ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๑๔

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 51

ประชุมพงษาวดารภาคที่ ๑๔

พิมพ์แจกในงานศพ
อามาตย์ โท พระยาสถาวรถลางกุล ( อ้ น ณถลาง )

ปี มแม พ.ศ. ๒๔๖๒

พิมพ์ที่โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร
พระยาสถาวรถลางกุล (อ้ นณถลาง)
คานา
ญาติวงษ์ซงึ่ เปนเจ้ าภาพงานศพ อามาตย์โท พระยาสถาวรถลาง
กุล ( อ้ น ณถลาง ) แจ้ งความมายังกรรมการหอพระสมุดวชิรญาณสาหรับ
พระนคร ว่ามีศรัทธาจะรับพิมพ์หนังสือในหอพระสมุด ฯ เปนของแจก
ในงานศพพระยาสถาวรถลางกุล ที่จะปลงณะจังหวัดภูเก็จสักเรื่ องหนึ่ง
ขอให้ กรรมการช่วยเลื อกเรื่ องหนัง สือให้ ข้ าพเจ้ าจึง ได้ จัดหนังสื อ
ประชุมพงษาวดารภาคที่ ๑๔ อันมีเรื่ องคาให้ การมะยิหวุน่ แม่ทพั พม่าเรื่ อง
๑ คาให้ การพระมหาโค มหากฤช เรื่ องเมืองพม่า เรื่ อง ๑
คาให้ การพระมหาโค มหากฤช เรื่ องเมืองพม่าเรื่ อง ๑ ให้ พิมพ์
ตามประสงค์
หนังสือซึ่งเรี ยกว่า “ คาให้ การ ” เหล่านี ้ เปนจดหมายเหตุ
ประเภท ๑ ซึง่ รัฐบาลให้ ถามเรื่ องราวไว้ จากผู้ที่ร้ ูเห็น ด้ วยประเพณีแต่
ก่อนมา ถ้ ารัฐบาลประเทศใดได้ ชาวต่างประเทศที่ร้ ู การงานบ้ านเมือง
มาก็ดี ฤๅแม้ ชนชาวประเทศของตนเอง ได้ ไปรู้เห็นการงานบ้ านเมือง
ต่างประเทศมาก็ดี ถ้ าแลการงานบ้ านเมืองต่างประเทศนัน้ เปนประ
โยชน์ที่รัฐบาลต้ องการจะรู้ ก็เอาตัวชาวต่างประเทศฤๅชาวเมืองของตนที่
ได้ ไปรู้เห็นการงาน มาให้ เจ้ าพนักงานซักไซ้ ไต่ถามข้ อความที่อยากจะ
รู้ แลจดเปนคาให้ การขึ ้นเสนอต่อรัฐบาล
ประเพณี อันนีเ้ ห็นจะมีเหมือนกันทุกประเทศ แม้ ที่สุดทางตวัน
ออกนี ้ก็มีมาแต่โบราณทีเดียว ด้ วยมีหนังสือทานองคาให้ การอย่าง
ว่านี ้ในจาพวกหนังสือไทยเก่า ๆ หลายเรื่ อง เช่นเรื่ องขุนสิงหฬได้
(๒)
หนังราชสีห์ แลเรื่ องขุนการเวกไปบูชาพระเมาฬีเจดีย์ณเมืองหงษาอัน
ติดอยู่ในหนังสือพงษาวดารเหนือนันเปนต้ ้ น ต่อมาในสมัยเมื่อไทยกับ
พม่าเปนข้ าศึกทาสงครามขับเคี่ยวกัน วิธีที่ถามคาให้ การเช่นกล่าวมา
นี ้ยิ่งเปนการสาคัญขึ ้น เพราะเปนทางที่จะได้ ความรู้ภูมิประเทศแลรู้
กาลัง ตลอดจนพงษาวดารแลขนบธรรมเนียมของข้ าศึกพม่าจับไทย
ไปได้ ก็เอาไปถามคาให้ การ ดังปรากฏในหนังสือคาให้ การชาวกรุงเก่า
ซึง่ หอพระสมุด ฯ ได้ สาเนาฉบับหลวงมาแต่เมืองพม่า ได้ ให้ แปลแล
พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ นัน้ ส่วนข้ างไทยเราเมื่อจับพม่าข้ าศึกมาได้
ฤๅได้ คนซึง่ ไปรู้เห็นการงานเมืองพม่ามาก็เอาตัวถามคาให้ การเรื่ องเมือง
พม่าเหมือนกัน หนังสือคาให้ การว่าด้ วยเรื่ องราวแลกิจการในประเทศ
ต่าง ๆ มีสาเนาอยู่ในหอพระสมุดวชิรญาณหลายเรื่ อง กรรมการได้
รวมพิมพ์ไว้ ในประชุมพงษาวดารภาคอื่นแล้ วก็มี
ส่วนคาให้ การ ๒ เรื่ องที่พิมพ์ในสมุดเล่มนี ้ คาให้ การมะยิหวุ่น
เปนคาให้ การของแม่ทพั พม่าที่ไทยจับมาได้ จากเมืองเชียงราย เมื่อปี
วอก พ.ศ. ๒๓๓๑ ในรั ช กาลที่ ๑ เจ้ าพนักงานถามคาให้ การขึน้
ทูลเกล้ า ฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์
มะยิหวุ่นคนนี ้ ในหนังสือเก่าเรี ยกชื่อหลายอย่าง บางแห่ง
เรี ยกชื่อว่า อาปะระกามะนี บางแห่งเรี ยกว่า “มะยิหวุ่น” บ้ าง “โปมะยุ
ง่วน” บ้ าง สอบสวนได้ ความว่า ที่เรี ยกว่า อาปะระกามะนี นันตาม ้
บันดาศักดิ์ ที่เรี ยกว่า มะยิหวุน่ นันตามยศที
้ ่เปนเจ้ าเมือง คา
(๓)
ว่าโป แปลว่า นายพล เพราะฉนันที ้ ่เรี ยกว่า โปมะยุง่วน คือ โป
มะยิหวุ่น หมายความว่าเจ้ าเมืองผู้เปนนายพล คาข้ างหลังทัง้ ๒ นี ้
เห็นจะเปนคาคนพื ้นเมืองเรี ยก อย่างไทยเราเรี ยกว่า “เจ้ าคุณ ” ฤๅ “
เจ้ าคุณแม่ทพั ” ชื่อที่พม่าเขาเรี ยกในพงษาวดารเรี ยกว่า อาปะระ กา
มะนี ตามบันดาศักดิ์
ประวัตขิ องอาปะระกามะนีที่ปรากฎในพระราชพงษาวดารนัน้ เดิม
เปนขุนนางอยู่เมืองอังวะ ครัน้ เมื่อปี มเมียจัตวาศก จุลศักราช ๑๑๒๔
พ.ศ. ๒๓๐๕ สมัยเมื่อแผ่นดินสมเด็จพระเจ้ าเอกทัศพระที่นงั่ สุริยามริ นทร์
ครองกรุ ง ศรี อยุทธยา พระเจ้ าอัง วะมัง ลอกผู้เปนราชโอรส แลได้
ครองราชสมบัตสิ ืบวงษ์พระเจ้ าอลองพญาให้ ตงิ จาแมงข่อง แลมัง
มหานระทา กับอาปะระกามะนี คนนี ้ คุม กองทัพพม่าเข้ ามาตีเมื อ ง
เชียงใหม่ ซึง่ ในเวลานันดู
้ เหมือนจะเปนอิศระอยู่ เมื่อได้ เมืองเชียงใหม่
แล้ ว พระเจ้ าอังวะจึงตังให้
้ อาปะระกามะนีเปนมะยิหวุ่น ผู้สาเร็ จ
ราชการเมืองเชียงใหม่ต่อมา ตังแต่ ้ นนั ้ เมื่อพม่ายกกองทัพเข้ ามาตี
เมื อ งไทยคราวใด อาปะระกามะนี ก็ ไ ด้ เ ปนนายพลคุม พวกเมื อ ง
เชียงใหม่มาช่วยรบไทยด้ วยทุกคราว ตลอดมาจนถึงครัง้ กรุงธนบุรี
เมื่อพระเจ้ ากรุ งธนบุรีเสด็จขึ ้นไปตีเมืองเชียงใหม่ครัง้ ที่ ๒ เมื่อ
ปี มเมียฉศก จุลศักราช ๑๑๓๖ พ.ศ. ๒๓๑๗ พระบาทสมเด็จพระพุทธ
ยอดฟ้าจุฬาโลกย์ ยังเสด็จดารงพระยศเปนเจ้ าพระยาจัก รี เปนแม่ทัพ
น่า ครัง้ นันพม่
้ าแต่งให้ พระยาจ่าบ้ าน กับพระยากาวิละ ซึ่งเปนหัว
น่าพวกชาวเชียงใหม่ คุมพลลงมาต่อสูก่ องทัพกรุงธนบุรี พระยา
(๔)
จ่าบ้ านกับพระยากาวิละกลับมาสามิภักดิ์ต่อ พระบาทสมเด็จพระพุทธ
ยอดฟ้ าจุฬาโลกย์ เข้ าสมทบกองทัพไทยยกขึน้ ไปตี เมื องเชี ยงใหม่
อาปะระ กามะนีกับพวกพม่าเสียเมืองแล้ วก็พากันถอยหนีขึ ้นไปตังมั ้ น่
อยูณ ่ เมืองเชียงแสน แล้ วลงมารบกวนหัวเมืองข้ างฝ่ ายเหนือต่อมาอิก
หลายคราว จนรัชกาลที่ ๑ กรุงรัตโกสินทร เมื่อปี มแมนพศก จุลศักราช
๑๑๔๙ พ.ศ. ๒๓๓๐ พระเจ้ าอังวะปะดุงจัดกองทัพพม่ามาเพิ่มเติม
เข้ ามาสมทบกองทัพอาปะระกามะนี ให้ ยกลงมาตีเมืองฝางในมณฑล
พายัพ ในเวลานัน้ พวกชาวมณฑลพายัพ เอาใจมาเข้ าข้ างไทยเสี ย
หมดแล้ ว อาปะระกามะนีเกณฑ์กองทัพ ผู้คนพลเมืองก็พากันหลบ
เลื่อมระส่าระสาย ครัน้ กองทัพพม่าที่มาจากเมืองอังวะไปตังอยู ้ ่ เมือง
ฝาง ทางเมืองเชียงแสน พวกชาวเมืองมีพระยาแพร่ (มังไชย) พระ
ยายอง แลพระยาเชียงรายเปนหัวน่า เห็นได้ ทีจึงระดมตีพวกพม่าที่
ยังเหลืออยู่ จับได้ ตวั อาปะระกามะนีสง่ ลงมาถวายพระบาทสมเด็จพระ
พุท ธยอดฟ้ าจุฬ าโลกย์ ณกรุ ง เทพมหานคร ฯ จึ ง ได้ โ ปรดให้ ถ าม
คาให้ การที่พิมพ์นี ้
คาให้ การของอาปะระกามะนี เมื่อถามจะเปนกี่ตอน กี่เรื่ องยัง
ทราบไม่ได้ เพราะหอพระสมุดฯ ได้ ต้นฉบับไว้ แต่ตอนที่เล่าถึง
พงษาวดารพม่าตอนเดียว สานวนภาษาไทยที่เรี ยบเรี ยงคาให้ การ
อาปะระกามะนีผ้ ูใดจะรี ยบเรี ยงไม่ทราบ แต่มีลายพระราชหัดถ์
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ทรงชมไว้ ในต้ นฉบับดังนี ้ว่า :-
“ สมุดนี ้เปนสมุดเก่า สานวนเก่า เรี ยงแต่ครัง้ แผ่นดินพระบาท
(๕)
สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ ใครเรี ยงไม่ร้ ูเลย แต่เห็นว่าถูกต้ องที่
ใช้ แก่ กับ ถึงจะมีคาที่ไม่ควรใช้ บุตรสาว พระวสา ลูกเจ้ า อยู่บ้าง
ก็ดี คาว่า กับ กับ กับ กับ ถี่ไป อย่างหนังสือทุกวันนี ้ไม่เห็นมีเลย
ใช้ กับ แล แก่ ถูกทุกแห่ง ให้ อาลักษณคัดไว้ เปนตัวอย่างแล้ วส่ง
สมุด คื น มา สมุด นี ก้ ็ มิ ใ ช่ ส มุด เดิ ม เปนฉบับ เขาลอกเมื่ อ แผ่ น ดิ น
พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้ า ฯ ดอก ”
ตามพระราชหัดถเลขาที่ปรากฎมาดังนี ้ ควรนับถือว่าหนังสือเรื่ อง
คาให้ การมะยิหวุ่นนี ้ เปนหนังสือแต่งดีด้วยอิกสถาน ๑ หนังสือเรื่ องนี ้
หม่อมเจ้ าธานีนิวัติ กับหม่อมเจ้ าชายหญิ ง ในพระเจ้ าบรมวงษ์ เธอ
กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา ได้ เคยพิมพ์แจกในงานทาศพสนองคุณ
หม่อมเอมมารดาครัง้ ๑ แล้ ว เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ แต่พิม พ์เปนเรื่ อง
ต่างหาก ข้ าพเจ้ าได้ เรี ยกชื่อเรื่ องเมื่อพิมพ์ครัง้ นันว่
้ า “ คาให้ การชาวอัง
วะ ” ยังหาได้ รวมไว้ ในประชุมพงษาดารไม่ จึงพิมพ์ราวไว้ เสียใน
ครัง้ นี ้เพื่อจะให้ เปนการสดวกแก่ผ้ ศู กึ ษาโบราณคดี
คาให้ การมหาโค มหากฤชนี ้ มหาโคเปนไทยชาวกรุงเก่าพม่า
จับเอาไปกับพระเจ้ าอุทมุ พร คือขุนหลวงหาวัด ( ในคาให้ การเรี ยกว่า
เจ้ าวัดประดู่ ) ไปพลัดกันที่เมืองแปร มหาโคตกค้ างอยู่ที่นนั่ ได้ โอกาศ
จึงบวชเปนพระภิกษุอยูห่ ลายพรรษา แล้ วสึกออกมาได้ ภรรยามีลกู ชาย
คือมหากฤช ทังพ่ ้ อลูกพึ่งบุญอยู่ในพระมเหษี ของพระเจ้ ามังระ ซึ่ง
เปนมารดาของเจ้ าจิงกูจา อยูม่ าจนเจ้ านายสิ ้นบุญแล้ วค่อยหลบเลี่ยง
จากราชธานีของพม่ามาโดยลาดับ แล้ วบวชเปนพระ
(๖)
พากันหนีมาเมืองไทยทางเมืองเชียงใหม่ มาถึงกรุงเทพฯ ในรัชกาลที่
๒ เมื่อปี มะเมี ย พ.ศ. ๒๓๕๓ เจ้ าพนักงานจึง ถามคาให้ การเรื่ อง
ประวัตขิ องพระมหาโค มหากฤช ตลอดจนเรื่ องราวเหตุการณ์ในเมือง
พม่า ในเวลาพระมหาโค มหากฤชอยูท่ ี่นนั่ ขึ ้นทูลเกล้ า ฯ ถวายใน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาไลย มูลเหตุของคาให้ การทัง้ ๒
เรื่ องมีดงั กล่าวมานี ้
คาที่ เ รี ยกว่า มหาโค มหากฤช บางที จ ะชวนให้ ผ้ ูอ่านสงไสย
ว่าเปนเปรี ยญฤๅอย่างไร จึงเรี ยกว่า “ มหา ” ข้ อนี ้ได้ ทราบมาว่า แต่
ก่อ นค าว่า มหา ไม่ไ ด้ เ รี ยกเฉภาะแต่เ ปรี ยญ พระภิ ก ษุ อ งค์ ใด ซึ่ง
สมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ทรงอุปการะแล้ ว ถ้ าเปนอนุจรก็เรี ยกว่ามหาทังนั ้ น้
จะยกตัวอย่าง เช่นสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต วัดระฆัง ท่านไม่ได้
เข้ าแปลหนังสือ แต่วา่ เทศน์เพราะมาแต่เปนเณร พระบาทสมเด็จพระ
พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ทรงพระเมตตา โปรดให้ อปุ สมบทเปนนาคหลวง
ที่ในวัดพระศรี รัตนศาสดาราม ก็เรี ยกกันว่า มหาโตแต่นนมา ั้ มหา
โค มกากฤชนี ้ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาไลยเห็นจะทรง
อุปการะด้ วยพากเพียรหนีข้าศึกกลับมาบ้ านเมือง จึงได้ เรี ยกว่ามหา
ทัง้ ๒ องค์ ใช่วิไสยที่จะแปลหนังสือเปนเปรี ยญได้ ในทันที
อนึ่ ง เจ้ าภาพได้ จ ดหัว ข้ อประวัติ พ ระยาสถาวรถลางกุ ล ส่ ง มา
ประสงค์จะให้ เรี ยบเรี ยงเรื่ องประวัตพิ ิมพ์ไว้ ในสมุดเล่มนี ้ด้ วย ข้ าพเจ้ าได้
ชอบพอคุ้นเคยมากับพระยาสถาวรถลางกุล ได้ ทราบเรื่ องประวัติอยู่บ้าง
จึ ง รั บ เรี ย บเรี ย งให้ ตามประสงค์ พอให้ เปนที่ ร ฦกแก่ ญ าติ มิ ต ร
แลเปน วิปัสนาญาณแก่ทา่ นทังหลายอื ้ ่นตามควรแก่อธั ยาไศรย
(๗)
ประวัตพ
ิ ระยาสถาวรถลางกุล

อามาตย์โท พระยาสถาวรถลางกุล ( อ้ น ณถลาง ) บ ช. ร


จ พ. เปนบุตรพระยาณรงค์เรื องฤทธิ์ หนู ผู้ว่าราชการจังหวัดถลาง
คุณหญิงเงินเปนมารดา เกิดเมื่อณวันศุกรเดือน ๙ ขึ ้น ๑๔ ค่า ปี ฉลู
จุลศักราช ๑๒๑๕ พ.ศ. ๒๓๙๖
ปี ฉลูเ บญจศกนี ้ เปนปี พระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็ จ
พระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว พระยาสถาวรถลางกุลจึงอยู่ในพวกที่ทรง
นับเปนสหชาติในรัชกาลที่ ๕ เวลามีงานเฉลิมพระชัณษาครบรอบปี ฉลู
ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ พระยาสถาวรถลางกุ ล เข้ ามารั บ
พระราชทานเลี ้ยง แลได้ รับพระราชทานสิ่งของขวัญ ซึ่งทรงสร้ างขึ ้น
สาหรับพระราชทานข้ าราชการที่เปนสหชาติด้วยทุกคราว
ในสกุลถลาง มีคติถือกันมาอย่าง ๑ ตังแต่
้ ครัง้ ปู่ แลบิดาของพระ
ยาสถาวรถลางกุล คือ ถ้ ามี บุต รหลานเปนชาย บัง คับ ให้ ศึก ษาโดย
กวดขั น ให้ ศึ ก ษาอั ก ขรสมั ย ในทางภาษาไทยบ้ าง ส่ ง ไปศึ ก ษา
ภาษาต่างประเทศที่เมืองเกาะหมากแลเมืองสิงคโปร์ บ้าง อิกประการ
หนึง่ ในหัวเมืองแถวนัน้ มีการไปมาค้ าขายกับจีนแลมลายูเสมอ พวก
สมาชิกในสกุลนี ้ รู้ภาษาจีนแลภาษามลายูเกือบจะไม่เว้ นตัว ถ้ าเปนชัน้
หลังลงมารู้ ภาษาอังกฤษด้ วยอิกภาษา ๑ แทบทุกคน ด้ วยเหตุนี ้พวก
สกุล ณถลางจึงได้ รับราชการโดยมาก แม้ ทกุ วันนี ้ที่เข้ ามารับราชการอยู่
ในกรุงเทพ ฯ แลไปรับราชการมีตาแหน่งอยู่ตามมณฑลต่าง ๆ ก็มาก
ด้ วยกัน

(๘)
แต่สว่ นพระยาสถาวรถลางกุลเองเปนชันก่ ้ อน ไม่ได้ มีโอกาศเรี ยน
ภาษาอัง กฤษ รู้ แต่ ภ าษาจี น ภาษามลายู แต่ ช านาญอั ก ขรสมั ย
ตลอดจนเลขลูก คิด ทางภาษาไทย พออุปสมบทตามประเพณี เ มื อ ง
พรรษา ๑ แล้ วสึกออกมาก็เข้ ารับราชการ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๗ ได้ เปนขุน
พินิจอักษรตาแหน่งเสมียนเอก จังหวัดพังงา ครัน้ พ.ศ. ๒๔๒๐ ได้
เลื่อนที่เปนหลวงสุนทรสมบัติ ตาแหน่งพนักงานคลัง จังหวัดพังงา ต่อ
มาถึง พ.ศ. ๒๔๓๖ ได้ รับพระราชทานสัญญาบัต รเปนพระอาณาจักร
บริ บาลย้ ายตาแหน่งมารับราชการเปนผู้ช่วยราชการจังหวัดภูเก็จ รับ
ราชการในมณฑลภูเก็จต่อมาอิก ๕ ปี
ครัน้ ถึง พ.ศ. ๒๔๔๑ เวลานันเจ้้ าพระยายมราชยังเปนพระยา
สุขุมนัยวินิต สมุหเทศาภิบาลมณฑลนครศรี ธรรมราช ได้ รับกระแส
รับสัง่ ให้ จดั การปกครองหัวเมืองมณฑลปั ตตานี ต้ องการข้ าราชการที่ร้ ู
ภาษามลายูไปช่วยราชการ พระยาสถาวรถลางกุลยังเปนพระอาณาจักร
บริบาล ได้ รับเลือกไปเปนข้ าหลวงผู้ชว่ ยอยูใ่ นมณฑลนครศรี ธรรมราชได้
ไปรั บ ราชการทางมณฑลปั ต ตานี กับ เจ้ า พระยายมราชหลายคราว
จนถึง พ.ศ. ๒๔๔๓ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ า ฯ ให้ เปนตาแหน่งผู้ ว่า
ราชการจังหวัดพัทลุงอยู่ ๔ ปี ถึง พ.ศ. ๒๔๔๗ ย้ ายไปเปนผู้ว่าราชการ
จังหวัดนราธิวาศในมณฑลปั ตตานีอยู่ ๑ ปี ถึง พ.ศ. ๒๔๔๘ ได้ เลื่อน
ขึ ้นเปนผู้ช่วยข้ าหลวงใหญ่ประจามณฑลปั ตตานีครั น้ เมื่อจัดตั ้งเปนมณฑ
ลจึงได้ เปนตาแหน่งปลัดมณฑลปั ตตานี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๙ รับราชการ
ในตาแหน่งนันต่
้ อมาอิก ๘ ปี มีความชราทุพลภาพ จึงทรงพระกรุณา

(๙)
โปรดเกล้ า ฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ ออกจากตาแหน่ง
ราชการประจา ได้ รับพระราชทานเบี ้ยบานาญมาตังแต่ ้ พ.ศ. ๒๔๕๘
พระยาสถาวรถลางกุล ออกจากตาแหน่ง ราชการประจ าแล้ ว
กลั บ ไปอยู่ บ้ านเดิ ม ที่ จั ง หวั ด ภู เ ก็ จ ครั น้ เมื่ อ พ.ศ. ๒๔๖๐
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ในรัชกาลปั จจุบนั นี ้ เสด็จเลียบมณฑลไป
ถึงจังหวัดภูเก็จ เวลานันพระยาสถาวรถลางกุ
้ ลยังเปนพระอาณาจักร
บริ บาลได้ มาช่วยจัดการรับเสด็จสนองพระเดชพระคุณตามกาลัง ทรง
พระราชดาริ ห์ว่า เปนผู้ใหญ่ในสกุลณถลางแลได้ รับราชการมีบาเหน็จ
ความชอบมาแต่ก่อน จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ า ฯ พระราชทาน
สัญญาบัตรเลื่ อนบันดาศักดิ์ขึน้ เปนพระยาสถาวรถลางกุล ตาแหน่ง
กรมการพิเศษในมณฑลภูเก็จ แต่พระยาสถาวรถลางกุลอยู่เปนปรกติ
ต่อมาได้ ไม่ช้าใน พ.ศ. ๒๔๖๐ นันเอง ้ ป่ วยเปนไข้ พิศม์ถึงอนิจกรรม เมื่อ
วันที่ ๒ เดือน ตุลาคม คานวณอายุได้ ๖๕ ปี สิ ้นเนื ้อความในประวัติ
ของพระยาสถาวรถลางกุลเท่านี ้.
ข้ าพเจ้ าขออนุโมทนากุศลบุญราษี ซึ่งเจ้ าภาพได้ บาเพ็ญในการ
ปลงศพพระยาสถาวรถลางกุล แลที่ได้ พิมพ์หนังสือเรื่ องนี ้ให้ ได้ อา่ นกัน
แพร่หลาย เชื่อว่าท่านทังหลายที้ ่ได้ รับสมุดเล่มนี ้ไป คงจะอนุโมทนาทัว่
กัน.
สภานายก
หอพระสมุดวชิรญาณ
วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พระพุทธศักราช ๒๔๖๒
คาให้ การชาวอังวะ

* ข้ าพระพุทธเจ้ า มะยุหวุ่น ขอพระราชทานทากฎหมายเหตุแต่


ข้ าพระพุทธเจ้ าจาได้ ทูลเกล้ า ฯ ถวาย แต่ครัง้ บุตรเจ้ าอาทิตย์ได้ เสวย
ราชสมบัติเมืองรัตนบุรอังวะ แต่ก่อนเมืองหงษาวดีขึ ้นแก่เมืองอังวะ
เมื่อศักราชได้ ๑๐๙๙ ปี เจ้ าเมืองรัตนบุรอังวะจึงตังสาอ่
้ องไปเปนเจ้ า
เมือง ให้ นายแซงหมู่กรมช้ างเปนปลัดเกียกกายเมืองหงษาวดี ราษฎร
ทังปวงเปนใจรั
้ กใคร่ นายแซงหมู่คิดกระบถ จับเอาตัวนายสาอ่องฆ่า
เสี ย นายแซงหมู่จึง ขึน้ เสวยราชสมบัติเปนเจ้ าเมื องหงษาวดี ตัง้ ให้
น้ องชายคนหนึ่งเปนพระยาอุปราชา เปนแม่ทพั เรื อขึ ้นไปตีเมืองรัตนบุ
รอังวะ น้ องชายคนหนึง่ ตังให้
้ เปนพระยาทะละ เปนแม่ทพั บกยกขึ ้นไป
ตีเมืองรัตนบุรอังวะในปี นัน้ ล้ อมเมืองรัตนบุรอังวะ ๓ ปี จนถึงศักราชได้
๑๑๑๔ ปี จึงได้ เมืองอังวะ แล้ วพระยาอุปราชาจึงเอาตัวเจ้ าเมืองอังวะ
แลญาติวงษาลงไปเมืองหงษาวดี แต่พระยาทะละกับตละป้านอยู่ใน
เมืองอังวะชาระกิจการบ้ านเมืองได้ ความว่า อ่องเจยะมังลองซ่องสุม
ผู้คนสิบสี่บ้านประมาณคนสี่พนั ห้ าพัน เอาต้ นตาลตังค่
้ ายที่มกุ โซโบ พระ
ยาทะละกับตละป้าน ใช้ ให้ นายกองคุมไพร่ พนั ห้ าร้ อยไปสืบข่าว พบ
คนมังลองนัง่ ทางอยู่ที่บ้านบอกสอด ใกล้ กนั กับมุกโซโบทาง ๘๐๐ ได้
รบกันรามัญแตกกลับไปเมืองอังวะ พระยาทะละเกณฑ์ให้ ตละ
ป้านเปน


แม่ทัพ กับกะตุกหวุ่นตอถ่อกะละโบ ประมาณคนรามัญห้ าพัน พม่า
หมื่นห้ าพัน เปนคนสองหมื่น ยกไปล้ อมมุกโซโบสิบห้ าวัน ฝ่ ายกองทัพ
รามัญขาดเสบียงอาหาร ฆ่ากระบือวัวกิน อดอยากเปนอันมาก มัง
ลองยกกองทัพออกตีทพั รามัญแตกหนีไปเมืองอังวะ มังลองจึงเกณฑ์
ให้ ตามไปแต่เช้ าจนตวันเที่ยง ได้ เครื่ องสาตราวุธเปนอันมาก แล้ ว
พระยาทะละเกณฑ์ให้ ตละป้าน อามาตย์กะตุกหวุ่นตอถ่อกะละโบกับ
รามัญห้ าพัน พม่าห้ าพัน ให้ รักษาเมืองรัตนบุรอังวะ พระยาทะละเก็บ
เอาเครื่ องอาวุธปื นใหญ่ปืนน้ อย ครอบครัวไพร่พล ลงไปเมืองหงษาวดี
ทางเรื อ ไกลกันกับเมืองอังวะสิบวัน มังลองจึงให้ แมงละแมงฆ้ องไพร่
พันห้ าร้ อยยกไปกองหนึ่ง เสนัดหวุ่นกับไพร่พนั ห้ าร้ อยยกไปกองหนึ่งเป
นคนสามพัน ไปกวาดต้ อนได้ ไพร่พลเมืองสิบสี่เมืองอยู่ในแขวงอังวะแต่
เมืองหนึ่ง ๆ ประมาณคนพันหนึ่ง สองพัน สามพัน สี่พัน ห้ าพันบ้ าง
เข้ ากันแต่พลเมืองเปนคนสองหมื่น ได้ บ้านในแขวงเมืองอังวะทางใกล้
กันกับมุกโซโบ ทางวันหนึ่งสองวันสามวันบ้ าง ยี่สิบบ้ าน ๆ หนึ่งได้ คน
ร้ อยหนึ่ง สองร้ อย สามร้ อย สี่ร้อย ห้ าร้ อย พันหนึ่งบ้ าง แต่บ้านได้
ไพร่ หมื่ นหนึ่ง เข้ ากันทัง้ เมืองแลบ้ านแต่กวาดต้ อนเกณฑ์ม าได้ เป
นคนสามหมื่น ช้ าอยูส่ ิบห้ าวัน ครัน้ กองทัพกวาดคนมาถึงมุกโซโบสาม
วัน ให้ เร่ งยกกองทัพไปล้ อมเมืองอังวะ มังลองจึงให้ เสนาบดีแมงละ
แมงฆ้ องเปนแม่ทพั น่า กับแซงแนงโบ ไพร่หมื่นหนึง่ แมงมหาเสนาดี
เสนัดหวุ่นเปนโปชุกแม่ทัพหลวง มองระบุตรมังลองกับคนสองหมื่น
บังคับทัพทังปวง
้ ยกไปล้ อมเมืองอังวะ รบกันห้ าวัน ตละ


ป้านแตกหนีออกจากเมืองอังวะ ไปตังมั ้ น่ รับอยู่เมืองเปรใต้ เมืองอังวะ
ลงมาทางเจ็ดคืน มังลองจึงให้ มองระผู้บตุ รนัง่ เมืองอังวะอยู่
* ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๑๕ ปี เดือนห้ า เจ้ าเมืองหงษาวดี จึงให้ พระยา
อุปราชาน้ องชาย เปนแม่ทัพ กับตละป้าน กะตุกหวุ่นตอถ่อกะละ
โบเปนกองน่า ยกทางบกทางเรื อขึ ้นมาล้ อมเมืองอังวะ มองระใช้ ให้
คนถื อ หนัง สื อไปถึง มัง ลองผู้เ ปนบิดา ว่า รามัญ ยกกองทัพ พลทหาร
ขึ ้นมาล้ อมเมืองอังวะไว้ เปนอันมาก อ่องเจยะมังลองจึงเกณฑ์ให้ ยก
กองทัพมาช่วยรบรามัญซึ่งล้ อมเมืองอังวะไว้ นนั ้ เปนสามทาง ๆ ตวัน
ออกให้ แมงละแงกับไพร่สองพันเปนกองน่า ให้ เจ้ าตองอูน้องมังลองกับ
ไพร่ พนั หนึ่ง เปนแม่ทพั ยกมาทางบกทางหนึ่ง แต่มกุ โซโบไปเมืองอัง
วะไกลกันทางสองคืนสามวัน ทางนา้ เปนเรื อใหญ่น้อยร้ อยห้ าสิบล า
พร้ อมไปด้ วยปื นใหญ่ปืนน้ อย เครื่ องสาตราอาวุธลูกกระสุนดินประสิว จึง
ให้ มะโยลาวุทมัตราโปกับไพร่ สองพันห้ าร้ อยกับเรื อแปดสิบลาเปนกองน่า
อรรคมหาเสนาธิ บดีเสนัดหวุ่น กับไพร่ พันห้ าร้ อย กับเรื อเจ็ดสิบลา
เปนแม่ทัพ ยกลงมาครัง้ นันทางบกทางเรื
้ อตวันตกตวันออกเปนเรื อ
ร้ อยห้ าสิบลา คนหมื่ นหนึ่ง จากแต่มุกโซโบทางแปดร้ อย ถึงตาบล
บ้ านจอกยอง กองทัพเรื อรามัญประมาณร้ อยเศษ นายทัพ นายกอง
สมิงรามัญไพร่พลทหารประมาณหมื่นเศษ ได้ รบกันกับกองทัพพม่าทัง้
บกทัง้ เรื อช้ าอยู่ที่นั่นสิบห้ าวัน กองทัพตละป้านอามาตย์ซึ่งเปนแม่
ทัพเรื อแตกหนี ถอยทัพลงไปที่ ล้อมเมืองอังวะ กองทัพพม่าติดตามลง
ไปตีเมื่อศักราชได้ ๑๑๑๖ ปี เดือนหกขึ ้นสิบห้ าค่า พระยาอุปราชา
สมิง


รามัญ นายทัพนายกองซึ่งล้ อมเมืองอังวะนันแตกถอยทั้ พไปตังมั
้ น่ รับ
อยูณ่ เมืองเปร
* เมื่อศักราชได้ ๑๑๑๖ ปี เดือนหกแรมสิบค่า เวลาบ่ายเกิ ดพยุ
ฝนห่า ใหญ่ ต ก ฟ้ าผ่า ลงมาในวันเดี ย วนัน้ ๑๖ หน ผ่า ลงที่ เ สาติด
กระดานแผ่นทองเขียนเปนอักษรให้ ชื่อนามเมืองในประตูเมืองหนึ่ง ผ่า
เสาเบญจพาศข้ างต้ น ที่ ๒ ผ่าซุ้มประตูปราสาท ที่ ๓ ผ่าต้ นแค
ในวัง ที่ ๔ ผ่าลงที่มขุ ปราสาท ที่ ๕ ผ่าลงหอกลาง ที่ ๖ ผ่าเสากุฎี ที่
๗ ผ่าพระเจดีย์ ที่ ๘ ผ่าพเนียดช้ างที่ประตูหอจัน ที่ ๙ ผ่าลงซุ้มประตู
เมือง ที่ ๑๐ ผ่าลงที่สระในวัง ที่ ๑๑ ผ่าลงที่เรื อนไพร่ในเมือง ที่ ๑๒
ผ่าต้ นตาลในเมือง ที่ ๑๓ ผ่าต้ นโพธิในเมือง ที่ ๑๔ ผ่าต้ นมะขาม ป้อมใน
เมือง ที่ ๑๕ ผ่าลงที่กระดานแผ่นทองที่จารึกปิ ดไว้ ตรงน่าประตูวงั แต่
ครัง้ มังลองได้ เปนเจ้ า สร้ างปราสาท ตังก ้ าแพงเมืองปี เดือนวันคืนที่
จารึกศักราช ๑๑๑๕ ปี เดือนสิบสองขึ ้นค่าหนึ่งนันที ้ ่ ๑๖ มังลองจึ่งหา
เสนาบดีพราหมณปโรหิตโหราพฤฒามาตย์มา มังลองจึงถามว่า ฟ้าผ่า
ลงที่เมืองมุกโซโบวันเดียวแต่ตวันบ่ายไปจนเย็น ๑๖ หน ดังนี ้ ผู้ใดใครได้
พบเห็นเหตุผลเปนประการใดบ้ าง โหราพราหมณปโร หิตทานายว่า
มัง ลองจะมี บุญญาธิ การ จะได้ ปราบยุคเข็ญซึ่ง เปนเสี ย้ นศัตรู อยู่แก่
เมืองอังวะจะพ่ายแพ้ เปนมัง่ คง มังลองจึงว่าถ้ าดังนันศั
้ กราชได้ ๑๑๑๖
ปี เดือน ๗ ขึ ้น ๓ ค่า มังลองจะยกทัพทังบกทั
้ งเรื
้ อกับเสนาบดีแลนาย
ไพร่ ซึ่งอยู่ในเมืองมุกโซโบแลเมืองอังวะเปนคนสามหมื่น ให้ มองระผู้
บุตรเปนทัพน่า มังลองเปนทัพหลวง ยกลงไปรบ


เมืองหงษาวดีณเดือนเจ็ดแรมสิบสองค่า มองระบุตรมังลองซึ่งเปนกอง
ทัพน่ายกไปก่อน ได้ รบกันกับกองทัพรามัญพระยาอุปราชาน้ องเจ้ าเมือง
หงษาวดีที่เมืองเปร แต่เดือนเจ็ดแรมสิบสองค่าปี หนึ่ง กองทัพพระยา
อุปราชาสมิงรามัญทังปวง ้ แตกหนีถอยหลังทัพลงไปตังรั ้ บอยู่ณเมือง
ย่างกุ้ง แต่ทพั มังลองตังยั ้ งทั
้ พอยูณ ่ เมืองเปร มองระซึง่ เปนทัพน่าติด
พันตามกันลงไปรบที่เมืองย่างกุ้ง แต่ณเดือน ๑๑ ข้ างแรมในปี นัน้ ครัน้
เมื่อศักราชได้ ๑๑๑๗ ปี เดือนหกแรม ๕ ค่า พระยาอุปราชาสมิงรามัญ
แตกจากเมืองย่างกุ้ง ไปตังมั ้ น่ อยู่ณเมืองเสี ้ยง มังลองยกลงมา
อยู่ณเมืองย่างกุ้งปี หนึ่ง ให้ กองทัพน่ามองระผู้บุตร เปนโปชุกแม่
ทัพหลวง กับเสนาบดี เสนัดหวุ่น แมงละแมงฆ้ อง นายทัพนายกอง
ทังปวง
้ ยกไปตีเมืองเสี ้ยงแต่เดือนเจ็ดข้ างแรมได้ ๑๑ เดือนได้ เมือง
เสี ้ยง แล้ วพร้ อมทัพกับมังลองที่เมืองสี ้ยงนัน้ แล้ วมังลองกับมองระ
บุตร กับเสนาบดีนายทัพนายกองทังปวงยกไป ้ มังลองให้ ตงเมื
ั ้ องที่
ตาบลบ้ านเจตุวะดี ทางไกลกันกับเมืองหงษาวดี ๕๐ เส้ น พระยา
หงษาวดีให้ อามาตย์ผ้ ูใหญ่เอาเครื่ องบรรณาการออกมาให้ แก่มงั ลอง
แล้ ว เจรจาความเมื อ งกัน ว่า พระยาหงษาวดี จ ะเอาบุต รี ม า
ให้ แก่มงั ลอง ๆ จึงสัง่ ว่าอย่าเพ่อให้ กองทัพทังปวงล่
้ วงเข้ าไปตีเมืองปะโก้
ก่อนครัน้ ถึงศักราชได้ ๑๑๑๘ ปี เดือน ๔ ขึ ้น ๕ ค่า เจ้ าเมืองหงษาวดีเอา
บุตรี อายุ ๑๗ ปี มาให้ แก่มงั ลอง แล้ วพระยาอุปราชาพระยาทะละผู้น้อง
ตละป้านผู้หลานพระยาหงษาวดี ติเตียนพระยาหงษาวดีว่า ทาไมจึง
เอาลูกสาวไปยกให้ แก่มงั ลอง พระยาพี่จะออกไปเปนข้ ามังลองก็ออก


ไปเถิด แต่ข้าพเจ้ ากับเสนาบดีทงปวงจะสู ั้ ้ กว่าจะตายในเมือง พระยา
หงษาวดีจงึ ว่า เมื่อแลพระยาอุปราชา พระยาทละ ตละป้าน มิยอมให้
เมืองเปนข้ ามังลอง เสียลูกสาวคนหนึ่งก็แล้ วไปเถิด พระยาหงษาวดี
กลับทาสงครามรบกับมังลอง ๆ จึงสัง่ แก่นายทัพนายกองทังปวงว่ ้ า พระ
ยาหงษาวดีเสียสัตย์แล้ ว กลับจะทาสงครามรบกันกับเราอิกเล่า จึงสัง่
ให้ นายทัพนายกองทังปวงเร่้ งเข้ าล้ อมเมืองหงษาวดีประมาณ ๑๕ วัน ไพร่
พลเมืองทังปวงซึ
้ ง่ อยูน่ า่ ที่เชิงเทินเมืองหงษาวดี ก็เปนใจด้ วยมังลองจุด
เพลิงทิ ้งเชือกลงมารับกองทัพพม่าเข้ าไปในเมือง จับได้ พระยาหงษาวดี
พระยาอุปราชา พระยาทะละ แลเสนาบดีได้ ในเวลากลางคืนวันนัน้
ศักราชได้ ๑๑๑๙ ปี เดือน ๘ มังลองจึง พาเอาพระยาหงษาวดีแล
ญาติวงษ์ ทังเครื
้ ่ องยศบริ วาร กลับขึ ้นไปเมืองมุกโซโบ ครัน้ ถึงเมือง
มุก โซโบแล้ ว มัง ลองจึ ง เลี ย้ งพระยาหงษาวดี ทัง้ บุต รภรรยาเสนา
อามาตย์ไว้ ให้ อยูเ่ ปนศุข
 ครัน้ ศักราช ๑๑๒๑ ปี เดือน ๓ แรม ๑๐ ค่า มังลองจึงเกณฑ์มอง
ระผู้บตุ ร กับอามาตย์ชื่อแมงละราชา แมงละแมงฆ้ อง กับไพร่ สอง
หมื่นเปนกองน่า มังลองเปนทัพหลวง กับไพร่สามหมื่น ทังทั ้ พน่าทัพ
หลวงเปนคนห้ าหมื่น ยกเข้ าไปกรุ งทวาราวดีศรี อยุทธยา ถึง ณเดือน
๔ ขึ ้น ๑๕ ค่า มาถึงเมืองเปรเปนฤดูฝน มังลองหยุดทัพอยู่ที่เมืองเปร
มังลองจึงยกเอามองระผู้บตุ รมาไว้ ในกองหลวงด้ วย มังลองจึงเกณฑ์ให้
แต่แมงละราชา แมงละแมงฆ้ อง กับไพร่สองหมื่นลงไปแรมทัพอยู่เมือง
ย่างกุ้ง ครัน้ สิ ้นเทศกาลฝนถึงณเดือน ๑๑ มังลอง


มองระยกทัพออกจากเมืองเปร มาถึงเมืองย่างกุ้งณเดือน ๑๒ มังลอง
สัง่ ให้ แมงละราชา แมงละแมงฆ้ อง กับไพร่สองหมื่น เปนกองน่าไปตี
เมื องทวาย มัง ลองแต่งกาปั่ น ๔ ลา กับเรื อรบทเล ๕๐ ล า บรรทุก
เสบียงอาหารกับคนหมื่ นหนึ่ง ตัง้ ให้ อากาโบหมู่ เปนนายทัพบกนาย
ทัพเรื อไปตีเมืองทวาย ครัน้ ได้ เมืองทวายแล้ ว มังลองเข้ าอยู่ณเมือง
ทวาย มังลองจึงสัง่ ให้ แมงละราชา แมงละแมงฆ้ องกองน่า ยกไปตี
เมืองมะริ ด เมืองตะนาว ทางเรื อ มังลองจึงสัง่ ให้ อากาโบหมู่กบั ไพร่ใน
สาเภาหมื่นหนึ่ง ยกไปตีเมืองมะริ ด เมืองตะนาว ทางบก มังลอง
ยกทัพติดไปทีเดียว กองทัพไปทางบกยังไม่ถึง แมงละราชา แมงละ
แมงฆ้ อง ทัพเรื อตีเมืองมะริด เมืองตะนาวได้ ก่อน ครัน้ มังลองถึงเมือง
มะริ ด เมืองตะนาว ยับยังรี้ พ้ ลไว้ ที่เมืองตะนาว มังลองจึงให้ แมงละ
ราชา แมงละแมงฆ้ องกับไพร่ สองหมื่น มังลองจึ งตังให้ ้ มองระผู้บุตร
เปนแม่ทพั น่า ได้ บงั คับแมงละราชา แมงละแมงฆ้ อง ยกเข้ ามา
กรุงทวาราวดีศรี อยุทธยา มังลองยกเปนทัพหลวงเข้ ามา ครัน้ ถึง
กรุงศรี อยุทธยา มังลองบังเกิดเปนวรรณโรคสาหรับบุรุษป่ วยหนักลง
มังลองจึงสัง่ ให้ แมงละแมงฆ้ องเปนกองรัง้ หลัง กับไพร่หมื่นหนึง่ มังลอง
จึงถอยทัพกลับไปทางระแหง แต่จากบ้ านระแหงไปทาง ๙๐๐ ถึงปลาย
ด่านต่อแดน มังลองถึงอนิจกรรมตาย มองระผู้บตุ รเอาศพมังลอง
ผู้บิดาใส่วอหามไปเมืองมุกโซโบแต่ณเดือน ๖ ข้ างขึน้ แล้ ว ให้ เอา
จันทน์แดงจันทน์ขาวทาฟื นเผาด้ วยสูบเอาน ้ากุหลาบดับเพลิง แล้ วเก็บ
อัฐิมงั ลองใส่หม้ อใหม่ปิดทองเอาไปทังเสี
้ ยกลางน ้า


 ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๒๒ ปี เดือน ๔ บุตรมังลองผู้ชื่อมังลอก
ลูกชายใหญ่ได้ ราชสมบัตใิ นปี นัน้ แลแมงละแมงฆ้ องอามาตย์ กับ
คนหมื่นหนึ่ง ซึ่งเปนกองรัง้ หลังมาถึงเมืองอังวะณเดือน ๖ แมงละ
แมงฆ้ อง กับคนหมื่นหนึ่ง ก็ไล่กวาดต้ อนผู้คนครอบครัวในแขวงเมือง
อังวะ เข้ ามาซ่องสุมไว้ ในเมืองอังวะ คิดกระบถ ไม่ยอมเปนข้ าเข้ า
ด้ วยมังลอกซึ่งเปนเจ้ าอยู่เมืองมุกโซโบหามิได้ มังลอกผู้เปนบุตรมัง
ลองซึ่งได้ ราชสมบัติ จึ งรู้ ว่าแมงละแมงฆ้ องคิดการกระบถไม่เข้ าด้ วย
จึงแต่งให้ จิตะราชาแซงแนงโบแมงแงปะละสับกุงโบกับคนสองหมื่นเป
นกองน่ายกลงมาล้ อมเมืองอังวะไว้ มังลอกจึงยกลงมากับคนสามหมื่น
ตังอยู
้ ่เมืองจะแกงคนละฟากน ้า แต่รบกันอยู่ถึงเจ็ดเดือนจึงได้ เมือง
อังวะ แมงละแมงฆ้ องหนีออกจากเมือง กองทัพไล่ตดิ ตามไปยิงแมงละ
แมงฆ้ องตาย มังลอกจึงเลิกทัพกลับไปเมืองมุกโซโบ
 ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๒๓ ปี เดือน ๔ บังเกิดอัศจรรย์แผ่นดินไหวได้
ยินเสียงดังกึกก้ องดุจดังเสียงปื นทัว่ ไปทัง้ ๔ ทิศ บังเกิดเปนสูรย์แลลา
ภูกนั ขาว ในปี นันน้
้ องชายมังลองผู้ชื่อสะโดะอุจจะหน่าซึ่งได้ ไปนัง่ เมือง
ตองอู คิดกระบถต่อมังลอกผู้หลานซึง่ ได้ ราชสมบัตอิ ยูณ ่ เมืองมุกโซโบ
แต่งให้ บะละแมงแตงสันละกีผ้ เู ปนอามาตย์คมุ พลห้ าพันยกขึ ้นมากวาด
ต้ อนเอาคนที่เมืองเปรไปเมืองตองอู มังลอกรู้วา่ สะโดอุจจะหน่าเจ้ าเมือง
ตองอูคดิ กระบถ จึงแต่งให้ แมงแงพะละคุมพลสามพันเปนทัพน่า ตังให้ ้
โยลัด หวุ่น คุม คนเจ็ ด พัน เปนกองหนุน ให้ ย กไปรบเอาเมื อ งตองอู
ศักราช ๑๑๒๔ ปี เดือน ๑๒ มังลอกจึงเกณฑ์


ให้ อากาจอแทงคุมพลหมื่นหนึง่ ยกเปนกองน่า มังลอกกับพลสองหมื่น
เปนทัพหลวงยกไป เดือน ๑๒ แรม ๑๐ ค่าถึงเมืองตองอู เดือนยี่ขึ ้น ๒
ค่าได้ เมืองตองอู จับได้ สะโดะอุจจะหน่า ทังบุ ้ ตรภรรยาเสนาอามาตย์
กวาดต้ อนเอาขึ ้นไปณเมืองมุกโซโบ ครัน้ ถึงแล้ วจะได้ ทาอันตรายเสีย
หามิได้ มังลอกเลี ้ยงไว้ ค้ งุ เท่าบัดนี ้ แลตละป้านพระยาต่อพระยา
ซึง่ พาบุตรภรรยาอพยพหนีไป เมื่อครัง้ เมืองหงษาวดีแตกครัง้ นันไป ้
อยู่เ กาะปี ้น แขวงเมื องมัตตมะ มัง ลอกจึ่ง สั่ง ให้ ละเมิ ง หวุ่นคุม พล
๓๐๐๐ ให้ ไปเกลี ้ยกล่อมตละป้าน พระยาต่อพระยา ละเมิงหวุ่นยก
มาถึงเมืองมัตตมะ เกลี ย้ กล่อมตละป้านพระยาต่อพระยาก็เข้ าด้ วย
ตละป้านจึงว่าแก่ละเมิงหวุ่นว่าถ้ าข้ าพเจ้ าเปนข้ าเจ้ าอังวะข้ าพเจ้ าก็เป
นคนโง่ แลเจ้ าอังวะได้ ข้าพเจ้ าแล้ ว เลี ้ยงข้ าพเจ้ าไว้ ไม่ฆ่าข้ าพเจ้ าเสีย
เจ้ าอังวะก็เปนคนโง่ แต่ว่าจับมารดาข้ าพเจ้ าได้ ครัง้ หงษาเสียนันแล้ ้ ว
ถึงชีวิตรจะตายจะขอเห็นหน้ ามารดาหน่อยหนึ่งเถิด แล้ วส่งไปเมือง
มุกโซโบ มังลอกก็เลี ้ยงตละป้านพระยาต่อพระยาไว้
 อนึง่ เมืองเชียงใหม่กบ ั เมืองออกห้ าสิบเจ็ดหัวเมืองนัน้ เคยขึ ้นแก่
เมืองรัตนบุรอังวะ บัดนี ้ละอย่างประเวณีเสีย หาได้ ไปมาเอาเครื่ อง
บรรณาการมาถวายตามอย่างตามธรรมเนียมแต่ก่อนไม่ ครัน้ ศักราชได้
๑๑๒๕ ปี เดือน ๑๒ ขึ ้น ๘ ค่า มังลอกจึงเกณฑ์ให้ ติงจาแมงฆ้ องคุม
คน ๓๐๐๐ เปนกองน่า จึงตังให้
้ ธาปะระกามะนีคนเจ็ดพัน

๑๐
เปนกองหนุนยกไปตีเมืองเชียงใหม่ เดือนอ้ ายถึงเมืองเชียงใหม่
รบกัน ๔ เดือนได้ เ มื องเชี ยงใหม่ จับเจ้ าจั นผู้เปนเจ้ าเมื องได้ ทัง้ บุตร
ภรรยา กองทัพยังมิได้ กลับคืนไป มังลอกถึงอนิจกรรมเดือน ๔ นันก็ ้
ปลงศพตามอย่างธรรมเนียม
 ศัก ราช ๑๑๒๕ ปี เดื อ นสี่ นัน้ มองระผู้บุต รมัง ลอง เปน
น้ องมังลอก ได้ ขึ ้นเสวยราชสมบัติ แลธาปะระกามะนี ซึ่ง เปน
นายทัพ มาตีเ มืองเชี ยงใหม่ จึ่งเกณฑ์ให้ มหานะระทากับคนเจ็ ดพัน
คุม เอาเจ้ าจันทัง้ บุตรภรรยาไปถวายมองระ แต่ธาปะระกามะนี กับคน
๓๐๐๐ อยู่รักษาเมืองเชียงใหม่ มองระจึงมีนามปรากฎชื่อว่าเจ้ า
ช้ างเผือกจึง่ เลี ้ยงเจ้ าจันแลบุตรภรรยาเจ้ าจันไว้ ค้ งุ เท่าบัดนี ้
ณเดือน ๑๑ ในปี นัน้ มองระจึ่งสัง่ ให้ โยลัดหวุ่นลงมาทาเมืองสร้ าง
ปราสาทเมืองอังวะ ตละป้านจึง่ คิดประทุษฐร้ าย ให้ นายทุยบ่าวตละ
ป้านจุดไฟขึ ้นในเมืองมุกโซโบ พิจารณาได้ ความว่าตละป้านให้ จดุ ไฟขึ ้น
ทังนี
้ ้ จะคิดการทาร้ ายเจ้ าอังวะ มองระจึ่งสัง่ ให้ ประหารชีวิตรตละป้าน
เสีย
 ศักราชได้ ๑๑๒๖ ปี เดือน ๑๒ มองระจึงสัง่ ให้ อะแซหวุ่นกี ้ติง
จาโบ คุมไพร่ หมื่นหนึ่งเปนกองน่า มองระคุมไพร่สองหมื่นเปนทัพ
หลวง ยกไปตีเมืองกะแซ ในปี นันเดื ้ อนยี่ข้างขึน้ ได้ เมือง กวาดเอา
เชื ้อวงษ์แลเจ้ ากะแซมาถึงเมืองมุกโซโบแต่ณเดือนสาม
 ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๒๗ ปี เดือนหก มองระลงมาจากเมืองมุก
โซโบเสวยราชย์เมืองอังวะ จึงเลี ้ยงเจ้ ากะแซแลบุตรภรรยาเจ้ ากะแซ

๑๑
ไว้ ค้ งุ เท่าบัดนี ้ ถึง ณเดือนเจ็ดแรมห้ าค่าในวันเดียวนัน้ บังเกิดเปนพยุ
ใหญ่ฝนตกฟ้าผ่าลงที่หอกลองที ๑ ผ่าลงที่ยอดปราสาทเปนไฟติด
ขึ ้นเท่าวงกระด้ งยอดปราสาทหักสบันลงมา ้ ดับไฟได้ พยุแลฝนก็ บนั ดาล
หาย มองระจึงถามโหราพฤฒาจารย์พราหมณปโรหิต แลพระราชา
คณะนักปราชญ์ ราชบัณฑิตผู้มีปัญญา จึ่งทานายว่าพระราชวงษาแล
อาณาประชาราษฎรในขอบขัณฑเสมาจะอยู่เย็นเปนศุข ดับยุคดับเข็ญ
แลศัตรูทงปวง ั้ ให้ ชาระสะเกษให้ ปล่อยนักโทษ แลสรรพสัตว์ทงั ้
ปวง ซึง่ ต้ องทุกขเวทนาขังไว้ นนั ้
 เมื่อครัง้ ศักราช ๑๑๒๗ ปี เดือน ๑๒ มองระจึ่งสัง่ ให้ ฉับพะกงโบ
ยานกวนจอโบคุมไพร่ห้าพันยกเปนทัพน่า ทัพหนุนนันให้ ้ เมียนหวุ่น เน
เมี ยวมหาเสนาบดีคุมไพร่ ห้าพันยกมาทางเหนื อ ค้ างเทศกาลฝนอยู่
ณเมืองนครเชียงใหม่ ทางทวายนันให้ ้ เมคราโบคุมไพร่ห้าพันเปนกอง
น่า ทัพ หนุน นัน้ ให้ ม หานะระทาคุม ไพร่ ห มื่ น หนึ่ง ยกมายัง กรุ ง ศรี
อยุทธยา ค้ างเทศกาลฝนอยู่ณเมืองทวาย ออกพระวัสสาแล้ วยก
ทังทางเหนื
้ อทางใต้ เข้ าไปตีได้ กรุงศรี อยุทธยาแล้ ว กลับทัพไปเมืองรัตน
บุรอังวะ
 เมื่อศักราชได้ ๑๑๒๙ ปี ในศักราชได้ ๑๑๒๘ ปี นัน้ ฮ่อยกเข้ า
มาถึงเมืองแซงหวี ไกลกันกับเมืองอังวะทางสิบห้ าวัน มองระจึงสัง่ ให้
ติงจาโบไพร่ ห้าพันเปนกองน่า อะแซหวุ่นกี ก้ ับไพร่ หมื่นหนึ่งเปนทัพ
หนุน ยกไปตีฮอ่ แตกไป
 ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๒๙ ปี ฮ่อยกทัพกลับเข้ ามาอิกครัง้ หนึง่ มา

๑๒
ถึงตาบลบ้ านยองนี ้ใกล้ กันกับอังวะทางคืนหนึ่ง มองระจึงสัง่ ให้ อะแซ
หวุน่ กี ้ โยลัดหวุ่น เมียนหวุ่น สามนายเปนแม่ทพั คุมทหารเปนอันมาก
ได้ รบกันกับฮ่อสามวัน กองทัพฮ่อแตก จับได้ นายทัพฮ่อแอซูแหกุน
ตาแย เมียนกุนแย ปะระซูแย ๔ นาย กับทหารนายแลไพร่เปนคนหก
พัน มองระจึงสัง่ ให้ เลี ้ยงไว้ ค้ งุ เท่าบัดนี ้
 ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๓๑ ปี ฮ่อยกทัพกลับมาอิกเปนสามครัง้ ครัง้
หลังกวยชวยโบเปนแม่ทพั ฮ่ อ กับรี พ้ ลเปนอันมาก มาถึงเมืองกองตุง
ปะมอ ไกลกันกับเมืองอังวะทางสิบห้ าวัน มองระจึงสั่งให้ ติงจาโบตะ
เรี ยงรามะกับไพร่ ห้าพันเปนกองน่า ตัง้ ให้ อะแซหวุ่นกี ค้ ุมไพร่ หมื่ น
หนึง่ ทังทั้ พน่าทัพหลวงเปนคนหมื่นห้ าพัน เปนแม่ทพั ยกไปทางบกทาง
เรื อนันให้
้ งาจุหวุ่น เลต่อหวุ่น กับพลห้ าพันเปนกองน่า อามะลอก หวุ่น
เปนนายกองปื นใหญ่ คุมพลหมื่นหนึ่งเปนแม่ทพั ทังทางบกทางเรื
้ อไป
ถึงพร้ อมทัพกันณเมืองกองตุงปะมอ ทัพทังสองฝ่ ้ ายก็รอรัง้ ตังมั
้ น่ เจรจา
ความเมืองกัน กวยชวยโบแม่ทพั ฮ่อ จึงให้ อามาตย์มาหาอะแซหวุ่นกี ้
ว่าจะขอให้ แม่ทพั ฮ่อกับแม่ทพั พม่าเจรจาความเมืองกัน อะแซหวุ่นกี ้จึง
สัง่ ให้ ปลูกโรงในท่ามกลางแล้ ว แม่ทพั ทังสองฝ่ ้ ายไปพร้ อมกันณโรง
เจรจากันว่าตังแต่
้ วนั นี ้ไป ขอให้ ขาดสงครามกันจะเปนมิตรสันถวะแก่กนั
อาณาประชาราษฎรไพร่พลเมืองจะได้ ไปมาซื ้อขายถึงกัน อะแซหวุ่นกี ้
ก็ยอมพร้ อมด้ วยนายทัพนายกองทังปวงเลิ
้ กกองทัพกลับลงมาณเมือง
อังวะ ในศักราชได้ ๑๑๓๑ ปี ณเดือนเจ็ดขึ ้นสิบค่า ฟ้าผ่าลงที่เสาติด
กระดานแผ่นทอง ที่จารึกนามประตูเมือง

๑๓
ไว้ นนั ้ ครัน้ ณเดือนแปดเจ้ าเมืองจันทบุรี นาเอาบุตรสาวมาถวายคน
หนึง่
 ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๓๓ ปี เจ้ าวงษ์ ผ้ เู ปนเจ้ าเมืองหลวงพระบาง
ยกลงมาตีเมืองจันทบุรี เจ้ าเมืองจันทบุรีบอกขึ ้นไปณเมืองอังวะ มองระ
เจ้ าอังวะจึงสั่งให้ ชิกชิงโบคุมไพร่ สองพันเปนกองน่า ให้ เนมะโยหา
เสนาบดี คือโปสุพลา คุมไพร่ สามพันเปนแม่ทพั หลวง ลงมาตีเมือง
หลวงพระบางได้ แล้ ว โปสุพลากลับขึ ้นไปพร้ อมทัพกันณเมืองจันทบุรี
ค้ างเทศกาลฝนอยูท่ ี่นนั ้
 ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๓๔ ปี สิ ้นเทศกาลฝน โปสุพลาจึงยกกองทัพ
ลงมาตี เ มื อ งลับ แลเมื อ งพิ ไ ชย รบกัน กับ กองทัพ กรุ ง กองทัพ โปสุ
พลาแตกหนีถอยทัพไปตังอยู ้ ณ ่ เมืองเชียงใหม่ ค้ างเทศกาลฝนอยู่
 ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๓๕ ปี ในปี นันกระแซก็
้ คิดกระบถที่องั วะ ด้ วย
อามาตย์จนั ตะรอซุยกีเลโบกับไพร่กระแซสามพันคิดกระบถ ใช้ ให้ โยคี
กระแซเอาเพลิงจุดขึ ้นที่มมุ เมือง โยคีจดุ เพลิงศาลาวัดซุยจี่กงุ จุดขึ ้น
ริ ม วัด ติ ด แห่ ง หนึ่ ง พอจับ ตัว กระแซโยคี ไ ต่ ถ ามให้ ก ารว่ า จัน ตะรอ
อามาตย์ซุยกีเลโบใช้ ให้ โยคีจดุ เพลิงขึ ้นสี่ทิศ แล้ วจะยกคนสามพันเข้ า
ตีเอาเมือง จะฆ่าเจ้ าเมืองอังวะเสีย พิจารณาได้ ความเปนสัตย์สงั่ ให้ ฆ่า
กระแซนายแลไพร่สามพันเสีย ออกพระวัสสาแล้ วจึงเกณฑ์ให้ พระยาจ่า
บ้ าน กับแสนท้ าวไพร่ ลาวพันหนึ่งยกเปนกองน่า ให้ เนมะโยกามะนี เฝ้า
เมืองเชียงใหม่อยู่ โปสุพลากับไพร่ ลาวพม่าเก้ าพัน เปนแม่ทัพยกลง
มาตีกรุงทวาราวดีศรี อยุทธยา ยกออกจากเมืองเชียงใหม่คืนหนึง่

๑๔
ประมาณทางห้ าร้ อย โปสุพลารู้วา่ พระยาจ่าบ้ าน คิดการประทุษฐร้ าย
เข้ าด้ วยกองทัพไทย กลับจะรบโปสุพลา ๆ จึ งกลับทัพเข้ าไปอยู่ในเมือง
เชียงใหม่ พอกองทัพกรุ งศรี อยุทธยายกขึ ้นมา ทังกองทั ้ พกาวิละ
พระยาลคร พระยาจ่าบ้ าน บรรจบกันเข้ าล้ อมเมืองเชียงใหม่ โปสุพลา
เนมะโยกามะนี แตกหนีออกจากเมืองเชียงใหม่ ไปอยู่เมืองหน่าย ฝ่ าย
ภรรยาโปสุพลาซึง่ อยูณ ่ เมืองอังวะนันเจ้
้ าอังวะจาไว้ ภรรยาโปสุพลาให้ คน
มาบอกโปสุพลาว่า อย่าให้ ไปเมืองอังวะเปนอันขาดทีเดียว โปสุพลาจึง
หลบหลีกอยูณ ่ บ้ านซุยเกียน ใกล้ กนั กับเมืองตองอูทางห้ าวัน
 เมื่อศักราชได้ ๑๑๓๕ ปี มีตราลงมาแต่เมืองอังวะ ให้ ปะกัน
หวุ่นเกณฑ์เอารามัญหมื่นหนึ่งเปนแม่ทพั ไปตีกรุ งศรี อยุทธยา ปะกัน
หวุน่ จึงเกณฑ์ให้ พระยาเจ่ง ตละเซ่ง พระยาอู เปนกองน่า กับไพร่สาม
พัน ให้ แพ่กิจาเปนแม่ทพั ยกก่อน ไปตังฉางอั ้ ศมีฉางปาศักลาเลียงเอา
เสบียงอาหารเข้ าไว้ ให้ ได้ เต็มฉาง ออกพระวัสสาแล้ ว ปะกันหวุ่นกับ
ไพร่เจ็ดพันจึงจะยกไปตาม
 ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๓๖ ปี จะให้ ยกกองทัพลงมาแต่เมืองอังวะไปตี
เอากรุงทวาราวดีศรี อยุทธยา ปะกันหวุ่นผู้เปนเจ้ าเมืองมัตตมะ เก็บเอา
เงินทองแก่ภรรยานายทัพนายกอง แลไพร่สมิงรามัญซึ่งยกไปทาฉางนัน้
ไพร่พลเมืองได้ ความเดือดร้ อนนัก ตละเกิ ้งจึงมีหนัง สือไปถึงพระยาเจ่ง
ตละเซ่ง สมิงรามัญทังปวง
้ ว่าปะกันหวุ่นทาให้ ได้ ความร้ อนเข็ญสุดที่
จะทนแล้ ว ให้ พระยาเจ่ง ตละเซ่ง สมิงรามัญ เร่งคิดยกทัพกลับมาณ
เมืองมัตตมะเปนการเร็ว พระยาเจ่ง ตละเซ่ง สมิงรามัญทังปวง ้

๑๕
พร้ อมกันจับแพ่กิจาแม่ทพั ฆ่าเสียแล้ วกลับทัพมาณเมืองมัตตมะ ปะกัน
หวุ่นเจ้ าเมืองมัตตมะ อะคุงหวุ่น รู้ ว่าพระยาเจ่ง ตละเซ่ง ฆ่าแพ่กิจา
เสีย ยกทัพกลับมาเมืองมัตตมะ ปะกันหวุน่ อะคุงหวุ่น ลงเรื อหนีไป
เมืองย่างกุ้ง พระยาเจ่ง ตละเซ่ง นายทัพนายกองสมิงรามัญยก
ติดขึน้ ไปตีได้ ค่ายตักกะเลริ มเมื องย่างกุ้ง พอกองทัพน่าอะแซหวุ่นกี ้
ยกลงมาแต่เมื องอัง วะ ได้ รบกันกับกองทัพ รามัญที่เมืองย่างกุ้ง
พระยาเจ่ง ตละเซ่ง นายทัพนายกองสมิงรามัญ แตกหนีลงมาเมือง
มัตตมะ พาครอบครัวอพยพเข้ ามากรุ งทวาราวดีศรี อยุทธยา กองทัพ
พม่ายกตามมาจับได้ แต่ตละเกิ ง้ ทังบุ ้ ตรภรรยาณแขวงเมืองมัตตมะ ส่ง
ขึ ้นไปถวาย ครัง้ นันมองระกั
้ บเสนาบดีลงมายกฉัตรอยู่ณเมืองย่างกุ้ง
มองระจึงให้ ถามตละเกิ ้งว่า ตัวคิดการประทุษฐร้ ายในครัง้ นี ้ใครรู้เห็น
เปนใจด้ วยตัวบ้ าง ตละเกิง้ ว่าพระยาหงษาวดี พระยาอุปราชาผู้น้อง
มีหนังสือให้ คนถือมาถึงข้ าพเจ้ ากับพระยาเจ่ง ให้ ชกั ชวนกันแต่บรรดา
สมิงรามัญทังปวง้ จับเอาบรรดาพม่านายไพร่ซึ่งอยู่ในเมืองมัตตมะฆ่า
เสี ย แล้ วให้ ยกกองทัพ ตีเ อาเมื องย่างกุ้ง ขึน้ ไปจนถึง เมื องอัง วะ
ถามสอบพระยาหงษาวดี พระยาอุปราชา รับเปนสัตย์ มองระจึงสัง่
ให้ เอาพระยาหงษาวดี พระยาอุปราชา กับทังตละเกิ ้ ง้ ไปประหาร
ชีวิตรเสีย
 ครั น้ ศัก ราชได้ ๑๑๓๖ ปี อะแซหวุ่น กี ย้ กกองทัพ เข้ า มาตี ก รุ ง
กองทัพน่าก็ยกเข้ ามาถึงเมืองราชบุรี กองทัพไทยจึงล้ อมไว้ อะแซหวุ่นกี ้
จึงบอกขึ ้นไปถึงมองระเจ้ าอังวะ ๆ จึงให้ อะคุงหวุ่นมงโยะ กับไพร่

๑๖
สามพันรับอาสาจะมาตีแหกเอาคนสามพันในค่ายล้ อมเขานางแก้ วให้ ได้
ครัน้ เขาตีกองทัพไทยซึง่ ล้ อมพม่าไว้ นนั ้ ไพร่พลพม่ากองทัพช่วยล้ มตาย
เปนอันมาก อะแซหวุ่นกี ้จึงบอกหนังสือไปถึงมองระเจ้ าอังวะ ว่าถ้ าจะ
เอาคนสามพันให้ ได้ จะเสียคนกว่าสามหมื่น ด้ วยจวนเทศกาลฝนไพร่
พลอดเสบียงอาหาร จะขอถอยทัพมาแรมค้ างอยู่ณเมืองมัตตมะ ต่อรุ่ง
ขึ ้นปี น่าข้ าพเจ้ าจึงจะยกกองทัพเข้ าไปตีกรุงศรี อยุทธยา ทังพม่
้ าสามพัน
ทังนายทั
้ พนายกองเอามาถวายให้ จงได้ มองระเจ้ าอังวะจึงตอบไปว่า
ซึ่ ง อะแซหวุ่น กี บ้ อกมานัน้ ชอบด้ ว ยราชการอยู่แ ล้ ว ทัง้ นี ก้ ็
สุดแต่อะแซหวุน่ กี ้จะคิดผ่อนปรนเอากรุงศรี อยุทธยาให้ จงได้
 ครั น้ ศัก ราชได้ ๑๑๓๗ มองระกลับ ขึ น้ ไปณเมื อ งอัง วะ ครั น้
ณเดือน ๑๑ ในปี นัน้ อะแซหวุ่นกี ใ้ ห้ แมงยางูกับนายกองผู้น้อย กับ
ปั นยิแยฆองจอ ปั นยิตะจอง ๓ นาย กับไพร่ สองหมื่ น ให้ ยกไปทาง
ระแหง อะแซหวุน่ กี ้กับไพร่หมื่นห้ าพัน เปนแม่ทพั เข้ าล้ อมเมืองพิศณุ
โลก อะแซหวุน่ กี ้จึงแยกกองทัพลงมารับกองทัพกรุงศ่รีอยุทธยาซึ่งขึ ้นไป
ช่ว ยปากพิ ง ครั น้ เมื อ งพิ ศณุโ ลกเสี ย แก่พ ม่า แล้ ว อะแซหวุ่น กี บ้ อก
หนังสือขึ ้นไปถึงมองระเจ้ าอังวะ พอมองระเจ้ าอังวะถึงอนิจกรรมตาย จิงกู
จาบุตรมองระขึน้ เปนเจ้ า จึงให้ ข้าหลวงลงมาให้ เลิกกองทัพ ทัง้ ทัพ
เมืองทวาย, เมืองมะริ ด, เมืองตะนาว, อะแซหวุ่นกี ้ซึ่งไปตี
เมืองกรุงกลับขึ ้นไปเมืองอังวะ จิงกูจาปลงศพมองระผู้เปนบิดาตาม
อย่างธรรมเนียม

๑๗
 ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๓๘ ปี จิงกูจาผู้เปนบุตรมองระขึ ้นเสวยราช
สมบัติ ชะแลงจาผู้น้องจิงกูจา เมื่อมองระบิดายังอยูน่ นั ้ ตังให้ ้ ชะแลง
จาเปนเจ้ าเมืองชะแลง ในปี นันชะแลงจา
้ กันอะตวนหวุ่นอามาตย์ คิด
การกระบถต่อจิ งกูจาผู้พี่ซึ่งได้ ราชสมบัติ จิ ง กูจ าจึงให้ เอาชะแลงจา
กับ อะตวนหวุ่น อ ามาตย์ ฆ่า เสี ย แล้ ว จิ ง กูจ าท านุบ ารุ ง พระพุท ธรู ป
พระสถูป พระเจดี ย์ วัด วาอาราม อัน ช ารุ ดซุ ดพัง นัน้ ให้ ล งรั กปิ ด
ทอง
 ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๔๒ ปี จิงกูจาเจ้ าอังวะสัง่ ให้ ถอดอะแซหวุ่นกี ้
ออกจากราชการ แล้ วจิงกูจาสัง่ ให้ เอาอะเมียงสะแข่งผู้เปนลูกมังลองเป
นน้ องมองระ เปนอาว์จิงกูจา สัง่ ให้ ไปฆ่าเสีย แต่ปะดุงแยกไปไว้ ฟาก
จักเกิง ปะคานสะแข่งแยกไปไว้ เมืองแปงยะ แปงตะแลแยกไปไว้ ณ
บ้ านชิกกี สามคนนี ้เปนลูกมังลอง เปนน้ องมองระ
 ครัน้ ศักราชได้ ๑๑๔๓ ปี พระเจดีย์ณเมืองแปงยะใกล้ กน ั กับเมือง
อัง วะทางสามร้ อย มี น ามชื่ อ ว่ า ซุ ย ชี กุง พัง ลงที ห นึ่ ง อนึ่ ง
พระพุทธรูปซึ่งอยู่ณเมืองจะเกิง้ คนละฟากน ้าเมืองอังวะ ให้ เปนน ้าพระ
เนตรไหลออกมาครัง้ หนึง่ จิงกูจาให้ แต่งเครื่ องนมัสการไปนมัสการพระ
ตาบลชื่อสีหะ ต่อกับเมืองอังวะไกลกันทางห้ าคืน จิงกูจายกไปทางเรื อ
ได้ สามคืน มองหม่องเปนบุตรมองลอก กับพวกเพื่อนเปนอันมาก
เข้ าปล้ นชิงเอาสมบัตขิ ึ ้นเปนเจ้ า มองหม่องจึงให้ หาปะดุงสะแข่ง ปะ
คานสะแข่ง แปงตะแลสะแข่ง ผู้อาว์สามคนมาพร้ อมกันณเมือง

๑๘
อังวะ มองหม่องจึงว่าสมบัตินี ้อาว์เอาเถิด ปะดุง ปะคาน แปงตะแล
จึ่งว่าสมบัติทงนี
ั ้ ้ได้ ด้วยบุญของเจ้ า ๆ จงเอาเถิด จึงตังอะแซหวุ
้ ่นกี ้
คงที่อะแซหวุน่ กี ้ พรรคพวกมองหม่องซึง่ ตังเปนเสนาบดี
้ ขึ ้นใหม่ข่มเหง
เอาบุตรสาว เก็บริ บเอาพัศดุทองเงินของอาณาประชาราษฎรซึ่งหา
ความผิ ด มิ ไ ด้ แลชาวบ้ า นไพร่ พ ลเมื อ งได้ ค วามเข็ ญ แค้ น เคื อ ง
เดือดร้ อนนัก ปะดุงจึงปฤกษาด้ วยญาติวงษ์แลเสนาอามาตย์คนเก่าว่า
มองหม่องได้ เปนเจ้ า ๕ - ๖ วัน ข่มเหงอาณาประชาราษฎรร้ อนเข็ญดังนี ้
หาควรที่จะให้ เสวยราชสมบัตไิ ม่ เสนาบดีไพร่พลเมืองเปนใจด้ วยปะดุง
เข้ าล้ อมเอาวัง รบกันกับมองหม่องแต่เช้ าจนเที่ยง ผู้คนล้ มตายเปนอัน
มาก จับตัวมองหม่องได้ แล้ วฆ่าเสีย ปะดุงได้ เสวยราชสมบัติ แล้ วสัง่
ให้ เอาเกวียนบรรทุกศพซึง่ รบกันตายนันไปทิ ้ ้งเสียนอกเมือง
 ในปี นันปะดุ
้ งใช้ ให้ มะหาสีละวะอามาตย์ ๑ จอกตะลุงโบ ๑ กับ
เรื อรบ ๕๐ ลา คนประมาณพันหนึง่ ให้ ขึ ้นไปจับตัวจิงกู ครัน้ ยกไป
ถึง บ้ านสัน โผไกลกัน กับอัง วะทางหกคืน จิ ง กูกับไพร่ เ หลื อหนี อ ยู่
สามสิบคน กับมเหษีนางห้ าม จิงกูก็พาเข้ ามาหามะหาสีละวะอามาตย์
ว่า ปะดุง ผู้อาว์ ไ ด้ ร าชสมบัติแ ล้ วเห็น เราหาตายไม่ มะหาสี ละวะ
อามาตย์เอาตัวจิงกูกบั บุตรภรรยาจาลงมาถวายแก่ปะดุง ๆ สัง่ ให้ ฆ่าจิงกู
ทังบุ
้ ตรภรรยาเสียให้ สิ ้น
 ครั น้ ศักราชได้ ๑๑๔๔ ปี เดือนเจ็ด เพลาสองยามเศษ งะพุง
พม่าเปนคนท่องเที่ยวอยูใ่ นเมืองอังวะ กับพวกเพื่อนประมาณสามร้ อย

๑๙
เศษเข้ าปล้ นชิงเอาสมบัติ รบกันกับปะดุง ผู้คนล้ มตายเปนอันมาก
ปะดุงจับตัวงะพุงได้ ทงพวกเพื
ั้ ่อนสิ ้น ปะดุงให้ ฆ่าเสีย ในปี นันเดื
้ อนสิบ
สอง ปะดุงสัง่ ให้ ทาเมืองใหม่ ตาบลที่ผ่องกากับเมืองอังวะทางสาม
ร้ อยทิศตวันออก
 ศักราชได้ ๑๑๔๕ ปี เดือนเจ็ด ปะดุงยกไปอยู่ณเมืองอามะระบุระ
สร้ างใหม่ ในปี นันเดื
้ อนสิบสอง ปะดุงจึงสัง่ ให้ แอกกบันหวุ่นกับเสนาบดี
คุมไพร่สี่พนั เปนทัพน่า จึ่งตังให้
้ จะกูสะแข่งผู้บตุ รคุมไพร่ หมื่นหนึ่งเปน
แม่ทพั ยกไปทางเมืองสันตวยแขวงเมืองยะไข่ทางหนึ่ง ให้ แมงคุง
หวุน่ กับเสนาบดีคมุ ไพร่สี่พนั เปนทัพน่า ตังให้
้ ก ามะสะแข่งผู้บตุ รคุมไพร่
หมื่นหนึง่ เปนแม่ทพั ยกไปทางเมืองมะอิละมู แขวงเมืองยะไข่ทางหนึ่ง
ตังให้
้ สิริตะเรี ยงแยฆองเดชะแจกเรจ่อโบ คุมไพร่สี่พนั เปนทัพน่า ตังให้ ้
บุตรชายใหญ่คมุ ไพร่ หมื่นหกพันเปนแม่ทพั ยกไปทางเมืองตองก๊ กขึ ้น
ยะไข่ ให้ ยกไปตีเมืองติญะวดี คื อเมืองยะไข่ แต่ทพั บุตรใหญ่ยกไป
ถึงปะดุงจึงตังให้
้ มหาจ่อแทงตะละยาแย, จ่ออากาแย, จ่อตะมุทแย,
ฆองเดชะ, คุมไพร่ห้าพัน เรื อรบทเลห้ าร้ อยลา ยกไปทางทเลณเดือน
อ้ ายถึงเมืองตองก๊ ก แล้ วยกไปตีเมืองตันลอย เจ้ าเมืองตันลอยผู้ชื่อว่า
จ่อตีแตกหนีออกจากเมืองข้ ามทเลไป กองทัพพม่าทังทั ้ พบกทัพเรื อลง
เรื อตามไปณเดือนยี่ ถึงเมืองยะไข่พร้ อมทัพกันทังสามทาง
้ ณเมืองเลมี
ชุงใกล้ กันกับเมืองยะไข่ทางประมาณร้ อยหนึ่ง เจ้ าเมืองยะไข่ยกพล
ทหารเสนาบดีออกมารบ เจ้ าเมืองยะไข่แตกหนีกลับเข้ าเมือง กองทัพ
พม่าไล่ตดิ ตามเข้ าไปได้ เมือง เจ้ าเมืองยะไข่หนีออกจากเมือง กอง

๒๐
ทัพพม่าติดตามจับตัวได้ ณเดือนสามขึ ้นสิบสามค่า กวาดต้ อนเอาเชื ้อ
วงษ์บตุ รภรรยาศฤงฆารบริ วารเสนาบดี เจ้ าติญะวดีเจ้ าเมืองยะไข่ แม่
ทัพจึงตังให้้ จอกซูคมุ ไพร่หมื่นหนึ่งให้ อยู่รักษาเมืองติญะวดี แลนายทัพ
นายกองก็กลับมายังเมืองอามะระบุระณเดือนห้ า ปะดุงสัง่ ให้ เลี ้ยงเจ้ า
เมื องติญ ะวดีทัง้ บุตรภรรยาแลเสนาบดีไ ว้ เจ้ าเมื องติญะวดีป่วยถึ ง
อนิจกรรม แลเสนาบดีทงปวงกั ั้ บไพร่ห้าหมื่นของเจ้ าเมืองยะไข่นนั ้ ปะ
ดุงให้ ภมู ฐานไร่นาเปนททากินคุ้งเท่าบัดน
* ศักราชได้ ๑๑๔๗ ปี แปงตะแลผู้น้องปะดุง เจ้ าเมืองอามะระ
บุระคิดกระบถ มีผ้ ูเอาความมาว่าพิจารณาเปนสัตย์ ปะดุงสั่งให้ เอา
แปงตะแลผู้น้องไปฆ่าเสียทังพวกเพื ้ ่อนประมาณห้ าสิบเศษ ในปี นัน้
ณเดือนเก้ า ปะดุงจึงสัง่ ให้ นดั มีแลง ปะแลงโบ แปดองจา นะจักกีโบ
ตองพยุงโบ ให้ เนมะโยคุงนะรัต กับไพร่สองพันห้ าร้ อยเปนกองน่ายกไป
ทางบก สะทิงลางเคียงยกทางเรื อ กับบาวาเชียง แองยิงเตจะอุดินยอ
ให้ ยีวนุ่ เปนแม่ทพั เรื อกับไพร่สามพันไปตีเมืองถลาง ให้ แกงวุ่นกับไพร่
สี่พนั ห้ าร้ อย เปนโปชุกบังคับกองทัพบกเรื อไปตีเมืองนคร ชุมพร ไชยา
ทางทวายนัน้ ให้ จิกแกทวาย มะนีจอคอง สีหะแยจ่อแต่งเปยะโบ
ทวายหวุ่น กับไพร่สามพันเปนกองน่า ตะแรงยามซู มะนิสินตะ สุริน
จอคอง กับไพร่สามพัน ให้ จิกสินโบเปนกองหนุน ให้ อนอกแผกติกหวุ่น
กับไพร่สี่พนั เปนโปชุกแม่ทพั ยกมาทางเมืองราชบุรี ทางมัตตมะนันให้้
กลาวุน่ ปิ ลงยิง สูเลจี ปั ญญาอู อากาจอแทง ลานซานโบ อคุงหวุ่น
ปั นยีตะซอง ละโมวุน่ ซุยฆองอากา กับไพร่

๒๑
หมื่ นหนึ่ง ให้ เ มี ยวหวุ่นบัง คับนายทัพ ทัง้ ปวง เปนแม่กองน่าที่ ๑
กองหนุนนันยอยแลกยาแยฆอง
้ จอกาโบ ตะแรงปั นยี ตุกแยโบ
กับไพร่ห้าพัน ตังให้
้ เมียนเมวุ่นเปนแม่กองที่ ๒ ยังทัพหนุนอิกกองหนึ่ง
ยวนจุวนุ จิดกอง สิริยะแกงวุน แยเลวุน กับไพร่หมื่นหนึง่ กามะสะ
แข่ง บุตรชายน้ อยเจ้ าอังวะเปนแม่ทพั ที่ ๓ อิกทัพหนึง่ แมคราโบอติตอ
อากาปั นยี มะโยลัดวุน่ กับไพร่หมื่นหนึง่ ให้ จกั กุสะแข่งบุตรชายกลาง
เจ้ าอังวะเปนแม่ทัพที่ ๔ กองทัพเจ้ าอังวะทัพน่า จาวาโบ ยะไข่โบ
ปะกับวุน่ ลอกาซุงถ่องวุน่ เมจุนวุน่ กับไพร่ห้าพัน อะแซวังมูเปนแม่
กอง ปี กขวาเจ้ าอังวะ อามะลอกวุ่น ตวนแชงวุ่น เลจอพวายัดจอกโบ
งาจุวนุ่ กับไพร่ห้าพัน ตังให้
้ มะยอกวังมูเปนแม่กองปี กซ้ ายเจ้ าอังวะ แล
กะโรยะกิมู เลแซงวุ่น ยวนจุวุ่น ยะกีวุ่น สิบอจอพวากับไพร่ ห้าพัน
ตัง้ ให้ ต องแวหมู่เ ปนแม่ ก องปี กขวาทัพ หลวงเจ้ าอัง วะระวาลัต วุ่ น
ออกมาวุ่น โมกองจอพวา โมมิกจอพวา โมเยียงจอพวากับไพร่ห้า
พัน ตังให้
้ อะนอกแวงหมู่เปนแม่กอง ๆ ทัพปะดุงเจ้ าอังวะไพร่ สองหมื่น
ให้ อินแซะสะแข่งบุตรชายใหญ่ ให้ อินแซะวุ่นอามาตย์อยู่ว่าราชการ
เฝ้าเมืองอังวะ ทางระแหงนันให้ ้ ซุยตองนอระทา ซุยตองสิริจอพวา
กับไพร่ สามพัน ตังให้
้ ซุยตองเวระจอแทงเปนแม่กองทัพน่า ตังให้้ จอฆ
องนอระทาคุมไพร่สองพันเปนกองหนุน ทางเชียง ใหม่นนั ้ ให้ สะโดะมหา
สิริอจุ จะหน่าเปนแม่ทพั คุมนายทัพแลไพร่สองหมื่นเศษ

๒๒
* ครัน้ ยกมาถึงเชียงแสน สะโดะมหาสิริอจุ จะหน่า จึงบังคับให้
ปั นยีตะจองโบ จุยลันตองโบ แยจอนอระทา ปลันโบ นัดซูมะลาโบ มุก
อุโบ สาระจอซู กับไพร่ ห้าพัน ให้ เนมะโยสิหะซุยะ เปนแม่ทพั ยกมาตี
เมืองพิศณุโลก ครัน้ ได้ พิศณุโลกแล้ วลงมาตังทั ้ พอยู่ปากพิง ทางแจ้ ห่มุ
นันให้
้ เมือยยอง เชียงกะเล พระยาไชยะ น้ อยอันทะ กับไพร่ สามพัน
ตังให้
้ ธาปะระกามะนีเปนแม่ทพั ยกมาทางแจ้ ห่มุ เปนกองน่า ยกขึ ้นไป
ล้ อมเมืองลคร แจกแกโบ พระยาแพร่ อขุนวุ่น อุติ งแจก กะโบ แน
มะโยยันตะมิต กับไพร่หมื่นห้ าพัน สะโดะมหาสิริอจุ จะหน่าเปนแม่ทพั
ยกขึ ้นไปล้ อมเมืองลคร ครัน้ กองทัพกรุงศรี อยุทธยายกขึ ้น ไปช่วยเมือง
ลคร ปะทะกันกับกองทัพ พม่ารบกันที่ ปากพิง กองทัพ พม่าแตกหนี
กระจัดกระจายล้ มตายเสียม้ าแลไพร่ พลที่นนเปนอั ั้ นมาก กองทั พพม่า
ซึ่ง แตกไปแต่ป ากพิ ง ขึน้ ไปที่ เ มื อ งลครค่ายล้ อม บอกแก่ ข้ าพเจ้ า ซึ่ง
เปนธาปะระกามะนี กับสะโดะสิริอจุ จะหน่า ซึ่งเปนโปชุกแม่ทพั ซึ่งล้ อม
เมืองลครว่า กองทัพกรุงศรี อยุทธยาไล่ติดตามขึ ้นมาแล้ ว ธาปะระกา
มะนี สะโดะมหาสิริอจุ จะหน่า ซึ่งเปนโปชุกแม่ทพั ได้ รบกันกับทั พกรุ ง
แต่เช้ าจนเที่ยง กองทัพพม่าซึ่งล้ อมเมืองลครนัน้ แตกหนีไปพร้ อมทัพ
กันณเมืองเชียงแสน พอมีตราให้ ข้าหลวงถือหนังสือขึ ้นมาว่า เจ้ าอังวะ
นายทัพนายกองทัง้ ปวง ถอยทัพกลับมาเมืองอังวะแล้ วให้ เร่ งสะโดะ
มหาสิริอุจจะหน่านายทัพนายกองแลไพร่ พล อย่าให้ ล่วงเทศกาลฝน
ให้ ถึงเมืองอังวะตามกาหนด แต่ธาปะระกามะนีให้ เปนเจ้ าเมือง
เชียงแสนกับไพร่พม่าสามพัน

๒๓
 ครั น้ เมื่ อ ศัก ราชได้ ๑๑๔๘ ปี เจ้ า อัง วะให้ ปั น ยี เ วซอ ซุ ย
ตองเวยะจอแทง กับไพร่ สองพัน จอฆองนอระทา กับไพร่ พนั ห้ า
ร้ อยเปนโปชุกแม่ทพั ธาปะระกามะนี กับไพร่ สามพัน เฝ้าเมืองเชียง
แสนอยู่ ครัง้ นันมี ้ ตราขึ ้นไปให้ เข้ ากองทัพจอฆองนอระทาโปชุก ได้ คน
มาเข้ ากองทัพแต่ห้าร้ อย หนีไปก่อนสองพันห้ าร้ อย ยกไปตีเมืองฝางได้
แล้ วให้ ตงท
ั ้ าไร่ นาอยู่ที่นนั ้ แต่ธาปะระกามะนีกับไพร่ ห้าสิบคน โปชุก
นอระทาให้ กลับไปจัดแจงบ้ านเมืองทาไร่ นาอยู่ณเมืองเชียงแสนประมาณ
หมื่ น หนึ่ง พระยาแพร่ พระยายอง ยกกองทัพ มาณเมื องเชี ยงแสน
ข้ าพเจ้ าผู้เปนธาปะระกามะนีหนีไปหาพระยาเชียงราย ๆ จับข้ าพเจ้ าได้ ส่ง
มาเมื องลคร เจ้ า เมื องลครส่ง มากรุ ง ศรี อ ยุท ธยาคุ้ง เท่า บัด นี ้ แต่
ข้ าพเจ้ าธาปะระกามะนีร้ ูว่า รามัญข้ าราชการคนเก่าในเมืองหงษา
วดี บุตรชันลุนอามาตย์ทิน บุตรจอกะตุกวุ่น เปนกองน่า ละเมิงห
วุ่น เปนโปชุก ยกมาทางเมื อ งมัต ตมะจะมากรุ ง ศรี อ ยุท ธยา ตัง้ รวม
เสบียงอาหารอยู่ท่าดินแดง กองทัพกรุ งศรี อยุทธยายกขึ ้นไปตีกองทัพ
พม่าแตกหนีล้มตายเปนอันมาก ข้ าพเจ้ าได้ ทราบเกล้ าฯ จาได้ แต่เท่านี ้
ก่อนมังลองยังไม่ได้ เปนเจ้ า ข้ าพเจ้ าธาปะระกามะนีได้ ร้ ูมา มีนามชื่อว่า
เจ้ าอาทิตย์ ได้ สมบัตยิ ี่สิบปี มีบตุ รคนหนึง่ ได้ สมบัติสิบห้ าปี ตังให้
้ สา
อ่องนัง่ เมืองหงษาวดีสามเดือน แซงหมู่คิดประทุษฐร้ ายฆ่าสาอ่องเสีย
แซงหมู่ขึน้ เปนเจ้ าได้ เจ็ดปี มังลองไปตีเอาเมืองหงษาวดีได้ มังลองได้
ราชสมบัติเ มืองอัง วะเจ็ดปี มังลองมี พี่ช ายคนหนึ่ง น้ องชายคนหนึ่ง
ก่อนยังไม่ได้ เปนเจ้ านันพี
้ ่ชายตาย น้ องชื่อสะโดะอุจจะหน่ายัง

๒๔
อยูค่ ้ งุ เท่าบัดนี ้ มังลอง มีบตุ รชาย ๖ มีบตุ รหญิง ๓ รวม ๙ คน ครัน้ มัง
ลองถึงอนิจกรรม มองลอกได้ สมบัติ มีบตุ รชายคนหนึ่ง ชื่อมองหม่อง
ได้ นั่ง เมื อ งสามปี มองลอกถึ ง อนิ จ กรรม มองระได้ ร าชสมบัติ มี
บุตรชายชื่อจิงกูคนหนึ่ง ชะแลงคนหนึ่ง มีบตุ รหญิงสองคน แต่ได้ นงั่
เมื องอยู่ ๑๓ ปี มองระเปนโรคส าหรั บบุรุษถึ ง อนิจ กรรม จิ ง กู ไ ด้ ราช
สมบัติอยู่ห้าปี จิงกูถึงอนิจกรรม มองหม่องได้ ราชสมบัติหกวันครึ่ งถึง
อนิจกรรม ปะดุงได้ เสวยราชสมบัติ ฆ่าแปงตะแลน้ องชายสุดท้ องเสียยัง
อยู่แต่ปะคานสะแข่งบุตร แต่บุตรมังลองยังคงอยู่เท่าทุกวันนี ้แต่สอง
คน มีบุตรชาย ๓ หญิง ๓ อินแซะสะแข่ง ๑ จักกุสะแข่ง ๑ กามะสะ
แข่ง ๑ รวม ๖ คน ขอเดชะ
๒๕
คาให้ การมหาโค มหากฤช เรื่ องเมืองพม่ า
ถามในรัชกาลที่ ๒

 ข้ า พระพุทธเจ้ า พระยาอุไ ทยธรรม พระราชสมบัติ พระเทพ


รัตนนรินทร์ หมื่นมณีรักษา พร้ อมกันทังหลวงอไภยณรงค์
้ บญุ สาหลวง
สุนทรภักดีบุญไทย ขุนชานาญภาษาทองคา นายอยู่ล่ามพม่านัง่ ฟั ง
คามหาโคผู้บิดา มหากฤชผู้บตุ ร ซึ่งหนีจากเมืองพม่าเข้ ามาสู่พระบรม
โพธิ ส มภาร เมื องวิเ ชี ยรปราการมลาประเทศเชี ยงใหม่บอกส่ง มาถึง
กรุ งเทพฯ ศรี อยุทธยาณวันจันทร์ เดือน ๕ แรม ๑๒ ค่า จุลศักราช
๑๑๗๒ ปี มะเมียนักษัตรโทศก ขอพระราชทานกราบทูลพระกรุ ณาให้
ทราบใต้ ลอองธุลีพระบาท
ด้ วยข้ อความว่าเมื่อครัง้ อ้ ายพม่ายกมาตีกรุงเทพฯ ศรี อยุทธยา
ได้ นนั ้ มหาโคเปนฆราวาศอายุ ๒๗ ปี ตามเจ้ าวัดประดูไ่ ปพลัดกันตก
อยูณ่ เมืองเปร จึงบวชเปนภิกษุได้ ๑๔ พรรษา แล้ วสึกออก มีภรรยาเกิด
บุตรคือตัวมหากฤชนัน้ ได้ อาไศรยในสานักมารดาเจ้ าจีนกู ครัน้ หม่อง
ๆ ชิงเอาสมบัติของจีนกูได้ ได้ อยู่ ๗ วัน ประโดงชิงเอาสมบัติหม่อง ๆ
นันต่
้ อไป แล้ วให้ ฆ่าเจ้ าหม่อง ๆ เจ้ าจีนกูเสีย มหาโคไปอาไศรย
อยูด่ ้ วยแมงฉ่วยตองละ เมื่อเจ้ าประโดงได้ ราชสมบัตเิ มืองอังวะ ณข้ างขึ ้น
เดือนห้ าปี ขาลนักษัตรจัตวาศกนัน้ จัดแจงกิจการบ้ านเมืองทังคฤหั ้ สถ์
แลสมณะ เจ้ าอังวะถือความว่า มีเพลงนิมิตรเปนคาชาย

๒๖
ว่าแก่หญิง ๆ ตอบชายออกชื่อบ้ านหม่องต่อง จึ่งให้ นิมนต์เอาพระสงฆ์
บ้ านหม่องต่องมาเปนอาจารย์ ให้ อาจารย์กบั สังฆการี พร้ อมกันถามกิจ
วิ นัย สิ ก ขา แก่ พ ระสงฆ์ ร าชาคณะส ารั บ เก่ า เปนหลายประการ แต่
ประการหนึ่ง นัน้ ว่า พระราหุล สามเณรเปนบรมพุท ธโอรสก็ ท รงจี ว ร
คลุมเปนอย่างอยู่ เหตุใดจึงไม่กระทาตามสิกขาซึ่งมีมาแต่ต้น เอา
พระอะตุลาจารย์ผ้ เู ปนราชาคณะใหญ่ กับทังราชาคณะผู ้ ้ น้อยสารับเก่า
เปนผิด ให้ สงั ฆการี ฉุดคร่ าแย่งเอาจีวรกาสาเสีย เอาผ้ าขาวให้ น่งุ แล้ ว
มัดเอาตัวออกไปเสียจากที่ปิฎกสถานจาไว้
ครัน้ เวลารุ่งเช้ า ให้ โกนเศียรสี่แฉกเอาหมึกทาหน้ าเอาแป้งทา
ตัว ให้ ทดั ดอกไม้ รัง ๆ หู เอาเชือกผูกเอวอะตุลาจารย์ใส่กะชะแสรก
หาม ส่วนผู้น้อยนัน้ ให้ มัดมื อไพล่หลัง เอาเชือกร้ อยหู แล้ วผูกฅอตี
ฆ้ องตะเวนไปทั่วเมือง แล้ วตัง้ ราชาคณะใหม่ ให้ ห่ม จี วรคลุม ทัง้
สมณะ แลสามเณรสืบมา หามีรัตคตอกไม่ตราบเท่าจนทุกวันนี ้
ข้ อหนึ่งเจ้ าอังวะให้ หาประชุมโหรพม่า แลพราหมณาจารย์อนั รู้
ซึ่ง วิไ สยไตรเพทางคปกรณ์ ทัง้ ปวงมาซักไล่จ นไปเปนอัน มาก จึง ตัง้
ตัวเปนอาจารย์บอกสอนเอาเปนสานุศษิ ย์ ให้ แจกตาราอากาศปกรณ์
แก่ราชาคณะอธิการทังปวงให้ ้ เรี ยนดูดาวนักขัตฤกษ์ แลวิเศษดาราแล
ดาวพระเคราะห์ทงปวงทั ั้ ว่ ทุกอาราม แล้ วให้ นิมนต์พระสงฆราชาคณะ
อธิการทังหลาย
้ เข้ าไปในวังเวลากลางคืนเนือง ๆ เจ้ าอังวะออกถาม
พระสงฆ์ทงปวงให้
ั้ ชี ้บอกดวงดาวราษีนกั ษัตรแลดาวพระเคราะห์

๒๗
แล้ วถามมหาหม่องต่องว่าพระเคราะห์ทงเก้ ั ้ าดาวนักขัตฤกษ์ วิเศษดารา
ในอากาศนัน้ เดินสูงต่าเพียงใด เขาพระสุเมรุ นนเล็ ั ้ กใหญ่จมลงไปใน
นา้ แลสูง ขึน้ ไปโดยอากาศมากน้ อยเท่าใด มหาหม่องต่องว่าจะไปดู
หนังสื อก่อน เจ้ าอัง วะจึง ว่าบวชเอาแต่กินแล้ วนอนหลับตา หารู้ จัก
อะไรไม่ ได้ เปนอาจารย์ขึ ้นทังนี ้ ้เพราะมีลางนิมิตรต้ องนาม ข้ อความ
อันใดซึง่ ถามมหาหม่องต่องว่าตามไปนัน้ เจ้ าอังวะว่ารู้แต่พลอย ๆ ผสม
เอาจริ งไม่ได้ ลางทีถามไปมหาหม่องต่องไม่ตาม ติว่าพูดเปล่ าไม่
เอาการ ดีแต่ขดั ขับเสียจากวัง
* ประโดงครองราชสมบัติได้ ๒ ปี แล้ วให้ อินแซะยกกองทัพ
ไปตีเ มื องตะระเขิ่ง ได้ พ ระพุทธรู ปหล่อด้ วยส าริ ด น่าตัก ๘ ศอก มา
ประดิษฐานตาบลดอนหนองแตกแซราสร้ างเปนอารามใหญ่
* ประโดงได้ เปนเจ้ าเมืองอังวะ ตังแต่ ้ ศกั ราช ๑๑๔๔ ปี ขาลนัก
ษัตรจัตวาศก อยูป่ ี หนึง่ แล้ วยกขึ ้นไปอยูเ่ มืองเชียงใหม่
* ครัน้ ถึงจุลศักราช ๑๑๔๗ ปี มะเสงนักษัตรสัปตศก เจ้ าอังวะให้
เกณฑ์กองทัพ ยกเข้ ามารบพุ่งกรุ งศรี อยุทธยา บรรดาไทยที่มีในอังวะ
ให้ กวาดเอามา ตามตัวมหาโคติดมาด้ วย ได้ บอกป่ วยแวะเข้ าอยู่ณวัด
พระครูเมืองจิตตอง ๆ ว่ากองทัพเจ้ าอังวะยกไปไม่ช้าเดือนหนึ่งเศษ ก็
จะกลับมาดอก อบาสกอย่าไปเลย ครัน้ ถึงเดือนห้ าเจ้ าอังวะแตกกลับ
ออกไป อยูไ่ ด้ ๒ ปี กระทาการฉลองวัดพระพุทธรูปสาริดใหญ่
 ครั น้ ถึง จุล ศัก ราช ๑๑๕๕ ปี ฉลูนัก ษั ตรเบญจศก ยกขึน้ ไป
ตังอยู
้ ่ณแมงกอม สร้ างพระเจดีย์ใหญ่ ในปี นัน้ กามะสะแข่งกับมหา
หม่อง

๒๘
ต่องเกิดวิวาทแก่กนั มหาหม่องต่องนันเข้ ้ าไปถวายพระพรแก่เจ้ าอังวะ
ว่า กามะสะแข่งถือดาบเดินขึ ้นกุฎี แล้ วเข้ าทุบถองอาตมา เจ้ าอังวะให้ หา
ตัวกามะสะแข่ง ถามกามะสะแข่งแก้ ความว่าไปนิมนต์ถึงสามปี มหา
หม่องต่องให้ ตีขบั คนใช้ เสียสามหน จึงออกไปถึงบนกุฎี มหาหม่อง
ต่องฉวยไม้ ไล่ตีออกมา กามะจึงตอบมหาหม่องต่องนันจริ ้ ง เจ้ าอังวะจึง
ว่ามหาหม่องต่องเปนราชาคณะผู้ใหญ่ กามะก็ไม่เกรงกลัว ตัวกามะเป
นลูกเจ้ ามหาหม่องต่องเล่าก็ไม่ร้ ูจกั ผิดเปนอยู่คนละอย่าง จะว่าข้ างใคร
ชอบก็วา่ ไม่ได้ ให้ เลิกความเสีย
 จุลศักราช ๑๑๕๙ ปี มะเสงนักษัต รนพศกนัน้ เจ้ า อังวะได้ ยิ น
เพลงลางนิมิตรมีขึ ้น ว่านกกระทาขันบนเขา เอาหางมาแต่ยายเจ้ าเข้ า
เกรี ยบ ริมรอบขอบลิ กลางจะบิไป เมืองใหญ่จะแตกเสียเอย
นันเจ้
้ าอังวะพิเคราะห์เห็นความว่า ลางนีเ้ ปนข้ อใหญ่ให้ เมือง
พม่าเสียสูญเปนมัน่ คง จึ่งคิดการแก้ อนั ตรายวิบตั ิ ให้ เอาเจ้ าหลาน
ผู้หญิงองค์หนึง่ ซึง่ กาหนดไว้ จะให้ เปนเมียของหลานชาย เอาไปไว้
ในตาหนักสวน เอาเจ้ าจักแกงผู้หลาน ตังเปนผู ้ ้ มีบุญ ยกกองทัพ ๙
กองออกไปเที่ยวประพาศป่ า ได้ นางองค์หนึ่ง แล้ วยกกองทัพเข้ า
ตีชิงเอาเมืองได้ เข้ าอยู่ในวังตังการภิ
้ เศกซ้ อนมือครองราชสมบัติ
เปนผู้มีบญ
ุ มาใหม่ ทาทังนี
้ ้หวังจะให้ บนั เทาโทษแห่งลางนิมิตร
 ในปี มเสงนพศกนัน้ เจ้ าอังวะเกณฑ์ให้ อินแซหวุ่น กับอุบากอง
ยกทัพมาตีเมืองเชียงใหม่ไม่ได้ แตกกลับไป เสียอุบากองแก่กรุงไทยมา
คนหนึง่

๒๙
 ณศักราช ๑๑๖๐ ปี มะเมียนักษัตรสัมฤทธิ ศก กามะสะแข่งก่อ
การขบถ เจ้ าอังวะรู้จงึ อุบายว่าจะรบกรุงไทย หวังจะขยายคนตองอูเสีย
จากเมือง ให้ เกณฑ์กามะสะแข่งเปนทัพเกี ยกกาย เมียงหวุ่นเปน
นายกองน่า เจ้ าอังวะยกมาตังอยู ้ ่เห่ยจี่เหนือตองอูทาง ๓๐๐ กามะสะ
แข่งแต่งหนังสือลับลอบให้ เมียงหวุ่น แล้ วคิดกลกับกะเหรี่ ยงให้ ยก
มาเปนยางแดง จะตีเอาตองอู แล้ วบอกหนังสือว่าจะไปเฝ้าขอเอาคนมา
ช่ว ยรั กษาเมื อ งตองอูอิก เจ้ าอัง วะรู้ กลกามะสะแข่ง จะท าร้ ายจึง
จัดแจงทัพออกจับอ้ ายกะเหรี่ ยง แล้ วให้ จบั เอาตัวเมียงหวุ่นกองน่าแลกา
มะผู้ลูกจาโซ่ตรวน แล้ วก็เลิกทัพกลับไปแต่ศกั ราช ๑๑๖๑ ปี มะแม
นักษัตรเอกศก
 ตังแต่
้ ศกั ราช ๑๑๖๐ ปี มะเมียนักษัตรสัมฤทธิศกนันมา
้ ในเมือง
อังวะมีผ้ อู าญาสิทธิ ๓ แห่ง แม้ นนักโทษถึงตาย ฝ่ ายอาญาเจ้ าอังวะ
นันให้
้ ตดั ศีศะ อาญาอินแซะนันให้ ้ เชือดเนื ้อแต่เท้ าขึ ้นไปจนถึงฅอ แล้ ว
จึงเอาดาบตัดศีศะเสียบ้ าง ลางทีให้ เอาเลื่อยตัดฅอเสียบ้ าง อาญาเจ้ า
จักแคงผู้หลานนัน้ ให้ ตดั ขาเสียข้ างหนึง่ แล้ วจึงให้ คลอกด้ วยเพลิง
 ณศัก ราช ๑๑๖๐ ปี มะเมี ย นัก ษั ต รสัม ฤทธิ ศ ก เจ้ า อัง วะ
ถือเอาความรู้ครูอาจารย์ข้างแขก ว่าเวลาเช้ านันตวั ้ นตกจากทวีปโน้ น
เข้ ามาทวีปนี ้ ห้ ามมิให้ พระสงฆ์ฉนั จันหัน ว่าตวันยังไม่ควรเวลา ถ้ า
ถึงตวันเที่ยงเมื่อใดจึงให้ ฉันจันหันเช้ า ครัน้ เพลาตวันตกลับแลเห็นดาว
เจ้ าอังวะว่าตวันออกจากทวีปเรา ถือเอาเปนเวลาเที่ยง ให้

๓๐
พระสงฆ์ฉนั เปนเวลาเพน เจ้ าอังวะสัง่ ให้ ทาดังอาจารย์แขกว่านี ้จึงชอบ
ประการหนึ่งลางปี ให้ พระสงฆ์จาพรรษาแต่เดือนห้ า ลางปี ให้ จาพรรษา
เดือนหกก็มีบ้าง
 ณศักราช ๑๑๖๒ ปี วอกโทศก เกิดโจรกาเริ บตีปล้ นบนบกแล
ทางน ้าเปนหลายกอง ๆ หนึ่ง อ้ ายมะยัดแส่งบ่าวเมียงหวุ่น กันร่ ้ ม ทองมี
พวกพ้ องประมาณเจ็ดร้ อยแปดร้ อย เที่ยวย่ายีตีหวั เมืองทางใต้ ฝ่ายดอน
เจ้ าอังวะเกณฑ์ทพั เที่ยวสกัดตีเปนหลายกองมาช้ านาน แต่กองอินแซะ
นัน้ กามะนิกยอของนายหนึ่งไพร่ ๑๕๐ มหากฤชนายหนึ่งไพร่ ๑๕๐
สองนายไพร่ ๓๐๐ ม้ า ๑๕ ตัว ยกไปเที่ยวสกัดทุกแขวง ๆ จังหวัดหัวเมือง
น้ อยใหญ่ยบั ไปด้ วยโจรจุดเผาบ้ านเรื อน แลเสบียงอาหาร กองทัพนัน้
ก็ พ าลพาโลริ บฤๅจับตัวจ าส่ง ไป ได้ ความยากแค้ นเปนหนักหนา
บ้ านที่มีจานวนหลังคาพันหนึ่งถึงสองพันเรื อนนัน้ จะคงมีแต่บ้านละ
ร้ อยเรื อนบ้ าง ห้ าสิบเรื อนบ้ าง ลางแห่งก็ทิ ้งภูมิลาเนาหนีเร้ นไป
 ณศักราช ๑๑๖๓ ปี ระกาตรี ศก เจ้ าอังวะให้ หล่อพระพุทธรู ปยืน
ด้ วยเหล็กองค์หนึง่ สูงแปดศอก ถวายพระนามว่า จันทามุนีประดิษฐาน
ไว้ ณมณฑปในวัง แล้ วทารูปพระอรหันต์ด้วยไม้ จาปา นัง่ สมาธิ น่า
ตักศอกคืบ แปดสิบองค์ ทากุฎียกน้ อยใส่รูปพระอรหันต์รอบมณฑป
พระมหาจันทามุนี แล้ วเจ้ าอังวะให้ ตีฆ้องป่ าวประกาศราษฎรชาวเมืองว่า
พระพุท ธสาสนาของสมเด็ จ พระกรุ ณ าก าหนดไว้ แ ต่เ พี ย ง ๕๐๐ ปี
บัดนี ้สิ ้นพระพุทธสาสนาแล้ ว แต่นี ้สืบไปให้ ราษฎร

๓๑
ทังหลายเข้
้ ามาทาบุญให้ ทานแต่เฉภาะพระพุทธรูป แลรู ปพระอรหันต์
จะมี ป ระโยชน์ ไ ปภายน่ า อัน จะท าบุ ญ แก่ ภิ ก ษุ ส งฆ์ ทุ ก วัน นี ห้ ามี
ผลประโยชน์ไม่ เจ้ าอังวะให้ เอาบุตรข้ าพระโกนศีศะ นุ่งแต่งผ้ าเหลืองไว้
สาหรับครบองค์พระอรหันต์ ครัน้ เจ้ าอังวะทาบุญครัง้ ใด ให้ แต่งเครื่ อง
สักการบูชาบิณฑบาตถวายไว้ ที่น่าพระพุทธปฏิมากรส่วนหนึ่ง อังคาส
บิณฑบาตทานส่วนพระอรหันต์ ๘๐ องค์นนั ้ ให้ คนนุง่ ผ้ าเหลืองนันนั ้ ง่ น่า
พระอรหันต์เปนผู้ฉันแทน ครัน้ เสร็ จการทานปั จจัยให้ อาลักษณนัง่ ตรง
น่าพระปฏิมากร ทาภัตตานุโมทนาบอกอานิสงษ์ ผลทานแล้ วให้ ศีลแก่
เจ้ าอังวะ ครัน้ สาเร็จการทาบุญแล้ ว เจ้ าอังวะให้ เอาใบบัวแลใบตองซึ่ง
ปูลาดลานดินไล้ มูลโคไว้ นนั ้ เอาเข้ าสุกใส่เรี ยงกันไปทุกใบบัวตักเอา
แกงถั่วเทศถั่วเขียวใส่ทุกกระทงเข้ า เจ้ าอังวะนั่งบริ โภคเปนประธาน
เจ้ า ลูก เจ้ า หลานกับทัง้ ข้ า ราชการ พวกบริ ว ารใหญ่ น้ อ ยก็ พ ร้ อมกัน
บริโภคด้ วยเจ้ าอังวะในเพลานัน้ แล้ วเจ้ าอังวะประกาศห้ ามไม่ให้ สปั รุษ
ทายกทาบุญให้ ทานแก่พระภิกษุสงฆ์สามเณร ถ้ าผู้ใดไม่ฟังจะเอาโทษ
แลว่าพระภิกษุรูปใดพอใจบวชอยูร่ ่ าเรี ยน ก็ให้ คิดอ่านทาไร่นาค้ าขาย
หากินเอง
 ณศักราช ๑๑๖๔ ปี จอนักษัตรจัตวาศก เจ้ าอังวะให้ เรี ยกเอาเงิน
แก่ราษฎร ๑๐ เรื อนเอา ๓๓ บาท ๓ สลึง ๓ เฟื อ้ ง ๓ ไพ ๓ กล่า ๓ กล่อม
ครัง้ หนึ่ง ครัน้ ถ้ วนสามปี ให้ เอาอิกทีหนึ่ง เรื อนละ ๓๓ บาท ๓ สลึง
๓ เฟื อ้ ง ๓ ไพ ๓ กล่า ๓ กล่อม

๓๒
 ณศักราช ๑๑๖๕ ปี กุญนักษัตรเบญจศก บังเกิดทัพโจรใหญ่ขึ ้น
กองหนึ่ง นายกองทัพนันในส ้ าคัญเล่าฦๅกันว่า เปนเชือ้ เจ้ าอังวะเก่า
แต่เจ้ าอังวะทุกวันนี ้แปลงความเรี ยกว่างะตอ ๆ นันยกกองทั
้ พห้ ากองเข้ า
มาตังอยู
้ ณ ่ ตาบลเหนือเมืองเม่ยตูทางคืนหนึง่ มีหนังสือมาถึงเมืองเม่ยตู
ถึงปะโดงแลกรมการนายบ้ านนายอาเภอทุกเมือง ให้ ออกไปกราบถวาย
บังคมถือน ้าพิพฒั น์สจั จา ฝ่ ายผู้รักษาเมืองกรมการทังปวงนั
้ นเอาหนั
้ งสือ
บอกส่งเข้ ามาณแมงกวม เจ้ าอังวะให้ เกณฑ์ทพั ๓ กอง ๆ ลาละ
สามพัน อ้ ายโปนายทัพนัน้ ข้ าเจ้ าจักแกงเปนผู้อาสายกขึ ้นไป งะตอ
เอากองทัพซุม่ ไว้ ในป่ า ๔ กอง ตังล่ ้ อกองเดียว ครัน้ กองแมงกวมไปถึง
ยกเข้ าตีงะตอ ๆ ออกยืนอยู่ผ้ เู ดียว ครัน้ สิ ้นคราวปื นงะตอจึงร้ องว่า
มึงยิงสิ ้นแล้ วก็หยุดอยูเ่ ถิด กองทัพทังปวงก็
้ สงบนิ่งอยู่ งะตอให้ จบั เอา
ตัวนายทัพฆ่าเสีย เพราะว่าเปนคนอาสา แต่ไพร่ พลคนกองทัพ นัน้
งะตอให้ กลืนพริ กไทยไว้ คนละเม็ดเปนสาบาลแช่งว่า ถ้ าผู้ใดไม่ซื่อให้
พริ กไทยทลุส ะดือออกมาถึง แก่ ความตาย แล้ วว่าผู้ใดสมัคอยู่ด้วยก็
ตามใจ จะใคร่ กลับไปบ้ านก็ตามเถิด แล้ วงะตอแต่งหนังสือใส่แพลอย
ลงมา ว่าหัวเมืองย่างกุ้งมัตมะหงษาตองอูนนเปนข้ ั้ าของตูหมด สบถ
ถือสัตย์สิ ้นแล้ วณวันนันคื
้ นนัน้ ตูจะลงไปนมัสการพระมหาเจดีย์กองมุ
ตอณเมืองจักแกง ให้ ตาเถ้ าโยมอุปฐากพระเจ้ าองค์ใหญ่ ปลูกตาหนัก
ไว้ รับเสด็จ ตูนมัสการสาเร็ จแล้ ว จะเสด็จเข้ าไปครองสมบัติเมืองอมร
บุรีทีเดียว ผู้ได้ หนังสือถือไปให้ อินแซะ ๆ เห็น ว่าถ้ อยคานันหยาบช้
้ า
หาเอาขึ ้นว่าไม่ ให้ เกณฑ์กองทัพยกขึ ้นไปจับอิก ๒

๓๓
ครัง้ กองทัพทังปวงยกเชื
้ อนไปไม่เข้ าสู่ ส่วนงะตอเห็นเหตุอนั หนึ่งจึ่ง
เลิกทัพ เมื่อจะกลับนันรั
้ บศีลสานักสมภารแขวงเมืองเม่ยตู แล้ วกลับไป
อยู่ในป่ าเมืองมหาแปลง คนแขวงเมืองเม่ยตูซึ่งรู้ เห็น เอาความบอก
แก่กรมการ ๆ บอกลงมาถึงเจ้ าอังวะ ๆ ให้ จบั สมภารมาถามได้ ความว่าให้
ศีลจริง เจ้ าอังวะว่าสมภารเปนครูงะตอให้ เอาไปฆ่าเสีย ฝ่ ายบิดางะตอรู้
ความจึงว่าแก่งะตอว่าตัวทาให้ สมภารพลอยตายเสียดังนี ้ ตัวอย่ามีชีวิต
รอยู่เลย กลับเข้ าไปตายเสียเถิด งะตอกับบ่าว ๓ คนกลับเข้ ามาทาง
เมืองน่าด่านกะแซ ชาวด่านจับตัวงะตอบอกส่งณแมงกวม แต่บ่าว ๓
คนนันหนี
้ กลับไป ตัวงะตอนันเจ้ ้ าอังวะให้ จาด้ วยโซ่ตรวนเปนหลายชัน้
โซ่ตรวนนันก็้ หลุดไป งะตอก็ไม่หนีจากผู้คมุ เจ้ าอังวะให้ มีกะทู้ถามว่า
ตัวทาการหยาบช้ ายกกองทัพเข้ ามาแล้ วเหตุใดจึงกลับ หนี บัดนี ้ตัวคิด
ประการใดจึงกลับเข้ ามาแต่ตวั ผู้เดียวอิกเล่า งะตอให้ การว่า ต้ องคา
ตาหนิตเิ ตียนของพวกเพื่อน ว่าไม่ถึงกาหนดโชคซึง่ จะได้ ราชสมบัติ มา
คิดการด่วนได้ ใจเร็ว เราจะพลอยเสียการด้ วยตัวมักได้ ก็ให้ ไปเอาสมบัติ
แต่ผ้ เู ดียวเถิด จึงเข้ ามาแต่ผ้ เู ดียวดังนี ้ ครัน้ ผู้คมุ ให้ เข้ างะตอ ๆ เอาเท้ า
ถีบเสีย ว่าเข้ าของมึงไม่สมควรแก่กูผ้ เู ปนเชื ้อวงษ์ กระษัตริ ย์ ผู้คมุ บอก
ความไปถึงเจ้ าอังวะ ๆ ให้ สง่ หัวป่ าพ่อครัว ว่างะตอถือตัวว่าเปนเชื ้อวงษ์
กระษัตริ ย์ ให้ พ่อครัวจัดแจงสารับเข้ าใส่ตะลุ่ม แว่นฟ้าเหมือนของ
เจ้ าอังวะ ส่งไปให้ งะตอกินเถิด มันก็จะตายอยูแ่ ล้ ว ๆ ให้ ส่งตัวงะตอลงไป
ไว้ ณศาลาลูกขุนเมืองใหม่ ให้ ตีฆ้องป่ าวชาวเมือง

๓๔
ก็ชวนกันมาถามงะตอ ว่าคิดการอย่างไรจึงทาดังนี ้ งะตอตอบว่ายกมา
จะเอาราชสมบัติแต่ทว่ายังหาถึงกาหนดโชคไม่ จึงไม่สาเร็ จความคิด
อายแก่พวกเพื่อนจึงเข้ ามาสู้ตาย ว่าแล้ วก็หัวเราะ ครัน้ ถ้ วน ๓ วัน
เจ้ าอังวะให้ เอาตัวขึ ้นไปใส่เตาชักด้ วยสูบ ๔ ใบแต่เวลาบ่าย ๓ โมงเศษ
ด้ วยเพราะว่าเปนเชื อ้ กระษัตริ ย์ งะตอไม่ระทดท้ อยืนยิม้ อยู่ในเพลิง
จนถึงเวลาพลบค่า พวกเพ็ชฌฆาฏจึงอ้ อนวอนว่าอย่าทนลาบากไปเลย
งะตอจงว่า สูจะให้ ตายก็ไปเอาน ้ามาให้ กูกิน ครัน้ ได้ กินน ้าแล้ วก็ล้ม
ลงกับที่ พวกเพ็ชฌฆาฏกวาดเอาฝุ่ นทรายทิ ้งทับลงแล้ วก็เลิกกลับไป
 ณศักราช ๑๑๖๘ บขาลนักษัตรอัฐศก ฦๅกันณเมื องอังวะว่ามี
คนดีผ้ หู นึง่ พูดจาอ้ างอวดความรู้ แล้ วสรรเสริญถึงงะตอว่าฆ่าไม่ตายตัว
นันพู
้ ดจาไม่ย่อท้ อต่อกรมการเมืองเปร ๆ เอาตัวไปจาไว้ ใส่โซ่ตรวนก็ไม่
ติด เจ้ าอังวะจึงใช้ เรื อทองลงมาจับเอาตัวขึ ้นไป แล้ วเจ้ าอังวะถามว่างะ
ตอสิให้ ฆ่าตายเสียแล้ ว เหตุใดจึงว่าไม่ตาย ชายแก่คนนันจึ ้ งว่าแก่เจ้ า
อังวะว่างะตอนัน้ เปนเพื่อนลูกศิษย์ครูเดียวดีเหมือนกันกับเรา ซึ่งเอาไป
ฆ่าเสียนันงะตอหาตายไม่
้ ถ้ าตายโยมอุปฐากพระเจ้ าองค์ใหญ่กลัวก็ให้
นิ่งอยูเ่ ถิด อย่ารบกวนเขาวุน่ วาย แม้ นไม่ฟังคาเราว่าจะพากันฉิบหาย
เสียหมด เจ้ าอังวะจึงสัง่ ว่าตาคนนี ้เปนบ้ าอย่าให้ เข้ ามาในวังต่อไป แต่
นันมาสั
้ กสองสามวันชายแก่นนก็ ั ้ หายเงียบไป
 ราชการเมืองพม่านันเห็ ้ นฟั่ นเฟื อนนัก อุเยนมูผ้ รู ักษาสวนหลวง
ทูลเจ้ าอังวะว่า จะขอเรี ยกส่วยต้ นผลไม้ ให้ ได้ ทองปี ละร้ อยชัง่ เจ้ าอังวะ
สัง่ ให้ ทาตามถนัด อุเยนมูเห็นสวนต้ นผลไม้ ของราษฎรผู้ใดดีเอากรุย

๓๕
ไปปั กที่ตาบลนันเปนสวนหลวง
้ โบราณเคยเรี ยกต้ นไม้ ม่ วง ไม้ มะขาม
แต่ต้นละสลึงเงิน สองสลึงเงิน ทุกวันนี ้เรี ยกเอาต้ นละสลึงทอง สองสลึง
ทอง เจ้ าลูกเจ้ าหลานเจ้ าอังวะว่าอุเยนมูเรี ยกส่วยต้ นผลไม้ มากกว่าพิกดั
เก่ า เก็ บ เอาเรื อ กสวนของราษฎรเปนหลวงเสี ย มากมาย ราษฎร
ทังหลายเดื
้ อดร้ อนร้ างที่หนีถิ่นไป ภูมิลาเนาเปล่าว่างร้ า งเซเสียเปนอัน
มาก เจ้ าอังวะว่ามันทาเงินทาทองมาใส่คลังทังนี ้ ้จะไปไหน ก็จะได้ แก่
ลูกหลานทังสิ ้ ้น ถิ่นฐานลาเนาซึง่ เปล่าว่างร้ างนันก็
้ ดี จะได้ เปนที่ช้างม้ า
อาไศรยอิก
 ณศักราช ๑๑๗๐ ปี มโรงนักษัตรสัมฤทธิศกนัน้ ได้ ยินว่าเจ้ าอัง
วะสั่งให้ เก็ บเด็กชายลูกทนายเลือกเอาแต่อายุ ๑๑ ปี ขึน้ ไปได้ ประมาณ
๑๕๐๐ เศษ ลางคนรักลูกเอาทรั พย์ไปช่วยคนทัง้ ครัว เอาแต่ตวั ลูก
ส่งไปแทนบุตรของตัว บิดามารดาทังครั ้ วนันปล่
้ อยเสียเปนไทย ครัน้
เจ้ าอังวะได้ เด็กพร้ อมแล้ ว ให้ พิจารณาไล่เลียงซักถามได้ ความว่า เป
นลูกหมู่แท้ บ้างลางคนก็ช่วยมาแทนตัว คนซึ่งแทนตัวลูกหมู่นนั ้ ก็
เอาไว้ ว่าได้ ด้วยบุญของตน ให้ สืบไล่เอาลูกหมู่เดิมนัน้ จงได้ ผู้ซึ่งเสีย
ทรัพย์ชว่ ยไถ่คนให้ ไปแทนนันให้ ้ อนั ตรธานทรัพย์สญ ู เสียเปล่า
 ข้ อหนึ่งเจ้ าอังวะ คบพวกเพื่อนเด็กเอาเพศเปนทารก ชวนกัน
เที่ยวฉกชิงทิ ้งขว้ างเย่าเรื อนขุนนางชิงของกลางตลาดได้ แล้ วก็เดินกินไป
ข้ อนี ้จะแก้ เหตุอนั ใดไม่แจ้ ง
 ณศักราช ๑๑๗๐ ปี มโรงนักษัตรสัมฤทธิศก อินแซะถึงแก่ความ
ตาย ลูกชายได้ เปนที่แทนณเมืองใหม่นนั ้ เจ้ าอังวะให้ จกั คุสะแข่งผู้น้อง
อินแซะอยูร่ ักษา มีอาญาสิทธิเหมือนอินแซะผู้ตาย
๓๖
 ถึงณศักราช ๑๑๗๑ ปี มเสงนักษัตรเอกศก ให้ พิจารณาลูกชาย
หญิงอันอยูใ่ นเรื อนบิดามารดา แต่อายุ ๑๕ ปี ขึ ้นไป ว่าควรมีเย่าเรื อนได้
ให้ เรี ยกเอาเงินทังครั
้ วเดิมแลลูกขึ ้นเสมอครัวละ ๓๓ บาท ๓ สลึง ๓
เฟื อ้ ง ๓ ไพ ๓ กล่า ๓ กล่อม เจ้ าอังวะสัง่ ให้ เรี ยกเอาเงินแก่ราษฎร
อย่างนี ้ มีรับสัง่ ให้ เรี ยกครัง้ ใด เจ้ าเมืองกรมการให้ เรี ยกเอาแก่แขวง
นายบ้ านนายอาเภอทุกครัวเรื อน ราษฎรเสียเงินให้ ไปไม่เว้ นเรื อน ส่วน
กรมการแลสัสดีเคยบังบาญชีคนไว้ ส่งจานวนเงินไปแต่ บาญชียื่น
ทเบียนไว้ ครัน้ ส่งเงินเข้ าไปเจ้ าอังวะเข้ าใจว่า เจ้ าเมืองกรม การแลสัสดี
ยังบังบาญชีคนไว้ หาได้ เงินไปเข้ าคลังสิ ้นเชิงไม่ สัง่ ออกมาว่าให้ เรี ยก
ส่งจงสิน้ เชิง เจ้ าเมืองกรมการเรี ยกเอาเงินแก่ราษฎรทั่วทังสิ ้ น้ อิกเล่า
เอาส่งไปเข้ าคลังบ้ าง แบ่งกันกินเสียบ้ าง ข้ างเจ้ าอังวะก็เห็นว่าได้ เงิน
ยังหาครบจานวนคนไม่ มีรับสัง่ ลงมาว่าหาสิ ้นเชิงไม่ให้ เรี ยกเอาเงินส่ง
เข้ าไปให้ ครอบครัวเรื อนจงทุกตาบล เจ้ าเมืองกรมการสัสดีเรี ยกเอาเงิน
แก่ราษฎร ตามบาญชีจานวนคนทุกครัวเรื อนอิกเล่าการทังนี ้ ้ก็เปนเรี ยก
เอาเงินเสมอปี ละ ๓๓ บาท ๓ สลึง ๓ เฟื อ้ ง ๓ ไพ ๓ กล่า ๓
กล่อมอยู่ทกุ ปี ราษฎรได้ ความเดือดร้ อนยกอพ ยพหนีทิ ้งที่เย่า
เรื อนเสียเปนอันมาก
 ณศักราช ๑๑๗๒ ปี มะเมี ยนักษัตรโทศก เจ้ าเมื องมัตมะบอก
หนังสือกล่าวโทษอะเติงหวุ่นขึ ้นไป ว่าอะเติงหวุ่นยกทัพลงมาเกณฑ์ เอา
คนเมื อ งมัต มะไปสิ น้ เชิ ง แล้ ว ยกมาตัง้ อยู่ณ ต าบลยองยัน ตัง้ รั ว้
ระเนียดค่ายไม้ จริง ปลูกเรื อนถึง ๑๐ หลัง ทังรี้ แลขวางหลังละ ๙ ห้ อง

๓๗
ตังหอกลองสู
้ งใหญ่ใช้ คนไม่ปรานี ทัง้ เสียด้ วยฆ่าตีแลป่ วยตาย ฝ่ าย
กองทัพที่ยกไปตีเมืองถลางก็ไม่ได้ ไพร่พลเสียซ ้าไปอิ กเปนมากมาย
ฝ่ ายข้ างอะเติงหวุน่ นันท
้ าการเกินขนาด นายทัพนายกองโบราณ จะคิด
อ่านเปนประการใดต่อไปนันไม่ ้ แจ้ งแคลงอยู่
 ฝ่ ายอะเติงหวุน ่ รู้ขา่ วบอกกล่าวโทษเจ้ าเมืองมัตมะว่า ยกลงมา
เกณฑ์เอาคนเมืองมัตมะ เจ้ าเมืองมัตมะก็หาให้ คนครบจานวนเกณฑ์ไม่
กองทัพซึ่งยกไปตีเมืองถลางล้ อมเข้ าไว้ ได้ แล้ ว คนกองทัพน้ อยกว่า
การต้ องถอยทัพเสีย ๆ ไพร่พลล้ มตายทังนี ้ ้เพราะเจ้ าเมืองมัตมะมิปลงใจ
ในราชการ คิดอ่านเอาแต่งานตนขัดขวางบังคนไว้ เอาประโยชน์ใส่ตวั
เจ้ าอังวะจึงมีหนังสือลงมาถึงเมืองมัตมะว่า ถ้ าสิ ้นภิกขุสงฆ์สวุ าณวิฬ าร์
หามีในเมืองมัตมะไม่ เห็นว่าเมืองมัตมะจะไม่มีคน ให้ เร่งเกณฑ์
คนเมืองมัตมะแต่อายุ ๑๑ ปี ๑๒ ปี ให้ อะเติง หวุ่นให้ พอราชการจงได้
กับข้ อหนึ่งว่า ภิกษุสงฆ์รูปใดพอใจบวชอยู่ร่ าเรี ยนก็ให้ คิดอ่านทาไร่
นาค้ าขายหากินเอง ห้ ามอย่าให้ สัปรุ ษทายกทาบุญให้ ทานด้ วย เมื่ อ
มหาโค มหากฤช ยังตกอยู่ณแขวงเมืองมัตมะนัน้ ได้ ยินข่าวว่าให้
หาอะเติงหวุน่ เปนหลายหน ฝ่ ายอะเติง หวุน่ บอกขัดว่า เจ้ าลูกเจ้ าหลาน
ให้ หา มิใช่เจ้ าข้ ากัน ต่อเจ้ าอังวะให้ หาจึงจะกลับไป
 เมื่อมหาโคมหากฤชออกจากเมืองอังวะ ลงมาอยูต ่ าบลวัดบ้ า
นกยอกกี่วสั สาหนึง่ แล้ วลงมาอยูณ ่ บ้ านแลกป่ านระหว่างแขวง
๓๘
เมืองจิตตองวัสสาหนึ่ง ครัน้ ถึงศักราช ๑๑๗๐ ปี มโรงนักษัตรสัมฤทธิ ศก
ลงมาอยูณ ่ เกาะขเอิงแขวงมัตมะวัสสาหนึง่ นัน้ มหาโคมหาฤชได้ ยินข่าว
ว่า อะเติงหวุ่นยกทัพจากอังวะมาถึงมัตมะ ตังทั ้ พอยู่ณวัดทุ่งวัดวังกะ
ปอ เกณฑ์เอาคนเมืองมัตมะให้ ตงล้ ั ้ อมรักษากองทัพอ้ ายพม่าทัง้ ปวง
ไม่ให้ หนี แล้ วยกข้ ามฟากมาเมืองเมาะลาเลิง คนกองทัพยกหนีพวก
หนึ่งทัง้ นายทัง้ ไพร่ เปนคนสามพัน ครัน้ ถึงณเดือน ๑๒ มหาโค มหา
กฤชค่อยเลื่อนมาตามลาเนากะเหรี่ ยง มาถึงกองทัพอ้ ายพม่ารักษาด่าน
เมื องตรางณเดือน ๓ แรม ๔ ค่า อ้ ายพม่าได้ ข่าวว่าทัพ เชี ยง ใหม่ยก
ออกไปตีทพั อ้ ายพม่าณเมืองตราง อ้ ายพม่าใช้ กองตระเวนออกสืบถึง
แม่น ้า คงไม่ได้ เนื ้อความแล้ วก็สงบไป มหาโค มหากฤชอุบายความเดิน
มาตามลาเนากะเหรี่ ยงอิก ๑๑ วันถึงเมืองยอม พักอยูส่ องวัน แล้ ว
ชาวด่านพาส่งเข้ ามาถึงเมืองเชียงใหม่ณเดือน ๔ แรม ๔ ค่า ท้ าวเทพ
เมืองเชียงใหม่ถามว่ามาด้ วยกิจสิ่งใด มหากฤชบอกว่ารฦกถึงถิ่นฐาน
บ้ านเมืองณกรุ งไทย กับทังจะใคร่
้ ชมพระบรมโพธิสมภารจึงมา แล้ ว
พระยาอุ ป ราชถามถึ ง ราชการเมื อ งพม่ า แลมาถามว่ า ถ้ ากอง ทัพ
กรุงเทพมหานครศรี อยุทธยายกไปตีเมืองพม่านันเห็ ้ นจะได้ ฤๅไม่ได้ มหา
โค มหากฤช บอกข้ อราชการตามสังเกตมา แม้ นกรุงเทพมหานครศรี อ
ยุทธยายกกองทัพไปมากหลายทาง เห็นจะได้ เมืองพม่า เมื่อมหาโค
มหากฤช มาอาไศรยอยูณ ่ วัดรามัญใน ๗ วันนัน้ ได้ ร้ ูเห็นว่าพระยา
อุปราชเมืองเชียงใหม่ พระยาอุปราชเมือง

๓๙
เมื องล าพูน กับทัง้ เมื องนครล าปาง เกณฑ์ กองทัพจับการจัดแจงคน
๕๐๐๐ นอกนันกองทั
้ พยางแดงกับทังทั
้ พซึ่งยกขึ ้นไปช่วยมหาขนานนัน้
จะยกออกไปตีทัพ อ้ ายพม่า ๓๐๐๐ ซึ่ง ตัง้ รั กษาอยู่ณตาบลกะเติง ติ
อั น เปนหนทางเมื อ งเชี ย งใหม่ มั ต มะเ มื อ งตองอู ย่ า งกุ้ งร่ ว มกั น
กาหนดทัพ นัน้ จะยกณเดื อน ๕ ขึน้ ๒ ค่า จุลศักราช ๑๑๗๒ ปี มเมี ย
นักษัตรโทศกนี ้ ขอเดชะลอองธุลีพระบาทปกเกล้ าปกกระหม่อม

You might also like