Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรีสากล II 32

อ.บพิตร เคาหัน

จุดพักที่ประกอบไปดวยตรัยแอ็ดคอรดโทนิค ซับดอมินนั ทและดอมินันทในรูปพืน้ ตน


(Cadences Employing the Tonic, Subdominant, and Dominant Triads in Root Position)

ประโยค (Phrase) หลายๆประโยคที่นํามาเรียงรอยตอกันเปนทอนหรือเปนวรรคตอนและมีจุด (Point) ที่บง


บอกการสิ้นสุดของวรรคตอนหรือทอนเพลงนั้นจุดดังกลาวเรียกวา “จุดพักหรือเคเดนซ” (Cadence) โดย
พิจารณาจากทํานองและเสียงประสาน (Melodic and Harmonic) ในการบงบอกชนิดของจุดพัก

1. จุดพักแบบเพอรเฟคทออเทนติคเคเดนซ (Perfect Authentic Cadence) ใชสัญลักษณยอวา P.A.C. โดยมีการ


ดําเนินคอรดแบบV (หรือ V7) – I และคอรด I ดังกลาวโนตแนวโซปราโนและโนตแนวเบสจะตองลงจบ
ดวยโนตหลัก (Tonic) ของบันไดเสียงเสมอ

จุดพักแบบสมบูรณเปนจุดพักที่ใหน้ําหนักเสียงที่หนักแนนที่สุด (Strongest) เปรียบเสมือนจุดหักเหหลัก


หรือหัวเลีย้ วหัวตอของดนตรี เชน การจบของทอนเพลง (Sections) หรือการจบของประโยคใหญ (Periods)

2. จุดพักแบบกึ่งสมบูรณ (Imperfect Authentic Cadence) ใชสัญลักษณยอวา I.A.C. นิยมนํามาใชในการ


ดําเนินคอรดแบบ V (หรือ V7) – I โดยแนวโซปราโนมักจะใชโนต 3 หรือ 5 ของบันไดเสียง
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรีสากล II 33
อ.บพิตร เคาหัน

จุดพักแบบกึ่งสมบูรณเปนจุดพักที่ใหน้ําหนักเสียงที่เบา (Weak) กวาจุดพักแบบสมบูรณ ทําใหทราบวาเสียง


ประสานมีการดําเนินตอเนื่อง มักนํามาใชชวงกลางของประโยคใหญ (Period)

3. จุดพักเปด (Half Cadence) หรือ H.C. ซึ่งลงจบดวยคอรด V


จุดพักเปดใชกรณีที่ตองการน้ําหนักเสียงทีเ่ บา ตองการการเคลื่อนที่ตอเนื่อง

4. การใชจุดพักแบบกึ่งปด (Plagal Cadence) ใชสัญลักษณยอวา P.C. ในการดําเนินคอรดแบบ IV – I

หากพิจารณาสกอรเพลงบริเวณทีจ่ ุดพักแบบกึ่งปดปรากฏอยู แสดงวาชวงดังกลาวใกลสิ้นสุดเพลง และมักจะ


ตามดวยจุดพักแบบสมบูรณ
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรีสากล II 34
อ.บพิตร เคาหัน

แบบฝกหัด
จงเขียนจุดพักดังตอไปนี้
P.A.C. in E minor
P.A.C. in A major

H.C. in B major
P.C. in D minor
P.C. in A minor
I.A.C. in G major
I.A.C. in F# minor
H.C. in C# minor
H.C. in B minor
P.A.C. in E major

จงประพันธทาํ นองเพลง 4 หองเพลง จากนั้นใหเขียนแนวเสียงประสานสี่แนวโดยใชจุดพักทีก่ ําหนดใหดังนี้


P.A.C. in D Major
H.C. in G minor
I.A.C. in E major
P.C. in B major
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรีสากล II 35
อ.บพิตร เคาหัน

บรรณานุกรม

Benjamin, T., Horvit, M. & Nelson, R. (2003). Technique and Material of Music (6 th ed.).
United State of America: Thomson Schirmer.
White, J.D. (1976). The Analysis of Music. United State of America: Prentice-Hall.

You might also like