310751 จัดหน้าใหม่-54673 บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 19

1

สไลด์ที่ เนื้ อหา


1 บัญชียาหลักแห่งชาติ
๑ บัญชียาสาหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
๒ บัญชียาจากสมุนไพร
-เภสัชตารับโรงพยาบาล (ยาที่ รพ.ผลิตขึ้ นใช้ตามเภสัชตารับของรพ.ตาม
ภาคผนวก๑, ๒, ๔ )
-บัญชียาจากสมุนไพร(รายการยาจากสมุนไพรที่เป็ นยาแผนไทยหรือแผนโบราณและ
ยาพัฒนาจากสมุนไพรตามภาคผนวก ๔รวมรายการยาจากสมุนไพรเภสัชตารับรพ.)
2 บัญชียาจากสมุนไพร
(List of Herbal Medicinal Products)
จัดแบ่งเป็ น ๒ กลุ่ม
 กลุ่มที่๑ บัญชียาสมุนไพรที่มีการใช้ตามองค์ความรูด้ ้งั เดิม
 กลุ่มที่๒ บัญชียาพัฒนาจากสมุนไพร
3 ก.๑ ยาแผนไทยที่ใช้ตามความองค์รูด้ ้งั เดิม
ปี ๒๕๔๒ มี ๓ ตารับ (ประสะไพล ประสะมะแว้ง ยาห้าราก)
ปี ๒๕๔๙ เพิ่มเป็ น ๑๑ ตารับ(มาจากยาสามัญ ๑๐ ตารับ + ยาห้าราก)
(เขียวหอม จันทลีลา ยาถ่ายดีเกลือฝรัง่ ธาตุบรรจบ ประสะกานพลู ประสะไพล
ประสะมะแว้ง หอมเทพจิตร หอมนวโกฐ เหลืองปิ ดสมุทร ห้าราก)
4 ปั จจุบนั ประกาศเพิ่มเติมจนครบ ๕๐ ตารับ
(มาจากยาสามัญฯ ๒๔ ตารับและยาห้าราก)
(มาจากสูตรตารับโบราณ และเภสัชตารับโรงพยาบาล ๒๕ ตารับ)
5 ก.๒ ยาพัฒนาจากสมุนไพร
ปี ๒๕๔๒ มี ๕รายการ (ขมิ้ นชัน ชุมเห็ดเทศ พญายอ ไพล ฟ้ าทะลายโจร)
ปี ๒๕๔๙ เพิ่ม ๓รายการ ( ขิง บัวบก พริก)
6 ประกาศเพิ่มเติม
(มะขามแขก ยากล้วย ยาทิงเจอร์ทองพันชัง่ ทิงเจอร์พลู ยาเปลือกมังคุด
ยาเถาวัลย์เปรียง น้ ามันไพล ยากระเจี๊ยบแดง ยาหญ้าหนวดแมว ยามะระขี้ นก
ยารางจืด ยาหญ้าปั กกิ่ง ยาหญ้าดอกขาว)
ประกาศเพิ่มเติมล่าสุด ๓รายการ
(ยาว่านหางจระเข้ ยาเมล็ดน้อยหน่ า ยาสารสกัดจากเถาวัลย์เปรียง)
รวมทั้งหมด ๒๔ รายการ

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
2

สไลด์ที่ เนื้ อหา


7 กลุ่ม ๑ ยาที่ใช้ตามองค์ความรูด้ งั ่ เดิม
8 ก.๑ ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ ๕๐รายการ
๑.๑ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต(แก้ลม) : ยาหอมทิพโอสถ
ยาหอมเทพจิตร ยาหอมนวโกฐ ยาหอมแก้ลมวิงเวียน ยาหอมอินทจักร์
๑.๒ ยารักษากลุ่มอาการระบบทางเดินอาหาร
๑.๒.๑ กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืดท้องเฟ้ อ : ยาธาตุบรรจบ
ยาธาตุอบเชย ยาเบญจกูล ยาประสะกะเพรา ยาประสะกานพลู ยาประสะเจตพังคี
ยามันทธาตุ ยามหาจักรใหญ่ ยาวิสมั พยาใหญ่ ยาอภัยสาลี
9 ๑.๒.๒ กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก : ยาถ่ายดีเกลือฝรัง่ ยาธรณีสณ
ั ฑฆาต
๑.๒.๓ กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องเสีย : ยาธาตุบรรจบ ยาเหลืองปิ ดสมุทร
๑.๒.๔ กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก : ยาผสมเพชรสังฆาต ยาริดสีดวง
มหากาฬ
10 ๑.๓ ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์นรีเวชวิทยา : ยาประสะไพล ยาปลูกไฟ
ธาตุ ยาไฟประลัยกัลป์ ยาไฟห้ากอง ยาเลือดงาม ยาสตรีหลังคลอด
๑.๔ ยาแก้ไข้ : ยาเขียวหอม ยาจันทน์ลีลา ยาประสะจันทน์แดง ยาประสะเปราะ
ใหญ่ ยามหานิ ลแท่งทอง ยาห้าราก
11 ๑.๕ ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ
๑.๕.๑ ยาบรรเทาอาการไอ : ยาแก้ไอผสมกานพลู ยาแก้ไอผสมมะขามป้อม
ยาแก้ไอผสมมะนาวดอง ยาแก้ไอพื้ นบ้านอีสาน ยาตรีผลา ยาประสะมะแว้ง
ยาอามฤควาที
๑.๕.๒ ยาบรรเทาอาการหวัด : ยาปราบชมพูทวีป
๑.๖ ยาบารุงโลหิต : ยาบารุงโลหิต
12 ๑.๗ ยารักษากลุ่มการทางกล้ามเนื้ อและกระดูก
๑.๗.๑ ยาสาหรับรับประทาน : ยากษัยเส้น ยาแก้ลมอัมพฤกษ์
ยาธรณีสณ ั ฑะฆาต ยาผสมโคคลาน ยาผสมเถาวัลย์เปรียง ยาสหัศธารา
๑.๗.๒ ยาสาหรับใช้ภายนอก : ยาขี้ ผึ้ งไพล ยาประคบ
๑.๘ ยาบารุงธาตุ ปรับธาตุ : ยาตรีเกสรมาศ ยาตรีพิกดั ยาเบญจกูล
ยาปลูกไฟธาตุ

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
3

สไลด์ที่ เนื้ อหา


13 กลุ่ม ๒ ยาพัฒนาจากสมุนไพร
14 ก.๒ ยาพัฒนาจากสมุนไพร ๒๔ รายการ
๒.๑ ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินอาหาร
๒.๑.๑ กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ : ยาขมิ้ นชัน ยาขิง
๒.๑.๒ กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก : ยาชุมเห็ดเทศ ยามะขามแขก
๒.๑.๓ กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องเสีย : ยากล้วย ยาฟ้ าทะลายโจร
15 ๒.๑.๔ กลุ่มยารักษาแผลในกระเพาะอาหาร : ยากล้วย
๒.๑.๕ กลุ่มยาบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน : ยาขิง
๒.๒ ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ : ยาฟ้ าทะลายโจร
๒.๓ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง : ยาทิงเจอร์ทองพันชัง่ ยาทิงเจอร์พลู
ยาบัวบก ยาเปลือกมังคุด ยาพญายอ ยาว่านหางจระเข้ ยาเมล็ดน้อยหน่ า
16 ๒.๔ ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้ อและกระดูก
๒.๔.๑ ยาสาหรับรับประทาน : ยาเถาวัลย์เปรียง ยาสารสกัดจาก
เถาวัลย์เปรียง
๒.๔.๒ ยาสาหรับใช้ภายนอก : ยาพริก ยาไพล ยาน้ ามันไพล
๒.๕ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินปั สสาวะ : ยากระเจี๊ยบแดง ยาหญ้า
หนวดแมว
17 ๒.๖ ยาแก้ไข้ แก้รอ้ นใน : ยาบัวบก ยามะระขี้ นก ยารางจืด ยาหญ้าปั กกิ่ง
๒.๗ ยาถอนพิษเบื่อเมา : ยารางจืด
๒.๘ ยาลดความอยากบุหรี่ : ยาหญ้าดอกขาว
18 การวิจยั และพัฒนายาในบัญชียาหลักแห่งชาติ
การวิจยั ยาตารับ
-ยาหอม ๒ ตารับ (ยาหอมนวโกฐ และยาหอมอินทจักร์)
-ยาจันทน์ลีลา
-ยาเหลืองปิ ดสมุทร
-ยาไฟประลัยกัลป์
รศ.ดร.นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
4

สไลด์ที่ เนื้ อหา


19 ก.๑ ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ
ยารักษากลุ่มอาการของระบบไหลเวียนโลหิต(แก้ลม)
ยาหอมนวโกฐ ยาหอมอินทจักร์
ข้อบ่งใช้ แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน (ลมจุกแน่ นในอก)ในผูส้ งู อายุ แก้ลม
ปลายไข้(หลังจากฟื้ นไข้แล้วยังมีอาการ เช่น คลื่นเหียน วิงเวียน เบื่ออาหาร ท้องอืด
อ่อนเพลีย
20 ส่วนประกอบของตารับยาหอม
• ตารับยาหอมนวโกฐ ประกอบด้วยสมุนไพร ๕๔ ชนิ ด (โกฐ ๙ ชนิ ด เทียน ๙
ชนิ ด เกสร ๕ ชนิ ด)และธาตุวตั ถุ ๑ ชนิ ด(น้ าประสานทองสะตุ)
• ตารับยาหอมอินทจักร์ ประกอบด้วยสมุนไพร ๔๔ ชนิ ด (โกฐ ๙ ชนิ ด เทียน
๕ ชนิ ด เกสร ๕ ชนิ ด) สัตว์วตั ถุ ๒ ชนิ ด(ดีหมูและเลือดแรด) และธาตุวตั ถุ ๓
ชนิ ด(กายาน อาพันทอง และพิมเสน)
21 เครือ่ งยาที่มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
- ฤทธิ์ลดความดันโลหิต (กระเทียม กฤษณา ชะเอมเทศ เปราะหอม ย่านาง
เกสรบัวหลวง ฝาง หญ้าฝรัน่ อบเชยเทศ ขอนดอก เทียนข้าวเปลือก เทียนดา
เทียนแดง เทียนเยาวพาณี)
- ฤทธิ์เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ(บอระเพ็ด ฝาง เทียนแดง ขิง)
- ลดอัตราการเต้นของหัวใจ(ชะเอมเทศ เทียนดา)
- ผลทาให้หวั ใจที่เต้นผิดปกติมีการเต้นได้ปกติ(เกสรบัวหลวง โกฐสอ ผักชีลอ้ ม)
- ทาให้การไหลเวียนโลหิตดีขน(แห้ึ้ วหมู)
22 เครือ่ งยาที่มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร
- ฤทธิ์ลดการบีบตัวของกระเพาะและลาไส้(กระเทียม ช้าพลู ลูกผักชี อบเชย
เทศ โกฐเชียง โกฐกระดูก โกฐหัวบัว กานพลู เทียนแดง ขิง ลูกจันทน์)
- ผลลดการหลัง่ น้ าย่อยและกรด (โกฐกระดูก ชะเอมเทศ ลูกจันทน์)
- ผลเพิ่มการหลัง่ เมือกในกระเพาะอาหาร(ชะเอมเทศ เปราะหอม)
- ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร(โกฐกระดูก ชะเอมเทศ เปราะหอม ดีปลี
ฝาง อบเชยเทศ โกฐจุฬาลัมพา โกฐเชียง ขอนดอก เทียนข้าวเปลือก เทียนดา
เทียนตาตั๊กแตน เทียนสัตตบุศย์)
- ฤทธิ์ตา้ นการอาเจียน(แห้วหมู กานพลู ขิง)

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
5

สไลด์ที่ เนื้ อหา


23 เครือ่ งยาที่มีฤทธิ์ตอ่ ประสาทส่วนกลาง
• ฤทธิ์เสริมระยะเวลาหลับของยา เพนโทบาร์บิโทน ยาวนานขึ้ น(ดอกบุนนาค)
• ฤทธิ์คลายความกังวล ทาให้สงบ(ลูกผักชี โกศเชียง จันทน์เทศ กานพลู
โกฐสอ หญ้าฝรัน่ พิกุล)
• ทาให้เลือดไปเลี้ ยงสมองดีขน(หญ้
ึ้ าฝรัน่ )
24 การวิจยั และพัฒนาสารสกัดตารับยาแก้ไข้
• ยาจันทน์ลีลา ส่วนประกอบ (โกฐสอ โกฐเขมา โกฐจุฬาลัมพา จันทน์ท้งั ๒
ลูกกระดอม บอระเพ็ด รากปลาไหลเผือกอย่างละ ๑ ส่วนเท่ากัน)
สมุนไพรที่มีฤทธิ์ตา้ นการปวด อักเสบและแก้ไข้ ได้แก่ โกฐเขมา โกฐจุฬาลัมพา
โกฐสอ บอระเพ็ด แก่นจันทน์แดง ปลาไหลเผือก)
25 การวิจยั และพัฒนาสารสกัดตารับยาแก้ทอ้ งเสีย
ยาเหลืองปิ ดสมุทร ส่วนประกอบ(แห้วหมู ขมิ้ นอ้อย เปลือกเพกา รากกล้วยตีบ
กระเทียมคัว่ ดีปลี ชันย้อย ครัง่ สีเสียดเทศ สีเสียดไทย ใบเทียน ใบทับทิม หนั กสิ่ง
ละ ๑ ส่วน ขมิ้ นชันหนัก ๖ ส่วน)
ฤทธิ์ตา้ นเชื้ อจุลชีพที่ก่อเกิดอาการท้องเสียและลดการบีบตัวของลาไส้(กระเทียม
ขมิ้ นชัน ขมิ้ นอ้อย ดีปลี ทับทิม เพกา สีเสียดไทย สีเสียดเทศ หญ้าแห้วหมู)
26 การวิจยั และพัฒนาสารสกัดตารับยาสตรี
• ยาไฟประลัยกัลป์ ส่วนประกอบ(พริกไทยล่อน ขิง ดีปลี กระเทียม หนักสิ่งละ
๔ ส่วน ขมิ้ นอ้อย กระทือ ข่า ไพล เปลือกมะรุม หนักสิ่งละ ๕ ส่วน ราก
เจตมูลเพลิงแดง สารส้ม แก่นแสมทะเล การบูร ผิวมะกรูด หนักสิ่งละ ๖ ส่วน)
• ฤทธิ์กระตุน้ การบีบตัวหรือคลายกล้ามเนื้ อของมดลูก (ไพล ขิง ขมิ้ นอ้อย )
27 • ฤทธิ์กระตุน้ การบีบตัวหรือคลายกล้ามเนื้ อของมดลูกและฤทธิ์คล้ายฮอร์โมน
เพศหญิง(มะกรูด กระเทียม มะรุม )
• ฤทธิ์ตา้ นการปวดและต้านการอักเสบ(ไพล ขมิ้ นอ้อย ขิง ข่า พริกไทย
มะกรูด)
28 ยาบรรเทาไข้หา้ ราก
ยาผง ยาเม็ด : ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไข้ เนื่ องจากยานี้ มีรสขมเย็น
 รากย่านาง รากคนทา รากมะเดื่อชุมพร
รากชิงชี่ รากเท้ายายม่อม

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
6

สไลด์ที่ เนื้ อหา


29 ชื่ออื่นของยาบรรเทาไข้หา้ ราก ได้แก่ ยาห้าราก ยาแก้ไข้หา้ ราก เบญจโลกวิเชียร
ยาเพชรสว่าง หรือ ยาแก้วห้าดวง
คาเตือน
• หากใช้ตวั ยานี้ หรือยาที่เข้าตัวยานี้ นานเกิน ๓ วันในเด็กหรือเกิน ๗ วันใน
ผูใ้ หญ่ แล้วอาการยังไม่ดีขนควรปรึ
ึ้ กษาแพทย์
• สตรีที่มีไข้ทบั ระดูหรือไข้ระหว่างมีประจาเดือนแนะนา ให้ใช้ยาจันทลีลาเป็ น
ลาดับแรก
30 ฤทธิ์ลดไข้ของเบญจโลกวิเชียรในสัตว์ทดลอง
• ศึกษาในหนูขาวที่ทาให้เป็ นไข้
• เปรียบเทียบประสิทธิผลในการลดไข้ของยาเบญจโลกวิเชียรที่ให้ทางปากใน
ขนาด ๑๐๐, ๒๐๐ & ๔๐๐ มก./กก. เทียบกับกลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้
aspirin
• ยาทุกขนาดสามารถลดไข้ในหนู โดยเฉพาะอย่างยิง่ ขนาด ๒๐๐ มก./กก.
เมื่อศึกษาผลของตัวยาแต่ละตัวในขนาด ๔๐ มก./กก. พบว่า รากย่านาง
รากมะเดื่ออุทุมพร รากคนทา และรากชิงชี่ ลดไข้ได้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ตั้งแต่ชวั ่ โมงที่ ๑-๗ ส่วนรากไม้เท้ายายม่อมลดไข้ได้ในชัว่ โมงที่ ๗ และ ๘
หลังได้รบั ยา
31 ยาจันทน์ลีลา
ยาผง ยาเม็ด และแคปซูล : ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการไข้ตวั ร้อน ไข้เปลี่ยนฤดูเนื่ องจาก
ยามีรสขม
 โกฐสอ  โกฐเขมา  แก่นจันทน์แดง
 โกฐจุฬาลัมพา  แก่นจันทน์ขาวหรือแก่นจันทน์ชะมด
 ลูกกระดอม  บอระเพ็ด  รากปลาไหลเผือก
 พิมเสน
32  เครื่องยาในตารับนี้ หลายชนิ ดมีฤทธิ์ลดไข้ เช่น โกฐสอ บอระเพ็ด ส่วนโกฐ
จุฬาลัมพา และ รากปลาไหลเผือกมีฤทธิ์ตา้ นเชื้ อมาลาเรีย
 มีหลักฐานการวิจยั ในสัตว์ทดลองที่สนับสนุ นฤทธิ์ลดไข้ของตารับยาจันทน์ลีลา

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
7

สไลด์ที่ เนื้ อหา


33 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ศึกษาพิษเฉียบพลันของสารสกัดด้วย ๕๐% เอทานอล
ของยาจันทลีลาที่การศึกษาพิษเรื้ อรังของสารสกัดด้วย ๕๐% เอทานอลของยาจันท
ลีลาในขนาด ๐.๕, ๕.๐ & ๑๐.๐% ของน.น.อาหาร (๔, ๔๐ & ๘๐ เท่า) ในหนูขาว
นาน ๖ เดือน พบว่าไม่มีผลยับยัง้ การเจริญเติบโต ไม่พบความผิดปกติทางโลหิต
วิทยา ชีวเคมีของเลือด หรือจุลพยาธิวิทยาของอวัยวะภายใน
34 ธาตุบรรจบ
ยาผง ยาเม็ดลูกกลอน : ข้อบ่งใช้
๑. บรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียชนิ ดที่ไม่มีการติดเชื้ อ เช่น
อุจจาระไม่เป็ นมูก หรือมีเลือดปน และท้องเสียชนิ ดที่ไม่มีไข้
๒. บรรเทาอาการท้องขึ้ น ท้องเฟ้ อ
35 • ขิง โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐเชียง โกฐสอ เทียนดา เทียนขาว เทียนสัตตบุษย์
เทียนเยาวพาณี เทียนแดง ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู การบูร เปลือก
สมุลแว้ง ลูกกระวาน ลูกผักชีลา ใบพิมแสน รากไคร้เครือ ดีปลี เปราะหอม
หนักสิ่งละ ๔ ส่วน
• โกฐก้านพร้าว หนัก ๘ ส่วน
• เนื้ อลูกสมอไทย หนัก ๑๖ ส่วน
36 • เครื่องยาหลายชนิ ดในตารับยาธาตุบรรจบมีน้ ามันระเหยง่ายเป็ น
องค์ประกอบ จึงช่วยในการขับลมได้
• คาเตือน ในกรณีทอ้ งเสีย ใช้ไม่เกิน ๑ วัน หากอาการไม่ดีขนควรปรึ
ึ้ กษาแพทย์
• กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ศึกษาพิษเฉียบพลันและพิษเรื้ อรังของยาธาตุ
บรรจบในหนูแล้ว
37 จากการศึกษาพิษเรื้ อรังของยาธาตุบรรจบในหนู ขาว นาน ๖ เดือน โดยผสมยาใน
อาหารในขนาด ๐.๓, ๕.๐ และ ๑๘.๐% คิดเป็ นประมาณ ๗, ๔๐ และ ๓๐๐ เท่าของ
ขนาดที่ใช้ในคน พบว่า
• ยาขนาด ๗ เท่า ยับยัง้ การเจริญเติบโตของหนูเล็กน้อยและฤทธิ์ยบั ยัง้ เพิ่มขึ้ น
ตามขนาดยาที่ได้รบั
• ค่าทางโลหิตวิทยา ชีวเคมีของเลือดปกติ
• จุลพยาธิวิทยาของอวัยวะภายในไม่พบความผิดปกติ

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
8

สไลด์ที่ เนื้ อหา


38 เครื่องยาหลายชนิ ดในตารับนี้ มีน้ ามันระเหยง่าย เป็ นองค์ประกอบ จึงช่วยในการขับ
ลมได้
คาเตือนและข้อควรระวัง
• ระมัดระวังการใช้ในสตรีมีครรภ์ ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน ๕ วัน
• ผูป้ ่ วยที่มีไข้สงู ไม่ควรรับประทาน
39 ก.๒ ยาที่พฒ ั นาจากสมุนไพร
• การวิจยั และพัฒนายาจากสมุนไพร
ยาฟ้ าทะลายโจร ขิง ขมิ้ นชัน บัวบก พริก ชุมเห็ดเทศ ไพล พญายอ
40 กลุ่มยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ
ฟ้าทะลายโจร
ยาเม็ด/แคปซูล/เม็ดลูกกลอน : ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการของโรคหวัด (common
cold) เช่น เจ็บคอ อ่อนเพลีย ปวด เมื่อยกล้ามเนื้ อ น้ ามูกไหล เป็ นต้น
41 เมื่อให้ผปู้ ่ วยที่มีอาการไข้เจ็บคอรับประทานฟ้ าทะลายโจรแคปซูลในขนาด ๓ หรือ ๖
กรัม/วัน แบ่งให้วนั ละ ๔ ครั้ง ติดต่อกัน ๗ วัน เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้รบั พาราเซตา
มอลขนาด ๓ กรัม/วัน พบว่าในวันที่ ๓ หลังรักษา ผูป้ ่ วยที่ได้รบั ยาพาราเซตา
มอลหรือฟ้ าทะลายโจรขนาด ๖ กรัม/วัน หายจากไข้และอาการเจ็บคอมากกว่ากลุ่มที่
ได้ฟ้าทะลายโจร๓กรัม/วัน อย่างมีนัยสาคัญ แต่ผลการรักษาไม่แตกต่างกันในวันที่ ๗
42 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
- ลดไข้
- ต้านอักเสบ
- สารสกัดฟ้ าทะลายโจรหรือสารสาคัญไม่มีฤทธิ์หรือมีฤทธิ์อ่อนมากในการต้าน
เชื้ อแบคทีเรียที่ก่อโรคติดเชื้ อของทางเดินหายใจส่วนบนหรือที่ทาให้ทอ้ งเสีย
- กระตุน้ ภูมิคุม้ กัน
43 รายงานการทา systematic review ของข้อมูลงานวิจยั ทางคลินิกของฟ้ าทะลายโจร
ในโรคติดเชื้ อของระบบทางเดินหายใจส่วนต้น สรุปได้วา่ ฟ้ าทะลายโจรน่ าจะมี
ประสิทธิผลในการนามาใช้ในการบรรเทาอาการของโรคติดเชื้ อทางระบบทางเดิน
หายใจส่วนต้นที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนได้
Coon JT, Ernst E. Planta Med. 2000; 70(4): 293-8. Poolsup N, Suthisisang
C, Prathanturarug S, et al. J Clin Pharm Ther. 2004; 29(1): 37-45.

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
9

สไลด์ที่ เนื้ อหา


44 ประสิทธิผลของฟ้ าทะลายโจรในโรคไข้หวัดใหญ่
เมื่อให้ฟ้าทะลายโจร ๑.๖ กรัมวันละ ๔ เวลาร่วมกับ paracetamol ๑กรัม ทุก ๖ชม.
ในผูป้ ่ วยโรคไข้หวัดใหญ่ เทียบกับกลุ่มที่ได้รบั paracetamol อย่างเดียว พบว่ากลุ่มที่
ได้รบั ฟ้ าทะลายโจรร่วมด้วยสามารถลดความรุนแรงของอาการโดยรวมของไข้หวัด
ใหญ่ และช่วยให้อาการหลายอย่างของไข้หวัดใหญ่ทุเลาลงเร็วกว่าเมื่อได้รบั
paracetamol อย่างเดียว
Chuthaputti A, Pornpatkul V, Suwankiri U. J Thai Trad Alter Med 2007; 5(3):
257-66.
45 ประสิทธิผลในการบรรเทาอาการหวัด
• ฤทธิ์กระตุน้ ภูมิคุม้ กัน
• ฤทธิ์ตา้ นอักเสบ
• ฤทธิ์ลดไข้
46 ประสิทธิผลในการรักษาโรคอุจจาระร่วง & บิดแบคทีเรีย
• ขนาด ๕๐๐ มิลลิกรัม ทุก ๖ ชม. & ๑ กรัม ทุก ๑๒ ชม. ลดความถี่และ
ปริมาณอุจจาระร่วง และปริมาณน้ าเกลือทดแทนได้อย่างน่ าพอใจ
47 ขนาดใช้
• โรคหวัด ๑.๕-๓ กรัมผงยา หลังอาหาร & ก่อนนอน
• อาการท้องเดิน ๐.๕-๒กรัม วันละ ๔ ครั้ง
• ลดไข้ ยาต้มฟ้ าทะลายโจร ๓ กรัม วันละ ๒ ครั้ง
WHO Monographs on Selected Medicinal Plants. Vol.2, 2002.
48 ข้อห้ามใช้
• ในผูป้ ่ วยที่มีอาการเจ็บคอจากการติดเชื้ อ Streptococcus group A
• ในผูป้ ่ วยที่มีประวัติเป็ นโรคไตอักเสบจากการติดเชื้ อนี้
• ในผูป้ ่ วยที่มีประวัติเป็ นโรคหัวใจรูหม์ าติก
• ในผูป้ ่ วยที่มีอาการเจ็บคอจากการติดเชื้ อแบคทีเรียและมีอาการรุนแรง เช่น
มีตุ่มหนองในคอ มีไข้สงู หนาวสัน่

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
10

สไลด์ที่ เนื้ อหา


49 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินอาหาร
ขิง
ยาผง ยาแคปซูล : ข้อบ่งใช้
๑. บรรเทาอาการท้องอืด จุกเสียด แน่ นท้อง
๒. ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน จากการเมารถ เมาเรือ
๓. ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน หลังการผ่าตัด
50 สารสาคัญ & ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
เหง้าขิงมีสารสาคัญ ทาให้ขิงมีรสเผ็ดร้อน ช่วยขับลมและเป็ นสารออกฤทธิ์ตา้ น
อาเจียน และมีฤทธิ์กระตุน้ การหลัง่ น้ าลาย น้ าย่อยในกระเพาะอาหาร และน้ าดี และ
ลดการบีบตัวของกระเพาะอาหาร
51 ขิงเป็ นสมุนไพรในครัวเรือนที่ใช้กนั มาแต่โบราณในทวีปเอเชีย เพื่อขับลม บรรเทา
อาการอาหารไม่ยอ่ ย ท้องอืด ท้องเฟ้ อ แน่ นจุกเสียด ปวดท้อง คลื่นไส้ ซึ่งฤทธิ์ทาง
เภสัชวิทยาสนับสนุ นสรรพคุณดังกล่าว
52 ประสิทธิผลในการป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียนจากการเมารถเมาเรือ
(Motion sickness)
Seasickness
ศึกษาในนักเรียนนายเรือที่ยงั ไม่คุน้ กับการออกทะเลลึก จานวน ๘๐ นาย พบว่า ขิง
ผง ๑ กรัมสามารถลดแนวโน้มในการเกิดอาการอาเจียนและอาการเหงื่อออก ตัวเย็น
ได้ดีกว่ายาหลอกอย่างมีนัยสาคัญหลังได้รบั ขิง ๔ ชัว่ โมง
53 ขิงผงขนาด ๙๔๐ มิลลิกรัม มีประสิทธิผลดีกว่า dimenhydrinate ๑๐๐ มิลลิกรัม ใน
การป้องกันการเกิด motion sickness จากการนัง่ เก้าอี้ หมุน
54 การศึกษาในผูท้ ี่มีประวัติเมารถเมาเรือ ๑๒ ราย พบว่า ขิงผง ๑–๒ กรัม สามารถลด
อาการคลื่นไส้ ที่เกิดจากการกระตุน้ ด้วย (ให้มองลายเส้นแนวตั้งสีขาวสลับดาที่
หมุนรอบตัวเป็ นวงกลม) ได้ และยังช่วยยืดเวลาก่อนจะเริ่มมีอาการคลื่นไส้
55 แม้จะมีรายงานการวิจยั อย่างน้อย ๔ รายงานที่พบว่าขิงไม่สามารถป้องกัน motion
sickness ได้ แต่จากหลักฐานการวิจยั ทั้งหมด ปั จจุบนั standardized ginger
extract จัดเป็ นยา สาหรับป้องกันและบรรเทาอาการเมารถเมาเรือในหลายประเทศ
ในซีกโลกตะวันตกเช่น เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ออสเตรีย และฟิ นแลนด์

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
11

สไลด์ที่ เนื้ อหา


56 ประสิทธิผลในการป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนหลังการผ่าตัด
มีรายงานการวิจยั ประสิทธิผลของขิงผงขนาด ๑-๒ กรัม ในการป้องกันอาการ
คลื่นไส้อาเจียนหลังการผ่าตัดทั้งการผ่าตัดใหญ่ และผ่าตัดเล็ก หลายรายงาน
เปรียบเทียบกับยามาตรฐานและยาหลอก
57 บางรายงานพบว่าขิงมีประสิทธิผลดีกว่ายาหลอก โดยดูจากจานวนครั้งของการ
คลื่นไส้ อาเจียน และปริมาณยาบรรเทาอาการอาเจียน ที่ตอ้ งจ่ายให้หลังผ่าตัด
แต่หลายรายงานก็พบว่าขิงไม่มีประสิทธิผล
58 ในช่วงแรกการทา review พบว่าการใช้ขิงในผูป้ ่ วยหลังการผ่าตัดไม่ได้ผลและไม่มี
หลักฐานที่แน่ ชดั ในการบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน แต่ในระยะต่อมาได้มี
การศึกษา ที่โต้แย้งผลดังกล่าว
59 ประสิทธิผลในการบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียนในสตรีมีครรภ์
(Morning sickness)
มีรายงานการวิจยั ทางคลินิกอย่างน้อย ๔ รายงาน ที่แสดงว่าขิงในขนาด ๐.๕-๑
กรัมต่อวัน มีฤทธิ์บรรเทาหรือป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนจากการแพ้ทอ้ ง
(morning sickness) ได้ดีกว่ายาหลอก และไม่มีรายงานว่าทาให้เกิดการแท้งหรือ
เป็ นพิษต่อมารดา หรือต่อตัวอ่อนในครรภ์
60 แต่หน่ วยงานในต่างประเทศหลายแห่ง เช่น Health Canada, American Herbal
Products Association, American Botanical Council, American Society of Health-
System Pharmacist, Commission E ของประเทศเยอรมนี ไม่แนะนาให้ใช้ขิงในการ
บรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียนในสตรีมีครรภ์
61 เหตุผลส่วนหนึ่ งน่ าจะเนื่ องจากมีรายงานการพบฤทธิ์ก่อกลายพันธุ ์ ในขิง อย่างไรก็
ตามก็ พบว่ามีสารในขิง ที่มีฤทธิ์ตา้ นการก่อกลายพันธุ ์ ด้วยเช่นกัน ซึ่งน่ าจะทาให้
ความเสี่ยงในการก่อกลายพันธุข์ องขิงลดลง
62 อย่างไรก็ตาม มีขอ้ แนะนาว่าสตรีมีครรภ์ควรบริโภคขิงไม่เกินปริมาณที่มีอยูใ่ น
อาหารตามปกติ (ไม่เกิน ๑ กรัมของขิงแห้งต่อวัน) โดยการบริโภคขิงที่มีอยูใ่ น
อาหารไม่ถือว่าทาให้เกิดความเสี่ยงในระหว่างการตั้งครรภ์
63 ข้อมูลจาก MedlinePlus & MayoClinic.com
จัดว่า การใช้ขิงในการบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากการตั้งครรภ์อยูใ่ นระดับดี
กว่าของการบรรเทาอาการเมารถเมาเรือ หรือคลื่นไส้อาเจียนหลังการผ่าตัด

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
12

สไลด์ที่ เนื้ อหา


64 ข้อห้ามใช้
เนื่ องจากขิงมีฤทธิ์กระตุน้ การหลัง่ น้ าดี จึงห้ามใช้ในผูป้ ่ วยที่มีการอุดตันของท่อน้ าดี
อาการไม่พึงประสงค์
การบริโภคขิงอาจทาให้เกิดอาการแสบร้อนกลางอก (heartburn) และในทางเดิน
อาหารในผูป้ ่ วยบางราย
65 คาเตือนและข้อควรระวัง
๑. ผูป้ ่ วยโรคนิ่ วในถุงน้ าดี ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้
๒. เนื่ องจากขิงมีฤทธิ์ยบั ยัง้ การจับตัวของเกล็ดเลือด ดังนั้น ผูป้ ่ วยที่ใช้ยาต้านการ
แข็งตัวของเลือด หรือ ผูป้ ่ วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือดควรปรึกษาแพทย์
ก่อนใช้
66 คาเตือนและข้อควรระวัง
๓. ขิงกระตุน้ การสร้างกรดในกระเพาะอาหาร จึงอาจจะต้านฤทธิ์ของยารักษาแผลใน
กระเพาะอาหาร
67 ขนาดและวิธีใช้ (Dosage & Administration)
• ป้องกันและบรรเทาอาการเมารถเมาเรือ วันละ ๑-๒ กรัม
• ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนหลังการผ่าตัด ครั้งละ ๑ กรัม ก่อนการผ่าตัด
๑ ชัว่ โมง
• บรรเทาอาการท้องอืด จุกเสียด แน่ นท้อง อาหารไม่ยอ่ ย ขับลม ๒-๔ กรัม ต่อวัน
68 การบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียนในสตรีมีครรภ์ (Morning sickness)
ข้อมูลจาก MedlinePlus & MayoClinic.com
ฐานข้อมูลนี้ แนะนาขนาดใช้ในสตรีมีครรภ์ ๗๕ มก. - ๒ กรัมต่อวัน แบ่งให้ โดยใช้
ไม่เกิน ๕ วันและควรอยูภ่ ายใต้การดูแลของแพทย์
69 ขมิ้ นชัน
 ขับลม ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
ลดความเป็ นกรดในกระเพาะ
70 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
• ต้านการอักเสบ (curcuminoids)
• ต้านเชื้ อรา(vol. oil)
• ขับน้ าดี เพิ่มทั้งการสร้างน้ าดี & การบีบตัว
• ฤทธิ์ตา้ นอนุ มลู อิสระ (curcuminoids)
54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
13

สไลด์ที่ เนื้ อหา


71 Curcuma longa
การศึกษาฤทธิ์ป้องกันยุงกัดของโลชัน่ ป้องกันยุง ตารับน้ ามันขมิ้ นชัน (๒.๕%) โดย
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พบว่า ป้องกันการกัดของยุงลายบ้านได้นาน ๗ ชัว่ โมง
และป้องกันการกัดของยุงลายสวน ยุงก้นปล่อง และยุงราคาญได้นาน ๘ ชัว่ โมง
72 Curcuma longa
รายงานการวิจยั ประสิทธิผลในการรักษาสิวของขมิ้ นชัน ที่ รพ. พระยุพราชธาตุพนม
พบว่า ผงขมิ้ นชันทาหัวสิว จะช่วยทาให้สิวยุบเร็วกว่า และหายเร็วกว่า
73 ขมิ้ นชันในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม
สารสกัดขมิ้ นขนาด ๕๐๐ มิลลิกรัมรับประทาน วันละ ๔ ครั้งหลังอาหารติดต่อกัน
นาน ๖ สัปดาห์ มีประสิทธิผลและปลอดภัยในการรักษาผูป้ ่ วยข้อเข่าเสื่อม ไม่
แตกต่างจากการรักษาด้วย ibuprofen ๔๐๐ มิลลิกรัม วันละ ๒ ครั้ง
74 ข้อบ่งใช้ และ ขนาดที่ใช้
บรรเทาอาการอาหารไม่ยอ่ ย อาการแน่ น จุกเสียด
ขนาดรับประทาน
๑.๕-๔ กรัมต่อวัน โดยแบ่งให้วนั ละ ๓-๔ ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
75 ข้อห้ามใช้ : ในผูป้ ่ วยที่มีการอุดตันของท่อน้ าดี หรือผูท้ ี่แพ้ขมิ้ นชัน
ข้อควรระวัง
 ผูป้ ่ วยที่เป็ นนิ่ วในถุงน้ าดี
 สตรีมีครรภ์ สตรีที่ให้นมบุตร หากจะใช้ขมิ้ นชันควรอยูใ่ นความดูแลของแพทย์
76 ยารักษากลุ่มอาการของระบบผิวหนัง
บัวบก
ยาครีม : ข้อบ่งใช้ ใช้สมานแผล
77 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
• ฤทธิ์ในการรักษาแผล
 กระตุน้ การสร้าง collagen, DNA & protein
 เร่งกระบวนการสร้างเนื้ อเยือ่ ใหม่ ลดการอักเสบของแผล
78 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
• มีฤทธิ์ตา้ นอักเสบ
• ลดพื้ นที่แผลในกระเพาะอาหาร
• ทาให้เลือดหยุดเร็ว

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
14

สไลด์ที่ เนื้ อหา


79 ผลการวิจยั ทางคลินิก
• รักษาแผลที่ผิวหนัง แผลหลังผ่าตัด
• รักษาโรคข้ออักเสบ
• รักษาแผลในกระเพาะอาหารและลาไส้
• รักษาแผลในปาก ให้ผลใกล้เคียงกับ Triamcinolone
• รักษาความผิดปกติของหลอดเลือดดา
ยุโรปมีผลิตภัณฑ์ยาใช้ภายนอกผสมสารสกัดบัวบกที่เป็ นยา เพื่อรักษาแผลใช้กนั มา
นานแล้ว
80 การศึกษาทางพิษวิทยา
- ศึกษาพิษเรื้ อรังของผงใบบัวบกในหนูขาว พบว่าขนาดที่ใช้ทางคลินิกมีความ
ปลอดภัย
- สารสกัดบัวบกมีฤทธิ์คุมกาเนิ ดในหนูถีบจักร
81 รูปแบบและความแรง
ครีม ที่มีสารสกัดบัวบกสด ๗%
ขนาดและวิธีใช้
ทาความสะอาดแผลด้วยยาฆ่าเชื้ อก่อนทายา
ทาบริเวณที่เป็ นแผลวันละ ๑-๓ครั้ง หรือตามแพทย์สงั ่
82 ข้อบ่งใช้
• ใช้สมานแผล (บัญชียาจากสมุนไพร)
• เร่งการหายของแผล ลดการเกิดแผลเป็ นและ keloid
ข้อห้ามใช้
ห้ามใช้ในคนที่แพ้สมุนไพรในวงศ์เดียวกัน
83 ยาใช้ภายนอกสาหรับบรรเทาอาการปวดและอักเสบ
พริก
ยาเจล : ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้ อ
รูปแบบและความแรง & ขนาดและวิธีใช้
เจลที่มีสารสกัดพริก๐.๐๒๕%
ทาบริเวณที่ปวดวันละ ๓-๔ ครั้ง

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
15

สไลด์ที่ เนื้ อหา


84 กลไกการออกฤทธิ์
ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้ อ
การใช้เจลพริกเพื่อบรรเทาอาการปวดข้อ อาจต้องใช้เวลา ๑-๒ สัปดาห์จึงจะเห็นผล
85 การศึกษาประสิทธิผลในการบรรเทาอาการปวดข้อ
การศึกษาในผูป้ ่ วย โดยให้ทาครีม หรือยาหลอกที่เข่าข้างที่ปวด วันละ ๔ ครั้ง แล้ว
ให้ผูป้ ่ วยให้คะแนนความปวดโดยใช้ visual analog scale ทั้งนี้ ผูป้ ่ วยส่วนมากยังคง
ใช้ยารักษาโรคข้ออักเสบร่วมด้วยต่อไป
86 การศึกษาประสิทธิผลในการบรรเทาอาการปวดข้อ
หลังจากใช้ครีม นาน ๔ สัปดาห์ พบว่าอาการปวดเข่าลดลง ซึ่งแตกต่างจากกลุ่มที่
ใช้ยาหลอกอย่างมีนัยสาคัญ โดย ๘๐% ของผูป้ ่ วยที่ได้รบั ยามีอาการปวดลดลง
หลังใช้ยาไป ๒ สัปดาห์ และ ๔๔.๒% มีอาการปวดแสบปวดร้อนชัว่ คราวที่บริเวณที่
ทายา
87 การศึกษาประสิทธิผลในการบรรเทา
อาการปวดปลายประสาท
การศึกษา ในผูป้ ่ วยที่มีอาการปวดปลายประสาทเรื้ อรัง (chronic neuropathic pain)
๒๐๐ ราย เปรียบเทียบประสิทธิผลในการรักษาของยาทา ๐.๐๒๕% capsaicin หรือ
๓.๓% doxepin หรือยาที่ผสมตัวยาทั้งสองเข้าด้วยกัน โดยให้ทายาทุกวันนาน ๔
สัปดาห์
88 การศึกษาประสิทธิผลในการบรรเทา
อาการปวดปลายประสาท
พบว่ายาทั้งสามขนานสามารถลดอาการปวดได้อย่างมีนัยสาคัญเมื่อเทียบกับก่อน
ได้รบั ยา โดยมีประสิทธิผลไม่แตกต่างกัน แต่ยาผสมออกฤทธิ์เร็วกว่า
89 ชุมเห็ดเทศ
ชื่ออื่น : ชุมเห็ดใหญ่ ขี้ คาก
ลับมืนหลวง หมากกะลิงเทศ
ส่วนที่ใช้ : ใบ
90 ข้อบ่งใช้ : รักษาอาการท้องผูก
ขนาดใช้ : ผงใบบรรจุซองกระดาษ ซองละ ๓ กรัม ชงน้ าเดือดครั้งละ ๑-๒ ซอง
๑๒๐ มล./ซอง นาน ๑๐ นาที รับประทานวันละ ๑ ครั้ง ก่อนนอน

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
16

สไลด์ที่ เนื้ อหา


91 การศึกษาประสิทธิผลของชุมเห็ดเทศ
ในการรักษาอาการท้องผูก
ศึกษาในผูป้ ่ วยที่ไม่ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานกว่า ๗๒ ชัว่ โมง จานวน ๘๐ ราย
กลุ่มที่ ๑ ได้รบั ยาชงชุมเห็ดเทศ ได้จากการชงผงใบชุมเห็ดเทศ ๓-๖ กรัม ในน้ า
เดือด ๑๒๐ ml นาน ๑๐ นาที
กลุ่มที่ ๒ ได้รบั Mist. Alba ๓๐ ml และน้ า ๙๐ ml
กลุ่มที่ ๓ ได้รบั Placebo (น้ าอุ่น ๑๒๐ ml เติมผงคาราเมล ๖๐ mg)
92 การศึกษาประสิทธิผลของชุมเห็ดเทศ
ในการรักษาอาการท้องผูก
ผูป้ ่ วยที่ถ่ายใน ๒๔ ชัว่ โมง
กลุ่มชุมเห็ดเทศ ๘๓ % *
กลุ่ม Mist. Alba ๘๖ % *
กลุ่ม Placebo ๑๘%
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล และคณะ. J Med Assoc Thai 73(4): 217-22.
93 ข้อห้ามใช้
• กรณีที่มีลาไส้อุดตันหรือการตีบของลาไส้ ลาไส้อกั เสบเฉียบพลัน
• ห้ามใช้ยาระบายทุกชนิ ดเมื่อมีอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
• ไม่ควรใช้ในเด็กอายุตา่ กว่า ๑๒ ปี
94 ข้อควรระวัง
• อาจทาให้คลื่นไส้ ท้องอืด ปวดมวนท้อง มดลูกหดตัว หรือท้องเดิน หากมี
อาการควรลดขนาดยา
• ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็ นเวลานาน ไม่ควรใช้นานเกิน ๒ สัปดาห์ นอกจาก
แพทย์จะสัง่
• ไม่ควรใช้ในสตรีมีครรภ์ หรือให้นมบุตร
95 การศึกษาประสิทธิผลของชุมเห็ดเทศ
ในการต้านเชื้ อราที่ก่อโรคกลากและเกลื้ อน
เมื่อทดสอบฤทธิ์ตา้ นเชื้ อราที่ก่อโรคกลากของสารสกัดชุมเห็ดเทศด้วยน้ า,
แอลกอฮอล์, อีเธอร์ & คลอโรฟอร์ม พบว่าสารสกัดด้วยแอลกอฮอล์ มีฤทธิ์ตา้ นเชื้ อ
ราที่ก่อโรคกลากได้ดีที่สุด แต่ไม่สามารถต้านเชื้ อ Candida albicans ได้

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
17

สไลด์ที่ เนื้ อหา


96 การศึกษาประสิทธิผลของชุมเห็ดเทศ
ในการต้านเชื้ อราที่ก่อโรคกลากและเกลื้ อน
เมื่อทดสอบประสิทธิผลในการรักษาโรคกลาก & เกลื้ อนของครีมที่มีสารสกัดด้วย
แอลกอฮอล์ของใบชุมเห็ดเทศ ๒๐% ในผูป้ ่ วยโรคกลาก ๓๐ ราย เกลื้ อน ๑๐ ราย
พบว่าหายทุกราย แต่ไม่สามารถรักษาโรคกลากที่ผมและเล็บได้
97 สรรพคุณอื่น: รักษากลากและเกลื้ อน
ขนาดใช้ : ครีมสารสกัดชุมเห็ดเทศ* ๒๐% ทาวันละ ๒ ครั้ง นาน ๓-๔ สัปดาห์
* สารสกัดด้วย ๙๕%เอธานอล
98 ไพล
ชื่ออื่น : ปูลอย ปูเลย
ส่วนที่ใช้ : เหง้า
สารสาคัญในน้ ามันไพล
มีฤทธิ์ตา้ นอักเสบ
99 สรรพคุณ: รักษาอาการปวดเมื่อย เคล็ดขัดยอก
วิธีใช้ :
• ใช้เหง้าตา เติมน้ า คั้นเอาน้ าใช้ทาถูนวด
• ทาลูกประคบ
• ใช้ครีมน้ ามันไพล
100 การศึกษาประสิทธิผลของไพล
ในการรักษาอาการอักเสบ ปวดบวม ฟกช้า
นายแพทย์วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม และคณะ ศรีนครินทร์เวชวาร. 2536; 8 (3).
ทดสอบประสิทธิผลของครีมไพลจีซาลในนักกีฬาที่บาดเจ็บข้อเท้าแพลง ๒๑ คน โดย
แบ่งเป็ น
- กลุ่มที่ได้รบั ยาไพลจีซาล ๑๐ คน
- กลุ่มที่ได้รบั ยาหลอก ๑๑ คน
101 การศึกษาประสิทธิผลของไพล
ในการรักษาอาการอักเสบ ปวดบวม ฟกช้า
กลุ่มที่ได้รบั ยาไพลจีซาลมีการบวมเพิ่มขึ้ นของข้อเท้าน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รบั ยาหลอก
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยเฉพาะในช่วง ๒-๓ วันแรกของการรักษาช่วยลด
อาการปวด โดยผูป้ ่ วยรับประทานยาแก้ปวดพาราเซตามอลน้อยกว่าผูป้ ่ วยที่ได้รบั ยา
หลอก และช่วยให้การเคลื่อนไหวของข้อเท้าดีขึ้น โดยขยับข้อเท้าลงได้ดีกว่า
54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
18

สไลด์ที่ เนื้ อหา


102 การศึกษาประสิทธิผลของไพล
ในการรักษาอาการหอบหืด
ทดสอบฤทธิ์ของไพลในการป้องกันอาการหอบหืดในผูป้ ่ วยโรคหืดเรื้ อรังที่มีอาการ
ของโรคในขนาดปานกลาง จานวน ๒๒ ราย โดยใช้ยาในขนาด ๕๐๐, ๗๕๐ และ
๑,๐๐๐ มก./วัน โดยแบ่งให้กินวันละ ๒ ครั้ง ผลการศึกษาพบว่า ไพลทาให้ผูป้ ่ วยมี
อาการดีขนึ้ ตั้งแต่นอ้ ยถึงมากเป็ นจานวน ๑๙ ราย ไม่ได้ผล ๓ ราย อาการแทรก
ซ้อนจากยามีนอ้ ยมากส่วนใหญ่ทาให้ผูป้ ่ วยมีจานวนครั้งอุจจาระเพิ่มขึ้ นแต่ไม่รุนแรง
103 พญายอ
• ชื่ออื่น เสลดพังพอนตัวเมีย
• สารสาคัญประเภทฟลาโวนอยด์มีฤทธิ์ตา้ นอักเสบ
• สารสกัดของใบพญายอมีฤทธิ์ทาลายเชื้ อไวรัส Herpes simplex Type-1 และ
Type-2 ที่ก่อโรคเริมและออกฤทธิ์ทาลายเชื้ อไวรัส Varicella zoster ที่ทาให้
เกิดโรคงูสวัด และโรคอีสุกอีใส
104 ทดสอบประสิทธิผลของครีมพญายอ ๕% ในผูป้ ่ วย ๑๖๓ ราย ทายาวันละ ๔ ครั้ง ๖
วัน เทียบกับยา Acyclovir พบว่าประสิทธิผลของยาไม่แตกต่างจาก Acyclovir คือ
แผลตกสะเก็ดภายใน ๓ วัน ระยะเวลาการหายของแผลภายใน ๗ วัน แต่ผูป้ ่ วยที่ใช้
Acyclovir มีอาการแสบแผลขณะรักษาร้อยละ ๒๔.๗ ในเพศชาย และ ๒๓.๑ ในเพศ
หญิง ขณะที่ครีมพญายอไม่ทาให้เกิดอาการดังกล่าว
สมชาย แสงกิจพร และคณะ วารสารกรมการแพทย์ : 226-231, 2536
105 ทดสอบประสิทธิผลของครีมพญายอ ๕% ในผูป้ ่ วย Herpes zoster ๗๓ ราย ให้ทายา
วันละ ๕ ครั้ง ๗-๑๔ วัน จนกว่าแผลจะหาย เทียบกับยา Acyclovir & ยาหลอกพบว่า
จานวนผูป้ ่ วยที่แผลตกสะเก็ดภายใน ๓ วัน และ ระยะเวลาการหายของแผลภายใน ๗
และ ๑๐ วัน ในกลุ่มที่ได้พญายอสูงกว่ากลุม่ ที่ได้ Acyclovir หรือยาหลอก ผูป้ ่ วยที่ได้รบั
พญายอ มีระดับความเจ็บปวดลดลงเร็วกว่าผูป้ ่ วยที่ได้รบั Acyclovir หรือยาหลอก
สมชาย แสงกิจพร และคณะ
106 วิธีใช้ :
• ใช้ใบสด ๑๐-๒๐ ใบ ตาให้ละเอียด เติมเหล้าโรง ใช้ทาบริเวณที่เป็ น
• ใช้ครีมสารสกัดพญายอความเข้มข้น ๕% ทาบริเวณที่เป็ นเริม หรืองูสวัด วัน
ละ ๕ ครั้ง

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่
19

สไลด์ที่ เนื้ อหา


107 วิธีใช้ :
• ๒.๕% สารสกัดพญายอกลีเซอรีน ใช้รกั ษาแผ ในปาก เริม งูสวัด
• ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ ๕ ครั้ง
108 วิธีใช้ :
• ๑.๒๕% สารสกัดพญายอโลชัน่ ใช้ทาแก้ผดผื่นคัน ลมพิษ ตุ่มคัน
• ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ ๕ ครั้ง
109 วิธีเตรียมสารสกัดพญายอ :
ใช้ผงใบพญายอ (ตากแห้งและบดละเอียด) หนัก ๑ กิโลกรัม หมักในแอลกอฮอล์
๗๐% ๔ ลิตร ๗ วัน หลังจากนั้น นามากรองและระเหยจนเหลือ ๕๐กรัม
110

54673_บัญชียาหลักแห่งชาติใหม่

You might also like