Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

การเตรียมดิน http://natres.psu.ac.th/department/plantscience/510-111web/boo...

�.� คํานํา / �.� วัตถุประสงค์ในการเตรียมดิน / �.� ประโยชน์ในการเตรียมดิน / �.� แนวทางในการปรับปรุงดิน / �.�.� ลักษณะข้อจํากัดของดินเหนียวกับการปลูกพืช / �.�.�
ลักษณะข้อจํากัดของดินทรายกับการปลูกพืช / �.�.� วัสดุปรับปรุงดิน / �.� ขัน� ตอนในการเตรียมดิน / �.�.� การไถครัง� แรก (primary tillage) / �.�.� การไถครัง� ที�สอง
(secondary tillage) / �.� วิธีการและเครือ� งมือในการเตรียมดิน / �.�.� การเตรียมดินครัง� แรกโดยการไถ / �.�.� การเตรียมดินครัง� ที� � โดยการพรวน / �.� บรรณานุกรม

บทที� � << หน้าแรก >>//<< สารบัญ >>//<< บทที� � >>

การเตรียมดิน

�.� คํานํา
ดินทีเ� หมาะต่อการเจริญเติบโตของพืชควรจะต้องมีองค์ประกอบของดิน � ส่วน คือ ส่วนทีเ� ป็ นหินแร่หรือ อนินทรียว์ ัตถุอยู่
ประมาณ �� เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร ส่วนทีเ� ป็ นอินทรียว์ ัตถุ ซึง� เกิดจากการเน่าเปื� อยผุพงั หรือการสลายตัวของซากพืชและ
สัตว์ ประ มาณ � เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร ส่วนทีเ� ป็ นช่องว่างขนาดใหญ่ในดิน ซึง� มีอากาศอยู่ประมาณ �� เปอร์เซ็นต์โดย
ปริมาตร และส่วนทีเ� ป็ นช่องว่างขนาดเล็กในดินซึง� ช่วยเก็บรักษานํา� ประมาณ �� เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร ตามทีก� ล่าวไว้แล้ว
ในบทที� � อย่างไรก็ตามดินโดยสภาพธรรมชาติท�ัวๆ ไปจะมีความแตกต่างกันในสัดส่วนขององค์ประกอบข้างต้นทําให้ดนิ แต่
ละแห่งมีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชได้ไม่เท่ากัน ทัง� นีอ� ยู่กับวัตถุตน้ กําเนิดและพัฒนาการของดิน แต่อย่างไรก็
ตามสามารถแบ่งสภาพดินทีเ� กีย� วข้องกับการเตรียมดินให้กับพืช � ด้านด้วยกัน คือ สภาพทางเคมี สภาพทางฟิ สิกส์ และสภาพ
ทางชีวของดิน ดังนั�นโดยความหมายของหลักการเตรียมดิน จึงหมายถึงการปรับปรุ งดินให้สภาพทางฟิ สิกส์ สภาพทางเคมี
และสภาพทางชีวภาพของดินให้เหมาะสมต่อการเจริญเจริญเติบโตของพืชนั� นเอง

�.� วัตถุประสงค์ในการเตรียมดิน
จากข้างต้นดังทีก� ล่าวไว้ว่าการเตรียมดินเป็ นการปรับปรุ งสภาพทางฟิ สิกส์ สภาพทางเคมี และสภาพทางชีวภาพของดินให้
เหมาะต่อการเจริญเติบโตของพืชนั�น โดยแนวทางของวิธีการปฏิบตั ใิ นการเตรียมแปลงปลูกพืชโดยทั�วไปนั�น ผู้ปฏิบตั คิ วร
กําหนดวัตถุประสงค์ในการดําเนินการแต่ละครั�งไว้ดงั นี�

�) เพือ� กําจัดวัชพืชให้หมดไปจากพืน� ทีป� ลูก ทัง� นีเ� พือ� ลดการแก่งแย่งแข่งขันปั จจัยการผลิตพืชต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ น แสง นํา�
และแร่ธาตุอาหารต่างๆ ระหว่างวัชพืชกับพืชปลูก ทําให้พชื ปลูกสามารถเจริญเติบโตงอกงามได้รวดเร็วขึน� โดยไม่มคี ู่แข่ง

�) เพือ� ปรับปรุ งโครงสร้าง สมบัตทิ างฟิ สิกส์ของดินในทุกๆ ด้านให้ดขี ึน� สมบัตดิ งั กล่าวได้แก่ การมีช่องว่างอากาศในเม็ด
ดินเพิม� ขึน� การเพิม� ความสามารถการเก็บรักษาความชืน� ของดินและการระบายนํา� ของดิน ตลอดถึงการย่อยดินให้แตกมีขนาด
เหมาะสมต่อการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของรากต้นกล้า

�) เพือ� เป็ นการจัดเตรียมแปลงปลูก เตรียมแถวปลูกให้เหมาะสมกับพืชทีจ� ะปลูก ตลอดทัง� เพือ� การปฏิบตั กิ ารใช้เครื�องมือ


เครื�องทุน่ แรงต่าง ๆ หลังจากทีพ� ชื งอกแล้ว

ปฏิบตั กิ ารเพือ� ให้บรรลุวัตถุประสงค์ข้างต้นนี� จะเริ�มตัง� แต่การขุดกลบวัชพืช หรือปฏิบตั กิ ารไถ การคราดกําจัดวัชพืช การ


เก็บวัชพืชออก การย่อยพรวนดินให้มขี นาดเล็กลง การยกแปลงปลูก ทัง� นีอ� าจใช้แรงคน สัตว์ต่าง ๆ หรือเครื�องจักร เครื�องทุน่
แรงต่างๆ หลายชนิด

�.� ประโยชน์ในการเตรียมดิน

1 จาก 12 13/1/2564 7:26


การเตรียมดิน http://natres.psu.ac.th/department/plantscience/510-111web/boo...

การเตรียมดินทีด� กี ่อนการปลูกพืชนั�น มีความจําเป็ นอย่างมากนอกจากจะเพือ� การงอกของเมล็ดตัง� แต่เริ�มการปลูก การลด


จํานวนคู่ตอ่ สู้คอื ตัววัชพืชทีไ� ปแก่งแย่งปั จจัยการผลิต การปรับปรุ งสมบัตทิ างฟิ สิกส์ของดินในด้านต่างๆ และการจัดเตรียม
แปลงปลูกให้เหมาะสมแล้ว กิจกรรมต่างๆ หลังการเตรียมดินจะเป็ นประโยชน์ตอ่ เนื�องกับดินและพืชต่อไปดังนี� คือ

�) สามารถเก็บความชืน� ในดินได้สูง ดินทีเ� ก็บความชืน� ได้สูงนั�นนับว่ามีความสําคัญต่อพืชทีป� ลูกในแถบค่อนข้างแห้งแล้ง


มาก ทัง� นีเ� พราะเหตุว่าพืน� ทีด� งั กล่าวมักไม่ได้รับนํา� ฝนอย่างพอเพียงในฤดูกาลปลูก พืน� ทีล� ักษณะนีห� ากจะไถทิง� ไว้สักปี หนึ�งก็
สามารถจะปลูกได้อย่างดี ทัง� นีเ� พราะจากการทีเ� ราไถทิง� ไว้นั�น จํานวนนํา� ฝนจะถูกเก็บกักไว้ในดิน และความชืน� อันนีเ� อง เมือ�
รวมกับความชืน� ในระหว่างฤดูกาลเพาะปลูกพืชจะทําให้พอเพียงต่อการเจริญเติบโตของพืช การสงวนความชืน� ในลักษณะนี�
อาจนําไปใช้กับพืน� ทีอ� นื� ๆ ได้ แม้ในเขตทีม� คี วามชืน� แล้วก็ตาม

�) การทําลายวัชพืช วัชพืชใช้นํา� และอาหารพืชในดินเป็ นปริมาณมากการทําลายวัชพืชจึงเป็ นปั จจัยสําคัญอันหนึ�งในการ


สงวนความชืน�

�) การถ่ายเทอากาศของดิน แปลงเพาะปลูกพืชทีไ� ด้เตรียมไว้อย่างดีนั�นจะทําให้อาหารพืชต่างๆ พร้อมทีจ� ะถูกพืชนําไปใช้


ได้ทนั ที ความจริงอันนีส� ืบเนื�องมาจากการถ่ายเทของอากาศได้อย่างทั�วถึงเป็ นประการสําคัญ ทัง� นีเ� พราะเหตุว่าอากาศมีความ
จําเป็ นต่อกิจกรรมทางเคมี และชีวะในดินอย่างมาก การเตรียมดินเท่ากับทําให้ดนิ ได้ถกู อากาศ อันจะทําให้พวกแร่ธาตุอาหาร
พืชถูกนําเอาไปใช้ได้ดขี ึน� ทัง� นีโ� ดยผ่านกระบวนการทําปฏิกริยากับออกซิเจน เช่น การเกิดไนเตรทในดิน เป็ นต้น

�) ทําให้อนิ ทรียว์ ัตถุเกิดประโยชน์แก่ดนิ ในดินทีเ� ตรียมไว้อย่างดีนั�น พวกอินทรียว์ ัตถุซึง� ไถกลบหรือเพิม� ให้แก่ดนิ หรือให้
ทัง� � อย่างนั�นจะถูกกลบอยู่ภายใต้ผิวดิน วัตถุตา่ งๆ เหล่านั�นรวมกับแร่ธาตุอาหารพืชทีใ� ห้ ทําให้เกิดการเพิม� จุลินทรียใ์ นดิน
ทําให้ดนิ มีความสามารถในการอุ้มนํา� ไว้ดขี นึ� และยังปรับปรุ งคุณภาพของดินให้ดอี กี ด้วย

�) ช่วยให้ดนิ ย่อยและร่วนซุย พวกดินเหนียวจะทําให้เกิดแน่นตัวไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชได้ดี ทัง� นีเ� พราะ


จุลินทรียใ์ นดิน และรากพืชไม่สามารถจะทนทานต่อสภาพดินเช่นนีไ� ด้ ดินควรได้รับการไถ พรวนเพือ� ให้เกิดการร่วนซุยได้ดี
ก่อนการหว่านเมล็ดพืชหรือก่อนการปลูกพืช

ในดินบางชนิดทีร� ่วนซุยมาก การปลูกพืชทีม� ลี าํ ต้นสูงบางชนิด ตัวอย่างเช่น ข้าวโพด ต้นกล้า จะตัง� ตัวได้ไม่ดี โดยเฉพาะ
หากมีลมจัดหรือฝนตกหนักมาก ลําต้นจะหักล้มได้งา่ ย การเตรียมดินประเภทนี ค� วรทําให้แน่นตัวมากพอสมควร

�.� แนวทางในการปรับปรุ งดิน


ดินแต่ละแห่งแต่ละทีม� ศี ักยภาพหรือกล่าวว่ามีปัญหา มีข้อจํากัดในการปลูกพืชแตกต่างกันออกไป การปลูกพืชในดินใดๆ
จึงต้องทราบข้อจํากัดของดินนั�นทีเ� ป็ นปั ญหากับพืชทีต� อ้ งการปลูกเสียก่อน

�.�.� ลักษณะข้อจํากัดของดินเหนียวกับการปลูกพืช
อนุภาคโครงสร้างของดินเหนียวมีลักษณะเป็ นแผ่นแบน (plate-like particles) และมีขนาดเล็กมาก คือมีขนาดไม่เกิน
�/��,��� นิว� ดินพวกนีโ� ดยทั�วไปหากไม่มอี นิ ทรียว์ ัตถุ (organic matter) ปะปนอยู่เลย ตัวอนุภาคก็จะจับตัวกันแน่นจนแทบไม่มี
ช่องอากาศเหลืออยู่เลย และเมือ� ดินได้รับนํา� หรือฝนตก การระบายนํา� ออกจากตัวจะทําได้ยาก ช่องว่างระหว่างอนุภาคดินมี
น้อยและเล็กมาก จึงมีอากาศโดยเฉพาะออกซิเจนอยู่น้อยตามไปด้วย สภาพเช่นนีม� ผี ลทําให้รากพืชเจริญเติบโตไม่ได้หรือโต
ได้จาํ กัด รากทีเ� จริญเติบโตในดินเหนียว จะมีลักษณะกุดสั�น หรือเจริญเติบโตอยู่ได้เฉพาะชัน� ผิวดินบนเท่านั�น อย่างไรก็ตาม
ในส่วนดีของดินเหนียวก็คอื สภาพทางเคมีของดินทีม� คี วามสามารถดูดยึดประจุแร่ธาตุอาหารต่างๆ ไว้ได้สูง จึงมีความอุดม
สมบูรณ์ในตัวเองทีเ� ป็ นแหล่งให้แร่ธาตุตา่ งๆ กับพืชได้อย่างดี

�.�.� ลักษณะข้อจํากัดของดินทรายกับการปลูกพืช

2 จาก 12 13/1/2564 7:26


การเตรียมดิน http://natres.psu.ac.th/department/plantscience/510-111web/boo...

อนุภาคของดินทรายจะเป็ นแบบทรงกลม มีขนาด �/��� - �/�� นิ ว� ผิวขรุ ขระโดยลักษณะการซ้อนจับตัวของอนุภาคทรง


กลม ทําให้มชี ่องว่างอากาศอยู่มาก จึงมีความสามารถในการดูดยึดนํา� ไว้ได้น้อย หรือกล่าวคือมีความสามารถในการระบายนํา�
ออกจากตัวได้ดนี �ันเอง

ผลจากการทีส� ามารถถ่ายเทอากาศ และระบายนํา� ได้ดนี ี� ในทางตรงข้ามโดยสภาพสมบัตทิ างเคมีจะมีความสามารถในการ


ดูดยึดแร่ธาตุอาหารทีผ� ิวมีน้อย จึงมีความสมบูรณ์ในตัวเองทีจ� ะเป็ นแหล่งปลดปล่อยแร่ธาตุตา่ งๆ ให้กับพืชน้อยตามไปด้วย

โดยสภาพข้อจํากัดของดินทัง� � ชนิด จะเห็นได้ว่าแนวทางของการปรับปรุ งดินคือ เอาข้อดีหรือสมบัตทิ ีด� ขี องอนุภาคดินแต่


ละชนิดมารวมกัน เพือ� ทีจ� ะลดข้อเสียทีม� มี ากเกินไปของอนุภาคดินทัง� � ชนิดนั�นออกไป ก็จะทําให้ได้ดนิ ทีเ� หมาะสมต่อการ
เจริญเติบโตของพืช

�.�.� วัสดุปรับปรุ งดิน


ในทางปฏิบตั ขิ องวิธีการปรับปรุ งดิน เพือ� ให้ทงั� ดินทรายและดินเหนียวมีโครงสร้างทีด� ขี นึ� โดยแนวทางการปรับปรุ งจะใช้
วัสดุปรับปรุ งดินทีม� สี มบัตเิ ป็ นตัวประสานทางกายภาพของโครงสร้าง และเป็ นตัวเพิม� ความอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยการเพิม�
ศักยภาพการดูดตรึงประจุทางเคมีของดิน (cation exchange capacity) ให้เพิม� ขึน� สารปรับปรุ งดินมักเป็ นพวกสารอินทรียว์ ัตถุ
ซึง� มีหลายชนิด เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ขีก� บ ขีเ� ลื�อย ขีแ� กลบ ฯลฯ เป็ นต้น สารอินทรียว์ ัตถุพวกนีโ� ดยสมบัตติ ัวมันเองจะมี
อนุภาคโครงสร้างเป็ นก้อนทีม� รี ู พรุ นมาก ทําให้สามารถดูดยึดนํา� และแร่ธาตุตา่ งๆ ไว้ได้ดี ดังนั�นเมือ� ใส่วัสดุปรับปรุ งดินให้กับ
ดินเหนียวก็จะไปมีผลเพิม� ช่องว่างอากาศให้กับดินเหนียว การใส่ให้กับดินทรายก็จะไปช่วยเพิม� ความสามารถในการดูดยึด
ความชืน� แก่ดนิ ทราย ทําให้นํา� ทีใ� ห้กับพืชมีประโยชน์มากขึน�

สําหรับหลักการใส่อนิ ทรียว์ ัตถุเพือ� ปรับปรุ งดินในแปลงปลูกทีม� ปี ั ญหาขาดอินทรียว์ ัตถุนั�น โดยทั�วไปคือหลักการใส่ให้


��-�� เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตรของชัน� ดินบริเวณผิวดินทีร� ากพืชอาศัยอยู่ ตัวอย่างในพืน� ทีด� นิ ��� ลูกบาศก็ฟุต อินทรียว์ ัตถุที�
ต้องใช้คลุกเคล้าปรับปรุ งดินนั�นจะใช้ประมาณ ��-��� ลูกบาศก์ฟุต

อย่างไรก็ตามการใส่อนิ ทรียว์ ัตถุประเภทปุ๋ยคอก (manure) ชนิดทีม� คี วามเข้มข้นของเกลือสูง (โดยเฉพาะ ขีไ� ก่ ขีห� มู ทีย� ัง
ใหม่อยู่) ต้องระมัดระวังอาจทําอันตรายแก่ระบบรากพืชได้ หากใส่มากจนเกินไป ดังนั�นการใส่ป๋ ุยคอกพวกนีค� วรใส่แต่เพียง
น้อย คือ โดยประมาณ �-� ลูกบาศก์ฟุต ในดิน ��� ลูกบาศก์ฟุตเท่านั�น

ปุ๋ยคอกหลังจากใส่ลงไปในดินแล้วจะถูกย่อยสลายโดยการทํางานของจุลินทรียด์ นิ ได้สารทีเ� รียกว่าฮิวมัส (humus) เกิดขึน�


ฮิวมัสเป็ นสารพวกเจลาติน (gelatinous material) ซึง� มีลักษณะเหนียวเป็ นกาว (glue) สารนีเ� องจะเป็ นตัวช่วยประสานจับ
อนุภาคดินเหนียวเข้าด้วยกัน ทําให้ดนิ เหนียวทีจ� ับเป็ นแผ่นแน่นแข็ง เกิดโครงสร้างดินเหนียวทีเ� ป็ นก้อน (aggregates) ทําให้
การถ่ายเทอากาศและระบายนํา� ดีขนึ� รากพืชก็จะสามารถงอกเจริญแผ่กระจายและได้รับอาหารจากดินมากขึน� ต้นพืชจึงเจริญ
เติบโตได้ดหี ลังจากการใส่ป๋ ุยคอก

ปุ๋ยคอกทีใ� ส่ให้ในดินทรายจะสลายตัวได้รวดเร็วกว่าใส่ให้ในดินเหนียว ทําให้โครงสร้างหรือสมบัตใิ นการอุ้มความชืน� และ


ดูดยึดปลดปล่อยแร่ธาตุอาหารต่างๆ ดินทรายนั�นหมดไปอย่างรวดเร็ว การใส่ป๋ ุยคอกในดินทรายจึงต้องทําบ่อยครั�งขึน� ดังนั�น
ในการปฏิบตั จิ งึ มักใส่อนิ ทรียวัตถุชนิดทีส� ลายตัวช้า ตัวอย่างเช่น พีทมอส เปลือกถั�ว ขีก� บ ขีเ� ลื�อย ซังข้าวโพด และอืน� ๆ ฯลฯ
ทีเ� ป็ นวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรผสมคลุกเคล้าตามไปด้วย

ข้อควรระมัดระวังในการใส่อนิ ทรียว์ ัตถุทีม� ปี ริมาณไนโตรเจนอยู่ต�าํ กว่า �.� เปอร์เซ็นต์ อย่างเช่น ขีก� บ ขีเ� ลื�อย แกลบสด
และอินทรียว์ ัตถุอืน� ๆ จากพืชทีย� ังสดใหม่อยู่กค็ อื อินทรียว์ ัตถุพวกนีเ� มือ� ใส่ในดินจะถูกจุลินทรียด์ นิ ย่อยสลาย โดยขบวนการ
ย่อยสลายนีจ� ะต้องใช้แหล่งไนโตรเจนทีเ� พียงพอซึง� สมดุลกับธาตุคาร์บอน ทีเ� ป็ นองค์ประกอบของอินทรียว์ ัตถุนั�น คือมี
คาร์บอนต่อไนโตรเจนประมาณ ��:� หากธาตุไนโตรเจนในอินทรียว์ ัตถุนั�นไม่เพียงพอ จุลินทรียก์ จ็ ะดึงไนโตรเจนจากดินมาใช้
ทําให้พชื ทีป� ลูกขาดไนโตรเจน พืชก็จะแสดงอาการใบเหลือง แคระแกรน หรืออาจตายในทีส� ุดหากเราไม่ใส่ไนโตรเจนในรู ปปุ๋ย
ไปทดแทนให้

การใส่อนิ ทรียว์ ัตถุดงั กล่าวข้างต้น จึงควรใส่ควบกับแหล่งปุ๋ยไนโตรเจนและโดยปกติมักใส่แหล่งแร่ธาตุฟอสฟอรัส

3 จาก 12 13/1/2564 7:26


การเตรียมดิน http://natres.psu.ac.th/department/plantscience/510-111web/boo...

แคลเซียม จากเลือด และกระดูก เขาสัตว์ผสมลงไปด้วย ปริมาณทีแ� นะนําให้ใช้คอื ในทุกๆ � คิวบิวฟุตของอินทรียว์ ัตถุจะผสม


เลือดป่ นหรือกระดูกสัตว์ป่นลงไป �� กรัม และแอมโมเนียมซัลเฟตลงไปประมาณ �� กรัม

�.� ขัน� ตอนในการเตรียมดิน


ขัน� ตอนในการเตรียมดินสําหรับปลูกพืชไม่ว่าจะเป็ นพืชไร่ นาข้าว พืชผัก หรือ พืชอืน� ๆ โดยแนวทางในการปลูกพืชแผน
ใหม่ ปั จจุบนั มักจะใช้เครื�องจักรมาทดแทนการใช้แรงงานคนกันอย่างแพร่หลาย ทําให้ทาํ งานได้อย่างรวดเร็ว ได้พืน� ทีป� ลูกพืช
มากขึน� ในเวลาทีจ� าํ กัด ขัน� ตอนในการเตรียมดินเพือ� ให้บรรลุวัตถุประสงค์ข้างต้น ประกอบด้วย � ขัน� ตอนดังนี� คือ

�.�.� การไถครั�งแรก (primary tillage)


มักเรียกวิธีการไถครั�งแรกนีว� ่า ไถบุกเบิกหรือไถดะ ทัง� นีเ� พือ� พลิกดินและตากแดดเพือ� ทําลายส่วนของรากวัชพืช โดยใช้
อุปกรณ์ไถแบบต่างๆ ได้แก่ ไถหัวหมู (moldboard plough) ไถจานหรือไถกระทะ (disk plough) และอุปกรณ์เตรียมดินประเภท
Tines ซึง� ได้แก่ ไถดินดาน (subsoilers) และไถสิ�ว (chisel plough)

�.�.� การไถครั�งทีส� อง (secondary tillage)


มักเรียกการเตรียมดินโดยการไถครั�งที� � นีว� ่า ไถแปร ไถพรวน ทัง� นีเ� พือ� ย่อยดินทีไ� ด้จากการไถครั�งแรกให้ก้อนดินเล็กลง
เหมาะสมต่อการหว่านเมล็ดและการงอกของต้นกล้า นอกจากนี ก� ารไถครั�งที� � ยังช่วยเกลี�ยดินให้ผิวดินราบเรียบขึน� หรือใน
บางครั�งจะมีอุปกรณ์ทเี� ป็ นลักษณะลูกกลิง� เล็กๆ ลากตามอีกครั�งหนึ�งเพือ� บดอัดผิวดินเล็กน้อย ทําให้เมล็ดทีห� ยอดตามภาย
หลังมีจุดสัมผัสกับเนือ� ดิน สามารถรับความชืน� จากดิน งอกได้ดแี ละเร็วขึน� อุปกรณ์ทใี� ช้ ได้แก่ จานพรวน (disk harrow) ไถ
พรวนจาน (disk tiller) พรวนจอบหมุน (rotary cultivartor) และไถพรวนเหล็กแหลม (tooth harrow หรือ spike harrow) เป็ นต้น

�.� วิธีการและเครื�องมือในการเตรียมดิน
วิธีการทีม� นุษย์ใช้ในการเตรียมดินตัง� แต่อดีตจนถึงปั จจุบันมี � ชนิดใหญ่ๆ คือ

�) การใช้แรงคนเป็ นหลัก เป็ นวิธีการทีใ� ช้มาตัง� แต่โบราณ และใช้มาจนถึงปั จจุบนั เครื�องมือทีใ� ช้ได้แก่ จอบขุด จอบถาก
จอบซี� ราด เสียม เป็ นต้น เครื�องมือเหล่านีม� ักจะใช้ในการเตรียมพืน� ทีด� นิ ขนาดเล็ก เช่น สวนครัวหลังบ้าน หรือไร่สวนทีป� ลูก
พืชเป็ นหลุม มีขนาดพืน� ทีไ� ม่เกิน � ไร่ตอ่ ครอบครัว เป็ นต้น

�) การใช้แรงสัตว์เป็ นหลัก เป็ นวิธีการทีม� นุษย์ใช้มาตัง� แต่อดีตเช่นกัน และยังเป็ นทีน� ิยมใช้กันอยู่ในหลายประเทศทีท� าํ


กสิกรรมเป็ นอาชีพหลัก เครื�องมือทีใ� ช้ได้แก่ ไถหัวหมู เครื�องมือยกร่องคราดนาดํา เป็ นต้น เครื�องมือเหล่านีจ� ะใช้แรงสัตว์พวก
วัว ควาย หรือม้า เป็ นตัวลากจูง ช่วยผ่อนแรงคนทําให้มนุษย์ทาํ งานได้มากขึน�

�) การใช้แรงเครื�องยนต์เป็ นวิธีการทีม� นุษย์พฒ ั นานําเอาเครื�องยนต์มาเป็ นต้นกําลังทดแทนแรงคนและสัตว์ มีกาํ ลังฉุดลาก


มาก สามารถติดตัง� อุปกรณ์แบบต่างๆ เข้ากับต้นกําลังฉุดลากทําให้ทาํ งานได้อย่างกว้างขวางต่อเนื�องยาวนาน สามารถเตรียม
ดินในพืน� ทีใ� หญ่ๆ ได้ในเวลาอันรวดเร็ว เครื�องยนต์ทใี� ช้มใี ห้เลือกหลายขนาดแล้วแต่ขนาดพืน� ทีแ� ละกิจกรรมในการเตรียมดิน
และงานทีเ� กีย� วข้องตัง� แต่เริ�มการปลูกจนถึงเก็บเกีย� ว

เครื�องยนต์ตน้ กําลังทีใ� ช้ในการเตรียมดินโดยส่วนใหญ่ เป็ นเครื�องยนต์จุดระเบิดโดยใช้แรงอัด (เครื�องยนต์ดเี ซล) ทัง� นี�


เพราะมีความทนทานสามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื�อง ยาวนาน โดยกินนํา� มัน และต้องการบํารุ งรักษาตํ�า ตลอดทัง� มีความต้าน
ทานต่อความชืน� หรือนํา� สูง ซึง� เหมาะในการใช้งานในไร่นา

�.�.� การเตรียมดินครั�งแรกโดยการไถ
ในยุคแรกของการปลูกพืชมนุษย์ใช้แรงตัวเองและครอบครัวและกลุ่มชน ในการเตรียมดินโดยใช้เครื�องมือง่ายๆ โดยเฉพาะ

4 จาก 12 13/1/2564 7:26


การเตรียมดิน http://natres.psu.ac.th/department/plantscience/510-111web/boo...

จอบ เพือ� พลิกดินสําหรับปลูกพืช เป็ นหลัก ต่อมาเมือ� มนุษย์รู้จกั นําสัตว์เข้ามาเลีย� ง ก็ได้พฒ


ั นาเครื�องมือ อุปกรณ์ใช้อย่างจอบ
คราดเพือ� ให้สัตว์ช่วยแรง ทําให้ทาํ งานได้มากขึน� เรียกอุปกรณ์นีว� ่า ไถ ซึง� มีพฒ ั นาการรู ปร่างไปหลายแบบดังภาพประกอบ
ชนิดของไถต่างๆ

การพลิกดินโดยใช้ไถช่วยแรง เราเรียกว่า การไถ ปั จจุบนั ประเทศทีพ� ฒ


ั นาแล้วมักใช้เครื�องยนต์มาเป็ นต้นกําลังแทนแรง
งานสัตว์เพราะเครื�องยนต์ให้กาํ ลังมากกว่า ทํางานได้ยาวนานกว่า ทําให้การไถมีประสิทธิภาพมากขึน� กว่าเดิม ชนิดของไถที�
นิยมใช้กันมาก ได้แก่ ไถหัวหมูและไถจาน

�) ไถหัวหมู เป็ นไถหลักของการเตรียมดินครั�งที� � มีคุณสมบัตดิ เี ด่น เช่น สามารถไถพลิกดินตืน� ได้ และไถพลิกดินลึกได้ถงึ


��-��� เซนติเมตร (รู ปที� �.�ก) จึงช่วยคลุกผสมดินตืน� และลึกเข้าด้วยกันขณะไถได้ดกี ว่าไถชนิดอืน� ๆ อย่างไรก็ตามไถหัวหมู
เหมาะสมทีจ� ะใช้กับพืน� ทีไ� ด้รับการปรับปรุ งแล้ว ไม่มกี ้อนหินรากไม้ หรือเศษของไม้อยู่ในดิน ซึง� จะเป็ นอุปสรรคแก่การทํางาน
ของไถหัวหมู ดังนั�นไถชนิดนีจ� งึ เหมาะกับสภาพดินทุง่ หญ้า ทีด� นิ นาทั�วไป ไม่เหมาะสมกับดินเปิ ดใหม่ทมี� รี ากไม้ ตอไม้มาก ดิน
ทีเ� ป็ นทุง่ หญ้าควรใช้ไถหัวหมูชนิดทีป� ี กปิ ดเพือ� พลิกดินกลบหญ้า การติดตัง� ผานไถสามารถติดตัง� ได้ �-� ผาน จํานวนผานทีต� ดิ
ตัง� ขึน� กับกําลังของแทร็กเตอร์ ความแข็งของดิน และความลึกของดินทีต� อ้ งการไถ

�) ไถจาน เป็ นเครื�องมือเตรียมดินครั�งแรกเช่นเดียวกับไถหัวหมู แต่มคี วามเหมาะสมและขอบเขตการใช้งานทีแ� ตกต่างกัน


จานทีป� ระกอบขึน� ในชุดไถจานครั�งที� � นี� จะมีจาํ นวนผาน � ผาน � ผาน ถึง � ผาน (รู ปที� �.� ก-ข) ขึน� อยู่กับความลึกทีต� อ้ ง
การไถ

ไถจานสามารถใช้ในพืน� ทีท� ไี� ถหัวหมูไม่อาจจะใช้งานได้ดนี ัก เช่น ดินแห้ง แข็งมากหรือดินเหนียวมากจนกระทั�งไม่อาจใช้ไถ


หัวหมูได้ หรือกรณีพนื� ทีด� นิ เป็ นป่ าเปิ ดใหม่ ซึง� มักมีก้อนหินหรือเศษรากไม้ปะปนอยู่มากหากใช้ไถหัวหมู จะทําให้การลากจูง
ได้ของเครื�องยนต์สะดุดเพราะติดสิ�งกีดขวางเหล่านี� แต่ถา้ ใช้ไถจานจะสามารถกลิง� ข้ามสิ�งกีดขวางเหล่านีไ� ด้ ข้อเสียประการ
สําคัญของไถจานคือ ไม่สามารถพลิกขีไ� ถได้อย่างเรียบร้อยเหมือนไถหัวหมู ทําให้วัชพืชงอกขึน� ภายหลัง โดยเฉพาะตรงบริเวณ
รอยซ้อนกันของแนวขีไ� ถ ดังนั�นหากสภาพพืน� ทีเ� หมาะสม ความชืน� พอดี การใช้ไถหัวหมูจะให้ผลในการเตรียมดินปราบวัชพืช
ได้ในระยะยาวดีกว่า อย่างไรก็ตามในประเทศไทย เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมใช้ไถจานสําหรับงานไร่ ซึง� ต่างกับประเทศในยุโรป
และอเมริกาซึง� การใช้งานส่วนใหญ่ นิยมใช้ไถหัวหมูถงึ มากกว่า �� เปอร์เซ็นต์

รู ปที� �.� ไถหัวหมู (ก) และไถจาน (ข)

เทคนิคการไถเพือ� ให้พชื ปลูกเจริญเติบโตได้ดี มีความงอกงามสมํ�าเสมอกันทั�วทัง� แปลง การเตรียมดินโดยการไถเตรียม


พืน� ทีใ� ห้ลึก สามารถกําจัดวัชพืชให้หมด ทําให้ดนิ บนกับดินล่างคลุกเคล้ากันได้สมํ�าเสมอเรียบร้อยตลอดแปลง เป็ นเรื�องจํา
เป็ นทีต� อ้ งอาศัยเทคนิค และประสบการณ์ของผู้ไถเป็ นอย่างยิง� อย่างไรก็ตามนักศึกษาผู้เรียนทางด้านพืชกรรม ควรมีความรู้

5 จาก 12 13/1/2564 7:26


การเตรียมดิน http://natres.psu.ac.th/department/plantscience/510-111web/boo...

เบือ� งต้นในเทคนิคการไถเอาไว้บ้าง ทัง� นีเ� พือ� ให้สามารถควบคุมการไถได้งานทีม� คี ุณภาพ รวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จา่ ย

ชนิดของไถทีเ� กีย� วกับงานไถ แบ่งเป็ น � ชนิด คือ

�) ไถชนิดลากตาม (trailed plow) เป็ นไถทีเ� หมาะสมกับพืน� ทีก� ว้างใหญ่ เนื�องจากการเลีย� วกลับทีห� วั งานทําได้ไม่คล่องตัวดี
นัก ดังนั�นจึงควรจัดพืน� ทีท� าํ งานให้ดแี นวทางตรงยาวทีส� ุดทีส� ภาพพืน� ทีจ� ะอํานวยให้ ยกเว้นการไถตามแนวความ

ลาดชัน ซึง� ไม่อาจไถเป็ นแนวตรงให้ยาวตลอดได้

�) ไถชนิดติดกับท้ายรถแทรกเตอร์ (mounted plow) อุปกรณ์ชนิดนีม� คี วามคล่องตัวในการเลีย� วกลับและเข้างานมากกว่า


แบบแรก ดังนั�นจึงเหมาะสมสําหรับการใช้ไถในพืน� ทีข� นาดปานกลางจนถึงพืน� ทีข� นาดเล็ก ดังนั�นถ้าเป็ นพืน� ทีข� นาดใหญ่มากๆ
และจําเป็ นต้องใช้ไถชนิดนี� การไถควรแบ่งแปลงใหญ่ให้เป็ นแปลงย่อยๆ โดยแต่ละแปลงควรมีความกว้างไม่เกิน �� เมตร
และควรต้องเว้นพืน� ทีส� ่วนหัวงานไว้ประมาณสองเท่าตัวของความกว้างของรถแทรกเตอร์ ซึง� พืน� ทีท� เี� ว้นไว้นีจ� ะไถในเทีย� วท้ายๆ
ตอนใกล้จะเสร็จงาน ทัง� นีเ� พือ� ว่าเมือ� ไถเสร็จแล้ว แทรกเตอร์จะออกจากแปลงได้ไม่ทบั รอยขีไ� ถเหลือไว้ หรือทับเหลือไว้ให้
น้อยทีส� ุดเท่าทีจ� ะทําได้

แบบไถทีท� าํ งานได้คล่องตัวมากทีส� ุดคือ ไถแบบทีม� จี านไถ � ชุด สามารถพลิกกลับทางได้ เรียกว่า Reversible plow ถ้า
พลิกกลับ ��� องศาเรียกว่า half-turn plow ถ้าพลิกกลับ �� องศา เรียกว่า quarter-turn plow ถ้าเป็ นไถชุดใหญ่ๆ ทีล� ากตามรถ
แทรกเตอร์ในการพลิกใบจานเพือ� เปลี�ยนทิศทางการเหวีย� งขีไ� ถ ตัวกระทําเป็ นระบบไฮดรอลิก ซึง� ต่อระบบออกมาจากตัวรถ
แทรกเตอร์เรียกว่า romote control การใช้ไถชนิด reversible plow ทุกแบบมีความคล่องตัวและประหยัดเวลากว่าเนื �องจาก
สามารถเลีย� วกลับรถและเข้างานต่อจากรอยไถ หรือร่องไถทีแ� ล้วได้ทนั ทีโดยไม่ตอ้ งวิง� รถเปล่าอ้อมไปเข้างานอีกด้านหนึ�งให้
เสียเวลา อันนีจ� งึ ช่วยลดเทีย� ววิง� ทับหัวงานของรถแทรกเตอร์ ทําให้ดนิ ไม่อัดแน่นตัวจนเกินไปอีกด้วย เทคนิคในการไถนี � ใช้ได้
ทัง� กับไถหัวหมูและไถจาน

�.�.� การเตรียมดินครั�งที� � โดยการพรวน


หลังจากการไถครั�งที� � มาแล้ว ซึง� โดยปกติจะเป็ นการไถดินลึก และพลิกก้อนดินส่วนรากพืชขึน� ตากแดดเพือ� ทําลายวัชพืช
ให้ตายทัง� หมด ขีไ� ถทีถ� กู พลิกขึน� มาจะใหญ่มาก ไม่เหมาะต่อการงอกของเมล็ดพืฃ ดังนั�นเพือ� ย่อยขีไ� ถทีใ� หญ่จากการไถครั�งที� �
ให้เล็กและละเอียดเพียงพอ เหมาะสมต่อการงอกและเจริญเติบโตของเมล็ดและต้นกล้า จําเป็ นต้องมีปฏิบตั กิ ารทางดินครั �งที�
สอง

ขอให้เข้าใจว่าในการปลูกพืชบางชนิด หรือดินบางชนิดอาจไม่จาํ เป็ นต้องใช้ไถบุกเบิกเพือ� ไถพลิกดินก่อนทุกครั�งเสมอไป


แต่สามารถทีจ� ะใช้เครื�องมือเตรียมดินขัน� ทีส� องได้โดยตรงทันที� ซึง� ลักษณะปฏิบตั กิ ารเช่นนีค� วรต้องใช้ในแปลงทีไ� ม่มปี ั ญหาใน
เรื�องวัชพืชมากนัก เช่น การเตรียมดินแปลงผัก แปลงนาทีป� ลูกพืชตลอดปี อย่างไรก็ตามมักพบเสมอว่าการประหยัดค่าใช้จา่ ย
ในการเตรียมดินน้อยกว่า � ครั�ง กลับต้องเสียค่าใช้จา่ ยสําหรับค่าสารเคมีในการกําจัดวัชพืชมากขึน� เครื�องมือเตรียมดินครั�งที�
สองมีหลายชนิด ซึง� ส่วนใหญ่ได้แก่ พรวนชนิดต่างๆ ดังนี �

�) จานพรวน (รู ปที� �.�ก) เป็ นอุปกรณ์เตรียมดินทีน� ิยมใช้มากทีส� ุดชนิดหนึ�ง ชุดของจานพรวน จะมีจานหลาย ลูกบนเพลา
เดียวกัน การหมุน ความคม และนํา� หนักของจาน จะเป็ นตัวสับดินหรือขีไ� ถ แล้วเหวีย� งดินทีถ� กู ย่อยแล้วให้ออกเฉียงไปข้างหลัง
เพือ� ให้ดนิ เกิดการคลุกเคล้ากัน จานพรวนบางชนิดจะมีขอบหนา ความคมของหยักบริเวณขอบนี จ� ะสับหญ้าหรือเศษรากพืชให้
ขาดและย่อยให้เกิดการคลุกเคล้าได้ดขี ึน�

จานพรวนทีม� ขี นาดใหญ่และนํา� หนักมาก ประเภทใช้ลากตามรถแทรกเตอร์ อาจใช้เตรียมดินได้โดยตรงไม่ตอ้ งใช้ไถบุกเบิก


ก่อนก็ได้

�) ไถพรวนจาน เครื�องมือเตรียมดินชนิดนีม� บี างท่านใช้คาํ ว่าผานพรวน (รู ปที� �.�ข) หรือบางครั�งเรียกว่าผานเจ็ดเพราะ


จานพรวนรุ่นแรกๆ ทีส� �ังเข้ามา � ผานในหนึ�งชุด โดยลักษณะการทํางานเป็ นเครื�องมือทีอ� ยู่ระหว่างไถ กับ พรวน กล่าวคือจะ
นับเป็ นการไถครั�งแรกก็ได้ ถ้าใช้เป็ นไถบุกเบิก แต่ให้ผลไม่ดเี ท่าไถจานหรือจะเป็ นการไถครั�งที� � ก็ได้ ถ้าใช้พรวนย่อยขีไ� ถ

6 จาก 12 13/1/2564 7:26


การเตรียมดิน http://natres.psu.ac.th/department/plantscience/510-111web/boo...

จานพรวนนีส� ามารถไถดินได้ระดับตืน� คือไถได้ดที คี� วามลึกประมาณ �� เซนติเมตร เท่านั�น ดังนั�นจึงไม่แนะนําให้ใช้จานพรวน


แบบนีต� อ่ เนื�องในทุกๆ ครั�ง ของการไถเตรียมดินเพือ� ปลูกพืชไร่ ทัง� นีเ� พราะการไถดินทีต� นื� อาจมีปัญหาวัชพืช ตลอดจนการ
เกิดชัน� ดินดานในระดับตืน� ขึน� ได้ภายหลัง อย่างไรก็ตามเพือ� ลดงานเตรียมดินในบางครั�ง หรือช่วงเวลาการเตรียมดินสั�น (หรือ
ทีเ� รียกว่า minimum tillage) วิธีการไถโดยใช้จานพรวนแบบนีก� ย็ ังเป็ นทีน� ิยมใช้อยู่มาก

�) พรวนจอบหมุน มีลักษณะดังรู ปที� �.�ค และ �.�ง จอบหมุนจะขุดดินได้ไม่ลึกเท่ากับไถจาน คือจะไถได้ลึกเพียง ��-��


� เิ ศษทีใ� ช้กับแทรกเตอร์ทวี� ง�ิ ช้ามากสามารถขุดดินได้ลึกถึง �� เซนติเมตร
เซนติเมตร แต่ชนิดทีพ

จอบหมุนเป็ นเครื�องมือเตรียมดินทีม� ปี ระสิทธิภาพดี เพราะสามารถจะไถและพรวนในขณะเดียวกันโดยไม่พลิกดินไปข้างผา


นหรือจานเหมือนไถแบบอืน� ดังนั�นการใช้งานจึงง่ายไม่จาํ เป็ นต้องมีความชํานาญมากนัก นอกจากนี จ� อบหมุนยังใช้ได้ดใี นที�
นาทีม� นี าํ� ขัง ซึง� ไถแบบอืน� ทํางานลําบาก เพราะจอบหมุนมีแรงขับดันดี

การย่อยดินให้เล็กลงมากหรือน้อยโดยใช้พรวนจอบหมุนสามารถควบคุมได้โดยการปรับความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วของ
แทรกเตอร์กับความเร็วของระบบหมุน

ใบมีดหรือจอบทีต� ดิ ตัง� กับจานหมุน มีหลายประเภท เช่น ใบมีดปลายแหลม ใบมีดโค้ง ใบมีดรู ปตัวแอล ใบมีดรู ปดอกไม้
และ ไถเกลียว เป็ นต้น

ใบมีดปลายแหลมสามารถไถดินแข็งได้ดดี ว้ ยกําลังหมุนตํ�าแต่ตอซัง รากหญ้า มักจะพันกับใบมีด ส่วนใบมีดโค้งนั�นสับ

พรวนจอบหมุนสามารถทํางานต่างๆ ได้หลายอย่าง ทัง� นีโ� ดยการเลือกชนิดและการจัดชุดของใบมีดหรือจอบ เช่นใช้ในงาน


ยกร่องทีต� อ้ งการดันดิน � ข้าง หรือตรงกลาง งานเตรียมดินของร่อง การพรวนระหว่างแถวหรืองานคราด หรือทําเทือก

ฟั นหญ้าขาดและก้อนดินร่วนแตกได้ดี แต่ตอ้ งใช้กาํ ลังหมุนสูง จึงเหมาะกับการไถดินอ่อนและการคราด ส่วนใบมีดรู ปดอกไม้


มักใช้สาํ หรับการคราดสําหรับไถเกลียวมีข้อดี คือ ตอซังและรากหญ้าจะไม่พนั ติดใบมีดเลย แต่ข้อเสียคือใช้ไถดินแข็งไม่ได้ จึง
มักนิยมใช้ไถดินอ่อนทีม� ซี ากพืชหรือตอซังทีเ� น่าเปื� อยอยู่ หรือใช้ไถยกร่อง เพราะไถจะพลิกดินไปด้านข้าง

�) ไถพรวนเหล็กแหลม ประสิทธิภาพการพรวนดินของไถชนิดนีจ� ะด้อยกว่าสําหรับดินแข็ง แต่จะสามารถปรับระดับได้ดี


กว่าไถพรวนจาน (รู ปที� �.�จ) ไถพรวนเหล็กแหลมมีหลายแบบ ซึง� แบ่งตามรู ปร่างของโครงไถ

�) ไถพรวนเหล็กสปริง ไถแบบนีส� ามารถจะจิกลงไปในดินถึง ��-�� เซนติเมตร ซึง� ลึกกว่าไถพรวนเหล็กแหลม และเนื�อง


จากใบมีดสั�นสะเทือนจากการทํางานสปริง ทําให้ดนิ ถูกแรงกระเทือนและแตกเป็ นก้อนเล็กๆ ดีขึน� นอกจากนีใ� บมีดยังสามารถ
หลบการกระทบกับสิ�งกีดขวางได้ ใบมีดจึงไม่หกั ง่ายไถพรวนสปริงทีใ� ช้แทรกเตอร์ขนาดใหญ่ มักจะแข็งแรง และมีลักษณะ
คล้ายกับไถย่อยดิน

เนื�องจากไถพรวนแบบนีไ� ม่มปี ระสิทธิภาพในการเกลี�ยปรับประดับดิน จึงมักนิยมใช้ไถพรวนปรับระดับ (knife harrows


หรือlevelliup harrows) ติดตัง� เพิม� เติมเพือ� การเกลี�ย โดยการลากตามไถพรวนสปริง (รู ปที� �.�ฉ และ �.�ช)

7 จาก 12 13/1/2564 7:26


การเตรียมดิน http://natres.psu.ac.th/department/plantscience/510-111web/boo...

8 จาก 12 13/1/2564 7:26


การเตรียมดิน http://natres.psu.ac.th/department/plantscience/510-111web/boo...

รู ปที� �.� จานพรวนและเครื�องพรวนดินแบบต่างๆ

สําหรับเครื�องมือเตรียมดินอืน� ๆ เช่น

�) ไถย่อยดิน (cultivator หรือ ransome) ไถย่อยดิน (รู ปที� �.�ก) จะทํางานคล้ายกับไถพรวน แต่ทาํ งานเบากว่า โดยปกติตวั
ไถพรวนจะทําให้ดนิ แตกและปรับระดับไปพร้อมกัน แต่ไถย่อยดินจะตีดนิ ให้เล็กลงไปอีกเล็กน้อย อย่างไรก็ดกี ารทํางานก็ไม่
แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดนัก

ไถย่อยดินทีใ� บมีดแข็ง มักจะถูกใช้งานเหมือนกับไถสิ�ว ส่วนไถพรวนสปริงทีก� ล่าวถึงข้างต้นส่วนทีเ� ป็ นใบมีดแข็งจะถูกใช้


งานเหมือนกับไถย่อยแบบสปริง

เมือ� กล่าวถึงไถย่อยดินมักจะหมายถึง เครื�องมือทีใ� ช้ในการพรวนระหว่างแถวของพืช เป็ นเครื�องมือทีม� บี าร์เหล็กแหลมหรือ


เหล็กสปริง ซึง� สามารถปรับระยะและความลึกของใบมีดได้ บางทีอาจจะมีการติดใบมีดสําหรับการปราบวัชพืชและสําหรับการ
ยกร่องไปพร้อมกัน ฉะนั�นเครื�องมือแบบต่างๆ อาจจะนํามาติดตัง� ใช้กาํ ลังลากได้ตามชนิดของพืชและการทํางาน

�) ไถยกร่อง (ridgers หรือ tisters) ไถยกร่อง (รู ปที� �.�ข) เป็ นเครื�องมือทีใ� ช้ยกร่องในแปลงทีไ� ถแล้ว หรือสําหรับเกลี�ยคัน
ร่องเดิมให้เรียบอาจใช้อุปกรณ์เดียวกับไถย่อยดิน แต่เปลี�ยนใบมีดของไถก็ทาํ ยกร่องได้ การยกร่องอาจจะยกเป็ นร่องเล็กๆ
หลายๆ ร่อง หรือร่องใหญ่ �-� ร่อง ก็ได้ และไถยกร่อง อาจจะติดตัง� หลังจอบหมุนเพือ� ให้มกี ารยกร่องขณะไถได้เลย

9 จาก 12 13/1/2564 7:26


การเตรียมดิน http://natres.psu.ac.th/department/plantscience/510-111web/boo...

รู ปที� �.� ไถย่อยดิน และไถยกร่อง

�) ไถลูกกลิง� (rollers) การกลิง� ลูกกลิง� หลังการไถนอกจากจะช่วยบดดินให้แตกและทําให้หน้าดินเรียบโดยเฉพาะแล้ว ยัง


ช่วยให้มชี ่องอากาศระหว่างดินทีจ� ะช่วยการงอกของเมล็ด หรือการเจริญเติบโตของต้นอ่อน ในทีแ� ห้งแล้ง การใช้ไถลูกกลิง� จะ
ให้ประโยชน์ดา้ นการป้ องกันการระเหยนํา� จากดินได้ดี

ลูกกลิง� ทีน� าํ� หนักมาก และเส้นผ่าศูนย์กลางสั�นๆ จะมีประสิทธิภาพในการบดดินและปรับระดับดีกว่า แต่มขี ้อเสียทีใ� ช้กาํ ลัง
ลากสูงกว่า

ไถลูกกลิง� ทีเ� รียกว่าไถอัดดิน ชนิดมีร่องตามขวางลูกกลิง� จะมีประสิทธิภาพในการบดดินสูงกว่าลูกกลิง� ทีผ� ิวเรียบ (รู ปที� �.�
ก) เมือ� ก้อนดินชุ่มเกินไป หรือแห้งเกินไป การใช้ไถลูกกลิง� จะไม่ได้ผลเท่าทีค� วร

�) ไถอัดดินล่าง (subsoil packers)

ไถอัดดินล่าง (รู ปที� �.�ข) ใช้ในการอัดดิน เพือ� ลดช่องอากาศและขีไ� ถทีฟ


� ูมาก ช่วยทําให้นํา� ระเหยจากดินน้อยลง อันส่งผลให้
รากพืชใช้นาํ� เป็ นประโยชน์มากขึน� พืชเจริญเติบโตได้ดขี ึน� มีลักษณะการทํางานไถทีค� ล้ายกับไถลูกกลิง� แต่หากการบดไม่ได้
ผลดีควรเพิม� นํา� หนักกดบนไถ

รู ปที� �.� ไถลูกกลิง� (ก) และไถอัดดินล่าง (ข)

10 จาก 12 13/1/2564 7:26


การเตรียมดิน http://natres.psu.ac.th/department/plantscience/510-111web/boo...

�) ไถสิ�ว (Chisel plows)

ไถสิ�ว (รู ปที� �.�) เป็ นไถทีใ� ช้กับงานเตรียมดินเฉพาะชนิด คือใช้ในการไถหน้าดินทีแ� ข็งและเก็บเศษวัชพืชประเภทซากไม้ยนื ต้น
ต่างๆ มักใช้กันมากในทีแ� ห้งทีไ� ม่ตอ้ งการพลิกดิน หรือไถลึกมาก เพราะจะทําให้เสียความชืน� ในดิน

�) ไถดินดาน (subsoiler)

ไถดินดาน (รู ปที� �.�) ประกอบด้วยส่วนไถมาตรฐานและผานทีค� ล้ายกับผานไถสิ�ว ใช้ในการไถดินดานโดยไม่พลิกดินทีไ� ถ


ความลึกประมาณ ��-�� เซนติเมตร บางทีจะติดตัง� ไว้หลังไถหัวหมู การใช้ไถดินดานต้องใช้แรงลากมากเนื�องจากดินดานเป็ น
ดินทีแ� ข็ง ไถดินดานบางชนิดจะทําให้ส�ันขณะแทรกเตอร์วิง� ซึง� จะช่วยลดกําลังฉุดของเครื�องได้มาก

�.� บรรณานุกรม

11 จาก 12 13/1/2564 7:26


การเตรียมดิน http://natres.psu.ac.th/department/plantscience/510-111web/boo...

คณะอาจารย์ภาควิชาปฐพีวทิ ยา คณะเกษตร มมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ����. ปฐพีวทิ ยา


เบือ� งต้น. พิมพ์ครั�งที� � โรงพิมพ์คุรุสภา กรุ งเทพมหานคร.

จักร จักกะพาล และ ยาซุมะสะ โคจะ. ����. เครื�องจักรกลเกษตร. โรงพิมพ์คุรุสภา กรุ งเทพ
มหานคร.

มงคล กวางวโรภาส. ����. เครื�องทุน่ แรงในฟาร์ม. บริษัทประชาชนจํากัด กรุ งเทพมหานคร.

วิรัตน์ ชวาลกุล และ เกศิณี ระมิงศ์วงศ์. ����. คู่มอื ปฏิบตั กิ ารหลักการพืชสวน. ภาควิชาพืช
สวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

FAO. 1982. Organic materials and soil productivity in the near east. FAO Soil Bulletin.

<< สารบัญ >>//<< บทที� � >>//<< บทที � >>

12 จาก 12 13/1/2564 7:26

You might also like