Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

1

สไลด์ที่ เนื้ อหา


1

2 ความหมายของสมุนไพร
สมุนไพร (Medicinal Plant or Herb) กาเนิ ดจากธรรมชาติ และมีความหมาย
ต่อชีวิตมนุ ษย์โดยเฉพาะมิติทางด้านสุขภาพ อันหมายถึงทั้งการส่งเสริมสุขภาพและ
การรักษาโรค ยาสมุนไพร ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ.๒๕๑๐ ได้ระบุความหมายไว้
ว่าเป็ นยาที่ได้จากพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุ ซึ่งมิได้ผสม ปรุงหรือแปรสภาพ
3 ส่วนประกอบทัว่ ไปของสมุนไพร(พืช)
๑ ราก : จะมีหน้าที่สะสมและดูดซึมอาหารมาเลี้ ยงบารุงต้นพืชลักษณะของรากมี ทั้ง
รากแท้และรากฝอย การจาแนกราก สมุนไพรต้องใช้ความชานาญ จาเป็ นต้อง
สังเกตอย่างละเอียด เพื่อที่จะไม่เก็บสมุนไพรผิดไปรักษาโรค สมุนไพรส่วน ที่ใช้ราก
เช่น กระชาย แก้อาการท้องอืดท้องเฟ้ อ รากปลาไหลเผือก แก้ไข้ มะละกอ ใช้ขบั
ปั สสาวะ เป็ นต้น

กระชาย

4 ส่วนประกอบทัว่ ไปของสมุนไพร (พืช)


๒ ลาต้น : เป็ นส่วนที่สาคัญของพืช ปกติเกิดบนดินหรือมีบางส่วนอยูใ่ ต้ดิน จะ
ประกอบด้วยตา ข้อ และปล้อง ซึ่งจะ แบ่งตามลักษณะภายนอก สมุนไพรส่วนที่ใช้ลา
ต้นเป็ นยา เช่น อ้อยแดง ใช้แก้อาการขัดเบา ชิงช้าชาลี บอระเพ็ด ใช้แก้ไข้ เป็ นต้น

บอระเพ็ด

ความรูท้ วั ่ ไปสมุนไพร
2

สไลด์ที่ เนื้ อหา


5 ส่วนประกอบทัว่ ไปของสมุนไพร (พืช)
๓ ใบ : เป็ นส่วนประกอบที่สาคัญของพืช สังเกตรูปร่างของใบ ปลายใบ ริมใบ เส้น
และเนื้ อของใบ อย่างละเอียด และอาจเปรียบเทียบลักษณะของใบที่คล้ายคลึงกัน จะ
ทาให้จาแนกใบได้ชดั เจนยิง่ ขึ้ น สมุนไพรที่ใช้ใบเป็ นยา เช่น กระเพรา ใช้ได้ท้งั ใบสด
หรือใบแห้งแก้ปวดท้อง ท้องขึ้ นจุกเสียด

กระเพรา

6 ส่วนประกอบทัว่ ไปของสมุนไพร (พืช)


๔ ดอก : ส่วนประกอบของดอกมีความแตกต่างกัน สังเกตลักษณะอย่างละเอียด เช่น
กลีบดอกจานวนกลีบดอก การ เรียงตัวของกลีบดอก รูปร่างของกลีบดอก สีกลิ่น
เป็ นต้น ส่วนของดอกที่ใช้เป็ นยา เช่น กานพลู น้ ามันหอมระเหย ในดอกกานพลู มี
ฤทธิ์ขบั ลมฆ่าเชื้ อแบคทีเรีย มีฤทธิ์เป็ นยาชา เป็ นต้น

กานพลู

7 ส่วนประกอบทัว่ ไปของสมุนไพร (พืช)


๕ ผล : ผลที่เป็ นยา เช่น มะเกลือ ดีปลี มะแว้ง กระวาน เป็ นต้น สังเกตลักษณะ
ผลทั้งภายนอกและภายใน นอกจาก ผล เมล็ดภายในผลยังอาจเป็ นยาได้อีก เช่น
ฟั กทอง ฉะนั้น ในการสังเกตลักษณะของผล ควรสังเกตลักษณะ รูปร่างของเมล็ดไป
พร้อมกันด้วย

กระวาน

ความรูท้ วั ่ ไปสมุนไพร
3

สไลด์ที่ เนื้ อหา


8 หลักการทัว่ ไปในการเก็บตัวยาสมุนไพร (พืช)
๑ รากหรือหัว เก็บในช่วงที่พืชหยุดเจริญเติบโต ใบ ดอกร่วงหมด หรือในช่วงต้น
ฤดูหนาวถึงปลายฤดูรอ้ น เพราะช่วงนี้ ราก หัว มีการสะสมปริมาณของตัวยาไว้
ค่อนข้างสูง วิธีการเก็บใช้วิธีการขุดอย่างระมัดระวัง เช่น กระชาย กระทือ ข่า เป็ นต้น
๒ ใบหรือเก็บทั้งต้น ควรเก็บในช่วงที่พืชเจริญเติบโตมากที่สุด หรือในช่วงที่ดอก
ตูม เริ่มบาน หรืออาจเก็บ ในช่วงที่ดอกบาน ผลยังไม่สุกก็ได้ วิธีเก็บใช้เด็ด เช่น กระ
เพรา ขลู่ ฝรัง่ ฟ้ าทะลายโจร เป็ นต้น
9 หลักการทัว่ ไปในการเก็บตัวยาสมุนไพร (พืช)
๓ เปลือกต้น โดยมากเก็บระหว่างช่วงฤดูรอ้ นต่อกับฤดูฝน ปริมาณยาในพืชสูง
และลอกออกง่าย
๔ ดอก เก็บในช่วงดอกเริ่มบาน แต่บางอย่างเก็บในช่วงดอกตูม เช่น กานพลู
เป็ นต้น
10 หลักการทัว่ ไปในการเก็บตัวยาสมุนไพร (พืช)
๕ ผลและเมล็ด เก็บในช่วงผลแก่เต็มที่ เช่น มะแว้งต้น มะแว้งเครือ ดีปลี เมล็ด
ฟั กทอง เมล็ดชุมเห็ดไทย เมล็ดสะแก เป็ นต้น บางชนิ ดอาจเก็บในช่วงผลยังไม่สุก
เช่น ฝรัง่ เก็บผลอ่อนใช้แก้ทอ้ งร่วง
11 หลักการเก็บสมุนไพรแบบโบราณ
เก็บตามฤดู
 ฤดูรอ้ น เก็บ เหง้า หัว แก่น ราก
 ฤดู ฝน เก็บ ใบ ดอก ลูก ฝัก
 ฤดูหนาว เก็บ เปลือก กระพี้ เนื้ อไม้
12 หลักการเก็บสมุนไพรแบบโบราณ
เก็บตามทิศในแต่ละวัน
 วันอาทิตย์ และอังคาร เก็บ ทิศตะวันออก
 วันจันทร์ และเสาร์ เก็บ ทิศตะวันตก
 วันพุธ และศุกร์ เก็บ ทิศใต้
 วันพฤหัสบดี เก็บ ทิศเหนื อ

ความรูท้ วั ่ ไปสมุนไพร
4

สไลด์ที่ เนื้ อหา


13 หลักการเก็บสมุนไพรแบบโบราณ
เก็บตามวันและเวลา
 อาทิตย์ (ตะวันออก) เช้าต้น สายใบ เที่ยงราก เย็นเปลือก
 จันทร์ (ตะวันตก) เช้าราก สายแก่น เที่ยงใบ เย็นเปลือก
 อังคาร (ตะวันออก) เช้าใบ สายเปลือก เที่ยงต้น เย็นราก
 พุธ (ใต้) เช้าราก สายเปลือก เที่ยงต้น เย็นแก่น
 พฤหัสบดี (เหนื อ) เช้าแก่น สายใบ เที่ยงราก เย็นเปลือก
 ศุกร์ (ใต้) เช้าใบ สายราก เที่ยงเปลือก เย็นต้น
 เสาร์ (ตะวันตก) เช้าราก สายต้น เที่ยงเปลือก เย็นใบ
14 หลักการเก็บสมุนไพรแบบโบราณ
เก็บตามช่วงเวลา
(๐๖.๐๐ – ๐๙.๐๐ น. )ใบ ดอก ลูก (๐๓.๐๐ – ๐๖.๐๐ น.)
(๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ) กิ่ง ก้าน (๒๔.๐๐ – ๐๓.๐๐ น.)
(๑๒.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. ) ต้น เปลือก(๒๑.๐๐- ๒๔.๐๐น.)
แก่น
(๑๕.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. ) ราก (๑๘.๐๐- ๒๑.๐๐ น.)
15 การแปรสภาพสมุนไพรเพื่อเตรียมเป็ นวัตถุดิบ
• สมุนไพรสด หัน่ โขก สับ บด
• สมุนไพรแห้ง หัน่ สับ บด
16 การเก็บรักษาสมุนไพร
• ตัวสมุนไพรที่จะเก็บรักษาไว้ไม่วา่ สด หรือแห้งจะต้องคานึ งถึงความสะอาด
ปราศจากสิ่งปนเปื้ อน
• จะต้องทาให้แห้งเพื่อป้องกันการขึ้ นรา
• สถานที่ที่เก็บรักษา จะต้องแห้ง เย็น การถ่ายเทของอากาศดี
• ควรเก็บแบ่งเป็ นสัดส่วน ใส่ภาชนะที่มิดชิด ระบุวนั ที่
• สมุนไพรที่มีพิษ ที่มีกลิ่นหอม ควรเก็บแยกไว้ป้องกันการสับสน
• ป้องกัน ไฟ หนอน หนู และแมลงต่าง ๆ

ความรูท้ วั ่ ไปสมุนไพร
5

สไลด์ที่ เนื้ อหา


17 การใช้สมุนไพรที่ถูกต้องควรปฏิบตั ิดงั นี้
ใช้ให้ถูกต้น
ใช้ให้ถูกส่วน
ใช้ให้ถูกขนาด
ใช้ให้ถูกวิธี
ใช้ให้ถูกกับโรค
18 รูปแบบยาสมุนไพร
๑ ใช้ในรูปสมุนไพรสดๆ เช่น วุน้ จากใบว่านหางจระเข้สด ใช้ทาแผลไฟไหม้ น้ า
ร้อนลวก
๒ ตาคั้นเอาน้ ากิน ใช้สมุนไพรสดๆ ตาให้ละเอียดจนเหลว ถ้าไม่มีน้ าให้เติม
น้ าลงไปเล็กน้อยคั้นเอาน้ ายาที่ได้กิน สมุนไพรบางชนิ ด เช่น กระทือ กระชายให้
นาไปเผาไฟให้สุกเสียก่อนจึงค่อยตา
19 รูปแบบยาสมุนไพร
๓ ยาชง ส่วนมากมักใช้กบั พวก ใบไม้ เช่น หญ้าหนวดแมว, ใบชุมเห็ดเทศ,
กระเจี๊ยบ เป็ นต้นวิธีทา นาตัวยาที่จะใช้ลา้ งให้สะอาด ผึ่งให้แห้ง หรือ คัว่ ให้กรอบ
อย่าให้ไหม้ นามาใส่ภาชนะที่สะอาด ไม่ใช้ภาชนะโลหะ วิธีชงทาโดยใช้สมุนไพร
1 ส่วน ผสมกับน้ าเดือด ๑๐ ส่วน ปิ ดฝาทิ้ งไว้ ๕-๑๐ นาที ยาชงเป็ นรูปแบบยาที่มี
กลิ่นหอมชวนดื่มและเป็ นวิธีสะดวกรวดเร็วยาชงตัวยาหนึ่ งชุดนิ ยมใช้เพียงครั้งเดียว
20 รูปแบบยาสมุนไพร
๔ ยาต้มเป็ นวิธีที่นิยมใช้ และสะดวกมากที่สุด สามารถใช้ได้ท้งั ตัวยาสดหรือ
แห้ง ในตัวยาที่สารสาคัญ สามารถละลายได้ในน้ า
๕ ยาดอง ใช้ได้ผลดีกบั ตัวยาที่สารสาคัญละลายน้ าได้นอ้ ย น้ ายาที่ได้จะออก
ฤทธิ์เร็วและแรงกว่าการใช้วิธีตม้ นิ ยมใช้กบั ตัวยาแห้ง โดยนาตัวยามาบดหยาบ
หรือ สับเป็ นท่อนเล็กๆ ใส่ลงในขวดโหลหรือไห เทเหล้าขาว นิ ยมใช้เหล้าข้าวเหนี ยว
หรือเหล้าโรง 40 ดีกรี ปิ ดฝาทิ้ งไว้ นานประมาน 30 วัน
21 รูปแบบยาสมุนไพร
๖ ยาเม็ด ยาไทยส่วนมาก มักจะมีรสที่ไม่ค่อยชวนรับประทาน สาหรับตัวยาบาง
ตัวสามารถนามาทาเป็ นยาเม็ด เพื่อให้การใช้สะดวกขึ้ น การทายาเม็ด นิ ยมทาเป็ น
แบบ ลูกกลอน (เม็ดกลม) และเม็ดแบน (โดยใช้แบบพิมพ์อดั เม็ด) ในปั จจุบนั เพิ่ม
การบรรจุแคปซูลเข้าไปอีก

ความรูท้ วั ่ ไปสมุนไพร
6

สไลด์ที่ เนื้ อหา


22 อาการแพ้ที่เกิดจากการใช้สมุนไพร
๑ ผื่นขึ้ นตามผิวหนังอาจเป็ นตุ่มเล็กๆ ตุ่มโต ๆ เป็ นปื้ นหรือเป็ นเม็ดแบนคล้าย
ลมพิษ อาจบวมที่ตา (ตาปิ ด) หรือริมฝี ปาก (ปากเจ่อ) หรือมีเพียงดวงสีแดงที่
ผิวหนัง
๒ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน (หรืออย่างใดอย่างหนึ่ ง) ถ้ามีอยู่ ก่อนกินยา
อาจเป็ นเพราะโรค
23 อาการแพ้ที่เกิดจากการใช้สมุนไพร
๓ หูอื้อ ตามัว ชาที่ลิ้น ชาที่ผิวหนัง
๔ ประสาทความรูส้ ึกทางานไวเกินปกติ เช่นเพียงแตะผิวหนังก็รสู ้ ึกเจ็บ ลูบผมก็
แสบหนังศีรษะ ฯลฯ
๕ ใจสัน่ ใจเต้น หรือรูส้ ึกวูบวาบคล้ายหัวใจจะหยุดเต้น และเป็ นบ่อยๆ
24 อาการแพ้ที่เกิดจากการใช้สมุนไพร
๖ ตัวเหลือง ตาเหลือง ปั สสาวะเหลืองและเมื่อเขย่าจะเกิดฟองสีเหลือง (เป็ น
อาการของดีซ่าน) อาการนี้ แสดงถึงอันตรายร้ายแรงต้องรีบไปพบแพทย์
๗ ไข้สงู (ตัวร้อนจัด) ตาแดง ปวดเมื่อยมาก ซึม บางทีพดู เพ้อ (อาจเป็ นไข้หวัด
ใหญ่ หรือไข้ป่าชนิ ดขึ้ นสมอง)
25 อาการแพ้ที่เกิดจากการใช้สมุนไพร
๘ ไข้สงู และดีซ่าน (ตัวเหลือง) อ่อนเพลียมาก อาจเจ็บในแถวชายโครง (อาจ
เป็ นโรคตับอักเสบ ถุงน้ าดีอกั เสบ ฯลฯ)
๙ ปวดแถวสะดือ เวลาเอามืดกดเจ็บปวดมากขึ้ น หน้าท้องแข็ง อาจท้องผูกและ
มีไข้เล็กน้อยหรือมาก (อาจเป็ นโรคไส้ติ่งอักเสบอย่างแรงหรือลาไส้ส่วนอื่นอักเสบ)
26 อาการแพ้ที่เกิดจากการใช้สมุนไพร
๑๐ เจ็บแปลบในท้องคล้ายมีอะไรฉีกขาด ปวดท้องรุนแรงมาก ท้องแข็ง อาจ
ท้องผูก และมีไข้เล็กน้อยหรือมาก (อาจเป็ นโรคไส้ติ่งอักเสบอย่างแรงหรือลาไส้ส่วน
อื่นอักเสบ)
๑๑ อาเจียนเป็ นโลหิตหรือไอเป็ นโลหิต
๑๒ ท้องเดินอย่างแรง อุจจาระเป็ นน้ า บางทีมีลกั ษณะคล้ายน้ าซาวข้าว
27 อาการแพ้ที่เกิดจากการใช้สมุนไพร
๑๓ ถ่ายอุจจาระเป็ นมูกและเลือด
๑๔ อาการตกเลือดเป็ นเลือดสดๆ จากทางไหนก็ตามโดยเฉพาะทางช่องคลอด
ต้องพาไปพบ แพทย์โดยเร็วที่สุด

ความรูท้ วั ่ ไปสมุนไพร
7

28

28

ความรูท้ วั ่ ไปสมุนไพร

You might also like