Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรี สากล II

อ.บพิตร เค้าหัน

โทนิค ซับดอมินันท์ และดอมินันท์ตรัยแอ็ด ในรู ปพลิกกลับครังที


(Tonic, Subdominant, and Dominant Triad in First Inversion)

. คอร์ดพลิกกลับครังที เป็ นการจัดวางโน้ตคู่ ให้อยูบ่ นแนวเบส เลข หลังเลขโรมันแสดงถึงโน้ตหลัก


(Root) ทีอยูเ่ หนือแนวเบสเป็ นระยะขันคู่

. คอร์ดพลิกกลับครังที มีหน้าทีคล้ายกันกับคอร์ดรู ปพืนต้น มีการนําคอร์ดพลิกกลับครังที มาใช้ในการ


จบจุดพักบ้างในบางครัง และจุดพักแบบปิ ดไม่สมบูรณ์ (Imperfect Authentic Cadence) จะใช้ทางเดินคอร์ด
แบบ V6 – I

3. การทบโน้ต (Doubling)
. การทบโน้ตหลัก (เป็ นวิธีทีดีทีสุด)

3.2 การทบโน้ตคู่ (เป็ นวิธีทีค่อนข้างดี)


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรี สากล II
อ.บพิตร เค้าหัน

. การทบโน้ตคู่ (เป็ นวิธีทีไม่ค่อยนิยมนํามาใช้) ในคอร์ด V โน้ตลีดดิ งไม่ควรทบเสียง

. เช่นเดียวกันกับการดําเนินคอร์ดของตรัยแอ็ดในรู ปพืนต้น ซึงการดําเนินคอร์ดในรู ปพลิกกลับครังที นัน


ควรให้แนวทํานองเคลือนทีอย่างกลมกลืน (Smooth) ดังนันการดําเนินคอร์ดควรให้แต่ละแนวเสียงเคลือนที
หากันในระยะแคบมากทีสุด และคํานึงถึงความเหมาะสมของระยะห่าง (Spacing) ของแต่ละแนวเสียงด้วย

5. การเคลือนทีของทํานองในแนวเบสนัน ส่งผลต่อการใช้คอร์ดในรู ปพลิกกลับครังที มาก ตัวอย่างต่อไปนี


แสดงการเคลือนทีของแนวเบส โดยดูจากตัวเลขทีอยูใ่ ต้เลขโรมันแสดงถึงลําดับของโน้ตในบันไดเสียง
โปรดสังเกตโน้ตของคอร์ดทีใช้วิธีการทบโน้ต

. คอร์ด I6

. คอร์ด IV6
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรี สากล II
อ.บพิตร เค้าหัน

1) คอร์ด IV6 ทีเกลาคอร์ดตามหลังคอร์ด V หรื อ V7เรี ยกว่า การเกลาแบบดีเซพทีฟ (Deceptive


Resolution) เมือการดําเนินคอร์ดลักษณะดังกล่าวเกิดขึนตอนสิ นสุดประโยคเพลงทําให้เกิดจุดพักที
เรี ยกว่าจุดพักแบบดีเซพทีฟ (Deceptive Cadence) หรื อใช้อกั ษรย่อว่า D.C.

2) การดําเนินคอร์ดแบบ iv6 – V ในกุญแจเสียงไมเนอร์นนั เมือสิ นสุดการดําเนินคอร์ดบางครังเรี ยกว่า


จุดพักแบบพรี เจียน (Phrygian Cadence) นิยมใช้ในการประพันธ์สมัยบาโร้ค ซึงมักนิยมใช้ใน
ตอนกลางของบทเพลงทีมีขนาดใหญ่
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรี สากล II
อ.บพิตร เค้าหัน

3) คอร์ด V6 จากตัวอย่างด้านล่าง คอร์ดทีตามหลังคอร์ด V6 ต้องเคลือนทีโดยหลีกเลียงการขนานคู่


และคู่ และต้องคํานึงถึงการจัดระยะห่างของแต่ละแนวเสียง

4) บางกรณี มกี ารตัดทอน (Reduction) เหลือ แนว ในคอร์ดพลิกกลับขันที โดยสามารถเขียนในรู ป


คียบ์ อร์ดได้ดงั นี

5) โน้ตหลักมักจะถูกใช้ทบ (Doubling) มากทีสุด รองลงมาคือโน้ตคู่ และขันคู่ที ซึงไม่ค่อยนิยมใช้


หากไม่จาํ เป็ น ส่วนโน้ตคู่ นันไม่ ควรนํามาใช้ทบแนวเสียง

6) โน้ตนอกคอร์ด

6.1) โน้ตเอซเค็พโทน (Escape Tone) คือโน้ตนอกคอร์ดทีอยูร่ ะหว่างโน้ตในคอร์ด โดยโน้ตตัวหน้า


จะมีเสียงสูงหรื อตํากว่า ขันและโน้ตตัวหลังจะกระโดดไปในทิศทางตรงข้าม ใช้สญ ั ลักษณ์ e.t.
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรี สากล II
อ.บพิตร เค้าหัน

6.2) โน้ตฟรี เนบอริ ง (Free Neighboring) หรื อ โน้ตเนบอริ งไม่สมบูรณ์ (Incomplete Neighboring
Tone) คือโน้ตนอกคอร์ด ทีอยูร่ ะหว่างโน้ตในคอร์ด โดยโน้ตตัวหน้าจะมีเสียงสูงหรื อตํากว่าเป็ น
ขันคู่กระโดด และโน้ตตัวหลังจะเคลือนตามขันไปในทิศทางตรงข้าม ใช้สญ ั ลักษณ์ f.n.

6.3) โน้ตแอนติซิเพชัน (Anticipation) คือโน้ตนอกคอร์ดทีมีระดับเสียงเดียวกับโน้ตตัวถัดไปซึงเป็ น


โน้ตในคอร์ด มักเกิดในจังหวะเบา (Weak Beat) ใช้สญ
ั ลักษณ์ ant.
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรี สากล II
อ.บพิตร เค้าหัน

แบบฝึ กหัด
จากแนวเบสทีกําหนดให้ จงเติมโน้ตในแนวโซปราโน อัลโต และเทเนอร์

จากโจทย์ทีกําหนดให้ จงเติมโน้ตเอซเค็พโทนบนตําแหน่งทีทําเครื องหมายดอกจัน (*)

จากโจทย์ทีกําหนดให้ จงเติมโน้ตฟรี เนบอริ งโน้ตบนตําแหน่งทีทําเครื องหมายดอกจัน (*)


เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรี สากล II
อ.บพิตร เค้าหัน

จากโจทย์ทีกําหนดให้ จงเติมโน้ตแอนติซิเพชันบนตําแหน่งทีทําเครื องหมายดอกจัน (*)

จากทํานองทีกําหนดให้ต่อไปนีจงเติมเสียงประสานให้ครบ แนวโดยนําวิธีการประสานเสียงคอร์ดพลิก
กลับครังที และโน้ตนอกคอร์ดทีได้ศกึ ษามาแล้ว มาใช้

1.

2.

----------------------------------------------------------------------------------------------------------

บรรณานุกรม

ณัชชา โสคติญานุรักษ์. (2548). พจนานุกรมศัพท์ ดุริยางคศิลป์ .กรุ งเทพฯ; สํานักพิมพ์แห่ง


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Benjamin, T., Horvit, M. & Nelson, R. ( ). Technique and Material of Music (6 th ed.).
United State of America: Thomson Schirmer.

You might also like