Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

บทที่ 3

วิธีการดำเนินโครงงานสหกิจศึกษา

ในการดำเนินการศึกษากระบวนการการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความถูกต้อง
บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ทางผู้จัดทำจึงได้กำหนดวิธีการดำเนินโครงงานสหกิจศึกษาดังต่อไปนี้
3.1 ศึกษากระบวนการช็อตเซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง
3.2 วางแผนการปฏิบัติงานโครงงานสหกิจศึกษา
3.3 เตรียมการทดสอบ
3.4 ดำเนินการทดสอบและเก็บข้อมูล
3.5 วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินงาน
สามารถแสดงรายละเอียดวิธีการดำเนินโครงงานสหกิจศึกษา ดังรูปที่ 3.1

เริ่มต้นโครงงาน

ศึกษากระบวนการช็อตเซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง

วางแผนการปฏิบัติงานโครงงานสหกิจศึกษา

ไม่ผ ่าน
เสนอพนักงานที่ปรึกษา

ผ่าน

เตรียมการทดสอบ

ต่อ
26

ต่อ

ดาเนินการทดสอบและเก็บข้อมูล

วิเคราะห์แ ละสรุปผลการทดสอบ

สิ้นสุดโครงงาน

รูปที่ 3.1 แผนผังดำเนินโครงงาน

3.1 ศึกษากระบวนการช็อตเซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง
ก่ อ นจะมี ก ารดำเนิ น การช็ อ ตเซอร์ก ิ ต ทดสอบระบบป้อ งกั น หม้ อ แปลงแบบผลต่าง
จำเป็นต้องมีศึกษากระบวนการต่างๆก่อนการดำเนินงาน ซึ่งกระบวนการนั้นสามารถแบ่งออกเป็น
ขั้นตอนต่าง ๆ ได้ดังต่อไปนี้
3.1.1 ตรวจสอบข้ อ มู ล เนมเพลทหม้ อ แปลง โดยเจาะจงเฉพาะข้ อ มู ล ที ่ จ ำเป็ น ต่ อ
กระบวนการช็อตเซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง ดังนี้
3.1.1.1 พิกัดกำลังของหม้อแปลง คือ 50 MVA
3.1.1.2 พิกัดแรงดันด้านแรงสูง คือ 103.5 kV
3.1.1.3 พิกัดแรงดันด้านแรงต่ำ คือ 23.1 kV
3.1.1.4 ตำแหน่งแทบ คือ แทบที่ 17
3.1.1.5 ค่าเปอร์เซ็นต์อิมพิแดนซ์ คือ 14.33 เปอร์เซ็นต์
3.1.1.6 เวกเตอร์กรุ๊ปของหม้อแปลง คือ Dyn1
3.1.2 ตรวจสอบข้อมูลอัตราส่วนของหม้อแปลงกระแส
3.1.2.1 อัตราส่วนหม้อแปลงกระแสด้านแรงสูง คือ 300 : 1 A
3.1.2.2 อัตราส่วนหม้อแปลงกระแสด้านแรงต่ำ คือ 1500 : 1 A
3.1.3 แรงดันที่ใช้ในการช็อตเซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง
3.1.3.1 แรงดันระหว่างเฟส A กับเฟส B ต้องเท่ากับ 400 V หรือใกล้เคียง
3.1.3.2 แรงดันระหว่างเฟส B กับเฟส C ต้องเท่ากับ 400 V หรือใกล้เคียง
27

3.1.3.3 แรงดันระหว่างเฟส C กับเฟส A ต้องเท่ากับ 400 V หรือใกล้เคียง


3.1.3.4 แรงดันระหว่างเฟส A กับ N ต้องเท่ากับ 230 V หรือใกล้เคียง
3.1.3.5 แรงดันระหว่างเฟส B กับ N ต้องเท่ากับ 230 V หรือใกล้เคียง
3.1.3.5 แรงดันระหว่างเฟส C กับ N ต้องเท่ากับ 230 หรือใกล้เคียง
3.1.4 คำนวณกระแสช็อตเซอร์กิตของหม้อแปลง
3.1.4.1 คำนวณกระแสช็อตเซอร์กิต 3 เฟสลงกราวด์จากสูตรในบททีผ่ ่านมา
3.1.4.2 คำนวณกระแสช็อตเซอร์กิต 1 เฟสลงกราวด์จากสูตรในบททีผ่ ่านมา
3.1.5 การช็อตเซอร์กิตต้องดำเนินการที่ฝั่งทุติยภูมิของหม้อแปลงเท่านั้น

3.2 วางแผนการปฏิบัติงานโครงงานสหกิจศึกษา
ตารางที่ 3.1 การวางแผนการปฏิบัติงานโครงงานสหกิจศึกษา
รายละเอียด เดือนที่ 1 เดือนที่ 2 เดือนที่ 3 เดือนที่ 4
1. ศึกษากระบวนการทดสอบ
2. วิเคราะห์ข้อมูล
3. เสนอพนักงานที่ปรึกษา
4. เตรียมการทดสอบ
5. ดำเนินการทดสอบและเก็บข้อมูล
6. สรุปผลการดำเนินงาน
7. จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน
8. นำเสนอผลการดำเนินงาน
หมายเหตุ : การปฏิบัติงาน (Actual)

3.3 การเตรียมการทดสอบ
3.3.1 ตรวจสอบว่าหม้อแปลงกระแสมีการเชื่อมต่อถูกต้องแล้ว หรือ ไม่
3.3.2 ตรวจสอบว่าระบบรีเลย์ป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่างยังเปิดใช้งานอยู่ หรือ ไม่
3.3.2 สิ่งสำคัญที่ต้องทำความเข้าใจก่อนทำการทดสอบ
3.3.2.1 ทำความเข้าใจกับเอกสาร ขัน้ ตอนการทดสอบ แต่ละขั้นตอน
3.3.2.2 ทำความเข้าใจในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ
3.3.2.3 ทำความเข้าใจกับค่าที่จะนำมาทำการทดสอบให้เหมาะสม
3.3.3 การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือในการทดสอบ
3.3.3.1 แบบฟอร์มการทดสอบ
28

3.3.3.2 เครื่องมือวัดกระแส
3.3.3.3 เครื่องมือวัดแรงดัน
3.3.3.4 สายไฟที่ใช้ในการช็อตเซอร์กิตขนาดพื้นที่หน้าตัด 25 ตารางมิลลิเมตร

3.4 ดำเนินการทดสอบและเก็บข้อมูล
การดำเนิ น การช็ อ ตเซอร์ ก ิ ต ทดสอบระบบป้ อ งกั น หม้ อ แปลงแบบผลต่ า ง สามารถ
แสดงเป็นบล็อกไดอะแกรมได้ ดังต่อไปนี้

ช็อตเซอร์กิต

ในเขตป้องกัน นอกเขตป้องกัน

ช็อตเซอร์กิต 3 เฟส ช็อตเซอร์กิต 3 เฟส

ช็อตเซอร์กิต 1 เฟส ช็อตเซอร์กิต 1 เฟส

ABC-G A-G A-G ABC-G

B-G B-G

C-G C-G

รูปที่ 3.2 บล็อกไดอะแกรมขั้นตอนการช็อตเซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง

จากรูปที่ 3.1 จะเห็นได้ว่าขั้นตอนการช็อตเซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบ


ผลต่าง แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การช็อตเซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่างในเขตที่
ทำการป้องกัน และการช็อตเซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่างนอกเขตที่ทำการ
ป้องกัน
29

สิ่งที่แบ่งเขตของระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่างว่าอยู่ในเขตป้องกัน หรือนอกเขต
ป้องกันนั้น ถูกกำหนดด้วยหม้อแปลงกระแส ซึ่งสามารถแสดงเป็นไดอะแกรม ดังนี้

115kV TRANSFER BUS CT CORE 5


03YS-03 300 : 1 A
M PROTECTION TO
87T RELAY

M สีเขียว คอ นที่
03YS-02 ที่ทาการป้องกัน

03YB-01
M
03YS-01
115kV MAIN BUS TP.1, 3 PHASE
103.5/23.1kV
87T 50MVA
Dyn1

CT CORE 4
1500 : 1 A
1BVB-01
PROTECTION TO
87T RELAY
22 kV BUS

1VB-01 2VB-01 3VB-01 4VB-01 5VB-01

รูปที่ 3.3 ไดอะแกรมบ่งบอกถึงพื้นที่ หรือเขตการป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง ในสถานีไฟฟ้าย่อย

จากรูปที่ 3.3 จะสังเกตได้ว่าเขตการป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง คือ พื้นที่ที่เป็นสีเขียว


นอกเหนือจากพื้นที่สีเขียวแล้วนั้น จึงจัดเป็นพื้นที่นอกเขตการป้องกัน กล่าว คือ หากมีความผิดพร่อง
เกิดขึ้นนอกเขตการป้อง ระบบป้องกันจะไม่ทำงาน ซึ่งถือว่าระบบมีการทำงานที่ถูกต้องแล้ว
3.4.1 การช็อตเซอร์กิตในเขตป้อง
3.4.1.1 การช็อตเซอร์กิตในเขตป้องกันแบบ 3 เฟสลงกราวด์ (ABC-G) การช็อต
เซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่างในเขตป้องกันแบบ 3 เฟสลงกราวด์ (ABC-G)
สามารถแสดงเป็นไดอะแกรมได้ ดังนี้

103.5 kV
103.5/23.1kV, 50MVA 23.1 kV
400V 50Hz CT 300:1 A TAP 17 CT 1500:1 A
Dyn1, %Z = 14.33%
Va P2 P1 A a P1 P2

V A
Vb V P1 B P2
P2 b P1

V A
Vc P2 P1 C c P1 P2

A A

A In Zone
Fault ABC-G

P2
1500:1 A
P1

87T

รูปที่ 3.4 ไดอะแกรมการช็อตเซอร์กิตในเขตป้องกันแบบ 3 เฟสลงกราวด์ (ABC-G)

1) วัตถุประสงค์
ก) เพื่อจำลองการเกิดความผิดพร่องในเขตป้องกัน
ข) เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องของระบบรีเลย์ป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง
ค) เพื่อนำผลที่ได้จากการทดสอบมาปรับปรุงให้ระบบมีความเสถียร
2) ขั้นตอนการทดสอบ
ก) นำสายไฟที่ใช้ในการช็อตเซอร์กิต มาดำเนินการการช็อตเซอร์กิต
ในเขตป้องกันแบบ 3 เฟสลงกราวด์ (ABC-G) ดังรูปที่ 3.4 โดยยังไม่ทำการจ่ายไฟมายังหม้อแปลง
ข) ตรวจสอบแหล่งจ่ายไฟด้วยการวัดแรงดัน จากนั้นปิดแหล่งจ่าย
ค) ทำการต่อสายแหล่งจ่ายเข้าที่สายป้อนที่เชื่อมต่อมายังหม้อแปลงด้าน
31

ปฐมภูมิ หรือ ด้านแรงสูง ดังรูปที่ 3.4


ง) ตรวจสอบความถูกต้อง คำนึงถึงความปลอดภัยแล้วจึงทำการจ่ายไฟ
จ) วัดกระแสตามตำแหน่งต่าง ๆ โดยสังเกตจากสัญลักษณ์ A
ฉ) บันทึกค่ากระแสที่ได้จากการวัด และค่าที่ได้จากรีเลย์
ช) ปิดแหล่งจ่ายไฟที่ใช้ในการทดสอบนี้

3.4.1.2 การช็อตเซอร์กิตในเขตป้องกันแบบเฟส A ลงกราวด์ (A-G) การช็อตเซอร์


กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่างในเขตป้องกันแบบเฟส A ลงกราวด์ (A-G) สามารถ
แสดงเป็นไดอะแกรมได้ ดังนี้

103.5 kV
103.5/23.1kV, 50MVA 23.1 kV
400V 50Hz CT 300:1 A TAP 17 CT 1500:1 A
Dyn1, %Z = 14.33% In Zone
Va P2 P1 A a Fault A-G P1 P2

A A
V
Vb V P1 B P2
P2 b P1

V A A
Vc P2 P1 C c P1 P2

A A

P2
1500:1 A
P1

87T

รูปที่ 3.5 ไดอะแกรมการช็อตเซอร์กิตในเขตป้องกันแบบเฟส A ลงกราวด์ (A-G)

1) วัตถุประสงค์
ก) เพื่อจำลองการเกิดความผิดพร่องในเขตป้องกัน
ข) เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องของระบบรีเลย์ป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง
ค) เพื่อนำผลที่ได้จากการทดสอบมาปรับปรุงให้ระบบมีความเสถียร
32

2) ขั้นตอนการทดสอบ
ก) นำสายไฟที่ใช้ในการช็อตเซอร์กิต มาดำเนินการการช็อตเซอร์กิต
ในเขตป้องกันแบบ 1 เฟสลงกราวด์ (A-G) ดังรูปที่ 3.5 โดยยังไม่ทำการจ่ายไฟมายังหม้อแปลง
ข) ตรวจสอบแหล่งจ่ายไฟด้วยการวัดแรงดัน จากนั้นปิดแหล่งจ่าย
ค) ทำการต่อสายแหล่งจ่ายเข้าที่สายป้อนที่เชื่อมต่อมายังหม้อแปลงด้าน
ปฐมภูมิ หรือ ด้านแรงสูง ดังรูปที่ 3.5
ง) ตรวจสอบความถูกต้อง คำนึงถึงความปลอดภัยแล้วจึงทำการจ่ายไฟ
จ) วัดกระแสตามตำแหน่งต่าง ๆ โดยสังเกตจากสัญลักษณ์ A
ฉ) บันทึกค่ากระแสที่ได้จากการวัด และค่าที่ได้จากรีเลย์
ช) ปิดแหล่งจ่ายไฟที่ใช้ในการทดสอบนี้

3.4.1.3 การช็อตเซอร์กิตในเขตป้องกันแบบเฟส B ลงกราวด์ (B-G) การช็อต


เซอร์กิตทดสอบระบบป้องกัน หม้อแปลงแบบผลต่างในเขตป้องกันแบบเฟส B ลงกราวด์ (B-G)
สามารถแสดงเป็นไดอะแกรมได้ ดังนี้

103.5 kV 23.1 kV
103.5/23.1kV, 50MVA
400V 50Hz CT 300:1 A TAP 17 A CT 1500:1 A
Dyn1, %Z = 14.33%
Va P2 P1 A a P1 P2

V A In Zone
V
Vb P2 P1 B b Fault B-G P1 P2

A A
V
Vc P2 P1 C c P1 P2

A A

P2
1500:1 A
P1

87T

รูปที่ 3.6 ไดอะแกรมการช็อตเซอร์กิตในเขตป้องกันแบบเฟส B ลงกราวด์ (B-G)


33

1) วัตถุประสงค์
ก) เพื่อจำลองการเกิดความผิดพร่องในเขตป้องกัน
ข) เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องของระบบรีเลย์ป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง
ค) เพื่อนำผลที่ได้จากการทดสอบมาปรับปรุงให้ระบบมีความเสถียร
2) ขั้นตอนการทดสอบ
ก) นำสายไฟที่ใช้ในการช็อตเซอร์กิต มาดำเนินการการช็อตเซอร์กิต
ในเขตป้องกันแบบ 1 เฟสลงกราวด์ (B-G) ดังรูปที่ 3.6 โดยยังไม่ทำการจ่ายไฟมายังหม้อแปลง
ข) ตรวจสอบแหล่งจ่ายไฟด้วยการวัดแรงดัน จากนั้นปิดแหล่งจ่าย
ค) ทำการต่อสายแหล่งจ่ายเข้าที่สายป้อนที่เชื่อมต่อมายังหม้อแปลงด้าน
ปฐมภูมิ หรือ ด้านแรงสูง ดังรูปที่ 3.6
ง) ตรวจสอบความถูกต้อง คำนึงถึงความปลอดภัยแล้วจึงทำการจ่ายไฟ
จ) วัดกระแสตามตำแหน่งต่าง ๆ โดยสังเกตจากสัญลักษณ์ A
ฉ) บันทึกค่ากระแสที่ได้จากการวัด และค่าที่ได้จากรีเลย์
ช) ปิดแหล่งจ่ายไฟที่ใช้ในการทดสอบนี้
34

3.4.1.4 การช็อตเซอร์กิตในเขตป้องกันแบบเฟส C ลงกราวด์ (C-G) การช็อตเซอร์


กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่างในเขตป้องกันแบบเฟส C ลงกราวด์ (C-G) สามารถ
แสดงเป็นไดอะแกรมได้ ดังนี้

103.5 kV
103.5/23.1kV, 50MVA 23.1 kV
400V 50Hz CT 300:1 A TAP 17 CT 1500:1 A
Dyn1, %Z = 14.33%
Va P2 P1 A a P1 P2

V A A
Vb V P1 B P2
P2 b P1

V A A
Vc P2 P1 C c P1 P2

A A
In Zone
Fault C-G
A

P2
1500:1 A
P1

87T

รูปที่ 3.7 ไดอะแกรมการช็อตเซอร์กิตในเขตป้องกันแบบเฟส C ลงกราวด์ (C-G)

1) วัตถุประสงค์
ก) เพื่อจำลองการเกิดความผิดพร่องในเขตป้องกัน
ข) เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องของระบบรีเลย์ป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง
ค) เพื่อนำผลที่ได้จากการทดสอบมาปรับปรุงให้ระบบมีความเสถียร
2) ขั้นตอนการทดสอบ
ก) นำสายไฟที่ใช้ในการช็อตเซอร์กิต มาดำเนินการการช็อตเซอร์กิต
ในเขตป้องกันแบบ 1 เฟสลงกราวด์ (C-G) ดังรูปที่ 3.7 โดยยังไม่ทำการจ่ายไฟมายังหม้อแปลง
ข) ตรวจสอบแหล่งจ่ายไฟด้วยการวัดแรงดัน จากนั้นปิดแหล่งจ่าย
ค) ทำการต่อสายแหล่งจ่ายเข้าที่สายป้อนที่เชื่อมต่อมายังหม้อแปลงด้าน
ปฐมภูมิ หรือ ด้านแรงสูง ดังรูปที่ 3.7
35

ง) ตรวจสอบความถูกต้อง คำนึงถึงความปลอดภัยแล้วจึงทำการจ่ายไฟ
จ) วัดกระแสตามตำแหน่งต่าง ๆ โดยสังเกตจากสัญลักษณ์ A
ฉ) บันทึกค่ากระแสที่ได้จากการวัด และค่าที่ได้จากรีเลย์
ช) ปิดแหล่งจ่ายไฟที่ใช้ในการทดสอบนี้

3.4.2 การการช็อตเซอร์กิตนอกเขตป้อง
3.4.2.1 การช็อตเซอร์กิตนอกเขตป้องกันแบบ 3 เฟสลงกราวด์ (ABC-G) การช็อต
เซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่างนอกเขตป้องกันแบบ 3 เฟสลงกราวด์ (ABC-G)
สามารถแสดงเป็นไดอะแกรมได้ ดังนี้

103.5 kV
103.5/23.1kV, 50MVA 23.1 kV
400V 50Hz CT 300:1 A TAP 17 CT 1500:1 A
Dyn1, %Z = 14.33%
Va P2 P1 A a P1 P2

V A
Vb V P1 B P2
P2 b P1

V A
Vc P2 P1 C c P1 P2

A A

A Out Zone
Fault ABC-G

P2
1500:1 A
P1

87T

รูปที่ 3.8 ไดอะแกรมการช็อตเซอร์กิตนอกเขตป้องกันแบบ 3 เฟสลงกราวด์ (ABC-G)

1) วัตถุประสงค์
ก) เพื่อจำลองการเกิดความผิดพร่องนอกเขตป้องกัน
ข) เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องของระบบรีเลย์ป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง
ค) เพื่อนำผลที่ได้จากการทดสอบมาปรับปรุงให้ระบบมีความเสถียร
36

2) ขั้นตอนการทดสอบ
ก) นำสายไฟที่ใช้ในการช็อตเซอร์กิต มาดำเนินการการช็อตเซอร์กิต
ในเขตป้องกันแบบ 3 เฟสลงกราวด์ (ABC-G) ดังรูปที่ 3.8 โดยยังไม่ทำการจ่ายไฟมายังหม้อแปลง
ข) ตรวจสอบแหล่งจ่ายไฟด้วยการวัดแรงดัน จากนั้นปิดแหล่งจ่าย
ค) ทำการต่อสายแหล่งจ่ายเข้าที่สายป้อนที่เชื่อมต่อมายังหม้อแปลงด้าน
ปฐมภูมิ หรือ ด้านแรงสูง ดังรูปที่ 3.8
ง) ตรวจสอบความถูกต้อง คำนึงถึงความปลอดภัยแล้วจึงทำการจ่ายไฟ
จ) วัดกระแสตามตำแหน่งต่าง ๆ โดยสังเกตจากสัญลักษณ์ A
ฉ) บันทึกค่ากระแสที่ได้จากการวัด และค่าที่ได้จากรีเลย์
ช) ปิดแหล่งจ่ายไฟที่ใช้ในการทดสอบนี้

3.4.2.2 การช็อตเซอร์กิต นอกเขตป้องกันแบบเฟส A ลงกราวด์ (A-G) การช็อต


เซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่างนอกเขตป้องกันแบบเฟส A ลงกราวด์ (A-G)
สามารถแสดงเป็นไดอะแกรมได้ ดังนี้

103.5 kV
103.5/23.1kV, 50MVA 23.1 kV
400V 50Hz CT 300:1 A TAP 17 CT 1500:1 A
Dyn1, %Z = 14.33% Out Zone
Va P2 P1 A a P1 P2 Fault A-G

A A
V
Vb V P1 B P2
P2 b P1

V A A
Vc P2 P1 C c P1 P2

A A

P2
1500:1 A
P1

87T

รูปที่ 3.9 ไดอะแกรมการช็อตเซอร์กิตนอกเขตป้องกันแบบเฟส A ลงกราวด์ (A-G)


37

1) วัตถุประสงค์
ก) เพื่อจำลองการเกิดความผิดพร่องนอกเขตป้องกัน
ข) เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องของระบบรีเลย์ป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง
ค) เพื่อนำผลที่ได้จากการทดสอบมาปรับปรุงให้ระบบมีความเสถียร
2) ขั้นตอนการทดสอบ
ก) นำสายไฟที่ใช้ในการช็อตเซอร์กิต มาดำเนินการการช็อตเซอร์กิต
ในเขตป้องกันแบบ 1 เฟสลงกราวด์ (A-G) ดังรูปที่ 3.9 โดยยังไม่ทำการจ่ายไฟมายังหม้อแปลง
ข) ตรวจสอบแหล่งจ่ายไฟด้วยการวัดแรงดัน จากนั้นปิดแหล่งจ่าย
ค) ทำการต่อสายแหล่งจ่ายเข้าที่สายป้อนที่เชื่อมต่อมายังหม้อแปลงด้าน
ปฐมภูมิ หรือ ด้านแรงสูง ดังรูปที่ 3.9
ง) ตรวจสอบความถูกต้อง คำนึงถึงความปลอดภัยแล้วจึงทำการจ่ายไฟ
จ) วัดกระแสตามตำแหน่งต่าง ๆ โดยสังเกตจากสัญลักษณ์ A
ฉ) บันทึกค่ากระแสที่ได้จากการวัด และค่าที่ได้จากรีเลย์
ช) ปิดแหล่งจ่ายไฟที่ใช้ในการทดสอบนี้
38

3.4.2.3 การช็อตเซอร์ กิตนอกเขตป้องกันแบบเฟส B ลงกราวด์ (B-G) การช็อต


เซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่างนอกเขตป้องกันแบบเฟส B ลงกราวด์ (B-G)
สามารถแสดงเป็นไดอะแกรมได้ ดังนี้

103.5 kV
103.5/23.1kV, 50MVA
400V 50Hz TAP 17 23.1 kV CT 1500:1 A
CT 300:1 A Dyn1, %Z = 14.33%
Va P2 P1 A a P1 P2

V A A
Vb V P1 B P2
P2 b P1
A
V A Out Zone
Vc P2 P1 C c P1 P2 Fault B-G

A A

P2
1500:1 A
P1

87T

รูปที่ 3.10 ไดอะแกรมการช็อตเซอร์กิตนอกเขตป้องกันแบบเฟส B ลงกราวด์ (B-G)

1) วัตถุประสงค์
ก) เพื่อจำลองการเกิดความผิดพร่องนอกเขตป้องกัน
ข) เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องของระบบรีเลย์ป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง
ค) เพื่อนำผลที่ได้จากการทดสอบมาปรับปรุงให้ระบบมีความเสถียร
2) ขั้นตอนการทดสอบ
ก) นำสายไฟที่ใช้ในการช็อตเซอร์กิต มาดำเนินการการช็อตเซอร์กิต
ในเขตป้องกันแบบ 1 เฟสลงกราวด์ (B-G) ดังรูปที่ 3.10 โดยยังไม่ทำการจ่ายไฟมายังหม้อแปลง
ข) ตรวจสอบแหล่งจ่ายไฟด้วยการวัดแรงดัน จากนั้นปิดแหล่งจ่าย
ค) ทำการต่อสายแหล่งจ่ายเข้าที่สายป้อนที่เชื่อมต่อมายังหม้อแปลงด้าน
ปฐมภูมิ หรือ ด้านแรงสูง ดังรูปที่ 3.10
39

ง) ตรวจสอบความถูกต้อง คำนึงถึงความปลอดภัยแล้วจึงทำการจ่ายไฟ
จ) วัดกระแสตามตำแหน่งต่าง ๆ โดยสังเกตจากสัญลักษณ์ A
ฉ) บันทึกค่ากระแสที่ได้จากการวัด และค่าที่ได้จากรีเลย์
ช) ปิดแหล่งจ่ายไฟที่ใช้ในการทดสอบนี้

3.4.2.4 การช็อตเซอร์กิตนอกเขตป้องกันแบบเฟส C ลงกราวด์ (C-G) การช็อต


เซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่างนอกเขตป้องกันแบบเฟส C ลงกราวด์ (C-G)
สามารถแสดงเป็นไดอะแกรมได้ ดังนี้

103.5 kV
103.5/23.1kV, 50MVA 23.1 kV
400V 50Hz CT 300:1 A TAP 17 CT 1500:1 A
Dyn1, %Z = 14.33%
Va P2 P1 A a P1 P2

V A A
Vb V P1 B P2
P2 b P1

V A A
Vc P2 P1 C c P1 P2

A A

A Out Zone
Fault C-G

P2
1500:1 A
P1

87T

รูปที่ 3.11 ไดอะแกรมการช็อตเซอร์กิตนอกเขตป้องกันแบบเฟส C ลงกราวด์ (C-G)

1) วัตถุประสงค์
ก) เพื่อจำลองการเกิดความผิดพร่องนอกเขตป้องกัน
ข) เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องของระบบรีเลย์ป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่าง
ค) เพื่อนำผลที่ได้จากการทดสอบมาปรับปรุงให้ระบบมีความเสถียร
40

2) ขั้นตอนการทดสอบ
ก) นำสายไฟที่ใช้ในการช็อตเซอร์กิต มาดำเนินการการช็อตเซอร์กิต
ในเขตป้องกันแบบ 1 เฟสลงกราวด์ (C-G) ดังรูปที่ 3.11 โดยยังไม่ทำการจ่ายไฟมายังหม้อแปลง
ข) ตรวจสอบแหล่งจ่ายไฟด้วยการวัดแรงดัน จากนั้นปิดแหล่งจ่าย
ค) ทำการต่อสายแหล่งจ่ายเข้าที่สายป้อนที่เชื่อมต่อมายังหม้อแปลงด้าน
ปฐมภูมิ หรือ ด้านแรงสูง ดังรูปที่ 3.11
ง) ตรวจสอบความถูกต้อง คำนึงถึงความปลอดภัยแล้วจึงทำการจ่ายไฟ
จ) วัดกระแสตามตำแหน่งต่าง ๆ โดยสังเกตจากสัญลักษณ์ A
ฉ) บันทึกค่ากระแสที่ได้จากการวัด และค่าที่ได้จากรีเลย์
ช) ปิดแหล่งจ่ายไฟที่ใช้ในการทดสอบนี้

3.5 วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินงาน
จากการทดสอบการช็อตเซอร์กิตทดสอบระบบป้องกันหม้อแปลงแบบผลต่างในเขต
ป้องกันและนอกเขตป้องกัน เป็นการจำลองความผิดพร่องของระบบไฟฟ้า ที่ไม่สร้างความเสียหายแก่
อุปกรณ์ โดยจะนำค่าที่ได้จากการทดสอบมาพิจารณา เพื่อพิสูจน์ว่ารีเลย์แบบผลต่างมีการทำงานตาม
เงื่อนไข หรือ หน้าทีข่ องตนเองซึ่งจะได้กล่าว ดังต่อไปนี้
3.5.1 การเกิดความผิดพร่องในเขตป้องกัน โดยปกติแล้วเมื่อรีเลย์ตรวจสอบรับรู้ได้ว่าเกิด
ความผิดพร่องของระบบไฟฟ้าในเขตที่ทำการป้องกัน กล่าวคือ มีผลต่างของกระแสค่าหนึ่งที่ได้จาก
หม้อแปลงกระแสทั้งสองด้านเปรียบเทียบกัน รีเลย์ป้องกันจะต้องทำการส่งสัญญาณ หรือ สั่งปลดอุป
กรณไฟฟาที่เกิดปญหาออกจากระบบไฟฟาโดยเร็วเพื่อไม่ใหอุปกรณเกิดความเสียหาย จึงถือว่าระบบ
ป้องกันทำงานถูกต้อง แต่หากไม่เป็นตามดังที่กล่าวมาแสดงว่าระบบป้องกันทำงานผิดพลาด
3.5.2 การเกิดความผิดพร่องนอกเขตป้องกัน โดยปกติแล้วเมื่อรีเลย์ตรวจสอบรับรู้ได้ว่า
เกิดความผิดพร่องของระบบไฟฟ้า นอกเขตที่ทำการป้องกัน กล่าวคือ ไม่มีผลต่างของกระแสที่ได้จาก
หม้อแปลงกระแสทั้งสองด้านเปรียบเทียบกัน รีเลย์ป้องกันจะต้องไม่ทำการส่งสัญญาณ หรือ สั่งปลด
อุปกรณไฟฟาใด ๆ เป็นอันขาด เพราะความผิดพร่องที่เกิด ขึ้นนั้นไม่ได้อยู่ในเงื่อนไขการป้องกันที่
รับผิดชอบ จึงถือว่าระบบป้องกันทำงานถูกต้อง แต่หากไม่เป็นตามดังที่กล่าวมาแสดงว่าระบบป้องกัน
ทำงานผิดพลาด

You might also like