Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 40

ชาการ มาก

งาน อย
นชม การ ม
บ 15 ค 64

. .

แผนการจัแผนการจั
ดการเรีดยการเรี
นรู้ โดยใช้ วิธีกวารจั
ยนรู้ โดยใช้ ดการเรี
ิธีการจั ดการเรียยนรู้ต้ตามกระบวนการเรี
ามกระบวนการเรียนรู้ ย5นรู
ขั้น้ ตอน
5 ขั้น(5STEPs)
ตอน (5STEPs)
+
เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่และรูปถ่าย (1)
+
1. เค บาง
ด กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึ+กษา ศาสนา และวัฒนธรรม
อาจจะ ไ ไ แ ไข _
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
กจ ไ แ
อ ภาพ แผน
+
อา คน
ปีการศึกษา 2563 คน 1 .

2. กาล

เ อหาใ เ าใจ จะ
บ ขนาด
ตาม

เพราะ แผน ละเ ยด ง ก มาก ง มอง แ อา มาก


ตาม เ าใจ
1

หน
#คน 0k
ไ เ จัดทำโดย เ อหา อ บาย ใ าลง
นางสาวประกายดาว วิปัสสะ รหัสนักศึกษา 61031280172
นางสาวปรางค์วลัย สีทาดี รหัสนักศึกษา 61031280174
นางสาวปรียานุช จอนคำ รหัสนักศึกษา 61031280176

r
นางสาววราภรณ์ จุติ รหัสนักศึกษา 61031280181
นางสาวดลยา อุ่นพรม รหัสนักศึกษา 61031280193
นักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษา SECTION 01
ปน นเอง 3 อ บาย
คน
ไ ก ง

2 4
รา
ตา มา ._

เส ม แรง ส เสมอ
เ าใจใน ในตอน
ol
การ
ความ การสอน
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
นn ตาม เ น นเอง
0k า เ ยง 0K .

ระบบ การ สอน การ ด


มี
ค่
ดี
ร้
รี
วิ
ทำ
ชื่
จุ
ดู
นั
ที่
สื่
ม่รั
ค้ก็นำ
ที่
มี
ยิ่
มั
ยิ่
มั
ณั
ดี
ที่
กั
ที่มี
ช้
มี
ฟั
ดีนั
มี
คู
น้
ผุ
กั
ข้
นื้
ข้
ข้
ช็
นื้
ป็
สี
ม่
ธิ
ม่
ด้
ห้
ม่
ธิ
ด้
ห้
ต่
ก้
ม่ำ
ด้
ริ
อี
ที่
คำอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ส XXXXX กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2563
เวลาเรียน 80 ชั่วโมง/ปี จำนวน 2 หน่วยกิต ✓
ศึกษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ เป็นศูนย์รวม
การทำความดี และพัฒนาจิตใจ เช่น ฝึกสมาธิ สวดมนต์ ศึกษาหลักธรรม เป็นที่ประกอบศาสนพิธี (การทอดกฐิน
การทอดผ้ า ป่ า การเวี ย นเที ย น การทำบุ ญ ) เป็ น แหล่ ง ทำกิ จ กรรมทางสั ง คม เช่ น การจั ด ประเพณี ท ้องถิ่น
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารชุมชน และการส่งเสริมพัฒนาชุมชน สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน) ตรัสรู้ ประกาศธรรม
ได้แก่ โปรดชฎิล โปรดพระเจ้าพิมพิสาร พระอัครสาวก แสดงโอวาทปาฏิโมกข์ พระอุรุเวลกัสสปะ กุฏิทูสกชาดก
มหาอุกกุสชาดก สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช -
ชนนี พระรัตนตรัย ศรัทธา 4 พระพุทธ พุทธคุณ 3 พระธรรม หลักกรรม พระสงฆ์ ไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปัญญา
โอวาท 3 ไม่ทำชั่ว เบญจศีล ทุจริต 3 ทำความดี เบญจธรรม สุจริต 3 พรหมวิหาร 4 กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ
มงคล 38 เคารพ ถ่อมคน ทำความดีให้พร้อมไว้ก่อน ทำจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปัญญา) พุทธศาสนสุภาษิต
สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี ความพร้อมเพรียงของหมู่ให้เกิดสุข โลโกปตฺถมฺภิกา เมตฺตา เมตตาธรรม ค้ำจุนโลก ตัวอย่าง
การกระทำความดีของตนเองและบุคคลในครอบครัว ในโรงเรียน และในชุมชน สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญคุณ -
พระรัตนตรัยและแผ่เมตตา รู้ความหมายของสติสัมปชั ญญะ สมาธิและปัญญา รู้วิธีปฏิบัติของการบริหารจิต
และเจริญปัญญา ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และการนอน อย่างมีสติ ฝึกการกำหนดรู้ความรู้สึก เมื่อตาเห็นรูป
หูฟังเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายสัมผัสสิ่งที่มากระทบ ใจรับรู้ธรรมารมณ์ ฝึกให้มีสมาธิในการฟั ง การอ่าน
การคิ ด การถาม และการเขี ย น หลั ก ธรรมเพื ่ อ การอยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งสมานฉั น ท์ (เบญจศี ล – เบญจธรรม
ทุจริต 3 – สุจริต 3 พรหมวิหาร 4 มงคล 38 เคารพ ถ่อมตน ทำความดีให้พร้อมไว้ก่อน พุทธศาสนสุภาษิต :
ความพร้อมเพรียงของหมู่ใ ห้เกิดสุข เมตตาธรรมค้ำจุนโลก กตัญ ญูกตเวทีต่อประเทศชาติ) ประวัติศาสดา
พระพุทธเจ้า มูฮัมมัด พระเยซู ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของ ศาสนสถาน การแสดงความเคารพต่อศาสนสถาน
การบำรุงรักษาศาสนสถาน การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ การยืน การเดิน และการนั่งที่เหมาะสม
ในโอกาสต่าง ๆ การอาราธนาศีล การอาราธนาธรรม การอาราธนาพระปริตร ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตน
ในวันธรรมสวนะ
ศึกษาการเข้าร่วมกิจกรรมประชาธิปไตยของชุมชน เช่น การรณรงค์การเลือกตั้ง แนวทางการปฏิบัติตน
เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน เช่น อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สาธารณสมบัติ โบราณวัตถุและโบราณสถาน การพัฒนาชุมชน
การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี บทบาทและความรับผิดชอบของผู้นำ บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ตามหรือ


สมาชิก การทำงานกลุ่มให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ และประโยชน์ของการทำงานเป็นกลุ่ม สิทธิ พื้นฐาน
ของเด็ก เช่น สิทธิที่จะมีชีวิต สิทธิที่จะได้รับการปกป้อง สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา สิทธิที่จะมีส่วนร่วม วัฒนธรรม
ในภาคต่าง ๆ ของไทยที่แตกต่างกัน เช่น การแต่งกาย ภาษา อาหาร ปัญหาและสาเหตุของการเกิดความขัดแย้ง
ในชีวิตประจำวัน แนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี อำนาจอธิปไตย ความสำคัญของการปกครองตาม
ระบอบประชาธิ ป ไตย บทบาทหน้ า ที ่ ข องพลเมื อ งในกระบวนการเลื อ กตั ้ ง ทั ้ ง ก่ อ นการเลื อ กตั ้ ง ระหว่ า ง
การเลือกตั้ง หลังการเลือกตั้ง สถาบันพระมหากษัตริย์ในสังคมไทย ความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์
ในสังคมไทย
ศึกษาสินค้าและบริการที่มีอยู่หลากหลายในตลาดที่มีความแตกต่างด้านราคาและคุณภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อ
การเลือกซื้อสินค้าและบริการที่มีมากมาย ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้ซื้อ ผู้ขาย และตัวสินค้า เช่น ความพึงพอใจของผู้ซื้อ ราคา
สินค้า การโฆษณา คุณภาพของสินค้า สิทธิ พื้นฐานของผู้บริโภค สินค้าและบริการที่มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ
หลักการและวิธีการเลือกบริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต
เช่น การแต่งกาย การกินอาหาร การใช้จ่าย อาชีพ สินค้าและบริการต่าง ๆ ที่ผลิต ในชุมชน การพึ่งพาอาศัยกัน
ภายในชุมชนทางด้านเศรษฐกิจ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อ ผู้ขาย การกู้หนี้ยืมสิน การสร้างความเข้มแข็ง
ให้ชุมชนด้วยการใช้สิ่งของที่ผลิตในชุมชน ความหมายและประเภทของเงิน หน้าที่เบื้องต้นของเงินในระบบ
เศรษฐกิจ สกุลเงินสำคัญที่ใช้ในการซื้อขายแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ
สื บ ค้ น และอธิ บ ายข้ อ มู ล และลั ก ษณะทางกายภาพของจั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ ระบุ แ หล่ ง ทรั พ ยากร
และสถานที่สำคัญ อธิบายลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญในจังหวัด อุตรดิตถ์
วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิ ตของคนในจังหวัดอุตรดิตถ์ อธิบายการเปลี่ยนแปลง


สิ่งแวดล้อมและผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง เช่น การตั้งถิ่นฐาน การย้ายถิ่น นำเสนอแนวทางการจัดการ
สิ่งแวดล้อมในจังหวัดอุตรดิตถ์
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม ทักษะการสำรวจ ทักษะการสังเกต ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทักษะการแสวงหาความรู้ การสรุปย่อ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนอยู่ร่วมกันในสังคมไทย
และสั ง คมโลกอย่ า งสั น ติ ส ุ ข เป็ น พลเมื อ งดี ศรั ท ธาในหลั ก ธรรมของศาสนา เห็ น คุ ณ ค่ า ของทรั พ ยากร
และสิ่งแวดล้อม รักชาติ ซื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียง และภูมิใจในความเป็นไทย

รหัสตัวชี้วัด
ส 1.1 ป.4/1 อธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของ
ศาสนิกชน
ส 1.1 ป.4/2 สรุปพุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด
ส 1.1 ป.4/3 เห็นคุณค่าและปฏิบัตติ นตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า
และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด
ส 1.1 ป.4/4 แสดงความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา
หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด
ส 1.1 ป.4/5 ชื่นชมการทำความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน และชุมชนตามหลักศาสนา พร้อมทั้ง
บอกหลักปฏิบัติในการดำเนินชีวิต
ส 1.1 ป.4/6 เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนา
จิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด
ส 1.1 ป.4/7 ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์
ส 1.1 ป.4/8 อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่น ๆ โดยสังเขป
ส 1.2 ป.4/1 อภิปรายความสำคัญ และมีสว่ นร่วมในการบำรุงรักษาศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ
ส 1.2 ป.4/2 มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีตามที่กำหนด
ส 1.2 ป.4/3 ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมและวันสำคัญทางศาสนาตามที่กำหนดได้อย่างถูกต้อง
ส 2.1 ป.4/1 ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน
ส 2.1 ป.4/2 ปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
ส 2.1 ป.4/3 วิเคราะห์สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับตามกฎหมาย
ส 2.1 ป.4/4 อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น
ส 2.1 ป.4/5 เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในชีวิตประจำวัน
ส 2.2 ป.4/1 อธิบายอำนาจอธิปไตยและความสำคัญของระบอบประชาธิปไตย
ส 2.2 ป.4/2 อธิบายบทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง
ส 2.2 ป.4/3 อธิบายความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
ส 3.1 ป.4/1 ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการ
ส 3.1 ป.4/2 บอกสิทธิพื้นฐานและรักษาผลประโยชน์ของตนเองในฐานะผู้บริโภค
ส 3.1 ป.4/3 อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง
ส 3.2 ป.4/1 อธิบายความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน
ส 3.2 ป.4/2 อธิบายหน้าที่เบื้องต้นของเงิน
ส 5.1 ป.4/1 สืบค้นและอธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพในจังหวัดของตนด้วยแผนที่และรูปถ่าย
ส 5.1 ป.4/2 ระบุแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญในจังหวัดของตนด้วยแผนที่และรูปถ่าย
ส 5.1 ป.4/3 อธิบายลักษณะทางกายภาพที่สงผลตอแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญในจังหวัด
ส 5.2 ป.4/1 วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในจังหวัด


ส 5.2 ป.4/2 อธิบายการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในจังหวัดและผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
ส 5.2 ป.4/3 นำเสนอแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมในจังหวัด
รวม 31 ตัวชี้วัด
Foht
ขนาด
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
/
รหัสวิชา สXXXXX กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2563
เวลาเรียน 80 ชั่วโมง/ปี จำนวน 2 หน่วยกิต

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน


มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สาระสำคัญ (3)
ประวัติและความสำคัญของศาสนา ศาสนาแต่ละศาสนามีความสำคัญในฐานะ
เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ เป็นศูนย์รวมการทำ
ความดีและเป็นแหล่งทำกิจกรรมทางสังคม
การศึกษาประวัติของศาสนา ศาสดาของแต่ละ
ศาสนา จะทำให้เรามีความเข้าใจศาสนาต่าง ๆ
มาตรฐาน และตัวชี้วัด มากขึ้น และสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข
ส 1.1 ป.4/1 อธิบายความสำคัญของ สาระการเรียนรู้
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือใน - ความสำคัญของศาสนา 1
ฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกชน - เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ
ส 1.1 ป.4/2 สรุปพุทธประวัติตั้งแต่บรรลุ - เป็นศูนย์รวมการทำความดีและเป็นหลัก
ธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัติ ในการพัฒนาจิตใจ
ศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด - เป็นทีป่ ระกอบศาสนพิธีและเป็นแหล่งทำ
ส 1.1 ป.4/8 อธิบายประวัติศาสดาของ กิจกรรมทางสังคม
ศาสนาอื่น ๆ โดยสังเขป - ประวัติศาสดาของศาสนาต่าง ๆ
- พระพุทธศาสนา
- ก่อนออกผนวช 1
- ตรัสรู้
- ประกาศธรรม
- ปรินิพพาน
- คริสต์ศาสนา 1
- ศาสนาอิสลาม
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สาระสำคัญ (6)
หลักธรรมของศาสนา ศาสนาต่าง ๆ จะมีหลักธรรมคำสอน
ปลีกย่อยแตกต่างกัน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติตามไปสู่
จุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา แต่ละศาสนาทุก
ศาสนาจะมีหลักการที่คล้ายกันคือ สอนให้ทกุ คน
เป็นคนดี และสอนให้ละเว้นจากความชั่ว ดังนั้น
เราจึงควรศึกษาหลักธรรมของศาสนาต่าง ๆ เพื่อ
นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของเรา
มาตรฐาน และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
ส 1.1 ป.4/4 แสดงความเคารพพระ - หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนา
รัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรม - โอวาท 3 1
โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรม - เบญจศีล เบญจธรรม
ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด - ไตรสิกขา 1
ส 1.1 ป.4/7 ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ - พรหมวิหาร 4
ศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็น - ศรัทธา 4 1
ชาติได้อย่างสมานฉันท์ - พุทธคุณ 3
- หลักกรรม 1
- สุจริต 3 และ ทุจริต 3
- กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ 1
- มงคล 38 ประการ
- การทำจิตใจให้ผ่องใสบริสุทธิ์ 1
- พุทธศาสนสุภาษิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สาระสำคัญ (5)
เชื่อมั่นในการทำความดี การศึกษาการทำความดีของบุคคลต่าง ๆ
ทำให้เราเกิดความชื่นชม เห็นคุณค่า และเป็น
มาตรฐาน และตัวชี้วัด แบบอย่างในการทำความดีของตนได้
ส 1.1 ป.4/3 เห็นคุณค่าและปฎิบัติตนตาม สาระการเรียนรู้
แบบอย่างการดำเนินชีวิต และข้อคิดจาก - คนดีที่น่าชื่นชม 1
ประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า - แบบอย่างความดี
และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด - พุทธสาวกและชาดก
- พุทธสาวก : พระอุรุเวลกัสสปะ 1
- กุฏิทูสกชาดก (นกขมิ้นสอนลิงพาล) 1
- มหาอุกกุสชาดก (บุรุษผู้ผูกไมตรี) 1
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
ส 1.1 ป.4/5 ชื่นชมการทำความดีของ - ศาสนิกชนตัวอย่าง 1

}
ตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน และ - สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช

แ ใจ
ชุมชนตามหลักศาสนาพร้อมทั้งบอกหลัก วิกรม พระบรมราชชนก
ปฏิบัติในการดำเนินชีวิต - พระราชประวัติ
- พระราชกรณียกิจ
- สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช- ไ
ชนนี

ฐึ๋
- พระราชประวัติ
- พระราชกรณียกิจ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
ศาสนิกชนที่ดี
สาระสำคัญ
ศาสนิกชนที่ดีของศาสนาจะปฏิบัติตาม
(12)

หลักธรรมของศาสนา เห็นคุณค่าของการทำความ
ดีตามแนวทางของศาสนาที่ตนเองนับถือ เช่น การ
รู้จักบริหารจิตฝึกสมาธิ สวดมนต์ บำรุงรักษา ฝาก
ศาสนสถาน มีมรรยาทของศาสนิกชน และปฏิบัติ
ตนในศาสนพิธีได้ถูกต้องเหมาะสม คะ
นะ
มาตรฐาน และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
ส 1.1 ป.4/6 เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่ - การสวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระรัตน-
เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิใน ตรัย และแผ่เมตตา
พระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตาม - การสวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระ 1
แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด รัตนตรัย
ส 1.2 ป.4/1 อภิปรายความสำคัญ และมี - การแผ่เมตตา
ส่วนร่วมในการบำรุงรักษาศาสนสถานของ - การบริหารจิตและเจริญปัญญา 1
ศาสนาที่ตนนับถือ - ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิ และ
ส 1.2 ป.4/2 มีมรรยาทของความเป็นศา ปัญญา
สนิกชนที่ดีตามที่กำหนด - วิธีปฏิบัติของการบริหารจิตและเจริญ 1
ปัญญา
- การฝึกการยืน เดิน นั่ง และนอนอย่างมีสติ 1
- ฝึกการยืนอย่างมีสติ
- ฝึกการเดินอย่างมีสติ
- ฝึกการนั่งสมาธิ
- ฝึกการนอนอย่างมีสติ
ฐื๊ดิ
ค์มี
ลื๊
ฃื้
ม่
ดํ
น่
ลื
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
ส 1.2 ป.4/3 ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม - การฝึกกำหนดรู้ความรู้สึกของประสาทสัมผัส 1
และวันสำคัญทางศาสนาตามที่กำหนดได้ ทัง้ 6
อย่างถูกต้อง - การฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน การคิด 1
การถาม และการเขียน
- การฝึกให้มีสมาธิในการฟัง
- การฝึกให้มีสมาธิในการอ่าน
- การฝึกให้มีสมาธิในการคิด
- ฝึกให้มสี มาธิในการถาม
- ฝึกให้มีสมาธิในการเขียน
- ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนสถาน
- ความหมายของศาสนสถาน 1
- วัด
- มัสยิด
- โบสถ์คริสต์
- เทวสถาน
- การแสดงความเคารพต่อศาสนสถาน 1
- การบำรุงรักษาศาสนสถาน
- มรรยาทของศาสนิกชนที่ดี
- การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ 1
- การสนทนากับพระสงฆ์
- การแสดงความเคารพต่อพระภิกษุ
สงฆ์
- การยืน เดิน และนั่งทีเ่ หมาะสมต่อ 1
พระภิกษุ
- การยืน
- การเดิน
- การนั่ง
- ศาสนพิธี
- การอาราธนาศีล และสมาทานศีล 1
- การอาราธนาธรรม
- การอาราธนาพระปริตร
- ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตนในวันธรรม 1
สวนะ
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สาระสำคัญ (12)
สมาชิกที่ดีของชุมชน การเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน จำเป็นต้อง
เป็นผู้ที่มีคารวธรรม ปัญญาธรรม และสามัคคี
ธรรม ปฏิบัติตนในการเป็นผูน้ ำและผู้ตามทีด่ ี
เข้าใจสิทธิเด็ก และรู้จักหาแนวทางในการ
แก้ปัญหาและความขัดแย้งที่เกิดขึ้นด้วยสันติวิธี
มาตรฐาน และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
ส 2.1 ป.4/1 ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี - พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน - คุณธรรมและจริยธรรมของพลเมืองดีตาม 1
ส 2.1 ป.4/2 ปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำและผู้ วิถีประชาธิปไตย
ตามที่ดี - คารวธรรม
ส 2.1 ป.4/3 วิเคราะห์สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุก - ปัญญาธรรม
คนพึงได้รับตามกฎหมาย - สามัคคีธรรม
ส 2.1 ป.4/5 เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกัน - การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี 1
อย่างสันติสุขในชีวิตประจำวัน ประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน
- การปฏิบัติตนด้านสังคม
- การปฏิบัติตนด้านเศรษฐกิจ
- การปฏิบัติตนด้านการเมือง
- การมีสว่ นร่วมในกิจกรรมของชุมชน 1
- ผู้นำและผู้ตามในสังคมประชาธิปไตย
- ลักษณะของผู้นำในสังคมประชาธิปไตย 1
- ผู้นำตามธรรมชาติ
- ผู้นำตามการแต่งตั้ง
- ผู้นำจากการเลือกตั้ง
- บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของ 1
ผู้นำในแต่ละกลุ่มสังคม
- กลุ่มสังคมระดับครอบครัว
- กลุ่มสังคมระดับโรงเรียน
- กลุ่มสังคมระดับท้องถิ่น
- กลุ่มสังคมระดับชาติ
- บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ 1
ตาม
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
- คุณลักษณะและคุณธรรมจริยธรรมของ 1
ผู้นำที่ดี
- มีบุคลิกภาพที่ดี
- มีวิสัยทัศน์
- มีเหตุและผล และมีมนุษยสัมพันธ์
ที่ดี
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์พฒ
ั นางาน
ให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ
- มีความสำนึกและปฏิบัติตามหน้าที่
ด้วยความรับผิดชอบ
- มีความเสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อ
ประโยชน์ส่วนรวม
- มีความมั่นใจในตนเอง
- การทำงานกลุ่มให้มีประสิทธิภาพ 1
- ประโยชน์ของการทำงานกลุ่ม
- สมาชิกในกลุ่มได้ร่วมกันคิด ร่วมกัน
วางแผน
- ทำให้งานเสร็จเร็วและมีคุณภาพตาม
เป้าหมาย
- ฝึกการใช้หลักประชาธิปไตย 1
- ฝึกการนำหลักธรรมมาใช้
- ฝึกการทำงานและการสร้างนิสัยที่ดี 1
ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
- ฝึกการทำงานอย่างเป็นระบบและ
เป็นกระบวนการ
- สิทธิพื้นฐานสำหรับเด็ก 1
- สิทธิที่จะมีชีวิตหรือการอยู่รอด
- สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
- สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา
- สิทธิที่จะมีส่วนร่วม
- การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 1
- ลักษณะของการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
- ปัญหาและสาเหตุของการเกิดความขัดแย้ง
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
- แนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วย
สันติวิธี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สาระสำคัญ (7)
วัฒนธรรมท้องถิ่น วัฒนธรรมในท้องถิ่นต่าง ๆ ของคนไทย มี
ความแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมและวิถี
ชีวิตของผู้คนในท้องถิ่นการศึกษาวัฒนธรรมใน
ท้องถิ่นต่าง ๆ จนมีความเข้าใจและยอมรับใน
วัฒนธรรมที่มีความแตกต่างกัน จะทำให้การอยู่
ร่วมกันในสังคมเกิดความสงบสุข
มาตรฐาน และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
ส 2.1 ป.4/4 อธิบายความแตกต่างทาง - ความหมาย ลักษณะ และประเภทของ
วัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น วัฒนธรรม
- ความหมายของวัฒนธรรม 1
- ลักษณะของวัฒนธรรม
- วัฒนธรรมเป็นสิง่ ที่ดีงาม
- วัฒนธรรมสามารถถ่ายทอดได้
- วัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา
- ประเภทของวัฒนธรรม 1
- วัฒนธรรมทางวัตถุ
- วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ
- ความแตกต่างทางวัฒนธรรม
- วัฒนธรรมทางภาษา 1
- วัฒนธรรมด้านอาหารการกิน 1
- วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย 1
- วัฒนธรรมด้านการแสดงและการละเล่น 1
พื้นเมือง
- วัฒนธรรมพื้นเมือง 1
- สาเหตุที่ทำให้วัฒนธรรมของท้องถิ่น
แตกต่างกัน
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สาระสำคัญ (3)
การปกครองระบอบประชาธิปไตย ประเทศไทยปกครองด้วยระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข ประชาชนมีบทบาท หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ
และปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เช่น ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง เคารพในสถาบัน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด พระมหากษัตริย์
ส 2.2 ป.4/1 อธิบายอำนาจอธิปไตยและ สาระการเรียนรู้
ความสำคัญของระบอบประชาธิปไตย - การปกครองระบอบประชาธิปไตย
ส 2.2 ป.4/2 อธิบายบทบาทหน้าที่ของ - อำนาจอธิปไตยและความสำคัญของระบบ 1
พลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง ประชาธิปไตย
ส 2.2 ป.4/3 อธิบายความสำคัญของสถาบัน - อำนาจอธิปไตย
พระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตย - ความสำคัญของการปกครองระบอบ
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประชาธิปไตย
- การเลือกตั้ง 1
- สาเหตุที่ต้องมีการเลือกตั้ง
- บทบาทของพลเมืองไทยในการ
เลือกตั้ง
- สถาบันพระมหากษัตริย์ 1
- สถาบันพระมหากษัตริย์ในสังคมไทย
- ความสำคัญสถาบันพระมหากษัตริย์
ในสังคมไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 สาระสำคัญ (8)
การบริโภคสินค้าและบริการ ความต้องการสินค้าและบริการโดยทั่วไปมี
ไม่จำกัดหรือมีไม่สิ้นสุด แต่สนิ ค้าและบริการที่
ต้องการมีจำกัด ดังนั้นเพื่อให้สามารถจัดสรรสินค้า
และบริการให้พอเพียงกับความต้องการในการ
ตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าและบริการจึงต้องมี
หลักเกณฑ์การพิจารณาให้รอบครอบ เพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
มาตรฐาน และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
ส 3.1 ป.4/1 ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเลือก - สินค้าและการบริการ
ซื้อสินค้าและบริการ - สินค้า 1
ส 3.1 ป.4/2 บอกสิทธิพื้นฐานและรักษา - สินค้าเพื่อการบริโภค
ผลประโยชน์ของตนเองในฐานะผู้บริโภค - สินค้าเพื่อการอุปโภค
- การบริการ 1
- ปัจจัยทีม่ ีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อสินค้าและ 1
บริการ
- ราคาของสินค้า
- รายได้ของผู้บริโภค
- รสนิยมของผู้บริโภค
- การโฆษณา
- ฤดูกาล
- การคุ้มครองผู้บริโภค 1
- สิทธิพื้นฐานของผู้บริโภค
- สิทธิได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนา 1
คุณภาพที่ถูกต้องละพอเพียงเกี่ยวกับสินค้าและ
บริการ
- สิทธิที่มีอิสระในการเลือกสินค้าหรือ
บริการ
- สิทธิได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้า 1
และบริการ
- สิทธิได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา
- สิทธได้รับการพิจารณาและชดเชยความ
เสียหาย
- เครือ่ งหมายรับรองคุณภาพสินค้าและบริการ 1
- เครื่องหมายมาตรฐานหรือเครื่องหมาย
มอก.
- เครื่องหมาย อย.
- ตรา OTOP
- เครื่องหมายฮาลาล
- เครื่องหมายประหยัดไฟ เบอร์ 5
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
- เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้าน
สิ่งแวดล้อม
- เครื่องมาตรฐานเฉพาะด้านความปลอดภัย
- หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและ 1
บริการ
- ให้พิจารณาราคาที่ประหยัดที่สุด
- มีคุณภาพมาตรฐานตามที่หน่วยงาน
ราชการกำหนด
- คำนึงถึงความจำเป็น คุณค่า ประโยชน์ใช้
สอย ราคา และคุณภาพเป็นสำคัญ
- มีการบริการหลังการขาย
- เป็นสินค้าที่ถูกต้องตามกฎหมาย
- เป็นสินค้าที่มีอยู่ในช่วงฤดูกาล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 สาระสำคัญ (2)
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิ
พลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ทรงชี้แนะ
แนวทางในการดำเนินชีวิต และการปรับตัวให้แก่
ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน
จนถึงระดับรัฐ ให้ดำเนินในทางสายกลาง คือ รู้
ประมาณตน มีเหตุผล ดำเนินชีวิตอยู่ตามอัตภาพ
ตามฐานะ โดยเฉพาะการทำมาหาเลี้ยงชีพเพื่อให้
ดำรงชีวิตอยู่ได้โดยไม่เกิดความเดือดร้อน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
ส 3.1 ป.4/3 อธิบายหลักการของเศรษฐกิจ - เศรษฐกิจพอเพียง
พอเพียงและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของ - ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง 1
ตนเอง - หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- ทางสายกลาง
- พอประมาณ
- ความมีเหตุผล
- มีภูมิคุ้มกันที่ดแี ละรู้เท่าทันโลก
- เสริมสร้างคุณภาพคน
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
- การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงใน 1
ชีวิตประจำวันของตนเอง
- การนำเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ
ให้เป็นนิสัยประจำตัว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 สาระสำคัญ (4)
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชน ชุมชนแต่ละแห่งย่อมมีลักษณะทาง
เศรษฐกิจแตกต่างกันออกไป โดยเฉพาะอาชีพ
สินค้า และบริการ ทั้งนี้ภายในสังคมยังมีการพึ่งพา
อาศัยกันทางเศรษฐกิจด้วย สำหรับแนวมางหนึ่งที่
สร้างความอยู่ดีกินดีให้กับผูค้ นในชุมชนก็คอื การ
มาตรฐาน และตัวชี้วัด สร้างชุมชนให้มีความเข้มแข็งในด้านต่าง ๆ
ส 3.2 ป.4/1 อธิบายความสัมพันธ์ทาง สาระการเรียนรู้
เศรษฐกิจของคนในชุมชน - กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชน 1
- ความหมายของกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ
ชุมชน
- ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชน
- ลักษณะอาชีพ สินค้า และบริการในชุมชน 1
- เกษตรกรรม
- พาณิชยกรรม
- หัตถกรรม
- บริการ
- การพึ่งพาอาศัยกันทางเศรษฐกิจในชุมชน 1
- ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย
- ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค
ธนาคาร
- ชุมชนเข้มแข็ง 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 สาระสำคัญ (4)
เงินทองของมีค่า เงินทองเป็นของมีค่า ซึ่งใช้บริโภคโดยตรง
ไม่ได้แต่ใช้เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน เพื่อให้ได้
สินค้าและบริการที่เราต้องการมาบริโภคได้ ละยัง
ทำให้การแลกเปลี่ยนระหว่างสินค้าและบริการ
ต่าง ๆ กระจายไปสู่ผู้บริโภคได้สะดวกขึ้น
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
มาตรฐาน และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
ส 3.2 ป.4/2 อธิบายหน้าที่เบื้องต้นของเงิน - ความหมายของเงิน 1
- หน้าที่ของเงินในระบบเศรษฐกิจ
- เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน 1
- เป็นเครื่องรักษามูลค่าของสินค้า
- เป็นมาตรฐานในการวัดค่า เปรียบเทียบค่า 1
- เป็นมาตรฐานชำระหนี้ภายหน้า
- ประเภทของเงิน 1
- เงิน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 สาระสำคัญ (4)
การใช้แผนทีแ่ ละรูปถ่าย แผนทีแ่ ละรูปถ่ายเป็นเครื่องมือที่ใช้แสดง
ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และ
สถานที่
มาตรฐาน และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
ส 5.1 ป.4/1 สืบค้นและอธิบายข้อมูล - แผนที่
ลักษณะทางกายภาพในจังหวัดของตนด้วย - ประเภทของแผนที่ 1
แผนที่และรูปถ่าย - แผนที่อ้างอิง
- แผนที่เฉพาะเรื่อง
- การสืบค้นและอธิบายข้อมูลด้วยแผนที่ 1
- รูปถ่าย
- รูปถ่าย 1
- การสืบค้นและอธิบายข้อมูลด้วยรูปถ่าย 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13 สาระสำคัญ (5)
จังหวัดของเรา แผนทีแ่ ละรูปถ่ายเป็นเครื่องมือที่ใช้แสดง
ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และ
สถานที่สำคัญในจังหวัดของตน
ลักษณะทางกายภาพส่งผลให้เกิดแหล่ง
ทรัพยากรและสถานที่สำคัญในจังหวัด
มาตรฐาน และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
ส 5.1 ป.4/2 ระบุแหล่งทรัพยากรและ - ลักษณะทางกายภาพในจังหวัด
สถานที่สำคัญในจังหวัดของตนด้วยแผนที่ - ลักษณะภูมิประเทศ 1
และรูปถ่าย - ลักษณะภูมิอากาศ 1
- ทรัพยากรธรรมชาติ 1
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
ส 5.1 ป.4/3 อธิบายลักษณะทางกายภาพที่ - สถานที่สำคัญ 1
ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญ - สถานที่สำคัญทางธรรมชาติ
ในจังหวัด - สถานที่สำคัญทีม่ นุษย์สร้างขึ้น
- ตัวอย่างการสืบค้นและอธิบายข้อมูลของจังหวัด 1
- จังหวัดเชียงใหม่
- จังหวัดเลย
- จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14 สาระสำคัญ (5)
สิ่งแวดล้อมในจังหวัด ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และ
ทรัพยากรธรรมชาติ ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของ
คนในจังหวัดและขณะเดียวกัน การดำเนินชีวิต
ของคนในจังหวัดส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ
ลักษณะทางกายภาพของจังหวัดด้วย
การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อการ
ดำเนินชีวิตของคนในจังหวัด
การจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นหน้าที่ของทุกคน
ในจังหวัด
มาตรฐาน และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
ส 5.2 ป.4/1 วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทาง - สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับการดำเนินชีวิต 1
กายภาพที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนใน - ลักษณะที่อยู่อาศัย
จังหวัด - การคมนาคม
ส 5.2 ป.4/2 อธิบายการเปลี่ยนแปลง - การประกอบอาชีพ
สิ่งแวดล้อมในจังหวัดและผลที่เกิดจากการ - การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในจังหวัด
เปลี่ยนแปลง - ลักษณะการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมใน 1
ส 5.2 ป.4/3 นำเสนอแนวทางการจัดการ จังหวัด
สิ่งแวดล้อมในจังหวัด - ลักษณะภูมิประเทศ
- ลักษณะภูมิอากาศ
- ทรัพยากรธรรมชาติ
- ผลจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมใน 1
จังหวัด
- การตั้งถิ่นฐาน
- การย้ายถิ่น
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรียน
มาตรฐาน และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง)
- การจัดการสิง่ แวดล้อมในจังหวัด
- แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมในจังหวัด 1
- วิธีฟื้นฟูทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
- การมีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร 1
สิ่งแวดล้อม
รวม 80

r
ตารางโครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้

รหัสวิชา สXXXXX กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2563

= i.
เวลาเรียน 80 ชั่วโมง/ปี จำนวน 2 หน่วยกิต

หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง การใช้แผนทีแ่ ละรูปถ่าย เวลา 4 ชั่วโมง


แผน ชื่อแผน เวลา/ วิธีการสอน/ ทักษะการคิด
ที่ ชั่วโมง เทคนิค
59 การเรียนรูก้ ารใช้แผนทีแ่ ละรูปถ่าย (1) 1 5 STEPs การคิดวิเคราะห์
60 การเรียนรูก้ ารใช้แผนทีแ่ ละรูปถ่าย (2) 1 6 Hats การคิดวิเคราะห์
61 การใช้แผนทีแ่ ละรูปถ่ายเพื่อการเรียนรู้พื้นที่ 1 Jigsaw การคิดสร้างสรรค์
จังหวัด
62 การใช้แผนทีแ่ ละรูปถ่ายอธิบาย 1 5 STEPs การคิดสร้างสรรค์
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ในจังหวัด


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 59
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1/2563
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง การใช้แผนที่และรูปถ่าย
-
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 59 เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่และรูปถ่าย (1)
r
ใช้เวลา 4 ชั่วโมง
ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
_
1. มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใชแผนที่
และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการคนหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทาง

~
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

2. ตัวชี้วัด ป.4/1 สืบค้นและอธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพในจังหวัดของตน ด้วยแผนที่และรูปถ่าย

3. จุดประสงค์การเรียนรู้


3.1 บอกประเภทของแผนที่และสืบค้นข้อมูลลักษณะทางกายภาพในจังหวัดของตนได้ (K)
3.2 นำเสนอข้อมูลประเภทของแผนที่และสืบค้นข้อมูลลักษณะทางกายภาพในจังหวัดของตนได้ (P)
3.3 ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (A)
_
4. สาระสำคัญ

E
แผนที่ คือ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะพื้นผิวโลก โดยการย่อส่วนและใช้สัญลั กษณ์ เพื่อแทน
สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้นบนผิวโลกลงบนวัสดุแผ่นเรียบ

5. สาระการเรียนรู้
5.1 แผนที่
5.1.1 ประเภทของแผนที่
5.1.2 การสืบค้นและอธิบายข้อมูลด้วยแผนที่

6. สมรรถนะสำคัญ : ความสามารถในการคิด
-
7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ : ใฝ่เรียนรู้

8. กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5STEPs) (เวลา 50 นาที)


ขั้นที่ 1 การเรียนรู้ตั้งคำถาม (Learning to Question) (เวลา 10 นาที)
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และเตรียมความพร้อมโดยใช้กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียนด้วยเพลง “สวัสดีจ๊ะ”
พร้อมท่าทางประกอบ ( ภาคผนวก)
/
2. นักเรียนดูวิดีโอเกี่ยวกับ แผนที่และความหมายของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้แสดงในแผนที่จาก Youtube
(https://www.youtube.com/watch?v=43L5cQXAaJE)
3. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับข้อคิดที่ได้จากการชมวิดีโอ จากนั้น

ครูถามนักเรียนว่า วิดีโอดังกล่าว นักเรียนคิดว่าพูดถึงเรื่องอะไรบ้าง (แนวคำตอบ : เรื่องความหมายของแผนที่
ประโยชน์และความสำคัญของแผนที่ ประเภทของแผนที่ และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้แสดงในแผนที่)
4. ครูสรุปสาระสำคัญจากการดูวิดีโอ (แนวการสรุป : แผนที่ เป็นสิ่งที่ใช้แสดงลักษณะและสิ่งต่าง ๆ ที่
ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ทั้งสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น โดยมีการย่อให้เล็กลง และกำหนด


สัญลักษณ์แทนสิ่งที่ปรากฏบนพื้นผิวโลก ช่วยทำให้เรารู้จักขนาด ที่ตั้งของสิ่งต่าง ๆ รวมถึงทราบเส้นทางการ
เดินทางได้ แผนที่สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แผนที่อ้างอิง ใช้แสดงลักษณภูมิประเทศ และแผนที่เฉพาะ
เรื่อง เป็นแผนที่ที่ให้ข้อมูลเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยในแต่ละแผนที่จะมีสัญลักษณ์ต่าง ๆ และบอกความหมาย
ของสัญลักษณ์นั้นไว้)
5. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า วันนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่ พร้อมทั้ง ทำกิจกรรม
การเรียนรู้แบบเกม สรุปสาระการเรียนรู้ และทำใบงาน
ขั้นที่ 2 การเรียนรู้แสวงหาสารสนเทศ (Learning to Search) (เวลา 10 นาที)
6. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน โดยคละเพศและคละความสามารถ คือ เก่ง
ปานกลาง ค่อนข้างอ่อน และอ่อน โดยครูเป็นผู้บอกชื่อของนักเรียนในแต่ละกลุ่ม จากนั้นให้นักเรียนแยกย้าย
นั่งตามกลุ่มของตนเอง
7. นักเรียนร่วมกันศึกษา ทำความเข้าใจ และวิเคราะห์แผนที่จังหวัดของตนเองจาก สื่อการเรียนรู้ Big
book “Uttaradit” ที่ครูกำหนดให้ ร่วมกับหนังสือ เรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยให้นักเรียนฝึกใช้และแปลความหมายจากแผนที่ จากนั้น ใช้คำถาม ดังต่อไปนี้
7.1 แผนที่มีกี่ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง (แนวคำตอบ : แผนที่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แผนที่
อ้างอิง และแผนที่เฉพาะเรื่อง)
7.2 หลักการเบื้องต้นในการใช้แผนที่ ได้แก่อะไรบ้าง (แนวคำตอบ : หลักการเบื้องต้นในการใช้แผนที่
ได้แก่ ตรงตามวัตถุประสงค์ น่าเชื่อถือ ทันสมัย ผสมผสาน และดูง่าย ชัดเจน)
7.3 ปัจจุบันนักเรียนอาศัยอยู่จังหวัดอะไร สัญลักษณ์ที่บ่งบอกตัวจังหวัดมีลักษณะอย่างไร (แนว
คำตอบ : จังหวัดอุตรดิตถ์ สัญลักษณ์ที่บอกที่ตั้งจังหวัด คือ รูปวงกลม 2 ชั้นซ้อนกัน โดยรอบนอกเป็นเส้นวงกลม

-
สีดำ และตรงกลางเป็นจุดสีดำแบบทึบ)
ขั้นที่ 3 การเรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ (Learning to Construct) (เวลา 20 นาที)
8. นักเรียนเล่นเกม “อุตรดิตถ์บ้านเรา” โดยมีวิธีการดังต่อไปนี้
8.1 ครูอธิบายวิธีการเล่นเกม โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดเกี่ยวกับเรื่อง การใช้สัญลักษณ์

E
ของแผนที่ ซึ่งได้แก่ ที่จังหวัด อำเภอ สถานีรถไฟ สถานีขนส่ง ทางหลวง แม่น้ำ,แหล่งน้ำ ทางรถไฟ และเส้นเขต
ขอบประเทศ ว่ามีที่ตั้งอยู่ส่วนใดของจังหวัด จากนั้น ให้นำธงคำศัพท์ที่กำหนดไปวางลงบนบอร์ดแผนที่จังหวัด
อุตรดิตถ์ให้สอดคล้องกับการใช้สัญลักษณ์ของแผนที่ที่ถูกต้อง
8.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารับบอร์ดแผนที่จังหวัดอุตรดิตถ์ พร้อมอุปกรณ์การเล่น
จากนั้น ครูจับเวลาการเล่น หากกลุ่มใดเสร็จก่อนและตรวจสอบแล้วมีความถูกต้องจะเป็นผู้ชนะ และได้รับรางวัล
จากครู
9. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากการศึกษาสื่อการเรียนรู้ Big book “Uttaradit” ที่ครู
กำหนดให้ ร่วมกับหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ
การเล่นเกม แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอด โดยใช้ Mind Mapping ในหัวข้อ “การเรียนรู้การใช้แผนที่”
10. ตัวแทนกลุ่มออกมารับกระดาษ เพื่อเขียน Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ โดยใช้เวลาในการทำ 10
นาที
ขั้นที่ 4 การเรียนรู้เพื่อสื่อสาร (Learning to Communicate) (เวลา 10 นาที)
11. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอแลกเปลี่ยนสรุปองค์ความรู้แผนผังความคิดหน้าชั้นเรียน
ในหัวข้อ “การเรียนรู้การใช้แผนที่”
12. นักเรียนแยกออกจากกลุ่มเดิม ตัวแทนนักเรียนออกมานำใบงานที่ 1 เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่
ไปแจกให้กับเพื่อนในชั้นเรียนทุกคน โดยนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาจากความรู้ เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่
มาใช้ในการทำใบงาน จากนั้น ครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น (แนวการสรุป : จากการ
ทำใบงาน นักเรียนจะเห็นได้ว่า การวาดแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และสถานที่สำคัญ
ภายในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งอธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้แทนสิ่งต่าง ๆ เป็นการนำความรู้ที่ได้จากการศึกษา เรื่อง
การเรียนรู้การใช้แผนที่ มาประยุกต์ใช้ในการต่อยอดให้สอดคล้ องกับลักษณะกายภาพภายในชุมชนของตนเอง
ทำให้นักเรียนสามารถเข้าใจและใช้ประโยชน์จากแผนที่เพื่อการเรียนรู้ได้)
ขั้นที่ 5 การเรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม (Learning to Service)
13. ครูนัดหมายนักเรียนแต่ละกลุ่มให้ร่วมกันจัดทำป้ายนิเทศในหัวข้อที่ได้รับเพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้
และตอบแทนสังคม
9. สื่อการเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
- วิดีโอ เรื่อง แผนทีแ่ ละความหมายของสัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้แสดงในแผนที่ จาก https://www.youtube
.com/watch?v=43L5cQXAaJE
- สื่อการเรียนรู้ ได้แก่ Big book “Uttaradit”
- สื่อเกม “อุตรดิตถ์บ้านเรา” ได้แก่ บอร์ดแผนที่จังหวัดอุตรดิตถ์ พร้อมอุปกรณ์การเล่น
- ใบงานที่ 1 เรื่อง การเรียนรูก้ ารใช้แผนที่
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ของสถาบัน
อักษรเจริญทัศน์ (อจท.)

10. การวัดและประเมินผล
10.1 การวัดผล
จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การผ่านจุดประสงค์
ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
1. อธิบายข้อมูลลักษณะทาง ใบงานที่ 1 การเรียนรู้การใช้ แบบประเมินใบงาน ทำใบงานได้ถูกต้องผ่านเกณฑ์
กายภาพในจังหวัดของตนด้วย แผนที่ การประเมินคุณภาพไม่ต่ำกว่า
แผนที่และรูปถ่ายได้ (K) ระดับ 2

ด้านทักษะกระบวนการ (P)
2. นำเสนอข้อมูลลักษณะทาง ประเมินการนำเสนอ แบบประเมินการนำเสนอ นำเสนอผ่านเกณฑ์
กายภาพในจังหวัดของตนด้วย การประเมินคุณภาพไม่ต่ำกว่า
แผนที่และรูปถ่ายได้ (P) ระดับ 2

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
3. ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (A) สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม มีพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ผ่านเกณฑ์การประเมิน
คุณภาพไม่ต่ำกว่าระดับ 2
รั้
10.2 เกณฑ์การประเมินผล
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมิน
ระดับ 3 (ดีมาก) ระดับ 2 (พอใช้) ระดับ 1 (ปรับปรุง)
ด้านความรู้ความเข้าใจ (K) - อธิบายเนื้อหาของแผนที่ - อธิบายเนื้อหาของแผนที่ได้ - อธิบายเนื้อหาของแผนที่
แบบประเมินใบงาน ได้ถูกต้องตาม ค่อนข้างถูกต้องตาม ไม่ถูกต้องตาม
รายละเอียดของพื้นที่จริง รายละเอียดของพื้นที่จริง รายละเอียดของพื้นที่
- มีการใช้สญั ลักษณ์แทนสิ่ง - มีการใช้สญั ลักษณ์แทนสิ่ง จริง
ต่าง ๆ ได้อย่างสอดคล้อง ต่าง ๆ ค่อนข้างสอดคล้อง - ใช้สัญลักษณ์แทนสิ่ง
และเหมาะสม และเหมาะสม ต่าง ๆ ไม่สอดคล้อง

E
- รายละเอียดครบถ้วน - รายละเอียดไม่ครบถ้วน และเหมาะสม
และมีความเข้าใจได้ง่าย แต่มีความเข้าใจได้ง่าย - รายละเอียดไม่ครบถ้วน
- มีความสวยงามมาก - ค่อนข้างมีความสวยงาม และเข้าใจได้ยาก
- ไม่มีความสวยงาม
ด้านทักษะกระบวนการ (P) - อธิบายเนื้อหาได้ถูกต้อง - อธิบายเนื้อหาได้ถูกต้องและ - อธิบายเนื้อหาได้
แบบประเมินการนำเสนอ ครบถ้วน อธิบายได้เข้าใจ ค่อนข้างครบถ้วน อธิบายได้ ไม่ถูกต้องและ
- รูปแบบการนำเสนอ เข้าใจ ไม่ครบถ้วน อธิบาย
เหมาะสม ดึงดูดความ - รูปแบบการนำเสนอ ไม่เข้าใจ
สนใจมาก เหมาะสม มีความน่าสนใจ - รูปแบบการนำเสนอ
- มีเทคนิค และทักษะใน พอใช้ ธรรมดาไม่ดึงดูดความ
การสื่อสารเป็นอย่างดี - มีเทคนิค และทักษะในการ สนใจ
มีบุคลิกภาพ และความ สื่อสารค่อนข้างดี - ไม่มีเทคนิค และทักษะ
มั่นใจในการพูดเป็นอย่าง - มีบุคลิกภาพ และความมั่นใจ ในการสื่อสาร
ดี ในการพูดค่อนข้างดี - บุคลิกภาพไม่เหมาะสม
และไม่มีความมั่นใจใน
การพูด
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) - ทำงานอย่างเป็นระบบ - ทำงานอย่างเป็นระบบ - ทำงานอย่างเป็นระบบ
แบบประเมินพฤติกรรมกลุ่ม มีขั้นตอนชัดเจนดีมาก มีขั้นตอน มีขั้นตอน
- มีความรับผิดชอบในการ - มีความรับผิดชอบในการ - มีความรับผิดชอบ
ทำงาน ทำงานพอใช้ ในการทำงานน้อย
- สมาชิกมีความ - สมาชิกมีความกระตือรือร้น - สมาชิกไม่มีความ
กระตือรือร้นในการ ในการทำงาน กระตือรือร้นใน
ทำงาน - สมาชิกมีส่วนร่วมบางคน การทำงาน
- สมาชิกมีส่วนร่วมทุกคน - สมาชิกไม่ให้ความ
ร่วมมือและไม่มีส่วนร่วม
ในการทำงาน
เกณฑ์การตัดสิน
รายบุคคล : นักเรียนมีผลการเรียนรู้ไม่ต่ำกว่า กว่าระดับ 2 จึงถือว่าผ่าน

_
รายกลุ่ม : นักเรียนร้อยละ 70 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมดมีผลการเรียนรู้ไม่ต่ำกว่าระดับ 2
แบบประเมินใบงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 59 เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่และรูปถ่าย (1)


คำชี้แจง : ให้ทำเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมการทำงานของนักเรียน
ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
(ดีมาก) (พอใช้) (ควรปรับปรุง)
- อธิบายเนื้อหาของ - อธิบายเนื้อหาของ - อธิบายเนื้อหาของ
แผนที่ได้ถูกต้องตาม แผนที่ได้ค่อนข้าง แผนที่ไม่ถูกต้องตาม
รายละเอียดของพื้นที่ ถูกต้องตาม รายละเอียดของ
จริง รายละเอียดของพื้นที่ พื้นทีจ่ ริง
- มีการใช้สญั ลักษณ์ จริง - ใช้สัญลักษณ์แทนสิ่ง
แทนสิ่งต่าง ๆ ได้อย่าง - มีการใช้สญ
ั ลักษณ์ ต่าง ๆ ไม่สอดคล้อง
สอดคล้องและ แทนสิ่งต่าง ๆ และเหมาะสม รวม
ที่ ชื่อ-สกุล คะแนน
เหมาะสม ค่อนข้างสอดคล้อง - รายละเอียดไม่
- รายละเอียดครบถ้วน และเหมาะสม ครบถ้วนและเข้าใจ
และมีความเข้าใจได้ - รายละเอียดไม่ ได้ยาก

r
ง่าย ครบถ้วน - ไม่มีความสวยงาม
- มีความสวยงามมาก แต่มีความเข้าใจได้ง่าย
- ค่อนข้างมีความสวยงาม
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
แปลผลเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
3 คะแนน หมายถึง ดีมาก
2 คะแนน หมายถึง พอใช้
1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง

.
แบบประเมินการนำเสนอ (กลุ่ม)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 59 เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่และรูปถ่าย (1)


คำชี้แจง : ให้ทำเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง
ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ............... พฤติกรรมการนำเสนอ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
(ดีมาก) (พอใช้) (ควรปรับปรุง)
1. ความถูกต้องของเนื้อหา
1. ………………………………………… 2. รูปแบบการนำเสนอ
2. ………………………………………… 3. มีเทคนิค และทักษะในการสือ่ สาร


3. …………………………………………
4. บุคลิกภาพ และความมั่นใจในการพูด
4. …………………………………………
5. ………………………………………… รวมคะแนน
รวมคะแนนทั้งหมด
ระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ............... พฤติกรรมการนำเสนอ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
(ดีมาก) (พอใช้) (ควรปรับปรุง)
1. ความถูกต้องของเนื้อหา
1. ………………………………………… 2. รูปแบบการนำเสนอ
2. ………………………………………… 3. มีเทคนิค และทักษะในการสือ่ สาร
3. …………………………………………
4. บุคลิกภาพ และความมั่นใจในการพูด
4. …………………………………………
5. ………………………………………… รวมคะแนน
รวมคะแนนทั้งหมด
ระดับคุณภาพ
ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ............... พฤติกรรมการนำเสนอ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
(ดีมาก) (พอใช้) (ควรปรับปรุง)
1. ความถูกต้องของเนื้อหา
1. ………………………………………… 2. รูปแบบการนำเสนอ
2. ………………………………………… 3. มีเทคนิค และทักษะในการสือ่ สาร
3. …………………………………………
4. บุคลิกภาพ และความมั่นใจในการพูด
4. …………………………………………
5. ………………………………………… รวมคะแนน
รวมคะแนนทั้งหมด
ระดับคุณภาพ

เกณฑ์การให้คะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดีมาก
2 คะแนน หมายถึง พอใช้
1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง

แปลผลเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

r
11 – 12 หมายถึง ดีมาก (3)
9 – 10 หมายถึง พอใช้ (2)
0–8 หมายถึง ควรปรับปรุง (1)
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน (กลุ่ม)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 59 เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่และรูปถ่าย (1)


คำชี้แจง : ให้ทำเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง
ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ............... พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
(ดีมาก) (พอใช้) (ควรปรับปรุง)
1. ขั้นตอนการทำงานอย่างเป็นระบบ
1. ………………………………………… 2. ความรับผิดชอบในการทำงาน
2. ………………………………………… 3. ความกระตือรือร้นในการทำงาน
3. …………………………………………
4. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
4. …………………………………………


5. ………………………………………… รวมคะแนน
รวมคะแนนทั้งหมด
ระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ............... พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
(ดีมาก) (พอใช้) (ควรปรับปรุง)
1. ขั้นตอนการทำงานอย่างเป็นระบบ
1. ………………………………………… 2. ความรับผิดชอบในการทำงาน
2. ………………………………………… 3. ความกระตือรือร้นในการทำงาน
3. …………………………………………
4. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
4. …………………………………………
5. ………………………………………… รวมคะแนน
รวมคะแนนทั้งหมด
ระดับคุณภาพ
ระดับคุณภาพ
กลุ่มที่ ............... พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
(ดีมาก) (พอใช้) (ควรปรับปรุง)
1. ขั้นตอนการทำงานอย่างเป็นระบบ
1. ………………………………………… 2. ความรับผิดชอบในการทำงาน
2. ………………………………………… 3. ความกระตือรือร้นในการทำงาน
3. …………………………………………
4. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
4. …………………………………………
5. ………………………………………… รวมคะแนน
รวมคะแนนทั้งหมด
ระดับคุณภาพ

เกณฑ์การให้คะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดีมาก
2 คะแนน หมายถึง พอใช้
1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง

แปลผลเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11 – 12 หมายถึง ดีมาก (3)
9 – 10 หมายถึง พอใช้ (2)

r
0–8 หมายถึง ควรปรับปรุง (1)
แบบบันทึกคะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 59 เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่และรูปถ่าย (1)


คำชี้แจง : ให้ทำเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง
ประเมิน ประเมิน
ประเมินใบงาน รวม
ลำดับ การนำเสนอ พฤติกรรมกลุ่ม ระดับ
ชื่อ – นามสกุล (K) 9
ที่ (P) (A) คุณภาพ
คะแนน
3 2 1 3 2 1 3 2 1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12

เกณฑ์การให้คะแนน แปลผลเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
3 คะแนน หมายถึง ดีมาก ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 8–9 หมายถึง ดีมาก (3)

_
1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง 6–7 หมายถึง พอใช้ (2)
0–5 หมายถึง ควรปรับปรุง (1)

สรุปผลการประเมินการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 59 เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่และรูปถ่าย (1)
นักเรียนทีม่ ผี ลการเรียนระดับ 3 (ดีมาก) จำนวน.............คน คิดเป็นร้อยละ.............คน
นักเรียนทีม่ ผี ลการเรียนระดับ 2 (พอใช้) จำนวน.............คน คิดเป็นร้อยละ.............คน
นักเรียนทีม่ ผี ลการเรียนระดับ 1 (ควรปรับปรุง) จำนวน.............คน คิดเป็นร้อยละ.............คน
บันทึกหลังการสอน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 59 เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่และรูปถ่าย (1)

1. ด้านความรู้
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
2. ด้านทักษะกระบวนการ
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
4. ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
5. ปัญหา/อุปสรรค
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
6. ข้อเสนอแนะ
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.....................................................ผู้สอน
(............................................................................)
วันที่…........ เดือน ….....…........…………………. พ.ศ. …….....
0in
นะ คะ
แผน
คะแนน
ใบงานที่ 1 /
เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่

-
จุดประสงค์การเรียนรู้ : อธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพในจังหวัดของตนด้วยแผนที่และรูปถ่ายได้
คำชี้แจง : นักเรียนวาดแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และสถานที่สำคัญภายในชุมชน
. ของตนเองว่ามีอะไรบ้าง พร้อมอธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้แทนสิ่งต่าง ๆ มาพอสังเขป พร้อมระบายสีให้
สวยงาม

ชื่อชุมชน........................................................................................

ชื่อ..........................................................................................................................ชั้น..........................เลขที่..............
ณื่
คะแนน
เฉลยใบงานที่ 1
เรื่อง การเรียนรู้การใช้แผนที่

-
จุดประสงค์การเรียนรู้ : อธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพในจังหวัดของตนด้วยแผนที่และรูปถ่ายได้
คำชี้แจง : นักเรียนวาดแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และสถานที่สำคัญภายในชุมชน
ของตนเองว่ามีอะไรบ้าง พร้อมอธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้แทนสิ่งต่าง ๆ มาพอสังเขป พร้อมระบายสีให้
สวยงาม

แสนสุข
ชื่อชุมชน........................................................................................

4 ภูเขาสูง 10 น้ าตก 5 ที่ต้ งั อาเภอ 6 โรงพยาบาล

น โรงเรี ยน
8 × 1000
ที่ต้ งั อุทยาน
แห่งชาติ
7
ทางรถไฟ
8 บ้าน 4 อ่างเก็บน้ า
แหล่งเครื่ องปั้น
ดินเผา

1 แม่น้ า 2 วัด 3 สนามบิน

ชื่อ..........................................................................................................................ชั้น..........................เลขที่..............
ภาคผนวก
คู่มือ
เกม “อุตรดิตถ์บ้านเรา”

อุปกรณ์
1. บอร์ดแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพจังหวัดอุตรดิตถ์
2. ธงลักษณะทางกายภาพ
วิธีการเล่น
1. แบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ โดยคละเพศและคละความสามารถ
คือ เก่ง ปานกลาง ค่อนข้างอ่อน และอ่อน โดยครูเป็นผู้บอกชื่อของนักเรียนในแต่ละกลุ่ม
2. นักเรียนนั่งแยกกันตามกลุ่ม
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมารับ อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมจากครูผู้สอน
ซึ่งประกอบไปด้วย กระดานแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพของจังหวัดอุตรดิตถ์ และ
ธงลักษณะทางกายภาพ
4. นักเรียนเริ่มทำกิจกรรมโดยครูผู้สอนให้สัญญาณเริ่มการทำกิจกรรม โดยวิธี
การทำกิจกรรม คือ
4.1 นักเรียนช่วยกันระดมความคิดอ่านข้อความที่แสดงบนธงลักษณะ
ทางกายภาพ และนำไปเทียบกับสัญลักษณ์ของแผนที่ที่กำหนดให้ จากนั้น นำธงลักษณะ
ทางกายภาพไปวางบนบอร์ดแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพของจังหวัดอุตรดิตถ์ ให้สอดคล้อง
กับสัญลักษณ์ที่ปรากฏบนแผนที่
4.2 กลุ่มที่วางได้เสร็จก่อนและถูกต้องทั้งหมดก็จะเป็นกลุ่มที่ชนะ
เพลง “สวัสดีจ๊ะ”

วิธีการทำกิจกรรม :
1. แบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 ฝ่าย เข้าแถวหันหลังเข้าหากัน (ร้องเพลง)

“สวัสดีจ๊ะ หันมาซิจ๊ะ ยิ้มหน่อยสิจ๊ะ จ๊ะ ๆ จ๊ะเอ๋”

2. ขณะร้องให้ผู้เล่นหันหน้าเข้าหากัน(ตรงข้ามกัน) เมื่อร้อง “จ๊ะๆ จ๊ะ เอ๋”


3. ให้ผู้เล่นเลือกหันหน้าเข้าหากันใหม่ หากผู้เล่นหันหน้าตรงกันอีกฝ่ายก็ชนะ หากไม่ตรงกัน
ฝ่ายที่เหลือก็จะชนะ

วิดีโอที่ใช้ในการเรียนรู้

ภาพแสดงสื่อวิดีโอ ความหมายและประเภทของแผนที่ และความหมายของสัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้แสดงในแผนที่


จาก Youtube (https://www.youtube.com/watch?v=43L5cQXAaJE)


สื่อที่ใช้ในการเรียนรู้ Big book “Uttaradit”


สื่อเกม “อุตรดิตถ์บ้านเรา”

You might also like