การเลี้ยวเบน B6233822

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

ปฏิบัติการ เรื่ องการเลีย้ วเบน

จัดทาโดย

นางสาวณัฏกาญจน์ อินทร์ ชู B6233822

รายวิชา ปฏิบัติการฟิ สิกส์ สาหรับวิศวกรรมโยธาและโครงสร้ างพื้นฐาน 2


Physics for Civil and Infrastructure Engineering 2
รหัสวิชา 559108
ปฏิบัติการ เรื่ องการเลีย้ วเบน
วันที่ 19 มกราคม 2563
จัดทาโดย
1. นายธิตินนั ท์ เสรี ผล B6235505
2. นางสาวณัฏกาญจน์ อินทร์ชู B6233822
3. นางสาวชลลดาวัลย์ เลาเจริ ญ B6235604
4. นายอภิชาติ ภักตะไชย B6229202
วัตถุประสงค์ การทดลอง

1. เพือ่ ศึกษาการเลี้ยวเบนของแสงโดยใช้แสงฮีเลียมนีออนเลเซอร์

หลักการและทฤษฎีที่เกีย่ วข้อง

การเลี้ยวเบนของแสง (Diffraction) ถ้าเราวางวัตถุทึบแสงไว้ระหว่างฉากกับจุดกาเนิ ดแสงที่สว่าง


มากเราจหะเห็นขอบของเงาวัตถุน้ นั บนฉากพร่ ามัว เป็ นแถบมืดแถบสว่าง
สลับกันดังรู ปที่ 46 ที่เป็ นเช่นนี้ เพราะแสงเกิดการเลี้ยวเบนทาให้เกิดการเลี้ยวเบนทาให้เกิดการแทรก
สอดเป็ นแถบมืดและแถบสว่าง
ถ้าให้แสงที่มีความสว่างมากผ่านวัตถุรูปดาวจะทาให้ เกิดแถบมืดและแถบสว่างที่ขอบในและขอบ
นอกของรู ปดาวปรากฏบนฉาก เพราะคลื่นแสงที่เลี้ยวเบนจากขอบในและขอบนอกของรู ปดาวเป็ นเสมื อน
แหล่งกาเนิ ดแสงใหม่จึงเกิดการแทรกสอดกันเองทาให้เกิดแถบสว่างและแถบมืดทั้งขอบนอกและขอบใน
ของวัตถุรูปดาว
การเลี้ ยวเบนของแสงโดยให้แสงที่ มีความสว่างมากผ่านทรงกลมตัน ทาให้เกิ ดเงาของทรงกลม
ปรากฏบนฉาก และเกิดแถบมืดแถบสว่างที่ขอบเนื่ องจากการเลี้ยวเบนของแสงที่จุดศูนย์กลางของเงาทรง
กลมจะเป็ นจุ ดสว่าง เพราะแสงที่ เลี้ ยวเบนผ่านขอบของทรงกลมตันจะเป็ นเสมือนแหล่งกาเนิ ดใหม่ตาม
หลักการของฮอยเกนส์จึงให้คลื่นแสงไปพบกัน ที่จุดศูนย์กลางของเงาทรงกลมบนฉากทาให้เกิดการแทรก
สอดกันในลักษณะเสริ มจึงเห็นเป็ นจุดสว่างขึ้น

การเลี้ยวเบนของแสงผ่ านช่ องเดี่ยว


เมื่ อให้แสงเลี้ ยวเบนผ่านช่ องแคบเดี ยวจะได้แถบสว่างตรงกลางกว้างและมี ความเข้มมากที่ สุ ด
แถบสว่างข้างๆ ที่สลับแถบมืดจะมีความเข้มลดลง
ถ้าแสงที่ผา่ นช่องแคบเป็ นแสงสี ขาวจะได้แถบสว่างเป็ นสี ขาวและแถบสว่างข้างๆ จะเป็ นสเปคตรัมโดยเรี ยง
จากมีม่วงไปจนถึง สี แดงแต่ถา้ เป็ นแสงสี เดียวแถบสี สว่างข้างๆจะเป็ นสี เดิม แถบสว่างตรงกลางจะกว้างมาก
ที่สุดและแถบสว่างข้างๆ จะลดลงครึ่ งหนึ่งและมีขนาดกว้างเกือบเท่ากันหมด

การหาตาแหน่ งแถบมืดแถบสว่ างบนฉาก


ให้คลื่นแสงสี เดียวความยาวคลื่น ส่ องผ่านช่องเดียวที่มีความกว้าง d ทาให้เกิดแทรกสอด เนื่องจาก
การเลี้ยวเบนบนฉากที่ห่าง จากช่องเดียว D
อาศัยหลักของฮอยเกนส์ ซึ่งกล่าวว่าทุกจุดบนหน้าคลื่นจะกระทาตัวเป็ นแหล่งกาเนิดคลื่นใหม่ ถ้าเรา
ให้ฉากอยู่ห่างจาก ช่องเดี่ยวมากๆ จะได้รังสี ที่ออกจากช่องเดียวเป็ นรังสี ขนาน และตาแหน่งมืดบน
ฉากคือตาแหน่งที่คลื่นหักล้างกัน
ถ้าเราแบ่งครึ่ งช่อง AB เราจะพบว่าถ้ารังสี ออกจาก A และ C มีทางเดินต่างกัน λ /2 แล้วทุกๆ คู่
ที่อยูใ่ ต้ A และ B ซึ่งห่างกัน d/2 เช่น D และ E จะมีทางเดินต่างกัน λ /2 ด้วยเป็ นผลทาให้คลื่นหักล้างกัน
หมด บนฉากจะได้วา่ แต่ละคู่มีเงื่อนไขดังนี้

d/2sinθ = λ/2
d/2sinθ = λ เป็ นตาแหน่งบัพที่ 1

ทานองเดียวกันถ้าแบ่งตาแหน่งกว้าง d เป็ น 4 ส่วนๆกัน ดังรู ป 50(b) จะได้ทุกๆคู่ มีระยะห่างกัน d/4


และจะหักล้างกันเมื่อทางเดินต่างกัน λ /2 นัน่ คือ

d/4sinθ = λ/2
dsinθ = λ/2 เป็ นตาแหน่งบัพที่ 2

ถ้าแบ่งช่องกว้าง d เป็ น 6,8,10,…. จะได้ d/2sinθ = λ/2 = 3λ,4 λ,5λ... ตามลาดับ


ฉะนั้นจะได้สูตรการหาสมการหาตาแหน่งบัพ (node) ของการเลี้ยวเบนของแสงสว่างช่องเดียวดังนี้
dsinθ =n/2
เกรตติง (Grating)
เกรตติง คือ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการตรวจสอบสเปรคของแสงและหาความยาวคลื่ นแสง โดยอาศัย
คุณสมบัติการแทรกสอดของคลื่น ลักษณะของเกรตติง จะเป็ นแผ่นวัสดุบางที่ถูกแบ่งออกเป็ นช่องขนานซึ่ง
อยูช่ ิดกันมาก โดยทัว่ ไปใน 1 เซนติเมตร แบ่งออกเป็ น 10,000 ช่อง ซึ่งจานวนช่องของเกรตติงอาจมี 100 ถึง
10,000 ช่อง/cm ในการทดลอง ถ้าเราให้แสงจากดวงอาทิตย์หรื อแสงขาวจากหลอดไฟส่ องผ่านเกรตติง เรา
จะเห็นสเปรคตรัมของแสงอาทิตย์หรื อแสงขาวออกเป็ น 7 สี โดยเกรตติงถูกพัฒนามาจากสลิตคู่ดว้ ยการเพิ่ม
จานวนช่วงทั้งสองให้มากขึ้น มีผลทาให้ระยะห่างระหว่างช่องอยู่ใกล้กนั มากขึ้นทาให้การเลี้ยวเบนของแสง
มากขึ้น
แสงความยาวคลื่นเดียวตกกระทบเกรตติง แสงบางส่ วนจะเบนออกจากแนวไปปรากฏบนฉากเป็ น
แถบสว่างเล็กๆ แถบสว่างนี้ เกิดจากการแทรกสอดของแสงจากช่องอื่นๆทุกช่องที่เสมือนเป็ นแหล่ง กาเนิ ด
แสงอาพันธ์ การหาตาแหน่งของแถบสว่างให้ถือว่าฉากอยู่ ไกลจากเกรตติงมาก จนแสงจากช่องแต่ละช่อง
ของเกรตติงที่เคลื่นที่ไปที่ฉากสามารถประมาณได้วา่ เป็ นแสงขนาน
เมื่อมีแสงความถี่เดียว ความยาวคลื่น λ ผ่านเกรตติงในแนวตั้งฉากดังรู ป จะเกิดการเลี้ยวเบนและ
แทรกสอดเช่นเดียวกับกรณีสลิตคู่ (ช่องแคบคู่)
การเลี้ยวเบนของแสงผ่านเกรตติง
ถ้าเกรตติงมีระยะห่ างระหว่างช่องเท่ากับ d ที่ตาแหน่ง P เป็ นตาแหน่งบนแถบสว่าง ระยะทางจาก
ช่องแต่ละช่องของเกรตติงถึงจุด P จะไม่เท่ากัน ช่องแต่ละช่องจะเป็ นเสมือนแหล่งกาเนิ ดแสงอาพันธ์ ที่ทา
ให้คลื่นแสงผ่านออกมามีเฟสตรงกัน การหาตาแหน่งของแถบมืดและแถบสว่ างใช้หลักการเดียวกันกับการ
แทรกสอดของสลิต คู่ จึงได้วา่
ตาแหน่งแถบสว่างใดๆ (A) บนฉาก (แนวกลางเป็ นแนวปฏิบพั A0)

d sinθ = nλ
d x/L = nλ
เมื่อ n = 0, 1, 2, 3, ....
ตาแหน่งแถบมืดใดๆ (N) บนฉาก
d sinθ = (n-1/2)λ
d x/L = (n-1/2)λ
เมื่อ n = 1, 2, 3, ....
x แทนเป็ นระยะจากแถบสว่างตรงกลางถึงจุด P
L แทนระยะห่างจากเกรตติงถึงฉากรับ
λ แทนความยาวของคลื่นแสง
d แทนระยะห่างระหว่างช่องของเกรตติง
การหาระยะระหว่างช่องของเกรตติง (d) เราสามารถหาระยะระหว่างช่องของเกรตติง ได้โดยใช้การ
เทียบอัตราส่วน
เมื่อให้ N แทนจานวนช่องของเกรตติงใน 1 m.
d แทนระยะห่างระหว่างช่องของเกรตติง
ประโยชน์ ของเกรตติง
1. ใช้แยกแสงสี ต่างๆ ที่เคลื่อนที่รวมกัน เช่น การหาสเปกตรัมของแสงขาว
2. ใช้หาความยาวคลื่นของแสงสี ต่างๆ โดยแสงสี ต่างๆ จะมีความยาวคลื่นแตกต่างกัน ทาให้เกิดการ
เลี้ยวเบนเมื่อผ่านเกรตติงได้แตกต่างกัน โดยแสงสี ม่วงเลี้ยวเบนได้นอ้ ยที่สุด ส่ วนแสงสี แดงมีความยาวคลื่น
มากที่สุดจะเลี้ยวเบนได้มากที่สุด
อุปกรณ์ ในการทดลอง
1. แผ่นเกรตติง
2. ฮีเลียมนีออนเลเซอร์
3. ราง
4. ไม้บรรทัด
5. โคมไฟ
6. ฉาก
วิธีการทดลอง
วิเคราะห์ ผลการทดลอง

40

35 y = 0.066x + 0.9
R² = 0.9968
30

25

20
y = 0.0325x + 0.75
15 R² = 0.9929

10

0
0 100 200 300 400 500 600
18
16 y = 0.032x + 0.3
R² = 0.9846
14
12
10
y = 0.0147x + 0.68
8
R² = 0.9942
6
4
2
0
0 100 200 300 400 500 600
สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
การทดลองให้แสงเคลื่อนที่ผา่ นสลิทเดี่ยวและสลิทคู่จะเกิดการเลี้ยวเบนของแสงขึ้น ค่าระยความกว้างจากแถบสว่าง
กลางมายังแถบมืดอันดับใดๆ จะแปรผกผันกับความกว้างของช่องสลิทและระยะห่ างระหว่างช่องสลิท แต่แปรผันตรงกับ
ระยะห่างระหว่างฉากรับภาพถึงสลิทและความยาวคลื่นของแหล่งกาเนิดแสง สาหรับสลิทคู่ ยังพบว่า อัตราส่วนจานวนริ้ ว
ของการแทรกสอดภายในต่อจานวนริ้ มมืดของการเลี้ยวเบนภายนอกมีค่าอัตราส่วนระยะห่างระหว่างสลิทต่อความกว้างของ
ช่องสลิท
คาถามท้ายบท
1. ถ้าระยะ L คงที่ เพิ่มความกว้างของสลิตเดี่ยว a ภาพที่เกิดขึ้นบนฉากจะมีลกั ษณะเป็ นอย่างไรจง
อธิบาย
ตอบ ภาพที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะคือ ริ้ วมืดมากขึ้นประมาณ 1 เท่า
2. สาหรับสลิตเดี่ยว เพิ่มระยะ L ภาพที่เกิดขึ้นบนฉากจะมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ค่า y จะเพิ่มขึ้น
3. ถ้าระยะระหว่าง่องสลิตคู่ d ที่เปลี่ยนไปเมื่อ a มีค่าคงที่ ภาพที่เกิดขึ้นบนฉาก จะมีลกั ษณะเป็ น
อย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ภาพที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะแคบลง จากลักษณะเป็ นจุด จะกลายเป็ นเส้น
4. ถ้าระยะระหว่างช่องสลิตคู่ d มีค่าคงที่เมื่อ a เปลี่ยนไป ภาพที่เกิดขึ้นบนฉากจะมีลกั ษณะเป็ น
อย่างไร จงอธิบาย
ตอบ จะมีลกั ษณะแคบลง ค่า y1 น้อยลง

You might also like