Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 36

บทที่ 10

การเงินและปริ มาณเงิน และนโยบายการเงิน

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 1
เงิน หมายถึงสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยนที่คนในสังคมยอมรับ
วิวฒั นาการของการแลกเปลี่ยน

1. Barter System

2. Commodity System

3.Money System/ Credit System

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 2
1. เงินมาตรฐาน หมายถึงเงินที่มีมูลค่าเต็มตัว
2. เงินเครดิต เป็ นเงินที่มีมูลค่าไม่เต็มตัว ( Token Money ) เช่น
โลหะที่มีมูลค่าเท่ากับ 10 บาท แต่เนื้อโลหะนั้นมีตน้ ทุนไม่ถึง 10
บาท

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 3
 เป็ นสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยน ( Medium of Exchange )
 เป็ นมาตรฐานในการวัดค่า ( Standard of Value )
 เป็ นมาตรฐานในการชาระหนี้ ภายหน้า ( Standard of
Deferred Payment )
 เป็ นเครื่ องเก็บรักษามูลค่า ( Store of Value )

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 4
1. เป็ นสิ่ งที่ทุกคนในสังคมยอมรับ (Concede)
2. มีความสะดวกสบายที่จะนาไปยังที่ต่าง ๆ (Probed)
3. เป็ นสิ่ งที่หายาก (Scarcity)
4. มีความคงทนถาวร (Durability)
5. มีความเป็ นเสถียรภาพมีค่าคงที่(Stability of Value)
6. เป็ นสิ่ งที่มีลกั ษณะเหมือนกัน(Homogeneity)
7. มีลกั ษณะเฉพาะจาได้ง่าย(Reconcilability)
8. แบ่งออกเป็ นหน่วยย่อยได้ (Divisibility)
อ.บุณยาพร ภู่ทอง 5
1. เหรี ยญกษาปณ์(Coins)
2. ธนบัตร(Bank Note)
3. เงินฝากเผือ่ เรี ยก(Demand Deposit)หรื อเงินฝากกระแส
รายวัน(Current Deposit)

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 6
ปริมาณเงิน (Money Supply)หรืออุปทานเงิน (Supply Money)
คือปริ มาณเงินสดและเครดิตที่มีอยูใ่ นระบบเศรษฐกิจขณะใด
ขณะหนึ่งโดยแบ่งได้ 3 ประเภทคือ
1. ปริ มาณเงินตามความหมายแคบ ( M1 )
2. ปริ มาณเงินตามความหมายกว้าง ( M2)
3. ปริ มาณเงินตามความหมายกว้างมาก ( M3 )

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 7
1. ปริมาณเงินตามความหมายแคบ ( M1 ) หมายถึงธนบัตร เหรี ยญกษาปณ์ที่
หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจและเงินฝากเผือ่ เรี ยกเป็ นปริ มาณเงินที่มีสภาพ
คล่องสูง
2. ปริมาณเงินตามความหมายกว้ าง ( M2 ) หมายถึง ปริ มาณเงินตาม
ความหมายแคบ ( M1 ) และเงินสดสภาพคล่องกึ่งเงินสด(Quasi Money)
ได้แก่เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจา ซึ่งสามารถเปลี่ยนเป็ นเงินได้
3. ปริมาณเงินตามความหมายกว้ างมาก ( M3 ) หมายถึง ปริ มาณเงินตาม
ความหมายกว้าง ( M2 ) รวมกับตัว๋ สัญญาใช้เงินของบริ ษทั เงินทุนที่ถือโดย
ภาคเอกชน

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 8
ทฤษฎีความต้องการถือเงิน
แนวคิดของสานักคลาสสิ ก: โดย David Ricardo
MV = PQ
M = ปริ มาณเงินทั้งหมด
V = อัตราการหมุนเวียนของเงิน
P = ระดับราคาสิ นค้า
Q = จานวนสิ นค้าและบริ การทั้งหมด

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 9
อ.บุณยาพร ภู่ทอง 10
อ.บุณยาพร ภู่ทอง 11
ดุลยภาพ คือ จุดที่อุปสงค์ต่อการถือเงินมีค่าเท่ากับอุปทานของเงิน
1.อุปสงค์ ต่อการถือเงิน ( Demand for Money ) คือ ปริ มาณเงินทั้งสิ้ นที่
ระบบเศรษฐกิจต้องการถือไว้ในขณะใดขณะหนึ่ง
1.1 เพื่อใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน
1.2 เพื่อเหตุฉุกเฉิน
1.3 เพื่อการลงทุน(เก็งกาไรซึ่งขึ้นกับอัตราดอกเบี้ย)

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 12
1.1 เพื่อใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน
MD1 = kY
MD1 = ความต้องการถือเงินเพื่อใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน
k = สัดส่ วนของการถือเงิน
Y = รายได้

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 13
1.2 เพื่อเหตุฉุกเฉิ น
MD2 = kY
MD2 = ความต้องการถือเงินเพื่อเหตุฉุกเฉิ น
k = สัดส่ วนของการถือเงิน
Y = รายได้

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 14
1.3 เพื่อการลงทุน(เก็งกาไรซึ่งขึ้นกับอัตราดอกเบี้ย)
เป็ นความต้องการถือเงินเพื่อเสี่ ยงหากาไรโดยการซื้อขาย
หลักทรัพย์ จะมากหรื อน้อยขึ้นกับอัตราดอกเบี้ย โดยมีความสัมพันธ์
ในทางตรงกันข้ามกับอัตราดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ยสูง ความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกาไรต่า
อัตราดอกเบี้ยต่า ความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกาไรสูง

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 15
อ.บุณยาพร ภู่ทอง 16
อัตราดอกเบี้ย (r)

3
Md

O
8 15 ปริ มาณเงิน(ล้านบาท)

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 17
ดุลยภาพในตลาดเงิน

2.อุปทานของเงิน อัตราดอกเบี้ย
MS1 MS MS2
( Money Supply )
คือปริ มาณเงินตามนิ ยาม มักใช้
ลด เพิ่ม
M2 ไม่ข้ ึนกับอัตราดอกเบี้ย แต่
ขึ้นกับนโยบายการเงิน ดังนั้น
เส้นอุ ปทานของปริ มาณเงิ นจึ ง
เป็ นเส้นตรงขนานกับแกนตั้ง
ปริ มาณเงิน

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 18
ราคา / อัตราดอกเบี้ย Demand and Supply of Money
Supply
8

E
6

Demand

5 10 16 ปริ มาณเงิน
อ.บุณยาพร ภู่ทอง 19
การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของเงิน

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 20
ราคา / อัตราดอกเบี้ย
Change in Supply of Money
MS1 MS

ปริ มาณเงินลดลง
R1 อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น

Demand

M* M ปริ มาณเงิน
อ.บุณยาพร ภู่ทอง 21
ราคา / อัตราดอกเบี้ย
Change in Supply of Money
MS MS1

ปริ มาณเงินเพิ่มขึ้น
R อัตราดอกเบี้ยลดลง

R1

Demand

M M* ปริ มาณเงิน
อ.บุณยาพร ภู่ทอง 22
Change in Demand of Money
ราคา / อัตราดอกเบี้ย
MS
- ความต้องการถือเงินเพิ่มขึ้น
อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น
-ความต้องการถือเงินลดลง
9 อัตราดอกเบี้ยลดลง

6 MD1
2 MD
MD2
ปริ มาณเงิน
20
อ.บุณยาพร ภู่ทอง 23
ตลาดเงิน (Money Marketหรื อ Finance Market)
คือ ตลาดที่มีการระดมเงินออม การกูย้ มื เงิน และการซื้อขายหลักทรัพย์ทาง
การเงินมีระยะเวลาในการกูย้ มื ไม่เกิน 1 ปี ประกอบด้วย
1. การเบิกเงินเกินบัญชี
2. การกูย้ มื ระยะสั้นระหว่างสถาบันการเงิน
3. การซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดซื้อคืน (Repurchase Market)
4. การซื้อขายตัว๋ เงินคลัง

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 24
ตลาดเงิน (Money Marketหรื อ Finance Market)

ประเภทของตลาดเงิน
1 ตลาดเงินในระบบ

2 ตลาดเงินนอกระบบ

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 25
ตลาดทุน (Capital Market)
หรื อตลาดหุ น้ (Stock Market) คือตลาดที่มีการออม
และกูย้ ืมมีระยะเวลาในการกูย้ ืมเกิ นกว่า 1 ปี ขึ้นไป
เช่ น หุ ้นกู้ ตัว๋ สัญญาใช้เงิ นระยะยาว พันธบัตรของ
รั ฐบ าล ห ลั ก ทรั พ ย์ ที่ มี กา รซื้ อ ข าย ในต ล า ด
หลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย รวมทั้ ง สิ น ทรั พ ย์
ทางการเงินที่ไม่กาหนดอายุไถ่ถอน

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 26
1. ธนาคารกลาง
2.ธนาคารพาณิ ชย์
3.ธนาคารที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
4. ประเภทที่ไม่ใช่ธนาคาร
5. บริ ษทั บริ การสิ นทรัพย์สถาบันการเงิน (บบส.)

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 27
ธนาคารกลาง หมายถึงสถาบันการเงินที่มีหน้าที่ในการ
รักษาเสถียรภาพทางการเงินและเศรษฐกิจของประเทศ
ควบคุมปริ มาณเงินและเครดิต กากับและดูแลสถาบัน
การเงินต่างๆ ในประเทศให้สอดคล้องกับความเจริ ญทาง
เศรษฐกิจ และดาเนินนโยบายเพื่อส่ งเสริ มการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศ

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 28
สถาบันการเงินที่มีหน้าที่ดูแลปริ มาณเงินในระบบ
เศรษฐกิจ
1. รักษาเสถียรภาพทางการเงิน
2. กากับดูแลสถาบันการเงินในระบบเศรษฐกิจ
3. บริ หารเงินสารองระหว่างประเทศ
4. การจัดพิมพ์และออกใช้ธนบัตร

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 29
1. การควบคุมปริ มาณเงิน
1.1 การซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาล
1.2 การเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสดสารองตามกฎหมาย
1.3 การเปลี่ยนแปลงอัตราซื้อลด
1.4 การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย
2. การควบคุมคุณภาพ คือการควบคุมการปล่อยสิ นเชื่อของสถาบัน การเงิน เช่น
การกาหนดระยะผ่อนชาระ หรื ออัตราดอกเบี้ย และอาจมีการร้องขออย่างกันเอง
( Gentleman’s Agreement) หรื อชี้ชวนทางศีลธรรม (Moral sussion)

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 30
นโยบายการเงิน คือ การดูแลปริ มาณเงินและสิ นเชื่อ
เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายทางเศรษฐกิจ เช่น การรักษาเสถียรภาพ
ของราคา ส่ งเสริ มการจ้างงาน การรักษาความเจริ ญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ การรักษาดุลการชาระเงินระหว่างประเทศ การ
กระจายรายได้ที่เป็ นธรรมโดยแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ
1. นโยบายการเงินแบบเข้มงวด (ทาให้ปริ มาณเงินลดลง )
2. นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย (ทาให้ปริ มาณเงินเพิ่มขึ้น )

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 31
สรุ ปการดาเนินนโยบายการเงินและผลกระทบทางเศรษฐกิจ
นโยบายการเงินแบบขยายตัว นโยบายการเงินแบบหดตัว
ปัญหาเศรษฐกิจ -เศรษฐกิจตกต่า - เกิดภาวะเงินเฟ้ อ
- มีการว่างงานสูง - ค่าของเงินลดลง
- รายได้ประชาชาติลดลง
เครื่ องมือ - ซื้อคืนพันธบัตร - ขายพันธบัตร
- ลดอัตรเงินสดสารองตามกฎหมาย - เพิม่ อัตราเงินสดสารองตามกฎหมาย
- ลดดอกเบี้ยมาตรฐาน - เพิ่มดอกเบี้ยมาตรฐาน
ปริ มาณเงิน(S) เพิ่มขึ้น ลดลง
อัตราดอกเบี้ย ลดลง เพิ่มขึ้น
การลงทุน เพิ่มขึ้น ลดลง
อุปสงค์รวม เพิ่มขึ้น ลดลง
ผลกระทบสุ ดท้าย GDP สูงขึ้น GDP ลดลง
การจ้างงานเพิ่มขึ้น ราคาลดลง เงินเฟ้ อลดลง

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 32
2.ธนาคารพาณิ ชย์

เป็ นหน่วยงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงิน
และต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หรื อเมื่อสิ้ นเวลาที่กาหนด และใช้
ประโยชน์เงินนั้นในทางหนึ่ง หรื อหลายทาง

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 33
อัตราดอกเบี้ยเงินกูท้ ี่ธนาคารพาณิ ชย์เรี ยกเก็บจาก
ลูกค้ารายใหญ่ช้ นั ดีในการกูย้ มื เงินระยะยาว เช่น
การกูย้ มื เพื่อใช้ในการลงทุนสิ นทรัพย์ถาวรของ
ธุรกิจ

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 34
อัตราดอกเบี้ยประเภทเบิกเกินบัญชีที่
ธนาคารพาณิ ชย์เรี ยกเก็บจากลูกค้ารายใหญ่ช้ นั ดี
ในการกูย้ มื ระยะสั้น เพื่อใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียน
ในการดาเนินธุรกิจ

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 35
อัตราดอกเบี้ยเงินกูท้ ี่ธนาคารเรี ยกเก็บ
จากลูกค้ารายย่อยชั้นดี เพื่อใช้เป็ นสิ นเชื่อใน
การบริ โภค หรื อสิ นเชื่อวงเงินบัตรเครดิต

อ.บุณยาพร ภู่ทอง 36

You might also like