริ มทรัพย์มีแนวทางปฏิบตั ิในการบันทึกบัญชี การรับรู ้ รายได้ให้เป็ นมาตรฐานเดียวกันหมด
33

เพื่อไม่ให้เกิดข้อโต้แย้งกันในภายหลัง สาหรับการรับรู ้รายได้จะแบ่งประเภทธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์


เป็ น 3 ประเภท คือ 1) การขายที่ดิน 2) การขายที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้าง และ 3) การขายอาคารชุด
รายได้ ของธุรกิจอสั งหาริ มทรั พย์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 26 ประกอบด้วยรายการใน
ย่อหน้าที่ 23-27 ได้กาหนดให้ธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์รับรู ้รายได้ไว้ดงั ต่อไปนี้
1. การรับรู ้รายได้ท้ งั จานวนให้รับรู ้รายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์เป็ นรายได้ท้ งั จานวน
เมื่อผูข้ ายได้โอนความเสี่ ยงและผลประโยชน์ที่มีนยั สาคัญในทรัพย์สินให้แก่ผซู ้ ้ื อแล้ว

2. วิธีการรับรู ้เป็ นรายได้ตามอัตราส่ วนของงานที่สาเร็ จ เป็ นการรับรู ้รายได้ตามอัตราส่ วน


ร้อยละของงานก่อสร้างที่แล้วเสร็ จตามผลงานการก่อสร้างในแต่ละรอบบัญชี
3. การรั บรู ้ รายได้ตามเงิ นค่างวดที่ ถึ งกาหนดชาระ ให้รับรู ้ รายได้ตามอัตรากาไรขั้น ต้น
ตามค่างวดที่ถึงกาหนดชาระในแต่ละงวดบัญชี
รายจ่ า ยของธุ รกิจอสั งหาริ มทรั พ ย์ เมื่ อกิ จการมี รายจ่ ายเกิ ดขึ้ นในการดาเนิ นกิ จการ
สามารถแยกรายจ่ายในการพิจารณารายการค้าเพื่อประโยชน์ในการบันทึกบัญชีให้ถูกต้อง
1. รายจ่ายที่มีลกั ษณะเป็ นทุ น เป็ นรายจ่ายที่กิจการได้จ่ายไปเพื่อให้ได้สินทรัพย์มา หรื อ
ผลประโยชน์ ต อบแทนที่ มี ผ ลก่ อ ให้ เ กิ ด ผลเป็ นทางถาวรต่ อ กิ จ การซึ่ งมี ร ะยะเวลาเกิ น กว่ า
1 รอบระยะเวลาบัญชี เช่น จ่ายเงินซื้ อเครื่ องใช้สานักงาน จ่ายเงินค่าสร้างอาคาร
2. รายจ่ายเพื่อก่อให้เกิ ดรายได้หรื อเพื่อกาไร เป็ นต้นทุนสิ นค้าหรื อบริ การที่กิจการได้จ่าย
ไปเพื่อเกิ ดรายได้หรื อรายจ่ายต่างๆ ที่ กิจการได้จ่ายเพื่อให้สินค้าหรื อบริ การพร้ อมที่ จะขาย เช่ น
ต้นทุนสิ นค้าที่ขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริ หาร ดอกเบี้ยจ่าย เราอาจจาแนกรายจ่ายตามงบ
กาไรขาดทุ นเพื่อให้พิจารณาได้สะดวกกล่ าวยิ่งขึ้ นต่อผูจ้ ดั ทาบัญชี ผูบ้ ริ หารหรื อบุ คคลที่ มี ความ
จาเป็ นต่อข้อมูลทางบัญชีและการเงินของกิจการ ดังต่อไปนี้
3. ค่าใช้จ่ายของธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ หมายถึ ง ต้นทุนของสิ นค้าหรื อบริ การที่กิจการได้
จ่ายออกไปเพื่อก่ อให้เกิ ดรายได้ซ่ ึ งเป็ นผลจากการใช้สินทรั พย์หรื อบริ การเพื่อก่อให้เกิ ด รายได้
ค่าใช้จ่าย จะแยกออกได้ดงั นี้
3.1 ต้นทุนขาย หมายถึง ต้นทุนของสิ นค้าหรื อบริ การที่ขาย รวมราคาซื้ อและค่าใช้จ่ายอื่นๆ
หรื อต้นทุนการผลิตของสิ นค้าที่ขายที่จาเป็ นให้สินค้าอยูใ่ นสภาพพร้อมที่จะขาย
34

3.2 ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริ หาร หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นอันเนื่ องมาจากการขาย


และค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นในการบริ หารกิจการอันเป็ นส่ วนรวม ทั้งนี้ไม่รวมดอกเบี้ยจ่าย
3.3 ดอกเบี้ยจ่าย หมายถึ ง ดอกเบี้ยหรื อค่าตอบแทนที่ คิดให้เนื่ องจากการใช้ประโยชน์ จาก
เงินทุนหรื อเงินกู้

ดังนั้นจากการทบทวนตัวชี้ วดั ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์


เป็ นการจัดทาบัญชี ที่คานึ งถึงประสิ ทธิ ภาพในด้านต่างๆไม่วา่ จะเป็ น ด้านรายได้ ด้านค่าใช้จ่าย เป็ น
ต้น ซึ่ งที่ได้กระทาไปนั้นโดยมุ่งไปที่ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น ซึ่ งมีตวั ชี้วดั ดังนี้

6. งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


การศึ ก ษาในส่ ว นนี้ เป็ นการศึ ก ษางานวิ จ ัย เกี่ ย วกับ การวัด ตัว แปรอิ ส ระ (ปั จ จัย ) และ
ตัวแปรตาม (ประสิ ทธิ ภาพการปฏิบตั ิงาน) ดังนี้
งานวิจัยในประเทศ
สุ ภาพร เพ่งพิศ (2553) การศึกษาวิจยั เรื่ อง “ปั ญหาในการจัดทาบัญชี ของสานักงานบัญชี
ในกรุ งเทพมหานคร” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษา การใช้ความรู้ดา้ นวิชาชี พบัญชี ของผูท้ าบัญชี
ในสานักงานบัญชี ปั ญหาในการจัดทาบัญชี ของสานักงานบัญชี และศึกษาอิทธิ พลของข้อมูลส่ วน
บุคคล ข้อมูลสานักงานบัญชีและการใช้ความรู ้ดา้ นวิชาชีพบัญชี ที่มีต่อปั ญหาในการจัดทาบัญชีของ
สานักงานบัญชีในกรุ งเทพมหานคร จากการสารวจกลุ่มตัวอย่างสานักงานบัญชีในกรุ งเทพมหานคร
จานวน 320 แห่ ง ผลการวิจยั พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิง อายุระหว่าง 30-39
ปี การศึกษาจบระดับปริ ญญาตรี มีประสบการณ์การทางานด้านบัญชีมากกว่า 10 ปี ขึ้นไป มีหน้าที่ใน
การจัดทาบัญชี ออกแบบงบการเงิ นและจัดทารายงานภาษียื่นกรมสรรพากรสานักงานบัญชี ส่ วน
ใหญ่เป็ นคณะบุคคล เปิ ดดาเนิ นการมากกว่า 15 ปี ผลการศึกษาการใช้ความรู้ดา้ นวิชาชีพบัญชี ของ
ผูท้ าบัญชี ในสานักงานบัญชี พบว่า มีการใช้ความรู้ทางด้านการทาบัญชี มากที่สุด ในการจัดทางบ
การเงิน ได้แก่ งบกาไรขาดทุน งบดุล งบกระแสเงินสด เป็ นต้น รองลงมาเป็ นการใช้ความรู้วิชาชีพ
ด้านการบัญชี ภาษีอากรในการยื่นแบบภาษีเพื่อนาส่ งกรมสรรพากร และการใช้ความรู้วิชาชี พด้าน
การศึกษาและเทคโนโลยีการบัญชี ในการใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ปต่าง ๆ สาหรับปั ญหาในการจัดทา
บัญ ชี พ บว่า การปฏิ บ ัติ ต ามมาตรฐานการบัญ ชี มี ปั ญ หามากที่ สุ ด รองลงมาเป็ นปั ญ หาในด้า น
เทคโนโลยีสารสนเทศในการทาบัญชี และปั ญหาความยุง่ ยากจากการถูกตรวจสอบการทาบัญชีโดย
35

เจ้า พนัก งานกรมสรรพากรนอกจากนี้ การศึ ก ษาการเปรี ย บเที ย บข้อ มู ล ส่ ว นบุ ค คลและสถาน


ประกอบการ พบว่า เพศ และระดับการศึกษา มีผลต่อความคิดเห็นเกี่ยวกับปั ญหาในการจัดทาบัญชี
ในขณะที่ อายุและประสบการณ์ ก ารท างาน ระยะเวลาการเปิ ดด าเนิ น งาน และจานวนลู ก ค้า ที่
ให้บริ การ ไม่มีผลต่อปั ญหาในการจัดทาบัญชี การเปรี ยบเทียบการใช้ความรู ้ที่มีผลต่อปั ญหาในการ
จัดทาบัญชีได้แก่ การใช้ความรู้ดา้ นวิชาชีพบัญชีบริ หาร และการใช้ความรู้ดา้ นการวางระบบบัญชีมี
ผลต่อปั ญหาทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการประสานงานกับลูกค้า ด้านการปฏิบตั ิงานของผูท้ าบัญชี ด้าน
การปฏิ บ ตั ิ ตามมาตรฐานการบัญชี ด้านเทคโนโลยีส ารสนเทศในการท าบัญชี และด้านอื่ นๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการจัดทาบัญชี นอกจากนี้ ข้อเสนอแนะที่มีความคิดเห็นตรงกันในเรื่ องของมาตรฐาน
การบัญชี ไม่สอดคล้องกับการบัญชี ภาษี อากรและข้อกฎหมายของกรมสรรพากร มีปัญหาในการ
ตรวจสอบและมีปัญหาในการปฏิ บตั ิงานด้านการบัญชี ตอ้ งการให้มีการประสานงานกัน ระหว่าง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดาเนิ นการวางแนวทางในการปฏิบตั ิงานด้านการบัญชี หรื อมีหน่วยงานที่
ปรึ กษาให้คาตอบที่สามารถอ้างอิงได้ ในปฏิบตั ิงานโดยภาครัฐ ในด้านการใช้ความรู้วชิ าชีพ สาหรับ
บัณฑิตให้จดั กรเรี ยนมุ่งเน้นความรู ้ดา้ นการปฏิบตั ิงาน การใช้คอมพิวเตอร์ ในงานบัญชี ความรู้ดา้ น
การบัญ ชี ภ าษี อ ากร โดยการฝึ กปฏิ บ ัติ ม ากกว่า ทฤษฏี และยกระดับ มาตรฐานวิชาชี พ บัญ ชี อนั
เนื่องจากค่าตอบแทนในการรับทาบัญชีดว้ ย
ธวัช ภูษิตโภยไคย (2542) ศึกษาวิจยั การจัดทาบัญชี ของธุ รกิจขนาดกลางและขนาดย่อมใน
จังหวัดเชี ยงใหม่กล่าวว่ารู ปแบบการดาเนิ นธุ รกิ จของประเทศไทย ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นธุ รกิ จ ขนาด
กลางและขนาดย่อม (SMEs) ปัจจุบนั มีการเปลี่ยนแปลงจากการบริ หารโดยใช้ระบบ ครอบครัวเป็ น
การรวมทุนจากบุคคลภายนอกมากขึ้น เนื่ องจากธุ รกิจมีความจาเป็ นต้องอาศัยเงินทุน จากภายนอก
มากขึ้น ทาให้ธุรกิ จ SMEs ต้องมีการพัฒนาระบบข้อมูลทางบัญชี อย่างจริ งจังเพื่อการ จัดทาบัญชี
อย่างจริ งจัง เพื่อการจัดทาบัญชี สามารถนาเสนอข้อมูลที่ถูกต้องรวดเร็ ว และเพียงพอที่จะใช้ในการ
ตัดสิ นใจในการบริ หารธุ รกิจอย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดภายใต้สภาพแวดล้อมที่มี การเปลี่ยนแปลง
และการแข่งขันที่ รุนแรงผลการวิจยั นี้ เป็ นการสะท้อนถึ งสภาพการจัดทาบัญชี และการใช้ขอ้ มูล
ทางการบัญชีเพื่อการบริ หารธุ รกิจในจังหวัดเชียงใหม่ซ่ ึ งอาจจะแตกต่างจาก การศึกษาและแนวคิดที่
กล่าวข้างต้นจากการศึกษาพบว่าตาแหน่งของผูต้ อบแบบสอบถามเป็ นผูจ้ ดั การทัว่ ไปมากที่สุด ส่ วน
ใหญ่เป็ นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 31-40 ปี จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ประเภทของธุ รกิจเป็ น 15
ธุ รกิจผลิตและจาหน่ายสิ นค้า มีระยะเวลาในการดาเนิ นงานตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป มีเงินทุนจดทะเบียน
ต่ ากว่า 1,000,000 บาท มีจานวนพนักงาน 11-20 คน มากที่ สุดโครงสร้ างของกิ จการส่ วนใหญ่ มี
แผนกการเงิ น โดยแหล่ ง ข้อมู ล ที่ ใ ช้ใ นการเลื อกบริ ก ารสานัก งานบัญชี ได้ จากการแนะนาของ
กรรมการผูจ้ ดั การ หรื อผูถ้ ื อหุ ้นมากที่สุด ส่ วนใหญ่ใช้บริ การสานักงานบัญชี ในจังหวัดเชี ยงใหม่
36

และไม่ เ คยเปลี่ ย นส านัก งานบัญ ชี ที่ ใ ช้บ ริ ก าร บริ ก ารที่ ใ ช้ส่ วนใหญ่ คื อ ปรึ ก ษาทางภาษี อ ากร
เนื่องจากต้องการความถูกต้องแม่นยาของงานสอบบัญชี
งานวิจัยในต่ างประเทศ
เดเนี ยล คาทซ์ และโรเบิร์ต แอล. คาห์น (Daniel Kartz and Robert L. Kaln 1978 :121)
ซึ่ งเป็ นนักทฤษฎี ที่ศึกษาองค์กรในระบบเปิ ด (Open System) ได้ทาการศึกษาเรื่ องของปั จ จัย ที่ มี
ความสาคัญต่อประสิ ทธิ ภาพในการปฏิบตั ิงาน ได้ให้ความหมายว่า ประสิ ทธิ ภาพ คือ ส่ วนประกอบ
ที่ สาคัญของประสิ ทธิ ผล ถ้าวัดจากปั จจัยนาเข้าเปรี ยบเที ยบกับผลผลิ ตที่ ไ ด้น้ ัน จะทาให้การวัด
ประสิ ทธิ ภาพคลาดเคลื่อนจากความเป็ นจริ ง ประสิ ทธิ ภาพขององค์กรหมายถึง การบรรลุเป้ าหมาย
ขององค์กร ปั จจัยที่จะทาให้บรรลุเป้ าหมาย คือ การฝึ กอบรม ประสบการณ์ และความรู้สึกผูกพัน
ซึ่ งมีความสาคัญต่อประสิ ทธิ ภาพองค์กรด้วย

ตารางที่ 2 สรุ ปแนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ องกับการวัดตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม


พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา

เดเนียล คาทซ์ และโรเบิร์ต แอล.

(มุจริ นทร์ แก้วหย่อง,2548, หน้า


สมเดช โรจน์คุรีเสถียร(2544)
จารุ ณี อภิวฒั น์ไพศาล (2554)

ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553)

กรรณิ การ์ จันทร์โพธิ์ 2549

ตัวแปร
ศิลปะพร ศรี จน่ั เพชร:2545

ธวัช ภูษิตโภยไคย (2542)


อัมพร เที่ยงตระกูล,2551

สภาวิชาชีพบัญชี,2556

สุ ภาพร เพ่งพิศ (2553)


กองจันทร์(2560)

คาห์น 1978

ความรู้ ในวิชาชีพบัญชี 18

1. ด้ านความรู้ ทวั่ ไป / / / /
1.1 มีความรู ้ทวั่ ไป /
เกี่ยวกับเศรษฐกิจ
การเมือง
1.2 มีความเข้าใจ / /
หลักการปฏิบตั ิงานด้าน
บัญชี
37

พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา

เดเนียล คาทซ์ และโรเบิร์ต แอล.

ทร์ แก้วหย่อง,2548, หน้า


สมเดช โรจน์คุรีเสถียร(2544)
จารุ ณี อภิวฒั น์ไพศาล (2554)

ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553)

กรรณิ การ์ จันทร์โพธิ์ 2549


ศิลปะพร ศรี จน่ั เพชร:2545
ตัวแปร

ธวัช ภูษิตโภยไคย (2542)


2560) ล,2551

สภาวิชาชีพบัญชี,2556

สุ ภาพร เพ่งพิศ (2553)


อัมพรนเทีทร์่ย(งตระกู

(มุจรินน1978
กองจั

คาห์
18
1.3 มีความรู ้ในการ /
ปฏิบตั ิงานด้านบัญชีได้
ถูกต้องตามระเบียบของ
ธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์
1.4 มีการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับ /
ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับ
งานด้านบัญชีของ
ธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์
1.5 ได้รับการสนับสนุน
ให้มีความรู ้ในการ
ปฏิบตั ิงานด้านบัญชี

2. ด้ านความรู้ เกีย่ วกับ / / /


ธุรกิจและการจัดการ
ทัว่ ไป
2.1 มีการนาความรู ้ที่
ได้รับการฝึ กอบรมมา / /
ใช้กบั งานด้านบัญชี ใน
ธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์
และรวดเร็ ว
ตัวแปร

อสังหาริ มทรัพย์

3.1 ได้เข้ารับการ
เป็ นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานของธุรกิจ

บัญชีได้อย่างถูกต้อง
3.2 สามารถใช้ระบบ
สารสนเทศในการทา
เทคโนโลยีสารสนเทศ

ฝึ กอบรมคอมพิวเตอร์
3. ด้ านความรู้ เกีย่ วกับ
ธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์
2.3 เข้าใจหลักเอกสาร
หลักฐานทางบัญชีของ

เกี่ยวกับการบันทึกบัญชี
2.2 ปฏิบตั ิงานด้านบัญชี

/
/
/
ศิลปะพร ศรี จน่ั เพชร:2545

/
/
จารุ ณี อภิวฒั น์ไพศาล (2554)

/
พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา

/
/
/
กองจั
อัมพรนเทีทร์่ย(งตระกู
2560) ล,2551

สภาวิชาชีพบัญชี,2556

ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553)

กรรณิ การ์ จันทร์โพธิ์ 2549


/
/

/ สมเดช โรจน์คุรีเสถียร(2544)

สุ ภาพร เพ่งพิศ (2553)


/
/

ธวัช ภูษิตโภยไคย (2542)

เดเนียล คาทซ์ และโรเบิร์ต แอล.


38

คาห์
(มุจรินน1978
ทร์ แก้วหย่อง,2548, หน้า
18
อย่างดี
อย่างดี
อย่างดี
ของ ธุรกิจ
ตัวแปร

4.1 เข้าใจทักษะ

รายจ่ายของธุรกิจ

จัดทาบัญชีได้เป็ น
มาใช้ในกระบวนการ
4.4 สามารถใช้ความรู ้
4.2 สามารถใช้ความรู ้

4.3 ผูท้ าบัญชีสามารถ


แยกประเภทหมวดหมู่

ในการเข้ารับการอบรม
อสังหาริ มทรัพย์ได้เป็ น
แยกพิจารณารายได้และ
กระบวนการจัดทาบัญชี

รายการทางบัญชีได้เป็ น
4. ด้ านความรู้ ด้านบัญชี /
ศิลปะพร ศรี จน่ั เพชร:2545

/
จารุ ณี อภิวฒั น์ไพศาล (2554)

/
/
/
พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา

/
/

กองจั
อัมพรนเทีทร์่ย(งตระกู
2560) ล,2551

สภาวิชาชีพบัญชี,2556

ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553)


/

กรรณิ การ์ จันทร์โพธิ์ 2549

/
/
/

สมเดช โรจน์คุรีเสถียร(2544)
/

สุ ภาพร เพ่งพิศ (2553)


/

ธวัช ภูษิตโภยไคย (2542)

เดเนียล คาทซ์ และโรเบิร์ต แอล.


39

คาห์
(มุจรินน1978
ทร์ แก้วหย่อง,2548, หน้า
18
40

พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา

เดเนียล คาทซ์ และโรเบิร์ต แอล.

(มุจริ นทร์ แก้วหย่อง,2548, หน้า


สมเดช โรจน์คุรีเสถียร(2544)
จารุ ณี อภิวฒั น์ไพศาล (2554)

ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553)

กรรณิ การ์ จันทร์โพธิ์ 2549


ศิลปะพร ศรี จน่ั เพชร:2545
ตัวแปร

ธวัช ภูษิตโภยไคย (2542)


อัมพร เที่ยงตระกูล,2551

สภาวิชาชีพบัญชี,2556

สุ ภาพร เพ่งพิศ (2553)


กองจันทร์(2560)

คาห์น 1978

18
ทักษะทางวิชาชีพ /

1. ด้ านทักษะในการใช้ เหตุผล
1.1 สามารถแก้ไข / / /
ปั ญหา ในการ
ปฏิบตั ิงานได้เป็ น
อย่างดี
1.2 มีการจัดลาดับ
ความสาคัญของงานได้ /
เป็ นอย่างดี
2. ด้ านทักษะในการ
ปฏิสัมพันธ์
2.1 สามารถให้ / / /
คาแนะนาในการ
ปฏิบตั ิงานบัญชีตาม
ระเบียบแก่ฝ่ายบริ หาร
ได้
2.2 สามารถเจรจา
ต่อรองการแก้ปัญหา /
ความขัดแย้งจากแผนก
ต่างๆภายในบริ ษทั ได้
เป็ นอย่างดี
อย่างดี
สื่อสาร

รวดเร็ ว
ตัวแปร

อย่างถูกต้องและ
3.1 มีการรายงาน

ในการปฏิบตั ิงาน

คุณค่ าแห่ งวิชาชีพ

อย่างโปร่ งใส
แผนกต่างๆได้เป็ น
สารสนเทศทางการ

การปฏิบตั ิงาน
3. ด้ านทักษะในการ

พูดคุยเจรจางานจาก

1.1 มีความตั้งใจใน
1.ด้ าน ความโปร่ งใส
3.2 มีความคล่องแคล่ว
บัญชีให้แก่ผบู ้ ริ หารได้

/
/
/
ศิลปะพร ศรี จน่ั เพชร:2545

/
/
จารุ ณี อภิวฒั น์ไพศาล (2554)

พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา

/
กองจันทร์(2560)
อัมพร เที่ยงตระกูล,2551

/
/
/
/

สภาวิชาชีพบัญชี,2556

/
ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553)

กรรณิ การ์ จันทร์โพธิ์ 2549

สมเดช โรจน์คุรีเสถียร(2544)

สุ ภาพร เพ่งพิศ (2553)

ธวัช ภูษิตโภยไคย (2542)

เดเนียล คาทซ์ และโรเบิร์ต แอล.


41

คาห์น 1978
(มุจริ นทร์ แก้วหย่อง,2548, หน้า 18
อิสระ
ทางาน
ตัวแปร

ทาเบิกจ่ายทุกครั้ง

ระเบียบเป็ นเกณฑ์
1.2 มีข้ นั ตอนในการ

1.3 มีการบริ หารงาน

สามารถตรวจสอบได้

งานที่ได้รับมอบหมาย
2.1 มีความรับผิดชอบ
ต่องานที่ได้รับผิดชอบ
2. ด้ านความเป็ นอิสระ

ในการทางานอย่างเป็ น
และโปร่ งใส ยึดถือตาม
ตรวจเอกสารต่างๆก่อน

เป็ นไปด้วยความชัดเจน

มีความเป็ นอิสระในการ

2.2 ได้รับความไว้วางใจ
/
ศิลปะพร ศรี จน่ั เพชร:2545

/
/
จารุ ณี อภิวฒั น์ไพศาล (2554)

/
พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา
กองจั
อัมพรนเทีทร์่ย(งตระกู
2560) ล,2551

/
สภาวิชาชีพบัญชี,2556

/
ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553)

กรรณิ การ์ จันทร์โพธิ์ 2549

สมเดช โรจน์คุรีเสถียร(2544)

สุ ภาพร เพ่งพิศ (2553)

ธวัช ภูษิตโภยไคย (2542)

เดเนียล คาทซ์ และโรเบิร์ต แอล.


42

คาห์
(มุจรินน1978
ทร์ แก้วหย่อง,2548, หน้า 18
บริ ษทั
ธรรม

สุจริ ต
สุ จริต

องค์กร
ลาเอียงในการ
ตัวแปร

ปฏิบตั ิงานอย่างมี

โดยปราศจากความ
คุณธรรม ความเที่ยง

4. ด้ านความซื่อสัตย์
3.2 มีการใช้ดุลยพินิจ

4.2 มีความรับผิดชอบ
3. มีความตั้งใจในการ

และรักษาความลับของ
ปฏิบตั ิงานต่างๆภายใน

4.1 มีความตั้งใจในการ
3. ด้ านความเทีย่ งธรรม

ปฏิบตั ิงานอย่างซื่อสัตย์

/
/
ศิลปะพร ศรี จน่ั เพชร:2545

/
/
จารุ ณี อภิวฒั น์ไพศาล (2554)

พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา

/
/
กองจั
อัมพรนเทีทร์่ย(งตระกู
2560) ล,2551

/
/
สภาวิชาชีพบัญชี,2556

ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553)

กรรณิ การ์ จันทร์โพธิ์ 2549

สมเดช โรจน์คุรีเสถียร(2544)

สุ ภาพร เพ่งพิศ (2553)

ธวัช ภูษิตโภยไคย (2542)

เดเนียล คาทซ์ และโรเบิร์ต แอล.


43

คาห์
(มุจรินน1978
ทร์ แก้วหย่อง,2548, หน้า 18
องค์กร

องค์กร

ที่เกิดขึ้น
มากยิง่ ขึ้น
ตัวแปร

เจตคติในวิชาชีพ

1. ด้ านความรู้ สึก

คิดเห็นในองค์กร
2.2 ให้ความร่ วมมือ
2. ด้ านความคิดเห็น
ปฏิบตั ิงานบัญชีให้กบั

การพัฒนาองค์กรให้

2.1 มีการแสดงความ
ในการปฏิบตั ิงานให้กบั
1.2 มีการทุ่มเท เสี ยสะ

1.3 ให้ความร่ วมมือใน

เกิดความเจริ ญก้าวหน้า

ยอมรับกับความคิดเห็น
/
/
/
1.1 มีความมุ่งมัน่ ในการ /
ศิลปะพร ศรี จน่ั เพชร:2545

/
/
จารุ ณี อภิวฒั น์ไพศาล (2554)

พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา

/
กองจั
อัมพรนเทีทร์่ย(งตระกู
2560) ล,2551

/
/
/
/ สภาวิชาชีพบัญชี,2556

ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553)

กรรณิ การ์ จันทร์โพธิ์ 2549


/

สมเดช โรจน์คุรีเสถียร(2544)

สุ ภาพร เพ่งพิศ (2553)


/

ธวัช ภูษิตโภยไคย (2542)

เดเนียล คาทซ์ และโรเบิร์ต แอล.

/
/
44

คาห์
(มุจรินน1978
ทร์ แก้วหย่อง,2548, หน้า 18
45

ทร์ แก้วหย่อง,2548, หน้า 18


พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา

เดเนียล คาทซ์ และโรเบิร์ต แอล.


ตัวแปร

สมเดช โรจน์คุรีเสถียร(2544)
จารุ ณี อภิวฒั น์ไพศาล (2554)

ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553)

กรรณิ การ์ จันทร์โพธิ์ 2549


ศิลปะพร ศรี จน่ั เพชร:2545

ธวัช ภูษิตโภยไคย (2542)


2560) ล,2551

สภาวิชาชีพบัญชี,2556

สุ ภาพร เพ่งพิศ (2553)


อัมพรนเทีทร์่ย(งตระกู

(มุจรินน1978
กองจั

คาห์
ประสิทธิภาพการจัดทา / / /
บัญชี
1. ด้ านความเข้ าใจได้ / /
1.1 สามารถใช้ขอ้ มูลใน /
งบการเงินได้อย่าง
ถูกต้อง
1.2 สามารถปฏิบตั ิตาม /
กระบวนการในการ
จัดทาบัญชีอย่างถูกต้อง
2. ด้ านความเชื่อถือได้ / /
2.1 ปฏิบตั ิงานด้านบัญชี / /
ขององค์กรโดยไม่ถูก
ทักท้วงจากผูต้ รวจสอบ
2.2 สามารถเสนอข้อมูล /
ในงบการเงินที่ใช้ใน
การตัดสิ นใจได้
3. ด้ านความครบถ้ วน /
3.1 มีการจัดทาบัญชีได้ /
อย่างถูกต้องครบถ้วน
ถูกต้องตามระเบียบ
แบบแผนขององค์กร
46

ทร์ แก้วหย่อง,2548, หน้า 18


พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา

เดเนียล คาทซ์ และโรเบิร์ต แอล.


สมเดช โรจน์คุรีเสถียร(2544)
จารุ ณี อภิวฒั น์ไพศาล (2554)
ตัวแปร

ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553)

กรรณิ การ์ จันทร์โพธิ์ 2549


ศิลปะพร ศรี จน่ั เพชร:2545

ธวัช ภูษิตโภยไคย (2542)


2560) ล,2551

สภาวิชาชีพบัญชี,2556

สุ ภาพร เพ่งพิศ (2553)


อัมพรนเทีทร์่ย(งตระกู

(มุจรินน1978
กองจั

คาห์
3.2 มีการจัดทาได้อย่าง /
ถูกต้องครบถ้วน
4. ด้ านความเกีย่ วข้ อง /
กับการตัดสินใจ
4.1 สามารถเสนองบ /
การเงินเพื่อผูบ้ ริ หารใน
การตัดสิ นใจ
บริ หารงานองค์กรได้
4.2 สามารถเสนองบ /
การเงินเพื่อผูใ้ ช้อื่นๆใน
การตัดสิ นใจตาม
วัตถุประสงค์ที่แตกต่าง
กันได้
5. ด้ าน ความทันเวลา /
5.1 สามารถปิ ดบัญชีได้ /
เสร็ จตามรอบระยะเวลา
ที่กาหนดไว้เสมอ
5.2 สามารถจัดทาบัญชี /
เสร็ จตามระยะเวลาที่
กาหนด
47

บทที่ 3

ระเบียบวิธีการศึกษา

การศึกษาอิสระ เรื่ อง “ปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิจ
อสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย” เป็ นการวิจยั เชิ งปริ มาณ โดย
แบ่งขั้นตอนดาเนินการวิจยั ออกเป็ น 5 หัวข้อ ดังนี้
1. ประชากร ตัวอย่าง และการเลือกตัวอย่าง
2. เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
3. การทดสอบเครื่ องมือ
4. วิธีการเก็บข้อมูล
5. การวิเคราะห์ขอ้ มูล

ประชากร ตัวอย่ าง และการเลือกตัวอย่ าง


ประชากร
ประชากรที่ ทาการศึ กษาครั้ งนี้ คือ ผูท้ าบัญชี ในธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนใน
ตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย ซึ่ งมี ท้ ัง สิ้ น จ านวน 157 บริ ษัท (ตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง
ประเทศไทย, 2560) บริ ษ ัท ละ 1 คน คิ ด เป็ นผูท้ าบัญ ชี ใ นธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ที่ จ ดทะเบี ย น
ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จานวน 157 คน

ตัวอย่าง
ตัว อย่า งที่ ท าการศึ ก ษาครั้ งนี้ ได้แ ก่ ผูท้ าบัญ ชี ใ นธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ที่ จ ดทะเบี ย น
ในตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย จ านวน 113 คน ซึ่ งก าหนดขนาดตัว อย่า งโดยสู ต รของ
Yamane ที่ระดับความเชื่ อมัน่ 95 % และยอมรับความคลาดเคลื่ อนในการเลื อกตัวอย่าง 5 % โดยมี
ขั้นตอน ดังนี้
48

N
สู ตรการคานวณ n = 1  Ne 2

เมื่อ n แทน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง


N แทน ขนาดของประชากร
e แทน ความคลาดเคลื่อนของการสุ่ มที่ยอมรับได้
แทนสู ตร n = 157
1+157(0.052)
= 113 คน
จากการคานวณได้ขนาดตัวอย่าง 113 คน
การเลือกตัวอย่าง
การเลือกตัวอย่างสาหรับงานศึกษาครั้งนี้ ผูศ้ ึกษาได้กาหนดการเลื อกตัวอย่างแบบอาศัย
ความน่าจะเป็ น (Probability Sampling) โดยวิธีการสุ่ มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling)

เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย

1. การสร้ า งเครื่ อ งมื อ เครื่ องมื อที่ ใ ช้ใ นการเก็ บ ข้อมู ล ของการศึ ก ษาในครั้ งนี้ คื อ แบบสอบถาม
(Questionnaire) ซึ่ งสร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม โดยแบ่งออกเป็ น 5 ส่ วน ดังนี้

ส่ วนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ ยวกับข้อมูลทัว่ ไปของผูท้ าบัญชี จานวน 5 ข้อ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับ
การศึกษา ประสบการณ์ในการทางานด้านการจัดทาบัญชี และระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีลกั ษณะ
เป็ นแบบตัวเลือก (Checklist)

ส่ วนที่ 2 แบบประเมิ น ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกับ ความรู ้ ใ นวิ ช าชี พ ของผูท้ าบัญ ชี จ านวน 12 ข้อ
ประกอบด้วย ด้านความรู ้ทวั่ ไป จานวน 3 ข้อ ด้านความรู ้เกี่ยวกับธุ รกิจและการจัดการทัว่ ไป จานวน
3 ข้อ ด้านความรู ้ เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ จานวน 2 ข้อ และด้านความรู้ดา้ นบัญชี จานวน 4
ข้อ ลักษณะแบบสอบถามเป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยมีรายละเอียด
การให้คะแนนดังต่อไปนี้
49

1 คะแนน หมายถึ ง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็ นเกี่ ยวกับความรู ้ ในวิชาชี พของผูท้ าบัญชี ใน


ระดับน้อยที่สุด
2 คะแนน หมายถึ ง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็ นเกี่ ยวกับความรู ้ ในวิชาชี พของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับน้อย
3 คะแนน หมายถึ ง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็ นเกี่ ยวกับความรู ้ ในวิชาชี พของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับปานกลาง
4 คะแนน หมายถึง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความรู ้ในวิชาชี พของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับมาก
5 คะแนน หมายถึ ง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็ นเกี่ ยวกับความรู ้ ในวิชาชี พของผูท้ าบัญชีใน
ระดับมากที่สุด
ส่ วนที่ 3 แบบประเมิ น ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกับ ทัก ษะทางวิ ช าชี พ ของผู ้ท าบัญ ชี จ านวน 6 ข้อ
ประกอบด้ ว ย ด้ า นทัก ษะในการใช้ เ หตุ ผ ล จ านวน 2 ข้อ ด้ า นทัก ษะในการปฏิ สั ม พัน ธ์
จานวน 2 ข้อ และด้า นทัก ษะในการสื่ อสารบัญชี จานวน 2 ข้อ ลัก ษณะแบบสอบถามเป็ นแบบ
มาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยมีรายละเอียดการให้คะแนนดังต่อไปนี้
1 คะแนน หมายถึง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับทักษะทางวิชาชีพ ของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับน้อยที่สุด
2 คะแนน หมายถึง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับทักษะทางวิชาชีพ ของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับน้อย
3 คะแนน หมายถึง ผูผ้ ตู ้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับทักษะทางวิชาชี พของผูท้ าบัญชีใน
ระดับปานกลาง
4 คะแนน หมายถึง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับทักษะทางวิชาชีพ ของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับมาก
5 คะแนน หมายถึง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับทักษะทางวิชาชีพ ของผูท้ าบัญชีใน
ระดับมากที่สุด
50

ส่ วนที่ 4 แบบประเมิ น ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกับ คุ ณ ค่ า แห่ ง วิ ช าชี พ ของผู้ท าบัญ ชี จ านวน 10 ข้อ
ประกอบด้วย ด้านความโปร่ งใส จานวน 3 ข้อ ด้านความเป็ นอิสระ จานวน 2 ข้อ ด้านความเที่ยง
ธรรม จานวน 3 ข้อ ด้านความซื่อสัตย์สุจริ ต จานวน 2 ข้อ
ลักษณะแบบสอบถามเป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ
1 คะแนน หมายถึง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็ นเกี่ยวกับคุณค่าแห่ งวิชาชี พของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับน้อยที่สุด
2 คะแนน หมายถึง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็ นเกี่ยวกับคุณค่าแห่ งวิชาชี พของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับน้อย
3 คะแนน หมายถึง ผูผ้ ตู ้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าแห่งวิชาชี พของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับปานกลาง
4 คะแนน หมายถึง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็ นเกี่ยวกับคุณค่าแห่ งวิชาชีพของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับมาก
5 คะแนน หมายถึง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็ นเกี่ยวกับคุณค่าแห่ งวิชาชี พของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับมากที่สุด
ส่ วนที่ 5 แบบประเมิ น ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกับ เจตคติ ใ นวิ ช าชี พ ของผู้ท าบัญ ชี จ านวน 5 ข้อ
ประกอบด้วย ด้านความรู้สึกจานวน 3 ข้อ ด้านความคิดเห็น จานวน 2 ข้อ
ลักษณะแบบสอบถามเป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ
1 คะแนน หมายถึ ง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็ นเกี่ ยวกับเจตคติในวิชาชี พของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับน้อยที่สุด
2 คะแนน หมายถึ ง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็ นเกี่ ยวกับเจตคติในวิชาชี พของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับน้อย
3 คะแนน หมายถึง ผูผ้ ตู ้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับเจตคติในวิชาชีพของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับปานกลาง
4 คะแนน หมายถึ ง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็ นเกี่ ยวกับเจตคติในวิชาชี พของผูท้ าบัญชี ใน
ระดับมาก
51

5 คะแนน หมายถึง ผูต้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็ นเกี่ ยวกับเจตคติในวิชาชี พของผูท้ าบัญชี ใน


ระดับมากที่สุด
ส่ วนที่ 6 แบบประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี จานวน 10
ข้อ ประกอบด้วย ด้านความเข้าใจได้ จานวน 2 ข้อ ด้านความเชื่ อถื อได้ จานวน2 ข้อ ด้านความ
ครบถ้วน จานวน 2 ข้อ ด้านความเกี่ ยวข้องกับการตัดสิ นใจ จานวน2 ข้อ และด้านความทันเวลา
จานวน2 ข้อ ลักษณะแบบสอบถามเป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ
โดยแบบสอบถามที่มีให้เลือก 5 ระดับ แต่ละระดับมีความหมาย
(บุญชม ศรี สะอาด,2543,หน้า 99-100) ดังนี้
ระดับความคิดเห็นมากที่สุด กาหนดให้ 5 คะแนน
ระดับความคิดเห็นมาก กาหนดให้ 4 คะแนน
ระดับความคิดเห็นปานกลาง กาหนดให้ 3 คะแนน
ระดับความคิดเห็นน้อย กาหนดให้ 2 คะแนน
ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด กาหนดให้ 1 คะแนน
2. การตรวจสอบเครื่องมือ การตรวจเครื่ องมือครั้งนี้ ประกอบด้วย 2 ส่ วน ดังนี้

การทดสอบเครื่องมือ

ผูว้ จิ ยั ทาการตรวจสอบความถูกต้องของเครื่ องมือวิจยั โดยทาการทดสอบเครื่ องมือ 2 ส่ วน คือ 1)


การตรวจสอบความตรง (Validity) ประกอบด้วยการตรวจสอบความตรงเชิ ง เนื้ อ หา (Content
Validity) และ 2) การตรวจสอบความเที่ยง (Reliability) ดังต่อไปนี้
การตรวจสอบความตรง (Validity)
การตรวจสอบความตรง เป็ นการวัดคุ ณภาพของเครื่ องมื อที่ สร้ า งขึ้ น ซึ่ ง เครื่ องมื อแต่ ล ะชนิ ดมี
จุ ด มุ่ ง หมายเฉพาะตัว ดัง นั้น เครื่ อ งมื อ ที่ มี ค วามตรงในจุ ด มุ่ ง หมายหนึ่ ง ได้ โดยจ าเป็ นจะต้อ ง
ครอบคลุมจุดมุ่งหมายทั้งหมด (Wainer & Braun, 1988) สาหรับการศึกษาครั้งนี้ เป็ นการตรวจสอบ
ความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)
52

ความตรงเชิ งเนื้ อหา หมายถึง คุณภาพของเครื่ องมือวัดที่สร้างขึ้นมีความถูกต้องตรงตามเนื้ อเรื่ องที่


ต้องการวัดหรื อวัดได้ครอบคลุมเนื้ อเรื่ องทั้งหมด (วัลลภ ลาพาย, 2547) เป็ นความตรงที่เกี่ยวกับการ
วิเคราะห์ตรวจสอบเนื้ อหาของเครื่ องมือว่าเนื้ อหาของข้อคาถามวัดได้ตรงตามเนื้ อหาของตัวแปรที่
ต้องการวัดหรื อไม่ โดยการแต่ ง ตั้ง ผูเ้ ชี่ ย วชาญในศาสตร์ น้ ันๆ พิ จารณาว่า เครื่ องมื อนั้นมี ค วาม
ครบถ้วนสมบูรณ์ ถูกต้องตามนิ ยามเชิ งปฏิ บตั ิ การในกรอบขอบเขตที่ ตอ้ งการวัดหรื อไม่ (Gable,
1986) ซึ่ งจานวนผูเ้ ชี่ ยวชาญควรมี ต้ งั แต่ 3 คนขึ้ นไป เพื่อหลี กเลี่ ยงความคิ ดเห็ นที่ แบ่งเป็ น 2 ขั้ว
(สุ วมิ ล ติรกานันท์, 2546)
ดัง นั้น ในการตรวจสอบความตรงเชิ ง เนื้ อหาของการวิจยั ครั้ งนี้ ผูว้ ิจยั จึ ง แต่ ง ตั้ง ผูท้ รงคุ ณวุฒิ ที่
เชี่ ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้องจานวน 3 ท่าน เพื่อทาการตรวจสอบความตรงเชิ งเนื้ อหา โดยการนา
นิ ยามศัพท์ โครงสร้างการสร้ างข้อคาถาม และร่ างแบบสอบถาม เพื่อให้ผเู ้ ชี่ ยวชาญประเมินความ
สอดคล้องระหว่างประเด็นที่ตอ้ งการวัดกับข้อคาถามที่สร้างขึ้น ด้วยคะแนน 3 ระดับคือ
ให้คะแนน +1 ถ้าแน่ใจว่าข้อคาถามนั้น สอดคล้อง กับนิยามของตัวแปรที่กาหนด

ให้คะแนน 0 ถ้าไม่แน่ใจว่าข้อคาถามนั้น สอดคล้อง กับนิ ยามของตัวแปรที่กาหนด

ให้คะแนน -1 ถ้าแน่ใจว่าข้อคาถามนั้น ไม่ สอดคล้อง กับนิยามของตัวแปรที่กาหนด


หลัง จากนั้นนาผลการประเมิ นของผูเ้ ชี่ ย วชาญแต่ ล ะท่ า นมารวมกัน เพื่ อค านวณค่ า ดัช นี ค วาม
สอดคล้องฯ ซึ่ งมีสูตรคานวณดังนี้ (Rovinelli & Hambleton, 1977)
∑R
IOC=
n
∑ R = ผลรวมของคะแนนตามความเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญในแต่ละข้อคาถาม

n = จานวนผูเ้ ชี่ยวชาญทั้งหมด
เกณฑ์ในการหาค่าความสอดคล้อง ระหว่างข้อคาถามกับนิ ยามการวัดตัวแปรที่กาหนด (สุ วิมล ติร
กานันท์, 2548)
1. ข้อคาถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50 – 1.00 มีค่าความตรงผ่านเกณฑ์สามารถนาไปใช้ในการทดสอบ
ก่อนการใช้งานได้
53

2. ข้อคาถามที่มีค่า IOC น้อยกว่า 0.50 ไม่ผา่ นเกณฑ์ตอ้ งปรับปรุ งแก้ไข


การตรวจสอบความเทีย่ ง (Reliability)
ผูศ้ ึกษาได้นาแบบสอบถามปรับปรุ งตามคาแนะนาของผูเ้ ชี่ยวชาญ และนาไป ทาการทดสอบ (Pre-
test) จานวน 30 ชุด กับกลุ่มตัวอย่างที่มีลกั ษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างของการวิจยั ครั้งนี้ หลังจาก
ได้ผลแล้ว จึงนามารวบรวมเพื่อทาการทดสอบความเชื่ อมัน่ โดยวิธีการหาค่าสัมประสิ ทธิ์ แอลฟา
ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha) ซึ่ งเป็ นวิธีที่นิยมใช้วดั ค่าความเที่ ยงที่กว้างขวางมากที่ สุดวิธี
หนึ่ง โดยใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ปทางสถิติ ค่าสัมประสิ ทธิ์ แอลฟาฯ ควรมีค่าในระดับ .70 ขึ้นไป และ
ค่าอานาจจาแนกรายข้อ (Corrected Item Total Correlation) ควรมีค่าตั้งแต่ 0.3 ขึ้นไป (Hair, Black,
Babin, Anderson, & Tatham, 2006)

การเก็บรวบรวมข้ อมูล
หลังจากแบบสอบถามฉบับร่ างผ่านการทดสอบแล้ว ผูว้ ิจยั จึงทาการสร้ างแบบสอบถามฉบับจริ ง
เพื่อใช้เก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 ทาหนังสื อถึงบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี ปทุม เพื่อออกหนังสื อขอความอนุเคราะห์
ในการตอบแบบสอบถามจากผู ้ท าบัญ ชี พนั ก งานบัญ ชี ในธุ ร กิ จ อสั ง หาริ มทรั พ ย์ ใ นเขต
กรุ งเทพมหานคร
ขั้นตอนที่ 2 ทาการแจกแบบสอบถามให้กบั ผูท้ าบัญชี พนักงานบัญชี โดยวิธีส่งแบบสอบถามทาง
ไปรษณี ย ์ และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนที่ 3 ทาการรวบรวมเก็บแบบสอบถามที่ ได้กลับมาจากผูต้ อบแบบสอบถาม และคัดแยก
แบบสอบถามออกเป็ น 2 ประเภท คื อ สมบูรณ์ ครบถ้วน และไม่สมบูรณ์ หลังจากนั้นตรวจนับ
จานวนแบบสอบถามที่สมบูรณ์ครบถ้วน และคานวณอัตราการตอบกลับ
ขั้นตอนที่ 4 นาข้อมูลในแบบสอบถามที่สมบูรณ์ครบถ้วนไปทาการวิเคราะห์ขอ้ มูลต่อไป
54

สถิติทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล


การวิเคราะห์ขอ้ มูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถาม ด้วยโปรแกรมสาเร็ จรู ปทางสถิติ โดย
แบ่งได้ดงั นี้
1. การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ทั่ว ไปของผู ้ต อบแบบสอบถาม โดยใช้ วิ ธี ก ารประมวลผล
ทางหลักสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าความถี่ และร้อยละ
2. การวิเคราะห์ ค วามคิ ดเห็ นเกี่ ยวกับ ความรู้ ในวิชาชี พ ทัก ษะทางวิชาชี พ ที่ คุ ณค่ า แห่ ง
วิช าชี พ เจตคติ ใ นวิช าชี พ และประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ได้แ ก่ ค่ า เฉลี่ ย (Mean) และส่ ว น
เบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation)
โดยเกณฑ์ในการแปลความหมายค่าเฉลี่ยของแบบสอบถามที่มีให้เลือก 5 ระดับ
บุญชม ศรี สะอาด(2543,หน้า 99-100) มีดงั นี้
ค่าเฉลี่ย 5 หมายถึง ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 4 หมายถึง ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก
ค่าเฉลี่ย 3 หมายถึง ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 2 หมายถึง ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับน้อย
ค่าเฉลี่ย 1 หมายถึง ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับน้อยที่
3. การทดสอบข้อตกลงเบื้ องต้น เกี่ ย วกับ ความสั ม พันธ์ ระหว่า งตัว แปรอิ ส ระ สถิ ติที่ ใ ช้ใ นการ
ทดสอบ ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) การวิเคราะห์ VIF และ Tolerance
4. การทดสอบสมมติฐานการวิจยั สถิ ติที่ใช้ในการทดสอบ ได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอยเชิ งพหุ
คุณ (Multiple Regression Analysis)
55

บทที่4

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

การศึ กษาในครั้ งนี้ เป็ นการศึ กษาปั จจัยที่ ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ า
บัญชี ในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่ งมีจุดมุ่งหมายเพื่อที่จะทราบ
ถึง ปั จจัยต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อประสิ ทธิ ภาพการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการจัดทาบัญชี ของผูท้ า
บัญชี โดย มีหวั ข้อนาเสนอดังนี้
1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์
2. ลาดับขั้นตอนในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
3. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
สั ญลักษณ์ ทใี่ ช้ ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
เพื่อให้การนาเสนอข้อมูลเป็ นที่เข้าใจตรงกันในการแปลความหมาย ผูศ้ ึกษาจึงได้กาหนด
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้
n แทน จานวนคนในกลุ่มตัวอย่าง
X แทน ค่าเฉลี่ย (Means)
S.D. แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
β แทน ค่าสัมประสิ ทธิ์ การถดถอย
R แทน ค่าสหสัมพันธ์พหุ คูณ
t แทน สถิติทดสอบที่ใช้เปรี ยบเทียบใน t-distribution
Sig แทน ค่า Significant หรื อ P-value
56

* แทน นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05


** แทน นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ลาดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ้ มูล เรื่ องปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ใน
ธุ รกิ จอสังหาริ มทรั พย์ในตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย ผูศ้ ึกษาได้นาเสนอผลการวิเคราะห์
ข้อมูลตามลาดับดังนี้
ส่ วนที่ 1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
ส่ วนที่ 2 ค่าสถิติแบบสอบถาม
ส่ วนที่ 3 ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ
ส่ วนที่ 4 ผลการทดสอบสมมติฐาน
ส่ วนที่ 5 สรุ ปผลการทดสอบสมมติฐานการวิจยั

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ ยวกับข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ อายุ
ระดับการศึ กษา ประสบการณ์ ในการทางานด้านการจัดทาบัญชี และระดับรายได้เฉลี่ ยต่อเดื อน
มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
เพศ
จากการสารวจ พบว่าจานวนผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิง จานวน 70 คน คิด
เป็ นร้อยละ 78.60 ส่ วนเพศชายมีเพียง 25 คนคิดเป็ นร้อยละ 21.40 ดังตารางที่ 3
57

ตารางที่ 3 แสดงจานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ

เพศ จานวน ร้ อยละ


ชาย 25 21.40
หญิง 70 78.60
รวม 95 100

อายุ
จากการสารวจ พบว่าจานวนผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่อายุต่ากว่า 35 ปี จานวน 43 คน
คิดเป็ นร้อยละ 47.40 รองลงมาคือ อายุ 35-40ปี จานวน 38 คน คิดเป็ นร้อยละ 37.70 อายุ 41-45 ปี
จานวน 8 คน คิดเป็ นร้อยละ 8.80 และช่วงอายุ 46-50 ปี จานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 4.40 ในขณะที่
ผูต้ อบแบบสอบถามที่อายุมากกว่า 50 ปี ขึ้นไป คือ 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 1.80
ตารางที่ 4 แสดงจานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามอายุ

อายุ จานวน ร้ อยละ


ต่ากว่า 35 ปี 42 47.40
35-40ปี 38 37.70
41-45ปี 8 8.80
46-50ปี 5 4.40
มากกว่า50ปี ขึ้นไป 2 1.80
รวม 95 100.0
58

ระดับการศึกษา
จากการสารวจ พบว่าจานวนผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่มีระดับการศึกษาปริ ญญาตรี
จานวน 65คน คิดเป็ นร้อยละ 73.70 รองลงมาระดับต่ากว่าปริ ญญาตรี และสู งกว่าปริ ญญาตรี จานวน
17 และ 13 คน คิดเป็ นร้อยละ 14.90 และร้อยละ 11.40 ตามลาดับ ดังตารางที่ 5
ตารางที่ 5 แสดงจานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา จานวน ร้ อยละ


ปริ ญญาตรี 65 73.70
ต่ากว่าปริ ญญาตรี 17 14.90
สู งกว่าปริ ญญาตรี 13 11.40
รวม 95 100.0

ประสบการณ์
จากการสารวจ พบว่าจานวนผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่มีประสบการณ์ในการทางานต่า
กว่า 5 ปี จานวน 49 คน คิดเป็ นร้อยละ 43.80 รองลงมา6-10 ปี จานวน 30 คนคิดเป็ นร้อยละ 35.70
และ 11-15 ปี จานวน 11 คน คิดเป็ นร้อยละ 9.80 ในขณะที่ผตู้ อบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ 15
ปี ขึ้นไป จานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 10.70
ตารางที่ 6 แสดงจานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามประสบการณ์

ระยะเวลา จานวน ร้ อยละ


ต่ากว่า 5 ปี 49 43.80
6-10 ปี 30 35.70
11-15 ปี 11 9.80
15 ปี ขึ้นไป 5 10.70
รวม 95 100.00
59

รายได้
จากการสารวจ พบว่าจานวนผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่มีรายได้อยู่ที่ 15,000-20,000
บาทจานวน 42คน คิดเป็ นร้อยละ56.30 รองลงมา 20,001-30,000 บาทจานวน 32 คน ร้อยละ14.30
ในขณะที่ผตู ้ อบแบบสอบถามมีรายได้มากกว่า 30,000 ขึ้นไป จานวน 11 คน คิดเป็ นร้อยละ 10.70
และต่ากว่า 15,000 บาท จานวน 10 คนร้อยละ 18.80
ตารางที่ 7 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามรายได้

รายได้ จานวน ร้ อยละ


15,000-20,000 42 56.30
ต่ากว่า 15,000 10 18.80
20,001-30,000 32 14.30
มากกว่า 30,000 ขึ้นไป 11 10.70
รวม 95 100.00

ส่ วนที่ 2 ค่ าสถิติแบบสอบถาม
ตารางที่ 8 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปั จจัยต่างๆ

ความคิดเห็น X S.D. แปลผล


ปัจจัยด้านความรู้ในวิชาชีพบัญชี 3.715 0.585 มาก
ปัจจัยด้านทักษะทางวิชาชีพ 3.707 0.786 มาก
ปั จจัยด้านคุณค่าแห่งวิชาชีพ 3.879 0.618 มาก
ปัจจัยด้านเจตคติในวิชาชีพ 3.782 0.815 มาก

โดยรวม 3.771 0.701 มาก


60

จากตารางที่ 8 ซึ่ ง แสดงผลการวิเคราะห์ ค วามเห็ นเกี่ ยวกับปั จจัยต่ า งๆที่ เกี่ ย วข้องกับ
ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี พบว่าโดยรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.771 ซึ่ งมีความคิดเห็น
อยู่ในระดับมาก โดยปั จจัยด้านคุ ณค่าแห่ งวิชาชี พมี ค่าเฉลี่ ยความคิ ดเห็ นสู งสุ ด ( X = 3.879) เมื่อ
เปรี ยบเทียบกับปั จจัยอื่นๆ รองลงมาคือปั จจัยด้านเจตคติในวิชาชี พ ( X = 3.782) ส่ วนปั จจัยด้าน
ทักษะทางวิชาชีพมีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นน้อยที่สุด คือ ( X = 3.707)

ตารางที่ 9 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยด้านความรู้ในวิชาชีพบัญชี

ความคิดเห็น X S.D. แปลผล


ปัจจัยด้ านความรู้ ในวิชาชี พบัญชี
ด้านความรู ้ทวั่ ไป 3.512 0.461 มาก
ด้านธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์และ 3.223 0.573 ปานกลาง
การจัดการทัว่ ไป
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.728 0.560 มาก
ด้านการบัญชี 3.705 0.708 มาก
โดยรวม 3.715 0.585 มาก

จากตารางที่ 9 ซึ่ ง แสดงผลการวิเคราะห์ ค วามเห็ นเกี่ ย วกับ ปั จจัย ด้า นความรู ้ ท วั่ ไปที่
เกี่ยวข้องกับประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี พบว่าโดยรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.715 ซึ่ งมี
ความคิดเห็ นอยู่ในระดับมาก โดยหัวข้อความรู ้ ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศมีค่าเฉลี่ ยความคิ ดเห็ น
สู งสุ ด ( X = 3.728) เมื่อเปรี ยบเทียบกับปั จจัยอื่นๆ รองลงมาคือหัวข้อด้านความรู ้ การบัญชี ( X =
3.705) ส่ วนหัวข้อความรู ้ ดา้ นธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์และการจัดการทัว่ ไปมี ค่าเฉลี่ ยความคิ ดเห็ น
น้อยที่สุด คือ( X = 3.223)
61

ตารางที่ 10 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชีพ

ความคิดเห็น X S.D. แปลผล


ปัจจัยด้ านทักษะทางวิชาชีพ

ด้านการใช้เหตุผล 3.756 0.776 มาก


ด้านการปฏิสัมพันธ์ 3.734 0.829 มาก
ด้านการสื่ อสาร 3.716 0.865 มาก
โดยรวม 3.707 0.786 มาก

จากตารางที่ 10 ซึ่ ง แสดงผลการวิเคราะห์ ค วามเห็ นเกี่ ย วกับ ปั จจัย ทัก ษะทางวิช าชี พ ที่
เกี่ยวข้องกับประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี พบว่าโดยรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.707 ซึ่ งมี
ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก โดยหัวข้อทักษะด้านการใช้เหตุผลมีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นสู งสุ ด ( X =
3.756) เมื่อเปรี ยบเทียบกับปั จจัยอื่นๆ รองลงมาคือหัวข้อทักษะด้านการปฏิสัมพันธ์ ( X = 3.734)
ส่ วนหัวข้อทักษะด้านการสื่ อสารมีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นน้อยที่สุด คือ ( X = 3.716)

ตารางที่ 11 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปั จจัยด้านคุณค่าแห่งวิชาชีพ

ความคิดเห็น X S.D. แปลผล


ปัจจัยด้ านคุณค่ าแห่ งวิชาชี พ
ด้านความโปร่ งใส 3.611 0.756 มาก
ด้านความเป็ นอิสระ 4.223 0.752 มากที่สุด
ด้านความเที่ยงธรรม 3.880 0.745 มาก
ด้านความซื่อสัตย์สุจริ ต 3.709 0.824 มาก

โดยรวม 3.879 0.618 มาก


62

จากตารางที่ 11 ซึ่ งแสดงผลการวิเคราะห์ความเห็นเกี่ยวกับปั จจัยด้านคุ ณค่าแห่ งวิชาชี พที่


เกี่ยวข้องกับประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี พบว่าโดยรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.879 ซึ่ งมี
ความคิ ดเห็ นอยู่ในระดับมาก โดยหัวข้อด้านความเป็ นอิ สระมี ค่าเฉลี่ ยความคิ ดเห็ นสู งสุ ด ( X =
4.223) เมื่อเปรี ยบเทียบกับปั จจัยอื่นๆ รองลงมาคือหัวข้อด้านความเที่ยงธรรม ( X = 3.880) ส่ วน
หัวข้อด้านความโปร่ งใสมีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นน้อยที่สุด คือ ( X = 3.611)

ตารางที่ 12 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปัจจัยด้านเจตคติในวิชาชีพ

ความคิดเห็น X S.D. แปลผล


ปัจจัยด้ านเจตคติในวิชาชีพ
ด้านความรู้สึก 3.793 0.841 มาก
ด้านความคิดเห็น 3.768 0.846 มาก
โดยรวม 3.782 0.815 มาก

จากตารางที่ 12 ซึ่ งแสดงผลการวิเคราะห์ความเห็นเกี่ยวกับปัจจัยด้านเจตคติในวิชาชีพ


ที่เกี่ยวข้องกับประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี พบว่าโดยรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.782 ซึ่ งมี
ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก
63

ตารางที่ 13 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี

ความคิดเห็น X S.D. แปลผล


ผูท้ าบัญชีสามารถใช้ขอ้ มูลในงบการเงินได้ 3.125 0.867 ปานกลาง
อย่างถูกต้อง
ผูท้ าบัญชี สามารถปฏิบตั ิตามกระบวนการ 3.428 0.745 มาก
ในการจัดทาบัญชีอย่างถูกต้อง
ผูท้ าบัญชี ปฏิ บตั ิงานด้านบัญชี ขององค์กร 3.485 0.819 มาก
ได้อย่างถูกต้องสามารถตรวจสอบได้
ผูท้ าบัญชีสามารถเสนอข้อมูลในงบการเงิน 3.371 0.775 ปานกลาง
ที่ใช้ในการตัดสิ นใจได้
ผูท้ าบัญชี มีการจัดทาบัญชี ได้อย่างถู ก ต้อง 3.525 0.726 มาก
ครบถ้วน ถูกต้องตามระเบียบแบบแผนของ
องค์กร
ผูท้ าบัญชีสามารถจัดทาข้อมูลในงบการเงิน 3.416 0.810 มาก
ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
ผู้ท าบัญ ชี ส ามารถเสนองบการเงิ น เพื่ อ 3.536 0.805 มาก
ผูบ้ ริ หารในการตัดสิ นใจบริ หารงานองค์กร
ได้
ผูท้ าบัญชี สามารถเสนองบการเงินเพื่อผูใ้ ช้ 3.374 0.708 มาก
อื่ นๆในการตัดสิ นใจตามวัตถุ ป ระสงค์ที่
แตกต่างกันได้
ผูท้ าบัญชี สามารถบันทึกบัญชีได้เสร็ จตาม 3.473 0.725 มาก
รอบระยะเวลาที่กาหนดไว้เสมอ
ผู้ท าบัญ ชี ส ามารถจัด ท าบัญ ชี เ สร็ จ ตาม 3.650 0.776 มาก
ระยะเวลาที่กาหนด

โดยรวม 3.460 0.538 มาก


64

จากตารางที่ 13 ซึ่ งแสดงผลการวิเคราะห์ความเห็นเกี่ยวกับประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชีของ


ผูท้ าบัญชีในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยพบว่าโดยรวม
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.460 ซึ่ งมีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก โดยระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผูท้ าบัญชี
สามารถจัดทาบัญชีเสร็ จตามระยะเวลาที่กาหนดมีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นสู งสุ ด ( X = 3.650) ในขณะ
ที่ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผูท้ าบัญชีสามารถใช้ขอ้ มูลในงบการเงินได้อย่างถูกต้องมีค่าเฉลี่ยความ
คิดเห็นน้อยที่สุด คือ ( X = 3.125)
ส่ วนที่ 3 ผลการทดสอบความสั มพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระ
การทดสอบความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งตัว แปรอิ ส ระทั้ง 4 ด้า น ด้ว ยวิ ธี ก ารวิ เ คราะห์ ค่ า
สั ม ประสิ ทธิ์ สหสั ม พัน ธ์ แ บบเพี ย ร์ สั น (Pearson’s Product-Moment Correlation Coefficient)
สามารถแสดงผลการทดสอบได้ดงั นี้

ตารางที่ 14 แสดงการวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุ คูณของปั จจัยต่างๆ ที่มีผลต่อประสิ ทธิ ภาพ


การจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี

ด้านความรู้ใน ด้ า น ทั ก ษ ะ ด้า นคุ ณค่ า แห่ ง ด้ า นเจตคติ ใ น


ตัวแปร วิชาชีพบัญชี ทางวิชาชีพ วิชาชีพ วิชาชีพ

ด้านความรู้ในวิชาชีพบัญชี 1 0.832** 0.788** 0.795**


ด้านทักษะทางวิชาชีพ 1 0.877** 0.881**
ด้านคุณค่าแห่งวิชาชีพ 1 0.908**
ด้านเจตคติในวิชาชีพ 1
**นัยสาคัญทางสถิติที่ 0.01

จากตารางที่ 14 การทดสอบความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิ สระกันเองหรื อไม่ ด้วยการ


วิ เ คราะห์ ค่ า สั ม ประสิ ทธิ์ สหสั ม พัน ธ์ แ บบเพี ย ร์ สั น (Pearson’s Product-Moment Correlation
Coefficient) พบว่า ค่าสัมประสิ ทธิ์ ภายในของปั จจัยที่มีผลตอประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ า
บัญชี มีค่าอยูร่ ะหว่าง 0.795 ถึง 0.908 โดยตัวแปรทุกตัวมีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนยั สาคัญทาง
สถิติที่ 0.01 อย่างไรก็ตามการเลือกตัวแปรอิสระมาศึกษาด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุ คูณนั้นมี
65

เงื่อนไขว่าตัวแปรอิสระต้องอิสระต่อกันดังนั้นจึงเลือกตัวแปรอิสระที่มีความสัมพันธ์มากกว่า 0.85
มาทาการวิเคราะห์การถดถอยพหุ คูณเพื่อใช้ในการทดสอบสมมติฐานต่อไป โดยจากการวิเคราะห์
การถดถอยเพื่อพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชีสามารถแสดงผลการทดสอบแต่
ละสมมติฐานได้ดงั นี้

ส่ วนที่ 4 ผลการทดสอบสมมติฐาน
การศึกษาปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชีในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์
ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย ซึ่ งในการศึ ก ษาครั้ งนี้ ได้ต้ งั สมมติ ฐ านใน
การศึกษาไว้จานวน 4 สมมติฐาน คือ

สมมติฐานที่ 1 ความรู ้ในวิชาชี พบัญชี ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี


ในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สมมติฐานที่ 2 ทักษะทางวิชาชี พ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ใน


ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สมมติฐานที่ 3 คุ ณค่าแห่ งวิชาชี พ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชีใน


ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สมมติฐานที่ 4 เจตคติในวิชาชี พ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ใน


ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
66

ตารางที่ 15 การวิเคราะห์การถดถอยเพื่อพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ า


บัญชีโดยนาปัจจัยทุกด้านเข้าในสมการ

ตัวแปร b SE β t Sig.
ปั จจัยด้านความรู้ในวิชาชี พ -0.106 0.046 -0.075 -2.283 0.024**
บัญชี
ปัจจัยด้านทักษะทางวิชาชีพ 0.303 0.059 0.288 5.093 0.000**
ปั จจัยด้านคุณค่าแห่ง 0.108 0.440 0.080 2.459 0.016**
วิชาชีพ
ปัจจัยด้านเจตคติในวิชาชีพ 0.690 0.057 0.679 12.053 0.000**
SE = 0.280 ; R = 0.890 ; Adjust R = 0.886 ; F = 217.962 ; Sig. = 0.000
จากตาราง 15 ซึ่ งแสดงการวิเคราะห์การถดถอยเพื่อพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี
ของผูท้ าบัญชี โดยนาปั จจัยทุกด้านเข้าในสมการ พบว่าปั จจัยที่มีผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี
ของผูท้ าบัญชี อย่างมี นยั สาคัญทางสถิ ติที่ 0.05 ประกอบด้วย 4 ปั จจัย ได้แก่ ปั จจัยด้านความรู้ ใน
วิชาชี พบัญชี ปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชี พ ปั จจัยด้านคุ ณค่าแห่ งวิชาชี พ และปั จจัยด้านเจตคติใน
วิชาชีพ โดยปั จจัยดังกล่าวสามารถร่ วมพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ได้ร้อย
ละ 88.60 (Adjust R = 0.886) และมีความคาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ 0.280 (SE =
0.280) และเมื่ อพิ จารณาค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ การถดถอยของตัวพยากรณ์ พ บว่า ปั จจัย ด้านเจตคติ ใ น
วิชาชีพมีค่าสัมประสิ ทธิ์ การถดถอยสู งที่สุด(β = 0.679) รองลงมาคือปัจจัยด้านทักษะทางวิชาชีพ(β
= 0.288) ส่ วนปั จจัยด้านคุณค่าแห่ งวิชาชี พ(β = 0.080) มีค่าสัมประสิ ทธ์การถดถอยรองลงมาส่ วน
ปั จจัยด้านความรู ้ในวิชาชี พบัญชี มีค่าสัมประสิ ทธ์การถดถอยน้อยที่สุด (β = -0.075) ซึ่ งแสดงให้
เห็ นว่าปั จจัยด้านเจตคติ ในวิชาชี พมี อิทธิ พลสู งสุ ดต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี
รองลงมาคือปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชี พ ปั จจัยด้านคุ ณค่าแห่ งวิชาชี พ และปั จจัยด้านความรู้ ใน
วิชาชี พบัญชี ตามลาดับ ซึ่ งจากผลการทดสอบสมมติฐานข้างต้นจึงสรุ ปได้วา่ ยอมรับตามสมมติฐาน
ที่ 1,2,3,4 คือ ปั จจัยด้านความรู้ในวิชาชีพบัญชี ปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชีพ ปั จจัยด้านคุณค่าแห่ ง
วิชาชีพ และปัจจัยด้านเจตคติในวิชาชีพส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชีในธุ รกิจ
อสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
67

ตารางที่ 16 การวิเคราะห์การถดถอยเพื่อพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ า


บัญชีโดยนาปัจจัยด้านความรู้ในวิชาชีพบัญชีเข้าในสมการ

ตัวแปร b SE β t Sig.
ปั จจัยด้านความรู ้ทวั่ ไป 0.368 0.019 0.396 19.717 0.000**
ปั จจัยด้านธุ รกิจ 0.365 0.023 0.367 16.204 0.000**
อสังหาริ มทรัพย์และการ
จัดการทัว่ ไป
ปัจจัยด้านเทคโนโลยี 0.236 0.020 0.239 12.087 0.000**
สารสนเทศ
ปัจจัยด้านการบัญชี 0.048 0.014 0.037 3.342 0.000**
SE = 0.068 ; R = 0.997 ; Adjust R = 0.993 ; F = 4120.064 ; Sig. = 0.000
จากตาราง 16 ซึ่ งแสดงการวิเคราะห์การถดถอยเพื่อพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี
ของผู ้ท าบัญ ชี โดยน าปั จ จัย ด้า นความรู ้ ใ นวิ ช าชี พ บัญ ชี เ ข้า ในสมการ พบว่ า ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ
ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ 0.05 ประกอบด้วย 4 ปั จจัย
ได้แก่ ปั จจัยด้านความรู ้ ทวั่ ไป ปั จจัยด้านธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์และการจัดการทัว่ ไป ปั จจัยด้าน
เทคโนโลยี ส ารสนเทศ และปั จ จัย ด้า นการบัญ ชี โดยปั จ จัย ดัง กล่ า วสามารถร่ ว มพยากรณ์
ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ได้ร้อยละ 99.30 (Adjust R = 0.993) และมีความคาด
เคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ 0.068 (SE = 0.068) และเมื่อพิจารณาค่าสัมประสิ ทธิ์ การ
ถดถอยของตัวพยากรณ์ พบว่า ปั จจัยด้านความรู ้ ทวั่ ไป มีค่าสัมประสิ ทธิ์ การถดถอยสู งที่สุด(β =
0.396) รองลงมาคือปั จจัยด้านธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์และการ จัดการทัว่ ไป(β = 0.367) ส่ วนปัจจัย
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ(β = 0.239) มีค่าสัมประสิ ทธ์การถดถอยรองลงมาส่ วนปั จจัยด้านการ
บัญชี มีค่าสัมประสิ ทธ์การถดถอยน้อยที่สุด (β = 0.037) ซึ่ งแสดงให้เห็นว่าปั จจัยด้านความรู ้ทวั่ ไป
มี อิ ท ธิ พ ลสู ง สุ ด ต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ข องผูท้ าบัญ ชี รองลงมาคื อ ปั จ จัย ด้า นธุ ร กิ จ
อสังหาริ มทรัพย์และการจัดการทัว่ ไป ปั จจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและปั จจัยด้านการบัญชี
ตามลาดับ ซึ่ งจากผลการทดสอบสมมติฐานข้างต้นจึงสรุ ปได้วา่ ยอมรับตามสมมติฐานที่ 1 คือ ปัจจัย
ด้า นความรู้ ใ นวิ ช าชี พ บัญ ชี ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ข องผู ้ท าบัญ ชี ใ นธุ ร กิ จ
อสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
68

ตารางที่ 17 การวิเคราะห์การถดถอยเพื่อพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ า


บัญชีโดยนาปัจจัยด้านทักษะทางวิชาชีพเข้าในสมการ

ตัวแปร b SE β t Sig.
ปัจจัยด้านการใช้เหตุผล 0.150 0.056 0.135 2.661 0.009**
ปัจจัยด้านการปฏิสัมพันธ์ 0.295 0.086 0.298 3.444 0.001**
ปัจจัยด้านการสื่ อสาร 0.524 0.081 0.545 6.464 0.000**
SE = 0.366 ; R = 0.901 ; Adjust R = 0.806 ; F = 155.824 ; Sig. = 0.000
จากตาราง 17 ซึ่ งแสดงการวิเคราะห์การถดถอยเพื่อพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี
ของผูท้ าบัญชี โดยนาปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชีพเข้าในสมการ พบว่าปั จจัยที่มีผลต่อประสิ ทธิ ภาพ
การจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี อย่างมีนยั สาคัญทางสถิ ติที่ 0.05 ประกอบด้วย 3 ปั จจัย ได้แก่ ปั จจัย
ด้านการใช้เหตุผล ปั จจัยด้านการปฏิสัมพันธ์ และปั จจัยด้านการสื่ อสารโดยปั จจัยดังกล่าวสามารถ
ร่ วมพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ได้ร้อยละ 80.60 (Adjust R = 0.806) และมี
ความคาดเคลื่ อ นมาตรฐานในการพยากรณ์ เ ท่ า กับ 0.366 (SE = 0.366) และเมื่ อ พิ จ ารณาค่ า
สัมประสิ ทธิ์ การถดถอยของตัวพยากรณ์พบว่า ปั จจัยด้านการสื่ อสาร มีค่าสัมประสิ ทธิ์ การถดถอย
สู ง ที่ สุ ด (β = 0.545) รองลงมาคื อ ปั จจัย ด้านการปฏิ สัมพันธ์ (β = 0.298) ส่ วนปั จจัย ด้า นการใช้
เหตุผล(β = 0.135) มีค่าสัมประสิ ทธ์การถดถอยน้อยที่สุด (β = 0.037) ซึ่ งแสดงให้เห็นว่าปัจจัยด้าน
การสื่ อสาร มีอิทธิ พลสู งสุ ดต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี รองลงมาคือปั จจัยด้าน
การปฏิสัมพันธ์ และปั จจัยด้านการใช้เหตุผล ตามลาดับ ซึ่ งจากผลการทดสอบสมมติฐานข้างต้นจึง
สรุ ปได้ว่ายอมรับตามสมมติ ฐานที่ 2 คือ ปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชี พ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการ
จัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิ จอสังหาริ มทรั พย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศ
ไทย
69

ตารางที่ 18 การวิเคราะห์การถดถอยเพื่อพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ า


บัญชีโดยนาปั จจัยด้านคุณค่าแห่งวิชาชีพเข้าในสมการ

ตัวแปร b SE β t Sig.
ปั จจัยด้านความโปร่ งใส 0.325 0.020 0.353 13.717 0.000**
ปัจจัยด้านความเป็ นอิสระ 0.298 0.018 0.229 10.204 0.000**
ปัจจัยด้านความเที่ยงธรรม 0.236 0.016 0.098 7.087 0.000**
ปัจจัยด้านความซื่อสัตย์สุจริ ต 0.354 0.017 0.392 15.626 0.000**
SE = 0.072 ; R = 0.883 ; Adjust R = 0.889 ; F = 3153.064 ; Sig. = 0.000
จากตาราง 18 ซึ่งแสดงการวิเคราะห์การถดถอยเพื่อพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี
ของผูท้ าบัญชี โดยนาปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชีพเข้าในสมการ พบว่าปั จจัยที่มีผลต่อประสิ ทธิ ภาพ
การจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี อย่างมีนยั สาคัญทางสถิ ติที่ 0.05 ประกอบด้วย 4 ปั จจัย ได้แก่ ปั จจัย
ด้า นความโปร่ ง ใส ปั จจัย ด้า นความเป็ นอิ ส ระ ปั จจัย ด้านความเที่ ย งธรรม และปั จจัย ด้านความ
ซื่อสัตย์สุจริ ตโดยปั จจัยดังกล่าวสามารถร่ วมพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ได้
ร้อยละ 88.90 (Adjust R = 0.889) และมีความคาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ 0.072 (SE
= 0.072) และเมื่อพิจารณาค่าสัมประสิ ทธิ์ การถดถอยของตัวพยากรณ์พบว่า ปัจจัยด้านความซื่ อสัตย์
สุ จริ ตมีค่าสัมประสิ ทธิ์ การถดถอยสู งที่สุด(β = 0.392) รองลงมาคือปั จจัยด้านความโปร่ งใส(β =
0.353) ส่ วนปัจจัยด้านความเป็ นอิสระ(β = 0.229) มีค่าสัมประสิ ทธ์การถดถอยรองลงมาส่ วนปั จจัย
ด้านความเที่ยงธรรม มีค่าสัมประสิ ทธ์การถดถอยน้อยที่สุด (β = 0.098) ซึ่ งแสดงให้เห็ นว่าปั จจัย
ด้านความซื่อสัตย์สุจริ ต มีอิทธิ พลสู งสุ ดต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี รองลงมาคือ
ปั จจัยด้านความโปร่ งใส ปั จจัยด้านความเป็ นอิสระ และปั จจัยด้านความเที่ยงธรรม ตามลาดับ ซึ่ ง
จากผลการทดสอบสมมติฐานข้างต้นจึงสรุ ปได้ว่ายอมรับตามสมมติฐานที่ 3 คือ ปั จจัยด้านคุ ณค่า
แห่ งวิชาชี พ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ข องผูท้ าบัญชี ใ นธุ รกิ จอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ที่ จด
ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
70

ตารางที่ 19 การวิเคราะห์การถดถอยเพื่อพยากรณ์ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ า


บัญชีโดยนาปัจจัยด้านเจตคติในวิชาชีพเข้าในสมการ

ตัวแปร b SE β t Sig.
ปัจจัยด้านความรู้สึก 0.431 0.081 0.437 5.302 0.000**
ปัจจัยด้านความคิดเห็น 0.498 0.081 0.508 6.157 0.000**
SE = 0.332 ; R = 0.843 ; Adjust R = 0.840 ; F = 296.061 ; Sig. = 0.000
จากตาราง 19 ซึ่งแสดงการวิเคราะห์การถดถอยเพื่อพยากรณ์ประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี
ของผูท้ าบัญชี โดยนาปั จจัยด้านเจตคติในวิชาชี พเข้าในสมการ พบว่าปั จจัยที่มีผลต่อประสิ ทธิ ภาพ
การจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี อย่างมีนยั สาคัญทางสถิ ติที่ 0.05 ประกอบด้วย 2 ปั จจัย ได้แก่ ปั จจัย
ด้านความรู้สึก และปั จจัยด้านความคิดเห็น โดยปั จจัยดังกล่าวสามารถร่ วมพยากรณ์ ประสิ ทธิ ภาพ
การจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชีได้ร้อยละ 84.00 (Adjust R = 0.889) และมีความคาดเคลื่อนมาตรฐาน
ในการพยากรณ์ เท่ ากับ 0.332 (SE = 0.332) และเมื่ อพิจารณาค่าสั มประสิ ทธิ์ การถดถอยของตัว
พยากรณ์พบว่าปัจจัยด้านความคิดเห็นมีค่าสัมประสิ ทธิ์ การถดถอยสู งที่สุด(β = 0.508) รองลงมาคือ
ปั จจัยด้านความรู ้ สึกมีค่าสัมประสิ ทธ์ การถดถอยน้อยที่สุด (β = 0.437) ซึ่ งแสดงให้เห็ นว่าปั จจัย
ด้านความคิดเห็น มีอิทธิ พลสู งสุ ดต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี รองลงมาคือปั จจัย
ด้า นความรู้ สึ ก ตามล าดับ ซึ่ งจากผลการทดสอบสมมติ ฐ านข้า งต้น จึ ง สรุ ป ได้ว่า ยอมรั บ ตาม
สมมติฐานที่ 4 คือ ปั จจัยด้านเจตคติในวิชาชีพ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี
ในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
71

สรุปผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย
ในการศึกษาครั้งนี้ ได้ศึกษาถึงปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี
ในธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย สามารถสรุ ปผลการ
ทดสอบสมมติฐานการวิจยั ได้ดงั นี้

ตารางที่ 20 แสดงผลการทดสอบสมมติฐานการวิจยั

สมมติฐานการวิจัย ผลการทดสอบ

สมมติฐานการวิจัยที่ 1 ความรู ้ ในวิชาชี พบัญชี ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการ ยอมรับสมมติฐาน


จัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิ จอสังหาริ มทรั พย์ที่จดทะเบี ยนในตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สมมติฐานการวิจัยที่ 2 ทักษะทางวิชาชีพ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทา ยอมรับสมมติฐาน


บัญ ชี ข องผู ้ท าบัญ ชี ใ นธุ ร กิ จ อสั ง หาริ มทรั พ ย์ ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สมมติฐานการวิจัยที่ 3 คุณค่าแห่ งวิชาชี พ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทา ยอมรับสมมติฐาน


บัญ ชี ข องผู ้ท าบัญ ชี ใ นธุ ร กิ จ อสั ง หาริ มทรั พ ย์ ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สมมติฐานการวิจัยที่ 4 เจตคติในวิชาชี พ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทา ยอมรับสมมติฐาน


บัญ ชี ข องผู ้ท าบัญ ชี ใ นธุ ร กิ จ อสั ง หาริ มทรั พ ย์ ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
72

สรุ ป จากการศึ ก ษาในครั้ งนี้ พ บว่า ปั จจัย ด้านความรู้ ใ นวิชาชี พ บัญชี ปั จจัย ด้านทัก ษะ
ทางวิชาชีพ ปั จจัยด้านคุณค่าแห่ งวิชาชีพ และปั จจัยด้านเจตคติในวิชาชีพ มีผลต่อประสิ ทธิ ภาพการ
จัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิ จอสังหาริ มทรั พย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศ
ไทยอย่ า งมี นั ย ส าคัญ ทางสถิ ติ ที่ 0.05 โดยปั จ จัย ด้ า นเจตคติ ใ นวิ ช าชี พ มี อิ ท ธิ พ ลสู ง สุ ดต่ อ
ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี รองลงมาคือปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชี พ ปั จจัยด้าน
คุณค่าแห่งวิชาชีพ และปัจจัยด้านความรู้ในวิชาชีพบัญชีตามลาดับ

เนื้ อหาในบทนี้ เป็ นการนาเอาข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ โดยใช้โปรแกรม


สาเร็ จรู ป เพื่อทาการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร รวมทั้งการทดสอบสมมติฐานตามที่ได้
ตั้งไว้ โดยจะได้ดาเนินการสรุ ปและอภิปรายผลการศึกษาในบทต่อไป
73

บทที่5

สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

การศึ กษาในครั้ งนี้ เป็ นการศึ กษาปั จจัยที่ ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ า
บัญชี ในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยมีจุดมุ่งหมาย
เพื่อที่ ทราบถึ งปั จจัยต่างๆ ได้แก่ ปั จจัยด้านความรู้ ในวิชาชี พบัญชี ปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชี พ
ปั จจัยด้านคุ ณค่าแห่ งวิชาชี พ และปั จจัยด้านเจตคติในวิชาชี พ ที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทา
บัญชี ของผูท้ าบัญชี และได้ทาการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือในการเก็บรวบรวม
ข้อมูลจากผูท้ าบัญชี ในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดย
มีกลุ่มตัวอย่างจานวน 113 คน โดยมีผตู ้ อบแบบสอบถามกลับมาหาผูศ้ ึกษาจานวน 95 คน คิดเป็ น
ร้อยละ84 ซึ่ งสามารถสรุ ปผลการศึกษาและอภิปรายผล รวมทั้งนาเสนอข้อจากัดและข้อเสนอแนะ
ได้ดงั นี้

สรุปผลการศึกษา
จากการศึ ก ษาปั จ จัย ที่ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ข องผู ้ท าบัญ ชี ใ นธุ ร กิ จ
อสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา
เพื่อใช้ในการอธิ บายผลการศึกษาในเบื้องต้นเกี่ยวกับข้อมูลของกลุ่มตัวแปรที่เก็บรวบรวมได้ และ
ใช้การวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุ คูณ (Multiple Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน
ซึ่ งสามารถสรุ ปผลการศึกษาได้ดงั นี้

ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถามพบว่าผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิง ที่มี


อายุ ต่ า กว่ า 35 ปี มี ก ารศึ ก ษาในระดับ ปริ ญ ญาตรี โดยมี ป ระสบการณ์ ใ นการจัด ท าบัญ ชี ใ น
ธุ รกิ จอสังหาริ มทรั พย์ต่ ากว่า 5 ปี ซึ่ งมี รายได้อยู่ในช่ วง 15,000-20,000 บาท นอกจากนี้ ใ นการ
วิเคราะห์ ระดับความคิ ดเห็ นเกี่ ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี
พบว่าโดยรวมมีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับมาก ซึ่งปัจจัยด้านเจตคติในวิชาชีพมีค่าเฉลี่ยความคิดเห็น
74

สู งสุ ด เมื่ อเปรี ยบเที ยบกับปั จจัย อื่ นๆ รองลงมาคื อ ปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชี พ ส่ วนปั จจัย ด้าน
ความรู้ ในวิชาชี พบัญชี มีค่าเฉลี่ ยความคิดเห็ นน้อยที่ สุด ส่ วนแสดงผลการวิเคราะห์ ความคิ ดเห็ น
เกี่ ยวข้องกับประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบี ยนใน
ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย พบว่าโดยรวมมีความคิดเห็ นอยู่ในระดับมาก โดยระดับความ
คิดเห็นเกี่ยวกับผูท้ าบัญชี สามารถจัดทาบัญชีเสร็ จตามระยะเวลาที่กาหนดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมี
ค่าเฉลี่ ยมากที่ สุด เมื่ อเปรี ยบเที ย บกับปั จจัย อื่ นๆในขณะที่ ระดับความคิ ดเห็ นเกี่ ยวกับ ผูท้ าบัญชี
สามารถใช้ขอ้ มูลในงบการเงินได้อย่างถูกต้องมีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นน้อยที่สุด

สรุปผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์
จากการทดสอบสมมติ ฐ านด้ว ยการวิ เ คราะห์ ก ารถดถอยเพื่ อ พยากรณ์ ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
การจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี โดยนาปั จจัยทุ กด้านเข้าในสมการ พบว่าแต่ละปั จจัยสามารถร่ วม
พยากรณ์ ป ระสิ ท ธิ ภาพการจัดท าบัญชี ของผูท้ าบัญชี ได้ร้อยละ 88.60 และมี ความคลาดเคลื่ อน
มาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ 0.280 ซึ่ งจากการทดสอบสมมติฐานสามารถสรุ ปได้ดงั นี้

ผลการทดสอบสมมติฐานที่1 พบว่า ปั จจัย ด้านความรู้ ในวิชาชี พบัญชี ส่ งผลต่อ


ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ 0.05 และเมื่อมีการพิจารณา
ค่าสัมประสิ ทธิ์ การถดถอยของตัวพยากรณ์ พบว่า ปั จจัยด้านความรู้ในวิชาชีพบัญชี มีค่าสัมประสิ ทธิ์
การถดถอยน้อยที่ สุด ซึ่ งแสดงให้เห็ นว่าปั จจัยด้านความรู้ ในวิชาชี พบัญชี มีอิทธิ พลต่อประสิ ทธิ
การจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี นอ้ ยที่สุดเมื่อเปรี ยบเทียบกับปั จจัยอื่นๆ ซึ่ งยอมรับตามสมมติฐานที่ 1
คือ ปั จจัยด้านความรู้ในวิชาชี พบัญชี ประกอบไปด้วย ปั จจัยด้านความรู ้ ทวั่ ไป มีอิทธิ พลสู งสุ ดต่อ
ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี รองลงมาคือปั จจัยด้านธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์และการ
จัด การทั่ว ไปปั จ จัย ด้า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและปั จ จัย ด้า นการบัญ ชี ตามล าดับ ส่ ง ผลต่ อ
ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ข องผู ้ท าบัญ ชี ใ นธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ผลการทดสอบสมมติ ฐานที่ 2 พบว่า ปั จจัย ด้า นทัก ษะทางวิชาชี พ บัญชี ส่ ง ผลต่ อ


ประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ 0.05 และเมื่อมีการพิจารณา
ค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ การถดถอยของตัว พยากรณ์ พบว่ า ปั จ จัย ด้ า นทัก ษะทางวิ ช าชี พ บัญ ชี มี ค่ า
75

สัมประสิ ทธิ์ การถดถอยสู งในอันดับที่ 2 รองจากปั จจัยด้านเจตคติในวิชาชี พ ซึ่ งแสดงให้เห็ นว่า


ปัจจัยด้านทักษะทางวิชาชีพบัญชี มีอิทธิ พลต่อประสิ ทธิ การจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชีในอันดับ2เมื่อ
เปรี ย บเที ย บกับปั จจัยอื่ นๆ ซึ่ ง ยอมรั บ ตามสมมติ ฐานที่ 2 คื อ ปั จจัย ด้า นทัก ษะทางวิชาชี พบัญชี
ประกอบไปด้วยปั จจัยด้านการสื่ อสาร มี อิทธิ พลสู งสุ ดต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ า
บัญชี รองลงมาคื อปั จจัย ด้า นการปฏิ สัมพันธ์ และปั จจัยด้านการใช้เหตุผล ตามลาดับ ส่ งผลต่ อ
ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ข องผู ้ท าบัญ ชี ใ นธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ผลการทดสอบสมมติฐานที3่ พบว่าปั จจัยด้านคุณค่าแห่งวิชาชีพส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพ


การจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ 0.05 และเมื่อมีการพิจารณา ค่าสัมประสิ ทธิ์
การถดถอยของตัวพยากรณ์ พบว่าปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชีพบัญชี มีค่าสัมประสิ ทธิ์ การถดถอยสู ง
ในอันดับที่ 3 รองจากปัจจัยด้านเจตคติในวิชาชีพและปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชีพบัญชี ซ่ ึงแสดงให้
เห็ นว่าปั จจัย ด้านด้านคุ ณค่า แห่ ง วิช าชี พ มี อิทธิ พลต่อประสิ ทธิ ก ารจัดทาบัญชี ข องผูท้ าบัญชี ใ น
อันดับ3 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปั จจัยอื่นๆ ซึ่ งยอมรับตามสมมติฐานที่ 3 คือ ปั จจัยด้านด้านคุณค่าแห่ ง
วิชาชีพประกอบด้วย ปัจจัยด้านความซื่ อสัตย์สุจริ ต มีอิทธิพลสู งสุ ดต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี
ของผูท้ าบัญชี รองลงมาคือปั จจัยด้านความโปร่ งใส ปั จจัยด้านความเป็ นอิสระ และปั จจัยด้านความ
เที่ยงธรรม ตามลาดับ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์
ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ผลการทดสอบสมมติฐานที่4 พบว่าปั จจัยด้านเจตคติในวิชาชีพ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพ


การจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ 0.05 และเมื่อมีการพิจารณา ค่าสัมประสิ ทธิ์
การถดถอยของตัวพยากรณ์ พบว่าปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชีพบัญชี มีค่าสัมประสิ ทธิ์ การถดถอยสู ง
ที่สุด ซึ่ งแสดงให้เห็นว่าปั จจัยด้านด้านคุณค่าแห่งวิชาชีพ มีอิทธิ พลต่อประสิ ทธิ การจัดทาบัญชี ของ
ผูท้ าบัญชี มากที่สุดเมื่อเปรี ยบเทียบกับปั จจัยอื่นๆ ซึ่ งยอมรับตามสมมติฐานที่ 4 คือ ปั จจัยด้านด้าน
เจตคติในวิชาชี พประกอบด้วยปั จจัยด้านความคิดเห็น มีอิทธิ พลสู งสุ ดต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทา
บัญชี ของผูท้ าบัญชี รองลงมาคือ ปั จจัยด้านความรู้สึก ตามลาดับ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทา
บัญชีของผูท้ าบัญชีในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
76

จากการศึกษาในครั้งนี้พบว่า ปัจจัยด้านความรู้ในวิชาชีพบัญชี ปัจจัยด้านทักษะทางวิชาชีพ


ปั จจัยด้านคุณค่าแห่ งวิชาชี พ และปั จจัยด้านเจตคติในวิชาชีพ ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี
ของผูท้ าบัญชี ในธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยปัจจัยด้านเจตคติในวิชาชีพมีอิทธิ พลสู งสุ ดต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทา
บัญชีของผูท้ าบัญชี รองลงมาคือปัจจัยด้านทักษะทางวิชาชีพ ปัจจัยด้านคุณค่าแห่งวิชาชีพ และปัจจัย
ด้านความรู้ในวิชาชีพบัญชี ตามลาดับ

อภิปรายผล
ในการศึ ก ษาปั จ จัย ที่ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ข องผู ้ท าบัญ ชี ใ นธุ ร กิ จ
อสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ผูศ้ ึกษาสามารถอภิปรายผลตาม
วัตถุประสงค์การวิจยั ดังนี้

ปั จจัยด้านความรู ้ ในวิชาชี พบัญชี ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี ผทู ้ าบัญชี ในธุ รกิจ
อสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ซึ่ งสอดคล้องกับ คุณสุ ภาพร เพ่ง
พิศ (2553) ที่ศึกษาเรื่ องปั ญหาในการจัดทาบัญชี ของสานักงานบัญชี ในกรุ งเทพมหานคร โดยผล
การศึกษาพบว่า มีการใช้ความรู้ในวิชาชีพทางด้านการทาบัญชีมากที่สุด ในการจัดทางบการเงิน ซึ่ง
สามารถทาให้งานออกมามีประสิ ทธิ ภาพได้ แต่ในปั จจุ บนั ความรู ้ ในวิชาชี พบัญชี น้ นั อาจจะไม่
ส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชี นกั เนื่องจากการที่จะเป็ นนักบัญชีได้ก็จะต้องมีความรู ้ในด้าน
บัญชีหรื อด้านต่างๆอยูแ่ ล้วจึงมีผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชีนอ้ ยที่สุด

ปั จ จัย ด้า นทัก ษะทางวิช าชี พ บัญ ชี ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ผูท้ าบัญ ชี ใ น
ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย ซึ่ งสอดคล้อ งกับ
อัมพร เที่ยงตระกูล(2551) ที่ศึกษาเรื่ อง นักวิชาชี พบัญชี จาเป็ นต้องมี ทกั ษะจานวนหนึ่ ง รวมทั้ง
ทักษะเฉพาะด้านและทักษะในการสื่ อสารระหว่า งบุ คคล ทักษะด้านความรู ้ ต่างๆ ผลการศึ กษา
พบว่าการนาทักษะในการใช้สติปัญญา ทักษะด้านมนุ ษย์สัมพันธ์ ทักษะในการติดต่อสื่ อสาร และ
ทัก ษะในการใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศ เป็ นแนวทางวิ ช าชี พ ไปปฏิ บ ัติ อ ย่ า งเหมาะสมและมี
ประสิ ทธิภาพภายใต้สภาพแวดล้อมทางวิชาชีพ
77

ปั จ จัย ด้า นคุ ณ ค่ า แห่ ง วิ ช าชี พ ส่ ง ผลต่ อประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญชี ผูท้ าบัญชี ใ นธุ รกิ จ
อสังหาริ มทรั พย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ซึ่ งสอดคล้องกับสภาวิชาชี พ
บัญชี (2556) ที่ศึกษาเรื่ อง ความประพฤติและลักษณะนิสัยทางวิชาชีพที่บ่งบอกถึงการเป็ นนักวิชชา
ชี พบัญชี ผลการศึกษา พบว่าผูท้ าบัญชี มีวินยั ในการทางาน เช่น ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อ
งานที่ ไ ด้รับ ผิดชอบงานที่ ไ ด้รับ มอบหมาย มี ความเป็ นอิ ส ระในการท างาน และมี ก ารปฏิ บตั ิ ที่
คานึงถึงมรรยาททางบัญชี งานก็จะออกมาแบบมีประสิ ทธิ ภาพได้
ปั จ จัย ด้า นเจตคติ ใ นวิช าชี พ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการจัด ท าบัญ ชี ผู ้ท าบัญ ชี ใ นธุ ร กิ จ
อสั ง หาริ มทรั พ ย์ ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ซึ่ งสอดคล้ อ งกั บ
ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง (2553) ที่ศึกษาเรื่ องเจตคติที่บุคคลมีต่อวิชาชี พ ผลการศึกษาพบว่าเป็ นเรื่ องที่
ต้องให้ความสาคัญเนื่ องจากการที่บุคคลมีเจตคติที่ดีต่อวิชชาชี พที่ปฏิบตั ิก็ยอ่ มปฏิบตั ิงานนั้นอย่าง
เต็มกาลังความสามารถ หากองค์กรใดมี ผูท้ าบัญชี ที่มีเจตคติ ที่ดีต่องานที่ ทาองค์กรก็ย่อมมี ความ
พร้อมที่ดีสามารถสร้างความได้เปรี ยบทางการแข่งขันได้ นาพาองค์กรไปสู่ เป้ าหมายที่กาหนดไว้ได้
โดยสรุ ปแล้วในการศึกษาครั้งนี้พบว่าปั จจัยส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการจัดทาบัญชีผทู้ าบัญชี
ในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้แก่ ปัจจัยด้านความรู้
ในวิชาชี พบัญชี ปั จจัยด้านทักษะทางวิชาชี พ ปั จจัยด้านคุ ณค่าแห่ งวิชาชี พ และปั จจัยด้านเจตคติ
ในวิชาชี พ ดังนั้นในการจัดทาบัญชี จึงควรคานึ งถึ งปั จจัยต่างๆที่ เกี่ ยวข้องเพื่อให้ผูท้ าบัญชี จดั ทา
บัญชี ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพตามที่องค์กรหรื อหน่ วยงานคาดหวัง เพื่อให้บรรลุ วตั ถุ ประสงค์ของ
องค์กร

ข้ อเสนอแนะ
ข้ อเสนอแนะเพือ่ การนาไปใช้
1.ผลที่ศึกษาพบว่าผูท้ าบัญชีส่วนใหญ่มีอิทธิ พลปั จจัยทางด้านเจตคติในการจัดทาบัญชี ซึ่ง
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการจัดทาบัญชีเพื่อส่ งผลอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
2.ผลที่ศึกษาพบว่าผูท้ าบัญชี ควรตระหนักและส่ งเสริ มให้ผทู ้ าบัญชีมีความรู ้ในวิชาชีพ
เพิ่มมากยิง่ ขึ้น เพื่อให้เกิดความเข้าใจ เกิดทักษะและมีคุณค่าแห่งวิชาชีพ ในการปฏิบตั ิงาน ซึ่งจะ
ช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการจัดทาบัญชี และเป็ นการสร้างความเชื่อมัน่ และการยอมรับของผูใ้ ช้
ข้อมูลทางการเงิน
78

ข้ อเสนอแนะสาหรับการวิจัยในอนาคต
1. นอกจากปั จ จัย ต่ า งๆ ที่ มี ผ ลต่ อ ประสิ ทธิ ภ าพการจั ด ท าบั ญ ชี ผู ้ท าบั ญ ชี ใ นธุ รกิ จ
อสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยแล้ว เรื่ องแรงจูงใจ ยังเป็ นเรื่ องที่
น่าสนใจและได้รับความนิยมในองค์กรส่ วนใหญ่ซ่ ึ งมีขอ้ เสนอแนะสาหรับงานวิจยั ในอนาคตดังนี้
2. ควรศึกษาแนวทางการปฏิบตั ิง านของผูท้ าบัญชี เพื่อนามาพัฒนาประสิ ทธิ ภาพการจัดทา
บัญชีได้ดียงิ่ ขึ้น
3. ควรศึกษาความสาคัญของปั จจัยในด้านต่างเพิ่มเติม ที่สามารถนามาเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ
การจัดทาบัญชีในธุรกิจต่างๆเพิ่มมากขึ้น
92

บรรณานุกรม

กัลยา วานิชย์บญั ชา. (2554).การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล.พิมพ์ครั้งที่ 19.
กรุ งเทพฯ : ธรรมสาร.
กิตติศกั ดิ์ มะลัย. (2557).ผลกระทบของการควบคุมภายในเชิ งกลยุทธ์ ทมี่ ีต่อประสิ ทธิภาพ
การจัดทา บัญชี ของวิทยาลัยเทคโนโลยีอาชี วศึกษาเอกชนในประเทศไทย.” วิทยานิ พนธ์
ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาการบัญชี คณะการบัญชีและการจัดการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
กองทุนอสังหาริ มทรัพย์. (2560).ธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์ คืออะไร. ค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2561,จาก
https://www.landinvestingthai.com
ชัพวิชญ์ คาภิรมย์ และคณะ. (2549). ผลกระทบของความรู้ ความสามารถทางการบัญชี และ
ประสบการณ์ ด้ า นการสอบบั ญ ชี ที่ มี ต่ อ ความส าเร็ จ ในการท างานของผู้ ส อบบั ญ ชี
รั บ อ นุ ญ า ต ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไท ย . วิ ท ย านิ พ นธ์ ปริ ญ ญ า บริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม หาบั ณ ฑิ ต,
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ชัยนริ นทร์ วีระสถาวณิ ชย์. (2548). International Education Standards (IES).สมาคมนักบัญชี
และผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย,1(4),1-12
จารุ ณี อภิวฒั น์ไพศาล. (2555). ปัจจัยทีใ่ ช้ ในการพยากรณ์ประสิ ทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงาน
บัญชี กลุ่มธุรกิจบริการในประเทศไทย.คณะบัญชีมหาวิทยาลังรังสิ ต. วารสาร วิทยาจารย์.
นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรี จนั่ เพรช. (2559). การสอบบัญชี.กรุ งเทพฯ:
ทีพีเอ็น เพรส.1-2, 14-3
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2559).รายชื่อบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์.ค้นเมื่อ
16 มีนาคม 2561
ดรุ ณวรรณ แมดจ่อง. (2553).ผลกระทบของเจตคติในวิชาชีพบัญชีทมี่ ีต่อความสาเร็จในการทางาน
ของนักบัญชี ธุรกิจ SMEs ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ธวัช ภูษิตโภยไคย .(2542). การจัดทาบัญชี ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่ อมในจังหวัดเชี ยงใหม่ .
วารสารบริ หารธุ รกิจ23.
93

บรรณานุกรม (ต่ อ)

พิมพ์พิศา วรรณวิจิตร และ ปวีนา กองจันทร์. (2560).ปัจจัยหลักทีส่ ่ งผลต่ อประสิ ทธิภาพการจัดทา


บัญชี.คณะบริ หารธุ รกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พลอยระวี จันทร์ ประสิ ทธิ์ . (2557).ผลกระทบของทักษะทางวิชาชีพทีม่ ีต่อความสาเร็จในการทางาน
ของนั ก บั ญ ชี บริ ษั ท ส ารวจและผลิต ปิ โตรเลีย มในประเทศไทย.วิท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญา
บริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศิริกาญจน์ วงษ์เสรี . (2559).ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อประสิ ทธิภาพการทางานของนักบัญชีสถาบันการเงิน
เฉพาะกิจ.วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรี ปทุม.
ศิลปะพร ศรี จนั่ เพชร. (2545).ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี ของผู้ทาบัญชี .การสอบ
บัญชี. กรุ งเทพฯ: ทีพีเอ็น เพรส. ประเทศไทย. กรุ งเทพฯ : บริ การพิมพ์.
โศรยา บุ ต รอิ น ทร์ และคณะ. (2557 ).ประสิ ท ธิ ภ าพการปฏิ บั ติ ง านทางการบั ญ ชี .วารสาร
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามปี ที่ : 33
สัญญา สัญญาวิวฒั น์. (2544). ความหมายประสิ ทธิภาพ. สังคมวิทยาองค์การ.กรุ งเทพ: โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2547). พระราชบัญญัติวชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547. เข้าถึงเมื่อ
12 มีนาคม 2561, เข้าถึงได้จาก http://www.fap.or.th
สมเดช โรจน์คุรีเสถียร.(2544). ความรู้ ทางด้ านบัญชี . กรุ งเทพฯ.บริ ษทั ธรรมนิติ เพลส จากัด.2544
สุ ภาพร เพ่งพิศ. (2553).ปัญหาในการจัดทาบัญชี ของสานักงานบัญชี ในกรุ งเทพมหานคร สานักงาน
บัญชี , การบัญชี. ปี พิมพ์, : 2553.
สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์.เข้าถึงเมื่อ 24 เมษายน 2560 จาก
http://www.sec.or.th
อัมพร เที่ยงตระกูล. (2551).ความรู้ ในวิชชาชี พบัญชี .ศูนย์วจิ ยั มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์
Daniel Kartz and Robert L. Kaln . (1978).The Social Psychology of Organization. 2nd ed.
New York : John Wiley & Sons, 1987.
Gilmer, Von Haller B. Industrial Psychology. New York: McGraw-Hill, 1967.
94

ภาคผนวก
95

ภาคผนวก ก
แบบตรวจสอบคุณภาพด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของเครื่ องมือโดยผูท้ รงคุณวุฒิ
96

เรื่อง ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี ของผู้ทาบัญชี ในธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์


ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทยในเขตกรุ งเทพมหานคร

คาชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้ได้จดั ทาขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อศึกษาการปฏิบตั ิงานบัญชีของ


ผูท้ าบัญชีในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในเขต
กรุ งเทพมหานคร เพื่อใช้ในการศึกษาอิสระ จึงขอความอนุ เคราะห์จากท่านในการตอบ
แบบสอบถามให้ตรงความคิดเห็นของท่านมากที่สุด
แบบสอบถาม (Questionnaire) นี้ แบ่งออกเป็ น 5 ส่ วน ดังนี้
ส่ วนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทัว่ ไปของผูท้ าบัญชี
คาชี้แจง : กรุ ณาทาเครื่ องหมาย (✔) ในช่องที่ท่านคิดว่าเหมาะสมที่สุด
1.เพศ
 ชาย  หญิง

2.อายุ
 ต่ากว่า 35 ปี  35-40 ปี  41-45 ปี

 46-50 ปี  มากกว่า 50 ปี

3.ระดับการศึกษา
 ต่ากว่าปริ ญญาตรี  ปริ ญญาตรี  สู งกว่าปริ ญญาตรี

4.ประสบการณ์ในการทางานด้านการจัดทาบัญชี
 น้อยกว่า 5 ปี  5-10 ปี  11-15 ปี

 มากกว่า 15 ปี

5.ระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
 ต่ากว่า 15,000 บาท  15,000-25,000 บาท  25,001-30,000 บาท

 มากว่า 30,000 บาท


97

ส่ วนที่ 2 แบบประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับความรู ้ในวิชาชีพของผูท้ าบัญชี

ระดับความคิดเห็น

ประเด็นคาถาม มากทีส่ ุ ด มาก ปานกลาง น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด


5 4 3 2 1

ด้ านความรู้ ทวั่ ไป
1. ท่านมีความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับเศรษฐกิจ การเมือง

2. ท่านคิดว่า มาตรฐานการบัญชี สามารถช่วยให้การ


จัดทาบัญชี ถูกต้อง น่าเชื่อถือ

3. ท่านมีความรู ้ในการปฏิบตั ิงานด้านบัญชีได้ถูกต้อง


ตามระเบียบของ ธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์

ด้ านความรู้ เกีย่ วกับธุรกิจและการจัดการทัว่ ไป


4. ท่านมีการนาความรู ้ที่ได้รับการฝึ กอบรมมาใช้กบั งาน
ด้านบัญชี ในธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์

5. ท่านปฏิบตั ิงานด้านบัญชีเป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน


ของ ธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์

6. ท่านเข้าใจหลักเอกสารหลักฐานทางบัญชีของธุรกิจ
อสังหาริ มทรัพย์

ด้ านความรู้ เกีย่ วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ


7. ท่านได้เข้ารับการฝึ กอบรมคอมพิวเตอร์เกี่ยวกับการ
บันทึกบัญชี

8. ท่านสามารถใช้ระบบสารสนเทศในการทาบัญชีได้
อย่างถูกต้องและรวดเร็ ว
98

ระดับความคิดเห็น

ประเด็นคาถาม มากทีส่ ุ ด มาก ปานกลาง น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด


5 4 3 2 1

ด้ านความรู้ ด้านบัญชี
9. ท่านมีความรู ้ในด้านการบันทึกบัญชีเป็ นอย่างดี

10. ท่านเข้าใจทักษะกระบวนการจัดทาบัญชีของ ธุรกิจ


อสังหาริ มทรัพย์

11. ท่านสามารถใช้ความรู ้แยกพิจารณารายได้และ


รายจ่ายของธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ได้เป็ นอย่างดี

12. ท่านสามารถแยกประเภทหมวดหมู่รายการทางบัญชีได้เป็ นอย่างดี

13. ท่านสามารถใช้ความรู ้ในการเข้ารับการอบรมมาใช้


ในกระบวนการจัดทาบัญชีได้เป็ นอย่างดี
99

ส่ วนที่ 3 แบบประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับทักษะทางวิชาชีพของผูท้ าบัญชี

ระดับความคิดเห็น

ประเด็นคาถาม มากทีส่ ุ ด มาก ปานกลาง น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด


5 4 3 2 1

ทักษะในการใช้ เหตุผล
1. ท่านสามารถแก้ไขปั ญหา ในการปฏิบตั ิงานได้เป็ น
อย่างดี

2. ท่านมีการจัดลาดับความสาคัญของงานได้เป็ นอย่างดี

ทักษะในการปฏิสัมพันธ์
3. ท่านสามารถให้คาแนะนาในการปฏิบตั ิงานบัญชีตาม
ระเบียบแก่ฝ่ายบริ หารได้

4. ท่านสามารถเจรจาต่อรองการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
จากแผนกต่างๆภายในบริ ษทั ได้เป็ นอย่างดี

ทักษะในการสื่ อสารบัญชี
5. ท่านมีการรายงานสารสนเทศทางการบัญชีให้แก่
ผูบ้ ริ หารได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ ว

6. ท่านมีความคล่องแคล่วในการปฏิบตั ิงาน พูดคุยเจรจา


งานจากแผนกต่างๆได้เป็ นอย่างดี
100

ส่ วนที่ 4 แบบประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าแห่งวิชาชีพของผูท้ าบัญชี

ระดับความคิดเห็น

ประเด็นคาถาม มากทีส่ ุ ด มาก ปานกลาง น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด


5 4 3 2 1

ด้ านความโปร่ งใส
1. ท่านมีความตั้งใจในการปฏิบตั ิงานอย่างโปร่ งใส

2. ท่านมีข้ นั ตอนในการตรวจเอกสารต่างๆก่อนทาเบิกจ่าย
ทุกครั้ง

3. ท่านมีการบริ หารงานเป็ นไปด้วยความชัดเจนและ


โปร่ งใส ยึดถือตามระเบียบเป็ นเกณฑ์ สามารถ
ตรวจสอบได้

ด้ านความเป็ นอิสระ
4. ท่านมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับผิดชอบงานที่
ได้รับมอบหมาย มีความเป็ นอิสระในการทางาน

5. ท่านได้รับความไว้วางใจในการทางานอย่างเป็ นอิสระ

ด้ านความเทีย่ งธรรม
6. ท่านมีความตั้งใจในการปฏิบตั ิงานอย่างมีคุณธรรม
ความเที่ยงธรรม

7. ท่านมีการใช้ดุลยพินิจโดยปราศจากความลาเอียงในการ
ปฏิบตั ิงานต่างๆภายในบริ ษทั

7. ท่านมีการพิจารณาข้อเท็จจริ งต่างๆอย่างยุติธรรมและ
เป็ นการ ในการทางาน
101

ส่ วนที่ 4 แบบประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าแห่งวิชาชีพของผูท้ าบัญชี (ต่อ)

ระดับความคิดเห็น

ประเด็นคาถาม มากทีส่ ุ ด มาก ปานกลาง น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด


5 4 3 2 1

ด้ านความซื่อสั ตย์ สุจริต


8. ท่านมีความตั้งใจในการปฏิบตั ิงานอย่างซื่อสัตย์สุจริ ต

9. ท่านมีความรับผิดชอบและรักษาความลับขององค์กร
102

ส่ วนที่ 5 แบบประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับเจตคติในวิชาชีพของผูท้ าบัญชี

ระดับความคิดเห็น

ประเด็นคาถาม มากทีส่ ุ ด มาก ปานกลาง น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด


5 4 3 2 1

ด้ านความรู้ สึก
1. ท่านมีความมุ่งมัน่ ในการปฏิบตั ิงานบัญชีให้กบั องค์

2. ท่านมีการทุ่มเท เสี ยสะในการปฏิบตั ิงานให้กบั องค์กร

3. ท่านให้ความร่ วมมือในการพัฒนาองค์กรให้เกิดความ
เจริ ญก้าวหน้ามากยิง่ ขึ้น

ด้ านความคิดเห็น
4. ท่านมีการแสดงความคิดเห็นในองค์กร

5. ท่านให้ความร่ วมมือยอมรับกับความคิดเห็นที่เกิดขึ้น
103

ส่ วนที่ 6 แบบประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี

ระดับความคิดเห็น

ประเด็นคาถาม มากทีส่ ุ ด มาก ปานกลาง น้ อย น้ อยทีส่ ุ ด


5 4 3 2 1

ด้ านความเข้ าใจได้
1. ท่านสามารถใช้ขอ้ มูลในงบการเงินได้อย่างถูกต้อง

2. ท่านสามารถปฏิบตั ิตามกระบวนการในการจัดทาบัญชี
อย่างถูกต้อง

ด้ านความเชื่อถือได้
1. ท่านปฏิบตั ิงานด้านบัญชีขององค์กรโดยไม่ถูกทักท้วง
จากผูต้ รวจสอบ

2. ท่านสามารถเสนอข้อมูลในงบการเงินที่ใช้ในการ
ตัดสิ นใจได้

ด้ านความครบถ้ วน
1. ท่านมีการจัดทาบัญชีได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ถูกต้อง
ตามระเบียบแบบแผนขององค์กร

2. ท่านสามารถจัดทาข้อมูลในงบการเงินได้อย่างถูกต้อง
ครบถ้วน

ด้ านความเกีย่ วข้ องกับการตัดสิ นใจ


1. ท่านสามารถเสนองบการเงินเพื่อผูบ้ ริ หารในการ
ตัดสิ นใจบริ หารงานองค์กรได้

2. ท่านสามารถเสนองบการเงินเพื่อผูใ้ ช้อื่นๆในการ
ตัดสิ นใจตามวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันได้
104

ด้ านความทันเวลา
1. ท่านสามารถปิ ดบัญชีได้เสร็ จตามรอบระยะเวลาที่
กาหนดไว้เสมอ

2. ท่านสามารถจัดทาบัญชีเสร็ จตามระยะเวลาที่กาหนด

ข้ อเสนอแนะ
.................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
........................................................................

ขอขอบคุณเป็ นอย่ างสู งทีใ่ ห้ ความอนุเคราะห์

ในการตอบแบบสอบถามครั้งนี้
105

ภาคผนวก ข
ผลการตรวจสอบค่าความสอดคล้องของข้อคาถามกับนิยามของตัวบ่งชี้
106

แบบรายงานผลการตรวจสอบค่ าความสอดคล้องของข้ อคาถามกับนิยามของตัวบ่ งชี้

ส่ วนที่ 1 ข้อมูลผูต้ อบแบบสารวจ


ค่ าดัชนี
ระดับความคิดเห็น
ข้ อที่ ตัวแปร IOC
+1 0 -1
1.1 เพศ 3 1.00
□ ชาย □ หญิง
1.2 อายุ 3 1.00
□ ต่ากว่า 35 ปี □ 35 – 45 ปี
□ 41 – 45 ปี □ 46-50 ปี
□ มากกว่า 50 ปี
1.3 ระดับการศึกษา 3 1.00
□ ต่ากว่าปริ ญญาตรี □ ปริ ญญาตรี
□ สู งกว่าปริ ญญาตรี
1.4 ประสบการณ์ในการทางานด้ านสอบบัญชี 3 1.00
□ น้อยกว่า 5 ปี □ 5 – 10 ปี
□ 11 – 15 ปี □ มากกว่า 15 ปี
1.5 ระดับรายได้ เฉลีย่ ต่ อเดือน 3 1.00
□ ต่ากว่า 15,000 บาท □ 15,001 –
25,000 บาท
□ 25,001 – 30,000 บาท □ ม า ก ก ว่ า
30,000 บาท
107

ส่ วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับแบบประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับความรู ้ในวิชาชีพของผูท้ าบัญชี

ระดับความคิดเห็น ค่ าดัชนีIOC
ตัวแปร
+1 0 -1
ด้ านความรู้ ทวั่ ไป
1. ท่านติดตามข่าวสารเกี่ยวกับเศรษฐกิจ การเมือง 2 1 0.67
2. ท่านคิดว่า มาตรฐานการบัญชี สามารถช่วยให้การ 2 1 0.67
จัดทาบัญชี ถูกต้อง น่าเชื่อถือ
3. ท่านมีความรู้ในการปฏิบตั ิงานด้านบัญชีได้ถูกต้อง 3 1.00
ตามระเบียบของ ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์
108

ผลการ ค่ าดัชนีIOC
ตัวแปร พิจารณา
+1 0 -1
ด้ านความรู้ เกีย่ วกับธุรกิจและการจัดการทัว่ ไป
4. ท่านมีการนาความรู ้ที่ได้รับการฝึ กอบรมมาใช้กบั 3 1.00
งานด้านบัญชี ในธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์
5. ท่านปฏิบตั ิงานด้านบัญชีเป็ นไปตามเกณฑ์ 2 1 0.67
มาตรฐานของ ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์
6. ท่านเข้าใจหลักเอกสารหลักฐานทางบัญชีของธุ รกิจ 3 1.00
อสังหาริ มทรัพย์
ด้ านความรู้ เกีย่ วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
7. ท่านได้เข้ารับการฝึ กอบรมคอมพิวเตอร์ เกี่ยวกับการ 3 1.00
บันทึกบัญชี
8. ท่านสามารถใช้ระบบสารสนเทศในการทาบัญชีได้ 3 1.00
อย่างถูกต้องและรวดเร็ ว
109

ผลการพิจารณา ค่ าดัชนีIOC
ตัวแปร
+1 0 -1
ด้ านความรู้ ด้านบัญชี
9. ท่านมีความรู ้ในด้านการบันทึกบัญชีเป็ นอย่างดี 3 1.00
10. ท่านเข้าใจทักษะกระบวนการจัดทาบัญชี ของ ธุ รกิ จ 3 1.00
อสังหาริ มทรัพย์
11. ท่ า นสามารถใช้ค วามรู้ แ ยกพิ จ ารณารายได้ แ ละ 3 1.00
รายจ่ายของธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ได้เป็ นอย่างดี
12. ท่านสามารถแยกประเภทหมวดหมู่รายการทางบัญชี 3 1.00
ได้เป็ นอย่างดี
13. ท่านสามารถใช้ความรู้ในการเข้ารับการอบรมมาใช้ 3 1.00
ในกระบวนการจัดทาบัญชีได้เป็ นอย่างดี
110

ส่ วนที่ 3 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับเกี่ยวกับทักษะทางวิชาชีพของผูท้ าบัญชี

ผลการพิจารณา ค่ าดัชนีIOC
ตัวแปร
+1 0 -1
ทักษะในการใช้ เหตุผล
1. ท่านสามารถแก้ไขปั ญหา ในการปฏิบตั ิงานได้เป็ น 3 1.00
อย่างดี
2. ท่านมีการจัดลาดับความสาคัญของงานได้เป็ นอย่างดี 3 1.00
ทักษะในการปฏิสัมพันธ์
3. ท่านสามารถให้คาแนะนาในการปฏิบตั ิงานบัญชีตาม 3 1.00
ระเบียบแก่ฝ่ายบริ หารได้
4. ท่านสามารถเจรจาต่อรองการแก้ปัญหาความขัดแย้ง 3 1.00
จากแผนกต่างๆภายในบริ ษทั ได้เป็ นอย่างดี
ทักษะในการสื่ อสารบัญชี
5. ท่านมีการรายงานสารสนเทศทางการบัญชีให้แก่ 3 1.00
ผูบ้ ริ หารได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ ว
6. ท่านมีความคล่องแคล่วในการปฏิบตั ิงาน พูดคุยเจรจา 3 1.00
งานจากแผนกต่างๆได้เป็ นอย่างดี
111

ส่ วนที่ 4 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าแห่งวิชาชีพของผูท้ าบัญชี

ผลการพิจารณา ค่ าดัชนีIOC
ตัวแปร
+1 0 -1
ด้ านความโปร่ งใส
1. ท่านมีความตั้งใจในการปฏิบตั ิงานอย่างโปร่ งใส 3 1.00
2. ท่านมีข้ นั ตอนในการตรวจเอกสารต่างๆก่อนทา 3 1.00
เบิกจ่ายทุกครั้ง
3. ท่านมีการบริ หารงานเป็ นไปด้วยความชัดเจนและ 3 1.00
โปร่ งใส ยึดถือตามระเบียบเป็ นเกณฑ์ สามารถ
ตรวจสอบได้
ด้ านความเป็ นอิสระ
4. ท่านมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับผิดชอบงานที่ 3 1.00
ได้รับมอบหมาย มีความเป็ นอิสระในการทางาน
5. ท่านได้รับความไว้วางใจในการทางานอย่างเป็ นอิสระ 3 1.00
ด้ านความเทีย่ งธรรม
6. ท่านมีความตั้งใจในการปฏิบตั ิงานอย่างมีคุณธรรม 3 1.00
ความเที่ยงธรรม
7. ท่านมีการใช้ดุลยพินิจโดยปราศจากความลาเอียงใน 3 1.00
การปฏิบตั ิงานต่างๆภายในบริ ษทั
8. ท่านมีการพิจารณาข้อเท็จจริ งต่างๆอย่างยุติธรรมและ 3 1.00
เป็ นการ ในการทางาน
ด้ านความซื่อสั ตย์ สุจริต
9. ท่านมีความตั้งใจในการปฏิบตั ิงานอย่างซื่อสัตย์สุจริ ต 3 1.00
10. ท่านมีความรับผิดชอบและรักษาความลับขององค์กร 3 1.00
112

ส่ วนที่ 5 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับเจตคติในวิชาชีพของผูท้ าบัญชี

ผลการพิจารณา ค่ าดัชนีIOC
ตัวแปร
+1 0 -1
ด้ านความรู้ สึก
1. ท่านมีความมุ่งมัน่ ในการปฏิบตั ิงานบัญชีให้กบั องค์ 3 1.00
2. ท่านมีการทุ่มเท เสี ยสะในการปฏิบตั ิงานให้กบั องค์กร 3 1.00
3. ท่านให้ความร่ วมมือในการพัฒนาองค์กรให้เกิดความ 3 1.00
เจริ ญก้าวหน้ามากยิง่ ขึ้น
ด้ านความคิดเห็น
1. ท่านมีการแสดงความคิดเห็นในองค์กร 3 1.00
2. ท่านให้ความร่ วมมือยอมรับกับความคิดเห็นที่เกิดขึ้น 3 1.00
113

ส่ วนที่ 6 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชีของผูท้ าบัญชี

ผลการพิจารณา
รายการ +1 0 -1

ประสิทธิภาพการจัดทาบัญชีของผู้ทาบัญชี

ด้ านความเข้ าใจได้
1. ท่านสามารถใช้ขอ้ มูลในงบการเงินได้อย่างถูกต้อง 3 1.00
2. ท่านสามารถปฏิบตั ิตามกระบวนการในการจัดทาบัญชีอย่าง 3 1.00
ถูกต้อง
ด้ านความเชื่อถือได้
3. ท่านปฏิบตั ิงานด้านบัญชีขององค์กรโดยไม่ถูกทักท้วงจากผู ้ 3 1.00
ตรวจสอบ
4. ท่านสามารถเสนอข้อมูลในงบการเงินที่ใช้ในการตัดสิ นใจได้ 3 1.00
ด้ านความครบถ้ วน
5. ท่านมีการจัดทาบัญชีได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องตาม 3 1.00
ระเบียบแบบแผนขององค์กร
6. ท่านสามารถจัดทาข้อมูลในงบการเงินได้อย่างถูกต้อง 3 1.00
ครบถ้วน
ด้ านความเกีย่ วข้ องกับการตัดสินใจ
7. ท่านสามารถเสนองบการเงินเพื่อผูบ้ ริ หารในการตัดสิ นใจ 3 1.00
บริ หารงานองค์กรได้
8. ท่านสามารถเสนองบการเงินเพื่อผูใ้ ช้อื่นๆในการตัดสิ นใจตาม 3 1.00
วัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันได้
ด้ านความทันเวลา
9. ท่านสามารถปิ ดบัญชีได้เสร็ จตามรอบระยะเวลาที่กาหนดไว้ 3 1.00
เสมอ
10. ท่านสามารถจัดทาบัญชีเสร็จตามระยะเวลาที่กาหนด 3 1.00
114

ภาคผนวก ค
ผลการทดสอบค่าความเชื่ อมัน่ ของแบบสอบถาม
115

ผลการทดสอบค่ าความเชื่อมัน่ ของแบบสอบถาม


แบบสอบถาม ค่ าความเชื่อมั่น
(Cronbach’s Alpha
Coefficient)
ปัจจัยต่ างๆ 0.886
ปัจจัยด้านความรู้ในวิชาชีพบัญชี 0.787
ปัจจัยด้านทักษะทางวิชาชีพ 0.810
ปั จจัยด้านคุณค่าแห่งวิชาชีพ 0.853
ปัจจัยด้านเจตคติในวิชาชีพ 0.871
ประสิ ทธิภาพการจัดทาบัญชี 0.882
116

ประวัตผิ ้ศู ึกษา


ชื่อ – สกุล นางสาวเสาวลักษณ์ กิ่มสร้าง
วัน เดือน ปี เกิด 28 ตุลาคม 2537
สถานทีเ่ กิด จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี
วุฒิการศึกษา 2559 บัญชีบณั ฑิต สาขาการบัญชี
มหาวิทยาลัยศรี ปทุม
ตาแหน่ งหน้ าทีป่ ัจจุบัน เจ้าหน้าที่บญั ชี บริ ษทั ปริ ญสิ ริ จากัด(มหาชน)
สถานทีท่ างานปัจจุบัน บริ ษทั ปริ ญสิ ริ จากัด(มหาชน) 246 ถนนวัชรพล แขวงท่าแร้ง
เขตบางเขน กรุ งเทพมหานคร 10230
ทีอ่ ยู่ปัจจุบัน 209 ซอยพหลโยธิน46 แขวงเสนานิคม เขตจตุจกั ร
กรุ งเทพมหานคร 10900

You might also like