Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 149

๑๓๑

ที่ราชทูตฝรั่งเศสจะได้ เข้ าเมือง ราชทูตฝรั่งเศสได้ สงั่ ให้ บาดหลวง


ตาชาด์ไปจัดการ ๒ ข้ อ ซึง่ ดําเนินความตามคําสัง่ ที่ราชทูตได้ รับ
จากรัฐบาลฝรั่งเศสมาแล้ ว ข้ อ ๑ นันเกี ้ ่ยวถึงแบบแผนและ
ขนบธรรมเนียมในการเฝ้าพระเจ้ าแผ่นดิน และให้ ไปชี ้แจงให้ ไทย
ทราบถึงเกียรติยศต่าง ๆ ที่ประเทศฝรั่งเศสได้ ทําให้ แก่ราชทูตสยาม
ในเวลาที่ราชทูตสยามอยู่ในเมืองฝรั่งเศส กับให้ เตือนในข้ อสัญญา
ต่าง ๆ ที่คอนซตันตินฟอลคอน ได้ สญ
ั ญาไว้ ในเรื่ องยกป้อมให้ แก่
ฝรั่งเศสในเรื่ องที่จะบํารุงอุดหนุนสาสนาคริ ศเตียนด้ วย คําสัง่ ข้ อ ๒
ที่ราชทูต
ฝรั่งเศสได้ สงั่ ให้ บาดหลวงตาชาด์ไปจัดการนัน้ ราชทูตได้
กําชับเปนความลับไปก่อน เพราะคําสัง่ อันนี ้เกี่ยวถึงการยกย่องคุณ
ความดีของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ซึง่ ได้ ทรงเชื่อถือกระดาษแผ่นเดียวอันมี
ลายเซ็น
ของเสนาบดีชาวต่างประเทศเท่านัน้ จนถึงกับทรงอุสาหะจัดเรื อห้ าลํา
กับกองทหารให้ ไปหนทางอันไกลจากประเทศฝรั่งเศส เพื่อพระราช
ประสงค์ให้ ทหารเหล่านี ้ ได้ ทําราชการของพระเจ้ ากรุงสยาม ฯ จะ
ได้ ทรงจัดทหารเหล่านี ้ให้ ไปพิทกั ษ์รักษาที่แห่งใด ๆ ได้ แล้ วแต่จะพระ
ไทยเช่นนี ้ เพราะเหตุฉนี ้ราชทูตฝรั่งเศสจึงขอร้ องให้ ไทยจัดการ
ตามสัญญา ซึง่ ได้ มอบธุระให้ บาดหลวงตาชาด์ไปพูดที่
พระราชวังเวอซายโดยเร็วด้ วย คือขอร้ องให้ ยกบางกอกและเมืองม
ริดให้ แก่ฝรั่งเศสโดยทันที และผู้รักษาเมืองกับผู้บงั คับการทหารในที่
สองแห่งนี ้จะต้ องเปนคนฝรั่งเศส เพื่อให้ เปนคุณเปนประโยชน์แก่
พระเจ้ ากรุงสยามและพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส เปนประโยชน์แก่การค้ าขาย
ของประเทศ

๑๓๒
ทังสอง
้ และเพื่อประโยชน์ของสาสนาคฤศเตียนด้ วย ในท้ ายคําสัง่
นี ้มีความว่า
“ในเรื่ องเมืองมริดและบางกอกนี ้ ขอท่านบาดหลวงตาชาด์อย่า
ฟั งเสียงอย่างอื่นเลยเปนอันขาด เพราะพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสได้
ทรงกําชับมิให้ เราจัดการอย่างอื่นในเรื่ องนี ้เลย”
แต่การที่บาดหลวงตาชาด์ได้ รับคําสัง่ จากราชทูตไปเช่นนี ้
บาดหลวงตาชาด์มิได้ ปฏิบตั ิตามคําสัง่ นอกจากเฉภาะในสิ่งที่ตรงกับ
ความมุง่ หมายของตัวและตรงกับดําริห์ของบาดหลวงเดอลาเชซ และ
หัวหน้ าคณะของตัวเท่านัน้ บาดหลวงตาชาด์ได้ ทํากิริยาภายนอกเป
นทีวา่ เห็นด้ วยกับราชทูตทังนั ้ น้ และได้ ทํากิริยาอย่างสุภาพซึง่
ภายหลังได้ เห็นกันโดยชัดว่า เปนแต่ความอุบายของบาดหลวงตาชาด์
เท่านันเพราะตาชาด์
้ มงุ่ แต่จะหาดีใส่ตวั และตังใจแต่
้ จะทําการให้ แก่
ฟอลคอนและทําการให้ เปนประโยชน์แก่คณะของตัวเท่านัน้ ถึงการ
ที่ทําไปนันจะเปนการเสื
้ ่อมเสียพระเกียรติยศของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส
บาดหลวงตาชาด์ก็หาได้ เหลียวแลไม่ จนที่สดุ เมื่อราชทูตจะขึ ้นบก
มองซิเออร์ เซเบเรต์ก็ได้ ชวนบาดหลวงตาชาด์มาสนทนาในเรื่ อง
ความลับต่าง ๆ แต่บาดหลวงตาชาด์พดู ตัดความอย่างเด็ดขาดว่า ถ้ า
จะทําความติดต่อกับคอนซตันซ์แล้ ว ก็จะต้ องทําการโดยบอกความ
จริงใจให้ คอนซตันซ์ทราบทุกอย่าง จะทําลับลมคมในไม่ได้ และการ
ที่จะพูดจากับคอนซตันซ์นนั ้ ถึงจะมีวิธีพดู เปนอุบายอย่างไร ก็ไม่
เปนประโยชน์สําหรับที่จะพูดกับคอนซตันซ์เลย

๑๓๓
ตังแต่
้ วนั แรกที่ราชทูตฝรั่งเศสได้ ไปถึงเมืองไทย ราชทูตฝรั่งเศส
ทังสองคนก็
้ ได้ เกิดแตกร้ าวบาดหมางกับเสนาบดีไทยเสียแล้ ว เพราะ
เมื่อได้ ไปถึงสันดอนแม่นํ ้าเจ้ าพระยา มองซิเออร์ ลาลูแบร์ กบั มองซิ
เออร์ เซเบเรต์ก็เกิดสงไสยในใจ ด้ วยเห็นกิริยาอันน่าสงไสยของ
บาดหลวงตาชาด์ ทังได้ ้ รับข่าวอันน่าเสียใจด้ วย เพราะเมื่อเรื อได้
ไปถึงสันดอน มองซิเออร์ เวเรต์ก็ลงไปหาราชทูตฝรั่งเศสในเรื อ และ
ได้ เล่าเรื่ องต่าง ๆ ให้ ฟัง คือ ๑ เรื่ องเชอวาเลียเดอฟอร์ แบงต้ อง
เสียชื่อจนถึงกับต้ องออกจากเมืองไทยไปยังฝั่ งคอโรมันเดล ๒ ความ
บีบคันและความหยิ
้ ่งจองหองของคนโปรดที่เปนชาติกริก ๓ เรื่ อง
แขกมากาซาเกิดจลาจลขึ ้น ซึง่ ได้ ปราบให้ สงบลงได้ ด้วยกําลังของ
พวกฝรั่งเศสไปช่วย ๔ เรื่ องพวกอังกฤษที่เมืองมริดถูกผู้ร้ายฆ่าตาย
๕ เรื่ องอังกฤษอุบายประกาศสงครามกับพระเจ้ ากรุงสยาม ๖ เรื่ อง
อังกฤษจะส่งเรื อมา ๒๕ ลํากับทหาร ๗๐๐๐ คน เรื อและทหารเหล่านี ้
จะได้ มาจากปากแม่นํ ้าแกนซ์ เพื่อมาทําการแก้ แค้ นต่อไทยอย่าง
สาหัศ และยังมีเรื่ องอื่น ๆ ที่มองซิเออร์ เวเรต์นํามาเล่าให้ ราชทูตฟั ง
อีกหลายเรื่ อง เพราะมองซิเออร์ เวเรต์กําลังโกรธแค้ นไทยอยูจ่ งึ ได้ เล่า
อะไรต่ออะไรเรื่ อยไป และเรื่ องที่เล่าต่าง ๆ นันก็ ้ เป็ นเรื่ องที่ไม่ตรงกับ
ความจริงก็มี เปนเรื่ องที่เท็จก็มี ซึง่ ราชทูตฝรั่งเศสทังสองคนได้ ้ ฟัง
และเชื่อเอาเปนจริงทังหมดเสี้ ยด้ วย ครัน้ มีข้าราชการไทยขึ ้นไปบนเรื อ
สองคนโดยที่ราชทูตไม่ร้ ูตวั ว่าจะมา และข้ าราชการไทยก็สอดส่อง
เห็นการในเรื อทัว่ ไป ก็กลับทําให้ ราชทูตฝรั่งเศสไม่ไว้ ใจหนักขึ ้นไปอีก

๑๓๔
จดหมายต่าง ๆ ที่บาดหลวงตาชาด์เปนผู้นํามาส่งให้ มองซิเออร์
ฟอลคอนนัน้ บาดหลวงตาชาด์ได้ แต่งเปนภาษาปอตุเกตหมดทุกฉบับ
ซึง่ เปนเหตุทําให้ มองซิเออร์ เซเบเรต์ขดั เคือง ด้ วยเกิดถือตัวขึ ้นมา
ว่าเปนการไม่สมควร มองซิเออร์ เซเบเรต์จงึ คัดค้ านไม่ยอมให้ ใช้ ภาษา
ปอตุเกต ซึง่ เปนภาษาต่างประเทศในเวลาที่จะเจรจาการงานต่าง ๆ
เพราะเหตุวา่ ภาษาฝรั่งเศสเปนภาษาที่ดีสําหรับพูดจาเข้ าใจกันได้ ง่าย
ทังเปนภาษาที
้ ่สมควรแก่เกียรติยศของราชทูตด้ วย แต่บาดหลวง
ตาชาด์ก็ทําเฉยเสีย และมองซิเออร์ ฟอลคอนก็เจตนาแกล้ งยัว่ ตอบ
ราชทูตฝรั่งเศสเปนภาษาปอตุเกตทุกเรื่ องไป
ข้ างฝ่ ายมองซิเออร์ ลาลูแบร์ ก็เกิดความปลาดใจขึ ้นว่าเหตุใด
ไทยจึงชักช้ าไม่รีบต้ อนรับราชทูต ครัน้ ทราบว่าฟอลคอนไม่เต็มใจที่จะ
ให้ เกียรติยศเท่าเทียมกับราชทูตจริง ๆ เพราะถือว่าลาลูแบร์ กบั เซเบ
เรต์เปนแต่เพียงเอนวอยพิเศษเท่านัน้ ลาลูแบร์ ก็ขดั เคืองอย่างที่สดุ
ครัน้ บาดหลวงตาชาด์ได้ กลับมาถึงเรื อ จึงได้ เกิดข้ อวิวาทกันอย่าง
ใหญ่โตเพราะฟอลคอนจะต้ องการให้ ราชทูตฝรั่งเศสได้ กระทําความ
เคารพต่อพระเจ้ ากรุงสยาม ในชันแรกราชทู
้ ตฝรั่งเศสไม่ยอมทังสอง้
คน ครัน้ ภายหลังก็ตกลงยอมกระทําความเคารพต่อพระเจ้ ากรุง
สยาม เพราะถือเสียว่าการเคารพกันนัน้ ก็เปนแต่พิธีอนั มีหลายพัน
อย่างในฝ่ ายทิศ ตวันออก ครัน้ ราชทูตฝรั่งเศสได้ ตกลงยอมในการ
กระทําความเคารพต่อพระเจ้ าแผ่นดินแล้ ว จึงได้ ทราบจากบาดหลวง
ตาชาด์คนสนิทของฟอลคอน ว่าคําที่ใช้ กนั ว่ากระทําความเคารพนัน้
ความจริงนันจะ

๑๓๕
ต้ องทําอย่างไร ฝ่ ายฟอลคอนก็ตกลงในใจและยืนคําอยู่วา่ ถ้ าพวก
ฝรั่งเศสไม่ยอมถือนํ ้าสาบาลตัวว่าจะมีความจงรักภักดีซื่อสัตย์สจุ ริ ตต่อ
พระเจ้ ากรุงสยาม และต่อตัวของฟอลคอนอยูต่ ราบใด ฟอลคอนก็
จะไม่ยอมมอบบางกอกให้ แก่ทหารฝรั่งเศสอยู่ตราบนัน้ บาดหลวง
ตาชาด์ได้ ชี ้แจงแก่ราชทูตว่า
“คอนซตันซ์เปนถึงอรรคมหาเสนาบดีเพราะฉนันเมื ้ ่อคอนซตันซ์
จะลงมาที่บางกอกคงไม่ยอมมาอย่างคนสามัญเพราะคอนซตันซ์
มีหน้ าที่แต่จะบังคับการและบังคับผู้คนทัว่ ไป”
ราชทูตฝรั่งเศสจึงตอบว่า
“ถ้ าจะให้ สาบาลตัวว่าจะมีความซื่อสัตย์กตัญํูตอ่ พระเจ้ า
แผ่นดินสยาม ตามแบบแผนที่พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ได้ เคยให้ ทํา
มาก็ได้ ไม่ขดั ข้ องอะไร แต่ที่จะให้ สาบาลตัวต่อคอนซตันซ์เปน
ไม่ได้ เปนอันขาด”
บาดหลวงตาชาด์จงึ นําความมาบอกฟอลคอนว่าราชทูตฝรั่งเศส
ไม่ยอมสาบาลตัวฟอลคอนจึงได้ ตอบบาดหลวงตาชาด์เปนอุบายว่า
สมเด็จพระนารายน์คงจะไม่ต้องพระราชประสงค์ที่จะให้ ราชทูตฝรั่งเศส
สาบาลตัว เพราะทรงไว้ วางพระราชหฤทัยในราชทูตเปนอันมาก แต่
ส่วนตัว ฟอลคอนเองนันก็ ้ ไม่ได้ คิดอะไรนอกจากมีความมุง่ หมายจะให้
ประเทศทังสองได้
้ มีความเจริ ญรุ่งเรื องเท่านัน้ แล้ วฟอลคอนจึงได้
อธิบายแก่บาดหลวงตาชาด์ตอ่ ไปว่า

๑๓๖
“ข้ าพเจ้ าต้ องขอบอกกล่าวให้ ทา่ นทราบอิกครัง้ ๑ ว่า ข้ าพเจ้ า
ไม่ได้ คดิ มักใหญ่ใฝ่ สูงในทางราชการ หรื อไม่ได้ คิดที่จะบังคับ
ปกครองคนอื่น ข้ าพเจ้ าจึงต้ องพูดและทําเช่นนี ้ เพราะใคร ๆ ก็
ย่อมทราบอยู่แล้ วว่าข้ าพเจ้ าดํารงอยู่ในตําแหน่งอันสูงและปกครอง
ผู้คนอยูใ่ นตัวแล้ ว อิกประการ ๑ ข้ าพเจ้ าก็ร้ ูตวั ว่าการที่มียศถา
บันดาศักดิแ์ ละมีอํานาจในสมัยนี ้ไม่ได้ เปนผลดีอะไรเลย เพราะ
ข้ าพเจ้ าต้ องรับความรํ าคาญและเดือดร้ อนในหน้ าที่นี ้มามากแล้ ว
ท่านเองก็ทราบอยู่เต็มใจว่าเมื่อข้ าพเจ้ าได้ เห็นการที่ดําริ ห์กนั นี ้เปน
การสําเร็จซึง่ ข้ าพเจ้ าจะไม่ต้องวุน่ วายด้ วยอิกต่อไปแล้ วข้ าพเจ้ า
ก็ต้องการลาออกพักเสียคราว ๑“
และเพื่อจะแสดงให้ เห็นจริ งว่าฟอลคอนจะต้ องการลาออกพักเสีย
คราว ๑ นัน้ ฟอลคอนจึงได้ ปฤกษากับบาดหลวงตาชาด์และจัดการร่าง
หนังสือสัญญาขึ ้นฉบับ ๑ มีความอยู่ ๑๕ข้ อร่างสัญญาฉบับนี ้บาดหลวง
ตาชาด์ได้ นํามาส่งให้ แก่ราชทูตฝรั่งเศส ในสัญญาที่ร่างขึ ้นนันในข้
้ อ๑
มีความว่า
“กองทหารฝรั่งเศสซึง่ ประจําอยูท่ ี่บางกอกและที่เมืองมริ ดจะอยู่
ในบังคับคนไทยหรื อบังคับคนชาวต่างประเทศคน๑คนใดไม่ได้
เปนอันขาด แต่จะต้ องกระทําตามคําสัง่ ซึง่ อรรคมหาเสนาบดี
จะได้ สงั่ มาอันไม่ผิดกับคําสัง่ ของสมเด็จพระเจ้ าแผ่นดินฝรั่งเศส”

๑๓๗
นอกจากนี ้ข้ อความในหนังสือสัญญาที่ฟอลคอนได้ ร่างขึ ้นนันมี
้ ความ
ว่า ๑ สมเด็จพระเจ้ ากรุงสยาม จะได้ รับสัง่ ให้ แม่ทพั ฝรั่งเศสชักพล
ทหารไปทําราชการไม่เกินว่าครึ่งของจํานวนทหารที่มีอยู่ เพื่อจะ
ได้ ไม่ให้ กําลังของกองทหารน้ อยลงไป ๒ บรรดานายทหารซึง่ บังคับ
กองทหารและซึง่ ไม่ใช่คนชาติฝรั่งเศส ผู้ใดจะตังแต่
้ งไม่ได้
นอกจากฟอลคอนจะเปนผู้ตงแต่ ั ้ งได้ แต่คนเดียว ๓ แปลนและแบบ
ต่าง ๆ สําหรับทําการก่อสร้ างและสําหรับสร้ างป้อมนันจะต้ ้ องเสนอต่อ
ฟอลคอน เสียก่อนเมื่อฟอลคอนเห็นชอบด้ วยแล้ วจึงจะเปนอันทําได้
๔ การให้ บําเหน็จรางวัล และการลงโทษ จะได้ ทําก็แต่เมื่อฟอลคอน
ได้ เห็นชอบและได้ อนุญาตแล้ ว ๕ คนทุก ๆ คนคือ ผู้รักษาป้อม
แม่ทพั นายทหาร และพลทหาร จะต้ องฟั งบังคับบัญชาฟอลคอน
ทุกอย่าง ๖ ถ้ าจะมีข้อโต้ เถียงกันอย่างใดก็ให้ นําความกราบทูลพระ
เจ้ าแผ่นดินแปลว่าฟอลคอนกับบาดหลวงตาชาด์ซงึ่ จะได้ เปนผู้ตดั สิน
โดยเด็ดขาด
ในร่างสัญญาฉบับนี ้ยังมีข้อสัญญาลับอยูอ่ ิกข้ อ ๑ มีความว่า
“ข้ อสัญญาเหล่านี ้ได้ เปนอันตกลงยินยอมกันในระหว่างมองซิเออร์
คอนซตันซ์และบาดหลวงตาชาด์ ผู้ซงึ่ ได้ นําความแจ้ งให้ แก่ทา่ น
มองซิเออร์ ลาลูแบร์ และมองซิเออร์ เซเบเรต์แล้ ว และท่านทัง้
สองนี ้ก็ได้ สาบาลตัวต่อหน้ าคัมภีร์แล้ วว่าข้ อความเหล่านี ้จะได้
ปกปิ ดไว้ เปนความลับจะไม่บอกเล่าแพร่ งพรายให้ ผ้ ใู ดทราบเลย
และ
๑๘

๑๓๘
ได้ สญ
ั ญาว่าจะไม่เอาข้ อความเหล่านี ้ลงในหนังสือจดหมายเหตุ
และจะไม่บอกให้ ใครรู้ทงทางอ้
ั้ อมและทางตรง เว้ นแต่สมเด็จ
พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส และท่านมาควิศเดอเซงแลเท่านัน้ และ
การที่จะกราบทูลและบอกเล่าแก่ท่านทังสองนี ้ ้ก็จะกราบทูลและ
บอกเล่าด้ วยปาก มิให้ ปรากฎเปนลายลักษณ์อกั ษรขึ ้นได้ เลย”
ตามที่ฟอลคอนได้ ร่างหนังสือสัญญามีข้อความเช่นนี ้ ก็เท่า
กับกองทหารฝรั่งเศสอยูใ่ นอํานาจสิทธิ์ขาดของฟอลคอนคนโปรด เมื่อ
ราชทูตได้ อา่ นตรวจดูก็เห็นว่าสัญญานี ้จะให้ เปนไปตามนี ้ไม่ได้ และ
มองซิเออร์ เซเบเรต์ก็พดู ว่า “การเรี ยบเรี ยงข้ อสัญญาเหล่านี ้ไม่ได้
ถ้ อยความอย่างใดเลย” แต่ฝ่ายบาดหลวงตาชาด์นนเห็ ั ้ นชอบด้ วยตาม
ข้ อสัญญาที่ร่างมานันและยื
้ นยันว่าข้ อความเหล่านี ้ตรงกับพระราชดําริห์
พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ และตรงกับดําริห์ของมาควิศเดอเซงแลทุกประการ
เมื่อการเปนดังนี ้พวกราชทูตฝรั่งเศสต้ องทําความตกลงในใจใน ๓ อย่าง
นี ้ คือ ๑ จะต้ องกลับไปยังประเทศฝรั่งเศสโดยมาราชการคราวนี ้มิได้
จัดการอย่างใดได้ เลยจนสักอย่างเดียว หรื อ ๒ จะให้ ขาดพระราชไมตรี
และจะยกกองทหารเข้ าตีและยึดเอาบางกอกให้ จงได้ หรื อ ๒ จะยอม
ตามข้ อสัญญาวิปลาศเหล่านี ้
พวกราชทูตฝรั่งเศสจึงได้ ประชุมปฤกษาหารื อกัน ข้ อ ๑ พวก
ฝรั่งเศสทังหลายไม่
้ เห็นชอบด้ วยเปนอันงดไม่ต้องนึกถึง ส่วนข้ อ ๒ นัน้
มองซิเออร์ เดฟาช์ได้ อธิบายชี ้แจงว่า ตัวมองซิเออร์ เดฟาช์เองก็ยอม

๑๓๙
ตายที่บางกอก แต่ในเวลานันซึ ้ ง่ มีพลทหารน้ อยลงทังหมดกํ
้ าลังวังชา
ด้ วยเหน็จเหนื่อยบอบชํ ้ามาตามทาง จึงเปนการไม่เหมาะที่จะยกกอง
ทหารเข้ าตีบางกอก ตกลงคงเหลือแต่ข้อ ๓ ซึง่ เปนการจําเปนจําใจ
โดยแท้ ราชทูตฝรั่งเศสจึงได้ ยอมเซ็นหนังสือสัญญานันซึ ้ ง่ เปนการทํา
ให้ บาดหลวงตาชาด์ดีใจอย่างยิ่ง เพราะตาชาด์เห็นว่าข้ อสัญญาเหล่านี ้
จะเปนคุณเปนประโยชน์แก่ตวั ของตัวหลายพันอย่าง การที่บาดหลวง
ตาชาด์ได้ แสดงความยินดีเช่นนี ้ก็ทําให้ ราชทูตฝรั่งเศสทังสองคนขั
้ ดเคือง
มาก ราชทูตทังสองเห็
้ นว่าบาดหลวงตาชาด์ทําการผิดปรกติอนั น่าสงสัย
เมื่อวันที่ ๑๘ เดือนตุลาคม มองซิเออร์ เดฟาช์ได้ นํากองทหาร
ฝรั่งเศสเข้ าไปที่บางกอก รุ่งขึ ้นอิกวัน ๑ พวกราชทูตก็ได้ ขึ ้นบกแล้ ว
จึงได้ ลงเรื อยาวอันประดับประดาอย่างงดงามซึง่ เจ้ าพนักงานได้ เตรี ยม
คอยไว้ ในเรื อยาวลํานี ้มีฉตั ร์ สามชันอย่้ างเดียวกับฉัตร์ สําหรับเจ้ านาย
และมีเรื ออิกเปนอันมากได้ แห่นําล้ อมเรื อราชทูตขึ ้นไปตลอดจนถึงกรุง
ศรี อยุธยา พิธีการรับรองคราวนี ้เหมือนกับที่ไทยจัดรับคราวเชอวาเลีย
เดอโชมอง แต่ไทยได้ ให้ เกียรติยศแก่ราชทูตคราวนี ้เปนพิเศษซึง่
มิได้ มีครัง้ เชอวาเลียเดอโชมองมาเปนราชทูต เกียรติยศพิเศษคราวนี ้
คือมีปี่กลองและเครื่ องดนตรี ซึง่ มองซิเออร์ เซเบเรต์เล่าว่าฟั งแต่ไกล
เปนอันฟั งไม่ถกู หูเลย
การที่ไทยได้ จดั รับรองราชทูตฝรั่งเศสเช่นนี ้ ดูภายนอกเหมือน
ประหนึง่ การที่วิวาทกันเมื่อสองสามวันก่อนเปนอันสงบเรี ยบร้ อยกันไป
แล้ ว

๑๔๐
แต่ถึงจะอย่างไรก็ตามข้ อที่เกิดสงสัยกันขึ ้นก็ยงั คงสงสัยระแวงอยูน่ นั่ เอง
และการที่จะปรองดองกันต่อไปก็นบั ว่าเปนอันหมดหนทางที่จะปรองดอง
กันได้ แล้ ว
พอไปถึงบางกอกทหารก็ได้ ยิงปื นใหญ่รับราชทูต แล้ วราชทูต
ก็ได้ ขึ ้นไปดูป้อมซึง่ นายช่างเดอลามาร์ กําลังสร้ างอยูใ่ นที่นนทํ
ั ้ าเปนเนิน
ใหญ่หนา ๒๐ ฟิ ต แต่ยงั เปนโคลนเลอะไปหมดต่อน่าแล้ งแดดเผาดิน
นันจึ
้ งจะแขงตัว กองทหารฝรั่งเศสได้ เข้ ามาพักในที่นี ้ซึง่ อากาศไม่ดีเลย
และถึงมองซิเออร์ เซเบเรต์จะระวังสักปานใดโดยแจกจ่ายเสบียงอาหารให้
บริบรู ณ์และจ่ายฟูกให้ ทหารคนละผืนก็หาฟั งไม่ ด้ วยพลทหารและ
นายทหารก็ล้มเจ็บกันโดยมาก และได้ ตายด้ วยโรคบิดก็มาก ในเวลา
นันมี
้ ทหารไทยและปอตุเกตรักษาป้อมนี ้อยูร่ วม๔๐๐คนและคอนซ
ตันติน ฟอลคอนก็จะต้ องการให้ ทหารไทยกับปอตุเกตเหล่านี ้ได้ อยู่รวมกัน
กับทหารฝรั่งเศสที่มาใหม่
พอมองซิเออร์ เดฟาช์ได้ ไปอยู่ที่บางกอกไม่ทนั กี่วนั เลยคอนซตัน
ตินฟอลคอนก็เลือกเอานายทหารฝรั่งเศส และนักเรี ยนนายร้ อยบางคน
ให้ เปนผู้บงั คับกองทหารไทย การที่ฟอลคอนเลือกนายทหารฝรั่งเศส
เช่นนี ้ มองซิเออร์ เดฟาช์ก็หาทราบเรื่ องไม่ และถ้ าจะคิดดูก็เปน
วิธีอนั ฉลาดสําหรับบังคับทางอ้ อม ให้ นายหารฝรั่งเศสได้ ทําราชการ
ของพระเจ้ ากรุงสยามต่อไป คอนซตันตินฟอลคอนจึงได้ ยกย่อง
และให้ ของแจกแก่นายทหารฝรั่งเศส ยังไม่ใช่แต่เท่านันฟอลคอนยั ้ ง

๑๔๑
จัดการเอาอกเอาใจพวกพลทหารฝรั่งเศส เพื่อจะได้ ให้ พลทหารมีความ
รักตัวของตัว กล่าวคือฟอลคอนได้ ประกาศว่า ตัวจะได้ ออกทุนทรัพย์
ส่วนตัว สําหรับจะเลี ้ยงดูทหารฝรั่งเศสมีกําหนด ๑๕ วัน และว่าพระ
เจ้ ากรุงสยามจะได้ โปรดพระราชทานมุ้งให้ แก่ทหารคนละหลัง เพื่อ
กันไม่ให้ ริน้ ยุงกัดได้
การที่ฟอลคอนได้ จดั การดังนี ้และได้ ต้อนรับมองซิเออร์ เดฟาช์เปนอ
ย่างดี จึงทําให้ มองซิเออร์ เดฟาช์พอใจโอนอ่อนเข้ าหาฟอลคอน และ
ได้ รับรองกับฟอลคอน ว่าต่อไปเดฟาช์จะมีความจงรักภักดีตอ่ ฟอลคอน
แล้ วเดฟาช์จงึ ได้ คิดจะจัดทหารปื นใหญ่ ซึง่ ได้ พามาจากฝรั่งเศสด้ วย
นัน้ ให้ ไปเปนทหารรักษาตัวฟอลคอนโดยเฉภาะ แต่ฟอลคอนได้ ปฤกษา
กับบาดหลวงตาชาด์ในเรื่ องนี ้ ตาชาด์ได้ ออกความเห็นว่า เวลา
นี ้ยังไม่เหมาะที่จะเอาทหารมารักษาตัวเช่นนี ้ ฟอลคอนจึงไม่
ยอมรับทหารปื นใหญ่มารักษาตัวดังเดฟาช์ได้ คดิ ไว้ เปนแต่ฟอล
คอนได้ สง่ ข้ อบังคับไปยังเดฟาช์ ซึง่ ยกอํานาจการลงโทษทหารให้ แก่
ฟอลคอนข้ อบังคับอันนี ้ถ้ าจะว่าไป ก็ผิดด้ วยข้ อสัญญาทังหลายทั
้ ง้
ปวง แต่ถึงดังนันบาดหลวงตาชาด์
้ ก็ได้ เซ็นชื่อในตําแหน่งเลขานุการ
ของฟอลคอนลงไปด้ วย
การที่เปนไปเช่นนี ้ กระทําให้ ราชทูตฝรั่งเศสทังสองคนปลาด

ใจเปนอย่างยิ่ง และที่ฟอลคอนได้ เอาทหารไทยอยูร่ วมกับทหาร
ฝรั่งเศสที่บางกอกนัน้ ราชทูตทังสองก็
้ ได้ รับร้ องคัดค้ านอย่างแขงแรง
เพราะการที่จะเอาทหารมารวมปนกันเช่นนี ้ ไม่เคยมีตวั อย่างเลย
ประเทศ

๑๔๒
ใดในทวีปยุโหรปได้ เคยไปรักษาเมืองในอินเดียเช่นนี ้บ้ าง ไม่เคยมีเลย
นอกจากจะไปรักษาโดยเต็มอํานาจของตัว อีกประการหนึง่ การที่
ฝรั่งเศสมาอยูใ่ นบังคับบัญชาของพระเจ้ าแผ่นดินสยามเช่นนี ้ ถ้ าหากว่า
พระเจ้ าแผ่นดินสยามสวรรคตลง หรื อถ้ าคนโปรดของพระเจ้ าแผ่นดิน
จะเกิดเสียชื่อจนหมดอํานาจลง หรื อหากว่าประเทศใด ๆ จะยก
กองทัพเข้ ามาตีเมืองไทยดังนี ้ กองทหารฝรั่งเศสอันอยูใ่ นอํานาจของ
ไทยจะทําประการใดเล่า
ในเรื่ องนี ้มองซิเออร์ ลาลูแบร์ มองซิเออร์ เซเบเรต์ กับบาดหลวง
ตาชาด์ ได้ ประชุมปฤษาหารื อกันอยูช่ ้ านาน บาดหลวงตาชาด์ซงึ่
เปนผู้แทนของคอนซตันตินฟอลคอน จึงได้ ทกั ท้ วงขึ ้นว่า ราชทูต
ได้ กล่าวขวัญให้ ร้ายแก่ฟอลคอนหลายอย่าง ราชทูตฝรั่งเศสจึงได้
ตอบว่า ความเสียหายที่จะมีแก่ตวั ราชทูตเองก็ไม่น้อยเหมือนกัน
จึงเปนการที่จะยอมให้ เปนไปดังนี ้ไม่ได้ และถ้ าการได้ เปนไปดังนี ้ไม่ใช่
แต่จะเสียหายถึงราชทูตอย่างเดียว แต่จะเสียเกียรติยศของประเทศ
ฝรั่งเศสด้ วย ลงท้ ายที่สดุ ราชทูตฝรั่งเศสทังสองคน
้ ก็ยอมให้ ทหาร
ไทยอยูท่ ี่บางกอก ๑๐๐ คน สําหรับแทนทหารฝรั่งเศสที่ได้ ตายตามทาง
แล้ วราชทูตฝรั่งเศสทังสองก็
้ ได้ ชี ้แจงอ้ อนวอนบาดหลวงตาชาด์
ขออย่าให้ บาดหลวงตาชาด์แตกพวกแตกคณะไปจากราชทูต แต่ขอให้
ช่วยกันป้องกันรักษาเกียรติยศและประโยชน์ของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔
เถิด แต่บาดหลวงตาชาด์ก็ได้ ตอบราชทูตว่า เมื่อกองทหารฝรั่งเศสได้ เข้ า
ไปอยูใ่ นบางกอกแล้ ว ก็เปนอันหมดธุระและหน้ าที่ของบาดหลวงตาชาด์

๑๔๓
แล้ ว และตังแต่
้ นี ้ต่อไปบาดหลวงตาชาด์มีนายแต่คนเดียวเท่านัน้ ผู้ที่
เปนนายนันก็้ คือฟอลคอน เพราะฉนันบาดหลวงตาชาด์
้ จงึ เอาตัวออก
หากไม่เกี่ยวแก่ราชการของฝรั่งเศสตังแต่
้ เวลานันไป
้ และยอมตัวเป
นคนของอรรคมหาเสนาบดีไทย ตังแต่ ้ นนเปนต้
ั้ นไป
ในเวลาที่บาดหลวงตาชาด์ไปเยี่ยมเยือนราชทูตฝรั่งเศสก็ได้ ปรากฎ
ทุกครัง้ ว่าบาดหลวงตาชาด์เอาใจใส่ชว่ ยฟอลคอนโดยเต็มใจที่สดุ
เพราะบาดหลวงตาชาด์ได้ ไปอยูก่ บั ฟอลคอน และฟอลคอนก็ใช้
ให้ บาดหลวงตาชาด์ไปในที่ตา่ ง ๆ แทนตัว ถ้ าจะมีการประชุมปฤกษา
หารื อราชการอย่างใด บาดหลวงตาชาด์ก็ต้องนัง่ ในที่ประชุมด้ วยทุก
คราว ถ้ าจะมีข้อความตกลงกันอย่างใด ก็ ต้องได้ รับคําแนะนํา
ของตาชาด์ทกุ เรื่ องไป คอนซตันตินฟอลคอนจะคิดอ่านหรื อมุง่ หมาย
อย่างใด บาดหลวงตาชาด์ก็คงมีความคิดและความมุง่ หมายพ้ องด้ วย
เสมอ บาดหลวงตาชาด์จะพูดว่าอย่างไรหรื อจะทําการสิ่งใด ก็คงพูด
และทําสิ่งนันในนามของคนชาติ
้ กริ กผู้มีอํานาจมาก เพราะบาดหลวง
ตาชาด์เปนทังล่้ าม เสมียน คนสนิทและบ่าวของฟอลคอน ๑
๑ ในการที่บาดหลวงตาชาด์หลับตาทะเยอทยานรับใช้ นายใหม่นนั ้ บาดหลวงตา
ชาด์มิได้ คิดเลยว่าการที่ตวั จะทํานันควรเปนสิ
้ ่งที่สมกับเกียรติยศของตัว ในข้ อนี ้มองซิ
เออร์ เซเบเรต์ได้ แต่งเล่าในจดหมายเหตุวา่ ดังนี ้ วันหนึ่งคอนซตันซ์ได้ เชิญให้ ราชทูต
รับประทานอาหารคํ่า เมื่อเวลาที่เดินเข้ าไปในห้ องรับประทานอาหาร ซึง่ มีนายทหารฝรั่งเศส
คอยอยูแ่ ล้ วนัน้ คอนซตันซ์จงึ พูดกับบาดหลวงตาชาด์อย่างเสียงดัง ๆ ให้ ตาชาด์
ไปที่ครัวบอกให้ เขายกเข้ ามากิน บาดหลวงตาชาด์ก็ไปที่ครัวตามคําสัง่ ครัน้
กลับมาคอนซตันซ์ก็เอ่ยพูดถึงเรื่องเชอวาเลียเดอโชมอง ได้ เล่าถึงการที่โชมองมา
ในเมืองไทย พอบาดหลวงตาชาด์ได้ ยินพูดถึงเรื่องนัน้ ก็เอาเท้ าเหยียบเท้ าคอนซตันซ์
เปนเครื่ องหมาย คอนซตันซ์ก็หยุดพูดเรื่องนัน้ เอาเรื่องอื่นมาสนทนาโดยทันที
๑๔๔
ในเรื่ องบาดหลวงตาชาด์ยอมตัวเปนบ่าวฟอลคอนนัน้
มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ เขียนแต่งไว้ ในจดหมายเหตุ ด้ วยความแค้ น
เคืองมากว่าดังนี ้
“การที่เราจะพูดให้ บาดหลวงตาชาด์เชื่อในเรื่ องต่าง ๆ เปนการ
ยากนัก ไม่เหมือนคอนซตันซ์ซงึ่ พูดอะไร บาดหลวงตาชาด์
ก็เชื่อง่าย ๆ ตามการที่ควรนันบาดหลวงตาชาด์
้ ควรจะแนะนํา
การต่าง ๆ กับเราด้ วยความจริงใจทุกอย่าง แต่ก็หาเปน
เช่นนันไม่
้ บาดหลวงตาชาด์กลับคิดแต่จะหลอกเราเท่านัน้
ข้ อความเรื่ องใดที่บาดหลวงตาชาด์มาแนะนําแก่เรา ก็เท่ากับ
เอากระดูกมาให้ เราแทะเท่านัน” ้
แต่ก็ถึงเวลาสมควรแล้ วที่มองซิเออร์ ลาลูแบร์ และมองซิเออร์
เซเบเรต์จําเปนจะต้ องพบปะกับฟอลคอน และเปนเวลาสมควรที่จะต้ อง
เข้ าเฝ้าพระเจ้ ากรุงสยามอยู่แล้ ว แต่ในเรื่ องนี ้ก็คงมีข้อขัดข้ องไม่สิ ้นสุด
เลย เมื่อได้ จดั การในเรื่ องที่เกี่ยวด้ วยการทหารเปนที่เรี ยบร้ อยแล้ ว
อีกสามสี่วนั ต่อมาออกพระวิสตู ร์ สนุ ทรราชทูตสยาม (คือโกษาปาล)
ก็มาหาราชทูตฝรั่งเศส ราชทูตสยามผู้นี ้ซึง่ ได้ รับความเอื ้อเฟื อ้ และ
เกียรติยศต่าง ๆ ที่เมืองฝรั่งเศสนันมิ ้ ได้ เห็นชอบในการที่จะเปนไมตรี
กับฝรั่งเศสเลย เมื่อราชทูตสยามผู้นี ้ไปอยู่ที่ฝรั่งเศสก็ได้ ดําเนินการ
อย่างดีทงในราชสํ
ั้ านักในกรุงปารี สและตามหัวเมืองฝรั่งเศส และได้
ทํากิริยาอันเรี ยบร้ อยตรงกับที่ฟอลคอนได้ สอนไว้ แต่ไม่ช้าราชทูตผู้นี ้
ก็ร้ ูเท่าในพระราชดําริห์ของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ เพราะฉนันราชทู ้ ตสยาม

๑๔๕
ผู้นี ้มิได้ ไว้ ใจบาดหลวงตาชาด์เลย และเกลียดฟอลคอนยิ่งนัก เพราะ
เห็นว่าฟอลคอนคิดอ่านจะนําสาสนาและนําอํานาจต่างประเทศเข้ ามาใน
เมืองไทย ซึง่ เปนการที่ราชทูตสยามไม่พอใจเลย เพราะเขาไม่ยอมที่
จะลดความอิศรภาพของเมืองไทยสําหรับให้ ไปเพิ่มพูลเกียรติยศของ
พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ซึง่ เปนการตรงกันข้ ามกับความคิดของฟอลคอน ทัง้
ไม่ยอมที่จะละเว้ นลัทธิอนั พระสงฆ์ได้ เคยปฏิบตั มิ าสําหรับฟั งคําสัง่ สอน
ของพวกมิชนั นารี
เมื่อราชทูตสยามมีความเห็นดังนี ้ ก็เปนที่เชื่อได้ วา่ เขาคงจะไป
เล่าความวิตกต่าง ๆ ของเขาให้ พระยาพระคลังฟั ง เพราะฉนันการที ้ ่
ทหารของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ได้ ไปรักษาบางกอกและเมืองมริด ทัง้
คอนซตันตินฟอลคอนก็เย่อหยิ่งหนักขึ ้นทุกที จึงทําให้ พวกไทยโกรธ
แค้ นยิ่งนัก
การที่ราชทูตสยามผู้นนั ้ ไปหาราชทูตฝรั่งเศสนัน้ ก็โดยพระยา
พระคลังใช้ ให้ ไปถามมองซิเออร์ ลาลูแบร์ และมองซิเออร์ เซเบเรต์
ว่าในเวลาที่จะเข้ าเฝ้านันราชทู
้ ตจะต้ องการเกียรติยศอย่างไร และให้
ถามมองซิเออร์ ลาลูแบร์ กบั มองซิเออร์ เซเบเรต์ดดู ้ วยว่า การที่ทา่ น
ทังสองนี
้ ้มาในตําแหน่งเอนวอยพิเศษนัน้ จะเปนตําแหน่งเท่าเทียมกับ
ราชทูตธรรมดาหรื อประการใด ลาลูแบร์ จงึ ชี ้แจงโดยยืดยาวว่า ตาม
แบบธรรเนียมของทวีปยุโหรปนัน้ ตําแหน่งเอนวอยเปนตําแหน่งที่มี
เกียรติยศมากกว่าตําแหน่งแอมบาซาเดอร์ ( ราชทูต ) และได้ อ้าง
เรื่ องจอมพลดูเมียเปนตัวอย่าง ซึง่ ได้ เคยรับตําแหน่งเอนวอยไปยัง
๑๙
๑๔๖
ราชสํานักอังกฤษ ฝ่ ายราชทูตไทยได้ ฟังคําอธิบายของลาลูแบร์ ก็ทํา
ท่วงทีเหมือนเชื่อ และได้ พดู สองสามครัง้ ว่า “ดีแล้ ว ดีแล้ ว”
เมื่อราชทูตได้ อธิบายถึงเรื่ องเกียรติยศในตําแหน่งหน้ าที่แล้ ว ก็
เกิดได้ รับความติดขัดจากคอนซตันตินฟอลคอนและบาดหลวงตาชาด์คน
สนิทของฟอลคอนขึ ้นอีก เพราะลาลูแบร์ เปนคนโทโสร้ ายและเหตุผล
ตามการที่เปนไปนันก็ ้ สมควรที่จะให้ ลาลูแบร์ โกรธเคืองอยู่บ้าง แต่การ
ที่ลาลูแบร์ แสดงโทษะเช่นนันเปนเหตุ
้ ทําให้ ฟอลคอนหาเรื่ องที่จะพูด
ต่อไปได้ โดยฟอลคอนแกล้ งพูดว่าได้ รับความเสียหายอับอายจากการ
ที่ลาลูแบร์ โทโสอยูเ่ สมอ “เพราะเขาไม่มีเวลาที่สา่ งโกรธเลย
และทําโมโหโทโสต่อหน้ าผู้คน และในเวลาที่โมโหนันก็ ้ ขยายความลับ
ออกจนหมดสิ ้นด้ วย” เมื่อคอนซตันตินฟอลคอนหาความเช่นนี ้
ราชทูตฝรั่งเศสก็ปฏิเสธโดยทันที แต่มงหมดไม่ ั้ มีใครเข้ าใจภาษาและ
คําพูดของฟอลคอนเหมือนบาดหลวงตาชาด์เลยและความต่างๆที่ทราบ
ไปถึง ฟอลคอนก็ได้ ทราบจากบาดหลวงตาชาด์ทงสิ ั ้ ้น เพราะตาชาด์
คอยรายงานให้ ฟอลคอนทราบอยูเ่ สมอถึงความโทโสโมโหของ
มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ซึง่ ตามการที่ควรแล้ วบาดหลวงตาชาด์จะต้ อง
คอยปิ ดจึงจะถูก
แต่การที่ราชทูตฝรัง้ เศสจะได้ เข้ าเฝ้าสมเด็จพระนารายน์นนต้
ั ้ อง
นัดเลื่อนเวลาไปอีก เพราะยังต้ องซ่อมแซมของเครื่ องราชบรรณาการ
ซึง่ ได้ บบุ สลายเสียหายมาตามทาง และของที่เสียหายมากนันก็
้ คือ
ลูกโลกและนาฬิกาเรื อนใหญ่ ๆ ในขณะนี ้คอนซตันตินฟอลคอนได้ ลง
มา

๑๔๗
ที่บางกอกและได้ มาหาราชทูตฝรั่งเศส เมื่อราชทูตฝรั่งเศสกับฟอลคอน
ได้ พบปะกันในครัง้ นี ้ซึง่ เปนครัง้ แรกที่ได้ พบกันนัน้ ดูทา่ ทางกิริยาก็
สนิทสนมกันดี ต่างคนก็ตา่ งแสดงกิริยาและวาจาอันดีเข้ าหากัน ต่าง
คนก็ตา่ งดื่มสุราที่มาจากอินเดียร่วมกัน ถ้ าจะเปรี ยบก็เหมือนข้ าศึก
อันได้ เคยประจันบานกันมาแล้ ว ได้ สงบศึกมาปรองดองกันชัว่ คราว แต่
ฝ่ ายฟอลคอนนันยั ้ งไม่แสดงไมตรี ออกมาเต็มที่ เพราะยังเจตนาอยู่
เสมอที่จะคิดรังแกพวกราชทูต ซึง่ เปนการปลาดยิ่งนัก เพราะเมื่อครัง้
เชอวาเลียเดอโชมองมาเปนทูต ฟอลคอนเองเปนผู้วิ่งเข้ าประจบ
ประแจงเชอวาเลียเดอโชมอง แต่มาคราวนี ้ฟอลคอนได้ พดู แก้ ตวั ว่าถ้ า
ราชทูตเรี ยกฟอลคอนให้ มาหาแล้ ว ฟอลคอนคงจะได้ ลงมาแต่ก่อน
นานแล้ ว
ครัน้ ราชทูตฝรั่งเศสได้ ขึ ้นไปถึงกรุงศรี อยุธยาพบกับฟอลคอน
พร้ อมกับบาดหลวงตาชาด์ซึ่งห่างกันไม่ได้ เลยนัน้ สังเกตดูกิริยา
ฟอลคอนกลับหยิ่งเย่อยิ่งกว่าก่อน และวาจาที่พดู ก็ไม่มีออ่ นหวานเลย
ในครัง้ นี ้ได้ เกิดเถียงกันโดยยืดยาวอีก ถึงข้ อเกียรติยศของทูตเอนวอย
และทูตแอมบาาซาเดอร์ ว่าตําแหน่งใดจะใหญ่กว่ากัน และได้ โต้ เถียง
กันยืดยาวถึงขนบธรรมเนียมที่ใช้ กนั ในยุโหรปจะต่างกันกับขนบธรรมเนียม
ของอินเดียอย่างไร เมื่อฟอลคอนได้ “ยัว่ เย้ า” ราชทูตฝรั่งเศสช้ า
นานพอแล้ ว ฟอลคอนก็เลยชวนราชทูตให้ อยูร่ ับประทานอาหารคํ่า
กิริยาที่ฟอลคอนเชิญราชทูตรับประทานอาหารนันไม่
้ มีกิริยาสุภาพอย่าง

๑๔๘
ใดเลย เท่ากับเชิญโดยเสียไม่ได้ แต่ถึงดังนันราชทู
้ ตทังสองก็
้ รับ
เชิญ และที่รับเชิญนันเซเบเรต์
้ ได้ เขียนอธิบายว่า “ในระหว่างเวลา
ที่เราอยูใ่ นบังคับเขาเช่นนี ้ ถ้ าเราจะไม่รับเชิญก็ดจู ะไม่ส้ เู หมาะ” ใน
เวลาที่กําลังรับประทานอาหารอยูนนั ้ ฟอลคอนได้ เอาเรื่ องที่เชอวาเลีย
เดอโชมองมาเปนราชทูตเปนเรื่ องสําหรับสนทนากัน และได้ เล่าเปนที
เยาะเย้ ยอันเกือบจะฟั งไม่ได้ ว่าการที่เชอวาเลียเดอโชมองมาเปนทูต
ในครัง้ นัน้ ไม่ยอมพูดและฟั งในเรื่ องอื่นเลย แต่จะพูดเรื่ องจะให้ พระเจ้ า
กรุงสยามเข้ ารี ดอย่างเดียวเท่านัน้ แล้ วฟอลคอนได้ กล่าวโทษพวก
มิชนั นารี ในข้ อปฏิบตั ติ า่ ง ๆ ซึง่ เปนครัง้ แรกที่ฟอลคอนจะกล่าวโทษ
เช่นนี ้ มองซิเออร์ เซเบเรต์จงึ เห็นว่าการที่ฟอลคอนกล่าวโทษพวก
มิชนั นารี เช่นนี ้ก็เปนอุบายสําหรับจะล่อลวงเอาใจบาดหลวงตาชาด์เท่านัน้
กว่าราชทูตฝรั่งเศสจะเข้ าเฝ้าได้ ก็ต้องเสียเวลาโต้ เถียงกัน
“หยุมหยิม” อิกถึง ๕ วัน ต่อวันที่ ๒ เดือนพฤศจิกายน ราชทูต
ฝรั่งเศสจึงได้ เข้ าเฝ้าถวายพระราชสาสนของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ พิธีการ
เฝ้าแหนและการถวายพระราชสาสนในครัง้ นี ้ ก็มีคล้ ายกับเมื่อครัง้
เชอวาเลียเดอโชมองถวายพระราชสาสน คือพระราชสาสนนันได้ ้ เชิญ
ลงพานทอง ๆ นันได้ ้ วางบนพานแว่นฟ้าทอง และบุตร์ ของมองซิเออร์
เซเบเรต์เปนผู้เชิญพานพระราชสาสน เมื่อได้ เคลื่อนกระบวนปื นใหญ่

๑๔๙
ก็ยิงเปนคํานับ ราชทูตฝรั่งเศสทังสองคนก็
้ เดินในระหว่างขุนนาง
ข้ าราชการอันหมอบอยูส่ องข้ างทาง๑
ในเวลาที่เฝ้านันราชทู
้ ตทังสองก็
้ ระวังทุกอย่าง ที่จะไม่ให้ ไทย
ดูหมิ่น หรื อที่จะให้ ไทยเห็นว่าเกียรติยศของตัวตํ่าไป เพราะฉนัน้
เวลาที่ราชทูตพูดจึงได้ ยืนพูด เพราะรู้สกึ ว่าการที่ยืนพูดนันดู
้ เปนสง่า
ผ่าเผยดีกว่านัง่ บนกระดานกว้ าง ๑ ฟุต ๔ เหลี่ยม ในเวลาที่เฝ้า
สมเด็จพระนารายน์นนั ้ คอนซตันตินฟอลคอนเปนล่าม และสังฆราช
เดอเมเตโลโปลิศกับบาดหลวงตาชาด์ก็ได้ เฝ้าอยูใ่ นที่นนด้ ั ้ วย ข้ อความ
๑ ในเรื่ องนี ้มองซิเออร์ เซเบเรต์รายงานว่า ในเวลาที่เดินตามพระราชสาสนไปนัน้
ต้ องลงเดินด้ วยเท้ ากําลังแดดร้ อนจัดเต็มที่ และศีร์ษะก็ไม่ได้ สวมหมวก เพราะเมื่อ
จะเข้ าไปถึงพระราชวังเจ้ าพนักงานได้ เอาร่มไปเสีย เมื่อหมดพิธีถวายพระราชสาสนแล้ ว
ราชทูตทังสองก็
้ ได้ ร้องต่อฟอลคอนในเรื่องที่เจ้ าพนักงานได้ เอาร่มไปเสียเช่นนี ้ ฟอลคอน
ก็ตอบว่าเมื่อครัง้ เชอวาเลียเดอโชมอง เจ้ าพนักงานก็ไม่ยอมให้ โชมองกางร่มเหมือนกัน
การที่ราชทูตต้ องเดินตากแดดเช่นนี ้ทําให้ มองซิเออร์ เซเบเรต์ป่วย จนถึงกับไปนัง่ โต็ะ
รับประทานอาหารในพระราชวังตอนกลางคืนไม่ได้ การที่ราชทูตฝรั่งเศสถูกทรมานเช่นนี ้
คงจะเกิดจากการแกล้ งของพระยาพระคลัง หรือจะเปนการแกล้ งของฟอลคอนเองก็
จะเปนได้ และการที่มองซิเออร์ เซเบเรต์บอกป่ วยนัน้ ฟอลคอนก็แสดงความไม่พอใจ
อย่างยิ่ง และฝ่ ายสมเด็จพระนารายน์ก็มีรับสัง่ ให้ มาถามอาการเนือง ๆ และโปรดจะให้
แพทย์หลวงมารักษาพยาบาลราชทูตด้ วย ( คัดจากจดหมายเหตุของมองซิเออร์ เซเบเรต์ )
ในจดหมายเหตุที่บาดหลวงตาชาด์แต่งไว้ นนก็ ั ้ ได้ กล่าวถึงการที่มองซิเออร์ เซเบเรต์
ป่ วยเหมือนกัน แต่หากล่าวว่าป่ วยเพราะถูกแดดขับไม่ แต่กลายเปนว่า มองซิเออร์
เซเบเรต์ป่วยท้ องเสีย การที่บาดหลวงตาชาด์กล่าวเช่นนี ้ ก็เพราะเหตุวา่ ในเรื่องที่ราชทูต
ต้ องถูกริบร่มไปนัน้ บาดหลวงตาชาด์มิได้ พดู ถึงเลย จึงเปนการจําเปนที่จะต้ องอธิบาย
ความป่ วย ของราชทูต แล้ วแต่จะพอใจ

๑๕๐
ที่ราชทูตฝรั่งเศสได้ กราบทูล และพระราชดํารัสตอบนัน้ ก็เปนข้ อ
ความคล้ าย ๆ กับที่เคยโต้ ตอบกันมาแล้ ว อันจะหาสาระไม่ได้ เลย
สมเด็จพระนารายน์ได้ ทรงรับพระราชสาสนของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ จากมือ
มองซิเออร์ ลาลูแบร์ และได้ รับสัง่ ถามว่าพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ กับพระ
ราชวงศ์ทรงสบายดีอยูห่ รื ออย่างไร แล้ วก็เสด็จขึ ้นโดยทรงมอบให้
พระยาพระคลังเปนหน้ าที่สําหรับคอยรับพระราชโองการสัง่ ราชทูตต่อไป
ราชทูตฝรั่งเศสกับคอนซตันตินฟอลคอนได้ พบปะกันเปนบางครัง้
บางคราวแล้ วแต่ฟอลคอนจะพอใจพบหรื อไม่ บางทีฟอลคอนก็ทํากิริยา
ท่าทางตึงตัง บางทีก็ทําเฉยเมินตึง ๆ แต่ในที่ประชุมชนทังปวง ้
เมื่อราชทูตไปที่แห่งใด บรรดาราษฎรพลเมืองก็ได้ แสดงความเคารพ
ทุกแห่ง ข้ างฝ่ ายไทยได้ จดั ให้ ข้าราชการ ๒ นายเปนผู้ประจําอยูก่ บั
ราชทูต ข้ าราชการ ๒ นายนี ้เปนผู้สําหรับนําราชทูตไปในที่ตา่ ง ๆ
ที่กรุงศรี อยุธยานัน้ ราชทูตฝรั่งเศสได้ ไปดูวดั วาอารามต่าง ๆ และ
ได้ เข้ าไปชมพระราชวัง ที่เมืองลพบุรีนนั ้ ราชทูตได้ เข้ าเมืองโดยแสง
คบเพลิง และผู้รักษาเมืองลพบุรีกบั เจ้ าพนักงานในเมืองนันทุ
้ กคน
ได้ มาต้ อนรับและนําราชทูตไปดูที่ตา่ ง ๆ แล้ วเจ้ าพนักงานได้ จดั ให้
ราชทูตพักในโฮเต็ลใหญ่และงดงามมากซึง่ มีเครื่ องเรื อนล้ วนแล้ วไปด้ วย
ของจีนทังสิ ้ ้น
เมื่อฟอลคอนได้ สร้ างวัดเล็ก ๆ ในบ้ านก็ได้ มีงานฉลอง มีสวด
มนต์และพิธีตา่ งๆ อย่างในวัดเมืองฝรั่งเศสในงานฉลองวัดของฟอลคอน
นี ้ ท่านราชทูตฝรั่งเศสทังสองก็้ ได้ ไปช่วยงานด้ วย ฝ่ ายราชทูตก็เชิญ
อรรคมหาเสนาบดีไทยมาเลี ้ยงอาหาร และฟอลคอนก็ได้ เลี ้ยงราชทูต
๑๕๑
ตอบแทนบ้ าง เมื่อวันที่ ๕ เดือนพฤศจิกายน ฟอลคอนได้ เชิญราชทูต
ฝรั่งเศสไปเลี ้ยงอาหาร ในคราวเลี ้ยงครัง้ นี ้ได้ มีงิ ้วจีน ลครรํ าของไทย
หุน่ กระบอกของแขกมัวและดอกไม้ เพลิง นอกจากการละเล่นเหล่านี ้
ได้ เลี ้ยงอาหารเดินโต๊ ะอย่างแบบยุโหรปและของที่รับประทานนั ้นมีเครื่ อง
เกาเหลากับเข้ าจีนกว่า ๘๐ สิ่ง แต่เปนข้ อที่ปลาดมาก ด้ วยในกับเข้ า
๘๐ สิ่งล้ วนแต่เปนของต่าง ๆ กันทังนั ้ น้ ดูก็เปนของน่ารับประทาน
แต่ก็ไม่มีอะไรที่จะอร่อยจนสิ่งเดียวเพราะล้ วนแต่เปนของเลวทังสิ ้ ้น
แต่การที่เลี ้ยงดูกนั เช่นนี ้และที่มีกบั เข้ าต่าง ๆ หลายอย่างอัน
น่ากลัวดังที่บรรยายมาแล้ ว ก็หาได้ ทําให้ ราชทูตของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔
หลงไม่ เพราะการที่เลี ้ยงดูกนั เช่นนี ้ เปนแต่ทํากิริยาภายนอก
มากกว่าความจริงใจ ในเรื่ องนี ้มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ เขียนเมื่อวันที่
๑๖ พฤศจิกายนว่า
“ในเวลาที่รับประทานอาหารอยูน่ นั ้ ดูครึกครื น้ สนุกสนานมาก
และความที่สนุกจนถึงกับถ้ วยแก้ วได้ แตกไปหลายถ้ วยมองซิเออร์
คอนซตันซ์ถึงกับลองทํานายว่า พวกเรามีความรักใคร่
มากกว่าใคร”
พอรุ่งขึ ้นการไมตรี และความที่รักชอบกันอันได้ แสดงไว้ ในเวลา
เลี ้ยงอาหารนัน้ ก็กลับกลายสูญหายไปหมด และข้ อวิวาทที่ได้ สงบ
ไปชัว่ คราวนัน้ ก็ได้ เกิดกันขึ ้นอิก
เรื่ องที่ฝรั่งเศสจะทําสัญญาเปนสัมพันธมิตรกับไทยนัน้ ดูไม่มี
หนทางที่จะตกลงกันได้ และไม่มีทางที่จะแก้ ไขได้ เลย เพราะข้ างฝ่ าย
ราชทูตฝรั่งเศสก็ขอร้ องมากเกินกว่าเหตุ ข้ างฝ่ ายคอนซตันตินฟอลคอน
๑๕๒
คอนและบาดหลวงตาชาด์ ก็แนะนําอย่างระวังมิให้ ไทยเสียเปรี ยบได้
นอกจากการที่กองทหารฝรั่งเศสได้ เข้ าไปอยูท่ ี่บางกอกเปนการสําเร็จ
แล้ ว ลาลูแบร์ กบั เซเบเรต์ก้ยงั ต้ องคอยให้ ไทยได้ จดั การต่าง ๆ
ตามที่ได้ สญ ั ญาไว้ ง่าย ๆ เพราะเมืองมริดนันก็ ้ ยงั ไม่ได้ เปนของ
ฝรั่งเศส บริ ษัทอินเดียก็ยงั ไม่ได้ รับสิทธิ อย่างใดที่แปลกออกไปเลย
และการที่คดิ จะให้ “ประเทศอันใหญ่และพระเจ้ าแผ่นดินผู้ทรง
อานุภาพมาก” ได้ เข้ ารี ดนัน้ ก็เกือบจะไม่มีใครพูดถึงแล้ ว
เมื่อวันที่ ๔ เดือนพฤศจิกายน เมื่อได้ รับประทานอาหารคํ่ากัน
เสร็จแล้ ว ฟอลคอนได้ เอาหนังสือที่ตวั ได้ จดข้ อความในเวลาที่ได้ เฝ้า
พระเจ้ ากรุงสยามนัน้ ออกอ่านให้ ราชทูตฝรั่งเศสฟั ง ในข้ อความ
อันไม่มีแก่นสารเหล่านี ้ ซึ่งได้ แต่งเปนภาษาปอตุเกตนัน้ ฟอลคอน
ได้ ขยายความออกมาข้ อหนึง่ ซึง่ ไม่มีใครนึกถึงเลย คือว่า การที่
พระเจ้ าแผ่นดินสยามยังไม่ได้ ทรงเข้ ารี ดนัน้ ก็เพระาเหตุว่ายังไม่ได้
ทรงรับความศึกษาในข้ อสาสนาคริ ศเตียนเพียงพอ และการที่เปนเช่นนี ้
ก็ต้องโทษสังฆราชเดอเมเตโลโปลิศ เพราะสังฆราชได้ มาอยูใ่ น
เมืองไทยถึง ๒๕ ปี แล้ ว ก็ยงั พูดไทยไม่ชดั เลย จนจะกราบทูลพระ
เจ้ ากรุงสยามว่าอย่างไร ก็ไม่ทรงเข้ าพระไทยได้ เลย การที่หาความ
แก่สงั ฆราชเดเมเตโลโปลิศเช่นนี ้ ก็อาจจะคเนถูกว่าเปนความคิดของ
ใคร เพราะในข้ อนี ้บาดหลวงตาชาด์ได้ พยายามทําให้ ราชทูตรู้สึกใน
ความบกพร่องของสังฆราชเดอเมเตโลโปลิศ และได้ พดู ด้ วยว่า
“จะต้ องรอให้ พวกบาดลวงคณะเยซวิตเรี ยนรู้ภาษาไทยเสียก่อน จึง
ค่อยลงมือกราบทูลสอนข้ อสาสนาต่อพระเจ้ ากรุงสยามต่อไป”
๑๕๓
ภายหลังมาสักสามสี่วนั มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ได้ เรี ยกบาดหลวง
ตาชาด์มาถามอีก ในเรื่ องที่จะประกาศข้ อสัญญาที่วา่ ด้ วยสาสนา
บาดหลวงตาชาด์ผ้ เู ปนเลขานุการคนสนิทของฟอลคอนจึงตอบว่า “การ
ที่จะขอร้ องให้ ประกาศข้ อสัญญานัน้ เปนข้ อที่นา่ กลัวจะมีอนั ตรายขึ ้นได้
เพราะเหตุวา่ จะต้ องมีคนเข้ ารี ดเสียก่อน จึงจะให้ สิทธิ์แก่คนเข้ ารี ดได้
อีกประการหนึง่ พระเจ้ ากรุงสยามก็มีพระราชประสงค์ จะทรงรับความ
เล่าเรี ยนในข้ อสาสนาด้ วย”
เมื่อสังฆราชเดอเมเตโลโปลิศได้ มาหาราชทูต มองซิเออร์ ลาลู
แบร์ ก็ถามสังฆราชเช่นเดียวกับที่ได้ ถามบาดหลวงตาชาด์ และถาม
ต่อไปว่าในข้ อที่ว่าพระเจ้ ากรุงสยาม ไม่เข้ าพระไทยในเรื่ องสาสนานัน้
ท่านสังฆราชจะเห็นว่าอย่างไร สังฆราชเดอเมเตโลโปลิศก็ตอบไม่รับผิด
รับชอบในข้ อนี ้ และได้ อธิบายชี ้แจงเหตุผลต่าง ๆ อันกระทําให้ แลเห็น
ว่า สังฆราชก็ได้ ทําการตามหน้ าที่ทกุ อย่าง แล้ วสังฆราชเดอเมเตโล
โปลิศ จึงกลับเปนโจทย์กล่าวหาคนอื่นบ้ าง คือว่าการที่ไม่ได้ ประกาศ
ข้ อสัญญา ซึง่ ได้ ทําไว้ กบั เชอวาเลียเดอโชมองนัน้ ก็มีแต่คอนซตัน
ตินฟอลคอนคนเดียวเท่านัน้ ที่ขดั ข้ องกีดขวางไม่ยอมให้ ประกาศ
ข้ อที่วา่ ทรงพระกรุณาแก่พวกเข้ ารี ด โดยโปรดอนุญาตให้ สร้ างวัด
เข้ ารี ดได้ นนั ้ ก็เปนเรื่ องที่หลอกลวงทังนั ้ น้ และการที่จะอนุญาต
ให้ พวกเข้ ารี ดสร้ างวัดได้ นนั ้ ก็ไม่เห็นจะเปนความกรุณาพิเศษอย่าง
ใดเลย เพราะส่วนพวกแขกมหะหมัดนัน้ ไทยก็อนุญาตให้ พวกแขก
ก่อสร้ างสุเหร่าขึ ้น ส่วนพวกจีนไทยก็อนุญาตให้ สร้ างวัดจีนขึ ้นในเมือง
๒๐
๑๕๔
ไทยเหมือนกัน เพราะฉนันที ้ ่วา่ ไทยจะยอมให้ พวกเข้ ารี ดสร้ างวัดเข้ ารี ด
นันก็
้ ไม่เปนการแปลกปลาดอะไรเลย ในข้ อที่เกี่ยวด้ วยเรื่ องพูด
ภาษาไทยนัน้ ท่านสังฆราชยืนยันว่าตัวพูดภาษาไทยได้ อย่างดีทีเดียว
และท่านสังฆราชก็ได้ ยกตัวอย่างให้ ราชทูตเห็นเปนพยาน ว่าสังฆราช
พูดภาษาไทยได้ ดีจริงหรื อไม่ เช่นเมื่อครัง้ สมเด็จพระนารายน์เสด็จ
ออกแขกเมืองให้ ราชทูตเฝ้าถวายพระราชสาสนของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔
นันสั
้ งฆราชเดอเมเตโลโปลิศได้ ยินด้ วยตัวเอง ว่าในเวลาที่คอนซ
ตันติน ฟอลคอนแปลข้ อความในพระราชสาสนนัน้ ฟอลคอนก็ได้ แปล
กลับความเสียหมด และในข้ อที่พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ทรงชมเชย
สรรเสริญราชทูตสยามนัน้ ฟอลคอนหาได้ แปลถวาย ว่าพระเจ้ าหลุย
ทรงชมเชยราชทูตสยามไม่ แต่กลับแปลว่าพระเจ้ าหลุยทรงชมเชยยก
ย่องตัวของตัวเองดังนี ้ แล้ วสังฆราชเดอเมเตโลโปลิศจึงได้ เล่าต่อไปว่า
“ได้ มีคนหลายคนมาเล่าให้ ข้าพเจ้ าฟั ง ซึง่ เปนความไม่ควร
เชื่อว่า ถ้ าข้ าพเจ้ าได้ จดั การให้ สมเด็จพระนารายน์ได้ เข้ ารี ด
สมปราถนาแล้ ว ฟอลคอนเกรงว่าข้ าพเจ้ าจะเปนคนโปรดแทน
ฟอลคอนต่อไป”
อนึง่ การที่พวกมิชนั นารี อาปอศโตลิกแตกสามัคคีชิงดีกนั กับพวก
คณะเยซวิตนัน้ มิเปนการกระทําให้ หน้ าที่ของราชทูตฝรั่งเศสง่ายขึ ้น
หรื อกระทําให้ การทังปวงที
้ ่ฝรั่งเศสคิดจะมาทําเพื่อแผ่อํานาจทางอินเดีย
ได้ เปนผลสําเร็จขึ ้นเลย เพราะเปนเรื่ องที่ทําให้ คณะบาดหลวงตกอยู่
ในอํานาจของคอนซตันตินฟอลคอน ด้ วยต่างคณะก็ตา่ งชิงกันจะหา

๑๕๕
ความชอบต่อฟอลคอน และการที่จะหาความชอบนัน้ ก็เกี่ยวด้ วย
การที่จะต้ องถ่อมตัวยอมอยูใ่ นบังคับของฟอลคอน
ไม่ช้ามองซิเออร์ ลาลูแบร์ และมองซิเออร์ เซเบเรต์ ก็ได้ เห็น
ปรากฎในข้ อที่หาว่า พระเจ้ ากรุงสยามคงไม่เข้ าพระไทยในเรื่ องที่เกี่ยว
ด้ วยสาสนาคริศเตียนเลยนัน้ คือเมื่อวันที่ ๒๖ เดือนพฤศจิกายน
ราชทูตฝรั่งเศสได้ เข้ าเฝ้าสมเด็จพระนารายน์ ได้ มีรับสัง่ ถามถึง
การที่ราชทูตได้ เดินทาง และทรงกล่าวโทษพวกผู้แทนบริษัทฝรั่ งเศส
ฝ่ ายอินเดีย ว่าพวกนี ้ทําการไม่ซื่อตรง เพราะเชื่อคนที่แนะนําการ
ไม่ดี เมื่อราชทูตได้ กราบทูลตอบข้ อรับสัง่ ทุกข้ อแล้ ว ราชทูตฝรั่งเศส
ได้ คาดคันให้
้ ฟอลคอนซึง่ เปนล่ามอยูใ่ นเวลานัน้ ให้ กราบทูลสมเด็จ
พระนารายน์โดยตรง ๆ ว่า “การที่พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ทรงพระราชดําริห์
ที่จะแผ่การค้ าขายในอินเดียนัน้ ก็เพราะมีพระราชประสงค์จะให้
สาสนาคริ ศเตียนแพร่หลายออกไปด้ วย”
ฟอลคอนได้ อึกอักอ้ อมแอ้ มอยูช่ ้ านาน จะไม่ยอมแปลตามที่
ราชทูตพูด แต่ครัน้ ราชทูตได้ คาดคันหนั
้ กเข้ า ฟอลคอนจึงได้
กราบทูลโดยยืดยาว จะเปนข้ อความอย่างไรนันทราบไม่ ้ ได้ แต่
สังเกตดูในคําที่ฟอลคอนกราบทูลนัน้ มีคํา คัศติล ฮอลันดา และซิงตา
มาเรี ยเดอลอเรตตาแทรกเข้ าไปบ่อย ๆ ฝ่ ายสมเด็จพระนารายน์
หาได้ รับสัง่ ตอบว่ากระไรไม่แล้ วก็เสด็จขึ ้น ฟอลคอนจึงได้ กระซิบบอก
ให้ บาดหลวงตาชาด์แปลคําที่ได้ กราบทูลนั ้นให้ ราชทูตฟั งโดยให้ อธิบายว่า
ฟอลคอนได้ กราบทูลว่า พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ไม่ได้ คดิ ที่จะไปตีเอาบ้ าน
เอาเมืองเหมือนกับประเทศสเปนและฮอลันดาเลย และได้ ทรงเอา
๑๕๖
โนตร์ ดําเดอลอเลตเปนที่พงึ่ แต่การที่ฟอลคอนได้ กล่าวความเท็จ
เช่นนี ้ ราชทูตฝรั่งเศสก็หาเชื่อไม่ มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ เขียน
ความว่าดังนี ้
“เราได้ สงั เกตเห็นว่าในสิ่งที่เกี่ยวด้ วยสาสนาคริศเตียนแล้ ว มอง
ซิเออร์ คอนซตันซ์ไม่กล้ ากราบทูลพระเจ้ ากรุงสยามเลย และใน
เวลานี ้มองซิเออร์ คอนซตันซ์ ก็ยงั ไม่กล้ าขึ ้นกว่าเมื่อครัง้ เชอ
วาเลียเดอโชมองเลย”
ฝ่ ายบาดหลวงตาชาด์ก็พยายามอยู่เสมอที่จะพูดแก้ ตวั แทนเพื่อน
ของเขา คือ ฟอลคอน และในการที่ไทยยังไม่ได้ ประกาศข้ อสัญญาที่
เกี่ยวด้ วยการสาสนานัน้ บาดหลวงตาชาด์ก็โทษว่าเปนความผิดของ
สังฆราชเดอเมเตโลโปลิศ เช่นเดียวกับที่ตาชาด์ได้ เคยโทษสังฆราช
เดอเมเตโลโปลิศมาแล้ ว ในเรื่ องที่สมเด็จพระนารายน์ยงั ไม่ได้ ทรง
เข้ ารี ด ในข้ อ ๑ แห่งสัญญานันห้ ้ ามมิให้ พวกมิชนั นารี สงั่ สอนการอย่าง
ใด ๆ ซึง่ จะเปนการประทุษร้ ายต่อแผ่นดิน ถ้ าพวกมิชนั นารี ขืนฝ่ าฝื น
ความข้ อนี ้ ก็จะต้ องงดสิทธิ์ทงปวงที
ั้ ่ได้ พระราชทานไว้ แก่พวกมิชนั นารี
และในข้ อนี ้สังฆราชเดอเมเตโลโปลิศก็ทราบอยูเ่ ต็มใจ ว่าฟอลคอน
คอยหาเหตุอยู่ ถ้ าพวกมิชนั นารี คนใดคนหนึง่ ได้ กระทําผิดในข้ อนี ้
แม้ แต่เล็กน้ อย ฟอลคอนก็จะจับเปนโอกาศสําหรับงดสิทธิ์ทงปวง ั้
ฝ่ ายท่านสังฆราชเดอเมเตโลโปลิศได้ ถกู หาในความผิดต่างๆ
ดังกล่าวมาแล้ ว ก็ปฏิเสธว่าเปนความไม่จริงและได้ ชี ้แจงว่า
มองซิเออร์ คอนซตันซ์เปนคนที่เข้ าใจนิสยั ยาก ความข้ อนี ้ก็เปนความ
จริงอยูบ่ ้ างเพราะฟอลคอนได้ กีดขวางในการที่จะให้ สาสนาได้
แพร่หลาย แต่ใน
๑๕๗
ระหว่างที่กีดขวางแก่การสาสนาเช่นนี ้ ก็ได้ เอื ้อเฟื อ้ เจือจานแก่พวก
เข้ ารี ดทุกอย่าง และการที่ฟอลคอนได้ เอื ้อเฟื อ้ แก่พวกเข้ ารี ดหลายอย่าง
หลายประการนัน้ ถ้ าจะแต่งเรื่ องก็ออกจะเปนสมุดเล่มใหญ่ ๆ ทีเดียว
การที่ทํานัน้ คือ ฟอลคอนได้ ให้ สร้ างโรงเรี ยนสามเณรด้ วยทุนรอนของ
ตัวเอง และได้ ออกทรัพย์สว่ นตัวสําหรับเลี ้ยงนักเรี ยนในโรงเรี ยนนัน้
ส่วนภรรยาของฟอลคอนนัน้ ก็เอาเด็กผู้หญิงและเด็กผู้ชายไปเลี ้ยงไว้
เปนอันมาก และเมื่อเด็กผู้หญิงเติบโตขึ ้นแล้ ว ก็เปนธุระจัดการ
ทําการวิวาหะให้ การที่ฟอลคอนประพฤติตวั อย่างน่าพิศวงเช่นนี ้ เมื่อ
พิเคราะห์ดฐู านะของฟอลคอนก็ออกจะพอแลเห็นได้ วา่ เหตุใดจึงต้ อง
ประพฤติเช่นนี ้ ก็คือ ฟอลคอนได้ ทําราชการจนพระเจ้ าแผ่นดินอันมี
อํานาจสิทธิ์ขาดได้ โปรดปรานมากจําเปนที่ฟอลคอนจะต้ องพยายาม
กระทําการงานทังปวงให้
้ เปนที่พอพระราชหฤทัยของพระเจ้ าแผ่นดิน
ต่อไป แต่ในเวลาที่ทําการงานให้ เปนที่พอพระราชหฤทัยนัน้ ฟอลคอน
ก็ต้องระวังตัวคอยป้องกันมิให้ บรรดาขุนนางข้ าราชการอันมีความอิจฉา
ฤษยาคิดทําร้ ายตัวได้ แต่ยงั ไม่ใช่แต่เท่านี ้ เพราะในเวลานันชาว ้
ต่างประเทศก็มีมากหลายชาติหลายภาษา สาสนาก็มีแปลก ๆ ต่าง
ๆ กัน ฟอลคอนก็ต้องคอยปฏิบตั กิ ารให้ ชาวต่างประเทศพอใจบ้ าง
เมื่อความประสงค์ของชาวต่างประเทศต่าง ๆ กัน ถึงกับชิงกันหา
ประโยชน์และอิจฉาฤษยากันเช่นนี ้ การที่ฟอลคอนได้ ทําการเล็ดลอด
เอาตัวรอดไปได้ ก็ต้องนับว่าเปนด้ วยความฉลาดและความโกงอย่างยิ่ง
จึงยังคงมีอํานาจอยูไ่ ด้ แต่อํานาจนันจะนั ้ บว่าเปนสิ่งที่มนั่ คงนักก็ไม่ได้
เพราะบุญวาศนาของฟอลคอนจวนจะสิ ้นอยูแ่ ล้ ว
๑๕๘
การที่ราชทูตฝรั่งเศสได้ ขดั ขวางไม่ยอมต่อความคิดของฟอลคอน
นัน้ ได้ ทําให้ ความหวังที่ฟอลคอนหวังไว้ ละลายหายไปหมด ตามที่ได้
อธิบายมาข้ างต้ นนี ้แล้ วพอจะเห็นได้ วา่ ฟอลคอนได้ ม่งุ หมายอย่างไร
สําหรับกองทหารฝรั่งเศสซึง่ อยูใ่ นบังคับบัญชาของมองซิเออร์ เดฟาช์นนั ้
เพราะฟอลคอนได้ พยายามทุกอย่างที่จะเอาใจพวกทหารและนายทหาร
ฝรั่งเศส เพื่อให้ ทหารเหล่านี ้ได้ มีความนิยม ที่เมืองลพบุรีและที่
กรุงศรี อยุธยา ฟอลคอนก็ได้ มีการเลี ้ยงโต๊ ะให้ แก่นายทหารอยูเ่ สมอ
มิได้ เว้ น ถ้ าจะมีการนักขัตฤกษเวลาใด หรื อจะมีการไล่เนื ้อยิงสัตว์
คราวใด พวกนายทหารฝรั่งเศสคงไปได้ เสมอ ส่วนมองซิเออร์
เดฟาช์เองก็ได้ ถกู เรี ยกเข้ าไปในพระราชวัง และได้ เข้ าเฝ้าพระเจ้ า
แผ่นดินพร้ อมด้ วยนายทหารรอง ๆ พวกนายทหารรอง ๆ เหล่านี ้ก็
ได้ รับความพอใจหลายคน โดยได้ รับพระราชทานเสื ้อไหมทองบ้ าง
ไหมเงินบ้ าง สายสร้ อยทองคําบ้ าง และอาวุธต่าง ๆ อันมีราคาบ้ าง
ส่วนท่านผู้บงั คับการนัน้ ก็ได้ รับความยอความชมเชย และได้ รับ
เกียรติยศต่าง ๆ จากฟอลคอน และได้ รับสายสร้ อยทองคํา
ถักเปนลายโปร่งกลางฝั งเพ็ชร์ เมล็ดงามมาก สายสร้ อยนี ้มองซิเออร์
เดฟาช์ได้ คลุมหมวกอยูเ่ สมอเปนนิตย์ จนที่สดุ มองซิเออร์ เดฟาช์หยิ่ง
เหลือเกิน ราชทูตฝรั่งเศสจึงได้ งดมิได้ เรี ยกให้ มาประชุมปฤกษาข้ อ
ราชการร่ วมด้ วย เพราะเดฟาช์มงุ่ หมายแต่จะใหญ่โตขึ ้น แต่
มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ก็พยายามแต่จะให้ อํานาจมองซิเออร์ เดฟาช์น้อยลง
ฝ่ ายเดฟาช์ก็ลมุ่ หลงในข้ อสรรเสริญเยินยอของคนชาติกริ ก จนไม่
ช้ าเดฟาช์ก็กลาย

๑๕๙
เปนคนของฟอลคอนมากกว่าเปนข้ าแผ่นดินของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ และ
เมื่อเดฟาช์ได้ เข้ าเฝ้าสมเด็จพระนารายน์และได้ เลยถือนํ ้าพระพิพฒ
ั สัตยา
ฟอลคอนก็มนั่ ใจแน่ว่าต่อไปกระบี่ของเดฟาช์คงจะเปนสิ่งที่จะป้องกันตัว
ของตัวได้
ซึง่ การเปนดังนี ้ก็เชื่อได้ แน่วา่ มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ก็คงจะได้ เรี ยก
เดฟาช์มาต่อว่าหลายครัง้ หลายหน เพราะผู้บงั คับการกองทหารฝรั่งเศส
ผู้นี ้ ซึง่ กลายเปนคนสนิทและกินอยูห่ ลับนอนกับฟอลคอน ได้
ประจําการอยูใ่ นราชสํานักไทยและไม่ยอมทําตามคําสัง่ ผู้ใด นอกจาก
พระราชโองการของพระเจ้ ากรุงสยามเท่านัน้ ทังกลายเปนผู ้ ้ สมรู้ร่วม
คิดกับฟอลคอนในการต่าง ๆ อันไม่บริ สทุ ธิ์ด้วย เมื่อเวลาเดฟาช์ไป
อยูท่ ี่เมืองลพบุรีก็ดี หรื ออยูท่ ี่กรุงศรี อยุธยาก็ดี ก็มิได้ นกึ ถึงคําสัง่
ของมาควิศเดอเซงแลเลย ที่มาควิศเดอเซงแลได้ สงั่ ไว้ เรื่ องเมืองม
ริดและบางกอก เรื่ องให้ ระวังป้องกันกองทหารฝรั่งเศส เรื่ องรักษา
เกียรติยศของตัวเอง และเรื่ องให้ มีความจงรักภักดีตอ่ พระเจ้ าแผ่นดิน
ของตัวนัน้ เปนสิ่งที่เดฟาช์ได้ ลืมทังหมด้
ครัน้ ได้ ลว่ งเวลาถึง ๖ อาทิตย์แล้ ว และราชทูตฝรั่งเศสทังสอง ้
คนได้ โต้ เถียงขอร้ องอย่างใดก็ไม่เปนผลสําเร็จเลย ราชทูตฝรั่งเศส
จึงได้ แนะนําขอร้ องให้ สง่ กองทหารฝรั่งเศสไปรักษาเมืองมริด คอนซตัน
ตินฟอลคอนก็แนะนําว่าควรจะคอยระดูที่สมควรเสียก่อน เพราะการที่
จะให้ กองทหารเดินทางบกจากบางกอกไปเมืองมริดนันเปนหนทางที ้ ่
กันดารมาก นํ ้าที่ทหารจะรับประทานคงจะหาไม่ได้ ภายหลังจึงเปน

๑๖๐
อันตกลงกันว่า เมื่อมองซิเออร์ เซเบเรต์จะเดินทางบกตัดแหลมไปเมือ
งมริดตามพระราชโองการของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ เมื่อใด ก็จะได้ จดั
กองทหารฝรั่งเศสให้ มองซิเออร์ ดบู รูองั คุมไปด้ วย แต่สงั เกตดูฟอล
คอนไม่ใคร่จะเต็มใจยกเมืองมริดให้ แก่ฝรั่งเศสเลย และเมืองนี ้
ก็เปนแห่งที่บริษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดียอยากได้ นกั ครัน้ ราชทูตฝรั่งเศส
เขี ้ยวเข็ญคาดคันให้ ้ ฟอลคอนได้ กระทําตามที่ได้ สญ ั ญาไว้ ฟอลคอน
ก็โกรธขึ ้นมา ร้ องว่าพวกฝรั่งเศสไม่เชื่อใจตัวเสียแล้ ว และร้ องว่า
พวกศัตรูของตัวที่ประเทศฝรั่งเศสคงจะคิดใส่ร้ายให้ และคงจะคิดทํา
ให้ พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสกริ ว้ ตัวเสียแน่แล้ ว ในระหว่างที่โต้ เถียงกันอยู่นี ้
ต่างฝ่ ายก็โมโหตึงตังเข้ าหากัน ราชทูตฝรั่งเศสเห็นว่าจะเปนเรื่ องที่
ชักยืดจึงกลับมาเสีย
รุ่งขึ ้นบาดหลวงเยซวิตชื่อเดอเบซได้ มาหา และต่อว่ามองซิเออร์
ลาลูแบร์ กบั มองซิเออร์ เซเบเรต์ ว่าในเวลาที่โต้ เถียงกันนันได้
้ ใช้ คํา
ที่แรงเกินไป และได้ เล่าต่อไปว่า ถึงมองซิเออร์ ดบู รูองั จะเปนคนหัวดื ้อ
สักปานใดก็ตาม แต่ฟอลคอนคงจะคิดอ่านเกลี ้ยกล่อมให้ มองซิเออร์
ดูบรูองั ได้ เปนพวกเดียวกับมองซิเออร์ เดฟาช์ให้ จงได้
ในเรื่ องที่ไทยจะยกบางกอกให้ แก่ฝรั่งเศสนัน้ ราชทูตฝรั่งเศส
ทังสองคนได้
้ คาดคันจะเอาความแน่
้ นอนให้ จงได้ โดยอ้ างเหตุวา่
มองซเออร์ เซเบเรต์จะกลับไปประเทศฝรั่งเศสก่อน เมื่อถึงฝรั่งเศส
แล้ วก็จําเปนจะต้ องรายงานให้ มองซิเออร์ เซงแลทราบว่า สถานที่ที่
บางกอกแน่นหนาแขงแรงหรื ออย่างไร มองซิเออร์ เซเบเรต์จงึ ได้ ไปพูด

๑๖๑
อ้ อนวอนมองซิเออร์ เดฟาช์โดยใช้ วาจาอย่างระวังมิให้ เดฟาช์โกรธได้
ขอให้ เดฟาช์ชี ้แจงในเรื่ องบางกอกให้ มองซิเออร์ เซเบเรต์ทราบโดยเลอียด
ว่า ๑ กองทหารอยูใ่ นที่นนเปนที
ั้ ่มนั่ คงพ้ นอันตรายหรื ออย่างไร ๒ ที่
นันแขงแรงแน่
้ นหนาพอที่จะไม่ให้ ข้าศึกโจมตีเอาได้ หรื อไม่ ๓ ถ้ าจะมี
ข้ าศึกมาโจมตีแล้ วจะมีกําลังพอจะต่อสู้ป้องกันไว้ ได้ หรื ออย่างไรข้ อถาม
เหล่านี ้ซึง่ เปนคําถามอย่างสุภาพก็ได้ รับคําตอบจากเดฟาช์ ว่า
“อย่างไร ๆ ก็จะอยูใ่ นที่นี ้ให้ จงได้ และถึงจะไม่มีอะไรจะมีแต่
เพียงลวดโปร่งบังอยู่ก็จะสูใ่ ห้ ได้ ”
ราชทูตจึงได้ ชี ้แจงต่อท่านผูบงั คับการว่าที่ถามนันไม่ ้ ได้ ประสงค์
จะถามว่าท่านผู้บงั คับการจะสู้หรื อไม่ เพราะทราบดีอยูแ่ ล้ วว่าท่านผู้
บังคับการเปนคนที่กล้ าหาญและชํานาญในกระบวนศึก แต่จะต้ องการ
ทราบเพียงแต่วา่ บางกอกนันจะพอต่
้ อสู้กบั ข้ าศึกที่จะมาโจมตีได้
หรื อไม่เท่านัน้ แต่เดฟาช์ก็ไม่ยอมตอบคําถามอันนี ้และไม่ยอมพูดใน
เรื่ องนี ้อีกต่อไป เปนแต่ตอบคําเดียวเท่านัน้ ว่าตัวคงกระทํา
การตามหน้ าที่
มองซิเออร์ เซเบเรต์หมดท่าเข้ าแล้ ว เพราะจะถามมองซิเออร์
เดฟาช์ก็ไม่ได้ ความอะไรเลย จึงหันไปถามมองซิเออร์ โวลัง ท่านผู้นี ้
ค่อยยังชัว่ ไม่ใคร่จะปิ ดความนัก จึงได้ อธิบายว่า ถ้ าได้ ซอ่ มแซม
ป้อมให้ ดีแล้ วก็พอจะป้องกันบางกอกไว้ ได้ ในข้ อนี ้มองซิเออร์ โวลัง
ถึงกับจะยอมทําคําชี ้แจงเปนลายลักษณ์อกั ษร แต่ก็ไม่ยอมเซ็นชื่อใน
คําชี ้แจงนัน้ ครัง้ ได้ อธิบายชี ้แจงให้ มองซิเออร์ เซเบเรต์เข้ าใจในเรื่ อง
๒๑
๑๖๒
บางกอกเสร็จแล้ ว มองซิเออร์ โวลังก็นําความไปเล่าให้ มองซิเออร์
เดฟาช์ฟังตามหน้ าที่ ท่านผู้บงั คับการได้ ทราบก็โกรธมาก จึงได้ ดา่
และใช้ วาจาอย่างแรงต่อมองซิเออร์ โวลังผู้ซงึ่ ไม่มีสติ ฟอลคอนจึงได้
สัง่ ให้ ไล่มองซิเออร์ โวลังออกจากเมืองลพบุรีเสีย และโวลังก็ได้ รับ
คําสัง่ ให้ กลับไปอยูท่ ี่บางกอก มองซิเออร์ โวลังมีความโทมนัศน้ อยใจ
มากจึงได้ มาร้ องต่อมองซิเออร์ เซเบเรต์ และขออนุญาตกลับไปยัง
ประเทศฝรั่งเศส มองซิเออร์ เซเบเรต์จงึ ได้ แนะนําให้ ทําตามคําสัง่
เพื่อจะได้ มีโอกาศฉลองพระเดชพระคุณพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสได้ และได้
แนะนําต่อไปว่าควรมองซิเออร์ โวลังจะไปขอคําสัง่ จากหัวหน้ า และให้
บอกหัวหน้ าให้ ทราบเสียด้ วยว่า มองซิเออร์ โวลังมิได้ คดิ เลยที่จะทํา
การฝ่ าฝื นท่านเสนาบดี มองซิเออร์ โวลังได้ ไปกระทําตามคําแนะนํา
ของมองซิเออร์ เซเบเรต์ทกุ ประการ๑
ในเวลาที่มองซิเออร์ เดฟาช์ไม่ได้ ประจําการอยู่ที่บางกอกเพราะ
ถูกเรี ยกไปประจําอยูก่ บั ฟอลคอน ระเบียบกองทหารที่บางกอกก็เสีย
หนักขึ ้นทุกที และความป่ วยไข้ ก็เกิดชุกชุมขึ ้น พวกพลทหารฝรั่งเศส
มิได้ ระวังที่จะรักษาเกียรติยศของตัวเลย ซึง่ เปนการจําเปนเพราะตัว
อยูใ่ นท่ามกลางพลเมืองอันมีความตกใจและปลาดใจที่ได้ เห็นทหารต่าง
๑ มองซิเออร์ โวลังมิได้ ประจบประแจงเอาใจฟอลคอนเหมือนเดฟาช์ เพราะ
ฉนันฟอลคอนจึ
้ งไม่ชอบ ในข้ อที่ฟอลคอนไม่พอใจโวลังนันมี ้ กล่าวในจดหมายเหตุของ
เซเบเรต์แต่ข้อเดียว คือว่า โวลังล้ อฟอลคอนซึง่ เปนเรื่องที่ความจะประหารชีวิตโวลัง
ได้ โดยแท้ แต่ความจริ งในเรื่องนี ้ ความที่ฟอลคอนทําการต่าง ๆ อันไม่บริ สทุ ธิ์
จึงกระทําให้ พวกฝรั่งเศสแตกสามัคคีกนั หมด จนถึงกับพวกเจ้ าพนักงานฝ่ ายเรือแตกร้ าว
กับพวกกองทหารบก และกองทหารบกทังนายทหารและพลทหารไม่
้ ไปมาหาสูพ่ วกเรือ
ถึง ๑๕ วัน
๑๖๓
ประเทศเข้ ามาตังอยู ้ เ่ ช่นนี ้ แต่กลับประพฤติตวั อย่างไม่ดี มีความ
เย่อหยิ่งไปเที่ยวล้ อเลียนชาวบ้ านและเมาสุราประพฤติเกะกะต่าง ๆ
อันเปนกิริยาของผู้ที่มีไชยชนะตีเอาเมืองได้ หาใช่เปนกิริยาของสัม
พันธมิตร์ อนั ได้ รับหน้ าที่ไปรักษาป้อมซึง่ ผู้เปนมิตร์ ได้ เปิ ดประตูรับโดย
มิได้ รบพุง่ กันเลย ในเรื่ องนี ้มองซิเออร์ เวเรต์ก็ได้ เขียนข่าวบอกไปยัง
ราชทูตฝรั่งเศสทังสองว่
้ า กองทหารฝรั่งเศสจะเกิดแตกร้ าวกับ
พลเมืองชาวบางกอกขึ ้นแล้ ว๑ ข่าวอันนี ้ก็เปนข่าวที่น่าร้ อนใจอยูบ่ ้ าง
เดฟาช์ทราบกเกิดตกใจจึงได้ ถามราชทูตทัง๒ว่ ้ าข่าวเรื่ องนี ้ท่านราชทูต
ได้ ทราบมาทางใด
ราชทูตก็ไม่ยอมบอกให้ เดฟาช์ทราบแต่กลับแนะนําให้ เดฟาช์
สืบสวนดูเงียบ ๆ ว่าความจริงเปนอย่างไร แต่ฝ่ายเดฟาช์ก็มิได้ ร้อนใจ
ที่จะกลับลงไปบางกอก เพราะฟอลคอนได้ สงั่ ไว้ วา่ ยังไม่ให้ ไป
๑ ระเบียบของพวกฝรั่งเศสที่มากับราชทูตคราวนี ้ มิได้ กวดขันเหมือนเมื่อครัง้
เชอวาเลียเดอโชมองเลย บาดหลวงบูเวต์ได้ แต่งจดหมายเหตุกล่าวเรื่องระเบียบของ
เชอวาเลียเดอโชมองหลายเรื่อง แต่จะยกมาเปนตัวอย่างในที่นี ้แต่เรื่องเดียว เชอวาเลีย
เดอโชมองได้ ประกาศไว้ วา่ ถ้ าผู้ใดกระทําผิดคําสัง่ หรื อผู้ใดไปเมาสุราหรือไปในที่
รับประทานสุราจะได้ ลงโทษผู้นนอย่ ั ้ างหนัก ครัน้ ได้ มาถึงเมืองไทยไม่ช้าเท่าไรนัก ท่าน
ราชทูตได้ ทราบว่าคนใช้ ของท่านคน ๑ ได้ ไปเมาสุรา ท่านจึงได้ คดิ จะทําโทษคนใช้ ที่
เมานันให้
้ เปนตัวอย่างเพื่อคนอื่นจะได้ กลัวการเมาและเกะกะจะได้ ไม่ลกุ ลามมากไป ท่าน
ราชทูตจึงสัง่ ให้ ถอดฟอมคนใช้ เสียก่อน แล้ วให้ เอาคนใช้ ที่เมานันไปใส่
้ ขื่อไว้ กลางแดด
ในที่ประชุมชนแล้ วให้ เอาขวดสุราเปล่า ๆ สองขวดแขวนไว้ ที่หขู ้ างละขวด คนใช้ ที่เมา
สุรานี ้กําหนดจะต้ องรับโทษอย่างนี ้ ๒ วัน แต่เพอิญราชทูตสยามที่ได้ ไปเมืองฝรั่งเศส
ได้ มาพบเข้ า จึงได้ มาขอให้ เชอวาเลียเดอโชมองยกโทษให้ คนใช้ นนจึ
ั ้ งได้ รอดตัวไป
มิต้องติดขื่อตากแดดเต็ม ๒ วันดังได้ กําหนดไว้ เดิม

๑๖๔
ราชทูตฝรั่งเศสทังสองคนเบื
้ ่อหน่ายเต็มทีแล้ วที่ทําการต่าง ๆ
อย่างไทยเช่นนี ้จึงได้ คิดจะกลับเสียที และได้ เกิดวิวาทกับฟอลคอน
ขึ ้นเปนครัง้ ที่สดุ ซึง่ ทําให้ แตกร้ าวบาดหมางกันหนักขึ ้นอีก
คือในคราวที่ราชทูตฝรั่งเศสมากรุงสยามเที่ยวนี ้ฝรั่งเศสได้ บรรทุก
ปื นสําหรับยิงลูกแตก ลูกแตกกับทหารปื นใหญ่ลงเรื อมาด้ วย ๑๐ คน
ทหารปื นใหญ่เหล่านี ้อยูใ่ นบังคับบัญชาของมองซิเออร์ ดลู าริก ๆ ได้ รับ
พระราชโองการจากพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ที่เมืองเบรสต์ ว่าเมื่อเรื อจะ
กลับไปเมืองฝรั่งเศสเมื่อใด ก็ให้ มองซิเออร์ ดลู าริกคุมทหารปื นใหญ่
กลับไปด้ วย เพราะพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสทรงพระราชดําริ ห์เห็นว่า เมื่อ
เรื อได้ ออกจากเมืองไทยแล้ ว คงจะไม่มีเหตุจําเปนอย่างใดที่จะต้ อง
ใช้ ทหารปื นใหญ่เหล่านี ้ ส่วนคําสัง่ ถึงมองซิเออร์ เดฟาช์และถึงราชทูต
ทังสองก็
้ ดําเนินความคล้ ายกับคําสัง่ ถึงมองซิเออร์ ดลู าริ ก แต่จะต้ อง
สังเกตว่าคําสัง่ อันนี ้ได้ กล่าวถึงทหารปื นใหญ่โดยชัดเจน ส่วนปื นใหญ่
แลลูกแตกนันไม่ ้ ได้ กล่าวถึงเลย จึงเปนข้ อต้ องสันนิฐานได้ ว่าใน
พระราชดําริห์ของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ และในดําริห์ของมองซิเออร์ เซง
แลคงจะมุง่ หมายเอาปื นใหญ่แลลูกแตกไว้ สําหรับใช้ ป้องกันรักษา
บางกอกแลเมืองมริ ดเปนแน่
ฝ่ ายฟอลคอนได้ ถกู บาดหลวงตาชาด์ยแุ หย่ตา่ งๆก็เข้ าใจเอาเอง
ง่าย ๆ ว่าปื นใหญ่และลูกแตกเหล่านี ้ ตัวคงจะสัง่ ให้ ใช้ ได้ ตามความ
พอใจทุกอย่าง ถ้ าจะเชื่อบาดหลวงตาชาด์แล้ วก็จะต้ องเข้ าใจว่า เมื่อ
มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ มาถึงเมืองไทย ก็ได้ สญ ั ญาไว้ วา่ จะได้ นําลูกแตก

๑๖๕
เหล่านี ้ถวายไว้ ตอ่ พระเจ้ ากรุงสยาม เพราะฉนันฟอลคอนจึ
้ งมีอํานาจ
และหน้ าที่ที่จะทวงเอาได้ ครัน้ จวนถึงเวลาที่มองซิเออร์ เซเบเรต์จะ
กลับไปจากเมืองไทย สมเด็จพระนารายน์ก็เกิดมีพระราชประสงค์
จะทอดพระเนตร์ ยิงลูกแตก ฟอลคอนจึงขอให้ มองซิเออร์ เดฟาช์สง่ ปื น
ใหญ่ไปจากบางกอก ๑ กระบอกและให้ สง่ ลูกแตกขึ ้นไปด้ วย ๓ ลูก มอง
ซิเออร์ เดฟาช์ก็ได้ ปฏิบตั ิตามคําขอร้ องของฟอลคอน ซึง่ ผิดด้ วยคําสัง่ ที่
ตัวได้ รับมา และผิดจากคําแนะนําของราชทูตฝรั่งเศสด้ วย ในเรื่ องนี ้
มองซิเออร์ เดฟาช์เองก็ร้ ูสึกว่าผิด จึงได้ มีหนังสือถึงมองซิเออร์ เซงแล
ยกเหตุแก้ ตวั ต่าง ๆ
แต่ความคิดและความมุง่ หมายของฟอลคอนจะมีอย่างไรนัน้
เพอิญพวกราชทูตฝรั่งเศสได้ ทราบตังแต่ ้ วนั แรกมาถึงเมืองไทยเสียแล้ ว
ราชทูตฝรั่งเศสจึงคัดค้ านไว้ ไม่ยอมให้ เอาปื นใหญ่และลูกแตกออกจาก
เรื อ ปื นใหญ่และลูกแตกเหล่านี ้จึงคงทิ ้งอยูใ่ นเรื อลัวโซนันเอง
้ ครัน้
ฟอลคอนได้ ทราบว่าปื นใหญ่ยงั อยูใ่ นเรื อก็ขดั เคืองมาก และคงเปน
ที่เชื่อได้ แน่ว่าในวันนันฟอลคอนคงจะโกรธจริ
้ ง ตามคําบอกเล่าของ
บาดหลวงตาชาด์คงได้ ความว่าสมเด็จพระเจ้ ากรุงสยามทรงตังพระไทย ้
ในทหารปื นใหญ่และลูกแตกนี ้มาก เพราะทรงพระราชดําริห์ไว้ ว่าจะ
ได้ เอาไว้ ใช้ ยิงพวกขบถที่เมืองปั ตตานี และโดยเหตุที่พระเจ้ ากรุง
ฝรั่งเศส “พระสหายที่รัก” ได้ ทรงเอื ้อเฟื อ้ เช่นนี ้ พระเจ้ ากรุงสยาม
จึงได้ ทรงขูว่ า่

๑๖๖
“พอได้ ทรงทราบว่า พวกขบถเมืองปั ตตานีได้ กําเริบขึ ้น ก็จะ
ได้ ทรงใช้ ลกู แตกเหล่านี ้ยิงพวกขบถให้ เปนผงธุลีเสียทีเดียว”
ในเรื่ องลูกแตกนี ้ฟอลคอนได้ กราบทูลอวดอ้ างต่อพระเจ้ ากรุ งสยาม
เสียแล้ วว่า ปื นใหญ่ของฝรั่งเศสมีฤทธิ์เดชน่าอัศจรรย์นกั ครัน้ เห็น
ว่าการที่กราบทูลไว้ จะไม่เปนผลสําเร็จ จึงปฤกษากับบาดหลวงตาชาด์
หาทางที่จะแก้ ในพระราชประสงค์ที่จะทอดพระเนตร์ ลกู แตก แต่ก็หา
สําเร็จไม่ เพราะพระเจ้ ากรุงสยามก็คงยังทรงพระราชประสงค์จะทอด
พระเนตร์ ให้ จงได้
พวกขบถที่ทําให้ ฟอลคอนร้ อนใจนัน้ คงจะไม่ใช่พวกขบถเมือง
ปั ตตานีเปนแน่แต่จะอย่างไรก็ตามฟอลคอนก็เห็นว่าเครื่ องมืออันสําคัญ
สําหรับจะใช้ ป้องกันบ้ านเมืองนั ้นจะหลุดพ้ นมือไปโดยพระราชโองการของ
“พระสหายที่รัก” เสียแน่แล้ ว ฟอลคอนจึงได้ มีจดหมายถึงราชทูต
ฝรั่งเศสตัดพ้ อต่อว่า ว่าราชทูตไม่กระทําตามวาจาที่สญ ั ญาไว้ และ
เขียนว่า
“ขอให้ ทา่ นราชทูตได้ ตรึกตรองดูให้ ดี ว่าการที่ราชทูตอัน
ได้ รับอํานาจมาจากพระเจ้ าแผ่นดิน และมาสัญญากับพระเจ้ า
แผ่นดินอีกองค์หนึง่ ซึง่ เปนสัมพันธมิตร์ กนั และราชทูตนันจะ ้
มาทําเล่นเช่นนี ้จะสมควรหรื อไม่”
แต่ถึงฟอลคอนจะตัดพ้ อต่อว่าสักเพียงไรและถึงบาดหลวงตาชาด์
จะมาช่วยพูดจาว่าอย่างไร ก็มิได้ ทําให้ ราชทูตฝรั่งเศสหวัน่ ไหวเลย
ฟอลคอนเห็นว่าการที่มีจดหมายไปนันไม่ ้ เปนผล จึงได้ ไปหาด้ วย
ตัวเองแลต่อว่าด้ วยปาก มองซิเออร์ เซเบเรต์ก็ได้ ตอบอย่างเสียไม่ได้
ว่า
๑๖๗
“จะต้ องรู้จกั เลือกว่าของสิ่งใดที่ได้ สง่ มาถวายพระเจ้ ากรุงสยาม
ชัว่ คราว แลของสิ่งใดที่สง่ มาถวายสําหรับประจําอยูใ่ นเมืองนี ้
เพราะฉนันต้ ้ องเข้ าใจว่า เรื อ ทหารปื นใหญ่ และปื น
ใหญ่เปนของที่สง่ มาถวายชัว่ คราวเท่านัน” ้
ฟอลคอนได้ ฟังก็โกรธเปนนักหนา จึงหันมาหาพวกนายทหาร
ซึง่ อยูใ่ นที่นนั ้ และสัง่ ให้ พวกนายทหารได้ กระทําตามพระราชโองการ
ของพระเจ้ าแผ่นดินสยาม มองซิเออร์ เซเบเรต์จงึ พูดขึ ้นว่า
“ไม่มีแบบอย่างไรเลยที่นายทหารจะออกคําสัง่ โดยพลการ
ตนเอง แต่จะต้ องปฏิบตั ิตามคําสัง่ ของผู้บงั คับการ เพราะผู้
บังคับการได้ รับคําสัง่ มาจากพระเจ้ าแผ่นดินแล้ ว”
ฟอลคอนได้ ยินดังนี ้ก็โกรธจนยังตั ้ วไม่ได้ จึงร้ องตะโกนด้ วย
เสียงอันดังว่า ไม่ต้องการเอาพวกฝรั่งเศสที่ไม่ทําตามคําสัง่ ไว้ ใน
เมืองไทย ในเรื่ องนี ้มองซิเออร์ เซเบเรต์เขียนเล่าในจดหมายเหตุว่า
“เมื่อเวลาฟอลคอนพูดดังนี ้ ฟอลคอนก็หนั หน้ าไปพูดกับพวก
นายทหาร เพอิญเวลานันข้ ้ าพเจ้ ากําลังพูดอยูก่ บั บาดหลวง
ตาชาด์ ข้ าพเจ้ าจึงแกล้ งทําเปนไม่ได้ ยินเสีย เพราะถ้ า
ข้ าพเจ้ าได้ ยินแล้ วก็จําเปนจะต้ องตอบฟอลคอนอย่างแรง ๆ ซึง่
จะไม่เปนเหตุทําให้ การปรองดองได้ ดีขึ ้นเลย”
การที่ฟอลคอนได้ มาแสดงความเย่อหยิ่ง และราชทูตฝรั่งเศส
ได้ ตอบว่าอย่างไรนัน้ ราชทูตได้ เขียนจดหมายบอกให้ มองซิเออร์ เดฟาช์
ทราบในวันนันเอง ้ ในจดหมายฉบับนี ้มีความว่า ดังนี ้

๑๖๘
“ในเรื่ องทหารปื นใหญ่ ปื นใหญ่แลลูกแตกซึง่ สมเด็จพระเจ้ า
กรุงฝรั่งเศสนายของเราได้ โปรดให้ เอาลงเรื อมาด้ วยโดยอยูใ่ น
บังคับบัญชาของมองซิเออร์ ดลู าริกนัน้ มีพระราชดําริ ห์ไว้ วา่
เมื่อเรื อหลวงเหล่านี ้จะกลับไปประเทศฝรั่งเศสเมื่อใด ก็ให้
มองซิเออร์ ดลู าริ กคุมทหารปื นใหญ่ ปื นใหญ่และลูกแตก
เหล่านี ้กลับไปประเทศฝรั่งเศสเสียด้ วย เพราะฉนันให้ ้ มองซิ
เออร์ เดฟาช์สง่ ทหารปื นใหญ่เหล่านี ้กลับไปตามพระราชโองการ
ของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส ถ้ าแม้ วา่ มองซิเออร์ เดฟาช์มิได้
กระทําตามคําสัง่ ฉบับนี ้ แต่ยงั คงกักทหารปื นใหญ่ ปื นใหญ่
ลูกแตกและเครื่ องใช้ ทงปวงสํ
ั้ าหรับใช้ กบั ปื นใหญ่เหล่านี ้แล้ ว ก็
ให้ มองซิเออร์ เดฟาช์เปนผู้รับผิดชอบเฉภาะตัวต่อพระเจ้ ากรุง
ฝรั่งเศสทีเดียว”
การที่จะเจรจาปฤกษาหารื อกันต่อไปนับว่าเปนอันทํากันไม่ได้ แล้ ว
เพราะฟอลคอนก็ได้ แสดงต่อราชทูตฝรั่งเศสมานานแล้ ว ว่าทังหมดก็ ้
มีแต่บาดหลวงตาชาด์คนเดียวที่ฟอลคอนจะไว้ ใจได้ จนถึงกับฟอลคอนได้
คิดที่จะจัดให้ บาดหลวงตาชาด์เปนเอกอรรคราชทูตไปยังประเทศฝรั่งเศส
และกรุงโรม
ฝ่ ายมองซิเออร์ เซเบเรต์มีความท้ อใจอย่างยิ่งที่ไทยทําการไม่
ซื่อตรง ทังเบื ้ ่อหน่ายในการที่ตวั ได้ รับความอับอายขายหน้ ามาหลาย
ครัง้ หลายหน และเห็นในความไม่มนั่ คงของลาลูแบร์ ซึ่งมีแต่โทษะอยู่
เปนนิตย์ ทังรู้ ้ สกึ ในความรับผิดชอบของตัวเองด้ วย มองซิเออร์

๑๖๙
เซเบเรต์จงึ ได้ บอกให้ ฟอลคอนทราบว่า จะได้ เตรี ยมตัวออกจาก
เมืองไทย ฟอลคอนได้ ทราบก็คิดขัดขวางไว้ มิให้ มองซิเออร์ เซเบเรต์
กลับไปอย่างไม่ร้ ูตวั เช่นนี ้ และบ่นว่ามองซิเออร์ เซเบเรต์ไม่ได้ บอกให้
รู้ตวั ล่วงหน้ า รุ่งขึ ้นก้ เกิดเสียงลือขึ ้นว่าพระเจ้ ากรุงสยามทรงพระ
ประชวรซึง่ เปนเหตุอนั เหมาะสําหรับฟอลคอน เพราะมองซิเออร์ เซเบ
เรต์จะเฝ้าทูลลายังไม่ได้ คนชาติกริกอันมีไหวพริ บได้ ร้ ูเหตุเรื่ องนี ้
ล่วงหน้ าเสียแล้ ว จึงได้ พดู ไว้ กบั มองซิเออร์ เดอลาเลอว่า “วันที่
๑๐ พระเจ้ ากรุงสยามทรงพระประชวร “เพราะฉนันพวกราชทู
้ ต
จะต้ องทําใจเย็น ๆ “ไว้ ” แต่การที่วา่ พระเจ้ ากรุงสยามทรงพระ
ประชวรนันจะจริ้ งหรื อเปนเรื่ องที่แกล้ งทําอย่างไรก็ตาม แต่มิได้ เปน
การทําให้ มองซิเออร์ เซเบเรต์เปลี่ยนความคิดเลย มองซิเออร์ เซเบเรต์
กับมองซิเออร์ ลาลูแบร์ จงึ ทําความตกลงกันว่า มองซิเออร์ ลาลูแบร์ จะ
ได้ อยู่ตอ่ ไป แต่มองซิเออร์ เซเบเรต์จะอยู่ตอ่ ไปไม่ได้ แล้ ว เพราะ
ได้ รับคําสัง่ ไว้ ให้ ออกจากกรุงศรี อยุธยาเดินทางบกไปเมืองมริด เมื่อถึง
เมืองมริดแล้ วให้ มองซิเออร์ เซเบเรต์สงั่ เสียการงานทังปวงให้ ้ พวก
ฝรั่งเศสได้ อยูใ่ นที่นนโดยมั
ั้ ง่ คง แล้ วให้ ลงเรื อชื่อ เปรซิเดน ซึง่
มองซิเออร์ ดเู คนกีตองจะได้ พามาเพื่อคอยรับ แล้ วให้ มองซิเออร์
เซเบเรต์ออกเรื อไปฝั่ งคอรอมันเดลทีเดียว ในเวลานันเจ้ ้ าแผ่นดิน
เมืองคอลคอนด์ ได้ เอาเกาะเซนต์ตอเมออกจากอํานาจบริษัทฝรั่งเศส
ฝ่ ายอินเดีย และได้ กระทําร้ ายต่าง ๆ ต่อผู้แทนและคนใช้ ของบริ ษัท
๒๒

๑๗๐
ด้ วย เพราะฉนันจึ ้ งตกเปนหน้ าที่ของมองซิเออร์ ดเู คนกีตองและ
มองซิเออร์ เซเบเรต์ ที่จะไปพูดจาว่ากล่าวในเรื่ องนี ้ ถ้ าจะพูดกันโดยดี
ไม่ฟังแล้ ว ก็ให้ ใช้ กําลังอาวุธทีเดียว แต่การที่มองซิเออร์ เซเบเรต์จะ
รี บกลับไปก่อนเช่นนี ้ บาดหลวงตาชาด์กลับเห็นว่า เปนเพราะเหตุ
ที่มองซิเออร์ เซเบเรต์จะต้ องการไปถึงเมืองเบรสต์ก่อน เพื่อจะได้ ไป
รายงานถึงเหตุการณ์ที่ราชทูตได้ มาในเมืองไทยก่อนคนอื่นเท่านัน้
แต่การที่มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ คิดอ่านจะรี บกลับไปเช่นนี ้ ก็
มิได้ เปนการขัดขวางในการทีม่ องซิเออร์ เซเบเรต์จะได้ เซ็นหนังสือสัญญา
พร้ อมด้ วยพระยาพระคลังและเจ้ าพนักงานอื่น ๆ ของพระเจ้ ากรุงสยาม
หนังสือสัญญาที่ได้ เซ็นชื่อกันในคราวนี ้ เปนหนังสือสัญญาว่าด้ วย
การค้ าขาย ซึง่ ผู้อํานวยการของบริษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดียได้ ร่างไว้
นานแล้ ว เพราะมองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ ตงใจพยายามให้
ั้ ประเทศ
ฝรั่งเศสได้ รับผลดีจากเมืองต่าง ๆ ที่บริษัทฝรั่งเศสจะได้ ไปตังขึ ้ ้นใหม่ ๆ
ในแหลมอินโดชีน
หนังสือสัญญาที่เชอวาเลียเดอโชมองได้ เซ็นไว้ เมื่อปี ค.ศ.๑๖๘๕
( พ.ศ.๒๒๒๘ ) นันมี ้ ข้อความบางข้ อที่มาควิศเดอเซงแล และบริ ษัท
ฝรั่งเศสไม่พอใจ คณะเสนาบดีที่เวอซายจึงได้ แก้ ไขเพิ่มเติมตัดทอน
หนังสือสัญญาฉบับนันตามคํ ้ าแนะนําของผู้อํานวยการบริษัท และได้
มอบร่างหนังสือสัญญาที่ได้ แก้ ไขใหม่นนให้ ั ้ ไว้ แก่มองซิเออร์ เซเบเรต์
หนังสือสัญญาที่แก้ ไขใหม่นี ้ได้ ปฤกษาหารื อกัน แยกข้ อความที่ยงั
เคลือบคลุมออกเสีย คําใดที่เปนคําสงไสยก็ให้ ตดั ออกเสีย และให้ มี

๑๗๑
แต่ข้อความที่เปนหลักฐานมัน่ คง กับสัญญาข้ อใดที่ไทยจะยอมยก
สิทธิให้ ก็ให้ เปนการแน่นอนทีเดียว ในการที่มองซิเออร์ เซเบเรต์
จะมาพูดจาในเรื่ องข้ อสัญญาที่แก้ ไขใหม่นี ้ ก็ต้องใช้ ความตรึกตรอง
ใคร่ครวญอย่างสุขมุ และในชันต้
้ นมองซิเออร์ เซเบเรต์ก็ได้ ระวัง
นักหนามิให้ ตวั ลุม่ หลงในวาจาอันหน้ าฟั งของฟอลคอนได้ และมิยอม
ที่จะพูดถึงการงานทังปวง้ จนกว่าไทยจะได้ ทําตามที่สญั ญาไว้ ในเรื่ อง
บางกอกฝ่ ายบาดหลวงตาชาด์ก็มาแนะนําแก่มองซิเออร์ เซเบเรต์ว่า ถ้ า
จะต้ องการให้ บริ ษัทฝรั่งเศสได้ ประโยชน์ดีตอ่ ไปแล้ ว ก็ควรจะเปนธุระ
ช่วยเหลือให้ ความคิดของฟอลคอนได้ สําเร็จเสียก่อน แต่มองซิเออร์
เซเบเรต์ก็ได้ ตอบบาดหลวงตาชาด์ว่า “ต้ องเอาราชการของพระเจ้ า
แผ่นดินเปนใหญ่กว่าการของคนอื่น”
ข้ อสัญญาตามที่ได้ ร่างขึ ้นใหม่นนก็
ั ้ ดําเนินความตามความประสงค์
ของรัฐบาล ( สยาม ) ทุกอย่าง และมองซิเออร์ เซเบเรต์ก็ได้ ระวังใน
การทําสัญญานี ้ มิให้ เสียเกียรติยศส่วนตัวและไม่ให้ เสียเกียรติยศใน
ตําแหน่งที่ตวั เปนทูต ทังระวั
้ งมิให้ เปนข้ อเสียหายแก่พอ่ ค้ าฝรั่งเศสด้ วย
สิทธิตา่ ง ๆ ที่ไทยได้ ยกให้ แก่มองซิเออร์ เดลานด์และเชอวาเลีย
เดอโชมองในเรื่ องค้ าพริกไทยนัน้ ก็คงเปนไปตามเดิมนันทุ ้ กอย่าง
ฝ่ ายพระเจ้ ากรุงสยามก็พระราชทานที่ดนิ สําหรับให้ บริษัทปลูกห้ างปลูก
โรงไว้ สินค้ า และพระราชทานพระราชานุญาตให้ บริษัทได้ กระทําการ
ค้ าขายได้ ทกุ อย่างทัว่ พระราชอาณาจักร์ โดยไม่ต้องเสียภาษีทงขาเข้
ั ้ าและ
ขาออก แต่พระเจ้ ากรุงสยามทรงไว้ ซงึ่ อํานาจที่จะทรงเลือกสินค้ า

๑๗๒
ต่าง ๆ อันเปนที่พอพระไทยไว้ ได้ ส่วนเรื อที่จะบรรทุกสินค้ านันก็ ้ มิได้
กําหนดว่าจะต้ องมีกี่ลํา และบริ ษัทจะใช้ สิทธิเหล่านี ้ไปถึงเรื อ
ต่างประเทศซึง่ มารับสินค้ าจากโรงเก็บสินค้ าของบริษัทก็ได้ ในข้ อที่
เกี่ยวด้ วยคดีตา่ ง ๆ ในระหว่างพวกฝรั่งเศสและชาวต่างประเทศซึง่ ทํา
การของบริษัทนั ้น หัวหน้ าใหญ่ของบริ ษัทจะเปนผู้ที่จะพิจารณาและ
ตัดสินคดีเหล่านี ้ทังสิ
้ ้น นอกจากนี ้ข้ างฝ่ ายไทยยอมอนุญาตให้ บริษัท
สร้ างโรงงานทุก ๆ ชนิดที่จําเปนสําหรับการค้ าขายนัน้ ๆ และยกเว้ นมิ
ต้ องเสียค่าถ่ายหรื อค่าเสียหายในเวลาที่เรื อแตกหรื อถูกอัปปางตาม
ชายฝั่ งทะเลด้ วย ทังไทยยอมยกเกาะต่
้ าง ๆ อันเหมาะ ซึง่ อยูห่ า่ งกับ
ท่าเรื อเมืองมริ ดหนทางไม่เกิน ๑๐ ไมล์ให้ แก่ฝรั่งเศส และถ้ าชาว
ฝรั่งเศสคนใดมีความประสงค์จะออกจากพระราชอาณาเขตร์ เมื่อใดก็ไป
ได้ โดยไม่มีข้อกีดขวางอย่างใด เว้ นแต่จะต้ องชําระหนี ้สินให้ หมด
และบอกกล่าวขออนุญาตเสียก่อนจึงจะไปได้
ตามข้ อความที่ได้ บรรยายมาข้ างบนนี ้ เปนข้ อความที่สําคัญใน
หนังสือสัญญานัน้ และถ้ าจะสรุปความแล้ ว ก็เปนประโยชน์ตอ่
บริษัทเปนอันมาก จริ งอยู่ในเรื่ องนี ้ บาดหลวงตาชาด์หาได้ กล่าวใน
จดหมายเหตุทงฉบั ั ้ บเขียนและฉบับพิมพ์จนคําเดียวไม่ แต่มองซิเออร์
เดฟาช์ซงึ่ ทราบกันอยูแ่ ล้ วว่า เปนคนไม่ชอบมองซิเออร์ เซเบเรต์ได้
เขียนหนังสือถึงมองซิเออร์ เซงแล ยกย่องชมเชยในเรื่ องสัญญานี ้เปน
อันมาก จดหมายที่มองซิเออร์ เดฟาช์เขียนไปนัน้ ได้ เขียนจาก
บางกอก ลงวันที่ ๒๗ เดือนธันวาคม และใจความในจดหมายฉบับ
นี ้มีวา่ มองซิเออร์
๑๗๓
เดฟาช์หวังใจว่าประเทศฝรั่งเศสคงจะมีความพอใจ ในการที่ได้ ตกลง
ทําสัญญากันดังนี ้ และกล่าวต่อไปว่า “ในการทําหนังสือสัญญาฉบับนี ้
มองซิเออร์ เดฟาช์ไม่ได้ คิดแก่ความเหน็ดเหนื่อย และเชื่อว่าการที่
ได้ ตกลงกันได้ เช่นนี ้ ก็ด้วยมองซิเออร์ เดฟาช์ได้ ชว่ ยบ้ างเล็กน้ อย”
ฝ่ ายคอนซตันตินฟอลคอนก็ออกจะรู้สึกตัวว่า การที่มองซิเออร์
เซเบเรต์จะกลับไปครัง้ นี ้ เปนการจําเปนที่ตวั จะต้ องทําประการใดประ
การหนึง่ ให้ เห็นว่าตัวมีความเชื่อถือไว้ ใจในบริษัทฝรั่งเศส การที่
จะพูดด้ วยปากนันไม่ ้ เพียงพอเสียแล้ ว จําเปนจะต้ องคิดอ่านช่วยเหลือ
ให้ บริษัทได้ ทําการแพร่หลายออกไป และให้ ได้ กําไรมากขึ ้น แต่การ
ที่ฟอลคอนจะแสดงความไว้ ใจเช่นนี ้ จะทําอย่างไรจึงจะให้ คนทังหลาย ้
รู้สกึ ได้ เล่า ก็อะไรจะดีวิเศษกว่าที่ตวั จะเปนตัวการเสียเองด้ วยเล่า
เพราะจะเปนหนทางที่ตวั จะได้ มีโอกาศควบคุมดูแลการเปนไป และ
การคดโกงของบริ ษัทได้ และทังเปนหนทางที
้ ่ตวั จะได้ เลื่อนชันเข้้ า
ไปเปนผู้อํานวยการของบริษัทได้ ด้วย เมื่อได้ คิดเช่นนี ้แล้ ว ฟอลคอน
จึงได้ เซ็นสัญญาพิเศษกับมองซิเออร์ เซเบเรต์ ซึง่ ได้ เขียนเป
นภาษาปอตุเกตและภาษาฝรั่งเศส ในหนังสือสัญญาพิเศษฉบับนี ้ มี
ความว่า
“คอนซตันตินฟอลคอนสัญญาจะเข้ าหุ้นกับบริ ษัทฝรั่งเศส ฝ่ าย
อินเดียตวันออกเปนเงิน ๓๐๐,๐๐๐ แฟรง และจะได้ แบ่งกําไร
หรื อขาดทุนเท่ากับผู้เข้ าหุ้นอื่น ๆ ฟอลคอนจะได้ รับส่วนแบ่ง
กําไรของบริ ษัทปี ละ ๑๐ เปอเซนทุก ๆ ปี เหมือนกับพวก
หุ้นส่วนอื่น ๆ ของบริ ษัท เมื่อบริ ษัทได้ กําไรมากกว่าเงินที่
แบ่งให้

๑๗๔
๑๐ เปอเซนแล้ ว กําไรจะยังคงเหลืออยูอ่ ิกมากน้ อยเท่าใด ให้
บริษัทเก็บรักษาไว้ แล้ วเมื่อถึงปี ก็ให้ บริ ษัทจ่ายเงินกําไรนัน้
ให้ แก่ผ้ แู ทนของฟอลคอน ที่กรุงปารี สทุก ๆ ปี ไป”
เมื่อได้ ทําสัญญากันเสร็จแล้ ว มองซิเออร์ เซเบเรต์ก็หมดกิจ จึง
เตรี ยมตัวจะกลับไปฝรั่งเศส แต่ก็มีความปลาดใจที่ได้ ทราบว่าสมเด็จ
พระนารายน์ ซึง่ อยู่ดี ๆ ก็หายประชวรเอาง่าย ๆ จะโปรดให้ มองซิเออร์
เซเบเรต์ได้ เข้ าเฝ้าอีกครัง้ หนึ่ง แต่ในเรื่ องราชทูตฝรั่งเศสได้ เข้ าเฝ้า
ในครัง้ นี ้เปนข้ อความเถียงกันอยู่ ด้ วยบาดหลวงตาชาด์อธิบายว่า การ
เฝ้าครัง้ นี ้ได้ เฝ้ากันอย่างลับไม่เปิ ดเผย ซึง่ เปนเรื่ องที่สมเด็จพระนารายน์
ได้ ทรงตกลงกับมองซิเออร์ เซเบเรต์ ให้ เปนทํานองว่ามองซิเออร์

เซเบเรต์ได้ เข้ าเฝ้าในพระราชวังโดยไม่ร้ ูตวั แต่จะต้ องเชื่อว่าในครัง้ นี ้
๑ ในเรื่องมองซิเออร์ เซเบเรต์เฝ้าสมเด็จพระนารายน์ครัง้ นี ้ บาดหลวงตาชาด์ได้
เขียนไว้ ในจดหมายเหตุวา่ ดังนี ้ “ด้ วยเหตุที่นํ ้าพระไทยของสมเด็จพระนารายน์ดีนกั
และทรงรักใคร่นบั ถือพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ นัก จึงทรงเห็นว่า ถึงจะยังทรงพระประชวรอยู่
ก็จริงแต่เปนการจําเปนที่จะต้ องโปรดให้ มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ เฝ้าอย่างลับ ๆ มองซิเออร์
คอนซตันซ์ จึงได้ พดู กับมองซิเออร์ เซเบเรต์วา เมื่อมองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ ทําใจที่จะ
ออกจากเมืองลพบุรีเช่นนี ้แล้ ว ในวันที่มองซิเออร์ เซเบเรต์จะได้ ออกจากเมืองลพบุรีนนั ้
มองซิเออร์ คอนซตันซ์จะได้ พามองเซิเออร์ เซเบเรต์ บุตรมองซิเออร์ เซเบเรต์กบั ตัวข้ าพเจ้ า
ไปในที่แห่งหนึ่งในพระราชวัง เพื่อไปดูพลอยทับทิมเมล็ด ๑ ซึง่ งามและใหญ่นกั
อันเปนทับทิมซึง่ สมเด็จพระนารายน์ทรงที่พระมาลาบางครัง้ บางคราว เมื่อมองซิเออร์
เซเบเรต์ได้ ไปถึงที่นดั หมายไว้ แล้ ว สมเด็จพระนารายน์จะได้ เสด็จออกมาให้ มองซิเออร์
เซเบเรต์เฝ้าตามเวลาที่จะได้ กําหนดไว้ ในเรื่ องนี ้มองซิเออร์ คอนซตันซ์ได้ มากระซิบ
บอกข้ าพเจ้ าเปนการลับ ข้ าพเจ้ าจึงได้ รีบนําความไปบอกให้ มองซิเออร์ เซเบเรต์ทราบ

๑๗๕
ความจําของบาดหลวงตาชาด์คงจะไม่แม่นยําเท่าไรนัก เพราะมอง
ซิเออร์ เซเบเรต์ได้ รายงานถึงการเฝ้าเปนพิเศษในครัง้ นี ้ ผิดตรงกันข้ าม
กับที่บาดหลวงตาชาด์กล่าว ด้ วยการเฝ้าครัง้ นี ้ ก็ได้ เฝ้าโดยมีพิธี
ตามเคย และข้ อนี ้ก็นา่ จะเชื่อมองซิเออร์ เซเบเรต์วา่ เปนจริง ตามที่
มองซิเออร์ เซเบเรต์กล่าวทุกประการ เพราะมองซิเออร์ เซเบเรต์เปนคน
ถือตัว ว่าเปนผู้แทนของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ที่ไหนมองซิเออร์ เซเบเรต์
จะยอมทําการถ่อมตัวอย่างบาดหลวงตาชาด์ว่าเล่า เมื่อมองซิเออร์
เซเบเรต์ได้ เฝ้าคราวนี ้ สมเด็จพระนารายน์ได้ โปรดมีรับสัง่ ว่าทรงเสีย
พระไทยในการที่มองซิเออร์ เซเบเรต์จะกลับไปเสีย และรับสัง่ ถึงการงาน
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวด้ วยการค้ าขายของบริษัทฝรั่งเศส แล้ วจึงรับสัง่ ว่า
ทรงหวังพระไทยว่า มองซิเออร์ เดลานด์บโู รคงจะได้ เปนหัวหน้ าของห้ าง
ฝรั่งเศสในเมืองไทย แทนมองซิเออร์ เวเรต์ แล้ วสมเด็จพระนารายน์
ได้ โปรดให้ บตุ ร์ มองซิเออร์ เซเบเรต์เข้ าไปใกล้ พระองค์ จึงทรงชมเชย
ว่าบุตร์ มองซิเออร์ เซเบเรต์หน้ าตาดีและกิริยาซื่อดี แล้ วรับสัง่ ถามว่า
อายุเท่าไรเรี ยนหนังสือแล้ วหรื อยังเมื่อทรงทราบอายุก็รับสัง่ ว่าอายุเท่านี ้
ครัน้ ถึงเวลาการก็ได้ ดําเนินไปตามที่ สมเด็จพระเจ้ ากรุงสยามได้ ทรงกําหนดไว้ ทกุ ประการ
และมองซิเออร์ เซเบเรต์ก็ได้ รับเกียรติยศเฝ้าสมเด็จพระเจ้ าแผ่นดินไทย
แต่ในเรื่องนี ้ ฝ่ ายมองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ เขียนไว้ ในจดหมายเหตุวา่ “เมื่อวันที่
๑๓ ธันวาคม ราชทูตสยามที่ ๑ ที่ไปเมืองฝรั่งเศสกับข้ าราชการอื่น ๆ อีกหลายคนได้
พาข้ าพเจ้ าไปเฝ้าพระเจ้ ากรุงสยาม การเฝ้าครัง้ นี ้ได้ เฝ้าทีแ่ ห่งเดิม และมีพิธีตา่ ง ๆ
เหมือนกับเมื่อครัง้ มองซิเออร์ ลาลูแบร์ และตัวข้ าพเจ้ าได้ เข้ าเฝ้าในเวลาที่เสด็จออก
แขกเมืองรับพระราชสาสนนัน้

๑๗๖
ร่างใหญ่มาก และรับสัง่ ชมเชยว่าที่บตุ ร์ มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ ไป
เรี ยนหนังสือที่มหาวิทยาลัยหลุยเลอกรัง พวกเยซวิตเปนครูนนเปน ั้
การดีมาก เพราะจะไปอยู่กบั ครูอื่นคงไม่ดีเท่ากับพวกเยซวิต แล้ ว
จึงโปรดพระราชทานสายสร้ อยทองคําให้ บตุ ร์ มองซิเออร์ เซเบเรต์สาย ๑
เมื่อจะเสด็จขึ ้นได้ รับสัง่ ขอให้ มองซิเออร์ เซเบเรต์ไปกราบทูลพระเจ้ ากรุง
ฝรั่งเศส ถึงพระราชไมตรี ซงึ่ พระองค์มีตอ่ พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส และ
ทรงหวังพระไทย และมีพระราชประสงค์จะให้ พระราชไมตรี นนได้ ั ้ คงอยู่
ชัว่ กาลนาน
เมื่อมองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ เฝ้าเสร็จแล้ วก็ไม่ยอมเสียเวลา จึง
ได้ รีบลามองซิเออร์ เดอลาลูแบร์ และเมื่อจะลงเรื อนัน้ มองซิเออร์
ฟอลคอน มองซิเออร์ เดฟาช์ นายทหารฝรั่งเศส และบาดหลวงเยซวิต
ได้ ตามไปส่งที่เรื อ มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ ลอ่ งเรื อจากเมืองลพบุรี
ลงไปที่กรุงศรี อยุธยา เมื่อไปถึงกรุงศรี อยุธยา มองซิเออร์ เซเบเรต์
ได้ ลาสังฆราชเดอเมเตโลโปลิศและสังฆราชเดอโรโซลี แล้ วได้ ออก
จากกรุงศรี อยุธยาล่องลงไปบางกอก เมื่อไปถึงบางกอกมองซิเออร์ แว
รเดอซาลผู้เปนที่สองของมองซิเออร์ เดฟาช์ ก็ได้ จดั การรับรองมอง ซิ
เออร์ เซเบเรต์อย่างใหญ่โตมาก แล้ วมองซิเออร์ เซเบเรต์จงึ ได้ เรี ยก
มองซิเออร์ โวดรี ครู ์ มาสัง่ ในเรื่ องที่มองซิเออร์ เซเบเรต์จงึ ได้ เรี ยก
มองซิเออร์ โวดรี ครู ์ มาสัง่ ในเรื่ องที่มองซิเออร์ เซเบเรต์จะกลับจาก
เมืองไทย ได้ เรี ยกผู้แทนของบริษัทฝรั่งเศสมากําชับถึงการงานต่าง ๆ
แล้ วได้ สวนสนามกองทหารซึ่งได้ เดินแถวอย่างพร้ อมเพรี ยงมาก เมื่อ
เสร็จแล้ วมองซิเออร์ เซเบเรต์ก็ออกเดินทางตามที่ได้ รับคําสัง่ ไว้ ทาง
ราชการ
๑๗๗
มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ เดินทาง ๑๔ วันจึงได้ ไปถึงเมืองตะนาวศรี
ในการเดินทางคราวนี ้บางทีก็ลงเรื อไปตามลําแม่นํ ้าเพ็ชรบุรี บางที
ก็ขึ ้นช้ างซึง่ มีเครื่ องประดับอย่างงดงามที่สดุ และมีกบู สําหรับนัง่ บังแดด
ด้ วย บุตร์ มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ ขี่ม้าตามบิดาไป และมีช้างสําหรับ
ข้ าราชการอื่น ๆ ขี่ไป นําหน้ าไป ๒๘ เชือก มีคนสําหรับหามแคร่
ไปด้ วย๑๓๐ คน ซึง่ เดินเรี ยงกันไปเปนแถวเดียว และมีทหารไปด้ วย
๕๐ คน ตอนท้ ายทีเดียวยังมีเกวียน ๑๐๐ เล่ม สําหรับบรรทุกเข้ าของ
และเสบียงอาหาร หนทางที่ไปนันเปนทํ ้ าเลอันงดงามมาก แต่ในที่
เหล่านี ้ไม่มีคนอยูเ่ ลย มีแต่เสือกับช้ างป่ า นาน ๆ จะไปพบเมืองสัก
ครัง้ ๑ แต่ที่เรี ยกว่าเมืองนันจะเรี ้ ยกได้ หรื อไม่ได้ ก็ไม่ทราบ เพราะ
เมืองเหล่านี ้เปนแต่กระท่อมเปนหมู่ ๆ กัน และมีวดั ทําด้ วยไม้ ไผ่
ซึง่ ใช้ เปนที่พกั สําหรับผู้คนที่ไปด้ วยกับท่านราชทูต แต่มีที่อยูห่ ลาย
แห่งซึง่ ได้ ปลูกเรื อนไว้ โดยเฉภาะสําหรับให้ ราชทูตพัก
เมื่อวันที่ ๓๐ เดือนธันวาคม มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ เข้ าไปยัง
เมืองตะนาวศรี มองซิเออร์ ฟอร์ แบง มองซิเออร์ เดอโบเรอกาด์ ซึง่ เปนอ
อกพระเมืองมริดได้ คอยรับอยูใ่ นที่นนั ้ ฝ่ ายราษฎรพลเมืองก็ได้ มาคอย
รับอยู่โดยพร้ อมเพรี ยงและต่างได้ แสดงกิริยาอย่างอ่อนน้ อมต่อท่าน
ราชทูตทุก ๆ คน
เมื่อวันที่ ๑ เดือนมกราคม ค.ศ.๑๖๘๘ ( พ.ศ.๒๒๓๐ ) มอง
ซิเออร์ เซเบเรต์ได้ ไปที่เมืองมริดซึง่ เปนเกาะตังอยู
้ ท่ ี่ปากนํ ้าตะนาวศรี
และได้ ไปตรวจดูทําเลภูม์พิ ื ้นที่โดยตลอด ท่าเรื อเมืองมริ ดนี ้เปนทําเล
๒๓
๑๗๘
ที่ดีและเหมาะมาก ถ้ าจะตังห้ ้ างฝรั่งเศสอย่างชันที
้ ่ ๑ สําหรับทํา
การค้ าขายในทวีปอาเซียฝ่ ายตวันออก ก็จะเปนทําเลที่ดีที่สดุ จริง
อยูใ่ นเมืองนี ้ขาดนํ ้าสําหรับจะบริโภค แต่สมเด็จพระเจ้ ากรุงสยามหา
ได้ พระราชทานเมืองมริ ดแต่เมืองเดียวไม่ แต่ได้ พระราชทานเกาะบาด
รากันและเกาะปูโลทวายให้ ด้วย และเกาะเหล่านี ้ล้ วนแต่เต็มไป
ด้ วยป่ าไม้ งาม ๆ ซึง่ มีไม้ อย่างดีสําหรับต่อเรื อก็ได้ บางเกาะก็มีนํ ้า
จืดอย่างบริบรู ณ์ พอที่จะเจือจานไปถึงเกาะมริดซึง่ อยูใ่ กล้ ๆ กันก็ได้
มองวิเออร์ เซเบเรต์ได้ บอกให้ มองซิเออร์ โบเรอกาด์ทราบว่า ใน
ไม่ช้ามองซิเออร์ ดบู รูองั จะได้ คมุ ทหารมา ๑๒๐ คน และจะได้ มาตาม
ทางที่มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ เดินมาแล้ ว เมื่อกองทหารได้ มาถึงแล้ ว
จะได้ รับเมืองมริดไว้ เปนของฝรั่งเศสต่อไป ส่วนตัวมองซิเออร์ เซเบเรต์
เองจะต้ องรี บไปยังฝั่ งคอรอมันเดลจะรออยู่อีกไม่ได้ เพราะเรื อชื่อเปร
ซิเดนต์ได้ มารอคอยอยูท่ ี่เมืองมริด และได้ เตรี ยมการที่จะออกเรื อ
อยูแ่ ล้ ว เมื่อวันที่ ๓ เดือนมกราคม มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ ลงเรื อ
พร้ อมด้ วยมองซิเออร์ ฟอร์ แบง เรื อจึงได้ ถอนสมอแล่นใบไปในทางเมือง
ปอนดีเชรี
ที่เมืองปอนดีเชรี นนั ้ มองซิเออร์ ดแู คนกีตอง ซึง่ ได้ ลงเรื อลัวโซ
มาจากเมืองไทยนันได้ ้ มาคอยอยูแ่ ล้ ว แต่การที่นายเรื อและผู้อํานวยการ
ของบริษัทได้ มาตามเวลากําหนดเช่นนี ้ก็ไม่ได้ เปนผลอะไรเลย เพราะ
ทังสองคนเมื
้ ่อได้ ขึ ้นบกไปแล้ ว ก็ได้ ทราบข่าวว่า โมกูลได้ ยกทัพไปรบ
กับเมืองคอลคอน และได้ ตีเมืองหลวงแตกเมื่อ ๓ เดือนล่วงมาแล้ ว

๑๗๙
กษัตริ ย์ใหญ่ฝ่ายอินเดียได้ ทําการแก้ แค้ นแทนพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ได้
แต่การที่ทําครัง้ นี ้หาได้ เปนประโยชน์แก่บริษัทฝรั่งเศสไม่ เพราะฉนัน้
การที่มองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ รับคําสัง่ ให้ ไปจัดการในเรื่ องนี ้ ก็ไม่จําเปน
จะต้ องไปแล้ ว มองซิเออร์ เซเบเรต์จงึ ได้ ลงเรื อของมองซิเออร์ ดู
เคนกีตองกลับไปเมืองฝรั่งเศสทีเดียว เมื่อมองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ ไปถึง
แหลมเคปออฟกุดโฮบ ก็ได้ ขา่ วจากเมืองไทยเมื่อวันที่ ๑๓ เมษายน
ซึง่ เปนข่าวที่เรื อโดรมาแดได้ นํามา คือมองซิเออร์ ดงั เดน นายเรื อ
โดรมาแดได้ มาเล่าว่า เมื่อวันที่ ๓ เดือนมกราคม บาดหลวงตาชาด์
ได้ ลงเรื อกายยาออกจากเมืองไทยเพื่อไปประเทศฝรั่งเศส การที่
บาดหลวงตาชาด์จะไปเมืองฝรั่งเศสคราวนี ้ ก็ไปโดยตําแหน่งหน้ าที่เป
นเอกอรรคราชทูตพิเศษของสมเด็จพระเจ้ ากรุงสยาม และได้ พาผู้คน
ไปด้ วยเปนอันมาก ทังบรรทุ ้ กสัตว์ตา่ ง ๆ กับของต่าง ๆ ลงเรื อไปด้ วย
เมือมองซิเออร์ เซเบเรต์ได้ ออกจากเมืองไทยไปแล้ วได้ ๑๕ วัน
มองซิเออร์ ลาลูแบร์ จงึ ได้ กลับจากเมืองไทย ไม่ต้องสงไสยเลยว่า
ในระหว่างนัน้ การแตกร้ าวในระหว่างลาลูแบร์ กบั ฟอลคอนก็คงจะ
แตกร้ าวกันอยูน่ นเองั้ เพราะมองซิเออร์ เซเบเรต์ผ้ ซู งึ่ เคยเกลี่ยกลาย
ไม่ได้ อยูเ่ สียแล้ ว การบาดหมางซึง่ กันและกันก็กลับหนักขึ ้นกว่าเดิม
จนถึงกับการที่พบปะกันก็หา่ งน้ อยลงไปทุกที เมื่อพบปะกับคราวใด
วาจาที่ใช้ โต้ เถียงกันก็แรงขึ ้นทุกคราวไป จนถึงวันที่สดุ ที่ได้ พบปะกันก็
เกิดแตกร้ าวกันสมานไม่ตดิ กันได้ อีกต่อไป

๑๘๐
ในเรื่ องนี ้มีข้อความกล่าวไว้ ในจดหมายเหตุบาดหลวงตาชาด์ฉบับ
ตัวเขียน ว่าฟอลคอนได้ เชื ้อเชิญให้ ราชทูตฝรั่งเศสได้ ทําสัญญาการ
ค้ าขายเสียให้ เสร็จ แต่มองซิเออร์ ลาลูแบร์ คงจะเห็นว่าหนังสือสัญญา
นันก็
้ เสร็จเรี ยบร้ อยไม่มีข้อที่จะต้ องแก้ ไขแล้ ว จึงได้ ตอบไปว่า ตัว
มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ไม่มีอํานาจพอที่จะกลับรื อ้ ทําสิ่งที่แล้ วไปแล้ ว และ
ได้ สาบาลว่าในเรื่ องสัญญานี ้มองซิเออร์ ลาลูแบร์ จะไม่ยอมรับจดหมาย
จากฟอลคอนที่กล่าวในเรื่ องนี ้เปนอันขาด ในเรื่ องที่เกี่ยวด้ วยทหาร
ปื นใหญ่นนั ้ ฟอลคอนก็กลับขอร้ องขึ ้นอีกและได้ ใช้ วาจาอย่างแรงยิ่ง
กว่าครัง้ ก่อน ฝ่ ายลาลูแบร์ ก็ตอบอย่างเด็ดขาดเหมือนกันว่าไม่ให้
ฟอลคอนจึงได้ แจ้ งให้ ลาลูแบร์ ทราบว่าการที่มองซิเออร์ ดลู าริ กจะกลับไป
ฝรั่งเศสนัน้ เปนเรื่ องที่สมเด็จพระเจ้ ากรุงสยามจะห้ ามปรามขัดขวางไว้
ไม่ได้ แต่ได้ ตงพระไทยไว้
ั้ เปนอันแน่นอน ว่าจะทรงเอาพวกทหารปื น
ใหญ่ไว้ ให้ จงได้ เมื่อฟอลคอนได้ พดู ดังนี ้ มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ก็
ลุกขึ ้นตึงตังจากเก้ าอี ้ แล้ วพูดว่า “ฉันลาก่อน” เปนภาษาปอตุเกต
แล้ วก็เดินออกจากห้ องไป ฟอลคอนได้ เดินตามไปส่งลาลูแบร์ ถึงประตู
เมื่อถึงประตูตา่ งคนก็ตา่ งพูดอะไรซึง่ ไม่มีใครได้ ยินเลย
การที่มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ลาไปเช่นนี ้ ถ้ าจะว่าด้ วยวิธีดําเนินทาง
ราชการแล้ วดูไม่เหมาะเลย เพราะในเวลานันมี ้ ขนุ นางข้ าราชการไทย
มีชาวฝรั่งเศส ปอตุเกต อังกฤษ และฮอลันดาอยูใ่ นที่นนั ้ ทังมี
้ ทหาร
ยามอยูส่ องข้ างทางด้ วย การที่มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ประพฤติเช่นนี ้จึง
ทําให้ คนทังหลายติ
้ เตียนมาก และพวกบาดหลวงที่ติดไปกับลาลูแบร์

๑๘๑
เสมอนัน้ ก็ตแิ ละตกใจมากกว่าคนอื่น๑ ตังแต่ ้ นนมาั้ คอนซตัน ติน
ฟอลคอนกับมองซิเออร์ ลาลูแบร์ มิได้ พบปะกันอิกต่อไปเลย
มองซิเออร์ ลาลูแบร์ จงึ ได้ ไปสัง่ ให้ บรรดาเรื อฝรั่งเศสเตรี ยมที่จะ
ออกโดยทันที ซึง่ เปนการที่ฟอลคอนมิได้ ร้ ูตวั เลยและกลับตัวไม่ทนั
ด้ วย เพราะถึงแม้ ว่าของเครื่ องราชบรรณาการและของต่าง ๆ ที่จะ
ส่งไปถวายพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ และส่งไปพระราชทานที่ประเทศ
ฝรั่งเศสได้ เตรี ยมไว้ หมดแล้ วก็จริงอยู่ แต่สินค้ าต่าง ๆ ซึง่ ฟอลคอนคิด
จะส่งไปขายที่ยโุ หรปเพื่อมาใช้ เนื ้อกับค่าสิ่งของต่าง ๆ ที่พระเจ้ ากรุง
สยามจะทรงสัง่ มาจากประเทศฝรั่งเศสนันยั ้ งหาได้ จดั เตรี ยมไว้ ไม่
เพราะฉนันเมื
้ ่อเรื อจะชักใบขึ ้นเสาอยูแ่ ล้ ว มองซิเออร์ โวดรี ครู ์ จงึ ได้ เห็น
เรื อต่าง ๆ เปนอันมากทุกอย่างทุกชนิดทังเล็ ้ กและใหญ่มาแวะที่เรื อ
ใหญ่ เรื อต่าง ๆ เหล่านี ้ล้ วนแต่บรรทุกของฝากบ้ าง บรรทุกสินค้ า
ต่าง ๆ บ้ าง แต่สินค้ านันจะเปนของสิ
้ ่งไรบ้ าง ไทยหาได้ บอกให้
มองซิเออร์ โวดรี ครู ์ ทราบไม่ ในชันต้
้ นมองซิเออร์ เซเบเรต์ก็ได้ สงั่
มองซิเออร์ โวดรี ครู ์ ไว้ แล้ ว ว่าให้ เตรี ยมที่ไว้ สําหรับบรรจุของ ๓๐๐
หีบ มองซิเออร์ โวดรี ครู ์
๑ ในเรื่องนี ้บาดหลวงตาชาด์ได้ แต่งไว้ ในจดหมายเหตุวา่ ดังนี ้ บาดหลวงพวก
ของเราสองคนซึง่ ติดตัวไปกับมองซิเออร์ เดอลาลูแบร์ อยูเ่ สมอนัน้ อดไม่ได้ ที่จะแสดง
ความประหลาดใจต่อมองซิเออร์ ลาลูแบร์ ในการที่ลาลูแบร์ ได้ ลาฟอลคอนโดยกิริยาไม่ดี
เช่นนี ้ มองซิเออร์ เดอลาลูแบร์ จงึ ได้ บน่ ว่ามองซิเออร์ คอนซตันซ์ได้ ใช้ วาจาหยาบช้ ามาก
และได้ ดหู มิ่นมองซิเออร์ ลาลูแบร์ ด้วยวาจาด้ วย และการที่มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ไม่ได้
ขอร้ องให้ พวกฝรั่งเศสซึง่ อยูใ่ นที่นนช่
ั ้ วยกันทุบต่อยมองซิเออร์ คอนซตันซ์นนั ้ ก็เพราะ
เหตุวา่ รักษาตัวที่ตวั เปนผู้แทนของพระเจ้ าแผ่นดินฝรั่งเศสเท่านันเอง้

๑๘๒
ก็จดั ที่เผื่อไว้ ให้ บรรจุของได้ ถึง ๔๐๐ หีบ แต่ของที่สง่ มาคราวนี ้รวม
ทังสิ
้ ้นถึง ๗๕๐ หีบ เผอิญเคราะห์ดีที่นายเรื อรู้จกั จัดบรรจุของจึง
ได้ รับบรรทุกของได้ เพียง ๖๐๐ หีบ ของนอกจากนันต้ ้ องทิ ้งไว้ บนบก
และของ ๆ บริษัทฝรั่งเศสก็ต้องทิ ้งไว้ หลายหีบด้ วย ที่การเปนเช่นนี ้ก็
โดยเหตุที่เสนาบดีไทย ( ฟอลคอน ) ผู้ไม่ยอมฟั งเสียงใครได้ บงั คับให้
นายเรื อได้ ทําตามคําสัง่ ของตัวให้ จงได้ เมื่อภายหลังมองซิเออร์ โวดรี ครู ์
ได้ มีจดหมายจากแหลามเคปออฟกูดโฮปถึงมองซิเออร์ เซงแลชี ้แจงว่า
การที่เอาของบรรทุกลงเรื อโดยไม่ร้ ูตวั เช่นนี ้ กระทําให้ เปนการยุง่ ผิด
ระเบียบไปหมด และซึง่ การเปนดังนี ้ก็ต้องโทษมองซิเออร์ ฟอลคอน
แต่ผ้ เู ดียวเท่านัน้ ฝ่ ายผู้แทนบริษัทสองคนคือมองซิเออร์ คอช และ
มองซิเออร์ รากีเยน ก็ได้ ไปชี ้แจงต่อผู้อํานวยการของบริ ษัทว่าการเรื่ อง
นี ้หาได้ เปนความผิดของมองซิเออร์ โวดรี ครู ์ ไม่ แต่เหตุที่เกิดวุน่ ยุง่ เหยิง
กันคราวนี ้ เปนความผิดของฟอลคอนแต่ผ้ เู ดียวเท่านัน้ ๑
๑ จดหมายที่มองซิเออร์ โวดรีครู ์ ได้ เขียนจากแหลมเคปออฟกุดโฮปถึงมองซิเออร์
เดอเซงแล ลงวันที่ ๒๒ เมษายน ค.ศ. ๑๖๘๘ ( พ.ศ. ๒๒๓๑ ) นันมี ้ ความว่าดังนี ้
มองซิเออร์ เดอลาซานและเจ้ าพนักงานทังหลายของบริ
้ ษัทคงจะได้ บอกให้ ทา่ นทราบ ว่า
ข้ าพเจ้ าได้ มีความตกใจเพียงใดที่ได้ เห็นของต่าง ๆ ส่งมาบรรทุกลงเรือโดยข้ าพเจ้ าไม่ร้ ูตวั
เช่นนี ้ แต่ข้าพเจ้ ามีความเสียใจที่จะปฏิบตั ิการให้ ถกู กับพระราชโองการของพระเจ้ า
แผ่นดิน ( ฝรั่งเศส ) ไม่ได้ เพราะเหตุของต่าง ๆ บรรจุหีบมานันล้ ้ วนแต่ขึ ้นชื่อว่าเปน
ของสําหรับถวายพระเจ้ าแผ่นดิน ( ฝรั่งเศส ) และสําหรับส่งไปให้ แก่บริษัททังนั ้ น้
ข้ างฝ่ ายพวกพนักงานของบริษัทก็บน่ ในการที่สง่ ของต่าง ๆ เหล่านี ้จนสุดเวลาแล้ ว

๑๘๓
ในจดหมายเหตุฉบับตัวเขียน และในหนังสือที่ลงพิมพ์เรี ยกว่า
เซอกองวัวยาช (Second Voyage) ซึง่ บาดหลวงตาชาด์ได้ แต่งไว้ นนั ้
บาดหลวงตาชาด็ได้ เล่าว่า ได้ เข้ าเฝ้าสมเด็จพระนารายน์เปนการเฉภาะ
ตัวถึง๒ วันติดๆ กันที่พระราชวังทะเลชุบศร ในเวลาที่บาดหลวงตาชาด์
เฝ้านัน้ มีแต่ฟอลคอนเฝ้าอยูอ่ ีกคนเดียวเท่านัน้ นอกจากนันไม่ ้ มีใคร
อยูใ่ นที่เฝ้าเลย สมเด็จพระนารายน์ได้ มีรับสัง่ ถึงการที่ทรงนับถือและ
รักใคร่พระเจ้ าแผ่นดินฝรั่งเศสพระสหายที่รัก และได้ ทรงกําชับ
บาดหลวงตาชาด์ซงึ่ จะได้ ไปประเทศฝรั่งเศสในตําแหน่งราชทูตสยามให้
คิดจัดการในเรื่ องพระราชไมตรี อนั ได้ ตงต้ั ้ นไว้ ดีแล้ วให้ เปนผลสําเร็ จจงได้
วันที่บาดหลวงตาชาด์เฝ้านั ้นเพอิญเปนวันคริศมาศ บาดหลวงตาชาด์
จึงชื่นชมยินดีนกั ที่ได้ รับเกียรติยศสูงเฉภาะในวันดีเช่นนี ้ จึงได้ ฉวย
โอกาศนั ้นกราบทูลสมเด็จพระนารายน์ให้ ทรงทราบถึงข้ อความหน้ าปลาด
เรื่ องการประสูตขิ องพระเยซู ในเวลาที่บาดหลวงตาชาด์ได้ กราบทูล
อธิบายในเรื่ องนี ้โดยยืดยาว สังเกตดูสมเด็จพระนารายน์ก็พอพระไทย
ที่จะฟั ง การที่สมเด็จพระนารายน์พอพระไทยฟั งนัน้ ทําให้ บาดหลวง
ตาชาด์นกึ ว่าถ้ าจะไปเจรจาเรื่ องพระราชไมตรี นั ้นคงเปนผลสําเร็ จเปนแน่๑
๑ ในการที่บาดหลวงตาชาด์แต่งเรื่องต่าง ๆ นัน้ ดูไม่ใคร่ระวังที่จะให้ ข้อความ
ตรงกันเลย เพราะในจดหมายเหตุฉบับตัวเขียนซึง่ ยังไม่ได้ แก้ ไขนันได้
้ กล่าวแต่วา่ ตัว
ได้ เข้ าเฝ้าสมเด็จพระเจ้ ากรุงสยามเท่านัน้ และข้ อความต่าง ๆ ที่ได้ เล่าว่าได้ กราบทูล
สมเด็จพระนารายน์นนั ้ ในจดหมายเหตุฉบับตัวพิมพ์กล่าวว่าฟอลคอนเปนผู้กราบทูล

๑๘๔
คอนซตันตินฟอลคอนได้ ไปส่งบาดหลวงตาชาด์ที่เมืองลพบุรี ที่
กรุงศรี อยุธยาที่บางกอก และได้ ไปส่งตลอดทางถึงสันดอนแม่นํ ้า
เจ้ าพระยา เพื่อที่รักสองคนนี ้ไม่ได้ หา่ งกันเลย ต่อเรื อ กายยา ซึง่
มองซิเออร์ โวดรี ครู ์ เปนนายเรื อจะออกจากแม่นํ ้าเจ้ าพระยาแล้ ว เพื่อน
ทังสองนี
้ ้จึงได้ จากกันได้
ในเรื อ กายยา ลํานี ้ไม่ใช่มีแต่บาดหลวงตาชาด์ แต่มองซิเออร์
ลาลูแบร์ ก็ได้ ลงเรื อไปด้ วยเหมือนกัน ซึง่ มองซิเออร์ ลาลูแบร์ มา
ราชการคราวนี ้ แต่จดั การอย่างใดไม่สําเร็จนันได้ ้ ทําให้ ลาลูแบร์ ขดั
เคืองใจเปนอันมาก ทังถู ้ กฟอลคอนหลอกลวงต่าง ๆ กับพวกฝรั่งเศส
ที่มาราชการด้ วยได้ ทําให้ เกิดเรื่ องขึ ้นต่าง ๆ จึงเปนเหตุทําให้ ลาลูแบร์
ออกจากเมืองไทยด้ วยความโกรธแค้ นและเกลียดไทยอย่างสาหัศ ยิ่ง
ซํ ้ามาเห็นราชทูตอีกคน ๑ มาในเรื อลําเดียวกัน และราชทูตผู้นี ้ก็มีคน
ไว้ วางใจด้ วยจึงทําให้ ลาลูแบร์ เศร้ าสลดใจยิ่งนัก เพราะตัวของตัวเอง
ไม่มีใครไว้ ใจมานานแล้ วด้ วย ในระหว่างทางตังแต่้ เมืองลพบุรีถึง
ด่านภาษี มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ก็กลันความในใจไว้
้ ไม่อยู่แล้ วจึงได้ ปล่อย
โทษะออกมาเต็มที่ ครัน้ มาถึงบางกอกมองซิเออร์ ลาลูแบร์ ได้ เรี ยก
และบาดหลวงตาชาด์คงยังหาความอยูเ่ สมอว่า สังฆราชเดอเมเตโลโปลิศทําการสําหรับ
ชักชวนให้ คนเข้ ารีดไม่ดี จริงอยูเ่ ราไม่มีหลักอะไรที่จะชี ้ได้ วา่ บาดหลวงตาชาด์จะกล่าวจริง
และเท็จแค่ไหนนอกจากคําบอกเล่าของบาดหลวงตาชาด์ผเู ดียวเท่านัน้ แต่ก็น่าพิศวง
อยูบ่ ้ างว่าในเวลาที่มองซิเออร์ ลาลูแบร์ กบั มองซิเออร์ เซเบเรต์เข้ าเฝ้าสมเด็จพระนารายน์
โดยเฉภาะ ยังต้ องมีพยานเช่นมิชนั นารี ขุนนางข้ าราชการเจ้ าพนักงานเฝ้าแหนออก
แน่นหนาไป เหตุใดเมืองบาดหลวงตาชาด์เข้ าเฝ้าจึงไม่มีใครเฝ้าอยูด่ ้ วยเลย

๑๘๕
บรรดานายทหารฝรั่งเศสมาประชุมและได้ ยแุ หย่มิให้ พวกนายทหาร
เชื่อถือฟอลคอนและเดฟาช์ และถึงกับกําชับพวกนายทหารว่า เมื่อ
มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ไม่อยูแ่ ล้ ว ก็อย่าให้ นายทหารเหล่านี ้ฟั งบังคับ
บัญชาของนายพลเดฟาช์ เพราะนายพลเดฟาชได้ ลมุ่ หลงในของกํานัน
ของมองซิเออร์ คอนซตันซ์เสียแล้ ว แล้ วมองซิเออร์ ลาลูแบร์ ได้ แนะนํา
ให้ มองซิเออร์ โวลังผู้เปนเอนยินเนีย ส่งแบบที่จะสร้ างป้อมที่บางกอก
ไปให้ ฟอลคอนดู ถ้ าฟอลคอนไม่เห็นชอบด้ วยแล้ ว ก็ให้ ตอบว่าจะ
แก้ ไขอย่างอื่นไม่ได้
ในจดหมายเหตุของบาดหลวงตาชาด์และในจดหมายที่ฟอลคอน
เขียนไปถวายพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ โดยยืดยาวนัน้ ก็ได้ กล่าวถึงความ
ประพฤติไม่ดีของมองซิเออร์ ลาลูแบร์ อีกหลายเรื่ อง แต่เมื่อเวลาจะ
อ่านข้ อความตามที่บาดหลวงตาชาด์และฟอลคอนกล่าวนั ้นก็จะต้ องพินิจ
พิเคราะห์ให้ มาก เพราะข้ อความเหล่านันคล้ ้ ายกับเปนข้ อกล่าวโทษ
โดยมาก ๑ ในเรื่ องทหารปื นใหญ่นนั ้ มองซิเออร์ ลาลูแบร์ จะพยายาม
๑ ทังบาดหลวงตาชาด์
้ และฟอลคอนเล่าทังสองโดยใช้
้ สํานวนอย่างเดียวกันว่า ที่
กรุงศรีอยุธยาและที่เมืองลพบุรี ลาลูแบร์ ได้ เยาะเย้ ยว่ากล่าวบรรดาข้ าราชการไทยอยู่
เสมอ บางทีข้าราชการไทยไปคอยอยูท่ ี่ประตูบ้านที่พกั เพื่อคอยพาลาลูแบร์ ไปลงเรือ
ลาลูแบร์ ก็แกล้ งไปเปลื ้องเครื่องแต่งตัวเสียที่หลังบ้ าน และพวกข้ าราชการไทยที่ไป
คอยอยูน่ นก็
ั ้ ต้องวิ่งกันวุน่ ไปเพื่อไปจับตัวลาลูแบร์ ส่วนมองซิเออร์ เดฟาช์นนก็
ั ้ ถกู
ลาลูแบร์ หาความให้ เสียชื่อและเสียเกียรติยศ และกลับหาว่ามองซิเออร์ เดฟาช์เปนคน
ที่เลวทรามที่สดุ จะหามนุษย์คนใดที่จะเลวเท่ากับเดฟาช์เปนไม่มี และลาลูแบร์ ไปเที่ยว
พูดโดยเปิ ดเผยว่ามีบาดหลวงคณะเซนต์ โดมีนิกคน ๑ ไปหาผู้หญิงคนชัว่ มาให้ เดฟาช์
อยูเ่ สมอ
๒๔
๑๘๖
เอาตัวกลับไปประเทศฝรั่งเศสให้ จงได้ แต่ก็ทําการไม่สําเร็จ เพราะ
มองซิเออร์ เดฟาช์ได้ รับผิดชอบเสียเอง ได้ เอาทหารปื นใหญ่เหล่านี ้
ถวายไว้ ตอ่ พระเจ้ ากรุงสยามและได้ พาทหารปื นใหญ่ไปส่งยังกรุงศรี
อยุธยาด้ วยตัวเอง ราชทูตฝรั่งเศสมีความน้ อยใจมาก ที่พวกทหาร
ปื นใหญ่ได้ ถกู บังคับให้ อยูใ่ นเมืองไทยโดยตัวไม่เต็มใจจะอยูแ่ ละเปนสิ่ง
ที่ผิดด้ วยพระราชดําริห์ของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสด้ วย ราชทูตฝรั่งเศส
จึงทํานายว่าไม่ช้าพวกทหารปื นใหญ่เหล่านี ้ก็คงจะหนีเปนแน่ แต่ฟอล
คอนกลับเปนประกันว่า ทหารปื นใหญ่เหล่านี ้เปนคนที่มีความซื่อสัตย์
จงรักภักดีคงจะไม่หนีเปนแน่ และยืนยันว่าทหารเหล่านี ้ “มีความ
เต็มใจที่จะทําการให้ แก่ฟอลคอนและมีความพอใจทุกคนแล้ ว” แล้ ว
ฟอลคอนก็ได้ กล่าวต่อไปว่า ถ้ าทหารเหล่านี ้ไม่สมัคจะอยู่แล้ ว ฟอลคอน
จะได้ เปนธุระจัดการส่งกลับไปเสียโดยเร็ว แต่ในระหว่างนี ้ฟอลคอนจะ
เอาตัวไว้ ให้ จงได้
บาดหลวงตาชาด์ ผู้ซงึ่ เปนเอกอรรคราชทูตพิเศษของสมเด็จ
พระนารายน์ได้ พาขุนนางไทยไปด้ วย ๓ คน นักพรตชาวตังเกี๋ย ๒ คน
และไทยหนุม่ ๆ ๕ คน ไทยหนุม่ ๆ เหล่านี ้ล้ วนแต่เปนบุตร์ ผ้ มู ีตระกูลสูง
และจะไปยังประเทศฝรั่งเศส เพื่อเข้ าไปเล่าเรี ยนในมหาวิทยาลัย หลุย
เลอกรัง สําหรับจะได้ เล่าเรี ยนขนบธรรมเนียมของผู้ดีชาวฝรั่งเศส
ส่วนสมเด็จพระนารายน์ก็ได้ สง่ ของต่าง ๆ เปนอันมากไปถวายพระเจ้ า
หลุยที่ ๑๔ และของเหล่านี ้มองซิเออร์ เซเบเรต์ก็ได้ บอกกับมองซิเออร์
ฟอลคอนไว้ แล้ วว่า การที่จะส่งของไปถวายไม่หยุดไม่หย่อนเช่นนี ้กระทํา

๑๘๗
ให้ พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสเบื่อหน่ายอย่างที่สดุ แต่ถึงมองซิเออร์ เซเบเรต์
จะได้ แนะนําไว้ เช่นนี ้ก็จริง แต่ไทยก็หาฟั งไม่คงส่งของไปถวายให้ จง
ได้ จนเสนาบดีคลังฝรั่งเศสก็ไม่พอใจที่ได้ สง่ ของไปแลกเปลี่ยนกันเช่นนี ้
ของที่สมเด็จพระนารายน์สง่ ไปถวายพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสคราวนี ้ มีปืน
ใหญ่ห้ มุ เงิน ๒ กระบอก ตุ๊กกะตาเปนรูปผู้หญิงจีนขี่นกยูง ๒ ตัว นกยูง
นี ้มีกลไกเดินเองได้ ปูทําด้ วยเงินบนหลังปูนนมี ั ้ กบู หีบบรรจุรังนก ๑ หีบ
แต่หีบนี ้จะทําด้ วยโลหะอย่างใดหาได้ บอกไว้ ไม่ นอกจากนี ้ยังมีขวด
มีถ้วยมีเครื่ องลายครามอีกหลายร้ อยอย่าง แลมีช้าง ๓ เชือก แรด ๑ ตัว
แต่ช้างกับแรดนี ้ได้ ตายเสียกลางทางระหว่างเมืองบาตาเวียแลแหลมเค
ปออฟกูดโฮป แต่เมื่อของเหล่านี ้ได้ ไปถึงประเทศฝรั่งเศสแล้ ว พระ
เจ้ าหลุยที่ ๑๔ ได้ ทรงรับรองทังของและผู
้ ้ แทนของพระเจ้ ากรุงสยามแต่
เพียงปานกลางเท่านัน้
ส่วนของที่มองซิเออร์ ฟอลคอนได้ สง่ ไปนัน้ โดยได้ รับคําแนะนํา
ของมองซิเออร์ แวงซัง ซึง่ มิได้ พอใจในมองซิเออร์ ฟอลคอนเท่าไร
นักนัน้ ฟอลคอนจึงได้ สง่ แร่ทองและแร่เงินไปรวม ๔๔ หีบ เพื่อให้ เอา
แร่ทองคําแลแร่เงินนี ้ใช้ แปรธาตุทดลองดูที่เมืองฝรั่งเศส
ฝ่ ายบาดหลวงตาชาด์เอกอรรคราชทูตนัน้ ได้ รับคําสัง่ ให้ จดั การ
จําหน่ายสินค้ าต่าง ๆ ที่ได้ สง่ ไปนัน้ แล้ วให้ จดั ซื ้อของต่าง ๆ ในพระนาม
ของพระเจ้ ากรุงสยามด้ วย คือ กระจกเงา ๔๐๐๐ บาน สําหรับจะ
เอาไปประดับพระราชวังเมืองลพบุรี เครื่ องแก้ วต่าง ๆ ๓๖๖๖๐ ชิ ้น
กับให้ ซื ้ออาวุธต่าง ๆ หีบต่าง ๆ ผ้ าต่าง ๆ แลหมวก ๕๔ หมวก

๑๘๘
ให้ มีทงสี
ั ้ ขาว สีนํ ้าเงิน สีเขียว สีดํา สีแดง สีมว่ ง สีเลือดหมู
สีเหลืองอ่อน และสีใบไม้ แห้ ง หมวกนันจะนุ ้ ม่ หรื อแขง จะขนสันหรื ้ อ
ยาวก็ใช้ ได้ ในการที่ไทยสัง่ ให้ ซื ้อหมวกดังนี ้ ก็ตรงกับคําที่พระ
เจ้ าเฟรเดอริกที่ ๒ ได้ รับสัง่ แก่เคาน์เดอบรูลว่า “หมวกเหล่านี ้มาก
เกินสําหรับคน ๆ เดียวอันหามีหวั ไม่”
ในคราวที่บาดหลวงตาชาด์เปนราชทูตไทยมาในครัง้ นี ้ ได้ รับ
หนังสือฝากมาเปนอันมาก หนังสือเหล่านี ้เปนหนังสือที่ฟอลคอนมีไป
ถวายพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส ถวายเจ้ านายฝรั่งเศสและฝากไปถึงเสนาบดี
ฝรังเศส ถึงบาดหลวงเดอลาเชซ และถึงผู้อํานวยการการค้ าขาย
และผู้อํานวยการของบริ ษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดีย คนใดที่ฟอลคอนจําเปน
จะต้ องคบค้ าหรื อจําเปนจะต้ องขอความเอื ้อเฟื อ้ ช่วยเหลือแล้ วฟอลคอน
มิได้ ลืมเลยจนคนเดียวได้ มีจดหมายไปถึงทุกคน ฝ่ ายบาดหลวง
ตาชาด์ผ้ แู ทนของฟอลคอนนั ้นก็ได้ เตรี ยมตัวไปพร้ อมทุกอย่างที่จะไป
พูดจาโต้ เถียงในกิจการทังปวง
้ และเตรี ยมข้ อชี ้แจงไว้ ทกุ อย่างสําหรับที่
จะไปแก้ ไขในคําหาของราชทูตฝรั่งเศส ถึงราชทูตฝรั่งเศสจะไม่แพ้ ก็
คงจะทําให้ หนักเปนเบาลงไปได้ แต่การที่บาดหลวงตาชาด์ได้ รับ
ตําแหน่งเปนเอกอรรคราชทูตพิเศษไปคราวนี ้ ไม่ใช่สําหรับจะไปแก้
คดีของ ฟอลคอนแต่อย่างเดียว แต่ได้ รับหน้ าที่ไปเมืองฝรั่งเศส เพื่อ
แนะนําหนทางที่จะเปนพระราชไมตรี อย่างใหม่ ซึง่ จะเปนการลบล้ าง
วิธีอนั ดําเนินมาในทางผิดเสียแล้ วและเปนหนทางสําหรับให้ พระเจ้ า
หลุยที่๑๔ได้ เปนใหญ่ในอินเดีย ทังฝ่้ ายการค้ าขายแลฝ่ ายทางทหาร
ต่อไปด้ วย

๑๘๙
การที่บาดหลวงตาชาด์ได้ รับหน้ าที่มาเช่นนี ้เปนเรื่ องที่จะต้ องตรึก
ตรองมากในระหว่างที่เดินทางอยูใ่ นเรื อกายยาถึง ๗ เดือนแต่เพราะเหตุ
ที่มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ก็อยูใ่ นเรื อด้ วยนันจึ
้ งกระทําให้ บาดหลวงตาชาด์
หนักใจสําหรับการภายหน้ าและทําให้ วิตกมากว่าการที่คิดไว้ จะไม่สําเร็ จ
และจดหมายเหตุที่บาดหลวงตาชาด์แต่งไว้ นนเมื ั ้ ่อตอนจะจบก็ได้ เล่าแต่
เรื่ องที่วิวาทกันกับมองซิเออร์ ลาลูแบร์ และข้ อที่วิวาทกันนัน้ บาดหลวง
ตาชาด์ก็โทษลาลูแบร์ แต่ฝ่ายเดียวเท่านัน้ เมื่อผู้ใดได้ อา่ นจดหมาย
เหตุของบาดหลวงตาชาด์ ซึง่ ได้ แต่งแยกกันด้ วยความในจดหมายเหตุ
ฉบับตัวเขียนไม่ตรงกับจดหมายเหตุตวั พิมพ์นนั ้ ก็คงจะอ่านด้ วยเห็น
ว่าเปนเรื่ องที่ขนั มากอันจะกลันหั้ วเราะไว้ ไม่ได้ ๑ เพราะข้ อวิวาทใน
ระหว่าง
๑ ก่อนที่จะงดไม่อ้างถึงจดหมายเหตุฉบับเขียนของบาดหลวงตาชาด์ อีกต่อไปนัน้
เราจําจะต้ องคัดข้ อความต่อไปนี ้มากล่าว เพราะเปนเรื่องที่แสดงว่าบาดหลวงตาชาด์กบั
มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ต่างคนต่างเกลียดกันปานใด และเพื่อให้ เห็นว่าการที่บาดหลวง
ตาชาด์เก็บรวบรวมเรื่องต่าง ๆ สําหรับหาความใส่มองซิเออร์ ลาลูแบร์นนั ้ เปนการที่
ไม่สมควรแก่คนที่ถือสาสนาคริศเตียนเลย ข้ อความที่บาดหลวงตาชาด์กล่าวนันมี ้ วา่ ดังนี ้
นานมาแล้ วบาดหลวงเดฟาช์ได้ มาตักเตือนให้ ข้าพเจ้ าคอยระวังเก็บส้ อนหนังสือ
ต่าง ๆ ของข้ าพเจ้ าให้ ดี เพราะบาดหลวงเดฟาช์ได้ ทราบมาเปนแน่วา่ มีคนคิดปองจะ
ลักเอาหนังสือต่าง ๆ ของข้ าพเจ้ าไปให้ ได้ และมีคนคอยสอดแนมด้ อมมองข้ าพเจ้ า
ด้ วย ครัน้ วัน ๑ ข้ าพเจ้ าป่ วยไม่สบาย บาดหลวงเดฟาช์จงึ ได้ มาเยี่ยมข้ าพเจ้ าและได้ นงั่
อยูข่ ้ างเตียงนอนของข้ าพเจ้ า พอบาดหลวงเดฟาช์หนั ตัวจะมาหาข้ าพเจ้ า ก็ได้
สังเกตเห็นแสงสว่างอันผิดปรกติ ครัน้ ไปตรวจดูก็เห็นว่าแสงสว่างนี ้มาจากรูที่ฝาโตเท่า
ปลายนิ ้วเปนรูซงึ่ ได้ เจาะมาจากห้ องที่มองซิเออร์ ลาลูแบร์ อยู่ และรูนี ้ได้ เจาะจําเพาะพอดี
สําหรับมองซิเออร์ ลาลูแบร์ หรือเลขานุการของมองซิเออร์ ลาลูแบร์ จะมองลอดรูเข้ ามา
อ่านหนังสือต่าง ๆ บนเตียงนอนของข้ าพเจ้ าหรือบนโต๊ ะเขียนหนังสือก็ได้ และเมื่อใคร
จะไปมาหาสูข่ ้ าพเจ้ าและใครจะทําอะไรหรือพูดอะไรในห้ องข้ าพเจ้ า คนในห้ องมองซิเออร์
ลาลูแบร์ ก็มองดูตามรูนนได้ั ้ เห็นและได้ ยินได้ ฟังหมด การที่เกิดมีรูสําหรับด้ อมมองได้
๑๙๐
ราชทูตคนเก่า แลราชทูตที่เปนขึ ้นใหม่ก็มีไม่หยุดไม่หย่อนเรื่ อยไป
บางทีลาลูแบร์ ก็ไปต่อว่า บาดหลวงเดฟาช์ ในเรื่ องที่มองซิเออร์ เดฟาช์
ผู้เปนพ่อประจบประแจงฟอลคอนแลอ้ างเปนพยานว่าในหนังสือคําสัง่ ที่
ฟอลคอนได้ ให้ บาดหลวงตาชาด์ไว้ นนั ้ ใช้ คําเปนภาษาปอตุเกตว่า
“อาปุนตาโมชซ์” (Apuntamos) คํานี ้ บาดหลวงตาชาด์ยืนยันว่า
แปลว่า “เราเรี ยกว่า” แต่ลาลูแบร์ ยืนยันว่าคํานี ้แปลว่า “เราตังให้ ้ ”
บางทีลาลูแบร์ ก็หาว่า บาดหลวงตาชาด์ได้ เกลี ้ยกล่อมคนใช้ ชื่อเตราซอง
ให้ เอาใจออกหากจากลาลูแบร์ ผ้ เู ปนนาย และพยายามจะให้ บาดหลวง
ตาชาด์เสียชื่อโดยเอาเรื่ องในหนังสือ ปลาตอง มาเปรี ยบ บางคราว
มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ก็หาว่าบาดหลวงตาชาด์เปนคนสอดแนมแลทําการ
ไม่สจุ ริต และหาว่า “บาดหลวงตาชาด์เอาแต่บาดหลวงเดอลาเช
ซขึ ้นมาอ้ างเปนโลห์ แต่บาดหลวงเดอลาเชซเปนคนที่มีคนเชื่อถือมาก
เพราะฉนันคงจะช่
้ วยเหลือบาดหลวงตาชาด์ได้ ”
เช่นนี ้ทําให้ ข้าพเจ้ าปลาดใจเปนอันมาก และข้ าพเจ้ าก็นึกว่ารูทฝี่ าผนังนันคงจะเปนเรื
้ ่อง
ที่ประจวบกันคงจะไม่มีใครพยายามทีจ่ ะให้ เปนเช่นนันเปนแน่ ้ ครัน้ ตรองไปตรองมา
ข้ าพเจ้ าก็เอาเนื ้อความนี ้ไปเล่าให้ มองซิเออร์ เดอโวดรีครู ์ ฟัง มองซิเออร์ โวดรีครู ์ ก็อสุ า่ ห์
มาดูในห้ องข้ าพเจ้ า จึงเห็นว่ารูนี ้ได้ มีคนพยายามเจาะโดยเฉภาะ ซึง่ เปนอุบายอย่าง
ร้ ายกาจไม่มีสิ่งที่จะเปรียบได้ อันไม่สมควรกับคนที่มีความซื่อสัตย์เลย แต่ถึงดังนัน้
ข้ าพเจ้ าก็ยงั ไม่เชื่อว่าคนที่รักชื่อและเกียรติยศของตัวจะทําการเลวทรามได้ ถึงเพียงนี ้
ครัน้ มองซิเออร์ เดฟาช์กลับมาหาข้ าพเจ้ าอีก มองซิเออร์ เดฟาช์ก็พิจารณารูที่เจาะฝาผนัง
นี ้ ได้ ลองมองดูตามรูนนเข้ ั ้ าไปในห้ องมองซิเออร์ ลาลูแบร์ ก็เห็นเลขานุการของมองซิ
เออร์ ลาลูแบร์ นงั่ เขียนหนังสืออยูข่ ้ างรูนนั ้ อยูด่ ี ๆ รูนนก็ ั ้ หายไปด้ วยมีคนเอาไม่ไปอุดรู
ไม่อดุ รูนนก็
ั ้ ทําเฉภาะพอดีกบั รูสีไม้ ก็ไม่ผิดกับสีฝา จึงเปนอันเห็นแน่ชดั ว่าผู้ทคี่ ิดเจาะรู
ไว้ นนมี
ั ้ เจตนาอันไม่ดี ข้ าพเจ้ าจึงได้ ปฤกษากับมองซิเออร์ โวดรีครู ์ อีกครัง้ ๑ และได้

๑๙๑
แต่ข้อวิวาทในระหว่างลาลูแบร์ กบั บาดหลวงตาชาด์นั ้นไม่มีเรื่ อง
ใดจะขันเท่ากับเรื่ องนักพรตหนุม่ ชื่อคาดีนาล นักพรตหนุม่ คนนี ้อายุ
๑๖ ปี เปนคนที่บาดหลวงตาชาด์ควบคุมกักขังไว้ ในห้ องบนเรื อ ถ้ า
นักพรตหนุม่ คนนี ้ไม่เรี ยนหนังสือ บาดหลวงตาชาด์ก็ทําโทษโดย
ไม่ให้ รับประทานนํ ้า แลขู่วา่ ในเวลาที่ขึ ้นบกบาดหลวงตาชาด์จะไม่ให้
เงินสําหรับไปซื ้อของเล่นเลย ข้ างฝ่ ายลาลูแบร์ ทราบเรื่ องนักพรตหนุม่
คนนี ้ก็แกล้ งเอานํ ้าไปให้ รับประทานเสียเต็มอิ่ม หนังสือต่าง ๆ ที่
บาดหลวงตาชาด์ห้ามมิให้ นกั พรตหนุม่ คนนี ้อ่าน ลาลูแบร์ ก็เอาแต่เฉ
ภาะหนังสือที่ต้องห้ ามส่งให้ นกั พรตหนุม่ อ่าน แล้ วเอาเงินให้ แก่
นักพรตหนุม่ ๓ เหรี ยญทอง เพื่อจะไปซื ้ออะไรให้ เพลินใจที่แหลมเค
ปออฟกุดโฮป
ตกลงกันว่าเมื่อเวลารับประทานอาหาร ข้ าพเจ้ าจะได้ พดู กับมองซิเออร์ ลาลูแบร์ ในเรื่ องนี ้
เพราะข้ าพเจ้ าได้ ถือตามคําสัง่ สอนของสาสนาว่าจะต้ องพูดให้ มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ร้ ูตวั ต่อ
หน้ าพยาน ครัน้ เวลากลางคืนข้ าพเจ้ าก็ได้ พดู กับมองซิเออร์ ลาลูแบร์ ในเรื่องนี ้ สังเกตดู
มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ทําท่าทางกระดากอย่างที่สดุ ข้ าพเจ้ าจึงได้ ชี ้แจงให้ มองซิเออร์ ลาลู
แบร์ ฟังว่า คนในเรือโดยมากได้ มาล้ างบาปที่ข้าพเจ้ า เพราะฉนันการที
้ ่มาแอบฟั งที่
รูฝานี ้อาจจะได้ ยินคําพูดได้ ทงหมด ั้ จึงขอให้ มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ตริกตรองให้ ดี ว่าการ
ที่ทําเช่นนี ้คนทังหลายจะเข้
้ าใจว่าอย่างไรและผลที่สดุ จะเปนอย่างไร มองซิเออร์ ลาลูแบร์
ได้ พดู แก้ ตวั อย่างฟั งไม่ได้ และความที่กระดากจนถึงกับต้ องลุกจากโต๊ ะ แล้ วเรียก
คนใช้ คน ๑ ซึง่ สังเกตดูกิริยาเหมือนจะเปนคนที่มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ใช้ ให้ เปนผู้เจาะรู
นันเอง
้ พอมองซิเออร์ ลาลูแบร์ ได้ ลุกจากโต๊ ะไปแล้ วข้ าพเจ้ าก็ได้ กลับไปยังห้ องข้ าพเจ้ า
พร้ อมด้ วยผู้บงั คับการเรือ ผู้บงั คับการเรือได้ ไปตรวจดูไม้ อดุ รูและได้ ลองผลักดูไม้
อุดรูนนก็
ั ้ หลุดจากรูตกไปในห้ องมองซิเออร์ ลาลูแบร์ อีกสักครู่ ๑ คนใช้ ที่มองซิเออร์
ลาลูแบร์ ได้ เรียกไปนัน้ ได้ มาหาข้ าพเจ้ าและขอให้ ข้าพเจ้ าช่วยพูดกับมองซิเออร์ ลาลูแบร์
เพราะมองซิเออร์ ลาลูแบร์ จะทุบตีโดยหาว่าในห้ องนันไม่ ้ มีใครนอกจากเลขานุการกับคนใช้
คนนี ้คนเดียวเท่านัน้ เรื่ องนี ้ได้ เล่าลือกันในเรือมาก และคนที่ทราบเรื่องมีความ

๑๙๒
การที่คนทังสองวิ
้ วาทกันเช่นนี ้ พวกกลาสีแลนายเรื อก็เปนพ
ยานรู้เห็นด้ วยทุกคน มองซิเออร์ โวดรี ครู ์ นายเรื อนันตั
้ งตั
้ วเปนกลางไม่
เกี่ยวแก่ใคร และถ้ าบาดหลวงตาชาด์ไปขอให้ นายเรื อตัดสินเปนกลาง
คราวใด มองซิเออร์ โวดรี ครู ์ ก็ตอบแต่วา่ “ต้ องรอให้ ถึงปารี สเสียก่อน
จึงค่อยว่ากล่าวกันต่อไป”
เรอกายยาได้ ไปถึงเมืองเบรสต์เมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ.๑๖๘๘
( พ.ศ.๒๒๓๑ )
๑๐
บาดหลวงตาชาด์ได้ เตรี ยมข้ อชี ้แจงไว้ พร้ อมเสร็จ และถึงแม้ วา่
มองซิเออร์ เซเบเรต์ ได้ ไปถึงเมืองฝรั่งเศสก่อนก็จริง แต่
บาดหลวงตาชาด์ได้ กลับส่งคําชี ้แจงไปยังมองซิเออร์ เดอเซงแล และ
บาดหลวงเดอลาเชซ ก่อนมองซิเออร์ เซเบเรต์เสียอีก ในคําชี ้แจง
ของบาดหลวงตาชาด์ได้ ตงต้ั ้ นอธิบายเหตุผลย่อๆ ที่ตวั ได้ ไปเมืองไทย
คราวนี ้และในท้ ายรายงานจึงได้ กล่าวความว่าดังนี ้
โกรธแค้ นมากในการที่มองซิเออร์ ลาลูแบร์ ทําการทุจริตเช่นนี ้ จิงได้ มีคน ๆ ๑ ได้ มา
เตือนข้ าพเจ้ าให้ ระวังตัวให้ ดี เพราะมองซิเออร์ ลาลูแบร์ ได้ วา่ จ้ างคน ๆ นัน้ ให้ ไป
ด่าท้ าทายแลทําการดูถกู ข้ าพเจ้ าต่าง ๆ ที่เมืองลพบุรี ทังจะให้
้ คน ๆ นันตั ้ ดหนวด
ข้ าพเจ้ าในกลางถนนด้ วย แล้ วคนนันได้
้ เล่าต่อไปว่ามองซิเออร์ ลาลูแบร์ ได้ เรียกคนใช้
ที่เปนคนฝรั่งเศสไปณที่พกั ของตัว และได้ พดู ในเรื่องนี ้ให้ คนใช้ ฟังโดยยืดยาว ซึง่ เปน
การไม่สมควรแก่เกียรติยศของผู้ที่เปนราชทูตเลย”
ในเรื่องนี ้เราไม่มีพยานอันใดที่จะมาประกอบว่าตามข้ อความที่บาดหลวงตาชาด์เล่ามา
ทังนี
้ ้จะจริงเท็จเพียงใด แต่หากว่าลาลูแบร์ จะทําการทุจริตจริงดังว่านี ้ การที่บาดหลวง
ตาชาด์เอาเรื่องไปเที่ยวพูดโพนทนาให้ เรื่องเล็กเปนเรื่องใหญ่ จนถึงกับคนเรือก็ทราบเรื่อง
ทุกคนเช่นนี ้ จะเปนการสมควรกับเกียรติยศของมิชนั นารีแล้ วหรือ

๑๙๓
“ข้ าพเจ้ าจะขอเรี ยนให้ ทา่ นทราบว่า ท่านราชทูตฝรั่งเศสทัง้
สอง แต่มองซิเออร์ เดอลาลูแบร์ โดยเฉภาะ คงจะมาร้ อง
กล่าวโทษมองซิเออร์ คอนซตันซ์เปนแน่ และบางทีก็คงจะ
กล่าวโทษข้ าพเจ้ าบ้ างเหมือนกัน เพราะมองซิเออร์ เดอลาลูแบร์
ได้ กลับจากเมืองไทยโดยไม่มีความพอใจอย่างยิ่ง และฝ่ าย
สมเด็จพระเจ้ ากรุงสยามก็ไม่พอพระราชหฤทัย และ
มองซิเออร์ คอนซตันซ์ก็ขดั ใจมากเหมือนกัน ส่วนตัวข้ าพเจ้ า
นัน้ กล้ าปฏิญาณตัวต่อท่านได้ วา่ ข้ าพเจ้ ามิได้ มงุ่ หมายหรื อ
เจตนาจะกล่าวโทษหรื อติเตียนฝ่ ายใดเลย แต่ตงใจจะเล่ ั้ าให้
ท่านฟั งแต่เฉภาะตามเรื่ องตามราวที่เกิดมีขึ ้น โดยเล่าแต่สิ่งที่
จริงและตังตั้ วอยูเ่ ปนกลางให้ สมกับที่ข้าพเจ้ าหาเลี ้ยงอาชีวะ
เปนนักพรต ทังรู้ ้ สกึ ว่าถ้ าจะเล่าสิ่งใดให้ ทา่ นฟั งจะต้ องเป
นเรื่ องที่จริงทังสิ
้ ้น”
ภายหลังบาดหลวงตาชาด์ได้ ทําให้ เห็น “ความจริง” ชัดขึ ้นอีก
แต่ความจริงชนิดนี ้ คอนซตันซ์คนเดียวก็พอจะชี ้แจงได้ อยูแ่ ล้ ว เพราะ
ในจดหมายที่คอนซตันซ์มีไปถึงมองเออร์ เดอเซงแลฉบับหนึง่ นัน้ ได้
ขอร้ องให้ มองซิเออร์ เซงแล คิดอ่านระวังชาวฝรั่งเศสบางคนซึง่ คิดการ
ทุจริต อย่าให้ ชาวฝรั่งเศสเหล่านี ้ทําการให้ พระราชไมตรี ในระหว่าง
ประเทศทังสองได้
้ มวั หมองไปได้ ๑ พวกฝรั่งเศสที่คดิ การทุจริ ตนัน้
๑ ข้ อความเรื่องนีม้ ีอยูใ่ นจดหมายออกญาวิชเยนทร์ ถึงมองซิเออร์ เซงแล แต่
จดหมายไม่ได้ ลงวัน
๒๕

๑๙๔
มองซิเออร์ เซงแลรู้จกั ชื่อจากใคร ก็คือบาดหลวงตาชาด์ได้ เตรี ยมไว้
ที่จะคอยบอกนันเอง

ส่วนพระราชสาสนของพระเจ้ ากรุงสยามก็มีข้อความเคลือบคลุม
ไม่แปลกกว่าพระราชสาสน ๒ ฉบับที่พระองค์ได้ สง่ ไปเมื่อคราวก่อนเลย
คํายกย่องสรรเสริญที่ใช้ ในพระราชสาสนนัน้ มากเกินกว่าที่ใช้
กันเปนธรรมดาในฝ่ ายทิศตวันออกมากนัก และเนื ้อความในพระราชสา
สนนันไม่
้ ได้ กล่าวถึงการสาสนาหรื อการค้ าขายเลยจนคําเดียว ส่วน
มอง ซิเออร์ เซเบเรต์นนพอมาถึ
ั้ งเมืองฝรั่งเศส ก็ได้ เขียนรายงานบอก
มอง ซิเออร์ เดอเซงแลโดยตรงว่า
“ในการเรื่ องสาสนานันข้ ้ าพเจ้ าไม่ได้ จดั การให้ เปนผลสําเร็จขึ ้น
เลย แต่ก็ได้ พยายามทุกอย่างที่จะจัดการในเรื่ องสาสนาแล้ ว”
ฝ่ ายบาดหลวงตาชาด์ก็พยายามจะกราบทูลให้ พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔
ทรงเห็นว่า เหตุใดการเรื่ องสาสนาจึงจัดไปไม่สําเร็จ โดยได้ ยกเหตุ
ที่พวกคณะเยซวิตและคณะมิชนั นารี วิวาทกันมาอ้ าง และกล่าวต่อไปว่า
“ข้ าพเจ้ ามีความเสียใจอย่างยิง่ ที่จะปั ดเป่ าข้ อบาดหมางและข้ อที่
เข้ าใจผิดกันต่าง ๆ เสียไม่ได้ เพราะการบาดหมางเหล่านี ้เกิด
ในระหว่างผู้ที่มีนา่ ที่ ที่จะต้ องการให้ สาสนาแพร่หลายออกไป
และการที่บาดหมางวิวาทกันเช่นนี ้ก็เปนเหตุกระทําให้ หมดหวัง
ในข้ อที่จะคิดแผ่สาสนาอันเปนการใหญ่ และการที่ได้ เสียหาย
ไปแล้ ว ก็นา่ กลัวจะจัดการแก้ ไขให้ ดีขึ ้นไม่ได้ อีกแล้ ว ”

๑๙๕
เมื่อบาดหลวงตาชาด์ได้ มีจดหมายถึงมองซิเออร์ เดอเซงแลนัน้
ก็ได้ สง่ จดหมายอันยืดยาวของมองซิเออร์ คอนซตันซ์ฉบับ ๑ ซึง่ เปน
จดหมายเขียนภาษาปอตุเกตแล้ วแปลเปนภาษาฝรั่งเศส สําหรับถวาย
ต่อพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ และจดหมายฉบับนี ้ก็ได้ กล่าวในเรื่ อง “สาสนา”
เหมือนกัน จดหมายที่มองซิเออร์ คอนซตันซ์มีมาถวายพระเจ้ าหลุย
ที่ ๑๔ นัน้ บาดหลวงตาชาด์ได้ ประกาศโดยเปิ ดเผยว่าตัวบาดหลวง
ตาชาด์ก็ดี หรื อบาดหลวงเยซวิตคนใดก็ดี มิได้ ชว่ ยมองซิเออร์
คอนซตันซ์เขียนเลย ข้ อนี ้ก็คงจะเปนจริง แต่ถ้าไม่ได้ เอามือช่วยเขียน
ก็คงเอาใจและสติปัญญาความคิดช่วยบ้ างเปนแน่ และข้ อที่เอาใจและ
ความคิดช่วยนัน้ พวกเยซวิตก็มิได้ ปฏิเสธเลย จดหมายของฟอลคอน
ฉบับนี ้ไม่มีอะไรเลย นอกจากเปนข้ อความกล่าวโทษ พวกสังฆราช
และมิชนั นารี อาปอศตอลิกเท่านัน้ ข้ อหาต่าง ๆ นันนั ้ บได้ ถึง ๑๔ ข้ อ
ซึง่ ล้ วนแต่เปนข้ อหาอันน่าชังละร้ ายแรงมากอันกล่าวถึงการผิดระเบียบ
ความประพฤติอนั ชัว่ ร้ าย ของบาดหลวงและมิชนั นารี พวกนี ้ และเมื่อ
จะตรวจดูตามข้ อความที่กล่าวแล้ ว ก็เปนข้ อความที่กล่าวร้ ายอย่างแรง
ซึง่ ไม่สมควรจะกราบทูลให้ พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสทรงทราบเลย ข้ อหา
อย่างร้ ายแรงนี ้ก็มีนํ ้าหนักพอกันกับคําสรรเสริญเยินยอพวกคณะเยซวิต
เพราะฉนันเมื้ ่อมองซิเออร์ เดอลานยีได้ อา่ นแล้ ว จึงได้ พดู กับมองซิเออร์
เดอเซงแล ว่าประถมเหตุที่ทําให้ เกิดความลําบากขึ ้นในเมืองไทยนัน้
ก็คือความแตกสามัคคีและแตกคณะในระหว่างพวกมิชนั นารี อาปอศ
โตลิกและพวกเยซวิตนันเอง ้

๑๙๖
ฝ่ ายพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ หาได้ ทรงรอให้ ราชทูตของพระองค์ได้
กลับมาจากเมืองไทยเสียก่อนไม่ แต่ได้ ทรงรี บจัดการเพิ่มเติมกําลัง
ทหารที่ไปอยูใ่ นประเทศสยามให้ มากขึ ้น เพราะไม่ได้ ทรงระแวงสงไสย
เลย ว่าการที่แต่งทูตไปคราวนี ้จะไปจัดการไม่สําเร็จ และทรง
เชื่อมัน่ พระไทยว่าการที่จะให้ ทหารไปรักษาป้อมของไทยคงเปนการ
สําเร็จแล้ วเปนแน่ ทังทรงเชื
้ ่อพระไทยในความซื่อสัตย์สจุ ริ ตของ
มองซิเออร์ ฟอลคอนซึง่ เปนผู้กระทําการโดยสุจริตแทนพระเจ้ ากรุง
สยามด้ วย ยังไม่ใช่แต่เท่านี ้แต่ในเวลานัน้ ได้ มีการติดต่อกันใน
ระหว่างพระราชวังเวอซายและกรุงศรี อยุธยาอยูเ่ สมอ ด้ วยได้ มี
หนังสือโต้ ตอบกัน และส่งของฝากให้ ซงึ่ กันและกันมิได้ ขาดเลย
และที่สดุ บาดหลวงแวยูได้ นําจดหมายและของฝากมาจากฟอลคอนอีก
จึงได้ ทําให้ พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ เชื่อพระไทยแน่ขึ ้น ในจดหมายของ
ฟอลคอนฉบับหลังนี ้ ก็มีความสรรเสริญชมเชยความประพฤติ
มองซิเออร์ เดอลามาร์ ผ้ เู ปนเอน ยินเนีย แต่ได้ กล่าวโทษในความ
เย่อหยิ่งของเชอวาเลียเดอฟอร์ แบงมายังมองซิเออร์ เดอเซงแล
และฟอลคอนก็ได้ แจ้ งให้ มองซิเออร์ เดอเซงแลทราบว่า ฟอลคอนได้
ตกลงใจจะเปนผู้อํานวยการของบริษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดียด้ วยผู้ ๑
หนังสือที่ฟอลคอนมีมาในครัง้ นี ้ ทังพระเจ้
้ ากรุงฝรั่งเศส และ
มองซิเออร์ เดอเซงแลก็ได้ มีลายพระราชหัดถ์และมีจดหมายตอบไป
และได้ เขียนคําสัง่ ขึ ้นใหม่สําหรับส่งไปยังมองซิเออร์ เดฟาช์
มองซิเออร์ เดอลาซาล มองซิเออร์ ดบู รูองั มอง

๑๙๗
ซิเออร์ เดอแวเดอซาล และมองซิเออร์ ดาลวิมาร์ ด้วย พระราชหัดถ์
และหนังสือที่จะตอบไปยังฟอลคอน ทังคํ ้ าสัง่ ต่าง ๆ นัน้ ได้ มอบให้
กัปตันเดอเลซตรี ลผู้บงั คับการเรอ ลอรี ฟลาม เปนผู้ถือไป กัปตันเดอ
เลซตรี ลได้ นําเรื อออกจากประเทศฝรั่งเศสไปเมืองไทย เมื่อปลายเดือน
มกราคม ค.ศ.๑๖๘๘ ( พ.ศ.๒๒๓๐ ) แต่เพื่อจะไม่ให้ เสียเวลาชักช้ า
ไป กัปตับเดอเลซตรี ลจึงได้ รับคําสัง่ มิให้ แวะที่แห่งใด นอกจากแวะที่
แหลมเคปออฟกุดโฮปแห่งเดียวเท่านัน้ และเมื่ อถึงแหลมเคปออฟกุด
โฮปแล้ ว ให้ กปั ตันเดอเลซตรี ลเชิญสายสร้ อยทองคํา ๑ สายกับเหรี ยญ
ทองคํา ๑ เหรี ยญ ไปส่งให้ แก่เจ้ าเมืองฮอลันดา เปนของที่พระเจ้ า
หลุยที่ ๑๔ พระราชทานไปยังเจ้ าเมืองฮอลันดา เพื่อแสดงความพอ
พระไทยในการที่เจ้ าเมืองผู้นี ้ได้ ต้อนรับพวกเรื อฝรั่งเศสที่มาคราวก่อน
กัปตันเดอเลซตรี ลได้ พาทหารไปด้ วย ๒๐๐ คน สําหรับเอาไปสมทบ
กับกองทหารฝรั่งเศสที่ประจําอยูใ่ นเมืองไทยแล้ ว
ในคําสัง่ ที่พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสสัง่ ไปยังมองซิเออร์ เดฟาช์คราวนี ้
มีข้อความอยู่ข้อ ๑ ว่า “ให้ มองซิเออร์ เดฟาช์วางใจได้ วา่ พระเจ้ ากรุ ง
ฝรั่งเศสจะได้ โปรดให้ สง่ เรื อออกไปทุก ๆ ปี และการสิ่งใดที่มองซิเออร์
เดฟาช์จะทําไม่สําเร็จในปี นี ้ก็ให้ คดิ อ่านทําให้ สําเร็จในปี หลัง ๆ ต่อไป”
ส่วนเรื อลอรี ฟลามที่จะไปประเทศสยามในคราวนี ้ ได้ รับคําสัง่
ห้ ามไม่ให้ ประจําอยูใ่ นเมืองไทย แต่เมื่อได้ ถึงเมืองไทยแล้ วก็ให้ รีบ
ไปยังเมืองมริ ดโดยเร็ ว เพื่อไปตรวจตราดูพื ้นภูมิ์ประเทศ เมื่อได้ ตรวจ

๑๙๘
ดูเสร็จแล้ ว ก็ให้ เรื อลอรี ฟลามกลับไปแวะที่เมืองปอนดีเชรี เพื่อ
ช่วยเหลือแก่ผ้ แู ทน และเจ้ าพนักงานของบริษัทฝรั่งเศสตามแต่จะช่วย
ได้ และให้ กปั ตันเรื อลอรี ฟลาม รับแต่เฉภาะสินค้ าของบริษัทสําหรับ
ไปส่งตามท่าเรื อต่าง ๆ ด้ วย
ในข้ อที่เกี่ยวด้ วยการสาสนานันรั
้ ฐบาลฝรั่งเศสก็มิได้ ลืม
เหมือนกัน เพราะเรื อลอรี ฟลามได้ บรรทุกสมุดต่าง ๆ ที่เกี่ยวด้ วยการ
สาสนาและเครื่ องสําหรับประดับวัดรวมถึง ๕ หีบ กับผู้อํานวยการ
ของคณะมิชนั นารี ตา่ งประเทศก็ได้ ฝากเงินไปกับเรื อลอรี ฟลามสําหรับ
ไปจําหน่ายจ่ายแจกตามพวกบาดหลวงที่อยูใ่ นอินเดียด้ วย
ข้ างฝ่ ายมองซิเออร์ เดอเซงแลนัน้ ก็ได้ มีคําสัง่ กําชับไปยัง
มองซิเออร์ เดฟาช์มิให้ ใช้ พลทหารทําการถมดินสําหรับป้อม แต่ได้ ใช้
พลทหารเฉภาะแต่การก่อป้อมเท่านัน้ และส่วนพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ นัน้
ก็ได้ ทรงกําชับไปยังมองซิเออร์ เดฟาช์ ให้ คอยระวังมิให้ นายทหารและ
พลทหารรับประทานเนื ้อสัตว์ในวันศุกร์ วนั เสาร์ และวันอื่น ๆ ซึง่ เปน
วันห้ ามของสาสนา เว้ นแต่เมื่อมีเหตุจําเปนจริง ๆ จึงให้ รับประทานได้
นอกจากนันห้ ้ ามมิให้ รับประทานเปนอันขาดแล้ วทรงกําชับให้ นายทหาร
พลทหารระวังกิริยาในเวลาเข้ าโบสถ์ ทังให้ ้ มีความนับถือและนบนอบ
ต่อพวกนักพรตด้ วย ในที่สดุ ได้ ทรงกําชับห้ ามมิให้ ทหารได้ เล่นไพ่หรื อ
การพนันอย่างใด ห้ ามมิให้ รับประทานสุรายาเมาหรื อไปในที่แห่งใด
ซึง่ เกี่ยวด้ วยการผู้หญิงและกินเหล้ า

๑๙๙
เมื่อบาดหลวงตาชาด์ได้ กลับไปถึงประเทศฝรั่งเศส ก็ร้ ูสกึ ว่า
ราชสํานักฝรั่งเศสยอมที่จะฟั งข้ อแนะนําใหม่ ซึง่ บาดหลวงตาชาด์
ได้ รับมาเจรจา แต่จะตกลงทีเดียวก็ไม่ได้ เพราะเหตุวา่ จะต้ อง
ตรวจสอบรายงานต่าง ๆ ที่มาจากเมืองไทย และข้ อที่สําคัญที่สดุ ที่
จําเปนจะต้ องจัดการเสียก่อนนัน้ ก็คือจะต้ องจัดการให้ คณะนักพรต
ได้ ลงรอยกันเสีย๑
ในเวลานันพระเจ้
้ าหลุยที่๑๔เสด็จประทับอยูท่ ี่พระราชวังฟอนเตน
โบล จึงได้ โปรดอนุญาตให้ บาดหลวงตาชาด์ไปยังกรุงโรมพร้ อมด้ วย
ข้ าราชการไทย และนักพรตที่ได้ ตามมาด้ วย เพราะบาดหลวงตาชาด์
จะต้ องเชิญพระราชสาสนของสมเด็จพระนารายน์กบั ของต่าง ๆ ไปพระ
๑ เมื่อคณะเสนาบดีฝรั่งเศสได้ ตรวจสอบรายงานต่าง ๆ แล้ วนัน้ ข้ อความที่เสนา
บดีได้ จดไว้ ในจดหมายฉบับหลังของคอนซตันซ์เปนข้ อความที่สงั เกตได้ วา่ คณะเสนา
บดีออกจะสงไสยในเรื่องการของเมืองไทยเสียแล้ ว เพราะเหตุที่ได้ อา่ นรายงานของมอง
ซิเออร์ เดอลาลูแบร์ และรายงานของมองซิเออร์ เซเบเรต์ ข้ อที่ทําให้ คณะเสนาบดีสงไสย
ขึ ้นนัน้ ก็ด้วยเห็นในรายงานถึงการที่เดฟาช์นบนอบประจบประแจงคอนซตันซ์
เหลือเกิน จนถึงกับพูดกับคอนซตันซ์โดยใช้ คํา “มองเซนเยอร์ ” และเวลาที่พดู
กับคอนซตันซ์ ก็แสดงกิริยาอย่างนบนอบ ซึง่ เปนเหตุทําให้ ชาวต่างประเทศทังหลาย

เยาะเย้ ย และทําให้ ผ้ แู ทนของบริษัทร้ องคัดค้ าน ว่าไม่ควรจะทํากิริยาเช่นนัน้ อิ ก
ประการหนึ่งการที่ฟอลคอนไม่ยอมประกาศสิทธิตา่ ง ๆ ที่ยกให้ แก่สาสนาคริศเตียน และ
การที่ฟอลคอนได้ ลอ่ ลวงเกลี ้ยกล่อมพวกทหารฝรั่งเศสนัน้ กระทําให้ พวกที่มีสติปัญญา
และพวกหัวดื ้อ กลับแลเห็นความจริงขึ ้นได้
เราได้ มีความปลาดใจมากที่ไม่ได้ พบจดหมายของลาลูแบร์ ในหอสมุดเลยจนฉบับ
เดียว ได้ พบแต่ลายเซนของลาลูแบร์ ในหนังสือสัญญาต่าง ๆ เท่านัน้
ข้ างฝ่ ายมองซิเออร์ ฮงั รีคอเดียก็ได้ ค้นหนังสือต่าง ๆ ในหอสมุดของกระทรวง
ต่างประเทศ ในเรื่องที่เกี่ยวด้ วยการฝ่ ายตวันออกอย่างเลอียด ก็ไม่ได้ พบจดหมายหรือ
หนังสือของลาลูแบร์ ผู้เปนหัวหน้ าราชทูต เมื่อปี ค.ศ. ๑๖๘๗ ( พ.ศ. ๒๒๓๐ ) เหมือนกัน
๒๐๐
ราชทานโป๊ ป อินโนซังที่ ๑๑ และในพระราชสาสนนันก็ ้ มีใจความว่า
สมเด็จพระนารายน์จะได้ ทรงบํารุงและอุดหนุน บรรดาบาดหลวงและ
บรรดาพวกเข้ ารี ดทังหลาย
้ ซึง่ จะมีอยูใ่ นพระราชอาณาจักร์ เมื่อโป๊ ป
ได้ รับพระราชสาสนและของที่พระราชทานมา และได้ ทราบข้ อความ
ตามที่สมเด็จพระนารายน์ทรงรับรองมานัน้ ก็มีความปี ติยินดีเปนอัน
มาก และเมื่อบาดหลวงตาชาด์ได้ ลาโป๊ ปเมื่อวันที่ ๔ เดือนมกราคม
ค.ศ. ๑๖๘๙ ( พ.ศ.๒๒๓๑ ) โป๊ ปก็ได้ ให้ ของแก่บาดหลวงตาชาด์ คือ
ลูกประคําอย่างงาม ๑ สาย เหรี ยญทองคําสลักรูปโป๊ ปและ
ประดับเพ็ชร์ ๑ เหรี ยญ และได้ ฝากของไปให้ มองซิเออร์ คอนซตันซ์กบั
ภรรยา คือลูกประคํา ๒ สาย เหรี ยญทองคํา ๒ เหรี ยญ หีบทําด้ วย
ศิลา ๑ หีบกับรูปกาโลมาราตี ๑ รูป พวกข้ าราชการไทยและนักพรต
ก็ได้ รับของจากโป๊ ปเหมือนกัน คือเหรี ยญทองคําและเหรี ยญเงิน
ขวดนํ ้าหอมหลายหีบ และเครื่ องรับประทานเปนของหวานหีบใหญ่ ๆ
หลายหีบ พวกข้ าราชการไทยได้ เที่ยวชมของต่าง ๆ ในกรุงโรมเปนที่
พอใจมาก จนถึงกับข้ าราชการไทยผู้หนึง่ ได้ ออกปากพูดกับบาดหลวงตา
ชาด์ว่าอยาก จะอยูใ่ นประเทศฝรั่งเศสเพื่อเข้ ารี ดต่อไป และคนใช้
ของไทยสองคนก็ได้ รับปากว่าจะยอมรับนํ ้ามนต์เข้ ารี ดด้ วย๑
๑ บรรดาพวกไทยที่ได้ ไปประเทศฝรั่งเศส โดยเรือของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ คราวนี ้
ได้ รับนํ ้ามนต์เข้ ารีดโดยมาก ในจดหมายเหตุของบาดหลวงเดอชัวซีลงวันที่ ๑๔ เดือน
ธันวาคม ค.ศ. ๑๖๘๕ ( พ.ศ. ๒๒๒๘ ) มีความว่า “มองซิเออร์ คอนซตันซ์ได้ สง่ ของ
กํานันมาให้ ทา่ นราชทูตอย่างหนึ่ง คือบุตรของทาสคนหนึ่ง เพื่อท่านราชทูตจะได้ จดั การ
ให้ เข้ ารีดเสีย ข้ าพเจ้ าก็ได้ รับลูกทาสจากมองซิเออร์ คอนซตันซ์คนหนึ่งเหมือนกัน”

๒๐๑
ครัน้ บาดหลวงตาชาด์ได้ กลับมาจากกรุงโรมก็ได้ เข้ าเฝ้าพระเจ้ า
หลุยที่ ๑๔ ถวายพระราชสาสนของสมเด็จพระนารายน์
เมื่อวันที่ ๑ เดือนมีนาคม บาดหลวงตาชาด์ได้ ตกลงทําสัญญา
กับมองซิเออร์ เซงแลเปนเนื ้อความ ๙ ข้ อ ซึง่ อธิบายข้ อความใน
หนังสือสัญญาที่ทํากันแล้ ว แต่เปนข้ อความที่เคลือบคลุมให้ แจ่มแจ้ ง
ขึ ้น ในหนังสือสัญญาฉบับนี ้มีข้อความว่า ๑ ผู้บงั คับการกองทหาร
ฝรั่งเศสและผู้ที่จะพิจารณาอรรถคดีทงปวงของกองทหารฝรั
ั้ ่งเศส จะ
ต้ องเปนชาวฝรั่งเศส ชนชาติอื่นจะมาบังคับไม่ได้ แต่กองทหาร
ฝรั่งเศสจะต้ องทําการตามพระราชโองการของพระเจ้ ากรุงสยาม ซึง่
จะได้ ทรงสัง่ มาทางอรรคมหาเสนาบดีของพระองค์ แต่การที่ทํานัน้
จะต้ องไม่ขดั กับคําสัง่ ของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส และบรรดาป้อมต่าง
ๆ ที่รักษาอยูน่ นั ้ ต้ องเปนชนชาติฝรั่งเศสรั กษาจึงจะได้ ชนชาติอื่น
ๆ จะเข้ าไปอยู่ในป้อมเหล่านันไม่
้ ได้ เว้ นแต่ได้ รับอนุญาตของผู้
บังคับ
มองซิเออร์ ยาลได้ ไปค้ นทะเบียฬที่โบสถ์เซนต์ซลู ปิ ซ ได้ พบชื่อเด็กไทยชื่อฟ
รังซัวลิน อายุ ๘-๙ ขวบ ซึง่ ฟอลคอนได้ ยกให้ แก่ชวั ซี เด็กคนนี ้ได้ รับนํ ้ามนต์
เข้ ารีดในวัดนี ้ เมื่อวันที่ ๑ เดือนเมาายน ค.ศ. ๑๖๘๘ ( พ.ศ. ๒๒๓๑ )
ในโบสถ์นี ้เอง ยังได้ มีคนไทยไปเข้ ารีดอีก ๑๐ คน เมื่อวันที่ ๑๕ เดือนเมษายน
ค.ศ. ๑๖๘๗ ( พ.ศ. ๒๒๓๐ ) คนไทยทัง้ ๑๐ คนนี ้ได้ ไปรับความเล่าเรียนที่คณะต่างประ
เทศ ยังมีไทยอีกคนหนึ่ง ซึง่ ไปเรียนวิชาทดนํ ้า ได้ ไปเข้ ารีดพร้ อมกับแขกตุรกีคนหนึ่ง
ในโบสถ์ที่เวอซาย และเมื่อไทยคนนี ้จะรับนํ ้ามนต์เข้ ารีด ก็ได้ รับนํ ้ามนต์โดยอยูใ่ น
ความบํารุงของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส และมกุฎราชกุมารี ( คัดจากจดหมายเหตุ กาเซต
เดอฟรางซ์ ประจําวันที่ ๓ เดือนพฤษภาคม ค.ศ. ๑๖๘๗ ( พ.ศ. ๒๒๓๐ )
๒๖

๒๐๒
การแล้ วจึงอยูไ่ ด้ ๒ กองทหารฝรั่งเศสจะไม่สาบาลตัวต่อพระเจ้ ากรุง
สยามอย่างใด นอกจากจะสาบาลว่าจะได้ ทําการฉลองพระคุณโดย
สุจริตเหมือนกับที่ตนทําการฉลองพระเดชพระคุณพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส
เพื่อทําการต่อสู้ราชศัตรูทงสองฝ่
ั้ ายเท่านัน้ ๓ จะได้ ลงมือก่อป้อมที่
บางกอกโดยทันที ๑ ป้อม ๆ นี ้จะต้ องมีป้อมเล็กที่มมุ ทัง้ ๔ มุม และ
สิ่งของสําหรับสร้ างป้อมนี ้ พระเจ้ ากรุงสยามจะได้ ทรงจัดหาให้ ทงสิ ั ้ ้น
ฝ่ ายพระเจ้ าหลุยที่๑๔ได้ ทรงตอบพระราชสาสนของสมเด็จพระ
นารายน์โดยทรงจัดผู้ชายไปถวาย ๕๐ คน ผู้ชายเหล่านี ้ได้ เลือกคัด
แต่เฉภาะผู้ที่มีตระกูล สําหรับให้ เปนทหารรักษาพระองค์ตามพระราช
ประสงค์ของสมเด็จพระนารายน์คน๕๐คนนี ้มีนายทหารเปนผู้บงั คับการ
ผู้ ๑ ซึง่ เปนคนดีมีชื่อเสียงมาก ชื่อว่า มาควิศเดรานยี มาควิศเดรานยี
ผู้นี ้เมื่อไปถึงเมืองไทยแล้ ว จะต้ องมีหน้ าที่ประจําอยู่ในราชสํานักไทย
เพราะฉนั ้นพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสจึงทรงมอบให้ มาควิศเดรานยีไปเปนธุระใน
กิจทังปวงที
้ ่เกี่ยวด้ วยการสาสนาอย่าง ๑ ให้ เปนธุระตรวจตราความทุกข์
สุขของกองทหารฝรั่งเศสอย่าง ๑ และให้ ชว่ ยเหลืออุดหนุนการของ
บริษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดียด้ วยอิกอย่าง ๑ นอกจากการที่มาควิศเดรานยี
ได้ รับตําแหน่งหน้ าที่เปนผู้บงั คับการทหารรักษาพระองค์ของสมเด็จพระ
เจ้ ากรุงสยามนัน้ พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสยังได้ ทรงตังให้
้ เปนนายตรวจ
ใหญ่ สําหรับตรวจกองทหารฝรั่งเศสในประเทศสยามด้ วยอิกตําแหน่ง ๑
เหตุที่พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ได้ ทรงเลือกมาควิศเดรานยีนนั ้ ก็เพราะท่าน
ผู้นี ้เปนคนที่ฉลาด เปนคนที่ซื่อสัตย์สจุ ริต มีความชํานาญชํ่าชองใน

๒๐๓
การต่าง ๆ มาก ความประพฤติก็เรี ยบร้ อย ทังเปนคนที
้ ่เคยรับราชการ
ทางฝ่ ายทหารมามากด้ วย หน้ าที่ของมาควิศเดรานยีในตําแหน่ง
นายตรวจใหญ่นนมี
ั ้ หลายอย่าง คือ ๑ รับคําฟ้อง พิจารณาคดีอาญา
และลงโทษผู้กระทําผิด ๒ เปนผู้ออกข้ อบังคับสําหรับระเบียบทหาร
และสําหรับการลาดตระเวน ๓ ตรวจตราการบังคับบัญชาฝ่ ายทหาร
และคอยดูให้ การทังปวงได้้ เปนไปตามหนังสือสัญญาทุกประการ ๔
เปนผู้สงั่ จ่ายเงินค่าใช้ สอย และโสหุ้ยต่าง ๆ ๕ เปนผู้กํากับและ
ตรวจตรางบประมาณและบาญชีตา่ ง ๆ ๖ เปนธุระช่วยอุดหนุน
การค้ าขายของบริ ษัท ข้ อเหล่านี ้เปนหน้ าที่ที่นายตรวจใหญ่จะต้ องทํา
ทังสิ
้ ้น แต่ในเวลาเข้ าประชุมจะต้ องยอมให้ มองซิเออร์ เดฟาช์ออกหน้ า
การที่จดั ดังนี ้ก็โดยเข้ าใจว่าที่พระเจ้ าหลุยที่๑๔ทรงพระราชดําริ ห์
จะเอาประเทศสยามเปนเมืองขึ ้นแก่ฝรั่งเศสนันคงจะเปนการที ้ ่สําเร็จ
เพราะเหตุวา่ เปนเรื่ องที่ฟอลคอนรู้ เห็นเปนใจและสมเด็จพระนารายน์ก็ทรง
ยอมอยูแ่ ล้ ว แต่นนั่ แหละการที่วา่ สมเด็จพระนารายน์ทรงยอมนัน้
จะเปนด้ วยไม่ทรงรู้สกึ ความจริง หรื อจะทรงแกล้ งทําเปนไม่ร้ ูสกึ ก็
ทราบไม่ได้ แต่เมื่อพิเคราะห์ดเู ผิน ๆ แล้ วก็นา่ จะเปนการสําเร็จได้ จริง
เพราะเหตุวา่ ต้ นทางที่จะเข้ าไปในประเทศสยาม คือ บางกอกและเมือง
มริดก็อยูใ่ นความปกครองของฝรั่งเศส กองทหารที่มองซิเออร์ เดฟาช์
เปนผู้บงั คับการก็ทําให้ พวกไทยที่ไม่พอใจครั่นคร้ ามอยู่ ทังปิ ้ ดหนทาง
มิให้ ข้าศึกต่างประเทศเข้ ามาทางแม่นํ ้าเจ้ าพระยาได้ ด้วย ฝ่ ายมาควิศ
เดรานยีเล่า ก็ประจําอยูใ่ นราชสํานักเท่ากับเปนเจ้ าของพระราชวัง

๒๐๔
และองค์พระเจ้ าแผ่นดินก็เท่ากับอยูใ่ นกํามือเพราะเปนผู้ที่มีหน้ าที่รักษา
พระองค์อยู่แล้ ว เพราะฉนันการที
้ ่มาควิศเดรานยีเปนทังผู้ ้ บงั คับทหาร
ที่ปฤกษาราชการ และผู้พิพากษาใหญ่อนั มีหน้ าที่ทงฝ่
ั ้ ายทหารและ
พลเรื อนรวมกันอยูใ่ นคน ๆ เดียว จึงเปนโอกาศอันดีให้ มาควิศเดรานยี
ทํากิริยาภายนอกดุจเปนบ่าวอันนบนอบและซื่อสัตย์ แต่ความจริงต้ อง
ให้ มาควิศเดรานยีจดั การให้ ประเทศสยามได้ เปนเมืองขึ ้นของฝรั่งเศสให้
จงได้ โดยใช้ นามว่าเปนพระราชไมตรี แต่เมื่อภายหลังพระเจ้ าแผ่นดิน
สยามได้ เกิดรู้พระองค์ขึ ้นเมื่อใด ก็ให้ ใช้ กําลังบังคับให้ ไทยได้ อยูใ่ น
อํานาจพระเจ้ าแผ่นดินผู้ทรงอานุภาพฝ่ ายทิศตวันตกให้ จงได้
ในเรื่ องนี ้พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสทรงพระราชดําริห์อย่างไร และมี
พระราชประสงค์ประการใดก็อาจจะเห็นได้ โดยชัดเจนในคําสัง่ อันยืดยาว
และเด็ดขาด ที่ได้ ทรงสัง่ ไปยังผู้แทนของพระองค์ในเมืองไทย
พระราชดําริห์ของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ในเรื่ องนี ้จะมีอย่างไรก็เห็นได้ ชดั
ถึงจะทรงกล่าวถึงข้ อวิวาทอันเปนสิ่งที่ไม่นา่ จะเปนได้ ก็คงจะพอ
เข้ าใจในพระราชดําริห์ได้ เพราะถึงจะพูดอย่างไรผลที่สดุ ก็ลงรอยอยู่
นัน่ เอง คือ จะต้ องจัดการให้ สาสนาคริศเตียนได้ แพร่หลายอย่าง ๑
และจัดการให้ การค้ าขายได้ เจริญกว้ างขวางออกไปอิกอย่าง ๑ แต่วิธี
ที่จะให้ จดั การในคราวนี ้ใหญ่โตกว่าเก่าเท่านันเอง ้ ฝ่ ายรัฐบาล
ฝรั่งเศสก็ได้ ร้ ูสึกแล้ ว ว่าที่ได้ พยายามจัดการมาแต่ก่อน ๆ ไม่เพียงพอ
เสียแล้ ว และได้ เห็นล่วงหน้ าว่าการที่สง่ ทูตไปอันไม่เปนแก่นสารอย่าง
ใดจะมีผลสักเพียงไร เพราะฉนันคํ ้ าสัง่ ถึงมองซิเออร์ เดฟาช์จงึ เปนข้ อ
ความอย่างเด็ดขาดว่า
๒๐๕
“ถ้ าแม้ ว่าพระเจ้ ากรุงสยามจะทรงรู้พระองค์หรื อข้ าราชการไทยได้
คิดการประทุษร้ ายจนถึงกับพระเจ้ ากรุงสยามได้ ทรงเปลี่ยน
ความคิดในเรื่ องฝรั่งเศสแล้ ว และถ้ าพระเจ้ ากรุงสยามได้ มี
รับสัง่ ให้ ทําการอย่างใด ๆ อันจะเปนข้ อเสียหายเกิดขึ ้นแก่
ราชการของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส และอาจจะเปนอันตรายแก่
กองทหารที่ประจําอยูท่ ี่บางกอกและเมืองมริ ดแล้ ว พระเจ้ า
กรุงฝรั่งเศสจึงมีพระราชโองการสัง่ ไว้ ให้ มองซิเออร์ เดฟาช์ใช้
กําลังทหารยึดบางกอกและเมืองมริดไว้ ให้ จงได้ และให้
มองซิเออร์ เดฟาช์ยึดส่วยสาอากรและไร่นาในบางกอก เพื่อเปน
กําลังสําหรับเลี ้ยงดูกองทหารและให้ มองซิเออร์ เดฟาช์ไปยึด
ป้อมเมืองตลาดขวัญ และยึดเมืองเพ็ชร์ บรุ ี ไว้ และให้
มองซิเออร์ เดฟาช์ทําการได้ ทกุ อย่างตามแต่จะเห็นควร
เพื่อให้ ไทยเข้ าหามองซิเออร์ เดฟาช์และให้ ไทยยอมอยูใ่ น
อํานาจของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสให้ จงได้ ”
ในคําสัง่ ที่มอบไว้ ให้ แก่มองซิเออร์ เดฟาช์นนก็ ั ้ ได้ กล่าวว่า เปน
อันรู้ทวั่ กันแล้ วว่าความประพฤติของมองซิเออร์ คอนซตันซ์ได้ ทําให้ ไทย
ไม่พอใจมาก และข้ าราชการไทยก็มีความฤษยาคอนซตันซ์ยิ่งนัก
เพราะคอนซตันซ์ได้ โอนเอาพระหทัยของพระเจ้ ากรุงสยามให้ อยู่ในบังคับ
ของตัวอย่างเด็ดขาดแล้ ว เพราะฉนันถ้ ้ าหากว่าจะมีผ้ ู ๑ ผู้ใด จะคิดอ่าน
ทําลายคอนซตันซ์หรื อคิดอ่านจะชิงอํานาจของคอนซตันซ์แล้ วให้ บรรดา
นายทหารฝรั่งเศสช่วยเหลือคอนซตันซ์ทกุ ประการ และถ้ าเปนเรื่ องที่
จําเปนแล้ ว ก็ให้ นายทหารฝรั่งเศสจัดหาที่พกั ให้ คอนซตันซ์ได้ พกั พิง
อาศรัยจนกว่าการจลาจลทังปวงจะได้ ้ สงบลง
๒๐๖
แต่ในคําสัง่ นี ้ได้ คาดการล่วงหน้ าอันสําคัญยิ่งกว่าเรื่ องนี ้ไปอีก
และเปนเรื่ องที่อาจจะเปนได้ คือในเรื่ องที่สมเด็จพระนารายน์จะเสด็จ
สวรรคต เพราะพระองค์ทรงพระชรา และทรงพระประชวรอยูเ่ สมอ ๆ
จึงคาดได้ วา่ พระชนม์คงจะไม่ยืนยาวไปเท่าไรนักถ้ าหากว่าสมเด็จพระ
นารายน์ได้ เสด็จสวรรคตจริงดังคาดแล้ ว
“มองซิเออร์ คอนซตันซ์ ก็ได้ กราบทูลข้ อความอันกระทําให้ พระ
เจ้ ากรุงฝรั่งเศสทรงหวังพระไทยว่า มองซิเออร์ คอนซตันซ์คงจะ
จัดการหาโอกาศให้ พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสได้ ทรงจัดประเทศสยาม
ได้ ตามความพอพระไทย คือจะให้ คงเปนประเทศมีรัฐบาล
ปกครองตัวเอง หรื อจะยกประเทศสยามให้ ผ้ ใู ดผู้ ๑ ปกครอง
แล้ วแต่จะทรงเห็นว่าผู้ใดเปนผู้ที่สมควรจะจัดการบ้ านเมืองให้
เข้ ารูปที่พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสทรงพระราชดําริห์ไว้ ก็ได้ ทงสิ
ั ้ ้น”
พระราชดําริ ห์อนั นี ้จะได้ บอกให้ มองซิเออร์ ฟอลคอนทราบ และ
มองซิเออร์ เดฟาช์กบั มาควิศเดรานยี ก็จะได้ ตงให้
ั ้ ฟอลคอนคง
ได้ รับตําแหน่งและหน้ าที่ตามที่เคยได้ ทําอยูใ่ นเมืองไทยมาแต่เดิม
ถ้ าหากว่าตัวมองซิเออร์ คอนซตันเองจะตายลงจะทําอย่างไร
เล่าถ้ าเช่นนันก็
้ ให้ มองซิเออร์ เดฟาช์ไปยึดเมืองเพ็ชรบุรีและยึดป้อมเมือง
ตลาดขวัญ ไว้ เพื่อคอยป้องกันลํานํ ้ามิให้ เรื อต่างประเทศเข้ ามาได้ เปน
อันขาด เมื่อความคิดของฝรั่งเศสเปนอยู่ดงั กล่าวมานี ้แล้ ว ก็จําเป
นอยูเ่ องที่จะต้ องระวังการรอบตัว เพราะฉนันจะต้
้ องคอยตรวจตรา
ดูแล

๒๐๗
ความประพฤติของมองซิเออร์ คอนซตันซ์ให้ ถ้วนถี่ เพราะมองซิเออร์
คอนซตันซ์ ก็อาจจะชิงราชสมบัตเิ อาเสียเองก็ได้ ถ้ าแม้ วา่ ไทยกับ
ฝรั่งเศสได้ เกิดบาดหมางถึงกับแตกร้ าวกัน ก็ให้ ฝรั่งเศสคิดอ่านจับ
เจ้ านายและข้ าราชการฝู้ใหญ่ไว้ เปนประกัน และให้ เจ้ านายและ
ข้ าราชการที่จบั ไว้ ได้ นนั ้ เปนผู้รับผิดชอบในเหตุร้ายต่าง ๆ อันจะ
เกิดขึ ้นในเวลาที่เปนจลาจลอยูน่ นั ้
ส่วนมองซิเออร์ ดบู รูองั ผู้เปนเจ้ าเมืองเมืองมริดนัน้ ก็ได้ รับคําสัง่
อันมีข้อความคล้ ายคลึงกับคําสัง่ ถึงมองซิเออร์ เดฟาช์ และเสนาบดี
ทหารเรื อ ( Secretaire d’etat de la marine ) ก็เข้ าใจแยกข้ อความ
ต่าง ๆ ทราบได้ ดีวา่ ความจริงมีอยูเ่ พียงไหน ด้ วยได้ ตรวจดูข้อความ
เท็จที่ฟอลคอนได้ บอกมา คําชี ้แจงของบาดหลวงตาชาด์ คํากล่าวหา
ของมองซิเออร์ เดอลาลูแบร์ ความผิดของมองซิเออร์ เดฟาช์ ตลอดถึง
คํากล่าวหาอันเคลือบคลุมของมองซิเออร์ เวเรต์ผ้ แู ทนบริ ษัท เสนาบดี
ฝรั่งเศสจึงได้ คาดว่านานไปข้ อบาดหมางเหล่านี ้คงจะสงบไปเอง และ
ได้ มีคําสัง่ มุง่ สําหรับให้ ผ้ ผู ิดได้ กลับมาทําการตามหน้ าที่ของตัว ทังที ้ ่
ส่งผู้บงั คับการออกไปใหม่อีกคน ๑ นัน้ ก็เพื่อประสงค์จะได้ ทําการที่คิด
จะเอาประเทศสยามขึ ้นกับฝรั่งเศสนันได้ ้ เปนการสําเร็จ
แต่การที่เสนาบดีฝรั่งเศสได้ ระไวระวังรอบตัวเช่นนี ้ก็เปนการเหนื่อย
เปล่า ความหวังของฝรั่งเศสก็ต้องล้ มละลายไปด้ วยเกิดมีเหตุร้ายขึ ้น
เพราะในเวลาที่ทา่ นราชทูตตาชาด์ได้ ขึ ้นจากเรื อที่เมืองเบรสต์นนั ้ ก็ได้

๒๐๘
เกิดขบถขึ ้นในเมืองไทย ซึ่งได้ ลบล้ างทรัพย์สมบัตขิ องคอนซตันซ์และ
ล้ างอํานาจของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ในเมืองไทยลงไปพร้ อมกัน
๑๑
พงศาวดารในเรื่ องที่เกิดขบถขึ ้นในเมืองไทย เมื่อปี ค.ศ.๑๖๘๘
( พ.ศ.๒๒๓๑ ) ซึง่ เปนปี ที่เกิดขบถในเมืองอังกฤษนัน้ เปนเรื่ องที่ได้
เล่ากันมาหลายครัง้ หลายหนแล้ ว จึงไม่จําเปนจะต้ องกล่าวโดยยืดยาว
ในที่นี ้ เพราะฉนันในสมุ
้ ดเล่มนี ้เราจะได้ กล่าวแต่เฉภาะเหตุที่สําคัญ ๆ
และข้ อใดที่ผ้ แู ต่งพงศาวดารเรื่ องเมืองไทย ได้ แต่งไว้ โดยกล่าวความ
ไม่ตรงกับความจริง หรื อที่ผิดเพี ้ยนไปนัน้ เราจะได้ แก้ ไขเปนบางแห่ง
ให้ ตรงกับความที่เปนจริง โดยได้ ตรวจสอบกับจดหมายเหตุตา่ ง ๆ
อันได้ รักษาไว้ ในหอสมุดของกอลอนี อีกประการ ๑ ถ้ าจะยกเว้ นไม่
กล่าวถึงเรื่ องที่กองทหารราบฝรั่งเศสต้ องสู้รบกับไทยแล้ ว การขบถ
ในเมืองไทยคราวนี ้ ก็ไม่ผิดแปลกกับการขบถทังหลายซึ ้ ง่ เคยมีในฝ่ าย
ทิศตวันออกเลย เพราะอะไร ๆ ก็เหมือนกันทังสิ ้ ้น คือการชิงราช
สมบัติ การปล้ มสดม ริ บทรัพย์สมบัติ การลงโทษด้ วยจารี ตนครบาล
การฆ่าฟั นกันล้ มตาย การเปลี่ยนผู้ปกครอง คือคนเก่าก็ดรุ ้ าย
วางอํานาจ คนใหม่ก็ดรุ ้ ายวางอํานาจ การเหล่านี ้ก็มีเหมือนกันทุก
คราวที่เกิดขบถ และการขบถในเมืองไทยในครัง้ นี ้ ก็มีสิ่งเหล่านี ้
เหมือนกัน

๒๐๙
ในเวลานันมี ้ ข้าราชการคน๑ซึง่ เปนคนโปรดของพระนารายน์ มี
ยศถึงออกพระ ซึง่ บาดหลวงเลอบลังผู้ได้ เห็นการขบถด้ วยตาของตัวเอง
และเปนคนรักอันสนิทของฟอลคอนกล่าวว่า “เปนคนที่มีชาติกําเหนิด
สมควรที่จะแจวเรื อยิ่งกว่าที่จะครองราชสมบัติ” การที่ข้าราชการผู้นี ้
ได้ รับยศและตําแหน่งสูงถึงเพียงนี ้ ก็ประกอบด้ วยความเคราะห์ดี
และความฉลาดเฉลียวของตัวด้ วย มารดาของข้ าราชการผู้นี ้ได้ เคยเป
นพระสนมของสมเด็จพระนารายน์ และตัวของตัวเองก็ได้ อยูใ่ น
พระราชวัง ได้ ทําการประจบประแจงหลายพันอย่าง สมเด็จพระนา
รายน์จงึ ได้ โปรดปรานนัก จนถึงกับห่างพระองค์ไปไม่ได้
ข้ าราชการผู้นี ้มีชื่อว่า พระเพทราชา๑
เวลานั ้นสมเด็จพระนารายน์มีพระราชอนุชาสองพระองค์พระราช
อนุชาทังสองพระองค์
้ นี ้ได้ คดิ มักใหญ่ใฝ่ สูงอยูเ่ สมอ ทังความประพฤติ

ก็เลวทรามอย่างที่สดุ แต่พระเพทราชาทราบในความคิดอันทุจริ ตของ
พระอนุชาทังสองนี
้ ้ จึงได้ กราบทูลยุแหย่สมเด็จพระนารายน์ จนสมเด็จ
พระนารายน์ทรงเกลียดชังพระอนุชา จึงได้ มีรับสัง่ ให้ เอาสมเด็จพระ
อนุชามาลงพระราชอาญา และให้ จําขังเสีย ที่สมเด็จพระนารายน์ได้
๑ ตามคําอธิบายของมองซิเออร์ ลาลูแบร์ ชื่อนี ้เปนชื่อยศของไทย ออกพระ
พิพิธราชา ซึง่ เรียกกันผิดว่า เพทราชานัน้ เปนผู้กํากับควบคุมบังคับบัญชากรมช้ างและ
กรมม้ า ตําแหน่งนี ้เปนตําแหน่งสูงที่สดุ ในเมืองไทย เพราะถือกันว่าช้ างเปนพาหนะ
อย่างสําคัญที่สดุ ในเมืองไทย
๒๗

๒๑๐
ทรงลงพระราชอาญาอย่างร้ ายแรงแก่พระอนุชาเช่นนี ้จึงทําให้ พระอนุชา
องค์ ๑ พระสติฟั่นเฟื อน อีกองค์ ๑ ก็ประชวรเปนอํามพาตด้ วยก็จะเปน
ได้ แต่จะอย่างไรก็ตามเมื่อพระอนุชาของสมเด็จพระนารายน์ต้องรับ
พระราชอาญาจําขังทัง้ ๒ องค์เช่นนี ้แล้ ว พระเพทราชาก็หมดที่กลัวเกรง
จึงได้ ดําริห์การที่จะสวมพระมหามงกุฎเสียเอง ในเวลาที่สมเด็จพระ
นารายน์จะได้ เสด็จสวรรคตไปแล้ ว พระเพทราชาเปนคนกล้ าหาญ
ไม่กลัวไภย รูปร่างหน้ าตาดี เปนคนใจเร็ว เมื่ออายุ ๕๕ ก็ยงั มีกําลัง
วังชาเท่ากับเมื่อยังหนุม่ อยู่ เปนคนช่างพูด เมื่อคิดการอย่างไรก็คดิ อย่าง
กล้ าหาญองอาจนํ ้าใจไม่บริสทุ ธิ และไม่จริงต่อใครแต่กระทํากิริยาและ
ใช้ วาจาให้ คนลุม่ หลง เมื่อลักษณะของพระเพทราชามีดงั นี ้ จึงกระทํา
ให้ สมเด็จพระนารายน์โปรดปรานนัก และส่วนคนไทยทัว่ ไปก็มีความ
รักใคร่นบั ถือพระเพทราชามาก การที่คอนซตันตินฟอลคอนมีอํานาจ
และมีคนเชื่อถือมากนัน้ หาเปนการเสียหายต่อพระเพทราชาอย่างใดไม่
ทังสองคนก็
้ ดปู รองดองกันดี ถ้ าดูภายนอกก็ดเู หมือนจะรู้ถึงกัน แต่
ความจริงคนชาติกริ กก็คิดพยายามอยู่เสมอที่จะชิงหน้ าที่ของพระเพทรา
ชา และฝ่ ายพระเพทราชาก็คอยหาโอกาศที่จะทําลายฟอลคอนให้ จงได้
โอกาสอันนี ้ได้ มีขึ ้นเมื่อปี ค.ศ.๓๖๘๘ ( พ.ศ.๒๒๓๑ ) เมื่อราชทูต
ฝรั่งเศสลาลูแบร์ และเซเบเรต์ได้ กลับจากเมืองไทยไปแล้ ว เพราะใน
เวลานันสมเด็
้ จพระนารายน์ ซึง่ ได้ ครองราชสมบัตมิ าได้ ถึง ๓๑ ปี แล้ ว

๒๑๑
ก็ทรงพระชราทังประชวรพระโรคหื
้ ด และพระปั บผาสะก็พิการด้ วย
จึงเปนอันหมดพระกําลังที่จะออกว่าราชการแผ่นดินได้ ต้ องประทับอยู่
แต่ในพระที่ เพราะฉนันจึ้ งโปรดให้ ข้าราชการผู้ที่ทรงไว้ พระไทยได้
ว่าราชการแผ่นดินแทนพระองค์ตอ่ ไป
ครัน้ เรื อฝรั่งเศสได้ ออกจากเมืองไทยไปแล้ ว การขบถที่ได้ นดั
หมายกันไว้ อย่างเงียบ ๆ จึงเปนโอกาศอันดีที่จะทําการได้ ถนัด ข้ ออ้ าง
ที่พระเพทราชายกขึ ้นมาอ้ างสําหรับคิดการขบถคราวนี ้มีอยูห่ ลายข้ อคือ ๑
กองทหารฝรั่งเศสได้ มายึดบางกอกไว้ แล้ ว ๒ การกดขี่ขม่ เหงของพวก
ชาวต่างประเทศ ๓ การทะเยอทะยานอันเกินกว่าเหตุของพวกนักพรตที่
คิดการของสาสนา ๔ ความหยิ่งเย่อและการกดขี่ของฟอลคอน เพราะ
ฟอลคอนได้ เชื่อใจเปนแน่แล้ ว ว่าการที่ตวั คิดไว้ คงจะเปนการสําเร็จ
จึงมิได้ ระวังตัวเลย ข้ อเหล่านี ้เปนเรื่ องที่ชว่ ยให้ พระเพทราชาได้ ทํา
การโดยสดวกขึ ้นมาก วิธีที่พระเพทราชาใช้ สําหรับเกลี ้ยกล่อมคนนัน้
ก็โดยใช้ อบุ ายต่าง ๆ และใช้ วิธีหลอกลวงกล่าวคําเท็จบ้ าง หาความ
ร้ ายใส่คนอื่นบ้ าง บนบานบ้ าง กดขี่ให้ คนกลัวบ้ าง สิ่งเหล่านี ้เปนการก
ระทําให้ พระเพทราชามีพรรคพวกเปนอันมาก
ในครัง้ นันมี้ ข้าราชการหนุม่ อยูค่ น ๑ ซึง่ สมเด็จพระนารายน์ทรง
โปรดปรานรักใคร่เปนอันมาก ทรงเลี ้ยงดูให้ อยูใ่ กล้ ชิดพระองค์อยูเ่ สมอ
และมีบางเสียงกล่าวว่าข้ าราชการหนุม่ ผู้นี ้สมเด็จพระนารายน์ทรง
เลี ้ยงเปนพระราชบุตร์ บญ ุ ธรรม ข้ าราชการหนุม่ ผู้นี ้มีนามว่า ออก
พระปี ย์
๒๑๒
หรื อหม่อมปิ ต (Mompit) ฝ่ ายพระเพทราชาก็เห็นว่าพระปี ย์ผ้ นู ี ้สมควร
จะเกลี ้ยกล่อมไว้ เพื่อช่วยในการประทุษร้ ายที่พระเพทราชาได้ คิดไว้ พระ
เพทราชาจึงได้ เข้ าหาพระปี ย์ ได้ ปฤกษาหารื อพบปะกันหลายครัง้ แต่
จะปฤกษากันว่ากระไรนันไม่ ้ มีใครทราบ ลงท้ ายที่สดุ พระเพทราชาได้
สาบาลต่อพระปี ย์วา่ ถ้ าพระปี ย์ชว่ ยทําลายฟอลคอน และพวกชาว
ต่างประเทศแล้ ว พระเพทราชาจะได้ มอบราชสมบัตใิ ห้ พระปี ย์ได้ ครอง
ต่อไป ฝ่ ายพระปี ย์ได้ รับคําสัญญาของพระเพทราชาดังนี ้ ก็มีความ
ปี ติยินดีปลื ้มใจอย่างที่สดุ จึงได้ รับสัญญาจะช่วยพระเพทราชาเปนข
บถต่อไปและได้ รับเปนธุระเปนผู้เฝ้าสมเด็จพระนารายน์ทงกลางคื ั้ น
กลางวัน มิให้ ผ้ หู นึง่ ผู้ใดได้ เข้ าไปเฝ้าเลยจนคนเดียว แล้ วพระปี ย์
ได้ เชิญพระราชลัญจกรมามอบไว้ กบั พระเพทราชา ๆ จึงได้ เชิญพระราช
ลัญจกรนันสํ ้ าหรับสัง่ เสียการงาน และกระทําให้ ข่าวอันเท็จต่าง ๆ ได้
แพร่หลายออกไปทัว่ พระราชอาณาจักร์
ในประเทศสยามบุคคลจําพวกที่มีคนนิยมนับถือมากที่สดุ ก็คือ
คณะพระสงฆ์ พระสงฆ์เหล่านี ้ ได้ รับความยกเว้ นทุกอย่าง ภาษี อากร
ก็ไม่ต้องเสียอย่างใด การกะเกณฑ์ทงปวงก็ ั้ ไม่ต้องถูกเกณฑ์ สิง
สูอ่ ยูแ่ ต่ในอารามอาหารการรับประทานก็ได้ ด้วยคนให้ ทาน เพราะ
พระสงฆ์เหล่านี ้ต้ องไปเที่ยวขอทานตามบ้ านทุก ๆ บ้ าน บรรดาชาว
สยามไม่วา่ คนตระกูลสูงหรื อไพร่เลว มีความนิยมนับถือพระสงฆ์
เหล่านี ้เปนอันมาก เพราะถือกันว่าพระสงฆ์เปนเท่ากับล่ามอันมีศีล
สําหรับมาแสดงพุทธโอวาท พระเพทราชาก็ได้ เคยครองผ้ าเหลือง
มาแล้ ว และได้ เคย
๒๑๓
บวชเปนพระสงฆ์อยูห่ ลายเดือน จึงได้ ไปเที่ยวเกลี ้ยกล่อมหัวหน้ า
ของสงฆ์ ซึง่ เรี ยกกันว่า สังฆราช โดยไปยุแหย่ให้ พวกสงฆ์มีความ
ฤษยาพวกมิชนั นารี คือไปเที่ยวพูดว่า พวกมิชนั นารี โรมันคาธอลิกได้
ไปเที่ยวกระจ่ายอยู่ ทังพระราชอาณาจั
้ กร์ แล้ ว แล้ วไปสัง่ สอนสาสนา
คริศเติยนอย่างเปิ ดเผย ไม่ช้าพวกมิชนั นารี คงจะได้ ทําลายวัดวาอาราม
ลงทังหมด
้ และพุทธสาสนาก็คงจะต้ องสาบสูญไป เพราะทนพวกมิชนั
นารี ไม่ได้ เมื่อคณะพระสงฆ์ได้ ยินได้ ฟังพระเพทราชาอธิบายดังนี ้ ก็
ตกใจจนตัวสัน่ เพราะถ้ าพวกมิชนั นารี ได้ ทําลายพระพุทธสาสนาจริง
อย่างว่าแล้ ว พวกพระสงฆ์ก็จะขาดสิทธิที่เคยมีอยู่ ราษฎรพลเมืองก็
คงจะหมดหนทางที่จะช่วยได้ ผลที่สดุ พระสงฆ์เหล่านี ้ก็จะต้ องไปขุดดิน
ฟั นหญ้ าหรื อจะต้ องไปแจวเรื อสําหรับเลี ้ยงอาชีวะต่อไป
ฝ่ ายขุนนางข้ าราชการที่เปนคนตระกูลสูงๆมิได้ รับความเอื ้อเฟื อ้
จากคอนซตันซ์ และคอนซตันซ์ก็มิได้ คดิ เอาใจพวกนี ้ไว้ เลย จึงมี
ความฤษยาในการที่คอนซตันซ์มีอํานาจมากนัก ก็เห็นชอบด้ วยในการ
ที่จะเกิดขบถขึ ้นครัง้ นี ้ เพราะตัวไม่มีผลเสียอะไรเลย ด้ วยพระเจ้ า
แผ่นดินมิได้ มอบหมายการงานใหญ่ ๆ ให้ พวกนี ้ทําจนอย่างเดียว แต่
ได้ พระราชทานงานใหญ่ ๆ ให้ พวกชาวต่างประเทศทําเสียหมด เพราะ
ฉนันถ้
้ าได้ ทําลายคนชาติกริ กลงเสียได้ แล้ ว พวกขุนนางข้ าราชการ
เหล่านี ้ กลับจะได้ เปรี ยบมีผลดีกว่าเก่าเสียอีก เพราะคนชาติกริ ก
คนนี ้คิดแต่จะหาอํานาจใส่ตวั เพื่อจะให้ ขนุ นางข้ าราชการเหล่านี ้ต้ อง
เปนผู้น้อยอยูเ่ สมอ จึงได้ เอาลูกกุญแจของประเทศสยามยกให้ แก่
ศัตรูดงั นี ้
๒๑๔
แต่บรรดาผู้ที่แต่งพงศาวดารในเรื่ องขบถในเมืองไทยคราวนี ้มิใคร่
ได้ กล่าวถึงพวกผู้แทนบริษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดีย และพวกมิชนั นารี
ซึง่ ได้ มีการเกี่ยวข้ องในคราวขบถนี ้มากเหมือนกัน ห้ างฝรั่งเศสซึง่
มองซิเออร์ เวเรต์เปนผู้จดั การอยูน่ นั ้ เปนซ่องสําหรับคิดอ่านการประทุษ
ร้ ายต่อฟอลคอนมิได้ ขาดเลย ฟอลคอนก็ร้ ูตวั จึงมีความเกรงผู้แทน
บริษัทคนนี ้ ซึง่ มีความอาฆาฏพยาบาทและเปนคนมักได้ จึงเปนเหตุ
ทําให้ สมเด็จพระนารายน์ทรงขอร้ องให้ มองซิเออร์ เซเบเรต์สง่ คนใหม่มา
แทนมองซิเออร์ เวเรต์คนนี ้ต่อไป แต่ฝ่ายพระเพทราชาเห็นว่ามองซิเออร์
เวเรต์เปนเครื่ องมืออย่างดีได้ คนหนึง่ สําหรับเปนผู้นําข่าวเท็จต่าง ๆ
ไปเล่าลือให้ พวกในค่ายฝรั่งเศสได้ แตกร้ าวกันขึ ้นเอง คือ
กรุงศรี อยุธยานั ้นเปนเมืองซึง่ อยู่กลางทางในระหว่างเมืองลพบุรี
และบางกอก เพราะฉนันเมื ้ ่อพระเพทราชาได้ ออกข่าวอันเท็จอย่างใด
ข่าวนันจะได้
้ เล่าลือออกจากเมืองลพบุรีก่อน แล้ วคงลือตลอดลงไปถึง
ที่ที่กองทหารฝรั่งเศสประจําอยู่ แต่ก่อนที่ขา่ วนันจะลื ้ อไปถึงบางกอก
จะต้ องผ่านห้ างฝรั่งเศสที่กรุงศรี อยุธยาก่อน ในตอนนีผ้ ้ แู ทนของบริษัท
จะได้ แก้ ไขเพิ่มเติมข้ อความให้ เปนเรื่ องใหญ่ไปอีก แล้ วแต่ความต้ อง
การของพระเพทราชา การที่พระเพทราชากับมองซิเออร์ เวเรต์สมรู้เปน
ใจกันเช่นนี ้ มองซิเออร์ เดอลียอนผู้เปนสังฆราชเดอโรซาลี ก็หา
ได้ คดั ค้ านอย่างใดไม่ และการที่เปนไปได้ ถึงเพียงนี ้ ก็เปนสิ่งที่จะ
ทําให้ อํานาจของฝรั่งเศสลดน้ อยถอยลงไปมาก ฝ่ ายมองซิเออร์
เดอลาโน ผู้เปนสังฆราชเดอเมเตโลโปลิศ ก็นบั ว่าผิด เพราะนิ่งเสีย

๒๑๕
มิได้ พดู จาว่ากล่าวอย่างใดเลย ในเรื่ องนี ้ก็เชื่อได้ เปนแน่วา่ ทํา
อย่างไร ๆ พวกฮอลันดาก็คงจะไม่นิ่ง แต่คงจะเปนใจช่วยด้ วย เพราะ
การขบถคราวนี ้เปนเรื่ องที่คิดทังแก้ ้ แค้ น และหาประโยชน์สว่ นตัว
โดยมาก พวกฮอลันดาซึง่ มีปัญญาสอดส่องรู้กาลล่วงหน้ า คงจะต้ อง
ฉวยโอกาศอันนี ้ สําหรับที่จะได้ คืนสิ่งที่ตวั ได้ เสียไปแล้ ว หัวหน้ า
ของห้ างฮอลันดาจึงได้ ลกั ลอบไปพบกับพระเพทราชาหลายครัง้ และ
ได้ แนะนําให้ พระเพทราชาเอายาพิศม์ถวายสมเด็จพระนารายน์ ให้ ลกั
เอาพระราชลัญจกรมาไว้ เสีย ให้ รวบรวมกําลังทหารไว้ อย่างเงียบ ๆ
ให้ คดิ อ่านล่อเอาพวกฝรั่งเศสออกไปให้ พ้นบางกอกและเมืองมริด และ
เมื่อพวกฝรั่งเศสได้ ออกจากบางกอกและมริดแล้ ว ก็ให้ คิดอ่านฆ่า
เสียให้ หมด
ฝ่ ายคอนซตันซ์ฟอลคอนนันเปนคนที ้ ่สอดส่องรอบรู้การงานทัว่ ไป
ก็ทราบแต่ชนต้ ั ้ นในเรื่ องที่มีผ้ ขู บถคราวนี ้แล้ ว ถึงแม้ วา่ กองทหาร
ฝรั่งเศสได้ แบ่งพลทหารให้ มองซิเออร์ ดบู รูองั คุมไปรักษาเมืองมริดถึง
สองกองร้ อนก็จริงอยู่ แต่ฟอลคอนก็ยงั เชื่อใจอยูเ่ สมอว่าทําอย่างไร ๆ
ก็คงจะปราบพวกขบถได้ โดยเร็ว เพราะมองซิเออร์ เดฟาช์และมอง
ซิเออร์ เดอโบซังเปนพวกเดียวกับตัวคงจะช่วยเปนแน่ และฟอลคอนมิได้
สงไสยเลย ในความจงรักภักดีและในความระไวระวัง ของมองซิเออร์
เดฟาช์และมองซิเออร์ เดอโบซัง
ฝ่ ายพระเพทราชาก็คิดอุบายจะเกลี ้ยกล่อมเอาฟอลคอนเปนพร
รคพวก และได้ ใช้ อบุ ายอย่างเดียวกับที่พดู ไว้ กบั พระปี ย์ คือว่า จะ
ยอม

๒๑๖
ยกราชสมบัตใิ ห้ แก่ฟองคอนต่อไป แต่คนชาติกริ กหาได้ ยอมถูกหลอก
เอาง่าย ๆ ไม่ จึงได้ คิดอ่านแก้ อบุ ายของพระเพทราชา คือ ในเรื่ องนี ้
ฟอลคอนคอยระวังนัก มิได้ กราบทูลให้ สมเด็จพระนารายน์ทรงทราบ
วี่แววเลย ด้ วยเกรงว่าสมเด็จพระนารายน์จะทรงสงไสยตัว แต่ได้
พยายามที่จะทําให้ สมเด็จพระนารายน์เสด็จออกขุนนางให้ อาณา
ประชาราษฎร์ ทราบทัว่ ไป ว่าข่าวที่ลือว่าสมเด็จพระนารายน์ได้ เสด็จ
สวรรคตเสียแล้ วนัน้ เปนข่าวที่เท็จหามีมลู อย่างใดไม่ ในคราวนันเอง ้
ฟอลคอนก็ได้ เรี ยกให้ มองซิเออร์ เดฟาช์ ซึง่ อยู่ที่บางกอกให้ รีบขึ ้นไปยัง
เมืองลพบุรี ผู้บงั คับการทหารฝรั่งเศสก็ได้ รีบไปยังเมืองลพบุรีตามคําสัง่
ฟอลคอนจึงได้ เล่าเหตุการณ์ทงปวงให้
ั้ มองซิเออร์ เดฟาช์ฟังตลอดเรื่ อง
และได้ ชี ้แจงให้ เดฟาช์ทราบว่า สมเด็จพระนารายน์จะว่าราชการเมือง
ไม่ได้ แล้ ว สมเด็จพระอนุชาทังสองก็้ ถกู กักขังแล้ ว ขุนนางข้ าราชการ
และพระสงฆ์ก็รวบรวมกันเปนพรรคพวกหมดแล้ ว เพราะฉนันถ้ ้ าไม่รีบ
ปราบการขบถอันจะเกิดในคราวนี ้แล้ ว พวกฝรั่งเศสทังปวงก็ ้ เปนอัน
ต้ องฉิบหายล้ มตายกันหมด มองซิเออร์ เดฟาช์ได้ ฟังคําอธิบายของฟอล
คอนก็ยินดีนกั ที่จะได้ มีโอกาศแสดงความจงรักภักดีของตัว จึงเต็มใจ
รับรองทําการอันเปนโอกาศที่จะให้ ตวั มีชื่อเสียงในคราวนี ้ และ
รับรองว่าจะไม่ยอมให้ ผ้ ใู ดรับเกียรติยศนํากองทหาร แต่ตวั จะออก
หน้ านํากองทหารเองทีเดียว ส่วนนายพันตรี เดอโบซังก็ประชุมอยู่
กับฟอลคอนและเดฟาช์ด้วย จึงได้ อาสาต่อฟอลคอนว่าจะออกไปจับ
พระเพทราชาในทันที และจะได้ ฆา่ พระเพทราชาด้ วยมือของตัวเอง
ทีเดียว แต่

๒๑๗
ฟอลคอนไม่มีนิไสยเอะอะตึงตัง จึงได้ เล้ าโลมนายทหารฝรั่งเศสทัง้
สองให้ ทําการช้ า ๆ ไว้ และจะทําอะไรก็ให้ คดิ อ่านจัดการให้ รอบคอบ
เสียก่อน แล้ วฟอลคอนจึงบอกกับเดฟาช์วา่ ในเวลาผ่านกรุงศรี
อยุธยานันอย่
้ าได้ เชื่อข่าวต่าง ๆ ที่เล่าลือกัน เพราะเปนข่าวที่เท็จทังสิ ้ ้น
และได้ ขอร้ องให้ เดฟาช์รีบนํากองทหารขึ ้นไปยังเมืองลพบุรีโดยเร็วที่สดุ
เพื่อจะได้ จบั พวกหัวหน้ าขบถเสียแต่ต้นมือ
ถ้ าแม้ วา่ ได้ กระทําการตามความคิดของฟอลคอนแล้ วก็คงจะได้
ปราบการขบถได้ โดยทันที และการจลาจลก็คงจะไม่เกิดขึ ้นได้ แต่
เดฟาช์ได้ ทําให้ เสียการโดยใจของตัวไม่แน่ลงไปได้ และที่เดฟาช์
ทําใจวกวนไม่แน่นอนเช่นนี ้ เปนสิ่งที่จะแก้ ตวั ไม่ได้ เปนอันขาด เพราะ
ในชันแรกเดฟาช์
้ ได้ ทําผิดโดยเข้ าเปนพรรคพวกของฟอลคอนแล้ ว ครัน้
มาภายหลังได้ ทําผิดอย่างร้ ายแรงยิ่งขึ ้นไป โดยคิดทรยศต่อฟอลคอน
ข้ อที่เดฟาช์ไม่แน่ใจนัน้ ก็คือไม่ทราบว่าควรจะรักษาป้อมและรักษา
หน้ าที่ของตัวเพื่อป้องกันต่อสู้กบั ข้ าศึก หรื อจะควรป้องกันชีวิตของ
ฟอลคอนไว้ เพราะต้ องถือว่าฟอลคอนกับประเทศฝรั่งเศสติดต่อเปน
อันเดียวกัน ถ้ าฟอลคอนคงเจริญต่อไปประเทศฝรั่งเศสก็ต้องทําการ
สําเร็จเจริญไปด้ วยเหมือนกัน
เมื่อวันที่ ๑๓ เดือนเมษายน มองซิเออร์ เดฟาช์ได้ กลับลงมาถึง
บางกอกจึงได้ รวบรวมคนฉกรรจ์ๆ๘๐ คน และเลือกเฉภาะแต่นายทหาร
ที่กล้ าหาญแขงแรงที่สดุ รุ่งขึ ้นเดฟาช์ได้ พาทหารเหล่านี ้ขึ ้นไปที่กรุงศรี
๒๘

๒๑๘
อยุธยา ครัน้ ไปถึงกรุงศรี อยุธยาแล้ ว มองซิเออร์ เดฟาช์ก็ได้ แวะ
ที่ห้างฝรั่งเศส มองซิเออร์ เวเรต์จงึ ได้ เล่าให้ มองซิเออร์ เดฟาช์ฟังว่า
สมเด็จพระนารายน์สวรรคตเสียแล้ ว ฟอลคอนก็หมดอํานาจ พระเพท
ราชาได้ เปนใหญ่ และที่เมืองลพบุรีได้ เกิดการจลาจลทัว่ เมืองไป
หมดแล้ ว ที่มองซิเออร์ เวเรต์ได้ เล่าดังนี ้ ยังกลัวว่ามองซิเออร์
เดฟาช์จะไม่เชื่อ จึงได้ อสุ า่ ห์พามองซิเออร์ เดฟาช์ข้ามฟากไปหาพวกมิ
ชันนารี ที่โรงเรี ยนสามเณร ครัน้ ข้ ามฟากไปแล้ วก็ได้ ขา่ วจากสังฆราช
เดอโรโซลี เปนข่าวตรงกันกับที่ได้ ทราบมาจากมองซิเออร์ เวเรต์
สังฆราชเดอโรโซลี จึงได้ แนะนําให้ มองซิเออร์ เดฟาช์กลับไปอยู่
ตามเดิมดีกว่า แต่ความจริงข่าวต่าง ๆ เหล่านี ้ ก็ล้วนแต่เปนข่าวเท็จ
ทังสิ
้ ้น จะหามูลแห่งความจริงไม่ได้ เลยจนข้ อเดียว ในครัง้ นี ้สังฆราช
เดอเมเตโลโปลิศได้ แสดงให้ เห็นในความฉลาดของตัวอีกครัง้ หนึง่ โดย
พูดกับมองซิเออร์ เดอลียอนว่า ในการสําคัญ ๆ เช่นนี ้ไม่ควรจะรี บร้ อน
เกินไป แต่ควรจะค่อย ๆ ทําจึงจะดี แล้ วจึงแนะนําให้ มองซิเออร์
เดฟาช์สง่ นายทหารขึ ้นไปเมืองลพบุรีสกั คนหนึง่ เพื่อให้ ไปสืบว่าความ
จริงในเรื่ องนี ้เปนอย่างไรแน่ มองซิเออร์ เดฟาช์จงึ ได้ จดั ให้ นายร้ อย
โทเลอรัวขึ ้นไปสืบข่าวที่เมืองลพบุรี ตามคําแนะนําของสังฆราชเดอเม
เตโลโปลิศ ครัน้ นายร้ อยโทเลอรัวได้ ขึ ้นไปถึงเมืองลพบุรี ก็ได้
เห็นว่าบ้ านเมืองก็อยูเ่ ปนปรกติเรี ยบร้ อยดี จนที่สดุ เมื่อคืนก่อนที่
นายร้ อยโทเลอรัวได้ ขึ ้นไปถึง พวกเยซวิตก็ได้ ตรวจดูจนั ทรคาธอย่าง
เรี ยบร้ อย ไม่มีใครรบกวนเลย ฝ่ ายฟอลคอนก็ให้ คนพานายร้ อยโท
เลอรัวไปตรวจดู

๒๑๙
รอบพระราชวัง แล้ วจึงให้ นายร้ อยโทเลอรัว ถือจดหมายลงไปกําชับ
ให้ มองซิเออร์ เดฟาช์ได้ รีบนํากองทหารขึ ้นไปยังเมืองลพบุรีโดยเร็ว
แต่นายพลผู้บงั คับการทหารก็หาได้ กระทําตามคําสัง่ มองซิเออร์
ฟอลคอนไม่ กลับไปปฤกษาผู้แทนบริษัทฝรั่งเศส และปฤกษาพวก
สังฆราชอีกครัง้ ๑ มองซิเออร์ เดฟาช์ได้ รับคําแนะนําจากพวกสังฆราช
และพวกฝรั่งเศสแล้ ว จึงตกลงกลับลงไปยังบางกอก นายร้ อยเอก
ดะซิเออได้ นําข่าวเรื่ องมองซิเออร์ เดฟาช์กลับลงไปอยู่บางกอกนันขึ
้ ้นไป
เล่าให้ ฟอลคอนฟั ง ฟอลคอนได้ ทราบก็เสียใจมาก จึงได้ มีหนังสือ
ถึงมองซิเออร์ เดฟาช์อีกฉบับ ๑ ต่อว่า ๆ มองซิเออร์ เดฟาช์ไม่ประพฤติ
ตามที่พดู ไว้ และขอร้ องอีกครัง้ ๑ ให้ มองซิเออร์ เดฟาช์พาทหารขึ ้น
ไปช่วยให้ จงได้ มองซิเออร์ เดฟาช์จงึ ตอบขึ ้นไปว่า “ไม่สบาย”
และจะถอนทหารให้ กําลังที่บางกอกน้ อยลงไปไม่ได้ แต่ถ้าจะอย่างไร
แล้ วมองซิเออร์ เดฟาช์มีความยินดีรับรองให้ มองซิเออร์ ฟอลคอนมาพัก
อาไศรยที่บางกอกได้ หรื อถ้ ามองซิเออร์ ฟอลคอนไม่มา ก็จะยอมให้
ภรรยาและบุตร์ พกั อาไศรย์ก็ได้
ข้ อความที่กล่าวในจดหมายเหตุตีพิมพ์ และจดหมายเหตุตวั เขียน
กล่าวถึงเหตุการณ์ที่มีขึ ้นในพระราชวังเมืองลพบุรีนนั ้ เปนข้ อความ
แตกต่างกันหาตรงกันไม่ บางฉบับกล่าวว่าพระปี ย์ได้ ร้ ูสกึ ในความ
ประทุษร้ ายของพระเพทราชา จึงได้ นําความทังปวงไปกราบทู
้ ลสมเด็จ
พระนารายน์สมเด็จพระนารายน์จงึ ทรงกริว้ คอนซตันตินฟอลคอนว่าปิ ด

๒๒๐
เนื ้อความหากราบทูลความจริงให้ ทรงทราบไม่ บางฉบับก็กล่าวว่า
ฟอลคอนเองเปนผู้นําความทังปวงกราบทู
้ ลให้ สมเด็จพระนารายน์ทรง
ทราบและได้ กราบทูลแนะนําให้ ทรงเวรราชสมบัติให้ แก่พระราชบิดาเพื่อ
ป้องกันมิให้ ราชสมบัตไิ ด้ ตกไปถึงมือคนอื่น สมเด็จพระนารายน์
จึงได้ มีพระราชดํารัสสัง่ ให้ จบั กุมพระเพทราชาไว้ แต่พระเพทราชาก็
ได้ ร้ ูตวั ล่วงหน้ าว่าสมเด็จพระนารายน์ได้ สงั่ ให้ จบั เมื่อวันที่ ๑๘เดือน
พฤษภาคม พระเพทราชาจึงได้ คมุ สมัคพรรคพวกเข้ าล้ อมพระราชวัง
และได้ จบั สมเด็จพระนารายน์และพระราชอนุชาไว้ ในเวลาที่พระเพท
ราชากระทําการดังนี ้ ถ้ าหากว่าคอนซตันตินฟอลคอนจะหนีไป
อาไศรยอยู่กบั พวกฝรั่งเศสก็ได้ โดยง่าย แต่ฟอลคอนไม่ยอมหนีเพราะ
จะคิดต่อสู้พวกเหล่าศัตรูให้ จงได้ ฟอลคอนจึงได้ รวบรวมทหารสัก
หยิบมือ ๑ และได้ เรี ยกนายทหารฝรั่งเศสให้ ไปด้ วย ๓ คน คือ
มองซิเออร์ เดอ โบซัง ๑ เชอวาเลียเดฟาช์ ๑ มองซิเออร์ เดอเฟรตวีล
๑ และได้ พานายทหารและพลทหารเหล่านี ้พยายามจะฝ่ าเข้ าไปใน
พระราชวังจนถึงห้ องพระบรรทมของสมเด็จพระนารายน์ แต่พอไป
ถึงชลาชันนอกพวกพระเพทราชาก็
้ ได้ มาล้ อมจับตัวฟอลคอน พลทหาร
และนายทหารได้ จึงได้ พาไปไว้ ยงั คุกทังหมด

ในเวลานั ้นพระเพทราชาได้ ใช้ คนให้ มาบอกมองซิเออร์ เวเรต์และ
พวกมิชนั นารี ว่าถ้ าได้ ขา่ วมาอย่างใด ๆ ก็อย่าให้ มีความตกใจเลย
เพราะพระเพทราชากระทําการสิ่งใดๆก็โดยได้ รับกระแสพระราชโองการ
ทังสิ
้ ้น และพระเพทราชาก็รับรองว่าจะไม่คิดทําอันตรายต่อสาสนา

๒๒๑
และจะไม่ทําอันตรายต่อพวกฝรั่งเศส แต่ถ้าต่อไปจะมีเรื่ องราวอัน
สําหลักสําคัญเกิดขึ ้นเมื่อใด พระเพทราชาจะได้ นําความมาหารื อพวก
สังฆราช เพราะภาระอันหนักของราชการแผ่นดินได้ ตกอยูใ่ นมือ
พระเพทราชาหมดแล้ ว
การที่ได้ เปลี่ยนแปลงไปเช่นนี ้เปนเรื่ องที่มองซิเออร์ เวเรต์นิยม
ยินดีเปนอันมาก เพราะความจริงเหตุที่ได้ เกิดถึงเพียงนี ้ ก็เพราะ
มองซิเออร์ เวเรต์ได้ ช่วยหนุนด้ วย มองซิเออร์ เวเรต์จงึ ได้ มีจดหมาย
ไปถึงเชอวาเลียเดฟาช์บอกว่า ตังแต่ ้ นี ้ต่อไปเชอวาเลียเดฟาช์จะต้ อง
ทําตามคําสัง่ พระเพทราชาแต่ผ้ เู ดียวเท่านัน้ เพราะการต่อไปข้ างหน้ า
พวกฝรั่งเศสก็จะได้ รับความผาสุกพ้ นอันตรายเท่ากับอยูใ่ นกรุงปารี ส
และจะได้ มีเสียงพูดในราชการบ้ านเมืองได้ ด้วย การที่มองซิเออร์ เวเรต์
ประพฤติอย่างนี ้ เปนการสมควรอย่างยิ่งที่มองซิเออร์ เดอลานยีจะได้ ติ
เตียน จนถึงกับมีจดหมายไปถึงมองซิเออร์ มาแตงผู้จดั การของบริ ษัท
ฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดียว่า
“ควรจะให้ มองซิเออร์ เวเรต์ออกจากเมืองไทย และให้ กลับไป
เมืองฝรั่งเศสเสียดีกว่า เพราะเปนคนเกียจคร้ านไม่ทําการงาน
อย่างใด และเปนคนเลือกที่รักมักที่ชงั ด้ วย”๑
๑ จดหมายมองซิเออร์ เดอลานยีถึงมองซิเออร์ มาแตงฉบับนีล้ งวันที่ ๒๘ กันยายน
ค.ศ. ๑๖๘๘ ( พ.ศ. ๒๒๓๑ ) จึงเปนที่สงั เกตได้ วา่ ในเวลานันมองซิ ้ เออร์ เดอลานยียงั ทราบ
ไม่ได้ วา่ มองซิเออร์ เวเรต์ได้ เข้ าเกี่ยวในเรื่องขบถในเมืองไทยอย่างไร แต่มองซิเออร์
เดอลานยีได้ คาดการล่วงหน้ าถูก

๒๒๒
ฝ่ ายความประพฤติของบาดหลวงเดอลียอนจะว่าดีกว่ามองซิเออร์
เวเรต์ก็ไม่ได้ และเมื่อใครพูดว่าอย่างไรก็มกั จะเชื่อว่าเปนจริง
ต่อเมื่อพระเพทราชาได้ เรี ยกบาดหลวงเดอลียอนไปยังพระราชวังเมือง
ลพบุรี และได้ พดู โดยใช้ วาจาอย่างดูถกู บาดหลวงเดอลียอนจึงได้
รู้สกึ ตัวขึ ้นมา คือเวลานันพระเพทราชาได้
้ นงั่ อยู่บนม้ าสี่เหลี่ยม มี
พรรคพวกนัง่ ล้ อมอยู่โดยรอบ และมีคนถือดาบอยู่ข้างขวา ๒ คน ข้ าง
ซ้ าย ๒ คน จึงได้ พดู อย่างใช้ กิริยาดูถกู จะบังคับให้ บาดหลวงเดอลี
ยอนรี บลงไปที่บางกอกและให้ พามองซิเออร์ เดฟาช์ขึ ้นไปเมืองลพบุรี
ถ้ าบาดหลวงเดอลียอนไม่ลงไปพามองซิเออร์ เดฟาช์แล้ ว พระเพท
ราชาจะหาว่าพวกฝรั่งเศสได้ ละลาบละล้ วงเข้ ามาในพระราชอาณาเขตร์
และพระราชไมตรี ในระหว่างพระเจ้ าแผ่นดินทังสองจะได้
้ ขาดกันในตอน
นันเอง
้ มอง ซิเออร์ เดอลียอนผู้เปนสังฆราชเดอโรโซลีก็ได้ รีบทําตาม
คําสัง่ ของพระ เพทราชา ในชันเดิ ้ มท่านสังฆราชผู้นี ้ได้ ห้ามมองซิเออร์
เดฟาช์ไม่ให้ ขึ ้นไปเมืองลพบุรี เพื่อจะทําให้ ฟอลคอนเสียคน มาในชันนี ้ ้
ท่านสังฆราชผู้นี ้เองจะกลับพามองซิเออร์ เดฟาช์ขึ ้นไปเมืองลพบุรี
เพื่อให้ ถกู ใจพระเพทราชา ในส่วนมองซิเออร์ เดฟาช์เองเมื่อมา
พิเคราะห์ดู ความประพฤติในชันต้ ้ นและชันปลายไม่
้ ตรงกันเลย
เหมือนกับความประพฤติมองซิเออร์ เดอลียอนเช่นเดียวกัน เพราะใน
ชันต้
้ นเมื่อฟอลคอนได้ เรี ยกให้ เดฟาช์ขึ ้นไปเมืองลพบุรีเดฟาช์ได้ ตอบว่า
หน้ าที่ของตัวจะทิ ้งบางกอก ไปไม่ได้ และถ้ าทังประเทศสยามจะมา

รวมตีบางกอกแล้ ว เดฟาช์

๒๒๓
ก็จะต่อสู้ให้ จงได้ มาบัดนี ้ก็ไม่มีเรื่ องอะไรนอกจากคนที่เปนขบถ
ประทุษร้ ายต่อแผ่นดินได้ เรี ยกขึ ้นไปเฉย ๆ เท่านัน้ เดฟาช์ก็ยอมทิ ้ง
บางกอกไว้ และมิได้ ปฤกษาหารื อกับผู้ใดเลย เปนแต่พดู ว่าบางกอก
“เอาไว้ ไม่อยู่” แล้ วเท่านัน้ คําที่ว่า “เอาไว้ ไม่อยู่” นี ้ ถ้ าจะว่าไป
ในภาษาฝรั่งเศสไม่มีคําเช่นนี ้เลย
เมื่อผู้บงั คับการกองทหารของพะเจ้ าหลุยที่๑๔ ได้ ขึ ้นไปถึงเมือง
ลพบุรี พระเพทราชาก็ได้ รับรองอย่างหยิ่งมาก และได้ เรี ยกเดฟาช์
ไปไต่สวนถามปากคําอันน่าอดสูอย่างยิ่ง เดฟาช์ก็ได้ ยอมตอบคําถาม
ดุจตัวเปนผู้ร้ายให้ การต่อหน้ าผู้พิพากษา ยังไม่ใช่แต่เท่านี ้ แต่เดฟาช์
ถึงกับยอมเขียนจดหมายถึงมองซิเออร์ ดบู รูองั สัง่ ให้ ดบู รูองั ทิ ้งเมืองม
ริด และให้ พาทหารมาสมทบกับเดฟาช์เพื่อช่วยกันต่อสู้ศตั รูของผู้เป
นขบถชิงราชสมบัติ แล้ วพระเพทราชาได้ ให้ มองซิเออร์ เดฟาช์กลับลง
ไปบางกอก แต่ได้ ยึดเอาบุตร์ มองซิเออร์ เดฟาช์ไว้ เปนตัวจํานําและได้
จําตรวนไว้ เสียด้ วย ฝ่ ายนายทหารฝรั่งเศส ๓ คน คือ มองซิเออร์
เดอ แซนต์วนั ดลิล ๑ มองซิเออร์ เดอเฟรตวิล ๑ มองซิเออร์ ดลู าริก ๑
กับเอนยินเนียชื่อมองซิเออร์ เดอแบลี ๑ รวม ๔ คนได้ พากันหนี จึงได้
มีคนออกติดตามเปนอันมาก ครัน้ จับตัวได้ ก็เอานายทหารที่หนีมดั
ผูกไว้ ตดิ กับหางม้ า ต่างคนก็ตา่ งช่วยกันเอาไม้ ทบุ ตี ราษฎรชาวบ้ าน
ก็ดา่ บ้ าง ถ่มนํ ้าลายรดหน้ าบ้ าง เอารองเท้ าตบหน้ าบ้ าง จนมองซิเออร์
เดอแบรี ทนความเจ็บปวดไม่ได้ ก็ตายอยูใ่ นที่นนเอง ั้

๒๒๔
ไม่ช้าสมเด็จพระนารายน์ก็เสด็จสวรรคตจริง ๆ แต่ที่สวรรคต
นันจะมี
้ พระโรคหรื อพระอาการอย่างใด ไม่มีใครอาจจะทราบได้ ส่วน
สมเด็จพระอนุชานันก็ ้ ถกู ปลงพระชนม์ โดยเอาพระองค์ใส่กระสอบ
ผ้ าแดงแล้ วเอาท่อนไม้ จนั ทน์ทบุ จนกว่าจะสิ ้นพระชนม์ วิธีฆา่ คนอย่างนี ้
เปนแบบของเมืองไทยสําหรับปลงชนม์คนชันสู ้ งๆ
เมื่อพระเพทราชาได้ ขึ ้นครองราชสมบัตแิ ล้ วก็ได้ รับพระราชธิดา
ของสมเด็จพระนารายน์เปนพระมเหษี เพราะเหตุว่าพระราชธิดาองค์นี ้
เปนผู้ที่สมควรจะได้ ครองราชสมบัตแิ ทนพระราชบิดา พระเพทราชา
จึงได้ ยกขึ ้นเปนพระมเหษีเพื่อการที่พระเพทราชาได้ ขึ ้นครองราชสมบัติ
จะได้ ถกู ต้ องตามกฎหมายต่อไป ส่วนพระปี ย์และฟอลคอนนันได้ ้ ถกู ฆ่า
ก่อนใคร ๆ หมด ในเวลาที่ฟอลคอนจะตายนันก็ ้ ได้ ตายโดยกิริยา
กล้ าหาญองอาจ ซึง่ เปนข้ อลบล้ างการผิดและความหยิ่งในชันหลั ้ งได้
เพราะการที่ได้ เปนมาถึงเพียงนี ้จะโทษใครไม่ได้ นอกจากโทษตัวของ
ตัวเอง เพราะได้ คิดมักใหญ่ใฝ่ สูงเกินไปและคิดการทุจริตต่าง ๆ จึง
ได้ มีคนคิดพยาบาทมาดร้ ายจนที่สดุ ต้ องเสียชีวิตของตัวเอง เพราะ
ฉนันเมื้ ่อจะตายก็ยงั มีนํ ้าใจฝั กฝ่ ายอยูก่ บั ฝรั่งเศสมิได้ เว้ นเลย พระเพท
ราชาได้ สงั่ ให้ เอาตัวฟอลคอนไปยังป่ าแห่ง ๑ ใกล้ กบั เมืองลพบุรี และ
เมื่อได้ ทรมานเสียทุกอย่างแล้ ว จึงได้ ให้ เพชรฆาฎฆ่าเสียโดยหาว่าเปน
ขบถคิดประทุษร้ ายต่อเจ้ าแผ่นดินของตัว เมื่อจะตายนันฟอลคอนมิ ้ ได้ ส
ทก สท้ านอย่างใดเลย และเมื่อจะขาดใจหน้ าตาก็ยงั แช่มชื่นปรกติอยู่
ผู้ที่เที่ยวเตร็จเตร่หากินได้ ตายไปด้ วยประการดังกล่าวมานี ้ และฟอล
คอน

๒๒๕
คนนี ้ได้ กลับชาติได้ ตา่ ง ๆ หลายอย่างเพื่อจะหาทรัพย์สมบัตแิ ละหา
ชื่อเสียง คือได้ เปนชาติไทยเพราะเหตุจําเปน เปนชาติฝรั่งเศส
เพื่อหาหนทางข้ างหน้ า ได้ เปนคริ ศเตียนสําหรับเปนหนทางป้องกันตัว
ของตัว และได้ เปนทังชาติ ้ ฮอลันดา อังกฤษ หรื อปอตุเกต แล้ วแต่
จะมีเหตุการณ์เกิดขึ ้นซึง่ จะเปนประโยชน์ของตัวเฉภาะคราวและสมัยที่
ควรจะเปน แต่ในนํ ้าใจจริ งก็คงยังเปนชาติกริ กจนวันตายนันเอง ้
ฝ่ ายมองซิเออร์ เดฟาช์นั ้นก็มิได้ ยอมที่จะทําตามคําบังคับของพระ
เพทราชา เมื่อผู้บงั คับการกองทหารฝรั่งเศสได้ จนมุมเช่นนี ้แล้ ว จึงได้
กลับรู้จกั รักษาเกียรติคณ ุ ของตัวได้ ตอ่ ไป ในเวลานันบุ
้ ตร์ ทงสองคน
ั้
พระเพทราชาได้ ยดึ ไว้ เปนตัวจํานํา และพระเพทราชาก็ได้ บงั คับให้
บุตร์ มีหนังสือบอกไปยังบิดา ว่าถ้ ากองทหารฝรั่งเศสไม่ได้ ขึ ้นไปเมือง
ลพบุรีแล้ ว บุตร์ ทงสองคนก็
ั้ จะต้ องตายเปนแน่ คําตอบของมองซิเออร์
เดฟาช์เปนคําตอบสมกับชายชาติทหาร ว่า
“มองซิเออร์ เดฟาช์มีความรู้สกึ ในความเดือดร้ อนของบุตร์ ทั ้งสอง
ถ้ าการที่จะกู้ชีวิตของลูกจะเพียงแต่จะต้ องสละชีวิตของบิดา
คนเดียวแล้ ว เดฟาช์ก็จะยอมสละให้ โดยไม่ได้ คิดเสียดายแก่
ชีวิตเลย แต่ถ้าเดฟาช์จะยอมสละชีวิตให้ แก่ลกู แล้ ว ก็
จะเปนการผิดต่อหน้ าที่ที่จะต้ องทําต่อไป เพราะฉนันขอให้
้ ลกู
เอาเยี่ยงอย่างบิดาเถิด และขอให้ ถือว่าการที่รับความ
เดือดร้ อนสําหรับการของพระผู้เปนเจ้ าและในราชการของพระเจ้ า
แผ่นดินนัน้
๒๙

๒๒๖
เปนเกียรติยศอันสูงอย่างยิ่ง แต่ขอให้ ลกู ทังสองเชื
้ ่อใจเถิดว่า
ถ้ าลูกได้ ตายไปแล้ วก็คงจะมีคนมาแก้ แค้ นให้ จงได้ และคง
จะไม่มีใครสามารถเอาเลือดเนื ้อของลูกได้ โดยไม่ต้องรับโทษ
เปนแน่”
ผู้บงั คับการกองทหารฝรั่งเศสจึงได้ ตกลงใจว่าเปนการจําเปนที่
จะต้ องต่อสู้กนั ด้ วยกําลังอาวุธเสียแล้ ว ในชันแรกท่
้ านผู้บงั คับการก็
ได้ เตรี ยมการต่อสู้อย่างเนือย ๆ เพราะเชื่อว่าไม่ช้าคงจะเปนการตกลง
กันได้ โดยเรี ยบร้ อย ด้ วยในเวลานันได้
้ มีคนส่งข่าวและคนมาเจรจา
ว่ากล่าวจากกรุงศรี อยุธยาทุก ๆ วัน แต่ข้อที่นา่ อายที่สดุ ที่ไทยได้ มาพูด
กับเดฟาช์เพื่อให้ การทังปวงได้
้ สงบโดยเรี ยบร้ อยนัน้ ก็คือเมื่อวันที่ ๒๗
เดือนพฤษภาคม ข้ าราชการไทยที่ได้ เคยเปนราชทูตสยามไปประเทศ
ฝรั่งเศสพร้ อมด้ วยเชอวาเลียเดอโชมองนัน้ ได้ มาหามองซิเออร์ เดฟาช์
และได้ ขอร้ องจะเอาทหารไทย ๔๐๐ หรื อ ๕๐๐ คน มาไว้ กบั กองทหาร
ฝรั่งเศส
เมื่อวันที่ ๖ เดือนมิถนุ ายน ไทยได้ ล้อมเมืองบางกอกและล้ อม
ป้อมด้ วยอาวุธยุทธภัณฑ์มาไว้ ในป้อมหมดแล้ ว เพราะของเหล่านี ้เดิม
อยูฝ่ ั่ งตวันออกแม่นํ ้าเจ้ าพระยา แล้ วมองซิเออร์ เดฟาช์ได้ สงั่ ให้ นาย
ร้ อยเอกลาเครซอนนิแยร์ คุมทหารออกจากป้อมฝั่ งตวันตก ให้ ทําลาย
ปื นใหญ่เสียแล้ วให้ คมุ คนมารวมอยูก่ บั กองทหาร พอนายร้ อยเอก
ลาเครซอนนิแยร์ ได้ ยกออกจากป้อมไปแล้ ว พวกไทยก็เข้ าไปยึดป้อม

๒๒๗
ไว้ ในเวลากลางคืนไทยก็ได้ จดั การทําป้อมให้ แข็งแรงขึ ้น แล้ วจึง
เอาลูกแตกของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ซึง่ เดฟาช์ได้ มอบให้ ฟอลคอนเพื่อ
เปนครื่ องสําราญพระราชหฤทัยของสมเด็จพระนารายน์ และเพื่อมิให้
ขัดใจฟอลคอนนันเอง ้ ยิงพวกฝรั่งเศส
ป้อมที่กองทหารฝรั่งเศสรักษาอยูน่ นไม่ั ้ แข็งแรงมัน่ คงเลย แต่
ด้ วยความระไวระวังอันรอบคอบของเจ้ าหน้ าที่ ลูกกระสุนดินดําและ
เสบียงอาหารมีบริ บรู ณ์ทกุ อย่างหาได้ ขาดมือไม่๑
ส่วนทหารฝรั่งเศสรวมทังนายและไพร่
้ ๒๕๐คน ซึง่ มีหน้ าที่รักษา
ป้องกันป้อมอยูน่ นล้ ั ้ วนแต่เปนคนกล้ าหาญทุกคน ซึง่ ได้ ปลงใจว่า
จะได้ ส้ รู บถึงที่สดุ ทังนั
้ น้ ทหารเหล่านี ้ได้ ถืออาวุธอยูท่ งกลางคื
ั้ น
กลางวัน อยูย่ ามบ้ าง ซ่อมแซมแห่งที่ชํารุดบ้ าง และเตรี ยมการ
ทุกอย่างที่จะไม่ให้ ไทยเข้ าโจมตีได้ ฝ่ ายไทยผู้เปนข้ าศึกมาล้ อมป้อม
นัน้ ก็มิได้ เข้ าใจในตําราพิไชยสงคราม ทังไม่ ้ มีความชํานาญใน
วิธีตีป้อมด้ วย และพวกฮอลันดาซึง่ เปนผู้กํากับให้ ทหารไทยยิงปื น
และกํากับให้ ไทยเข้ าตีป้อมนัน้ ก็ทําการไม่สําเร็ จจะตีป้อมจากพวก
ฝรั่งเศสหาได้ ไม่
๑ ปรากฎอยูใ่ นบาญชีสิ่งของที่มีอยูใ่ นป้อมที่บางกอกว่าเครื่องอาวุธยุทธภัณฑ์มีจํานวน
ดังนี ้ คือ ปื นเล็ก ๗๐๐ กระบอก ดาบ ๖๐๐ เล่ม หอกฝรั่งเศสและหอกไทยรวม
๙๐๐ เล่ม ลูกแตกสําหรับขว้ างด้ วยมือ ๑๐๐๐ ลูก ดินปื นสําหรับปื นใหญ่และปื นเล็ก
๓๐๐ ไห ปั ศตันสําหรับปื นใหญ่มีจํานวนมาก ปั ศตัน ๖๐๐๐ ลูก ลูกปื นสําหรับปื นเล็ก
๕๐ ๐๐๐ ลูก และยังมีลกู ปื นหัวแฝด มีดินประสิว กํามถัน ชนวน เครื่องใช้ สําหรับ
ทําสงครามเปนอันมาก กับมีลกู ปื นขนาดต่าง ๆ กัน ๗๔๐๐ ลูก ซึง่ เปนลูกปื นหัวแฝด
เสีย ๒๐๐ ลูก และมีปืนใหญ่อยู่ ๗๐ กระบอก ซึ่งได้ แบ่งแยกออกเปน ๓ หมวด ของ
เหล่านี ้เปนสิ่งที่มีอยูใ่ นป้อมที่บางกอกทังสิ
้ ้น
๒๒๘
ข้ างฝ่ ายฝรั่งเศสนั ้นก็ได้ ทําการอันเชิดชูพระเกียรติยศของพระเจ้ า
หลุยที่ ๑๔ และในการที่ได้ ส้ รู บกับไทยคราวนี ้ ก็ได้ ทําการอย่าง
กล้ าหาญมีชื่อเสียงเท่ากับเมื่อครัง้ ฝรั่งเศสทําสงครามที่แม่นํ ้าไรน์ ที่
เมืองอิตาลี และเมืองฮอลันดา
เมื่อวันที่๒๒เดือนมิถนุ ายนมองซิเออร์ เดฟาช์ได้ จดั ให้ นายร้ อยโท
แซนต์คริกไปยังเมืองมริด เพื่อไปบอกเล่าให้ มองซิเออร์ ดบู รูองั ทราบ
ถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นที่บางกอก นายร้ อยโทแซนต์คริกได้ ลงเรื อชื่อ
เลอโซแลร์ พร้ อมกับทหาร ๑๗ คน ครัน้ เรื อเลอโซแลร์ ได้ แล่นลงไปใต้
บางกอกหนทางประมาณ ๒ ไมล์ ไทยได้ เอาเรื อยาวเปนอันมากมา
กันกางมิ
้ ให้ เรื อเลอโซแลร์ แล่นออกไปได้ ฝรั่งเศสกับไทยจึงได้ รบ
กันขึ ้น แต่นายร้ อยโทแซนต์คริกสู้ไม่ได้ ด้วยจํานวนไทยมีมากกว่า
หลายเท่านัก จึงได้ เอาดินปื นมาโรยไว้ บนดาดฟ้าเรื อเลอโซแลร์ ๑ ถัง
และได้ เอาปื นประจุไว้ เสร็จวางให้ ได้ ระยะ ทังเตรี
้ ยมลูกแตกสําหรับ
ขว้ างด้ วยมือไว้ ด้วย ครัน้ เตรี ยมการไว้ เสร็จแล้ ว นายร้ อยโทแซนต์
คริกก็ถอยออกไปให้ หา่ ง พอพวกไทยได้ ปีนป่ ายขึ ้นไปถึงเรื อ นายร้ อย
โทแซนต์คริ กก็สงั่ ให้ ยิงปื นพร้ อมกัน ในทันใดนันบนดาดฟ
้ ้ าเรื อก็
เท่ากับล้ างอย่างเกลี ้ยงเกลา จะหาข้ าศึกเหลืออยูจ่ นคนเดียวก็ไม่มี
ฝ่ ายพวกไทยอื่น ๆ เข้ าใจว่าเรื อเลอโซแลร์ หมดกําลังที่จะต่อสู้แล้ ว จึง
ได้ กรูกนั ขึ ้นไปบนเรื อ นายร้ อยโทแซนต์คริกเห็นว่าเหลือกําลังที่จะ
ต่อสู้ได้ ตอ่ ไปแล้ ว แต่ยอมตายดีกว่าที่จะถูกจับไปถูกทัณฑกรรม
จึงได้ ลงไปในท้ องเรื อ และได้ เอาไฟไปจุดดินปื นระเบิดเรื อ ตัวของ
ตัว และพวกฝรั่งเศสกับไทยกว่า ๒๐๐ คนได้ ตายในคราวเดียวกัน
๒๒๙
การที่บางกอกได้ ถกู ล้ อมดังได้ กล่าวมาแล้ วนัน้ ก็มิได้ เปนข้ อ
กีดขวางในการที่มองซิเออร์ เดฟาช์จะได้ มีจดหมายโต้ ตอบกับ
พระราชสํานักที่กรุงศรี อยุธยา หรื อส่งข่าวคราวไปยังพวกมิชนั นารี อยู่
เสมอ ๆ สังฆราชเดอเมเตโลโปลิศกับบาดหลวงเดอลียอน ได้ เคยเป
นคนกลางไปพูดกับพระยาพระคลังของพระเจ้ าแผ่นดินพระองค์ใหม่แทน
มองซิเออร์ เดฟาช์หลายครัง้ มองซิเออร์ เวเรต์ก็ได้ ลงมาที่บางกอกและ
ได้ อาสาแล้ วแต่ผ้ บู งั คับการทหารจะใช้ อย่างไร ครัน้ เมื่อวันที่ ๗ เดือน
กันยายน นายร้ อยโทเดอริวิแยร์ ได้ ขึ ้นไปยังกรุงศรี อยุธยา และได้ ไป
พบพูดจากับพระยาพระคลังต่อหน้ ามองซิเออร์ เวเรต์ นายร้ อย
โทเดอรี วิแยร์ จงึ ได้ บอกกับพระยาพระคลังว่า มองซิเออร์ เวเรต์พดู แต่
เฉภาะในกิจการส่วนตัวของตัวทังนั
้ น้ แต่มิได้ เอากิจการของ
มองซิเออร์ เดฟาช์มาเจรจาเลย พระยาพระคลังซึง่ เมื่อเดิมได้ เปนพระวิ
สุทธิสนุ ทร (โกษาปาล) และซึง่ ชาวฝรั่งเศสได้ รับรองนับถือนักนัน้
จึงได้ ตอบว่าได้ มีความสงไสยในมองซิเออร์ เวเรต์มานานแล้ ว
ฝ่ ายพระเพทราชาก็รีบร้ อนที่จะให้ พวกฝรั่งเศสไปเสียให้ พ้นบางกอก
จึงได้ รับสัง่ ว่าจะได้ ทรงจัดเรื อสําหรับบรรทุกพวกฝรั่งเศสไปเมืองปอน
ดีเชรี ๒ ลํา และได้ ทรงเชื ้อเชิญมองซิเออร์ เดฟาช์เตรี ยมตัวพี่จะยก
กองทหารออกจากป้อม มองซิเออร์ เดฟาช์ก็ได้ ยอมกระทําตามรับสัง่
พระเพทราชา จึงได้ เรี ยกกองทหารมาประชุมตรวจนับ ก็ปรากฎว่า
ทหารฝรั่งเศสยังคงเหลืออยู่ ๒๕๐ คนในจํานวนนี ้ป่ วยใช้ การไม่ได้ เสีย
๑๙ คน ส่วนเสบียงอาหารกับลูกกระสุนดินดํานัน้ จวนจะขาดมืออยู่
แล้ ว เพราะ

๒๓๐
กองทหารฝรั่งเศสได้ รักษาป้อมอันไม่มนั่ คงนี ้ ถึง ๕ เดือนกับ ๔ วัน ถึง
ไทยจะได้ ยิงลูกแตกเข้ าไปทังกลางวั้ นกลางคืนก็มิได้ ทําอันตรายอย่างใด
และที่เก็บเครื่ องศัตราอาวุธก็ทําด้ วยไม้ ไผ่ แต่ถึงดังนันพวกฝรั
้ ่งเศส
ก็คงรักษาที่นนไว้ ั ้ ได้ เมื่อเปนการตกลงกันแล้ ว กองทหารฝรั่งเศส
ก็ได้ ยกออกจากป้อม และได้ ลงมือขนเครื่ องศัตรอาวุธและ
เครื่ องใช้ ตา่ ง ๆ ลงเรื อต่อไป
ครัน้ เมื่อวันที่ ๔ เดือนตุลาคมหญิงชื่อ ดอญากูโยมาร์ เดอปี ญา
ซึง่ เปนคนเชื ้อชาติปอตุเกตได้ มาถึงบางกอก หญิงผู้นี ้เปนภรรยาของ
คอนซตันตินฟอลคอน นายทหารฝรั่งเศสคน ๑ ชื่อ แซนต์มารี เปนผู้
พามาพร้ อมทังบุ ้ ตร์ แลคนเข้ ารี ดอีกสามคน การที่ภรรยาฟอลคอนได้
ลงมาที่บางกอกนัน้ เปนเรื่ องที่พวกบาดหลวงคณะเยซวิตที่กรุงศรี
อยุธยาได้ ห้ามนักหนาว่าไม่ควรจะออกจากกรุง เพราะเกรงว่าจะเปน
สาเหตุทําให้ บาดหมางกันขึ ้นกับไทย แต่ฝ่ายภรรยาฟอลคอนได้ ถกู
รังแกข่มเหงต่าง ๆ ทังบุ ้ ตร์ พระเพทราชาจึงเกลียดนัก ด้ วยบุตร์ พระ
เพทราชาได้ ไปเกี ้ยวภรรยาฟอลคอน แต่ภรรยาฟอลคอนไม่ยอม
บุตร์ พระเพทราชาจึงเกลียดและขูว่ า่ จะทําร้ ายต่าง ๆ เพราะเหตุฉนัน้
ภรรยาฟอลคอนอดรนทนไม่ได้ จึงได้ ตกลงใจจะมาขอพึง่ ธงฝรั่งเศส
ดุจจะเปนสํานัก ซึง่ จะพ้ นอันตรายต่าง ๆ ได้ การที่ภรรยาฟอลคอน
ได้ เชื่อใจในพวกฝรั่งเศสอย่างน่าชมเชยเช่นนี ้ มองซิเออร์ เดฟาช์กลับ
ได้ เชื่อใจในพวกฝรั่งเศสอย่างน่าชมเชยเช่นนี ้ มองซิเออร์ เดฟาช์กลับ
ตอบแทนอย่างน่าชังมาก เพราะมองซิเออร์ เดฟาช์ไม่ใช่แต่ไม่ยอม
ช่วยอย่างเดียว แต่ไม่ยอมพบกับภรรยาฟอลคอนเสียซํ ้าไป ใช่แต่
๒๓๑
เท่านี ้แต่มองซิเออร์ เดฟาช์ได้ กลับนําความไปแจ้ งต่อพระยาพระคลังว่า
ภรรยาฟอลคอนได้ ลงไปอยูท่ ี่บางกอก และได้ จบั มองซิเออร์ แซนต์มารี
คุมขังไว้ โดยหาว่ามีความผิดที่ได้ ชว่ ยเหลืออุดหนุนให้ ภรรยาฟอลคอน
หนีมาได้ แล้ วจึงได้ เรี ยกนายทหารทังปวงมาประชุ
้ มอธิบายชี ้แจงว่า ถ้ า
พวกฝรั่งเศสเกิดใจดีขึ ้นจะไม่ยอมส่งตัวภรรยาฟอลคอนให้ แก่ไทยแล้ ว
ก็นา่ กลัวจะต้ องเกิดเหตุอนั ร้ ายแรงมาก๑
ซึง่ มองซิเออร์ เดฟาช์ทําการดังนี ้กระทําให้ บรรดานายทหารพากัน
ขัดเคืองทุกคน นายทหารผู้ ๑ ซึง่ อยูใ่ นที่นนแลได้ ั้ ทราบเรื่ องนี ้โดยเลอียด
ได้ เขียนเล่าว่าดังนี ้
“คําอธิบายชี ้แจงของมองซิเออร์ เดฟาช์นี ้ก็นา่ ฟั งอยู่ แต่พวกเรา
ทังหมดผู
้ ้ เปนผู้บงั คับกองได้ พร้ อมกันเห็นว่าไม่ควรจะส่งตัว
มาดําคอนซตันซ์คืนให้ แก่ไทย และในข้ อนี ้พวกเราทังหมด

ได้ ทําคําชี ้แจงยื่นไว้ ตอ่ มองซิเออร์ เดฟาช์ และมองซิเออร์
เดอลารอชดูวิเยีย ในเรื่ องนี ้บรรดาพลทหารโดยมากก็มี
ความเห็นพ้ องกับพวกเรา และพวกนายทหารเมื่อได้ ประชุม
กันในเรื่ องนี ้อีกเปนครัง้ ที่ ๒ ได้ แสดงตัวทุกคน ว่าจะยอม
ตายดีกว่าที่จะส่งตัวมาดําคอนซตันซ์คืนให้ แก่ไทย”
๑ ในเรื่องนี ้มองซิเออร์ โวลังนายช่างได้ เขียนเล่าว่า การที่มาดําคอนซตันซ์หนี
มาคราวนี ้กระทําให้ มองซิเออร์ เดฟาช์ลําบากใจเปนอันมาก เพราะเปนเรื่องที่ทําให้
มองซิเออร์ เดฟาช์ได้ ออกจากบางกอกช้ าไป การที่มองซิเออร์ เดฟาช์รับตัวมาดํา
คอนซตันซ์ไว้ นนั ้ เปนเหตุทาํ ให้ เดฟาช์ต้องคืนของต่าง ๆ หลายอย่าง อันไม่จําเปน
จะต้ องกล่าวในที่นี ้ เพราะของเหล่านี ้ต่างคนก็มีห้ นุ ส่วนด้ วยกันทุกคน

๒๓๒
มองซิเออร์ เดฟาช์จงึ ได้ เอาตัวมาดําคอนซตันซ์ขงั ไว้ ในป้อมและ
ปิ ดความไม่บอกให้ ใครรู้เลยว่าตัวได้ รับไว้ ฝ่ ายพวกสังฆราชก็มีใจ
กรุณาต่อมาดําคอนซตันซ์จงึ ได้ แนะนําว่าจะได้ หาชาวปอตุเกตที่มีชื่อเสียง
ดีในเมืองไทยสักคน ๑ เพื่อให้ มาเปนสามีของมาดําคอนซตันซ์ตอ่ ไป
แต่ในข้ อนี ้มาดําคอนซตันซ์มิได้ ยอมฟั งเปนอันขาด แล้ วมาดําคอนซ
ตันซ์จงึ เอามองซิเออร์ เดอลาซาลเปนพยานในข้ อที่ตวั ได้ รับความ
เดือดร้ อนแลข่มเหงต่าง ๆ และได้ ร้องไปยังพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสและ
ราชสํานักฝรั่งเศสในข้ อที่ฝรั่งเศสไม่ยอมให้ ตวั ได้ พงึ่ ธงของชาติฝรั่งเศส
เพราะการที่สามีได้ สิ ้นชีวิตไปครัง้ นี ้ก็โดยเหตุที่ทําการให้ แก่ชาติ
ฝรั่งเศส และคนฝรั่งเศสที่ไม่ยอมรับช่วยมาดําคอนซตันซ์นนก็ ั ้ เปนคน
ที่ได้ เคยรับประทานอาหารร่วมโต๊ ะกับสามี ทัง้ เปนคนที่สามีได้ เคย
ให้ ปันสิ่งของต่าง ๆ และได้ ยกย่องไว้ เนื ้อเชื่อใจมากด้ วย แต่ถึงมาดํา
คอนซตันซ์จะขอร้ องและอธิบายชี ้แจงสักเท่าไร มองซิเออร์ เดฟาช์ก็
หาฟั งไม่ จึงได้ นําตัวมาดําคอนซตันซ์สง่ ให้ แก่ไทย ในตํานานของ
มองซิเออร์ คอนซตันซ์ซงึ่ มองซิเออร์ เดลานด์แต่งไว้ นนมี ั ้ ความว่าดังนี ้
“มาดําคอนซตันซ์ได้ ออกจากบางกอก โดยทําท่าทางกิริยา
องอาจ และดูสีหน้ ารู้สกึ ได้ วา่ มาดําคอนซตันซ์มิได้ กลัวตาย
เท่าใดนัก แต่มีความดูถกู พวกฝรั่งเศสมากกว่า เจ้ าพนักงาน

๒๓๓
ได้ พามาดําคอนซตันซ์ลงเรื อ และพวกเราก็ตกตลึงต่างคน
ต่างดูหน้ ากัน โดยไม่ร้ ูจะพูดว่าอย่างไร”๑
เมื่อมองซิเออร์ เดฟาช์ได้ สง่ ตัวมาดําคอนซตันซ์ให้ แก่ไทย ก็
นับว่าหมดข้ อกีดขวางแล้ ว จึงได้ เจรจากันในเรื่ องกองทหารฝรั่งเศสจะ
ออกจากบางกอกต่อไป ตามหนังสือสัญญาที่ได้ ทํากันเมื่อวันที่ ๑๘
เดือนตุลาคมนัน้ มีข้อความว่า ตามที่สมเด็จพระเจ้ ากรุงสยาม
ทรงพระ
๑ ในสมุดที่กล่าวตํานานของมองซิเออร์ คอนซตันซ์ยงั มีความในเรื่องนี ้ต่อไปว่า
ไทยได้ เอามาดําคอนซตันซ์จําไว้ ในคุกพร้ อมกับคนเข้ ารีดอีกหลายคน มาดําคอนซตันซ์
ได้ รับความกดขี่เดือดร้ อนอย่างสาหัศ ต่อปลายเดือนกันยายน ค.ศ. ๑๖๙๐ ( พ.ศ. ๒๒๓๓)
มาดําคอนซตันซ์จงึ ได้ ออกจากคุกได้ เมื่ออออกมาได้ แล้ วไทยได้ อนุญาตให้ มาดํา
คอนซตันซ์อยูใ่ นค่ายของพวกปอตุเกต แต่ได้ ถกู บังคับให้ ทําของหวานเปนเครื่องกวน
ส่งเข้ าไปในวังตามอัตราที่กําหนดไว้
ในเรื่องนี ้มองซิเออร์ เตอร์ แปงไผด้ แต่งเล่าโดยยีดยาวมาก แต่ข้อความที่มองซิเออร์
เตอร์ แปงเล่านันไม่
้ ใคร่จะตรงกับความจริงเท่าไรนัก เพราะมองซิเออร์ เตอร์ แปงกล่าวว่า
เมื่อมาดําคอนซตันซ์ได้ กลับมาจากบางกอกแล้ ว ไทยได้ เลี ้ยงดูอย่างดี ข้ อที่วา่ มาดํา
คอนซตันซ์ต้องทําของหวานส่งเข้ าไปในวังนัน้ มิได้ เปนข้ อเสียหายหรือเสียเกียรติยศ
อย่างใดเลย เพราะตามความเข้ าใจของไทยนัน้ การทําของหวานส่งเข้ าไปในวังเช่นนี ้
กลับเปนเกียรติยศอย่างสูง และในเวลานันมาดํ ้ าคอนซตันซ์ก็ได้ บงั คับบัญชาผู้หญิง
ซึง่ ทําราชการอยูใ่ นวังถึง ๒๐๐๐ คน ทังเปนผู ้ ้ เก็บรักษาเครื่องทองและเงินของหลวงด้ วย
ในเรื่องมาดําคอนซตันซ์นี ้ มองซิเออร์ เตอร์ แปงยังเล่าต่อไปว่า ไทยได้ เอาบุตร์ ชายของ
มาดําคอนซตันซ์ไปไว้ ยงั โรงเรียนสามเณรที่กรุงศรีอยุธยา ภายหลังบุตร์ มาดําคอนซตันซ์
ได้ เปนนายเรือฝรั่งเศสทีฝ่ ั่ งคอรอมันเดล ครัน้ เมื่อปี ค.ศ. ๑๗๔๙ ( พ.ศ. ๒๒๙๒ )
ได้ เปนทูตไปหามองซิเออร์ ดแู ปลกซ์ ครัน้ กลับมาเมืองไทยก็ได้ รับตําแหน่งหน้ าที่อนั
สูงสุดมาก ข้ อนี ้จับได้ วา่ เปนเรื่องไม่จริงเพราะบุตร์ ของคอนซตันตินฟอลคอน ชื่อ ยอช
ฟอลคอนนัน้ ได้ ตายเสียตังแต่ ้ ปี ค.ศ. ๑๗๑๖ ( พ.ศ. ๒๒๕๙ ) แล้ ว
๓๐

๒๓๔
กรุณาโปรดเกล้ าให้ จดั เรื อ สําหรับมองซิเออร์ เดฟาช์จะได้ บรรทุกทหาร
เครื่ องศัสตราวุธ และทรัพย์สมบัตนิ นั ้ ฝ่ ายมองซิเออร์ เดฟาช์จะต้ องยก
กองทหารออกจากป้อมที่บางกอกและมองซิเออร์ เดฟาช์จะต้ องไม่ทําร้ าย
ต่อบุคคลและทรัพย์สมบัตขิ องบุคคล ทังต้ ้ องทําการกับคนไทยโดยกิริยา
อันสมควรดุจไม่ได้ มีเรื่ องอันใดเกิดขึ ้นเลย มองซิเออร์ เดฟาช์รับสัญญา
ต่อไปว่า จะได้ บงั คับให้ มองซิเออร์ ดบู รูองั และมองซิเออร์ โบเรอร์ กาด์ ยก
ทหารออกจากเมืองมริด และให้ คนทังสองนั ้ นได้
้ คืนเรื อ ปื นใหญ่ ปื นเล็ก
และกลาสีซงึ่ มองซิเออร์ เดอบรูองั และมองซิเออร์ โบเรอร์ กาด์ได้ พาไป
และเมื่อพวกฝรั่งเศสได้ ไปถึงเมืองปอนดีเชรี เมื่อใด มองซิเออร์ เดฟาช์
รับธุระจะส่งเรื อคืนมายังเมืองไทย ส่วนข้ าราชการไทยและชายหนุม่
ซึง่ ยังตกค้ างอยูท่ ี่ประเทศฝรั่งเศสนัน้ ฝรั่งเศสจะได้ จดั ส่งกลับมายัง
เมืองไทยโดยใช้ จา่ ยเงินของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ฝ่ ายพระเพทราชาก็
ทรงรับรองว่าจะได้ ทรงบํารุงปกครองพวกมิชนั นารี และพวกเข้ ารี ดซึง่ เปน
ชาติฝรั่งเศส เมื่อพวกนี ้ได้ เคยรับสิทธิอย่างใดพระเพทราชาก็จะได้ ให้
คงมีอยู่ตามเดิม และเมื่อชาวฝรั่งเศสคนใดมีความประสงค์จะออกจาก
ประเทศสยามก็ไปได้ ตามชอบใจ เมื่อได้ ทําสัญญากันดังนี ้เสร็จแล้ ว
ต่างฝ่ ายก็แสดงตัวว่า จะได้ ปฏิบตั ใิ ห้ ถกู ต้ องตามข้ อสัญญา จึงได้ จดั
ให้ มีประกันทังสองฝ่
้ าย คือข้ างฝ่ ายฝรั่งเศสนันให้
้ สงั ฆราชเดอเมเตโล
โปลิศ ๑ มองซิเออร์ เวเรต์ ๑ นายพันตรี เดอโบชัง ๑ เชอวาเลียเดฟาช์ ๑
รวม ๔ นายเปนประกัน ข้ างฝ่ ายไทยนันได้ ้ ให้ ข้าราชการชันผู้ ้ ใหญ่
ไปเปนประกันสามนาย เมื่อเรื อได้ ถึงสันดอนแม่นํ ้าเจ้ าพระยาเมื่อใด
ต่างฝ่ ายจะได้ สง่ คืนประกันซึ่งกันและกันต่อไป
๒๓๕
แต่ข้อสัญญาต่าง ๆ ตามที่ได้ กล่าวมาแล้ วนัน้ ลงท้ ายก็ได้ ทํา
ผิดสัญญากันโดยมาก การที่ทําผิดสัญญากันนัน้ จะตัดสินลงไปให้
แน่ไม่ได้ ว่าจะเปนด้ วยความโกงของไทย หรื อจะเปนด้ วยความทุจริต
ของพวกฝรั่งเศส
เมื่อวันที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน พวกนายทหาร พลทหาร มิชนั
นารี หลายคน พ่อค้ าและคนทํางานของห้ างฝรั่งเศสหลายคน ได้
พร้ อมกันลงเรื อ ๒ ลํา ชื่อเรื อสยามลํา ๑ เรื อละโว้ ลํา ๑ ส่วนพลทหาร
ที่ป่วย และปื นใหญ่ เสบียงอาหาร เสื ้อผ้ าและเข้ าของต่าง ๆ นันได้ ้
บรรทุกลงเรื อสําปั น้ ใหญ่ ๆ หลายลํา ครัน้ เรื อสยามและเรื อละโว้ ได้
มาถึงด่านภาษีฮอลันดา กําลังจะเตรี ยมเรื อที่จะข้ ามสันดอน พวก
ฝรั่งเศสก็ได้ ร้ ูสึกขึ ้นมา ว่าเรื อสําปั น้ ที่บรรทุกของต่าง ๆ นันหาได้

ตามมาไม่ แต่ไทยได้ ยึดไว้ และมิหนําซํ ้าไทยได้ เอาเสาไปปั กขวาง
แม่นํ ้าไว้ เพื่อกันมิให้ เรื อแล่นออกไปได้ แต่พวกฝรั่งเศสได้ พยายาม
หลีกเลี่ยงเสาเหล่านี ้เล็ดลอดออกไปจนได้ จึงได้ จดั ให้ บาดหลวงเยซวิ
ตชื่อ ธียองวีล กลับไปตามเรื อสําปั น้
ฝ่ ายไทยได้ หาว่าพวกฝรั่งเศสโกงเพราะในคนที่จะเปนประกัน๔
คน ตามที่มองซิเออรื เดฟาช์สญ ั ญาไว้ นนั ้ ได้ หนีขึ ้นไปบนเรื อเสีย ๓
คน ในเวลาที่เรื อได้ แล่นพ้ นบางกอกลงมาหน่อย๑ ในคนที่เปนประกัน๔
คนนันคงเหลื
้ อแต่สงั ฆราชเดอเมเตโลโปลิศซึง่ ยังคงรักษาวาจาอยูแ่ ต่คน
เดียวเท่านัน้ สังฆราชเดอเมเตโลโปลิศจึงได้ มีจดหมายไปถึงมอง
ซิเออร์ เดฟาช์ตอ่ ว่าในการที่ทําทุจรติเช่นนี ้ มองซิเออร์ เดฟาช์จงึ ได้

๒๓๖
คืนข้ าราชการไทยที่เปนประกันให้ คน ๑ แล้ วเรื อก็ได้ แล่นต่อไป มอง
ซิเออร์ เวเรต์นนได้
ั ้ ไปสมทบกับพวกฝรั่งเศสที่เกาะมาลากา และได้
เอาเงินของบริษัทฝรั่งเศส ฝ่ ายอินเดียซึง่ เรื อลอรี ฟลามได้ นํามาที่
เมืองไทยเมื่อเร็ว ๆ นี ้เอง ไปใช้ สอยเสียหมดสิ ้น๑
เมื่อวันที่ ๓๑ เดือนมกราคม ค.ศ.๑๖๘๙ ( พ.ศ.๒๒๓๑ ) เรื อ
สยามกับเรื อละโว้ ได้ ไปทอดสมอที่นา่ เมืองปอนดีเชรี เรื อลอรี ฟลาม
ได้ ไปถึงเมืองปอนดีเชรี เมื่อวันที่ ๗ เดือน กุมภาพันธ์
กองหทารที่เหลือมาจากเมืองมริดคือพลทหาร ๒๐ คน
นายทหาร ๒ คน กับทังมองซิ ้ เออร์ ดบู รูองั และมองซิเออร์ ดาลวีมาร์
ได้ ขึ ้นบกเสียตังแต่
้ วนั ที่ ๑๖ เดือนมกราคมแล้ ว ทหารพวกนี ้ก็ได้ ทํา
การอย่างดีมีชอเสียงสมเปนชายชาติทหารเหมือนกัน คือ พอได้ เกิด
ขบถขึ ้น
๑ เรือชื่อ ลอรีฟลามได้ ออกจากเมืองเบรสต์ เมื่อปลายเดือนมกราคม ค.ศ. ๑๖๘๘
( พ.ศ. ๒๒๓๑ ) ได้ บรรทุกกองทหารฝรั่งเศสไปด้ วย ๒๐๐ คน สําหรับไปสมทบกับกองทหาร
ของมองซิเออร์ เดฟาช์ เรือลํานี ้ได้ มาถึงเมืองไทยเมื่อต้ นเดือนกันยายน เฉภาะเปนเวลาที่
มองซิเออร์ เดฟาช์กบั พระเพทราชากําลังเจรจากันถึงเรื่ องที่จะคืนบางกอก และเมืองมริด
ให้ แก่ไทย เมื่อฝรั่งเศสได้ ยกออกจากบางกอกแล้ ว นายเรือเอก เดอเลซตรีลผู้บงั คับ
เรือลอรีฟลามจึงได้ ออกเรือแล่นใบไปยังฝั่ งคอรอมันเดล ซึง่ เปนแห่งที่พวกฝรั่งเศสทัง้
ปวงจะได้ ไปรวบรวมกัน
ส่วนมองซิเออร์ เวเรต์คนโกงนัน้ บริษัมจะบังคับให้ ทําบาญชีเท่าไร ๆ ก็ไม่ทําให้
เพราะการที่เวเรต์ได้ ยื่นมือเข้ าไปช่วยทําลายมองซิเออร์ คอนซตันซ์ และช่วยในการที่เกิด
ขบถขึ ้นในเมืองไทยนัน้ ก็คงไม่ได้ มงุ่ หมายที่จะกลับมามือเปล่า พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส
จึงได้ มีดํารัสสัง่ ให้ มองซิเออร์ มาแตงยึดบรรดาหนังสือต่าง ๆ และทรัพย์สมบัติของมอง
ซิเออร์ เวเรต์ทงสิ
ั ้ ้น ทังสั
้ ง่ ให้ มองซิเออร์ มาแตงฟ้องกล่าวโทษมองซิเออร์ เวเรต์ และ
ให้ จบั ตัวมองซิเออร์ เวเรต์ควบคุมส่งกลับไปยังประเทศฝรั่งเศสด้ วย

๒๓๗
ในเมืองไทย พวกไทยก็ได้ รวบรวมเข้ าเปนสมัคพรรคพวกมารบพวก
ฝรั่งเศสที่เมืองมริด พวกไทยได้ ระดมคนมาจากเมืองตะนาวศรี และ
เมืองใกล้ เคียง จึงได้ พากันมาล้ อมเมืองมริดอย่างแน่นหนามาก มอง
ซิเออร์ ดบู รูองั ได้ ตอ่ สู้พวกไทยโดยเต็มกําลัง แต่เพอิญนํ ้าก็ขาดลง
หมดปั ญญาไม่ทราบว่าจะไปหาที่ไหน ทังหมดหวั ้ งที่จะมีใครมาช่วย
และหมดความคิดที่จะไปหาเสบียงอาหารมาได้ จึงได้ ตอ่ สู้กบั ไทยอย่าง
คนที่สิ ้นคิดแล้ ว พลทหารที่ได้ พามาไว้ ที่เมืองมริดนัน้ ก็ยงั เหลืออยู่
ประมาณ ๓๐ คนเท่านัน้ มองซิเออร์ ดบู รูองั จึงได้ นําทหารเหล่านี ้ ฝ่ า
พวกไทยที่ล้อมอยูน่ นั ้ และได้ ถือดาบฝ่ าข้ าศึกออกมาได้ จนถึงชายทะเล
จึงได้ ไปพบเรื อพ่อค้ า นายเรื อชื่อมองซิเออร์ ชงั ยอง จอดอยูร่ ิมฝั่ ง
มองซิเออร์ ชงั ยองก็ได้ รับมองซิเออร์ ดบู รูองั กับพลทหารขึ ้นเรื อ มอง
ซิเออร์ ดบู รูองั กับพลทหารประมาณ ๒๐ คน ได้ ขึ ้นไปบนเรื อชื่อโนตร์
ดามเดอลอเร็ ต นายพันตรี โบเรอกาด์ กับบาดหลวงเดซปานยักและ
คนอื่น ๆ ได้ หนีไปอาไศรยบนเรื อลําอื่น นายร้ อยเอกทหารราบ ฮีตอง ๑
คอมมีแซร์ ซําบีช ๑ มองซิเออร์ แคยูเลียง ๑ มองซิเออร์ เดอแบร์ ซี ๑
รวม ๔ คนได้ ตายในที่รบ นายร้ อยโท เซแวง กับนายทหารอีกคน ๑
ถูกไทยจับไป และเมื่อได้ เลิกรบกันแล้ วไทยก็ได้ ฆา่ ทังสองนี
้ ้ตาย แต่
เรื อที่พามองซิเออร์ ดบู รูองั กับพลทหารนันได้
้ หลงทาง จึงได้ ไปถูกอับ
ปางที่เกาะแห่ง ๑ ใกล้ กบั ฝั่ งเมืองหงสาวดี แต่เกาะนี ้หามีผ้ คู นอยูไ่ ม่
พวกเรื อจึงได้ เลี ้ยงชีพไปด้ วยจับเต่ามารับประทานอยูห่ ลายวัน จึงได้
มีเรื อ

๒๓๘
ของพระเจ้ ากรุงสยามมาแวะที่เกาะนี ้ลํา ๑ เรื อลํานี ้เปนเรื อของพระเจ้ า
กรุงสยามซึง่ ทําการค้ าขายในนามของบริษัทฝรั่งเศส นายเรื อนัน้
ก็เปนชาวฝรั่งเศสชื่อ ดูวาล มองซิเออร์ ดวู าล จึงได้ รับพวกที่ถกู
เรื อแตกพาไปส่งเมืองปอนดีเชรี ตอ่ ไป ฝ่ ายมองซิเออร์ โบเรอกาด์
และคนอื่น ๆ ที่ไปด้ วยกันนันได้
้ เดินเลาะไปตามชายทะเลเมืองหงสาว
ดี ก็ไปถูกพวกชาวเมืองนันจั ้ บไว้ ได้ แต่มองซิเออร์ เดอลามาร์ นาย
ช่าง ๑ มองซิเออร์ ดูฮาลกูเอศต์ ๑ รวม ๒ คนได้ ไปพบพ่อค้ าฝรั่งเศส
คน ๑ ซึง่ ตังการค้้ าขายอยูใ่ นเมืองนัน้ พ่อค้ าฝรั่งเศสจึงได้ ต้อนรับคน
ทังสองนี
้ ้ได้ ให้ เสื ้อผ้ าและของต่าง ๆ ที่จําเปนจะต้ องใช้ สอย แล้ วได้
จัดการส่งไปยังฝั่ งคอรอมันเดล
พวกนายทหารฝรั่งเศสซึง่ ได้ ไปรวมพร้ อมกันอยู่ที่เมืองปอนดีเชรี
นั ้นได้ ประชุมเพื่อปฤกษาหารื อกันว่าจะควรทําประการใดต่อไปมองซิเออร์
มาแตงผู้อํานวยการของบริษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดียก็ได้ ประชุมอยูด่ ้ วย
บางคนก็ได้ ออกความเห็นว่าควรจะกลับไปเมืองไทย บางคนก็เห็นว่า
ควรจะกลับไปฝรั่งเศสบางคนก็เห็นว่าควรจะต้ องพักอยูท่ ี่เมืองปอนดีเชรี
รอฟั งคําสัง่ ต่อไปก่อน บางคนก็เห็นว่าควรจะกลับไปยึดเกาะภูเก็จไว้
ผลที่สดุ ที่ประชุมได้ ตกลงตามความเห็นที่วา่ ให้ ไปยึดเกาะภูเก็จนันเอง ้
แล้ วที่ประชุมได้ ตกลงกันต่อไปว่า ให้ จดั มองซิเออร์ โบชัง ๑ มองซิเออร์
โวลัง ๑ มองซิเออร์ แซนต์มารี ๑ มองซิเออร์ เดอลาซต์ ๑ มองซิเออร์
แซนต์วนั ครี ล ๑ บาดหลวงเยซวิตเลอบลัง ๑ กับบาดหลวงเยซวิตเดอ
โคลูซอง ๑ รวม ๗ นายให้ ลงเรื อลานอร์ มานด์ กับเรื อ เลอคอช

๒๓๙
รวม ๒ ลํากลับไปยังประเทศฝรั่งเศส เพื่อนําความเรื่ องการขบถใน
เมืองไทย ไปกราบทูลพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ และจะได้ นําพยานต่าง ๆ
ไปแสดงในเหตุอนั น่าเสียใจนี ้ให้ ทรงทราบโดยเลอียด
แต่ความเคราะห์ร้ายของพวกฝรั่งเศสยังไม่หมดสิ ้นเพียงเท่านี ้ด้ วย
เรื อรบสองลําคือเรื อลานอร์ มานด์ กับเรื อ เลอคอชซึง่ ได้ รับพวกฝรั่งเศส
กลับไปยังประเทศฝรั่งเศสนัน้ ได้ ออกจากเมืองปอนดีเชรี เมือวันที่ ๑๗
เดือนกุมภาพันธ์ ลํา ๑ ได้ ไปถึงแหลมเคปออฟกุดโฮปเมื่อวันที่ ๒๖
เดือนเมษายน อิกลํา ๑ ได้ ไปถึงเมื่อวันที่ ๔ เดือนพฤษภาคม เพอิญ
ในเวลานันประเทศฝรั
้ ่งเศสกับฮอลันดาได้ ประกาศสงครามกันมาได้ ๖
เดือนแล้ ว แต่พวกฮอลันดาได้ ระวังมิได้ บอกให้ เรื อรบฝรั่งเศสที่มา
ใหม่ ๒ ลําทราบเลยว่าฮอลันดากับฝรั่งเศสกําลังทําสงครามกันอยู่ เรื อ
รบฝรั่งเศส ๒ ลํานี ้มิได้ สงไสยอย่างไรก็แล่นเข้ าไปในท่าเรื อแหลมเค
ปออฟกุดโฮปโดยมิได้ ระวังตัวเลย ครัน้ รู้สึกขึ ้นมาว่าฝรั่งเศสกับ
ฮอลันดาได้ เกิดสงครามขึ ้นแล้ ว ก็ถอยไม่ทนั เพราะได้ ถลําเข้ าไปเสีย
แล้ ว เรื อรบฝรั่งเศสจึงได้ ส้ รู บกับพวกฮอลันดาอย่างสามารถ แต่ก็ส้ ู
กําลังฮอลันดาไม่ได้ พวกฮอลันดาจึงได้ จบั เรื อรบฝรั่งเศสไว้ ทงสองลํ ั้ า
และได้ นําคนที่อยูใ่ นเรื อส่งไปยังเมืองฮอลันดา ไปขังไว้ ยงั คุกเมือง
มีเดลเบิกทุกคน เมื่อพวกฝรั่งเศสได้ ไปติดคุกอยู่นนั ้ ก็มีเวลา
ว่างมาก จึงต่างคนต่างเขียนเรื่ องต่าง ๆ ที่ตวั ได้ ถกู มา
ในเวลาอันเดียวกันนี ้มองซิเออร์ เดฟาช์กบั นายทหารและพลทหาร
๓๓๐ คนได้ ไปยึดเกาะภูเก็จไว้ ซึง่ เปนเกาะอยูท่ ี่ฝั่งตวันตกเมืองไทย

๒๔๐
และอยูต่ รงกับเมืองนครศรี ธรรมราช เมื่อมองซิเออร์ เดฟาช์ได้ ไปถึง
เกาะภูเก็จแล้ ว จึงได้ พยายามทําการติดต่อกับไทยต่อไป ได้ มี
จดหมายไปถึงพระยาพระคลังฉบับ ๑ แสดงตัวว่ามิได้ มีความประสงค์
อย่างใดนอกจากจะให้ การทังปวงได้
้ สงบเรี ยบร้ อย และบอกให้ พระยา
พระคลังทราบว่า มองซิเออร์ เดฟาช์ได้ พาข้ าราชการไทยซึง่ เปนตัว
จํานํานันกลั
้ บมาแล้ ว ขอแต่ให้ ไทยคืนพวกฝรั่งเศสที่ไทยยึดไว้ เปน
เชลยและคืนเข้ าของต่าง ๆ ของพวกฝรั่งเศสเท่านัน้ ฝ่ ายสังฆราช
เดอเมเตโลโปลิศได้ อ้อนวอนขอร้ องให้ ไทยได้ รีบฉวยโอกาศอันดีนี ้สําหรับ
ที่ไทยกับฝรั่งเศสจะได้ สมานดีกนั อย่างเดิม ไทยจึงได้ ตอบสังฆราช
เดอเมเตโลโปลิศ ว่าหมดเชื่อในวาจาของพวกฝรั่งเศสแล้ ว และไทย
ก็ได้ ตงข้
ั ้ อกติกามาต่าง ๆ อันฝรั่งเศสจะรับปฏิบตั ไิ ม่ได้ เปนอันขาด ซึง่
ไทยทําเช่นนี ้ สังฆราชเดอเมเตโลโปลิศก็ร้องคัดค้ าน พระยาพระคลัง
จึงโกรธขึ ้นมาแล้ วพูดว่า “ก็ดีแล้ ว ถ้ าจะต้ องรบกันก็รบกันซิ จะเปน
อะไรไป” แล้ วไทยจึงได้ สงั่ ไปยังเจ้ าพนักงานที่เกาะภูเก็จอย่างเด็ดขาด
ห้ ามมิให้ สง่ เสบียงอาหารหรื อนํ ้าให้ แก่พวกฝรั่งเศสอย่างใด และถ้ า
ฝรั่งเศสคนใดจะขึ ้นบกก็ให้ จบั คุมขังไว้
ฝ่ ายมองซิเออร์ เดฟาช์ก็ได้ อสุ ่าห์พยายามจะทําความตกลงกับ
ไทยอิกครัง้ ๑ เมื่อวันที่ ๒๗ เดือนสิงหาคม จึงได้ ส่งคนไทยที่ยึดไว้
เปนตัวจํานําคืนไปอิกคน ๑ และได้ ฝากหนังสือถึงพระยาพระคลังให้
ข้ าราชการไทยผู้นนถื ั ้ อไป ๒ ฉบับ ฉบับ ๑ นันเปนจดหมายของ ้
มองซิเออร์

๒๔๑
เดฟาช์เอง มีใจความขอให้ พระยาพระคลังส่งราชทูตไปยังเมืองภูเก็จ
และขอให้ สงั ฆราชเดอเมเตโลโปลิศไปด้ วยเพื่อจะได้ ไปทําความตกลง
ในข้ อที่แตกร้ าวกันนัน้ อิกฉบับ ๑ นันเปนจดหมายของมองซิ
้ เออร์
เวเรต์ กล่าวถึงเรื่ องการค้ าขายต่าง ๆ และขอให้ พระเจ้ ากรุง
สยามได้ พระราชทานเกาะภูเก็จให้ แก่บริษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดีย การที่
มองซิเออร์ เวเรต์ได้ เขียนหนังสือไปเช่นนี ้ต้ องนับว่าเปนคนที่ไม่มีความ
อายเลย
เมื่อไทยได้ รับหนังสือสองฉบับนี ้แล้ วได้ ปฤกษาหารื อกันอยู่ช้านาน
จึงได้ มีจดหมายตอบไปว่า ไทยจะไม่ยอมส่งพวกเข้ ารี ดที่จบั ไว้ เปน
เชลยคืนให้ แก่ฝรั่งเศส จนกว่ามองซิเออร์ เดฟาช์จะส่งคนไทย ๒ คน
ที่ยดึ ไว้ เปนตัวจํานําคืนให้ แก่ไทย ลงท้ ายที่สดุ ผู้บงั คับการทหารฝรั่งเศส
ก็ได้ ยอมทําตามความประสงค์ของไทย เมื่อวันที่ ๕ เดือนธันวาคม
ค.ศ.๑๖๘๙ ( พ.ศ.๒๒๓๒ ) ข้ าราชการไทยที่ฝรั่งเศสยึดตัวไว้ นนได้ ั้
กลับมาถึงกรุงศรี อยุธยา และได้ มาแจ้ งว่าเรื อฝรั่งเศสได้ ออกจาก
เมืองภูเก็จกลับไปเมืองเบงกอลแล้ ว
ภายหลังอิกหลายอาทิตย์มองซิเออร์ เดฟาช์ก็ได้ รับคําสัง่ ให้
กลับไปยังประเทศฝรั่งเศส เวลานันกํ ้ าลังเปนเวลาที่เหมาะที่เรื อลอรี ฟ
ลามจะกลับไปประเทศยุโหรปอยูแ่ ล้ ว และจะได้ พาเรื อของบริษัท
ฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดียซึง่ บรรทุกสินค้ าอันมีราคามากรวม ๒ ลําคือ เรื อ
ลองเรลํา ๑ เรื อ แชนต์นิโกลาซ์ลํา ๑ ไปด้ วย พวกนายทหาร
ฝรั่งเศสกับ
๓๑

๒๔๒
พลทหารฝรั่งเศส รวม ๒๐๐ คนจึงได้ โดยสานเรื อลอรี ฟลามกลับไปเมือง
ฝรั่งเศสเมื่อเดือนมินาคม ค.ศ.๑๖๙๐ ( พ.ศ.๒๒๓๒ ) แต่การเดินทาง
คราวนี ้นับว่าเคราะห์ร้ายมากด้ วยได้ เกิดการป่ วยไข้ ขึ ้นในเรื อ จนถึงกับ
มองซิเออร์ เดฟาช์และบุตร์ ทงสองคนั้ นายร้ อยเอกเดอเลศตรี ล มอง
ซิเออร์ เดอลาซาลกับพวกกลาสีเรื อเกือบครึ่ง ๑ ได้ ล้มตายกันหมด
จึงเปนการจําเปนที่เรื อจะต้ องรอพักอยู่ที่เกาะมาตินิกถึง ๕ เดือน ครัน้
เมื่อวันที่ ๒ เดือนมินาคม ค.ศ.๑๖๙๑ (พ.ศ.๒๒๓๓) เรื อของบริ ษัท
ฝรั่งเศสที่ชื่อลองเร กับแซนต์นิโกลาซ์นนได้ ั ้ ไปถึงท่าเรื อเมือง รอซกอป
แต่สว่ นเรื อลอรี ฟลามนันได้้ ไปถูกพายุอย่างร้ ายแรงเมื่อวันที่ ๒๗
กุมภาพันธ์ที่ฝั่งเมืองบรี ตานี เรื อได้ จมลงทังผู้ ้ คนในเรื อได้ ตายสิ ้นมิได้
รอดมาได้ จนคนเดียว
เมื่อพวกฝรั่งเศสได้ ออกจากเมืองไทยไปแล้ วนัน้ จะต้ องตัง้
ปั ญหาถามว่า พวกไทยได้ หายโกรธแค้ นหรื อไม่ ในข้ อนี ้เมื่อพิเคราะห์
ดูตามจดหมายต่าง ๆ ที่มาจากอินเดียในตอนหลัง ๒ ปี ก็พอจะแล
เห็นได้ วา่ ผู้ที่ชิงราชสมบัตไิ ทยยังมีความกลัวอยูม่ าก และเมื่ อความ
กลัวนันยั
้ งมีอยูต่ ราบใดก็คงจะยังคิดโกรธแค้ นอยู่ตราบนัน้ อีกประการ
๑ พวกฮอลันดาซึง่ เปนหัวใจของการขบถในเมืองไทยคราวนี ้ ก็ได้
พยายามยุแหย่มิให้ พระเพทราชาหายกลัวพวกฝรั่งเศสได้ และได้
จัดการทุกอย่างที่จะคอยกีดกันมิให้ พระเพทราชากลับกรุณาแก่พวก
ฝรั่งเศสอันจะเปนหนทางให้ พระเพทราชาได้ โปรดพวกฝรั่งเศสได้
เพราะข้ อสําคัญในเรื่ องนี ้ก็เกี่ยวแก่ความคิดของพวกพ่อค้ ากรุงแอม
ซเตอแดม ที่จะ

๒๔๓
คอยป้องกันกีดขวางมิให้ บริษัทฝรั่งเศสไปตังห้
้ างหน้ าเมืองบาตาเวียและ
เมืองบันตําได้ เพราะเกรงว่าพวกฝรั่งเศสจะมาแย่งชิงผลประโยชน์
ในการค้ าขายฝ่ ายทิศตวันออกไปเสีย เพราะประโยชน์ที่พวกฮอลันดา
ได้ ในการค้ าขายนัน้ ที่ประเทศยุโหรปถือว่าเปนข้ อสําคัญสําหรับให้
ฮอลันดาคงเปนเอกราชอยู่ และเปนสิ่งที่ป้องกันมิให้ พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส
คิดที่จะทําสงครามรบกวนพวกฮอลันดาต่อไป
พวกเข้ ารี ดและพวกชาติฝรั่งเศสซึง่ ตกไปอยู่ในอํานาจของไทยนั ้น
ได้ รับความกดขี่ขม่ เหงอย่างสาหัศ พอไทยได้ ทราบว่าผู้ที่ฝรั่งเศสได้
ยึดไว้ เปนตัวจํานําได้ ออกจากภูเก็จ และทราบว่ามองซิเออร์ เดฟาช์
ได้ ไปถึงภูเก็จแล้ ว พวกไทยก็ได้ กดขี่ขม่ เหงพวกฝรั่งเศสหนักขึ ้น
ไปอีก สังฆราชเดอเมเตโลโปลิศซึง่ ไม่ยอมหนีไปนันก็ ้ ได้ ถกู ไทยจับไป
ไทยได้ ถอดเครื่ องยศออกจากตัวสังฆราชทังหมด ้ แล้ วให้ ผกู มัดลาก
ตัวสังฆราชถูไปกับโคลน ได้ ทบุ ตีแล้ วจําทังตรวนและใส่
้ ขื่อคาด้ วย
พวกมิชนั นารี อื่น ๆ อีกหลายคนก็ได้ ถกู ไทยทําเช่นนี ้เหมือนกัน และ
พวกนักพรตกับนักเรี ยนทังปวงก็
้ ได้ ถกู ไล่ออกจากโรงเรี ยนสามเณร
ต้ องถูกล่ามโซ่และจําตรวนปนเปอยู่กบั พวกเหล่าผู้ร้ายในคุกแห่งเดียวกัน
พวกฝรั่งเศสและพวกเข้ ารี ดซึง่ ต้ องทรมานอยู่ในคุกนั ้นเกือบจะต้ องเปลือย
กายเพราะเครื่ องแต่งตัวเสื ้อผ้ าก็ไม่มี ต้ องไปทํางานอันหนักซึง่ เหลือ
กําลัง อาหารจะรับประทานก็ไม่มี นอกจากอาหารที่คนอื่นไปขอทาน

๒๔๔
มาให้ บ้างเท่านัน้ ๑ ลมอากาศที่หายใจเข้ าไปนัน้ ก็เปนอากาศที่เสีย
อันมาจากหนองบึง ทังอากาศในคุ
้ กนันเองก็
้ เปนอากาศที่ไม่ดีเพราะ
ในคุกนันเปนที
้ ่คบั แคบมาก และถ้ าเกิดเหตุเอะอะขึ ้นแม้ แต่เล็กน้ อย
ไทยก็ขวู่ า่ จะเอาพวกฝรั่งเศสผูกมัดไว้ ที่ปากกระบอกปื น เมื่อพวก
ฝรั่งเศสได้ ถกู ทรมานเช่นนี ้จึงได้ ล้มตายไปด้ วยป่ วยเปนไข้ เปนบิด และ
ตรอมใจตายก็มาก
ฝ่ ายสังฆราชเดอเมเตโลโปลิศกับพวกนักพรตทังปวงนั
้ นได้
้ พ้น
ออกมาจากคุกได้ โดยมีผ้ ปู ระกัน สังฆราชเดอเมเตโลโปลิศจึงได้
ขอร้ องต่อพระยาพระคลังให้ กรุณาพวกฝรั่งเศสที่ไม่ได้ เปนนักพรตบ้ าง
แต่พระยาพระคลังก็หายอมปล่อยพวกฝรั่งเศสออกจากคุกไม่ และ
พวกนี ้ก็ได้ พร้ อมกันเห็นว่า ถ้ าตายเสียจะดีกว่าติดคุกอยูเ่ ช่นนี ้
พวก
๑ พวกไทยมิได้ ให้ อาหารให้ นกั โทษรับประทานเลย และพวกเข้ ารีดอื่น ๆ ต้ อง
เปนผู้เลี ้ยงพวกนักโทษ และอาหารที่พวกเข้ ารีดเอามาเลี ้ยงนักโทษนันก็ ้ ต้องไปขอทาน
เขามาเสียซํ ้าไป แต่ถ้าไปขอทานจากพวกฮอลันดาแล้ ว พวกฮอลันดาไม่ยอมให้ ทาน
เลยเปนอันขาด
ในเรื่องนี ้มีข้อความปรากฎต่อไปว่า ท่านสังฆราชเมืองมานิลาได้ สง่ เงินมาให้
สังฆราชเดอเมเตโลโปลิศเปนเงิน ๑๐๐๐ เหรียญ และได้ สง่ เครื่องเสบียงอาหารมาให้ ด้วย
แต่เงินและของเหล่านี ้ไทยได้ จบั ไว้ หมด
เมื่อวันที่ ๑๓ เดือนธันวาคม ค.ศ. ๑๖๙๐ ( พ.ศ. ๒๒๓๓ ) มิศเตอร์ กิลเลมนาย
เรืออังกฤษได้ ไปเยี่ยมสังฆราชเดอเมเตโลโปลิศ และได้ สง่ เงินให้ แก่สงั ฆราช ๓๐ ตําลึง
ซึง่ เปนเงินที่บรรดาพ่อค้ าอังกฤษ อันได้ เข้ ามาในเมืองไทยในเวลามรสุมได้ เรี่ยไรกันให้
และกัปตันกิลเลมก็ได้ แสดงความเสียใจว่าจะให้ มากกว่านี ้ไม่ได้ จนทีส่ ดุ แขกชาวอามีเนีย
คน ๑ ชื่อ โคยาอาบาเนซ ซึง่ ได้ ชว่ ยเหลือพวกฝรั่งเศส ก็ถกู ไทยจับไป และไทยได้
กดขี่ข่มเหงอย่างเดียวกัยที่ทําพวกฝรั่งเศสเหมือนกัน

๒๔๕
ฝรั่งเศสได้ ตายเสียในคุกโดยมาก และพวกที่ยงั อยูน่ นได้ ั ้ ทนอยูจ่ นถึง
เดือนมกราคม ค.ศ.๑๖๙๑ (พ.ศ.๒๒๓๓) ไทยจึงได้ สงั่ ปล่อยให้ พ้นโทษ
การที่พระเพทราชาได้ ขึ ้นครองราชสมบัติ ก็มิได้ ทําให้ รัฐบาล
สยามพ้ นจากอํานาจของชาวต่างประเทศได้ เพราะพวกฮอลันดาซึง่
ได้ คิดอุบายและทําการทุจริ ตต่างๆเพื่อทําลายคอนซตันตินฟอลคอนลงนั ้น
ก็ได้ ตงผู
ั ้ ้ ที่เปนหัวหน้ าของกองทูตสยามให้ รับหน้ าที่แทนฟอลคอนต่อไป
และหัวหน้ าทูตสยามนี ้ถึงพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ จะได้ ทรงกรุณายกย่องสัก
ปานใดก็มิได้ เข้ ากับพวกฝรั่งเศสเลย เพราะฉนันเมื
้ ่อสิ ้นรัชกาลของ
สมเด็จพระนารายน์ผ้ ซู งึ่ ไม่ถกู กับพวกฮอลันดาแต่เปนสัมพันธมิตร์ กบั
พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสนั ้นก็มีพระเพทราชามาแทนสมเด็จพระนารายน์ต่อไป
แต่พระเพทราชานี ้ได้ แสดงพระองค์วา่ เปนศัตรูแก่ฝรั่งเศส แต่โปรด
พ่อค้ ากรุงแอมซเตอแดม บรรดาจดหมายเหตุตา่ ง ๆ ของฝรั่งเศสกล่าว
ความไม่ใคร่จะชัดเจน ว่าเจ้ าแผ่นดินสยามองค์ใหม่กบั บรรดาห้ าง
ของฮอลันดาได้ ทําการติดต่อกันอย่างไร แต่ได้ พบในบางแห่งกล่าวว่า
พระเพทราชาได้ จดั ราชทูตไปยังเจ้ าเมืองบาตาเวีย ขอความปกครอง
ของฮอลันดา และได้ สง่ ของต่าง ๆ ไปพระราชทานเจ้ าเมืองบาตาเวีย
ด้ วย แต่ของที่พระเพทราชาส่งไปพระราชทานคราวนี ้ โดยมากเปนของ
ที่พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ได้ สง่ มาถวายต่อสมเด็จพระนารายน์นนเองและได้ั้
ทราบกันต่อไปว่าไทยมิได้ ขม่ เหงแต่พวกชาติฝรั่งเศสซึง่ ยังตกค้ างอยูใ่ น
เมืองไทยแต่ชาติเดียว แต่ชนชาติอื่น ๆ ก็ได้ ถกู บีบคันข่ ้ มเหงจากไทย
เหมือนกัน และยิ่งพวกชาติปอตุเกตแล้ วได้ ถกู ไทยข่มเหงรังแกยิ่ง

๒๔๖
กว่าชนชาติอื่น ๆ ทังหมด ้ แต่สว่ นพวกฮอลันดานันมี
้ หน้ ามีตาเจ้ านาย
และข้ าราชการไทยเชื่อถือมากแต่พวกฮอลันดาจะทําเอะอะไม่ได้ เหมือน
กัน ต้ องอยูใ่ นความบังคับบัญชาของไทย มีคนเล่ากันว่า ผู้จดั การห้ าง
ฮอลันดาคน ๑ ทําการไม่ถกู พระไทยพระเจ้ าแผ่นดิน ไทยก็บงั คับให้
ฮอลันดาส่งคนมาเปลี่ยนใหม่เสียทีเดียว
พระเพทราชาได้ ครองราชสมบัติด้วยใช้ อํานาจกดขี่ให้ คนกลัวเช่น
ได้ เกลี ้ยกล่อมให้ เปนพรรคพวกในชันเดิ ้ มนัน้ ต้ องถูกปรับก็มี ถูกริบ
ทรัพย์สมบัติก็มี ต้ องถูกจําคุกจําตรวนและขื่อคาก็มี บางคนก็ถกู
ลงอาญาอย่างร้ ายกาจก็มีส่วนตัวพระยาพระคลังเองถึงจะได้ ทําราชการ
ดีมาสักเท่าไร ก็มิได้ พ้นอาญาพระเพทราชา แต่ได้ ถกู กริว้ และ
ถูกจําคุกด้ วย พวกราษฎรพลเมืองเล่าก็ถกู พระเพทราชาบีบคันอย่ ้ าง
แสนสาหัศ ครัน้ ได้ เกิดการจลาจลขึ ้นที่เมืองนครศรี ธรรมราชและเมือง
ตะนาวศรี พระเพทราชาก็ปราบด้ วยโลหิต เพราะฉนันพวกไทยจึ ้ ง
พากันเกลียดผู้ที่ชิงราชสมบัตนิ กั และต่างคนก็ตา่ งคิดอยากจะให้ เกิด
ขบถขึ ้นอีกสักครัง้ ๑ พวกพระสงฆ์จงึ เกิดลือขึ ้นอันเปนเรื่ องไม่จริงว่า
ไม่ช้าจะได้ มีผ้ มู าช่วยดับทุกข์ให้ มีสขุ ต่อไป ข่าวอันนี ้พวกไทยได้ ทราบ
ก็พากันยินดีนกั และเชื่อว่าจะเปนจริงด้ วย๑
๑ ในจดหมายต่าง ๆ ที่มีผ้ เู ขียนบอกข่าวเรื่องเมืองไทยนัน้ ในบางฉบับมีความว่า

๒๔๗
๑๒
ข่าวเรื่ องได้ เกิดขึ ้นในเมืองไทยได้ ทราบไปถึงประเทศฝรั่งเศสเมื่อ
ปลายปี ค.ศ.๑๖๘๙ ( พ.ศ.๒๒๓๒ ) เปนเวลาที่บาดหลวงตาชาด์
กําลังเตรี ยมตัวลงเรื อที่เมืองเบรสต์ซงึ่ จะไปพร้ อมกับกองทัพเรื ออัน
มองซิเออร์ ดเู คนกีตองเปนผู้บงั คับการ ข่าวเรื่ องขบถในเมืองไทยนัน้
ได้ ทราบมาโดยพวกนายทหารฝรั่งเศส ซึง่ เปนเชลยศึกของพวกฮอลันดา
และต้ องขังอยูท่ ี่เมืองมีเดลเบิก ได้ มีหนังสือบอกมา แต่ขา่ วเรื่ องนี ้
เมื่อได้ ทราบถึงฝรั่งเศสแล้ วก็หาได้ แพร่หลายไม่ ข้ อนี ้พยานพอให้ เห็น
ได้ วา่ รัฐบาลได้ ปิดความมิได้ บอกให้ ใครทราบถึงเรื่ องนี ้ เพราะเหตุวา่ ผู้
แต่งจดหมายเหตุแลแต่งพงศาวดารในสมัยนัน้ มิได้ กล่าวถึงความ
เรื่ องนี ้เลย จนที่สดุ มองซิเออร์ ดงั โยซึง่ เปนคนสําคัญ สําหรับแต่ง
เรื่ องพงศาวดารก็มิได้ กล่าวในเรื่ องนี ้เหมือนกัน ซึง่ เปนพยานให้ เห็น
พวกราษฎรพลเมืองไทยพากันบ่นว่าได้ รับความเดือดร้ อนจากรัฐบาลมาก และพากันบ่น
ถึงความยากจน โดยมากออกจะเสียใจที่พวกฝรั่งเศสได้ ไปเสียจากเมืองไทย เพราะ
เมื่อพวกฝรั่งเศสอยูใ่ นเมืองไทย เงินทองไหลไปเทมา และมาในบัดนี ้ไม่ใคร่จะได้
เห็นเงินกันเสียแล้ ว
ในจดหมายบางฉบับมีความว่าได้ เกิดเสียงลือขึ ้นว่าสมเด็จพระอนุชาของสมเด็จพระ
นารายน์องค์ ๑ หาได้ สิ ้นพระชนม์ไม่ แต่ได้ มีคนอื่นถูกฆ่าแทนพระอนุชาองค์นี ้ จึงมีเสียง
ลือกันต่อไปว่า เจ้ าองค์นี ้และจะได้ มาขับไล่ผ้ ชู ิงราชสมบัติให้ ออกจากราชสมบัติตอ่ ไป
และข่าวอันนี ้พวกพระสงฆ์ก็รับรองว่าเปนข่าวที่จริงด้ วย

๒๔๘
ได้ วา่ ฝรั่งเศสปิ ดความ มิให้ มหาชนได้ ทราบในความที่ฝรั่งเศสต้ อง
ออกจากเมืองไทย เพราะฉนันการที ้ ่ฝรั่งเศสคิดจะส่งทหารออกไปยัง
เมืองไทยอีกนันจึ ้ งต้ องงด และกองทัพเรื อซึง่ เตรี ยมจะไปเมืองไทย
นันก็
้ ได้ รับคําสัง่ ให้ ไปที่อื่นต่อไป
ฝ่ ายบาดหลวงตาชาด์นนเมื ั ้ ่อได้ ทราบเรื่ องที่เกิดขบถขึ ้นใน
เมืองไทยก้ ได้ ทําความตกลงในใจของตัวโดยเร็วที่สดุ และได้ มาบอก
กับข้ าราชการไทยว่าพระนามของพระเจ้ าแผ่นดินสยามองค์ใหม่
บาดหลวงตาชาด์ได้ ทราบมาจากกรุงโรมแล้ ว พอข้ าราชการไทยได้
ทราบว่าใครเปนพระเจ้ าแผ่นดินสยามขึ ้นก็เลยสิ ้นวิตก ในขณะนัน้
บาดหลวงตาชาด์ก็จําขึ ้นมาได้ โดยทันทีวา่ พระเพทราชามีพระราชบุตร์ อ
ยูอ่ งค์ ๑ “ซึง่ เปนคนเฉลียวฉลาด มีสติปัญญาไหวพริบ กล้ าหาญว่วง
ไว ชอบในวิชาเลข และรักชอบพวกบาดหลวงคณะเยซวิต เพราะ
นับถือว่าพวกเยซวิตเปนผู้ที่มีความรู้มาก” ข้ าราชการไทยผู้ ๑ จึงได้
รับรองต่อบาดหลวงตาชาด์ว่า พระราชบุตร์ ของพระเพทราชาคงจะ
เข้ าเปนพรรคพวกโดยง่าย และคงจะชอบพวกฝรั่งเศสเปนแน่
ข้ าราชการไทยอีกคน ๑ นันก็ ้ มีน้องสาวซึง่ เปนภรรยาของหลานพระ
เพทราชา เพราะฉนันพอจะเชื ้ ่อในนํ ้าพระไทยอันดีของพระเพทราชา
ได้ “เพราะเหตุว่าพระเพทราชาได้ นบั ถือสาสนาคริ ศเตียนอยูแ่ ล้ ว
และได้ สญ ั ญาไว้ กบั ข้ าพเจ้ า
๒๔๙
(คือบาดหลวงตาชาด์) ว่าจะได้ ทรงปฏิบตั กิ ารทุกอย่างอันเปนหน้ าที่ ของ
คนที่เข้ ารี ดและคนที่รักชอบพวกฝรั่งเศสด้ วยนํ ้าใสใจจริงด้ วย”
การที่บาดหลวงตาชาด์กล้ าไว้ วางใจในพระเพทราชาเช่นนี ้กระทํา
ให้ บาดหลวงเยซวิตผู้นี ้คิดการใหญ่โตและมิได้ เชื่อฟั งใครเลย การที่
มองซิเออร์ คอนซตันซ์ได้ ถึงแก่กรรมไปแล้ วนัน้ บาดหลวงตาชาด์
ก็แสดงความเศร้ าโศกเสียใจพอเปนกิริยาไม่ให้ คนติเตียนได้ และเพื่อ
ไม่ให้ เสียความมุง่ หมายไว้ เท่านัน้ ในเรื่ องต่าง ๆ ซึง่ เกิดขึ ้นที่
เมืองไทยนัน้ บาดหลวงตาชาด์พดู เปนทีวา่ เปนเรื่ องเล็กน้ อยเท่านัน้
และใช้ คําว่า “เปนเรื่ องน่าเสียใจ” แต่บาดหลวงตาชาด์กบั
ข้ าราชการไทยได้ พร้ อมกันมีความเสียใจ ในข้ อที่ไพร่ฟ้าข้ าแผ่นดิน
ของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส ได้ รับความเดือดร้ อนในเมืองไทย และ
พร้ อมกันเห็นว่า
“คงจะมีชาวฝรั่งเศสบางคนได้ ทําการไม่ดี หรื อคิดการอันไม่
สมควร จึงเปนเหตุทําให้ พระเจ้ ากรุงสยามต้ องรบพวกฝรั่งเศส
และต้ องไล่พวกนี ้ให้ ออกไปพ้ นพระราชอาณาเขตร์ ”
ในเวลานันบาดหลวงตาชาด์
้ มงุ่ อยูส่ ิ่งเดียวเท่านัน้ คือจะเอาใจ
ข้ าราชการไทยไว้ มิให้ แตกร้ าวกันได้ ส่วนการอื่น ๆ จะเปนอย่างไร
บาดหลวงตาชาด์มิได้ เหลียวแลเลย เช่นชนชาวฝรั่งเศสหรื อชนที่
๓๒
๒๕๐
เปนสัมพันธมิตร์ กบั ฝรั่งเศสได้ ถกู กระทําร้ าย หรื อเรื่ องทหารฝรั่งเศส
ได้ ไปพ่ายแพ้ ไทย หรื อเรื่ องอํานาจและสิทธิของฝรั่งเศสได้ สญ ู หายไป
หรื อเรื่ องพระเกียรติยศของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ได้ เสื่อมเสียไป อัน
ล้ วนแต่ปนเรื่ องที่ศตั รูของฝรั่งเศสได้ เห็นปรากฎแก่ตา และได้ ชว่ ยให้
เปนดังนี ้ด้ วยนัน้ เปนเรื่ องที่บาดหลวงตาชาด์มิได้ ระฦกถึงเลย
บาดหลวงตาชาด์จงึ ได้ อธิบายชี ้แจงให้ ข้าราชการไทยฟั ง ว่าถ้ า
ข้ าราชการไทยได้ ชว่ ยอุดหนุน ให้ บาดหลวงตาชาด์ได้ กลับไปยังกรุง
ศรี อยุธยาอีกจะเปนคุณประโยชน์สกั ปานใด เพราะมิชันนารี นนั ้
เปนผู้ที่รอบรู้การงานทังปวง้ มิได้ ทําธุระอย่างอื่นนอกจากทําการของ
พระผู้เปนเจ้ าและผู้เอาใจใส่ในการศึกษาเล่าเรี ยน และเปนผู้ที่ชน
ชาติฝรั่งเศส อิตาลีและชนในทวีปยุโหรปทัว่ ไปนับถือมากยิ่งกว่าชน
ชาวอินเดียและจีนแต่ถึงดังนันพระเจ้
้ ากรุงจีนก็ได้ นบั ถือรับรองพวกมิชนั
นารี อยู่แล้ ว อีกประการ ๑ การที่พวกมิชนั นารี ได้ อสุ ่าห์พยายามไปเมือง
อินเดียและเมืองไทยนัน้ ก็มิได้ มงุ่ หมายอย่างใดนอกจากจะให้ คนทัง้
ปวงรู้จกั พระผู้เปนเจ้ าให้ มากขึ ้น และส่วนวิชาความรู้ของพวกมิชนั
นารี นนั ้ พวก มิชนั นารี ก็ตงใจไปสั
ั้ ง่ สอนให้ ประเทศทังปวงได้
้ มีวิชา
ความรู้ขึ ้น แล้ วบาดหลวงตาชาด์จงึ ได้ ชี ้แจงต่อไปว่า ขอให้
ข้ าราชการไทยได้ ระฦกถึงความรักใคร่ซงึ่ บาดหลวงตาชาด์ได้ แสดงต่อ
ข้ าราชการไทยอยูเ่ สมอๆ และในเรื่ องที่ได้ เกิดเหตุขึ ้นในเมืองไทยนัน้
บาดหลวงตาชาด์ได้ มีความเสียใจอย่างยิ่ง ต่อได้ ทราบว่าบรรดา
ข้ าราชการชันผู้ ้ ใหญ่ในเมืองไทยและอาณาประชาราษฎรทัว่ ไปได้ ยอม
ยกให้ “เจ้ าผู้ทรงพระ
๒๕๑
ปรี ชาญาณแลทรงหวังดีตอ่ ไพร่ฟ้าข้ าแผ่นดินสยาม๑ ได้ ครองราชสมบัติ
ต่อไป บาดหลวงตาชาด์จงึ ได้ คลายความเศร้ าโศกเสียใจ ตังแต่ ้
นันมาบาดหลวงตาชาด์
้ ก็ได้ เตรี ยมตัวที่จะทําการฉลองพระเดชพระคุณ
สมเด็จพระเจ้ าแผ่นดินองค์ใหม่ ด้ วยความจงรักภักดีและความซื่อสัตย์
เท่ากับที่ได้ เคยฉลองพระเดชพระคุณสมเด็จพระเจ้ าแผ่นดินองค์ก่อน
มาแล้ ว เพราะบาดหลวงตาชาด์ทราบอยูเ่ ต็มใจว่า “การทังปวง ้
จะเปนไปได้ ก็ด้วยความเห็นชอบของพระผู้เปนเจ้ า โดยเหตุที่พระผู้เปน
เจ้ าเอาใจใส่นกั ในเรื่ องความเจริญของเจ้ าทังปวง” ้
ข้ อความตามที่บาดหลวงตาชาด์ได้ กล่าวอธิบายเช่นนี ้ ต้ อง
เข้ าใจว่าพูดแต่ปาก แต่ใจหาตรงตามคําที่พดู ไม่ เพราะฉนัน้
บาดหลวงตาชาด์จงึ ได้ กล่าวแสดงต่อไปว่า
“พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสประทับอยูใ๋ นที่ไกล จะทรงทราบล่วงหน้ า
ไม่ได้ ว่าจะเกิดเหตุขึ ้นเช่นนี ้ ถ้ าได้ ทรงทราบล่วงหน้ า ก็คง
จะไม่ทรงยอมให้ นายพลผู้บงั คับการ และนายทหารได้ ส้ รู บทํา
สงครามกับพระเจ้ าแผ่นดินพระองค์ใหม่ โดยมิได้ รับคําสัง่
เสียก่อน เพราะการที่ได้ ส้ รู บกับพระเจ้ าแผ่นดินองค์ใหม่นนั ้ เป
นสิ่งที่ไม่ต้องด้ วยพระราชดําริห์ของพระองค์ แต่คงจะได้ มี
พระราชดํารัสสัง่ ให้ นายทหารฝรั่งเศส ไปอาสารับฉลองพระเดช
พระคุณพระเจ้ าแผ่นดินองค์ใหม่ พร้ อมทังพวกฝรั ้ ่งเศสทุก ๆ
คนที่อยูใ่ นบังคับบัญชาของนายทหารเหล่านัน” ้ ๑
๑ ข้ อความที่ได้ กล่าวมานี ้ได้ คดั มาจากบาดหลวงตาชาด์ลงวันที่ ๒๘ เดือน
พฤศจิกายน ค.ศ. ๑๖๘๙ ( พ.ศ.๒๒๓๒ ) ในเวลาทีบ่ าดหลวงตาชาด์ได้ พดู จาชี ้แจงใน
๒๕๒
บาดหลวงตาชาด์จงึ ได้ มีจดหมายไปถึง มองซิเออร์ เดอเซงแล
เพื่อขอคําสัง่ ต่อไป ในจดหมายฉบับนี ้บาดหลวงตาชาด์กลายเปนโจทย์
กล่าวโทษผู้อื่น ในสํานวนที่กล่าวหานัน้ มิได้ มีใจเผื่อแผ่ลดหย่อนให้
ผู้ใดเลย และได้ ใช้ คําอย่างแรงสําหรับระบุผ้ ทู ี่เปนต้ นเหตุในการขบถ
ในเมืองไทย โดยหาว่า
“การขบถคราวนี ้ เกิดจากการอิจฉาฤษยา ความโกรธแค้ น และ
โทษะต่าง ๆ อันไม่สมควรแก่ผ้ ทู ี่ยอมตัวทําการให้ พระผู้เปนเจ้ า
เลย”
แล้ วบาดหลวงตาชาด์ก็โทษคนเหล่านี ้ว่าเปนต้ นเหตุ ที่ได้ เกิด
เรื่ องขึ ้นโดยใช้ คําว่า
“ความจริง ท่านเหล่านี ้ก็ตงใจดี
ั ้ ทกุ คน แต่เหตุที่จะต้ องการให้
เรื่ องของตัวเปนผลสําเร็จนัน้ จึงทําให้ ขาดความระวังระไว และ
ขาดความรอบคอบทังยอมให้
้ การทังปวงได้
้ ฉิบหายเสียไปดีกว่า
ที่จะยอมละเว้ นอํานาจแลสิทธิของตัว”
ที่บาดหลวงตาชาด์กล่าวดังนี ้ก็เปนอันเข้ าใจได้ วา่ มุง่ ถึงมอง
ซิเออร์ ลาลูแบร์ และพวกสังฆราชของคณะบาดหลวงฝ่ ายต่างประเทศ
เรื่องนี ้ ก็ได้ เอาพวกนักเรียนไทยซึง่ ไปเล่าเรียนอยูท่ ี่กรุงปารีส มาอ้ างเปนพยาน โดยยก
เหตุผลอธิบายว่า ในชันแรกข้ ้ าพเจ้ าได้ สงั่ สอนพวกนักเรียนให้ ร้ ูจกั ระเบียบต่าง ๆ อย่างดี
แล้ วข้ าพเจ้ าจึงได้ นํานักเรียนไทยไปไว้ ที่โรงเรียนในกรุงปารีส ซึ่งพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสได้
สร้ างไว้ เพราะโรงเรียนล้ วนแต่มีบตุ ร์ หลานของข้ าราชการผู้ใหญ่และของเจ้ านายใน
ประเทศฝรั่งเศสและทวีปยุโหรปทัว่ ไป ไปเรียนอยูท่ งสิ
ั ้ ้น ( โรงเรียนที่บาดหลวงตาชาด์
อ้ างนี ้ คือมหาวิทยาลัย หลุยเลอกรัง ซึ่งแต่เดิมเรียกกันว่า มหาวิทยาลัยเดอแคลรอง )
๒๕๓
และบาดหลวงตาชาด์ก็ออกตัวว่า ที่ได้ กล่าวความในใจออกมาเช่นนี ้
ก็มิได้ มงุ่ หมายจะกล่าวโทษ ถึงข้ ออยุตธิ รรมต่าง ๆ ที่ได้ เปนไปแล้ ว
แต่ประสงค์จะป้องกันมิให้ เปนเช่นนี ้ ในภายหน้ าอีกเท่านัน้
ถึงแม้ ว่าบาดหลวงตาชาด์จะหมดหน้ าที่และตําแหน่งในทางราช
การแล้ วก็ดี แต่ก็คงยังตังใจจะกลั้ บไปเมืองไทยอีก และจะพยายาม
คิดอ่านประจบประแจงให้ พระเจ้ าแผ่นดินรัชกาลปั ตยุบนั ได้ โปรดปรานให้
จงได้ มองซิเออร์ เดคลูโซผู้เปนหัวหน้ าอยูท่ ี่เมืองเบรสต์ ได้ บอกให้
บาดหลวงตาชาด์คืนของต่าง ๆ เสีย คือ เหรี ยญ ๓๐ อัน ซึง่ พระเจ้ า
กรุงฝรั่งเศสได้ พระราชทานให้ แก่พวกบาดหลวงเยซวิต สําหรับติดตัว
ไปเมืองไทย แต่มาบัดนี ้หมดความจําเปนที่จะต้ องใช้ ของเหล่านี ้แล้ ว
บาดหลวงตาชาด์ก็ไม่ยอมคืนของให้ โดยอ้ างถึงกาลภายหน้ าที่ตวั คิด
จะไปทํา และซึง่ ตัวหวังว่าจะสําเร็จ และกล่าวต่อไปว่า
“ของเหล่านี ้ข้ าพเจ้ าจะต้ องการใช้ โดยจําเปนยิ่งกว่าแต่ก่อนเสีย
อีกเพราะจะได้ เอาไว้ เปนหนทางที่จะเข้ าหาพวกข้ าราชการไทยได้
เพราะเวลานี ้ในเมืองไทยหามีผ้ ใู ดที่จะเอาใจใส่ในกิจการของพวก
เราไม่”
ฝ่ ายบาดหลวงเดอลาเชซกับหัวหน้ าของโรงเรี ยนคณะบาดหลวง
ฝ่ ายการต่างประเทศ ก็ได้ กราบทูลขอร้ องอย่าให้ พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔
สัง่ การอย่างใด อันจะทําให้ พระราชไมตรี ในระหว่างประเทศฝรั่งเศส
และประเทศสยาม ซึง่ จวนจะขาดอยูแ่ ล้ ว ได้ ขาดหลุดลอยไปได้
๒๕๔
การที่จะไต่สวนและสืบสวนในเรื่ องเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นในเมืองไทย
ก็เปนอันงดรอกันอยู่ และข้ อความที่พวกฝรั่งเศสได้ เล่าก็เปนความ
แตกต่างกันมิได้ ตรงกันเลย เพราะฉนันเมื ้ ่อมาพิเคราะห์ตามคําบอก
เล่าของพวกนี ้แล้ ว ก็ดเู หมือนว่าการที่พระเพทราชาได้ ชิงราชสมบัติ
นันจะไม่
้ เปนการผิดอะไร และการที่เกิดขบถในเมืองไทย เมื่อปี
ค.ศ.๑๖๘๘ (พ.ศ.๒๒๓๑ ) ก็กลายเปนเรื่ องที่ถกู ต้ องตามความยุตธิ รรม
กองทัพเรื อฝรั่งเศส ซึง่ ได้ รวบรวมอยูท่ ี่เมืองปอตหลุยและ
เมืองเบรสต์นนั ้ อยูใ่ นความบังคับบัญชาของมองซิเออร์ ดเู คนกีตอง
และเรื อเหล่านี ้ได้ บรรทุกไปประเทศอินเดีย ๑๗๐๐ คน ในจํานวนนี ้
มิได้ นบั คนที่โดยสานไปด้ วย ซึง่ มีทงพ่
ั ้ อค้ าและผู้แทนของบริ ษัททัง้
บาดหลวงมิชนั นารี และชาวต่างประเทศอีกหลายคนอันรวมกันไป ถ้ า
จะว่าไปก็สําหรับไปทําสงครามครึ่งหนึง่ สําหรับไปค้ าขายครัง้ หนึง่
กองทัพเรื อที่จดั ไปคราวนี ้ บริษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดียเปนผู้ออกค่า
โสหุ้ย แต่อยูใ่ นความปกครองปื นใหญ่ ของพระเจ้ าแผ่นดินฝรั่งเศส
ความมุง่ หมายที่จดั กองทัพเรื อไปนัน้ ก็คดิ จะไปต่อสู้กบั อังกฤษ ตาม
คําแนะนําของมองซิเออร์ มาแตง และให้ ไปทําการสมทบกับพระ
เจ้ าโมกูลด้ วย
กองทัพเรื อที่ไปคราวนี ้มีเรื อ ๖ ลํา คือ ลัวโซ ๑ เรื อเลอลียอง ๑
เรื อเลอครากอง๑ เรื อเลอฟลอริซงั ๑ เรื อเลเกย๑ และเรื อเลอกายยาด์๑
เรื อเลอกายยาด์นนเปนเรื
ั้ อแม่ทพั และผู้ที่โดยสานไปกับเรื อลํานี ้คือ
บาดหลวงตาชาด์๑ เลขานุการของบาดหลวงตาชาด์๑ ข้ าราชการไทย
ซึง่ ตกค้ างอยูใ่ นเมืองฝรั่งเศส ๓ คน และข้ าราชการไทยทัง้ ๓ นี ้ก็มิได้ ถกู

๒๕๕
ฝรั่งเศสตัดพ้ อต่อว่าเลย เมื่อบาดหลวงตาชาด์ได้ ขึ ้นไปบนเรื อแล้ วก็ได้
ทําการตามหน้ าที่ของตัว คือได้ กํากับสัง่ สอนคนในเรื อทังสอนข้
้ อที่เกี่ยว
ด้ วยสาสนาและสอนวิชาด้ วย เมื่อเรื อได้ แล่นออกไปอยู่กลางทะเลแล้ ว
บาดหลวงตาชาด์ก็ได้ ทํานายว่าจะมีจนั ทรคาธ และได้ เรี ยกพวกกลาสี
มาอธิบายถึงเรื่ องจันทรคาธ แล้ วได้ บงั คับให้ พวกกลาสีทําพิธีตามนักขัต
ฤกษ์ เซอแมนแซนต์ ถูกต้ องตามแบบแผนทุกอย่าง แต่ถึงดังนัน้
การเดินทางคราวนี ้จะเรี ยกว่าเดินทางอย่างสดวกไม่ได้ เพราะในเวลา
นันฝรั
้ ่งเศสกําลังทําสงครามกับอังกฤษและฮอลันดา และปื นใหญ่ ๒๒๐
กระบอกซึง่ มีอยูใ่ นกองทัพเรื อ ก็ต้องลัน่ ออกไปหลายครัง้ ในระหว่าง
ที่เดินทางอยูน่ นกองทั
ั้ พเรื อฝรั่งเศส ได้ จบั เรื ออังกฤษและฮอลันดาไว้
หลายลํา บางลําฝรั่งเศสจับได้ แล้ วก็เอาไปเผาเสีย เมื่อกองทัพเรื อ
ฝรั่งเศสได้ ไปถึงหน้ าเมืองมัทราฐ ได้ ไปพบกองทัพเรื อข้ าศึกอันมี
จํานวนมากกว่าถึงสองเท่า กองทัพเรื อฝรั่งเศสได้ ทําสงครามรบกับ
กองทัพเรื อข้ าศึกอย่างสามารถ จนกองทัพเรื อข้ าศึกต้ องถอยหนีไป
มองซิเออร์ ดเู คนกีตองผู้บงั คับการกองทัพเรื อนันได้
้ ไปแวะที่เกาะลังกา
ที่เมืองปอนดีเชรี ที่เมืองฮูกลี และเมืองบาลาซอร์ และได้ พยายาม
นักหนาที่จะนํากองทัพเรื อไปถึงเมืองมริดให้ ได้ แต่ก็หาได้ ไปถึงไม่
ด้ วยเหตุหลายประการ คือในชันต้ ้ นได้ ถกู พายุอย่างร้ ายแรงจนเรื อได้
กระจายพลัดพรากจากกัน แล้ วก็เกิดความไข้ เจ็บขึ ้นในเรื อจนผู้คนได้
ล้ มตายไปเปนอันมาก และลงท้ ายที่สดุ เสบียงอาหารในเรื อก็จวนจะ
ขาดมือ จนถึงกับต้ องจํากัดอาหารให้ คนที่ไม่ป่วยรับประทานแล้ ว บาด

๒๕๖
หลวงตาชาด์ได้ ทําการเหน็จเหนื่อยตังแต่ ้ เช้ าจนกลางคืน เยี่ยมคนนี ้บ้ าง
พยาบาลคนโน้ นบ้ าง ล้ างบาปให้ คนที่จะตายบ้ าง แล้ วได้ เปนธุระ
ขอร้ องเก็บอาหารอย่างดีๆไว้ สําหรับให้ แต่เฉภาะคนป่ วยรับประทาน
เท่านัน้ เมื่อการเปนอยู่ดงั นี ้ก็พอจะเห็นได้ ว่าความอัตคัดยากจนของ
กองทัพเรื อที่มาคราวนี ้จะมีสกั เพียงใด และในที่สดุ ถึงกับต้ องใช้ ไก่
เพียงวันละ ๒ตัวต้ มไปกับนํ ้า๓ถังสําหรับต้ มสุปให้ คนป่ วยรับประทาน
ซึง่ มีจํานวนถึง ๘๐ คน
ฝ่ ายบาดหลวงตาชาด์ ได้ เปนธุระเอื ้อเฟื อ้ แก่ข้าราชการไทยทุก
ประการ เพราะกาลข้ างหน้ าจะดีร้ายประการใดก็ต้องยึดข้ าราชการไทย
ไว้ เปนหลัก การพยายามของบาดหลวงตาชาด์ในข้ อที่เกี่ยวด้ วยสาสนา
นันก็้ ได้ มีผลอย่างดีที่สดุ อยูแ่ ล้ ว เพราะข้ าราชการไทยได้ ยอมรับนํ ้ามนต์
เข้ ารี ดก่อนที่ได้ ออกจากเมืองเบรสต์ถึง ๒ คนอีกคน ๑ นันได้ ้ ถึงแก่กรรม
เสียกลางทาง แต่ก่อนที่จะตายนันบาดหลวงตาชาด์ ้ ก็ได้ ทําพิธีตามลัทธิ
โรมันคาธอลิก ซึง่ ทําให้ แก่คนที่จะตายนันทุ ้ กอย่าง และบาดหลวง
ตาชาด์ได้ ขออนุญาตให้ ทําพิธีฝังศพบนดาดฟ้าเรื อ และเมื่อจะทิ ้งศพลง
ไปในทะเลนัน้ ก็ได้ ยิงปื นใหญ่ให้ เปนเกียรติยศ ข้ าราชการไทย
ที่ยงั เหลืออยูอ่ ีก ๒ คนนันได้ ้ อยู่อย่างปรกติสบายดี และเมื่อเรื อรบชื่อ
กายยาด์ได้ รบกับกองทัพเรื อข้ าศึกนัน้ บาดหลวงตาชาด์กบั ข้ าราชการ
ไทยทังสองคนก็
้ ได้ ไปอยูใ่ ต้ ท้องเรื อด้ วยกันทังสามคน

ครัน้ ได้ ไปถึงเมืองบาลาซอร์ ข้ าราชการไทยได้ ขึ ้นจากเรื อรบ
ฝรั่งเศส และได้ โดยสานเรื อแขกมัวลํา ๑ ซึง่ จะเดินทางไปเมืองมริด
เมื่อข้ าราชการไทยจะจากไปนัน้ พวกฝรั่งเศสในเรื อได้ ขอร้ องให้ ข้าราช
๒๕๗
การไทยได้ ชว่ ยเหลือพวกฝรั่งเศสที่ยงั ติดคุกอยูใ่ นกรุงศรี อยุธยา และ
เมื่อจะลาบาดหลวงตาชาด์นนบาดหลวงตาชาด์ ั้ ก็เตือนขอให้ ข้าราชการ
ไทยได้ ระฦกถึงข้ อความที่ได้ สญ ั ญากันไว้ และขอให้ ระฦกถึงความเอื ้อ
เฟื อ้ ต่างๆ ของบาดหลวงตาชาด์ด้วยการที่ต้องจากกับข้ าราชการไทยนัน้
บาดหลวงตาชาด์ “ยินดีนกั หนาที่ได้ ปลดภาระอันหนักเสียได้ ” และ
เพื่อจะแสดงความนับถือไทยให้ ปรากฎขึ ้นอีก บาดหลวงตาชาด์จงึ ขอให้
ผู้บงั คับการเรื อได้ ยิงปื นใหญ่สง่ ไทยในเวลาที่ข้าราชการไทยจะออกจาก
เรื อรวม ๕ นัด การที่ได้ ยิงปื นใหญ่สง่ นันต้ ้ องนับว่าประเทศฝรั่งเศส
ได้ เผาดินปื นสําหรับเปนเกียรติยศต่อไทย อันหาประโยชน์มิได้ เลย
เมื่อต้ นเดือนมกราคม ค.ศ.๑๖๙๑ ( พ.ศ.๒๒๓๓ ) มองซิเออร์
ดูเคนกีตองได้ พาเรื อรบกลับไปยังประเทศฝรั่งเศส บาดหลวงตาชาด์
ได้ ขึ ้นบกที่เมืองปอนดีเชรี และได้ เลยอยูท่ ี่เมืองนันเอง ้ ซึง่ บาดหลวง
ตาชาด์ได้ ขึ ้นไปพ้ นเรื อนัน้ ไม่มีผ้ ใู ดได้ เสียดายเลย ถึงบาดหลวง
ตาชาด์จะได้ ทําการช่วยเหลือในเรื อสักปานใด ก็หามีผ้ ใู ดนึกเสี ยดาย
ไม่ เพราะบาดหลวงตาชาด์มีนิไสยเมื่อทําการให้ ผ้ ใู ดอย่างไร ก็ชอบ
ยกบุญยอคุณให้ ผ้ นู นรู ั ้ ้ อยูเ่ สมอ๑
๑ ข้ าพเจ้ ามิได้ คาดหมายเลยว่าการที่เราต้ องจากไปกับบาดหลวงตาชาด์จะเปนผล
เช่นนี ้ คนที่มีเความอาไลยเสียดายบาดหลวงตาชาด์นนมี ั ้ น้อยที่สดุ บางคนกลับยินดีเสียซํ ้า
และโดยมากไม่พอใจให้ บาดหลวงตาชาด์อยูบ่ นเรือเลย จนที่สดุ พวกกลาสีซงึ่ ไม่ใช่เปนคน
เลือกบุคคลเท่าไรนัก ก็ไม่มีความอาไลยเสียดายบาดหลวงตาชาด์เลยจนคนเดียว และ
บาดหลวงตาชาด์จะอยูใ่ นเรือหรือได้ ไปจากเรือแล้ ว พวกกลาสีก็ถือว่าเท่ากัน แต่ถึง
ดังนันนายเรื
้ อก็ได้ ให้ เกียรติยศต่อบาดหลวงตาชาด์ตามสมควร คือเมื่อตาชาด์จะลงจาก
เรือได้ ยิงปื นใหญ่ ๗ นัด
๒๕๘
ตั ้งแต่บาดหลวงตาชาด์ได้ ขึ ้นเมืองปอนดีเชรี แล้ วนับตั ้งแต่วนั นั ้น
เปนต้ นไป ก็มิได้ คิดมุง่ หมายอย่างใดนอกจากจะพยายามกลับไปยัง
ประเทศสยามอีกให้ จงได้ แต่เวลาที่บาดหลวงตาชาด์คิดจะกลับไป
เมืองไทยได้ เลือกเวลาไม่เหมาะ เพราะฉนันการพยายามของ

บาดหลวงตาชาด์ในชันแรกจึ ้ งหามีผลอย่างใดไม่ ด้ วยในเวลานันที ้ ่กรุง
ศรี อยุธยาไม่มีความไว้ ใจในชาวต่างประเทศเลย คําสัง่ ที่จะปล่อยให้
พวกฝรั่งเศสพ้ นโทษไปนันก็ ้ ผดั กันเรื่ อยไป อํานาจของฝรั่งเศสซึง่ มี
มากที่สดุ เมื่อครัง้ สมัยฟอลคอนนัน้ นับแต่จะร่วงโรยลดน้ อยถอยไปทุก
ๆ ปี และพวกฮอลันดาก็พยายามหาแต่ช่องโอกาศที่จะทําลายอํานาจ
ของฝรั่งเศสลงให้ หมดสิ ้นจนได้ โดยไปเที่ยวยุแหย่ตามเมืองต่าง ๆ ใน
ทะเลอินเดียให้ เกิดอิจฉาฤษยาพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ทวีมากขึ ้นกว่าเดิม
แต่มีคน ๆ ๑ ซึง่ พวกฮอลันดาเกลียดและกลัวนัก คนที่พวกฮอลันดา
เกลียดและกลัวนักนันคื ้ อ มองซิเออร์ มาแตงผู้อํานวยการบริษัท
ฝรั่งเศสที่เมืองปอนดีเชรี เพราะความพยายามความซื่อตรงและความ
โอบอ้ อมอารี ของผู้นี ้ต่อคนพื ้นเมือง ได้ กระทําให้ เมืองเล็กน้ อยอัน
ไม่มีผ้ ใู ดรู้จกั ได้ เกิดเปนบ้ านเมืองใหญ่โต และเปนเมืองหลวงของ
กอลอนีซงึ่ กําลังเดินสู่ทางเจริ ญภายใน ๒๐ ปี ๑ พวกฮอลันดาจึงได้ จดั
กองทัพเรื อ
๑ การที่เมืองปอนดีเชรีได้ เจริญขึ ้นนันโดยใช้
้ กําลังอาวุธ ในชันต้ ้ นมองซิเออร์ มา
แตงกับชาวยุโหรป ๖๐ คน ซึง่ ล้ วนแต่เปนคนไม่มีถิ่นฐานบ้ านเรือนและโดยมากได้ หนีมา
จากเกาะแซนต์ธอเมนัน้ ได้ สร้ างหมูบ่ ้ านเล็ก ๆ ขึ ้นหมู่ ๑ โดยเชร์ คนั โลดิเปนใจ
ช่วยด้ วย ภายหลังหมูบ่ ้ านเล็กนี ้ได้ กลายเปนบ้ านเมืองใหญ่โต มีตกึ ราม หางหอ
ป้อม คู ประตูหอรบพร้ อม เมื่อปี ค.ศ. ๑๖๙๓ ( พ.ศ. ๒๒๓๖ ) ฝรั่งเศสต้ องยก
เมืองปอนดีเชรีนี ้ ให้ แก่บริษัทฮอลันดา จนถึงเวลาที่กองทัพของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ได้
มีไชยชนะในทวีปยุโหรป จึงได้ บงั คับให้ พวกฮอลันดาคืนเมืองนี ้ให้ แก่ฝรั่งเศสอย่างเดิม
ตังแต่
้ นนมาพวกฮอลั
ั้ นดายังมิได้ สิ ้นอาไลยเลย แต่อยากจะได้ เมืองนี ้อยูเ่ สมอ
๒๕๙
อย่างใหญ่โตให้ มารบกับมองซิเออร์ มาแตง ในเวลานันมองซิ
้ เออร์
มาแตงต้ องต่อสู้พวกฮอลันดาด้ วยกําลังของตัวเอง เพราะบริษัทฝรั่งเศส
ได้ ฉิบหายไปกว่าครึ่งต้ นทุนที่มีอยู่ ก็ต้องทิ ้งมองซิเออร์ มาแตงมิได้
ช่วยเหลืออย่างใดเลย และส่วนรัฐบาลฝรั่งเศสนันกํ ้ าลังกังวลอยูใ่ น
ทะเลเมดีเตอเรเนียนและทะเลอังกฤษ ก็ลืมนึกถึงฝั่ งคอรอมันเด
ลจึงได้ ทอดทิ ้งมองซิเออร์ มาแตงมิได้ ชว่ ยเหลืออย่างใดเหมือนกัน เมื่อ
การเปนอยู่ดงั นี ้ มองซิเออร์ มาแตงก็ส้ พู วกฮอลันดาไม่ได้ อยูเ่ อง จึง
ต้ องทิ ้งเมืองให้ แก่ฮอลันดา มองซิเออร์ มาแตงกับชาวฝรั่งเศสที่ไป
ด้ วยกันนัน้ จึงได้ กลับมายังเมืองฝรั่งเศส ชาวฝรั่งเศสก็ได้ จดั การรับรอง
ให้ สมเกียรติยศ มองซิเออร์ มาแตงจึงไปชี ้แจงแก่ผ้ แู ทนมองซิเออร์ เดอ
เซงแล และไปอธิบายให้ ผ้ อู ํานวยการของบริษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดีย
ให้ เข้ าใจว่า เปนการสําคัญอย่างยิ่งที่จะต้ องไปตีเมืองปอนดีเชรี
กลับคืนมาให้ จงได้
ครัน้ ได้ ทําสัญญาสงบศึกที่เมืองไรซวิก เมืองปอนดีเชรี จงึ ได้
กลับตกมาเปนของฝรั่งเศสอย่างเดิม แต่พวกฮอลันดาซึง่ เข้ าใจว่าตัว
จะได้ เปนเจ้ าของเมืองนี ้ชัว่ กาลนานนัน้ ได้ บํารุงบ้ านเมืองและทําป้อมคู
ประตูหอรบใหญ่โตขึ ้นมาก รัฐบาลฝรั่งเศสจึงตังให้ ้ มองซิเออร์ มาแตง
ไปเปนผู้ปกครองเมืองปอนดเชรี และมองซิเออร์ มาแตงก็ได้ เปนผู้วา่
ราชการอยูใ่ นเมืองนี ้จนถึงวันตาย
มองซิเออร์ มาแตงได้ ไปรับเมืองปอนดีเชรี จากพวกฮอลันดาเมื่อปี
ค.ศ. ๑๖๙๘ ( พ.ศ. ๒๒๔๑ ) รัฐบาลฝรั่งเศสได้ จดั กองทัพเรื อให้ ไป
๒๖๐
ส่งกองทหารสําหรับประจําอยูใ่ นเมืองนี ้ ทังส่
้ งเครื่ องมือต่าง ๆ ดินปื น
และปื นใหญ่ไปด้ วย มองซิเออร์ มาแตงจึงได้ ก่อตึกเรื อนขึ ้นใหม่ ได้
เกลี ้ยกล่อมพวกพื ้นเมือง และได้ ปกครองพวกนี ้อย่างสุขสบายดี เมื่อ
มองซิเออร์ มาแตงได้ ถึงแก่กรรมเมื่อปี ค.ศ.๑๗๐๖ ( พ.ศ.๒๒๔๙ ) นัน้
เมืองปอนดีเชรี กลายเปนท่าเรื อที่ ๑ สําหรับการค้ าขายในเมืองอินเดีย
และมีพลเมืองถึง ๔๐,๐๐๐ คน

๑๓
การที่ประเทศฝรั่งเศสได้ พา่ ยแพ้ ในอินเดียนัน้ หาได้ ทําให้
บาดหลวงตาชาด์หมดความพยายามไม่เมื่อปี ค.ศ.๑๖๙๓ (พ.ศ.๒๒๓๖)
พวกฮอลันดาได้ ไปยึดเมืองปอนดีเชรี ไว้ บาดหลวงตาชาด์อยูไ่ ม่ได้ จงึ
ต้ องหนีจากเมืองปอนดีเชรี ไปอาไศรยอยูท่ ี่เมืองจันเดอนากอร์ แล้ ว
จึงได้ ออกจากเมืองจันเดอนากอร์ ไปเมืองมริ ด เมื่อได้ ไปถึงเมืองมริด
แล้ ว บาดหลวงตาชาด์จงึ ได้ มีจดหมายไปยังพระยาพระคลังว่า
“บาดหลวงตาชาด์ได้ กลับมาอีกแล้ ว เพื่อจะได้ มาจัดการให้
พระราชไมตรี ในระหว่างสมเด็จพระเจ้ าแผ่นดินทังสองและ

ประเทศทังสอง
้ ได้ สมานติดต่อกันอย่างเดิมต่อไป”
บาดหลวงตาชาด์ได้ ทําการอย่างไม่มีอายและคงปฏิบตั ิการต่าง ๆ
ดุจตัวยังคงเปนราชทูตอยู่ แต่ฝ่ายไทยก็หารับรองไม่ ภายหลังมา
อีก ๒ ปี คือเมื่อวันที่ ๑๙ เดือนตุลาคม ค.ศ.๑๖๙๖ ( พ.ศ.๒๒๓๙ )
บาดหลวงตาชาด์ได้ พยายามจะกลับไปเมืองไทยอีกครัง้ ๑ ในเรื่ องนี ้
บาดหลวงตาชาด์ได้ เขียนว่าดังนี ้
๒๖๑
“ศัตรูของประเทศสยามและประเทศฝรั่งเศสได้ ขดั ขวางต่อ
ความคิดของข้ าพเจ้ า แต่ถึงไทยไม่ยอมรับรองข้ าพเจ้ า ก็
หาเปนการกระทําให้ ข้าพเจ้ าท้ อถอยไม่ แต่กลับทําให้ ความรัก
และความจงรักภักดีของข้ าพเจ้ าต่อพระเจ้ ากรุงสยามผู้ทรง
อานุภาพกลับมากเพิ่มพูลยิ่งกว่าเก่าเสียอีก”
ในจดหมายที่บาดหลวงตาชาด์มีไปถึงพระยาพระคลังนันใช้
้ สาํ นวน
คล้ ายกับขู่ และได้ กล่าวอย่างมีหลักฐานมัน่ คงว่า “ไม่ช้ากองทัพเรื อ
ของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสทังหมดจะได้
้ มาถึงอยูแ่ ล้ ว” แต่ความจริง
เรื่ องกองทัพเรื อฝรั่งเศสนี ้เปนเรื่ องที่บาดหลวงตาชาด์คิดเอาเองทังสิ ้ ้น
จริงอยูบ่ าดหลวงตาชาด์ได้ คิดแก้ ไขความข้ อนี ้โดยแสดงตัวว่า “มีความ
จงรักภักดีตอ่ พระเจ้ ากรุงสยาม และมีความมุง่ หมายโดยเฉภาะที่จะ
ทําการฉลองพระเดชพระคุณเพื่อให้ พระเกียรติยศของพระเจ้ ากรุงสยาม
ได้ ทวีขึ ้น”
แต่ข้อความในจดหมายฉบับนี ้มิได้ กล่าวถึงการที่จะรับคนเข้ ารี ด
หรื อกล่าวถึงการที่จะทําให้ สาสนาแพร่หลายออกไปเลยจนคําเดียว
บาดหลวงตาชาด์กลับพูดถึงการค้ าขายของบริ ษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดีย
ว่าจะได้ จดั การให้ บริษัทได้ ทําการค้ าขายอย่างแต่ก่อน
คําตอบของพระยาพระคลังครัง้ นี ้ดูดีขึ ้นด้ วยพระยาพระคลังเชื่อ
ใจในบาดหลวงตาชาด์จงึ แสดงว่า ฝรั่งเศสได้ กระทําถูกต้ องตามแบบ
ประเพณีของฝ่ ายตวันออกแล้ ว โดยเข้ าใจว่าเรื อรบฝรั่งเศสได้ เชิญ
พระราชสาสนของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ตามเกียรติยศที่ควรจะทําทุกอย่าง
แลเข้ าใจว่าบาดหลวงตาชาด์เปนราชทูต คงจะได้ เชิญพระราชสาสน
๒๖๒
ของพระเจ้ าแผ่นดินฝรั่งเศส ถวายต่อพระเจ้ าแผ่นดินสยามตามแบบ
ประเพณีของไทยทุกประการ ในจดหมายพระยาพระคลังมีความต่อไป
ว่าดังนี ้
“ข้ าพเจ้ าได้ นําความกราบทูลให้ พระเจ้ าแผ่นดินนายของข้ าพเจ้ า
ทรงทราบว่า ท่านได้ มาถึงแล้ ว พระเจ้ ากรุ งสยามนายของ
ข้ าพเจ้ าทรงนับถือและรักใคร่สมเด็จพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสมากจึง
ได้ มีพระราชดํารัสสัง่ ให้ ข้าพเจ้ าเตรี ยมการรับพระราชสาสนตาม
แบบแผนราชประเพณีโบราณทุกประการ เพราะฉนันการที ้ ่
จะให้ พระราชไมตรี ในระหว่างพระเจ้ าแผ่นดินทังสอง ้ ได้ คงมี
และเพิ่มพูลขึ ้นนั ้น ก็ต้องยึดเอาความไหวพริบและความรอบคอบ
ของท่านเปนหลักต่อไป”
แต่พระราชสาสนของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ นัน้ เปนพระราชสาสน
เก่าที่ได้ เขียนไว้ ก่อน ๑๐ ปี มาแล้ ว คือเปนพระราชสาสนเขียนเมื่อปี
ค.ศ.๑๖๘๗ (พ.ศ.๒๒๓๐) ซึง่ พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ ส่งมาสําหรับถวายต่อ
สมเด็จพระนารายน์ พระราชสาสนฉบับนี ้เองอันเปนพระราชสาสนถวาย
สมเด็จพระนารายน์ ซึง่ บาดหลวงตาชาด์คิดจะเอามาถวายต่อพระเพท
ราชาในปี ค.ศ.๑๖๙๘ (พ.ศ.๒๒๔๑) แต่เมื่อจะดูตามสํานวนพระราช
สาสนแล้ ว ข้ อความที่ยกยอสรรเสริญกันก็ยงั ใช้ ได้ เพราะมิได้ ระบุ
เฉภาะตัวผู้ใด แต่ข้อกีดขวางอย่างสําคัญของบาดหลวงตาชาด์นนั ้ ก็คือ
เชอวาเลียเดโซเยียซึง่ เปนผู้บงั คับการกองทัพเรื อฝรั่งเศสในอ่าวเบงกอล
บาดหลวงตาชาด์ได้ ขอร้ องอ้ อนวอนหลายครัง้ หลายหน เชอวาเลียเด
๒๖๓
โซเยียจึงให้ เรื อรบลํา ๑ มีปืนใหญ่ ๕๒ กระบอก สําหรับพาบาดหลวง
ตาชาด์ไปยังเมืองไทย และให้ เชิญพระราชสาสนของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔
ไปด้ วย เพราะพระราชสาสนฉบับนี ้ กลายเปนเครื่ องรางอันสําคัญของ
บาดหลวงตาชาด์เสียแล้ ว ด้ วยบาดหลวงตาชาด์เชิญแต่พระราชสาสน
ฉบับเดียวเท่านัน้ เครื่ องราชบรรณาการอย่างใดหามีไม่ บาดหลวง
ตาชาด์จงึ ได้ มีจดหมายถึงมองซิเออร์ เฟเรอกับมองซิเออร์ โบรค์ ซึง่ เปน
มิชนั นารี ยงั อยูท่ ี่กรุงศรี อยุธยา ขอร้ องให้ คนทังสองนี ้ ้ช่วย และได้
กล่าวคําว่าดังนี ้
“ข้ าพเจ้ าเชื่อใจว่าในครัง้ นี ้ท่านคงจะได้ จดั การทุกอย่างที่จะกราบ
ทูลพระเจ้ ากรุงสยามและเรี ยนต่อท่านเสนาบดีไทยให้ ได้ จดั การ
รับรองพระราชสาสนของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส ซึง่ ข้ าพเจ้ าได้ เชิญ
มานัน้ โดยเต็มเกียรติยศทุกอย่าง”
พวกมิชนั นารี ในกรุงศรี อยุธยาได้ ชว่ ยเหลือบาดหลวงตาชาด์ทกุ
อย่าง และได้ จดั ให้ บาดหลวงตาชาด์กบั บาดหลวงเยซวิต ๒ คนและชาว
ฝรั่งเศส ๔ คนซึง่ ได้ มาพร้ อมกับบาดหลวงตาชาด์ พักในโรงเรี ยนสาม
เณร แต่บาดหลวงตาชาด์หายอมที่จะไปพักในโรงเรี ยนไม่ ฝ่ ายพระยา
พระคลังก็แกล้ งขัดขวางในการที่จะรับรองบาดหลวงตาชาด์ เปนต้ นว่า
เสบียงอาหารที่จะส่งให้ รับประทานนัน้ ไทยไม่ยอมส่งเนื ้อสัตว์อย่าง ๑
อีกอย่าง ๑ เมื่อบาดหลวงตาชาด์จะเข้ าเฝ้าจะต้ องถูกบังคับให้ นงั่ และ
เมื่อเรื อที่เชิญพระราชสาสนได้ มาถึงปากนํ ้าแล้ ว ไทยก็หาได้ ลงไปรับ
เหมือนอย่างคราวก่อนๆไม่ นอกจากนี ้ยังมีข้อขัดขวางอีกหลายพันอย่าง
แต่บาดหลวงตาชาด์ก็ยอมและอดทนเอาทุกอย่าง
๒๖๔
พระราชสาสนของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสนั ้น ได้ ถวายต่อพระเจ้ า
กรุงสยามโดยมีพิธีต่าง ๆ ตามประเพณีที่เคยกันมา และบาดหลวงตา
ชาด์ผ้ เู ปนราชทูตก็ได้ ทําการตามหน้ าที่อย่างดีที่สดุ บาดหลวงตาชาด์
ได้ พกั อยู่ที่กรุงศรี อยุธยาสามอาทิตย์ จึงได้ เชิญพระราชสาสนของพระ
เจ้ ากรุงสยามตอบพระราชสาสนของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส พระราชสาสน
ฉบับนี ้ก็ได้ เขียนด้ วยวิธีอย่างเดียวกับพระราชสาสนฉบับก่อน ๆ ๒ ฉบับ
คือได้ จารึกในแผ่นทองคําและบรรจุในหีบทองคํา๑ บาทหลวง
๑ พระราชสาสนฉบับนี ้ลงวันที่ ๒๘ เดือนมกราคม ค.ศ. ๑๖๙๙ ( พ.ศ. ๒๒๔๑ )
แต่ถ้อยคําที่ใช้ เปนถ้ อยคําสามัญหาแก่นสารไม่ได้ พระราชสาสนนันมี ้ ความว่าดังนี ้
“พระราชสาสนสมเด็จพระเจ้ ากรุงสยาม ถวายสมเด็จพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสและกรุง
นาวาร์ ผ้ ทู รงเดชานุภาพอันใหญ่ยิ่งจนถึงกับพระนามได้ เลื่องลือไปทัว่ ทวีปยุโหรป และเปนผู้
ซึง่ พระผู้เปนเจ้ าได้ โปรดให้ มีไชยชนะแก่บรรดาพระเจ้ าแผ่นดินอันเปน ราชศัตรู ข้ าพเจ้ า
ได้ ขอร้ องต่อพระผู้เปนเจ้ าผู้ปกครองการทัว่ ไปทังในโลกนี
้ ้และโลกโน้ น ขอได้ โปรดพิทกั ษ์
รักษาพระองค์และพระราชวงศ์ ขอให้ พระองค์ได้ มีอานุภาพและอํานาจยิ่งขึ ้นไป และ
ขอให้ พระองค์ได้ มีพระเกียรติยศเพิ่มพูลขึ ้น ด้ วยพระองค์ได้ ทรงระฦกถึงพระราชไมตรีที่ได้
ทรงมีไว้ กบั พระเจ้ าแผ่นดินที่เสด็จสวรรคตไปแล้ ว และมีพระราชประสงค์จะให้ พระราชไมตรี
ได้ คงมีตอ่ ไป จึงได้ โปรดให้ บาดหลวงตาชาด์เชิญพระราชสาสนมาซึง่ เราได้ รับไว้ ที่กรุงศรีอยุธยา
เมื่อณวันพุฒ แรม ๑๓ คํ่า เดือนยี่ปี ๒๒๔๒ แล้ ว ข้ อความตามพระราชสาสน ฉบับนี ้ซึง่
พระองค์ได้ โปรดให้ บาดหลวงตาชาด์เชิญมานัน้ ข้ าพเจ้ าได้ ทราบข้ อความทุกประการแล้ ว
และได้ กระทําให้ ข้าพเจ้ ามีความยินดีอย่างยิ่ง ด้ วยในพระราชสาสนฉบับนี ้ได้ แลเห็นพระ
ปรีชาญาณของพระองค์ ดุจเปนรัศมีของพระอาทิตย์และพระจันทร์ อนั ส่องแสงไปทัว่ โลก
ซึง่ เปนการสมควรแก่พระเจ้ าแผ่นดินอันทรงเดชานุภาพในฝ่ ายทิศตวันตกยิ่งนัก เพราะเปนผู้
ที่ทรงปกครองบ้ านเมืองด้ วยพระปรีชาสามารถ อันกระทําให้ ราษฎรพลเมืองมีความนิยม
ยินดีทงทํ
ั ้ าให้ พระเจ้ าแผ่นดินในโลกนี ้ได้ นิยมนับถือพระองค์ด้วย”
ไม่ต้องสงไสยเลยว่าพระราชสาสนฉบับนี ้มีจริงดังว่า เพราะมีพยานปรากฎใน
จดหมายอื่น ๆ ซึง่ มีข้อความว่าดังนี ้
๒๖๕
ตาชาด์หาได้ เชิญเครื่ องราชบรรณาการมาด้ วยไม่ เพราะเมื่อได้ เชิญ
พระราชสาสนของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสไปนั ้นก็มิได้ มีเครื่ องราชบรรณาการ
ไปเหมือนกัน แต่การที่บาดหลวงตาชาด์ได้ เชิญพระราชสาสนทัง้
ไปและมาคราวนี ้ มิได้ มีผลอย่างใดเลย การที่ไม่มีผลคราวนี ้ก็คง
จะเปนตามความเห็นของบาดหลวงตาชาด์นนเอง ั้ คือว่าไม่มีเรื อ
ฝรั่งเศสไปที่เมืองมริดและที่บางกอกเลย เพราะตามความเห็นของ
ชาวตวันออกนัน้ ประเทศใดที่มงั่ คัง่ บริ บรู ณ์กว่า และที่มีกําลัง
มากกว่าเปน
“ท่านเคาน์เดอตูลซู ได้ ให้ เชิญพระราชสาสนเขียนในแผ่นทองคําของพระเจ้ ากรุง
สยามถวายพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศส ลงวัน เดือน ปี ค.ศ. ๑๖๙๙ ( พ.ศ. ๒๒๔๒ ) ไป
ถวายไว้ ที่ทา่ นผู้สาํ เร็จราชการแผ่นดิน ซึง่ เปนพระราชสาสนที่ได้ เก็บรักษาไว้ ใน
กระทรวงทหารเรือ และคําแปลเปนภาษาฝรั่งเศสติดอยูก่ บั ต้ นฉบับด้ วย พระ
ราชสาสนฉบับนี ้ได้ จารึกในแผ่นทองคําทําด้ วยเหล็กแหลม และได้ บรรจุในหีบ
ทองคําซึง่ มีฝาทําเปนยอดแหลมอย่างแบบไทย แผ่นทองคําที่จาริกพระราชสาสน
กับหีบทองคําที่บรรจุมานันมี ้ นํ ้าหนัก ครึ่งปอนด์เศษ หีบทองดํานันได้ ้ ใส่ถงุ
ทําด้ วยแพรไหมทอง มีไหมสีแดงผูกรัด และปลายเส้ นไหมนันมี ้ ลกู ตุ้มทองคํา
๒ ลูก เส้ นไหมนี ้ร้ อยในห่วงทองคําซึง่ ติดอยูก่ บั ถุงนันรวม ้ ๑๕ ห่วง ถุงนันวาง

บนหมอนซึง่ ทําด้ วยผ้ าและแพรสีขาวและทองทังหมดนี ้ ้ได้ บรรจุในหีบลงรักแดงอย่าง
ไทย ที่มมุ หีบนันหุ ้ ้ มด้ วยแผ่นเงินอย่างบาง และมีสายโซ่เล็ก ๆ ทําด้ วยเงิน
สําหรับยึดฝาไว้ เมื่อท่านผู้สําเร็จราชการแผ่นดินได้ ทรงตรวจแล้ ว จึงได้ รับสัง่
ให้ เอาไปเก็บไว้ ในห้ องสมุดของหลวง และรับสัง่ ให้ ทา่ นบาดหลวงบินยองทําใบ
รับให้ ไว้ แก่มองซิเออร์ แคลรําโบต์ ซึ่งเปนเจ้ าพนักงานสําหรับรักษาหนังสือของ
กระทรวงทหารเรือ”
พระราชสาสนฉบับนี ้และฉบับก่อน ๆ ไม่ได้ มีอยูใ่ นหอสมุดหลวงเสียแล้ ว ไม่ทราบ
ว่าจะหายสูญไปข้ างไหน
๓๔
๒๖๖
ประเทศที่จะทําการสําเร็จได้ ดีกว่าประเทศอื่น๑ ข่าวที่ลือว่ากองทัพเรื อ
ฝรั่งเศสได้ ไปที่เมืองไทย แต่ความจริงหาได้ ไปไม่นนั ้ ได้ กระทํา
ให้ พวกไทยกลับไม่ไว้ ใจหนักขึ ้นอิก เพราะฉนันเมื ้ ่อจะพูดหรื อแนะนํา
อย่างใด ไทยจึงมีความสงไสยอยูเ่ สมอ
มองซิเออร์ โบรด์ ซึง่ เปนผู้จดั การคณะบาดหลวงในเมืองไทย
ตังแต่
้ สงั ฆราชเดอเมเตโลโปลิศได้ ถึงแก่กรรมไปแล้ วนัน้ ได้ เขียน
ข้ อความว่าดังนี ้
“พวกเราก็ยงั อยูเ่ หมือนที่เคยกันมาแต่ก่อน ไม่มีใครจะพูดถึง
เรื่ องอะไรได้ เลย พวกอันน่าเวทนาซึง่ ถูกขังอยูใ่ นพระราชวังและ
ทําการให้ แก่ราชสํานักนัน้ คงจะต้ องร้ องครางอยู่อีกนานจึงจะ
พ้ นที่คมุ ขังมาได้ ถ้ าแม้ วา่ ฝรั่งเศสจะต้ องการทําความตกลงกับ
ไทยเพื่อประโยชน์แก่สาสนาแล้ วก็จะต้ องมอบการทั ้งปวงให้ ทา่ น
ผู้อํานวยการของราชบริ ษัทฝ่ ายอินเดียจัดการจึงจะเปนผลสําเร็ จ
เพราะพวกไทยต้ องการแต่บคุ คลซึง่ จะมาเจรจาด้ วยการค้ าขายอย่าง
๑ เปนการน่าเสียดายที่เรือของพระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสมิได้ มาที่เมืองมริดดังได้ สญ ั ญา
ไว้ แต่การที่กองทัพเรือได้ ถกู เคราะห์ร้ายโดยที่เรือลําดีทสี่ ดุ ได้ แตกเสียและพวกเรือได้
ล้ มตายเกือบหมดทังสิ ้ ้น ได้ ทําให้ พวกไทยหยิ่งมากขึ ้น แต่ข้าพเจ้ าจะต้ องกล่าวว่า
พวกไทยต้ องการพวกฝรั่งเศส เพราะไทยหากําไรจากฝรั่งเศสได้ มาก แต่ก็กลัวว่าพวก
ฝรั่งเศสจะโกรธและจะมาทําการแก้ แค้ น เพราะการที่ไทยทําไว้ นนั ้ ก็เปนการสมควร
อยูท่ ี่ฝรั่งเศสจะต้ องมาแก้ แค้ น
( ข้ อความนี ้ได้ คดั จากจดหมายบาดหลวงตาชาด์ถึงมองซิเออร์ ปองชาตแรง เขียน
จากเมืองมาตีนิก และลงวันที่ ๘ เดือนมีนาคม ค.ศ. ๑๗๐๐ ( พ.ศ. ๒๒๔๒ )
๒๖๗
เดียวเท่านัน้ ถ้ าหากว่าบาดหลวงตาชาด์จะกลับมาเมืองไทย
แต่ตวั คนเดียวอีกแล้ ว ข้ าพเจ้ าไม่เชื่อเลยว่าการทังปวงจะดี
้ กว่า
นี ้ขึ ้นได้ การก็คงจะไม่สําเร็จ และก็จะต้ องตังต้
้ นกันใหม่รํ่าไป”
ตามข้ อความข้ างท้ ายนี ้ก็พอจะเห็นได้ วา่ พวกมิชนั นารี และพวก
เยซวิตก็ยงั คงแตกคณะกันอยู่ และบาดหลวงตาชาด์มิได้ จดั การ
อย่างไรให้ สองจําพวกนี ้ได้ ปรองดองกันเลย
บาดหลวงตาชาด์หาได้ กลับมายังเมืองไทยอีกไม่ แต่ถึงดังนัน้
ก็มิได้ วายที่จะหวังจะกลับมาอีก พอบาดหลวงตาชาด์ได้ กลับไปถึง
ฝรั่งเศส ก็ได้ รีบทํารายงานอันยืดยาวยื่นต่อเสนาบดีกระทรวงทหารเรื อ
ชี ้แจงว่าการที่ฝรั่งเศสจะไปตังอยู้ ท่ ี่เมืองมริด และเมืองตะนาวศรี นนเป ั้
นเรื่ องที่สําคัญอย่างยิ่ง และบาดหลวงตาชาด์ผ้ ทู ี่เคยเปนราชทูตก็หวัง
ใจว่าเจ้ าพนักงานฝรั่งเศสก็คงจะเห็นชอบตามความเห็นของตัว แต่ถึง
จะอย่างไรก็ตามบาดหลวงตาชาด์ก็ได้ อธิบายชี ้แจงให้ เห็นว่า ตัวมี
ความรู้ชํานาญในพื ้นที่เหล่านี ้จริง คือ ได้ ชี ้แจงอย่างเลอียดว่าท่าเรื อ
เมืองมริดจะเปนประโยชน์สําหรับเรื อที่จะไปมาได้ เพียงไร เช่นว่า การ
หาเสบียงอาหารสําหรับใช้ ในเรื อการซ่อมแซมเรื อ เรื อจะเข้ าออกได้
โดยสดวก ท่าจอดเรื อก็เปนที่เหมาะ ดังนี ้เปนต้ น ในรายงานนันถึ ้ งกับ
ทําบาญชีการใช้ จา่ ย และกะเสร็จว่าจะต้ องมีพลทหารบกเท่าไร
ทหารเรื อเท่าไร จะต้ องมีเรื อกี่ลํา ปื นใหญ่กี่กระบอก จะต้ องจ่ายค่า
เงินเดือนเท่าไร ค่าอาหารการรับประทานเท่าไร จนถึงกับป้อมจะต้ อง
มีอย่างไร
๒๖๘
บาดหลวงตาชาด์กะเอาเองทังสิ ้ ้น แต่เหตุสําคัญที่บาดหลวงตาชาด์
ยกมาอ้ างในรายงานฉบับนี ้ ก็คือเรื่ องการที่เกี่ยวด้ วยสาสนา เพราะ
บาดหลวงตาชาด์ทราบอยู่ว่าเปนเรื่ องที่ต้องพระไทยของพระเจ้ าหลุยที่๑๔
ในส่วนที่พระราชวังเวอซายนั ้นก็มิได้ สละความคิดที่จะให้ ประเทศ
ฝรั่งเศสเปนใหญ่ในทางสินค้ าที่เมืองมริ ดเมื่อปี ค.ศ.๑๗๐๒ (พ.ศ.๒๒๔๕)
บาดหลวงตาชาด์ได้ กลับไปเมืองปอนดีเชรี อีก แต่ในครัง้ นี ้ดูเหมือน
รัฐบาลฝรั่งเศสไม่ได้ มอบให้ บาดหลวงตาชาด์ไปเจรจาการเมืองกับ
ประเทศสยามเลย
มองซิเออร์ เคเมอเนร์ สังฆราชเดอสุระผู้แทนมองซิเออร์ โบรด์ที่
กรุงศรี อยุธยานัน้ ได้ ทราบในพระราชดําริห์ของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ โดย
ได้ รับรายงานลับกล่าวถึงการที่ฝรั่งเศสคิดจะไปสร้ างป้อมที่เมืองมริด ๒
ป้อม และคิดจะไปตังห้ ้ างในเมืองนันด้ ้ วย สังฆราชเดอสุระจึงได้
ไปบอกให้ ราชสํานักสยามทราบถึงเรื่ องนี ้ และได้ ไปยืนยันว่าการที่
จะเปนไมตรี กบั ฝรั่งเศสนันเปนเรื
้ ่ องที่จะได้ สงบเรื่ องทังปวงต่
้ อไป พระ
ยาพระคลังได้ ชมเชยสังฆราชเดอสุระว่าเปนผู้ที่เอาใจใส่ตอ่ การงานดี
แต่ข้อที่สงั ฆราชนํามาพูดนันเปนเรื
้ ่ องไม่สมควรเลย พระยาพระ
คลังจึงยกเหตุตา่ ง ๆ มาคัดค้ าน เช่นว่า ๑ พระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ หา
ได้ มีพระราชสาสนมาไม่ ๒ ทางไปมาในระหว่างเมืองมริด และกรุง
ศรี อยุธยาเปนหนทางไกลและยากลําบากมาก ๓ ถ้ าฝรั่งเศสไปอยู่ที่
เมืองมริดแล้ ว พวกไทยฝรั่งเศสและพม่าคงจะไม่ถกู กันได้ ด้ วยเหตุ
หลายประการเหล่านี ้ พระยาพระคลังจึงเห็นว่าไม่เปนเรื่ องที่ควรจะนํา
ความ

๒๖๙
กราบทูลให้ ทรงทราบได้ ต่อนันมาไทยก็้ คดิ จะปิ ดหนทางมิให้ ฝรั่งเศส
ได้ ปรองดองกับไทยได้ อีกต่อไป พระเจ้ ากรุงสยามจึงได้ ออกประกาศ
ห้ ามมิให้ บรรดาล่ามของชนต่างประเทศ “ได้ เขียนหนีงสือในนามของ
ชาวต่างประเทศเปนอันขาด” และห้ ามมิให้ พวกล่ามได้ ยื่นหนังสือแทน
ชาวต่างประเทศ เว้ นแต่ได้ ทราบแล้ วว่าหนังสือนัน้ ๆ จะเปนที่พอใจของ
พระยาพระคลังจึงจะยื่นได้ และถ้ าล่ามคนใดฝ่ าฝื นต่อประกาศอันนี ้ก็
จะต้ องรับโทษอย่างหนัก
ภายหลังมาได้ เกิดเรื่ องอันไม่ร้ ูตวั ซึง่ กระทําให้ พวกฝรั่งเศสใน
เมืองไทยได้ มีความหวังใจขึ ้นอีก คือเมื่อปี ค.ศ.๑๗๐๓ ( พ.ศ.๒๒๔๖ )
พระเพทราชาได้ เสด็จสวรรคต พระราชบุตร์ จงึ ได้ ครองราชสมบัติ
โดยไม่มีผ้ ใู ดขัดขวางเลย พระเจ้ าแผ่นดินองค์ใหม่นี ้ได้ แสดงพระองค์
ว่า มีพระราชประสงค์จะต่อพระราชไมตรี กบั ฝรั่งเศสอันได้ ขาดมาถึง
๑๕ ปี แล้ ว จึงได้ รับสัง่ กับสังฆราชเดอซาบูลา ซึง่ พึง่ มาแทนสังฆราช
เดอสุระในพระราชประสงค์นี๑้ แต่สงั ฆราชเดอซาบูลาได้ ฟังพระกระแส
๑ เมื่อพระเจ้ าแผ่นดินพระองค์ใหม่นี ้ได้ เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัตแิ ล้ ว และพระ
อนุชาก็ยงั คงมีพระชนม์อยู่ ข้ าพเจ้ าจึงได้ ทําตามแบบอย่างของบรรดาหัวหน้ าชาวต่างประ
เทศซึง่ อยูใ่ นประเทศสยาม คือได้ ไปเฝ้าแสดงความยินดีที่พระองค์ได้ เสด็จผ่านพิภพ
พระเจ้ าแผ่นดินพระองค์ใหม่ได้ ทรงรับรองข้ าพเจ้ าอย่างดี ได้ รับสัง่ สรรเสริญชมเชย
ประเทศฝรั่งเศสและรับสัง่ ว่ามีพระราชประสงค์จะได้ ทําไมตรีติดต่อกับฝรั่งเศสอีก เพื่อ
จะได้ ให้ พอ่ ค้ าฝรั่งเศสได้ เข้ ามาทําการค้ าขายในพระราชอาณาจักร์ อย่างเดิม และจะได้
โปรดพระราชทานที่ให้ ตงห้ ั ้ างและโรงงาน ทังจะได้ ้ พระราชทานสิทธิตา่ ง ๆ ให้ แก่ฝรั่งเศส
เหมือนกับที่ได้ พระราชทานให้ แก่พวกฮอลันดาอยูแ่ ล้ ว ( ข้ อความนี ้คัดจากจดหมายสังฆ
ราชเดอซาบูลา ถึงมองซิเออร์ มาแตง เจ้ าเมืองปอนดีเชรี ลงวันที่ ๒๖ เดือน
กันยายน ค.ศ. ๑๗๐๓ ( พ.ศ. ๒๒๔๖ )
๒๗๐
แล้ วก็หาได้ รับรองอย่างใดไม่ เปนแต่กราบทูลว่าในการเรื่ องอื่นสังฆราช
เต็มใจที่จะฉลองพระเดชพระคุณ แต่ก็ไม่รับรองอย่างใด เพราะ
สังฆราชทราบอยูเ่ ต็มใจว่าถ้ อยคําเช่นนี ้เปนสิ่งที่เชื่อไม่ได้ ทังทราบอยู
้ ่
ด้ วยว่าในเวลานันในประเทศฝรั
้ ่งเศสและทวีปยุโหรปได้ เกิดการวุน่ วาย
กันต่าง ๆ แต่ถึงดังนันมองซิ
้ เออร์ หลุยเดอซิเซสังฆราชเดอซาบูลา
ก็ได้ รายงานไปยังราชสํานักฝรั่งเศส และผู้วา่ ราชการเมืองปอนดีเชรี
ให้ ทราบในพระราชดําริห์ของพระเจ้ ากรุงสยามองค์ใหม่ สังฆราช
เดอซาบูลาได้ ฝากราบงานไปกับบาดหลวงชาติอิตาเลียนคน ๑ ชื่อ
บาดหลวงนิโกลาซ์ชีมา อยูใ่ นคณะโอกุศแตง ซึง่ มาจากเมืองจีน
เพื่อจะกลับไปประเทศอิตาลี สังฆราชเดอซาบูลาได้ ฝากฝั ง
บาดหลวงอิตาเลียนคนนี ้ ซึ่งเดิมทางมีหีบปั ดเข้ าของเปนอันมาก ทัง้
ถือหนังสือเดินทางซึง่ เซ็นพระนามพระเจ้ ากรุงสยาม และเซ็นนามพระ
ยาพระคลังด้ วย๑ ตัวอย่างที่บาดหลวงตาชาด์ได้ ทําไว้ เปนสิ่งที่
สังฆราชเดอซาบูลาได้ จําไว้
๑ ในเรื่องนี ้ข้ าพเจ้ าเชื่อว่าที่ประเทศฝรั่งเศสคงจะไม่รับเอาเปนข้ อดําริห์เปนแน่เพราะ
ไทยไม่ได้ พดู เรื่องอะไรเลยนอกจากพูดเรื่องพ่อค้ าและเรือของบริษัทฝรั่งเศสเท่านัน้ และ
ความประสงค์ของไทยก็มีแต่จะต้ องการให้ ทําการค้ าขายเหมือนที่บริษัทฝรั่งเศสเคยทําอยู่
เมื่อก่อนเกิดการขบถในเมืองไทย แต่มีข้อแปลกอยูข่ ้ อเดียวเท่านันคื
้ อว่าไทยจะให้ สิทธิ
แก่ฝรั่งเศสเหมือนกับที่ได้ ให้ พวกฮอลันดาอยูแ่ ล้ ว ถ้ าความประสงค์ของไทยนี ้เปนที่
พอใจของฝรั่งเศสแล้ ว นิไสยของคณะฝรั่งเศสคงจะได้ เปลี่ยนแปลงไปมาก เพราะข้ าพเจ้ า
เชื่อว่าฝรั่งเศสจะไม่ต้องการแต่เฉภาะจะตังห้ ้ างอย่างเดียว ส่วนตัวท่านนันย่
้ อมทราบดี
๒๗๑
ในครัง้ นันมองซิ
้ เออร์ ฟรังซัวมาแตงต้ องทอดอาไลย ที่ได้ ร้ ูสกึ
ว่าเปนอันหมดโอกาศที่บริษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดียตวันออก จะได้ เปน
ใหญ่ทางฝ่ ายทะเลต่อไปได้ เพราะหมดโอกาศที่ฝรั่งเศสจะไปตังที ้ ่เมือง
มริด เมืองจันเดอนากอร์ และเมืองปอนดีเชรี แล้ ว ข้ อวิตกของสังฆราช
เดอซาบูลาก็มีมลู อยูบ่ ้ าง เพราะข้ อที่ฝรั่งเศสฝั นว่าจะได้ เปนใหญ่ในฝ่ าย
ทวีปอาเซียนันจะต้
้ องงดสงบไปนาน ด้ วยเหตุวา่ เวลานันบริ ้ ษัทฝรั่งเศส
เกือบจะหมดกําลังอยูแ่ ล้ ว การที่เปนดังนี ้ประกอบด้ วยเหตุหลายอย่าง
คือ ๑ การค้ าขายของบริษัทไม่มีผลอันใด เพราะเหตุที่ผ้ จู ดั การในกรุง
ปารี สบัญชาการในทางที่ผิด๒ต้ นทุนของบริ ษัทก็น้อยลง๓ พวกฮอลันดา
ได้ ทําให้ บริษัทเกิดความฉิบหายอันแก้ ไขไม่ได้ แล้ ว เมื่อบริษัทฝรั่งเศส
หมดกําลังที่จะทําการค้ าขายได้ เช่นนี ้ จะทิ ้งให้ ลกู จ้ างของบริษัทอดตาย
ก็ไม่ได้ บริษัทจึงได้ อนุญาตให้ พวกลูกจ้ างขายใบอนุญาตให้ แก่พวก
พ่อค้ าอื่น ๆ และพ่อค้ าเหล่านี ้ได้ รับอนุญาตไปแล้ วก็ไปทําการเอารํ่ ารวย
ได้ ในคราวนี ้พระเจ้ ากรุงฝรั่งเศสจะช่วยให้ บริษัทรอดจากความฉิบหาย
เหมือนเมื่อคราวปี ค.ศ.๑๖๘๔(พ.ศ.๒๒๒๗) ไม่ได้ แล้ ว เพราะในเวลานัน้
อยู้แล้ วว่า พระราชสํานักฝรั่งเศสและบริษัทฝรั่งเศสมีความประสงค์อย่างใดในเมืองไทย
เพราะฉนันบางที
้ ่ทา่ นจะมีความเห็นต่างกับข้ าพเจ้ าก็เปนได้ แต่ถึงจะอย่างไรก็ตาม ขอ
ท่านได้ โปรดบอกให้ ข้าพเจ้ าทราบว่าจะได้ มีเรือฝรั่งเศสมาค้ าขายในเมืองไทยบ้ าง หรือ
จะไม่มีมาเลยอย่างใด เพราะถ้ าจะไม่มีเรื อฝรั่งเศสมาแล้ ว ข้ าพเจ้ าจะได้ แจ้ งให้ ไทย
ทราบเพื่อไทยจะได้ หมดหวังในข้ อที่มงุ่ หมายจะให้ เรือฝรั่งเศสมาทําการค้ าขายในเมืองไทย
ต่อไป เพราะไทยเชื่อใจว่าเมื่อฝรั่งเศสทราบว่าไทยอยากจะเปนไมตรีด้วยแล้ ว พวก
ฝรั่งเศสในประเทศฝรั่งเศสและอินเดียก็คงจะกางแขนออกรับรองเปนแน่ ( ข้ อความนี ้
คัดจากจดหมายสังฆราชเดอซาบูลา มีไปถึงมองซิเออร์ มาแตงและมองซิเออร์ ปองชา
แดรง ลงวันที่ ๒๖ และที่ ๒๕ กันยายน ค.ศ. ๑๗๐๓ ( พ.ศ. ๒๒๔๖ )
๒๗๒
เกิดการขึ ้นหลายอย่าง คือในประเทศสเปนก็เปลี่ยนรัชกาล บรรดา
ประเทศทังหลายในทวี
้ ปยุโหรปก็รวบรวมกันจะต้ อสู้กบั ฝรั่งเศส ซึง่
กระทําให้ พระเจ้ าหลุยที่๑๔ต้ องเปนกังวลตามชายแดนเพราะพวกข้ าศึก
จะยกเข้ ามายํ่ายีอยูแ่ ล้ ว เมื่อการเปนอยู่ดงั นี ้พระเจ้ าหลุยที่๑๔จะมาทรง
พระราชดําริห์ถึงการที่จะส่งทหารไปยึดเมืองมริ ดและจะเอาเมืองไทยอยู่
ในความปกครองของฝรั่งเศสได้ อยูห่ รื อ เพราะในเวลานันพระเจ้ ้ าฟิ ลิป
ที่ ๕ พระเจ้ ากรุงสเปนผู้เปนพระนัดดาของพระองค์จะต้ องซื ้อพระมหา
มงกุฎไว้ โดยแบ่งแยกอาณาเขตร์ ให้ แก่ประเทศออศเตรี ย และต้ องยก
เมืองยีบรอลตาและเมืองมีนอกาให้ แก่องั กฤษ ทังพระเจ้ ้ าหลุยที่ ๑๔
เองก็ต้องหาหนทางที่จะสิ ้นพระชนม์โดยความผาสุก จึงต้ องยกเกาะนิว
เฟาน์แลนด์ซงึ่ เปนลูกกุญแจแห่งประเทศคานาดาให้ แก่องั กฤษด้ วย
เมื่อสิ ้นรัชกาลพระเจ้ าหลุยที่ ๑๔ แล้ ว ฝอยของการขบถใน
เมืองไทยได้ มีมาถึงประเทษฝรั่งเศสอีก คือ ดอญากูโยมาร์ เดอปี ญา
ภรรยาของคอนซตันตินฟอลคอน กับลูอีซาปาซานาภรรยาของยอช
ฟอลคอนผู้เปนบุตร์ ของฟอลคอนเสนาบดีเก่าของไทย ได้ ถวาย
เรื่ องราวต่อพระเจ้ าหลุยที่ ๑๕ ร้ องขอให้ บริษัทฝรั่งเศสฝ่ ายอินเดียได้
คืนเงินซึง่ คอนซตันตินฟอลคอนได้ จา่ ยให้ แก่บริษัท และขอให้ คืนทุนที่
คอนซตันตินฟอลคอนได้ เข้ าหุ้นกับบริษัททังขอให้ ้ ใช้ ดอกเบี ้ยให้ ด้วย ใน
เรื่ องนี ้ผู้รับทรัพย์มรกฎของฟอลคอนได้ อ้างหนังสือสัญญาที่ได้ ทํากันใน
ระหว่างมองซิเออร์ เซเบเรต์และคอนซตันตินฟอลคอนเมื่อปี ค.ศ.๑๖๘๗
(พ.ศ.๒๒๓๐) และอ้ างในข้ อที่คอนซตันตินฟอลคอนได้ เปนผู้อํานวยการ

๒๗๓
ของบริษัทผู้ ๑ ด้ วย พวกผู้อํานวยการได้ โต้ เถียงคัดค้ านในเรื่ องราว
นี ้อยูช่ ้ านาน และอ้ างว่าภรรยาของฟอลคอนผู้ตายได้ เปนคนโปรดอยู่
ในราชสํานักไทยมานานแล้ ว และในเวลานี ้ก็ได้ รับตําแหน่งอัน
ได้ ผลประโยชน์มากโดยเปนพระพี่เลี ้ยงของพระราชโอรสแล้ ว
เพราะ ฉนั ้นไม่ควรที่พระเจ้ าหลุยที่๑๕จะทําพระไทยอ่อนยอมตาม
เรื่ องราวฉบับนีส่้ วนภรรยาของยอชฟอลคอนผู้ถึงแก่กรรมนันก็ ้ ได้ มีสามี
ใหม่แล้ ว โดยได้ แต่งงานกับชาวเมืองไอร์ แลนด์ ชื่อมองซิเออร์ คลู ี
ซึง่ เปนคนที่มีทรัพย์มาก เพราะฉนันการที
้ ่ภรรยาของบุตร์ ฟอลคอน
ถวายเรื่ องราวเช่นนี ้ไม่มีมลู อันใดเลย แล้ วคณะผู้อํานวยการของ
บริษัทฝรั่งเศสได้ ชี ้แจงต่อไปว่า คอนซตันตินฟอลคอนมิได้ ปฏิบตั ใิ ห้
ถูกต้ องตามข้ อความที่ได้ สญ ั ญาไว้ เงินที่สญั ญาว่าจะให้ นนก็
ั ้ ได้ ให้
แต่ครึ่งเดียวเท่านัน้ เพราะฉนันผู ้ ้ รับทรัพย์มรฎกของคอนซตันตินฟอล
คอนมิได้ เกี่ยวในการได้ เสียของบริษัท จึงไม่ควรจะได้ รับประโยชน์
จากบริษัทอย่างใด แต่ควรจะต้ องใช้ เงินให้ แก่บริษัทจึงจะถูก และ
ข้ อที่ขอร้ องในเรื่ องราวนันไม่
้ มีแก่นสารอย่างใดเลย
แต่ความเห็นของที่ปฤกษาราชการแผ่นดินฝรั่งเศสมิได้ เห็นพ้ อง
ด้ วยกับผู้อํานวยการของบริ ษัท เมื่อวันที่๒๖เดือนมิถนุ ายน ค.ศ.๑๗๑๗
( พ.ศ.๒๒๖๐ ) รัฐบาลฝรั่งเศสจึงได้ ออกประกาศให้ ภรรยาของคอน
ซตันตินฟอลคอนได้ รับส่วนแบ่งก่อนเจ้ าหน้ าที่อื่น ๆ ของบริษัท คือให้
ได้ รับเงินเลี ้ยงชีพ ๓๐๐๐ ปอนด์ ( ฝรั่งเศส ) และให้ ภรรยาคอนซ
ตันติน ฟอลคอนกับภรรยาบุตร์ คอนซตันตินฟอลคอน ได้ รับประโยชน์
เท่ากับ
๓๕
๒๗๔
เจ้ าหน้ าที่อื่นๆ ของบริษัทในเวลาที่แบ่งกําไรต้ นทุนที่ได้ ออกไปแล้ ว การ
ที่เสนาบดีของพระเจ้ าหลุยที่ ๑๕ ได้ ทําใจดีเช่นนี ้ ถ้ าดูเผิน ๆ ก็เป
นข้ อน่าจะคัดค้ านอยู่ แต่ก็เปนการแก้ ในความปฏิบตั ิอนั น่าเสียใจของ
มองซิเออร์ เดฟาช์อยูบ่ ้ าง
เมื่อราวค.ศ.๑๗๐๐ถึง๑๘๐๐ประเทศฝรั่งเศสได้ พยายามคิดเปนใหญ่
ทางทะเลฝ่ ายอินเดียอีกคราว ๑ แต่หาได้ คิดล่วงลํ ้าเข้ าไปถึงประเทศ
สยามไม่ ที่ที่ทําการของฝรั่งเศสในเวลานันก็ ้ คือที่เมืองฮินดูซตานแห่ง ๑
และที่เมืองญวนครัง้ แผ่นดินพระเจ้ าเกียหลงอีกแห่ง ๑ ซึง่ เปนแห่งที่
แสดงความกล้ าหาญของกลาสีฝรั่งเศส และแสดงความสับเพร่าของ
รัฐบาลฝรั่งเศสด้ วย

You might also like