6 Rate of Reaction

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

Rate of reaction Easy Chem by P’Junior

อัตราการเกิดปฏิกิริยา (Rate of reaction)


การเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ทฤษฏีการชน (Collision theory)
โมเลกุลจะต้องชนกันในทิศทางที่ถูกต้อง ปฏิกิริยาถึงจะเกิด

ไม่เกิดปฏิกิริยา เกิดปฏิกิริยา

2. ทฤษฏีสถานะทรานซิชัน (Transition state theory)


ในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาสารตั้งต้นจะเข้าทาปฏิกิริยากัน
จะเกิดสารมัธยันต์ (intermediate) ขึ้นก่อน จากนั้นจึงเกิดเป็นผลิตภัณฑ์

Intermediate
Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
ตัวอย่าง การชนกันของโมเลกุล NO และ O3 จากปฏิกิริยา
NO (g) + O3 (g) NO2 (g) + O2 (g)

ตัวอย่าง Intermediate ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยา


(CH3)3Br (aq) + H2O (l) (CH3)3OH (aq) + HBr (aq)
Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
การดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
A+B C+D
Energy
พลังงานกระตุ้น (Ea)
พลังงานกระตุ้น (Ea)
ปฏิกิริยาไปย้อนกลับ
ปฏิกิริยาไปข้างหน้า
C+D ∆E
(พลังงานสุทธิของปฏิกิริยา)
A+B
Reaction progress

Endothermic reaction Exothermic reaction


(ปฏิกิริยาดูดความร้อน) (ปฏิกิริยาคายความร้อน)
Energy Energy

ผลิตภัณฑ์

∆E สารตั้งต้น ∆E

สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์
Reaction progress Reaction progress
E สารตั้งต้น < E ผลิตภัณฑ์ E สารตั้งต้น > E ผลิตภัณฑ์
Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
1. ปฏิกิริยาเนื้อเดียว (เอกพันธ์, Homogeneous reaction)
CH4 (g) + 2O2 (g) CO2 (g) + 2H2O (g)
2. ปฏิกิริยาเนื้อผสม (วิวิธพันธ์, Heterogeneous reaction)
Ca(s) + 2HCl(aq) CaCl2(aq) + H2(g)
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา
1. ปริมาตรแก็สที่เกิดขึ้น
2H2O (l) 2H2 (g) + O2 (g)
2. ความดันที่เปลี่ยนแปลง
3H2 (g) + N2 (g) 2NH3 (g)
3. การเปลี่ยนแปลงสี
Cl2 (aq) + 2I- (aq) 2Cl- (aq) + I2 (aq)
4. การเกิดตะกอน
AgNO3 (aq) + NaCl (aq) AgCl (s) + NaNO3 (aq)
5. การเปลี่ยนแปลง pH
CH3COOH (aq) + H2O (l) CH3COO-(aq) + H+ (aq)
NH3 (aq) + H2O (l) NH4+ (aq) + OH- (aq)
6. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
HO2 +(aq) + Cl-(aq)
NaCl (s) ดูดความร้
อน
Na
Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
อัตราการเกิดปฏิกิริยา
Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g)

ปริมาณของ H2 (M) เวลา (s)


1 20
2 42
3 65
4 86
5 109
6 134
7 164
8 204

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย = (ปริมาณ H2 สุดท้าย) – (ปริมาณ H2 เริ่มต้น)


เวลาสุดท้าย – เวลาเริ่มต้น

= (8-1) / (204-20) = 0.038 M s-1


อัตราการเกิดปฏิกิริยา = (ปริมาณ H2 ที่เวลา 134) – (ปริมาณ H2 ที่เวลา 65)
ช่วงเวลาวินาทีที่ 65-134 134 – 65

= (6-3) / (134-65) = 0.043 M s-1


Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
A + 2B 3C + 4D
ความเข้มข้นของสาร
D
C

A
B
เวลา
การลดลงของ A = การลดลงของ B = การเพิ่มขึ้นของ C = การเพิ่มขึ้นของ D
เวลา 2 x เวลา 3 x เวลา 4 x เวลา

กฏอัตราอันดับการเกิดปฏิกิริยา
A + 2B 3C + 4D
Rate = k [A]m [B]n
k = ค่าคงที่อัตราการเกิดปฏิกิริยา
[A] , [B] = ความเข้มข้นของ A และความเข้มข้นของ B ในหน่วย mol/dm3
m = อันดับของปฏิกิริยาที่ขึ้นกับความเข้มข้น A
n = อันดับของปฏิกิริยาที่ขึ้นกับความเข้มข้น B
m + n = อันดับรวมของปฏิกิริยา
Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
การหาอันดันของปฏิกิริยา
O2 + 2NO 2NO2
การทดลองที่ ความเข้มข้น (mol/dm3) อัตราการ
O2 NO เกิดปฏิกิริยา (rate)
1 1.10 x 10-2 1.30 x 10-2 3.21 x 10-3
2 1.10 x 10-2 2.60 x 10-2 12.8 x 10-3
3 1.10 x 10-2 3.90 x 10-2 28.8 x 10-3
4 2.20 x 10-2 1.30 x 10-2 6.40 x 10-3
5 3.30 x 10-2 1.30 x 10-2 9.60 x 10-3
Rate = k [O2]m [NO]n
หาอันดับ m หาอันดับ n
Rate 5 = k [O2]5m [NO]5n Rate 2 = k [O2]2m [NO]2n
Rate 4 k [O2]4m [NO]4n Rate 1 k [O2]1m [NO]1n

9.60 x 10-3 = [3.30 x 10-2] m 12.8 x 10-3 = [2.60 x 10-2] n


6.40 x 10-3 [2.20 10-3-3]]
[2.20 xx 10 3.21 x 10-3 [1.30 x 10-2]

1.5 = 1.5m 4 = 2n
m=1 n=2
Rate = k [O2]1 [NO]2 อันดับรวมปฏิกิริยา = 3
หาค่า k ; Rate = k [O2]1 [NO]2
9.60 x 10-3 = k [3.30 x 10-2]1 [1.30 x 10-2]2
k = 1.72 x 103
Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
ปฏิกิริยาหลายขั้นตอน

Energy Ea3
Ea2

B
C+D
A Ea1
E
Reaction progress

Ea1
A B B C D คือ สารที่เกิดระหว่างปฏิกิริยา
Ea2
B C+D เรียกว่า สารมัธยันต์ (Intermediate)
Ea3
C+D E
A E (ปฏิกิริยาสุทธิ)
ปฏิกิริยาจะเกิดช้าหรือเร็วขึ้นกับขั้นกาหนดอัตรา (rate determining step)
ซึ่งเป็น ขั้นตอนทีเ่ กิดช้าที่สุด A Ea1 B
Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น
สมบัติทางกายภาพ ความเป็นโลหะ อะโลหะ
2. พื้นพี่ผิวของสารตั้งต้น
การเพิ่มพื้นที่ผิวจะช่วยเพิ่มโอกาสการชนกันของโมเลกุลสารตั้งต้น
การเพิ่มพื้นที่ผิวทาได้โดยการลดขนาดอนุภาค เช่น การแผ่ออก การตัด การบด

3. ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์
การเพิ่มความเข้มข้นจะเพิ่มโอกาสการชนกันของโมเลกุลสารตั้งต้น

ความเข้นข้นต่า ความเข้มข้นสูง
4. ความดัน
การเพิ่มความดันจะช่วยเพิ่มความเข้มข้นและโอกาสการชนกันของสาร
Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
5. อุณหภูมิ
การเพิ่มอุณหภูมิ จะช่วยเพิ่มจานวนของสารตั้งต้นที่มีพลังงานมากพอในการ
เกิดปฏิกิริยา
T1
T2 > T1
T2
จานวนโมเลกุลทีม่ ีพลังงาน
จานวนโมเลกุล มากกว่าพลังงานกระตุน้
ที่อุณหภูมิ T2 มีมากกว่า T1

Ea พลังงาน
6. ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยา
ตัวเร่งจะช่วยลดค่าพลังงานกระตุ้น โดยพลังงานสุทธิของปฏิกิริยาเท่าเดิม
ตัวเร่งจะไม่หายไปเมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุด หรือกลายเป็นส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์
Energy Energy

∆E1 ∆E2
Ea1 Ea2
Reaction progress Reaction progress
ไม่มีตัวเร่งปฏิกิริยา มีตัวเร่งปฏิกิริยา
Ea1 > Ea2 / ∆E1 = ∆E2
Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
แบบฝึกหัดเรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปฏิกิริยา H E G
Energy F

I
A B
G C
H D
Reaction progress
1 จงเลือกตัวอักษร A B C D E F G H I จากภาพมาเติมลงหน้าข้อที่ถูกต้อง
1. _______ สารตั้งต้น
2. _______ สารผลิตภัณฑ์
3. _______ พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาย้อนกลับ
4. _______ Intermediate
5. _______ พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาไปข้างหน้า
6. _______ พลังงานสุทธิของปฏิกิริยา

ปฏิกิริยาข้างต้นเป็นแบบ ดูด หรือ คาย ความร้อน


Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
2. จงวาดกราฟการดาเนินไปของปฏิกิริยา A B และตอบคาถาม
จากข้อมูลที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1. พลังงานเริม่ ต้นของสาร A = 60 kJ พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาย้อนกลับ = 100 kJ
หลังปฏิกิริยาสิ้นสุด พบว่าปฏิกิริยาคายพลังงาน 40 kJ
พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาไปข้างหน้า____________ kJ
พลังงาน (kJ)
120

100

80

60

40

20

0
การดาเนินไปของปฏิกิริยา

2. พลังงานเริม่ ต้นของสาร A = 40 kJ พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาไปข้างหน้า = 60 kJ


หลังปฏิกิริยาสิ้นสุด พบว่าปฏิกิริยาดูดพลังงาน 20 kJ
พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาย้อนกลับ____________ kJ
พลังงาน (kJ)
120

100

80

60

40

20

0
การดาเนินไปของปฏิกิริยา
Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
3. จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยและอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ช่วงเวลา 45-90 วินาที
ปริมาณของ H2 (M) เวลา (s)
1 20
2 45
3 70
4 90
5 115
6 140
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย _____________ M s-1

อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ช่วงเวลา 45-90 วินาที ______________ M s-1


4. จากปฏิกิริยาการตกตะกอน ระหว่าง AgNO3 + CaCl2
พบว่า อัตราการเกิดขึ้นของ AgCl = 16 mol dm-3 จงหาอัตราการลดลงของ AgNO3 อัตรา
การลดลงของ CaCl2 และ อัตราการเกิดขึ้นของ Ca(NO3)2 ในหน่วย mol dm-3
ปฏิกิริยา
อัตราการลดลงของ AgNO3 _______________ mol dm-3
อัตราลดลงของ CaCl2 _______________ mol dm-3
อัตราการเกิดขึ้นของ Ca(NO3)2 _______________ mol dm-3
Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
5. จงเขียนกฏอัตราของการเกิดปฏิกิริยา และหาอันดับรวมของปฏิกริ ิยา
และค่าคงที่การเกิดปฏิกิริยา
X (g) + Y (g) Z (g)
การทดลองที่ ความเข้มข้น (mol/dm3) อัตราการเกิดปฏิกิริยา
X Y (rate)
1 0.1 0.1 0.05
2 0.2 0.1 0.10
3 0.3 0.1 0.15
4 0.3 0.2 0.60
กฏอัตราของการเกิดปฏิกริ ิยา

อันดับรวมของปฏิกริ ิยา คือ _______ ค่าคงที่การเกิดปฏิกิริยา คือ ________


Rate of reaction Easy Chem by P’Junior
6. จงอธิบายปัจจัยต่างๆมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาได้อย่างไร
6.1 ธรรมชาติของสาร

6.2 ความเข้มข้นของสาร

6.3 พื้นที่ผิวของสาร

6.4 ความดัน

6.5 อุณหภูมิ

6.6 ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยา

7. ทาเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ทาให้อตั ราเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึน้


____ บดสารตั้งต้นให้ละเอียด ____ เพิ่มความเข้มข้นสารตั้งต้น
____ ลดอุณหภูมิ ____ คนสาร
____ เติมตัวหน่วง ____ ลดขนาดอนุภาคสารผลิตภัณฑ์
____ นาสารผลิตภัณฑ์ออกจากระบบ ____ เติมสารผลิตภัณฑ์
____ เพิ่มอุณหภูมิ ____ เติมตัวเร่ง
____ ใช้สารที่มีขนาดใหญ่ ____ เพิ่มความดัน เมื่อสารตั้งต้นเป็นของแข็ง
____ แช่เนื้อในตู้เย็น ____ นาสารตั้งต้นออกจากระบบ
____ ลดขนาดอนุภาคสารตั้งต้น ____ เพิ่มปริมาตรภาชนะ เมื่อสารตั้งต้นเป็นแก๊ส
____ เก็บ Na ในน้ามัน ____ นาสารตั้งต้นไปแผ่ออกให้เป็นแผ่น
____ เคลือบเหล็กด้วยสารกันสนิม ____ เติมแก๊สเฉือ่ ย ในระบบที่สารตั้งต้นเป็นแก๊ส

You might also like