Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 204

รายงานผลงานโครงการเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับ

เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )

โครงการกอสรางอาคารโรงเรียนโยธินบูรณะ แหงใหม
( YOTHINBURANA SCHOOL PROJECT )

เจาของโครงการ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา
นาย ชาย แสงไสว สามัญวิศวกรโยธา เลขทะเบียน สย.8611
2

1. รายละเอียดโครงการ

ชื่อโครงการ : โครงการกอสรางอาคารโรงเรียนโยธินบูรณะ แหงใหม


( YOTHINBURANA SCHOOL PROJECT )

เจาของโครงการ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ผูออกแบบ : ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และศูนยเชี่ยวชาญ


เฉพาะทางดานเทคโนโลยีอาคารและสิ่งแวดลอม

ที่ปรึกษาและควบคุมงาน : 1. บริษัท อินเด็กซ อินเตอรเนชั่นแนล กรุป จํากัด


2. บริษัท ลานนา เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนทส จํากัด
3. บริษัท ควอรเท็ค คอรปอเรชั่น จํากัด
4. ผูควบคุมงานของ สนง. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คณะกรรมการตรวจการจาง : ผอ.และรอง ผอ.โรงเรียน โยธินบูรณะ และคณะครู


ผอ.กลุมงานออกแบบ และกอสราง สํานักงานอํานวยการ สพฐ.
คณะผูออกแบบศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
และ ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเทคโนโลยีอาคาร สิ่งแวดลอม

ผูรับจางกอสราง : บริษัท เอ็นแอล ดีเวลลอปเมนต จํากัด (มหาชน)

เลขที่สัญญา : 29/2554 ลงวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2554


คาปรับ 0.05% : วันละ 482,750.00 บาท

ระยะเวลาปฏิบัติงาน : เริ่มวันที่ 15 สิงหาคม 2554 แลวเสร็จวันที่ 14 กรกฎาคม 2556


มูลคางานตามสัญญาเดิม : 965,500,000 บาท ระยะเวลา : 700 วัน
มูลคางานแกไขสัญญาเพิ่มเติม : 1,070,500,000 บาท ระยะเวลารวม 1,284 วัน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


3

2. ความเปนมาของโครงการ

ดวยสํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎรมีความประสงคจะสราง อาคารรัฐสภาแหง
ใหม และมีมติเลือกพื้นที่ราชพัสดุในบริเวณ ถนนทหาร (เกียกกาย) เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
แปลงริมแมน้ําเจาพระยา เนื้อที่ 119 ไร เปนที่กอสรางอาคารารัฐสภาแหงใหม ซึ่งโรงเรียนโยธิน
บูรณะ สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งอยูในพื้นที่ดังกลาว สงผลทําให
จะตองมีการยายโรงเรียน และกอสรางโรงเรียนแหงใหม
นอกจากนี้โครงการโรงเรียนโยธินบูรณะแหงใหม มีเงื่อนไขของระยะเวลาการกอสราง
ที่ตองแลวเสร็จอยางรวดเร็ว เพือ่ ที่จะไดสงมอบพื้นที่โรงเรียนเดิมใหใชเปนสถานที่กอสราง
รัฐสภาแหงใหมตามบันทึกขอตกลง (MOU) จึงจําเปนตองใชบุคลากรผูเชี่ยวชาญในดานควบคุม
การกอสราง ซึ่งมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการกอสรางอาคารประหยัดพลังงาน และชํานาญ
การอาคารทีม่ ีลักษณะพิเศษ จึงจะไดงานกอสรางสําเร็จตามวัตถุประสงคของโครงการ

รูปที่ 1 แสดงรูปดานของอาคาร ตามแบบคูสัญญากอสราง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


4

3. แผนที่โครงการ
บนที่ดินราชพัสดุ แปลงหมายเลขทะเบียนที่ กท. 4591 โฉนดเลขที่ 3239 ถนนประชาราษฎ
สาย 1 แชวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร (ขางวัดสรอยทอง) เนื้อที่ 16 ไร

4. วัตถุประสงคของโครงการ

โครงการกอสรางอาคารโรงเรียนโยธินบูรณะแหงใหมไดรับการออกแบบ เพื่อใหเปน
อาคารโรงเรียนที่มีความสงางาม แสดงถึงเอกลักษณความเปนสถาบัน และตองเปนอาคารที่มี
แนวคิดเรื่องการอนุรักษพลังงาน เพื่อตอบสนองนโยบายการประหยัดพลังงานของรัฐบาลและ
ลดภาระคาใชจายของโรงเรียนในอนาคต อีกทั้งยังเปนแหลงใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับการ
ประหยัดพลังงานใหแกนักเรียน และบุคลากรของโรงเรียน ซึ่งสามารถศึกษาไดจากอาคารจริง
และนําไปประยุกตใชไดอยางเหมาะสม ซึ่งมีวัตถุประสงคของโครงการดังนี้
3.1 เพื่อใชเปน อาคารเรียนของ นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา ปที่ 1 - 6
3.2 เพื่อใชเปน ศูยนการเรียนรูทางดานอาคารประหยัดพลังงาน ระบบปด
3.3 เพื่อใชเปน อาคารหอประชุมจัดเลี้ยงขนาด 2000 คน ,อาคารสัมมนา 615
คน ,400 คน และหองประชุม / บรรยาย 100 คน
3.4 เพื่อใชเปน สถานที่เลนกีฬา ประกอบดวยลูวิ่ง อัฒจันทร และสนามบอลขนาด
45 x 90 เมตร และใชเปนอาคารที่จอด 200 คัน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


5

5. ลักษณะอาคาร และพืน้ ที่ใชสอย

รูปที่ 2 แสดงลักษณะอาคาร

งานกอสรางโรงเรียนประกอบดวย 3 อาคาร มีรายละเอียดดังนี้

อาคาร A : อาคารจอดรถและสนามกีฬา พื้นที่ 19,200.00 ตร.ม. อาคาร ค.ส.ล, สูง 2 ชั้น สูง
6.40 เมตร
o ชั้นลางเปนอาคารจอดรถ 200 คัน และหองเครื่องระบบไฟฟา / เครื่องกล
o ชั้นที่ 2 สนามฟุตบอล หญาเทียม ขนาด 45 x 90 เมตร และลูวิ่งยางสังเคราะห
6 ลูพรอมโครงสรางเหล็กอัฒจันทร

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


6

อาคาร B : อาคารเรียน และสํานักงานบริหาร อาคารสูง 13 ชั้น มีความสูง 68.15 เมตร


พืน้ ที่รวม 29,400.00 ตร.ม. แบงเปน

สวนที่ 1 จากชั้น 1 – 5 เปนโครงสราง คสล. สูง 4 ชั้น พื้นที่ประมาณ 4,400 ตร.ม./ชั้น


ใชเปนสวนบริหารของโรงเรียน
สวนที่ 2 เปนอาคารเรียนสูง 13 ชั้น และ 1 ชั้นลอยลักษณะเปนรูปทรงกรวย ลูกขาง
มีโดม skylight บนหลังคา อาคาร ชั้น 1 – 5 เปนอาคารแนวตรงเหมือนอาคารโดยทัว่ ไป ตั้งแต
ชั้น 6 ขึ้นไปเปนโครงสรางเหล็กรูปพรรณจะบานออกโดยตั้งเสาเอียงออกจากศูนยกลาง แลวตอ
ดวยแนวตรงขึ้นไปอีก 3 ชั้น เพื่อใหเกิดพื้นที่โลงตรงกลางใหแสงจากภายนอกสองสวางเขามา
ในอาคารครอบคลุมพื้นที่ทุกชั้น
o หองประชุมสัมมนา ขนาดความจุ 400 คน 1 หอง
o หองประชุมเล็ก ขนาดความจุ 100 คน 1 หอง
o หองสมุด 2 หอง ,หองเรียน

รูปที่ 3 แสดงผังพื้นที่ใชสอยชั้นลางของอาคาร B

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


7

อาคาร C : อาคารปฏิบัติการ และหองประชุม อาคาร คสล. สูง 4 ชั้น พืน้ ที่ 17,600.0 ตร.ม.
o หองประชุมสัมมนา ขนาดความจุ 615 คน 1 หอง
o หองจัดเลี้ยง ขนาดความจุ 2000 คน 1 หอง
o หองปฏิบัติการทดลอง

งานระบบสาธารณูปโภค และภูมิสถาปตยกรรม (OUTSIDE UTILITIES AND LAND SCAPE)


o งานระบบระบายน้ํา และถนน
o ระบบประปาและดับเพลิง
o งานระบบรวบรวมน้ําเสีย
o งานระบบไฟฟาและสื่อสาร
o งานระบบรักษาความปลอดภัย
o งานระบบทําน้ําเย็นสวนกลาง
o คอรทระหวางอาคาร ประกอบดวย ศาลา รั้วรอบบริเวณ

รูปที่ 4 แสดงผังพื้นที่ใชสอยชั้นที่ 5 สวนหองประชุมจัดเลี้ยง 2000 คน อาคาร C

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


8

6. ตําแหนงและหนาที่ปฏิบัติงานทางดานวิศวกรรมโยธา

ตําแหนง : ผูจัดการโครงการ ( Project Manager )

หนาที่ปฏิบัติงาน : ดูแลโครงการ ใหทําการกอสรางตามหลักวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม


ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2550 ขอ 3(4) ในสวนของบริษัทผูรับจาง

7.1 ศึกษารวบรวมขอมูล เกี่ยวกับโครงการ และจัดทําแบบรายละเอียดสําหรับกอสราง


พรอมตรวจสอบ รวมถึงมาตรฐานที่เกี่ยวของทั้งหมด
7.2 วิเคราะหและออกแบบงานทางดานวิศวกรรมโครงสรางในสวนที่เกี่ยวของ
7.3 สรางแบบจําลองไฟไนตอิลีเมนต ของอาคารโครงสรางเหล็กรูปพรรณ และ
โครงหลังคาเหล็ก BRACED DOME เพื่อสรุปผลการวิเคราะหพฤติกรรมโครงสรางในระหวาง
กอสราง และจัดทําขั้นตอนการกอสรางอาคาร METHOD STATEMENT OF ONSTRUCTION
ตามรายละเอียดในภาคผนวก ค. และภาคผนวก ง.
7.4 วางแผนเรื่องการจัดการโครงการกอสรางใหเปนไปตามขอกําหนดในสัญญา โดย
แลวเสร็จ ตามระยะเวลา และงบประมาณที่กําหนด ตามวัตถุประสงคของโครงการ
7.4.1 แผนงานหลักของโครงการ แผนงานกอสรางในแตละชวง
7.4.2 แผนการจัดทําแบบขยายกอสราง (Shop Drawing) และแบบรวมระบบ
(Combine Service Drawing)
7.4.3 แผนงานคัดเลือกวัสดุ ทดสอบวัสดุ อนุมัติวัสดุ อุปกรณกอสราง
7.4.4 แผนการจัดซื้อ จัดสง การติดตั้งอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักร เขาหนวยงาน
7.4.5 แผนงานในการจัดแรงงาน และการจัดหาผูรับเหมาชวง
7.5 ตรวจสอบ และควบคุมคุณภาพชิ้นสวนเหล็กโครงสรางที่ตองตัด เชื่อมตามแบบที่
โรงงาน รวมถึงงานทดสอบวัสดุ ตามมาตราฐานรายละเอียดในภาคผนวก ข.
7.6 ประสานงานระหวาง ที่ปรึกษาโครงการ ผูควบคุมงาน ตัวแทนเจาของโครงการ ทํา
ใหการดําเนินงานเปนไปดวยความราบรื่น และถูกตองตามหลักวิศวกรรม รวมถึงการแกไขปญหา
ทางดานเทคนิควิศวกรรม ระหวางกอสราง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


9

รูปที่ 5 แสดงแผนผังการจัดบุคลากร โครงการกอสรางโรงเรียนโยธินบูรณะแหงใหม

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


10

7. ขั้นตอนในการดําเนินงาน และการนําความรูเชิงวิศวกรรมมาประยุกตใชในงาน

รูปที่ 6 แสดงผังบริเวณโครงการกอสรางอาคารโรงเรียนโยธินบูรณะ แหงใหม

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


11

7.1 ปญหา / อุปสรรค และแนวทางวิธีการแกไขทางดานวิศวกรรมโยธา

ในโครงการทางวิศวกรรมทุกโครงการยอมจะตองประสบปญหาและอุปสรรคไมมากก็นอ ย
เนื่องจากโครงการนี้เปนโครงการของภาครัฐ การกอสรางทุกขั้นตอนตองมีการนําเรื่องขออนุมัติ
จากคณะกรรมการตรวจการจางกอนดําเนินการ และขาพเจาถือวาคอนขางโชคดีที่สามารถผาน
อุปสรรคตางๆ ที่เกิดขึ้นมากมาย เพราะไดรับความรวมมือเปนอยางดีจากทุกฝาย โดยเฉพาะ
ทีมงานกอสรางทุกสวนงาน อีกทั้งทีป่ รึกษาโครงการ , คณะกรรมการตรวจการจางและทีมงาน
ผูออกแบบเองก็ใหการยอมรับในเทคนิควิชาการทางวิศวกรรมที่ผมนําเสนอไปเปนอยางดี ปญหา
ตางๆ จึงสามารถแกไขไดเปนอยางดี อยางไรก็ตามปญหาดานวิศวกรรมโยธาที่เกิดขึ้นระหวางการ
ปฏิบัตงิ านทั้งปญหาใหญและปญหาเล็กนอย สามารถสรุปเปนขอๆ พรอมวิธีการแกไขไดดังนี้

1) ปญหาจากแบบคูสัญญาไมมีความชัดเจนไมสามรถทําการกอสรางได จากการ
ศึกษาแบบคูสัญญางานกอสรางอาคารหลังคาทรงโดม อาคาร B โรงเรียนโยธินบูรณะ
พบวาในสวนที่เปนโครงสรางเหล็ก มีลักษณะรูปรางเหมือนลูกขาง ตั้งแตชั้น 5 – 10
เสารอบใน และเสารอบนอกมีลักษณะเอียงออกนอกอาคาร ซึ่งการกอสรางรูปแบบ
นี้จะทําใหเกิดแรงในเสาและโครงสรางทั้งระบบ ในแตละขั้นตอนการกอสราง รวมถึง
ตําแหนงของหัวเสาก็อาจมีการเคลื่อนตัว ในสวนโครงสรางพื้นใชแผนพื้นสําเร็จรูป
Hallow Core รับหนักบรรทุกจร (Live Load) 400 – 1000 kg/m2 ซึ่งก็ตองมีการ
จัดรูปแบบการวางแผนพืน้ และตรวจสอบขนาดความยาวที่หนางานจริงกอนทําการ
ติดตั้ง และกอสรางในชั้น 5 ถึงชั้น 10 เสาเอียงรอบในจะตองดึงดวยลวดสลิงรับแรงดึง
ขนาด 25 มิลลิเมตร เพื่อลดคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้น ไมใหคาการเคลื่อนตัว
เกินมาตรฐานที่ยอมให
ขาพเจาจึงทําการสรางโมเดลของอาคารทั้งระบบ และวิเคราะหพฤติกรรมของ
โครงสรางระหวางการกอสรางจริง โดยดูผลของแรงในแตละชั้นที่เกิดขึ้นและนํา
ขอมูลมาจัดทําขั้นตอนในการกอสราง เพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการตรวจการจาง
โดยพิจารณาจากผลการวิเคราะหจากโปรแกรมคอมพิวเตอร 3D MIDAS GEN
โดยสามารถสรุปขั้นตอนการทํางานไดดังนี้

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


12

1.1 ศึกษารายละเอียดโครงการเบื้องตน
ทําความเขาใจ สัญญา แบบรูป รายการ ขอกําหนด มาตรฐานตางๆ ที่เกี่ยวของ
วิธีการทดสอบวัสดุ และรวบรวมขอมูลจัดทําแบบ SHOP DRAWING ขยายแบบ
รายละเอียด จัดทําแผนการทํางาน รวมถึง MEMBER CUTTING LIST และเตรียม
ขอมูลที่เกี่ยวของ เพื่อจัดทําแบบรายละเอียดสรางโมเดล 3D วิเคราะหพฤติกรรม
โครงสรางระหวางการกอสรางจริง

รูปที่ 7 การทําแบบรายละเอียดดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร TEKAL

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


13

1.2 วิเคราะหโครงสรางอาคารดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อนําขอมูลมาจัดทํา


ขั้นตอนการกอสราง ( METHOD STATEMENT OF CONSTRUCTION )

เนื่องจากลักษณะโครงสรางอาคารชั้นที่ 1–5 เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ตอดวย


โครงสรางเหล็กรูปพรรณที่มีรูปทรงกรวย จากชั้นที่ 6-13 สวนชั้นหลังคาออกแบบโดยเลือก
โครงสรางเหล็กถัก BRACED DOME เสนผาศูยนกลาง 40 เมตร ชวงความสูงโดม 10.26 เมตร
ซึ่งโครงการนี้มีลักษณะโครงสรางที่ซบั ซอนมองภาพไดหลายมิติ มีความจําเปนอยางมากที่ตองนํา
โปรแกรมคอมพิวเตอรมาใชในการเครียรรายละเอียดแบบ และวิเคราะหพฤติกรรมโครงสราง
กอนการกอสรางจริง

รูปที่ 8 แสดงแบบรายละเอียดรูปตัด

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


14

เนื่องจากแบบโครงสรางมีความซับซอน และมีรายละเอียดมาก จึงตองใชโปรแกรม


วิเคราะหโครงสราง MIDAS GEN ทําการสรางโมเดล ตัวอาคารเพื่อศึกษาพฤติกรรมโครงสราง
ขณะทําการกอสราง และเลือกใชโปรแกรม TEKLA ที่สามารถสรางโมเดล 3 มิติได เพื่อจัดทํา
แบบรายละเอียดทําใหสามารถเขาถึงรายละเอียดของโครงสรางไดทุกจุด และทําใหการกอสรางได
ถูกตองแมนยํารวดเร็วขึ้น ซึ่งขณะที่ทําการกอสรางนั้น หากปราศจากการวิเคราะหพฤติกรรมของ
โครงสรางในระหวางการกอสรางแลว อาจเกิดอันตรายจากการที่โครงสรางวิบัติได ทําใหสูญเสีย
ชีวิตและทรัพยสินได ดังนั้นสิ่งที่สําคัญที่สุดในงานกอสราง คือความปลอดภัย อีกทั้งอันตรายจาก
โครงสรางวิบัตินั้นยังสามารถเกิดขึ้นไดจากการกอสรางที่ผิดวิธีอีกดวย เชนชิน้ สวนที่สําคัญยังไมได
ถูกประกอบเขาไปในโครงสราง แตกลับดําเนินการเพิ่มแรงน้ําหนักบรรทุกไป โครงสรางก็อาจ
วิบัติไดเชนกัน

รูปที่ 9 MODEL โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร MIDAS GEN

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


15

การนําแบบโครงสรางมาวิเคราะหขึ้นรูป 3D จะชวยวางแผนงานกอสรางไดเปนอยาง
มาก อีกทั้งยังสามารถวิเคราะหโครงสรางขณะกําลังกอสรางในแตละชั้นไดอีกดวยเปรียบ เสมือน
นํางานกอสรางนั้นๆ มาจําลองการกอสรางในโปรแกรมคอมพิวเตอรกอนงานกอสรางจริง
วิเคราะหหาชิ้นสวนสําคัญ และแรงปฏิกิริยาที่จดุ รองรับ เพื่อทําใหสามารถวางแผนการกอสราง
ไดอยางปลอดภัยและประหยัดเวลา โดยเฉพาะอยางยิ่งในการกอสรางไมสามารถทําการกอสราง
ทีเดียวใหครบระบบโครงสรางตามที่ผูออกแบบกําหนดไว

รูปที่ 10 (A) MODEL เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมโครงสรางเมื่อทําการกอสรางไปทีละชั้น

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


16

รูปที่ 10 (B) MODEL เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมโครงสรางเมื่อทําการกอสรางไปทีละชั้น

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


17

1.3 การนําเสนอผลลัพธจากการวิเคราะห
นําเสนอผลลัพธจากการวิเคราะห ไดแก แรงเฉือน (Shear) แรงโมเมนต (Moment)
แรงในแนวแกน (Axial Force) คาการโกงตัวของโครงสราง (Deflection) และคาการเคลื่อนตัว
ระหวางชั้น (Story Drift) ตรวจสอบแรงเฉือนในคาน และเสาทุกชั้น วาสามารถรับแรงไดอยาง
ปลอดภัยหรือไม ดังนี้
1. ตรวจสอบแรงโมเมนต ในคาน และเสาทุกชั้น วาสามารถรับแรงไดอยางปลอดภัยหรือไม
2. ตรวจสอบแรงในแนวแกน ในคาน, เสาทุกชั้น และใน Tension Rod วาสามารถรับแรง
ไดอยางปลอดภัยหรือไม
3. ตรวจสอบคาการโกงตัวของโครงสรางทุกชั้น
4. ตรวจสอบคาการเคลือ่ นตัวระหวางชั้น กรณีมีการดึงลวดสลิงรับแรงดึง และไมมีการดึง
ลวดสลิงรับแรงดึง ของชั้น 8 และชั้น 10
5. ตรวจสอบแรงที่จุดรองรับชั้นที่ 5 วามีการเปลี่ยนแปลงในขณะกอสรางอยางไร ขั้นตอน
นี้จึงเปนขั้นตอนที่สําคัญมากที่สุด ซึ่งขอกลาวไวในภาคผนวก ค.

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


18

1.4 สรุปผลการวิเคราะห ตามรายละเอียดในภาคผนวก ค.

มาตรฐาน AISC / ASD / LRFD กําหนดระยะโกงตัวมากที่สุดที่ยอมใหภายใตการ


กระทําของน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน และน้ําหนักบรรทุกจรใชงานดังตอไปนี้
- L/360 สําหรับงานกอสรางตางๆที่ฉาบผิว ( Plastered construction )
- L/240 สําหรับงานพื้นที่ไมฉาบผิว ( Unplaster floor construction )
- L/180 สําหรับงานหลังคาไมฉาบผิว ( Unplaster roof construction )

สําหรับแรงแรงเฉือนและแรงโมเมนตนนั้ ไดใชวิธีการตรวจสอบโดยเทียบกับการออกแบบ
โครงสรางเหล็กโดยวิธี LRFD ( Load Resistance Factor Design )
- Pu = แรง หรือน้ําหนักประลัยที่กระทํา
- Mu = โมเมนตดัดประลัย
- Vu = แรงเฉือนประลัยที่กระทํา
- ϕ = ตัวทอนกําลังตานทาน
- Pn Capacity = กําลังรับแรงตามแนวแกนสูงสุดที่รับได
- Mn Capacity = กําลังรับแรงโมเมนตสูงสุดที่รับได
- Vn Capacity = กําลังรับแรงเฉือนสูงสุดที่รับได

การเคลื่อนตัวระหวางชั้น (Story Drift) จะตองมีคาไมเกินรอยละ 0.5 ของความสูง


ระหวางชั้น โดยในงานกอสรางอาคารนี้ ทางกระผม และทีมงานมีความตองการที่จะหาวิธีเพื่อ
ไมใหโครงสรางมีคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นที่มากเกินไป จึงไดเสนอวิธีการที่จะดึงเสาไวไมให
เกิดการเคลื่อนตัวในแนวราบ โดยทําการดึงลวดสลิงขนาด 25mm รับแรงดึง ระหวางเสาใน
ชั้นที่ 8 และ 10 และไดทําการวิเคราะหโครงสรางโดยใชโปรแกรม 3D Midas Gen

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


19

รูปที่ 11 แสดงการใช สลิงขนาด 25 mm และรอกโยกขนาด 3 ตัน ดึงเสาทุกตนที่ชั้น 8 และ 10

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


20

ผลเปรียบเทียบคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้น (Story Drift) ชั้นที่ 8

กรณีที่ 1 การเคลื่อนตัวระหวางชั้น ไมมีการดึงลวดสลิงรับแรงดึง ชั้นที่ 8

กรณีที่ 2 การเคลื่อนตัวระหวางชั้น มีการดึงลวดสลิงรับแรงดึง ชั้นที่ 8

เมื่อเปรียบเทียบระหวาง 2 กรณีพบวา เมื่อมีการดึงลวดสลิงรับแรงดึง คาการเคลื่อนตัว


ระหวางชั้นมีคานอยกวากรณีไมมีการดึง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


21

1.4.1 จากการตรวจสอบระยะการโกงตัวของโครงสราง พบวายอมรับไดตามมาตรฐาน


โดยบริเวณบันได และบริเวณคานยื่นรอบใน มีคาการโกงตัวของโครงสรางที่สูงกวา
บริเวณอื่นมาก และชั้นที่ 7 , 8 และ 9 คาการโกงตัวของโครงสรางที่พื้นยื่นรอบในมีคา
การโกงตัวที่สูงกวาบริเวณพื้นดานใน

1.4.2 จากการวิเคราะห คาแรงเฉือนที่จุดรองรับ พบวาเมื่อกอสรางชั้นที่ 7 เสร็จ คาแรง


เฉือนมีคาที่ลดลงลง จากนั้นเมื่อกอสรางชั้น 8 เปนตนไป คาแรงเฉือนที่จุดรองรับมีคา
เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอยเทานั้น ในขณะที่เสาเอียงดานนอกมีคาแรงเฉือนนอยมากเมื่อ
เทียบกับเสาดานใน โดยคาแรงเฉือนของเสาดานนอกเริ่มมีคาเพิ่มขึ้นตั้งแตชั้นที่ 10 ขึน้ ไป

1.4.3 จากการวิเคราะหคาโมเมนต ที่จุดรองรับ พบวาเมือ่ กอสรางชั้นที่ 7 เสร็จ คา


โมเมนต มีคาลดลง จากนั้นเมื่อกอสรางชั้นที่ 8 เปนตนไป พบวาคาโมเมนตที่จุดรองรับ
เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอยเทานั้น ในขณะที่เสาเอียงดานนอกมีคาโมเมนตนอยมากเมื่อ
เทียบกับเสาดานใน โดยคาโมเมนตของเสาดานนอกเริ่มมีคา เพิ่มมากขึ้นตั้งแตชั้นที่ 10
ขึ้นไป ทั้งนี้การกอสรางเสาเอียงรอบในชั้นที่ 8 พบวามีคาโมเมนตที่สูงมาก แตเมื่อมีการ
กอสรางยึดรั้งสมบูรณที่ชั้น 11 พบวาคาโมเมนตในเสานี้มีคาที่ลดลง ซึ่งเปนไปตาม
สมมุติฐานที่ตั้งไวในตอนแรก

1.4.4 การตรวจสอบขนาดหนาตัดคาน , เสา และค้ํายัน พบวาสามารถรับแรงไดอยาง


ปลอดภัย ในขณะที่กําลังกอสราง

1.4.5 คาการเคลื่อนตัวระหวางชั้น จะพบวาเมื่อโครงสรางมีการดึงลวดสลิงรับแรงดึง


คาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นที่เกิดขึ้นมีคานอยกวา การที่โครงสรางไมไดดึงลวดสลิงรับ
แรงดึง ทั้งในชั้น 8 และชั้น 10 แตเมื่อเทียบคาที่ยอมรับไดตามมาตรฐานพบวา ตอให
โครงสรางไมมีการดึงลวดสลิงรับแรงดึงยึดรั้งระหวางเสา คาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นยังมี
คาผานมาตรฐาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


22

รูปที่ 12 ผลการวิเคราะหคาโมเมนตดว ยโปรแกรม MIDAS GEN

รูปที่ 13 ผลการวิเคราะหคาแอนตัวดวยโปรแกรม MIDAS GEN

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


23

1.5 กําหนดขั้นตอนการกอสรางอาคารโครงสรางเหล็กรูปพรรณ และโครงหลังคา


เหล็ก BRADE DOME ( METHOD STATEMENT OF CONSTRUCTION ) ตามรายละเอียด
ในภาคผนวก ง.
การกอสรางในทุกชั้นเริ่มตนที่การติดตั้งเสา แลวจึงติดตั้งคานหลักรอบเสาเอียงรอบใน
เพื่อใหเสาเอียงรอบในมีความแข็งแรงมากขึ้น สวนเสารอบนอกมีลักษณะเอียงออกนอกอาคาร
ซึ่งการกอสรางรูปแบบนี้ จะทําใหเกิดแรงในเสา และโครงสรางทั้งระบบ ในแตละขั้นตอนการ
กอสราง รวมถึงตําแหนงของหัวเสาก็อาจมีการเคลือ่ นตัว และอาจไมเปนไปตามแนวคิดที่ใชใน
การออกแบบ ดังนั้นจึงไดมีการประชุมหารือจากผูที่เกี่ยวของทุกฝาย โดยขาพเจาไดเสนอใหมี
ระบบค้ํายันชั่วคราว ( Temporary Bracing ) ที่ชั้น 8 และชั้นที่ 10 โดยใชสลิงขนาด 25mm
รวมกับ รอกตันสามารถรับแรงดึงไดไมนอยกวา 3 ตัน มาทําการยึดโยงโครงสรางเสา ทั้งหมด 8
ตน ระหวางเสาเอียงดานใน เพื่อปองกันโครงสรางเคลื่อนตัวในระหวางขั้นตอนการกอสรางและ
ในการกอสรางชั้นที่ 10 เสาเอียงจะถูกติดตั้งใหยึดรั้งกันในชั้นที่ 11 กอน เพื่อลดคาแรงโมเมนต
ในเสาเอียงของชั้นลาง

รูปที่ 14 แสดงการจัดลําดับขั้นตอนการประกอบติดตั้งชิ้นสวนตางๆ ของโครงสราง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


24

รูปที่ 15 ผังแสดงขั้นตอนการกอสรางโครงหลังคาเหล็ก BRACED DOME

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


25

1.6. การกอสรางอาคาร

รูปที่ 16 ผังควบคุมคุณภาพในการทํางาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


26

1.6.1 ทําการตัด และเชื่อมประกอบตาม CUTTING LIST และลองประกอบที่


โรงงานผลิตแตละชิ้นสวนกอนนําไปติดตั้งจริง

รูปที่ 17 แสดงการเตรียมชิ้นสวนโครงสรางเหล็กที่โรงงาน กอนนํามาติดตั้งที่โครงการ

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


27

1.6.2 นําชิ้นสวนที่ประกอบจากโรงงาน มาติดตั้งจริงที่โครงการ ตามลําดับ


ขั้นตอนที่ผานการพิจารณาอนุมัติจากทางคณะกรรมการตรวจการจางแลว

รูปที่ 18 เริ่มงานติดตั้งโครงสรางเหล็กที่ชั้น 5 โดยทําการติดตั้งเสาที่เชื่อมประกอบจากโรงงาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


28

รูปที่ 19 งานติดตั้งโครงสรางเสา 2 ชั้นในคราวเดียว

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


29

รูปที่ 20 แสดงโครงสรางชั้น 10 ถึงชั้น 13

ผลการดําเนินการประสบความสําเร็จเปนอยางมาก สามารถควบคุมการกอสรางได
ตามขั้นตอนที่วางไวสามารถลดขั้นตอนการกอสราง คุณภาพของงานดี และประหยัดคาใชจาย
และลดเวลาในการกอสรางลงไดอยางมาก โดยสรางโมเดล และนําผลวิเคราะหโครงสรางดวย
โปรแกรมคอมพิวเตอรมาจัดทํา Method Statement of Construction เสนอเพื่อขออนุมัติ
จากผูออกแบบ คณะที่ปรึกษา และคณะกรรมการตรวจการจาง ดูไดในรายละเอียดภาคผนวก ค.
และภาคผนวก ง.
นอกจากนี้ทางกระผมและทีมงานยังตองพิจารณาถึงเทคนิค วิธกี ารติดตั้งชิ้นสวนริมนอก
โดยประกอบเสาที่เอียงเขากับเสาตรงจากโรงงาน ทําใหงานติดตั้งทําไดสะดวกรวดเร็ว คาพิกัด
ถูกตองแมนยํา รวมถึงในบางชั้นจะทําการติดตั้งเสาทีเดียวสองชั้น ดังแสดงในรูปที่ 18 และ 19
ซึ่งตองอาศัยการเครียรแบบจากโปรแกรมคอมพิวเตอร 3D เขามาชวยทุกขัน้ ตอน ถึงจะสามารถ
ทํางานได ทั้งนี้ถือเปนความทาทายของงานวิศวกรรมโครงสรางเปนอยางมาก

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


30

2) ปญหาการกอสรางชั้นหลังคาโดม ตามแบบคูสัญญาเดิม สวนของหลังคาจะเปนโดมที่


ทํามาจากโฟม กระผมและทีมงานไดพิจารณาดูแลว การทํางานคงไมเหมาะสมกับการใช
งานในประเทศไทย รวมถึงเทคนิคในการติดตั้งและการบํารุงรักษาในอนาคต จึงขออนุมัติ
เพื่อทําการออกแบบ และปรับปรุงแกไขใหม โดยเลือกออกแบบโครงสรางหลังคาเปน
ระบบ BRACED DOME STRUCTURE เสนผาศูนยกลาง 40 สูง 10.26 เมตร
ดวยลักษณะรูปทรงของอาคาร จึงจําเปนตองทําการวิเคราะหศึกษาดูพฤติกรรม
ของโครงสรางกอน เพื่อกําหนดขั้นตอนการกอสรางใหตรงกับพฤติกรรมจริงที่เกิดขึ้น
และเปนการตรวจสอบวาการกอสรางสามารถทําไดหรือไม

รูปที่ 21 แสดง MODEL วิเคราะหขณะมี Temporary Support

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


31

68.15

รูปที่ 22 แสดงขอมูลน้ําหนักที่ถายลงโครงสราง Temporary Support

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


32

ในสวนของการกอสรางโครงสรางเหล็กหลังคา BRADE DOME มีความจําเปน


ที่ตองทําการออกแบบโครงสรางชั่วคราว เพื่อทําหนาที่เปนจุดรองรับชั่วคราวใหกับ
โครงสรางโดมในขณะกอสราง แตเนื่องจากแบบกอสรางอาคารมีชองโลงจากชั้นลาง
จนถึงหลังคา มีความสูงถึง 68 เมตร จึงเปนปญหาใหญมาก สําหรับการกอสราง
โครงสรางชั่วคราว เพื่อขึ้นไปรับโครงสรางของโดมหลังคา ขาพเจาตัดสินใจเลือกที่จะ
นํา Mast Tower crane มาประกอบ และออกแบบปรับปรุงโครงสรางใหสามารถรับ
น้ําหนักของ BRACED DOME ขณะกอสรางได การออกแบบโครงสรางชั่วคราว จะ
พิจารณาตรวจสอบพฤติกรรมระหวางติดตั้ง และหลังปลดรื้อนั่งราน รวมถึงไดสราง
โมเดลวิเคราะหศึกษาพฤติกรรมโครงสรางที่ไมใช โครงสรางในระนาบ ( Plane Truss
Structure ) แตจะเปนโครงสรางหลังคาเหล็กรูปพรรณ แบบ BRACED DOME ซึ่งจะ
ติดตั้งที่ความสูง 68. เมตร โดยพิจารณาคาการแอนตัวที่จุดศูยนกลาง และแรงถีบ
ที่หัวเสา เพือ่ เปนขอมูลในการทํางาน การจัดลําดับขั้นตอนการติดตั้ง ดังแสดงใน
ภาคผนวก ง.

รูปที่ 23 แสดง Temporary Structure เพื่อรับน้ําหนักของโครงสราง Braced dome


( design load 135 ตัน )

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


33

รูปที่ 24 แสดงผลวิเคราะหโครงสรางเหล็ก Plat form รับ Braced Dome

ดังนั้นความมีเสถียรภาพ ( Stability ) ของโครงสรางในระหวางกอสราง จึงเปนปจจัยที่


ตองนํามาพิจารณาในขั้นตอนการกอสราง ซึ่งไดแก การยึดโยงหรือค้ํายัน ( Bracing ) ระหวาง
โครงตอโครง , เทคนิคการตอเพื่อใหไดจุดตอตาม Design concept , ชนิดของฐานรองรับที่ใช
( Type of support ) รวมถึงการทําความเขาใจในระบบของโครงสรางนั้นๆ เพื่อใหเกิดเสถียร
ภาพในตัวโครงสรางมากยิง่ ขึ้น รายการคํานวณและขั้นตอนการกอสราง ดังแสดงในภาคผนวก
ค. และภาคผนวก ง.

ตารางแสดงคาการแอนตัวของโครงสรางหลังคาโดม

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


34

เริ่มงาน Sequence ที่ 1 ติดตั้ง Radial rib Truss 12 ตัว 4 segment

ติดตั้ง Sequence no.1 แลวเสร็จ

รูปที่ 25 แสดงภาพงานติดตั้งโครงหลังคา Braced Dome ตามขั้นตอนการกอสราง


ในภาคผนวก ง.

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


35

Sequence no.2 ทําการติดตั้ง Radial Rib Truss อีก 12 ตัว 4 segment ที่เหลือ

รูปที่ 26 แสดงภาพงานติดตั้งโครงหลังคา Braced Dome ตามขั้นตอนการกอสราง ใน


ภาคผนวก ง.

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


36

Sequence no.3 ติดตั้ง Radial Rib Truss ที่เหลือ 8 ตัว ติดตั้ง Tension ring โดยรอบ
และเริ่มติดตั้ง Purlin ทีละแถวไลจากวงนอกสุด จนถึงวงใน

รูปที่ 27 แสดงโครงเหล็ก ชุด TEMPORARY SUPPORT รับ BRACED DOME

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


37

ตรวจสอบความเรียบรอยแลว และคอย ๆ ทําการปลดลดระดับของ Platform ลงพรอม ๆ กัน


ทุกจุด เพื่อใหโครงสราง Braced Dome ทํางาน Full Load รวมถึงตรวจสอบระยะถีบตัวที่
support Dxy = 10 mm ทุกตําแหนง และระยะแอนตัวในแนวดิ่ง Dy = 15 mm

รูปที่ 28 แสดงโครงสรางโดม เมื่อรื้อถอน Temporary Support ออกแลว

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


38

ผลการดําเนินการประสบความสําเร็จเปนอยางมาก โดยสามารถควบคุมการทํางานไดตาม
ขั้นตอนและแผนงานที่วางไว ลดขั้นตอนในการกอสราง และประหยัดคาใชจายในการกอสราง
ชุดโครงสราง TEMPORARY SUPPORT โดยขาพเจาไดนําเอา mast ของตัว Tower crane
มาออกแบบดัดแปลงประยุกตใชงาน เพื่อรับโครงสรางหลังคาโดม โดยสรางโมเดล และนําผล
วิเคราะหโครงสรางดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อนําผลการวิเคราะหมาจัดทําขั้นตอนการ
กอสราง ( Method Statement of Construction ) เสนอเพื่อขออนุมัติจากผูออกแบบ
คณะที่ปรึกษาโครงการ และคณะกรรมการตรวจการจาง

รูปที่ 29 แบบ 3D แสดงการติดตั้งแปดวย U-Bolt with Nut

นอกจากนี้ทางกระผมและทีมงานยังตองพิจารณาถึงเทคนิค วิธีการติดตั้งตัวแปที่
รัดรอบโครงโดมดวยวิธีใช U-Bolt รัดดวยนอต สามารถลดเวลาที่ใชในการกอสรางโดยวิธีเชื่อม
ไดมากกวา 45 วัน รวมถึงขั้นตอนในการปลดรื้อ Temporary support ซึ่งแสดงในรูปที่
27 และรูปที่ 28 ตองอาศัยความพรอมเพียงในการตัดชิ้นสวนรื้อไปพรอมๆ กันทุกมุม และ
ประเมิณคาการแอนตัวจากผลการวิเคราะหดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ซึ่งตองเขาใจวาการ
กอสรางในสวนนี้จะดําเนินการอยางไร และพฤติกรรมโครงสรางระหวางกอสรางเปนอยางไร
งานนี้ถือเปนความทาทายของงานวิศวกรรมโครงสรางเปนอยางมาก

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


39

จากที่กลาวมาแลว ยังมีปญ
 หาที่เกิดจากแบบรูปรายการ และงบประมาณกอสรางไม
เพียงพอ ทําใหไมสามารถเตรียมงานกอสรางในสวนตางๆ ที่เกี่ยวของได ทั้งนี้เพื่อมิใหเกิด
ปญหากับงานกอสรางในสัญญาหลัก ขาพเจาและทีมงานตองจัดทําแบบรายละเอียดพรอม
ประสานงานกับทางผูออกแบบเพื่อจัดทํารายการคํานวณโครงสราง เพื่อขออนุมัติงบประมาณ
เพิ่มเติมจากสัญญาเดิม แตก็สามารถแกไขปญหาที่เกิดขึ้นไดอยางราบรื่น ซึ่งแบงเปนปญหา
งานตางๆ บางสวนในโครงการไดดังนี้

3) ออกแบบโครงเหล็กรับ CLADDING และกระจก รอบอาคารภายหลังจากโครงสราง


แลวเสร็จ สืบเนื่องจากไมปรากฏแบบรูปรายการ ในสวนนี้ประกอบกับงบประมาณการกอสราง
ไมเพียงพอและไมสามารถเตรียมงานไปพรอมกับโครงสรางหลักได ซึ่งขาพเจาไดรับมอบหมาย
ใหจัดแบบรูปรายการโครงสรางเหล็กรับ Cladding และกระจกรอบอาคารรวมกับคณะผูออก
แบบตามงบประมาณที่มีใหอยางจํากัด และตองใชโปรแกรมคอมพิวเตอร TEXKLA 3D เขา
มาชวยในการเครียรรายละเอียดแบบกอสราง รวมถึงขั้นตอนการติดตั้งโครงสรางเหล็กในแต
ละชั้น เนื่องจากตองทําการควบคุมพิกัดทั้ง 3 มิติ ซึ่งทําไดยากมาก และตองควบคุมงาน
อยางใกลชิด ทั้งนี้ตองขอขอบคุณทีมงานทุกคนที่ตั้งใจทํางานนี้ดวยความตั้งใจ เปนผลใหงาน
กอสรางที่ออกมารวดเร็ว และมีขอผิดพลาดนอยมาก

รูปที่ 30 งานเครียรแบบรายละเอียดงานโครงสรางเหล็กรับกระจก และผนังภายนอก

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


40

รูปที่ 31 แบบรายละเอียดงานโครงสรางเหล็กรับกระจก และผนังภายนอกจากโปรแกรม


คอมพิวเตอร 3D TEKLA

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


41

รูปที่ 32 แบบรายละเอียดงานโครงสรางเหล็กรับกระจก และผนังภายนอกที่ไดจาก


โปรแกรม 3D TEKLA

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


42

รูปที่ 33 แบบรายละเอียดงานโครงสรางเหล็กรับกระจก และผนังภายนอก

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


43

กอนทําการติดตั้งตองมีการสํารวจคาพิกัดตางๆ จากในแบบเปรียบเทียบกับงานกอสรางจริง
ซึ่งเมื่อตรวจสอบแลว ไดมีการปรับแกใหสามารถทํางานตอไปได ทั้งนี้คาความคลาดเคลื่อนอยูใน
เกณฑที่ยอมรับได

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


44

รูปที่ 34 งานโครงสรางเหล็กรับกระจก และผนังภายนอก

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


45

รูปที่ 35 งานโครงสรางเหล็กรับกระจก และผนังภายนอก

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


46

รูปที่ 36 งานโครงสรางเหล็กรับกระจก และผนังภายนอกกอนติดตั้งผนัง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


47

รูปที่ 37 งานโครงสรางเหล็กผนังรอบอาคาร ภายในพนฉนวนกันความรอน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


48

ผลการดําเนินการประสบความสําเร็จเปนอยางมาก สามารถควบคุมการกอสรางได
ตามขั้นตอนที่วางไวสามารถลดขั้นตอนการกอสราง คุณภาพของงานดี และประหยัดคาใชจาย
และลดเวลาในการกอสรางลงไดอยางมาก โดยทําการสรางโมเดล 3D จัดทําแบบรายละเอียด
เสนอเพื่อขออนุมัติจากผูออกแบบ คณะที่ปรึกษา และคณะกรรมการตรวจการจาง
นอกจากนี้ทางกระผมและทีมงานยังตองพิจารณาถึงเทคนิค วิธีการติดตั้งชิ้นสวนโครง
เหล็กทั้งหมดโดยเลือกประกอบติดตั้งจากโรงงาน และมาประกอบที่หนางานบางสวน ตามแบบ
รายละเอียดที่คํานวณไดจากโปรแกรมคอมพิวเตอร ดังแสดงในรูปที่ 30 ถึงรูปที่ 33 ซึ่งตอง
อาศัยการเครียรแบบจากโปรแกรมคอมพิวเตอร 3D รวมถึงทีมงานชางสํารวจคาพิกัด เขามา
ชวยทุกขั้นตอนถึงจะสามารถทํางานติดตั้งโครงเหล็กได ทั้งนี้ถือเปนความทาทายของงาน
วิศวกรรมโครงสรางเปนอยางมาก

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


49

4) งานออกแบบโครงเหล็กตาขาย เพื่อปองกันลูกบอลกระเด็นบริเวณรอบสนามบอลที่
ชั้น 2 สืบเนื่องจากงบประมาณการกอสรางไมเพียงพอ จึงไมสามารถทําการกอสรางในสวน
ของโครงสรางฐานรากและโครงเหล็กตาขายไปพรอมกันกับโครงสรางหลัก ปญหาก็คือเมือ่ จะทํา
การกอสราง ไมสามารถทําการตอก หรือเจาะเสาเข็ม เพื่อกอสรางสวนของฐานรากไดทาํ ใหตอง
มาเริ่มออกแบบใหมโดยใหจุดยึดไปอยูที่ชั้น 2 ของตัวสนามบอล ซึ่งขาพเจาไดรับมอบหมายให
ทําการเก็บขอมูลเพื่อทําการออกแบบโครงเหล็ก โดยทําการโมเดล 3D โครงสรางเหล็กกรุ
ตาขายไนลอนกันลูกบอลกระเด็น ความสูง 9.00 เมตร รอบสนามบอล ภายใตงบประมาณที่มีให
อยางจํากัด ดังแสดงในรูปที่ 38 นําเสนอตอผูอ อกแบบ และคณะกรรมการตรวจการจาง
เพื่อขออนุมัติ

รูปที่ 38 แสดงโมเดล 3D โครงเหล็กกันลูกบอลกระเด็น

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


50

RECOMMENDED LOAD, F ( KN )

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


51

รูปที่ 39 แสดงจุดรองรับที่ออกแบบมาภายหลัง ใช Anchord Bolt 4x5- M20

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


52

การวิเคราะหและออกแบบ anchor bolt สําหรับการยึดโครงเสา ( Column frame )


กับโครงสรางที่กอสรางไปแลว เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาระหวางที่โครงเหล็กตาขายขณะรับ
แรงลมอยูนั้น โครงเหล็กตาขายที่ติดตั้งจะยังสามารถยึดติดกับจุดรองรับที่ทําขึ้นมาใหม ดังนั้น
การคํานวณจะพิจารณาแรงที่เกิดขึ้นใน anchor bolt ไดแก แรงดึงถอน แรงอัดและแรงเฉือน
อยูในเกณฑที่กําหนดหรือไม เพื่อนําไปสูการออกแบบขนาดของ anchor bolt ตอไป

รูปที่ 40 แสดงแรงลมที่กระทํากับโครงเหล็ก

โดยจะพิจารณาผลของแรงยึดเหนี่ยวในการฝงยึด ซึ่งเมื่อคอนกรีตกับเหล็กยึดจับกันจะเกิด
แรงดึงออกหรืออัดเขาแรงตานนีจ้ ะชวยไมใหเหล็กนั้นรูดไถลไปตามแนวแรงนั้น แรงตานนี้ก็คือ
แรงยึดเหนี่ยว (Bond Stress) กรณีเปนแรงดึง หนวยแรงดึงที่เกิดขึ้นในเหล็กนั้นจะคอยๆ ลด
ต่ําลงจากปลายดานที่ถูกดึงไปเปนศูยนที่ปลายดานที่ฝงอยูในคอนกรีต สําหรับกรณีเปนแรงอัด
เหล็กจะตองมีระยะฝงยึด (Anchorage or Development Length) ในคอนกรีตยาวพอที่
จะทําใหหนวยแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นมีคาต่ํากวาหนวยแรงยึดเหนี่ยวทีย่ อมให ที่ผิวสัมผัสของวัสดุ
ทั้งสอง เพื่อที่จะทําใหสามารถรับแรงตามตองการไดอยางปลอดภัย สามารถตานการรูดไถลของ
เหล็กได

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


53

ผลการวิเคราะหปรากฏวาเกิดแรงดึงถอนสูงสุด = -11,425 Kg ใกลเคียงกับแรงกด


สูงสุด = 12,146 Kg นอกจากนี้ยังเกิดแรงเฉือนในแนวราบสูงสุด 2,180 Kg สวนคาแรงที่
เกิดขึ้นที่จุดรองรับดังแสดงในผลการวิเคราะหรูปที่ 41 ขางลางนี้

รูปที่ 41 แรงกดอัดที่จุดรองรับ A เทากับ 12,146 kg แรงดึงถอนเทากับ 11,425 kg


และที่จุดรองรับ B, C, D, E แรงเฉือนสูงสุดเทากับ 13,228 kg

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


54

รูปที่ 42 แสดงจุดรองรับที่ออกแบบมาภายหลัง ใช Anchord Bolt 4x5- M20

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


55

ตัวอยางรายการคํานวณโครงเหล็กถักตาขายบางสวน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


56

รูปที่ 43 ผลการวิเคราะหโครงสรางเหล็ก

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


57

รูปที่ 44 ผลการวิเคราะหคาการแอนตัวและแรงภายในชิ้นสวนเพื่อนํามาออกแบบ

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


58

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


59

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


60

รูปที่ 45 งานติดตั้งโครงเหล็กตาขายสูง 9 เมตร

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


61

รูปที่ 46 งานติดตั้งโครงเหล็กตาขายสูง 9 เมตร

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


62

ผลการดําเนินการประสบความสําเร็จเปนอยางมาก ภายใตงบประมาณที่มีอยูอยางจํากัด
สามารถลดเวลาในการกอสรางไดมากกวา 30 วัน ซึ่งในการออกแบบที่ตองการความแข็งแรงมา
เปนอันดับแรก และขาพเจาไดทําการออกแบบงานตามหลักวิศวกรรมซึ่งใหความสําคัญตอจุดยึด
ที่ตองจัดทําขึ้นภายหลัง เนื่องจากในสัญญาหลักไมไดรวมสาระงานนี้อยูดวยจึงตองทําการกอสราง
หลังจากงบประมาณอนุมัติแลว และไดเลือกใช HIT-RE 500 with HAS-E Anchord rod
ขนาด M20 จํานวน 5 จุด จุดละ 4 ตัว รับแรงดึงได 44.90 KN (4.58 tons) แรงเฉือนรับ
ได 38.60 KN (3.94tons) และในกรณีที่เกิดแรงดึงถอน เมื่อทําการตรวจสอบกับหนวยแรงดึง
สูงสุดที่เกิดขึ้นพบวามีคาเพียง 90 MPa / bolt ซึ่งมีคานอยกวาหนวยแรงดึงที่ยอมใหของตัว
Anchor bolt = 125 MPa แสดงวา Anchor bolt ที่ไดออกแบบไวสามารถรับแรงดึงถอน
ที่เกิดจากแรงลมไดอยางปลอดภัยตามที่ทําการคํานวณออกแบบไว ดังแสดงในรูปที่ 41
นอกจากนี้ทางกระผมและทีมงานยังตองพิจารณาถึงเทคนิค วิธีการติดตั้งชิ้นสวนโครงสราง
ทั้งหมดโดยเลือกประกอบติดตั้งจากโรงงาน เนื่องจากไมสามารถทําการเชื่อมที่บริเวณชั้นบนที่มี
การตกแตงและสงมอบงานลูวิ่งเรียบรอยแลว

รูปที่ 47 งานประกอบโครงเหล็กตาขาย

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


63

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


64

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


65

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


66

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


67

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


68

5) งานโครงเหล็กอัฒจันทร บริเวณระหวางอาคาร B และที่สนามบอลที่ชั้น 2 สืบเนื่อง


จากงบประมาณการกอสรางไมเพียงพอ ไมสามารถทําการกอสรางตามแบบไดรวมถึงงานในสวน
ของโครงสรางฐานราก ปญหาก็คือไมสามารถทําการตอกหรือเจาะเสาเข็มเพื่อกอสรางสวนของ
ฐานรากได ทําใหตองมาเริ่มออกแบบใหมโดยใหจุดยึดไปอยูที่เสาชั้น 2 ของโครงสรางสนามบอล
ซึ่งขาพเจาไดรับมอบหมายใหทําการตรวจสอบหาตําแหนงจุดยึดโครงเหล็กอัฒจันทร นําเสนอตอ
ผูออกแบบและคณะ กรรมการตรวจการจาง เพื่อขออนุมัติโครงสรางเหล็กอัฒจันทร รวมถึง
ขั้นตอนการติดตั้ง ซึ่งตองใชโปรแกรมคอมพิวเตอร TEXKLA เขามาชวยในการเครียรรายละเอียด
แบบกอสราง

รูปที่ 48 แบบ 3 D แสดงรายละเอียดงานโครงสรางเหล็กบันไดและอัฒจันทร

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


69

รูปที่ 49 แสดงแบบ 2D งานติดตั้งโครงสรางเหล็กอัฒจันทร

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


70

รูปที่ 50 โครงสรางเหล็กและขอเปลี่ยนแปลงรูปแบบพื้นสําเร็จรูปอัฒจันทร

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


71

รูปที่ 51 แสดงภาพงานอัฒจันทรแลวเสร็จ

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


72

ผลการดําเนินการประสบความสําเร็จเปนอยางมาก สามารถควบคุมการกอสรางไดตาม
ขั้นตอนที่วางไวสามารถลดขั้นตอนการกอสราง และลดเวลาในการกอสรางลงไดมากกวา 45 วัน
เปนผลมาจากกระผมตองพิจารณาถึงเทคนิคและวิธีการติดตั้งชิ้นสวนโครงสรางในสวนของพื้นลูก
ตั้ง ลูกนอนของอัฒจันทรจากเดิมเปนพื้น PC. PLANK เทคอนกรีตทับหนา เปนพื้นสําเร็จทั้งชิ้น
รวมลูกตั้งลูกนอน โดยออกแบบและสั่งผลิตขึ้นมาใหมโดยเลือกประกอบจากโรงงานกอนนํามา
ติดตั้งที่หนางานทําใหสามารถควบคุมคุณภาพของชิ้นงานไดเต็มประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพื่อลดขั้นตอน
การกอสรางตามแบบรายละเอียดที่คํานวณไดจากโปรแกรมคอมพิวเตอร ดังแสดงในรูปที่ 48
ซึ่งตองอาศัยการเครียรแบบจากโปรแกรมคอมพิวเตอร 3D เขามาชวยทุกขั้นตอนถึงจะสามารถ
ทํางานได ทั้งนี้ถือเปนความทาทายของงานวิศวกรรมโครงสรางเปนอยางมาก

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


73

6 ) เสริมกําลังรับแรงเฉือนที่ตีนเสาชั้น 5 เนื่องจากทางโครงการตองการเพิ่มถังเก็บน้ํา
และพัดลมดูดอากาศขนาดใหญ ผูออกแบบจึงตองทําการออกแบบเพิ่มเติม โดยทําการเสริม
กําลังที่จุดรองรับที่โคนเสาทุกตน โดยใชเหล็กรางน้ํา BASE SHEAR ( C-chanel ; C
250x90x9x13 mm ) เชื่อมเขากับเหล็ก Steel support ที่เสาเหล็กทุกตนแลวยึดดวย
Chemical Bolt HILTI HVU with HAS-E ROD ชุดละ 9 ตัวที่เสารอบนอกและ 12 ตัวที่เสา
รอบใน เพื่อรับแรงเฉือนที่โคนเสาเอียงรอบใน 60 ตัน/ตน เสารอบนอก 15 ตัน/ตน โดยให
ทางผูรับจางแบบรายละเอียด และวิธีการทํางานเพื่อขออนุมัติจากผูออกแบบ ที่ปรึกษาและ
คณะกรรมการตรวจการจาง

รูปที่ 52 แบบรายละเอียดการเสริมความแข็งแรงของจุดรองรับวงใน 60 ตัน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


74

รูปที่ 53 แบบรายละเอียดการเสริมความแข็งแรงของจุดรองรับวงนอก 15 ตัน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


75

รูปที่ 54 แสดงการติดตั้งเหล็ก BASE SHEAR (C-chanel ; C 250x90x9x13mm) และการทดสอบแรง


ดึงของ Shear Anchor M27 HILTI HVU with HAS-E ROD [ safe load 89.4 KN ( 9.117 Tons )]

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


76

ปญหาก็คืองานกอสรางตามสัญญาหลักเสร็จเรียบรอยแลว กระผมและทีมงานจึง
ตองคิดหาวิธีการกอสรางติดตั้งเสริมกําลังตามที่ผูออกแบบตองการ และไดเสนอวิธีการทํางาน
ดังนี้
1. สํารวจ และมารคตําแหนงที่จะทําการติดตั้งเหล็ก Base Shear โดยตําแหนงที่
ติดตั้งตรงกับแนวคานชั้น 5 ซึ่งการติดตั้งตองตัดผานแผนพื้น Hollow core
และคอนกรีตทับหนา
2. ตัด สกัดคอนกรีตตามตําแหนงที่เตรียมไวทําความสะอาด
3. เจาะและติดตั้ง Chemical Bolt M27 พรอมทําการทดสอบกําลังรับแรงดึงใน
สนามโดยกําหนด Ft safe load เทากับ 89.40 KN ( 9,117 kg )

4. เทคอนกรีต Grount ปรับระดับและติดตั้งเหล็กรางน้ําตามแบบรายละเอียด


5. ขันน็อตใหไดความตึงตามมาตรฐาน ASTM A325 Tension 56 - 67tons
Tightening Torque Range (ft-lbs) 525 Waxed 1,050 Plain

ผลการดําเนินการประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว สามารถทําการเสริมกําลัง
ตามขั้นตอนที่เสนอขออนุมัติไดโดยไมพบปญหา ผลการทดสอบกําลังรับแรงดึงของ Anchor
bolt ไดผลนาพอใจ

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


77

7 ) ปญหาการทํางานกอสราง เนื่องจากรูปทรงของอาคาร สืบเนื่องจากอาคารที่


กอสรางมีลักษณะเหมือนลูกขางคอยๆบานออกจากชั้นลางและมากสุดที่ชั้นบน ๆ ทําใหเกิดปญหา
ในการทํางานเชื่อม และตรวจสอบรอยเชื่อมในบริเวณเสารอบนอกทั้งหมด ขาพเจาจึงตองทําการ
ออกแบบระบบนั่งราน โดยไมสามารถที่จะตั้งนั่งรานจากชั้นลางไดเลย เนื่องจากตองใชนั่งราน
จํานวนมาก และถาตั้งขึ้นมาจะทําใหไปกีดขวางกับงานติดตั้งผนังภายนอกอลูมิเนียมคอมโพสิต
อีกทั้งกอใหเกิดอันตรายอยางมาก ขาพเจาและทีมงานจึงมีขอสรุปวิธีการทํางานในสวนโครงสราง
รอบนอกโดยทําการออกแบบนัง่ รานเหล็กเกาะติดกับเสารอบนอก ดังรูปที่ 55

รูปที่ 55 แสดงนั่งรานเหล็กที่ออกแบบดวยโปรแกรมวิเคราะหโครงสราง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


78

รูปที่ 56 แสดงผลการวิเคราะหโครงสรางนั่งราน กอนติดตั้งจริง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


79

รูปที่ 57 แสดงแบบรางกอนทําการวิเคราะห ออกแบบโครงสรางนั่งรานเหล็กสําหรับขนถายวัสดุ

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


80

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


81

ผลการดําเนินการประสบความสําเร็จเปนอยางมาก กลาวคือ โครงการกอสรางไมมีการ


ตั้งนั่งรานภายนอกเลย โดยขาพเจาและทีมงานไดทําการออกแบบนั่งรานแขวนสอดล็อค ไวที่
ตําแหนงเสาภายนอกทุกตน สามารถชวยในการตรวจสอบ และทําการกอสรางไดตามขั้นตอน
ที่วางไว ซึ่งประเด็นสําคัญของงานนี้ก็คือรูปรางของอาคารมีลักษณะทรงกรวยคอยๆ บานออก
การตั้งนั่งรานภายนอกจะไปขวางงานติดตั้งผนังรอบนอกอาคาร และในสวนการติดตั้งเสาเหล็ก
และโครงถักรอบนอกซึ่งมีอันตรายมากหากเลือกการตั้งนั่งรานจากภายนอก จึงเปนปญหาใหญ
มากในการกอสราง รวมถึงการออกแบบนั่งราน PLAT FORM สําหรับขนยายวัสดุเขาออก
ภายในอาคารที่กําลังกอสราง โดยใชเปนเสนทางหลักในการขนขยะออกจากตัวอาคาร และขน
ถายวัสดุงานโครงสรางและสถาปตยเขาไปทํางานในตัวอาคาร ดังแสดงในรูปที่ 57 แตสุดทาย
กระผมและทีมงานก็สามารถคิดวิธีทํางานกอสรางได ทําใหลดขั้นตอนและลดเวลาในการการ
กอสรางไดมากกวา 90 วัน รวมถึงประหยัดคาใชจายในการตั้งนั่งรานจากชั้นลางลงไดอยาง
มากมาย ตลอดจนการทํางานลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุไดเปนอยางดี จึงถือไดวาเปน
ความทาทายของงานวิศวกรรมในการออกแบบโครงสรางชั่วคราว ที่ตองสนับสนุนงานกอสรางให
ประสบความสําเร็จตามจุดประสงคของโครงการเปนอยางมาก

รูปที่ 58 แสดงการติดตั้งระบบนั่งรานเหล็กที่ออกแบบมาใหเหมาะสมกับการใชงานพิเศษ

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


82

7.2 ผลสําเร็จ และจุดเดนของโครงการเชิงวิศวกรรม


ปจจุบันทางโรงเรียนไดรับมอบอาคาร และเปดทําการสอนหนังสือแลว เปนที่รูจัก
ของคนทั่วไป และมีชื่อเสียงในสวนของงานวิศวกรรม งานโครงสรางเหล็กรูปพรรณเปนอยาง
มาก โครงการนี้ไดรบั การออกแบบเพื่อใหเปนอาคารโรงเรียนที่มีความสงางาม แสดง
ถึงเอกลักษณความเปนสถาบัน และตองเปนอาคารที่มีแนวคิดเรื่องการอนุรักษพลังงาน
เพื่อตอบสนองนโยบายการประหยัดพลังงานของรัฐบาล และลดภาระคาใชจายของโรงเรียน
ในอนาคต อีกทั้งยังเปนแหลงใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานใหแก
นักเรียน และบุคลากรของโรงเรียน ซึ่งสามารถศึกษาไดจากอาคารจริงและนําไปประยุกต
ใชไดอยางเหมาะสม โครงการนี้ไดรบั ความสําเร็จสูงสุดเปนอยางดียิ่ง เกิดจากความรวมแรง
รวมใจของทุก ๆ ฝายนับตั้งแตกลุมตัวแทนของ คณะกรรมการสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ,ที่ปรึกษาโครงการ , ผูออกแบบ และผูรับเหมา
ทุกราย ซึง่ กระผมเปนตัวแทนของบริษัท โดยงานนี้นับวาเปนงานที่มีความทาทายใน
เชิงวิศวกรรมเปนอยางมาก มีการวิเคราะห ออกแบบและกําหนดขั้นตอนการกอสรางของ
อาคารที่มีลักษณะเฉพาะพิเศษ กระผมในฐานะของวิศวกรของผูรับจาง ตองมีความรอบรู
ในศาสตรหลายๆ แขนง จึงจะนําไปสูความสําเร็จของงาน และถือเปนการบูรณาการ
( Integration ) ขององคความรูหลายๆ ดานเขาดวยกันไดแก
7.2.1 ความรูพื้นฐานดานวิศวกรรมปฐพี
7.2.2 ความรอบรูและความเขาใจในทฤษฎีการออกแบบโครงสรางเหล็ก และ
คอนกรีต
7.2.3 ความรอบรูและความเขาใจในขั้นตอนการกอสราง อาคารโครงสรางเหล็ก
รูปพรรณ ทรงกรวย ลูกขางและโครงเหล็กหลังคา ระบบ BRADE DOME เสนผาศูยน
กลาง 40 เมตร
7.2.4 ความรอบรูและความเขาใจในการวิเคราะห ออกแบบงานโครงสรางชั่วคราว
7.2.5 ความรอบรูและความเขาใจในขั้นตอนการกอสรางหองจัดเลี้ยงขนาดใหญ
7.2.6 ความรอบรูและความเขาใจในขั้นตอนการกอสรางสนามกีฬา
7.2.7 ความรอบรูและความเขาใจในขั้นตอนของงานระบบประกอบอาคารทุกระบบ
7.2.9 การจัดทําแบบเพื่อการกอสราง ( Shop drawing ) ซึ่งจากความสําเร็จของ
โครงการนี้ สามารถนําประสบการณตางๆ มาเพื่อใชประโยชนในอนาคตได

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


83

ประโยชนที่ไดรับจากการดําเนินโครงการ

ประโยชนที่ไดรับจากการดําเนินงานโครงการสามารถสรุปไดดังรายละเอียดตอไปนี้
1) ไดรับประสบการณการดําเนินการออกแบบปรับปรุง แกไขโครงสราง และงานออกแบบ
Temporary Structure ที่เกี่ยวของกับงานวิศวกรรมดังนี้
1.1 ออกแบบระบบกําแพงกันเดินชั่วคราว ขุดดินเพื่อติดตั้งถังบําบัดน้ําเสียขนาดใหญ
1.2 ออกแบบ และกําหนดความยาวเสาเข็มที่ใชในโครงการ โดยตอก PILOT PILE
1.3 ออกแบบแกไขฐานราก กรณีเสาเข็มหนีศูนย
1.4 ออกแบบฐานราก TOWER CRANE ซึ่งในโครงการใชทั้งหมด 5 ตัว
1.5 ออกแบบคํานวณระบบไมแบบผนังบอน้ํา และนั่งรานรับคาน , พื้น ค.ส.ล. รวม
ถึงโครงสรางนั่งราน และ PLAT FORM ชั่วคราว . ในการขนถายวัสดุ เขา – ออก จากอาคาร
1.6 ออกแบบโครงสรางฐานเครื่องจักร COOLLING TOWER บนชั้น 2 รวมถึง
หองเครื่องลิฟท และวิเคราะหออกแบบ เครื่องมือสําหรับยก / ติดตั้งบันไดเลื่อนภายในอาคาร
1.7 ออกแบบโครงสรางเหล็กตาขายกันลูกบอลกระเด็น ที่ชั้นสองของอาคารสนาม
ฟุตบอล และจุดยึด SUPPORT ของโครงสรางเหล็กอัฒจันทร
1.8 ออกแบบโครงสรางชั่วคราวรับโครงสราง BRACED DOME ชั้นหลังคา เพื่อใช
ในการประกอบติดตั้งโครงเหล็กโดม รวมถึงวิเคราะหศึกษาพฤติกรรมของโครงสราง BRACED
DOME ขณะติดตั้ง ความยาวเสนผาศูยนกลาง 40 เมตร ติดตั้งที่ความสูง 68.15 เมตร และ
ตองทําการวิเคราะหพฤติกรรมของโครงสรางในขณะกอสรางโดยเริ่มจาก 2D ไปจนประกอบ
ติดตั้งครบ 3D รวมถึงคาการแอนตัวที่จุดศูยนกลาง และแรงถีบที่หัวเสา เพื่อเปนขอมูลใน
การทํางาน ดังแสดงในภาคผนวก ค และภาคผนวก ง.

2) เนื่องจากโครงสรางของอาคาร B มีลักษณะรูปรางพิเศษไมสามารถใชแบบ 2D ทํางาน


ไดจึงตองมีการจัดทําแบบ Shop Drawing 3D โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร TEKLA และ
ระบบตัดชิ้นสวนเหล็กสําเร็จรูป BAR CUTTING LIST ประกอบโครงสรางเหล็กที่โรงงานตาม
Shop Drawing รวมถึงประเมิณน้ําหนักโครงสรางแตละชิ้นสวน วาสามารถใชเครนยกไดหรือไม
กอนสงมาติดตั้งจริงที่หนวยงานกอสราง จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองทําการเครียรแบบ
รายละเอียดจากโปรแกรมคอมพิวเตอร และขออนุมัติกอนดําเนินการกอสราง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


84

รูปที่ 59 แบบคูสัญญา 2D

รูปที่ 60 ตรวจสอบและขออนุมัติงานแบบรายละเอียดโครงสรางเหล็กโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร TEKAL

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


85

3) ไดวิเคราะหศึกษาพฤติกรรมโครงสรางเหล็กขณะดําเนินการกอสราง โดยใช Solf ware :


ETAB PROGRAM และ STAAD Pro. รวมกับ ดร. สรกานต ศรีตองออน มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ เพื่อนําขอมูลมาใชเปนแนวทางในการจัดทํา Method
Statement of Construction ในสวนของโครงสรางเหล็ก ซึ่งไดเห็นพฤติกรรมขณะกอสราง
ไปทีละสวน โดยสิ่งที่ตองพิจารณาอยางเขมงวด จะอยูที่ชิ้นสวนของเสาเอียง ในขณะกอสราง
เสายังไมสามารถรับน้ําหนักไดตามที่ผูออกแบบกําหนด ตองทําการกอสรางจนครบระบบที่ชั้น 10
กอน เพราะฉะนั้นในการกอสราง จึงตองมีการออกแบบ TENSION ROD ดึงเสาทุกตนไมให
เคลื่อนตัวออกไป โดยทําการดึงที่ชั้น 8 และชั้น 10 ตามผลการวิเคราะหโครงสราง
ลําดับขั้นตอน และผลการวิเคราะห ดังแสดงในภาคผนวก ค.

รูปที่ 61 สราง MODEL เพื่อศึกษาพฤติกรรมของโครงสราง ขณะทําการกอสราง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


86

4) ออกแบบโครงสรางชั่วคราว โดยนํา Mast Tower crane มาประกอบและ ปรับปรุงให


สามารถรับน้ําหนักของ BRACED DOME ขณะกอสรางได โดยพิจารณาตรวจสอบพฤติกรรม
ระหวางติดตั้ง และหลังปลดรื้อนั่งราน รวมถึง ไดสราง MODEL วิเคราะหศึกษาพฤติกรรม
โครงสรางที่ไมใช โครงสรางในระนาบ ( Plane Truss Structure ) แตจะเปนโครงสรางหลังคา
เหล็กรูปพรรณ แบบ BRACED DOME ซึ่งมีเสนผาศูยนกลาง 39.80 เมตร สูง 10.26 เมตร
ติดตั้งที่ความสูง 68.15 เมตร โดยพิจารณาคาการแอนตัวที่จดุ ศูยนกลาง และแรงถีบที่หัวเสา
เพื่อเปนขอมูลในการทํางานการจัดลําดับขั้นตอนการติดตั้ง ดังแสดงในภาคผนวก ง.

รูปที่ 62 สราง MODEL เพื่อศึกษาพฤติกรรมของโครงสราง BRACED DOME

และไดมีโอกาสสรางโมเดลในการวิเคราะหโครงสรางโดมรูปวงรี ขนาดเสนผาศูยนกลาง 40 เมตร


ของโครงการสํานักงานการไฟฟานครหลวง แหงใหม เขตคลองเตย เพื่อจัดทําขั้นตอนในการ
กอสราง และตองทําการออกแบบโครงสรางชั่วคราวขึ้นไปรับโครงสรางโดมนี้ดวย ซึ่งถือวาไดมี
โอกาสนําความรู และประสบการณที่ไดมาจากการทํางานในโครงการนี้ มาใชประโยชนตอยอด
ไดเปนอยางดี

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


87

รูปที่ 63 แสดงการนําความรูและประสบการณที่ไดรับจากโครงการนี้ ไปใชประโยชนตอยอด ในการ


จัดทําขั้นตอนการกอสรางโดมรูปวงรี

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


88

รุปที่ 64 แสดงผลสําเร็จในการนําความรูและประสบการณที่ไดรับมาจากโครงการนี้ ในการจัดทํา


ขั้นตอนการกอสรางโดมรูปวงรี ของโครงการ สํานักงานการไฟฟานครหลวง แหงใหม

5) ไดมีโอกาสเขียนคูมือ และเปนวิทยากรรับเชิญบรรยาย เรื่อง ตัวอยางการใชโปรแกรม


คอมพิวเตอร STAAD Pro .V8i (SS6) ในการวิเคราะหโครงสรางเหล็กอาคาร โรงเรียน โยธิน
บูรณะ https://www.youtube.com/watch?v=vEpF_FGh-ZM
เพื่อศึกษาพฤติกรรมจริงที่เกิดขึ้นระหวางกอสราง เปรียบเทียบกับการวิเคราะหโครงสรางอาคาร
ดวยโปรแกรมอมพิวเตอร และนําขอมูลมาจัดทําขั้นตอนการกอสราง Method Statement
of Construction

6) ไดรับประสบการณในการวางแผนกอสราง เพื่อปองกันไมใหเกิดปญหาระหวางกอสราง
ซึ่งเปนอาคารเหล็กรูปพรรณ รูปรางลักษณะพิเศษ เหมือนลูกขาง และชั้นหลังคา มีโครงสราง
หลังคาเหล็ก BRACED DOME เสนผาศูยนกลาง 40 เมตร สูง 10.26 เมตร

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


89

7) ไดมีโอกาสเรียนรูระบบผนัง และโครงสรางรับผนังรอบอาคาร รวมถึงขั้นตอนการติดตั้ง


ซึ่งตองใชโปรแกรมคอมพิวเตอร TEXKLA เขามาชวยในการเครียรรายละเอียดแบบกอสราง

8) ไดมีโอกาสตอนรับและเผยแพรแลกเปลี่ยนความรูประสบการณทางดานวิชาชีพตลอดจน
มาตรฐานการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ใหแกหนวยงานที่มาเยีย่ มชมโครงการกอสราง และ
เรียนรูความกาวหนาของงานวิศวกรรมโยธาดานตาง ๆ ดังนี้

8.1 คณะอาจารย และนักศึกษา จาก มหาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ


8.2 คณะอาจารย และนักศึกษา จาก มหาลัยธรรมศาสตร
8.3 คณะอาจารย และนักศึกษา จาก โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา
8.4 คณะอาจารย และนักศึกษา จาก มหาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
8.5 คณะอนุกรรมการโครงสรางเหล็ก วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรม
ราชูปถัมภ และสมาชิก วสท.
8.6 คณะอาจารย และนักศึกษา จาก Ministry of Education of Sri Lanka by
Asian Institute of Technology ( A.I.T. )
8.7 คณะกรรมการตรวจการจางกรมราชองครักษ และบริษัท สแปน คอนซัลแตนท จํากัด

9) ไดรับความรูใ นการกอสรางอาคารประหยัดพลังงาน เหล็กรูปพรรณ รูปทรงกรวย ระบบปด


แหงแรกในประเทศไทย

10) ไดรับความรู และประสบการณในการวางแผนงาน จัดลําดับงานตามขั้นตอนการกอสรางที่


ผานการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจการจาง รวมกับทุกๆ สาระงานซึ่งในโครงการนี้ตองมี
การประชุมรวมกันทุกวัน เพื่อใหงานกอสรางแลวเสร็จตามงบประมาณ และระยะเวลา
ที่กําหนด

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


90

รูปที่ 65 หนวยงานตางๆ ที่มาเยี่ยมชมโครงการกอสราง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


91

8. ขอกําหนด และมาตรฐานทีเ่ กี่ยวของ

1. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และกฎกระทรวงที่ออกตามความใน


พระราชบัญญัติฉบับนี้
2. การคํานวณออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริม โดยวิธีกําลัง ( STRENGTH DESIGN
METHOD ) อางอิงมาตรฐาน ว.ส.ท. 1008 – 38
3. การคํานวณออกแบบโครงสรางอาคารเหล็กรูปพรรณ โดยวิธีหนวยแรงที่ยอมให
( ALLOWABLE STRESS DESIGN ) อางอิงมาตรฐานของ ว.ส.ท. 1003 – 18
4. มาตรฐานงานเชื่อมเหล็ก AMERICAN WELDING SOCIETY ( AWS)
5. มาตรฐานการตรวจสอบรอยเชื่อม โครงเหล็กรูปพรรณ ดวยวิธกี ารทดสอบแบบไมทําลาย
มยผ. 1561 – 51 วิธีตรวจพินิจ
มยผ. 1562 – 51 UT
มยผ. 1564 – 51 มาตราฐาการตรวจสอบรอยเชื่อม โครงเหล็กรูปพรรณดวย
วิธีการทดสอบดวยสารแทรกซึม ( STANDARD FOR WELDMENT EXAMINATION IN
STEEL STRUCTURE WITH PENETRANT TESTING METHOD )

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


ภาคผนวก ก.
เอกสารประกอบ
2

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


3

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


4

ภาคผนวก ข.
การทดสอบวัสดุ

การตรวจสอบรอยเชื่อมดวยวิธี TENSILE TEST

การทดสอบแรงดึง tension test หรือ tensile test คือ วิธีการทดสอบเนื้อสัมผัส


(texture analysis) โดยใชแรงดึง (tesile force) ดึงวัสดุอยางชาๆ ทําใหวัสดุ จะยืดยาว
ขึ้นทําใหแรงดึงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั้งชิ้น ทดสอบขาดจึงบันทึกความสัมพันธ ระหวาง
ความเคนดึง (tensile stress) กับ ความเครียดแนวดึง ความเครียด ตามแนวดึง (tesile
strain) แสดงความสัมพันธเปนกราฟ

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


5

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


6

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


7

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


8

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


9

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


10

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


11

การทดสอบรอยเชื่อม ดวยวิธีทดสอบแบบไมทําลาย ULTRASONIC TEST

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


12

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


13

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


ภาคผนวก ค.
ผลวิเคราะหแรงที่เกิดขึ้นในชัน้ 6

ภาพที่ 1-ค โครงสรางชั้นที่ 6


การโกงตัวของโครงสราง ( Deflection )

ภาพที่ 2–ค การโกงตัวของโครงสรางชั้นที่ 6


2

จากภาพที่ 2-ค แสดงถึงคาการโกงตัวของโครงสราง พบวาคาการโกงตัวของโครงสรางอยู


ระหวาง 0 ถึง -16.69 มิลลิเมตร เสาเอียงรอบนอกสุดมีการโกงขึ้นเล็กนอย 0.45 มิลลิเมตร
พื้นที่ชวงในมีการโกงตัวของโครงสรางอยูท ี่ -0.61 ถึง -10.81 มิลลิเมตร
คาโกงตัวของโครงสรางที่ยอมรับไดจาก L/360 อยูที่ระหวาง -4.89 ถึง -29.0 มิลลิเมตร
ดังนั้นการโกงตัวของโครงสรางในชั้นนี้ผานมาตรฐาน

ผลการวิเคราะหแรงเฉือน และแรงโมเมนต

ภาพที่ 3-ค แรงเฉือนที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 6

จากการใชโปรแกรม MIDAS GEN วิเคราะหแรงเฉือน พบวาแรงเฉือน ในเสาตรงมีคา


มากกวาเสาเอียงดานใน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


3

ภาพที่ 4-ค แรงโมเมนตที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 6

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


4

ตารางที่ 1-ข ผลลัพธการวิเคราะหแรง จากโปรแกรม MIDAS GEN เมื่อกอสรางชั้น 6 เสร็จ

Pu Mu Vu ϕPn ϕMn ϕVn


Section Force Moment Force Capacity Capacity Capacity สรุป
(kgf) (kgf-m) (kgf) (kgf) (kgf-m) (kgf)
Pipe 600 x 25 -27,502 29,862 8,976 862,731 164,150 263,153 ผาน
WF 600 x 300 17,053 38,348 22,590 415,800 93,959 101,606 ผาน
WF 500 x 300 -3,887 -37,856 21,119 316,930 69,768 77,299 ผาน
WF 400 x 300 -206.79 -21,810 11,144 257,472 47,289 56,160 ผาน
WF 400 x 200 4,201 16,867 9,737 181,699 24,766 46,080 ผาน
WF 300 x 200 409 -8,791 4,737 163,890 19,461 32,667 ผาน
WF 300 x 150 5,239 1,262 560 101,045 10,564 28,080 ผาน
WF 200 x 200 -2,534 -5,754 5,481 97,216 10,556 23,040 ผาน

จากการใชโปรแกรม MIDAS GEN วิเคราะหแรงโมเมนต พบวาโมเมนต ในเสาตรงมีคา


มากกวาเสาเอียงดานใน และโมเมนต ที่ปลายเสามีคาสูงที่สุดใน Member สวนเสาเอียงดาน
นอกนั้นโมเมนต มีคานอยมาก เมื่อเทียบกับเสาดานใน และโมเมนต ในคานมีคาสูงสุดทีต่ ําแหนงที่
มีคานมาฝาก

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


5

ผลวิเคราะหแรงที่เกิดขึ้นในชัน้ 7

ภาพที่ 5-ค โครงสรางชั้นที่ 7


การโกงตัวของโครงสราง ( Deflection )

ภาพที่ 6-ค คาการโกงตัวของโครงสรางชั้นที่ 7


จากภาพที่ 6-ค แสดงคาการโกงตัวของโครงสราง พบวาคาการโกงตัวของโครงสรางอยูที่
ระหวาง 0 ถึง -28.38 มิลลิเมตร เสาเอียงรอบนอกสุดมีการโกงขึ้นเล็กนอย 0.43 มิลลิเมตร
พื้นที่ชวงในมีการโกงตัวของโครงสรางอยูท ี่ -0.41 ถึง -10.30 มิลลิเมตร
คาโกงตัวของโครงสรางที่ยอมรับไดจาก L/360 อยูที่ระหวาง -7.0 ถึง -22.7 มิลลิเมตร
ดังนั้นการโกงตัวของโครงสรางในชั้นนี้ผานมาตรฐาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


6

ผลการวิเคราะหแรงเฉือน และแรงโมเมนต

ภาพที่ 7-ค แรงเฉือนที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 7

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


7

ภาพที่ 8-ค แรงโมเมนตที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 7

จากรูปที่ 7-ค คาแรงเฉือน ในเสาเอียงรอบในชั้นที่ 6 มีคามากกวาเสาชั้นที่ 5 และภาพที่


8-ค. พบวาโมเมนต ในเสาชั้นที่ 6 มีคามากกวาเสาชั้นที่ 5 ทั้งนี้ยงั พบวาคาโมเมนต ในเสาชั้นที่
5 มีคาลดลงเมื่อเทียบกันกับการกอสรางชั้นที่ 6 สวนคาโมเมนต ในเสาเอียงดานนอก พบวามีคา
นอยมากเมื่อเทียบกันกับเสาดานใน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


8

ตารางที่ 2-ค ผลลัพธการวิเคราะหแรง จากโปรแกรม MIDAS GEN เมื่อกอสรางชั้น 7

Pu Mu Vu ϕPn ϕMn ϕVn


Section Force Moment Force Capacity Capacity Capacity สรุป
(kgf) (kgf-m) (kgf) (kgf) (kgf-m) (kgf)
Pipe 600 x 25 -33,647 21,021 9,765 862,731 164,151 263,153 ผาน
WF 700 x 300 20,694 -41,674 21,721 508,680 129,881 131,040 ผาน
WF 400 x 300 -1,049 -25,187 11,666 242,753 45,708 56,160 ผาน
WF 400 x 200 -4,388 -13,758 10,690 47,047 15,759 46,080 ผาน
WF 300 x 150 5,034 1,378 494 101,045 9,674 28,080 ผาน
WF 200 x 200 -2,166 5,135 4,483 91,595 10,382 23,040 ผาน
Story 6
Pipe 600 x 25 -27,502 29,862 8,976 862,731 164,150 263,153 ผาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


9

ผลวิเคราะหแรงที่เกิดขึ้นในชัน้ 8

ภาพที่ 9-ค โครงสรางชั้นที่ 8


การโกงตัวของโครงสราง ( Deflection )

ภาพที่ 10-ค คาการโกงตัวของโครงสรางชั้นที่ 8


จากภาพที่ 10-ค พบวาคาการโกงตัวของโครงสรางอยูที่ระหวาง 0 ถึง 32.06 มิลลิเมตร
พื้นที่รอบนอกสุดมีคาการโกงตัวของโครงสรางอยูท ี่ระหวาง 0 ถึง -18.15 มิลลิเมตร ถัดเขามามีคา
การโกงตัวของโครงสรางอยูที่ระหวาง -0.86 ถึง -11.45 มิลลิเมตร พื้นที่บริเวณเสาเอียงดานใน
มีคาการโกงตัวของโครงสรางอยูท ี่ระหวาง -11.45 ถึง -32.06 มิลลิเมตร
คาโกงตัวของโครงสรางที่ยอมรับไดจาก L/360 อยูที่ระหวาง -6.8 ถึง -15.0 มิลลิเมตร
ดังนั้นการโกงตัวของโครงสรางในชั้นนี้ผานมาตรฐาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


10

ผลการวิเคราะหแรงเฉือน และแรงโมเมนต

ภาพที่ 11-ค แรงเฉือนที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 8

พบวาแรงเฉือน ในเสาเอียงดานในของชั้นที่ 7 มีคาที่สงู ขึ้นมาก สวนเสาตรงของชั้นที่ 7


พบวามีคาแรงเฉือน นอยกวาเสาตรงของชั้นที่ 6 และ ชั้นที่ 5 ทั้งนี้ยังพบอีกวาเสาเอียงดานนอก
เริ่มเกิดแรงเฉือนขึ้น

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


11

ภาพที่ 12-ค แรงโมเมนตที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 8

พบวาโมเมนต ในเสาเอียงชั้นที่ 7 มีคาที่สูงมากเมื่อเทียบกับชั้นที่ 5 และ ชั้นที่ 6 สําหรับ


คาโมเมนต ในชั้นที่ 5 พบวามีคาเปลี่ยนแปลงเล็กนอยเมื่อเทียบกับการกอสรางชั้นที่ 7 ทั้งนี้ยังพบ
อีกกวาคานรัดรอบเสาเอียงชั้นที่ 7 มีคาโมเมนตสูงกวาคานหลักมากเมื่อเปรียบเทียบกัน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


12

ตารางที่ 3-ข ผลลัพธการวิเคราะหแรง จากโปรแกรม MIDAS GEN เมื่อกอสรางชั้น 8 เสร็จ

Mu Vu ϕPn ϕMn ϕVn


Pu Force
Section Moment Force Capacity Capacity Capacity สรุป
(kgf)
(kgf-m) (kgf) (kgf) (kgf-m) (kgf)
Pipe 600 x 25 -99,021 77,380 28,540 859,605 164,151 263,153 ผาน
Pipe 600 x 16 -67,692 15,288 8,704 610,101 122,811 198,246 ผาน
WF 700 x 300 17,611 63,285 31,826 508,680 124,881 131,040 ผาน
WF 500 x 300 2,202 57,315 29,582 353,160 69,768 77,299 ผาน
WF 400 x 300 2,786 29,404 22,997 169,259 39,137 56,160 ผาน
WF 400 x 200 10,539 32,683 16,916 181,699 24,766 46,080 ผาน
WF 300 x 150 4,514 3,809 1,820 101,045 8,785 28,080 ผาน
WF 200 x 200 543 11,480 9,461 85,891 10,207 23,040 ผาน
Tension Rod 1" 1,000 - - 3,658 - - ผาน
Story 6
Pipe 600 x 25 -294,545 -17,514 -7,718 859,605 164,151 263,153 ผาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


13

ผลเปรียบเทียบคาการเคลื่อนตัวระหวางชัน้ (Story Drift) ชั้นที่ 8

กรณีไมมีการดึงลวดสลิงรับแรงดึง ( TENSION ROD )

ภาพที่ 13-ค การเคลื่อนตัวระหวางชั้น กรณีไมมีการดึงลวดสลิงรับแรงดึง ชั้นที่ 8

จากผลการวิเคราะหพบวาในการกอสรางชั้นที่ 6 มีคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้น ใน
แนวแกน X , Y คือ 0.684 และ 0.425 มิลลิเมตรตามลําดับ การกอสรางชั้นที่ 7 มีคาการเคลื่อน
ตัวระหวางชั้นในแนวแกน X , Y คือ 0.765 และ 1.898 มิลลิเมตรตามลําดับ การกอสรางในชั้นที่
8 มีคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นในแนวแกน X , Y คือ 0.976 และ 2.057 ตามลําดับ เมื่อพิจารณา
มาตรฐานวาตองมีคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นไมเกินรอยละ 0.5 ของความสูง โดยความสูงของชั้น
ที่ 6 มีความสูง 3.65 เมตร มีคาที่ยอมให 18.25 มิลลิเมตร ชั้นที่ 8 เปนตนไปมีความสูง 3.85
เมตร มีคาที่ยอมใหคือ 19.25 มิลลิเมตร เมื่อเทียบคาการเคลื่อนตัวระหวางกราฟที่เกิดขึ้นจริง
พบวามีคานอยกวาคาทีย่ อมให เพราะฉะนั้นคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นนี้ยอมรับได

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


14

กรณีดึงลวดสลิงรับแรงดึง ( TENSION ROD )

ภาพที่ 14-ค การเคลื่อนตัวระหวางชั้น กรณีดึงลวดสลิงรับแรงดึง ชั้นที่ 8

จากผลการวิเคราะหพบวาในการกอสรางชั้นที่ 6 มีคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นในแนวแกน
X , Y คือ 0.682 และ 0.457 มิลลิเมตรตามลําดับ การกอสรางชั้นที่ 7 มีคาการเคลื่อนตัวระหวาง
ชั้นในแนวแกน X , Y คือ 0.732 และ 1.824 มิลลิเมตรตามลําดับ การกอสรางในชั้นที่ 8 มีคาการ
เคลื่อนตัวระหวางชั้นในแนวแกน X , Y คือ 0.980 และ 1.953 ตามลําดับ เมื่อพิจารณามาตรฐาน
วาตองมีคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นไมเกินรอยละ 0.5 ของความสูง โดยความสูงของชั้นที่ 6 มี
ความสูง 3.65 เมตร มีคาที่ยอมให 18.25 มิลลิเมตร ชั้นที่ 8 เปนตนไปมีความสูง 3.85 เมตร มี
คาที่ยอมใหคือ 19.25 มิลลิเมตร เมื่อเทียบคาการเคลื่อนตัวระหวางกราฟที่เกิดขึ้นจริง พบวามีคา
นอยกวาคาที่ยอมให เพราะฉะนั้นคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นนีย้ อมรับได
เมื่อเปรียบเทียบระหวาง 2 กรณีพบวา เมื่อมีการดึงลวดสลิงรับแรงดึง คาการเคลื่อนตัว
ระหวางชั้นมีคานอยกวากรณีไมมีการดึง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


15

ผลวิเคราะหแรงที่เกิดขึ้นในชัน้ 9

ภาพที่ 15-ค โครงสรางชั้นที่ 9


การโกงตัวของโครงสราง ( Deflection )

ภาพที่ 16-ค คาการโกงตัวของโครงสรางชั้นที่ 9


จากภาพที่ 16-ค พบวาคาการโกงตัวของโครงสรางอยูที่ระหวาง 0 ถึง -42.29 มิลลิเมตร
พื้นที่รอบนอกสุดมีคาการโกงตัวของโครงสรางอยูท ี่ระหวาง -1.15 ถึง -21.32 มิลลิเมตร ถัดเขา
มามีคาการโกงตัวของโครงสรางอยูที่ระหวาง -1.59 ถึง -15.33 มิลลิเมตร บริเวณเสาเอียงดานใน
มีคาการโกงตัวของโครงสรางอยูท ี่ระหวาง -3.78 ถึง -42.29 มิลลิเมตร
คาโกงตัวของโครงสรางที่ยอมรับไดจาก L/360 อยูที่ระหวาง -6.5 ถึง -20.1 มิลลิเมตร
ดังนั้นการโกงตัวของโครงสรางในชั้นนี้ผานมาตรฐาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


16

ผลการวิเคราะหแรงเฉือน และแรงโมเมนต

ภาพที่ 17-ค แรงเฉือนที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 9

พบวาแรงเฉือน ในเสาเอียงดานในชั้นที่ 8 มีคาสูงที่สุด เมื่อเทียบกับเสาชั้นลาง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


17

ภาพที่ 18-ค แรงโมเมนตที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 9 แบบภาพตัดผาน

พบวาคาโมเมนต ในเสาเอียงชั้นที่ 8 มีคาที่สูงมากเมื่อเทียบกับเสาชั้นลาง สําหรับคา


โมเมนต ในชั้นที่ 5 พบวามีคาเปลี่ยนแปลงเล็กนอยเมื่อเทียบกับการกอสรางชั้นที่ 8

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


18

ตารางที่ 4-ค ผลลัพธการวิเคราะหแรง จากโปรแกรม ETABS เมื่อกอสรางชั้น 9


Mu Vu ϕPn ϕMn ϕVn
Pu Force
Section Moment Force Capacity Capacity Capacity สรุป
(kgf)
(kgf-m) (kgf) (kgf) (kgf-m) (kgf)
Pipe 600 x 25 -84,919 90,663 35,079 859,605 164,151 263,153 ผาน
Pipe 600 x 16 -40,559 23,719 8,299 642,952 121,805 193,363 ผาน
WF 700 x 300 40,720 65,379 31,153 508,680 124,881 131,040 ผาน
WF 500 x 300 1,561 -62,089 26,005 353,160 68,276 77,299 ผาน
WF 400 x 300 2,306 -30,553 23,760 293,760 39,137 56,160 ผาน
WF 400 x 200 10,942 32,614 16,904 181,699 24,766 46,080 ไม
WF 300 x 150 1,995 4,920 2,143 101,045 7,895 28,080 ผาน
WF 200 x 200 728 -13,158 11,178 137,225 10,909 23,040 ผาน
Story 6
Pipe 600 x 25 -377,109 19,364 8,083 859,605 164,151 263,153 ผาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


19

ผลวิเคราะหแรงที่เกิดขึ้นในชัน้ 10

ภาพที่ 19-ค โครงสรางชั้นที่ 10

การโกงตัวของโครงสราง ( Deflection )

ภาพที่ 20-ค คาการโกงตัวของโครงสรางชั้นที่ 10

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


20

จากภาพที่ 20-ค พบวาคาการโกงตัวของโครงสรางอยูที่ระหวาง 0 ถึง -31.86 มิลลิเมตร


พื้นที่รอบนอกสุดมีคาการโกงตัวของโครงสรางอยูท ี่ระหวาง -1.46 ถึง -19.96 มิลลิเมตร ถัดเขา
มามีคาการโกงตัวของโครงสรางอยูที่ระหวาง -2.86 ถึง -13.66 มิลลิเมตร บริเวณเสาเอียงดาน
ในมีคาการโกงตัวของโครงสรางอยูท ี่ระหวาง -4.71 ถึง -31.86 มิลลิเมตร
คาโกงตัวของโครงสรางที่ยอมรับไดจาก L/360 อยูที่ระหวาง -6.5 ถึง -25.2 มิลลิเมตร
ดังนั้นการโกงตัวของโครงสรางในชั้นนี้ผานมาตรฐาน

ผลการวิเคราะหแรงเฉือน และแรงโมเมนต

ภาพที่ 21-ค แรงเฉือนที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 10 แบบภาพตัดผาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


21

ภาพที่ 22- ค แรงโมเมนตที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 10 แบบภาพตัดผาน

จากภาพที่ 21-ค. คาแรงเฉือน ในเสาเอียงชั้นที่ 9 มีคาสูงที่สุด และเสาเอียงดานนอกของ


ชั้นที่ 9 มีแรงเฉือน เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเสาเอียงดานนอกของชั้นลาง สวนในภาพที่ 22-ค. พบวา
แรงโมเมนต ของเสาชั้นที่ 8 และ 9 มีคาสูงมากเมื่อเทียบกับชั้นที่ 5 และ 6 ทั้งนี้ยังพบวาคานตัว
หลัก และเสาอียงดานนอกชั้น 10 มีแรงโมเมนต เพิ่มขึ้น โดยที่ชั้น 8 และ 9 คานตัวหลักและเสา
เอียงดานนอก มีแรงโมเมนต นอยมาก

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


22

ตารางที่ 5-ค ผลลัพธการวิเคราะหแรง จากโปรแกรม ETABS เมื่อกอสรางชั้น 10

Story 10
Mu Vu ϕPn ϕMn ϕVn
Pu Force
Section Moment Force Capacity Capacity Capacity Color สรุป
(kgf)
(kgf-m) (kgf) (kgf) (kgf-m) (kgf)
Pipe 600 x 16 -51931 53,220 15,787 610,101 122,811 198,246 ผาน
WF 700 x 300 2,190 -35,621.53 21,523 530,759 145,726 120,816 ผาน
WF 600 x 300 1,650 104,431 33,247 434,010 101,244 94,853 ผาน
WF 500 x 300 -739 -25405 19,139 368,709 72,791 73,125 ผาน
WF 400 x 300 5,436 -27,023.27 11,711 263,502 49,378 53,750 ผาน
WF 400 x 200 -319 3,914 972 190,080 25,274 43,450 ผาน
WF 300 x 200 1,699 -13,943.88 9,498 163,890 19,461 32,667 ผาน
WF 300 x 150 363 2,965 903 105,795 12,271 26,428 ผาน
WF 250 x 250 -63,150.21 -3539 1,209 208,215 21,697 31,539 ผาน
WF 200 x 200 35,663 -2407 3,075 143,483 11,868 22,382 ผาน
Tension Rod 1" 600 - - 3,658 - - ผาน
Story 6
Pipe 600 x 25 -371,477 24,133 11,676 928,949 186,094 305,217 ผาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


23

ผลเปรียบเทียบคาการเคลื่อนตัวระหวางชัน้ (Story Drift) ชั้นที่ 10

กรณีไมมีการดึงลวดสลิงรับแรงดึง

ภาพที่ 23-ค การเคลื่อนตัวระหวางชั้น กรณีไมมีการดึงลวดสลิงรับแรงดึง ชั้นที่ 10

จากผลการวิเคราะหพบวาในการกอสรางชั้นที่ 9 มีคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นในแนวแกน
X , Y คือ 6.856 และ 2.480 มิลลิเมตรตามลําดับ การกอสรางชั้นที่ 10 มีคาการเคลื่อนตัว
ระหวางชั้นในแนวแกน X , Y คือ 11.709 และ 3.585 มิลลิเมตรตามลําดับ
เมื่อพิจารณามาตรฐานวาตองมีคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นไมเกินรอยละ 0.5 ของความสูง
โดยชั้นที่ 8 เปนตนไปมีความสูง 3.85 เมตร มีคา ที่ยอมใหคือ 19.25 มิลลิเมตร เมื่อเทียบกันกับคา
การเคลื่อนตัวที่เกิดขึ้นจริง พบวามีคานอยกวาคาที่ยอมให เพราะฉะนัน้ คาการเคลื่อนตัว
ระหวางชั้นนี้ยอมรับได

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


24

กรณีดึงลวดสลิงรับแรงดึง

ภาพที่ 24-ค การเคลื่อนตัวระหวางชั้น กรณีดงึ ลวดสลิงรับแรงดึง ชั้นที่ 10

จากผลการวิเคราะหพบวาในการกอสรางชั้นที่ 9 มีคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นในแนวแกน
X , Y คือ 4.345 และ 1.782 มิลลิเมตรตามลําดับ การกอสรางชั้นที่ 10 มีคาการเคลื่อนตัว
ระหวางชั้นในแนวแกน X , Y คือ 6.359 และ 3.154 มิลลิเมตรตามลําดับ เมื่อพิจารณา
มาตรฐานวาตองมีคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นไมเกินรอยละ 0.5 ของความสูง โดยชั้นที่ 8
เปนตนไปมีความสูง 3.85 เมตร มีคาที่ยอมใหคือ 19.25 มิลลิเมตร เมื่อเทียบกันกับคาการเคลื่อน
ตัวที่เกิดขึ้นจริง พบวามีคานอยกวาคาที่ยอมให เพราะฉะนั้นคาการเคลื่อนตัวระหวางชั้นนี้ยอมรับ
ได
เมื่อเปรียบเทียบระหวาง 2 กรณีพบวา เมื่อมีการดึงลวดสลิงรับแรงดึง คาการเคลื่อนตัว
ระหวางชั้นมีคานอยกวากรณีไมมีการดึง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


25

ผลวิเคราะหแรงที่เกิดขึ้นในชัน้ 11

ภาพที่ 25-ค โครงสรางชั้นที่ 11


การโกงตัวของโครงสราง ( Deflection )

ภาพที่ 26-ค คาการโกงตัวของโครงสรางชั้นที่ 11


พบวาคาการโกงตัวของโครงสรางอยูที่ระหวาง 0 ถึง -29.03 มิลลิเมตร พื้นที่รอบนอกสุดมี
คาการโกงตัวของโครงสรางอยูท ี่ระหวาง -4.23 ถึง -29.03 มิลลิเมตร
ถัดเขามามีคาการโกงตัวของโครงสราง อยูที่ระหวาง -4.53 ถึง -14.57 มิลลิเมตร บริเวณเสา
ดานในมีคาการโกงตัวของโครงสรางอยูที่ระหวาง -5.09 ถึง -27.96 มิลลิเมตร
คาโกงตัวของโครงสรางที่ยอมรับไดจาก L/360 อยูที่ระหวาง -5.26 ถึง -30.0 มิลลิเมตร
ดังนั้นการโกงตัวของโครงสรางในชั้นนี้ผานมาตรฐาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


26

ผลการวิเคราะหแรงเฉือน และแรงโมเมนต

ภาพที่ 27-ค แรงเฉือนที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 11 แบบภาพตัดผาน

พบวาแรงเฉือน ของเสาเอียงมีคาลดลง เมื่อเสาเอียงชั้นที่ 10 ไดตอกับเสาตรง แตเสาเอียง


ดานนอกกลับมีคาแรงเฉือน ที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับชั้นลาง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


27

ภาพที่ 28-ค แรงโมเมนตที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 11 แบบภาพตัดผาน

พบวาคาโมเมนต ในเสาเอียงมีคาลดลง เมื่อเสาเอียงของชั้น 10 ไดตอกับเสาตรงของชั้นที่


10 ทั้งนี้ยังพบอีกวาเสาเอียงดานนอกมีโมเมนต ที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเสาเอียงดานนอกที่ชั้นลาง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


28

ตารางที่ 6-ค ผลลัพธการวิเคราะหแรง จากโปรแกรม MIDAS GEN เมื่อกอสรางชั้น 11

Mu Vu ϕPn ϕMn ϕVn


Pu Force
Section Moment Force Capacity Capacity Capacity สรุป
(kgf)
(kgf-m) (kgf) (kgf) (kgf-m) (kgf)
Pipe 600 x 16 -53,772 52,204 22,125 642,952 121,805 193,363 ผาน
WF 700 x 300 -4,085 87,097 33,700 324,835 124,003 131,040 ผาน
WF 600 x 300 -1,375 56,999 30.071 148,450 64,930 101,606 ผาน
WF 500 x 300 133 -68,580 16,609 353,160 68579 77,299 ผาน
WF 400 x 300 34,181 -30,280 22,619 293,760 39,137 56,160 ผาน
WF 300 x 200 444 -6,808 7421 156,341 13,972 33,869 ผาน
WF 200 x 200 14,321 -12,884 11,021 137,225 10,909 23,040 ไม
Story 6
Pipe 600 x 25 -437,939 -20,144 8,376 859,605 164,151 263,153 ผาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


29

ผลวิเคราะหแรงที่เกิดขึ้นในชัน้ 12

ภาพที่ 29-ค โครงสรางชั้นที่ 12


การโกงตัวของโครงสราง ( Deflection )

ภาพที่ 30-ค คาการโกงตัวของโครงสรางชั้นที่ 12


พบวาคาการโกงตัวของโครงสรางอยูที่ระหวาง 0 ถึง -18.63 มิลลิเมตร พื้นที่รอบนอกสุดมี
คาการโกงตัวของโครงสรางอยูท ี่ระหวาง -9.47 ถึง -14.17 มิลลิเมตร ถัดเขามามีคาการโกงตัวของ
โครงสรางอยูที่ระหวาง -6.83 ถึง -18.63 มิลลิเมตร
คาโกงตัวของโครงสรางที่ยอมรับไดจาก L/360 อยูที่ระหวาง -6.56 ถึง -30.0 มิลลิเมตร
ดังนั้นการโกงตัวของโครงสรางในชั้นนี้ผานมาตรฐาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


30

ผลการวิเคราะหแรงเฉือน และแรงโมเมนต

จากภาพที่ 31-ค. พบวาแรงเฉือน ในเสาตรงชั้นที่ 9, 10 และ 11 มีการเปลี่ยน


ทิศทางของแรงเฉือน สวนภาพที่ 32-ค. คาโมเมนต ของเสาตรงในชั้นที่ 9 และ 11 มีการเปลี่ยน
ทิศทาง

ภาพที่ 31-ค แรงเฉือนที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 12 แบบภาพตัดผาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


31

ภาพที่ 32-ค แรงโมเมนตที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 12 แบบภาพตัดผาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


32

ตารางที่ 7-ค ผลลัพธการวิเคราะหแรง จากโปรแกรม MIDAS GEN เมื่อกอสรางชั้น 12

Mu Vu ϕPn ϕMn ϕVn


Pu Force
Section Moment Force Capacity Capacity Capacity สรุป
(kgf)
(kgf-m) (kgf) (kgf) (kgf-m) (kgf)
Pipe 600 x 16 -83,704 -32,172 13,319 634,129 121,806 193,363 ผาน
WF 700 x 300 -9,196 92,210 31,514 324,835 124,003 131,040 ผาน
WF 600 x 300 4,409 -52,340 26,259 415,800 52,412 101,607 ผาน
WF 500 x 300 6,668 -68,697 17,356 353,160 68,276 77,299 ผาน
WF 400 x 300 34,570 -30,269 22,835 293,760 39,137 56,160 ผาน
WF 300 x 200 16,995 -6,323 33,869 156,341 13,972 7,264 ผาน
STORY 6
Pipe 600 x 25 -468,750 -19,857 8,412 859,605 164,151 263,153 ผาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


33

ผลวิเคราะหแรงที่เกิดขึ้นในชัน้ 13

ภาพที่ 33-ค โครงสรางชั้นที่ 13


การโกงตัวของโครงสราง ( Deflection )

ภาพที่ 34-ค คาการโกงตัวของโครงสรางชั้นที่ 13


จากภาพที่ 34-ค พบวาคาการโกงตัวของโครงสรางอยูท ี่ระหวาง -9.01 ถึง -27.95
มิลลิเมตร คาโกงตัวของโครงสรางที่ยอมรับไดจาก L/360 อยูที่ระหวาง -10.24 ถึง -30.0
มิลลิเมตร ดังนั้นการโกงตัวของโครงสรางในชั้นนี้ผานมาตรฐาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


34

ผลการวิเคราะหแรงเฉือน และแรงโมเมนต

จากภาพที่ 35-ค พบวาแรงเฉือน ในเสาตรงชั้นที่ 9 , 11 และ 12 มีการเปลี่ยนทิศทาง


สวนในภาพที่ 36-ค. คาโมเมนตของเสาตรงในชั้นที่ 9, 10 ,11 และ 12 มีการเปลี่ยนทิศทาง

ภาพที่ 35-ค แรงเฉือนที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 13 แบบภาพตัดผาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


35

ภาพที่ 36-ค แรงโมเมนตที่เกิดขึ้นในโครงสรางชั้นที่ 13 แบบภาพตัดผาน


ตารางที่ 8-ค ผลลัพธการวิเคราะหแรง จากโปรแกรม MIDAS GEN เมื่อกอสรางชั้น 13
Mu Vu ϕPn ϕMn ϕVn
Pu Force
Section Moment Force Capacity Capacity Capacity สรุป
(kgf)
(kgf-m) (kgf) (kgf) (kgf-m) (kgf)
Pipe 600 x 16 -56,755 62,366 21,805 634,129 121,805 193,363 ผาน
WF 600 x 300 -16,788 94,371 31,550 298,311 86,465 101,606 ไม
WF 500 x 300 10,155 -69,232 17,468 353,160 68,276 77,299 ไม
WF 400 x 300 -5,021 -46,322 27,770 118,214 34,591 56,160 ไม
WF 300 x 200 25,886 -6,168 7,202 156,341 13,972 33,869 ผาน
STORY 6
Pipe 600 x 25 -529,932 -24,753 9,089 862,731 164,151 263,153 ผาน
Pipe 600 x 25 -539,311 -24,850 9,134 862,731 164,151 263,153 ผาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


36

ผลวิเคราะหแรงที่เกิดขึ้นในชัน้ หลังคาโดม

ภาพที่ 37-ค แสดงผลวิเคราะหโครงสราง Braced Dome

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


37

ผลการวิเคราะหจดุ รองรับขณะที่กอ สราง

ภาพที่ 38-ค ตําแหนงจุดรองรับที่นํามาวิเคราะห

ตารางที่ 9-ค ผลลัพธแรงที่จุดรองรับที่ชั้น 5 ในขณะทําการกอสรางไปเรื่อยๆ

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


38

ชั้นที่ 6

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


39

ชั้นที่ 7

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


40

ชั้นที่ 8

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


41

ชั้นที่ 9

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


42

ชั้น 10

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


43

ชั้นที่ 11

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


44

ชั้นที่ 12

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


45

ชั้นที่ 13

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


46

ชั้นหลังคา Braced Dome Structure

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


47

จากการวิเคราะห พบวาการกอสรางในชั้นที่ 6 คาแรงเฉือน และโมเมนตจะมีคาสูงที่สดุ


หลังจากการกอสรางชั้นที่ 7 คาแรงเฉือน และโมเมนตจะมีคาที่ลดลง ทัง้ นี้ยังพบอีกวาแรง
ปฏิกิริยาที่จุดรองรับ Fx และ Fy มีการเปลี่ยนทิศทาง หลังจากการสรางชั้นที่ 8 เปนตนไป
พบวาคาแรงเฉือน และโมเมนตมคี าเพิ่มขึ้น แตยังนอยกวาการกอสรางตอนชัน้ ที่ 6

ดังนัน้ จึงสรุปไดวา การกอสรางชัน้ ที่ 6 คาแรงเฉือน และโมเมนตที่เกิดขึ้นในเสามีคาสูง


ที่สุด และคาแรงปฏิกิริยาที่จดุ รองรับมีคาสูงขึ้นตามจํานวนชั้นที่กอสรางขึน้ ไป อีกทั้งการ
กอสรางในชั้นที่ 11 เมื่อโครงสรางยึดรั้งกันแบบสมบูรณ พบวาไมมีผลตอการเปลี่ยนแปลงแรง
ในจุดรองรับ หากแตสงผลถึงแคแรงโมเมนตของเสาเอียงในชั้นที่ 8 , 9 และ 10 เทานั้น

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


ภาคผนวก ง.
ขั้นตอนการทํางานโครงสรางเหล็ก อาคาร B

1. เตรียม SHOP DRAWING และ CUTTING LIST พร้อมตรวจสอบชินส่วนแต่ล ะชินส่วน


รวมถึงรอยเชือมจากโรงงาน
2

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


3

4 (Anchor Bolt M-24/w Double Nut L = 1.00 m)

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


4

เริมงานติ ดตังเสา

6. งานติ ดตังโครงเหล็กจะเริมทีชัน 5 โดยเริมจากหมายเลข 1 ไปจนถึง 9 ตามลําดับ

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


5

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


6

10. ติ ดตังเสาชันต่อไป ( Pipe 600x25t ) เชือมต่อกับเสาชันที 6 ในชันนี จะต่อเลยจากชันที 7 ไป


ถึงเสาชัน 8

11. และดําเนิ นการติ ดตัง Steel Beam รับพืนชัน 8 ตามลําดับการติ ดตัง

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


7

12. วางแผ่นพืน Hollow Core ชัน 8 และดําเนิ นการทํางานตามขันตอนต่อไปจนถึงชัน 13

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


8

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


9

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


10

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


11

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


12

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


13

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


14

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


15

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


16

ขั้นตอนและวิธีการกอสรางโครงสรางหลังคา BRACED DOME

1 การเตรียมงาน
1.1 เตรียมแบบ Shop Drawing สําหรับกอสราง
1.2 ทําการตรวจสอบ Cutting List ของแตละสวน ดังนี้
- ชิ้นงานสําหรับประกอบเปน Temporary Support ที่ Central Core
- เตรียมชิ้นงาน และประกอบสวนของ Compression ring

- เตรียมชิ้นงาน Tension ring และ Free Support

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


17

- เตรียมชิ้นงานและประกอบโครงเหล็ก Radial rip Truss ของ Dome รวมถึงงานดัด


โคง Purlin ring

- เตรียมแผนวิธีการยกติดตัง้

- ตรวจสอบรายการคํานวณสําหรับการติดตั้งในแตละ Segment ของ Radial rib


Truss ตั้งแตลักษณะที่เปน Free Standing จนกระทั่งประกบเปนลักษณะ Segment
ที่มีจุดยึดโยง (Restrainted) เพื่อพิจารณาแรงกระทําที่เกิดขึ้นกับ Temporary Support
ตามรูป Free Body ของ Radial rib Truss

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


18

2 ขั้นตอนการกอสราง

2.1 ตรวจสอบ ตําแหนง พิกัดของเสาแตละตนใหไดตามรูปแบบรายการ

2.2 ดําเนินการกอสรางโครงสรางฐานรับ Temporary Support


2.2.1 ติดตั้งสวนฐาน

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


19

2.2.2 ประกอบและติดตั้ง Temporary Support ที่ Central Core และติดตัง้


Bracing ที่ ชั้น 5, ชั้น 8, และชั้น 11 ตามลําดับ

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


20

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


21

2.2.3 ติดตั้ง Platform รวมชุดปรับระดับ และ ทําการปรับระดับ ของ


Compression ring

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


22

2.3 ติดตั้ง Compression ring ที่ Central core ตรวจสอบตําแหนง และระดับ

2.4 แบงการติดตั้ง Roof framing ออกเปน 8 Segments


2.4.1 Sequence no.1 การติดตั้ง Radial Rib Truss จํานวน 12 ตัว 4
segment โดยทําการติดตั้งทีละ segment ในทิศทางตรงกันขามใหครบในสวนของ 4 segment
แรก ทั้งนี้เพื่อใหโครงสรางของอาคารระหวางกอสรางเกิดเสถียรภาพ ( Stability ) มากที่สุด

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


23

2.4.2 Sequence no.2 ทําการติดตั้ง Radial Rib Truss อีก 12 ตัว 4 segment ที่เหลือ
โดยมีลําดับการติดตั้งตามรูปขางลางนี้ จนครบรวม 24 ตัว 8 segment

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


24

2.4.3 Sequence no.3 ติดตั้ง Radial Rib Truss ที่เหลือ 8 ตัว 8 segment โดยไลตดิ ตัง้
ไปจนครบทั้งระบบ

2.5 ติดตัง้ Tension ring โดยรอบ me

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


25

2.6 ติดตั้ง Purlin ทีละแถวไลจากวงนอกสุด จนถึงวงใน

ตรวจสอบความเรียบรอยแลว และคอย ๆ ทําการปลดลดระดับของ Platform ลงพรอม ๆ กัน


ทุกจุด เพื่อใหโครงสราง Braced Dome ทํางาน Full Load รวมถึงตรวจสอบระยะถีบ
ตัวที่ support Dxy ทุกตําแหนง และระยะแอนตัวในแนวดิ่ง Dy ที่ จุดศูยนกลางเทียบกับ
รายการคํานวณ Dy = 14 mm

2.7 รื้อถอน Temporary Support ออก และติดตั้งโครงสรางสวนกลางภายใน


Compression ring

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


26

แผนงานกอสราง สวนโครงเหล็กหลังคา Bradce dome structure

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


ภาคผนวก จ.
2

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


3

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


4

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


5

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


6

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


7

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


8

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


9

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


10

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


11

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


12

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


13

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


14

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


15

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


16

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


17

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


18

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


19

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


20

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


21

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


22

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


23

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


24

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


25

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


26

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )


27

รายงานผลงานโครงการเพิ่อประกอบการขอเลื่อนระดับ เปนวุฒิวิศวกรโยธา ( ผลงานดีเดนลําดับที่ 1 )

You might also like