Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 88

บทที่ 10

การป้ องกันเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
( Generator Protection )

1
10.1 บทนา

2
เครื่องกาเนิดไฟฟ้ ามีอปุ กรณ์ที่สาคัญดังรูป

3
ในการป้ องกันเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ า จะต้องพิจารณาถึง
- ขนาด
- ความจาเป็ นในแต่ละเครือ่ ง

4
10.2 พืน้ ฐานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าซิงโครนัส

เครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ าซิงโครนัส มีส่วนประกอบที่สาคัญ


Stator โครงเหล็กใหญ่ด้านนอกสาหรับเป็ น
ที่วางของขดลวด Armature
Rotor แกนเหล็กหมุนซึ่งมีขดลวด Field ซึ่งเป็ นตัว
รับไฟฟ้ ากระแสตรงมา เพื่อสร้างสนามแม่เหล็ก
ไปเหนี่ ยวนาที่ขดลวด Armature เพื่อให้ได้ไฟฟ้ า
กระแสสลับไปใช้งาน

5
โรเตอร์มี 2 ประเภท คือ
1. แบบไม่มีขวั ้ ยื่น ( Non-Salient Pole )
หรือแบบกลม ( Round Rotor )
2. แบบมีขวั ้ ยื่น ( Salient Pole )

รูปที่ 10.1 แสดงชนิดของโรเตอร์


6
การต่อเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ าเข้ากับระบบ
มี 2 ลักษณะ คือ
1. Direct Connected 2. Unit Connected
Power System Power System

Load Bus

Auxiliary Load Load G


G Load Auxiliary
Load
a) Direct Connected b) Unit Connected

7
10.3 ความผิดพร่องของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า

สภาพผิดปกติที่เกิดขึน้ แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท


1) ความผิดพร่องที่เกิดจากการลัดวงจร
2) การทางานในสภาวะที่ไม่ปกติ

8
ความผิดพร่องที่เกิดจากการลัดวงจร
1. การเกิดลัดวงจรภายนอก ( External Faults )
2. การเกิดลัดวงจรลงดินในขดลวดสเตเตอร์
( Stator Earth Faults )
3. การลัดวงจรระหว่างเฟสในสเตเตอร์
( Phase-Phase Faults )
4. การเกิดลัดวงจรระหว่างรอบของขดลวดในสเตเตอร์
( Stator Interturn Faults )
5. การลัดวงจรในโรเตอร์ ( Rotor Faults )

9
การทางานในสภาวะที่ไม่ปกติ
1. สภาวะโหลดเกิน ( Overload )
2. สภาวะกระแสเกิน ( Overcurrent )
3. สภาวะการทางานที่แรงดันเกิน ( Overvoltage )
4. สภาวะการทางานที่แรงดันตา่ กว่าพิกดั ( Undervoltage )
5. การเกิดโหลดไม่สมดุล ( Unbalance Loading )
6. การเกิดความร้อนสูง ( Overheating )

10
การทางานในสภาวะที่ไม่ปกติ
7. การสูญเสียสนาม ( Loss of Excitation )
8. การทางานที่ความเร็วสูงกว่าพิกดั
( Overspeed , Overfrequency )
9. การทางานที่ความเร็วตา่ กว่าพิกดั
( Underspeed , Underfrequency )
10. การเกิดการสันมากเก
่ ิ นไป ( Excessive Vibration )
11. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ าทางานเป็ นมอเตอร์ ( Motoring )
12. การเกิดปัญหาในช่วงเริ่มเดินเครือ่ ง ( Start-Up )
11
10.4 การต่อลงดินของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
-ลด Earth Fault Current
-ลด High Transient Voltage
-สามารถทา Earth Fault Coordination ได้
รูปแบบการต่อลงดิน มีดงั นี้
• Direct Earthing
• Resistance Earthing
• Distribution Transformer Earthing
• Earthing Transformer Earthing

12
1. Direct Earthing
Generator ขนาดเล็ก 380-440 V
GEN
N

รูปที่ 10.3 การต่อลงดินแบบ Direct Earthing

13
2. Resistance Earthing
Limit Earth Fault Current ไว้ที่ 10 A –> พิกดั กระแส (400-1200 A)

GEN

RN

รูปที่ 10.4 การต่อลงดินแบบ Resistance Earthing


14
3. Distribution Transformer Earthing
เหมาะกับ Generator ต่อกับ Step-up Transformer (DY)
GEN
N

a:1
Distribution Reflected Resistance = a2RN
Transformer RN

รูปที่ 10.5 การต่อลงดินแบบ Distribution Transformer Earthing


15
4. Earthing Transformer Earthing
- ต่อบัสบาร์ลงดินแทน ผ่าน Earthing Transformer
- กาจัดกระแส 3rd Harmonics ระหว่างจุด Neutral
GEN
N

RN
แบบที่ 1 การต่อลงดินแบบ Earthing Transformer
โดยใช้ Medium Resistance
16
4. Earthing Transformer Earthing (ต่อ)
GEN
N

RN
แบบที่ 2 การต่อลงดินแบบ Earthing Transformer
โดยใช้ Effective High Resistance
17
4. Earthing Transformer Earthing (ต่อ)

GEN
N

RN

แบบที่ 3 การต่อลงดินแบบ Earthing Transformer


โดยใช้ Medium Resistance
18
10.5 การป้ องกันเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า

- การป้ องกันขดลวดสเตเตอร์
( Stator Winding Protection )
- การป้ องกันการลัดวงจรลงดินของสเตเตอร์
( Stator Earth Fault Protection )
- การป้ องกันความผิดพร่องลงดินของโรเตอร์
( Rotor Earth Fault Protection )
- การป้ องกันการสูญเสียสนามกระตุ้น
( Loss of Excitation Protection )
19
10.5 การป้ องกันเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า ( ต่อ )
- การป้ องกันโหลดไม่สมดุล
( Unbalanced Loading Protection )

- การป้ องกันความผิดพร่องของเครื่องต้นกาลัง
( Prime Mover Failure Protection )

- การป้ องกันความถี่สงู หรือตา่ เกินไป


( Under/Over Frequency Protection )

20
10.5 การป้ องกันเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า ( ต่อ )

- การป้ องกันแรงดันไฟฟ้ าสูงหรือตา่ เกินไป


( Under/Over Voltage Protection )

- การป้ องกันโหลดเกิน ( Over Load Protection )

- การป้ องกันสารองของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
( Back Up Protection )

21
10.6 การป้ องกันขดลวดสเตเตอร์ ( Stator Winding Protection )

1) การป้ องกันแบบ Differential


( Differential Protection )
2) การป้ องกันการเกิดลัดวงจรระหว่างรอบของขดลวดสเตเตอร์
( Interturn Fault Protection of the Stator Winding )
3) การป้ องกันการลัดวงจรระหว่างเฟส
( Phase-Phase Fault Protection )

22
10.6 การป้ องกันขดลวดสเตเตอร์ ( Stator Winding Protection )
1) การป้ องกันแบบ Differential ( Differential Protection )
การป้ องกันแบบนี้ จะ มีความไวสูงมาก โดยทัวไปมี
่ 2 วิธี คือ
1. การป้ องกันแบบผลต่างตามยาวของเครือ่ งกาเนิด
ไฟฟ้ าที่ต่อเข้าระบบโดยวิธี Direct Connected
( Longitudinal Differential Protection of Direct
Connected Generators )
2. การป้ องกันชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า-หม้อแปลง
โดยใช้แบบผลต่างตามยาว
( Longitudinal Differential Protection of
Generator-Transformer )
23
1) การป้ องกันแบบ Differential ( Differential Protection ) (ต่อ)

1. การป้ องกันแบบผลต่างตามยาวของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
ที่ต่อเข้าระบบโดยวิธี Direct Connected ( Longitudinal
Differential Protection of Direct Connected Generators )

- การป้ องกันแบบกระแสต่างโดยใช้รีเลย์อิมพีแดนซ์สงู
- การป้ องกันโดยใช้รีเลย์แบบเปอร์เซ็นต์ผลต่าง

24
CTA1 I1 STATOR I2 CTA2
A
i1 i2
B
C
RN
High Impedance
87 87 87
Relays
(a) PHASE AND EARTH FAULT PROTECTION
STATOR CT
A
CT N
B
C
RN

54 High Impedance Relay


(b) RESTRICTED EARTH FAULT PROTECTION
รูปที่ 10.9 แสดงการป้ องกันขดลวดสเตเตอร์
แบบกระแสต่างโดยใช้รีเลย์อิมพีแดนซ์สงู
25
CT STATOR CT
A
B
Bias Coil
C
RN

Operating
87 87 87
Coil

รูปที่ 10.10 การป้ องกันขดลวดสเตเตอร์โดยใช้


Differential Relay
26
80

DIFFERENTIAL CURRENT (percentage)


70
60
50
TRIP
40
30
20
NON-TRIP
10
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
THROUGH CURRENT (per unit)

รูปที่ 10.11 กราฟการทางานของรีเลย์แบบเปอร์เซ็นต์ผลต่าง


27
1) การป้ องกันแบบ Differential ( Differential Protection ) (ต่อ)
2. การป้ องกันชุดเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ า-หม้อแปลง
โดยใช้แบบผลต่างตามยาว
( Longitudinal Differential Protection of Generator-Transformer )

- จัดขดลวดสเตเตอร์และหม้อแปลงให้
อยู่ในโซนป้ องกันเดียวกัน
- ใช้การป้ องกันแบบเปอร์เซ็นต์ผลต่าง

28
2) การป้ องกันการเกิดลัดวงจรระหว่างรอบของขดลวดสเตเตอร์
( Interturn Fault Protection of the Stator Winding )

STATOR A
WINDINGS B
CT C

BIAS COILS

RN

87 87 87 OPERATING COILS

รูปที่ 10.12 การป้ องกันแบบผลต่างตามขวาง


29
3) การป้ องกันการลัดวงจรระหว่างเฟส
( Phase-Phase Fault Protection )
A
B
STATOR
C
Voltage
Transformer
RN

R
C
B : Bias Coil
O : Operating Coil

Relay B O

รูปที่ 10.13 การป้ องกันขดลวดระหว่างเฟส โดยการวัดแรงดันลาดับศูนย์


30
10.7 การป้ องกันการลัดวงจรลงดินของสเตเตอร์
( Stator Earth Fault Protection )

การป้ องกันการลัดวงจรลงดินของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
เป็ นการป้ องกันหลัก ( Primary Protection ) มีหลายแบบ
- Time Delay O/C Protection (51)
- Time Delay O/C Earth Fault Protection (51N)
- Sensitive Earth Fault Protection (50N , 51N)
- Restricted Earth Fault Protection
- 100% Stator Earth Fault Protection
31
1. Time Delay O/C Protection

51

รูปที่ 10.14 วงจรแสดงการป้ องกันแบบ Time Delay O/C

32
2. Time Delay O/C Earth Fault

51
CT N

รูปที่ 10.15 วงจรการป้ องกันแบบ Time Delay O/C Earth Fault

33
3. Sensitive Earth Fault Protection

CT 51N

- ป้องกันขดลวดได้ 95% เท่ านัน้


R - ถ้ าเกิดฟอลต์ ท่ ีขดลวด < 5% ที่เหลือจากจุด
Neutral กระแสฟอลต์ จะน้ อยเกินไป

รูปที่ 10.16 วงจรการป้ องกันแบบ Sensitive Earth Fault Protection


34
ตัวอย่างที่ 10.1
เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า 3 Phase ขนาดพิกดั 75 MVA , 11.5 kV
มีค่า X1 = X2 = 20% และค่า X0 = 10%

a. ถ้าเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าต่อลงดินโดยตรง จงหา


1. กระแสลัดวงจร เมื่อเกิด 3 Phase Fault ที่ขวั ้ Terminal
ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
2. กระแสลัดวงจร เมื่อเกิด Single Line to Ground Fault
ที่ขวั ้ Terminal ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า

35
ตัวอย่างที่ 10.1(ต่อ)

b. ถ้าต้องการลดกระแสลัดวงจรลงดินให้เหลือ 200 A
ต้องใส่ความต้านทานขนาดเท่าใด
ระหว่างจุด Neutral และจุดต่อลงดิน
c. ถ้าต้องการป้ องกันขดลวดให้ได้ 95% โดยใช้
Sensitive GroundFault ป้ องกันการลัดวงจรลงดิน
และใช้ CT 200 / 5A จะต้องตัง้ ค่า Setting
ของ Relay เท่าใด
36
วิธีทา a. เครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ าต่อลงดินโดยตรง
1. เมื่อเกิด 3 Phase Fault
กระแสพิกดั In  kVA
3 kV
 75106
311.5103
 3,765 A

กระแสลัดวงจร IF(3)  100I


X1
n
 100203765
 18,825 A
37
2. เมื่อเกิด Single Line to Ground Fault
จากสูตร I0  I1  I2  X  XE  X pu
0 1 2
จะได้ IF(1)  3 I0
 X 3EX  X  In
0 1 2
1.0 3765
 0.130.2 0.2
 22,590 A
กระแส Single Line to Ground Fault > 3 Phase Fault

38
b. ค่าโดยประมาณของตัวต้านทานที่ใช้ในการจากัดกระแส
ลัดวงจร อาจหาได้ดงั นี้
V
จาก IF  phase
R

จะได้ R 
V
phase  11.5103
I 3200
F
 R  33 
39
c. กาหนด CT 200/5 A และป้ องกันให้ได้ 95% ของขดลวด
- การป้ องกันขดลวดให้ได้ 95% ต้องตัง้ ค่ารีเลย์ให้สามารถ
ทางานที่ค่ากระแสลัดวงจรที่น้อยที่สดุ ได้
- นัน่ คือค่า Setting ของรีเลย์ต้องน้ อยกว่าค่าของกระแส
ลัดวงจรที่น้อยสุดที่รีเลย์จะตรวจวัดได้
( IF นี้ เกิดที่ 5% ของขดลวดจากจุด Neutral )

40
V

N Stator Windings
0.05V 0.95V
of Generator
200/5 E/F
I

R 33 

วงจรการป้ องกันขดลวด 95%


41
I pick up < IF ( Secondary )

โดย IF (Secondary )  XV  5
R 200
 0.0511.5103200
5
333
 0.252 A

 I pick up < 0.252 A

ดังนัน้ ค่า Setting ของ Relay = 0.25 A

42
4. Stator E/F Protection For Generator with High
Resistance Earthing via Distribution Transformer
N

a:1
Distribution
Transformer RN 59

3rd Harmonics Current ≈ Fault Current


51N
รูปที่ 10.17 วงจการป้ องกันแบบ High Resistance
Earthing Via Distribution Transformer
43
5. Restricted Earth Fault Protection
Zone of Protection

CT
N

CT
64

ป้ องกันขดลวดได้ 90-95%
R

รูปที่ 10.18 วงจรการป้ องกันแบบ Restricted Earth Fault Protection


44
6. 100 % Stator Earth Fault Protection

การป้ องกันแบบ 100 % มี 2 วิธี คือ


- วิธี Low Frequency Injection
- วิธี 3rd Harmonic Voltage Measurement

45
วิธี Low Frequency Injection
N

Earth
59
Transformer

Injection
Transformer

51

รูปที่ 10.19 วงจรการป้ องกันแบบ Low Frequency Injection


46
วิธี 3rd Harmonic Voltage Measurement

R 59 27

รูปที่ 10.20 วงจรการป้ องกันแบบ 3rd Harmonic Voltage Measurement


47
27
OVERLAP
59 Fundamental Frequency Element

0 50 100
EARTH FAULT POSITION

รูปที่ 10.21 ตาแหน่ งการป้ องกันของรีเลย์ต่างๆ


ในวิธี 3rd Harmonic Voltage Measurement
48
10.8 ความผิดพร่องที่เกิดกับโรเตอร์
( Rotor Earth Fault Protection )

- ตามปกติวงจรสนามไม่มีการต่อลงดิน
- เมื่อเกิดความผิดพร่อง 1 จุด ไม่มีกระแสไหลลงดิน
- แต่เมื่อเกิดความผิดพร่องอีก 1 จุด ทาให้กระแส
จานวนมากไหลระหว่างขดลวดที่ต่อลงดิน
- เกิดความร้อน ความเสียหายทางกล

49
การป้ องกันความผิดพร่องที่เกิดกับโรเตอร์

1 วิธี Potentiometer Method


2 วิธีการจ่ายกระแส AC

3 วิธีการจ่ายกระแส D.C.

50
1. วิธี Potentiometer Method

Sensitive
Relay
Field
64 Exciter
Winding

รูปที่ 10.22 Earth Fault Protection ของวงจรสนาม โดยวิธี Potentiometer

51
2. วิธีการจ่ายกระแส AC

Field
Exciter
Winding

C
Auxiliary
A.C. Supply
Sensitive
64
Relay

รูปที่ 10.23 Earth Fault Protection ของวงจรสนาม


โดยวิธี A.C. Injection
52
3. วิธีการจ่ายกระแส D.C.

Field
Exciter
Winding

Auxiliary
A.C. Supply
Sensitive
64
Relay

รูปที่ 10.24 Earth Fault Protection ของวงจรสนาม


โดยวิธี D.C. Injection
53
10.9 การป้ องกันการสูญเสียสนามกระตุ้น
( Loss of Excitation Protection )

การสูญเสียสนามกระตุ้น เป็ นเหตุให้


- เครื่องกาเนิดไฟฟ้ าสูญเสียซิงโครนิสซึม วิ่งด้วย
ความเร็วสูงกว่าความเร็วซิงโครนัส
- ทางานเป็ น Induction Generator กระแสไหลในขด
ลวด Damper บนผิวของตัวโรเตอร์
การป้ องกัน : ใช้ Relay No 40

54
Field CB

Field
Discharge Exciter
Winding
Resistor Shunt
Sensitive
37 Moving
Coil Relay
T1

T2

T1 : Instantaneous pick-up
0.2-1 seconds delay on drop-off Trip or
T2 : 2-10 seconds delay on drop-off Alarm

รูปที่ 10.25 การป้ องกัน Loss of Excitation โดยใช้รีเลย์กระแสตา่


55
10.10 การป้ องกันโหลดไม่สมดุล
( Unbalanced Loading Protection )
- เมื่อเกิดภาวะโหลดไม่สมดุล กระแสไหล
• Positive Sequence
• Negative Sequence
- กระแส Negative Sequence มีทิศตรงข้ามกับ D.C. Field
ทาให้เกิด Eddy Current ความถี่เป็ น 2 เท่า
- ทาให้เกิดความร้อนขึน้
• Damper Winding
• Rotor
56
- ในการออกแบบเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าให้สามารถทน กระแส
Negative Sequence ปริมาณหนึ่ งได้ ( Maximum Continuous Rating
: MCR ) การทนความร้อน ( Thermal Capacity )

I22t  K
โดยที่
I2 คือ Negative Sequence Current ( A )
t คือ Time ( s )
K คือ ความสามารถในการทนความร้อนในตัวโรเตอร์

57
อัตราส่วนระหว่างความร้อนในช่วงเวลาสัน้ ๆ ( 2-3 s )
หรือ Short Time Rating กับในช่วงเวลาต่อเนื่ อง
(Continuous Time Rating)

M = I2/I2R

เมื่อ
I2R คือ Negative Sequence Current in Continuous Time
( Per Unit MCR Base )

58
ตารางที่ 10.1 แสดงค่าความสามารถในการทนความร้อน ( K )
ในตัวโรเตอร์
Type of Machine Rotor Cooling I2R I2t = K
Typical Salient Pole Conventional Air 0.4 60

Cylindrical Hydrogen
Rotor 0.5 psi 0.2 20

Cylindrical Hydrogen 0.15 15


Rotor 15 psi

Cylindrical Hydrogen 0.15 12


Rotor 30 psi

Cylindrical Hydrogen 0.1 3


Rotor 40-60 psi
59
Time

tmax
K

tmin

I2 >> Negative Sequence Current

รูปที่ 10.26 Negative Sequence Tripping Characteristic


60
10.11 การป้ องกันความผิดพร่องของตัวต้นกาลัง
( Prime Mover Failure Protection )

• หากตัวต้นกาลังไม่สามารถจ่ายกาลัง
เรียกว่า “Prime Mover Failure”
• เครื่องกาเนิดไฟฟ้ าจะทางานเป็ นมอเตอร์ไฟฟ้ า
- กาลังไฟฟ้ าไหลเข้า
- ทาให้เกิดความเสียหายแก่เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า

61
ปริมาณกาลังไฟฟ้ าที่ยอมให้ไหลเข้าเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ า
- Diesel Generator : 15-25 % ของค่าพิกดั
- Gas Turbine Generator : 10-15 % ของค่าพิกดั
- Stream Turbine Generator : 5 - 7.5 % ของค่าพิกดั

การป้ องกัน
รีเลย์ตรวจจับการไหลย้อนกลับของกาลังจริง
Power Reverse Relay ( No 32 )
62
10.12 การป้ องกันความถี่ตา่ และเกิน
( Under / Over Frequency )
Over Frequency
เกิดขึน้ เนื่ องจาก
- โหลดของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าหายไปทันทีทนั ใด
- การสูญเสียซิงโครนิสซึม
- ตัวควบคุมความเร็ว ( Governor ) ไม่ทางาน

63
10.12 การป้ องกันความถี่ตา่ และเกิน
( Under / Over Frequency )
การป้ องกัน Over Frequency
- ไม่ควรปลดเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าออก
จะทาความเสียหายกับระบบ
- ใช้ Centrifugal Overspeed Switch
ตัง้ ความเร็ว 110% ของพิกดั
- ใช้ Relay No 81

64
10.12 การป้ องกันความถี่ตา่ และเกิน
( Under / Over Frequency )
Under Frequency
เกิดขึน้ เนื่ องจาก
- โหลดเกิน ( Overload )
- Governor ไม่ทางาน
การป้ องกัน
- ใช้รีเลย์ความถี่ตา่
- ทาการตัดโหลดออก ( Load Shedding )
- ใช้ Relay No 81U
65
10.13 การป้ องกันแรงดันตกและแรงดันเกิน
( Under / Over Voltage Protection )

Over Voltage
- ภาวะแรงดันเกินจะเกิดขึน้ เมื่อปลดโหลดออก
Under Voltage
- แรงดันตา่ ไม่เป็ นปัญหากับเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ า

66
10.13 การป้ องกันแรงดันตกและแรงดันเกิน
( Under / Over Voltage Protection ) (ต่อ)

การควบคุมแรงดัน
- ใช้ Speed Controlled Governor
และ Voltage Regulator

การป้ องกัน
- รีเลย์ แรงดันเกินหรือตา่ ( 59 , 27 )
- เป็ น Back Up Protection
67
10.14 การป้ องกันโหลดเกิน
( Over Load Protection )

การจ่ายโหลดเกิน เป็ นสาเหตุให้


• กระแสผ่านโรเตอร์และสเตเตอร์เพิ่มขึน้
• ความร้อนสูงขึน้ ฉนวนของขดลวดเสียหาย
• โดยทัวไปเครื
่ ่องกาเนิดไฟฟ้ าสามารถรับ
ภาวะโหลดเกินในช่วงเวลาหนึ่ งได้

68
10.14 การป้ องกันโหลดเกิน
( Over Load Protection )
การป้ องกัน
ใช้รีเลย์กระแสเกิน ( 49 )
อุณหภูมิวดั โดย
- Thermocouple
- Resistance Temperature Detectors ( RTDs )

อุณหภูมิสงู  Alarm / Trip


69
10.15 การป้ องกันสารอง ( Back up Protection )

การป้ องกันสารองใช้รีเลย์กระแสเกินแบบ IDMT

1) การป้ องกันแบบ Voltage Controlled


2) การป้ องกันแบบ Voltage Restrained

70
10.15 การป้ องกันสารอง ( Back up Protection ) (ต่อ)

การป้ องกันแบบ Voltage Controlled


- ป้ องกันเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า กรณี ที่ต่อโดยตรงเข้ากับ
บัสบาร์ ไม่ผา่ น Step-Up Transformer
- รีเลย์จะใช้กราฟแบบ Long Inverse Time 51V
- มีสอง I / t Characteristic ซึ่งเลือกตาม
Gen Terminal Voltage measuring element

71
10.15 การป้ องกันสารอง ( Back up Protection ) (ต่อ)
การป้ องกันแบบ Voltage Controlled (ต่อ)
- มี สอง I / t Characteristic ซึ่งเลือกตาม
Gen Terminal Voltage measuring element
- During O /L , System Voltage = Near Normal
Setting above full load current
- Under close- up fault condition
Gen busbar voltage below the voltage threshold
The second protection will be selected
72
t DIS

OVERLOAD

FAULT

IS IS+DIS Current
t
0.9VN
VS Setting Range

0.55VN VS

IS IS+DIS IThreshold

รูปที่ 10.27 การป้ องกันแบบ Voltage Controlled


73
10.15 การป้ องกันสารอง ( Back up Protection ) (ต่อ)
การป้ องกันแบบ Voltage Restrained
- กรณี ที่ ต่อผ่าน Step-Up Transformer
- รีเลย์ทางานแบบ IDMT 51V
- Current Setting
continuously vary with Gen voltage variation
between upper and lower limits
74
t KDIS

OVERLOAD

FAULT

IS IS+KDIS Current
t
0.9VN
) - 0.55
K  (V/VN0.35
0.55VN

IS IS+KDIS IThreshold
รูปที่ 10.28 การป้ องกันแบบ Voltage Restrained
75
10.16 ตัวอย่างการป้ องกันเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ าแบบต่างๆ

1) การป้ องกันเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ าขนาดเล็ก


2) การป้ องกันเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ าขนาดกลาง
3) การป้ องกันเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ าขนาดใหญ่
4) การป้ องกันเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ าแบบ Unit Connection

76
1 ) การป้ องกันเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ าขนาดเล็ก

1 1 1

51V
ALTERNATE 51V 32 40
LOCATION

GEN 1 3
51G 87
PREFERRED
51V
LOCATION
GEN
51G

รูปที่ 10.29 รีเลย์ป้องกันสาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดเล็ก


77
1 ) การป้ องกันเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดเล็ก (ต่อ)

Relays ที่ใช้

1. Over Current Relay


( Voltage Restraint or Voltage Controlled Type ) : 51V

2. Ground Time Overcurrent Relay : 51G

78
1 ) การป้ องกันเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดเล็ก (ต่อ)

สาหรับระบบที่มีเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าต่อขนาดเข้ากับระบบไฟฟ้ า
ต้องมีการป้ องกันเพิ่มเติม ดังนี้

1. Reverse Power Relay For Antimotoring Protection : 32

2. Reverse VAR Relay For Loss of Field Protection : 40

3. Instantaneous Overcurrent Relays Providing Self-Balance


Differential Protection : 87
79
2) การป้ องกันเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ าขนาดกลาง

3 1 1 1
51V 40 32 46
OPTIONAL
3 Voltage Regulator
87 & Metering Circuits

GEN

51G

รูปที่ 10.30 รีเลย์ป้องกันสาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดกลาง


80
2) การป้ องกันเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดกลาง (ต่อ)
Relays ที่ใช้
1. Overcurrent Relay
( Voltage Restraint or Voltage-Controlled Type ) : 51V
2. Ground Time Overcurrent Relays : 51G
3. Differential Relays
( Fixed or Variable Percentage Type ) : 87
4. Reverse Power Relays : 32
5. Impedance Relay ( Offset Mho Type ) : 40
6. Negative Phase Sequence Overcurrent Relay : 46
81
3) การป้ องกัน 3

เครือ่ งกาเนิดไฟฟ้ า
87B

ขนาดใหญ่

3 1 1 1

3 1 51V 40 32 46
87 87G
40
1
Voltage Regulator &
49 Metering Circuits

GEN 64F

รูปที่ 10.31 รีเลย์ E


ป้ องกันสาหรับ 1
51G
เครื่องกาเนิด
ไฟฟ้ าขนาดใหญ่
82
3) การป้ องกันเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดใหญ่ (ต่อ)

Relays ที่ใช้
1. Overcurrent Relay
( Voltage Restraint or Voltage-Controlled Type ) : 51V
2. Ground Time Overcurrent Relay : 51G
3. Differential Relays
( High Speed Variable Percentage Type ) : 87
4. Ground Differential Relay ( Directional Product Type ) : 87G
5. Impedance Relay ( Offset Mho Type ) : 40

83
3) การป้ องกันเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดใหญ่ (ต่อ)
Relays ที่ใช้ (ต่อ )
6. Negative Phase Sequence Overcurrent Relay : 46

7. Temperature Relay : 49

8. Generator Field Ground Relay : 64F

9. Voltage Balance Relay : 60

10. Bus Differential Relay : 87B


84
Generator Multifunction Relay

85
86
Single Line Diagram

87
88

You might also like