Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 224

คํานํา

ตําราเศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 (EC 111) เลมนี ่ ้ เรี ยบเรี ยงขึ้ นเพื่อใช้สาํ หรับนักศึกษา


ชั้ นปี ที่ 1 ของคณะเศรษฐศาสตร์และคณะบริ หารธุรกจิ มหาวิทยาลัยรามคําแหง เนื่องจากเป็ นวิชา
บังคับตามหลักสู ตรปริ ญญาตรี โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้นกั ศึกษาได้มีความรู ้ ความเข้าใจเกยวกบ ี่ ั
พฤติกรรม การตัดสิ นใจของหนวยเศรษฐกจตางๆที ่ ิ ่ ่เรี ยกวา่ หนวยครั ่ วเรื อน และหนวยธุ ่ รกจิ มี
หลักการและวิธีการตัดสิ นใจในแตละประเด็ ่ ิ ่
นทางเศรษฐกจอยางไร ซึ่งจะเป็ นความรู ้พ้ืนฐานทาง
เศรษฐศาสตร์สาํ หรับนักศึกษาที่จะศึกษาในขั้ นที่สูงกวาตอไป ่ ่
เนื้ อหาสาระของวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาคโดยทัว่ ไปจะแบงออกเป็ ่ น 2 สวนใหญๆ่ ่
คือ สวนที ่ ่หนึ่งเกยวกบบทบาทของหนวยครั
ี่ ั ่ วเรื อนในฐานะผูบ้ ริ โภค เจ้าของปั จจัยการผลิต จะ
ศึกษาเกยวกบเรื ี่ ั ่ องอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุน่ พฤติกรรมผูบ้ ริ โภค และการเสนอขายปัจจัยการ
ผลิต สวนที ่ ่สองเกยวกบบทบาทของหนวยธุ
ี่ ั ่ รกจิ ในฐานะของผูร้ วบรวมปั จจัยการผลิตตางๆ ่ นํามา
ผลิตสิ นค้าและ ศึกษาเกยวกบ ี่ ั ทฤษฎีการผลิต ต้นทุน รายรับ กาไร ํ และตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์
แขงขั่ นไมสมบู ่ รณ์ เป็ นต้น
่ าราที่ปรากฏในบรรณานุกรมเลมนี
ผูเ้ ขียนขอขอบคุณผูร้ ู ้ท้ งั หลาย ที่ได้แตงตํ ่ ้ คณา
จารย์ของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหงและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่สงั่ สอนให้
ความรู ้แกผู่ เ้ ขียนมา รวมทั้ งรองศาสตราจารย์คิม ไชยแสนสุ ข,รองศาสตราจารย์ ดร.จินตนา พรพิไล
พรรณ ที่กรุ ณาอนุญาตให้ใช้ตาํ ราของทานเป็ ่ นแนวทางในการจัดทําตํารา และ รองศาสตราจารย์
ดร.ถวิล นิลใบ,รองศาสตราจารย์บุญธรรม ราชรักษ์ ที่กรุ ณาชวย ่ อานต้่ นฉบับให้ขอ้ แนะนํา
ความเห็นที่เป็ นประโยชน์อยางยิ ่ ง่
ตําราเลมนี ่ ้ อาจมีขอ้ บกพรองอยู
่ บ่ า้ ง ดังนั้ นจึงขอความกรุ ณาผูท้ ี่พบข้อบกพรอง ่
โปรดชวยแนะนํ ่ าให้ผเู ้ ขียนทราบด้วย จักเป็ นพระคุณอยางยิ ่ ง่ และผูเ้ ขียนจะนําไปปรับปรุ งแกไขใน ้
โอกาสตอไป ่

ผศ.สุ พฒั น์ อุย้ ไพบูลย์สวัสดิ์


คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง
เมษายน 2553
โทร. 089-6820151
สารบัญ
หน้ า
บทที่ 1 ความรู ้ทวั่ ไปทางเศรษฐศาสตร์ 1
ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ 3
ความหมายและขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค 4
วิธีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์ 4
วิธีการสร้างทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ 5

ตัวแปรตางๆในระบบเศรษฐกจ ิ 6
ประวัติความเป็ นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์ 6
ประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์ 7
บทที่ 2 ปั ญหาทางเศรษฐศาสตร์ หนวยเศรษฐกจ่ ิ และระบบเศรษฐกจิ 11
ปั ญหาทางเศรษฐกจขั ิ ้ นพื้นฐาน 3 ประการ 13
ทรัพยากรทางเศรษฐกจิ 13
ลักษณะสิ นค้าในทางเศรษฐศาสตร์ 14

หนวยทางเศรษฐกจ ิ : ในฐานะผูต้ ดั สิ นใจ 15
ระบบเศรษฐกจรู ิ ปแบบตางๆ ่ 2 แนวทาง 18
บทที่ 3 อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพของตลาด 25
อุปสงค์(Demand) :ความหมาย และ ปั จจัยกาหนด ํ 29
ฟังกชั์ น่ อุปสงค์ และกฎของอุปสงค์ 30
ี่ ั ปสงค์ 3 ประเภท
การศึกษาเกยวกบอุ 31
อุปสงค์ต่อราคา : ตารางอุปสงค์และเส้นอุปสงค์ 31
การเปลี่ยนแปลงปริ มาณอุปสงค์และระดับอุปสงค์ 34
อุปสงค์ต่อรายได้ : กรณี สินค้าปกติ และด้อยความสําคัญ 35
อุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าชนิดอื่น:กรณี สินค้าประกอบกนและ
ั ทดแทนกนั 36
อุปสงค์บุคคล และ อุปสงค์ของตลาด 38
อุปทาน(Supply) : ความหมาย และปัจจัยกาหนด ํ 39
กฎของอุปทาน 40

(1)
สารบัญ
หน้ า
ตารางอุปทานและเส้นอุปทาน 41
อุปทานของหนวยธุ ่ รกจิ และอุปทานของตลาด 42
การเปลี่ยนแปลงปริ มาณอุปทาน และ ระดับอุปทาน 42
ดุลยภาพในตลาดสิ นค้าและบริ การ 43
การแทรกแซงตลาดสิ นค้าและบริ การของรัฐบาล 47
บทที่ 4 ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ และอุปทาน 57
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ : ความหมายและวิธีการคํานวณหาคา่ 61
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาในลักษณะตางๆ ่ 5 รู ปแบบ 63

การหาคาความยื ดหยุน่ ของอุปสงค์จากรู ปเรขาคณิ ต 67
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคากบรายรั ั บรวม 69
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อรายได้ : ความหมายและการคํานวณหาคา่ 71
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าชนิดอื่นหรื อความยืดหยุน่ ไขว้
: ความหมายและวิธีการคํานวณหาคา่ 72
ความยืดหยุน่ ของอุปทาน: ความหมาย และการคํานวณหาคา่ 72
ความยืดหยุน่ ของอุปทานตอราคา ่ ในรู ปแบบตางๆ่ 5 รู ปแบบ 74

การเกบภาษี อากรของรัฐบาลจากผูขายสิ ้ นค้า 76
การเกบภาษี็ อากรของรัฐบาลจากผูซ้ ้ือสิ นค้า 77
ภาระภาษี เมื่อรัฐบาลเกบภาษี็ จากผูข้ ายสิ นค้า 78

ภาระภาษี เมื่อรัฐบาลเกบภาษี จากผูซ้ ้ือสิ นค้า 82
บทที่ 5 ทฤษฎีพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภค 89
ทฤษฎีอรรถประโยชน์ : ความหมายและสมมติฐาน 93
อรรถประโยชน์รวม และอรรถประโยชน์เพิ่ม 93
่ วยการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์
กฎวาด้ 94
ดุลยภาพของผูบ้ ริ โภค 4 กรณี 95
อรรถประโยชน์ส่ วนเกนของผู ิ บ้ ริ โภค 99

(2)
สารบัญ
หน้ า
ทฤษฎีเส้นความพอใจเทากน ่ ั : ความหมายและสมมติฐาน 100
ตารางการเลือกบริ โภคสิ นค้า 2 ชนิดและเส้นความพอใจเทากน ่ ั 101
ลักษณะของเส้นความพอใจเทากน ่ ั 3 รู ปแบบ 101
่ ดท้ายของการทดแทนกนั (MRS)
อัตราหนวยสุ 105
เส้นแนวทางการบริ โภค อันเนื่องมาจากราคาเปลี่ยนแปลง(PCC) 107
เส้นแนวทางการบริ โภค อันเนื่องมาจากรายได้เปลี่ยนแปลง(ICC) 108
การเปลี่ยนแปลงราคาสิ นค้า : ผลกระทบรวมเทาก ่ บั ผลการทดแทน
บวกกบั ผลทางด้านรายได้ 109
เส้นเองเกล 110
บทที่ 6 การผลิต ต้นทุน รายรับ และกาไร ํ 117
การผลิต : กระบวนการผลิต ลักษณะปัจจัยการผลิต ระยะเวลาการผลิต 121
และฟังกชั์ น่ การผลิต 123
ผลผลิตเฉลี่ย (AP) และ ผลผลิตเพิม่(MP)
ความสัมพันธ์ของเส้นผลผลิต และการแบงขั ่ ้นการผลิต 126
่ วยการลดน้อยถอยลง
กฎวาด้ 126
การผลิตในระยะยาว : ทฤษฎีการผลิตตามหลักเส้นผลผลิตเทากน ่ ั และ 127
ต้นทุนเทากน่ ั
เส้นผลผลิตเทากน ่ ั (ISQ) และคุณลักษณะของเส้นผลผลิตเทากน ่ ั 127
่ ดท้ายของการทดแทนกนของปั
อัตราหนวยสุ ั จจัยการผลิต(MRTS) 129
เส้นต้นทุนเทากน่ ั (ISC) 130
การเคลื่อนย้ายเส้นต้นทุนเทากน ่ ั 3 กรณี 131
ดุลยภาพของผูผ้ ลิต(Producer s Equilibrium) 132
กรณี การผลิตเสี ยต้นทุนตํ่าที่สุด 132
กรณี การผลิตที่ให้ผลผลิตมากที่สุด 133
เส้นแนวทางขยายการผลิตที่เหมาะสม 133
่ วยผลตอบแทนตอขนาดการผลิ
หลักวาด้ ่ ต 134
(3)
สารบัญ
หน้ า
รายรับจาการผลิต : ประเภทรายรับจากการผลิต 136
่ ่ ่ ั
กรณี ราคาผลผลิตตอหนวยเทากน 137
กรณี ราคาผลผลิตตอหนวยไม่ ่ ่เทากน ่ ั 138
ต้นทุนการผลิต : ต้นทุนทางบัญชี และต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ 139
ต้นทุนที่มองเห็นได้,ต้นทุนที่มองไมเห็ ่ น และต้นทุนคาเสี่ ยโอกาส 139
ต้นทุนการผลิตในระยะสั้ น และระยะยาว 140

กาไรจากการผลิ ํ ้ ง 3 ประเภท
ต : กาไรทั 146
บทที่ 7 ตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์: การกาหนดราคาและผลผลิ
ํ ต 155
ตลาด : ความหมาย และประเภทของตลาด 157
ลักษณะที่สาํ คัญของตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ 159
เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหนวยธุ ่ รกจแตละราย ิ ่ 161
ดุลยภาพและเส้นอุปทานหนวยธุ ่ รกจในระยะสั ิ ้น 161
ดุลยภาพและเส้นอุปทานหนวยธุ ่ รกจในระยะยาวิ 167
่ ิ
สวนเกนของผู ผ้ ลิตในตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ 170
บทที่ 8 ตลาดแขงขั ่ นไม่สมบูรณ์ 175
ตลาดผกขาด ู : คุณลักษณะที่สาํ คัญของตลาดสาเหตุการผูกขาด 179
เส้นอุปสงค์ในทัศนะของผูผ้ กู ขาด 179
ดุลยภาพของผูผ้ กู ขาดในระยะสั้ นและระยะยาว 180
การควบคุมผูผ้ กู ขาด 183
ตลาดกึง่ แข่ งขันกึง่ ผกขาดหรื
ู อผ้ ูขายมากราย 185
คุณลักษณะที่สาํ คัญของตลาดกงแขงขั ่ ึ ่ นกงผู ่ ึ กขาด 186
เส้นอุปสงค์ในทัศนะของผูผ้ กู ขาด 187
ดุลยภาพของหนวยธุ ่ รกจิ ในระยะสั้ นและระยะยาว 188
ตลาดผ้ ูขายน้ อยราย : คุณลักษณะที่สาํ คัญของตลาด 190
เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหนวยธุ ่ รกจและกลุ ิ ่มผลิตภัณฑ์ 191
(4)
สารบัญ
หน้ า
ดุลยภาพของหนวยธุ ่ รกจิ กรณี การดําเนินนโยบายอิสระ และ 194
กรณี ดาํ เนินนโยบายรวมตัวกนั
บทที่ 9 ตลาดปั จจัยการผลิต 201
อุปสงค์และอุปทานของปั จจัยการผลิต 204
ดุลยภาพของการใช้ปัจจัยการผลิต 207
ดุลยภาพในตลาดปั จจัยการผลิต 209
่ ่
ปั จจัยที่ดิน : ผลตอบแทนคือ คาเชา 210
ปั จจัยแรงงาน : ผลตอบแทน คือ คาจ้ ่ าง 211
ปั จจัยทุน : ผลตอบแทน คือ ดอกเบี้ ย 213
ปั จจัยผูป้ ระกอบการ : ผลตอบแทน คือ กาไร ํ 214

(5)
บทที่ 1
ความร้ ูทวั่ ไปทางเศรษฐศาสตร์

เนือ้ หาการศึกษา
1. ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์
2.ความหมายและขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
3.วิธีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์
4.วิธีการสร้างทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์

5.ตัวแปรตางๆในระบบเศรษฐกจ ิ
6.ประวัติความเป็ นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์
7.ประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์
สาระสํ าคัญการศึกษา

1. วิชาเศรษฐศาสตร์ มีผู้รู้ ให้ ความหมายแบงออกเป็ น 2 แนวทางคือ (1) ความหมายที่
เน้ นสวัสดิการทางเศรษฐกิจของมาร์แชล และพิกู (2) ความหมายที่เน้นการใช้ ทรัพยากรทีม่ ีอย่ ูอย่ าง
จํากัด ให้ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ให้ได้มากที่สุด ของ รอบบินส์ และแซมมวลสัน
2. ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ จุลภาค เป็ นการศึกษาพฤติกรรมการตัดสิ นใจ

ทางเศรษฐกจของหนวยยอยๆ ่ ่ คือ หนวยครั
่ วเรื อน และหนวยธุ ่ รกจิ
3. ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ มหภาค เป็ นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกจิ

ของหนวยเศรษฐกจ ิ ทุกหนวยโดยรวม
่ ทั้ งประเทศ
4. วิธีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์ แบงออกเป็ ่ น 2 ประเภท คือ (1) การศึกษาโดย
การสังเกต จากปรากฏการณ์ที่เกดขึ ิ ้ น (2) ศึกษาโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ หาคําตอบจากเหตุผล แบง่
่ ่ ก. การศึกษาเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ ข. การศึกษาเศรษฐศาสตร์นโยบาย
ออกเป็ น 2 สวนยอย
5. วิธีการสร้ างทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ประกอบด้วย (1) วิธีการแบบอนุมาน
(Deductive Method) และ (2) วิธีการแบบอุปมาณ (Inductive Method)

EC 111 1
6. ตัวแปรในระบบเศรษฐกิจ (Economic Variables) : ประกอบด้วย (1) ตัวแปร
เชิงสต็อค (Stock variable) และ (2) ตัวแปรเชิงกระแส (Flow variable) นอกจากนี้ ยงั มีอีกหลายตัว
แปรนาสนใจ่ แตที่ ่มิได้นาํ เสนอไว้
7. ประวัตคิ วามเป็ นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์ เริ่ มตั้ งแตปี่ ค.ศ.1776 เมื่ออดัม สมิธ
เขียนตําราชื่อ ความมัง่ คัง่ ของชาติ จากนั้ น จอห์ น เมย์ นาร์ ด เคนส์ เขียนตําราชื่อ ทฤษฎีทวั่ ไป
เกีย่ วกับการจ้ างงาน อัตราดอกเบีย้ และเงินตรา สําหรับประเทศไทยเริ่ มจากพระสริุ ยานวัุ ตรเป็ นผูน้ าํ
ความรู ้ทางเศรษฐศาสตร์เข้ามาเผยแพรใน ่ ปี พ.ศ.2454 รวมทั้ งเขียนตําราทางเศรษฐศาสตร์เลมแรก ่
ของไทยชื่อวา่ ทรัพยศาสตร์ อีกด้วย
8. ประโยชน์ จากการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ จะมีคุณูปการให้แกบุ่ คคลอยางน้ ่ อย 3
กลุ่มคือ (1) กลุ่มนักศึกษาเศรษฐศาสตร์ (2) กลุ่มผูใ้ ช้วชิ าชีพทางเศรษฐศาสตร์ และ(3) กลุ่ม

ผูบ้ ริ หารกจการภาครั ฐและเอกชน
จดประสงค์
ุ การศึกษา
เมื่อศึกษาบทที่ 1 จบแล้ ว ควรทีจ่ ะตอบคําถามประเด็นต่ างๆดังต่ อไปนีไ้ ด้
1. วิชาเศรษฐศาสตร์ มีความหมายอยางไร ่
2. วิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหาภาค มีความหมายและขอบเขต

อยางไร
3. วิธีการศึกษาเศรษฐศาสตร์ มี 2 วิธี ประกอบด้วยอะไรบ้าง
4. วิธีการสร้างทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ มี 2 วิธี ประกอบด้วยอะไรบ้าง

5. ตัวแปรตางๆในระบบเศรษฐกจ ิ 2 ลักษณะ ประกอบด้วยอะไรบ้าง และมีลกั ษณะ

อยางไร
่ ผูใ้ ดนําความรู ้ทางเศรษฐศาสตร์เข้ามา
6. วิชาเศรษฐศาสตร์มีวิวฒั นาการมาอยางไร
ในประเทศไทย
่ เกดประโยชน์
7. การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ กอให้ ิ แกผู่ ใ้ ดบ้าง

2 EC 111
1.1 ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์
วิชาเศรษฐศาสตร์(Economics) มีรากศัพท์มาจากภาษากรี ก “ Oikos “ (House) และ
“ Nemein “ (House Management) มีนกั วิชาการให้ความหมายใหม่คาํ วา่ เศรษฐศาสตร์ ไว้หลาย
ความหมายด้วยกนั แตเนื ่ ่องจากวิชาเศรษฐศาสตร์เป็ นสาขาวิชาในหมวดสังคมศาสตร์ ซึ่งยากที่จะ
ให้นิยามแนชั่ ดลงไปได้ ดังนั้ นคํานิยามตางๆจึ ่ งมีผรู ้ ู ้ให้ความหมายไว้ เชน่
ศาสตราจารย์อลั เฟรด มาร์แชล(Alfred Marshall) จากมหาวิทยาลัยเคมบริ ดจ์ ได้ให้
ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ไว้วา่ เศรษฐศาสตร์ คอื การศึกษาถึงพฤติกรรมเบือ้ งต้ นของมนษย์ ุ
ในด้ านการดํารงชีวติ ทางธรกิ ุ จ โดยศึกษาเพื่ออธิบายให้ได้วาบุ ่ คคลและสังคมจะใช้วตถุ ั ดิบที่มีอยู่
เพื่อตอบสนองตอการดํ ่ ่
ารงชีวิตที่ดีข้ ึนได้อยางไร ซึ่งด้านหนึ่งเป็ นการศึกษาความมัง่ คัง่ และอีก
แงมุ่ มหนึ่งเป็ นการศึกษาถึงเรื่ องราวของมนุษย์
เอ ซี พิกู (A.C. Pigoue) กลาวไว้่ วา่ วิชาเศรษฐศาสตร์เป็ นศาสตร์ที่ศึกษาถึงสวัสดิการ
ทางเศรษฐกจิ
ศาสตราจารย์ลีออนแนล รอบบิน(Lionel Robbins) ได้ให้คาํ จํากดความหมายของ ั
เศรษฐศาสตร์ คอื ศาสตร์ ทศี่ ึกษาถึงทางเลือกหนทางทีจ่ ะใช้ ปัจจัยการทีม่ ีอย่ ูอย่ างจํากัด เพือ่ ให้
บรรลผลสํ
ุ าเร็จตามจดประสงค์ ุ ทมี่ ีอยู่มากมายนับไม่ ถ้วน
ศาสตราจารย์พอล เอ แซมมวลสัน(Pual A Samualson) กลาววา ่ ่ เศรษฐศาสตร์ เป็ น
ศาสตร์ ทวี่ ่ าด้ วย วิธีการทีม่ นษย์ ุ และสั งคมจะโดยมีการใช้ เงินหรือไม่ กต็ าม เลือกใช้ ทรัพยากรการ
ผลิตทีม่ ีอย่ ูอย่ างจํากัด ซึ่งอาจนําทรัพยากรเหล่านีไ้ ปใช้ อย่ างอืน่ ได้ หลายอย่ าง เพือผลิ ่ ตสิ นค้ าต่ างๆ
เป็ นเวลาต่ อเนื่อง และจําหน่ ายจ่ ายแจกสิ นค้ าเหล่านั้นไปยังประชาชนทัว่ ไปและกลุ่มชนในสั งคม
เพือ่ การบริโภคทั้งในปัจจบัุ นและอนาคตได้ อย่ างไร
ดังนั้ นความหมายที่ศาสตราจารย์ลีออนแนล รอบบิน กลาววา ่ ่ เศรษฐศาสตร์ เป็ น
แขนงหนึ่งของสั งคมศาสตร์ ทศี่ ึกษาถึง การเลือกหาหนทางทีจ่ ะใช้ ปัจจัยการผลิตทีม่ อี ย่จู ํากัด
(scarcity)เพือ่ บําบัดความต้ องการของมนษย์ ั
ุ ซึ่งมีอย่ ูมากมายนับไม่ ถ้วน คําจํากดความนี ้ ค่อนข้าง
จะเป็ นที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไปในปัจจบัุ น
สรุ ปความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ จึงมี 2 แนวทางคือ (1) เน้ นการสร้ างสวัสดิการ
ให้ แก่สังคมมนษย์ ุ ตามนิยามของมาร์แชลและพิกู (2) เน้ นการใช้ ทรัพยากรทีม่ ีอย่ ูอย่ างจํากัด ให้
สนองความต้ องการของมนษย์ ุ ให้ ได้ มากทีส่ ุ ด ตามนิยามของรอบบินและแซมมวลสัน นัน่ เอง

EC 111 3
1.2 เศรษฐศาสตร์ จุลภาคและเศรษฐศาสตร์ มหภาค
วิชาเศรษฐศาสตร์กาเนิํ ดอยางเป็
่ นทางการ จากการเขียนหนังสื อชื่อความมัง่ คัง่ ของ
ชาติ “ Wealth of Nation “ ของ อดัม สมิธ(Adam smith) ในปี ค.ศ.1776 ตอมาจอห์ ่ น เมย์นาร์ด
เคนส์ (John Maynard Keynes)ได้เขียนหนังสื อชื่อ ทฤษฎีทวั่ ไปวาด้ ่ วยการจ้างงาน อัตราดอกเบี้ ย
และเงินตรา “The General Theory of Employment Interest and Money “ ปี ค.ศ. 1936 มีผล

ทําให้วงวิชาการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์แบงออกเป็ น 2 สาขาใหมคื่ อ
(1) เศรษฐศาสตร์ จุลภาค (Microeconomics) : เป็ นวิชาที่ศึกษาเศรษฐศาสตร์ใน
่ ่ ของระบบเศรษฐกจประกอบด้
สวนยอย ิ วย หนวย ่ ครัวเรื อน หนวย่ ธุรกจิ เชน่ การศึกษาถึงเรื่ อง
พฤติกรรมของผูบ้ ริ โภค พฤติกรรมของหนวยผลิ ่ ่ ่เป็ นระดับยอยของ
ต ซึ่งเป็ นการพิจารณาถึงสวนที ่
ระบบเศรษฐกจิ และเกยวข้ี่ องกบเรื
ั ่ องของการจัดสรรทรัพยากรด้านอุปสงค์(Demand) และอุปทาน

(Supply) และการกาหนดราคาในตลาดตางๆ ่ ฯลฯ
(2) เศรษฐศาสตร์ มหภาค (Macroeconomics) : เป็ นการศึกษาเศรษฐศาสตร์ใน

สวนรวม ่
(Aggregate)ของทุกหนวยเศรษฐกจ ิ เชน่ การศึกษาถึงเรื่ องของ รายได้ประชาชาติ การจ้าง
งานของประเทศ การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล การค้าและการเงินระหวางประเทศ ่ รวมทั้ ง
การพัฒนาเศรษฐกจิ ซึ่งเป็ นกจกรรม
ิ โดยรวมทั้ งระบบเศรษฐกจิของประเทศ
1.3 วิธีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์
การศึกษาเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ต่างๆจากปรากฏการณ์ทางเศรษฐกจนั ิ ้ น อาจทําได้
2 แนวทางใหญๆด้ ่ วยกนคื
ั อ( คิม ไชยแสนสุ ข,2525,หน้า 7-8)
(1) การศึกษาโดยวิธีสังเกต (Empirical Approach) : เป็ นวิธีการศึกษาโดยอาศัย
การสังเกตจากปรากฎการณ์ทางเศรษฐกจที ิ ่เกดขึ ิ ้ น เชน่ อาจจะดูจากแนวโน้มตางๆในอดี
่ ต แล้ว
คาดการณ์ต่อไป วิธีการนี้ ไมมี่ กฎเกณฑ์ที่แนนอน

(2) การศึกษาโดยใช้ วธิ ีการวิเคราะห์ (Analytical Approach) : เป็ นการศึกษาเพื่อหา

คําตอบจากเหตุผลแหงการวิ ํ
เคราะห์ ซึ่งเริ่ มจากสมมติฐานหรื อข้อกาหนดที ่
่แนนอน แล้วศึกษาหา
่ ธีแรก และการศึกษาแบบวิเคราะห์น้ ียงั สามารถแบง่ ตามความมุ่งหมายของ
คําตอบซึ่งจะชัดเจนกวาวิ
การศึกษาได้ 2 ประเด็น

4 EC 111
ก) การศึกษาเศรษฐศาสตร์ วเิ คราะห์ (Positive Economic) : เ ป็ นการศึกษา
พฤติกรรมทางเศรษฐกจิที่เกดขึ ิ ้ นตามสภาพแหง่ความเป็ นจริ ง วา่มีกลไกทํางานอยางไร
่ โดยไมนํ่ า
่ คคล มาเกยวข้
ความรู ้สึกสวนบุ ี่ องหรื อไมคํ่ านึงถึงเป้ าหมายนัน่ เอง
ข) การศึกษาเศรษฐศาสตร์ นโยบาย (Normative Economic) : เป็ นการศึกษา
เศรษฐกจทีิ ่ควรจะเป็ น บางครั้ งจึงเรี ยกวาเป็
่ นเศรษฐศาสตร์สวัสดิการ(Welfare Economic) ซึ่ง
ี่ องกบนโยบาย
เกยวข้ ั (policy) คํานึงถึงเป้ าหมาย(Goals) และมีส่ วนเกยวข้
ี่ องกบความรู
ั ่
้สึกสวน
บุคคล ซึ่งมุ่งจะตอบวา่ ควรจะเป็ นอะไร ควรจะเป็ นอยางไร ่
1.4 วิธีการสร้ างทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ (Theoritical Methodology)
การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ส่ิ งที่ผศู ้ ึกษาจะพบเห็นอยางสมํ ่ ่าเสมอคือ ทฤษฏ
เศรษฐศาสตร์ ทุกคนควรจะรู ้วา่ ทฤษฎี มีองค์ประกอบไปด้วย (1) คําจํากดความขอ ั งตัวแปร (2) ข้อ
สมมติ (3) สมมติฐาน และ (4) คําทํานาย ซึ่งมีระเบียบวิธีการสร้างทฤษฎี โดยจําแนกเป็ น 2
ประเภทคือ
(1) วิธีอนมานุ (Deductive Method) : เป็ นการสร้างทฤษฎีโดยการหาผลจากเหตุ
หรื ออธิบายจากหลักมาหาข้อเท็จจริ ง โดยมีส่ วนประกอบสําคัญคือ
ก. การตั้ งสมมติฐาน(Assumption) เชน่ ํ
ในเรื่ องของการกาหนดรายได้
็ ้ งสมมติฐานวา่ ระบบเศรษฐกจเป็
ประชาชาติ กอาจตั ิ นระบบปิ ด(Closed economies) เป็ นต้น เป็ น
ํ ่
ข้อกาหนดกอนการเริ ่ มการวิเคราะห์และหลังจากนั้ นวิเคราะห์ไปตามสมมติฐานนั้ นๆ ดังนั้ น
ประเด็นทฤษฎีจะสามารถอธิบายปรากฏการณ์และความสัมพันธ์ของตัวแปรตางๆ ่ นําไปพยากรณ์
เหตุการณ์ทางเศรษฐกจได้ ิ ดีแคไ่ หน จึงขึ้ นอยูก่ บสมมติ
ั ํ
ฐานที่กาหนดขึ ้ นมีความสอดคล้องกบั
ปั ญหามากน้อยแค่ไหน และสมมติฐานที่กาหนดขึ ํ ั
้ นมีความสอดคล้องกบสภาพการณ์ ที่เป็ นจริ งมาก
น้อยแค่ไหนอีกประการหนึ่ง
ข. การวิเคราะห์โดยกระบวนการของเหตุผลและการให้คาํ อธิบายเบื้องต้น
(Logical and Hypothesis Analysis) เป็ นขั้ นตอนกาหนดความสั ํ มพันธ์ของตัวแปร และอธิบาย
ลักษณะความสัมพันธ์น้ นั ๆโดยใช้เหตุผลทางตรรกศาสตร์
ค. การทดสอบหาข้อสรุ ป (Testing and conclusion) : เมื่อผลการทดสอบ

ออกมาสอดคล้องกบสภาพการณ์ ็ นข้อสรุ ปที่สามารถตั้ งเป็ นทฤษฎีได้ แตหากผลที
ที่เป็ นจริ ง กเป็ ่ ่ได้

ไมสอดคล้ ่
องหรื อไมสามารถอธิ บายปรากฏการณ์ที่เป็ นจริ ง กต้็ องกลับไปเริ่ มต้นกนใหม ั ่

EC 111 5
(2) วิธีอุปมาน(Inductive Method) : เป็ นการสร้างทฤษฎีโดยการหาเหตุผลจากหลัก
ความจริ ง เพื่อตั้ งเป็ นกฎเพื่ออธิบายเหตุการณ์หรื อปรากฏการณ์ต่างๆ เรี ยกวาเป็
่ น วิธีการหาเหตจาก

ผล ซึ่งทําได้เป็ นขั้ นตอนดังนี้ (วันรักษ์ มิ่งมณี นาคิน,2548, หน้า 12 )
ก. การรวบรวมข้อมูลทางเศรษฐกจิในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งโดยเฉพาะ จากข้อมูลในรู ป
่ ่มีอยูแ่ ล้ว
สถิติ และข้อเท็จจริ งตางๆที
ข.การหาข้อสรุ ปเพื่อสร้างทฤษฎีเป็ นการวัดความสัมพันธ์ของตัวแปรทางเศรษฐกจิ
่ อาจเป็ นรู ปสมการทางคณิ ตศาสตร์ กได้
ตางๆ ็
ค. ทดสอบความถูกต้องของทฤษฎี เชนเดี ่ ยวกนกบวิ
ั ั ธีการอนุมาน นัน่ เอง

1.5 ตัวแปรต่ างๆในระบบเศรษฐกิจ (Economic Variables)


ตัวแปร(variables) คือ สิ่ งที่เราสามารถวัดคา่และการเปลี่ยนแปลงได้ จะมีผลกระทบ
่ วแปรอื่นๆ ตัวแปรที่จะกลาวตอไปนี
ตอตั ่ ่ ้ มี 2 ตัวแปรคือ
(1) ตัวแปรเชิงสต็อค(Stock Variables) : เป็ นตัวแปรที่วดั คา่ในขณะใดขณะหนึ่ง
่ นาํ เอาเวลาเข้ามาเกยวข้
โดยไมได้ ี่ อง เชน่ ผลรวมของการลงทุน จํานวนประชากร ปริ มาณเงินออม
ในขณะใดขณะหนึ่ง เป็ นต้น
(2) ตัวแปรเชิงกระแส(Flow Variables) : เป็ นตัวแปรทางเศรษฐกจที ิ ่วดั ออกมาใน

ชวงเวลาใดเวลาหนึ ่ ง เชน่ การลงทุนในรอบเวลาระยะเวลาหนึ่ง การเปลี่ยนแปลงจํานวนประชากร
การสะสมทุน(Capital Accumulation) เป็ นต้น
1.6 ประวัตคิ วามเป็ นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์
เริ่ มต้นตั้ งแตปี่ ค.ศ.1700 วิทยาการความรู ้(Scienecs) ในขณะนั้ นได้เริ่ มแบงออกเป็
่ น
่ อ สาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ(Natural sciences) และ วิทยาศาสตร์สงั คม(Social sciences)
2 สวนคื

ตอมาในปี ค.ศ.1776 อดัม สมิธ(Adam Smith) ได้เขียนตําราเศรษฐศาสตร์ชื่อความมั่งคัง่ ของ
ชาติ ( Wealth of the Nations) ซึ่งมีเนื้ อหามุ่งเน้นการสํารวจธรรมชาติ ลักษณะและสาเหตุความมัง่

คัง่ สนับสนุนระบบเศรษฐกจแบบตลาดเสรี ่ น หรื อกลไกราคา เป็ นเครื่ องมือใน
โดยมีมือที่มองไมเห็
การจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิ ทธิภาพ รัฐควรมีบทบาททางเศรษฐกจให้ ิ นอ้ ยที่สุด ตามความจําเป็ น
่ ้ น รวมทั้ งชี้ ให้เห็นวา่ การแบ่ งงานกันทํา จะทําให้ แรงงานมีความชํานาญเฉพาะอย่ าง ทําให้
เทานั
ได้รับผลผลิตเพิ่มขึ้ นโดยใช้ปัจจัยการผลิตเทาเดิ ่ ม จึงถือวาสร้
่ างความมัง่ คัง่ ให้เกดขึ
ิ ้ นได้
6 EC 111
ปี ค.ศ.1936 จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ (John Maynard Keynes) ได้เขียนตํารา
เศรษฐศาสตร์ชื่อ ทฤษฎีทวั่ ไปเกีย่ วกับ การจ้ างงาน อัตราดอกเบีย้ และเงินตรา (The general Theory
of employment ,Interest and Money ) โดยมีเนื้อหาสาระที่สาํ คัญ ที่เสนอวา่ การตกตํ่าทางเศรษฐกจิ

และการวางงานสู งในขณะนั้ น ไมมี่ แนวโน้มที่จะเกดการปรั
ิ บตัวเข้าสู่ ดุลยภาพ(ตามแนวคิดของ
พวกคลาสสิ ก)เป็ นเพราะวา่ ระดับราคาสิ นค้าและคางจ้ ่ างไมยื่ ดหยุน่ กลไกราคาไมทํ่ างาน ดังนั้ นจึง
วิเคราะห์สาเหตุของปัญหามาจากอปสงค์ ุ รวมไม่ เพียงพอ จึงเสนอให้ภาครัฐเข้ามามีบทบาทในทาง

เศรษฐกจมากขึ ้ นโดยใช้นโยบายการคลังเป็ นตัวกระตุน้ เศรษฐกจิ สร้างอํานาจซื้ อจึงจะทําให้สินค้า
ิ ็ ้ นตัวได้
ขายได้มากขึ้ น การจ้างงานมากขึ้ น ภาคเอกชนเริ่ มเชื่อมัน่ มีการลงทุนเพิม่ เศรษฐกจกจะฟื
่ ็ สาํ นักคิดทางเศรษฐศาสตร์เกดขึ
หลังจากนั้ นตอมากมี ิ ้ นมากมายเชน่ สํานักนิยมการเงิน
(Monetary School of Economics) , สํานักซับพลายไซด์(Supply side Economics) , สํานักการ
คาดคะเนเหตุการณ์อยางมี ่ เหตุผล (Rational Expectation Econonics) เป็ นต้น
สําหรับประเทศไทยในปี พ.ศ.2454 วิชาเศรษฐศาสตร์ถูกนํามาเผยแพรโดย ่ พระยาสุริ
ยานุวตั ร โดยเขียนหนังสื อชื่อวา่ ทรัพย์ ศาสตร์ ถือเป็ นตําราเศรษฐศาสตร์เลมแรกของไทย
่ ใช้เรี ยน
สําหรับนักศึกษาปริ ญญาตรี ตอมาได้ ่ มีการจัดตั้ งคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ข้ ึน
และมีมหาวิทยาลัยอีกหลายแหงจั ่ ดตั้ งตามมา จนกระทัง่ ปั จจุบนั มีการจัดการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์
่ บปริ ญญาตรี โท และเอก อยูท่ วั่ ไปในประเทศไทย ซึ่งคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ตั้ งแตระดั
รามคําแหงกได้ ็ เนินการตามแนวทางนี้
1.7 ประโยชน์ จากวิชาเศรษฐศาสตร์
สังคมของโลกในยุคปั จจุบนั ประเทศตางๆมี ่ การเชื่อมโยงกนั ในมิติต่างๆมากมาย

หลายๆด้านทั้ งด้านการเมือง เศรษฐกจและสั งคม และปัญหาของโลกกมี็ ความสลับซับซ้อนมากขึ้ น
่ นิจฉัยได้อยางถู
บางกรณี ไมอาจวิ ่ กต้องโดยอาศัยสามัญสํานึก ดังนั้ นการที่บุคคลมีความรู ้ทาง
็ ่ การดําเนินชีวิตมีความผิดพลาดน้อยลงได้ แตถ้่ าบาง
เศรษฐศาสตร์ระดับพื้นฐานทัว่ ไป กจะชวยให้
คนต้องการใช้ความรู ้เป็ นวิชาชีพ กต้็ องเรี ยนรู ้ในระดับปริ ญญาตรี โทหรื อเอก เพือ่ กให้
็ เกดทั
ิ กษะ
ความเชี่ยวชาญ สามารถนําทฤษฎี แบบจําลองและเครื่ องมือทางเศรษฐศาสตร์ไปวิเคราะห์ และ
นําเสนอทางเลือกในการแกไขปั ้ ญหาได้อยางเหมาะสม


กลาวโดยสรุ ปวิชาเศรษฐศาสตร์มีความสําคัญกอให้ ่ เกดประโยชน์
ิ ่ ่มบุคคล
แกกลุ
่ อย 3 กลุ่ม คือ
อยางน้

EC 111 7
(1) ในฐานะนักศึกษา : ซึ่งเป็ นกลุ่มคนที่มีบทบาทและเป็ นความหวังของสังคม
โดยเฉพาะในประเทศกาลั ํ งพัฒนา วิชาเศรษฐศาสตร์ยอมชวยให้่ ่ นกั ศึกษามีความรู ้ความเข้าใจใน
ปั ญหาและปรากฏการณ์ทางเศรษฐกจิ มีความรู ้ที่จะนําไปแกไขปั ้ ญหาในชีวิตประจําวันได้ ทั้ งของ
ตนเองและประเทศชาติ

(2) ในฐานะผู้ใช้ วชิ าชีพ : นักเศรษฐศาสตร์ซ่ ึงมีความรู ้จากวิชาเศรษฐศาสตร์ยอม
สามารถนําไปใช้เป็ นเครื่ องมือในการดําเนินการวิเคราะห์ คาดการณ์แนวโน้มภาวะเศรษฐกจได้ ิ ซึ่ง

จะทําให้หนวยงานทั ิ
้ งของภาคธุรกจและภาครั ิ
ฐ สามารถนําข้อเสนอแนะไปใช้ให้เกดประโยช น์ได้
(3) ในฐานะผ้ ูบริหารงาน : ทั้ งของภาคเอกชนและภาครัฐ การได้รับข้อมูล ขาวสาร่
ความรู ้ทางเศรษฐศาสตร์ที่ถกู ต้อง สามารถที่จะนําใช้ประกอบในการกาหนดเป้ํ าหมาย แผนงานการ
่ ประสิ ทธิภาพ กจการมี
ทํางานได้อยางมี ิ ่ ง่ ยืนและมัน่ คง
การเจริ ญเติบโตอยางยั

8 EC 111
คําถามท้ ายบท

จงเลือกคําตอบที่ถกู ต้องมากที่สุด เพียงคําตอบเดียว


1. นักเศรษฐศาสตร์ผใู ้ ด ที่ให้คาํ นิยามของวิชาเศรษฐศาสตร์ แบบเน้ นทางด้ านสวัสดิการทาง
เศรษฐกิจ
(1) อัลเฟรด มาร์แชล (2) อดัม สมิธ
(3) พอล เอ แซมมวลสัน (4) เดวิด ริ คาร์โด
2. นักเศรษฐศาสตร์ผใู ้ ด ที่ให้คาํ นิยามของวิชาเศรษฐศาสตร์ แบบเน้ นความหายากของทรัพยากร
(1) อัลเฟรด มาร์แชล (2) อดัม สมิธ
(3) เดวิด ริ คาร์โด (4) พอล เอ แซมมวลสัน
3. ข้อความใดตอไป ่ เกยวข้
ี่ องกบั การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ จุลภาค
(1) รายได้ประชาชาติของไทย (2) การศึกษาโครงตลาดข้าวเปลือกในไทย
(3) ดุลการค้าของไทย ่
(4) นโยบายการเงินของธนาคารแหงประเทศ
4. ข้อความ ถ้ ารัฐบาลลดภาษีมูลค่ าเพิม่ จากร้ อย 7 เหลือร้ อยละ 5 จะมีผลต่ อการบริโภครวมของ
ประชาชนอย่ าง ถือวาเป็่ นการศึกษาแบบใด
(1) แบบเศรษฐศาสตร์วเิ คราะห์ (2) แบบเศรษฐศาสตร์นโยบาย
(3) แบบเศรษฐศาสตร์เชิงสถิต (4) แบบเศรษฐศาสตร์เชิงพลวัตร
5.ข้อความ เพือ่ ให้ เศรษฐกิจไทยมีอตั ราการเจริญเติบโตร้ อยละ 5 รัฐบาลมีความจําเป็ นต้ องจัดทํา
งบประมาณแบบขาดดลุ จํานวนเท่ าใด ถือวาเป็ ่ นการศึกษาแบบใด
(1) แบบเศรษฐศาสตร์เชิงสถิต (2) แบบเศรษฐศาสตร์เชิงพลวัตร
(3) แบบเศรษฐศาสตร์วเิ คราะห์ (4) แบบเศรษฐศาสตร์นโยบาย
6. ข้อความ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ประเทศไทยมีหนีส้ าธารณะจํานวน 3.6 ล้ านล้านบาท ถือเป็ น

ตัวแปรเศรษฐกจแบบใด
(1) ตัวแปรเชิงสต๊อค (2) ตัวแปรเชิงกระแส
(3) ตัวแปรแบบคงที่ (4) ตัวแปรแบบผันแปร

EC 111 9
7. ข้อความ ในปี 2552 ประเทศไทย มีออมของประเทศรวม จํานวน 3.2 ล้านล้ านบาท ถือวาเป็ ่ นตัว
เศรษฐกจแบบใดิ
(1) ตัวแปรแบบคงที่ (2) ตัวแปรแบบผันแปร
(3) ตัวแปรแบบเชิงสต๊อค (4) ตัวแปรแบบเชิงกระแส
8. การสร้างทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ เริ่ มต้นจาก การตั้งสมมติุ ฐานแสดงความสั มพันธ์ ตัวแปรขึน้ มา
ก่อน แล้ วแสวงหาข้ อมลเพื ู อ่ ทดสอบข้ อเท็จจริง ถือวาเป็่ นการศึกษาแบบใด
(1) แบบเศรษฐศาสตร์วเิ คราะห์ (2) แบบเศรษฐศาสตร์นโยบาย
(3) แบบอนุมาน (4) แบบอุปมาน
9. การสร้างทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ เริ่ มต้นจาก การศึกษา รวบรวมข้ อมลู ข้ อเท็จจริงต่ างๆ ในเรื่องใด
เรื่องหนึ่งก่อน จนได้ ความสั มพันธ์ ของตัวแปร จึงแสวงหาข้ อมลเพื ู อ่ ทดสอบ ถือเป็ นการศึกษา
แบบใด
(1) แบบเศรษฐศาสตร์วเิ คราะห์ (2) แบบเศรษฐศาสตร์นโยบาย
(3) แบบอนุมาน (4) แบบอุปมาน

10. หนังสื อเศรษฐศาสตร์เลมแรกของโลก ชื่อวา่ ความมัง่ คัง่ ของชาติ เขียนโดยนักเศรษฐ

ศาสตร์ ชื่อวาอะไร
(1) จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ (2) เดวิด ริ คาร์โด
(3) อดัม สมิธ (4) อัลเฟรด มาร์แชล
11. ผูน้ าํ ความรู ้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ มาเผยแพร่ ในประเทศไทย เป็ นคนแรก ได้แกผู่ ใ้ ด
(1) พระยาอนุมาน ราชธน (2) พระยาสุ ริยานุวตั ร
(3) ดร.เดือน บุนนาค (4) กรมพระยาดํารงราชานุภาพ

12. ถ้ามีการศึกษาภาวะเศรษฐกจของประเทศไทย ทําให้ รู้ แนวโน้ มเศรษฐกิจจะชะลอตัว บุคคลใด
จะนําไปใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด
(1) เจ้าอาวาสวัดแหงหนึ ่ ่ง (2) ครู นอ้ ย ทิมกุล
(3) ผูจ้ ดั การธนาคาร (4) ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนมัธยมรัฐบาล
เฉลยคําถามท้ ายบท
ข้อ 1 ( 1 ) ข้อ 2 ( 4 ) ข้อ 3 ( 2 ) ข้อ 4 ( 1 ) ข้อ 5 ( 4 ) ข้อ 6 ( 1 ) ข้อ 7 ( 4 )
ข้อ 8 ( 3 ) ข้อ 9 ( 4 ) ข้อ 10 ( 3 ) ข้อ 11 ( 2 ) ข้อ 12 ( 3 )

10 EC 111
บทที่ 2
ปัญหาทางเศรษฐกิจ หน่ วยเศรษฐกิจ และระบบเศรษฐกิจ

เนือ้ หาการศึกษา
1. ิ ้นพื้นฐาน 3 ประการ
ปั ญหาทางเศรษฐกจขั
2. ทรัพยากรทางเศรษฐกจิ
3. ลักษณะสิ นค้าในทางเศรษฐศาสตร์
4. ่
หนวยทางเศรษฐกจ ิ : ในฐานะของผูต้ ดั สิ นใจ
5. ระบบเศรษฐกจิ รู ปแบบตางๆ่ 2 แนวทาง

สาระสํ าคัญการศึกษา
1. ปัญหาทางเศรษฐกิจขั้นพืน้ ฐาน 3 ประกอบด้ วย (1) จะผลิตสิ นค้าอะไร

(2) จะผลิตสิ นค้าอยางไร (3) จะผลิตสิ นค้าเพื่อใคร
2. ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ คือบรรดาสิ่ งตางๆที ่ ่ถูกใช้เป็ นปัจจัยการผลิตสิ นค้าและ
บริ การ ซึ่งประกอบด้วย (1) ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ : มีผลตอบแทนปัจจัยเป็ นคาเชา ่ ่ (2)
แรงงาน : มีผลตอบแทนเป็ นคาจ้ ่ างหรื อเงินเดือน (3) ทุน (เครื่ องจักร,เครื่ องมือตางๆ
่ ) : ผลตอบแทน
เป็ นดอกเบี้ ย และ (4) ผูป้ ระกอบการ : ผลตอบแทนเป็ นกาไร ํ
3. สิ นค้ าในทางเศรษฐศาสตร์ : สามารถแบงออกเป็ ่ นได้ในหลายๆลักษณะ เชน่

กรณี แบงตามลั กษณะการเป็ นเจ้าของได้แก่ สิ นค้าเอกชน และสิ นค้าสาธารณะ กรณี แบงตาม ่
วัตถุประสงค์ของการใช้ได้แก่ สิ นค้าเพื่อใช้เป็ นปัจจัยการผลิต และ สิ นค้าสําหรับผูบ้ ริ โภค เป็ นต้น
4. หน่ วยทางเศรษฐกิจ : ในฐานะผูท้ าํ หน้าที่ในผลิตสิ นค้า หรื อ ผูบ้ ริ โภคสิ นค้า
ประกอบด้วย (1) หนวยค ่ รัวเรื อน ในฐานะเจ้าของปัจจัยการผลิตและผูบ้ ริ โภคสิ นค้า (2) หนวยธุ ่ รกจิ

หรื อหนวยผลิ ต ในฐานะผูซ้ ้ือปั จจัยการผลิตและผูผ้ ลิตสิ นค้า (3) หนวยรั่ ฐบาล เป็ นทั้ งผูผ้ ลิตสิ นค้า
และบริ การ หรื อผูบ้ ริ โภคสิ นค้าและบริ การด้วย

EC 111 11
5. ระบบเศรษฐกิจหมายถึง กลุ่มของหนวยเศรษฐกจกลุ
่ ิ ่มหนึ่งๆที่ดาํ เนินกจกรรม


เศรษฐกจภายใต้ ระเบียบกฎเกณฑ์ และการปฏิบตั ิเดียวกนั มีมุมมองในการแบงระบบเศรษฐกจ
่ ิ

ออกเป็ น 2 แนวทางคือ (1) แนวทางที่หนึ่ง แบงระบบเศรษฐกจเป็ิ น 3 รู ปแบบคือ ระบบเศรษฐกจิ

ทุนนิยมหรื อระบบตลาดเสรี , ระบบเศรษฐกจแบบสั งคมนิยมหรื อแบบบังคม และระบบเศรษฐกจิ
ั งคมนิยม (2) แนวทางที่สอง แบงระบบเศรษฐกจออก
แบบผสมทั้ งทุนนิยมกบสั ่ ิ เป็ น 4 รู ปแบบคือ
ระบบทุนนิยมแบบตลาด , ระบบทุนนิยมแบบวางแผนจากสวนกลาง ่ , ระบบสังคมนิยมแบบตลาด
และระบบสังคมนิยมแบบวางแผนจากสวนกลาง่

จดประสงค์
ุ การศึกษา
ิ ้นพื้นฐานมีกี่ประการ และประกอบด้วยอะไรบ้าง
1. ปั ญหาทางเศรษฐกจขั
2. ทรัพยากรทางเศรษฐกจิ : เมื่อจัดแบงตามลั
่ กษณะของการเป็ นเจ้าของ และ ตาม

วัตถุประในการใช้ และแบงตามหลั กการพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ มีลกั ษณะอยางไร ่

3. หนวยทางเศรษฐกจ ิ ซึ่งทําหน้าที่ในการผลิตสิ นค้าและบริ โภคสิ นค้า ซึ่งมีอยู่
3 หนวย ่
่ ได้แกอะไรบ้ าง
4. ระบบเศรษฐกจิ : มีการแบงออกเป็
่ ่
น 2 แนวทาง แตละแนวทางมี รายละเอียด
่ นอยางไร
ในการแบงเป็ ่

12 EC 111
2.1 ปัญหาทางเศรษฐกิจขั้นพืน้ ฐาน (Basic Economic Problems)
ในการดํารงชีวติ ประจําวันของแตละบุ ่ คคลต้องเผชิญปั ญหาทางด้านเศรษฐกจไมมาก ิ ่
กน้็ อย เนื่องจากมีรายได้ไมเพี ่ ยงพอกบรายจาย
ั ่ ในชวงหนึ
่ ่ งของการดํารงชีวิต แตเมื ่ ่อมองในภาพรวม
ของระบบเศรษฐกจิ ประเด็นทางเศรษฐกจที ิ ่ถือวาเป็่ นปัญหาขั้นพื้นฐานได้แก่
(1) ปั ญหาจะผลิตสิ นค้าอะไร
(2) ปั ญหาจะผลิตสิ นค้าอยางไร ่
(3) ปั ญหาจะผลิตสิ นค้าเพื่อใคร
สาเหตุที่ระบบเศรษฐกจตางๆต้ ิ ่ องประสบกบปั ั ญหาดังกลาวนี ่ ้ เพราะทุกๆระบบ
เศรษฐกจิตางมี ่ ลกั ษณะขั้นมูลฐานที่คล้ายคลึงกนดั ั งนี้
ก. การมีทรัพยากรจํากดั : แตละประเทศในโลกนี
่ ้ ต่างเผชิญกบปั
ั ญหามีทรัพยากร
จํากดั บางชนิดเมื่อนํามาใช้แล้วยังหมดไปอีกด้วย ดังนั้ นจึงเป็ นข้อจํากดในการผลิ ั ตสิ นค้าและ
บริ การตามไปด้วย
ข. ความต้องการไมจํ่ ากดั : ความต้องการของมนุษย์มีไมจํ่ ากดั เมื่อเปรี ยบเทียบกบั
ทรัพยากรที่มีอยู่ ทําให้ต้องเลือกผลิตสิ นค้าและบริ การที่สอดคล้องกบความต้ ั องการให้มากที่สุด
่ กลไกอะไรเป็ นเครื่ องมือในการจัดสรรทรัพยากร จะเป็ นกลไกราคา หรื อ กลไก
ทั้ งนี้เพียงแตจะใช้
รัฐบาล นัน่ เอง
2.2 ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ(Economic Resources)
ทรัพยากรคือ บรรดาสิ่ งตางๆที ่ ่ถูกนําไปใช้เป็ นปัจจัยการผลิตเพื่อผลิตสิ นค้าและ
บริ การ ซึ่งทรัพยากรหรื อปัจจัยการผลิตตางๆ ่ มีดงั ตอไปนี ่ ้
(1) ทีด่ นิ และทรัพยากรธรรมชาติ (Land and Natural Resources) : ประกอบด้วย
ี่ องกบที
ที่ดินและสิ่ งที่เกยวข้ ั ่ดิน ป่ าไม้ แรธาตุ
่ แมนํ่ ้ า ลําคลอง เป็ นต้น โดยมีผลตอบแทนปัจจัยการ
ผลิตเรี ยกวา่ ค่าเช่ า
(2) แรงงาน (Labor) : ถือวาเป็ ่ นปั จจัยการผลิตสําคัญ โดยมีมุมมองออกเป็ น 2 ด้าน
คือ จํานวนแรงงาน ซึ่งเราเรี ยกวากาลั ่ ํ งแรงงาน (อายุต้ งั แต่ 15 ปี จนถึง 60 ปี )และคณภาพของ ุ
แรงงาน ในรู ปของความรู ้ ทักษะ ฝี มือแรงงานแตละคน ่ ่
เพราะวาในการผลิ ตสิ นค้าและบริ การ ถ้า
แรงงานมีคุณภาพสูงจะทําให้ผลิตสิ นค้าได้มากขึ้ น ทั้ งที่ใช้ปัจจัยเทาเดิ ่ ม นอกจากนี้ ค่าตอบแรงงาน
็ งกวาผู
กจะสู ่ ท้ ี่มีฝีมือแรงงานตํ่าอีกด้วย โดยมีผลตอบจากปัจจัยการผลิตเรี ยกวา่ ค่ าจ้ างหรือเงินเดือน

EC 111 13
(3) ทนุ (Capital) : ในความหมายทางเศรษฐศาสตร์ มีลกั ษณะเป็ นสิ นทรัพย์เชิงกาย
ภาพเชน่ โรงงาน เครื่ องจักร เครื่ องมือตางๆ ่ ่ ่องจากปัจจัยเหลา่ นี้ตอ้ งนําเงินทุนไปซื้ อหามา
แตเนื

ดังนั้ นจึงถือวาผลตอบแทนปั จจัยการผลิตคือ ดอกเบีย้
(4) ผู้ประกอบการ(Entrepreneur) : ถือได้วาเป็ ่ นปัจจัยการผลิตที่มีบทบาทสําคัญ
ที่สุด เนื่องจากเป็ นผูร้ วบรวมปั จจัยการผลิตทั้ ง 3 ชนิดที่กลาวแล้ ่ ว นํามาผลิตสิ นค้าและบริ การ จึงมี
ผลตอบแทนที่เรี ยกวา่ กําไร
2.3 ลักษณะสิ นค้ าในทางเศรษฐศาสตร์
สิ นค้า(Goods)ในทางเศรษฐศาสตร์ สามารถแบงได้ ่ เป็ นหลายลักษณะด้วยกนแล้ ั วแต่
วัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายที่ตอ้ งการในแตละกรณี ่ ดังนั้ นเพื่อความสะดวกในการทําความเข้าใจ

เบื้องต้น จะแบงประเภทสิ นค้าทางเศรษฐศาสตร์ ดังนี้
2.3.1. ประเภทของสิ นค้ าจําแนกตามความเป็ นเจ้ าของ : จําแนกออกเป็ น 2
ประเภทดังนี้
ก. สิ นค้ าเอกชน (Private goods) คือ สิ นค้าและบริ การที่กรรมสิ ทธิ์เป็ นของสวน ่
บุคคล แตละคน ่ สิ ทธิในการใช้สินค้าและบริ การเพือ่ ตอบสนองความพึงพอใจหรื อความต้องการ
่ นของเจ้าของสิ นค้าและบริ การ ผูอ้ ื่นจะไปละเมิดสิ ทธิมิได้ สิ นค้าเอกชน ได้แก่ พัดลม ตูเ้ ย็น
ยอมเป็
รถยนต์ บ้านที่อยูอ่ าศัย เป็ นต้น
ข. สิ นค้ าสาธารณะ(Public goods) คือสิ นค้าและบริ การ ที่มีลกั ษณะเฉพาะเชน่(1)
ต้องมีลกั ษณะการใช้ประโยชน์ร่ วมกนั เชน่ ถนนหนทาง (2) ไมกดกนตอกน ่ ี ั ่ ั เชน่ การสงกระจาย

เสี ยงทางวิทยุและโทรทัศน์ ใครมีเครื่ องรับวิทยุและโทรทัศน์กดู็ ได้ ไมได้ ่ ไปตัดสิ ทธิคนอื่นๆแต่
ประการใด (3) เป็ นสิ่ งที่สงั คมต้องการ บางครั้ งจึงเป็ นหน้าที่ของรัฐจัดทํา เชน่ การป้ องกนั
ประเทศ สวนสาธารณะ การศึกษาพื้นฐาน เป็ นต้น
2.3.2. ประเภทของสิ นค้ าแบ่ งตามวัตถประสงค์ ุ ่
การใช้ : แบงออกเป็ น2 ประเภท
คือ
ก. สิ นค้ าเพือ่ ใช้ เป็ นปัจจัยการผลิต หรื อสิ นค้าสําหรับผูผ้ ลิต คือสิ นค้าและบริ การที่
เป็ นปัจจัยการผลิต ใช้ในการผลิตสิ นค้าอื่นๆ เชน่ เครื่ องจักร เครื่ องมือตางๆ ่ ฯลฯ
ข. สิ นค้ าสํ าหรับผู้บริโภคคือ สิ นค้าที่ไมถู่ กนําไปใช้เป็ นปัจจัยการผลิต สําหรับ
สิ นค้าอื่นๆแตเป็ ่ นสิ นค้าขั้ นสุ ดท้าย ที่ผบู ้ ริ โภคซื้ อนําใช้ได้โดยตรงเลย

14 EC 111

2.3.3 ประเภทของสิ นค้ าแบ่ งตามหลักพืน้ ฐานทางเศรษฐศาสตร์ : แบงออกเป็ น2
ประเภทคือ
ก. สิ นค้ าเศรษฐกิจ หรือเศรษฐทรัพย์ (Economic goods) คือ สิ นค้าที่ผลิตขึ้ นมาได้
ต้องมีตน้ ทุนคาใช้ ่ จ่ายเกดขึ ็ นสิ นค้าและบริ การทัว่ ไปที่มีอยูใ่ นตลาด
ิ ้ น ซึ่งกเป็
ข. สิ นค้ าเสรี หรือสิ นค้ าไร้ ราคา (Free goods) คือสิ นค้าที่มีมากมาย มหาศาล ทํา
ให้ผตู ้ อ้ งการใช้ ไมมี่ ตน้ ทุนคาใช้ ่ จ่าย เพื่อให้ได้มาบริ โภค เชน่ นํ้ าในแมนํ่ ้ า ลาคลอง
ํ อากาศหายใจ
เป็ นต้น
2.3.4. ประเภทของสิ นค้ าแบ่ งตามลักษณะโครงสร้ างการผลิต : แบงออกเป็ ่ น
3 ประเภทดังนี้
ก. สิ นค้ าขั้นปฐม(Primary Product) คือ สิ นค้าประเภทที่กระบวนการผลิตไม่
ซับซ้อน คอนข้ ่ างเป็ นไปตามลักษณะธรรมชาติของสิ นค้าชนิดนั้ นๆ เชน่ ผลผลิตทางการเกษตร ป่ า
ไม้ ประมง เหมืองแร่ เป็ นต้น
ข. สิ นค้าขั้นมัธยมหรือสิ นค้ าอตสาหกรรม
ุ (secondary Product) คือ สิ นค้าที่
กระบวนการผลิตมีความซับซ้อนมากกวาสิ ่ นค้าขั้ นปฐม หรื อนําสิ นค้าขั้ นปฐมมาแปรรู ป เชน่
รถยนต์ เครื่ องรับวิทยุ โทรทัศน์ ตูเ้ ย็น เป็ นต้น
ค. สิ นค้ าขั้นตติยะหรือประเภทบริการ(tertiary Product) คือ สิ นค้าที่เป็ นบริ การ
่ ๆ เชน่ กจการโรงแรม
ตาง ิ ธนาคาร การทองเที่ ่ยว การขนสงผู ่ โ้ ดยสารและสิ นค้า โรงภาพยนตร์
2.3.5. สิ นค้ าประเภทอืน่ ๆทีเ่ หลือ : ตามพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภค เชน่ สิ นค้าปกติ
(Normal goods) สิ นค้าด้อยความสําคัญ(Inferior goods) หรื อ สิ นค้าฟุ่ มเฟื อย เป็ นต้น
2.4 หน่ วยทางเศรษฐกิจ : ผ้ทู าํ หน้ าทีต่ ัดสิ นใจทางเศรษฐกิจ
ในระบบเศรษฐกจของทุ ิ กประเทศ ยอมต้ ่ องมีหนวยทางเศรษฐกจ
่ ิ ผูทํ้ าหน้าที่
ตัดสิ นใจจะผูซ้ ้ือสิ นค้าและบริ การ หรื อ ผูผ้ ลิตสิ นค้าและบริ การ บางครั้ งอาจมีรัฐบาลเข้ามารวมทํ ่ า
หน้าที่ท้ งั ผูซ้ ้ือหรื อผูผ้ ลิตด้วย ดังนั้ นการศึกษาวงจรทางเศรษฐกจจึ ิ งเริ่ มต้นตั้ งแต่ระบบเศรษฐกจิ ปิ ด
แบบงายๆ ่ จนมีลกั ษณะซับซ้อนมากขึ้ นเป็ นระบบเศรษฐกจิ เปิ ด
การศึกษาในระดับนี้ จะนําเสนอวงจรเศรษฐกจิ แบบปิ ด 2 ระดับ (1) เป็ นระบบ
เศรษฐกจที ิ ่มีหนวยเศรษฐกจเฉพา
่ ิ ่ วเรื อน กบั หนวยธุ
ะหนวยครั ่ รกจิ ไมมี่ ภาครัฐบาล (2) หนวย ่
ครัวเรื อน หนวยธุ ่ รกจิ มีภาครัฐบาล

EC 111 15

หน่ วยครัวเรือน (Household) : เป็ นหนวยเศรษฐกจที ิ ่เล็กที่สุด ทําหน้าที่เป็ น
ผูบ้ ริ โภคและเป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิต ทั้ ง 4 ชนิด ได้แก่ ที่ดิน แรงงาน ทุน และผูป้ ระกอบการ
่ ิ
ุ จ (Bussiness Firm) : เป็ นหนวยเศรษฐกจรวบรวมปั
หน่ วยธรกิ จจัยการผลิต เพือ่
นํามาผลิตสิ นค้าและบริ การ นําไปขายให้ผบู ้ ริ โภค มีหลายรู ปแบบ เชน่ เป็ นบุคคลคนเดียว ,ห้าง
่ ากดั , บริ ษทั และสหกรณ์ เป็ นต้น
หุน้ สวนจํ
หน่ วยรัฐบาล (Government unit) : หน้าที่หลักคือดูแลให้ประชาชน มีชีวิตความ
เป็ นอยูท่ ี่ดี มีคุณภาพ ในระบบเศรษฐกจทุ ิ นนิยมเสรี ภาครัฐบาลควรมีบทบาททางเศรษฐกจให้ ิ นอ้ ย
่ ่
ที่สุด แตอยางไรกตามเมื ็ ็
่อรัฐบาลมีรายได้จากการเกบภาษี ่ ่ ตอ้ งนําเงินเหลานั
และไมใชภาษี ่ ้ น มา
จัดทํางบประมาณประจําปี และนําไปใช้จ่าย บางครั้ งจึงทําให้มีบทบาทหน้าที่เป็ นทั้ งผูซ้ ้ือสิ นค้าและ
เป็ นทั้ งผูผ้ ลิตสิ นค้าได้
รู ปภาพที่ 2.1 วงจรเศรษฐกจอยางงาย ิ ่ ่ แสดงความสัมพันธ์ระหวางหนวย ่ ่ ครัวเรื อนกบัหนวยธุ ่ รกจิ

รับผลตอบแทนจากปัจจัยการผลิต

ขายปัจจัยการผลิต

หน่ วยครัวเรือน หน่ วยธรกิ


ุ จ

ซื้อสิ นค้ าและบริการ

จ่ ายค่ าสิ นค้าและบริการ

16 EC 111
อธิบายรู ปภาพที่ 2.1
่ นเจ้าของปัจจัยการผลิต ประกอบด้วย ที่ดิน แรงงานงาน
หน่ วยครัวเรือนซึ่งถือวาเป็
่ ่ รกจเพื
ทุน และผูป้ ระกอบการ จะขายปั จจัยให้แกหนวยธุ ิ ่อนําไปผลิตสิ นค้าและบริ การ ทําให้

ได้รับเงินคาตอบแทนจากปั ่ ่ คาจ้
จจัยการผลิตในรู ป คาเชา ่ าง ดอกเบี้ ย และกาไรํ
่ อนได้ครบตามที่ตอ้ งการแล้ว
ุ จ เมื่อรวบรวมปัจจัยการผลิตจากหนวยเรื
หน่ วยธรกิ
ั ่ วเรื อน และได้รับเงินเป็ น
จึงนําไปผลิตสิ นค้าและบริ การ หลังจากนั้ นจึงนําไปขายให้กบหนวยครั

คาตอบแทนสิ นค้าและบริ การ
่ รกจมี
ดังนั้ นถ้าหนวยธุ ิ กาไรจากการผลิ
ํ ็
ต กจะลงทุ ่
นซื้ อปัจจัยการผลิตมาจากหนวย
ิ ่ งายนี
ครัวเรื อนผลิตสิ นค้า วงจรเศรษฐกจอยาง ่ ้ กจะหมุ
็ นรอบเป็ นวงกลมตอไป ่

่ ่ วเรื อน หนวยธุ
รู ปภาพที่ 2.2 แสดงความสัมพันธ์ระหวางหนวยครั ่ รกจิ และหนวยรั
่ ฐบาล

่ ่ นค้าและบริ การให้แก่
จายคาสิ

หน่ วยครัวเรือน หน่ วยธรกิ


ุ จ
่ จจัยการผลิตจาก
รับคาปั

ภาษี ภาษี
การใช้จ่าย หน่ วยรัฐบาล การใช้จ่าย

อธิบายรปภาพ

่ วเรื อนและหนวยธุ
บทบาทของหนวยครั ่ รกจิ ได้อธิบายไปแล้วรู ปภาพที่ 2.1
ดังนั้ นจะอธิบายเฉพาะบทบาทของหนวยรั ็
่ ฐบาล ซึ่งมีรายได้จากเกบภาษี ่ วเรื อนและ
จากหนวยครั
่ รกจิ หลังจากนั้ นรัฐบาลจะนํารายได้ไป จัดทําเป็ นรายจายในรู
หนวยธุ ่ ่ นในแต่
ปงบประมาณแผนดิ
่ วเรื อนและ
ละปี ทั้ งในลักษณะของการซึ้ อ- ขายปัจจัยการผลิต และสิ นค้าและบริ การ จากหนวยครั
่ รกจิ
หนวยธุ

EC 111 17
2.6 ระบบเศรษฐกิจ(Economic System)
ระบบเศรษฐกจิ หมายถึง กลุ่มของหนวยเศรษฐกจกลุ ่ ิ ่มหนึ่งๆที่ดาํ เนินกจกรรมทาง


เศรษฐกจภายใต้ ระเบียบ กฎเกณฑ์ และการปฏิบตั ิเดียวกนั (ภราดร ปรี ดาศักดิ์,2549,หน้า 17)

กจกรรมทางเศรษฐกจ ิ เกยวข้
ี่ องกบั การผลิตสิ นค้าและบริ การ การกระจายสิ นค้า
และการบริ โภคสิ นค้า ทั้ งนี้ โดยมีหนวยเศรษฐกจ ่ ิ เช่น หนวยผลิ
่ ่ วครัวเรื อน และหนวย
ต หนวยครั ่
รัฐบาล ทําหน้าที่ต่างๆที่กลาวมาแล้ ่ ว
ี่ ั
การศึกษาเกยวกบระบบเศรษฐกจเป็ ิ นการศึกษาในภาพรวมของแตละประเทศใน่
โลกทั้ งในอดีต ปั จจุบนั จะมีวิธีการในการแกไขปั ้ ญหาขั้ นพื้นฐานคือ จะผลิตสิ นค้าอะไร จะผลิต
อย่างไร และจะผลิตเพื่อใคร โดยใช้วิธีการหรื อเครื่ องมืออยางไร ่ ทั้ งนี้ โดย มีมุมมองการนําเสนอ
ออกเป็ น 2 แนวทาง ด้วยกนคื ั อ
(1) แนวทางทีห่ นึ่งมีการแบ่ งระบบเศรษฐกิจ ออกเป็ น 3 ลักษณะคือ
ก. ระบบเศรษฐกิจแบบทนนิ ุ ยมทีแ่ ท้ จริง(Pure Capitalism) : ใ นระบบเศรษฐ

กจแบบนี ่
้ ยืดถือวาประชาชนมี กรรมสิ ทธิ์ ส่ วนบุคคลในทรัพย์สิน(Asset) และตลาดจะทําหน้าที่
กระจายสิ นค้า เจ้าของปั จจัยการผลิตจะนําเสนอขายปั จจัยให้ได้ราคาสูงสุ ด รายได้จากปั จจัยการผลิต
เชน่ แรงงาน ทุน ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ และความสามารถในการประกอบการ กจะตกเป็ ็ นของ
เจ้าของปั จจัย ผูผ้ ลิตกมี็ อิสระในการจะผลิตสิ นค้าออกมาขายมากน้อย ตามที่พวกเขาคิดวาจะมี ่ กาไร

มากหรื อน้อยอยางไร ่ ทั้ งนี้ การกระทําของผูบ้ ริ โภคและผูผ้ ลิตสิ นค้าเป็ นไปโดยความสมัครใจ โดย
ไมมี่ ขอ้ จํากดในตลาด

ภายใต้ระบบเศรษฐกจแบบทุ ิ นนิยม ตลาดจะเป็ นผูต้ อบวา่ จะผลิตอะไร ผลิต
อยางไร่ และผลิตเพื่อใคร จึงถูกเรี ยกวา่ ระบบตลาด(market system) ตลาดจะทําหน้าที่กระจาย
่ ี่ ั
ขาวสารเกยวกบความหายาก แรงจูงใจของบุคคล และการกระจายรายได้แกผู่ เ้ สนอขายปัจจัย
่ ่ พลังตลาด จะถูกจัดสรรทรัพยากร โดยมือทีม่ องไม่ เห็น (Invisible Hand)
ซึ่งอดัม สมิธเป็ นผูก้ ลาววา
ระบบทุนนิยมบางครั้ งกเรี็ ยกวา่ ระบบตลาดเสรี (Laissez Faire) ในความเป็ นจริ งปัจจุบนั จะหา
ประเทศใดมีระบบเศรษฐกจแบบทุ ิ นนิยมแท้จริ ง ได้ยากยิง่

18 EC 111
ข. ระบบเศรษฐกิจแบบบังคับทีแ่ ท้ จริง (Pure Command System) : ในระบบ
เศรษฐกจแบบบัิ งคับ หรื อบางครั้ งกเรี็ ยกวา่ ระบบวางแผนจากสวนกลาง ่ ทรัพยากรจะถูกควบคุม
และการผลิตกมิ็ ได้ถูกกาหนดโดยตลาด
ํ แตมี่ การวางแผนการผลิตจากสวนกลางโดยรั
่ ฐบาล ดังนั้ น
ในระบบนี้ กรรมสิ ทธิ์ ส่ วนบุคคลจึงไมมี่ แตเป็ ่ นของสังคม (Public) หรื อ คอมมูนเป็ นเจ้าของ ทําให้
บางครั้ งยังมีการเรี ยกอีกชื่อวา่ ระบบคอมมิวนิสต์ (Communism) รัฐบาลจะเป็ นผูว้ างแผนการผลิต
สิ นค้าและบริ การ ถือเป็ นตัวแทนของประชาชาชนทั้ งประเทศ
ในทางทฤษฎีระบบแบบบังคับที่แท้จริ ง จัดระเบียบการเลือกของบุคคลไป
เป็ นการเลือกโดยส่ วนรวม จึงเรี ยกวา่ Collective choice โดยมีประเทศที่มีระบบเศรษฐกจแบบนี ิ ้ เชน่
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (ในยุคของประธานเหมา) ประเทศเกาหลีเหนือ หรื อคิวบา เป็ น
ต้น
ค.ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economies) : ปั จจุบนั ในโลกคงจะหา
ประเทศใดที่มีระบบเศรษฐกจเป็ ิ นแบบทุนนิยมที่แท้จริ ง หรื อระบบเศรษฐกจแบบบั ิ งคับที่แท้จริ งได้
ยากเป็ นอยางยิ ่ ง่ เนื่องจากในประเทศระบบทุนนิยมบทบาทของภาครัฐบาลในทางเศรษฐกจจะมี ิ มาก
ขึ้ นเรื่ อยๆ หรื อประเทศระบบเศรษฐกจแบบบั ิ ็ ระบบตลาดหรื อกลไกราคา ให้ทาํ งาน
งคับ กจะใช้
แทนมากขึ้ น สาเหตุมาจากระบบเดิมของแตประเทศ ่ ทําหน้าที่ไมมี่ ประสิ ทธิภาพนัน่ เอง
ดังนั้ นประเทศต่ างๆในโลกนีจ้ ึงมีระบบเศรษฐกิจเป็ นแบบผสมมากกว่ า เพียงแต่
วา่เป็ นการผสม ที่แนวโน้มปริ มาณกจกรรมเศรษฐก
ิ ิจสวนใหญจะไป
่ ่ ทางด้านทุนนิยมหรื อแบบบัง
คับเทานั ่ ้น
รู ปภาพที่ 2.3 แสดงลักษณะของระบบเศรษฐกจแตละประเทศ ิ ่
สหรัฐ ไทย

ระบบทุนนิยม ระบบแบบบังคับ

สวีเดน จีน คิวบา


(2) แนวทางทีส่ องมีการแบ่ งระบบเศรษฐกิจที่แบงออกเป็ น 4 ลักษณะ :
ทั้ งนี้ โดยพิจารณาจาก กลไกสําหรับการจัดสรรทรัพยากร และ รู ปแบบของการเป็ นเจ้าของ

ทรัพยากร สามารถแบงออกได้ ่
ดงั ตอไปนี ้
EC 111 19
ก. ระบบทนนิ
ุ ยมแบบตลาด(Market capitalism) : ระบบนี้ ตลาดจะเป็ นผู ้
จัดสรรทรัพยากร และเอกชนเป็ นเจ้าของปั จจัยการผลิต มีประเทศตางๆที ่ ่ยดื ถือตามระบบนี้ ได้แก่

ประเทศตางๆในอเมริ กาเหนือ ยุโรปตะวันตก ประเทศจํานวนมากในเอเชีย ลาตินอเมริ กา และ
อัฟริ กา
ข. ระบบสั งคมนิยมแบบวางแผนจากส่ วนกลาง(Centrally Planded
Socialism) : ระบบนี้ มีการจัดสรรทรัพยากรเป็ นแบบบังคับ และปัจจัยการผลิตเกอบทั ื ้ งหมดเป็ น
ของรัฐ มีประเทศที่ยดื ถือตามระบบนี้ ได้แก่ ประเทศสหภาพโซเวียตหรื อยุโรปตะวันออกในอดีต
จนกระทัง่ ถึงปี คศ.1980
ค.ระบบทนนิ
ุ ยมแบบวางแผนจากส่ วนกลาง(Centrally Planded
Capitalism) : ระบบนี้ ทรัพยากรเป็ นของเอกชน แตมี่ การจัดสรรทรัพยากรโดยใช้การวางแผน เชน่
ประเทศญี่ปุ่น สวีเดน หรื อ สหรัฐในชวง ่ WW II ต้องผลิตสิ นค้าทางการทหาร
ง. ระบบสั งคมนิยมแบบตลาด (Market Socialism) : ระบบนี้ รัฐเป็ น
เจ้าของทรัพยากร แตใช้ ่ การจัดสรรโดยกลไกราคา เชนประเทศ
่ ฮังการี และอดีตยูโกสลาเวีย
่ คศ.1950-1960 หรื อ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนในปั จจุบนั เป็ นต้น
ในชวงปี
ิ ่
รู ปภาพที่ 2.4 แสดงลักษณะระบบเศรษฐกจของแตละประเทศอี กแนวคิดหนึ่ง
การจัดสรรทรัพยากร
ตลาด(Market) การบังคับ(Command)

เอกชน ระบบทนนิ
ุ ยม ระบบทนนิ
ุ ยม
Private แบบตลาด ่
แบบวางแผนจากสวนกลาง

เจ้ าของทรัพยากร

ระบบสั งคมนิยม ระบบสั งคมนิยม


รัฐ แบบตลาด ่
แบบวางแผนจากสวนกลาง
State

20 EC 111
เมื่อพิจารณาเปรี ยบเทียบทั้ง 2 แนวทาง จะเห็นได้แนวทางที่สอง จะมีความ

สอดคล้องสถานการณ์เศรษฐกจโลกในศตวรรษที ่ 21 มากกวา่ ยกตัวอย่ างกรณี ประเทศสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน การพัฒนาตามแนวทางระบบบังคับ ใช้การวางแผนเศรษฐกจจากสวนกลาง ิ ่ (ในยุค
ของประธานเหมา เจ๋ อ ตุง)แตพบวาไมมี่ ่ ่ ประสิ ทธิภาพการผลิตถดถอย เนื่องจากประชาชนขาด
แรงจูงใจทางเศรษฐกจิ รวมทั้ งจีนขาดแคลนทุนและเทคโนโลยีที่กาวหน้ ้ า ดังนั้ นจึงจําเป็ นต้อง
เปลี่ยนเป็ นแบบสั งคมนิยมการตลาด(ในยุคของเติ้ง เสี่ ยว ผิง) ทําให้ประเทศจีนในศตวรรษที่ 21 จะ

กลายเป็ นมหาอํานาจทางเศรษฐกจโลกแทนสหรั ฐอเมริ กาได้อนาคต

EC 111 21
คําถามท้ ายบท
่ บทที่ 2 จบแล้ว ควรจะตอบคําถามประเด็นตางๆดั
เมื่อนักศึกษาอาน ่ งตอไปนี
่ ้ ได้

1. ปัญหาทางเศรษฐกิจขั้นพืน้ ฐานของทุกประเทศได้แกเรื่ ่ องอะไร


(1) ปัญหาจะผลิตสิ นค้าอะไร อยางไร ่ และเพื่อใคร (2) ปั ญหาการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกจิ
(3) ปัญหาเงินเฟ้ อ (4) ปั ญหาความยากจนของประชาชน
2. ปั จจัยการผลิตเชน่ ทีด่ นิ และแรงงาน มีผลตอบแทนปั จจัยเรี ยกวาอะไร ่
่ ่
(1) คาเชาและดอกเบี ้ย ่ ่
(2) คาเชาและคาจ้ ่ าง
่ างและดอกเบี้ ย
(3) คาจ้ (4) ดอกเบี้ ยและกาไร ํ
3. ปั จจัยการผลิตเชน่ ทนและผ้ ุ ูประกอบการ มีผลตอบแทนปัจจัยเรี ยกวาอะไร ่
่ ่
(1) คาเชาและคาจ้ ่ าง ่ างและดอกเบี้ ย
(2) คาจ้
(3) ดอกเบี้ ยและกาไร ํ ํ
(4) กาไรและคาเชา ่ ่
4. ข้อความใดตอไปนี ่ ้ แสดงให้เห็นวาเป็่ นการจําแนกสิ นค้าตามลักษณะการเจ้ าของ
(1) สิ นค้าเศรษฐทรัพย์และสิ นค้าไร้ราคา (2) สิ นค้าขั้ นปฐม ,ขั้ นมัธยม และขั้นตติยะ
(3) สิ นค้าปั จจัยการผลิตและสิ นค้าเพื่อผูบ้ ริ โภค (4) สิ นค้าเอกชนและสิ นค้าสาธารณะ
5. ข้อความใดตอไปนี ่ ่ นการจําแนกสิ นค้าตามลักษณะหลักพืน้ ฐานเศรษฐศาสตร์
้ แสงดให้เห็นวาเป็
(1) สิ นค้าเศรษฐทรัพย์และสิ นค้าไร้ราคา (2) สิ นค้าขั้ นปฐม,ขั้ นมัธยม และขั้นตติยะ
(3) สิ นค้าปัจจัยการผลิตและสิ นค้าของผูบ้ ริ โภค (4 ) สิ นค้าเอกชนและสิ นค้าสาธารณะ
6. ข้อความใดตอไปนี ่ ้ มีความสอดคล้ องกับบทบาทของหน่ วยครัวเรือน
(1) เป็ นเจ้าของสิ นค้าและบริ การ (2) เป็ นผูข้ ายปัจจัยการผลิต
(3) เป็ นผูข้ ายสิ นค้าและบริ การ (4) มีรายได้จากการขายสิ นค้า
7. ข้อความใดตอไปนี ่ ้ มีความสอดคล้ องกับบทบาทของหน่ วยธรกิ ุ จ
(1) เป็ นผูข้ ายปั จจัยการผลิต (2) เป็ นเจ้าของปั จจัยการผลิตและสิ นค้า
(3) เป็ นผูข้ ายสิ นค้าและบริ การ (4) มีรายได้จากการขายปั จจัยการผลิต
8. ระบบเศรษฐกจที ิ ่ใช้ กลไกราคา เป็ นเครื่ องมือในการจัดสรรทรัพยากร เรี ยกวา่
(1) ระบบเศรษฐกจแบบตลาดหรื ิ อเสรี (2) ระบบเศรษฐกจแบบบั ิ งคับ
(3) ระบบเศรษฐกจแบบผสม ิ (4) ระบบสังคมนิยมแบบวางแผนส่ วนกลาง

22 EC 111
ิ เคียงกบระบบเศรษฐกจแบบใด
9. ประเทศคิวบา หรือเกาหลีเหนือ มีระบบเศรษฐกจใกล้ ั ิ
(1) ระบบทุนนิยม (2) ระบบสังคมนิยม
(3) ระบบเผด็จการทหาร ิ
(4) ระบบเศรษฐกจแบบดั ้ งเดิม
10. ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนในปัจจบัุ น มีระบบเศรษฐกจใกล้ิ เคียงกบที
ั ่เรี ยกวา่
(1) ระบบทุนนิยมแบบตลาด (2) ระบบทุนนิยมแบบวางแผนสวนกลาง่

(3) ระบบสังคมนิยมแบบวางแผนสวนกลาง (4) ระบบสังคมนิยมแบบตลาด
ิ เคียงกบระบบเศรษฐกจแบบ
11. ประเทศไทยในปัจจบัุ น มีระบบเศรษฐกจใกล้ ั ิ
ิ นนิยมแบบตลาด
(1) ระบบเศรษฐกจทุ (2) ระบบสังคมนิยมแบบวางแผนจากสวนกลาง ่

(3) ระบบเศรษฐกจแบบผสม (4) ผิดทุกข้อ

เฉลยคําถามท้ ายบท
ข้อ 1 ( 1 ) ข้อ 2 ( 2 ) ข้อ 3 ( 3 ) ข้อ 4 ( 4 ) ข้อ 5 ( 1 ) ข้อ 6 ( 2 ) ข้อ 7 ( 3 )
ข้อ 8 ( 1 ) ข้อ 9 ( 2 ) ข้อ 10 ( 4 ) ข้อ 11 ( 3 )

EC 111 23
บทที่ 3
อปสงค์
ุ อปทานและดลยภาพของตลาด
ุ ุ

เนือ้ หาการศึกษา
1. อปสงค์
ุ (Demand)
ความหมาย และปัจจัยกาหนดอุ ํ ปสงค์
ฟังกชั์ น่ อุปสงค์และกฎของอุปสงค์
ี่ ั ปสงค์ 3 ประเภท
การศึกษาเกยวกบอุ
อุปสงค์ต่อราคา
ตารางอุปสงค์และเส้นอุปสงค์
การเปลี่ยนแปลงปริ มาณอุปสงค์ และการเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์
อุปสงค์ต่อรายได้ : กรณี สินค้าปกติ และ สิ นค้าด้อยความสําคัญ
อุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าชนิดอื่น : กรณี สินค้าประกอบกนและสิ
ั นค้าทดแทนกนั
อุปสงค์บุคคลและอุปสงค์ของตลาด
2. อปทานุ (Supply)
ความหมายและปัจจัยกาหนดอุ ํ ปทาน
กฎของอุปทาน
ตารางอุปทานและเส้นอุปทาน
อุปทานของหนวยผลิ ่ ตและอุปทานของตลาด
การเปลี่ยนแปลงปริ มาณอุปทานและการเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน
3. ดลยภาพ
ุ ของตลาดสิ นค้าและบริ การ
การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด กรณี ต่างๆ 4 กรณี
4. การแทรกแซงตลาดสินค้ าของรัฐบาล

การกาหนดราคาขั ้ นตํ่า

การกาหนดราคาขั ้ นสูง
EC 111 25
สาระสํ าคัญการศึกษา
1. อปสงค์ ุ คือ ปริ มาณความต้องการเสนอซื้ อสิ นค้าและบริ การของผูบ้ ริ โภคในสิ นค้า
ชนิด หนึ่ง ณ ระดับราคาตางๆ ่ โดยมีความตั้ งใจและความสามารถในการซื้ อสิ นค้า
2. ปัจจัยกําหนดอปส ุ งค์ ประกอบด้วย ราคาสิ นค้าชนิดนั้ น รายได้ของผูบ้ ริ โภค ราคา
สิ นค้าชนิดอื่นที่เกยวข้ ี่ อง รสนิยมของผูบ้ ริ โภค ฯลฯ
3. กฎของอปสงค์ ุ แสดงความสัมพันธ์ระหวาง ่ ราคาสิ นค้าชนิดนั้ นกบปริ
ั มาณเสนอ
ซื้ อสิ นค้า เป็ นความสัมพันธ์ในลักษณะตรงกนข้ ั าม
4. อปสงค์ุ ต่อราคา แสดงความสัมพันธ์ระหวางราคาสิ ่ ั มาณการ
นค้าชนิดนั้ นกบปริ
เสนอซื้ อสิ นค้าและบริ การ ซึ่งเป็ นไปตามกฎของอุปสงค์
5. การเปลีย่ นแปลงของอปสงค์ ุ ต่อราคาสิ นค้ าแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภทคือ (1)
เปลี่ยนแปลงปริ มาณอุปสงค์ ที่เคลื่อนย้ายบนเส้นอุปสงค์เดิม(move along the Curve) มีสาเหตุมา
จากการเปลี่ยนแปลงราคาสิ นค้า (2) การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายไปทั้ ง
เส้น(shift) มีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ใช่ราคา เชน่ รายได้ รสนิยม เป็ นต้น
6. อปสงค์
ุ ต่อรายได้ แสดงความสัมพันธ์ระหวางปริ ่ มาณการเสนอซื้ อสิ นค้ากบรายได้

ของผูบ้ ริ โภค แบงออกเป็ ่ น 2 ชนิดคือ (1) สิ นค้าปกติ (Normal goods) : ความสัมพันธ์ของตัวแปร
รายได้กบปริั มาณการเสนอซื้ อสิ นค้า ไปในทิศทางเดียวกนเชน ั ่ รายได้เพิม่ เสนอซื้ อสิ นค้าเพิม่ เป็ น
ต้น (2) สิ นค้าด้อยความสําคัญ(Inferior good) : ความสัมพันธ์ของตัวแปรรายได้กบปริ ั มาณเสนอซื้ อ
สิ นค้า ไปในทิศทางตรงกนั ข้าม เชน่ รายได้เพิ่ม เสนอซื้ อสิ นค้าด้อยความสําคัญลดลง
7. อปสงค์
ุ ราคาสิ นค้ าชนิดอืน่ แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ราคาสิ นค้าชนิดหนึ่งกบั
ปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้าอีกชนิดหนึ่ง แบงออกเป็ ่ น 2 ชนิดคือ (1) สิ นค้าประกอบกนั
(Complementary goods) : ความสัมพันธ์ของตัวแปรราคาสิ นค้าชนิดหนึ่งกบั ปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้า
อีกชนิดหนึ่ง ไปในทิศทางตรงกนข้ ั ามกนั เชน่ ราคาสมุดเพิ่มขึ้ น ปริ มาณเสนอซื้ อสมุดลดลงและยัง
ทําให้ปริ มาณการเสนอซื้ อปากกาลดลงด้วย (2) สิ นค้าทดแทนกนั(Substitution goods) :
ความสัมพันธ์ของตัวแปรราคาสิ นค้าชนิดหนึ่งกบปริ ั มาณเสนอซื้ อสิ นค้าอีกชนิดหนึ่ง ไปในทาง
ทิศทางเดี่ยวกนั เชน่ ราคาเนื้ อหมูสูงขึ้ น ปริ มาณเสนอซื้ อเนื้ อหมูลดลง แตป่ ริ มาณเสนอซื้ อเนื้ อไกจะ ่
เพิ่มขึ้ น เป็ นต้น

26 EC 111
8. อปสงค์ ุ ของบคคลุ แสดงความสัมพันธ์ของปริ มาณการเสนอซื้ อสิ นค้า ณ ระดับราคา
่ ั แตเมื
ตางๆกน ่ ่อนําอุปสงค์ส่ วนบุคคลของสิ นค้าชนิดหนึ่งหลายๆคนมารวมกนั ่ น
จึงถือวาเป็
อุปสงค์ในสิ นค้าของตลาด
9. อปทาน
ุ (Supply) คือ ปริ มาณการเสนอขายสิ นค้าและบริ การของหนวยผลิ ่ ตหรื อหนวย ่
ธุรกจิ ณ ระดับราคาตางๆกน ่ ั
10. ปัจจัยกําหนดอปทาน ุ ประกอบด้วย ราคาสิ นค้าชนิดนั้ น ราคาปัจจัยการผลิต ต้นทุน
การผลิตสิ นค้า เทคนิคการผลิตสิ นค้า และสภาพดินฟ้ า อากาศ เป็ นต้น
11. กฎของอปทาน ุ กลาววา่ ่ การเปลี่ยนแปลงปริ มาณการเสนอขายสิ นค้า จะเป็ นไปในทิศ
ั ั
ทางเดี่ยวกนกบการเปลี ่ยนแปลงของราคาสิ นค้า เชน่ ราคาเพิ่ม ปริ มาณเสนอขายเพิม่
12. อปทานของหน่
ุ วยผลิตแห่ งหนึ่ง ปริ มาณการเสนอขายสิ นค้าขึ้ นอยูก่ บราคาสิ
ั นค้า เมื่อ
รวมอุปทานของหนวยผลิ ่ ตหลายๆหนวยในสิ ่ ็ นอุปทานของตลาด
นค้าชนิดหนึ่ง กจะเป็
13. การเปลีย่ นแปลงอปทาน ุ ่
แบงออกเป็ น 2 ประเภทคือ (1) การเปลี่ยนแปลงปริ มาณ
อุปทานที่อยูบ่ นเส้นอุปทานเดิมมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงในราคาสิ นค้า (2) การเปลี่ยนแปลง
ระดับอุปทาน เส้นอุปทานจะเคลื่อนย้ายทั้งเส้น มีสาเหตุ มาจากการเปลี่ยนแปลงที่ไมใชราคาสิ ่ ่ นค้า
เชน่ ราคาปั จจัยการผลิต เทคนิคการผลิต สภาพดิน ฟ้ าอากาศ เป็ นต้น
14. ดลยภาพในตลาดสิ
ุ นค้ าและบริการ คือ ภาวะที่ปริ มาณการเสนอซื้ อสิ นค้าเทากบ ่ ั
ปริ มาณการเสนอขายสิ นค้า ณ ระดับราคาหนึ่ง ดังนั้ น จึงเรี ยกวา่ ราคาดุลยภาพและปริ มาณซื้ อขาย
ดุลยภาพ
15. การเปลีย่ นแปลงดลยภาพ ุ 4 กรณี คือ (1) กรณี ระดับอุปสงค์เพิ่ม-ลด (อุปทานคงที่)
(2) กรณี ระดับอุปทานเพิม่-ลด(อุปสงค์คงที่) (3) กรณี อุปสงค์เพิ่มและอุปทานลดลงในสัดสวน ่
เดียวกนั (4) กรณี อุปสงค์เพิ่มและอุปทานลดในสัดสวนเทากน ่ ่ ั ทั้ งหมดนี้ จะมีผลตอราคาและ

ปริ มาณซื้ อ-ขายอยางไร ่
16. การแทรกแซงตลาดสิ นค้ าของรัฐบาล มี 2 ประเภทคือ (1) การกําหนดราคาขั้นตํ่า

ให้สูงกวาราคาตลาดในขณะนั ้ น ทําให้เกดอุ ิ ปทานสวนเกน
่ ิ (Excess Supply) (2) การกําหนดราคา

ขึน้ สงู ให้ต่าํ กวาราคาตลาดในขณะนั ิ ุปสงค์ส่ วนเกนิ (Excess Demand) รวมทั้ ง
้ น ทําให้เกดอ
มาตรการตางๆที่ ่จะนํามาใช้ในทั้ งสองกรณี

EC 111 27
จดประสงค์
ุ ของการศึกษา

เมื่อนักศึกษาอานจบบทที ่ 3 แล้ว ควรจะตอบคําถามในประเด็นตางๆตอไปนี ่ ่ ้ ได้
1. อุปสงค์มีความหมายอยางไร ่ ่
การศึกษาอุปสงค์แบงออกเป็ ี่
นกประเภท อะไรบ้าง
2. อุปสงค์ต่อราคา มีปัจจัยอะไรเป็ นตัวกาหนด ํ และกฎของอุปสงค์กลาวไว้ ่ วาอยางไร
่ ่
อุปสงค์มีการเปลี่ยนแปลงได้ 2 ลักษณะเป็ นอยางไร ่
3. อุปสงค์ต่อรายได้ : มีมุมมองสิ นค้าออกเป็ น 2 ชนิดได้แก่สินค้าอะไร และในแตละ ่
ชนิด มีความสัมพันธ์ระหวางรายได้ ่ ั มาณการเสนอซื้ อสิ นค้าอยางไร
กบปริ ่
4. อุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าชนิดอื่นๆ : มีมุมมองสิ นค้าออกเป็ น 2 ชนิด ได้แกอะไร ่ และ
ในแตละชนิ่ ่
ด จะมีความสัมพันธ์ระหวางราคาสิ ั มาณการเสนอซื้ อสิ นค้าอีกชนิด
นค้าชนิดหนึ่งกบปริ
หนึ่งอยางไร่
5. อุปทานมีความหมายอยางไร ่ และมีปัจจัยอะไรที่เป็ นตัวกาหนดอุ
ํ ปทาน กฎของ
อุปทานกลาวไว้ ่ วาอยางไร
่ ่
6. การเปลี่ยนแปลงอุปทานมีกี่ประเภท แตละประเภทเรี
่ ่
ยกวาอะไร มีปัจจัยอะไรเป็ น

สาเหตุทาํ ให้เกดการเปลี ่ยนแปลง
7. ดุลยภาพของสิ นค้าและบริ การในตลาดสิ นค้าชนิดหนึ่งเกดขึ ิ ้ นได้อยางไร ่ เมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทาน จะมีผลตอราคาและปริ ่ มาณซื้ อ-ขายสิ นค้าอยางไร ่
8. การแทรกแซงตลาดสิ นค้าของรัฐบาลมีกี่ประเภท เรี ยกชื่อวาอะไร ่ การแทรกแซง
ในแต่ละประเภทมีจาํ เป็ นและวัตถุประสงค์อยางไร ่ การแทรกแซงตลาดจะเกดผลดี ิ แกผู่ ผ้ ลิตหรื อ
ผูบ้ ริ โภคสิ นค้า จะต้องมีมาตรการอะไรมารองรับบ้าง

28 EC 111
3.1 อปสงค์
ุ (Demand)
อปสงค์
ุ คือปริ มาณความต้องการเสนอซื้ อสิ นค้าและบริ การของผูบ้ ริ โภคในสิ นค้า
ชนิดใดชนิดหนึ่ง ณ ระดับราคาตางๆกน ่ ั โดยมีความตั้ งใจ(willing)และความสามารถ(ability to

pay)ในการซื้ อสิ นค้าในชวงเวลาหนึ ่ ง (เชน่ หนึ่งวัน หนึ่งสัปดาห์ หนึ่งเดือน หรื อ หนึ่งปี )
ดังนั้ นอุปสงค์ในทางเศรษฐศาสตร์ จึงมีลกั ษณะที่เป็ นความต้องการที่สามารถ
ตอบสนองได้จริ ง(Effective demand) ตางกบความต้ ่ ั องการ(want) ในสิ นค้าและบริ การที่มีราคาแพง
ของผูบ้ ริ โภคที่มีกาลัํ งซื้ อไมเพี
่ ยงพอ กไมสามารถซื็ ่ ้ อสิ นค้าดังกลาวได้ ่
3.1.1 ปัจจัยทีก่ าํ หนดอปสงค์ุ
การที่อุปสงค์หรื อปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้าและบริ การชนิดใดชนิดหนึ่ง ณ ชวงระยะ ่
เวลาหนึ่ง จะมีมากน้อยเพียงใด ขึ้ นอยูก่ บปั ั จจัยตางๆดั
่ งตอไปนี ่ ้
(1) ราคาสิ นค้าและบริ การสิ นค้าชนิดนั้ น
(2) ระดับรายได้ของผูบ้ ริ โภค
(3) ราคาสิ นค้าและบริ การชนิดอื่นๆที่เกยวข้ ี่ อง
(4) รสนิยมของผูบ้ ริ โภค
(5) การคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคตของผูบ้ ริ โภค
(6) ขนาดของประชากร
(7) ฤดูกาล เป็ นต้น
ราคาสิ นค้าและบริการชนิดนั้น : ผูบ้ ริ โภคที่มีเหตุผล จะต้องการแสวงหา
อรรถประโยชน์ หรื อความพึงพอใจสูงสุ ด ในการบริ โภคสิ นค้า ดังนั้ นจะมีปฎิกิริ ยาตอบโต้เมื่อราคา
ู น้ เขาจะซื้อสิ นค้ าน้ อยลง หรือถ้ าราคาสิ นค้ าลดลง เขาจะซื้อสิ นค้ ามากขึน้ พฤติกรรมใน
สิ นค้ าสงขึ
ลักษณะเชนนี ่ ้ เป็ นไปตามที่เรี ยกวา่ กฎของอปสงค์ ุ (Law of Demand) ทั้ งนี้ โดยสมมติฐานที่อยู่
เบื้องหลังปัจจัยอื่นๆอยูค่ งที่(Other Thing Being Equal) และผูบ้ ริ โภคใช้รายได้ในการซื้ อสิ นค้าจน
หมดอีกด้วย
ระดับรายได้ ของผ้ ูบริโภค : ระดับรายได้เป็ นอีกปัจจัยหนึ่งที่กาหนดวา ํ ่ ผูบ้ ริ โภคจะ
ซื้ อสิ นค้าและบริ การในระดับเทาใด ่ ดังนั้ นเมื่อมีรายได้สูงขึ้ น ยอมต้ ่ องซื้ อสิ นค้าและบริ การได้มาก
ขึ้ นในกรณี ที่เป็ นสิ นค้าปกติ

EC 111 29
ระดับราคาสิ นค้ าชนิดอืน่ ๆทีเ่ กีย่ วข้ อง : สมมติมีสินค้า 2 ชนิด ซึ่งทดแทนกนกนได้ ั ั
ได้แก่ สิ นค้าเนื้ อหมู กบเนื
ั ้ อไก่ เมื่อราคาเนื้ อหมูสูงขึ้ น ปริ มาณซื้ อเนื้ อหมูจะลดลง แตผู่ บ้ ริ โภคจะ
หันไปซื้ อเนื้ อไก่(ราคาคงที่) มากขึ้ น เป็ นต้น
รสนิยม(Tastes) : รสนิยมของผูบ้ ริ โภคเป็ นอีกปั จจัยหนึ่งที่จะกาหนดวา ํ ่ ผูบ้ ริ โภคจะ
มีความต้องการสิ นค้าและบริ การชนิดใดชนิดหนึ่งในระดับใด การเปลี่ยนแปลงของรสนิยมกจะทํ ็ า
ให้ระดับความต้องการในสิ นค้าเปลี่ยนแปลงไปด้วย
การคาดคะเนเหตการณ์ ุ ทจี่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต(Expectation) : การที่ผบู ้ ริ โภคคาดคะเน
เหตุการณ์ในอนาคตวา่ ราคาสิ นค้าจะปรับตัวสูงขึ้ นหรื อลดลง จะมีผลตอปริ ่ มาณซื้ อสิ นค้าของ
ผูบ้ ริ โภค เชน่ ถ้าผูบ้ ริ โภคคิดวาราคาจะสู
่ ่
งขึ้ น ยอมจะซื ้ อสิ นค้ามากขึ้ น ทั้ งๆที่ไมจํ่ าเป็ นต้องใช้ใน
วันนี้
ขนาดของประชาการ(Size of Population) : จํานวนและโครงสร้างอายุของประชากร
จะมีผลตอปริ่ มาณซื้ อสิ นค้าและลักษณะสิ นค้าบางชนิดที่เหมะสมกบอายุ ั ของคน
ปัจจัยด้ านฤดกูาล (Seasonal Factors) : มีสินค้าบางชนิดระดับอุปสงค์อยูก่ บฤดู ั กาล
เชน่ เสื้ อกนหนาว
ั ่ ั เป็ นต้น
รมกนฝน
3.1.2. ฟังก์ ชั่นอปสงค์
ุ (Demand Function )
เป็ นสมการที่แสดงความสัมพันธ์ทางคณิ ตศาสตร์ระหวางปริ ่ มาณความต้องการเสนอ
ซื้ อสิ นและบริ การ (Qx) กบปั ั จจัยอื่นๆที่เป็ นตัวกาหนดํ โดยมีรูปแบบดังนี้
Qx = f ( Px , Y , Py , T , E , P , S …… )
ตัวแปร Qx หมายถึง ปริ มาณความต้องการเสนอซื้ อสิ นค้าสิ นค้าและบริ การ X
Px หมายถึง ระดับราคาสิ นค้า X
ี่ อง
Py หมายถึง ระดับราคาสิ นค้า Y ที่เกยวข้
T หมายถึง รสนิยมของผูบ้ ริ โภค
E หมายถึง การคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต
P หมายถึง ขนาดของประชากร
S หมายถึง ฤดูกาล

30 EC 111
3.1.3. การศึกษาอปสงค์
ุ แบ่ งออกเป็ น 3 ประเภทคือ

(1) อปสงค์
ุ ่
ต่อราคา(Price Demand) : จากที่กลาวมาแล้ ววา่ อปสงค์
ุ คอื ความ
ต้ องการทีจ่ ะซื้อสิ นค้ าและบริการ ณ ระดับราคาต่ างๆ กัน ในขณะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยมีอาํ นาจซื้ อ
สนับสนุนอยูเ่ บื้องหลัง ซึ่งตอไป ่ นี้ เราจะเรี ยกวา่ อปสงค์
ุ (Demand) แทน สามารถเขียนเป็ น
สมการดังนี้
Q d x f(Px) โดยกาหนดให้
ํ Q d x Dx

สมการอุปสงค์ต่อราคา คือ สมการที่แสดงความสัมพันธ์ระหวางราคาสิ


่ นค้า X
กับปริ มาณการเสนอซื้ อสิ นค้า X สมมติความสัมพันธ์ของตัวแปร Px กบั Qx เป็ นความสัมพันธ์
แบบเส้นตรง (Linear Relationship) สามารถเขียนเป็ นสมการได้ดงั นี้

Qd x a bPx

ทั้ งนี้ โดย Qd x หมายถึง ปริ มาณความต้องการเสนอซื้ อสิ นค้า X


Px หมายถึง ระดับราคาสิ นค้า X
่ วคงที่
a หมายถึง คาตั

b หมายถึง คาความชั นของเส้นอุปสงค์

่ ปนี้
ซึ่งเราสามารถเขียนเป็ นอุปสงค์ ได้ดงั ตอไ

EC 111 31
รปภาพที
ู ่ 3.1 เส้ นอปสงค์
ุ ในสิ นค้ า X

Px

10 A
5 B
D
Qx
0 80 120


จากรู ปภาพที่ 3.1 เส้น D คือเส้นอุปสงค์ที่แสดงความสัมพันธ์ระหวางราคาและ
ปริ มาณความต้องการเสนอซื้ อ โดยเส้นอุปสงค์จะบอกให้ทราบวา่ ณ ระดับราคาตางๆ ่ ปริ มาณ
ความต้องการเสนอซื้ อสิ นค้า จะมีมากน้อยแคไ่ หน เชน่ ณ ราคา 10 บาท ปริ มาณเสนอซื้ อจํานวน
่ แตเมื
80 หนวย ่
่ ่อราคาลดลงเป็ น 5 บาท ปริ มาณเสนอซื้ อเพิม่ ขึ้ นเป็ นจํานวน 120 หนวย
ลักษณะสํ าคัญของเส้ นอปสงค์
ุ : เส้นอุปสงค์โดยทัว่ ไป จะมีลกั ษณะทอดลงจากซ้าย
ไปขวามือ มีความลาดชัน (slope) เป็ นลบ ทั้ งนี้ เป็ นไปตามกฎของอุปสงค์ที่วา่ ตัวแปรราคา กบตัั ว
แปรปริ มาณความต้องการเสนอซื้ อ จะมีความสัมพันธ์ในลักษณะตรงกนข้ ั าม คือ ราคาสูง จะทําให้
ปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้าน้อย และถ้าราคาตํ่า จะทําให้ปริ มาณความต้องการเสนอซื้ อสิ นค้ามีมากขึ้ น
่ ว
ดังปรากฏในรู ปภาพที่ 3.1 ที่กลาวแล้
ตารางอปสงค์
ุ (Demand Schedule)

ตารางอุปสงค์ คือ ตารางที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหวางราคากบปริ ั มาณความ
ต้องการเสนอซื้ อ และลักษณะความสัมพันธ์ตอ้ งเป็ นไปตามกฎของอุปสงค์ที่กลาวแล้ ่ ว ดังตัวอยาง ่
ใน ตารางที่ 3.1

32 EC 111
ตารางที่ 3.1 แสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างราคากับปริมาณเสนอซื้อสิ นค้ า
ราคาสิ นค้า X ( Px) ปริ มาณความต้องการเสนอซื้ อสิ นค้า X (Qx)
หนวย ่ : บาท ่ : กโลกรั
หนวย ิ ม
1 10
2 8
3 6
4 4
5 2

่ ราคากบปริ
จากตารางที่ 3.1 นําความสัมพันธ์ระหวาง ั มาณ มาเสร้างเป็ นเส้นกราฟ
จะได้เป็ นเส้นอุปสงค์ในรู ปภาพ 3.2 ดังนี้


รู ปภาพที่ 3.2 แสดงปริ มาณอุปสงค์ในสิ นค้า X ณ ระดับราคาตางๆ
Px
5 E
4 D

3 C
2 B
1 A D
Qx
0 2 4 6 8 10

EC 111 33
การเปลีย่ นแปลงของปริมาณอปสงค์
ุ (Change in Quantity Demand)และการ
เปลีย่ นแปลงระดับของอปสงค์
ุ (Change in Demand)

(1) การเปลีย่ นแปลงของปริมาณอปสงค์ุ : เป็ นการเปลี่ยนแปลงปริ มาณการ


่ ั เป็ นการเคลื่อนย้ายอยูบ่ นเส้นอุปสงค์เดิม(Move
เสนอซื้ อสิ นค้า ที่เป็ นไปตามระดับราคาตางๆกน
along The Curve) นับตั้ งแต่ สิ นค้า X ระดับราคา 1 บาท/กโลกรั ิ ม ปริ มาณเสนอซื้ อจํานวน 10
ิ ม ที่จุด A ไปจนกระทัง่ จุด B , C , D และ E ราคา 5 บาท/กโลกรั
กโลกรั ิ ม ปริ มาณเสนอซื้ อ
ิ ม ทั้ งหมดเคลื่อนย้ายอยูบ่ นเส้นอุปสงค์ D เราจึงเรี ยกว่า การเปลี่ยนแปลงปริ มาณ
จํานวน 2 กโลกรั
เสนอซื้ อสิ นค้า(Qx) อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงราคาสิ นค้า(Px) นัน่ เอง
(2) การเปลีย่ นแปลงระดับอปสงค์
ุ : เป็ นลักษณะที่เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายไปทั้ ง
เส้น(Shiff) โดยสาเหตุมาจากตัวแปรที่มิใชราคาสิ่ นค้า เชน่ รายได้ของผูบ้ ริ โภคเปลี่ยนแปลง จึงทํา
เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายไปทั้ งเส้น ถ้าเคลื่อนย้ายไปทางซ้าย แสดงวาผู ่ บ้ ริ โภคมีรายได้ลดลง หรื อถ้า
เคลื่อนย้ายไปทางขวาแสงดวา่ ผูบ้ ริ โภคมีรายได้เพิม่ ขึ้ น ดังในรู ปภาพที่ 3.3

รู ปภาพที่ 3.3 แสดงการเคลื่อนย้ายเส้นอุปสงค์ท้ งั เส้น(Shift)


Px

P0

D2 D0 D1
Qx
Q2 Q0 Q1
จากรู ปภาพที่ 3.3 การที่เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายจากเส้น D0 เป็ นเส้น D1 ไปทางขวา
มือเรี ยกวา่ อุปสงค์เพิม่ ขึ้ น และการเคลื่อนย้ายไปทางซ้ายมือ จากเส้น D0 เป็ นเส้น D2 เรี ยกวา่
อุปสงค์ลดลง ทั้ งนี้ โดยมีสาเหตุ มาจากปัจจัยทางด้านรายได้เปลี่ยนแปลง (ราคาสิ นค้าคงที่)

34 EC 111
(2) อปสงค์
ุ ต่อรายได้ (Income Demand) : หมายถึง ปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้าและ
บริ การของผูบ้ ริ โภคในขณะใดขณะหนึ่ง ณ ระดับรายได้ต่างๆ กนั โดยกาหนดให้ ํ ปัจจัยอื่นๆคงที่
โดยเขียนในรู ปฟังกชั์ น่ ได้ดงั นี้
Qx = f ( Y )
Qx หมายถึง ปริ มาณการเสนอซื้ อสิ นค้า X
Y หมายถึง ระดับรายได้ของผูบ้ ริ โภค
ี่ ั
การศึกษาเกยวกบความสั มพันธ์ของตัวแปรรายได้ กบปริ ั มาณการเสนอซื้ อสิ นค้า จะมีมุมมอง
สิ นค้าออกเป็ น 2 ชนิดคือ
ก. สิ นค้ าปกติ (Normal goods) : มีความสัมพันธ์ของตัวแปรวา่ เมื่อผูบ้ ริ โภคมี
็ ้ อสิ นค้าและบริ การลดลง
รายได้สูงขึ้ น จะซื้ อสิ นค้าและบริ การเพิม่ ขึ้ น และถ้ารายได้ลดลง กจะซื

ดังนั้ น สิ นค้าปกติ ความสัมพันธ์ระหวางรายได้ ั มาณเสนอซื้ อ เป็ นลักษณะเชิงบวกหรื อไปใน
กบปริ
ทิศทางเดียวกนั ดังรู ปภาพที่ 3.4
รู ปภาพที่ 3.4 ลักษณะของเส้นอุปสงค์ต่อรายได้ กรณี สินค้าปกติ
Y D
10,000

5,000

Qx
0 1 2
จากรู ปภาพที่ 3.4 สมมติผบู ้ ริ โภคคนหนึ่งชื่อ นายแดง เมื่อมีได้เดือนละ 5,000

บาท เขาจะซื้ อเสื้ อเดือนละ 1 ตัว ตอมาเขามี รายได้สูงขึ้ นเป็ นเดือนละ 10,000 บาท จะซื้ อเสื้ อเดือน
ละ 2 ตัว แสดงวาเสื ่ ้ อเป็ นสิ นค้าปกติ
่ วแปร
ข. สิ นค้ าด้ อยความสํ าคัญ(Inferior goods) : จะมีความสัมพันธ์ระหวางตั
ั มาณเสนอซื้ อสิ นค้าเป็ นแบบลบ กลาวคื
รายได้กบปริ ่ อถ้ารายได้สูงขึ้ น จะเสนอซื้ อสิ นค้าลดลง หรื อ
ถ้ารายได้ลดลง จะเสนอซื้ อสิ นค้าด้อยความสําคัญมากขึ้ น บางครั้ งเราเรี ยกสิ นค้าของคนจน ดัง
รู ปภาพที่ 3.5

EC 111 35
รู ปภาพที่ 3.5 ลักษณะเส้นอุปสงค์ต่อรายได้ กรณี สินค้าด้อยความสําคัญ
Px
6,000

4,000
D
Qx
10 30
จากรู ปภาพที่ 3.5 เมื่อนายแดง มีรายได้เดือนละ 4,000 บาท ใช้บริ การรถเมล์
ประจําทางแบบพัดลมเดือนละ 30 ครั้ ง ตอมาเมื ่ ่อเขามีรายได้สูงขึ้ นเป็ น 6,000 บาท เขาใช้บริ การ
รถเมล์ประจําทางแบบพัดลมลดลง เหลือเดือนละ 10 ครั้ ง แตหั่ นไปใช้รถประจําทางปรับอากาศ
หรื อรถแท็กซี่มากขึ้ น แสดงให้เห็นวา่ ในสายตาของนายแดง รถเมล์ประจําทางพัดลมเป็ นสิ นค้าด้อย
ความสําคัญ
(3) อปสงค์
ุ ต่อราคาสิ นค้ าชนิดอืน่ ๆ (Cross Demand) : หมายถึง ปริ มาณเสนอซื้ อ
สิ นค้าชนิดหนึ่ง ในขณะเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาตางๆของสิ ่ ี่ อง
นค้าอีกชนิดหนึ่งที่เกยวข้
เขียนเป็ นรู ปฟังกชั์ น่ ได้ดงั นี้

QA = f ( PB)
QA หมายถึง ปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้า A
PB หมายถึง ราคาสิ นค้า B

อปสงค์
ุ ต่อราคาสิ นค้าชนิดอืน่ หรืออปสงค์
ุ ่
ไขว้ มีมุมมองสิ นค้าแบงออกเป็ น2
ชนิดคือ
ก. สิ นค้ าทีใ่ ช้ ประกอบกัน (Complementary goods) : เป็ นสิ นค้า 2 ชนิดเมื่อ
ผูบ้ ริ โภคต้องการใช้สินค้าชนิดหนึ่ง กจะต้ ็ องซื้ อสิ นค้าอีกชนิดหนึ่งตามมาด้วย เชน่ สมุดกบปากกา

กาแฟกบนํ ั ้ าตาล เป็ นต้น เมื่อมีเหตุจากราคากาแฟสู งขึ้ น จะทําให้การบริ โภคกาแฟลดลง และยังไ
ทําให้การบริ โภคนํ้ าตาลลดลงด้วย ดังรู ปภาพที่ 3.6

36 EC 111
รู ปภาพที่ 3.6 เส้นอุปสงค์ไขว้ กรณี สินค้าที่ใช้ประกอบกนั

ราคากาแฟ (PB)
40

30 D
0 ปริ มาณซื้ อนํ้ าตาล(QA)
1 2
ิ ม เมื่อกาแฟสําเร็ จถุงละ
จากรู ปภาพที่ 3.6 นายดําซื้ อนํ้ าตาล จํานวน 2 กโลกรั
30 บาท แตเมื ิ มตอเดื
่ ่อราคากาแฟสู งขึ้ นเป็ นถุงละ 40 บาท จะซื้ อนํ้ าตาลลดเหลือ 1 กโลกรั ่ อน
เป็ นต้น แสดงวาถ้ ่ าเป็ นสิ นค้าประกอบกนั ตัวแปรราคากาแฟ(PB) กบปริ ั มาณซื้ อนํ้ าตาล(QA)
จะมีความสัมพันธ์ต่อกนเป็ ั นลบ
ข. สิ นค้ าทีใ่ ช้ ทดแทนกัน(Substitution goods) : ถ้าราคาสิ นค้าชนิดหนึ่งสูงขึ้ น
ผูบ้ ริ โภคอาจไปเลือกซื้ อสิ นค้าอีกชนิดหนึ่งที่ทดแทนกนได้ ั เชน่ สิ นค้าชากบกาแฟ
ั ั ้อ
เนื้ อหมูกบเนื
ไก่ นํ้ าพืชกุ๊ก กบนํ
ั ้ ามันพืชทิพย์ เป็ นต้น ดังรู ปภาพข้างลางนี
่ ้
รู ปภาพที่ 3.7 เส้นอุปสงค์ไขว้ กรณี สินค้าทดแทนกนั

ราคาเนื้ อหมู(PB) D
110
90

0 ปริ มาณซื้ อเนื้ อไก่(QA)


2 3
จากรู ปภาพที่ 3.7 เมื่อเนื้ อหมู ราคา 90 บาท/กโลกรั ่
ิ ม นายขาว จะซื้ อเนื้ อไกมา
บริ โภคในครอบครัวเดือนละ 2 กโลกรั ิ ม ตอมาราคาเนื
่ ิ ม นายขาวจะ
้ อสูงขึ้ นเป็ น 110 บาท/กโลกรั
่ ้ นเป็ น 3 กโลกรั
่ ้ อเนื้ อไกมากขึ
ซื้ อเนื้ อหมูลดลง แตไปซื ิ ม/เดือน

EC 111 37
3.1.4. อปสงค์
ุ ส่วนบคคล
ุ และอปสงค์
ุ ตลาด

เส้นอุปสงค์ที่เราศึกษาผานมาจากตารางและเส้ ่ นอุปสงค์ของ
นอุปสงค์น้ นั ถือวาเป็
บุคคล (Individual Demand) ตอไ ่ ปเราจะศึกษาอุปสงค์ของตลาด ซึ่งกคื็ อ ผู้ซื้อสิ นค้ าชนิดหนึ่งรวม
ทกคนในตลาด
ุ นัน่ เอง
อปสงค์
ุ ของตลาด(Market Demand) คือ ผลรวมของอุปสงค์ส่ วนบุคคลทั้ งหมดใน
สิ นค้าชนิดหนึ่ง ณ ระดับราคาตางๆกน ่ ั
ตารางที่ 3.2 อุปสงค์ส่ วนบุคคลและอุปสงค์ตลาด

ราคา Px Qx นายแดง Qx นายดํา Qx นายขาว อุปสงค์ตลาด


5 10 5 15 30
4 20 10 18 48
3 30 15 21 66
2 45 20 24 84
1 50 25 27 100

รู ปภาพที่ 3.8 แสดงอุปสงค์ของบุคคลและตลาด


A เส้นอุปสงค์ส่ วนบุคคล
นายแดง นายดํา นายขาว
Px Px Px
5 5 5

D1 D2 D3
Qx Qx Qx
0 10 5 15

38 EC 111
B เส้นอุปสงค์ของตลาด
Px
5

D
0 Qx
30
จากรู ปภาพที่ 3.8 A แสดงถึงเส้นอุปสงค์ส่ วนบุคคลเริ่ มต้นจากเส้นอุปสงค์ส่ วน
บุคคลของนายแดง นายดํา และนายขาว จะแสดงปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้าและบริ การจํานวน 10 ,5
่ ณ ระดับราคา 5 บาท โดยสมมติวาสิ
และ 15 หนวย ่ นค้านี้ มีผซู ้ ้ือจํานวน 3 คนเทานั
่ ้น
และรู ปภาพที่ B แสดงเส้นอุปสงค์ของตลาด เมื่อนําปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้าของ นาย
แดง นายดํา และนายขาว ณ ระดับราคา 5 บาทมารวมกนั จะได้ปริ มาณเสนอซื้ อของตลาดเทากบ ่ ั

30 หนวย
3.2 อปทาน
ุ (Supply)
อปทาน
ุ คือ การแสดงความสัมพันธ์ระหวางตั ่ วแปร ราคาและปริ มาณการเสนอขาย
สิ นค้าและบริ การ ณ ระดับราคาตางๆ ่ ซึ่งผูผ้ ลิตมีความตั้ งใจและมีความสามารถจะผลิตออกมาขาย
ี่ ั ปทานจะมีเฉพาะอปทานต่
ได้ การศึกษาเกยวกบอุ ุ อราคาเท่ านั้น
3.2.1 ปัจจัยกําหนดอปทานุ : ประกอบด้วยตัวแปรตางๆดั ่ งนี้
(1) ราคาสิ นค้าชนิดนั้ น
(2) ราคาของปัจจัยการผลิต
(3) ต้นทุนการผลิต
(4) เทคนิคการผลิต
(5) สภาพดิน ฟ้ า อากาศ เป็ นต้น

กาหนดคาสั่ ญลักษณ์ของตัวแปรตาง ่ ๆ
Qx หมายถึง ปริ มาณเสนอขายสิ นค้าและบริ การ X
Px หมายถึง ราคาสิ นค้า X
Py หมายถึง ราคาปัจจัยการผลิต Y
C หมายถึง ต้นทุนการผลิตสิ นค้า X
EC 111 39
Te หมายถึง เทคนิคการผลิตสิ นค้า X
CL หมายถึง สภาพดินฟ้ าอากาศ
่ เราสามารถนํามาแสดงเป็ นความสัมพันธ์ ระหวางอุ
จากสัญลักษณ์ดงั กลาว ่ ปทานกบปั
ั จจัยที่กาหนด

อุปทานในรู ปสมการทางคณิ ตศาสตร์ ได้ดงั นี้
Qx = f ( Px , Py , C , Te , CL , ………… )

จากสมการทางคณิ ตศาสตร์ ตัวแปรทางขวามือทั้ งหมด จะเป็ นตัวกาหนด ปริ มาณการเสนอขาย แต่
ถ้าเราสมมติวา่ Px เป็ นเพียงตัวแปรเดียวที่กาหนดปริ
ํ ็ ยนสมการได้
มาณการเสนอขายสิ นค้า กจะเขี
ดังนี้
Qs x = f ( Px )
ถ้าเขียนเป็ นสมการเส้นตรง (Linear Function) จะได้ดงั นี้
Q s x = a + b Px
3.2.2. กฎของอปทาน
ุ (The law of Supply)
่ วา่ ถ้ าราคาสิ นค้ าและบริการสงขึ
กลาวไว้ ู น้ ปริมาณเสนอขายสินค้าจะเพิม่ ขึน้ ถ้ า
ราคาสิ นค้าและบริการลดลง ปริมาณเสนอขายสิ นค้ าจะลดลงตาม ตามกฎของอุปทานแสดงให้เห็น
วา่ ราคาสิ นค้าและปริ มาณเสนอขายสิ นค้า มีสัมพันธ์ กนั เป็ นเชิงบวก หรื อเปลี่ยนแปลงในทิศทาง
เดียวกนั
3.2.3.ตารางอปท
ุ านและเส้ นอปทาน
ุ (Supply schedule and Supply Curve)

ตารางที่ 3.3 แสดงความสัมพันธ์ระหวางราคาสิ นค้าและปริ มาณเสนอขาย

ราคาสิ นค้า(Px) ปริ มาณเสนอขายสิ นค้า(Qx)

1 บาท ่
10 หนวย
2 20
3 30
4 40
5 50

และหากนําไปเขียนเป็ นรู ปกราฟ จะได้เส้นอุปทานดังตอไปนี้

40 EC 111
รู ปภาพที่ 3.9 เส้นอุปทานในสิ นค้าชนิดหนึ่ง

Px S
P2

P1

Qx
Q1 Q2
อธิบายรู ปภาพที่ 3.9 เส้นอุปทานจะมีความชัน ทอดขึ้ นจากซ้ายไปขวา ณ ระดับราคา
P1 ปริ มาณการเสนอขายสิ นค้าเทากบ ่ ั Q1 ตอมาราคาเพิ
่ ่มเป็ น P2 ปริ มาณเสนอขายสิ นค้า จะเพิ่มขึ้ น
ตามเป็ น Q2
3.2.4. อปทานของหน่
ุ วยผลิตกับอปทานของตลาด

อุปทานตลาดคือ ผลรวมของอุปทานแตละหนวยผลิ ่ ่ ตที่อยูใ่ นอุตสาหกรรมนั้ นๆ

เชนในอุ ตสาหกรรมผลิตสิ นค้า X หรื อตลาดสิ นค้า X สมมติวามี ่ ผผู ้ ลิตอยู่ 2 รายคือหนวยผ
่ ลิต ก

และหนวยผลิ ต ข ซึ่งอุปทานของหนวยธุ ่ รกจทั ิ ้ ง 2 เป็ นดังตารางที่ 3.4
ตารางที่ 3.4 อุปทานของหนวยธุ ่ รกจและอุ
ิ ปทานในตลาด

อุปทานหนวยผลิ ต ก อุปทานของหนวยผลิ ่ ต ข อุปทานของตลาด
ราคาสิ นค้า X บาท ปริ มาณขาย X ปริ มาณขาย X ปริ มาณขาย X
1 10 0 10
3 20 5 25
5 30 10 40
7 40 15 55
9 50 20 70

จากตารางที่ 3.4 เราสามารถที่จะหาอุปทานของตลาดจาก ผลรวมของอุปทาน



หนวยผลิ ่
ตแตละรายที ่ และถ้านําข้อมูลในตารางมาสร้างรู ปกราฟ กจะ
่เสนอขาย ณ ระดับราคาตางๆ ็
่ ่
สามารถเส้นอุปทานของแตละหนวยผลิ ตและตลาดได้ ดังรู ปภาพที่
EC 111 41
่ รกจและของตลาด
รู ปภาพที่ 3.10 เส้นอุปทานของหนวยธุ ิ
่ ตA
หนวยผลิ ่
หนวยผลิ ตB ตลาด
Px SA Px SB Px S

5 5 5

Qx Qx Qx
0 30 0 10 0 40
อธิบายรู ปภาพที่ 3.10 ณ ระดับราคา 5 บาท หนวยผลิ ่ ต A และ B เสนอขายสิ นค้า

30 , 10 หนวยตามลํ าดับ เมื่อนําปริ มาณเสนอขายของหนวยผลิ ่ ตทั้ งสองรวมกนั จะเป็ นปริ มาณ
เสนอขายตลาดเทากบ่ ั 40 หนวย ่
3.2.4.การเปลีย่ นแปลงอปทานุ มี 2 ลักษณะดังนี้
(1) การเปลีย่ นแปลงปริมาณอปทาน ุ (Change in quantity Supply) : มีสาเหตุ
มาจาก การเปลี่ยนแปลงราคาสิ นค้า เพิ่ม-ลด จะมีผลทําให้ปริ มาณการเสนอขายสิ นค้าของผูผ้ ลิต

เพิ่ม-ลด ตามกฎของอุปทานที่กลาวมาแล้ ่ นการเคลื่อนย้ายอยูบ่ น
ว ทั้ งนี้ การเปลี่ยนแปลงดังกลาวเป็
่ ้ น ดังรู ปภาพที่ 3.11
เส้นอุปทานเดิม เทานั
รู ปภาพที่ 3.11 การเปลี่ยนแปลงปริ มาณอุปทาน
Px
S
P2
P0
P1
Qx
Q1 Q0 Q2

42 EC 111
(2) การเปลีย่ นแปลงระดับอปทาน ุ (Change in Supply) : มีสาเหตุมาจากการ

เปลี่ยนแปลงปัจจัยอื่นๆที่มิใชราคาสิ นค้า เปลี่ยนแปลงเชน่ ต้นทุนการผลิตเปลี่ยนแปลง จะมีผลทํา

ให้เส้นอุปทานเคลื่อนย้ายไปทั้ งเส้น (Shift) ไปจากเส้นเดิม ดังรู ปภาพตอไปนี ้
รู ปภาพที่ 3.12 การเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน
Px S2 S0 S1

P0

Qx
Q2 Q0 Q1
จากรู ปภาพที่ 3.12 เริ่ มต้นจากเส้นอุปทาน S0 ณ ระดับราคา P0 ผูผ้ ลิตจะเสนอขาย
สิ นค้าและบริ การเทากบ ่ ั Q0 ต่ อมาต้ นทนการผลิ ุ ู น้ ทําให้เส้นอุปทานเคลื่อนย้ายไป
ตสิ นค้ าสงขึ
ทางซ้ายมือทั้ งเส้นเป็ น S2 อปทานลดลง
ุ ผูผ้ ลิตจะเสนอขายสิ นค้าปริ มาณ Q2 หรื อในทิศทาง
ตรงกนถ้ ั าต้ นทนการผลิ
ุ ตลดลง เส้นอุปทานจะเคลื่อนย้ายไปทางขวามือเป็ นเส้น S1 ผูผ้ ลิตเสนอ
ขายสิ นค้าเพิม่ ขึ้ นเป็ น Q1 เป็ นต้น
3.3 ดลยภาพของตลาด
ุ (Market Equilibruim)
ตลาดสิ นค้าที่มีการแขงขั ่ นเป็ นสถานที่ที่ผซู ้ ้ือและผูข้ ายมาพบปะกนั เพื่อซื้ อ-ขาย
แลกเปลี่ยนสิ นค้าซึ่งกนและกน ั ั ตามที่เขาจะปรารถนา แตในทางเศรษฐศาสตร์่ ผูซ้ ้ือและผูข้ ายไม่

จําเป็ นต้องมาพบปะกนโดยตรงกได้ ็ แตธุ่ รกรรมทางเศรษฐกจอาจเกดขึ ิ ิ ้ นโดยผานเครื
่ ่ องมือสื่ อสาร
ในปั จจุบนั เชน่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อินเตอร์เน็ต ฯลฯ กมี็ การซื้ อขายเกดขึ ิ ้ นได้แล้ว

จากการศึกษาที่ผานมาเราแยกศึ กษาเรื่ องอุปสงค์และอุปทาน แตผู่ ซ้ ้ือสิ นค้าและผูข้ าย

สิ นค้ามีทศั นะตอราคาตางกน ่ ั ทั้ งนี้ ผซู ้ ้ือสิ นค้าเป็ นผูจ้ ่ายเงินและผูข้ ายสิ นค้าเป็ นผูร้ ับเงิน ดังนั้ นถ้า
่ นขาวร้
ราคาสิ นค้าสู งขึ้ นยอมเป็ ่ ายสําหรับผูบ้ ริ โภค แตจะเป็ ่ นขาวดี ่ สาํ หรับผูผ้ ลิตหรื อผูขาย ้ ในขณะ
ที่ราคาสูงขึ้ น ผูบ้ ริ โภคจะลดปริ มาณการเสนอซื้ อสิ นค้าลงตามเส้นอุปสงค์ และผูผ้ ลิตจะเสนอขาย
สิ นค้าเพิม่ ไปตามเส้นอุปทาน ประเด็นคือ ความขัดแย้งเชนนี ่ ้ ระหวางผู
่ ผ้ ลิตกบผู
ั ซ้ ้ือสิ นค้าจะแกไข ้
ได้อยางไร ่

EC 111 43
ดังนั้ นแนวทางการแกไขปั้ ญหาคือ เราต้องนําเส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานมาพิจารณาใน
รู ปกราฟเดียวกนั จุดตัดของเส้นทั้ งสองจะทําให้ทราบระดับราคาสิ นค้าที่ท้ งั 2 ฝ่ ายจะเสนอซื้ อและ
่ ั
ขายสิ นค้าในปริ มาณสิ นค้าที่เทากน
จากนี้ ไปหากลองมาดูการทํางานของตลาดสิ นค้าชนิดหนึ่ง ทั้ งด้านอุปสงค์และอุปทาน
ในรู ปภาพ แสดงตลาดสิ นค้าโดนัท โดยใช้ตารางที่ 3.5 และรู ปภาพที่ 3.13 นําเส้นอุปสงค์, เส้น
อุปทาน มาอยูใ่ นรู ปภาพเดียวกนั
ตารางที่ 3.5 แสดงปริ มาณอุปสงค์และอุปทาน ดุลยภาพในตลาดสิ นค้าโดนัท
่ : ล้านชิ้นตอสั
หนวย ่ ปดาห์
ราคาโดนัท ปริ มาณอุปสงค์ ปริ มาณอุปทาน มีส่ วนเกนิ หรื อ ่
ผลตอราคา
บาท/ชิ้น ล้านชิ้น/สัปดาห์ ล้านชิ้น/สัปดาห์ ขาดแคลน
15 8 28 เกนิ 20 ลดลง
12 14 24 เกนิ 10 ลดลง
9 20 20 ่ ั
เทากน คงที่
6 26 16 ขาด 10 เพิ่มขึ้ น
3 32 12 ขาด 20 เพิ่มขึ้ น

รู ปภาพที่ 3.13 ดุลยภาพในตลาดสิ นค้าและบริ การโดนัท

ราคา(บาท) S

12 A B
E
9

D
0 ปริ มาณซื้ อ-ขายโดนัท(ล้านชิ้น)
14 20 24

44 EC 111
อธิบายรู ปภาพที่ 3.13 สมมติโดนัทราคา 12 บาท/ชิ้น ณ ราคานี้ ผผู ้ ลิตจะเสนอขาย
โดนัท จํานวน 24 ล้านชิ้นตอสั ่ ปดาห์ แตผู่ บ้ ริ โภคต้องการเสนอซื้ อโดนัท จํานวน 14 ล้านชิ้น/
สัปดาห์ ทําให้มีอุปทานสวนเกน ่ ิ (Excess Supply) จํานวน 10 ล้านชิ้น/สัปดาห์ ดังนั้ นผูผ้ ลิตยอมไม
่ ่
ต้องการให้เกดเหตุิ การณ์สินค้าขายไมหมด ่ ่ เกนให้
ต้องขจัดสวน ิ หมดไปด้วยการลดราคาโดนัทไปที่
9 บาท/ชิ้น ผลิตลดลงไปสู่ จุดที่ 20 ล้านชิ้น/สัปดาห์ ที่จุด E จะมีความสมดุลระหวางปริ ่ มาณเสนอ
ซื้ อและเสนอขายสิ นค้า
อีกด้านหนึ่งสมมติวา่ ณ โดนัทราคา 6 บาท/ชิ้น ผูบ้ ริ โภคโดนัทต้องการเสนอซื้ อ
จํานวน 26 ล้านชิ้น/สัปดาห์ แตผู่ ผ้ ลิตมีความประสงค์จะผลิตออกขายจํานวน 16 ล้านชิ้น/สัปดาห์ มี
่ ั
ผลทําให้สินค้าไมพอกบความต้ องการหรื อขาดแคลนจํานวน 10 ล้านชิ้น/สัปดาห์ เหตุการณ์เชนนี ่ ้
่ ่
ผูบ้ ริ โภคยอมไมสมหวั ั
งกบความต้ องการได้ท้ งั หมด จึงอาจจะยอมเพิ่มราคาให้บา้ ง และผูผ้ ลิตก็
ย่อมจะเห็นเหตุการณ์อยางรวดเร็ ่ ว จึงยินดีจะเสนอขายมากขึ้ นโดย จะทําให้มีแรงกดดันนําไปสู่ ที่

ราคา 9 บาท/ชิ้น จึงเกดความสมดุ ่ มาณการเสนอซื้ อและการเสนอขายโดนัทจํานวน 20
ลระหวางปริ
ล้านชิ้น/สัปดาห์ เกดขึ ิ ้ นได้
3.3.1. การเปลีย่ นแปลงดลยภาพของตลาด
ุ ่
: โดยพิจาณาใน 4 กรณี ดังตอไปนี้
(1) กรณีระดับอปสงค์ ุ เพิม่ และลดลง (อปทานคงที
ุ )่
ก. อุปสงค์เพิ่ม รู ปภาพที่ 3.14 การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ ข.อุปสงค์ลด
P S P S

P1 P0
P0 P2
D0 D1 D2 D0
0 Q 0 Q
Q0 Q1 Q2 Q0
อธิบาย รู ปภาพ ก เมื่อผูบ้ ริ โภคมีรายได้เพิม่ อธิบาย รู ปภาพ ข เมื่อผูบ้ ริ โภคมีรายได้ลดลง
ทําให้เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายทั้ งเส้น(shift) ทําให้เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายทั้ งเส้น(shift)
จาก D0 เป็ น D1 มีผลกระทบทําให้ราคาเพิม่ จาก D0 เป็ น D2 มีผลกระทบทําให้ราคาลด
จาก P0 เป็ น P1 และปริ มาณการเสนอซื้ อขาย จาก P0 เป็ น P2 และปริ มาณการเสนอซื้ อขาย
เพิ่มจาก Q0 เป็ น Q1 ลดลงจาก Q0 เป็ น Q2
EC 111 45
(2) กรณีระดับอปทานเพิ
ุ ม่ และลดลง (อปสงค์
ุ คงที)่
ก.อุปทานเพิ่ม รู ปภาพที่ 3.15 การเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน ข.อุปทานลด
P S0 P S2
S1 S0
P0 P2
P1 P0
D D
0 Q 0 Q
Q0 Q1 Q2 Q0
อธิบาย รู ปภาพ ก ต้นทุนการผลิตลดลง ทําให้ อธิบาย รู ปภาพ ข ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้ น ทําให้
ทําให้เส้นอุปทานเคลื่อนย้ายทั้ งเส้น(Shift)ทาง ทําให้เส้นอุปทานเคลื่อนย้ายทั้ งเส้น(Shift)ทาง

ขวามือ จาก S0 เป็ น S1 มีผลตอราคาลดลงจาก ่
ซ้ายมือ จาก S0 เป็ น S2 มีผลตอราคาเพิ ม่ ขึ้ นจาก
P0 เป็ น P1 และปริ มาณเสนอซื้ อขายเพิม่ ขึ้ นจาก P0 เป็ น P2 และปริ มาณเสนอซื้ อขายลดลงจาก
Q0 เป็ น Q1 Q0 เป็ น Q2
(3) กรณีอุปสงค์ เพิม่ และอปทานลดลง
ุ (ในสั ดส่ วนเท่ ากัน)
รู ปภาพที่ 3.16 แสดงการเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์เพิม่ และระดับอุปทานลดลง
P S1 S0
P1 E1
P0 E0
D1
D0
0 Q
Q0
อธิบาย รู ปภาพที่ 3.16 เริ่ มต้นจากเส้นอุปสงค์ D0 ตัดกบเส้ ั นอุปทาน S0 แสดงภาวะดุลยภาพ
โดยมีราคาดุลยภาพ P0 และปริ มาณซื้ อขายดุลยภาพ Q0 ตอมาสมมติ ่ ให้ อุปสงค์เพิม่ และอุปทานลด
่ ่ ั ทําให้เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางขวามือ และเส้นอุปทานเคลื่อนย้ายทั้ ง
ในสัดสวนเทากน
เส้นไปทางซ้ายมือ ตัดกนที ั ่ E1 มีผลทําให้เกดดุิ ลยภาพใหม่ ราคาสิ นค้า สู งขึ้ นจาก P0 เป็ น P1 แต่
ปริ มาณซื้ อขายดุลยภาพคงที่
46 EC 111
(4) กรณีอุปทานเพิม่ และอปสงค์ ุ ลด (ในสั ดส่ วนเท่ ากัน)
รู ปภาพที่ 3.17 แสดงระดับอุปสงค์ลดลงและระดับอุปทานเพิม่
P S0
E0 S2
P0
P2 E2
D2 D0
0 Q
Q0
อธิบาย รู ปภาพ 3.17 เริ่ มต้นจากเส้นอุปสงค์ D0 ตัดกบเส้ ั นอุปทาน S0 ที่จุด E0 แสดงภาวะดุลย
ภาพที่ ราคาเทากบ ่ ั P0 และปริ มาณซื้ อขายเทากบ ่ ั Q0 ตอมาสมมติ
่ ให้อุปทานเพิม่ ขึ้ น และอุปสงค์
ลดลงในสัดสวนเดี ่ ยวกนั ทําให้เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ นเส้น D2 และเส้น
อุปทานเคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางขวามือเป็ นเส้น S2 ตัดกนที ั ่จุด E2 มีผลทําให้เกดดุิ ลยภาพใหม่
ราคาดุลยภาพใหม่ ลดลงจากเดิมคือ P2 และปริ มาณซื้ อขายดุลยภาพคงเดิมที่ Q0
3.4 การแทรกแซงตลาดของรัฐบาล
ระบบเศรษฐกจแบบทุ ิ นนิยมหรื อระบบตลาด โดยทัว่ ไปมีกลไกราคาเป็ นตัวจัดสรร
ทรัพยากรการผลิต การจําแนกแจกจายและการบริ ่ โภค การเปลีย่ นแปลงราคาสิ นค้ าและบริการ จะ
เป็ นตัวสงสั่ ญณานให้ผบู ้ ริ โภคและผูผ้ ลิตมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการตัดสิ นใจทางเศรษฐกจิ ที่
คํานึงถึงผลประโยชน์ของแตละฝ่ ่ ายต้องการ ทั้ งอรรถประโยชน์จากการบริ โภคสิ นค้าและบริ การ

สูงสุ ดหรื อกาไรจากการผลิ ตมากที่สุด
่ ่องจากผูผ้ ลิตและบริ โภค อาจจะได้ขอ้ มูลขาวสารไมเทากนรวมทั
แตเนื ่ ่ ่ ั ้ ง สภาพดินฟ้ า

อากาศกตามเป็ นเหตุให้ราคาสิ นค้าในตลาดตกตํ่ามาก อันเนื่องผลผลิตมีเกนความต้ ิ องการ หรื อราค
สิ นค้าเพิ่มขึ้ นมาก อันเนื่องมากสภาพดินฟ้ าอากาศไมดี่ ผลผลิตลดลง เป็ นต้น สิ่ งเหลานี ่ ้ มี
ผลกระทบตอปร ่ ะชาชนมากบ้าง น้อยบ้าง รัฐบาลมีบทบาทหน้าที่ควรปกป้ องผูผ้ ลิตสิ นค้าให้มี

กาไรพอสมควร หรื อดูแลผูบ้ ริ โภคให้ซ้ือสิ นค้าในราคาไมสู่ งมากจนเกนกวาที
ิ ่ ่ควรจะเป็ น
ดังนั้ นจึงเป็ นมูลเหตุให้รัฐบาล ต้องเข้ามาแทรกแซงตลาดสิ นค้าและบริ การ โดยมี
วัตถประส
ุ งค์ ในการปกป้องผ้ ูผลิต โดยการกําหนดราคาซื้อขายสิ นค้ าขั้นตํา่ หรื อการดแลประชาชน ู
ผ้ ูบริโภคสิ นค้ าและบริการ โดยการกําหนดราคาสิ นค้าขั้นสงู ซึ่งจะอธิบายโดยละเอียดตอไป ่
EC 111 47
3.4.1. การกําหนดราคาขั้นตํ่า (Price Floors): มีที่มาจากการที่ราคาสิ นค้าในตลาดที่มี
การแขงขั ่ นขณะนั้ นราคาตํ่ามากเกนไป ิ ทําให้ผผู ้ ลิตสิ นค้านําออกมาขายแล้ว ขาดทุน หรื อมีกาไ ํ
น้อยมาก โดยเฉพาะสิ นค้าเกษตรซึ่งเกยวข้ ี่ องกบเกษตรกรเป็
ั นล้านครอบครัว ยอมมี ่ ผลกระทบ
รุ นแรง
ดังนั้ นจึงมีความจําเป็ นที่รัฐบาลจะต้องเข้าแทรกแซง โดยเข้าไปกําหนดราคาซื้อขาย
สิ นค้ าขั้นตํ่าของสิ นค้าชนิดนั้ น ซึ่งบางครั้ งเราเรี ยกวา่ การประกันราคาหรือพยงราคา ุ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อประกนรายได้ ั ให้กบผู ั ผ้ ลิตสิ นค้ามีกาไรในระดั
ํ บที่เหมาะสม สามารถดําเนินการ

ผลิตตอไปได้ แตรั่ ฐบาลกไมสามารถบั
็ ่ ่ ั
งคับผูซ้ ้ือสิ นค้าได้เชนกน ดังนั้ นรัฐบาลต้องมีมาตรการ
รองรับ อยางน้ ่ อย 2 มาตรการ เพื่อให้สามารถปฎิบตั ิได้อยางมี ่ ประสิ ทธิภาพ อธิบายได้ดังตอไปนี ่ ้
(1) มาตรการรับซื้อผลผลิตส่ วนเกิน (Excess Supply) : สมมติเกยวกบสิ ี่ ั นค้าข้าวเปลือก
ของประเทศไทย ดังนั้ นจึงเป็ นการเกยวข้ ี่ องระหวาง ่ เกษตรกรในฐานะผูผ้ ลิต และโรงสี ในฐานะ
ผูร้ ับซื้ อผลผลิต เนื่องจากมีปัญหาราคาข้าวเปลือกในตลาดราคาซื้ อขายตํ่ากวาปี ่ ผานมา ่ มาก จนเป็
เหตุให้เกษตรกรขาดทุน หรื อมีกาไรน้ ํ อยมาก ดังนั้ นรัฐบาลจึงประกาศให้มีการกาหนดราคาขั ํ ้นตํ่าใ
การซื้ อขายข้าวเปลือก ซึ่งมีระดับราคาสู งกวาราคาตลาดขณะนั่ ่
้ น ดังรู ปภาพดังตอไปนี ้

รู ปภาพที่ 3.18 แสดงการกาหนดราคาขั ้นตํ่า โดยใช้มาตรการรับซื้ อผลผลิตสวนเกน ่ ิ
ราคาข้าวเปลือก : บาท/ตัน
S
12,000 a b

10,000 E0

D
0 ปริ มาณซื้ อขายข้าว : ล้านตัน
6 8 10
อธิบายรู ปภาพที่ 3.18 เส้นอุปสงค์ D เป็ นตัวแทนของโรงสี ในการรับซื้ อข้าวเปลือก
เส้นอุปทานS เป็ นตัวแทนของเกษตรกรในการเสนอขายข้าวเปลือก ทั้ ง 2 เส้นตัดกนที ั ่จุด E0 ราคา
่ ที่ผานมา
ตลาดซื้ อขายข้าวเปลือกตันละ 10,000 บาท(ซึ่งตํ่ากวาปี ่ ตันละ 12,000 บาท) โรงสี ตอ้ งการ

ซื้ อข้าวเปลือกจํานวน 8 ล้านตัน รัฐบาลพิจาณาเห็นวาราคาดั ่ ่าเกนไป
งกลาวตํ ิ เกษตรกรไมมี่ กาไํ

48 EC 111
เนื่องจากต้นทุนการผลิตสูงขึ้ น จากราคานํ้ ามันที่สูงขึ้ นทําให้ราคาปุ๋ ย ยาฆาแมลง ่ ่ างแรงงา
และคาจ้
็ ี่ งขึ้ น ทําให้ตน้ ทุนการผลิตข้าวตันละตันละ 9,500 บาท
เกบเกยวสู

ดังนั้ นจึงประกาศให้มีการกาหนดราคาซื ้ อขายขั้ นตํ่าข้าวเปลือก ที่ระดับราคา 12,000
บาทตอตั ่ น ณ ราคาขั้ นตํ่าดังกลาวโรงสี
่ จะซื้ อข้าวเปลือก จํานวน 6 ล้านตัน และเกษตรกรมีความ
ประสงค์จะเสนอขายข้าวเปลือกจํานวน 10 ล้านตัน ทําให้มีอุปทานสวนเกน ่ ิ ab (Excess supply)

จํานวน4 ล้านตัน เพื่อให้การกาหนดราคาขั ้ นตํ่าปฎิบตั ิได้ รัฐบาลจําเป็ นต้ องรับซื้อผลผลิตส่ วนเกิน
ดังกล่าวแทนโรงสี โดยใช้ งบประมาณ จํานวน 48,000 ล้านบาท ก็จะบรรลุเป้าหมายทีต่ ้ องการได้
ุ ุ ผู้ผลิต : เนื่องจากมาตรการรับซื้ อผลผลิตสวนเกนมี
(2) มาตรการจ่ ายเงินอดหนนแก่ ่ ิ
ความยุง่ ยากต้องจัดหาไซโลและแปรรู ปข้าวเปลือกเป็ นข้าวสารจากภาคเอกชน ต้องเสี ยคาเชาโกดั ่ ่ ง

และบางครั้ งมีปัญหาข้าวสารเสื่ อมสภาพ เพราะวาระบายออกไปตางประเทศช้ ่ าเกนิ ไป เป็ นต้น
รัฐบาลจะเปลี่ยนมาใช้มาตรการจายเงิ ่ นอุดหนุนให้แกเกษตรกร ่ ่ ่
ตามสวนตางของราคาที ่โรงสี รับซื้ อ

กบราคาเป้ ํ
าหมายขั้นตํ่าที่กาหนดไว้ คูณด้วยจํานวนข้าวเปลือกที่เกษตรกรขายให้โรงสี ดังรู ปภา
หน้าตอไป ่

รู ปภาพที่ 3.19 แสดงการกาหนดราคาขั ้ นตํ่า โดยใช้มาตรการจายเงิ ่ นอุดหนุนผูผ้ ลิต

ราคาข้าวเปลือก/ตัน S
12,000 a b

10,000 E

8,000
D

0 8 10 ปริ มาณซื้ อขายข้าวเปลือก :


ล้านตัน

EC 111 49
อธิบายรู ปภาพที่ 3.19 รัฐบาลยังกาหนดราคาขั ํ ้นตํ่าอยูท่ ี่ตนละ
ั 12,000 บาท แตไม ่ ่
ต้องการมีปัญหายุง่ ยากในการบริ หารจัดการข้าวเปลือก โกดัง และอื่นๆมาก จึงขอร้องให้โรงสี รับ
ซื้ อข้าวเปลือกจากชาวนาทั้ งหมด จํานวน 10 ล้านตัน แตโรงสี ่ มีเงื่อนไขวา่ จะรับซื้ อข้าวในราคาตัน
ละ 8,000 บาทเทานั ่ ้ น จึงมีส่ วนตางระหวางราคาขั
่ ่ ั
้นตํ่ากบราคาที ่โรงสี รับซื้ อ ตันละ 4,000 บาท
ดังนั้ นจึงต้องใช้งบประมาณจํานวน 40,000 ล้านบาท กจะบรรลุ ็ ่
เป้ าหมายชวยเหลื อเกษตรกรที่
ต้องการได้(กรณี น้ ีรัฐบาลจะไมมี่ ขา้ วเปลือกอยูใ่ นมือ)
3.4.2. การกําหนดราคาขั้นสงู (Price Ceilings) : สื บเนื่องมาจาก สิ นค้าบางชนิดเป็ น
สิ นค้าจําเป็ นสําหรับการดํารงชีพของประชาชน ดังนั้ นเพื่อราคาตลาดของสิ นค้าดังกลาวสู ่ งขึ้ นมาก

ยอมสร้ ั
างความเดือดร้อนให้กบประชาชนผู บ้ ริ โภคสิ นค้า ทําให้มีรายได้ที่แท้จริ งตํ่าลง อํานาจซื้
สิ นค้าลดลง รายได้ที่เป็ นตัวเงินซื้ อสิ นค้าได้นอ้ ยลง
ดังนั้ นรัฐบาลต้องเข้ามาแทรกแซงราคาตลาด โดยมีการกาหนดราคาซื ํ ้ อขายสิ นค้าขั้นสูง

ซึ่งเป็ นราคาที่ต่าํ กวาราคาตลาดในขณะนั ้น ร้านค้าใดขายสิ นค้าเกนราคาขัิ ้นสูงถือวาผิ่ ดกฎหมาย
ทั้ งนี้ โดยมุ่งหวังบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน ดังรู ปภาพหน้าตอไป ่

รู ปภาพที่ 3.20 แสดงการกาหนดราคาสิ นค้าขั้นสูง
ราคานํ้ าตาล/กโลกรัิ ม
S
25 บาท
20 บาท E0
15 บาท a b
D

3 5 7 ิ ม
ปริ มาณนํ้ าตาล : ล้านกโลกรั
่ ปดาห์
ตอสั
อธิบาย รู ปภาพที่ 3.20 เส้นอุปสงค์น้ าํ ตาลของบริ โภคคือ เส้น D และเส้นอุปทาน
ั ่จุด E0 ราคานํ้ าตาลในท้องตลาดราคา 20 บาท/
นํ้ าตาลของผูผ้ ลิตคือ เส้น S ทั้ ง 2 เส้นตัดกนที
ิ ม ปริ มาณซื้ อขายจํานวน 5 ล้านกโลกรั
กโลกรั ิ มตอสั ่ ปดาห์ เป็ นราคาและปริ มาณซื้ อขายดุลยภาพ

50 EC 111
รัฐบาลพิจารณาเห็นวาราคานํ ่ ่ งเกนไป
้ าตาลดังกลาวสู ิ สร้างความเดือดร้อนให้ก ั
ผูบ้ ริ โภคนํ้ าตาล จึงประกาศราคาซื้ อขายนํ้ าตาลขั้ นสู ง อยูท่ ี่ราคา 15 บาท/กโลกรั ิ ม และห้ามผูผ้ ลิต

นํ้ าตาลขายเกนราคาที ํ
่กาหนด ิ
ผูใ้ ดขายเกนราคาถื ่ ดกฎหมาย จากรู ปภาพจะพบวาเมื
อวาผิ ่ ่อ

กาหนดราคาขั ้นสู ง ผูผ้ ลิตนํ้ าตาลเต็มใจที่จะนํานํ้ าตาลออกขายจานวน ิ มตอสั
ํ 3 ล้านกโลกรั ่ ปดาห์ แต่
ผูบ้ ริ โภคต้องการซื้อนํ้ าตาล จํานวน 7 ล้านกโลกรั ิ ม/สัปดาห์ มีน้ าํ ตาลไมเพี ่ ยงพอกบความต้
ั องกา
จํานวน 4 ล้านกโลกรั ิ มตอสั ่ ปดาห์ ทําให้มีปัญหา ตลาดมืด(ราคา 25 บาท) เกดขึ ิ ้ นตามมา ดังนั้ น
รัฐบาลจําเป็ นต้องมีมาตรการรองรับอยางน้ ่ อย 2 มาตรการดังตอไปนี ่ ้
(1) ลดปริมาณอปสงค์ ุ ํ
นํา้ ตาลของผ้ ูบริโภค : เนื่องจากเมื่อรัฐบาลกาหนดราคาขั ้ นสูง

ซึ่งเป็ นราคาตํ่ากวาราคาตลาดในขณะนั ้ น ทําให้ผบู ้ ริ โภคมีความต้องการซื้ อนํ้ าตาลมากขึ้ น ทั้ งๆท
อาจจะไมจํ่ าเป็ นต้องใช้บริ โภคในขณะนั้ น แตกกตุ ่ ั นไว้ก่อน กลัววาสิ่ นค้าจะหมดจากตลาด
รู ปภาพที่ 3.21 การแกไขอุ ้ ปสงค์ส่ วนเกนิ โดยการลดปริ มาณอุปสงค์

ิ ม
ราคานํ้ าตาล : บาท/กโลกรั S

20 E0

15 A B
D1 D0
0 ปริ มาณซื้ อขายนํ้ าตาล : หนวย ่
3 5 7 ิ ม
ล้านกโลกรั
ั นอุปทานํ้ าตาล S0
อธิบาย รู ปภาพที่ 3.21 เส้นอุปสงค์น้ าํ ตาลคือ เส้น D0 ตัดกบเส้
ที่จุด E0 ราคานํ้ าตาลในตลาดเทากบ ่ ั 20 บาท/กโลกรัิ ม รัฐบาลกาหนดราคาขั
ํ ้นสู งที่ราคา 15
ิ ม ทําให้ผผู ้ ลิตยินดีขายนํ้ าตาลเพียง 3 ล้านกโลกรั
บาท/กโลกรั ิ มตอสั ่ ปดาห์ แตผู่ บ้ ริ โภคต้องการซื้ อ
ิ ม/สัปดาห์ นํ้ าตาลมีไมเพี
จํานวน 7 ล้านกโลกรั ่ ยงพอกบความต้
ั องการ(AB)จํานวน 4 ล้านกโลกรั ิ ม
้ ญหาโดยการพยายามลดอุปสงค์น้ าํ ตาลของผูบ้ ริ โภค
ดังนั้ นรัฐอาจแกไขปั ให้เหลื
ประมาณ 3 ล้านกโลกรั ิ ม/สัปดาห์ โดยวิธีการออกคูปองการซื้ อนํ้ าตาลได้ตามความจําเป็ นสมมติซ้ื
่ ิ
ได้ไมเกนครอบครั ิ ม/สัปดาห์ จะทําให้อุปสงค์น้ าํ ตาลลดลงไปที่ D1 ตัดกบเส้
วละ 2 กโลกรั ั น

อุปทานนํ้ าตาลที่จุด A ปั ญหานํ้ าตาลกบรรเทาเบาบางลงได้
EC 111 51
(2) การเพิม่ อปทานนํ
ุ า้ ตาล : โดยการที่รัฐบาลนําเข้ านํา้ ตาลจากต่ างประเทศ ตาม
ปริ มาณที่ขาดแคลนภายในประเทศ สัปดาห์ละ 4 ล้านตัน กจะแกไขปั ็ ้ ญหาได้ แตรั่ ฐบาลต้อง
่ ่
รับภาระการขาดทุนในสวนตางราคานํ ั
าเข้ากบราคาในประเทศ โดยจัดสรรงบประมาณอุดหนุน
หรื อรัฐบาลอาจขอความร่ วมมือให้ โรงนํา้ ตาลผลิตเพิม่ ขึน้ ขายในราคาขั้ นสูง 15 บาทตอกโลกรั ่ ิ ม
และรัฐบาลจายเงิ่ นอุดหนุนให้โรงงานนํ้ าตาลตั้ งแต่ 5 บาทตอกโลกรั
่ ิ มเป็ นต้นไป หรื อตามที่โรงงาน

นํ้ าตาลเรี ยกร้องกได้

52 EC 111
คําถามท้ ายบท
จงเลือกคําตอบทีถ่ ูกต้ องมากทีส่ ุ ดเพียงคําตอบเดียว

1. ฟังกชั์ น่ อุปสงค์คือ ฟังกชั์ น่ ที่แสดงความสัมพันธ์ระหวาง ่


(1) ปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้ากบปั ั จจัยตางๆที
่ ่เป็ นตัวกาหนด

(2) ปริ มาณเสนอขายสิ นค้ากบปั ั จจัยตางๆที
่ ่เป็ นตัวกาหนด

(3) ปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้ากบต้ ั นทุนการผลิต (4) ปริ มาณเสนอขายสิ นค้ากบรายได้ ั ผบู ้ ริ โภค
2. ข้อความใดตอไปนี ่ ้ เป็ นไปตามกฎของอุปสงค์
(1) เมื่อราคาชาเพิ่ม การบริ โภคกาแฟลดลง (2) เมื่อราคาเงาะลดลง ปริ มาณซื้ อเงาะเพิ่มขึ้ น
(3) เมื่อผูบ้ ริ โภคมีรายได้ลดลง ซื้ อทุเรี ยนลดลง (4) เมื่อราคากุง้ เพิ่ม ปริ มาณซื้ อกุง้ คงที่
3. ปั จจัยใดตอไปนี่ ํ
้ ที่เป็ นตัวกาหนดอุ ปสงค์
(1) ราคาสิ นค้าชนิดนั้ น (2) รายได้ของผูบ้ ริ โภค
(3) รสนิยมของผูบ้ ริ โภค (4) ถูกทุกข้อ
4. การเปลี่ยนแปลงปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้าที่อยูบ่ นเส้นอุปสงค์เดิม มีสาเหตุมาจากปัจจัย
(1) รายได้ของผูบ้ ริ โภคเปลี่ยนแปลง (2) รสนิยมของผูบ้ ริ โภคเปลี่ยนแปลง
(3) ต้นทุนการผลิตเปลี่ยนแปลง ี่ องเปลี่ยนแปลง
(4) ราคาสิ นค้าชนิดอื่นที่เกยวข้
5. กรณี สินค้าปกติ (Normal goods) หมายถึง
(1) สิ นค้าที่ผบู ้ ริ โภคจะซื้ อมากขึ้ น เมื่อมีรายได้ลดลง
(2) สิ นค้าที่ผบู ้ ริ โภคจะซื้ อมากขึ้ น เมื่อมีรายได้เพิ่มขึ้ น
(3) สิ นค้าที่ผบู ้ ริ โภคจะซื้ อมากขึ้ น เมื่อราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้ น
(4) สิ นค้าที่ผบู ้ ริ โภคจะซื้ อน้อยลง เมื่อราคาสิ นค้าเพิม่ ขึ้ น
6. กรณี สินค้า เนื้ อหมูกบเนื ั ้ อไก่ เป็ นสิ นค้าทดแทนกนั ถ้าราคาเนื้ อหมูเพิ่มขึ้ น จะมีผลอยางไร

(1) ปริ มาณซื้ อเนื้ อหมูลดลง ่ ่มขึ้ น
(2) ปริ มาณซื้ อเนื้ อไกเพิ
(3) ราคาเนื้ อไกลดลง ่ (4) ถูกทั้ งข้อ (1) และ (2)

7. ปั จจัยใดตอไปนี ้ ถือวาเป็่ นตัวกาหนดอุ
ํ ปทานในสิ นค้า
(1) ราคาสิ นค้า (2) ต้นทุนการผลิต
(3) ราคาปั จจัยการผลิต (4) ถูกทุกข้อ

EC 111 53
8. ข้อความใดต่อไปนี้ ถือวาสอดคล้่ ั
องกบกฎของอุ ปทานในสิ นค้า
(1) ราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้ น ปริ มาณเสนอซื้ อลดลง (2) ราคาสิ นค้าลดลง ปริ มาณซื้ อเพิม่ ขึ้ น
(3) ราคาสิ นค้าลดลง ปริ มาณเสนอขายลดลง (4) ราคาสิ นค้าลดลง ปริ มาณเสนอขายเพิ่มขึ้ น
9. การเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน มีสาเหตุมาจากปั จจัยใด
(1) ราคาสิ นค้า (2) รสนิยมของผูบ้ ริ โภค
(3) รายได้ของผูบ้ ริ โภค (4) ต้นทุนการผลิต
10. การเปลี่ยนแปลงปริ มาณอุปทานในสิ นค้า มีสาเหตุมาจาก
(1) ราคาสิ นค้า (2) รสนิยมของผูบ้ ริ โภค
(3) รายได้ของผูบ้ ริ โภค (4) ต้นทุนการผลิต
11. จุดดุลยภาพในตลาดสิ นค้าและบริ การชนิดหนึ่ง คือจุดที่
(1) แสดงวาผู ่ ผ้ ลิตได้รับกาไรสู
ํ งสุ ด (2) แสดงความพอใจสูงสุ ดของผูบ้ ริ โภค
ั นอุปทาน
(3) เส้นอุปสงค์ตดั กบเส้ (4) จุดคุม้ ทุนของผูผ้ ลิต
12. เมื่อเส้นอุปสงค์ตดั กบเส้ ั นอุปทานในสิ นค้าที่จุด E ถ้ามีอุปสงค์เพิ่ม ทําให้เคลื่อนย้ายไปทาง
ขวามือทั้ งเส้น (อุปทานคงที่) จะมีผลอย่างไร
(1) ราคาสิ นค้าลดลง (2) ปริ มาณซื้ อ-ขายสิ นค้าลดลง
(3) ราคาสิ นค้าลดลงและปริ มาณเสนอซื้ อ-ขายสิ นค้าเพิ่มขึ้ น
(4) ราคาสิ นค้าและปริ มาณเสนอซื้ อ-ขายสิ นค้าเพิ่มขึ้ น
13. เมื่อเส้นอุปสงค์ตดั กบเส้ั นอุปทานในสิ นค้าที่จุด E ถ้ามีอุปสงค์ลดลงและอุปทานเพิ่มขึ้ น
่ ยวกนั จะมีผลอยางไร
ในสัดสวนเดี ่
(1) ราคาสิ นค้าคงที่และปริ มาณเสนอซื้ อ-ขายเพิ่มขึ้ น
(2) ราคาสิ นค้าเพิม่ ขึ้ นและปริ มาณซื้ อ-ขายสิ นค้าคงที่
(3) ราคาสิ นค้าคงที่และปริ มาณซื้ อ-ขายสิ นค้าลดลง
(4) ราคาสิ นค้าลดลงและปริ มาณซื้ อ-ขายสิ นค้าคงที่
14. ปริ มาณซื้ อ-ขายสิ นค้าดุลยภาพในสิ นค้า จะไมเปลี ่ ่ยนแปลงในกรณี ใด
่ ั ปทาน
(1) อุปสงค์เพิ่มเทากบอุ (2) อุปทานลดลงเทากบอุ่ ั ปสงค์ลดลง
(3) อุปสงค์ลดลงเทากบอุ่ ั ปทานเพิ่มขึ้ น (4) อุปสงค์เพิ่มมากกวาอุ ่ ปทานที่ลดลง

54 EC 111
ั ่จุด E0 ตอมาถ้
15. เมื่อเส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานตัดกนที ่ าระดับอุปทานเพิม่ และอุปสงค์คงที่

จะมีผลอยางไร
(1) ราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้ น (2) ราคาสิ นค้าลดลง
(3) ปริ มาณซื้ อขายลดลง (4) ปริ มาณซื้ อขายคงที่
จงใช้รูปภาพนี้ เพื่อตอบคําถามข้อที่ 16-17
ราคาสิ นค้า ( P) S

P0 E

D
0 Q0 ปริ มาณสิ นค้า (Q)

16. เมื่อรัฐบาลแทรกแซงตลาดสิ นค้าข้าวเปลือก โดยการกาหนดราคาขั ํ ้นตํ่า จะมีผลอยางไร่


ิ ปสงค์ส่ วนเกนิ
(1) เกดอุ ิ ปทานสวนเกน
(2) เกดอุ ่ ิ

(3) ราคาแทรกแซงตํ่ากวาราคาตลาดขณะนั ้ น (4) ราคาสิ นค้าและบริ การคงที่
17. เมื่อรัฐบาลแทรกแซงตลาดสิ นค้านํ้ าตาล โดยการกาหนดราคาขั ํ ้นสูง จะมีผลอยางไร ่
(1) เกดอุิ ปสงค์ส่ วนเกนิ ิ ปทานสวนเกน
(2) เกดอุ ่ ิ

(3) ราคาแทรกแซงสู งกวาราคาตลาดขณะนั ้ น (4) ผิดทุกข้อ

18. มาตรการใดตอไปนี ้ รัฐบาลควรจะทํา เมื่อเข้าไปแทรกแซงตลาดโดยการกาหนดราคาขั ํ ้ นตํ่า
่ ิ
(1) รับซื้ อผลผลิตสวนเกนจากผู ผ้ ลิต (2) นําเข้าสิ นค้าที่ขาดแคลนจากตางประเทศ่
(3) แจกคูปองซื้ อสิ นค้าให้ประชาชน ่ นอุดหนุนแกผู่ บ้ ริ โภค
(4) จายเงิ
19. เหตุผลที่รัฐบาลเข้าแทรกแซงตลาดสิ นค้า โดยกาหนดราคาสิ ํ นค้าขั้ นสูง เนื่องจาก
(1) ราคาสิ นค้าในตลาดตํ่าเกนไป ิ (2) ราคาสิ นค้าในตลาดสูงเกนไป ิ
่ ั
(3) ปริ มาณสิ นค้าไมพอกบความต้ องการ (4) ปริ มาณสิ นค้ามีมากเกนไป ิ
20. การแทรกแซงตลาด โดยการกาหนดราคาสิ ํ นค้าขั้ นสู งของรัฐบาล มักจะเกดปั ิ ญหาอะไรตามมา

(1) ราคาสิ นค้าสูงเกนไปผู บ้ ริ โภคเดือดร้อน (2) สิ นค้ามีคุณภาพลดลง

(3) เกดตลาดมื ด ิ นค้าขายไมหมด
(4) เกดสิ ่
EC 111 55
เฉลยคําถามท้ ายบท
ข้อ 1 ( 1 ) ข้อ 2 ( 2 ) ข้อ 3 ( 4) ข้อ 4 ( 4 ) ข้อ 5 ( 2 ) ข้อ 6 ( 2 ) ข้อ 7 ( 4 )
ข้อ 8 ( 3 ) ข้อ 9 ( 4) ข้อ 10 ( 1) ข้อ 11 ( 3 ) ข้อ 12 ( 4 ) ข้อ 13 ( 4 ) ข้อ 14 ( 3 )
ข้อ 15 ( 2 ) ข้อ 16 ( 2 ) ข้อ 17 ( 1 ) ข้อ 18 ( 1 ) ข้อ 19 ( 2 ) ข้อ 20 ( 3 )

56 EC 111
บทที่ 4
ความยืดหย่ ุนของอปสงค์
ุ และอปทาน

เนือ้ หาการศึกษา
1. ความยืดหย่ ุนของอปสงค์
ุ (Elasticity of Demand)
ความหมายและการคํานวณหาคาความยื ่ ดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาในลักษณะต่างๆทั้ ง 5 รู ปแบบ

การหาคาความยื ดหยุน่ ของอุปสงค์จากรู ปเรขาคณิ ต
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคากบรายรั ั บรวม(TR)
ความหมายและการคํานวณหาคาความยื ่ ดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อรายได้
ความหมายและการคํานวณหาคาความยื ่ ดหยุน่ ของอุปสงค์ตอราคาสิ
่ นค้าชนิด
อื่นหรื อความยืดหยุน่ ไขว้
2. ความยืดหย่ ุนของอปทาน ุ (Elasticity of Supply)
ความหมายและการคํานวณหาคาความยื ่ ดหยุน่ ของอุปทานตอราคา

ความยืดหยุน่ ของอุปทานตอราคาในลั ่ ่ ้ ง 5 รู ปแบบ
กษณะตางๆทั
3. การเก็บภาษีอากรของรัฐบาล

การเกบภาษี จากผูข้ ายสิ นค้า : กรณี เกบจากสิ ็ นค้าตามสภาพ และตามมูลคา่

การเกบภาษี จากผูซ้ ้ือสิ นค้า : กรณี เกบจากสิ ็ นค้าตามสภาพและตามมูลคา่
ภาระภาษี เมื่อรัฐบาลจัดเกบจากผู ็ ข้ ายสิ นค้า
ภาระภาษี เมื่อรัฐบาลจัดเกบจากผู ็ ซ้ ้ือสิ นค้า
สาระสํ าคัญการศึกษา
1. ความยืดหย่ ุนของอปสงค์ุ ต่อราคาหมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงปริ มาณการ
เสนอซื้ อสิ นค้าและบริ การ เมื่อราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลงไปร้อยละหนึ่ง โดยกาํ หนดให้สิ่ งอื่นๆคงที่
2. การคํานวณหาค่ าความยืดหย่ ุนของอปส ุ งค์ ต่อราคาแบบจดและช่ ุ ่ ่คํานวณ
วง คาที
ได้จะมีค่าเป็ นลบเสมอ เป็ นไปตามกฎของอุปสงค์ ดังนั้ นการแปลความหมายความยืดหยุน่ จึง
พิจารณาเฉพาะคาสั ่ มบูรณ์ที่เป็ นตัวเลขเทานั ่ ้น
EC 111 57
3. ความยืดหยุ่นของอปสงค์ ุ ต่อราคา พิจารณาตามลักษณะของเส้นอุปสงค์ท้ งั 5
รู ปแบบ ประกอบด้วย (1) อุปสงค์ที่มีความยืดหยุน่ Ed = 0 (2) อุปสงค์ที่มีความยืดหยุน่ Ed < 1 (3)
อุปสงค์ที่มีความยืดหยุน่ Ed = 1 (4) อุปสงค์ที่มีความยืดหยุน่ Ed > 1 และ (5) อุปสงค์ที่มีความ
ยืดหยุน่ Ed = เส้นอุปสงค์ เหลานี ่ ้ ใช้อธิบายสิ นค้าอะไรได้บา้ ง
4. การหาค่ าความยืดหยุ่นของอปสงค์ ุ จากรปเรขาคณิ
ู ต
5. ความยืดหย่ นุ ของอปสงค์ ุ ต่อราคากับรายรับ : วิเคราะห์คาความยื่ ดหยุน่ เทากบหนึ
่ ั ่ง
่ ่ ง และมากกวา่ หนึ่ง เมื่อราคาสิ นค้าเพิ่มหรื อลดร้อยละหนึ่ง จะมีผลตอรายรั
น้อยกวาหนึ ่ บรวม

อยางไร
6. ความยืดหย่ ุนของอปสงค์ ุ ต่อรายได้ (Ey)หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงปริ มาณ
เสนอซื้ อสิ นค้า เมื่อรายได้ของผูบ้ ริ โภคเปลี่ยนแปลงร้อยละหนึ่ง โดยให้สิ่ งอื่นๆ คงที่ ทั้ งนี้ มีมุมมอง
สิ นค้าออกเป็ น 2 ชนิดคือ สิ นค้าปกติ(Normal goods) และ สิ นค้าด้อยความสําคัญ(Inferior goods)
7. สตรการคํ
ู านวณหาค่ าความยืดหยุ่นของอปสงค์ ุ ต่อรายได้ ทั้งแบบจดและช่
ุ วง จะมี

คาความยื ดหยุน่ เป็ นบวก (+ ) เมื่อเป็ นสิ นค้าปกติ และ มีค่าความยืดหยุน่ เป็ นลบ( - ) เมื่อเป็ นสิ นค้า
ด้อยความสําคัญ
8. ความยืดหย่นุ ของอปสงค์ ุ ต่อราคาสินค้ าชนิดอืน่ หรือความยืดหย่นุ ไขว้ (Exy) หมาย
ถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้าชนิดหนึ่ง เมื่อราคาสิ นค้าอีกชนิดหนึ่งที่เกยวข้ ี่ อง
เปลี่ยนแปลงไปร้อยละหนึ่ง โดยให้ส่ิ งอื่นๆคงที่ จะมีมุมมองสิ นค้า เป็ น 2 ชนิดคือ สิ นค้าที่ใช้
ประกอบกนั และสิ นค้าที่ใช้ทดแทนกนได้ ั
9. สตรการคํ
ู านวณหาค่ าความยืดหย่ ุนของอปสงค์ ุ ต่อราคาสิ นค้ าชนิดอืน่ มีท้ งั แบบจุด
และแบบชวง ่ คาความยื
่ ดหยุน่ จะเป็ นบวก (+ ) เมื่อเป็ นสิ นค้าที่ใช้ทดแทนกนั และคาความยื ่ ดหยุน่
จะเป็ นลบ ( - ) เมื่อเป็ นสิ นค้าที่ใช้ประกอบกนั
10. ความยืดหย่นุ ของอปทาน ุ (Es) หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงในปริ มาณการเสนอ
ขายสิ นค้า เมื่อราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลงร้อยละหนึ่ง โดยกาหนดให้ ํ สิ่ งอื่นๆคงที่
11. สตรการคํ
ู านวณหาค่ าความยืดหยุ่นของอปทานทั ุ ้งแบบจดแ ่
ุ ละแบบช่ วง คาความ
ยืดหยุน่ จะมีคาเป็
่ นบวก( + ) เสมอ ซึ่งเป็ นไปตามกฎของอุปทาน

58 EC 111
12. ความยืดหย่นุ ของอปทานต่ ุ อราคา ตามลักษณะของเส้นอุปทานทั้ ง 5 รู ปแบบ
ประกอบด้วย (1) อุปทานที่มีความยืดหยุน่ Es = 0 (2) อุปทานที่มีความยืดหยุน่ Es < 1 (3)
อุปทานที่มีความยืดหยุน่ Es = 1 (4) อุปทานที่มีความยืดหยุน่ Es > 1 และ (5) อุปทานที่มีความ
ยืดหยุน่ Es = ทั้งหมดนี้ นําไปใช้อธิบายสิ นค้าอะไรได้บา้ ง
13. การจัดเก็บภาษีของรัฐบาล มีท้ งั แบบ (1) จัดเกบจากผู ็ ข้ ายสิ นค้า จะมีผลตอการ ่
เปลี่ยนแปลงเส้นอุปทานเคลื่อนย้าย ทั้ งกรณี การจัดเกบแบบตามสภาพสิ ็ นค้าและตามมูลคาของ ่

สิ นค้า (2) จัดเกบจากผู ่
ซ้ ้ือสิ นค้า จะมีผลตอการเปลี ่ยนแปลงเส้นอุปสงค์เคลื่อนย้าย ทั้ งกรณี จดั เกบ็
แบบตามสภาพสิ นค้าและตามมูลคาของสิ ่ นค้า
14. ภาระภาษี เมือ่ รัฐบาลจัดเก็บจากผ้ ูขายสินค้ า วิเคราะห์ตามลักษณะของเส้นอุปสงค์
ทั้ ง 5 รู ปแบบที่ผานมา่ เพื่อพิจารณาวา่ ระหวางผู ่ ซื้ ้ อสิ นค้าและผูข้ ายสิ นค้าจะรับ ภาระภาษีมากน้อย
ั ่
กนอยางไร
15. ภาระภาษี เมือ่ รัฐบาลจัดเก็บจากผ้ ูซื้อสิ นค้ า วิเคราะห์ตามลักษณะของเส้นอุปทาน
ทั้ ง 5 รู ปแบบที่ผานมา ่ เพื่อพิจารณาวา่ ระหวางผู ่ ซ้ ้ือสิ นค้าและผูข้ ายสิ นค้า จะรับ ภาระภาษีกนมาก ั
น้อยอยางไร ่
จดประสงค์
ุ การศึกษา

เมื่ออานบทที ่ 4 จบแล้ว ควรที่จะตอบคําถามในประเด็นตางๆตอไปนี ่ ่ ้ ได้
1. ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา ความหมาย และการคํานวณหาคาความยื ่ ดหยุน่ ทั้ ง
แบบจุดและแบบชวง ่ การแปลคา่ความหมายความยืดหยุน่ ให้ถกู ต้องด้วย
2. ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา ตามลักษณะของเส้นอุปสงค์ท้ งั 5 รู ปแบบ สามารถ
อธิบายสิ นค้าและบริ การอะไรได้บา้ ง
3. ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคากบรายรั ั บรวม(TR) วิเคราะห์ตามลักษณะความยืด
หยุน่ ที่มีค่าเท่ากบหนึ
ั ่ ง น้อยกวาหนึ ่ ่ ง และมากกวาหนึ ่ ่ ง เมื่อราคาสิ นค้าเพิม่ หรื อลดจะ มีผลตอรายรั
่ บ
รวมอยางไร ่
4. ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อรายได้ กรณี สินค้าปกติ และสิ นค้าด้อยความสําคัญ การ
เปลี่ยนแปลงรายได้ของผูบ้ ริ โภค จะมีผลตอการเสนอซื ่ ้ อสิ นค้าปกติ และด้อยความสําคัญอยางไร ่

EC 111 59
5. ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าชนิดอื่น กรณี สินค้าที่ใช้ประกอบกนั และ
สิ นค้าที่ใช้ทดแทนกนั เมื่อราคาสิ นค้าชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลง จะมีผลตอการเสนอซื ่ ้ อสิ นค้าอีกชนิด
หนึ่งที่ใช้ประกอบกนั และสิ นค้าที่ใช้ทดแทนกนอยางไร ั ่
6. ความยืดหยุน่ ของอุปทาน การคํานวณหาคาความยื ่ ดหยุน่ ทั้ งแบบจุดและแบบชวง ่
การแปลค่าความหมายของความยืดหยุน่ ได้ถูกต้องได้อยางไร ่

7. คาความยื ดหยุน่ ของอุปทาน ตามลักษณะของเส้นอุปทานทั้ ง 5 รู ปแบบที่ผานมา ่
สามารถนําไปใช้อธิบายสิ นค้าอะไรได้บา้ ง

8. การจัดเกบภาษี ็
ของรัฐบาล ทั้ งกรณี จดั เกบตามสภาพสิ นค้า และตามมูลคาสิ ่ นค้า
่ ซ้ ้ือและผูข้ าย จะรับภาระภาษีกนอยางไร
ทั้ งจากผูซ้ ้ือสิ นค้าและผูข้ ายสิ นค้า ระหวางผู ั ่

60 EC 111
4.1 ความยืดหย่ ุนของอปสงค์
ุ (Elasticity of Demand)
ี่ ั
การศึกษาเกยวกบความยื ดหยุน่ ของอุปสงค์ จะแบงออกได้
่ เป็ น 3 ประเภทคือ
4.1.1. ความยืดหย่ ุนของอปสงค์
ุ ต่อราคา( Price Elasticity of Demand:Ed) คือ อัตรา
การเปลี่ยนแปลงปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้าและบริ การ ที่ตอบสนองตออั ่ ตราการเปลี่ยนแปลงในราคา

สิ นค้าและบริ การ การคํานวณหาคาความยื ดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา จะเป็ นไปได้ท้ งั แบบเป็ นจุด
่ (Arc) ดังรู ปภาพที่จะแสดงให้เห็นดังตอไปนี
(Point) และเป็ นชวง ่ ้
รู ปภาพที่ 4.1 เส้นอุปสงค์
P
P2 B

P1 A
D
Q
Q2 Q1

สู ตร ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ (Ed) = อัตราการเปลี่ยนแปลงปริ มาณการเสนอซื้ อ



ตอราคา อัตราการเปลี่ยนแปลงราคา

Ed แบบจุด(จุด A) = ∆Q . P.
∆P Q
โดยที่ P = P1 , Q = Q1 ∆Q = Q2 – Q1 และ ∆P = P2 - P1

่ ( A B) = ∆Q . . P1 + P2 .
Ed แบบชวง
∆P Q1 + Q2

EC 111 61

คาของความยื ดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา จะเป็ น ลบเสมอ ซึ่งแสดงค่า ความสัมพันธ์ระหวางราคา

ั มาณเสนอซื้ อ จะตรงข้ามกนัหรื อเป็ นความสัมพันธ์แบบลบเสมอ ดังนั้ นการพิจารณา
สิ นค้ากบปริ
ู เทานั
ต้ องดคู่ าสั มบรณ์ ่ ้ น (Absolute Term)
ตัวอย่ าง เมื่อราคามังคุด 25 บาท/กโลกรั ิ ม นายแดงจะซื้ อมังคุด จํานวน 30 กโลกรั
ิ ม ตอมาราคา

่ ิ ม จึงซื้ อมังคุดลดลงเป็ น 20 กโลกรั
เพิ่มขึ้ นเป็ น 30 บาทตอกโลกรั ิ ม จงคํานวณหาคาความยื
่ ดหยุน่
ของอุปสงค์ต่อราคา(Ed) แบบจุดและแบบชวง ่

วิธีทาํ การหาค่ าความยืดหย่ ุนอปสงค์


ุ ต่อราคาแบบจดุ (Point Elasticity of Demand)
สตร
ู Ed = ∆ Q . P .
∆P Q

แทนคา่ แบบจุด P คือ P1 และ Q คือ Q1


P1 = 25 P2 = 30 และ Q1 = 30 Q2 = 20
∆Q = Q2 – Q1 = 20 - 30 = - 10
∆P = P2 - P1 = 30 - 25 = 5
ดังนั้ น
Ed = - 10 . 25 . = - 5 .
5 30 3
Ed = - 1.66

แปลความหมายได้ ว่า ถ้าราคามังคุดเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้ นร้อยละ 1 นายแดงจะซื้ อมังคุดลดลงร้อยละ


่ งคุดเป็ นสิ นค้าที่มีความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคามากกวาหนึ
1.66 แสดงวามั ่ ่ ง (Elastic)

62 EC 111
การหาค่ าความยืดหยุ่นของอปุ สงค์ต่อราคา แบบช่ วง (Arc Elasticity of Demand)

ู Ed = ∆Q . P1 + P2 .
สตร
∆P Q1 + Q2
แทนคา่
P1 = 25 P2 = 30 และ Q1 = 30 Q2 = 20
∆Q = Q2 - Q1 = 20 - 30 = - 10
∆P = P2 - P1 = 30 - 25 = 5
ดังนั้ น Ed = - 10 . 25 + 30 .
5 30 + 20
Ed = - 550 .
250
= - 2.20
แปลความหมายได้ ว่า ถ้าราคามังคุดเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้ นร้อยละ 1 นายแดงจะซื้ อมังคุดลดลง ร้อย
ละ 2.20 แสดงวา่มังคุดเป็ นสิ นค้าที่มีความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคามากกวาหนึ
่ ่ ง(Elastic)

ค่ าความยืดหย่นุ ของอปสงค์
ุ ต่ อราคา มีลกั ษณะทีแ่ ตกต่ างกันทั้งหมด 5 ประเภทคือ

1. อปสงค์
ุ ทไี่ ม่ มคี วามยืดหย่ ุนเลย (Perfectly inelastic : Ed = 0 ) คือ การเปลี่ยน
แปลงราคาสิ นค้าชนิดนี้ เพิ่มหรื อลด จะไม่มีผลตอการเปลี
่ ่ยนแปลงปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้าและ

บริ การเลย ดังนั้ นเส้นอุปสงค์จึงมีลกั ษณะตั้ งฉากกบแกนนอน ปริ มาณการเสนอซื้ อ (Q) ดังรู ปภาพ

ตอไปนี ้

EC 111 63
รู ปภาพที่ 4.2 ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์เทากบศู
่ ั นย์
P D
P1

P0
P2

0 Q
Q0

จากรู ปภาพที่ 4.2 แกนตั้ งแทนราคาสิ นค้าและแกนนอนแทนปริ มาณการเสนอ


ซื้ อสิ นค้าและบริ การ เส้นอุปสงค์(D) มีลกั ษณะตั้ งฉากกบแกนน ั อน เริ่ มต้นจาก ณ ราคาสิ นค้า
่ ั P0 ปริ มาณการเสนอซื้ อสิ นค้าและบริ การเทากบ
เทากบ ่ ั Q0 แตเมื
่ ่อราคาสิ นค้าปรับตัวขึ้ นเป็ น P1
และลดลงเป็ น P2 จะเห็นได้วาปริ ่ มาณการเสนอซื้ อยังคงอยูท่ ี่ Q0 ไมเปลี่ ่ยนแปลง ดังนั้ นสิ นค้าที่
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาเทากบ ่ ั ศูนย์ได้แก่ โลงศพ เพราะวาเมื ่ ่อราคาโลงศพเพิ่มขึ้ นหรื อ
ลดลง ประชาชนกคงจะซื ็ ้ อโลงศพเพียงโลงเดียวเทานั ่ ้น
2. อปสงค์
ุ ทมี่ ีความยืดหยุ่นน้ อย(Inelastic : Ed < 1 ) คือ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยน
ราคาสิ นค้าและบริ การ จะมีมากกวาเปอร์ ่ เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงปริ มาณการเสนอซื้ อ ดังนั้ นเส้น
อุปสงค์จะมีลกั ษณะคอนข้ ่ างชัน ดังรู ปภาพตอไปนี ่ ้
รู ปภาพที่ 4.3 ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์นอ้ ยกวาหนึ่ ่ง

P D
P2

P1

0 Q
Q2 Q1
64 EC 111
จากรู ปภาพที่ 4.3 แกนตั้ งแสดงราคาสิ นค้า และแกนนอนแสดงปริ มาณเสนอซื้ อ
สิ นค้าและบริ การ เส้นอุปสงค์จะมีลกั ษณะคอนข้ ่ างชัน ดังนั้ นเมื่อราคาเปลี่ยนแปลงจาก P1 บาท
เป็ น P2 บาท จะทําให้ปริ มาณการเสนอซื้ อสิ นค้าลดลงจาก Q1 เป็ น Q2 สังเกตชวงการ ่
เปลี่ยนแปลงราคาจะมีมากกวาปริ ่ มาณสิ นค้า สิ นค้าที่มีความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาน้อย ได้แก่

สิ นค้าสิ นค้าที่จาํ เป็ นตอการดํ ารงชีวิต เชน่ อาหาร ที่อยูอ่ าศัย เสื้ อผ้า ยารักษาโรค เป็ นต้น
2. อปสงค์
ุ ทมี่ คี วามยืดหยุ่นเท่ ากันตลอดทั้งเส้ น (Unitary Elastic : Ed = 1 ) คือ
การเปลี่ยนของราคาสิ นค้า จํานวนร้อยละ 1 จะทําให้มีการเปลี่ยนแปลงปริ มาณการเสนอซื้ อสิ นค้า
ร้อยละ 1 เทากน ่ ั เส้นอุปสงค์เป็ นแบบที่เรี ยกวา่ Rectangular Hyperbolar ซึ่งทุกๆจุดบนเส้น
ดังกลาว่ จะมีค่าความยืดหยุน่ คงที่โดยตลอดและเทากบหนึ ่ ั ่ ง ดังรู ปภาพตอไปนี
่ ้
รู ปภาพที่ 4.4 ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์เทากบหนึ่ ั ่ง
P
P2

P1 D

0 Q
Q2 Q1

จากรู ปภาพที่ 4.4 แกนตั้ งเป็ นราคาสิ นค้าและแกนนอนเป็ นปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้า
่ ่ยนแปลงจาก P1 เป็ น P2 ราคาเพิ่มขึ้ น ทําให้ปริ มาณการเสนอซื้ อสิ นค้าลดลงจาก
เมื่อราคาสิ นคาเปลี
่ ่
Q1 เป็ น Q2 สังเกตชวงหางของการเปลี ่ ั มาณผลผลิต ดังนั้ นจึงทําให้ค่า
่ยนแปลงราคาจะเทากบปริ
ความยืดหยุน่ อุปสงค์ตอราคาเทากบหนึ
่ ่ ั ่ง

3. อปสงค์
ุ มคี วามยืดหยุ่นมาก ( Elastic : Ed > 1) คือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงราคา
่ อยละ 1 และเส้นอุปสงค์จะ
สิ นค้าร้อยละ 1 จะทําให้ปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้าเปลี่ยนแปลงมากกวาร้
่ างลาด ดังรู ปภาพตอไปนี
คอนข้ ่ ้

EC 111 65
รู ปภาพที่ 4.5 ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์มากกวาหนึ
่ ่ง
P

P2
P1 D

0 Q
Q2 Q1
จากรู ปภาพที่ 4.5 แกนตั้ งแทนราคาสิ นค้า และแกนนอนแทนปริ มาณเสนอซื้ อ
สิ นค้า เมื่อราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้ นจาก P1 เป็ น P2 มีผลทําให้ปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้าลดลงจาก Q1เป็ น
Q2 สังเกตุช่วงหางของการเปลี
่ ่ยนแปลงปริ มาณผลผลิตจะมีมากกวาการเปลี่ ่ยนแปลงราคาสิ นค้า

ดังนั้ นคาความยืดหยุน่ ของอุปสงค์จึงมีค่ามากกวาหนึ
่ ่ ง เป็ นสิ นค้าฟุ่ มเฟื อย

5. อปสงค์
ุ ู (Perfectly elastic : Ed = ) คือ ราคา
ทมี่ คี วามยืดหย่ ุนอย่ างสมบรณ์
สิ นค้าจะมีเพียงราคาเดียว และเส้นอุปสงค์จะมีลกั ษณะขนานกบแกนปริ ั มาณเสนอซื้ อสิ นค้า(แกน
นอน) ดังรู ปภาพตอไปนี ่ ้
รู ปภาพที่ 4.6 ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์เทากบอิ
่ ั นฟิ นิต้ ี

P D

0 Q

66 EC 111
จากรู ปภาพที่ 4.6 แกนตั้ งแทนราคาสิ นค้า และแกนนอนแทนปริ มาณเสนอซื้ อ
สิ นค้า ในกรณี น้ ี ราคาสิ นค้าของหน่วยผลิตจะมีเพียงราคาเดียวที่ถูกกาหนด ํ จากราคาตลาด แสดง
ให้เห็นวา่ ณ ราคา P0 ผูซ้ ้ื อจะซื้ อสิ นค้าจากหนวยผลิ
่ ตไมจํ่ ากดจํ
ั านวน แตถ้่ าราคาสู งขึ้ น จะพบวา่
่ เลย เพราะวาผู
ผูผ้ ลิตจะขายสิ นค้าไมได้ ่ ซ้ ้ือจะไปซื้ อรายอื่นๆที่มีราคาถูกกวา่

การหาค่ าความยืดหยุ่นของอปสงค์
ุ จากรปเรขาคณิ
ู ต ถ้าหากรู ้วา่แกนตั้ งแทน
ระดับราคาสิ นค้า และ แกนนอนแทนปริ มาณการเสนอซื้ อสิ นค้า เราจะสามารถหาคาความยื ่ ดหยุน่
ของอุปสงค์ได้อีกวิธีหนึ่ง ที่เรี ยกวา่ เรขาคณิ ต โดยสมมติให้เส้นอุปสงค์คือเส้น AB และ มีจุดตัด

แกนตั้ งราคาที่จุด A และตัดแกนนอนปริ มาณเสนอซื้ อที่จุด B ดังรู ปภาพตอไปนี ้

่ ดหยุน่ รู ปเรขาคณิ ต
รู ปภาพที่ 4.7 การหาคาความยื
P
A
∆P
D C
∆Q ∆P
0 Q
E ∆Q B

่ึ
จากรู ปภาพที่ 4.7 สมมติให้จุด C เป็ นจุดกงกลางของเส้ นอุปสงค์ AB ดังนั้ นจาก
จุด C ถ้าลากเส้นจากจุด C ขนานกบแ ั กนปริ มาณไปที่จุด D และตั้ งฉากกบแกนปริ
ั มาณเสนอซื้ อไป
็ นจุดกงกลางของ
ที่จุด E ตามลําดับ ดังนั้ นจุด D และ E กจะเป็ ่ึ เส้น OA และ OB สูตรการหาคา่
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคามีดงั นี้
Ed = ∆Q . P .
∆P Q
่ ดหยุน่ ของเส้นอุปสงค์ AB ณ จุด C จะมีค่าดังนี้
ดังนั้ นคาความยื
Ed = EB . EC .
EC OE
EC 111 67
= EB .
OE
หรื อ Ed = CD . OD .
AD OE
= OD . ทั้ งนี้ เพราะ CD = OE
AD
และจากกฎของสามเหลี่ยมเราจะได้ ความยืดหยุน่ ที่จุด C มีค่าเทากบ
่ ั BC . ด้วย ดังนั้ นจึงสรุ ปได้
วา่ คาความยื
่ ดหยุน่ ณ จุด C เป็ นดังนี้ AC

Ed = EB . = OD . = BC .
OE AD AC
่ ด C เป็ นจุดกงกลางของ
และเนื่องจากเราสมมติวาจุ ่ึ ่
AB ดังนั้ นคาความยื ดหยุน่ ของ
่ ั ่ ง และระหวางชวง
AB ณ จุด C จึงเทากบหนึ ่ ่ AC มีความยืดหยุน่ มากกวาหนึ ่ ่ ง ชวงที
่ ่อยูร่ ะหวาง
่ BC
มีความยืดหยุน่ น้อยกวาหนึ
่ ่ ง ณ จุด A มีความยืดหยุน่ เทากบอนั
่ ั นต์ และที่จุด B ไมมี่ความยืดหยุน่
เลย ดังรู ปต่อไปนี้

่ ดหยุน่ บนเส้นอุปสงค์เส้นตรง
รู ปภาพที่ 4.8 แสดงคาความยื

P Ed =
A
Ed > 1
Ed = 1

Ed < 1 Ed = 0
0
B Q

68 EC 111
การหาค่ าความยืดหย่ ุนของอปสงค์
ุ ต่อราคากรณีเส้ นอปสงค์
ุ เป็ นเส้ นโค้ ง

กรณี เส้นอุปสงค์เป็ นเส้นโค้ง เราสามารถที่จะหาความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา ณ จุดใดจุดหนึ่ง



บนเส้นอุปสงค์ได้ โดยอาศัยหลักการหาคาความยื ดหยุน่ จากรู ปเรขาคณิ ต เชน่ ณ จุด A บนเส้น

อุปสงค์ DD เราสามารถที่จะหาคาความยื ดหยุน่ ได้โดยลากเส้นตรงไปสัมผัสเส้นอุปสงค์ DD ณ จุด

A และคาความยื ดหยุน่ ของเส้นอุปสงค์ DD ณ จุด A กจะเทากบ
็ ่ ั BC/OC ดังรู ปภาพตอไปนี ่ ้

่ ดหยุน่ ของอุปสงค์เส้นโค้ง
รู ปภาพที่ 4.9 การหาคาความยื

P D

A
D

0 C B Q
ความยืดหย่นุ ของอปสงค์
ุ ต่อราคากับรายรับ

ี่ ั
การศึกษาเกยวกบความยื ดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา ในกรณี ที่อุปสงค์มีความ
ยืดหยุน่ น้อย ความยืดหยุน่ มาก และความยืดหยุน่ เทากบหนึ
่ ั ่ ง เมื่อสมมติวา่ ราคาสิ นค้าเพิม่ และลด

จะมีผลตอรายรั ่ ดังรู ปภาพตอไปนี
บรวม(Total Revenue : TR) อยางไร ่ ้

EC 111 69
รู ปภาพที่ 4.10 แสดงความยืดหยุน่ กบรายรั
ั บ
P Ed > 1
100
Ed = 1
50 C Ed < 1

0 500 1,000 Q

TR

Total Revenue

0 Q
500 1,000

ความยืดหยุน่ ราคาสิ นค้าเพิม่ร้อยละ 1 ราคาสิ นค้าลดร้อยละ 1


Ed = 1 TR คงเดิม TR คงเดิม
Ed < 1 TR เพิ่ม TR ลด
Ed > 1 TR ลด TR เพิ่ม

การวิเคราะห์ ความยืดหย่ ุน 2 กรณี ดังนี้



1. กรณี สินค้าที่มี Ed < 1 จากการศึกษาที่ผานมาคื อ สิ นค้าที่จาํ เป็ นสําหรับการ
ดํารงชีวิต เชน่ อาหาร เสื้ อผ้า ยารักษาโรค เป็ นต้น เมื่อราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลงร้อยละ 1 จะมีผลทํา
ให้ปริ มาณเสนอซื้ อเปลี่ยนแปลงน้อยกวาร้ ่ อยละ 1 ดังนั้ นถ้าสิ นค้าชนิดหนึ่งเพิม่ ราคาร้อยละ 1
ผูบ้ ริ โภคจะซื้ อสิ นค้าลดลงไมถึ่ งร้อยละ 1 ดังนั้ นรายรับรวมใหมจึ่ งเพิม่ ขึ้ นมากกวา่ เดิม

70 EC 111

2. กรณี สินค้าที่มี Ed > 1 จากการศึกษาที่ผานมาคื อ สิ นค้าฟุ่ มเฟื อย ดังนั้ นเมื่อ
ราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลงร้อยละ 1 จะมีผลทําให้ผบู ้ ริ โภคซื้ อสิ นค้าเปลี่ยนแปลงมากกวาร้ ่ อยละ 1
่ อยละ 1
ดังนั้ นถ้าลดราคาสิ นค้าชนิดนี้ ลงร้อยละ 1 จะมีผลทําให้ผบู ้ ริ โภคซื้ อสิ นค้าเพิม่ ขึ้ นมากกวาร้
จึงทําให้รายรับรวมใหมเพิ ่ ่มขึ้ นมากกวา่ เดิม
4.1.2 ความยืดหย่ ุนของอปสงค์ุ ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand) คืออัตรา
การเปลี่ยนแปลงปริ มาณเสนอซื้อสิ นค้าของผูบ้ ริ โภค เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงไปร้อยละหนึ่ง โดย

กาหนดให้ สิ่ งอื่นๆ คงที่ โดยมีมุมมองสิ นค้าออกเป็ น 2 ชนิดได้แก่ สิ นค้าปกติ(Normal goods)กบั
และสิ นค้าด้อยความสําคัญ(Inferior goods)
สมมติให้ Ey ให้แทนความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อรายได้ จึงสามารถหาคาความ ่
ยืดหยุน่ ได้ดงั ตอไปนี
่ ้

Ey = อัตราการเปลีย่ นแปลงปริมาณการเสนอซื้อ
อัตราการเปลีย่ นแปลงรายได้

โดยที่ Y = รายได้ Q = ปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้า ∆Q = Q2 - Q1 และ


∆Y = Y2 - Y1
เราสามารถหาคา่ Ey ทั้ งแบบจุด(Point) และชวง
่ (Arc) ได้ดงั ตอไปนี
่ ้

1. แบบจุด Ey = ∆Q . Y . : Y = Y1 และ Q = Q1
∆Y Q


2. แบบชวง Ey = ∆Q . Y1 + Y2 .
∆Y Q1 + Q2

ทั้ งนี้ การคํานวณหาคา่ อาจจะออกเป็ น บวก หรื อ ลบ กได้



ถ้าคา่ Ey เป็ น บวก กแสดงวาเป็
็ ่ นสิ นค้าปกติ
ถ้าคา่ Ey เป็ นลบ กแสดงวาเป็
็ ่ นสิ นค้าด้อยความสําคัญ

EC 111 71
4.1.3. ความยืดหยุ่นของอปสงค์
ุ ต่อราคาสินค้ าชนิดอืน่ (Cross Elasticity of Demand : Exy) คือ
การศึกษาราคาสิ นค้าชนิดหนึ่ง(Py) เปลี่ยนแปลงร้อยละ 1 จะมีผลทําให้ปริ มาณการเสนอซื้ อสิ นค้า
ี่ องเปลี่ยนแปลงไปร้อยละเทาใด
อีกชนิดหนึ่ง(Qx)ที่เกยวข้ ่ ทั้ งนี้ มีมุมมองสิ นค้าออกเป็ น 2 ประเภท
คือ สิ นค้าที่ใช้ประกอบกนั (Complementary goods) และ สิ นค้าที่ใช้ทดแทนกนั(Substitution
goods) ได้ โดยมีสูตรการคํานวณหาคาได้ ่ ดงั ตอไปนี
่ ้

Exy = อัตราการเปลี่ยนแปลงในปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้า X


อัตราการเปลี่ยนแปลงราคาสิ นค้า Y

1. แบบจุด Exy = ∆Qx . Py .


∆Py Qx
โดยที่ Py = ราคาสิ นค้า Y Qx = ปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้า X
∆Py = การเปลี่ยนแปลงราคาสิ นค้า Y , ∆Qx = การเปลี่ยนแปลงปริ มาณซื้ อสิ นค้า X
2. แบบชวง่ Exy = ∆Qx . Py1 + Py2
∆Py Qx1 + Qx2


คาของความยื ดหยุน่ จะเป็ นได้ท้ งั คา่ บวก และ ลบ
กรณี คา่ Exy เป็ นบวก แสดงวาสิ ่ นค้า X กบั Y เป็ นสิ นค้าที่ใช้ทดแทนกนได้

กรณี คา่ Exy เป็ นลบ แสดงวาสิ ่ นค้า X กบั Y เป็ นสิ นค้าที่ใช้ร่ วมกนหรื
ั อประกอบกนั

4.2ความยืดหย่ ุนของอปทาน
ุ (Elasticity of Supply) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลง
ปริ มาณเสนอขายสิ นค้า เมื่อราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลงไปร้อยละหนึ่ง โดยกาหนดให้ ํ สิ่ งอื่นๆคงที่
ดังนั้ นถ้าปริ มาณเสนอขายเปลี่ยนแปลงมากกวาร้่ อยละ 1 เรากเรี็ ยกวา่ อุปทานมีความยืดหยุน่ มาก
แตถ้่ าปริ มาณเสนอขายสิ นค้าเปลี่ยนแปลงน้อยกวาร้
่ อยละ 1 เราเรี ยกวา่ อุปทานมีความยืดหยุน่ น้อย
นัน่ เอง

72 EC 111
รู ปภาพที่ 4.11 ความยืดหยุน่ ของอุปทาน
P S
20 B

10 A

0 Q
150 200
สู ตรความยืดหยุน่ ของอุปทานตอราคา
่ ่
(Es) มีดงั ตอไปนี

Es = อัตราการเปลี่ยนแปลงปริ มาณเสนอขายสิ นค้า


อัตราการเปลี่ยนแปลงราคาสิ นค้า
หรื อ
1. แบบจดุ (A) Es = ∆Q . P .
∆P Q
P = ราคาสิ นค้า Q = ปริ มาณเสนอขายสิ นค้า โดยที่ P = P1 และ Q = Q1
∆P = การเปลี่ยนแปลงราคาสิ นค้า ∆Q = การเปลี่ยนแปลงปริ มาณเสนอขายสิ นค้า

2. แบบช่ วง (AB) Es = ∆Q . P1 + P2 .
∆P Q1 + P2
∆Q = Q2 - Q1 และ ∆P = P2 - P1
ค่ าความยืดหยุ่นของอปทานที
ุ ค่ าํ นวณได้ : โดยปกติทว่ั ไปเส้นอุปทานเป็ นเส้นที่
ทอดขึ้ นจากซ้ายไปขวา มีความลาดชันทอดขึ้ นจากซ้ายไปขวา ซึ่งแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างราคา
กับปริมาณเสนอขายสิ นค้ าและบริการเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้นความยืดหยุ่นของอปทานจะ ุ
่ ่คาํ นวณได้ จะอยูใ่ น 5 ลักษณะดังนี้
มีค่าเป็ นบวก และคาที

EC 111 73
(1) อปทานที
ุ ม่ คี วามยืดหยุ่นมาก (Elastic) คือ การที่อุปทานมีความยืดหยุน่
มากกวาหนึ่ ่ ง (Es > 1) ซึ่งหมายความวา่ ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงร้อยละหนึ่ง จะมีผลทําให้ปริ มาณเสนอ
ขายเปลี่ยนแปลงมากกวาร้ ่ อยละ 1 โดยมีตวั อยางเป็ ่ นสิ นค้าอุตสาหกรรม
(2) อปทานที ุ ม่ คี วามยืดหย่ ุนน้ อย (Inelastic) คือ การที่อุปทานมีความยืดหยุน่ น้อย
่ ่ ง (Es < 1) ซึ่งหมายความวา่ ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงร้อยละหนึ่ง จะมีผลทําให้ปริ มาณการเสนอ
กวาหนึ
ขายเปลี่ยนแปลงน้อยกวาร้ ่ อยละหนึ่ง โดยมีตวั อยางเป็ ่ นสิ นค้าเกษตร
(3) อปทานที
ุ ม่ คี วามยืดหยุ่นคงที่ (Unitary) คือ การที่อุปทานมีความยืดหยุน่ เทากบ
่ ั
หนึ่ง (Es = 1) ซึ่งหมายถึงวา่ ถ้าราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลงร้อยละหนึ่ง จะมีผลทําให้ปริ มาณการเสนอ
ขายเปลี่ยนแปลงร้อยละหนึ่งเชนเดี ่ ยวกนั
(4) อปทานที ุ ไ่ ม่ มคี วามยืดหยุ่นเลย (Perfectly Inelastic) คือ การที่อุปทานมีความ
ยืดหยุน่ เทากบศู
่ ั นย์ (Es = 0) ซึ่งหมายความวา่ ไมวาราคาจะเปลี ่่ ็
่ยนแปลงสูงขึ้ นหรื อลดลง กตาม
ปริ มาณการเสนอขายสิ นค้าจะไมเปลี ่ ่ยนแปลง โดยมีตวั อยางเป็่ น สิ นค้าวัตถุโบราณ
(5) อปทานที
ุ ม่ ีความยืดหย่ ุนอย่ างสมบรณ์ ู ( Perfectly Elastic) คือ การที่อุปทานมี
ความยืดหยุน่ เทากบอนั
่ ั นต์ ( Es = ) ซึ่งหมายถึงวา่ ปริ มาณการเสนอขายจะเปลี่ยนแปลงไป

อยางไรกตาม ็ ราคาจะไมเปลี ่ ่ยนแปลงเลย

ลักษณะของเส้ นอปทานจํ
ุ าแนกตามความยืดหยุ่น
(1) อปทานที
ุ ่ างลาด
ม่ ีความยืดหยุ่นมาก (Es > 1) : ลักษณะเส้นอุปทานคอนข้
P S
P1
P0

0
Q0 Q1 Q

74 EC 111
(2) อปทานที
ุ ่ างชัน
ม่ ีความยืดหยุ่นน้ อย (Es < 1) : ลักษณะของเส้นอุปทานคอนข้

P S
P1

P0
0
Q0 Q1 Q
(3) อปทานที
ุ ํ ด (Origin)
ม่ ีความยืดหยุ่นคงที่ (Es = 1) : ลักษณะเส้นอุปทานเริ่ มต้นจากจุดกาเนิ
P S3
S2

S1
0
Q
(4) อปทานที
ุ ั
ไ่ ม่ มีความยืดหย่ ุนเลย (Es = 0) : เส้นอุปทานตั้ งฉากกบแกนนอน
P S

0 Q0 Q
(5) อปทานที
ุ ั
ู (Es = ) : เส้นอุปทานขนานกบแกนนอน
ม่ ีความยืดหยุ่นอย่ างสมบรณ์
P

P0 S

0 Q
EC 111 75
4.3 การเก็บภาษีอากรของรัฐบาล
การซื้ อขายสิ นค้าและบริ การโดยทัว่ ไป ็
รัฐบาลจะมีการเกบจากผู
ซ้ ้ือหรื อผูข้ าย
็ ทั้ งนี้ โดยมีลกั ษณะของภาษีที่จดั เกบ็ แบงออกเป็
สิ นค้ากได้ ่ น 2 ชนิดคือ
การจัดเก็บภาษีจากผู้ขาย: จะมีผลต่ อเส้ นอปทานเปลี
ุ ย่ นแปลง


(1) การเก็บภาษีตามสภาพของสิ นค้ า(Specific Tax) : เป็ นการจัดเกบภาษี ที่มีการ
่ นค้า เป็ นต้น
ยืดหลักการตามนํ้ าหนัก ความยาว หรื อสภาพของการบรรจุหีบหอสิ


รู ปภาพที่ 4. 17 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทานหลังจากมีการเกบภาษี ตาม
สภาพจากผูข้ ายสิ นค้า
ราคา ็
S1 (หลังจากเกบภาษี )
P1 ่ ็
S0 (กอนเกบภาษี )
T
P0

0 ปริ มาณสิ นค้า


Q0

อธิบายรู ปภาพ 4.17 เส้นอุปทาน S0 เป็ นการเสนอขายสิ นค้าปริ มาณ Q0 และราคา


่ การจัดเกบภาษี
P0 กอนมี ็ ่ ่อรัฐบาลจัดเกบ็ ภาษีสินค้ าจากผ้ ูขาย ต้นทุนการผลิตยอมสู
แตเมื ่ งขึ้ น ทํา
่ ่ ั ่ ั
ให้เส้นอุปทานเคลื่อนย้ายทั้งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ นเส้น S1 โดยเส้นทั้งสองมีระยะหางเทากนเทากบ
จํานวนภาษีต่อหนวยสิ่ นค้า ดังนั้ นราคาสิ นค้าจึงเพิ่มขึ้ นเป็ น P1 = P0 + T และผูข้ ายสิ นค้ากยิ็ นดีจะ
ขายในปริ มาณเทากบ ่ ั Q0
(2) การเก็บภาษีตามมลค่
ู าของสิ นค้า(Ad-valorem Tax) : เป็ นการจัดเกบภาษี ็ ตาม
ระดับราคาสิ นค้า เทา่กบอั
ั ตราภาษีคูณราคาสิ นค้าตอหนวย่ ่ เชน่ ราคา 100 บาท/หนวย ่ อัตราภาษี
ร้อยละ 5 ดังนั้ นภาษีต่อหนวยเทากบจํ
่ ่ ั านวน 5 บาท เป็ นต้น

76 EC 111

รู ปภาพที่ 4.18 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน เมื่อมีการเกบภาษี ่
ตามมูลคาจากผู
ข้ าย

S1 (หลังจากเกบภาษี )
ราคา
P1 T ่ ็
S0 (กอนเกบภาษี )
P0

0 ปริ มาณสิ นค้า


Q0

อธิบายรู ปภาพที่ 4.18 เส้นอุปทาน S0 เป็ นการเสนอขายสิ นค้าปริ มาณ Q0 และราคา


่ การจัดเกบภาษี
P0 กอนมี ็ ่ ่ ฐบาลจัดเก็บภาษีจากผู้ขาย ต้นทุนการผลิตยอมสู
แตตอมารั ่ งขึ้ น ทําให้
เส้นอุปทานเคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ นเส้น S1 โดยเส้นทั้ งสองช่วงราคาตํ่าจะหางกนน้ ่ ั อ

และเมื่อราคาสู งขึ้ นจะหางมากขึ ้ นตามจํานวนภาษี ดังนั้ นราคาสิ นค้าจึงเพิ่มขึ้ นเป็ น P1 = P0 + T
และผูข้ ายสิ นค้ายินดีจะขายเทากบ่ ั Q0
การจัดเก็บภาษีจากผ้ ูซื้อ : จะมีผลต่ อการเปลีย่ นแปลงเส้ นอปสงค์ ุ
(1) การจัดเก็บภาษีตามสภาพจากผู้ซื้อ : เมื่อผูบ้ ริ โภคมีรายได้จาํ นวนหนึ่งและ

รัฐบาลเกบภาษี ตามสภาพกบผู ั ซ้ ้ือ จะมีผลทําให้ผบู ้ ริ โภคซื้ อสิ นค้าได้นอ้ ยลง
รู ปภาพที่ 4.19 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์ เมื่อเกบภาษี ็ ตามสภาพจากผูซ้ ้ือ
ราคา

D1 (หลังจากเกบภาษี )
P0
T
่ ็
D0 (กอนเกบภาษี )
0 ปริ มาณสิ นค้า
Q1 Q0

EC 111 77
อธิบายรู ปภาพที่ 4.19 กอนจะมี ่ ็
การเกบภาษี จากผูซ้ ้ือสิ นค้าเส้นอุปสงค์คือ D0
ผูบ้ ริ โภคซึ่งรายได้อยูจ่ าํ นวนหนึ่ง ณ ราคาสิ นค้าเทากบ ่ ั P0 สามารถซื้ อสิ นค้าได้เทากบ ่ ั Q0 หนวย่
่ ฐบาลเก็บภาษีตามสภาพสิ นค้ าจากผ้ ูซื้อ ทําให้เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายไปทางซ้ายมือเป็ น D1
ตอมารั
มีระยะหางทั่ ้ งสองเส้นเทากน ่ ั จึงทําให้ผบู ้ ริ โภคซื้ อสิ นค้าได้ลดลงจาก Q0 เป็ นจํานวนเทากบ ่ ั Q1

ู าสินค้ าจากผ้ ูซื้อ : เมื่อผูบ้ ริ โภคสิ นค้ามีรายได้จาํ นวน


(2) การจัดเก็บภาษีตามมลค่

หนึ่ง รัฐบาลมาเกบภาษี ่ นค้าจากผูซ้ ้ือ จึงมีผลทําให้ซ้ือสิ นค้าได้จาํ นวนลดลง
ตามมูลคาสิ

รู ปภาพที่ 4.19 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์ เมื่อเกบภาษี ่
ตามมูลคาจากผู ซ้ ้ือ

ราคา ่ ็
D0 (กอนเกบภาษี )

D1 (หลังจากเกบภาษี )
P0
T

0 ปริ มาณสิ นค้า


Q1 Q0
่ การจัดเกบภาษี
อธิบายรู ปภาพที่ 4.19 กอนมี ็ จากผูซ้ ้ือสิ นค้า เส้นอุปสงค์คือ D0
ผูบ้ ริ โภคซึ่งมีรายได้จาํ นวนหนึ่ง ณ ราคาสิ นค้าเทากบ่ ั P0 สามารถซื้ อสิ นค้าได้เทากบ ่ ั Q0 หนวย ่
่ ฐบาลจัดเกบภาษี
ตอมารั ็ ่ นค้าจากผูซ้ ้ือสิ นค้า
ตามมูลคาสิ ทําให้เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไป
ทางซ้ายมือเป็ น D1 แตชวงที ่ ่ ่ราคาตํ่าจะมีช่วงหางของเส
่ ็ ช่วงหาง
น้ ทั้ ง 2 น้อย เมื่อราคาสูงขึ้ นกจะมี ่
ของเส้นอุปสงค์ท้ งั สองมากขึ้ น จึงทําให้ผบู ้ ริ โภคซื้ อสิ นค้าได้ลดลงจาก Q0 เป็ นจํานวนเทากบ ่ ั Q1

่ ซ้ ้ือและผูข้ ายสิ นค้าจะรับภาระ


ภาระภาษี เมือ่ รัฐบาลจัดเก็บภาษีจากผู้ขาย : ระหวางผู
ั ่ สามารถพิจารณาได้จากเส้นอุปสงค์ต่อราคาที่มีความยืดหยุน่ ตางๆกนได้
ภาษีกนอยางไร ่ ั ดังตอไปนี ่ ้

78 EC 111
(1) กรณีเส้ นอปสงค์
ุ มีความยืดหยุ่น(Ed = 0) เท่ ากับศนย์ู
่ ซ้ ้ือและผูข้ ายสิ นค้า เมื่อความยืดหยุน่ ของอุปสงค์
รู ปภาพที่ 4.20 ภาระภาษีระหวางผู
่ ั นย์
เทากบศู
ราคา D ็
S1 (หลังจากเกบภาษี )

P1 B ่ ็
S0 (กอนเกบภาษี )
P0 A

0 ปริ มาณสิ นค้า


Q0
่ ็
อธิบายรู ปภาพที่ 4.20 เส้นอุปทานกอนเกบภาษี ั นอุปสงค์ D ที่จุด A
คือ S0 ตัดกบเส้
่ ั P0 ปริ มาณสิ นค้าเสนอขายสิ นค้าเทากบ
ณ ราคาสิ นค้าเทากบ ่ ั Q0 เมื่อมีการเก็บภาษีจากผ้ ูขายสินค้ า
ราคา P0 + ภาษี ทําให้ราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้ น เส้นอุปทานจึงเคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ น S1 ตัด
ั นอุปสงค์ D ที่จุด B ราคาสิ นค้าใหมคื่ อ P1 ปริ มาณเสนอขายสิ นค้าคงที่ จํานวนภาษีคือ พื้นที่
กบเส้
P0 A B P1 ภาระภาษีท้งั หมดจะเป็ นของผ้ซู ื้อสิ นค้ า
(2) กรณีเส้ นอปสงค์
ุ มคี วามยืดหยุ่น (Ed < 1) น้ อยกว่ าหนึ่ง
รู ปภาพที่ 4.21 ภาระภาษีระหวางผู่ ซ้ ้ือและผูข้ ายสิ นค้า เมื่อความยืดหยุน่ ของอุปสงค์
่ ่ง
น้อยกวาหนึ

S1 (หลังจากเกบภาษี )
ราคา
่ ็
S0 (กอนเกบภาษี )
P1 B
P0 A E
P2 C
D
0 ปริ มาณสิ นค้า
Q1 Q0
EC 111 79
่ ็
อธิบายรู ปภาพที่ 4.21 เส้นอุปทานกอนเกบภาษี ั นอุปสงค์ D ที่จุด E
คือ S0 ตัดกบเส้
่ ั P0 ปริ มาณเสนอขายสิ นค้าเทากบ
ณ ราคาสิ นค้าเทากบ ่ ั Q0 เมื่อมีการเก็บภาษีจากผ้ขู ายสิ นค้ า ราคา
P0 + T ทําให้ราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้ น เส้นอุปทานจึงเคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ นเส้น S1 ตัดกบั
เส้นอุปสงค์ที่จุด B ราคาสิ นค้าใหมคื่ อ P1 ปริ มาณเสนอขายสิ นค้าลดลงเป็ น Q1 ภาษีคือพื้นที่
PoBCP2 ภาระภาษีสาํ หรับผูซ้ ้ือสิ นค้าคือ พื้นที่ P0ABP1 มากกว่ า ภาระภาษีสาํ หรับผูข้ ายสิ นค้า
คือพื้นที่ P0ACP2

(3) กรณีเส้ นอปสงค์


ุ มคี วามยืดหยุ่น(Ed = 1) เท่ ากับหนึ่ง
รู ปภาพที่ 4.22 ภาระภาษีระหวางผู ่ ซ้ ้ือและผูข้ าย เมื่อความยืดหยุน่ ของอุปสงค์
่ ั ่ง
เทากบหนึ
ราคา ็
S1 (หลังจากเกบภาษี )
่ ็
S0 (กอนเกบภาษี )
P1 B
P0 A E
P2 C D

0 Q1 Q0 ปริ มาณสิ นค้า

่ ็
อธิบายรู ปภาพที่ 4.22 เส้นอุปทานกอนเกบภาษี ั นอุปสงค์ D ที่จุด E
คือ S0 ตัดกบเส้
่ ั P0 ปริ มาณเสนอขายสิ นค้าเทากบ
ณ ราคาสิ นค้าเทากบ ่ ั Q0 เมื่อมีการเก็บภาษีจากผ้ ขู ายสิ นค้ า ราคา
P0 + T ทําให้ราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้ น เส้นอุปทานจึงเคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ นเส้น S1 ตัดกบั
เส้นอุปสงค์ที่จุด B ราคาสิ นค้าใหมคื่ อ P1 ปริ มาณเสนอขายสิ นค้าลดลงเป็ น Q1 ภาษีคือพื้นที่
P1BCP2 ภาระภาษีสาํ หรับผูซ้ ้ือสิ นค้าคือพื้นที่ P0ABP1 เท่ ากับ ภาระภาษีของผูข้ ายสิ นค้าคือพื้นที่
P0ACP2

80 EC 111
(4) กรณีเส้ นอปสงค์
ุ มคี วามยืดหยุ่น(Ed > 1) มากกว่ าหนึ่ง
รู ปภาพที่ 4.23 ภาระภาษีระหวางผู ่ ซ้ ้ือกบผู
ั ข้ ายสิ นค้า เมื่อเส้นอุปสงค์มีความยืดหยุน่
่ ่ง
มากกวาหนึ
ราคา ็
S1 (หลังเกบภาษี )
่ ็
S0 (กอนเกบภาษี )
P1 B
P0 A E
P2 C
D
0 ปริ มาณสิ นค้า
Q1 Q0
อธิบายรู ปภาพที่ 4.23 เส้นอุปทานกอนเกบภาษี่ ็ ั นอุปสงค์ D ที่จุด E
คือ S0 ตัดกบเส้
่ ั P0 ปริ มาณเสนอขายสิ นค้าเทากบ
ณ ราคาสิ นค้าเทากบ ่ ั Q0 เมื่อมีการเก็บภาษีจากผ้ ขู ายสิ นค้ า ราคา
P0 + T ทําให้ราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้ น เส้นอุปทานจึงเคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ นเส้น S1 ตัดกบั
เส้นอุปสงค์ที่จุด B ราคาสิ นค้าใหมคื่ อ P1 ปริ มาณซื้ อขายสิ นค้าลดลงเป็ น Q1 ภาษีท้งั หมดคือพื้นที่
P1BCP2 ภาระภาษีของผูซ้ ้ือสิ นค้าคือพื้นที่ P0ABP1 น้ อยกว่ า ภาระภาษีของผูข้ ายสิ นค้าคือพื้นที่
่ ่
P0ACP2 ดังนั้ นราคา P2 จะเป็ นรายรับตอหนวยของผู ข้ ายสิ นค้า
(5) กรณีเส้ นอปสงค์
ุ ต่อราคา มีความยืดหยุ่น(Ed = )เท่ ากับอินฟิ นิตี้
รู ปภาพที่ 4.24 ภาระภาษีระหวางผู ่ ซ้ ้ือกบผู ั ข้ ายสิ นค้า เมื่อความยืดหยุน่ อุปสงค์
่ ั นฟิ นิต้ ี
เทากบอิ
ราคา ่ ็
S0 (กอนเกบภาษี )

S1 (หลังจากเกบภาษี )
A E
P0 D
P1
B
0 ปริ มาณสิ นค้า
Q1 Q0
EC 111 81
่ ็
อธิบายรู ปภาพที่ 4.24 เส้นอุปทานกอนเกบภาษี ั นอุปสงค์ D ที่จุด E
คือ S0 ตัดกบเส้
่ ั P0 ปริ มาณซื้ อขายเทากบ
ณ ราคาสิ นค้าเทากบ ่ ั Q0 เมื่อมีการเก็บภาษีจากผ้ ูขายสินค้ า ราคา P0 + T
ทําให้ตน้ ทุนสิ นค้าเพิ่มขึ้ น เส้นอุปทานจึงเคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ นเส้น S1 ตัดกบเส้ั น
อุปสงค์ที่จุด A ราคายังเป็ น P0 แตปริ ่ มาณซื้ อขายลดลงไปที่ Q1 ภาษีท้ งั หมดคือพื้นที่ P0ABP1
่ ่
ภาระภาษีจะเป็ นของผ้ ขู ายสิ นค้ าทั้งหมด ดังนั้ นรายรับตอหนวยของผู ข้ ายจึงอยูท่ ี่ราคา P1
ภาระภาษีเมื่อรัฐบาลเก็บภาษีจากผู้ซื้อสิ นค้ า : เมื่อพิจารณาจาก เส้นอุปทานที่มีความ
ยืดหยุน่ ลักษณะตางๆ
่ ผูซ้ ้ือและผูข้ ายสิ นค้าจะรับภาระภาษีกนอยางไร
ั ่ มีดงั ตอไปนี ่ ้

(1) กรณีเส้ นอปทานต่


ุ อราคา มีความยืดหยุ่น(Es = 0) เท่ ากับศนย์

่ ซ้ ้ือกบผู
รู ปภาพที่ 4.25 ภาระภาษีระหวางผู ั ข้ าย เมื่ออุปทานมีความยืดหยุน่
่ ั นย์
เทากบศู
ราคา S

P0 A
P1 B T
D0
D1
0 Q0 ปริ มาณสิ นค้า
ั นอุปทาน S ที่จุด A ณ ราคา
อธิบายรู ปภาพที่ 4.25 เส้นอุปสงค์คือ D0 ตัดกบเส้
่ ั P0 ปริ มาณซื้ อขายสิ นค้าเทากบ
สิ นค้าเทากบ ่ ั Q0 เมื่อมีการเกบภาษี
็ จากผูซ้ ้ือ ทําให้เส้นอุปสงค์
เคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ นเส้น D1 ตัดกบเส้ั นอุปทานที่จุด B ภาษีท้ งั หมดคือพื้นที่
P0ABP1 ผูข้ ายสิ นค้าจะเป็ นผูร้ ับภาษีท้ งั หมด

82 EC 111
(2) กรณีเส้ นอปทานต่
ุ อราคา มีความยืดหยุ่น(Es < 1)น้ อยกว่ าหนึ่ง
รู ปภาพที่ 4.26 ภาระภาษีระหวางผู ่ ซ้ ้ือกบผู
ั ข้ ายสิ นค้า เมื่ออุปทานมีความยืดหยุน่
่ ่ง
น้อยกวาหนึ
ราคา S
P1 B
P0 A E
P2 C
D0
D1
ปริ มาณสิ นค้า
0 Q1 Q0
อธิ บายรู ปภาพที่ 4.26 เส้นอุปสงค์คือ D0 ตัดกบเส้ ั นอุปทาน S ที่จุด E ณ ราคาสิ นค้า P0
ปริ มาณซื้ อขายสิ นค้าเทากบ ่ ั Q0 เมื่อมีการเกบภาษี
็ จากผูซ้ ้ือ ราคาสิ นค้า P0 + T ทําให้ราคาสิ นค้า
เพิ่มขึ้ นเป็ น P1 ทําให้เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ นเส้นอุปสงค์ D 1 ตัดกบเส้ ั น
อุปทานที่จุด C ปริ มาณซื้ อขายสิ นค้าลดลงเป็ น Q1 ภาระภาษีท้ งั หมดคือพื้นที่ P1BCP2 ผูซ้ ้ือสิ นค้า
จะรับภาระภาษีเทากบพื ่ ั ้นที่ P0ABP1 น้ อยกว่ า ภาระภาษีที่ผขู ้ ายสิ นค้าเป็ นผูร้ ับภาระภาษีคือพื้นที่
P0ACP2 ดังนั้ นรายรับตอหนวยที่ ่ ่ผขู ้ ายสิ นค้าได้รับคือราคา P2
(2) กรณีเส้ นอปทานต่
ุ อราคา มีความยืดหย่นุ (Es = 1) เท่ ากับหนึ่ง
รู ปภาพที่ 4.27 ภาระภาษีระหวางผู ่ ซ้ ้ือกบผู
ั ข้ ายสิ นค้า เมื่ออุปทานมีความยืดหยุน่
่ ั ่ง
เทากบหนึ
ราคา S
P1 B
P0 A
E
P2 C
D1 D0
ปริ มาณสิ นค้า
0 Q1 Q0
EC 111 83
อธิบายรู ปภาพที่ 4.27 เส้นอุปสงค์คือ D0 ตัดกบเส้ั นอุปทาน S ที่จุด E ณ ราคาสิ นค้า P0
่ ั Q0 เมื่อมีการเกบภาษี
ปริ มาณซื้ อขายสิ นค้าเทากบ ็ จากผูซ้ ้ือ ราคาสิ นค้า P0 + T ทําให้ราคาสิ นค้าเพิม่
เป็ น P1 ทําให้เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ นเส้นอุปสงค์ D1 ตัดกบเส้ ั นอุปทานที่
จุด C ปริ มาณซื้ อขายลดลงเป็ น Q1 ภาษีท้ งั หมดคือพื้นที่ P1BCP2 ผูซ้ ้ือสิ นค้ารับภาระภาษีเทากบ ่ ั
พื้นที่ P0ABP1 เท่ ากับ ภาระภาษีที่ผขู ้ ายสิ นค้าเป็ นผูร้ ับภาระคือพื้นที่ P0ACP2 ดังนั้ นรายรับตอ่
่ ่ผขู ้ ายได้รับคือราคา P2
หนวยที

(4) กรณีเส้ นอปทานต่


ุ อราคา มีความยืดหยุ่น(Es > 1) มากกว่ าหนึ่ง
่ ซ้ ้ือกบผู
รู ปภาพที่ 4.28 ภาระภาษีระหวางผู ั ข้ ายสิ นค้า เมื่ออุปทานมีความยืดหยุน่
่ ่ง
มากกวาหนึ
ราคา
S
P1 B
P0 A E
P2 C

D1 D0
0 Q1 Q0 ปริ มาณสิ นค้า

อธิบายรู ปภาพที่ 4.28 เส้นอุปสงค์คือ D0 ตัดกบเส้ ั นอุปทาน S ที่จุด E ณ ราคา P0


ปริ มาณซื้ อขายสิ นค้าเทากบ ็
่ ั Q0 เมื่อมีการเกบภาษี จากผูซ้ ้ือสิ นค้า ราคาสิ นค้าใหม่ P0 + T ทําให้
ราคาสิ นค้าเพิ่มเป็ น P1 ทําให้เส้นอุปสงค์เดิมเคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ นเส้นอุปสงค์ D1
ั นอุปทานที่จุด C ปริ มาณซื้ อขายสิ นค้าลดลงเป็ น Q1 ภาษีท้ งั หมดคือพื้นที่ P1BCP2 ภาระ
ตัดกบเส้
ภาษีของผูซ้ ้ือสิ นค้าคือพื้นที่ P0ABP1 มากกว่ า ภาระภาษีของผูข้ ายสิ นค้าคือพื้นที่ P0ACP2 ดังนั้ น
่ ่
รายรับตอหนวยของผู ข้ ายสิ นค้าคือ P2

84 EC 111
(5) กรณีเส้ นอปทานต่
ุ อราคา มีความยืดหย่นุ (Es = ) เทากบอิ ่ ั นฟิ นิต้ ี
รู ปภาพที่ 4.29 ภาระภาษีระหวางผู ่ ซ้ ้ือกบผู
ั ข้ ายสิ นค้า เมื่ออุปทานมีความยืดหยุน่
่ ั นฟิ นิต้ ี
เทากบอิ
ราคา
P1 B

P0 A E S

D1 D0
0 ปริ มาณสิ นค้า
Q1 Q0

อธิบายรู ปภาพที่ 4.29 เส้นอุปสงค์ D0 ตัดกบเส้ ั นอุปทาน S ที่จุด E ณ ราคา P0 ปริ มาณ
่ ั Q0 เมื่อมีการเกบภาษี
ซื้ อขายสิ นค้าเทากบ ็ จากผูซ้ ้ือสิ นค้า ราคาสิ นค้าใหม่ P0 + T ทําให้ราคาสิ นค้า
เพิ่มเป็ น P1 ทําให้เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือเป็ นเส้นอุปสงค์ D1 ตัดกบเส้ ั น
อุปทานที่จุด A ปริ มาณซื้ อขายสิ นค้าลดลงเป็ น Q1 ภาษีท้ งั หมดคือพื้นที่ P0ABP1 ภาระภาษีจะเป็ น
่ ่
ของผูซ้ ้ือสิ นค้าทั้ งหมดคือ พื้นที่ P0ABP1 ดังนั้ นรายรับตอหนวยของผู ข้ ายสิ นค้าคือ P0

EC 111 85
คําถามท้ ายบท
จงเลือกคําตอบทีถ่ ูกต้ องมากทีส่ ุ ด เพียงคําตอบเดียว

1. ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคา บอกให้ทราบถึง


(1) การเคลื่อนย้ายของเส้นอุปสงค์ เมื่อราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลง
(2) การเปลี่ยนแปลงปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้า เมื่อราคาเปลี่ยนแปลงในรู ปร้อยละ
(3) การเปลี่ยนแปลงปริ มาณเสนอขายสิ นค้า เมื่อราคาเปลี่ยนแปลงในรู ปร้อยละ
(4) การเปลี่ยนแปลงปริ มาณเสนอซื้ อสิ นค้า เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงในรู ปร้อยละ
2. สมมติหาคา่ ความยืดหยุน่ ของเงาะได้ Ed = - 2 จะแปลความได้อยางไร ่
(1) เมื่อราคาเงาะลดลงร้อยละ 1 จะทําให้ปริ มาณเสนอซื้ อเงาะเพิม่ ร้อยละ 2
(2) เมื่อราคาเงาะลดลงร้อยละ 1 จะทําให้ปริ มาณเสนอซื้ อเงาะลดลงร้อยละ 2
(3) เมื่อรายได้ของผูบ้ ริ โภคลดลงร้อยละ 1 จะทําให้ปริ มาณซื้ อเงาะลดลงร้อยละ 2
(4) เมื่อราคาทุเรี ยนเพิ่มขึ้ นร้อยละ 1 จะทําให้ปริ มาณซื้ อเงาะเพิม่ ร้อยละ 2

3. กรณี สินค้าปกติ ถ้าคาความยื ดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อรายได้ (Ey) = 3 จะแปลความหมายวาอยางไร
่ ่
(1) เมื่อผูบ้ ริ โภคมีรายได้เพิ่มขึ้ นร้อยละ 1 จะเสนอซื้ อสิ นค้าเพิ่มขึ้ นร้อยละ 3
(2) เมื่อผูบ้ ริ โภคมีรายได้ลดลงร้อยละ 1 จะเสนอซื้ อสิ นค้าเพิ่มขึ้ นร้อยละ 3
(3) เมื่อราคาเงาะลดลงร้อยละ 1 จะเสนอซื้ อลองกองเพิ่มขึ้ นร้อยละ 3
(4) เมื่อราคาเพิม่ ขึ้ นร้อยละ 1 จะเสนอขายสิ นค้าเพิ่มขึ้ นร้อยละ 3
4. ในกรณี ที่ค่า Ed = 0 จากการศึกษามา แสดงวาเป็ ่ นสิ นค้าอะไร
(1) อาหาร (2) เครื่ องสําอาง
(3) เสื้ อผ้า (4) โลงศพ
5. ในกรณี ที่ค่า Ed < 1 จากการศึกษามา แสดงวาเป็ ่ นสิ นค้าอะไร
(1) โลงศพ (2) อาหาร
(3) รถยนต์เกง๋ (4) เครื่ องสําอาง

6. สิ นค้านํ้ าหอม นาจะเป็ นสิ นค้าที่มีความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาอยางไร ่
(1) Ed = 0 (2) Ed < 1
(3) Ed > 1 (4) Ed = 1

86 EC 111
7. เส้นอุปสงค์ต่อราคาของสิ นค้าและบริ การ ที่มีความยืดหยุน่ เทากบหนึ ่ ั ่ ง ตลอดเส้นคือ
(1) เส้นที่ลากผานจุ ่ ดกาเนิ ํ ดทุกเส้น ั
(2) เส้นตั้ งฉากกบแกนนอนปริ มาณสิ นค้า
(3) เส้น Rectangular Hyperbola (4) เส้นตรงทุกเส้น

8. สิ นค้าใดตอไปนี ้ เมื่อลดราคาขายสิ นค้า จะทําให้รายรับ(TR) ผูข้ ายสิ นค้าเพิ่มขึ้ น
(1) นํ้ าปลา (2) นํ้ าหอม
(3) นํ้ าขวดโพลาริ ส (4) ข้าวแกง
9. สิ นค้าด้อยความสําคัญ(Inferior goods) มักจะมีความยืดหยุน่ ของ
(1) อุปสงค์ต่อราคาเป็ นบวก (2) อุปสงค์ต่อราคาเป็ นลบ
(3) อุปสงค์ต่อรายได้เป็ นบวก (4) อุปสงค์ต่อรายได้เป็ นลบ
10. กรณี ค่าของอุปสงค์ต่อรายได้ เป็ นบวก แสดงวาเป็ ่ นสิ นค้าอะไร
(1) สิ นค้าที่ใช้ทดแทนกนได้ ั (2) สิ นค้าปกติ
(3) สิ นค้าด้อยความสําคัญ (4) สิ นค้าที่ใช้ประกอบกนั
11. ถ้านมสดกบคอฟฟี ั ั คาความยื
่ เมท เป็ นสิ นค้าทดแทนกนได้ ่ ดหยุน่ ไขว้ของสิ นค้า 2 ชนิดจะเป็ น
(1) เป็ นบวก (2) เป็ นลบ
(3) เป็ นอินฟิ นิต้ ี (4) เป็ นศูนย์
12. อุปทานของสิ นค้าที่มีความยืดหยุน่ น้อยกวาหนึ ่ ่ ง มักเป็ นสิ นค้าที่
(1) มีราคาแพง (2) มีราคาถูก
(3) ผลิตได้ง่าย (4) ผลิตได้ยาก
13. สิ นค้าอุตสาหกรรม นาจะมี ่ ความยืดหยุน่ ของอุปทาน(Es)
่ ั นย์
(1) เทากบศู (2) น้อยกวาหนึ ่ ่ง
่ ั ่ง
(3) เทากบหนึ (4) มากกวาหนึ ่ ่ง
14. ในกรณี ที่สินค้ามีความยืดหยุน่ (Exy) เป็ นลบ แสดงวาเป็ ่ น
(1) สิ นค้าประกอบกนั (2) สิ นค้าทดแทนกนั
(3) สิ นค้าปกติ (4) สิ นค้าด้อยความสําคัญ
15. การเกบภาษี็ ตามนํ้ าหนัก ขนาดของสิ นค้าเราเรี ยกวา่

(1) การเกบภาษี ตามสภาพสิ นค้า ็
(2) การเกบภาษี ่
ตามมูลคาของสิ นค้า
(3) การเกบภาษี ็ ตามฐานของภาษี ็
(4) การเกบภาษี ตามแนวตั้ ง

EC 111 87

16. การเกบภาษี ่
ตามมูลคาของสิ ่
นค้า เราเรี ยกวาอะไร
(1) specific Tax (2) Ad-valorem Tax
(3) การเกบภาษี็ ตามฐานภาษี ็
(4) การเกบภาษี ตามแนวตั้ ง
17. กรณี การเกบภาษี ็ จากผูข้ ายหรื อผูผ้ ลิต ถ้าสิ นค้ามี Ed < 1 ผูซ้ ้ือและผูข้ ายสิ นค้าจะรับภาระภาษี
ั ยางไร
กนอ ่
(1) ผูซ้ ้ือรับภาระภาษีมากกวาผู ่ ข้ าย (2) ผูข้ ายสิ นค้ารับภาระมากกวาผู ่ ซ้ ้ือ
(3) ผูซ้ ้ือรับภาระภาษีท้ งั หมด (4) ผูข้ ายรับภาระภาษีท้ งั หมด
18. กรณี การเกบภาษี ็ จากผูข้ ายหรื อผูผ้ ลิต ถ้าสิ นค้ามี Ed > 1 ผูซ้ ้ือและผูข้ ายสิ นค้าจะรับภาระกนั

อยางไร
(1) ผูซ้ ้ือรับภาระภาษีมากกวาผู ่ ข้ าย (2) ผูข้ ายรับภาระภาษีมากกวาผู ่ ซ้ ้ือ
(3) ผูซ้ ้ือรับภาระภาษีท้ งั หมด (4) ผูข้ ายรับภาระภาษีท้ งั หมด
19. กรณี การเกบ็ภาษีจากผูซ้ ้ือ ถ้าสิ นค้ามี Es มีความยืดหยุน่ น้อยกวาหนึ ่ ่ ง ผูซ้ ้ือและผูข้ ายสิ นค้าจะรับ
ภาระภาษีกนอยางไร ั ่
(1) ผูซ้ ้ือรับภาระภาษีมากกวาผู ่ ข้ าย (2) ผูข้ ายรับภาระภาษีมากกวาผู ่ ซ้ ้ือ
(3) ผูซ้ ้ือรับภาระภาษีท้ งั หมด (4) ผูข้ ายรับภาระภาษีท้ งั หมด
20. กรณี การเกบภาษี ็ จากการซื้ อ ถ้าสิ นค้ามี Es มากกวาหนึ ่ ่ ง ผูซ้ ้ือและผูข้ ายจะรับภาระภาษีกนั

อยางไร
(1) ผูซ้ ้ือรับภาระภาษีมากกวาผู ่ ข้ าย (2) ผูข้ ายรับภาระภาษีมากกวาผู ่ ซ้ ้ือ
(3) ผูซ้ ้ือรับภาระภาษีท้ งั หมด (4) ผูข้ ายรับภาระภาษีท้ งั หมด

เฉลยคําถามท้ ายบท
ข้อ 1 ( 2 ) ข้อ 2 ( 1 ) ข้อ 3 ( 1 ) ข้อ 4 ( 4 ) ข้อ 5 ( 2 ) ข้อ 6 ( 3 ) ข้อ 7 ( 3 )
ข้อ 8 ( 2 ) ข้อ 9 ( 4 ) ข้อ 10 ( 2 ) ข้อ 11 ( 1 ) ข้อ 12 ( 4 ) ข้อ 13 ( 4 ) ข้อ 14 ( 1 )
ข้อ 15 ( 1 ) ข้อ 16 ( 2 ) ข้อ 17 ( 1 ) ข้อ 18 ( 2 ) ข้อ 19 ( 2 ) ข้อ 20 ( 1 )

88 EC 111
บทที่ 5
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค

เนือ้ หาการศึกษา
1. ทฤษฎีอรรถประโยชน์
ความหมายและข้อสมมติพ้นื ฐาน
อรรถประโยชน์รวมและอรรถประโยชน์เพิม่
่ วยการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์
กฎวาด้
ดุลยภาพของผูบ้ ริ โภค มี 4 กรณี
่ ิ
สวนเกนของผู บ้ ริ โภค
2. ทฤษฎีเส้ นความพอใจเท่ ากัน
ความหมายและข้อสมมติฐาน
่ ั
ตารางการเลือกบริ โภคสิ นค้า 2 ชนิดและเส้นความพอใจเทากน
คุณสมบัติของเส้นความพอใจเทากนที ่ ั ่สาํ คัญ
ลักษณะของเส้นความพอใจเทากน ่ ั 3 รู ปแบบ
่ ดท้ายของการทดแทนกนั (MRSxy)
อัตราหนวยสุ
เส้นงบประมาณ : ความหมายและการเปลี่ยนแปลง
3. ดลยภาพของผ้
ุ ูบริโภค
ความหมายและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ
เส้นแนวทางการบริ โภค อันเนื่องมาจากราคาเปลี่ยนแปลง(PCC)
เส้นแนวทางการบริ โภค อันเนื่องมาจากรายได้เปลี่ยนแปลง(ICC)
การเปลี่ยนแปลงราคาสิ นค้า : ผลกระทบรวม เทากบ ่ ั ผลการทดแทน
กนั บวกกบั ผลทางด้านรายได้
เส้นเองเกล

EC 111 89
สาระสํ าคัญการศึกษา
1. การศึกษาเกีย่ วกับพฤติกรรมของผู้บริโภค มี 2 ทฤษฎีคือ (1) ทฤษฎีอรรถประ
โยชน์ (Utility Theory) และ (2) ทฤษฎีว่าด้วยเส้นความพอใจเทากน ่ ั (The Indifference curve
Theory)
2. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ หมายถึง ความพอใจที่ผบู ้ ริ โภค ได้รับจากการบริ โภค
สิ นค้า โดยความพอใจวัดเป็ นตัวเลขได้ มีหนวยวั ่ ดเรี ยกวา่ ยูทิล(Util) มีขอ้ สม มติพ้ืนฐานดังนี้ (1)
ความพอใจของผูบ้ ริ โภควัดเป็ นหนวยได้ ่ (2) อรรถประ โยชน์เพิ่มจะลดน้อยถอยลง (3) ความพอใจ
ในการบริ โภคสิ นค้าแตละชนิ ่ ่ ั (4) ผูบ้ ริ โภคแสวงหาความพอใจสูงสุ ด
ด เป็ นอิสระตอกน
3. อรรถประโยชน์ เพิม่ (Marginal Utility) คือ ความพึงพอใจที่เปลี่ยนแปลงไป
่ คํานวณจาก MU = ∆TU/∆Q หรื อ MU = TUn - TUn-1
เมื่อบริ โภคสิ นค้าเพิม่ ขึ้ นทีละหนวย
4. อรรถประโยชน์ รวม(Total Utility) คือ ความพอใจที่ผบู ้ ริ โภคได้รับจากสิ นค้า
n

ทุกหนวย TU n = MU i
i 1

5. กฎว่ าด้ วยการลดน้ อยถอยลงของอรรถประโยชน์เพิ่ม คือ เมื่อผูบ้ ริ โภคสิ นค้า



ชนิดหนึ่งเพิม่ ขึ้ นเรื่ อยๆ อรรถประโยชน์ที่ได้รับแตละหนวยจะลดลงเชน่ ่ MU1 = 10 ยูทิล , MU2 = 8
ยูทิล , MU3 = 6 ยูทิล เป็ นต้น
6. ดลยภาพของผ้
ุ ูบริโภค คือการที่ผบู ้ ริ โภคสิ นค้าและบริ การ ต้องการแสวงหา ความ
พอใจสูงสุ ดภายใต้ขอ้ จํากดตางๆ ั ่ เชน่ (1) กรณี สินค้าชนิดเดียว : ไมนํ่ าเอา ราคาและงบประมาณ
มารวมพิ ่ จารณา ดุลยภาพอยูท่ ี่ค่า TU สูงสุ ดและ MU กบศู ั นย์ (2) กรณี สินค้าชนิดเดียว : นําราคา
่ จารณา ดุลยภาพอยูท่ ี่ MUx = Px (3) กรณี สินค้ามากกวาหนึ
สิ นค้ามารวมพิ ่ ่ งชนิด และราคาสิ นค้า
เทากน่ ั ดุลยภาพอยูท่ ี่ MUx = MUy = ………. = MUn (4) กรณี สินค้ามากกวาหนึ ่ ่ งชนิด และราคา
่ ่ ั ดุลยภาพอยูท่ ี่ MUx/Px = MUy/Py = ……… = MUn/Pn
สิ นค้าไมเทากน
7. ส่ วนเกินของผู้บริโภค คือ อรรถประโยชน์ที่ผบู ้ ริ โภคได้รับจากการบริ โภคสิ นค้า

เกนจากเงิ นที่จ่ายไปจริ ง เมื่อราคาสิ นค้าสู งขึ้ น สวนเกนผู
่ ิ บ้ ริ โภคจะลดลง หรื อราคาสิ นค้าลดลง
่ ิ บ้ ริ โภคจะเพิม่ ขึ้ น
สวนเกนผู

8. เส้ นความพอใจเท่ ากันคือ เส้นที่แสดงสวนประกอบตางๆของสิ ่ นค้า 2 ชนิด ที่ทาํ ให้
ผูบ้ ริ โภคได้รับความพอใจเทากน ่ ั โดยมีขอ้ สมมติพ้นื ฐานดังนี้ (1) ผูบ้ ริ โภคจะแสวง หาความพอใจ
สูงสุ ด โดยมีงบประมาณจํากดั (2) ความพอใจในสิ นค้าเรี ยงลําดับได้ (3) ความพอใจถาย ่ ทอดได้
(transitivity) 4) สิ นค้าทุกชนิดแบงเป็ ่ นหนวยยอยได้
่ ่
90 EC 111
9. เส้ นความพอใจเท่ ากัน มีคุณสมบัติสาํ คัญดังนี้ (1) เป็ นเส้นทอดลงจากซ้ายไปขวา
(2) เส้นความพอใจเทากนมี ่ ั ได้หลายเส้นและเส้นทางขวามือ จะมีความพอใจมากกวา่ (3) เส้นความ
่ ั
พอใจเทากนจะไมตั ่ ดกนั
10. เส้ นความพอใจเท่ ากัน จะมีลกั ษณะ 3 ประการดังนี้ (1) เส้นความพอใจเทากนเป็ ่ ั น
เส้นโค้งเข้าหาจุดกาเนิ ํ ด แสดงวา่สิ นค้าสองชนิดเพิ่ม-ลดทดแทนไมเทากน ่ ่ ั (2) เส้นความพอใจ
่ ั นเส้นตรง แสดงวาสิ
เทากนเป็ ่ นค้าสองชนิดเพิ่ม-ลด เทากน ่ ั (3) เส้นความพอใจเทากนเป็ ่ ั นรู ปตัว
แอลหรื อหักงอเป็ นมุมฉาก แสดงวาสิ ่ นค้าสองชนิดทดแทน กนไมได้ ั ่ เลย
11. อัตราหน่ วยสดท้ ุ ายของการทดแทนกันระหวางสิ ่ นค้า X และ Y , สมมติวาคาของ ่ ่
MRSxy = ∆Y/∆X = - 4 แปลความหมายได้วา่ เมื่อบริ โภคสิ นค้า X เพิ่มหนึ่งหนวย ่ จะลดการ
บริ โภคสิ นค้า Y จํานวน 4 หนวย ่

12. เส้ นงบประมาณ คือ เส้นที่แสดงสวนประกอบของสิ นค้า 2 ชนิด ที่ผบู ้ ริ โภคใช้งบ
ประมาณซื้ อได้เทากน ่ ั ณ ราคาที่เป็ นอยูข่ ณะนั้ น
13. การเปลีย่ นแปลงเส้ นงบประมาณ จะเป็ นไปได้ 2 ลักษณะคือ (1) รายได้ของผูบ้ ริ
โภคเปลี่ยนแปลง รายได้เพิ่มเส้นงบประมาณจะเคลื่อนทั้ งเส้นไปทางขวามือ (2) ราคาสิ นค้า
เปลี่ยนแปลง จะทําให้เส้นงบประมาณเคลื่อนย้ายไปด้วย
14. ดลยภาพของผ้
ุ ูบริโภค คือ สถานการณ์ที่ผบู ้ ริ โภคจะได้รับความพอใจสูงสุ ดจาก
การบริ โภคสิ นค้า 2 ชนิด ภายใต้งบประมาณที่มีจาํ กดจํ ั านวนหนึ่งที่กาหนดให้
ํ ดังนั้ นจุดดุลยภาพจึง
เป็ นจุดเส้นความพอใจเทากนสั ่ ั มผัสกบเส้ ั นงบประมาณ
15. เส้ นแนวทางการบริโภค อันเนื่องมาจากราคาเปลีย่ นแปลง (Price Consumption
Curve : PCC ) เป็ นเส้นที่ลากผานจุ ่ ดดุลยภาพหลายๆจุด ที่มีสาเหตุมาจากราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลง
16. เส้ นแนวทางการบริโภค อันเนื่องมาจากรายได้ เปลีย่ นแปลง (Income Consumption
Curve : ICC) เป็ นเส้นที่ลากผานจุ ่ ดดุลยภาพหลายๆจุด ที่มีสาเหตุมาจากรายได้ของ ผูบ้ ริ โภค
เปลี่ยนแปลง
17. การเปลีย่ นแปลงราคาสิ นค้ าและบริการ จะมีทาํ ให้ ผลทางด้ านราคาหรือผลรวม
่ ั ผลทางด้ านการทดแทนกัน + ผลทางด้ านรายได้
เทากบ
18. เส้ นเองเกล คือ เส้นที่แสดงความสัมพันธ์ระหวาง ่ รายได้ของผูบ้ ริ โภค กบปริั มาณ
การเสนอซื้ อสิ นค้าชนิดหนึ่ง โดยสมมติให้ปัจจัยอื่นๆคงที่
EC 111 91
จดประสงค์
ุ การศึกษา

เมื่ออานบทที ่ 5 จบแล้ว ควรจะอธิบายคําถามประเด็นตางๆดั ่ งตอไปนี่ ้ ได้
1. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ และทฤษฎีเส้นความพอใจเทากน ่ ั มีแนวทางการวิเคราะห์
พฤติกรรมของผูบ้ ริ โภคที่เหมือนหรื อแตกตางกนอยางไร ่ ั ่
2. อรรถประโยชน์รวม(TU) ,อรรถประโยชน์เพิ่ม(MU) และ กฎวาด้ ่ วยการลดน้อยถอย
ลงของอรรถประโยชน์ มีสาระกลาวไว้ ่ วา่ อยางไร

3. ดุลยภาพของผูบ้ ริ โภคคืออะไร เราสามารถวิเคราะห์ดุลยภาพของผูบ้ ริ โภคทั้ ง 4 วิธี

ได้อยางไรบ้ าง
่ ิ
4. สวนเกนของผู ่ ิ
บ้ ริ โภคคืออะไร สวนเกนของผู บ้ ริ โภคจะเพิม่ หรื อลดลง มีสาเหตุมาจาก
ปั จจัยอะไร
5.เส้นความพอใจเทากนคื ่ ั ออะไร มีคุณสมบัติอยางไร ่ และเส้นความพอใจที่มี 3 ลักษณะ
แสดงให้เห็นการทดแทนกนของสิ ั ่
นค้า 2 ชนิดอยางไรบ้าง
6. เส้นความพอใจเทากน ่ ั (IC) และเส้นงบประมาณ(BL) นํามาอยูใ่ นรู ปกราฟเดียวกนั จะ
ทําให้เกดดุิ ลยภาพของผูบ้ ริ โภคอยางไร ่
7. เส้น PCC คือ เส้นอะไร และเส้นนี้ จะชี้ ให้เห็นทางเลือกของผูบ้ ริ โภคที่จะได้รับความ
พอใจสูงสุ ด เมื่อราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลงได้อยางไร ่
8. เส้น ICC คือเส้นอะไร และเส้นนี้ จะชี้ ให้เห็นทางเลือกของผูบ้ ริ โภค ที่จะได้รับความ
พอใจสูงสุ ด เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงได้อยางไร ่
9. เส้นเองเกล คือเส้นที่แสดงความสัมพันธ์ ของปั จจัย 2 ชนิด เป็ นปัจจัยอะไร
10. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงราคาสิ นค้าชนิดหนึ่ง(อีกชนิดหนึ่งคงที่) จะทําให้ดุลยภาพของ
ผูบ้ ริ โภคเปลี่ยนแปลงไป ผลการเปลี่ยนราคาเราเรี ยกวาอะไร ่ ่ เกดผลอยางอื
รวมทั้ งกอให้ ิ ่ ่นอะไรได้
บ้าง

92 EC 111
5.1 ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory)
อรรถประโยชน์ (Utility) หมายถึง ความพอใจที่ผบู ้ ริ โภคได้รับตอบสนองจาก
การบริ โภคสิ นค้า หรื อ ความสามารถของสิ นค้าบริ การที่ตอบสนองตอความพอใจของผู ่ บ้ ริ โภค
ทั้ งนี้ โดยมีขอ้ สมมติว่า ความพอใจที่กลาวแล้ ่ ว สามารถวัดออกมาเป็ นตัวเลขได้ เรี ยกหนวยความ ่
พอใจที่วดั ออกมานั้ นวา่ ยูทิล (Utils) ตัวอยางเชน ่ ่ ผูบ้ ริ โภคคนหนึ่งได้รับประทานกวยเตี
๋ ๋ยว 1 ชาม
เขาสามารถบอกได้ว่าได้รับความพอใจเทากบ ่ ั 30 ยูทิล เป็ นต้น ดังนั้ นทฤษฎีอรรถประโยชน์จึง
เรี ยกอีกชื่อหนึ่งวา่ วิธีแบบหนวยนั ่ บ (Cadinal Approach)
ข้ อสมมติพนื้ ฐาน (Basic Assumption) ของทฤษฎีมีดงั ตอไปนี ่ ้
(1)ทฤษฎีน้ ีสมมติให้ความพอใจที่ผบู ้ ริ โภคได้รับจากการบริ โภคสิ นค้าบริ การ
สามารถวัดเป็ นหนวยได้ ่
(2) สมมติให้อรรถประโยชน์เพิ่ม(Marginal Utility) ลดน้อยถอยลง
(Diminishing)กลาวคื ่ อ ถ้าผูบ้ ริ โภคสิ นค้าและบริ การมากหนวยขึ ่ ้ น อรรถประโยชน์เพิ่มที่ได้รับจาก

สิ นค้าหนวยหลั งๆจะลดลงไปเรื่ อยๆ ทําให้เราเรี ยกวา่ กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์
เพิ่ม(Law of Diminishing Marginal Utility)

(3) ความพอใจที่ผบู ้ ริ โภคได้รับจากการบริ โภคสิ นค้าแตละชนิ ดเป็ นอิสระตอกน ่ ั
(4) ผูบ้ ริ โภคต้องการแสวงหาความพอใจสู งสุ ด
อรรถประโยชน์ เพิ่ม (Marginal Utility) คือ อรรถประโยชน์หรื อความพึงพอใจที่
เปลี่ยนแปลงไป เมื่อบริ โภคสิ นค้าและบริ การเปลี่ยนแปลงไปทีละหนวย ่ โดยจะใช้สัญลักษณ์แทน
วา่ MU หมายถึง ระดับของอรรถประโยชน์ที่ได้รับเพิ่มขึ้ นหรื อลดลง เมื่อบริ โภคสิ นค้าบริ การ
เพิ่มขึ้ นหรื อลดลงหนึ่งหนวยตามลํ ่ าดับ
MUn = ∆ TU . หรื อ MUn = TUn - TUn-1
∆Q
อรรถประโยชน์ รวม(Total Utility) คือ อรรถประโยชน์ท้ งั หมดที่ผบู ้ ริ โภคได้รับจาก
การบริ โภคสิ นค้าบริ การทุกๆหนวย ่ หรื อ อาจกลาวได้
่ วา่ เป็ นผลรวมของอรรถประโยชน์ที่ผบู ้ ริ โภค
ไดรับจากสิ นค้าบริ การแตละหนวยนั่ ่ น่ เอง โดยกาหนดให้ํ TU เป็ นสัญลักษณ์แทน คําวา่ Total
Utility
n
TU n = MU i
i 1

EC 111 93
ดังนั้ นลักษณะของอรรถประโยชน์เพิ่ม(MU) และอรรถประโยชน์รวม(TU) จึง
แสดงได้จากตารางที่ 5.1 ดังตอไปนี่ ้
ตารางที่ 5.1 แสดงความสัมพันธ์ระหวางปริ่ มาณสิ นค้ากบั อรรถประโยชน์รวมและอรรถประโยชน์
เพิ่ม
ปริ มาณสิ นค้า อรรถประโยชน์รวม(TU) อรรถประโยชน์เพิ่ม(MU)
ิ ม)
(กโลกรั (ยูทิล) (ยูทิล)
0 0 0
1 7 7
2 13 6
3 18 5
4 22 4
5 25 3
6 27 2
7 28 1
8 28 0
9 27 -1
10 25 -2

กฎว่ าด้ วยการลดน้ อยถอยลง(Law of diminishing marginal utility) หมายถึง


เมื่อผูบ้ ริ โภคได้บริ โภคสิ นค้าชนิดใดชนิ ดหนึ่งเพิ่มขึ้ นเรื่ อยๆ อรรถประโยชน์เพิ่มที่ได้รับจากสิ นค้า

แตละหนวยจะลดลง่ ํ
โดยกาหนดให้ ี่ องคงที่
ตวั แปรอื่นๆที่เกยวข้

94 EC 111
MU รู ปภาพที่ 5.1 เส้นอรรถประโยชน์รวม และอรรถประโยชน์เพิ่ม

0 Q
1 2 3 4 5 6 7 8
TU

TU

0 8 Q
ดลยภาพของผ้
ุ ูบริโภค : การแสวงหาความพึงพอใจสู งสุ ดจากการบริ โภค
สิ นค้าและบริ การ ชนิดเดียวหรื อมากกวาหนึ่ ่ งชนิด ภายใต้ขอ้ จํากดั ตางๆ
่ เชน่ งบประมาณจํานวน
่ ั อไมเทากน
หนึ่ง ราคาสิ นค้าเทากนหรื ่ ่ ั มีหลักการศึกษาวิเคราะห์ได้ดงั ตอไปนี
่ ้
(1) กรณีสินค้ าชนิดเดียว : ไมมี่ ขอ้ จํากดทั
ั ้ งราคาสิ นค้าและงบประมาณ
่ ่
ผูบ้ ริ โภคจะตัดสิ นสิ นค้าใจ เลื อกบริ โภคสิ นค้าและบริ การตั้ งแตหนวยแรกไปจนกระทั ่
ง่ หนวย
สุ ดท้ายที่ปรากฏวา่ คาของอรรถประโยชน์
่ รวม(TU) มีค่าสู งสุ ด และคาอรรถประโยชน์
่ เพิ่ม (MU)
มีค่าเป็ นศูนย์ จึงหยุดการบริ โภคสิ นค้าชนิดนั้ นตอไป
่ เพราะวาบรรลุ
่ อรรถประโยชน์สูงสุ ดแล้ว ดัง
รู ปภาพที่ 5.2
EC 111 95

รู ปภาพที่ 5.2 แสดงเมื่อคาอรรถประโยชน์ ่ ั นย์
รวมสู งสุ ด , อรรถประโยชน์เพิ่มเทากบศู
TU

28
TU

0 8 Q
MU

MU = 0

0 8 Q
อธิ บ ายรู ปภาพที่ 5.2 จากรู ป ภาพข้า งบน ผูบ้ ริ โ ภคจะเลื อ กซื้ อสิ น ค้า และ
บริ การไปจนกระทัง่ ถึงหนวยที ่ ่ 8 ซึ่ งจะมีอรรถประโยชน์รวมสู งสุ ดเทากบ ่ ั 28 ยูทิล และ
อรรถประโยชน์เพิ่มของสิ นค้าหนวยที ่ ่ 8 คาของ
่ MU = 0 จึงเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กลาวแล้ ่ ว
( 2.) กรณีสินค้ าชนิดเดียวและนําราคาสิ นค้ ามาร่ วมพิจารณาด้ วย : ดุลยภาพของ
ผูบ้ ริ โภค จะอยูท่ ี่ค่า MU ของสิ นค้าหนวยนั ่ ้ น มีค่าเทากบราคาสิ
่ ั นค้าชนิดนั้ น หรื อ MUx = Px
และหมดเงินพอดี นัน่ เอง ดังข้อมูลตารางตอไปนี ่ ้

ตารางที่ 5.2 คาของอรรถประโยชน์ ั
เพิม่ กบราคาสิ นค้า
ิ ม)
ปริ มาณสิ นค้า (กโลกรั MU ราคาสิ นค้า
1 12 12
2 10 10
3 8 8
4 6 6
5 4 4

96 EC 111
่ ั 12 บาท/กโลกรั
อธิบายตารางที่ 5.1 ถ้าราคาสิ นค้าเทากบ ิ ็ ้อ
ม ผูบ้ ริ โภคกจะซื
ิ ม หรื อ ราคาสิ นค้าเทากบ
สิ นค้าชนิดนี้ จํานวน 1 กโลกรั ่ ั 10 บาท/กโลกรั
ิ ม จะซื้ อสิ นค้าจํานวน
ิ ม เป็ นต้น ผูบ้ ริ โภคกจะบรรลุ
2 กโลกรั ็ ดุลยภาพที่แสวงหาความพอใจสูงสุ ดได้
(3) กรณีสินค้ ามากกว่ าหนึ่งชนิดและราคาเท่ ากัน : การที่ผบู ้ ริ โภคจะสามารถ
บรรลุดุลยภาพได้ พิจารณาจากสูตรดังตอไปนี่ ้
MUx = MUy = ……….. = MUn


ตารางที่ 5.3 แสดงคาอรรถประโยชน์ ่ ั
เพิ่มสิ นค้า X และ Y กรณี ราคาเทากน

ปริ มาณสิ นค้า MUx MUy


1 58 54
2 50 50
3 46 44
4 44 42
5 42 40

อธิบายตารางที่ 5.3 สมมติราคาสิ นค้า X และ Y หนวยละ ่ 5 บาทเทากน ่ ั


และผูบ้ ริ โภคมีงบประมาณ จํานวน 35 บาท ถ้าผูบ้ ริ โภคแสวงหาทางเลือกการซื้ อสิ นค้า X และ
Y ที่บรรลุจุดดุลยภาพ ที่ได้รับอรรถประโยชน์สูงสุ ดภายใต้งบประมาณที่กาหนดให้ ํ มีดงั นี้
เริ่ มต้นผูบ้ ริ โภคต้องเลือกสิ นค้า X หรื อ Y ที่มีอรรถประโยชน์เพิ่มสู งสุ ดกอน ่
่ อกสิ นค้าที่มี MU สู งสุ ดตามลําดับตอมา
แล้วจึงคอยเลื ่ ่
ดังนั้ นสิ นค้าหนวยแรกจึ งเป็ นสิ นค้า X ที่
่ ั 58 ยูทิล หนวยที
มี MU สู งสุ ดเทากบ ่ ่สองเป็ นสิ นค้า Y ที่มี MU เทากบ ่ ั 54 ยูทิล ไปเรื่ อย
จนกระทัง่ พบวา่ หนวยสุ
่ ดของสิ นค้า X และ Y มีค่า MU เทากน ่ ั และใช้งบประมาณหมด 35 บาท
พอดี
่ ั 4 หนวย
สรปุ ในกรณี น้ ี ผูบ้ ริ โภคสิ นค้า X เทากบ ่ และสิ นค้า Y เทากบ ่ ั 3
หนวย ่ ใช้งบประมาณ จํานวน 35 บาทหมดเงินพอดี
ผูบ้ ริ โภคได้รับอรรถประโยชน์รวม(TU) จากการบริ โภคจากสิ นค้า X เทากบ ่ ั 4
หนวย่ 58 + 50 + 46 + 44 = 198 ยูทิล เป็ นต้น
EC 111 97
(4) กรณีสินค้ ามากกว่ าหนึ่งชนิดและราคาไม่ เท่ ากัน : ผูบ้ ริ โภคจะสามารถ

บรรลุจุดดุลยภาพได้ โดยพิจารณาจากสู ตรดังตอไปนี ้
MUx . = MUy . = ……….. = MUn .
Px Py Pn


ตารางที่ 5.4 การหาคาของอร ่ ่ ั
รถประโยชน์เพิม่ ของสิ นค้า X และ Y กรณี ราคาไมเทากน
ปริ มาณสิ นค้า MUx MUx / Px MUy MUy / Py
1 60 20 44 22
2 54 18 40 20
3 48 16 36 18
4 42 14 28 14
5 36 12 20 10

่ ั 3 บาท/หนวย
อธิบายตารางที่ 5.3 สมมติราคาสิ นค้า X เทากบ ่ และ สิ นค้า Y
่ ั 2 บาท/หนวย
เทากบ ่ ผูบ้ ริ โภคมีงบประมาณจํานวน 20 บาท จะเลือกซื้ อสิ นค้าทั้ ง 2 ชนิด จํานวน
่ งจะสามารถบรรลุจุดดุลยภาพของผูบ้ ริ โภคได้
เทาใดจึ

เริ่ มต้นต้องปรับคา่ MUx และ MUy โดยนําราคาสิ นค้า Px และ Py ไปหารคา่


ของ MU กอน ่ ดังนั้ นจึงได้ค่า MUx / Px และ MUy / Py หลังจากนั้ น จึงพิจารณาเชนเดี ่ ยวกบั

กรณี ที่ผานมา ่
สิ นค้าหนวยแรกที ่จะเลือกเป็ นสิ นค้า Y มีค่า MU ใหมเทาก
่ ่ บั 22 ยูทิล หนวยที
่ ่2
และ 3 จะเป็ นสิ นค้า X และ Y มีจาํ นวน 20 ยูทิลเทากน ่ ั ทําเชนนี
่ ้ ไปเรื่ อยๆ
สรปุ ผูบ้ ริ โภคจะซื้ อสิ นค้า X จํานวน 4 หนวย ่ และ สิ นค้า Y จํานวน 4
่ คิดเป็ นเงินจํานวน 20 บาท ตามที่กาหน
หนวย ํ ดมาให้พอดี

98 EC 111
ส่ วนเกินของผู้บริโภค (Consumer s Surplus ) : หมายถึง อรรถประโยชน์ที่

ผูบ้ ริ โภคได้รับจากการเลื อกซื้ อสิ นค้าและบริ การ เกนจากเงิ นที่ จ่ ายไปจริ ง แสดงโดยอาศัย

รู ปภาพดังตอไปนี ้

รู ปภาพที่ 5.3 อรรถประโยชน์ส่ วนเกนของบุ


ิ คคล

ราคา

ราคาตลาด
2

0 1 2 3 4 5 6 7 8 ปริ มาณสิ นค้า


รู ปภาพที่ 5.4 อรรถประโยชน์ส่ วนเกนของตลาด ิ
ราคา
A
พื้นที่ ราคาตลาด
่ ิ บ้ ริ โภค
สวนเกนผู
P0 B
D
0 ปริ มาณสิ นค้า
q0
อธิ บายรู ปภาพที่ 5.3 สมมติผบู ้ ริ โภคเลือกซื้ อสิ นค้าและบริ การ จํานวน 6
่ ราคาหนวยละ
หนวย ่ 2 บาท ดังนั้ นอรรถประโยชน์ที่เป็ นรู ปภายใต้รูปแท่งพื้นที่ ณ เส้นราคา 2
บาท เป็ นอรรถประโยชน์ที่จ่ายเงินไปจริ ง แตพื่ ้นที่ของแทงที ่ ่อยูเ่ หนือ ราคา 2 บาท จึงถือวาเป็ ่ น
อรรถประโยชน์ส่ วนเกนทีิ ่ผูบ้ ริ โภคคนนี้ ได้รับโดยที่ไมต้่ องจายเงิ
่ น

EC111 99
สําหรับรู ปภาพที่ 5.4 เป็ นอรรถประโยชน์ส่ วนเกนของตลาดสิ
ิ นค้าและบริ การ
และ P0 คือราคาสิ นค้าในตลาด เส้น D ใช้แทนเส้นอุปสงค์ ดังนั้ นอรรถประโยชน์ที่ได้รับและ
่ นไปจริ งคือพื้นที่ 0q0BP0 แตพื่ ้นที่สามเหลี่ยม ABP0 จึงเป็ นอรรถประโยชน์ส่ วนเกนใน
จายเงิ ิ
ตลาดที่ผบู ้ ริ โภคได้รับโดยที่ไมต้่ องจายเงิ
่ น
อรรถประโยชน์ส่ วนเกนิ จะลดลงทันที ถ้าราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้ นมากกวาราคา
่ P0 ก็
่ วลดลง
จะทําให้พ้นื ที่สามเหลี่ยมที่กลาวแล้

5.2 เส้ นความพอใจเท่ ากัน (Indifference Curve) : เป็ นแนวคิดที่นัก


เศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษ ชื่อ จอห์น อาร์ ฮิกส์ (John R. Hicks) นําเสนออกมา โดยมีขอ้ สมมุติ

ดังตอไปนี ้ (สุ พตั รา ราชรักษ์ , หน้า 222)
(1) ผูบ้ ริ โภคเป็ นผูท้ ี่มีเหตุผล เมื่อเลือกซื้ อสิ นค้าและบริ การ จึงมุ่งแสวงหาความ
พอใจสู งสุ ด โดยมีงบประมาณจํากดจํ ั านวนหนึ่ง
(2) ความพอใจที่ได้รับจากการซื้ อสิ นค้า สามารถเรี ยงลําดับได้
(3) ความพอใจจากการบริ โภคสิ นค้าสามารถถายทอดได้ ่ (transitive) เชน่

สวนผสมของกลุ ่มสิ นค้า ก ให้ความพอใจมากกวาสวนผสมของสิ ่ ่ นค้ากลุ่ม ข
(4) สิ นค้าทุกชนิดสามารถแบงเป็ ่ นหนวยยอยๆได้
่ ่
เส้ นความพอใจเท่ ากัน หมายถึง เส้นที่แสดงสวนประกอบต ่ ่างๆของสิ นค้า 2
ชนิ ด ที่ทาํ ให้ผูบ้ ริ โภคได้รับความพอใจเทากน ่ ั เรี ยกวาเป็
่ นวิธีการเรี ยงลําดับความพอใจ(Ordinal
Approach) เมื่อพิจารณาตารางตอไปนี ่ ้
ตารางที่ 5.4

สวนผสม ่ )
สิ นค้า X (หนวย ่ )
สิ นค้า Y (หนวย
A 0 19
B 1 13
C 2 8
D 3 4
E 4 2
F 5 0

100 EC 111
สิ นค้า Y ่ ั
รู ปภาพที่ 5.5 เส้นความพอใจเทากน

19 ่ ั (IC)
เส้นความพอใจเทากน
13
8

4
2
0
1 2 3 4 5 สิ นค้า X
อธิบายรู ปภาพที่ 5.5 บนเส้นความพอใจเทากน ่ ั (IC) จะแสดงให้เห็นการ

เลือกบริ โภคสิ นค้า 2 ชนิดคือสิ นค้า X และ Y ของผูบ้ ริ โภค ในสวนผสมตางๆ ่ ตั้ งแต่ A , B , C ,
D , E และ F ที่ได้รับความพอใจเทา่กนั เชน่ สวนผสม
่ A บริ โภคสิ นค้า X จํานวน 0 หนวย ่ และ
สิ นค้า Y จํานวน 19 หนวย่ สวนผสม
่ C บริ โภคสิ นค้า X จํานวน 2 หนวย ่ และสิ นค้า Y จํานวน 8
หนวย่ เป็ นต้น

5.2.1. ลักษณะของเส้ นความพอใจเท่ ากัน : โดยทัว่ ไป เส้นความพอใจเทาก ่ นั ของ


ผูบ้ ริ โภค จะมีลกั ษณะสําคัญคือ
(1) เป็ นเส้นทอดลงจากซ้ายไปขวา มีความลาดชันเป็ นลบ (Downward Sloping)
ทั้ งนี้ เพราะการบริ โภคสิ นค้าชนิ ดหนึ่ งเพิ่มขึ้ น ผูบ้ ริ โภคจะลดการบริ โภคสิ นค้าอีกชนิ ดหนึ่ งลง
และมีลกั ษณะโค้งเว้าเข้าหาจุดกาเนิ ํ ด แสดงวา่ทดแทนกนได้ ั ไมสมบู
่ รณ์
่ ั ของผูบ้ ริ โภคคนหนึ่ง มีได้หลายเส้น และเส้นที่อยูท่ าง
(2) เส้นความพอใจเทากน
ขวามือจะแสดงระดับความพอใจมากกวา่ เส้นที่อยูท่ างซ้ายมือ

EC 111 101
่ ั ได้หลายเส้น
รู ปภาพที่ 5. 6 เส้นความพอใจเทากนมี
สิ นค้า Y

IC2 = 150
IC1 = 100
IC0 = 50

0 สิ นค้า X

(3) เส้นความพอใจเทากน ่ ั จะตัดกนไมได้


ั ่ เพราะถ้าเส้นความพอใจเทากนตั
่ ั ดกนั

ได้แล้ว จะทําให้ลกั ษณะและข้อสมมติเบื้องต้นขัดแย้งกนเอง ดังรู ปภาพ
่ ั
รู ปภาพที่ 5.7 เส้นความพอใจเทากนจะตั ั ่
ดกนไมได้
สิ นค้า Y
B

A IC2

C IC1
0 สิ นค้า X

ั น IC2 ที่จุด A ซึ่งอยูท่ ้ งั บนเส้น IC1


อธิบายรู ปภาพที่ 5.7 ถ้าเส้น IC1 ตัดกบเส้

และ IC2 กจะแสดงวา่ มีความพอใจเทากน่ ั รวมทั้ งที่จุด B และ C กจะเกดความคั
็ ิ ดแย้งกบทีั ่เคย
่ ว เป็ นต้น
กลาวแล้

102 EC 111
่ ั อาจมีอีก 2 รู ปแบบเชน่ เป็ นเส้นตรง และ รู ป
นอกจากนี้ เส้นความพอใจเทากน
ตัวแอล อธิบายได้ดงั นี้

่ ่อผูบ้ ริ โภคสิ นค้าเลือก


ก. เส้ นความพอใจที่มีลกั ษณะเป็ นเส้ นตรง : แสดงวาเมื
สิ นค้าชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้ น จํานวน 1 หนวย ่ จะต้องไปลดจํานวนสิ นค้าอีกชนิดหนึ่ง จํานวน 1 หนวย ่
่ ่เทากน
เป็ นสัดสวนที ่ ั
่ ั
รู ปภาพที่ 5.8 เส้นความพอใจเทากนแบบเส้ นตรง
สิ นค้า Y

8
4
IC
0 สิ นค้า X
10 14

ข. เส้ นความพอใจเท่ ากัน ที่มีลักษณะเป็ นรปตั ู วแอล หรื อหั กงอเป็ นมมฉาก
ุ :
่ นค้า 2 ชนิ ดนี้ เป็ นสิ นค้ าที่ใช้ ทดแทนกันไม่ ได้ เลย แตเป็
แสดงวาสิ ่ นสิ นค้าที่ใช้ประกอบกนั ดัง
่ ้
รู ปภาพข้างลางนี
่ ั
รู ปภาพที่ 5.9 เส้นความพอใจเทากนแบบตั ้ งฉากหักมุม

สิ นค้า Y

IC

0 สิ นค้า X

EC 111 103
อัตราหน่ วยสดทุ้ ายของการทดแทนกันของสิ นค้ า X และ Y : จากข้อมูลใน
่ ่อผูบ้ ริ โภคเพิ่มการบริ โภคสิ นค้า X เพิ่มขึ้ น ต้องลดจํานวนการบริ โภค
ตารางที่ 5.4 จะเห็นได้วาเมื
สิ นค้า Y ลง ลักษณะเชนนี่ ้ เรี ยกวา่ อัตราการทดแทนกนของสิ ั นค้า 2 ชนิ ด โดยมีสูตรในการ
่ ดงั นี้
คํานวณหาคาได้
MRSxy = ∆Y .
∆X

โดยกาหนดให้ ∆X = จํานวนการบริ โภคสิ นค้าเพิ่มขึ้ น 1 หนวย

∆Y = จํานวนการบริ โภคสิ นค้าลดลงจํานวนหนึ่ง

่ ดท้ายของการทดแทนกนั ระหวางสิ
ตารางที่ 5.5แสดงอัตราหนวยสุ ่ นค้า X และ Y

สวนผสม สิ นค้า X ∆X สิ นค้า Y ∆Y MRSxy
หนวย ่ : ตัน ่ : ตัน
หนวย
A 0 - 22 - -
B 1 1 14 8 -8
C 2 1 8 6 -6
D 3 1 4 4 -4
E 4 1 1 3 -3
F 5 1 0 1 -1

การคํานวณหาคา่ MRSxy ณ สวนผสม่ ่ ดงั นี้


D จะหาคาได้
MRSxy = - ∆Y .
∆X

คาของ ∆Y = 8 - 4 = 4 , ∆X = 3 – 2 = 1
ดังนั้ น MRSxy = - 4 / 1 = - 4

แปลความหมาย ถ้าผูบ้ ริ โภคตัดสิ นใจเลือก บริ โภคสิ นค้า X เพิ่มขึ้ น 1 ตัน จะต้องลดการบริ โภค
สิ นค้า Y จํานวน 4 ตัน (เครื่ องหมายลบ แสดงความสัมพันธ์ระหวางสิ ่ นค้า X และ Y มี
่ ้ น)
ความสัมพันธ์เป็ นแบบลบ เทานั
104 EC 111
5.2.2. เส้ นงบประมาณ(Budget Line : BL) คือ เส้นที่แสดงส่ วนประกอบของ
สิ นค้า 2 ชนิด ที่ผบู ้ ริ โภคสามารถซื้ อได้โดยใช้งบประมาณเทากน ่ ั ณ ราคาสิ นค้าที่เป็ นอยู่
สิ นค้า Y รู ปภาพที่ 5.10 เส้นงบประมาณ
10 เส้นงบประมาณ (BL)

5 A

0 สิ นค้า X
10 20
อธิ บายรู ปภาพที่ 5.10 สมมติผูบ้ ริ โภคคนหนึ่ งชื่ อนายแดงมีงบประมาณในการซื้ อ
่ ั 100 บาท สิ นค้า X ราคา 5 บาท/หนวย
สิ นค้า เทากบ ่ และสิ นค้า Y ราคา 10 บาท/หนวย่
กรณี ที่นายแดงซื้ อสิ นค้า X ทั้ งหมดจะได้สินค้าจํานวน 20 หนวย ่ หรื อซื้ อสิ นค้า Y
ทั้ งหมดจะได้สินค้าจํานวน 10 หนวย ่ แตที่ ่จุด A จะซื้ อสิ นค้า X ได้จาํ นวน 5 หนวย
่ และสิ นค้า Y
ได้จาํ นวน 10 หนวย ่ ทุกกรณี จะใช้เงินงบประมาณเทากบ ่ ั 100 บาทเทากนหมด
่ ั
การเปลีย่ นแปลงเส้ นงบประมาณ : จะเป็ นไปได้ 2 ลักษณะดัวยกนคื ั อ
(1) รายได้ เปลีย่ นแปลง (Income Change) : ถ้ารายได้ของผูบ้ ริ โภคเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้ น
หรื อลดลง จะมีผลทําให้ปริ มาณการซื้ อสิ นค้า 2 ชนิ ดเปลี่ยนไปด้วย (ราคาสิ นค้าคงที่) ในกรณี
งบประมาณเพิ่ม เส้น BL จะเคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางขวามือ หรื องบประมาณลดลง เส้น BL จะ
เคลื่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือ
รู ปภาพที่ 5.11 กรณี ผบู ้ ริ โภคมีงบประมาณลดลง
สิ นค้า Y

10 เส้น BL1
เส้น BL2
5

0 10 20 สิ นค้า X
EC 111 105
อธิ บายรู ปภาพที่ 5.11 เส้น BL1 ผูบ้ ริ โภคมีงบประมาณจํานวน 100 บาท สามารถซื้ อ
สิ นค้า X ทั้ งหมดได้ 20 หนวย ่ หรื อซื้ อสิ นค้า Y ทั้ งหมด ได้ 10 หนวย
่ แตเมื ่ ่อเป็ นเส้น BL2 มี
งบประมาณจํานวน 50 บาท สามารถซื้ อสิ นค้า X ทั้ งหมดได้ 10 หนวย ่ หรื อซื้ อสิ นค้า Y ทั้ งหมด
ได้ 5 หนวย่ เป็ นต้น
(2) ราคาสิ นค้ าเปลีย่ นแปลง (Price Change) : จะมีกรณี ราคาสิ นค้าชนิดใด ชนิดหนึ่ง
เปลี่ยนแปลงจะมีผลทําให้เส้นงบประมาณ (BL) เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย เชน่

รู ปภาพที่ 5.12 ราคาสิ นค้ า X เปลีย่ นแปลง (ราคาสิ นค้า Y คงที่)


ราคาสิ นค้า X เพิ่มขึ้ น ราคาสิ นค้า X ลดลง
สิ นค้า Y สิ นค้า Y

0 5 10 0 5 10
สิ นค้า X สิ นค้า X

ปริ มาณซื้ อสิ นค้า X ลดลงจาก 10 เป็ น 5 หนวย ปริ มาณซื้ อสิ นค้า X เพิ่มจาก 5 เป็ น 10 หนวย ่

รู ปภาพที่ 5.13 ราคาสิ นค้ า Y เปลีย่ นแปลง (ราคาสิ นค้า X คงที่)


ราคาสิ นค้า Y เพิ่มขึ้ น ราคาสิ นค้า Y ลดลง
สิ นค้า Y สิ นค้า Y
15 15

8 8

0 0
สิ นค้า X สิ นค้า X

ปริ มาณซื้ อสิ นค้า Y ลดลงจาก 15 เป็ น 8 หนวย ่
ปริ มาณซื้ อสิ นค้า Y เพิ่มขึ้ นจาก 8 เป็ น 15 หนวย
106 EC 111
ุ ภาพของผ้ ูบริโภค : เป็ นเหตุการณ์ที่ผบู ้ ริ โภคจะได้รับความพอใจสู งสุ ด
5.3 ดลย
ั านวนหนึ่ งที่กาหนดให้
ในการบริ โภคสิ นค้า 2 ชนิ ด ภายใต้งบประมาณที่จาํ กดจํ ํ เมื่อนําเส้นความ
่ ั ั นงบประมาณ มาอยูใ่ นรู ปภาพเดียวกนั จุดดุลยภาพของผูบ้ ริ โภค จึงเกดจากเส้
พอใจเทากนกบเส้ ิ น
่ ั (IC) สัมผัสกบเส้
ความพอใจเทากน ั นงบประมาณ(BL) นัน่ เอง
รู ปภาพที่ 5.14 ดุลยภาพของผูบ้ ริ โภค

สิ นค้า Y
B

10 E0
IC0

0 5 L สิ นค้า X

อธิบายรปภาพที
ู ่ 5.14 เส้นความพอใจเทากน ่ ั (IC0) สัมผัสกบเส้
ั นงบประมาณ
(BL) ที่จุด E0 ซึ่ งถือเป็ นจุดดุลยภาพของผูบ้ ริ โภคได้ที่รับความพอใจสู งสุ ดภายใต้งบประมาณ
จํานวนหนึ่ง บริ โภคสิ นค้า Y จํานวน 10 หน่วย และสิ นค้า X จํานวน 5 หนวย ่

การเปลีย่ นแปลงดลยภาพของผ้
ุ ูบริโภค : ที่มีสาเหตุมาการเปลี่ยนแปลงใน ราคา
่ นี้
สิ นค้ า หรือ รายได้ ของผู้บริโภค จะมีผลต่อดุลยภาพของผูบ้ ริ โภคได้ดงั ตอไป

(1) การเปลีย่ นแปลงราคาสิ นค้ าชนิดใด ชนิดหนึ่ง (Price Effect) : ในกรณี ที่ ราคา
สิ นค้า X ลดลง (ราคาสิ นค้า Y คงที่) จะมีผลทําให้ผบู ้ ริ โภคสามารถซื้ อสิ นค้า X มากขึ้ น เส้น BL
บนแกนนอนเคลื่อนย้ายไปทางขวามือ ไปสัมผัสกบเส้ ั นความพอใจเทากนเส้
่ ั นที่อยูท่ างขวามือ เกดิ
ดุลยภาพใหม่ข้ ึนที่จุด E1 , E2 , E3 ได้ ดังรู ปภาพที่ 5.15

EC 111 107
รู ปภาพที่ 5.15 เส้นแนวทางการบริ โภคอันเนื่องจากราคาเปลี่ยนแปลง(PCC)

สิ นค้า Y IC1
IC2
Y1 IC3
E1
Y2 E2
Y3 E3 PCC

0 X1 X2 X3 สิ นค้า X
อธิบายรปภาพที
ู ่ 5.15 เริ่ มต้นจากดุลยภาพครั้ งแรกอยูท่ ี่ เส้น IC1 สัมผัสเส้น
งบประมาณที่จุด E1 ตอมาราคาสิ่ นค้า X ลดลง ทําให้ เส้น BL บนแกนนอนเคลื่อนย้ายไปทางขวา
มือ สัมผัสกบเส้ ั น IC2 ที่จุด E2 เป็ นดุลยภาพใหม่ และถ้าราคาสิ นค้า X ยังลดลงอีก เส้น BL จะไป
สัมผัสเส้น IC3 ที่จุด E3 ดังนั้ นมีจุดดุลยภาพคือ E1 , E2 , E3 ถ้าลากเส้นผานจุ ่ ดดุลยภาพทั้ งสาม
จะเรี ยกเส้นแนวทาการบริ โภค อันเนื่องมาจากราคาเปลี่ยนแปลง (PCC)
(2) การเปลีย่ นแปลงรายได้ ของผู้บริโภค (Income Change) : ถ้าผูบ้ ริ โภคมีรายได้
เพิ่มขึ้ นหรื อลดลง (ราคาสิ นค้าคงที่) กรณี รายได้เพิ่ม เส้นงบประมาณกจะเคลื ็ ่อนย้ายทั้ งเส้นไป
ทางขวามือของเส้นเดิม กรณี รายได้ลดลง เส้นงบประมาณกจะเคลื ็ ่อนย้ายทั้ งเส้นไปทางซ้ายมือ
ของเส้นเดิม
รู ปภาพที่ 5.16 เส้นแนวทางการบริ โภค กรณี รายได้ของผูบ้ ริ โภคเปลี่ยนแปลง (ICC)
สิ นค้า Y
ICC
B3 IC3
B2 E3
E2 IC2
B1 E1 IC1
0 สิ นค้า X
L1 L2 L3
108 EC 111
อธิบายรู ปภาพที่ 5.16 เริ่ มต้นจากจุดดุลยภาพของผูบ้ ริ โภคคือ เส้น IC1 สัมผัสกบั
เส้น BL1 ณ จุด E1 ตอมาเมื ่ ่อมีผบู ้ ริ โภคมีรายได้เพิ่ม ทําให้เส้นงบประมาณเคลื่อนย้ายไปเป็ น BL2
และ BL3 สัมผัสกบเส้ ั น IC2 และ IC3 ตามลําดับ มีจุดดุลยภาพใหมที่ ่ E2 และ E3 ดังนั้ นถ้า
่ ด ดุ ล ยภาพทั้ ง สาม จะเรี ย กวา่ เส้ น แนวทางการบริ โ ภค อัน เนื่ อ งมาจากรายได้
ลากเส้น ผานจุ
เปลี่ยนแปลง (ICC)
(3) การเปลีย่ นแปลงราคาสิ นค้ า : ผลการทดแทนกันและผลทางรายได้
เมื่อราคาสิ นค้า X ลดลง (ราคาสิ นค้า Y คงที่ ) จะทําให้เส้นงบประมาณบนเส้นปริ มาณสิ นค้า X
ย้ายไปทางขวามื อ สัมผัสกบเส้ ั นความพอใจเทากนอี ่ ั กเส้นหนึ่ ง จึ งเกดดุ
ิ ลยภาพใหม่ ปริ มาณ
บริ โภคสิ นค้า X เพิ่มขึ้ น ดังรู ปภาพที่ 5.17
รู ปภาพที่ 5.17 แสดงผลทางด้านราคา ,ผลการทดแทนและผลทางด้านรายได้
สิ นค้า Y
B

E1 E3 IC2
E2
IC1

0 L1 L2
Q1 Q2 Q3 สิ นค้า X
ผลของราคา หรือผลรวม = ผลการทดแทน + ผลทางรายได้
Q1 Q3 Q1 Q2 Q2 Q3
อธิบายรู ปภาพที่ 5.17 เริ่ มแรกดุลยภาพของผูบ้ ริ โภคอยูท่ ี่ เส้น IC1 สัมผัสเส้น BL1
ที่จุด E1 ปริ มาณสิ นค้า X เทากบ ่ ั Q 1 ตอมาราคาสิ
่ นค้า X ลดลง ทําให้เส้นงบประมาณบนแกน
สิ นค้า X เปลี่ยน BL2 สัมผัสกบเส้ั นความพอใจเทากน ่ ั (IC2) เป็ นดุลยภาพใหมที่ ่จุด E3 ปริ มาณการ
บริ โภคสิ นค้า X เพิ่มขึ้ นเป็ น Q3 ดังนั้นความแตกต่ างระหว่ าง Q1 Q3 เป็ นทางด้ านราคา(Price
Effect) หรื อผลรวม Q1Q2 = ผลการทดแทนกนั Q2Q3 = ผลทางด้านรายได้

EC 111 109

(4) ผลการเปลีย่ นแปลงรายได้ กับส้ นเองเกล : มีลกั ษณะดังตอไปนี

รู ปภาพที่ 5.18 แสดงความสัมพันธ์เส้น ICC และเส้นเองเกล

รู ปภาพ ก.
สิ นค้า Y

Income Consumption Curve(ICC)

E2 E3
E1

0 ปริ มาณสิ นค้า X


Q1 Q2 Q3
รู ปภาพ ข.
รายได้
Engle curve

Y3 E3
Y2 E2
Y1 E1
0 ปริ มาณสิ นค้า X
Q1 Q2 Q3
อธิบายรู ปภาพที่ 5.18 จากรู ปภาพ ก แสดงการเส้นแนวทางการบริ โภค อัน

เนื่องมาจาก รายได้เปลี่ยนแปลง (ICC) ซึ่งมีผลทําให้เห็นความสัมพันธ์ระหวางรายได้ ที่เพิม่ ขึ้ นทํา
ให้การบริ โภคสิ นค้า X และ Y เพิม่ ขึ้ นตามไปด้วย

รู ปภาพ ข. เมื่อนําตัวแปรรายได้ท่ีเปลี่ยนแปลงกบการบริ โภคสิ นค้า X ที่
เปลี่ยนแปลงไป บนจุด E1 , E2 และ E3 เมื่อลากเส้นผานจุ ่ ดทั้ งสาม ได้ เส้ นทีเ่ รียกว่ า เส้ นเองเกล

110 EC 111
คําถามท้ ายบท
เมื่ออ่านบทที่ 5 จบแล้ ว ควรทีจ่ ะตอบคําถามประเด็นต่ างๆดังต่ อไปนีไ้ ด้
1. อรรถประโยชน์ของสิ นค้าคืออะไร
(1) ความพึงพอใจในสิ นค้า (2) ประโยชน์ของสิ นค้า
(3) ความพึงพอใจที่ผบู ้ ริ โภคได้รับจากการบริ โภคสิ นค้าและบริ การ
(4) ผิดทุกข้อ
2. อรรถประโยชน์ในสิ นค้า จะมีมากหรื อน้อย ขึ้ นอยูก่ บั
(1) ความจําเป็ นของสิ นค้าในขณะนั้ น (2) จํานวนสิ นค้าที่บริ โภค
(3) เวลาและสถานที่บริ โภคสิ นค้า (4) ถูกทุกข้อ
3. ข้อความใดตอไปนี ่ ่ นไปตามข้อสมมติพ้นื ฐาน ของทฤษฎีอรรถประโยชน์
้ ไมเป็
(1) ผูบ้ ริ โภคบอกความพึงพอใจออกมาเป็ น (2) ผูบ้ ริ โภคจะเลือกซื้ อสิ นค้าที่มียทู ิลสูงสุ ด
่ ทิลได้
หนวยยู ่
กอนและพิ จารณาลดลงตามลําดับ
่ นหนวยยอยได้
(3) สิ นค้าที่นาํ มาซื้ อ-ขายแบงเป็ ่ ่ ่
(4) ชวงแรกผู บ้ ริ โภคจะได้อรรถประโยชน์เพิม่
น้อย จะมากขึ้ นเมื่อซื้ อสิ นค้ามากขึ้ น
4. กฎวาด้่ วย การลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์เพิม่ เป็ นกฎที่แสดงความเกยวข้ ี่ องระหวาง ่

(1) ปริ มาณสิ นค้ากบความพึ งพอใจ ั
(2) ปริ มาณสิ นค้ากบราคาสิ นค้า
(3) รายได้ของผูบ้ ริ โภคกบปริ ั มาณสิ นค้า ั
(4) ราคาสิ นค้าชนิดอื่นกบความพึ งพอใจ
5. เมื่อผูบ้ ริ โภคที่ตอ้ งการแสวงหาความพอใจสู งสุ ด จะซื้ อสิ นค้าชนิดหนึ่งไปจนกระทัง่ ชิ้นสุ ดท้ายมี

คาของ ่ ั นย์ แสดงให้เห็นวา่
MU เทากบศู
(1) ผูบ้ ริ โภคจะได้รับ อรรถประโยชน์รวม(TU) จากสิ นค้าสู งสุ ด
(2) ผูบ้ ริ โภคจะได้รับอรรถประโยชน์รวม(TU) จากสิ นค้าตํ่าที่สุด
(3) ผูบ้ ริ โภคจะได้รับอรรถประโยชน์รวม(TU) จากสิ นค้าเฉลี่ยปานกลาง
(4) ผูบ้ ริ โภคจะได้รับอรรถประโยชน์รวม(TU) จากสิ นค้าติดลบ
6. เมื่อราคาสิ นค้า X มีราคา 30 บาทตอหนวย ่ ่ ถ้าผูบ้ ริ โภคต้องการแสวงหาความพอใจสู งสุ ด เมื่อ
นําราคาสิ นค้าพิจารณาประกอบด้วย จะซื้ อสิ นค้า X จนกระทัง่
(1) อรรถประโยชน์รวม(TU) เทากบ ่ ั 30 ยูทิล (2) อรรถประโยชน์รวม(TU) มีค่ามากกวา่
30 ยูทิล
(3) อรรถประโยชน์เพิม่(MU) เทากบ ่ ั 30 ยูทิล (4) อรรถประโยชน์เพิ่ม(MU) มีค่ามากกวา่
EC 111 111
่ ิ
7. สวนเกนของผู บ้ ริ โภค (Consumer s Surplus) หมายถึง
(1) รายได้ส่ วนที่ผบู ้ ริ โภคเหลือจาก การใช้จ่ายซื้ อสิ นค้าและบริ การ
(2) อรรถประโยชน์จากสิ นค้า ที่ผบู ้ ริ โภคได้รับเกนิ จากการซื้ อสิ นค้าทั้ งหมด

(3) อรรถประโยชน์จากสิ นค้า ที่ผบู ้ ริ โภคได้รับเกนจากราคาสิ นค้าที่จ่ายไปจริ ง

(4) ผลตางระหวาง ่ อรรถประโยชน์รวมกบั อรรถประโยชน์เพิ่ม
่ ิ
8. สวนเกนของผู บ้ ริ โภคในสิ นค้า จะลดลงในกรณี
(1) รายได้ของผูบ้ ริ โภคเพิ่ม (2) คุณภาพของสิ นค้าลดลง
(3) ราคาสิ นค้าลดลง (4) ราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้ น

กาหนดให้ MUx และ MUy ในสิ นค้าแตละหนวย ่ ่ มีค่าMU ดังตอไปนี
่ ้ จงใช้เป็ นข้อมูลในการตอบ
คําถามที่ 9-10
---------------------------------------------------------------- ถ้าผูบ้ ริ โภคมีเงินจํานวน 20 บาท
ปริ มาณสิ นค้า MUx MUy สิ นค้า X และ Y หนวยละ ่ 4 บาท
----------------------------------------------------------------
1 35 30
2 31 28
3 28 25
4 25 23
5 23 20
-----------------------------------------------------------------
9. ผูบ้ ริ โภคคนหนึ่ง จะซื้ อสิ นค้า X และ Y จํานวนเทาใด ่ จึงได้รับดุลยภาพการบริ โภค
(1) X = 2 และ Y = 3 หนวย ่ (2) X = 3 และ Y = 2 หนวย ่
(3) X = 4 และ Y = 3 หนวย ่ (4) X = 3 และ Y = 4 หนวย ่
10. ผูบ้ ริ โภคจะได้รับอรรถประโยชน์รวม จากการบริ โภคสิ นค้า X จํานวนกยูี่ ทิล
(1) จํานวน 35 ยูทิล (2) จํานวน 66 ยูทิล
(3) จํานวน 94 ยูทิล (4) จํานวน 119 ยูทิล
11. เส้นความพอใจเทากน ่ ั (Indifference Curve) เป็ นเส้นที่แสดงสวนประกอบของ

(1) การเลือกซื้ อสิ นค้ามากกวาหนึ่ ่ งชนิด ที่ได้รับความพอใจเทากน ่ ั
(2) การเลือกซื้ อสิ นค้า 2 ชนิดในหลายๆองค์ประกอบ แตให้ ่ ความพอใจเทากน ่ ั
112 EC 111
(3) การเลือกซื้ อสิ นค้า 2 ชนิด ในหลายๆองค์ประกอบ แตมี่ ตน้ ทุนคาใช้ ่ จ่ายเทากบ ่ ั
(4) การเลือกซื้ อสิ นค้า 2 ชนิด ในหลายองค์ประกอบ แตมี่ งบประมาณเทากน ่ ั
12. การที่เส้นความพอใจเทากน ่ ั (Indifference Curve) โค้งเว้าเข้าหาจุดกาเนิ ํ ด แสดงวา่
(1) สิ นค้า 2 ชนิด ที่ผบู ้ ริ โภคเลือกซื้ อ ทดแทนกนไมได้ ั ่ เลย
(2) สิ นค้า 2 ชนิด ที่ผบู ้ ริ โภคเลือกซื้ อ ทดแทนกนได้ ั อยางสม ่ บูรณ์
(3) สิ นค้า 2 ชนิด ที่ผบู ้ ริ โภคเลือกซื้ อ ทดแทนกนได้ ั ไมสมบู ่ รณ์
(4) ผิดทุกข้อ
13. ถ้าสิ นค้า 2 ชนิดทดแทนกนได้ ั อยางสมบู
่ ่ ่ ั ) ในสายตาของผูบ้ ริ โภค
รณ์(เพิ่ม-ลด สัดสวนเทากน
เส้นความพอใจเทากนจะมี ่ ั ่
ลกั ษณะอยางไร
(1) เป็ นเส้นตรงลาดลงจากซ้ายไปขวามือ (2) เป็ นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกาเนิ ํ ด
(3) เป็ นเส้นตรงตั้ งฉากกบแกนนอนั ั
(4) เป็ นเส้นตรงขนานกบแกนนอน
14. เมื่อคํานวณหาคาของ ่ MRSxy = - 3 จะแปลความหมายวาอยางไร ่ ่
(1) การเพิ่มสิ นค้า X 3 หนวย ่ ลดสิ นค้า Y 1 หนวย ่ (2) การเพิ่มสิ นค้า Y 3 หนวย ่ ลดสิ นค้า Y

3 หนวย
(3) การเพิ่มสิ นค้า X 1 หนวย ่ ลดสิ นค้า Y 3 หนวย ่ (4) ผิดทุกข้อ
15.เส้นงบประมาณ(Budget Line : BL) หมายถึงเส้นที่แสดงความสัมพันธ์ระหวาง ่
(1) การเลือกผลิตสิ นค้า 2 ชนิด ในสัดสวนที ่ ่ต่างกนั โดยใช้งบประมาณเทากน ่ ั
(2) การเลือกผลิตสิ นค้า 2 ชนิด ในสัดสวนที ่ ่ต่างกนั โดยใช้ตน้ ทุนคงที่จาํ นวนหนึ่ง
(3) การเลือกบริ โภคสิ นค้า 2 ชนิด ในสัดสวนที ่ ่ต่างกนั โดยใช้งบประมาณเทากน ่ ั
(4) การเลือกบริ โภคสิ นค้า 2 ชนิด ในสัดสวนที ่ ่ต่างกนั โดยได้รับความพึงพอใจเทากน ่ ั
จงใช้รูปภาพตอไปนี่ ้ เพื่อตอบคําถาม ในข้อ 16-19
สิ นค้า X รปภาพที
ู ่1 สิ นค้า X รปภาพที
ู ่2
20 18
15

0 10 12 สิ นค้า Y 0 8 12 สิ นค้า Y

EC 111 113
สิ นค้า X รปภาพที
ู ่3 สิ นค้า X รปภาพที
ู ่4
B2 B
B1 E1
E0 IC2 E0 E1 IC 2
IC1 IC1
0 L1 L2 สิ นค้า Y 0 L1 L2 สิ นค้า Y
16. รู ปภาพใด แสดงให้เห็นวาเป็ ่ นเส้นแนวทางการบริ โภคเมื่อราคาเปลี่ยนแปลง (PCC)
(1) รู ปภาพที่ 1 (2) รู ปภาพที่ 2
(3) รู ปภาพที่ 3 (4) รู ปภาพที่ 4
17. รู ปภาพใด แสดงให้เห็นวาผู ่ บ้ ริ โภค มีการใช้งบประมาณซื้ อสิ นค้ามากขึ้ น
(1) รู ปภาพที่ 1 (2) รู ปภาพที่ 2
(3) รู ปภาพที่ 3 (4) รู ปภาพที่ 4
18. รู ปภาพใด แสดงให้เห็นวาเป็ ่ นเส้นแนวการบริ โภค เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลง (ICC)
(1) รู ปภาพที่ 1 (2) รู ปภาพที่ 2
(3) รู ปภาพที่ 3 (4) รู ปภาพที่ 4

19. รู ปภาพใดที่แสดงให้เห็นวาราคาสิ นค้าชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงเพิม่ ขึ้ น
(1) รู ปภาพที่ 1 (2) รู ปภาพที่ 2
(3) รู ปภาพที่ 3 (4) รู ปภาพที่ 4
20. ตามทฤษฎีเส้นความพอใจเทากน ่ ั จุดดุลยภาพของผูบ้ ริ โภคอยูท่ ี่ เส้นพอใจเทากน
่ ั
ั นงบประมาณ
(1) สัมผัสกบเส้ (2) ตัดกบเส้ ั นงบประมาณ
(3) อยูส่ ูงกวาเส้
่ นงบประมาณ (4) อยูต่ ่าํ กวาเส้
่ นงบประมาณ
21. เส้นเองเกล เป็ นเส้นที่แสดงความสัมพันธ์ระหวางตั ่ วแปรอะไร

(1) ปริ มาณการซื้ อสิ นค้าชนิดหนนึ่งกบราคาสิ ั
นค้า (2) ปริ มาณการซื้ อสิ นค้าชนิดหนึ่งกบรายได้

(3) ปริ มาณการขายสิ นค้าชนิดหนึ่งกบราคาสิ ี
นค้า (4) ปริ มาณการขายสิ นค้าชนิดหนึ่งกบรายได้

114 EC 111

จงใช้รูปภาพตอไปนี ้ เพื่อตอบคําถามข้อ 22-23
สิ นค้า X
D

X A
B C IC2
IC1

0 E F สิ นค้า Y
Q1 Q2 Q3
อธิบายรปภาพ
ู เมื่อราคาสิ นค้า Y ลดลง(สิ นค้า X คงที่) ทําให้ดุลยภาพของผู ้
เปลี่ยนแปลงจากจุด A เป็ นจุด C
22. อันเนื่องมาจากราคาสิ นค้า Y ลดลง ทําให้ปริ มาณซื้ อสิ นค้า Y ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไป
ความแตกตาง ่ ระหวางปริ
่ มาณซื้ อสิ นค้า Y ที่ Q1 กบั Q2 เรี ยกวาเป็
่ นผลเกยวกบอะไร
ี่ ั
(1) ผลทางด้านการทดแทนกนั (2) ผลทางด้านรายได้
(3) ผลทางด้านราคา (4) ผิดทุกข้อ
23. อันเนื่องมากจากราคาสิ นค้า Y ลดลง ทําให้ปริ มาณซื้ อสิ นค้า Y ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไป
ความแตกตาง ่ ระหวางปริ
่ มาณซื้ อสิ นค้า Y ที่ Q2 กบั Q3 เรี ยกวาเป็
่ นผลเกยวกบอะไร
ี่ ั
(1) ผลทางด้านการทดแทนกนั (2) ผลทางด้านรายได้
(3) ผลทางด้านราคา (4) ผิดทุกข้อ

เฉลยคําถามท้ ายบท
ข้อ 1 ( 3 ) ข้อ 2 ( 4 ) ข้อ 3 ( 4 ) ข้อ 4 ( 1 ) ข้อ 5 ( 1 ) ข้อ 6 ( 3 ) ข้อ 7 ( 3 )
ข้อ 8 ( 4 ) ข้อ 9 ( 2 ) ข้อ 10 ( 3 ) ข้อ 11 ( 2 ) ข้อ 12 ( 3 ) ข้อ 13 ( 1 ) ข้อ 14 ( 3 )
ข้อ 15 ( 3 ) ข้อ 16 ( 4 ) ข้อ 17 ( 2 ) ข้อ 18 ( 3 ) ข้อ 19 ( 1 ) ข้อ 20 ( 1 ) ข้อ 21 ( 2 )
ข้อ 22 ( 1 ) ข้อ 23 ( 2 )

EC 111 115
116 EC 111
บทที่ 6
การผลิต ต้ นทนุ รายรับและกําไร

เนือ้ หาการศึกษา
1. การผลิต : กระบวนการผลิต ลักษณะปัจจัยการผลิต ระยะเวลาการผลิต และ
ฟังกชั์ น่ การผลิต
2. การผลิตในระยะสั้ น : ทฤษฎีการผลิตแบบดั้ งเดิม
ผลผลิตรวม(TP) , ผลผลิตเฉลี่ย(AP) และผลผลิตเพิม่(MP)
ความสัมพันธ์ของเส้นผลผลิต และการแบงขั ่ ้นการผลิต
่ วยการลดน้อยถอยลง
กฎวาด้
3. การผลิตในระยะยาว : ทฤษฎีการผลิต ตามหลักเส้นผลผลิตเทากนและเส้ ่ ั นต้นทุน
่ ั
เทากน
เส้นผลผลิตเทากน ่ ั (Isoquant curve : ISQ)
ลักษณะของเส้นผลผลิตเทากน ่ ั
อัตราหนวยสุ ่ ดท้ายของการทดแทนกนของปั ั จจัยการผลิต (MRTS)
เส้นต้นทุนเทากน ่ ั (Isocost curve : ISC)
การเคลื่อนย้ายเส้นต้นทุนเทากน ่ ั 3 กรณี
4. ดลยภาพของผ้
ุ ผู ลิตสิ นค้ า(Producer s Equilibrium)
กรณี การผลิตเสี ยต้นทุนตํ่าสุ ด
กรณี การผลิตที่ให้ผลผลิตมากที่สุด
5. เส้ นแนวทางขยายการผลิตทีเ่ หมาะสม
6. หลักว่ าด้ วยผลตอบแทนขนาด
7. รายรับจากการผลิต : ประเภทของรายรับจากการผลิต
่ ่ ่ ั
กรณี ราคาผลผลิตตอหนวยเทากน
่ ่ ่ ่ ั
กรณี ราคาผลผลิตตอหนวยไมเทากน

EC 111 117
8. ต้ นทนการผลิ
ุ ต : ต้นทุนทางบัญชี และต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
ต้นทุนที่มองเห็นได้,ต้นทุนที่มองไมเห็ ่ น และต้นทุนคาเสี่ ยโอกาส
ต้นทุนการผลิตในระยะสั้ น และ ระยะยาว
9. กําไรจากการผลิต : กาไร ํ 3 ประเภทคือ กาไรเกนป ํ
ํ ิ กติ กาไรปกติ และขาดทุน
สาระสํ าคัญการศึกษา
1. กระบวนการผลิต : ประกอบด้วยขั้นตอนการใช้ปัจจัย ผานกระบวนการผลิ ่ ตและ
ได้รับผลผลิตเป็ นสิ นค้าและบริ การ
2. ลักษณะของปัจจัยการผลิตมี 2 ชนิด คือ (1) ปั จจัยคงที่ : การใช้ปัจจัยไม่
เปลี่ยนแปลงตามปริ มาณผลผลิต (2) ปั จจัยผันแปร : การใช้ปัจจัยเปลี่ยนแปลงไปตามปริ มาณ
ผลผลิต
3. ระยะเวลาการผลิต : แบงออกเป็ ่ น 2 ระยะ คือ (1) ระยะสั้ นใช้ปัจจัยคงที่และผัน
แปรรวมกน่ ั หนวยผลิ ่ ่
ตไมสามารถเพิ ม่ หรื อลดปั จจัยการผลิตบางชนิดได้ (2) ระยะยาวใช้เฉพาะ
ปั จจัยผันแปรเทานั ่ ้ น เปลี่ยนแปลงการใช้ปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้
4. ฟังก์ ชั่นการผลิต : เป็ นความสัมพันธ์ระหวางการใช้ ่ ั
ปัจจัยกบผลผลิ ต เขียนเป็ น
ฟังกชั์ น่ คณิ ตศาสตร์ได้ดงั นี้
Q = f ( K , L)
5. ทฤษฎีการผลิตแบบดั้งเดิม : มีการใช้ปัจจัยคงที่และผันแปรรวมกน ่ ั อธิบายการ
ผลิตในระยะสั้ น สมมติวา่ Q คือ ผลผลิต , K คือ ปั จจัยทุน(คงที่) , L คือปั จจัยแรงงาน(ผันแปร) ตัว
แปรที่ควรสนใจได้แก่ ผลผลิตรวม(TP) ,ผลผลิตเฉลี่ย(AP) และผลผลิตเพิม่(MP)

6. ทฤษฎีการผลิตแบบดั้งเดิม : แบงระยะการผลิ ตออกเป็ น 3 ขั้นตอน โดยมีข้ นั ตอน
ที่ 2 เป็ นระยะการผลิตที่เหมาะสมที่สุด โดยเฉพาะปริ มาณผลผลิตที่ทาํ ให้ TP สู งสุ ดและ MP = 0
7. กฎว่ าด้ วยการลดน้ อยถอยลง(Law of Diminishing Return) : อธิบายการเพิม่
ปั จจัยการผลิต 1 หนวย ่ จะทําให้ผลผลิตเพิม่ ใน 3 ลักษณะคือ (1) ผลตอบแทนเพิม่ขึ้ น (2)
ผลตอบแทนลดลง (3) ผลตอบแทนติดลบ
8. ทฤษฎีการผลิต ตามหลักผลผลิตเท่ ากัน และต้ นทนเท่ ุ ากัน อธิบายการผลิตใน
่ ั
ระยะยาว (1) เส้นผลผลิตเทากนแสดงความสั ่ ั เป็ น
มพันธ์ การใช้ปัจจัย 2 ชนิด ที่ทาํ ให้ผลผลิตเทากน
เส้นที่มีความชันทอดลงจากซ้ายไปขวา และมีลกั ษณะโค้งเว้าเข้าหาจุดกาเนิ ํ ด เส้นตรง หรื อเส้นรู ป
ตัวแอล ตั้ งฉากหักมุม เส้นผลผลิตเทา่ กนมี ั ได้หลายเส้น เส้นทางขวามือแสดงผลผลิตมากกวา่
118 EC 111
9. เส้ นต้ นทนเท่
ุ ากัน : เป็ นเส้นที่แสดงการใช้ปัจจัย 2 ชนิด ที่ทาํ ให้ตน้ ทุนเทากน ่ ั
เปลี่ยนแปลงได้ 2 ลักษณะคือ (1) แบบเคลื่อนย้ายทั้ งเส้น ไปทางซ้าย หรื อ ขวา มีสาเหตุมาจากราคา
ปั จจัยทั้ งสองเปลี่ยนแปลงเทากน ่ ั หรื อรายได้ของหนวยธุ ่ รกจเพิิ ่มหรื อลดลง(2)เส้นต้นทุนเคลื่อนย้าย
เฉพาะแกนตั้ งหรื อแกนนอนเทา่ นั้ น มีสาเหตุมากจากราคาปั จจัยชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลง อีกชนิดคงที่
10. ดลยภาพของผ้
ุ ูผลิตสิ นค้ าและบริการคือจุดที่เส้นผลผลิตเทากน ่ ั (ISQ)สัมผัสกบั
เส้นต้นทุนเทากน ่ ั (ISC) ถือวาเป็ ่ นจุดที่มีการใช้ปัจจัยเหมาะสม วิเคราะห์ 2 กรณี คือการผลิตที่เสี ย
ต้นตํ่าสุ ด และ การผลิตที่ได้ผลผลิตมากที่สุด
11. เส้ นแนวทางขยายการผลิตทีเ่ หมาะสม(Expansion Path) คือเส้นที่ผผู ้ ลิตควรขยาย
การผลิตสิ นค้า ไปตามแนวทางจุดดุลยภาพหลายๆจุด ซึ่งจะทําให้รับประโยชน์สูงสุ ด
12. หลักว่ าด้ วยผลตอบแทนต่ อขนาด : อธิบายการเพิม่ ปัจจัยการผลิตในอัตราหนึ่ง
( ) จะทําให้ผลผลิตเพิม่ในอัตราเทาใด ่ มี 3 ลักษณะคือ (1) ผลตอบแทนตอขนาดเพิ ่ ม่ ขึ้ น เมื่อ >

(2) ผลตอบแทนตอขนาดคงที ่ เมื่อ = (3) ผลตอบแทนตอขนาดลดลง ่ เมื่อ <
13. รายรับจาการผลิต : รายรับรวม(TR) เทากบ ่ ั ราคาผลผลิต (P) คูณด้วย ปริ มาณ
ผลผลิต(Q) ผลผลิตเฉลี่ย(AR) เทากบ ่ ั รายรับรวม(TR)หารด้วยปริ มาณผลผลิต(Q) และ รายรับเพิ่ม
(MR) เทากบ ่ ั การเปลี่ยนแปลงรายรับรวม(∆TR) หารด้วยปริ มาณผลผลิตเปลี่ยนแปลงไป(∆Q)
ี่ ั
การศึกษาเกยวกบรายรั บมี 2 กรณี คือ (1) กรณี ราคาสิ นค้าคงที่ (2) กรณี ราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลง
14. ต้ นทนการผลิ
ุ ต : ความหมายของต้นทุนทางบัญชี และต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ มี
ความแตกตางกนที ่ ั ่ตน้ ทุนที่มองไมเห็ ่ น แนวคิดเกยวกบต้ ี่ ั นทุนคาเสี ่ ยโอกาส
15. ต้นทุนระยะสั้ น : ประกอบไปด้วย (1) ต้นทุนคงที่ท้ งั หมด(TFC) (2) ต้นทุนผัน
แปรทั้ งหมด(TVC) (3) ต้นทุนรวม (TC) (4) ต้นทุนคงที่เฉลี่ย(AFC) (5) ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย
(AVC) (6) ต้นทุนรวมทั้ งหมดเฉลี่ย (ATC หรื อ AC) และต้นทุนหนวยเพิ ่ ่ม(MC)
16. ต้ นทนระยะยาว
ุ : มีการใช้ปัจจัยผันแปรเทานั ่ ้ น เป็ นเส้นเกดจากเส้
ิ นต้นทุนระยะ
สั้ นในหลายๆขนาดการผลิต ซึ่งจะทําให้หนวยธุ ่ รกจสามารถ
ิ เลือกขนาดการผลิตที่เหมาะสมและ
ต้นทุนที่ต่าํ สุ ดได้ เส้นต้นทุนระยะยาวมี 3 รู ปแบบ
17. กําไรจากการผลิต : คือ ผลตางระหวา ่ ่ งรายรับรวม(TR) กบั ต้นทุนรวม(TC) เขียน
เป็ นสัญลักษณ์ได้ ¶ = TR - TC มีท้ งั หมด 3 กรณี (1) กาไรเกนปกติ ํ ิ ¶ = TR - TC > 0 (2)

กาไรปกติ ¶ = TR – TC = 0 (3) ขาดทุน ¶ = TR - TC < 0

EC 111 119
จดประสงค์
ุ การศึกษา
เมื่อศึกษาบทที่ 6 จบแล้ว ควรจะตอบคําถามประเด็นตางๆดั่ งตอไปนี
่ ้ ได้
1. กระบวนการผลิต ลักษณะของปั จจัยการผลิต ระยะเวลาการผลิต และฟังกชั์ น่ การ
ผลิตมีสาระสําคัญอยางไร ่

2. ทฤษฎีการผลิตแบบดั้ งเดิม อธิบายการผลิตแบงออกเป็ ่
น 3 ขั้ นตอนอยางไร และ
ขั้ นตอนที่ 2 เป็ นขั้นตอนที่เหมาะสมในการผลิตมากที่สุด เพราะเหตุใด
3. กฎวาด้ ่ วยการลดน้อยถอยลง ทั้ ง 3 ลักษณะกลาวไว้
่ วาอยางไร
่ ่
่ ั
4. ทฤษฎีการผลิต ตามหลักการผลผลิตเทากนและต้ ่ ั อธิบายการผลิตใน
นทุนเทากน
ระยะใด มีสาระอยางไร ่ และการวิเคราะห์ดุลยภาพของผูผ้ ลิต กรณี เส้นต้นทุนการผลิตเทา่กนตํ ั ่
ที่สุด และผลผลิตมากที่สุด กลาวไว้ ่ วาอยางไร
่ ่
5. เส้นแนวทางการผลิตที่เหมาะสมคือเส้นที่อธิบายอะไร และมีลกั ษณะอยางไร ่
6. หลักวาด้ ่ วยผลตอบแทนตอขน ่ าดคืออะไร และมีการแบงเป็ ่ น 3 ลักษณะมี
สาระสําคัญอยางไร ่
7. ราบรับจากการผลิตคืออะไร และ การศึกษารับจากการผลิต แบบกรณี ราคา
ผลผลิตคงที่ และ ราคาผลผลิตเปลี่ยนแปลง จะมีผลตอเส้ ่ น TR , AR และ MR อยางไร ่
8. ต้นทุนทางบัญชี และต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ คืออะไร ต้นทุนทั้ งสองมีความ
่ ั ่
แตกตางกนอยางไร ่ ยโอกาสกลาวไว้
แนวคิดต้นทุนคาเสี ่ วาอยางไร
่ ่
9. ต้นทุนระยะสั้ น : ประกอบด้วยเส้นต้นทุนอะไร และมีลกั ษณะอยางไร ่

10. ต้นทุนระยะยาว : มีลกั ษณะอยางไร
11. กาไรํ คืออะไร และจงแสดงรู ปภาพกาไร ํ ในลักษณะตางๆ ่ ทั้ ง 3 กรณี คือ กาไร


เกนปกติ ํ
กาไรปกติ ่
และ ขาดทุน เป็ นอยางไร

120 EC 111
6.1 การผลิต (Production)
การผลิตหมายถึง การนําปั จจัยการผลิตมารวมกน ่ ั เข้าสู่ กระบวนการผลิต เพื่อให้
ได้มาซึ่งผลผลิต ในรปของสิ
ู นค้ าและบริการ ของผูป้ ระกอบการ เพื่อนําไปบําบัดความต้องการของ
่ รกจิ มีเป้ าหมายความต้องการแสวงหากาํไร
มนุษย์หรื อผูบ้ ริ โภค โดยที่ผปู ้ ระกอบการหรื อหนวยธุ
สูงสุ ด
ปัจจัยการผลิต จะประกอบไปด้วย (1) ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ (2) แรงงาน
ของมนุษย์ท้ งั แรงงานมีฝีมือและไร้ฝีมือ (3) ทุน ได้แก่ เครื่ องจักร เครื่ องมือ โรงงาน โกดัง และ
่ ่กลาวแล้
อาคารสํานักงาน วัตถุดิบ เป็ นต้น (4) ผูป้ ระกอบการ ซึ่งเป็ นผูร้ วบรวมปั จจัยทั้ ง 3 อยางที ่ ว
ํ และขาดทุนด้วย
นํามาผลิตสิ นค้าและบริ การ รวมทั้ งเป็ นผูร้ ับความเสี่ ยงทั้ งกาไร

รู ปภาพที่ 6.1 กระบวนการผลิตสิ นค้าและบริ การ

ปั จจัยการผลิต(Inputs) กระบวนการผลิต ผลผลิต(Outputs)

ที่ดิน แรงงาน ทุน Process of สิ นค้าและบริ การ


ผูป้ ระกอบการ production

การผลิตสิ นค้าและบริ การในระบบเศรษฐกจแบบทุิ ่ รกจิ


นนิยม เป็ นบทบาทของหนวยธุ
ในการทําหน้าที่ซ้ือปั จจัยการผลิตจากหนวยครั ่ วเรื อน เพื่อนําไปผานกระบวนการผลิ
่ ต (สิ นค้า
อุตสาหกรรม กจะ ็ มีรูปแบบเป็ นโรงงาน มีระบบการผลิตและการบริ หารจัดการ ) เพือ่ ให้ได้ผลผลิต
่ วเรื อน อีกครั้ งหนึ่ง
เป็ นสิ นค้า และบริ การนําไปขายให้ผบู ้ ริ โภคหรื อหนวยครั

EC 111 121
่ หนวยธุ
รู ปภาพที่ 6.2 แสดงความสัมพันธ์ระหวาง ่ รกจกบหนวยเศรษฐกจอื
ิ ั ่ ิ ่ นๆ
และสภาพแวดล้อม

เจ้าของธุรกจิ

จัดหาเงินลงทุน ํ
กาไรหลั
งจากหักภาษี

ต้นทุนปั จจัย ภาษี


ผูเ้ สนอขายปั จจัย ่ รกจิ
หนวยธุ รัฐบาล
การผลิต (การจัดการ)
ปั จจัย ํ ั
ให้บริ การและกากบ
ผลผลิต รายรับ

ลูกค้า

อธิบายรู ปภาพที่ 6.2 เริ่ มต้นจากหนวยครั่ วเรื อนเป็ นผูเ้ สนอขายปั จจัยการผลิตให้แก่
หนวยธุ่ รกจิ ทําให้มีรายได้เพือ่ นําไปซื้ อสิ นค้า หนวยธุ
่ รกจิ หรื อผูป้ ระกอบการทําหน้าที่จดั หาเงินมา
ลงทุนผลิตสิ นค้า เพื่อนําไปจําหนายให้ ่ ลูกค้า กจะมี
็ รายได้ เมื่อหักต้นทุนการผลิต และเสี ยภาษีให้
รัฐบาลแล้ว กจะเป็ ็ นกาไรของหนวยผลิ
ํ ่ ่
ต ตอไป ภาครัฐบาลกจะมี็ รายได้จากการเกบภาษี
็ และ
ให้บริ การแก่หนวยธุ ่ รกจหรืิ อทําหน้าที่กากบดู
ํ ั แลให้เป็ นไปตามกฎหมาย

ลักษณะของปัจจัยการผลิต : มี 2 ชนิด ดังตอไปนี ้
(1) ปัจจัยคงที่ (Fixed factor) : เป็ นปัจจัยการผลิตที่นาํ มาใช้ในกระบวนการผลิต
โดยมีจาํ นวนคงที่จาํ นวนหนึ่ง ไมเปลี ่ ่ยนแปลงไปตามปริ มาณผลผลิตสิ นค้าและบริ การ เชน่ ที่ดิน
เครื่ องจักร เครื่ องมือ โกดัง สํานักงาน เป็ นต้น
(2) ปัจจัยผันแปร(Variable factor) : เป็ นปัจจัยการผลิตที่นาํ มาใช้ในกระบวนการ
ผลิต ที่จะมีจาํ นวนปัจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลงไปตามปริ มาณผลผลิตสิ นค้าและบริ การ เชน่ วัตถุดิบ
ในการผลิต จํานวนแรงงาน คานํ ่ ้ า คาไฟฟ้
่ า ฯลฯ
122 EC 111
ระยะเวลาในการผลิต : แบงออกเป็ ่ น 2 ระยะคือ
(1) ระยะสั้ น (Short-Run) : เป็ นระยะเวลาในการผลิตสิ นค้าและบริ การ ของหนวย ่
ธุรกจิที่ไมสามารถลด
่ ่ รกจิ จะใช้ ท้งั ปัจจัย
หรื อ เพิม่ ปั จจัยบางชนิดได้ ดังนั้ นในระยะสั้ นหนวยธุ
คงที่ และ ปัจจัยผันแปร รวมกน่ ั ผลิตสิ นค้าและบริ การ
(2) ระยะยาว (Long-Run) : เป็ นระยะเวลาในการผลิตสิ นค้าและบริ การ ของ
่ รกจิ ที่สามารถเปลีย่ นแปลงปริ มาณการใช้ปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้ หรื อปรับเปลี่ยนขนาด
หนวยธุ

ของกจการได้ ดังนั้ นในระยะยาวหนวยธุ ่ รกจิ จะใช้ เฉพาะปัจจัยผันแปรเท่ านั้น
ฟังก์ ชั่นการผลิต(Production Function)
ฟังกชั์ น่ การผลิตคือ ฟังกชั์ น่ ที่แสดงความสัมพันธ์ระหวาง่ การใช้ปัจจัยการผลิต ใน
กระบวนการผลิต กบผลผลิ ั ตที่ได้รับ สมมติการผลิตสิ นค้าใช้ ปั จจัยทุน(K)และปัจจัยแรงงาน(L)
สามารถเขียนเป็ นฟังกชั์ น่ ทางคณิ ตศาสตร์ได้ดงั นี้

Q =f ( K, L )

กาหนดให้
Q คือ ปริ มาณผลผลิต
K คือ ปั จจัยทุน
L คือ ปั จจัยแรงงาน

การผลิตสิ นค้าและบริ การ ในบางกรณี อาจกาหนดให้ปัจจัยทุนเป็ นปัจจัยคงที่ และ
ปั จจัยแรงงานเป็ นปั จจัยผันแปร กได้ ็ หรื อบางกรณี อาจกาหนดในลั
ํ กษณะตรงกนข้ ั ามกนั กเป็็ นไป
ได้ ทั้ งนี้ ข้ ึนอยูก่ บวาเป็
ั ่ นการผลิตสิ นค้าอะไร นัน่ เอง

6.1.1. การผลิตในระยะสั้ น: แสดงโดยการใช้ ทฤษฎีการผลิตแบบดั้งเดิม

่ นทฤษฎีที่อธิบายการผลิตระยะสั้ น ดังนั้ นจึงมี


ทฤษฎีการผลิตแบบดั้งเดิม : ถือวาเป็
่ ั ในกระบวนการผลิตสิ นค้าและบริ การ โดย
การใช้ปัจจัยการผลิตคงที่ และปัจจัยผันแปรรวมกน
เขียนเป็ นฟังกชั์ น่ การผลิตได้ ดังนี้

EC 111 123
Q = f ( K , L)

กาหนดให้
Q คือ ปริ มาณผลผลิตของสิ นค้าและบริ การ
่ นปัจจัยคงที่)
K คือ จํานวนปัจจัยทุน (ถือวาเป็
่ นปัจจัยผันแปร)
L คือ จํานวนปัจจัยแรงงาน (ถือวาเป็
เมื่อนําปั จจัยการคงที่ และ ปั จจัยผันแปร มาใช้ร่ วมกนั ทําให้ได้รับผลผลิต เรี ยกวา่
ผลผลิตรวม (Total product : TP) , ผลผลิตเฉลี่ย (Average product : AP) และ ผลผลิตเพิม่
(Maginal product : MP) ซึ่งจะอธิบายสูตรและวิธีการหาคาตั ่ วแปรตางๆนี่ ้ ต่อไป
(1) ผลผลิตรวม (TP) คือ ผลผลิตทั้ งหมดที่เกดขึ ิ ้ น จากการใช้ปัจจัยการผลิตทั้ งปั จจัย
คงที่และปัจจัยผันแปร เข้าไปในกระบวนการผลิต เมื่อมีการใช้ปัจจัยผันแปรเพิ่มขึ้ น จะทําให้
ผลผลิตเพิ่มตามมาจนกระทัง่ ถึงจุดสูงสุ ด ถ้ายังมีการเพิ่มปัจจัยผันแปรอีก จะทําให้ผลผลิตลดลง

TP = f ( K , L )


(2) ผลผลิตเฉลีย่ (AP) คือ คาของผลผลิ ตทั้ งหมด(TP) เฉลี่ยตอ่ 1 หนวยของปั
่ จจัยผัน
แปร ที่ใช้ร่ วมกนกบปั
ั ั จจัยคงที่
AP = TP .
L


(3) ผลผลิตเพิม่ (MP) คือ คาของผลผลิ ตทั้ งหมดที่เปลี่ยนแปลงไป เมื่อมีการใช้ปัจจัย

่ ั จจัยคงที่ เพิม่ ขึ้ นทีละ 1 หนวย
ผันแปร รวมกบปั

MP = ∆TP .
∆L

124 EC 111
ตารางที่ 6.1 ความสัมพันธ์ระหวาง ่ TP , AP , MP และผลตอบแทนลดน้อยถอยลง
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แรงงาน (คน) ผลผลิตรวม ผลผลิตเพิม่ ผลผลิตเฉลี่ย
L TP MP AP
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
0 0 - -
1 10 10 ผลตอบแทน 10
2 25 15 เพิ่มขึ้ น 12.50
3 45 20 15
4 60 15 15
5 70 10 ผลตอบแทน 14
6 75 5 ลดน้อยถอยลง 12.50
7 75 0 10.71
8 70 - 5 ผลตอบแทนติดลบ 8.75
9 63 - 7 7
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รู ปภาพที่ 6.3 แสดงความสัมพันธ์ระหวาง ่ เส้น TP , AP และ MP
TP , AP และ MP

75 ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3

TP

AP
0 ปริ มาณแรงงาน( L )
4 7 MP
EC 111 125
ความสั มพันธ์ ของเส้ นผลผลิตต่ างๆ และการแบ่ งขั้นการผลิต : จากรู ปภาพที่ 6.3
โดยการอาศัยเส้นผลผลิตตางๆเป็ ่ ็
นเครื่ องมือ กจะสามารถแบงขั ่ ้ นตอนการผลิตออกเป็ น 3 ขั้นตอน

ได้ดงั ตอไปนี ้
ํ งมีค่าเพิ่มขึ้ น โดย
ขั้นตอนการผลิตทีห่ นึ่ง (Stage I ) : เป็ นขั้นที่ผลผลิตเฉลี่ย(AP)กาลั
ํ ดไปถึงจุดที่ AP มีค่าสูงสุ ด และตัดกบเส้
เริ่ มต้นจากจุดกาเนิ ั น MP ปริ มาณแรงงานตั้ งแต่ 0-4 คน
ในขณะที่ AP กาลั ํ งมีค่าเพิ่มขึ้ นนี้ จะมีค่าน้อยกวา่ MP ดังนั้ นในขั้นที่หนึ่ง การที่ AP เพิ่มขึ้ น จะทํา
่ ่
ให้ตน้ ทุนเฉลี่ยตอหนวยของผลผลิ ตลดลง
ขั้นตอนการผลิตทีส่ อง (Stage II ) : ขั้นตอนที่สองนี้ จะเริ่ มต้นจากจุดที่ AP มี
่ งสุ ดและตัดกบเส้
คาสู ั น MP ไปจนกระทัง่ ถึงจุดที่ MP มีคาเทากบศู่ ่ ั นย์ ซึ่งเป็ นขั้นที่คาของ
่ AP และ
MP ลดลง แต่ MP ยังมีค่าเป็ นบวก ดังนั้ นในขั้ นนี้ ผลผลิตรวมจะเพิ่มขึ้ นเรื่ อยๆจนถึงจุดสู งสุ ด
ปริ มาณแรงงาน 4 – 7 คน
ขั้นตอนการผลิตทีส่ าม (Stage III) : ขั้ นตอนนี้เริ่ มต้นที่ MP มีค่าเป็ นศูนย์ และคา่

ของผลผลิตรวมลดลงไปเรื่ อยๆ ดังนั้ นในขั้นนี้ จึงไมเหมาะสมสํ าหรับทําการผลิตสิ นค้าและบริ การ
่ นผูผ้ ลิตสิ นค้าและบริ การ ควรจะเลือกขั้นตอนการผลิตทีส่ อง จึงจะ
สรุ ปถ้าทานเป็

ถือวาเหมาะสมที ่สุด โดยเฉพาะทีจ่ ุดการใช้ ปัจจัยแรงงาน 7 คน จะทําให้ ได้ รับปริมาณผลผลิต
สงสด
ู ุ และผลผลิตเพิม่ (MP)เท่ ากับศนย์ ู

กฎว่ าด้ วยการลดน้ อยถอยลง(Law of Diminishing Return ) : เป็ นสภาวะการณ์ ที่


เมื่อหน่ วยผลิตเพิม่ ปัจจัยผันแปรไปทีละ 1 หน่ วย จะทําให้ ผลผลิตรวม(TP)เพิม่ ขึน้ ไปจนถึงระดับ
หนึ่ง หลังจากนั้นผลผลิตเพิม่ (MP)จะเพิม่ ในอัตราทีล่ ดลง เชน่ การใช้ปัจจัยแรงงานตั้ งแต่ 1-3 คน

คาของ ่
MP จะเพิ่มขึ้ น จึงเรี ยกวาผลตอบแทนเพิ่ม(Increasing Return) การใช้ปัจจัยแรงงาน ตั้ งแต่ 4-

7 คาของ MP จะลดลง จึงเรี ยกวา่ Diminishing Return และ การใช้ปัจจัยแรงงานเกนกวาิ ่ 8 คนเป็ น

ต้นไป คาของ MP จะติดลบเรี ยกวา่ Decreasing Return จึงไมเหมาะสมอยางยิ
่ ่ ง่ ที่จะใช้ปัจจัยแรงงาน
ระดับนี้ ในการผลิตอีกตอไป ่

126 EC 111
6.1.2. การผลิตในระยะยาว : ใช้การศึกษาทฤษฎีการผลิต ตามหลักผลผลิตเทากน ่ ั
และต้นทุนเทากน ่ ั (Isoquant-Isocost Approach) ในการอธิบายการผลิต
่ ่
เส้ นผลผลิตเท่ ากัน (Isoquant curve : ISQ) คือ เส้นที่แสดงสวนผสมตางๆของ
การใช้ปัจจัยการผลิต 2 ชนิด ที่ทาํ ให้ได้รับผลผลิตเทากน ่ ั พิจารณาจากตารางที่ 6.2 และ รู ปภาพที่
่ ้
6.4 ข้างลางนี

ตารางที่ 6.2 สวนผสมของการใช้ ปัจจัย X และ Y ในการผลิตที่ทาํ ให้ได้ผลผลิต 100 หนวย่

สวนผสม ปั จจัย X ปั จจัย Y
A 0 25
B 1 16
C 2 9
D 3 4
E 4 1
F 5 0
รู ปภาพที่ 6.4 เส้นผลผลิตเทากน่ ั
ปั จจัย Y
25 A

16 B ่ ั (ISQ) = 100 หนวย


เส้นผลผลิตเทากน ่
9 C

4 D
1 E
0 F ปั จจัย X
1 2 3 4 5
่่
อธิบายรู ปภาพที่ 6.4 ผูผ้ ลิตสิ นค้าใช้ปัจจัย X และ Y ไมวาจะเป็ ่
นสวนผสม ใด
ตั้ งแต่ A , B , C , D และ E จะทําให้ได้รับผลผลิตในสิ นค้า เท่ากบจํ ั านวน 100 หนวยเทากนหมด
่ ่ ั
เชน่ ที่จุด A ใช้ปัจจัย X = 0 หนวยและปั
่ จจัย Y = 25 หนวย ่ หรื อ จุด C ใช้ปัจจัย X = 2 หนวย

และปั จจัย Y = 9 หนวย ่ เป็ นต้น
EC 111 127

ลักษณะของเส้ นผลผลิตเท่ ากัน : จะมีลกั ษณะที่สาํ คัญ ดังตอไปนี

ํ ด:
(1) เส้ นผลผลิตเท่ ากัน จะมีลกั ษณะทอดลงจากซ้ายไปขวา เว้าเข้าหาจุดกาเนิ
่ นการใช้ปัจจัย X และปั จจัย Y ทดแทนกนได้
แสดงวาเป็ ั ไมสมบู
่ รณ์ เป็ นการทดแทนในสัดสวนไม
่ ่
่ ั เชน่ เพิม่ ปัจจัย X จํานวน 1 หนวย
เทากน ่ ต้องลดปั จจัย Y จํานวน 5 หนวย ่
ปั จจัย Y

ISQ0
0 ปั จจัย X
(2) เส้ นผลผลิตเท่ ากัน แบบเป็ นเส้ นตรง ทอดลงจากซ้ายไปขวา : แสดงให้เห็น
เป็ นการใช้ปัจจัย X และ ปัจจัย Y ทดแทนกนได้ ั สมบูรณ์หรื อในสัดสวนเทากน
่ ่ ั เชน่ เพิ่มปัจจัย X
จํานวน 1 หนวย ่ ต้องลดปัจจัย Y จํานวน 1 หนวยเทากน
่ ่ ั
ปั จจัย Y

ISQ0
0 ปั จจัย X
(3) เส้ นผลผลิตเท่ ากัน แบบคล้ายรปตั
ู วแอล หรื อ เส้นตั้ งฉากหักมุม : แสดงให้เห็น
วา่ ปัจจัย X และ ปั จจัย Y ใช้ทดแทนกนไมได้
ั ่ เลย เป็ นปัจจัยการผลิตที่ใช้ประกอบกนั
ปั จจัย Y

ISQ0

0 ปั จจัย X

128 EC 111
(4) เส้ นผลผลิตเท่ ากัน จะเป็ นเส้ นต่ อเนื่องไม่ ขาดตอน และเส้นที่อยูส่ ูงกวา่ จะแสดงวา่
มีจาํ นวนผลผลิตมากกวา่
ปั จจัย Y

ISQ3 = 300
ISQ2 = 200
ISQ1 = 100
0 ปั จจัย X
อัตราหน่ วยสดท้ ุ ายของการทดแทนกันของปัจจัยการผลิต(Marginal Rate of
Technical Substitution : MRTS ) คือ การหาคาเมื่ ่อเพิ่มปั จจัยการผลิตชนิดหนึ่ง จํานวน 1 หนวย่
จะต้องลดจํานวนปัจจัยอีกชนิดหนึ่ง จํานวนเทาใด ่ เพื่อให้ได้ผลผลิตเทากน่ ั
สู ตร MRTSxy = - ∆Y .
∆X

กาหนดให้ ∆X คือการเปลี่ยนแปลงการใช้ปัจจัย X เพิม่ จํานวน 1 หนวย ่
∆Y คือการเปลี่ยนแปลงการใช้ปัจจัย Y ลดลงจํานวนเทาใด ่
ตารางที่ 6.3 อัตราหนวยสุ ่ ดท้ายการทดแทนกนของปั ั จจัย X กบปั ั จจัย Y

สวนผสม ปั จจัย X ∆X ปั จจัย Y ∆Y MRTSxy
A 0 - 25 - -
B 1 1 16 -9 -9
C 2 1 9 -7 -7
D 3 1 4 -5 -5
E 4 1 1 -3 -3
F 5 1 0 -1 -1
อธิบายตารางที่ 6.3 ที่ส่ วนประกอบ C คาของ ่ MRTSxy = - ∆Y/∆X = - 7 / 1 = - 7
่ จะต้องลดการใช้ปัจจัย Y จํานวน 7 หนวย
แสดงให้เห็นวา่ เมื่อเพิม่ การใช้ปัจจัย X จํานวน 1 หนวย ่
EC 111 129
่ ่
ุ ากัน (Isocost curve : ISC) คือ เส้นที่แสดงสวนผสมตางๆของการใช้
เส้ นต้ นทนเท่
่ ั
ปั จจัยการผลิต 2 ชนิด ที่ทาํ ให้ผผู ้ ลิตมีตน้ ทุนเทากน

รู ปภาพที่ 6.4 เส้นต้นทุนการผลิต(ISC)

ปั จจัย Y
C . = 30 A
Py
14 C

B
0 8 C . = 15 ปั จจัย X
Px

ต้นทุนทั้ งหมด = ราคาปัจจัย X x จํานวนปั จจัย X + ราคาปัจจัย Y x จํานวนปั จจัย Y


Total Cost = Px X Qx + Py X Qy
ต้นทุนทั้ งหมด ณ จุด C = 10 X 8 + 5 X 14
= 80 + 70
= 150 บาท

่ ั 10 บาท/หนวย
สมมติว่า ราคาปัจจัย X เทากบ ่ และ ราคาปั จจัย Y เทากบ ่ ถ้าทุกจุดบน
่ ั 5 บาท/หนวย

เส้น ISC จะแสดงสวนผสมการใช้ ปัจจัย X กบั Y ที่ทาํ ให้มีตน้ ทุนเทากบ
่ ั 150 บาท ที่จุด A จะใช้
่ ั 30 หนวยและปั
ปั จจัย Y เทากบ ่ ่ ั 0 หนวย
จจัย X เทากบ ่ ที่จุด B จะใช้ปัจจัย X เทากบ่ ั 15 หนวยและ

่ ั 0 หนว่ย หรื อที่จุด C จะใช้ปัจจัย X เทากบ
ปั จจัย Y เทากบ ่ ั 8 หนวย ่ และปัจจัย Y เทากบ
่ ั 14 หนวย

่ ั 150 บาทเทากน
ทั้ งหมดจะมีตน้ ทุนเทากบ ่ ั

130 EC 111
ุ ากัน ใน 3 กรณี : มีลกั ษณะดังตอไป
การเคลือ่ นย้ ายเส้ นต้ นทนเท่ ่ นี้
(1) กรณีเส้ นต้ นทนเท่
ุ ากันเคลือ่ นย้ ายทั้งเส้ น : เพิม่ ขึ้ น หรื อลดลง
ปั จจัย Y C รู ปภาพที่ 6.5 เส้นต้นทุนเคลื่อนย้ายทั้ งเส้น
A
E

0 F B D ปั จจัย X

อธิบายรู ปภาพที่ 6.5 เริ่ มต้นเส้นต้นทุนคือ เส้น AB ถ้ามีการเคลื่อนย้ายทั้ งเส้นต้นทุน


ไปทางขวามือ CD แสดงวามี ่ การใช้ปัจจัย X และ Y เพิ่มขึ้ น จะทําให้ตน้ ทุนเทากน ่ ั ของการใช้
ปั จจัยเพิ่มขึ้ นด้วย แตถ้่ าเส้นต้นทุนเทากนเคลื
่ ั ่อนย้ายไปทางซ้ายมือ EF จะทําให้มีการใช้ปัจจัย X
และ Y ลดลง จะทําให้ตน้ ทุนการใช้ปัจจัยลดลงตามมาเชนกน ่ ั

(2) กรณีราคาปัจจัย X เพิม่ หรือ ลด (ราคาปัจจัย Y คงที่) : จะมีผลดังตอไปนี ้
่ ั ่อนย้าย กรณี ราคาปัจจัย X เปลี่ยนแปลง
รู ปภาพที่ 6.6 เส้นต้นทุนเทากนเคลื
ปั จจัย Y
A

D B C
0 8 10 12 ปั จจัย X
่ ั เคลื่อนย้ายจาก
อธิบายรู ปภาพที่ 6.6 ถ้าราคาปัจจัย X เพิม่ จะทําให้เส้นต้นทุนเทากน
AB เป็ น AD แตถ้่ าราคาปั จจัย X ลดลง จะทําให้เส้นต้นทุนเทากนเคลื
่ ั ่อนย้ายจาก AB เป็ น AC

EC 111 131

(3) กรณีราคาปัจจัย Y เพิม่ หรือ ลด (ราคาปัจจัย X คงที่) จะมีผลดังตอไปนี

รู ปภาพที่ 6.7 เส้นต้นทุนเคลื่อนย้าย กรณี ราคาปัจจัย Y เปลี่ยนแปลง
ปั จจัย Y
D
B
C

0 A ปั จจัย X
่ ั ายจาก
อธิบายรู ปภาพที่ 6.7 ถ้าราคาปัจจัย Y ลดลง จะทําให้เส้นต้นทุนเทากนย้
AB เป็ น AD แตถ้่ าราคาปั จจัย Y เพิ่มขึ้ น จะทําให้เส้นต้นทุนเทากน
่ ั เคลื่อนย้ายจาก AB เป็ น AC
ดลยภาพของผ้
ุ ูผลิตสิ นค้ า(Producer s Equilibrium) คือ จุดที่มีการใช้ปัจจัยการผลิตที่
เหมาะสมที่สุด ทําให้ผผู ้ ลิตเสี ยต้นทุนตํ่าที่สุด หรื อได้ผลผลิตจํานวนมากที่สุด สามารถแสดงได้

รู ปภาพดังตอไปนี ้
(1) กรณี การผลิตที่เสี ยต้นทุนตํ่าที่สุด ภายใต้ผลผลิตจํานวนหนึ่ง
รู ปภาพที่ 6.8 ดุลยภาพของผูผ้ ลิต กรณี เสี ยต้นทุนตํ่าที่สุด
ปั จจัย Y
D

Y1 E C ISQ1 = 100

0 ISC1 ISC2 ISC3 ปั จจัย X


X1
อธิบายรู ปภาพที่ 6.8 จุดดุลยภาพของผูผ้ ลิตคือ จุด E ซึ่งเส้น ISQ1 สัมผัสกบเส้ ั น ISC2
แสดงให้เห็นผูผ้ ลิตใช้ปัจจัย X = X1 และ ปั จจัย Y = Y1 ได้รับผลผลิตจํานวน 100 หนวย ่ การ
่ ด E เป็ นจุดที่เสี ยต้นทุนตํ่าที่สุด ซึ่งอยูบ่ นเส้น ISQ1 และISC2 โดยการเปรี ยบกบจุ
วิเคราะห์วาจุ ั ดC
และ D เดียวกนั แม้วาจะอยู่ บ่ นเส้น ISQ1 เชนกน ่ ั แตเมื ่ ่อดูตน้ ทุนที่จุดทั้ งสองอยูบ่ นเส้นต้นทุน
่ น ISC2
ISC3 ซึ่งมีตน้ สูงกวาเส้
132 EC 111
(2) กรณีการผลิตทีใ่ ห้ ผลผลิตมากทีส่ ุ ด ภายใต้ตน้ ทุนการผลิตจํานวนหนึ่ง
รู ปภาพที่ 6.9 ดุลยภาพของผูผ้ ลิต กรณี การผลิตที่ให้ผลผลิตมากที่สุด
ปั จจัย Y
D

E ISQ3 = 300
Y1 ISQ2 = 200
C ISQ1 = 100
0 ISC1 ปั จจัย X
X1
อธิบายรู ปภาพที่ 6.9 จุด E เป็ นจุดที่เส้น ISQ2 สัมผัสกบั เส้น ISC1 มีการใช้ปัจจัย X
= X1 และ ปัจจัย Y = Y1 ให้ผลผลิตเทากบ ่ ั 200 หนวย ่ บนเส้น ISQ2 การวิเคราะห์วาจุ่ ด E ให้
ผลผลิตสูงสุ ด โดยการเปรี ยบเทียบกบจุ ั ด C และ D ซึ่งมีตน้ ทุนเทากบจุ
่ ั ด E แตจุ่ ด C และ D อยูบ่ น
เส้น ISQ1 ให้ผลผลิตเทากบ ่ ั 100 หนวย ่ จึงน้อยกวาผลผลิ
่ ตที่จุด E บนเส้น ISQ2
เส้ นแนวทางขยายการผลิตทีเ่ หมาะสม (Expansion Path) คือ เส้นลากผานจุ ่ ดดุลย
ภาพของผูผ้ ลิตหลายๆจุดที่เส้น ISQ สัมผัสกบเส้ ั น ISC ซึ่งถ้ามีการขยายการผลิตไปตามแนวเส้นนี้
็ าให้ผผู ้ ลิตได้ประโยชน์สูงที่สุด ดังแสดงด้วยรู ปภาพข้างลางนี
กจะทํ ่ ้
รู ปภาพที่ 6.10 เส้นแนวทางขยายการผลิตที่เหมาะสม
ปั จจัย Y
Expansion Path

E3 ISQ3
E2 ISQ2
E1 ISQ1

0 ISC1 ISC2 ISC3 ปั จจัย X

EC 111 133
อธิบายรู ปภาพที่ 6.10 จุดดุลยภาพของหนวยธุ ่ รกจิ มีอยู่ 3 จุดคือ จุด E1 , E2 และ
E3 ซึ่งเป็ นจุดที่เส้นผลผลิต(ISQ) สัมผัสกบเส้ ั นต้นทุน(ISC) ถือวาจะได้
่ ่ นการเลือกผลิตที่ได้
วาเป็
ประโยชน์สูงสุ ด ดังนั้ นถ้าเลือกขยายการผลิต ตามจุดดังกลาวนี ่ ้ จึงเป็ นการขยายการผลิตที่
เหมาะสมด้วย
หลักว่ าด้ วยผลตอบแทนต่ อขนาด(Principle of Returns to Scale) คือ หลักการอธิบาย
การเปลี่ยนแปลงจํานวนผลผลิตรวม จากการขยายขนาดการผลิตออกไปในระยะยาวโดยการเพิม่
จํานวนปัจจัยการผลิตทุกอยางในสั่ ่ ยวกนั (จินตนาและบุญธรรม,2550, หน้า 154-155)
ดสวนเดี
ผลตอบแทนตอขนาด ่ (Return to Scale) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงจํานวนผลผลิต เมื่อ

ปั จจัยการผลิตทุกยางเปลี ่ยนแปลงในอัตราเดียวกนั สามารถเขียนเป็ นฟังกชั์ น่ คณิ ตศาสตร์ได้ดงั นี้

Q=f( 1 X1 + 2 X2 )

กาหนดให้ Q คือ ปริ มาณผลผลิตรวม
X1 , X2 คือ ปริ มาณปัจจัยการผลิต
คือ ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงจํานวนผลผลิต
คือ ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงจํานวนปัจจัยการผลิต
การเปลีย่ นแปลงของผลตอบแทนต่ อขนาดมี 3 ลักษณะ คือ

(1) ผลตอบแทนต่ อขนาดเพิม่ ขึน้ (Increasing Returns to Scale) : คาของ >

รู ปภาพที่ 6.11 ผลตอบแทนตอขนาดเพิ ่มขึ้ น
ปั จจัย Y

12 B ISQ3 = 160
A ISQ2 = 120
10 ISQ1 = 100

0 10 12 ปั จจัย X

134 EC 111
อธิบายรู ปภาพที่ 6.11 เริ่ มต้นจากที่จุด A ใช้ปัจจัย X และ Y เทากน ่ ั 10 หนวย
่ ทํา
ให้ได้ผลผลิต(ISQ1) = 100 หนวย ่ ตอมาเพิ
่ ม่ ปัจจัย X และ Y ร้อยละ 20 จากจํานวน 10 หนวยเป็่ น
12 หนวย่ ที่จุด B จะทําให้ได้ผลผลิต(ISQ3) = 160 หนวย ่ เพิม่ ขึ้ นร้อยละ 60 จึงเรี ยกวา่

ผลตอบแทนตอขนาดเพิ ม่ ขึ้ น (Increasing Returns to scale)
(2) ผลตอบแทนต่ อขนาดคงที่ (Constant Returns to Scale) : คาของ ่ =
ปั จจัย Y ่
รู ปภาพที่ 6.12 ผลตอบแทนตอขนาดคงที ่

12 B ISQ2 = 120

10 A ISQ1 = 100

0 ปั จจัย X
10 12
อธิบายรู ปภาพที่ 6.12 เมื่อพิจารณาเปรี ยบเทียบระหวาง่ จุด A กบั B มีการใช้
ปั จจัยการผลิต X และ Y จํานวน 10 หนวย ่ ได้ผลผลิต(ISQ1) = 100 หนวย่ ตอมาที
่ ่จุด B มีการเพิม่
ปั จจัย X และ Y ร้อยละ 20 ทําให้รับผลผลิต(ISQ2) = 120 หนวย ่ ยวกนั
่ เพิ่มจากเดิมร้อยละ 20 เชนเดี
เราจึงเรี ยกวา่ ผลตอบแทนตอขนาดคงที
่ ่ (Constant Returns to scale)
(3) ผลตอบแทนต่ อขนาดลดลง (Decreasing Returns to Scale) : จะมีค่า <
ปั จจัย Y ่
รู ปภาพที่ 6.12 ผลตอบแทนตอขนาดลดลง

14 B
ISQ2 = 120
10 A
ISQ1 = 100
0 ปั จจัย X
10 14
EC 111 135
อธิบายรู ปภาพที่ 6.12 พิจารณาเปรี ยบเทียบจุด A กบั B เริ่ มต้นจากจุด A ใช้
ปั จจัย X และ Y จํานวน 10 หนวย ่ ได้รับผลผลิต(ISQ1) = 100 หนวย ่ ตอมาที
่ ่จุด B เพิม่ ปัจจัย X
และ Y เป็ นจํานวน 14 หนวย ่ เพิ่มร้อยละ 40 ทําให้ผลผลิต(ISQ2)เพิ่ม เป็ น = 120 หนวย ่ เพิ่มขึ้ น
ร้อยละ 20 เราเรี ยกวา่ ผลผลตอบแทนตอขนาดลดลง
่ (Decreasing Return to scale)

6.2 รายรับจากการผลิต (Revenue )


รายรับจากการผลิต หมายถึง รายรับที่ผผู ้ ลิตได้รับจากการขายผลผลิต จํานวนหนึ่ง
ณ ราคาตลาดขณะนั้ น

6.2.1. ประเภทรายรับจากการผลิต : มีลกั ษณะดังตอไปนี ้

(1) รายรับทั้งหมด (Total Revenue : TR) คือ รายรับที่เกดจากการขายผลผลิ ต
่ ่ คูณ ปริ มาณผลผลิตที่ขายได้
ทั้ งนี้ โดยการนําราคาตอหนวย

TR = P x Q

กาหนดให้ ่ ่
P คือ ราคาผลผลิตตอหนวย Q คือ ปริ มาณผลผลิตที่ขายได้

่ ่
(2) รายรับเฉลีย่ (Average Revenue : AR) คือ รายรับทั้ งหมดเฉลี่ยตอหนวยของ

ผลผลิตที่ขายได้ การคํานวณหาคาจาก รายรับทั้ งหมด หารด้วยปริ มาณผลผลิต
AR = TR/ Q = P . Q / Q = P

(3) รายรับเพิม่ (Marginal Revenue : MR) คือ การเปลี่ยนแปลงรายรับทั้ งหมด


เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผลผลิต จํานวน 1 หนวย ่
MR = ∆TR / ∆Q


กาหนดให้ ∆TR คือ การเปลี่ยนแปลงรายรับทั้ งหมด
∆Q คือ การเปลี่ยนแปลงผลผลิต 1 หนวย ่

136 EC 111
6.2.2. ความสัมพันธ์ระหวาง่ TR , AR , และ MR
(1) กรณีราคาผลผลิตเฉลีย่ ต่ อหน่ วยเท่ ากัน : พิจารณาจากตารางที่ 6.4

ตารางที่ 6.4 การหาคาของ TR , AR และ MR กรณี ราคาผลผลิตตอหนวยเทากน่ ่ ่ ั
ปริ มาณผลผลิต ราคาตอหนวย ่ ่ รายรับรวม รายรับเฉลี่ย รายรับเพิ่ม
Q P(บาท) TR AR MR
1 5 5 5 5
2 5 10 5 5
3 5 15 5 5
4 5 20 5 5
5 5 25 5 5
6 5 30 5 5
7 5 35 5 5
8 5 40 5 5

รู ปภาพที่ 6.13 เส้น TR , AR และ MR


รายรับ TR

5 AR = MR = P

0 ปริ มาณผลผลิต

ํ ด
อธิบายรู ปภาพที่ 6.13 ลักษณะของเส้น TR จะเป็ นเส้นตรงที่เริ่ มจากจุดกาเนิ

มีความชัน(Slope) เป็ นบวก และ เส้นตรงที่ขนานกบแกนนอนเป็ นทั้ งเส้น AR , MR ด้วย

EC 111 137
่ ้
(2) กรณีราคาผลผลิตต่ อหน่ วยไม่ เท่ ากัน : พิจารณาจากตาราง และรู ปภาพข้างลางนี


ตารางที่ 6.5 การคาของ ่ ่ ั
TR , AR และ MR กรณี ราคาผลผลิตไมเทากน

ปริ มาณผลผลิต ่ ่
ราคาตอหนวย รายรับรวม รายรับเฉลี่ย รายรับเพิ่ม
Q P (บาท) TR AR MR
1 8 8 8 8
2 7 14 7 6
3 6 18 6 4
4 5 20 5 2
5 4 20 4 0
6 3 18 3 -2
7 2 14 2 -4
8 1 8 1 -6

รู ปภาพที่ 6.14 เส้น TR , AR และ MR


รายรับ A
20

TR

8
AR
0 ปริ มาณผลผลิต
1 5 MR

138 EC 111
อธิบายรู ปภาพที่ 6.4 เส้น TR เป็ นลักษณะเส้นโค้งมีคาเพิ ่ ม่ ขึ้ นและไปถึงจุดสูงสุ ด
ที่จุด A หลังจากนั้ นรายรับรวมจะลดลงตลอด เส้น AR เริ่ มต้นจะมีค่าสูงและลดลงตลอดเมื่อ
ปริ มาณผลผลิตเพิ่มขึ้ น แตอยู ่ เ่ ส้น MR และเส้น MR เริ่ มต้นจะมีค่าเป็ นบวกและลดลงไปตาม
ปริ มาณผลผลิต จนกระทัง่ เป็ นศูนย์ เมื่อคา่ TR สู งสุ ด และคา่ MR หลังจากนี้ จะติดลบ
6.3 ต้ นทนการผลิ
ุ ต (Cost of Production)
ต้นทุนการผลิตสิ นค้าและบริ การเกดขึ ิ ้ นจากทรัพยากรซึ่งเป็ นสิ่ งที่หาได้ยาก เพราะ
ทรัพยากรมีทางเลือกในการนําไปใช้ผลิตสิ นค้า ต้องมีการสละโอกาสในทางเลือกของทรัพยากรเพื่อ
ใช้ในวัตถุประสงค์อื่นๆ ดังนั้ นการวัดต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์(Economic Cost) หรื อต้นทุนคาเ่สี ย
โอกาส(Opportunity Cost) ของการใช้ทรัพยากรในการผลิตสิ นค้าคือ มูลคาของทรั ่ พยากรที่จะถูก
นําไปใช้ในทางเลือกที่ดีที่สุดนัน่ เอง
ต้ นทนทางบั
ุ ญชี และต้ นทนทางเศรษฐศาสตร์
ุ : ความหมาย
(1) ต้ นทนทางบั ุ ญชี คือ ค่าใช้จ่ายตางๆที ่ ่เกดขึ ิ ้ นจากการผลิตสิ นค้าและบริ การ ที่
ผูผ้ ลิตใช้จ่ายออกไปจริ ง เชน่ คานํ ่ ้ า คาไฟฟ้
่ ่
า คาแรงงาน ่ ตถุดิบ เป็ นต้น ทําให้ผผู ้ ลิตมีการบันทึก
คาวั
ตัวเลขคาใช้่ จ่ายในบัญชีที่ใช้จ่ายไปจริ ง บางครั้ งเรี ยกวา่ ต้นทุนที่มองเห็นได้(Explicit Cost)
(2) ต้ นทนทางเ
ุ ศรษฐศาสตร์ คือ คาใช้่ จ่ายในผลผลิตสิ นค้าและบริ การ ทั้ งที่จ่ายออก
ไปจริ ง และไมได้่ จ่ายออกไปจริ ง จึงประกอบด้วย
ก. ต้ นทนที ุ ม่ องเห็นได้ (Explicit Cost) หรื อ ต้นทุนทางบัญชี ที่กลาวรายละเอี ่ ยด
ไปแล้ว
ข. ต้ นทนที ุ ม่ องไม่ เห็น (Implicit Cost) คือ คาใชจายที ่ ่ ่ ่ผผู ้ ลิตได้นาํ ปัจจัยการผลิต
ของตนเองมาใช้ในการผลิตสิ นค้าและบริ การ เชน่ นําที่อยูอ่ าศัยมาทําร้านค้า , ใช้แรงงานตนเอง ,นํา
เงินทุนมาลงทุน ในทางเศรษฐศาสตร์สิ่ งเหลานี ่ ้ ตอ้ งคิดเป็ นคาใช้่ จ่ายหรื อต้นทุนการผลิตในรู ปของ
่ ่ คาจ้
คาเชา ่ าง และ ดอกเบี้ ย เป็ นต้น เพราะวาปั ่ จจัยเหลานี ่ ้ เมื่อนําไปใช้ที่อื่นจะได้รับคาตอบแทน

(3) ต้ นทนค่ ุ าเสี ยโอกาส(Opportunity Cost) คือ จากการที่ปัจจัยการผลิตถูกนําไป
ผลิตสิ นค้าชนิดหนึ่ง ทําให้เสี ยโอกาสที่จะถูกนําไปใช้ในผลิตสิ นค้าอีกชนิดหนึ่ง การเสี ยโอกาส
ของปัจจัยจึงต้องคิดเป็ นต้นทุนการผลิตในมุมมองของนักเศรษฐศาสตร์ วิธีคิดคาเสี ่ ยโอกาสจะมี
หลักคิดที่คล้ายกบต้ั นทุนที่มองไมเห็ ่ น และไมเหมื ่ อนกนั เชน่ นายแดงจบการศึกษาระดับปริ ญญา
ตรี ทางเศรษฐศาสตร์ มีทางเลือกจะได้งานทํา 2 แหงคื ่ อ ทํางานธนาคาร เงินเดือน 12,000 บาท หรื อ

EC 111 139
่ ่ ง เงินเดือน 10,000 บาท นายแดงจึงเลือกทํางานธนาคาร ดังนั้น
ทํางานบริ ษทั ขายตรงแหงหนึ
ต้ นทนค่
ุ าเสี ยโอกาสคือ เงินเดือนของการทํางานบริษทั ขายตรงนั่นเอง
รู ปภาพที่ 6.15 แสดงแนวคิดของต้นทุนทางบัญชีและต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์


กาไรทางเศรษฐศาสตร์

กาไร
่ น (รวม
ต้นทุนที่มองไมเห็ รายรับรวม ทางบัญชี

กาไรปกติ ) ( TR )

ต้นทุนที่มองเห็นได้ ต้นทุนทางบัญชี
Explicit Cost (เฉพาะต้นทุนที่มองเห็นได้)

6.3.1. ต้ นทนการผลิ
ุ ตในระยะสั้ น (Short-Run Production Cost) : ความหมาย
(1) ต้ นทนคงที
ุ ่ จ่ายจากการใช้ปัจจัยการผลิต
่ (Total Fixed Cost : TFC) คือ คาใช้
่ เปลี่ยนแปลงไปตามปริ มาณผลผลิต รวมทั้ งไมทํ่ าการผลิตด้วย ได้แก่ คาเชาที
คงที่ที่ไมได้ ่ ่ ่ดิน คา่
่ างอาคาร สํานักงาน เครื่ องจักรและเครื่ องมือตางๆ
กอสร้ ่ เป็ นต้น
(2) ต้ นทนผั
ุ นแปร(Total Variable Cost : TVC) คือ คาใช้ ่ จ่ายจากการใช้ปัจจัย
ผันแปร ที่จะเปลี่ยนแปลงไปตามปริ มาณผลผลิตมากหรื อน้อย แตถ้่ าไมผลิ ่ ตกจะไมมี
็ ่ รายจายนี
่ ้
ได้แก่ คาใช้
่ จ่ายในวัตถุดิบ นํ้ ามัน พลังงาน การขนสงและบริ ่ การ เป็ นต้น
(3) ต้ นทนรวมุ (Total Cost : TC) คือ คาใช้่ จ่ายจากการใช้ปัจจัยคงที่ รวมกบ
่ ั
ปั จจัยผันแปร ในการผลิตทั้ งหมด
TC = TFC + TVC
(4) ต้ นทนคงที
ุ เ่ ฉลีย่ (Average fixed cost : AFC) คือ ต้นทุนคงที่ท้ งั หมด เฉลี่ย
ตอ่ 1 หนวยของผลผลิ
่ ต AFC = TFC .
Q
140 EC 111
(5) ต้ นทนผัุ นแปรเฉลีย่ (Average variable cost : AVC) คือ ต้นทุนผันแปร

ทั้ งหมดเฉลี่ย 1 หนวยของผลผลิ ต
AVC = TVC .
Q
(6) ต้ นทนรวมเฉลี
ุ ย่ (Average Total Cost : ATC ) คือ ต้นทุนรวมทั้ งหมดเฉลี่ย
ตอ่ 1 หนวยของผลผลิ
่ ต
ATC = AFC + AVC . = TC .
Q Q
(7) ต้ นทนหน่
ุ วยเพิม่ (Marginal cost : MC) คือ ต้นทุนทั้ งหมดที่เปลี่ยนแปลงไป
เมื่อเพิม่ ผลผลิต 1 หนวย่
MC = ∆TC .
∆Q
ตารางที่ 6.6 การหาคาของ ่ TFC , TVC , TC , AFC , AVC , ATC และ MC
Q TFC TVC TC AFC AVC ATC MC
0 100 0 100 - - - -
1 100 90 190 100 90.00 190.00 90
2 100 170 270 50.00 85.00 135.00 80
3 100 240 340 33.33 80.00 113.00 70
4 100 300 400 25.00 75.00 100.00 60
5 100 370 470 20.00 74.00 94.00 70
6 100 450 550 16.67 75.00 91..67 80
7 100 540 640 14.29 77.14 91.43 90
8 100 650 750 12.50 81.25 93.75 110
9 100 780 880 11.11 86.67 97.78 130
10 100 930 1,030 10.00 93.00 103.00 150

EC 111 141
รู ปภาพที่ 6. 15 เส้นต้นทุน TFC , TVC และ TC
รู ปภาพ A
ต้นทุน TC

TVC

TFC
100
0 ปริ มาณผลผลิต

รู ปภาพ B
ต้นทุน MC
ATC

AVC

AFC
0 ปริ มาณผลผลิต


อธิบายรู ปภาพที่ 6.15 A ลักษณะของเส้น TFC เป็ นเส้นตรงขนานกบแกน
นอนเป็ นคาคงที ่ ่ตลอด เส้น TVC เป็ นเส้นที่มี Slope เป็ นบวก ทอดขึ้ นจากซ้ายไปขวามือ มีคา่
่ ั 100 และขนานกบเส้
เพิม่ ขึ้ นเรื่ อยๆ และเส้น TC มีจุดเริ่ มต้นจากระดับต้นทุนเทากบ ั น TVC ไป
่ ่
โดยตลอด ดังนั้ นชวงหางระหวาง ่ TVC กบั TC คือคาของ่ TFC = 100 นัน่เอง

142 EC 111
รู ปภาพ B เริ่ มต้นจากเส้น AFC จากที่มีค่าเฉลี่ยตอหนวยสู
่ ่ ง จะลดลงไปเรื่ อยๆ
ตามปริ มาณผลผลิตที่มากขึ้ น จะมีลกั ษณะเป็ นแบบ Rectangular Hyperbola โค้งเว้าเข้าหาจุดกาเนิ ํ ด

เส้น MC เป็ นเส้นที่ลกั ษณะรู ปตัวเจ (J) ชวงแรกจะมี ่ ง เมื่อปริ มาณผลผลิตมากขึ้ นจะมีคาลดลง
คาสู ่
จนถึงจุดตํ่าสุ ด หลังจากนั้ นจะมีค่ามากขึ้ น เส้น AVC เป็ นเส้นมีลกั ษณะคล้ายรู ปตัวยู ( U ) เริ่ มต้น
จากต้นทุนสู ง เมื่อปริ มาณผลผลิตมากขึ้ นจะลดลง ตัดกบเส้ ั น MC ที่จุดตํ่าสุ ด หลังจากนั้ นมีค่าเพิม่ ขึ้ น
และเส้น ATC จะมีลกั ษณะคล้ายกบเส้ ั น AVC โดยมีช่วงหางตามคาของ
่ ่ AFC เมื่อปริ มาณผลผลิต
มากขึ้ น
6.3.2. ต้ นทุนการผลิตระยะยาว(Long-Run Production Cost) : จากการศึกษาที่ผาน ่

มาเราทราบวาในระยะยาว จะมีการใช้ปัจจัยการผลิตผันแปรเทานั ่ ้ น สามารถเปลี่ยนขนาดการผลิต
การผลิตได้ ดังนั้ นผูผ้ ลิตจึงสามารถเลือกปริ มาณการผลิตในระดับใดและขนาดการผลิตแคไหน ่ ที่
จะทําให้ตน้ ทุนการผลิตตํ่าที่สุดได้ ดังรู ปภาพที่จะแสดงให้เห็นดังตอไปนี ่ ้

่ รกจิ
รู ปภาพที่ 6.16 เส้นต้นทุนเฉลี่ยในระยะสั้ น ตามขนาดการผลิตของหนวยธุ
ต้นทุนเฉลี่ย
ATC2 ATC3
E
B ATC1
A C D

0 100 200 300 ปริ มาณผลผลิต


อธิบายรู ปภาพที่ 6.16 แสดงเส้นต้นทุนเฉลี่ยในระยะสั้ น ของขนาดการผลิตตางๆ ่
3 ระดับ ณ ระดับการผลิต 100 หนวย ่ จะพบวาขนาดการผลิ
่ ่
ตที่ 1 จะตํ่ากวาขนาดการผลิ ตที่ 2
เปรี ยบเทียบจุด A และ B นอกจากนี้ ณ ระดับการผลิต 200 หนวย ่ จะมีตน้ ทุนตํ่าที่สุด ที่จุด C

หลังจากนั้ นขนาดการผลิตที่ 3 ต้นทุนเฉลี่ยจะมีระดับการผลิตสูงกวาขนาดการผลิ ตที่ 2 สรุ ปเมื่อ
พิจารณาจากต้นทุนเฉลี่ยของขนาดการผลิตทั้ ง 3 ขนาด ขนาดการผลิตที่ ATC2 เหมาะสมที่สุด

EC 111 143
รู ปภาพที่ 6.17 เส้นต้นทุนเฉลี่ยระยะยาว ที่มาจากเส้นทุนเฉลี่ยในระยะสั้ น

ต้นทุนเฉลี่ย SATC5
SATC1 LATC
SATC2
SATC3 SATC4

0 ปริ มาณผลผลิต
300

อธิบายรู ปภาพที่ 6.17 เส้นต้นเฉลี่ยระยะยาว(LATC) เกดมาจากเส้ นที่สมั ผัสจุด

ตํ่าสุ ดของเส้นต้นทุนเฉลี่ยระยะสั้ น แตละขนาดการผลิ ต ตั้ งแต่ SATC1 จนถึง SATC5 สรู ปวา่
ต้นทุนการผลิตระยะยาวที่เหมาะสม จะอยูท่ ี่จุดตํ่าสุ ดของขนาดการผลิตที่ 3 ที่มีตน้ ทุนเฉลี่ยระยะ
สั้ นเป็ น SATC3 ปริ มาณผลผลิต 300 หนวย ่ นัน่ เอง
่ อย 3 รู ปแบบ
ลักษณะของเส้ นต้ นทนุเฉลีย่ ระยะยาว(LATC) อาจเป็ นไปได้อยางน้

ดังตอไปนี ้

รู ปภาพที่ 6.18 แสดงเส้นต้นทุนเฉลี่ยระยะยาว รู ปแบบตางๆ
รู ปภาพ A
ต้นทุนทั้ งหมดเฉลี่ย

ประหยัดตอขนาด ่
ประหยัดตอขนาดคงที ่ ่
ไมประหยั ่
ดตอขนาด

LATC

0 ปริ มาณผลผลิต
100 200

144 EC 111
อธิบายรู ปภาพ 6.18 A ณ ปริ มาณการผลิตตั้ งแต่ 0 – 100 จะมีประหยัดการผลิต
ิ ้ นคือต้นทุนลดลงตลอด แต่ ณ ระดับการผลิต 100 – 200 หนวย
เกดขึ ่ จะเป็ นระยะที่มีการประหยัด

ตอขนาดคงที ่ บผลผลิต 200 หนวยขึ
่(ต้นทุนคงที่) และตั้ งแตระดั ่ ้ นไป จะไมเกดการประหยั
่ ิ ดจาก
ขนาดการผลิต เนื่องจากต้นทุนเฉลี่ยมีแนวโน้มสูงขึ้ นตลอด
รู ปภาพ B
ต้นทุนทั้ งหมดเฉลี่ย

LATC

ปริ มาณผลผลิต
0 200
อธิบายรู ปภาพ B เริ่ มต้นจากปริ มาณผลผลิตที่ 0 จนถึง 200 หนวย ่ เกดการ

ประหยัดจากขนาดการผลิตเกดขึ ่
ิ ้ นตลอด (ต้นทุนเฉลี่ยลดลง) จนถึงจุดตํ่าสุ ดที่ผลผลิต 200 หนวย
่ างยาวนาน และหลังจากนั้ นต้นทุนเฉลี่ยจะสูงขึ้ น จึงไม่เกิดการประหยัดจากขนาด
เป็ นระยะคอนข้
การผลิต
รู ปภาพ C
ต้นทุนทั้ งหมดเฉลี่ย

ปริ มาณผลผลิต
0 100

EC 111 145
อธิบายรู ป C แสดงวาต้ ่ นทุนทั้ งหมดเฉลี่ยลดลงคอนข้ ่ างรวดเร็ว จนถึงจุดต้นทุนตํ่าสุ ด ณ
ระดับผลผลิต 100 หนวย ่ และถ้ามีการขยายการผลิตออกไป ต้นทุนเฉลี่ยจะเพิม่ ขึ้ นอยางรวดเร็
่ วไมมี่
การประหยัดจากขนาดการผลิต
6.4 กําไรจากผลิต (Profit in production)

กําไรคือ สวนแตกตาง ่ ระหวาง
่ รายรับจากการขายผลผลิตกบั ต้นทุนทั้ งหมดที่

เกดจากการผลิ ต โดยสมการดังตอไปนี ่ ้
¶ = TR - TC

กาหนดใ ห้ ¶ คือ กาไรจากการผลิ
ํ ต
TR คือ รายรับรวมจากการผลิต
TC คือ ต้นทุนการผลิตทั้ งหมดจากการผลิต
ั ํ
คําจํากดความของกาไรจากการผลิ ต : แนวคิด 2 ลักษณะคือ

(1) กาไรทางบั ญชี = รายรับรวม - ต้นทุนทางบัญชี


(2) กาไรทางเศรษฐศาสตร์ = รายรับรวม - ต้นทุนทั้ งหมด
สําหรับต้นทุนทั้ งหมดจะประกอบด้วย
ต้นทุนทั้ งหมด = ต้นทุนที่มองเห็นได้ + ต้นทุนที่มองไมเห็ ่ น
Explicit Cost Implicit Cost

ตัวอย่ าง กจการแหงหนึ ่ ่ งผลิตเสื้ อเชิ้ต นําออกไปขายให้แกผู่ บ้ ริ โภค โดยมีรายรับรวมและต้นทุน
่ งตอไปนี
ตางๆดั ่ ้
กรณี การพิจารณากําไรทางบัญชี
(1) รายรับรวมจากการขายเสื้ อเชิ้ตทั้ งหมด จํานวน 300,000 บาท
(2) ต้นทุนรวมทั้ งหมด :
คาวั ่ ตถุดิบ 80,000 บาท
่ างและเงินเดือน
คาจ้ 150,000 บาท

คาไฟฟ้ าและโทรศัพท์ 20,000 บาท

คาโฆษณา 40,000 บาท
รวมต้นทุนที่มองเห็นได้ท้ งั หมด จํานวน 290,000 บาท

กาไรทางบั ญชี จํานวน 10,000 บาท
146 EC 111
กรณี การพิจารณากําไรทางเศรษฐศาสตร์
(1) รายรับจากการขายเสื้ อเชิ้ตทั้ งหมด จํานวน 300,000 บาท
(2) ต้นทุนทั้ งหมด : ประกอบด้วย
คาวั ่ ตถุดิบ 80,000 บาท
คาจ้่ างและเงินเดือน 150,000 บาท
คาไฟฟ้ ่ าและโทรศัพท์ 20,000 บาท

คาโฆษณา 40,000 บาท
รวมต้นทุนมองเห็นได้ท้ งั หมด 290,000 บาท

ผลตอบแทนการลงทุน 6,000 บาท


่ ่
คาเชาสถานที ่ของตนเอง 4,000 บาท
เงินเดือนของตนเอง 40,000 บาท
่ นทั้ งหมด 50,000 บาท
รวมต้นทุนที่มองไมเห็

รวมต้นทุนทั้ งหมด จํานวน 340,000 บาท



กาไรทางเศรษฐศาสตร์ จํานวน – 40,000 บาท

ประเภทของกําไร : มี 3 ลักษณะคือ
(1) ¶ = TR - TC > 0 กาไรเกนปกติ
ํ ิ
(2) ¶ = TR - TC = 0 กาไรปกติ

(3) ¶ = TR - TC < 0 ขาดทุน

EC 111 147
การกําหนดปริมาณผลผลิตทีท่ าํ ให้ หน่ วยธรกิ ู ุ : มี 3 ลักษณะดังนี้
ุ จมีกาํ ไรสงสด
(1) กรณีมีกาํ ไรเกินปกติ (Excess Profit)
่ รกจมี
รู ปภาพที่ 6.19 แสดงหนวยธุ ิ กาไรเกนปกติ
ํ ิ
รายรับและต้นทุน TC TR

0 Q0 ปริ มาณผลผลิต (Q)


MC และ MR MC

MR
0 Q0 ปริ มาณผลผลิต

กาไร


ระดับกาไรปกติ

0 Q0 ํ
กาไร ปริ มาณผลผลิต
่ รกจจะมี
อธิบายรู ปภาพที่ 6.19 การที่หนวยธุ ิ ํ ิ
กาไรเกนปกติ ให้ดูจากเงื่อนไขปริ มาณ
ผลผลิต จุดที่ MR = MC และ เส้น TR กบั TC มีช่วงหางกนมากที
่ ั ่สุด ดังรู ปภาพที่ 1 TR – TC > 0

148 EC 111
(2) กรณีกาํ ไรปกติ (Normal Profit)
่ รกจมี
รู ปภาพที่ 6.20 แสดงหนวยธุ ิ กาไรปกติ

TR , TC TC ํ
กาไร

TR

ระดับกาไรปกติ

0 Q0 ปริ มาณผลผลิต 0 Q0 ํ
กาไร ปริ มาณผลผลิต
่ รกจจะมี
อธิบายรู ปภาพที่ 6.20 หนวยธุ ิ กาไรปกติ
ํ ให้พิจารณาจากปริ มาณผลผลิต

Q0 ตรงจุดที่เส้น TR สัมผัส TC จึงทําให้ TR - TC = 0 มีกาไรเป็ นศูนย์

(3) กรณีขาดทนุ (Loss Profit)


่ รกจขาดทุ
รู ปภาพที่ 6.21 แสดงหนวยธุ ิ น
TR , TC TC ํ
กาไร

TR

ระดับกาไรปกติ

0 0
Q0 ปริ มาณผลผลิต Q0 ํ
กาไร ปริ มาณผลผลิต
่ รกจขาดทุ
รู ปภาพที่ 6.21 หนวยธุ ิ นจากการผลิต แสดงวา่ ณ ปริ มาณผลผลิตเทากบ
่ ั
Q0 ต้นทุนการผลิตรวม(TC) จะมีค่าสู งกวาเส้
่ นรายรับรวม(TR) แสดงวา่ TR – TC < 0 มีผล
ประกอบการขาดทุน

EC 111 149
คําถามท้ ายบท
จงเลือกคําตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ด เพียงคําตอบเดียว
1. ฟังกชั์ น่ การผลิต(Production Function) แสดงถึงความสัมพันธ์ระหวาง ่
(1) ปั จจัยการผลิตกบปั ั จจัยการผลิต (2) ปั จจัยการผลิตกบปริ ั มาณผลผลิต
(3) ปริ มาณผลผลิตกบปริ ั มาณผลผลิต (4) ปั จจัยคงที่กบปัั จจัยผันแปร
2. ข้อใดมิใชปั่ จจัยคงที่
(1) อาคารและโรงเรื อน (2) ที่ดิน
(3) เครื่ องจักรและเครื่ องมือ (4) วัตถุดิบใช้ในการผลิตสิ นค้า
3. การผลิตในระยะยาวมีปัจจัยผันแปรอยางเดี ่ ยว หมายความวาอยางไร ่ ่
(1) การเพิ่มปริ มาณการผลิต ทําได้โดยการเพิ่มวัตถุดิบเทานั ่ ้น
(2) การเพิม่ ปริ มาณผลผลิต ทําได้โดยการเพิม่ จํานวนแรงงานเทานั ่ ้น
(3) ปั จจัยการผลิตทุกชนิดเปลี่ยนแปลงได้
(4) การผลิตในระยะยาว ใช้ปัจจัยการผลิตน้อยชนิดกวาในระยะสั ่ ้น
4. ตัวเลือกในข้อใด ที่แสดงให้เห็นว่าเป็ นการผลิตขั้นที่ 2 ตามทฤษฎีการผลิตแบบดั้ งเดิม
(1) เริ่ มที่ MP ตัดกบั AP จนถึงคา่ MP เป็ นศูนย์ (2) TP เพิม่ ในอัตราที่เพิ่มขึ้ น
่ ่ MP มีค่ามากกวา่ AP
(3) ชวงที (4) TP มีค่าลดลง
5. ทฤษฎีการผลิตแบบดั้ งเดิม ตามขั้ นตอนการผลิตขั้นที่ 1 เมื่อเพิม่ ปัจจัยจะมีผลตอบแทนใน
ผลผลิตในลักษณะใด
(1) ผลตอบแทนแบบติดลบ (2) ผลตอบแทนลดน้อยถอยลง
(3) ผลตอบแทนเพิม่ ขึ้ น (4) ผลตอบแทนคงที่
6. ข้อใดมิใช่ คุณสมบัติของเส้นผลผลิตเท่ากนั
(1) มีความชันเป็ นลบ (2) ลาดลงจากซ้ายไปขวา ตอเนื ่ ่องไมขาดตอน

ํ ด
(3) โค้งเว้าเข้าจุดกาเนิ ั
(4) มีได้หลายเส้น และสามารถตัดกนได้
7. การเส้นผลผลิตเทากน ่ ั (Isoquant curve : ISQ) มีลกั ษณะเป็ นเส้นตรง ทอดลงจากซ้ายไปขวา
แสดงให้เห็นวาปั ่ จจัยการผลิต 2 ชนิด เป็ นอยางไร

(1) ทดแทนกนไมได้ ั ่ เลย (2) ทดแทนกนได้ ั อยางสมบู
่ รณ์
(3) ทดแทนกนได้ ั ไมสมบู ่ รณ์ (4) ทดแทนกนได้ ั ในระดับหนึ่ง

150 EC 111
8. ทฤษฎีการผลิตในข้อใด เป็ นเครื่ องมือที่ใช้วเิ คราะห์การผลิตในระยะยาว
(1) เส้นอุปสงค์และอุปทาน ่ ั
(2) เส้นความพอใจเทากนและเส้ นงบประมาณ
่ ั
(3) เส้นผลผลิตเทากนและต้ นทุนเทากน ่ ั (4) เส้นต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร
9. เมื่อคํานวณหาคาอั ่ ตราหนวยสุ
่ ดท้ายของการทดแทนกนของปั ั จจัย X และ Y มีค่าของ
MRTSxy = - 5 หมายความวาอยางไร ่ ่
(1) เมื่อเพิม่ ปัจจัย X = 1 หนวย่ ต้องลดปัจจัย Y = 5 หนวย ่
(2) เมื่อเพิม่ ปัจจัย Y = 1 หนวย ่ ต้องลดปัจจัย X = 5 หนวย ่
(3) เมื่อเพิม่ ปัจจัย X = 5 หนวย ่ ต้องลดปัจจัย Y = 1 หนวย ่
่ ต้องลดปัจจัย X = 1 หนวย
(4) เมื่อเพิม่ ปัจจัย Y = 5 หนวย ่

10. จงใช้รูปภาพเพื่อตอบคําถาม ข้อความในตัวเลือกใดถูกต้อง


ปั จจัย Y
A

0 ปั จจัย X
10 12
(1) ราคาปั จจัย X เพิม่ ขึ้ น (2) ราคาปั จจัย X ลดลง
(3) งบประมาณของผูบ้ ริ โภคเพิ่มขึ้ น (4) งบประมาณของผูบ้ ริ โภคลดลง
่ ั งเว้าเข้าหาจุดกาเนิ
11. เหตุใดจึงทําให้ลกั ษณะของเส้นผลผลิตเทากนโค้ ํ ด
ั ่ เลย
(1) ปั จจัย 2 ชนิด ทดแทนกนไมได้ ั ไมสมบู
(2) ปั จจัย 2 ชนิด ทดแทนกนได้ ่ รณ์
(3) ปั จจัย 3 ทดแทนกนได้ั สมบูรณ์ (4) ปั จจัย 2 ชนิด ใช้ประกอบกนั
12. เส้น Expansion Path เป็ นเส้นแสดงให้เห็นอะไร
(1) แนวทางการผลิตสิ นค้า ใช้ตน้ ทุนตํ่าที่สุด (2) แนวทางการผลิตที่ให้ผลผลิตสู งสุ ด
่ ดดุลยภาพ ที่เส้น ISQ สัมผัสกบเส้
(3) แนวทางการผลิตสิ นค้าที่ผานจุ ั น ISC
(4) แนวทางการผลิตที่ทาํ ให้ได้รับต้นทุนตํ่าที่สุด

EC 111 151
13. เมื่อเพิม่ ปั จจัยการผลิต จํานวน ร้อยละ 5 มีผลทําให้ผลผลิตสิ นค้าเพิ่มขึ้ นร้อยละ 10 แสดงวา่

เป็ นผลตอบตอขนาดการผลิ ตแบบใด
(1) ผลตอบแทนขนาดการผลิตคงที่ ่
(2) ผลตอบแทนตอขนาดการผลิ ตลดลง

(3) ผลตอบแทนตอขนาดการผลิ ่
ตแบบกลางๆ (4) ผลตอบแทนตอขนาดการผลิ ตเพิ่มขึ้ น
14. กรณี ที่ ราคาสิ นค้าตอหนวย ี่ ั
่ ่ มีลกั ษณะคงที่ เส้นอะไรที่เกยวกบรายรั บถูกต้อง
(1) เส้น TR เป็ นรู ปโค้งระฆังควํ่า ั
(2) เส้น AR , MR และ P ขนานกบแกนนอน
(2) เส้น MR อยูเ่ หนือเส้น AR ั
(4) เส้น TR ตั้ งฉากกบแกนนอน
จงใช้ขอ้ มูลในตารางตอไปนี ่ ้ ตอบคําถามข้อที่ 15-17
ปริ มาณสิ นค้า ราคาสิ นค้า รายรับรวม TR รายรับเฉลี่ย AR รายรับหนวยเพิ ่ ่ม
ิ ม
กโลกรั บาทตอ่ ก.ก. MR
1 10
2 9 ?
3 8
4 7 ?
5 6 ?

ิ ม จะมีค่ารายรับรวม(TR) เทาใด
15. ณ ปริ มาณสิ นค้า 2 กโลกรั ่
(1) จํานวน 10 บาท (2) จํานวน 18 บาท
(3) จํานวน 24 บาท (4) จํานวน 28 บาท
ิ ม จะมีค่าของรายรับหนวยเพิ
16. ณ ปริ มาณสิ นค้า 4 กโลกรั ่ ่ม(MR) เทาใด ่
่ ั 4 บาท
(1) เทากบ (2) เทากบ ่ ั 6 บาท
่ ั 8 บาท
(3) เทากบ (4) เทากบ ่ ั 10 บาท
ิ ม จะมีค่าของรายรับเฉลี่ย(AR) เทาใด
17. ณ ปริ มาณสิ นค้า 5 กโลกรั ่
(1) เทากบ่ ั 3 บาท ่ ั 4 บาท
(2) เทากบ
(3) เทากบ ่ ั 5 บาท (4) เทากบ่ ั 6 บาท
่ นต้นทุนที่มองเห็นได้ (Explicit cost)
18. ต้นทุนในข้อใด ถือวาเป็
(1) การใช้แรงงานในครัวเรื อน (2) การนําที่ดินตนเองทําการเกษตร

(3) การนําเมล็ดพืชไว้เพาะปลูกตอไป (4) การซื้ อปุ๋ ยเคมีมาใช้
152 EC 111
่ ้ า คาไฟฟ้
19. คานํ ่ า และคาวั ่ ตถุดิบ ในการผลิตสิ นค้า ถือวาเป็
่ นต้นทุน
(1) ต้นทุนคงที่ (2) ต้นทุนทางบัญชี
่ ยโอกาส
(3) ต้นทุนคาเสี (4) ต้นทุนภายนอก
่ ม่ ในระยะสั้ น(SMC) มีสูตรคํานวณหาคาอยางไร
20. ต้นทุนหนวยเพิ ่ ่
(1) ∆TVC/∆Q (2) ∆TFC/∆Q
(3) ∆TC/∆Q (4) ∆AC/∆Q
21. เส้นต้นทุนอะไร ที่มีลกั ษณะเป็ นคล้ายๆรู ปตัวยู ( U )
(1) เส้นต้นทุนหนวยเพิ ่ ม่ (MC) (2) เส้นต้นทุนคงที่เฉลี่ย(AFC)
(3) เส้นต้นทุนทั้ งหมด (TC) (4) เส้นต้นทุนเฉลี่ย (AC)

จงใช้รูปภาพตอไปนี ้ เพื่อตอบ คําถามข้อที่ 22-23
ต้นทุนและรายรับ TC TR ต้นทุนและรายรับ MC

MR

0 Q0 ปริ มาณผลผลิต 0 Q0 ปริ มาณผลผลิต


รู ปภาพที่ 1 รู ปภาพที่ 2
ต้นทุนและรายรับ ต้นทุนและรายรับ TC
TC
TR TR

0 0
Q0 ปริ มาณผลผลิต Q0 ปริ มาณผลผลิต
รู ปภาพที่ 3 รู ปภาพที่ 4

EC 111 153
่ ป้ ระกอบการขาดทุนจาการผลิตสิ นค้าและบริ การ
22. รู ปภาพใดที่แสดงวาผู
(1) รู ปภาพที่ 1 (2) รู ปภาพที่ 2 (3) รู ปภาพที่ 3 (4) รู ปภาพที่ 4
่ ป้ ระกอบการมีกาไรเกนปกติ
23. รู ปภาพใดที่แสดงวาผู ํ ิ
(1) รู ปภาพที่ 1 (2) รู ปภาพที่ 2 (3) รู ปภาพที่ 3 (4) รู ปภาพที่ 4

เฉลยคําถามท้ ายบท
ข้อ 1 ( 2 ) ข้อ 2 ( 4 ) ข้อ 3 ( 3 ) ข้อ 4 ( 1 ) ข้อ 5 ( 3 ) ข้อ 6 ( 4 ) ข้อ 7 ( 2 )
ข้อ 8 ( 3 ) ข้อ 9 ( 1 ) ข้อ 10 ( 2 ) ข้อ 11 ( 2 ) ข้อ 12 ( 3 ) ข้อ 13 ( 4 ) ข้อ 14 ( 2 )
ข้อ 15 ( 2 ) ข้อ 16 ( 1 ) ข้อ 17 ( 3 ) ข้อ 18 ( 4 ) ข้อ 19 ( 2 ) ข้อ 20 ( 3 ) ข้อ 21 ( 4 )
ข้อ 22 ( 3 ) ข้อ 23 ( 1 )

154 EC 111
บทที่ 7
ตลาดแข่ งขันสมบรณ์
ู : การกําหนดราคาและผลผลิต

เนือ้ หาการศึกษา
1. ตลาด(Market) : ความหมายและประเภทของตลาด
2. ตลาดแขงขั่ นสมบูรณ์ : ลักษณะที่สาํ คัญของตลาด
3. เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหนวยผลิ ่ ่ รกจิ แตละราย
ตหรื อหนวยธุ ่
4. ดุลยภาพและเส้นอุปทานของหนวย ่ ธุรกจิในระยะสั้ น
5. ดุลยภาพและเส้นอุปทานของหนวย ่ ธุรกจใ ิ นระยะยาว
่ ิ ผ้ ลิตในตลาดแขงขั
6. สวนเกนผู ่ นสมบูรณ์
สาระสํ าคัญการศึกษา
1. ตลาด(Market) : โดยทัว่ ไปถ้ามีการซื้ อขายสิ นค้า ทั้ งผูซ้ ้ือและผูข้ ายต้องมาพบปะ

กนโดยตรงในสถานใด ่
สถานที่หนึ่ง แตตลาดตามความหมายในเชิ งเศรษฐศาสตร์ ผูซ้ ้ือกบผูั ข้ าย
สิ นค้าไมจํ่ าเป็ นต้องมาพบกนโดยตรง
ั ่ วิธีการตางๆ
แตจะใช้ ่ เชน่ ทางโทรศัพท์ โทรสาร หรื ออื่นๆ
2. ประเภทของตลาดสิ นค้ าและบริการ : แบงแยกออกเป็ ่ น 4 ประเภทดังนี้ (1) แบง่
ตามวัตถุประสงค์ในการใช้ (2) แบงตามลั ่ ่
กษณะของสิ นค้า (3) แบงตามระยะเวลาการซื ้ อขาย (4)

แบงตามลั กษณะการแขงขั ่ น เป็ นต้น
3. การเปรียบเทียบคณลั ุ กษณะของตลาดประเภทต่ างๆ ทั้ ง 4 ประเภท จําแนกตาม
คุณลักษณะตางๆ ่ 5 ประการ
4. ลักษณะทีส่ ํ าคัญของตลาดแข่ งขันสมบรณ์ ู 5 ประการ : ประกอบด้วย (1) มีผซู ้ ้ือ
และผูข้ ายจํานวนมาก (2) สิ นค้ามีลกั ษณะเหมือนกนั (3) การเคลื่อนย้ายปัจจัยโดยเสรี (4) ไมมี่
อุปสรรคในการเข้าออกตลาด (5) ผูบ้ ริ โภคและผูผ้ ลิตมีความรู ้ตลาดอยางสมบู ่ รณ์
5. ลักษณะของเส้ นอปสงค์ุ ในทัศนะของหน่ วยธรกิ ุ จแต่ ละราย : มีลกั ษณะเป็ นเส้น

ขนานกบแกนนอนปริ มาณผลผลิต ทําให้ระดับราคาเป็ นเส้นเดียวกนกบ ั ั d = AR= MR หนวยผลิ ่ ต

ต้องรับราคาจากตลาด มากาหนดราคาสิ นค้าของตนเอง เรี ยกวา่ เป็ นผูร้ ับราคา(Price Taker)

EC 111 155
6. ดลยภาพของหน่
ุ ํ งสุ ด ณ ปริ มาณ
ุ จหมายถึง สภาวะที่ผผู ้ ลิตได้รับกาไรสู
วยธรกิ

ผลผลิตที่ MR = MC อยางไรกตามหนวย ็ ่ ธุรกจิอาจมีผลประกอบการทั้ ง (1) กาไรเกนปกติ
ํ ิ (2) กาไรํ
ปกติ (3) ขาดทุน ทั้ งนี้ ข้ ึนอยูต่ น้ ทุนการผลิตของหนวย ่ ธุรกจิ แตละรายจะสู
่ งหรื อตํ่า มากน้อ
เพียงใด
7. เส้ นอปทานของหน่
ุ วยธรกิ ุ จในระยะสั้ น : จะแสดงวา่ ณ ระดับราคาเทาใดที่ ่หนวย ่

ธุรกจจะทํ าหน้าที่เสนอขายสิ นค้าและบริ การ ดังนั้ นเส้นอุปทานจะมีจุดเริ่ มต้นที่จุดตัดของเส้น AVC
ั น MC ขึ้ นไป ดังนั้ นเส้นอุปทานจึงอยูบ่ นเส้น MC และเส้นอุปทานของหนวยธุ
กบเส้ ่ รกจหลายๆ


แหงรวมกน ั จะเป็ นเส้นอุปทานของตลาดในที่สุด
8. ดลยภาพของหน่
ุ ุ จในระยะยาว : จะเป็ นจุดเดียวกบดุ
วยธรกิ ั ลยภาพของเส้นต้นทุน
ั นต้นทุนหนวยเพิ
เฉลี่ย(SAC)ตัดกบเส้ ่ ่ม(SMC)ในระยะสั้ น ที่ขนาดการผลิตมีตน้ ทุนเฉลี่ยตํ่าที่สุด
เนื่องจากในระยะยาวเลือกปริ มาณผลผลิตหรื อขนาดการผลิตที่เหมาะสมได้ ดังนั้ นจึงถือเป็ นดุลย
ภาพของหนวยธุ ่ รกจในระยะยาวด้
ิ วย(LAC ตัดกบั LMC)
9. เส้ นอปทานของหน่
ุ วยธรกิุ จเป็ นระยะยาว : มี 3 ลักษณะคือ (1) เส้นอุปทานระยะ
ยาว กรณี ตน้ ทุนคงที่ มีลกั ษณะขนานกบแกนนอนั (2) เส้นอุปทานระยะยาว กรณี ตน้ ทุนเพิม่ (3)
เส้นอุปทานระยะยาว กรณี ตน้ ทุนลดลง
10. ส่ วนเกินของผ้ ูผลิต(Producer surplus) : ในตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ เมื่อเส้นอุปสงค์
ตัดกบเส้ั นอุปทาน จะมีราคาและปริ มาณผลผลิตดุลยภาพ สวนเกน ่ ิ ของผูผ้ ลิตจะเป็ นพื้นที่อยูใ่ ต้
ระดับราคา ดังรู ปภาพที่ 7.11 ได้แก่พ้ืนที่ P0E0BP1

จดประสงค์
ุ การศึกษา
เมื่อศึกษาบทที่ 7 จบแล้ว ควรที่จะตอบคําถามประเด็นตางๆดั ่ งตอไปนี
่ ้
1. ตลาดทางเศรษฐศาสตร์หมายถึงอะไร มีความแตกตางกบตลาดทั ่ ั ว่ ไปอยางไร่ ตลาด
มีกี่ประเภท และการเปรี ยบเทียบคุณลักษณะตางๆของแตละตลาด
่ ่ ่ ั ่
เหมือนหรื อแตกตางกนอยางไร
่ นสมบูรณ์มีลกั ษณะที่สาํ คัญอยางไร
2. ตลาดแขงขั ่
3. เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหนวยธุ ่ รกจิ มีลกั ษณะอยางไร
่ ทําไมจึงเป็ นเชนนั ่ ้น
4. ดุลยภาพของหนวยธุ ่ รกจในระย
ิ ่
ะสั้ นและระยะยาว มีลกั ษณะเป็ นอยางไร
่ ิ
5. สวนเกนของผู ่
ผ้ ลิต(Producer surplus) มีลกั ษณะอยางไร

156 EC 111
7.1 ตลาด (Market) : ความหมาย และประเภทของตลาด

ตลาด : ความหมาย
สําหรับผูผ้ ลิตรายหนึ่ง เมื่อมีการผลิตสิ นค้าและบริ การขึ้ นมา กต้็ องนําไปขาย
ั ซ้ ้ือหรื อผูบ้ ริ โภค ตามสถานที่ต่างๆที่เรี ยกวา่ ตลาด เชน่ ตลาดบางกะปิ ตลาดสะพานใหม่
ให้กบผู
เป็ นต้น นี่คือตลาดที่มีสถานที่ต้ งั อาณาเขต แนนอน ่ ดังนั้ นตลาดจึงหมายถึง สถานที่ที่มีการซื้ อขาย
สิ นค้าและบริ การ ระหวางผู ่ ซ้ ้ือกบผูั ข้ ายมาพบกนโดยตรง
ั ่
เพื่อสงมอบสิ นค้าและรับการชําระเงิน
จากผูซ้ ้ือ

แตตลาดในความหมายทางเศรษฐศาสตร์ มีมุมมองที่กว้างกวานั ่ ้ น ตรงที่การซื้ อ
ขายสิ นค้าและบริ การระหวางผู ่ ซ้ ้ือกบผู
ั ข้ าย ไมจํ่ าเป็ นต้องมาพบปะกนโดยตรงกได้ั ็ แตทํ่ าการซื้ อ
่ ่
ขายผานชองทางตางๆเชน ่ ่ ใช้โทรศัพท์สงั่ ซื้ อสิ นค้าและชําระเงินผานธนาคาร ่ หรื อวิธีการอื่นๆ จึง

ทําให้ปริ มาณการซื้ อขายสิ นค้าเพิม่ ขึ้ นอยางมากมาย เป็ นการอํานวยความสะดวกให้ท้ งั 2 ฝ่ ายด้วย
ประเภทของตลาด
เนื่องจากตลาดมีหลายรู ปแบบ เชน่ ตลาดปัจจัยการผลิตกทํ็ าการซื้ อขายปั จจัยเชน่
ที่ดิน แรงงาน ทุน เป็ นต้น ตลาดทุนกมี็ การซื้ อขายหุน้ หรื อตราสารหนี้ ตลาดเงินกมี็ การฝากเงิน
หรื อกูเ้ งิน แตที่ ่ตอ้ งการศึกษาคือตลาดสิ นค้าและบริ การ ซึ่งกยั็ งแบงแยกได้ ่ หลายลักษณะเชน่
(1) ตลาดแบงตามวั ่ ตถุประสงค์ในการใช้ ได้แก่ ตลาดสิ นค้าเพื่อการบริ โภคและ
ตลาดสิ นค้าสําหรับผูผ้ ลิต
(2) ตลาดแบงตามลั ่ กษณะสิ นค้า ได้แก่ ตลาดสิ นค้าเกษตร ,สิ นค้าอุตสาหกรรม
และบริ การ

(3) ตลาดแบงตามระยะเวลาการซื ้ อขาย ได้แก่ ตลาดที่มีการซื้ อขายทันที และ
ตลาดที่มีการซื้ อขายลวงหน้ ่ า
(4) ตลาดแบ่งตามลักษณะของการแขงขั ่ น ซึ่งในบทนี้ และบทตอไป ่ จะ
ทําการศึกษา ประกอบด้วยตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ ,ตลาดผูกขาด ,ตลาดกงแขงขั ่ ึ ่ นกงผู
่ ึ กขาดหรื อผูข้ าย
มากราย และตลาดผูข้ ายน้อยราย

EC 111 157
่ ่ ตามจํานวนหนวย
รู ปภาพที่ 7.1 การแบงตลาดประเภทตางๆ ่ ผลิต

ตลาดผูข้ ายน้อยราย ตลาดผูกขาด

่ นสมบูรณ์
ตลาดแขงขั ตลาดผูข้ ายมากราย


ตารางที่ 7.1 เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของตลาดประเภทตางๆ

คุณลักษณะ แบบจําลองตลาด
่ นสมบูรณ์
แขงขั ผูกขาด ผูข้ ายมากราย ผูข้ ายน้อยราย
จํานวนหนวย่ มากที่สุด หนึ่งเดียว จํานวนมาก จํานวนน้อย
ผลิต
ลักษณะสิ นค้า เหมือนกนั เหมือนกนั ่ ั
ตางกน ั อ
เหมือนกนหรื
่ ั
แตกตางกน
การควบคุมเหนือ ไมมี่ มีมาก มีบา้ งในวงแคบๆ มี
ราคา
เงื่อนไขการเข้าสู่ ไมมี่ อุปสรรค มีอุปสรรค ่ างงา่ย
คอนข้ ่ างยาก
คอนข้
ตลาด
่ น
มีการแขงขั ไมมี่ ใช้การโฆษณา เน้นการโฆษณา แสดงให้เห็น
ราคาหรื อไม่ สิ นค้า การสร้างแบรนด์ ่
ความแตกตางใน
สิ นค้า สิ นค้า

ตัวอยาง สิ นค้าเกษตร ิ
กจการสาธารณะ ค้าปลีก เสื้ อผ้า เหล็ก ยานยนต์
รองเท้า

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก MacConnell and Brue , 2005 , P. 170

158 EC 111
7.2 ลักษณะสํ าคัญของตลาดแข่ งขันสมบรณ์ ู (Perfect competition) : มีดงั ตอไปนี่ ้

(1) มีผู้ซื้อและผู้ขายเป็ นจํานวนมาก : ผูซ้ ้ือและผูข้ ายแตละรายเป็ ่ กรณี
นรายยอยๆ
ผูข้ ายกมี็ ส่ วนแบงตลาดน้
่ อยมาก ดังนั้ นจึงไม่มีอิทธิพลตอราคาตลาด
่ รวมทั้ งการเปลี่ยนแปลง
ปริ มาณผลผลิตของผูห้ นวยธุ ่ รกจิ แตละราย
่ ่
จะไมกระทบอุ ปทานของตลาด ทางด้านผูซ้ ้ือเป็ นราย

ยอยๆเชนกน ่ ั ดังนั้ นทั้ ง 2 ฝ่ ายจึงต้องเป็ นผูร้ ับราคา(Price Taker)ที่ถูกกาหนดมาจากอุ ํ ปสงค์และ
อุปทานของตลาด
(2) สิ นค้ าในตลาดจะมีลกั ษณะเหมือนกัน : ความเป็ นตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์จะดํารง
ั ่อนไขข้อนี้ สิ นค้าที่มีลกั ษณะเหมือนกนั จึงใช้ทดแทนกนได้
อยูไ่ ด้ข้ ึนอยูก่ บเงื ั อยางสมบู ่ รณ์ ไมวา่่
ผูบ้ ริ โภคจะซื้ อจากหนวยผลิ ่ ตใด
(3) การเคลือ่ นย้ ายปัจจัยการผลิต : สามารถเคลื่อนย้ายได้โดยอิสระเสรี ไม่มี
อุปสรรคขัดขวางใดๆ
(4) การเข้ าออกตลาดของผู้ผลิตรายใหม่ : สามารถกระทําได้โดยปราศจากอุปสรรค
ขัดขวางใดๆ ไมวาจะเป็ ่่ นกฎหมาย การเงิน หรื ออื่นๆ
(5) มีความร้ ูอย่ างสมบรณ์ ู : ผูบ้ ริ โภคและผูผ้ ลิตมีขอ้ มูล ความรู ้สภาวะการณ์ของ
ตลาดเป็ นอยางดี ่
จากคุณสมบัติของตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ท้ งั 5 ข้อ ทําให้ได้แงคิ่ ดวา่ ยากที่จะเป็ น
เป็ นไปได้ในโลกแหงความเป็ ่ นจริ ง ดังนั้ นถ้าเราตัดคุณสมบัติขอ้ ที่ 5 ออกไปจะทําให้มีตลาดอีก
ประเภทหนึ่งที่เรี ยกวา่ ตลาดแข่ งขันอย่ างแท้ จริง(Pure Competition Market)
ดังนั้ นสิ นค้าที่มีโครงสร้างตลาดใกล้เคียงกบตลาด ั ่ นสมบูรณ์ที่กลาวมาแล้
แขงขั ่ ว ที่
พอจะอนุโลมแทนเป็ นตัวอย่ างได้แก่ การซื้ อขายหุ น้ ในตลาดหลักทรัพย์ การซื้ อขายสิ นค้าเกษตร
บางชนิดเชนข้ ่ าวเปลือก และ การซื้ อขายเงินตราตางประเทศ ่ เป็ นต้น
7.3 เส้ นอปสงค์ุ ในทัศนะของหน่ วยผลิตแต่ ละราย
ตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ที่มีผซู ้ ้ือและผูข้ ายสิ นค้าจํานวนมาก แตละรายจะไมมี
่ ่ อิทธิพล

ในการกาหนดราคาสิ นค้าและบริ การ แตถู่ กกาหนดมาจากอุ
ํ ปสงค์อุปทานของตลาดตัดกนั เมื่อ
ลากเส้นจากจุดตัดไปที่แกนตั้ ง(ราคา)และแกนนอน(ปริ มาณผลผลิต) กจะเป็ ็ นราคาและปริ มาณ
ผลผลิตดุลยภาพของสิ นค้าชนิดนั้ น

EC 111 159

สําหรับผูผ้ ลิตแตละราย ซึ่งมีปริ มาณสิ นค้าจํานวนน้อยมาก เมื่อเปรี ยบเทียบกบั
ปริ มาณทั้ งตลาด ดังนั้ นจึงต้องเป็ นฝ่ ายรับราคาตลาด มาตั้ งเป็ นราคาขายสิ นค้าของตนเอง จึงเรี ยกวา่
ผู้รับราคา ซึ่งสิ นค้าที่เขามีอยูจ่ ะขายได้หมด แตเมื ่ ่อใดกตามที
็ ่
่เขาปรับราคาสูงกวาราคาตลาด เขาจะ
่ เลย ผูบ้ ริ โภคจะไปซื้ อสิ นค้าจากผูขายรายอื
ขายสิ นค้าไมได้ ้ ่นๆแทนทันที ดังแสดงให้เห็นจาก

รู ปภาพตอไปนี ้
รู ปภาพที่ 7.2 เส้นอุปสงค์ในทัศนของหนวยผลิ ่ ต
ก. ตลาด ่
ข.หนวยผลิ ต
ราคา D1 D2 S1 ราคา
P2 E2 P2 d2 = AR2 = MR2
E1 d1 = AR1 = MR1
P1 P1

0 ปริ มาณผลผลิต 0 ปริ มาณผลผลิต


อธิบายรู ปภาพที่ 7.2 ก. เป็ นรู ปภาพที่แสดงการกาหนดราคาและปริ มาณผลผลิต
ในตลาดสิ นค้าและบริ การ เมื่อเส้นอุปสงค์(D1) ตัดกบเส้ ั นอุปทาน(S1)ที่จุด E1 เมื่อลากเส้นตรงจาก
จุดตัดไปยังแกนราคา ดังนั้ น P1 จึงเป็ นราคาดุลยภาพ พิจารณาที่รูปภาพ ข. หนวยผลิ ่ ตรายหนึ่ง
จําเป็ นต้องยอบรับราคา P1 มาตั้ งเป็ นราคาขายสิ นค้าของตนเองและเขากจะขายสิ ็ นค้าได้หมดด้วย

ตอมาสมมติ วา่ มีอุปสงค์เพิม่ ขึ้ นจาก D1 เป็ น D2 และเส้นอุปทาน(S1) คงที่ ทําให้
ตัดกบเ ั ส้นอุปทานที่จุด E2 ทําให้เกดราคาดุ
ิ ลยภาพใหมเป็ ่ น P2 ในตลาดสิ นค้า สําหรับหนวยผลิ
่ ต
่ ่มราคาสิ นค้าของตนเองตามไปได้เป็ น P2
รายหนึ่ง เมื่อราคาตลาดเปลี่ยนแปลงเขายอมเพิ
ุ าหรับหน่ วยผลิต ถ้าเขาตั้ งราคาสิ นค้าเป็ นไปตามราคาตลาด กจะสามา
สรปสํ ็ รถ
ขายสิ นค้าของเขาได้หมด แตถ้่ าเพิ่มราคาสิ นค้าสูงกวาราคาตลาดจะขายสิ
่ ่ เลย หรื อจะลด
นค้าไมได้
็ าให้รายรับของเขาลดลง ดังนั้ นพฤติกรรมของหนวย
ราคาสิ นค้า กจะทํ ่ ธุรกจิกจะรั
็ บราคาสิ นค้าใน
ตลาดเป็ นราคาสิ นค้าของตนเองเสมอ

160 EC 111
7.4 ดลยภาพ
ุ หน่ วยธรกิุ จและเส้ นอปทาน
ุ ของหน่ วยธรกิุ จในระยะสั้ น
ดุลยภาพของผูผ้ ลิตหมายถึง สภาวะที่ผผู ้ ลิตได้รับกาไรสู ํ งสุ ด ดังนั้ นดุลยภาพของ
ํ งสุ ด จึงเป็ นสภาวะเดียวกนและตรงกบปริ
ผูผ้ ลิตและกาไรสู ั ั มาณผลผลิตที่ MC = MR ( วันรักษ์
มิ่งมณี นาคิน , 2548 , หน้า 163)
่ ็
อยางไรกตามเนื ่
่องจากผูผ้ ลิตแตละราย ิ
มีตน้ ทุนที่เกดจากปั จจัยคงที่และปั จจัยผัน
แปรไมเทากน่ ่ ั ดังนั้ นเมื่อยืดถือหลักการกาไรสู ํ งสุ ดและปริ มาณผลผลิตที่ MC = MR หนวยผลิ ่ ตแต่
ละรายอาจมีผลประกอบการทั้ งกาไรเกนปกติ ํ ิ ํ
กาไรปกติ หรื อ ขาดทุน กได้ ็ โดยมีรายละเอียด

นําเสนอดังตอไปนี ้
(1) กรณีหน่ วยผลิตมีกาํ ไรเกินปกติ : แสดงวาเมื ่ ่อหนวยผลิ
่ ตเลือกปริ มาณผลผลิตที่
จุดของ MC = MR แล้ว พบวามี ่ กาไรเกนปกติ
ํ ิ คือ ¶ = TR - TC > 0 แสดงในรู ปภาพตอไปนี ่ ้
่ ตมีกาไรเกนปกติ
รู ปภาพที่ 7.3 แสดงหนวยผลิ ํ ิ
รายรับ,ต้นทุน TC TR
120 a

กาไร
100 b รู ปภาพ ก

0 ปริ มาณผลผลิต
20
ราคา,รายรับ,ต้นทุน SMC

SAC
รู ปภาพ ข
6 c d = AR = MR
5 d

0 ปริ มาณผลผลิต
20
EC 111 161

อธิบายรู ปภาพที่ 7.3 ก หนวยผลิ ตแสวงหากาไรสูํ งสุ ดเลือกปริ มาณผลิตเทากบ
่ ั
20 หนวย ่ ซึ่งมีค่า MC = MR มีรายรับรวมเทากบ ่ ั 120 บาท และต้นทุนรวมเทากบ ่ ั 100 บาท จึงมี

กาไรรวมเทากบ ่ ั 20 บาท รู ปภาพ ข หนวยผลิ ่ ่ ่ 6 บาท และมีตน้ ทุนเฉลี่ย
ตตั้ งราคาสิ นค้าตอหนวย
่ ่ ่ ั 5 บาท จึงมีกาไร
ตอหนวยเทากบ ํ 1 บาทตอหนวย
่ ่ สรปเมื ุ ่อ TR – TC > 0 หน่ วยผลิตจึงมีกาํ ไรเกิน
ปกติ
(2) กรณีหน่ วยผลิตมีกาํ ไรปกติ : แสดงวาเมื ่ ่อหนวยผลิ่ ตเลือกปริ มาณผลผลิต ณ จุดที่
คา่ MC = MR แล้ว จะพบวา่ กาไร ํ ¶ = TR – TC = 0 แสดงได้โดยรู ปภาพดังตอไปนี ่ ้
รู ปภาพที่ 7.4 แสดงหนวยผลิ ่ ตมีกาไรปกติ

รายรับ,ต้นทุน TC TR

120 a
รู ปภาพ ก

0 20 ปริ มาณผลผลิต
ราคา,รายรับ,ต้นทุน SMC
SAC

C รู ปภาพที่ ข
6 d = AR = MR

0 ปริ มาณผลผลิต
20
่ ผลิตต้องการแสวงหากาไรสู
อธิบายรู ปภาพที่ 7.4 ก เมื่อหนวย ํ งสุ ด โดยการผลิต ณ
จุดที่ MC = MR ปริ มาณผลผลิตเทากบ ่ ั 20 ซึ่งเป็ นจุดที่ เส้น TR สัมผัสกบเส้
ั น TC ที่จุด a สิ นค้า

ราคาหนวยละ ่ ั 120 บาทและต้นทุนรวมเทากบ
6 บาท จึงมีรายรับรวมเทากบ ่ ั 120 บาท
162 EC 111
รู ปภาพ ข หนวยตั่ ้ งราคาไว้เทากบ
่ ั 6 บาทตอหนวย
่ ่ เส้นต้นทุนเฉลี่ย(SAC) สัมผัส
่ ่ ่ ั
ั นรายรับเพิ่ม(MR)และเส้นต้นทุนเพิม่(SMC) ที่จุด C ดังนั้ นต้นทุนตอหนวยเทากบราคาตอ
กบเส้ ่
หน่วย ดังนั้ นกรณี น้ ี ¶ = TR - TC = 0 ผ้ ูประกอบการจึงมีกาํ ไรปกติ เรียกว่ าจดค้
ุ ุมทนุ (Break-
Even Point)
่ ตขาดทุนแตยั่ งผลิตตอไป
(3) กรณี หนวยผลิ ่ : แสดงวาเมื ่ ่อหนวยผลิ
่ ต เลือกปริ มาณ
ผลผลิต ณ จุดที่เส้น MC = MR แล้วพบวา่ ¶ = TR - TC < 0 แตวาราคาสิ ่่ นค้าที่ขาย ยังคุม้ กบั
ต้นผันแปรเฉลี่ย(AVC) และยังมีชดเชย ต้นทุนคงที่ (AFC) บางสวน ่ แสดงได้โดยรู ปภาพตอไปนี
่ ้

รู ปภาพที่ 7.5 แสดงหนวยผลิ ตขาดทุน แตยั่ งผลิตตอไป

รายรับ,ต้นทุน TC TR

160 a
120 b รู ปภาพ ก

0 20 ปริ มาณผลผลิต
ราคา,รายรับ,ต้นทุน
AC
AVC
8 c รู ปภาพ ข
6 d = AR = MR
5 d

0 20 ปริ มาณผลผลิต
อธิบายรปภาพที
ู ่ ่
่ 7.5 ก ที่จุด a แสดงวาหนวยผลิ ่ ั 160
ตมีตน้ ทุนทั้ งหมดที่จุด b เทากบ
่ ั 120 บาท จึงขาดทนเท่
บาท รายรับรวมเทากบ ุ ากับ 40 บาท เมื่อผลิตสิ นค้าจํานวน 20 หนวย ่

EC 111 163
รปภาพ
ู ข ราคาขายตอหนวย ่ ่ 6 บาท ต้นทุนเฉลี่ย( AC = AFC + AVC) ที่จุด c
่ ั 8 บาท ต้นผันแปรเทากบ
เทากบ ่ ั 5 บาทตอหนวย ่ ่ ดังนั้ นจึงเป็ นต้นทุนคงที่เฉลี่ย(AFC)เทากบ
่ ั 3
่ ่ ดังนั้ นราคา 6 บาท หนวยผลิ
บาทตอหนวย ่ ั นทุนผันแปรเฉลี่ย ยังมีเงินเหลืออีก
ตจึงมีรายรับคุม้ กบต้
1 บาทชดเชยต้นทุนคงที่เฉลี่ย(ที่ขาดทุน 3 บาทตอหนวย ่ ่ )
สรปุ ่
กรณี น้ ีหนวยผลิ ตขาดทุนจากการผลิต 2 บาทตอหนวย ่ ่ เมื่อผลิตออกขาย
ปริ มาณ 20 หนวย ่ จึงขาดทุนทั้ งหมดเทากบ ่ ั 40 บาท ยังทําให้มีรายรับเพียงพอมาซื้ อปัจจัยผันแปร
(AVC)มาทําการผลิตตอไป ่ และอาจจะมีคาํ สั่ งซื้อสิ นค้ ารออยู่ ดังนั้นหน่ วยผลิตเลยยังไม่ หยดการ

ผลิต
(4) กรณีหน่ วยผลิตขาดทนและหยดทํ
ุ ุ าการผลิตสิ นค้ า : แสดงวาหนวยผลิ่ ่ ตเลือก
ปริ มาณผลผลิต ณ จุดที่ MC = MR แล้วพบวา่ ¶ = TR - TC < 0 แตวาร ่ ่ าคาสิ นค้าเทากบ
่ ั ต้นทุน
ผันแปรเฉลี่ย(AVC)เทานั่ ้ น จึงเป็ นเหตุให้หนวยผลิ ่ ตต้องหยุดการผลิต แสดงให้เห็นดังรู ปภาพ

ตอไปนี ้
รู ปภาพที่ 7.6 แสดงหนวยผลิ ่ ตขาดทุนและหยุดการผลิต

ราคา, รายรับ,ต้นทุน MC AC

8 a AVC

6 b d = AR = MR

0 20 ปริ มาณผลผลิต
อธิบายรปภาพที
ู ่ 7.6 แสดงให้เห็นวา่ ราคาสิ นค้าเทากบ่ ั 6 บาท หนวยผลิ ่ ตมี
่ ่ ่ ั 6 บาท และต้นทุนเฉลี่ยทั้ งหมดตอหนวย
ต้นทุนผันแปรเฉลี่ยตอหนวยเทากบ ่ ่ เทากบ ่ ั 8 บาท จะเห็น
่ ่ ตขาดทุนหนวยละ
ได้วาหนวยผลิ ่ 2 บาท ดังนั้ น ณ ราคาสิ นค้า 6 บาทที่จุด b จึงเรี ยกกวา่ จดหยด
ุ ุ
การผลิต (Shut-Down Point)

164 EC 111

จากการศึกษาการกาหนดราคาและผลผลิ ตในตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ซึ่งราคาตลาดจะ

เป็ นตัวกาหนดราคา ่
ของหนวยผลิ ่
ตแตละราย ทั้ ง 4 กรณี ทําให้ เห็นว่ าหน่ วยผลิตอาจมีกาํ ไรปกติหรือ
เกินปกติถ้ามีต้นทนการผลิ
ุ ตตํ่า แต่ ถ้ามีต้นทนการผลิ
ุ ตสงู ก็จะขาดทนและต้
ุ องออกจากตลาดไปได้

กลาวโดยสรุ ป ดุลยภาพในระยะสั้ น พบวา่ MR = SMC = AR = P ≥ AVC

เส้ นอปทานของหน่
ุ ่ ต จะผลิต
วยผลิตในระยะสั้ น : เป็ นการศึกษาหนวยผลิ
สิ นค้าออกมาเสนอขายให้แกผู่ บ้ ริ โภค ในระยะสั้ น จะเริ่ มต้นจากการกาหนดราคาและผลผลิ
ํ ตใน
ลักษณะอยางไร ่
เส้นอุปทานของหนวยผลิ ่ ่ หนวยผลิ
ตในระยะสั้ น จากการศึกษาที่ผานมา ่ ตจะใช้ท้ งั
่ ั รวมทั้ งไมสามารถเปลี
ปั จจัยคงที่และผันแปรรวมกน ่ ่ยนขนาดการผลิต จะมีพฤติกรรมในเริ่ มต้น
ผลิตสิ นค้าออกขายให้กบผู ั บ้ ริ โภค โดยพิจารณาจากปัจจัยอะไร


รู ปภาพที่ 7.7 เส้นอุปทานของหนวยผลิ ตในระยะสั้ น
MC
ราคา AC
P5 E
P4 D
P3 C AVC
P2
B
P1 A

0 ปริ มาณผลผลิต
Q1 Q2 Q3 Q4 Q5

EC 111 165
ราคา S
P5 E
P4 D
P3 C
B
P2

0 ปริ มาณผลผลิต
Q2 Q3 Q4 Q5
อธิบายรู ปภาพที่ 7.7 เริ่ มต้นจากจุด A ณ ระดับราคา P1 หนวยผลิ ่ ่ ต
ตจะยังไมผลิ
สิ นค้าออกขายเสนอขาย เนื่องจากขาดทุน ไมคุ่ ม้ ทั้ งต้นทุนปั จจัยคงที่และผันแปร แตเมื ่ ่อราคา
่ ตจะเสนอขายสิ นค้าเทากบ
เพิ่มขึ้ นเป็ น P2 หนวยผลิ ่ ั Q2 ที่จุด B จึงถือว่ าเป็ นจดเริ
ุ ่มต้ นของเส้ น
อปทานของหน่
ุ วยผลิต บนเส้ น SMC ทีจ่ ุด C , D และ E

รู ปภาพที่ 7.8 เส้นอุปทานของหนวยผลิ ตและตลาด

หนวยผลิ ตก ่
หนวยผลิ ตข ตลาดหรื ออุตสาหกรรม
P S1 P S2 P S3

5 5 5

0 Q0 Q0 Q
10 20 30
อธิบายรปภาพที
ู ่
่ 7.8 ก และ ข แสดงเส้นอุปทานของหนวยผลิ ต ณ ราคา 5 บาท
จะผลิตสิ นค้าออกขายจํานวน 10 และ 20 หนว่ย เมื่อนําปริ มาณสิ นค้าของหนวยผลิ
่ ต ก และ ข
ั นปริ มาณเสนอขายสิ นค้าของตลาดเทากบ
มารวมกนเป็ ่ ั 30 หนวย

166 EC 111
7.5 ดลยภาพ
ุ หน่ วยธรกิ
ุ จและเส้ นอปุทานของหน่ วยธรกิ
ุ จในระยะยาว

การผลิตสิ นค้าของหนวยผลิ ่
ตแตละรายในระยะ ยาว สามารถเปลี่ยนแปลงปัจจัย
คงที่ให้เป็ นปัจจัยการผันแปรได้ หรื อเปลี่ยนขนาดการผลิตให้เหมาะสมได้นน่ั เอง เนื่องจากใน

ระยะสั้ นเมื่อหนวยผลิ ํ ิ
ตมีกาไรเกนปกติ ็ หนวยผลิ
กจะมี ่ ตใหมเข้
่ ามาแขงขั
่ น ทําให้มีกาไรลดลงหรื
ํ อ
อาจขาดทุนได้ กจะหยุ ็ ดการผลิตออกจากตลาดไป ดังนั้นในตลาดแข่ งขันสมบรณ์ ู ระยะยาวจะมี

เฉพาะกําไรเฉพาะกําไรปกติเท่ านั้น ดังรู ปภาพที่จะแสดงให้เห็นดังตอไปนี้

(1) ดลยภาพของหน่
ุ ่
วยผลิตในระยะยาว : แสดงได้ดงั รู ปภาพตอไปนี

่ ผลิตหรื อธุรกจในระยะยาว
รู ปภาพที่ 7.9 ดุลยภาพของหนวย ิ
ราคา LMC LAC

SMC SAC

A d = AR = MR
P0

0 ปริ มาณผลผลิต
Q0
อธิบายรู ปภาพที่ 7.9 การผลิตในระยะยาวหนวยผลิ ่ ตเปลี่ยนขนาดการผลิตให้
เหมาะสม มีตน้ ทุนตํ่าที่สุด ดังนั้ นเขาจึงเลือกจากขนาดการผลิตในระยะสั้ นใดที่มีตน้ ตํ่าที่สุ ด ก็
เป็ นปริ มาณการผลิตของเขาในระยาว ที่อยูท่ ี่จุด A นัน่ เอง ซึ่งเห็นได้วา่ ราคาสิ นค้าจะเทากบ่ ั
ํ (¶) = TR - TC = 0 เรี ยกวา่ มีกาไรปกติ
ต้นทุนเฉลี่ยในระยะยาว(LAC) ดังนั้ น กาไร ํ ่ ้น
เทานั

EC 111 167
(2) เส้ นอปทานของหน่
ุ วยธรกิ ่
ุ จในระยะยาว : แสดงได้ดงั รู ปภาพตอไปนี

รู ปภาพที่ 7.10 เส้นอุปทานของอุตสาหกรรมในระยะยาว
รปภาพ
ู ก กรณีต้นทนคงที
ุ ่
ราคา D0 D1 S0 S1

P0 = P1 E0 E1 LRS

0 ปริ มาณผลผลิต
Q0 Q1
อธิบายรปภาพ
ู ก แสดงให้เห็นวาเมื่ ่อมีการขายการผลิตมากขึ้ น อันเนื่องมาจาก

อุปสงค์เพิ่มจาก D0 เป็ น D1 หนวยผลิ ํ
ตได้รับกาไรเพิ ่่ ่
่ม จึงขยายการผลิตตามมา แตวาไมผลกระทบ

ตอราคาสิ นค้าและบริ การ (อาจเป็ นเพราะปั จจัยการผลิต ยังมีเหลือเฟื อ) ดังนั้ นจุดดุลยภาพ จึง
เปลี่ยนแปลงจาก E0 เป็ น E1 ปริ มาณผลผลิตเพิม่ จาก Q0 เป็ น Q1 จึงทําให้เส้นอุปทานของ

อุตสาหกรรมเป็ นเส้นตรง ขนานกบแกนนอน (จินตนาและบุญธรรม,2550 , หน้า 224)
รปภาพ
ู ข กรณีต้นทนเพิ
ุ ม่ ขึน้
ราคา D0 D1 S0 S 1
LRS

P1 E1
P0 E0

0 Q0 Q1 ปริ มาณผลผลิต

168 EC 111
อธิบายรปภาพ
ู ข แสดงให้เห็นวาเมื ่ ่อมีการขยายการผลิตมากขึ้ น ต้นทุนการใช้
ปั จจัยการผลิตเพิม่ ทําให้ราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้ น ทําให้ราคา P0 เป็ น P1 และ ปริ มาณผลผลิตจาก Q0
เป็ น Q1 จุดดุลยภาพเปลี่ยนจาก E0 เป็ น E1 จึงทําให้ เส้นอุปทานของอุตสาหกรรม(LRS)ในระยะ
ยาวเป็ นตรงทอดขึ้ นจากซ้ายไปขวา

รปภาพ
ู ค กรณีต้นทนลดลง

ราคา D0 D1 S0
S1

P0 E0
P1 E1

LRS
0 Q0 Q1

อธิบายรปภาพ
ู ่ ่อมีการขยายการผลิตมากขึ้ น มีการใช้ปัจจัยมาก
ค แสดงให้เห็นวาเมื
ขึ้ นแตต้่ นทุนการผลิตลดลง ทําให้ราคาสิ นค้าลดลง จาก P0 เป็ น P1 ปริ มาณผลผลิตเพิม่ จาก Q0
เป็ น Q1 จุดดุลยภาพเปลี่ยนจาก E0 เป็ น E1 ทําให้เส้นอุปทานของอุตสาหกรรม(LRS) ทอดลงจาก
ซ้ายไปขวา

EC 111 169
ส่ วนเกินผ้ ูบริโภคและส่ วนเกินผ้ ูผลิตในตลาดแข่ งขันสมบรณ์ ู : ที่ผา่นมาเคยศึกษา
ี่ ั สวนเกนของผู
เกยวกบ ่ ิ บ้ ริ โภค(Consumer surplus)มาแล้ว สําหรับผูผ้ ลิตจะมีส่ วนเกนิ (Producer

surplus) อยางไร จะได้ศึกษารายละเอียดตอไปนี่ ้
่ ิ
รู ปภาพที่ 7.11 สวนเกนของผู บ้ ริ โภคและผูผ้ ลิต
ราคา
A
S0

่ ิ บ้ ริ โภค
สวนเกนผู

P1 = 8 E0
่ ิ ผ้ ลิต
สวนเกนผู

P0 = 4 B
D0

0 150 350 ปริ มาณผลผลิต

ั นอุปทาน(S0) ที่จุด E0 ราคาดุลย


อธิบายรู ปภาพที่ 7.11 เส้นอุปสงค์(D0) ตัดกบเส้
ภาพคือ P1 เทากบ ่ ั 8 บาทตอหนวย ่ ่ มีการซื้ อขายสิ นค้า จํานวน 350 หนวย ่ จากการศึกษาที่ผาน ่
่ ิ
มาสวนเกนของผู บ้ ริ โภคคือพื้นที่ AE0P1
่ าหรับผูผ้ ลิตหรื อหนวยผลิ
กลาวสํ ่ ต จะเต็มใจผลิตสิ นค้าออกมาขายเมื่อราคาสิ นค้า
เริ่ มต้นที่ราคา 4 บาทตอหนวย่ ่ ไปจนกระทั้ งมีปริ มาณสิ นค้า 150 หนวย ่ ถ้าราคาสิ นค้าเพิม่ ขึ้ นหนวย่
ผลิตจะเพิ่มปริ มาณการผลิตสิ นค้ามากขึ้ นตาม จนถึงจุด E0 ซึ่งเป็ นจุดดุลยภาพของตลาด จะผลิต
จํานวน 350 หนวย ่ ดังนั้ นพื้นที่ส่ วนเกนผู
ิ ผ้ ลิตคือ P0BE0P1 นัน่ เอง

170 EC 111
คําถามท้ ายบท

่ ้น
จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องสุ ด เพียงคําตอบเดียวเทานั

1. ประเภทของตลาด(Market) แบงตามลั ่ กษณะของการใช้สินค้า ได้แกตลาด ่ สิ นค้า


(1) สําหรับผูผ้ ลิตและผูบ้ ริ โภค (2) สําหรับสิ นค้าเกษตรและอุตสาหกรรม
(3) สําหรับการซื้ อขายทันทีและลวงหน้ ่ า (4) การแขงขั ่ นสมบูรณ์และไมสมบู ่ รณ์
2. ประเภทของตลาด(Market) แบงตามลั ่ กษณะของระยะเวลา ได้แกตลาด ่
(1) สําหรับผูผ้ ลิตและผูบ้ ริ โภค (2) สําหรับสิ นค้าเกษตรและอุตสาหกรรม
(3) สําหรับการซื้ อขายทันทีและลวงหน้ ่ า (4) การแขงขั ่ นสมบูรณ์และไมสมบู ่ รณ์
3. ลักษณะที่สาํ คัญของตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ ได้แก่
(1) มีผซู ้ ้ือและผูข้ ายสิ นค้าจํานวนมาก (2) สิ นค้ามีลกั ษณะเหมือนกนทุ ั กประการ
(3) หนวยธุ ่ รกจเข้ ิ าออกการแขงขั ่ นได้โดยเสรี (4) ถูกทุกข้อ
4. ลักษณะของตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ ในข้อใดที่ส่ งผลทําให้เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหนวยธุ ่ รกจิ
ขนานกบแกนปริ ั มาณผลผลิต(แกนนอน)
(1) มีผซู ้ ้ือและผูข้ ายสิ นค้าจํานวนมาก ่ รกจเข้
(2) หนวยธุ ิ าออกการแขงขั ่ นได้โดยเสรี
(3) ผูซ้ ้ือและผูข้ ายมีความรู ้ตลาดสมบูรณ์ (4) สิ นค้ามีลกั ษณะเหมือนกนทุ ั กประการ
5. ตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหนวยธุ ่ รกจและตลาด
ิ มีความแตกตางกนอยางไร่ ั ่
(1) เส้นอุปสงค์ของตลาดมีลกั ษณะตั้ งฉากกบแก ั นนอนและหนวยธุ ่ รกจขนานกบแกนนอน
ิ ั
(2) เส้นอุปสงค์ของตลาดความชันทอดลงจากซ้ายไปขวาและของหนวยธุ ่ รกจขนานกบแกนนอน
ิ ั
(3) เส้นอุปสงค์ของตลาดมีลกั ษณะขนานกบแกนนอน ั และหนวยธุ่ รกจมี ิ ความชันทอดลงจาก
ซ้ายไปขวา
(4) เส้นอุปสงค์ของตลาดจะทอดขึ้ นจากซ้ายไปขวา และหนวยธุ ่ รกจขนานกบแกนนอน
ิ ั
6. ในโลกแหงความเป็ ่ นจริ ง ตลาดสิ นค้าที่มีลกั ษณะคุณสมบัติใกล้เคียงตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ได้แก่
(1) ตลาดหุน้ (2) ตลาดซื้ อขายโทรศัพท์มือถือ
(3) ตลาดสิ นค้าอีเลคทรอนิคส์ (4) ตลาดสิ นค้าซื้ อขายทองคําลวงหน้ ่ า

EC 111 171
7. การยอมรับราคาในตลาด มาตั้ งเป็ นราคาสิ นค้าของหน่วยธุรกจิ(Price Taker) อยูใ่ นตลาดอะไร
(1) ตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ (2) ตลาดผูกขาด
(3) ตลาดผูข้ ายมากราย (4) ตลาดผูข้ ายน้อย
8. การที่หนวยธุ ่ รกจในตลาดแขงขั
ิ ่ นสมบูรณ์ ไมใช้่ การลดราคาสิ นค้าของตนให้ต่าํ กวาตลาด

มีเหตุผลวา่

(1) ผูซ้ ้ือสิ นค้าต้องตอรองราคาให้ ถูกที่สุด (2) ไมจํ่ าเป็ น เพราะปริ มาณสิ นค้าที่มีอยูก่ ขายได้

หมดอยูแ่ ล้ว
(3) หนวยธุ ่ รกจถื ิ อวา่ สิ นค้าตนเองคุณภาพดี (4) กลัวคู่แขงจะลดราคาสิ
่ นค้าตาม ยอดขายจะไม่
ไปตามที่คาดการณ์ไว้
9. ดุลยภาพของหนวยธุ ่ รกจในตลาดแขงขั
ิ ่ นสมบูรณ์มีกาไรเกนปกติ
ํ ิ เราจะพบวา่
(1) MR = MC = P = AR > AC (2) MR = MC = P = AR = AVC
(3) MR = MC = P = AR = AFC (4) MR = MC = P = AR < AC
10. ข้อใดถือวาเป็ ่ นจุดคุม้ ทุน(Break-event point) ของหนวยธุ ่ รกจในตลาดแขงขั
ิ ่ นสมบูรณ์
(1) MR = MC = P = AR < AC (2) MR = MC = P = AR = AC
(3) MR = MC = P = AR = AVC (4) MR = MC = P = AR = AFC

จงใช้รูปภาพการกาหนดราคาและผลผลิ ตในตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ต่อไปนี้ เพื่อตอบคําถามใน
ข้อที่ 11-14
P MC P MC P MC P MC AC
AC AC AC AVC
P0 MR P0 MR P0 AVC MR

0 0 0 0
Q0 Q0 Q0 Q0
รู ปภาพที่ 1 รู ปภาพที่ 2 รู ปภาพที่ 3 รู ปภาพที่ 4
่ ่ รกจขาดทุ
11. รู ปภาพใด ที่แสดงให้เห็นวาหนวยธุ ิ น และต้องหยุดการผลิตสิ นค้า
(1) รู ปภาพที่ 1 (2) รู ปภาพที่ 2 (3) รู ปภาพที่ 3 (4) รู ปภาพที่ 4
่ ่ รกจมี
12. รู ปภาพใด ที่แสดงให้เห็นวาหนวยธุ ิ กาไรปกติ

(1) รู ปภาพที่ 1 (2) รู ปภาพที่ 2 (3) รู ปภาพที่ 3 (4) รู ปภาพที่ 4
172 EC 111
13. รู ปภาพใด ที่แสดงให้เห็นวาหนวยธุ่ ่ รกจิ ขาดทุน แตอาจยั ่ งผลิตสิ นค้าตอไปได้

(1) รู ปภาพใด 1 (2) รู ปภาพที่ 2 (3) รู ปภาพที่ 3 (4) รู ปภาพที่ 4
14. รู ปภาพใด ที่แสดงให้เห็นวาหนวยธุ ่ ่ รกจิ มีกาไรเกนปกติ
ํ ิ
(1) รู ปภาพที่ 1 (2) รู ปภาพที่ 2 (3) รู ปภาพที่ 3 (4) รู ปภาพที่ 4
15. เส้นอุปทานของหนวยธุ ่ รกจในตลาดแขงขั
ิ ่ นสมบูรณ์ คือตัวเลือกข้อใด
(1) เส้น AVC ที่เพิม่ ขึ้ น (2) เส้น AC ที่เพิ่มขึ้ น
(3) บนเส้น MC ที่อยูเ่ หนือจุดตํ่าสุ ดของเส้น AVC ขึ้ นไป
(4) บนเส้น MCที่อยูเ่ หนือจุดตํ่าสุ ดของเส้น AC ขึ้ นไป
16. เส้นอุปทานในระยะยาวของหนวยธุ ่ รกจในตลาดแขงขั
ิ ่ นสมบูรณ์ กรณี ตน้ ทุนคงที่มีลกั ษณะ

อยางไร

(1) ขนานกบแกนปริ มาณผลผลิต(แกนนอน) (2) ลาดลงจากซ้ายไปขวามือ
(3) ทอดขึ้ นจากซ้ายไปขวามือ (4) เป็ นไปได้ในทั้ ง 3 กรณี

จงใช้รูปภาพตอไปนี ้ เพื่อตอบคําถามข้อที่ 17-20
ราคา MC AC

P4 D
P3 C
AVC
P2 B
P1 A

0 ปริ มาณผลผลิต
่ ที่หนวยธุ
17. ระดับราคาสิ นค้าเทาใด ่ รกจต้
ิ องหยุดการผลิต (Shut-down Point)
(1) ระดับราคา P1 (2) ระดับราคา P2 (3) ระดับราคา P3 (4) ระดับราคา P4
่ ที่หนวยธุ
18. ระดับราคาสิ นค้าเทาใด ่ รกจมี
ิ กาไรเกนปกติ
ํ ิ
(1) ระดับราคา P1 (2) ระดับราคา P2 (3) ระดับราคา P3 (4) ระดับราคา P4

EC 111 173
19. จุดใดที่แสดงให้เห็นวา่ หนวยธุ
่ รกจขาดทุ
ิ ่ งผลิตสิ นค้าตอไป
นแตอาจยั ่
(1) จุด A (2) จุด B (3) จุด C (4) จุด D
20. จุดใดที่แสดงให้เห็นวา่ หนวยธุ
่ รกจมี
ิ ผลประกอบการกาไรปกติ

(1) จุด A (2) จุด B (3) จุด C (4) จุด D

เฉลยคําถามท้ ายบท
ข้อ 1 ( 1 ) ข้อ 2 ( 3 ) ข้อ 3 ( 4 ) ข้อ 4 ( 1 ) ข้อ 5 ( 2 ) ข้อ 6 ( 1 ) ข้อ 7 ( 1 )
ข้อ 8 ( 2 ) ข้อ 9 ( 1 ) ข้อ 10 ( 2 ) ข้อ 11 ( 4 ) ข้อ 12 ( 2 ) ข้อ 13 ( 3 ) ข้อ 14 ( 1 )
ข้อ 15 ( 3 ) ข้อ 16 ( 1 ) ข้อ 17 ( 1 ) ข้อ 18 ( 4 ) ข้อ 19 ( 2 ) ข้อ 20 ( 3 )

174 EC 111
บทที่ 8
ตลาดแข่ งขันไม่ สมบรณ์
ู : การกําหนดราคาและผลผลิต

เนือ้ หาการศึกษา
1. ตลาดผกขาด ู : คุณลักษณะที่สาํ คัญของตลาด และสาเหตุการผูกขาด
เส้นอุปสงค์ในทัศนะของผูผ้ กู ขาด รายรับเฉลี่ย และรายรับเพิม่
ดุลยภาพของผูผ้ กู ขาดในระยะสั้ น และระยะยาว เส้นอุปทาน
การควบคุมผูผ้ กู ขาด ทั้ ง 2 กรณี
2. ตลาดกึง่ แข่ งขันกึง่ ผกขาดหรื
ู อผู้ขายมากราย : คุณลักษณะสําคัญของตลาด
เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหนวยธุ ่ รกจตลาดผู
ิ ข้ ายมากราย
ดุลยภาพของหนวยธุ ่ รกจิ ในระยะสั้ น และระยะยาว
3. ตลาดผู้ขายน้ อยราย : คุณลักษณะสําคัญของตลาด
เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหนวยธุ ่ รกจและกลุ
ิ ม่ ผลิตภัณฑ์
ดุลยภาพของหนวยธุ ่ รกจิ กรณี ดาํ เนินนโยบายอิสระ และ กรณี ดาํ เนิน
นโยบายรวมตัวกนั
สาระสํ าคัญการศึกษา
1. ลักษณะสํ าคัญของตลาดผกขาดที ู ส่ ําคัญ 5 ประการ ประกอบด้วย (1) มีผผู ้ ลิต
สิ นค้าเพียงรายเดียว (2) สิ นค้าทดแทนกนได้ ั ยาก (3) การเป็ นผูก้ าหนดราคาสิ
ํ นค้า(Price Taker) (4)
มีอุปสรรคในการเข้าออกตลาด และ (5) ไมมี่ การแขงขั ่ นค้าได้แก่ กจการ
่ นทางด้านราคา ตัวอยางสิ ิ
สาธารณูปโภค ไฟฟ้ า ประปา ยาสู บ และสลากกนแบง ิ ่ เป็ นต้น
2. สาเหตทีุ ท่ าํ ให้ เกิดการผกขาด
ู : มีที่มาจาก (1) การเป็ นเจ้าของปั จจัยการผลิตแตผู่ ้
เดียวภายในประเทศ (2) หนวยธุ ่ รกจได้ ิ รับสิ ทธิบตั รหรื อใบอนุญาตจากรัฐบาล (3) การประหยัดจาก
ขนาดการผลิตที่ใช้การลงทุนขนาดใหญ่
3. เส้ นอปสงค์
ุ ในทัศนะของผ้ ูผูกขาด : เส้นอุปสงค์มีลกั ษณะทอดลงจากซ้ายไปขวา
่ างชัน โดยมีความยืดหยุน่ น้อย เส้นอุปสงค์(D) เป็ นเส้นเดียวกนกบเส้
และคอนข้ ั ั นรายรับเฉลี่ย(AR)
และเส้นรายรับเพิ่ม(MR) มีความชันเป็ นสองเทาของเส้ ่ นอุปสงค์
EC 111 175
4. ดลยภาพของผ้
ุ ํ
ผู ูกขาดในระยะสั้ น : การกาหนดราคาและผลผลิ ต หนวยธุ ่ รกจมี ิ
เป้ าหมายแสวงหากาไรสู ํ งสุ ด จะเลือกปริ มาณการผลิตสิ นค้า ณ จุดที่ MR = MC อยางไรก ่ ต็ ามผล
ประกอบการอาจมีความเป็ นไปได้ (1) มีกาไรเกนปกติ ํ ิ ํ
(2) มีกาไรปกติ และ (3) ขาดทุน ทั้ งนี้
ั นทุนการผลิตของหนวยธุ
ขึ้ นกบต้ ่ รกจแตละรายิ ่ จะพบวา่ MR = SMC < P = AR ≥ AVC
5. ดลยภาพของผ้
ุ ํ
ูผูกขาดในระยะยาว : การกาหนดราคาและผลผลิ ต เนื่องจาก
หนวยธุ่ รกจผู ิ ผ้ กู ขาดเปลี่ยนแปลงขนาดการผลิตได้ จึงมีกาไรทางเศรษฐศาสตร์ ํ เมื่อเข้าสู่ ดุลยภาพจะ
มีค่าของ MR = SMC = LMC < P =AR > SAC = LAC ในตลาดผูกขาดไมสามารถหาเส้ ่ นอุปทาน
ได้ เพียงแตวาเป็่ ่ นจุดหนึ่งที่อยูบ่ นเส้นอุปสงค์(D) หรื อรายรับเฉลี่ย(AR)เทานั ่ ้น
6. การควบคมผ้ ุ ูผูกขาด โดยการที่รัฐบาลเข้าไปกาหนด ํ ราคาหรื อผลผลิต เกบภาษี ็
จากหนวยธุ ่ รกจเรี ิ ยกวา่ การผูกขาดภายใต้ขอ้ บังคับ(Regulated monopoly) สําหรับการกาหนดราคา ํ
และปริ มาณผลผลิต กระทําได้เชน่ กาหนดราคาขายสิ ํ นค้า(P) เทากบ ่ ั ต้นทุนเฉลี่ยทั้ งหมด(ATC)
เรี ยกวา่ ราคายุติธรรม (หนวยธุ ่ รกจมี ิ กาไรปกติ ํ ) เป็ นต้น กรณี การเกบภาษี ็ ่ รกจที
เพื่อให้หนวยธุ ิ ่มี
ํ ิ
กาไรเกนปกติ ให้มีรายรับทั้งหมดเทากบต้ ่ ั นทุนทั้ งหมดเทานั ่ ้น
7. ลักษณะที่สําคัญของตลาดกึง่ แข่ งขันกึง่ ผกขาด ู หรื อ ผูข้ ายมากราย มีลกั ษณะดังนี้
(1) ผลิตภัณฑ์มีความแตกตางกน ่ ั :ทั้ งในเชิงกายภาพ ,พื้นที่ต้ งั , การให้บริ การ เป็ นต้น (2) มีผผู ้ ลิต
หรื อผูข้ ายจํานวนมาก แตละรายมี ่ ส่ วนแบงตลาดคอนข้
่ ่ างน้อย (3) ถ้าสิ นค้ามีลกั ษณะแตกตางกน ่ ั
่ รกจจะมี
หนวยธุ ิ อิทธิพลตอราคาบ้ ่ างเล็กน้อย (4) การเข้าออกตลาดทําได้ง่าย
8. เส้ นอปสงค์
ุ ในทัศนะของผ้ ูขายมากราย: มีลกั ษณะ (1) เส้นอุปสงค์จะมีความชัน

น้อยกวาตลาดผู กขาด (2) จํานวนธุรกจมี ิ มากน้อยจะมีผลทําให้เส้นอุปสงค์แตกตางกนไป ่ ั (3) จะมี
เส้นอุปสงค์ 2 เส้น เรี ยกวา่ เส้นอุปสงค์คาดการณ์ และเส้นอุปสงค์ที่เกดขึ ิ ้ นจริ ง
9. ดลยภาพของหน่
ุ วยธรกิ ุ จในระยะสั้ นของหนวยธุ ่ รกจและกลุิ ่มผลิตภัณฑ์ มีความ
เป็ นไปได้ ที่จะมีผลประกอบการทั้ งกาไร ํ และขาดทุน
10. ดลยภาพในระยะยาวของหน่
ุ ุ จและกล่ ุมผลิตภัณฑ์ : จะมีเฉพาะกาไรปกติ
วยธรกิ ํ
เทา่นั้ นและไมสามารถหาเส้
่ นอุปทานของหนวยธุ ่ รกจได้ิ
11. ลักษณะสํ าคัญของตลาดผู้ขายน้ อยราย : มี 3 ประการ (1) มีผผู ้ ลิตหรื อผูข้ าย
จํานวนน้อย (2) สิ นค้าของผูข้ ายแตละรายอาจมี ่ ลกั ษณะเหมือนกนหรื ั อแตกตางกน ่ ั (3) การเข้าออก
ตลาดคอนข้ ่ างลําบาก
176 EC 111
12. เส้ นอปสงค์
ุ ในทัศนะของหน่ วยธรกิ ุ จตลาดผู้ขายน้ อยราย (1) กรณี หนวยธุ ่ รกจิ
ดําเนินนโยบายอิสระ (2) กรณี หนวยธุ ่ รกจดํ ิ าเนินนโยบายรวมตัวกนั
จดประสงค์
ุ การศึกษา
เมื่อศึกษาบทที่ 8 จบแล้ว ควรที่จะตอบคําถามตางๆได้ ่ ่ กต้อง
อยางถู
1. ตลาดผูกขาด : มีลกั ษณะที่สาํ คัญของตลาดเป็ นอยางไร ่ ิ
และสาเหตุที่ทาํ ให้เกดการ
ผูกขาดมาจากปั จจัยอะไรบ้าง
2. ลักษณะเส้นอุปสงค์ในทัศนะของหนวยธุ ่ รกจผู
ิ ผ้ กู ขาด มีลกั ษณะอยางไร


3. ดุลยภาพของผูผ้ กู ขาดในระยะสั้ น และระยะยาว : มีการกาหนดราคาและผลผลิ ต

อยางไร การควบคุมการผูกขาดของรัฐบาลทําได้อยางไร ่
4. ตลาดกงแขงขั่ ึ ่ นกงผู
่ ึ กขาดหรื อผูข้ ายมากราย : มีคุณลักษณะที่สาํ คัญอยางไร ่
่ นค้าในตลาดนี้ คือสิ นค้าอะไร
ตัวอยางสิ
5. เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหนว่ยธุรกจิ ตลาดผูข้ ายมากรายมีลกั ษณะอยางไร ่
6. ดุลยภาพของหนวยธุ ่ รกจและกิ ลุ่มผลิตภัณฑ์ ในระยะสั้ นและระยะยาว มีลกั ษณะ

อยางไร
7. ตลาดผูข้ ายน้อยราย : มีคุณลักษณะที่สาํ คัญอยางไร ่ ตัวอยางสิ ่
่ นค้าได้แกอะไร
8. เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหนวยธุ ่ รกจิ (1)กรณี ดาํ เนินนโยบายอิสระ (2) กรณี
ดําเนินนโยบายรวมตัวกนั มีลกั ษณะอยางไร ่

EC 111 177
การศึกษาตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ในบทที่ผานมา ่ ั
คุณลักษณะของตลาดกบความเป็ น
่ ้ นได้ยากยิง่ บทนี้ จะศึกษาตลาดที่มีการแขงขั
จริ ง จะหาสิ นค้าใดมีลกั ษณะเชนนั ่ นไมสมบู
่ รณ์ ซึ่งจะ

มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกบตลาด ่
ในโลกแหงความเป็ นจริ งมากกวา่ ดังนั้ นการศึกษาตลาดแขงขั
่ น
่ รณ์ จึงประกอบไปด้วยตลาดตางๆดั
ไมสมบู ่ งตอไปนี
่ ้
1. ตลาดผูกขาด (Monopoly competition)
่ ึ ่ นกงผู
2. ตลาดกงแขงขั ่ ึ กขาดหรื อผูข้ ายมากราย(Monopolistic competition)
3. ตลาดผูข้ ายน้อยราย(Oligopoly competition)

8.1 ตลาดผกขาด ู (Monopoly competition)


ลักษณะของตลาดผกขาดที ู ส่ ํ าคัญ : ประกอบด้วย
(1) มีผผู ้ ลิตสิ นค้าเพียงรายเดียว(Single Seller) : เนื่องจากมีผผู ้ ลิตสิ นค้าเพียงรายเดียว
่ ตหรื อธุรกจิ กบอุ
ดังนั้ นหนวยผลิ ั ตสาหกรรม จึงเป็ นสิ่ งเดียวกนั เส้นอุปสงค์ของผูผ้ กู ขาดเป็ นเส้น
ั นอุปสงค์ของอุตสาหกรรมหรื อตลาดด้วย
เดียวกบเส้
(2) สิ นค้าทดแทนกนได้ ั ยาก : เนื่องจากมีผผู ้ ลิตเพียงรายเดียวและสิ นค้าชนิดเดียว ทํา

ให้ผผู ้ ลิตรายอื่นๆไมสามารถเข้ ่ นได้
ามาแขงขั

(3) การเป็ นผูก้ าหนดราคาสิ นค้า(Price maker) : การเป็ นผูผ้ ลิตสิ นค้าเพียงรายเดียวใน
ตลาด จึงทําให้มีอิทธิพลในการกาหนดราคาสิ ํ ่ ่ รกจจะไมสามารถ
นค้าได้ ตามที่ตอ้ งการ แตหนวยธุ ิ ่

กาหนด ปริ มาณการผลิตหรื อขายสิ นค้าได้ตามที่ตอ้ งการ เพราะวาเมื ่ ่อราคาสิ นค้าสู งขึ้ น ปริ มาณ
เสนอซื้ อสิ นค้าจะลดลง ดังนั้ นทําให้หนวยธุ ่ รกจต้ ิ องเลือกเป้ าหมายระหวาง ่ การกาหนดราคา
ํ หรื อ
ปริ มาณการผลิตสิ นค้าที่ตอ้ งการเพียงอยางใดอยางหนึ่ ่ ่ งเทานั
่ ้น
(4) มีอุปสรรคในการเข้า-ออกตลาด : สาเหตุที่ทาํ ให้หนวยธุ ่ รกจรายอื
ิ ่
่นไมสามารถ
เข้ามาแขงขั ่ นได้ เนื่องจากมีอุปสรรคที่เกดจากกระบวนการผลิ
ิ ต เทคโนโลยี และกฎหมาย เป็ นต้น
(5) ไมมี่ การแขงขั ่ นทางด้านราคา: สิ นค้าในตลาดผูกขาด มีความเป็ นมาตรฐานเดียว
(Standardize
ตัวอย่ าง สิ นค้ าในตลาดผกขาด ู ได้แก่ กจการสาธารณู
ิ ปโภคทั้ งหลาย เชน่ ไฟฟ้ า
ประปา ยาสู บ และสลากกนแบง ิ ่ ฯลฯ

178 EC 111
สาเหตทีุ ท่ าํ ให้ เกิดการผกขาด
ู ่ งนี้
: มาจากประเด็นตางๆดั
(1) การประหยัดจากขนาดการผลิต : เนื่องจากการผลิตสิ นค้าจําเป็ นต้องลงทุนมาก
และผลิตเป็ นจํานวนมาก ทําให้ตน้ ทุนเฉลี่ยตอหนวยตํ ่ ่ ่า ราคาสิ นค้าตํ่าไปด้ว ย หนวยธุ ่ รกจรายเล็

จึงเข้ามาแขงขั ่ นสูไ้ มได้ ่ ประกอบกบการผลิ ั ตขนาดใหญ่ มีผลตอการประหยั
่ ดจากขนาดการผลิต จึง
่ น การผกขาดโดยธรรมชาติ
ถือวาเป็ ู (Natural monopoly)
(2) หน่ วยธรกิ ุ จได้ รับสิ ทธิบัตร หรือใบอนญาตจากรั
ุ ฐ : ทําให้มีกฎหมายคุม้ ครอง
จึงไมมี่ หนวยธุ
่ รกจอื ิ ่นๆเข้ามาแขงขั ่ นได้
(3) การเป็ นเจ้ าของปัจจัยการผลิตแต่ ผู้เดียวในประเทศ : ถ้าหนวยธุ ่ รกจผลิ
ิ ตสิ นค้า
สิ นค้าชนิดหนึ่งซึ่งมีปัจจัยการผลิตภายในประเทศ โดยที่ตนเองเป็ นเจ้าของปัจจัยอีกด้วย จึงเกดการ ิ
ผูกขาดเกดขึ ิ ้ นได้
8.1.1. เส้ นอปสงค์
ุ ในทัศนะของผ้ ูผูกขาด รายรับเฉลีย่ (AR) และ รายรับเพิม่ (MR)
เนื่องจากเส้นอุปสงค์ของผูผ้ กู ขาดและตลาดเป็ นเส้นเดียวกนั มีลกั ษณะลาดทอดลง
จากซ้ายไปขวา ทําให้หนวยธุ ่ รกจต้ ิ องเลือกระหวางเป้ ่ าหมายกาไร ํ หรื อปริ มาณการผลิตสิ นค้า เชน่
ถ้าต้องการตั้ งราคาสิ นค้าสู ง ปริ มาณขายสิ นค้าจะน้อย หรื อ ปริ มาณขายสิ นค้ามาก กต้็ องลดราคา
สิ นค้า ดังนั้ นเส้นอุปสงค์ของผูผ้ กู ขาดจึงความยืดหยุน่ น้อยหรื อลาดชันมาก นัน่ เอง
รู ปภาพที่ 8.1 เส้นอุปสงค์ รายรับเฉลี่ยและรายรับเพิ่ม ของหนวยธุ ่ รกจิ
ก. เส้นอุปสงค์ในทัศนะผูผ้ กู ขาด ข. เส้นรายรับเฉลี่ยและรายรับเพิม่ ของผูผ้ กู ขาด
ราคา ราคา
P1 A P1 A

P2 B
D = AR D = AR
MR
0 Q1 Q2 ปริ มาณผลผลิต 0 Q1 ปริ มาณผลผลิต
อธิบายรปภาพที
ู ่ 8.1 ก. เส้นอุปสงค์ในทัศนะของผูผ้ กู ขาด จะมีลกั ษณะลาดทอดลง

จากซ้ายไปขวา ทําหน้าที่ท้ งั เส้นอุปสงค์ของหนวยผลิ ่ รกจผู
ตและตลาดด้วย เมื่อหนวยธุ ิ กขาด

EC 111 179

กาหนดราคาที ่ P1 ปริ มาณซื้ อสิ นค้าของผูบ้ ริ โภคจะเทากบ ่ ั Q1 แตถ้่ าต้องการปริ มาณซื้ อสิ นค้าของ
หนวยผลิ่ ตมากขึ้ น ต้องลดราคาเป็ น P2 ปริ มาณซื้ อสิ นค้าเพิ่มเป็ น Q2 สรปแสดงให้ ุ เห็นว่ าหน่ วย
ธรกิ
ุ จต้ องเลือกระหว่ างเป้ าหมาย ราคาสิ นค้ า หรือปริมาณซื้อสิ นค้ าจากผู้บริโภค
รู ปภาพที่ 8.1 ข. ตลาดผูกขาดเส้นอุปสงค์(D) และรายรับเฉลี่ย(AR) จะเป็ นเส้น
เดียวกนั สวนเส้
่ นรายรับเพิ่ม(MR) จะอยูต่ ่าํ กวาเส้ ่ นอุปสงค์ทุกๆระดับผลผลิต มีความชันเป็ น 2 เทา่

ของเส้นอุปสงค์ ชวงแรกจะมี ค่าสู งและเป็ นบวก เมื่อปริ มาณผลผลิตมากขึ้ น เส้น MR จะเป็ นศูนย์
และติดลบได้
8.1.2. ดลยภาพของผ้
ุ ํ
ูผูกขาดในระยะสั้ น : การกาหนดราคาและผ ลผลิต
การผลิตสิ นค้าของหนวยผลิ ่ ตผูผ้ กู ขาด กมี็ เป้ าหมายเชนเดี
่ ยวกนกบตลาดแขงขั
ั ั ่ น
สมบูรณ์คือ ต้องการแสวงหากาไรสู ํ งสุ ด และปริ มาณผลผลิต ณ ระดับที่ MR = MC เสมอ อยางไร ่

กตามผลประกอบการของผู ํ ิ
ผ้ กู ขาดจะมีท้ งั กาไรเกนปกติ ํ
กาไรปกติ และ ขาดทุน ทั้ งนี้ ข้ ึนอยูก่ บั
่ ่ รกจแตละราย
วาหนวยธุ ิ ่ จะมีตน้ ทุนจากปั จจัยคงที่และผันแปร สูงหรื อตํ่า มากน้อยเพียงใด
(1) กรณีหน่ วยธรกิ ุ จผู้ผูกขาดมีกาํ ไรเกินปกติ (TR – TC > 0 )
ํ ิ
รู ปภาพที่ 8.2 ผูผ้ กู ขาดมีกาไรเกนปกติ
ราคา SMC
10
A AC

กาไร
8 B
D= AR

0 40 MR ปริ มาณผลผลิต
อธิบายรู ปภาพที่ 8.2 หนวยธุ ่ รกจผู ิ ผ้ กู ขาดต้องการแสวงหากาไรสู
ํ งสุ ด จึงผลิต
สิ นค้าที่จุด MR = MC คือปริ มาณเทากบ ่ ั 40 หนวย ่ กาหนดรํ ่
าคาขายหนวยละ ่ ่
10 บาท แตหนวย
่ ่ ่ ั 8 บาท ดังนั้ นจึงมีกาไร
ผลิตมีตน้ ทุนเฉลี่ย(AC)ตอหนวยเทากบ ํ 2 บาทตอหนวย
่ ่ ดังนั้ นจึงมีรายรับ
รวม(TR) เทากบ ่ ั 400 บาท ต้นทุนรวม(TC) เทากบ ่ ั 320 บาท มีกาไรทั ํ ้ งหมด( 2 บาท X 40 หนวย ่ )
่ ั 80 บาท สรปุ หน่ วยธรกิ
เทากบ ุ จผ้ ูผูกขาดจึงมีกาํ ไรเกินปกติ

180 EC 111
(2) กรณีหน่ วยธรกิ
ุ จผ้ ูผูกขาดมีกาํ ไรปกติ (TR - TC = 0)
่ รกจผู
รู ปภาพที่ 8.3 หนวยธุ ิ ผ้ กู ขาดมีกาไรปกติ

ราคา SMC
10 A AC

D = AR
MR
0 40 ปริมาณผลผลิต
อธิบายรปภาพ
ู ่ รกจกาหนดราคาตอหนวยเทากบ
ที่ 8.3 หนวยธุ ิ ํ ่ ่ ่ ั 10 บาท ผลิตที่
ปริ มาณ 40 หนวย ่ รายรับรวม(TR)เทากบ ่ ั 400 บาท แตต้่ นทุนเฉลี่ยตอหนวย่ ่ (AC)เทากบ
่ ั 10
่ ่ สูงกวากรณี
บาทตอหนวย ่ ํ ิ
มีกาไรเกนปกติ ่ ั 400 บาท เชนเดี
เป็ นต้นทุนรวม(TC)เทากบ ่ ยวกนั ดังนั้ น
่ รกจมี
กรณี น้ ีหนวยธุ ิ กาไรเทา
ํ ่ กบศู
ั นย์ จึงถือว่ ามีกาํ ไรปกติ
ุ จผ้ ูผูกขาดขาดทนุ (TR – TC < 0)
(3) กรณีหน่ วยธรกิ
่ รกจขาดทุ
รู ปภาพที่ 8.4 หนวยธุ ิ นจากการผลิต
ราคา AC AVC
13 MC
11
10

D = AR
0 ปริ มาณผลผลิต
40 MR
่ รกจตั
อธิบายรู ปภาพที่ 8.4 หนวยธุ ิ ้ งราคาสิ นค้าเทากบ
่ ั 10 บาท ผลิตจํานวน 40
่ รายรับรวมของหนวยผลิ
หนวย ่ ่ ั 400 บาท แต่เนื่องจากธุรกจมี
ตเทากบ ิ ตน้ ทุนสู งกวาทั
่ ้ ง 2 กรณี ที่

ผานมา ่ อต้นทุนผันแปรเฉลี่ย(AVC)เทากบ
กลาวคื ่ ั 11 บาท และต้นทุนทั้ งหมดเฉลี่ย(AC) เทากบ ่ ั

EC 111 181
่ ่ ดังนั้ นจึงขาดทุนแนนอนหนวยละ
13 บาทตอหนวย ่ ่ 3 บาท ต้นทุนรวมทั้ งหมด(TC)เทากบ ่ ั 520
บาทขาดทุนรวมเทากบ ่ ั 120 บาท จึงถือวากรณี ่ ุ จขาดทนุ และต้องหยุดการผลิตด้วย
นีห้ น่ วยธรกิ
กล่ าวโดยสรปุจากการศึกษาทั้ ง 3 กรณี มีความเป็ นไปได้วาหนวยธุ ่ ่ รกจผู ิ ผ้ กู ขาดอาจมี
ํ ิ
ผลประกอบการทั้ ง กาไรเกนปกติ ํ
กาไรปกติ และขาดทุน กได้ ็ ขึ้ นอยูต่ น้ ทุนของหนวยธุ
่ รกจแตละิ ่
รายสูงหรื อตํ่า เมื่อเข้าสู่ ดุลยภาพระยะสั้ น จะมีค่าของ MR = SMC < P =AR ≥ AVC

8.1.3. ดลยภาพของหน่
ุ วยธรกิ ํ
ุ จผ้ ูผูกขาดในระยะยาว : การกาหนดราคาและผลผลิ ต
การศึกษาหนวยธุ่ รกจผู
ิ ผ้ กู ขาดในระยะสั้ นอาจมีท้ งั กาไรและขาดทุ
ํ ่
น แตในระยะยาว
่ รกจเปลี
หนวยธุ ิ ่ยนปัจจัยคงที่ให้เป็ นผันแปรทั้ งหมดได้ ถ้ายังขาดทุนอยูก่ จะสรรหาวิ
็ ธีการใช้
ทรัพยากรแบบใหมและเลื่ ํ
อกขนาดการผลิตที่เหมาะสม เพื่อทําให้มีกาไรทางเศรษฐกจ ิ (Economic
ํ อย ให้มีกาไรมากขึ
Profit) รวมทั้ งกรณี มีกาไรน้ ํ ้ นอีกด้วย
่ รกจผู
รู ปภาพที่ 8.5 หนวยธุ ิ กขาดในระยะยาวกบขนาดการผลิั ตที่มีกาํไรมากที่สุด
ต้นทุน,ราคา LAC
SAC0 SMC0
P0
P0 E0 SMC1 LMC
A
SAC1
P1
E1
B
D = AR
MR

0 Q0 Q1 ปริ มาณผลผลิต
อธิบายรู ปภาพที่ 8.5 เริ่ มต้นจากเส้น D เป็ นเส้นอุปสงค์และเส้นรายรับเฉลี่ย(AR) ผู ้

ผูกขาดกาหนดราคาขายสิ ่ ั OP0 และปริ มาณผลผลิตเทากบ
นค้าเทากบ ่ ั OQ0 ณ จุด MR = SMC0 มี
่ ่ ที่จุด E 0 เทากบ
ต้นทุนรวมเฉลี่ย(SAC0) ตอหนวย ่ ั OA ดังนั้ นกาไรตอหนวยเทากบ
ํ ่ ่ ่ ั AP0

182 EC 111
เนื่องจากในระยะยาวหนวยธุ ่ รกจผูิ ผ้ กู ขาด สามารถเลือกขนาดการผลิตที่เหมาะสม

กวาและมี ํ ่
กาไรมากกวาได้ เมื่ออยูบ่ นเส้นต้นทุนรวมเฉลี่ย(LAC) และ ปริ มาณการผลิตที่ MR =
่ ่ ่ ั P1 ตํ่ากวา่ P0 และต้นทุนรวมเฉลี่ยตอหนวย
LMC ตรงที่ราคาตอหนวยเทากบ ่ ่ (SAC1 = LAC) ที่จุด
่ ั OB มีกาไรตอหนวยเทากบ
E1 เทากบ ํ ่ ่ ่ ั BP1 มีกาไรตอหน ่
ํ ่ ่วยมากกวา่ขนาดการผลิตกอนหน้ านี้


กลาวโดยสรุ ่ รกจผู
ป ในระยะยาวเมื่อหนวยธุ ิ ผ้ กู ขาด มีโอกาสเลือกขนาดการผลิตที่
ํ งสุ ดสุ ดได้ ดังนั้ นหนวยธุ
เหมาะสมเพื่อให้มีกาไรสู ่ รกจจะเข้
ิ าสู่ ดุลยภาพได้ จะมีค่าของ MR =
SMC = LMC < P = AR ≥ SAC = LAC

เส้ นอปทานของผ้
ุ ูผูกขาด การศึกษาตลาดแขงขั่ นสมบูรณ์ พบวาเส้่ นอุปทานของ
ผูผ้ ลิตสิ นค้าอยูบ่ นเส้น MC เหนือจุดตํ่าสุ ดของ เส้น AVC แตในตลาดผู
่ ่
กขาดไมสามารถหาเส้ น
อุปทานได้ เนื่องจาก ความสัมพันธ์ของระดับราคาและปริ มาณผลผลิตไมได้ ่ อยูบ่ นเส้น MC แตอยู
่ ่
บนเส้น อุปสงค์(D)และรายรับเฉลี่ย(AR) จึงอาจกล่ าวได้ เป็ นจดหนึ
ุ ่งของเส้ นอปทานเท่
ุ านั้น

8.1.4. การควบคมการผกขาด
ุ ู : สิ นค้าในตลาดผูกขาด เมื่อมองจากความสายตาของ
ผูบ้ ริ โภค จะไมต้่ องการซื้ อสิ นค้าที่มีราคาแพงกวาตลาดแขงขั
่ ่ นสมบูรณ์ อยางไรกตามถ้
่ ็ ารัฐบาล
่ ถกู เอาเปรี ยบมากจนเกนไป
ต้องการปกป้ องคุม้ ครองผูบ้ ริ โภคไมให้ ิ กต้็ องเข้ามาควบคุมดูแลการ

ผูกขาดให้ดาํ เนินงานอยางเหมาะสมได้ ํ
โดยการกาหนดราคาและปริ มาณการผลิตสิ นค้า หรื อการ

ควบคุมโดยการเกบภาษี ่ รกจผู
จากหนวยธุ ิ ผ้ กู ขาด ซึ่งเรี ยกวา่ การผูกขาดภายใต้ขอ้ งบังคับ
(Regulated monopoly) มีรายละเอียดดังตอนี ่ ้

(1) การควบคมโดยกํ
ุ าหนดราคาและปริมาณการผลิตของผ้ ูผูกขาด : เป็ นการ

ควบคุมผูผ้ กู ขาดโดยตรง ด้วยการกาหนดราคาขายสิ นค้า หรื อ ปริ มาณการผลิตให้เหมาะสม

EC 111 183
รู ปภาพที่ 8.6 การควบคุมราคาหรื อปริ มาณการผลิตของผูผ้ กู ขาด

ต้นทุน และราคา ํ
ราคากาหนดจากผู
ผ้ กู ขาด
ATC
P0 ราคายุติธรรม
MC
P1 ราคาเหมาะสําหรับสังคม
P2
MR D = AR
0
Q0 Q1 Q2

อธิบายรู ปภาพที่ 8.6 เนื่องจากผูผ้ กู ขาดต้องการกาไรมากที ํ
่สุ ด จึงกาหนดราคา
่ ั P0 และปริ มาณผลผลิตน้อยเทากบ
ขายเทากบ ่ ั Q0 ซึ่งเป็ นจุดตัดของ MR = MC ระดับราคานี้ ถือวา่

หนวยผลิ ํ ิ
ตมีกาไรเกนปกติ

รัฐบาลเห็นวาราคาสิ นค้าในตลาดควรจะมีแค่กาํ ไรปกติเท่ านั้น ตรงจุดตํ่าสุ ดขอ
ั นอุปสงค์(D) และเส้นรายรับเฉลี่ย(AR) กควรจะควบคุ
เส้น ATC ตัดกบเส้ ็ มราคาขายให้อยูท่ ี่ P1
และปริ มาณการผลิตสิ นค้าเทากบ ่ ั Q1 ทําให้ผบู ้ ริ โภคได้มีสินค้าให้เลือกมากขึ้ น จุดนี้ เราเรี ยกวา่
ราคายุติธรรม(Fair Price) หรื อ จุดคุม้ ทุน (Break-even point)
แตถ้่ ารัฐบาลจะให้ความสําคัญกบประชาชนผู
ั บ้ ริ โภคเป็ นสําคัญ กต้็ องกาหนด

ราคาขายสิ นค้าที่ P2 และปริ มาณผลผลผลิตเทากบ ่ ั Q2 ซึ่งเป็ นจุดตัดของเส้นอุปสงค์(D) กบเส้ ั น
MC เราถือจุดนี้ เป็ นการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิ ทธิภาพ(Social optimal price) แตหนวยธุ ่ ่ รกจผูิ ้
ผูกขาดอาจต้องขาดทุน

(3) การควบคมผุ้ ูผูกขาดโดยการเก็บภาษี : ถ้ารัฐบาลไมต้่ องการใช้วิธีกาหนดราคา



และปริ มาณการผลิตเป็ นเครื่ องมือในการควบคุมผูผ้ กู ขาด ยังมีเครื่ องมือภาษีที่จะเป็ นตัวควบคุม

กาไรของผู ่ สูงเกนไปได้
ผ้ กู ขาดไมให้ ิ

184 EC 111

รู ปภาพที่ 8.7 การควบคุมผูผ้ กู ขาดโดยใช้การเกบภาษี
ราคา
MC
ATC1
10 A ATC0
8 B
D = AR
MR
0 50 ปริ มาณผลผลิต
อธิบายรู ปภาพที่ 8.7 เริ่ มต้นจากหนวยธุ่ รกจผู ิ ผ้ กู ขาด กาหนดราคาสิ
ํ นค้าไว้ที่ 10
บาทตอหนวย่ ่ แตต้่ นทุนเฉลี่ยตอหนวย ่ ่ (ATC0) เทากบ่ ั 8 บาท มีกาไร ํ 2 บาทตอหนวย ่ ่ ซึ่งถือเป็ น
ํ ิ
กาไรเกนปกติ
่ ่ รกจมี
ถ้ารัฐบาลมองเห็นวาหนวยธุ ิ กาไรมากเกนไปและผู
ํ ิ บ้ ริ โภคเดือดร้อน จึงมีการ

เกบภาษี ่
หนวยละ 2 บาท ทําให้ตน้ ทุนของผูป้ ระกอบการเพิ่มขึ้ นเป็ นเส้น ATC1 สัมผัสเส้นอุปสงค์

ที่จุด A สมมติวาการเกบภาษี ็ ไมมี่ การผลักภาระไปให้ผบู ้ ริ โภคและราคาขายสิ นค้าไมเปลี ่ ่ยนแปลง
่ ั 10 บาทตอหนวย
ดังนั้ นต้นทุนเฉลี่ยจึงเทากบ ่ ่ ดังนั้ นผูป้ ระกอบการจึงมีกาไรปกติ ํ ่ ้ น (TR – TC
เทานั
=0)
8.2 ตลาดกึง่ แข่ งขันกึง่ ผกขาด
ู หรือผ้ ูขายมากราย (Monopolistic competition)
ระหวาง ่ ค.ศ.1920 และ 1930 นักเศรษฐศาสตร์จาํ นวนหนึ่ง ได้พยายามสร้าง
แบบจําลองตลาดที่มีความเหมาะสมระหวางตลาดแขงขั ่ ่ นสมบูรณ์และตลาดผูกขาด ซึ่งมี 2
แบบจําลองได้แก่ แบบจําลองกงแขงขั ่ ึ ่ นกงผู
่ ึ กขาด ในปี ค.ศ.1933 คิดโดย Edward Chambelin จาก
มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด มีเอกสารตีพิมพ์ชื่อวา่ The Theory of Monopolistic Competition ตอมากมี ่ ็
Joan Robinson จากมหาวิทยาลัยเคมบริ ดส์ มีเอกสารตีพมิ พ์ชื่อวา่ The Economic of Imperfect
Competition แม้วาทั ่ ้ ง 2 บทความจะมีความแตกตางกนอยู ่ ั บ่ า้ ง แตกอยู ่ ็ บ่ นหลักการเดียวกนั ซึ่งใน
ที่น้ ีจะนําเฉพาะของ Chamberin มาเป็ นแนวทางการศึกษาเทานั ่ ้น

EC 111 185
โครงสร้างตลาดที่มีท้ งั ลักษณะผูกขาดและมีการแขงขั ่ น Chamberlin อธิบายวา่ มี
ผูข้ ายสิ นค้าจํานวนมาก เป็ นสิ นค้าทดแทนกนได้ ั แตไมเป็่ ่ นอันหนึ่งอันเดียวกนในทัั ศนะของ
ผูบ้ ริ โภค เพราะวาสิ ่ นค้าของผูผ้ ลิตแตละรายมี ่ ความแตกตางกน ่ ั ตัวอยางเชน ่ ่ ร้านสะดวกซื้ อ จะอยู่
ใกล้ผบู ้ ริ โภคมากกวาร้ ่ านแบบอื่นๆ เส้นอุปสงค์ไมขนานกบแกนปริ
่ ั มาณผลผลิต แตมี่ ความชันลาด
ลงจากซ้ายไปขวา(Slope downward) ผูเ้ สนอขายสิ นค้าแตละรายจะมี ่ อิทธิพลเหนือราคาบ้างเล็กน้อย
ดังนั้ นหนวยธุ่ รกจที ิ ่โดงดั่ งในตลาดกจะไมเป็ ็ ่ นผูร้ ับราคาจากตลาด(Price Taker) เหมือนตลาด
แขงขั่ นสมบูรณ์ แตหนวยธุ ่ ่ รกจเป็ ิ นผูก้ าหนดราคาเองได้

เพราะวามี ่ อุปสรรคในการเข้าออกตลาดตํ่า ในระยะยาวหนวยธุ ่ รกจในตลาดผู
ิ ข้ ายมา
รายสามารถเข้าออกได้ง่าย ด้วยเหตุน้ ีถา้ มีผขู ้ ายจํานวนมากเพียงพอกจะมี ็ การแขงขั ่ น แต่ถา้ มีจาํ นวน
หนวยผลิ่ ตมีจาํ นวนมากเกนไป ิ กจะขาดทุ
็ นได้
ตัวอย่ างสิ นค้าในตลาดผ้ ูขายมากราย ได้แก่ ภัตตาคาร สถานีแกส๊ ร้านขายยา ร้านให้
่ ดีโอ ร้านซักแห้ง หรื อร้านสะดวกซื้ อ เป็ นต้น
เชาวิ
8.2.1. ลักษณะทีส่ ํ าคัญของตลาดผ้ ูขายมากราย มีดงั ตอไปนี ่ ้
(1) ผลิตภัณฑ์มีความแตกตางกน ่ ั (Product Differentiation) : ความแตกตางมี ่ ใน
ประเด็นตางๆดั ่ งนี้
- เชิงกายภาพ เป็ นความแตกตางในการบรรจุ่ หี บหอ่ การออกแบบผลิตภัณฑ์
เชน่ สบู่ นํ้ าขวด หรื อตามขนาด นํ้ าหนัก เชน่ แชมพู เป็ นต้น
่ านสะดวกซื้ อ
- พื้นที่ต้งั ใกล้ชิดผูบ้ ริ โภคในเมือง เชนร้
- บริ การ เชน่ การอํานวยความสงสิ ่ นค้าถึงบ้านลูกค้า
- การสร้างภาพพจน์ของสิ นค้า เชน่ สร้างแบรนด์ให้รู้สึกวาเป็ ่ นสิ นค้าของผู ้
รสนิยมสู ง เป็ นต้น ด้วยการโฆษณา ประชาสัมพันธ์
(2) มีผผู ้ ลิตและขายสิ นค้าจํานวนมาก : ซึ่งอาจมีจาํ นวน ตั้ งแต่ 25 – 60 ราย ทั้ งนี้
หนวยธุ่ รกจแตละรายจะมี
ิ ่ ส่ วนแบงตลาดน้
่ อย (small market share) และ แตละรายจะดํ ่ าเนินธุรกจิ
เป็ นอิสระของตนเอง
่ รกจอาจมี
(3) หนวยธุ ิ อิทธิพลเหนือราคาบ้างเล็กน้อย : เนื่องจากสิ นค้ามีความแตกตาง ่
กนั ในสายตาของผูบ้ ริ โภค ทําให้มีความชื่นชอบเป็ นการเฉพาะ
(4) การเข้าออกตลาดสามารถทําได้ง่าย

186 EC 111
8.2.2. เส้ นอปสงค์
ุ ุ จ : มีประเด็นที่จะนําเสนอในแงมุ่ มตาง
ในทัศนะของหน่ วยธรกิ ่ ๆ

ดังตอไปนี

(1) เส้ นอปสงค์
ุ ของหน่ วยธรกิ ุ จตลาดผู้ขายมากราย: ลักษณะทอดลงจากซ้ายไป

ขวามือ แต่จะมีชนั น้อยกวาตลาดผู กขาด ดังรู ปภาพเปรี ยบเทียบทั้ ง 3 ตลาด
รู ปภาพที่ 8.8 เปรี ยบเทียบเส้นอุปสงค์ 3 ตลาด
ก.ตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ ข.ตลาดผูกขาด ค. ตลาดผูข้ ายมากราย
P P P

P0 d p0 P0

d d
0 Q 0 Q0 Q
(2) หนวยธุ ่ รกจจะมีิ ส่ วนแบงตลาดในสิ
่ นค้าและบริ การมากหรื อน้อย ขึ้ นอยูก่ บั
่ รกจในตลาดมี
ความนิยมในตัวสิ นค้าของผูบ้ ริ โภค และ จํานวนหนวยธุ ิ มากหรื อน้อย

รู ปภาพที่ 8.9 เส้นอุปสงค์ของตลาดผูข้ ายมากราย แบงตามจํ านวนธุรกจิ
P

P0

d 200 d 100
0 Q0 Q1 Q
่ รกจิ 200 ราย และ d
อธิบายรู ปภาพที่ 8.9 เส้นอุปสงค์ d 200 แสดงการมีหนวยธุ
100 ่ รกจิ 100 รายเป็ นต้น
แสดงการมีหนวยธุ

EC 111 187
(3) ลักษณะของเส้ นอปสงค์
ุ คาดการณ์ และเส้ นอปสงค์
ุ ทเี่ กิดขึน้ จริง: มีลกั ษณะดังนี้
รู ปภาพที่ 8.10 เส้นอุปสงค์คาดการณ์และเป็ นจริ งของผูข้ ายมากราย
P

P1 B C
P0 A
P2 D E
D2 D1
0 Q0 Q1 Q2 Q
อธิบายรู ปภาพที่ 8.10 เส้น D1 เป็ นเส้นอุปสงค์ที่หนวยผลิ ่ ตคาดการณ์ไว้ และ
เส้น D2 เป็ นเส้นอุปสงค์ที่เกดขึ ิ ้ นจริ ง เริ่ มต้นจากถ้าราคาสิ นค้าอยูร่ ะดับ P0 และ ปริ มาณผลผลิต
อยูท่ ี่ Q0 ที่จุด A ซึ่งอยูท่ ้ งั เส้น D1 และ D2
สมมติวาผู ่ ป้ ระกอบการลดราคาจาก P0 เป็ น P2 ตามที่หนวยธุ ่ รกจพิ
ิ จารณาครั้ ง
แรกต้องการให้เป็ นไปตามเส้นอุปสงค์ที่คาดการณ์ คือ ปริ มาณผลผลิตเพิม่จาก OQ0 เป็ น OQ2 แต่
เนื่องจากผูป้ ระกอบการรายอื่นๆเขากลดราคาเชนเดี ็ ่ ยวกนั จึงสูญเสี ยลูกค้าที่ควรจะได้ไปบ้าง
ดังนั้ นปริ มาณผลผลิตจะเพิ่มจาก OQ0 เป็ น OQ1 ที่จุด D บนเส้นอุปสงค์จริ ง D2 เทานั ่ ้น
8.2.3. ดลยภาพในระยะสั
ุ ้ นของหน่ วยธรกิ
ุ จและกลุ่มผลิตภัณฑ์
เนื่องจากในตลาดผูข้ ายมากรายผลิตสิ นค้าที่มีความแตกตางกน ่ ั ่
แตสามารถใช้
ทดแทนกนได้ ั หนวยธุ ่ รกจในตลาดนี
ิ ้ มีลกั ษณะเป็ นกลุ่มผลิตภัณฑ์กเ็หมือนกบตลาดอื
ั ่นๆ ต้องการ

แสวงหากาไรมากที ่สุด และเลือกผลิตสิ นค้าตรงจุดที่ MR = MC
หนวยธุ่ รกจในตลาดผู
ิ ข้ ายมากราย อาจมีผลประกอบการที่ไปได้ท้ งั กรณี มีกาไร ํ

เกนปกติ ํ
กาไรปกติ หรื อขาดทุน ได้ ขึ้ นอยูก่ บต้ ั นทุนการผลิตแตละราย ่ ํ กยั็ งผลิตตอไป
ถ้ามีกาไร ่

หรื อขาดทุนกออกจากตลาดไป ซึ่งจะอธิบายแตละกรณี ่ ่
ดงั ตอไปนี้

188 EC 111
่ รกจมี
(1) กรณี หนวยธุ ิ กาไร

่ รกจผู
รู ปภาพที่ 8.11 หนวยธุ ิ ข้ ายมากรายมีกาไร

ราคา MC AC
A
12
10
B
D=AR
MR
0 30 ปริ มาณผลผลิต
อธิบายรู ปภาพที่ 8.11 หนวยธุ ่ รกจใน
ิ ตลาดผูข้ ายมากราย กาหนดราคาสิ
ํ ่ ั
นค้าเทากบ
่ ่ มีตน้ ทุนเฉลี่ยตอหนวย
12 บาทตอหนวย ่ ่ 10 บาท แสดงวามี ่ กาไร
ํ 2 บาทตอหนวย
่ ่ ถ้าเขาผลิต
สิ นค้าจํานวน 30 หนวย ่ จะได้กาไรทั ํ ้ งหมดเทากบ
่ ั 60 บาท สรุ ปหนวยธุ
่ รกจมี
ิ กาไร

่ รกจขาดทุ
(2) กรณี หนวยธุ ิ น
่ รกจผู
รู ปภาพที่ 8.12 หนวยธุ ิ ข้ ายมากรายขาดทุน
ราคา MC AC
14 AVC
12 A

D = AR
0 MR ปริ มาณผลผลิต
30
่ รกจผู
อธิบายรู ปภาพที่ 8.12 หนวยธุ ิ ข้ ายมากรายกาหนดราคาสิ
ํ ่ ั 12 บาท
นค้าเทากบ
่ ่ แตต้่ นทุนการผลิตคอนข้
ตอหนวย ่ างสู งที่เทากบ
่ ั 14 บาทตอหนวย
่ ่ ดังนั้ นจึงขาดทุนเทากบ ่ ั 2 บาท
่ ่ ถ้าหนวยธุ
ตอหนวย ่ รกจนี
ิ ้ ผลิตสิ นค้า จํานวน 30 หนวย ่ เขาจะขาดทุนทั้ งหมดเทากบ
่ ั 60 บาท สรุ ป
่ รกจขาดทุ
หนวยธุ ิ ่
น แตราคาสิ นค้าที่ขายได้กยั็ งสูงกวาต้
่ นผันแปรเฉลี่ย(AVC) ดังนั้ นอาจตัดสิ นใจ

หยุดการผลิตออกไปจากตลาด หรื อยังผลิตตอไปกได้ ็

EC 111 189
8.2.4. ดุลยภาพของหนวยธุ ่ รกจและกลุ
ิ ่มผลิตภัณฑ์ในระยะยาว
่ รกจผู
หนวยธุ ิ ข้ ายมากรายในระยะยาว เลือกขนาดการผลิตได้ ดังนั้ นในระยะสั้ น

หนวยผลิ ็
ตขาดทุนกออกจากตลาดไป จึงเหลือจํานวนหนว่ยธุรกจปริ
ิ มาณที่เหมาะสมและที่มีตน้ ทุน
ไมสู่ ง ดังนั้ นระยะยาวหนวยธุ่ รกจผู ิ ข้ ายมากรายจะมีกาไรปกติ

รู ปภาพที่ 8.13 หนวยธุ่ รกจผู
ิ ข้ ายมากรายในระยะมีกาไรปกติ

ราคา MC AC
10 A

D = AR
MR
0 30 ปริ มาณผลผลิต
อธิบายรู ปภาพที่ 8.13 หนวยธุ ่ รกจกาหนดราคาสิ
ิ ํ นค้าหนวยละ ่ 10 บาท มีตน้ ทุน
เฉลี่ยทั้ งหมด(AC) เทากบ ่ ั 10 บาท ดังนั้ นเขาจึงมีกาไรเป็
ํ นศูนย์ ปริ มาณผลผลิตจํานวน 30 หนวย ่
ราบรับรวมเทากบ ่ ั 300 บาท ต้นทุนทั้ งหมดเทากบ ่ ั 300 บาท เชนเดี่ ยวกนั สรุ ปหนวยธุ ่ รกจจึิ งมี

กาไรปกติ ในระยะยาว
เส้ นอปทานของหน่
ุ ุ จและกลุ่มผลิตภัณฑ์ : ไม่ สามารถหาได้ ด้วยเหตุผล
วยธรกิ

คล้ายกบตลาดผู กขาด ราคาและปริ มาณผลผลิตอยูบ่ นเส้น AR นอกจากนี้ เพราะเส้นอุปสงค์สินค้ามี
่ ั
ความแตกตางกนตามลั กษณะสิ นค้าที่แตกตางกน่ ั และสวนแบง
่ ่ ของหนวยธุ ่ รกจกเปลี
ิ ็ ่ยนแปลงไป
ตามจํานวนธุรกจอี ิ กด้วย
8.3 ตลาดผู้ขายน้ อยราย (Oligopoly competition)
ตลาดแขงขั ่ รณ์ในอีกรู ปแบบหนึ่ง ได้แก่ ตลาดผูข้ ายน้อยราย มีผผู ้ ลิตหรื อ
่ นไมสมบู
ผูข้ ายสิ นค้าจํานวนน้อย อาจมีจาํ นวน 2-3 หรื อ 4-6 ราย เป็ นต้น แตกยั ่ ็ งมีท้ งั การผูกขาดและการ
แขง่ขันอยูใ่ นตัวเอง แตจะมี ่ แนวโน้มไปทางผูกขาดมากกวา่ โดยมีลกั ษณะที่สาํ คัญของตลาดดังนี้
8.3.1. ลักษณะสํ าคัญของตลาดผ้ ูขายน้ อยราย : มีดงั ตอไปนี ่ ้
่ รกจแตละราย
(1) มีผผู ้ ลิตหรื อผูข้ ายสิ นค้าจํานวนน้อยราย : หนวยธุ ิ ่ ผลิตสิ นค้าออก
มาขาย มีส่ วนแบงในตลาดสั
่ ่ ง นอกจากนี้ การปรับเปลี่ยนนโยบาย ราคาและปริ มาณการ
ดสวนสู
ผลิต จะมีผลกระทบตอหนวยธุ ่ ่ รกจอื ิ ่ นๆ

190 EC 111
(2) สิ นค้าและบริ การของหนวยผลิ ่ ิ ่
ตหรื อธุรกจแตละราย อาจมีลกั ษณะเหมือนกนั
หรื อมีมาตรฐานเดียวกนั ได้แก่ อุตสาหกรรมซีเมนต์ เหล็กกล้า หรื ออลูมิเนียม เรี ยกวา่ pure
oligopoly สวนสิ่ นค้าที่มีลกั ษณะแตกตางกนแตใช้
่ ั ่ แทนกนั เชน่ สิ นค้าผงซักฟอก นํ้ ามันพืช แล
่ น Differentiated oligopoly ( นราทิพย์ ชุติวงศ์ , อ้างแล้ว,หน้า 245-246)
เครื่ องดื่มฯลฯเรี ยกวาเป็
(3) การเข้าออกเพื่อมาแขงขั ่ นในตลาดนี้ ของผูผ้ ลิตรายใหม่ ทําได้ค่อนข้างลําบาก
สาเหตุอาจเนื่องจากประเด็นอุปสรรคจาก เทคนิคการผลิต ต้องใช้เงินลงทุนสูง หรื อ ชื่อเสี ยงของ
สิ นค้าที่ผลิต
ตัวอย่ างสิ นค้ าในตลาดผ้ ูขายน้ อยรายได้ แก่ กจการโทรศั
ิ พท์มือถือ ปูนซิเมนต์
อุตสาหกรรมเหล็ก ผงซักฟอก เครื่ องดื่ม รถยนต์ เครื่ องไฟฟ้ า ฟิ ส์มถายรู ่ ป ยาสี ฟัน ฯลฯ
8.3.2. เส้ นอปสงค์
ุ ในทัศนะของหน่ วยธรกิ ุ จแต่ ละราย

อธิบายการกาหนดราคาและระดั บผลผลิตโดยมีขอ้ สมมติวา่ หนวยธุ
่ รกจมีิ ส่ วนแบง่
่ ั
ตลาดเทากนและต้ นทุนเทากน ่ ั มีการเปลี่ยนแปลงราคาจะเทากบหนวยธุ
่ ั ่ รกจอื ิ ่นๆเสมอ ดังรู ปภาพ
รู ปภาพที่ 8.14 เส้นอุปสงค์ของหนวยธุ่ รกจแตละรายและตลาด
ิ ่
ราคา

15 D

d
0 50 100 ปริ มาณผลผลิต
อธิบายรู ปภาพที่ 8.14 สมมติในตลาดมีผผู ้ ลิตอยู่ 2 ราย จากเงื่อนไขที่กลาวไว้

ข้างบน จะทําให้ผผู ้ ลิตรายหนึ่ง(d) มีส่ วนแบงตลาดเทากบร้
่ ่ ั อยละ 50 ของอุปสงค์ตลาด(D)
เนื่องจากโครงสร้างตลาดผูข้ ายน้อยรายมีลกั ษณะคอนข้่ างหลากหลาย ขึ้ นอยูก่ บการ

ดําเนินนโยบายของหนวยธุ ่ รกจแตละราย
ิ ่ ่ รกจิ จึงไมสามารถ
การวิเคราะห์ดุลยภาพของหนวยธุ ่

กาหนด รู ปแบบได้แนนอน่ จึงต้องแยกศึกษาเป็ นกรณี ไปดังตอไปนี
่ ้

EC 111 191
(1) กรณีหน่ วยธรกิ ุ จดําเนินนโยบายอิสระ
่ รกจแตละรายต้
หนวยธุ ิ ่ องการแสวงหากาไรสู ํ งสุ ด โดยพยายามรักษาระดับราคาให้
คงที่หรื ออาจปรับปรุ งสิ นค้าให้มีความแตกตาง ่ หรื อการสงเสริ
่ มการขายด้วยการแจกแถม จะไมใช้ ่
การแขงขั ่ นทางด้านราคา
ดังนั้ นจึงมีการอธิบายพฤติกรรมของหนวยธุ ่ รกจในตลาดผู
ิ ข้ ายน้อยรายที่ดาํ เนิน

ธุรกจแบบอิ สระตอกน ่ ั ของนักเศรษฐศาสตร์ชาวอิตาเลี่ยนชื่อ พอล สวิสซี่(Paul Sweezy) โดยใช้
แบบจําลองเส้นอุปสงค์หกั งอ(Kinked Demand Curve Model) ดังนี้
รู ปภาพ ก. รู ปภาพที่ 8.15 เส้นอุปสงค์หกั งอ รู ปภาพ ข.
ราคา d1 ราคา MC AC
A
P0 A P0 B
P1 C B C D
d2 E D = AR
0 Q 0 Q
Q0 Q2 Q1 Q0 MR ปริ มาณผลผลิต
อธิบายรู ปภาพ 8.15 ก. แสดงให้เห็นคล้ายกบมี ั เส้นอุปสงค์ 2 เส้นคือ เส้นอุปสงค์ d1
มีความชันคอนข้ ่ างลาด และ เส้นอุปสงค์ d2 มีความชันคอ่นข้างชัน ตัดกนที ั ่จุด A ราคาเทากบ ่ ั P0
และปริ มาณผลผลิตเทากบ ่ ั Q0 และเป็ นราคาที่ค่อนข้างจะคงที่(Rigid Price)
เหตุผลเนื่องจากเมื่อหนวยธุ ่ รกจมี ิ นโยบายเปลี่ยนแปลงราคาเพิ่มหรื อลด จะมีผลตอ่
่ รกจอื
หนวยธุ ิ ่นๆ ปรับตัวตาม เชน่ กรณี ราคาสิ นค้า P0 ปริ มาณซื้ อเป็ น OQ0 ถ้าหนวยธุ ่ รกจลดราคา

เป็ น P1 หนวยธุ ่ รกจคาดวาปริ
ิ ่ มาณซื้ อจะเป็ นไปตามเส้นอุปสงค์ d1 ปริ มาณซื้ อเพิ่มเป็ น OQ1 แต่
เนื่องจากหนวยผลิ ่ ตอื่นๆกลดราคาตาม ็ เส้นอุปสงค์เป็ น d2 ดังนั้ น ปริ มาณซื้ อจะเพิ่มได้แคเทากบ ่ ่ ั
OQ2 เทานั ่ ้น

รู ปภาพ ข. เส้น ABD เป็ นเส้นอุปสงค์หกั งอ เมื่อกาหนดราคาเทากบ ่ ั P0 เส้นรายรับ
เพิ่มเป็ นเส้น ADEM ซึ่งมีลกั ษณะไมตอเนื ่ ่ ่องมีการขาดตอนในชวง ่ DE และเส้น ต้นทุนเพิม่ MC
จะตัดเส้น MR ในชวงที ่ ่ขาดตอน เนื่องจากเป็ นต้นทุนแบบปกติ(ไมสู่ งหรื อตํ่าเกนไป ิ ) หนวยผลิ ่ ตที่

แสวงหากาไรมากที ็ ํ
่สุด กจะกาหนดราคาดุ ลยภาพตลาดเป็ นที่ P0 และปริ มาณผลผลิต 0Q0

192 EC 111
(2) กรณีหน่ วยธรกิ
ุ จดําเนินนโยบายรวมตัวกัน : จะมี 2 ลักษณะดังนี้
ก. การรวมตัวกันอย่ างเป็ นทางการ : เนื่องจากไมมี่ กฎหมายห้าม หนวยธุ ่ รกจจึ
ิ งมี
ั น คาร์เทล (cartel) ทําหน้าที่เป็ นองค์กรกลางในการกาหนดนโยบายปริ
การรวมตัวกนเป็ ํ มาณการ

ผลิต การจัดโควตาปริ มาณการผลิตให้แกสมาชิ ่
กแตละราย ํ
ตลอดจนการกาหนดราคาสิ นค้าให้ขาย
เหมือนกนั โดยมีเป้ าหมายในการสร้างอํานาจตอรองให้
่ มากกวาผู่ ซ้ ้ือสิ นค้า
รู ปภาพ 8.16 แสดงการรวมตัวของหนวยธุ ่ รกจแบบคาร์
ิ เทล
ราคา,ต้นทุน ราคา,ต้นทุน ราคา,ต้นทุน
MC1 AC1 MC2 AC2 MCT = MC1+MC2
20 20 20 A

D
0 Q 0 Q0 MR Q
100 200 300 ปริ มาณผลผลิต
่ รกจที
หนวยธุ ิ ่1 ่ รกจที
หนวยธุ ิ ่2 กลุ่มผลิตแบบคาร์เทล
อธิบายรู ปภาพที่ 8.16 กรณี ที่องค์กรกลางได้ประมาณความต้องการซื้ อสิ นค้ามี
ประมาณ 300 หนวย ่ (เส้น D) ถ้าราคาตลาดอยูท่ ี่หนวยละ ่ 20 บาท เพื่อไมใ่ห้มีการแขงขั ่ นกนเอง


ทางด้านราคา จึงกาหนดโควตาการผลิ ่ รกจที
ตหนวยธุ ิ ่ 1 เทากบ่ ั 100 หนวย ่ และหนวยธุ
่ รกจที ิ ่2
่ ั 200 หนวย
เทากบ ่ รวมเป็ น 300 หนวยพอดี ่
ข. การรวมกันอย่ างไม่ เป็ นทางการ : เนื่องจากประเทศมีกฎหมายห้ามการรวมตัวกนั

ของหนวยผลิ ตหรื อธุรกจิเพือ่ สร้างการผูกขาด ดังนั้ นหนวยธุ ่ รกจิ จึงใช้วิธีการรวมตัวแบบไมเป็ ่ น
ทางการเป็ นไปแบบหลวมๆตามนโยบายในประเด็นตางๆรวมกนเป็ ่ ่ ั นครั้ งคราว ่
แตสมาชิ กยังมี
อิสระในการดําเนินนโยบายอื่นๆได้
สําหรับวิธีการรวมตัวของหนวยธุ ่ รกจในตลาดผู
ิ ข้ ายน้อยรายไมเป็ ่ นทางการโดยใช้
แบบจําลองการเป็ นผูน้ าํ ทางด้านราคา(Price Leadership Model) มีลกั ษณะสําคัญ ให้หนวยธุ ่ รกจรายิ
ใหญเป็ ่ นผูก้ าหนดราคาขายสิ
ํ ่ รกจรายเล็
นค้า และหนวยธุ ิ ็ ํ
กๆกจะกาหนดราคาขายสิ นค้าตาม โดยที่

แตละรายยั งมีอิสระในการกาหนดปริํ มาณการผลิตสิ นค้า ถ้ายังมีสินค้าไมเพี ่ ยงพอกบความต้
ั องการ
ซื้ อของตลาด ผูผ้ ลิตรายใหญกรั ่ ็ บไปดําเนินการผลิตเอง ดังรู ปภาพตอไปนี ่ ้

EC 111 193
่ รกจรายใหญ
รู ปภาพที่ 8.17 แสดงแบบจําลองการเป็ นผูน้ าํ ราคาของหนวยธุ ิ ่
ราคา S = MC ราคา MC

30 30
20 20
10 D 10 d = AR

0 200 300 400 600 Q 200 MR 600 ปริ มาณผล


ผลิต
่ รกจรายเล็
รู ปภาพ ก. หนวยธุ ิ ก ่ รกจรายใหญ
รู ปภาพ ข. หนวยธุ ิ ่
อธิบายรู ปภาพที่ 8.17 ก.และ ข แสดงพฤติกรรมการผลิตของหนวยธุ ่ รกจรายยอยทุ
ิ ่ ก
รายได้แก่ เส้น S ตัดกบเส้ ั น D เป็ นอุปสงค์ของตลาด ถ้าสิ นค้าราคา 10 บาทตอหนวย ่ ่ ปริ มาณซื้ อ
่ ั 600 หนวย
สู งสุ ดเทากบ ่ แตหนวยธุ
่ ่ รกจขนาดเล็
ิ กจะไมผลิ่ ตสิ นค้าออกขาย(นาจะขาดทุ
่ น เพราะ
ต้นทุนสูง) แตถ้่ าราคาสิ นค้า 20 บาทตอหนวย ่ ่ กลุ่มผูผ้ ลิตรายขนาดเล็กผลิตสิ นค้าแค่ 200 หนวย ่
ตลาดต้องการซื้ อ 400 หนวย ่ จึงเป็ นหน้าที่ของหนวยธุ
่ รกจรายใหญผลิ
ิ ่ ตจํานวน 200 หนวย ่ กรณี
ราคา 30 บาทตอหนวย ่ ่ กลุ่มรายเล็กรวมกนผลิ ั ต 300 หนวย ่ และตลาดกต้็ องการ 300 หนวย ่ ดังนั้ น
่ รกจรายใหญ
หนวยธุ ิ ่ กจะไมผลิ
็ ่ ตสิ นค้าออกขายเลย

194 EC 111

ตารางที่ 8.1 เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของโครงสร้างตลาดประเภทตางๆ

่ นสมบูรณ์
โครงสร้างตลาด แขงขั ผูกขาด ผูข้ ายมากราย ผูข้ ายน้อยราย

คุณลักษณะ
จํานวนธุรกจิ จํานวนมากที่สุด หนึ่งเดียว จํานวนมาก จํานวนน้อย

การตัดสิ นใจ P = MR = MC MR = MC MR = MC กลยุทธราคาระ


ทางด้านราคา ่ กขาดกบั
หวางผู
่ นสมบูรณ์
แขงขั
การตัดสิ นใจ ไมมี่ ขอ้ จํากดั มีขอ้ จํากดั ั าง
มีขอ้ จํากดบ้ ั าง
มีขอ้ จํากดบ้
ทางด้านผลผลิต จากผลผลิต
แตกตางกน ่ ั
ระดับการเป็ น ิ อิสระ
ธุรกจมี ิ ยวไมมี่
ธุรกจเดี ทุกธุรกจิ ขึ้ นอยูก่ บกลยุ
ั ทธ
่ ั
อิสระตอกน ่ น
การแขงขั มีอิสระ ราคาและผลผลิต

กาไร ไมมี่ กาไรทาง
ํ ํ
มีกาไรทาง ไมมี่ กาไรทาง
ํ อาจมีกาไรทางํ
ระยะยาว เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์บา้ ง

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก David C. Colander , 1998 , P. 302

EC 111 195
คําถามท้ ายบท

จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียวเทานั ่ ้น
1. ข้อใดเป็ นลักษณะที่สาํ คัญของตลาดผูกขาด
(1) มีผผู ้ ลิตเพียงรายเดียว (2) สิ นค้าที่ขาย ไมมี่ สินค้าอื่นๆทดแทนได้
(3) ผูผ้ ลิตรายใหม่ ไมสามารถเข้
่ ามาผลิตแขงขั ่ นได้ (4) ถูกทุกข้อ
2. การผูกขาดโดยธรรมชาติ (Natural Monopoly) มีสาเหตุมาจากการผลิตในลักษณะอยางไร ่
(1) การเป็ นเจ้าของปั จจัยการผลิต แตเพี ่ ยงผูเ้ ดียวในประเทศ

(2) เป็ นกจกรรมการผลิ ตใหญ่ ใช้เงินลงทุนสูง ทําให้ทนุ ตอหนวยตํ ่ ่ ่า

(3) เป็ นกจกรรมการผลิ ตที่มีลิขสิ ทธิ์ คุม้ ครอง (4) เป็ นกจการของบริ
ิ ษทั ข้ามชาติ
3. การผูกขาดโดยธรรมชาติ(Natural Monopoly) ได้แกกจการเกยวกบอะไร ่ิ ี่ ั

(1) กจการทางการศึ กษา ิ ่
(2) กจการขนสงทางรถยนต์

(3) กจการไฟฟ้ า ประปา รถไฟ ิ
(4) กจการทางด้ านอาหาร
4. ข้อความในตัวเลือกใดไมถู่ กต้อง ในกรณี ตลาดผูกขาด

(1) ผูผ้ กู ขาดไมสามารถควบคุ มได้ ทั้ งราคาและปริ มาณขายได้พร้อมๆกนั
(2) เส้นอุปสงค์(D) และเส้นรายรับเฉลี่ย(AR) ไมเป็ ่ นเส้นเดียวกนั
(3) ถ้าผูผ้ กู ขาดต้องการขายสิ นค้าได้มากขึ้ น ต้องลดราคาสิ นค้า
(4) ถ้าผูผ้ กู ขาดตั้ งราคาสิ นค้าไว้สูง ต้องยอมลดปริ มาณขายสิ นค้า
5. ในตลาดผูกขาด เมื่อผูป้ ระกอบการเข้าสู่ ดุลยภาพในระยะสั้ น เราจะพบวา่
(1) MR = SMC < P = AR > AC (2) MR = SMC = P = AR > AC
(3) MR = SMC < P = AR = AC (4) MR = SMC = P = AR ≥ AVC
ํ ิ
6. ในระยะสั้ นผูผ้ กู ขาดมีกาไรเกนปกติ ่
แตในระยะยาวจะมี ผลอยางไร่

(1) มีเฉพาะกาไรปกติ (2) อาจขาดทุนได้ ถ้าควบคุมต้นไมได้ ่
(3) ผูบ้ ริ โภคจะรวมกลุ่มกนตอรองราคาให้
ั ่ ถูกลง
(4) ปรับระดับปริ มาณการผลิต ให้เหมาะสมที่จะรักษากาไรเกนปกติ ํ ิ อยูไ่ ด้

196 EC 111
่ งเส้นอุปทานของผูผ้ กู ขาดทั้ งในระยะสั้ นและระยะยาว ข้อความใดถูกต้อง
7. เมื่อกลาวถึ
(1) อยูบ่ นเส้น MC เหนือจุดตํ่าสุ ดของเส้นต้นทุนผันแปรเฉลี่ย(AVC)
(2) อยูบ่ นเส้น MC เหนือจุดตํ่าสุ ดของเส้นต้นทุนเฉลี่ย (AC)
(3) เส้น MC ตลอดทั้ งเส้น ่
(4) ไมสามารถหาเส้ นอุปทานได้

8. การเกบภาษี จากผูผ้ กู ขาด เป็ นลักษณะการควบคุมผูผ้ กู ขาดชนิดหนึ่งที่เรี ยกวา่
(1) การผูกขาดภายใต้ขอ้ บังคับ (2) การผูกขาดโดยธรรมชาติ
(3) การผูกขาดจากลักษณะของสิ นค้า ิ
(4) การผูกขาดที่เกดจากรสนิ ยมผูบ้ ริ โภค
9. ในตัวเลือกข้อใด มิได้เป็ นคุณสมบัติที่สาํ คัญของตลาดกงแขงขั ่ ึ ่ นกงผู ่ ึ กขาด
่ รกจจํ
(1) มีหนวยธุ ิ านวนมาก สวนแบงตลาดน้
่ ่ อย (2) การเข้า-ออกการแขงขั ่ นในตลาดทําได้ง่าย
่ รกจน้
(3) มีหนวยธุ ิ อย สวนแบงตลาดมาก
่ ่
(4) สิ นค้าที่ขายมีลกั ษณะแตกตางกน ่ ั ในสายตาของผูบ้ ริ โภค
10. เส้นอุปสงค์ในทัศนะของหนวยธุ ่ รกจตั ิ วเลือกใด ที่อยูใ่ นตลาดกงแขงขั
่ ึ ่ นกงผู ่ ึ กขาด
(1) P (2) P
P0 d P0
d
0 Q 0 Q
Q0
(3) P (4) P d

P0 d

0 Q0 Q 0 Q

11. สิ นค้าใดตอไปนี ้ อยูใ่ นตลาดกงแขงขั
่ ึ ่ นกงผู
่ ึ กขาดในประเทศไทย

(1) กจการไฟฟ้ านครหลวง ิ
(2) กจการผลิ ตยาสี ฟัน

(3) กจการป้ ั
องกนประเทศ ิ
(4) กจการปู นซิเมนต์
่ ึ ่ นกงผู
12. ในตลาดกงแขงขั ่ ึ กขาด กจการใดจะมี
ิ ส่ วนแบงตลาดมากหรื
่ อน้อย ขึ้ นอยูก่ บั
(1) ความนิยมในตัวสิ นค้าของผูบ้ ริ โภค (2) จํานวนธุรกจมากน้ ิ อยในตลาด
(3) การบรรจุ หี บหอสิ่ นค้าสวยงาม (4) ถูกทั้ งข้อ 1 และ 2
EC 111 197
13. สิ นค้าและบริ การในตลาดใด ที่ไมสามารถหาเส้ ่ นอุปทานได้
(1) ตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ (2) ตลาดผูกขาด
(3) ตลาดกงแขงขั ่ ึ ่ นกงผู ่ ึ กขาด (4) ตลาดผูกขาดและกงแขงขั ่ ึ ่ นกงผู ่ ึ กขาด
14.ข้อใดเป็ นลักษณะสําคัญของตลาดผูข้ ายน้อยราย
่ รกจแขงขั
(1) มีหนวยธุ ิ ่ นกนั จํานวนน้อย (2) การเข้าออกการแขงขั ่ นมีอุปสรรค
(3) สิ นค้าอาจมีลกั ษณะเหมือนหรื อแตกตางกน ่ ั แตทดแทนกนได้
่ ั (4) ถูกทุกข้อ
15. นักเศรษฐศาสตร์ชื่อ พอล สวสซี่ ได้ใช้แบบจําลองเส้นอุปสงค์หกั งอเพื่ออธิบายอะไร

(1) การกาหนดราคาสิ นค้า มีหลายระดับ (2) เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานของหนวยธุ ่ รกจิ
่ รกจจะพยายามรั
(3) หนวยธุ ิ กษาระดับราคาสิ นค้าให้อยูค่ งที่
่ ั
(4) การรวมกนของหนวยธุ ่ รกจกาหนดราคาสิ
ิ ํ ํ ิ
นค้าเพื่อให้มีกาไรเกนปกติ
16. ตลาดผูข้ ายน้อยรายเส้นอุปสงค์ของหนวยผลิ ่ ต ที่อยูเ่ หนือระดับราคาคงที่ จะมีลกั ษณะอยางไร ่
(1) เป็ นเส้นตั้ งฉากกบแกนนอน ั (2) เป็ นเส้นขนานกบแกนนอนั
(3) เป็ นเส้นความชันน้อย ความยืดหยุน่ มาก (4) เป็ นเส้นมีความชันมาก ความยืดหยุน่ อ้ ย

17. สิ นค้าใดตอไปนี ้ เป็ นสิ นค้าที่มีโครงสร้างตลาดผูข้ ายน้อยราย
(1) ผงซักฟอก (2) ยาสี ฟัน (3) โทรศัพท์มือถือ (4) ร้านเสริ มสวย
18. ตลาดในข้อใด ที่มีหนวยธุ ่ รกจมีิ การรวมกลุ่มกบแบบ ั Cartel
(1) ตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์ (2) ตลาดผูกขาด
(3) ตลาดกงแขงขั ่ ึ ่ นกงผู ่ ึ กขาด (4) ตลาดผูข้ ายน้อยราย
19. ตลาดผูข้ ายน้อยราย กรณี หนวยธุ ่ รกจดํ ิ าเนินนโยบายแบบอิสระ จะพฤติกรรมแบบใด
(1) มีการแขงขั ่ นทางด้านราคาอยางรุ ่ นแรง (2) ไมแขงขั ่ ่ นกนทางด้
ั ่
านราคา แตจะกลยุ ทธ
การโฆษณา แจกแถม
(3) พัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ (4) ลดราคาสิ นค้า เพื่อเพิม่ ยอดขาย
20. ตลาดสิ นค้าในข้อใด ที่มีลกั ษณะการแขงขั ่ นกนมากที
ั ่สุด
(1) ตลาดรถยนต์ (2) ตลาดเครื่ องดื่มนํ้ าอัดลม
(3) ตลาดโทรศัพท์มือถือ (4) ตลาดสิ นค้าเกษตรบางชนิด

198 EC 111
เฉลยคําถามท้ ายบท
ข้อ 1 ( 4 ) ข้อ 2 ( 2 ) ข้อ 3 ( 3 ) ข้อ 4 ( 2 ) ข้อ 5 ( 4 ) ข้อ 6 ( 4 ) ข้อ 7 ( 4 )
ข้อ 8 ( 1 ) ข้อ 9 ( 3 ) ข้อ 10 ( 3 ) ข้อ 11 ( 2 ) ข้อ 12 ( 4 ) ข้อ 13 ( 4 ) ข้อ 14 ( 4 )
ข้อ 15 ( 3 ) ข้อ 16 ( 3 ) ข้อ 17 ( 3) ข้อ 18 ( 4) ข้อ 19 ( 2 ) ข้อ 20 ( 4 )

EC 111 199
บทที่ 9
ตลาดปัจจัยการผลิต

เนือ้ หาการศึกษา
1. อปสงค์
ุ และอปทานปั
ุ จจัยการผลิต
อุปสงค์ปัจจัยการผลิตของหนวยธุ ่ รกจในระยะสั
ิ ้น
เส้นอุปสงค์ปัจจัยของหนวยธุ ่ รกจและตลาด

เส้นอุปทานของปัจจัยของบุคคลและตลาด
ดุลยภาพของตลาดปัจจัยการผลิต
2. ปัจจัยทีด่ ิน : ผลตอบแทนคือ ค่ าเช่ า
่ ่
คาเชาทางเศรษฐกจที ิ ่แท้จริ ง
่ ่
คาเชาทางเศรษฐกจ ิ และสวนได้
่ จากเงินโอน
3. ปัจจัยแรงงาน : ผลตอบแทนคือ ค่ าจ้ าง
อุปทานแรงงานสวนบุ ่ คคลและตลาด
อุปสงค์แรงงานของตลาด
ดุลยภาพในตลาดแรงงาน
4. ปัจจัยทนุ : ผลตอบแทนคือดอกเบีย้
5. ปัจจัยผ้ ูประกอบการ : ผลตอบแทนคือ กําไร
สาระสํ าคัญการศึกษา
1. อุปสงค์ ปัจจัยการผลิต หมายถึง ปริ มาณการเสนอซื้ อปัจจัยการผลิตของหนวย ่
ธุรกจิ ณ ระดับราคาตางๆ ่ และเรี ยกวาเป็ ่ น อุปสงค์ต่อเนื่อง (Derived demand)
2. ดลยภาพของการจ้
ุ างปัจจัยของหน่ วยธรกิ ุ จ : แสดงให้เห็นวา่ ถ้าหนวยธุ
่ รกจจะ

เสนอซื้ อปัจจัยจํานวนเทาใด ่ จึงจะได้กาไรสู
ํ งสุ ด คือเงื่อนไขที่ MRP = MFC
3. ดลยภาพในตลาดปั
ุ ั นอุปทานปัจจัย
จจัยการผลิตคือ การที่เส้นอุปสงค์ตดั กบเส้

ในตลาดปัจจัยการผลิต จะทําให้เกดราคาและปริ มาณซื้ อขายปั จจัยดุลยภาพด้วย
4. ทีด่ ิน : มีผลตอบแทนเรี ยกวา่ คาเชา ่ ่ (Rent) แนวคิดเกยวกบคาเชาจะมี
ี่ ั ่ ่ ลกั ษณะ
่ ่ ่แท้จริ ง (2) คาเชาทางเศรษฐกจและสวนได้
(1) คาเชาที ่ ่ ิ ่ จากเงินโอน
EC 111 201
5. ปัจจัยแรงงาน : มีผลตอบแทนปั จจัยเรี ยกวา่ คาจ้ ่ าง เส้นอุปทานอุปทานแรงงาน
สวนบุ ่ คคล : ชวงแรกปริ
่ มาณเสนอขายแรงงานจะเพิม่ ตามอัตราคาจ้ ่ าง จนถึงระดับหนึ่ง การเพิ่ม
คาจ้่ างจะทําให้การเสนอขายแรงงานลดลง เนื่องจากเมื่อรายได้เพียงพอแล้ว จะต้องการพักผอน ่
6. เส้ นอปสงค์
ุ และอปทานแรงงานปั
ุ จจัยแรงงาน : มีลกั ษณะคล้ายกบเส้ ั นอุปสงค์
และอุปทานในตลาดสิ นค้าที่เคยศึกษามาแล้ว เมื่อเส้นอุปสงค์ตดั กบเส้ ั นอุปทานแรงงาน จะเกดราคา ิ
และปริ มาณแรงงานดุลยภาพ
7. ปัจจัยทนุ : ผลตอบแทนคือดอกเบี้ ย อัตราดอกเบี้ ยใช้หลักเกณฑ์จากเงินฝาก
ธนาคาร การตัดสิ นใจลงทุนของหนวยธุ ่ รกจหรื
ิ อ จะเปรี ยบเทียบระหวาง ่ อัตราผลตอบแทนจาก
การลงทุน ( r ) กบอั ั ตราดอกเบี้ ย ( i ) เมื่อ r > i ควรลงทุน และ r < i ไมควรลงทุ ่ น
8. ปัจจัยผ้ ูประกอบการ : ผลตอบแทนคือ กาไร ํ ซึ่งถือวาเป็
่ นผลตอบแทนจากความรู ้
ความสามารถ การจัดการในการรวบรวมปั จจัยการผลิตอื่นๆมารวมกนผลิ ่ ั ตสิ นค้าและบริ การ
บทบาทของผูป้ ระกอบการจะเกยวข้ ี่ องกบั (1) ความเสี่ ยงการประกอบธุรกจิ (2) การแสวงหา

นวัตกรรมมาใช้ปรับปรุ งการผลิต เพื่อรักษาระดับกาไรทางเศรษฐศาสตร์ ให้คงอยูต่ ่อไป
จดประสงค์
ุ การศึกษา
1. อุปสงค์ปัจจัยการผลิตคืออะไร ทําไมจึงกลาววา ่ ่ เป็ นอุปสงค์ต่อเนื่องด้วย
2. ดุลยภาพการใช้ปัจจัยการผลิต เพื่อทําให้หนวยธุ ่ รกจได้ ิ รับกาไรสู
ํ งสุ ด โดยใช้
เงื่อนไขอะไร เขียนเป็ นรู ปภาพได้อยางไร ่
3. เส้นอุปสงค์ปัจจัยการผลิต และเส้นอุปทานปัจจัยการผลิตของหนวยธุ ่ รกจและ

ตลาดมีลกั ษณะอยางไร ่
4. ดุลยภาพของอุปสงค์และอุปทานปัจจัยการผลิต มีลกั ษณะอยางไร ่
ี่ ั ่ ่ ่แท้จริ ง คาเชาทางเศรษฐกจและสวนได้
5. ที่ดิน : มีแนวคิดเกยวกบคาเชาที ่ ่ ิ ่ จากเงิน
โอนมีลกั ษณะอยางไร ่
6. ปั จจัยแรงงาน : อุปทานแรงงานสวนบุ ่ คคลมีลกั ษณะอยางไร ่ ทําไมเส้นอุปทาน
แรงงานจึงวกกลับ ด้วยเหตุผลอะไร
7. ดุลยภาพของอุปสงค์และอุปทานในตลาดแรงงาน มีลกั ษณะอยางไร ่ ถ้าอัตรา
คาจ้ ่ างสูงขึ้ น จะมีผลตอการจ้
่ างงานและ จะปรับตัวเข้าสู่ ดุลยภาพได้ยางไร ่

202 EC 111
8. ปั จจัยทุนคือ ดอกเบี้ ย ผูป้ ระกอบการจะตัดสิ นใจลงทุนหรื อไม่ มีหลักเกณฑ์การ

พิจารณาอยางไร
9. ผูป้ ระกอบการมีบทบาทสําคัญอยางไร ่ ที่กลาวมี
่ บทบาทที่เกยวข้
ี่ องกบั ความเสี่ ยง

และนวัตกรรมอยางไร

EC 111 203
การศึกษาเกยวกบปั ี่ ั จจัยการผลิตที่ผานมา ่ ซึ่งประกอบด้วยที่ดิน แรงงาน ทุนและ
ผูป้ ระกอบการ ซึ่งมีหนวยครั ่ วเรื อนเป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิตเหลานั ่ ้ น โดยมีผลตอบแทนปั จจัย

ตางๆเรี ยกวา่ คาเชา
่ ่ คาจ้ ่ าง ดอกเบี้ ย และกาไร ํ ตามลําดับ เมื่อหนวยครั ่ วเรื อนเสนอขายปัจจัยการ
่ ่ รกจิ มีการซื้ อขายปัจจัยการผลิตเกดขึ
ผลิตให้แกหนวยธุ ิ ้ น เราจึงเรี ยกวา่ ตลาดปัจจัยการผลิต
สําหรับหัวข้อการศึกษาตลาดปั จจัยการผลิต จะเป็ นการวิเคราะห์ การกําหนดราคา
ปัจจัยการผลิตขั้นพืน้ ฐานเบือ้ งต้ น ในตลาดทีม่ ีการแข่ งขันสมบรณ์ ู เท่ านั้น โดยมีประเด็นหัวข้อใน

การศึกษาดังตอไปนี ้
9.1 อปสงค์
ุ และอปทานของปั
ุ จจัยการผลิต : ดลยภาพในตลาดปั
ุ จจัยการผลิต
อปสงค์
ุ ปัจจัยการผลิต(Demand for factor of Production) หมายถึง ปริ มาณการเสนอ
ซื้ อปั จจัยการผลิตของหนวยธุ ่ รกจิ ณ ระดับราคาตางๆ ่ ่ รกจหรื
ทั้ งนี้ หนวยธุ ิ อหนวยผลิ
่ ตมีความ
ต้องการปั จจัยการผลิต เพื่อนําไปผลิตสิ นค้าและบริ การให้กบผู ั บ้ ริ โภค ดังนั้ นอุปสงค์ปัจจัยการผลิต
่ น อุปสงค์ต่อเนื่อง (derived demand) นัน่ เอง
จึงถือวาเป็
การศึกษาอุปสงค์ปัจจัยการผลิตจะศึกษา เฉพาะปัจจัยการผลิตชนิดเดียวและมี
โครงสร้างตลาดเป็ นแบบแขงขั ่ นสมบูรณ์เทานั ่ ้ น โดยมีเป้ าหมายเพื่อหาคําตอบวา่ หนวยธุ ่ รกจจะิ
เสนอซื้ อปัจจัยการผลิตในปริ มาณเทาใด ่ เพื่อให้ได้รับกาไรสู ํ งสุ ด โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ส่ วน
เพิ่มของ รายรับเพิ่มเทากบต้ ่ ั นทุนเพิ่ม(MR = MC) เป็ นแนวทางในการศึกษา
อปสงค์
ุ ปัจจัยการผลิตของหน่ วยธรกิ ุ จในระยะสั้ น
(1)รายรับเพิม่ จากปัจจัยการผลิต(Marginal Revenue Product : MRP) คือ รายรับที่
เปลี่ยนแปลงไป เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปั จจัยการผลิต 1 หนวย ่
วิธีการหาคาของ่ รายรับเพิม่ ของปั จจัยการผลิต : MRP = ∆TR . หรื อ
∆Q
MRP = MP x MR
MRP เรี ยกวา่ รายรับเพิ่มของการใช้ปัจจัยการผลิต
MP เรี ยกวา่ ผลผลิตเพิ่ม (Marginal Product)
MR เรี ยกวา่ รายรับเพิม่ (Marginal Revenue)

204 EC 111
่ TP , MP , MR และ MRP
ตารางที่ 9.1 แสดงความสัมพันธ์ระหวาง
แรงงาน (L) ผลผลิตรวม(TP) ผลผลิตเพิม่(MP) รายรับเพิ่ม รายรับเพิ่มของ
MR = P การใช้ปัจจัยMRP
1 12 12 5 60
2 22 10 5 50
3 30 8 5 40
4 36 6 5 30
5 40 4 5 20
6 42 2 5 10
7 42 0 5 0

่ ่มของการใช้ปัจจัยการผลิต(MRP)
รู ปภาพที่ 9.1 แสดงเส้นรายรับสวนเพิ
รายรับ

30 E

MRP = d
0 จํานวนปั จจัยการผลิต(L)
4
่ ่ม(MRP) มีลกั ษณะความชันทอดลงจากซ้ายไป
อธิบายรู ปภาพที่ 9.1 เส้นรายรับสวนเพิ
ขวา คา่ MRP เริ่ มต้นจะมีค่ามากและลดลงไปเรื่ อยๆ เมื่อมีการใช้ปัจจัยการผลิตมากขึ้ น จนกระทัง่
เป็ นศูนย์ในที่สุด เชน่ ที่จุด E หนวยธุ
่ รกจใช้
ิ ปัจจัยการผลิตแรงงาน 4 จะมีค่า MPR = 30 เป็ นต้น
นอกจากนี้ ยงั ถือวาเป็ ่ รกจไปด้
่ นส้นอุปสงค์ปั จจัย(d) ของหนวยธุ ิ วย

EC 111 205
ุ ม่ ของปัจจัยการผลิต(Marginal factor cost : MFC) คือ ต้นทุนการผลิต
(2) ต้ นทนเพิ

ที่เพิม่ ขึ้ น เนื่องมาจากการใช้ปัจจัยการผลิตเพิ่ม 1 หนวย

สู ตรการหาคาของ MFC = ∆TC .
∆L
โดยที่ ∆TC เรี ยกวา่ การเปลี่ยนแปลงต้นทุนการผลิตทั้ งหมด เมื่อใช้ปัจจัยเพิ่มขึ้ น 1 หนวย ่
∆L เรี ยกวา่ การเปลี่ยนแปลงจํานวนปัจจัยการผลิต(แรงงาน)
ตารางที่ 9.2 แสดงความสัมพันธ์ระหวาง ่ จํานวนแรงงาน คาจ้่ าง ต้นทุนของปั จจัยและต้นทุนเพิ่ม
ของการใช้ปัจจัย
จํานวนแรงงาน(L) ่ าง
คาจ้ ่ าง
ต้นทุนของคาจ้ MFC
1 30 30 30
2 30 60 30
3 30 90 30
4 30 120 30
5 30 150 30
6 30 180 30
7 30 210 30

รู ปภาพที่ 9.2 แสดงเส้น ต้นทุนเพิม่(MFC)


ต้นทุน

30 MFC

0 จํานวนปั จจัยการผลิต(L)

206 EC 111
อธิบายรู ปภาพที่ 9.2 เส้นต้นทุนหนวยเพิ ั
่ ่ม(MFC) จะมีลกั ษณะขนานกบแกนนอน
่ าง(W) มีลกั ษณะคงที่ ถึงแม้จะมีการใช้ปัจจัยแรงงานมากขึ้ น ซึ่งจะให้เห็นวาคาของ
เนื่องจากคาจ้ ่ ่
MFC = 30 คงที่ไปด้วย
ตารางที่ 9.3 แสดงความสัมพันธ์ระหวาง ่ TR , TC , MRP , MFC
แรงงาน (L) รายรับรวม ต้นทุนรวม ํ
กาไร MRP MFC
TR TC TR - TC
1 60 30 30 60 30
2 110 60 50 50 30
3 150 90 60 40 30
4 180 120 60 30 30
5 200 150 50 20 30
6 210 180 30 10 30
7 210 210 0 0 30
ดลยภาพของการจ้
ุ างปัจจัยของหน่ วยผลิตแต่ ละราย : แสดงได้ ตามรปภาพที
ู ่ 9.3
่ ่ม(MRP) และเส้นต้นทุนเพิม่(MFC)
รู ปภาพที่ 9.3 เส้นรายรับหนวยเพิ
และดุลยภาพของการจ้างปัจจัยการผลิตของหนวยผลิ ่ ่ ย
ตแตละรา
รายรับและต้นทุน

A MFC
30

MRP
0 4 จํานวนแรงงาน(L)
อธิบายรู ปภาพที่ 9.3 เมื่อนําเส้น MRP และ เส้น MFC มาอยูใ่ นรู ปภาพเดียวกนั จะ
เห็นได้วา่ เส้นทั้ งสองตัดกนที
ั ่จุด A แสดงวาจุ ่ ดนี้ เป็ นจุดดุลยภาพของหนวยธุ
่ รกจิ เมื่อมีการจ้าง
ปั จจัยการผลิตแรงงาน จํานวน 4 คน ซึ่งถือเป็ นเงื่อนไขการจ้างปัจจัยการผลิตที่ทาํ ให้ได้รับกาไรํ
สูงสุ ด MRP = MFC หรื อ MR = MC ที่เคยศึกษาผานมาแล้ ่ วนัน่ เอง
EC 111 207
เส้ นอปสงค์
ุ ปัจจัยของหน่ วยธรกิ ่
ุ จและตลาด : มีลกั ษณะดังตอไปนี

่ รกจิ และตลาด
รู ปภาพที่ 9.4 เส้นอุปสงค์ปัจจัยการผลิตของหนวยธุ
ราคาปัจจัย รายรับ,ต้นทุน

DL
MRP = d
0 จํานวนปัจจัย 0 จํานวนปัจจัย
ก. ตลาด ่ รกจิ
ข. หนวยธุ
อธิบายรู ปภาพที่ 9.4 จากรู ป ข. เส้น MRP = d แสดงให้เห็นวาเป็่ นเส้นอุปสงค์ปัจจัย
การผลิตของหนวยธุ ่ รกจิ ด้วย ถ้าเรานําเส้น MRP ของหนวยธุ่ รกจทัิ ้ งหมด มารวมกนั จําให้ได้เส้น
อุปสงค์ปัจจัยการผลิตของตลาด ดังรู ปภาพ ก. ซึ่งเส้นอุปสงค์ของปัจจัยของหนวยธุ ่ รกจและตลาด

มีลกั ษณะคล้ายกนั ทอดลงจากซ้ายไปขวา ความสัมพันธ์ระหวาง ่ ราคาปัจจัยกบั จํานวนการจ้าง
ปั จจัย เป็ นลักษณะตรงกนข้ ั ามหรื อเป็ นลบ
เส้ นอปทานปั
ุ จจัยการผลิต(Supply of Factor Production) หมายถึง ปริ มาณเสนอขาย
ปั จจัยของเจ้าของปั จจัยการผลิต ณ ระดับราคาตางๆ ่ เส้นอุปทานมี 2 ประเภทด้วยกนดั ั งนี้
(1) เส้ นอปทานปั
ุ ุ (Individual Supply of Factor Production) : มี 2
จจัยส่ วนบคคล
ลักษณะดังตอไปนี่ ้
รู ปภาพที่ 9.5 เส้นอุปทานปัจจัยสวนบุ่ คคลแบบเส้นตรงและเส้นโค้ง
ราคาปั จจัย S ราคาปั จจัย S

0 0
จํานวนปั จจัย จํานวนปั จจัย

208 EC 111
อธิบายรู ปภาพที่ 9.5 เส้นอุปทานปัจจัยการผลิตของบุคคล มีความเป็ นไปได้ท้ งั แบบ
เส้นตรงและเส้นโค้ง โดยมีความสัมพันธ์ระหวาง ่ ราคาปัจจัย กบั จํานวนปัจจัย เป็ นลักษณะทาง
ั อเป็ นบวก
เดียวกนหรื
(2) เส้นอุปทานปัจจัยของตลาด : ประกอบไปด้วยเส้นอุปทานปัจจัยสวนบุ ่ คคล
ั ั นอุปทานของปัจจัยในตลาด มีลกั ษณะดังรู ปภาพตอไปนี
หลายๆบุคคล รวมกนกนเป็ ่ ้
รู ปภาพที่ 9.6 เส้นอุปทานปัจจัยสว่นบุคคลและตลาด
ราคาปัจจัย ราคาปั จจัย ราคาปัจจัย
S1 S2 S3

0 จํานวนปัจจัย 0 จํานวนปั จจัย 0 จํานวนปัจจัย


บุคคล บุคคล ตลาด
อธิบายรู ปภาพที่ 9.6 เส้นอุปทานปัจจัยของบุคคล หลายๆบุคคลทั้ งหมดคือเส้น S1
และ S2 เมื่อนํามารวมกนั กจะได้
็ เส้นอุปทานปัจจัยของตลาดคือ S3 นัน่ เอง

ดลยภาพของอปสงค์
ุ ุ และอปทานในตลาดปั
ุ ่
จจัยการผลิต : มีลกั ษณะดังตอไปนี

รู ปภาพที่ 9.7 ดุลยภาพของเส้นอุปสงค์และอุปทานปัจจัยการผลิต
ราคาปัจจัย
S

P0 E0

0 L0 จํานวนปัจจัย

EC 111 209
อธิบายรู ปภาพที่ 9.7 เมื่อนําเสนออุปสงค์และอุปทานของปัจจัยการผลิตของตลาด
มาอยูใ่ นรู ปภาพเดียวกนั พบวาตั ่ ดกนทีั ่จุด E0 กจะได้ ็ ราคาปัจจัย P0 และการจ้างปั จจัยการผลิต L0
่ น ราคาปั จจัยและปริ มาณปั จจัยดุลยภาพด้วย
จึงถือวาเป็
9.2 ทีด่ นิ ผลตอบแทนคือ ค่ าเช่ า (Rent) : ที่ดินเป็ นปัจจัยการผลิตที่มีความสําคัญเป็ น
่ ง่ ถ้าเป็ นการผลิตสิ นค้าเกษตร ในอดีตที่ดินมีจาํ นวนมากเมื่อเปรี ยบเทียบกบจํ
อยางยิ ั านวนประชากร
น้อย ่ ่ งยังไมเกดขึ
ดังนั้ นคาเชาจึ ่ ิ ้ น แตเมื ่ ่อประชากรมีมากขึ้ นและที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์มี
จํานวนลดลง ทุกคนกอยากได้ ็ ที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ ดังนั้ นนักเศรษฐศาสตร์ในอดีตจึงกลาว ่
วา่สถานการณ์ดงั กลาว ่ จึงเป็ นเหตุให้มี ค่าเช่ า เกดขึ
ิ ้ นตามมา
เนื่องจากในปัจจุบนั หลายประเทศเป็ นประเทศอุตสาหกรรม การผลิตสิ นค้า
อุตสาหกรรมจะมีการใช้ที่ดินจํานวนไมมาก ่ นักเมื่อเปรี ยบเทียบกบการเกษตร
ั ่ ่
แตอยางไรก ต็ าม
แนวความคิดเกยว ี่ ค่ าเช่ า สามารถอธิบายได้ดงั ตอไปนี ่ ้
(1) ค่ าเช่ าทางเศรษฐกิจทีแ่ ท้ จริง : คาเชาที ่ ่ ่ดินประกอบด้วย คาเชาทางเศรษฐกจ
่ ่ ิ บวก
กบั คาเสี
่ ยโอกาสของที่ดิน แตถ้่ าอุปทานที่ดินมีลกั ษณะคงที่เป็ นการวิเคราะห์ในระยะสั้ น จะทําให้
่ ยโอกาสเทากบศู
ต้นทุนคาเสี ่ ั นย์
่ ่
รู ปภาพที่ 9.10 คาเชาทางเศรษฐกจที ิ ่แท้จริ ง
่ ่
คาเชา S
R1 B

R0 A
D1
D0
0 N0 จํานวนที่ดิน


อธิ บายรู ปภาพที่ 9.10 เส้นอุปทานที่ดินคงที่(S) จะเป็ นเส้นตั้ งฉากกบแกนนอน ตัดกบั
่ ่ น R0 และใช้ที่ดินจํานวนเทากบ
เส้นอุปสงค์ที่ดิน(D0) ที่จุด A อัตราคาเชาดิ ่ ั N0 ดังนั้ นเป็ นจํานวน
่ ่ ที่ดินเทากบพื
คาเชา ่ ั ้นที่ 0R0AN0
่ ามีอุปสงค์ที่ดินเพิม่ ขึ้ นเป็ น D1 จะตัดกบเส้
ตอมาถ้ ั นอุปทานที่ดินที่จุด B จะทําให้อตั รา
่ ่ ่ดินเพิม่ ขึ้ นเทากบ
คาเชาที ่ ่ ่ดินทั้ งหมดจะเป็ นพื้นที่ 0R1BN0
่ ั R1 และคาเชาที
210 EC 111
(2) ค่ าเช่ าทางเศรษฐกิจ(Economic Rent)และส่ วนได้ จากเงินโอน (Tranfer earning):
อธิบายแนวคิดได้ โดยใช้รูปภาพที่ 9.11 ดังนี้
รู ปภาพที่ 9.11 คาเ่ชาทางเศรษฐกจและสวนได้
่ ิ ่ จากเงินโอน
ราคาปั จจัย S
R0 A
่ ่
คาเชา
B D
Tranfer earning
0 N0 จํานวนที่ดิน
อธิบายรู ปภาพที่ 9.11 การวิเคราะห์เส้นอุปทานที่ดิน(S)ในระยะยาว สามารถ
ปรับปรุ งที่ดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ได้ ทําให้เส้นอุปทานที่ดินมีลกั ษณะความชันทอดลงจากขวา
ั นอุปสงค์ที่ดิน(D) ตัดกนที
มาซ้ายตัดกบเส้ ั ่จุด A เป็ นจุดดุลยภาพของอัตราคาเชาที
่ ่ ่ดิน R0 และ
จํานวนที่ดิน N0 โดยมีพ้นื ที่ 0R0AN0 แบงออกเป็่ ่ อ พื้นที่ R0AB ถือเป็ นคาเชาที
น 2 สวนคื ่ ่ ่ดิน และ
่ นสวนได้
พื้นที่ 0BAN0 ถือวาเป็ ่ ่ ยโอกาส
จากการโอน(Tranfer earning) หรื อ ต้นทุนคาเสี
9.3 ปัจจัยแรงงาน : ผลตอบแทนคือ ค่ าจ้ าง
ี่ ั
การศึกษาศึกษาเกยวกบแรงงาน ี่ ั ปทานแรงงานและ
มีประเด็นที่เกยวกบอุ
อุปสงค์แรงงานมีลกั ษณะดังตอไปนี ่ ้
(1) อุปทานแรงงานสวนบุ ่ คคล : การเสนอขายแรงงานของบุคคล มีปัจจัยคาจ้ ่ าง

เป็ นตัวกาหนด โดยมีเส้นอุปทานแรงงานของบุคคลดังนี้
่ คคล
รู ปภาพที่ 9.12 เส้นอุปทานแรงงานสวนบุ
่ าง/ชัว่ โมง
คาจ้
S

60

30

0 12 48 จํานวนชัว่ โมงทํางาน/สัปดาห์
EC 111 211
อธิบายรู ปภาพที่ 9.12 เส้นอุปทานแรงงานของบุคคล จะมีลกั ษณะวกกลับ
่ าง 30 บาท/ชัว่ โมง จะมีการเสนอขายแรงงานจํานวน 12 ชัว่ โมงตอสั
เริ่ มต้นจากเมื่อคาจ้ ่ ปดาห์ ตอมา

ค้าแรงงานเพิ่มขึ้ นเป็ น 60 บาท/ชัว่ โมง จะมีการเสนอแรงงานจํานวน 48 ชัว่ โมงตอสั ่ ปดาห์ ถ้า
อัตราคาจ้ ่ างยังสูงขึ้ นไปอีก การเสนอขายแรงงานจะลดลง ผูใ้ ช้แรงงานรายได้เพียงพอสําหรับการ

ดํารงชีวิตแล้ว ดังนั้ นเขาจึงต้องการพักผอนมากกวาทํ ่ างาน
(2) อปทานแรงงานส่
ุ วนบคคลและอปทานแรงงานตลาด
ุ ุ ่
: มีลกั ษณะดังตอไปนี

รู ปภาพที่ 9.13 เส้นอุปทานแรงงานบุคคลและตลาด
อัตราคาจ้่ าง(W) W W
S1 S2 S3

0 QL 0 QL 0 QL
นาย ก. นาย ข. ตลาด
อธิบายรู ปภาพที่ 9.13 เส้นอุปทานแรงงานของนาย ก. และ ข. ดังเส้น S1 และ S2
เมื่อนําปริ มาณเสนอขายแรงงานมารวมกนั กจะเป็ ็ นเส้นอุปทานแรงงานของตลาด S3 นัน่ เอง
(3) อปสงค์
ุ ่
แรงงานของตลาด : มีลกั ษณะดังตอไปนี

รู ปภาพที่ 9.14 อุปสงค์แรงงานของตลาด
่ าง
คาจ้

DL

0 ปริ มาณแรงงาน(QL)
อธิบายรู ปภาพที่ 9.14 เส้นอุปสงค์แรงงานของตลาด มีลกั ษณะความชันทอดลง
่ างและปริ มาณต้องการจ้างแรงงาน
จากซ้ายไปขวา ดังรู ปภาพ DL โดยมีความสัมพันธ์ระหว่าง คาจ้
เป็ นแบบลบ

212 EC 111
(4) ดลยภาพของอปสงค์
ุ ุ และอปทานในตลาดแ
ุ รงงาน : มีลกั ษณะดังนี้
รู ปภาพที่ 9.15 ดุลยภาพในตลาดแรงงาน
่ าง
คาจ้ S
W1 A B
E0
W0
D

0 Q1 Q0 Q2 ปริ มาณแรงงาน
อธิบายรู ปภาพที่ 9.15 เส้นอุปสงค์แรงงาน(D) ตัดกบั เส้นอุปทานแรงงาน(S) ที่จุด
E0 ถือเป็ นจุดดุลยภาพ อัตราคาจ้ ่ างเทากบ
่ ั W0 และปริ มาณเสนอจ้างงานและเสนอขายแรงงาน
่ ั Q0 ตอมาถ้
เทากบ ่ าอัตราคาจ้่ างสู งขึ้ นเป็ น W1 จะทําให้เกดอุ
ิ ปทานแรงงานสวนเกนเทากบ
่ ิ ่ ั AB

ดังนั้ น จะมีแรงงานสวนหนึ ่ งไมมี่ งานทํา จึงต้องยอมลดคาจ้
่ างลงไปจนถึง อัตราคา่จ้าง W0 ซึ่ง
่ ั
ปริ มาณเสนอขายแรงงานเทากบความต้ องการจ้างงาน ทุกคนที่ตอ้ งการทํางานมีจะมีงานทํา

9.4 ปัจจัยทนุ(Capital ) : ผลตอบแทนคือ ดอกเบีย้


ทนุ(Capital ) ถือวาเป็ ่ นปั จจัยการผลิต ที่มีความสําคัญในระบบการผลิตแบบ
อุตสาหกรรม รู ปธรรมของทุนได้แก่ อาคารสํานักงาน โกดังสิ นค้า เครื่ องจักร เครื่ องมือและวัตถุดิบ
่ แตทุ่ นเกดจากหนวยธุ
ตางๆ ิ ่ รกจนํ ิ าเงินทุนไปซื้ อหามาใช้ผลิตสิ นค้า รวมกบปั
่ ั จจัยอื่นๆ เงินทุนมีค่า
เสี ยโอกาสถ้านําไปฝากธนาคาร จะได้ ดอกเบีย้ (Interest) ดังนั้ นเราจึงถือวา่ ดอกเบี้ ยเป็ น
ผลตอบแทนของทุน นัน่ เอง
ประเด็นสําคัญคือ เนื่องจากการฝากเงินธนาคาร กมี็ ดอกเบี้ ยหลายประเภท เชนฝาก ่
ออมทรัพย์ ฝากประจํา 3 เดือน , 6 เดือน และ 12 เดือน เป็ นต้น แตละประเภทอั ่ ตราดอกเบี้ ยไม่
่ ั ดังนั้ นดอกเบี้ ยในที่นี้ นาจะเป็
เทากน ่ นดอกเบี้ ยเงินฝากประจํา จะเหมาะสมที่สุด
่ รกจมี
เมื่อหนวยธุ ิ การลงทุน(Investment) ประเทศกจะมี ็ การสะสมทุนมากขึ้ น ทํา
ให้มีขีดความสามารถในผลิตมากขึ้ น มีการจ้างงานมากขึ้ น และรายได้ประชาติเพิ่มขึ้ น เศรษฐกจมี ิ
การเจริ ญเติบโต

EC 111 213
การที่หนวยธุ่ รกจจะตัิ ดสิ นใจลงทุน จะมีหลักวิธีการคิด การตัดสิ นใจอยางไร ่ ความ
เป็ นจริ งจะมีหลักการคิดได้หลายแนวทาง แตในที ่ ่น้ ีจะใช้หลักการเปรี ยบเทียบอัตราผลตอบแทน
จากการลงทนุ ( r ) กับ อัตราดอกเบีย้ ( i ) นัน่ เอง โดยมีกระบวนการพิจารณาดังตอไปนี ่ ้

ถ้าคาของ r > i ควรจะลงทุน

r < i ไมควรลงทุ น
(1) เนื่องจากการลงทุนซื้ อปั จจัยทุนมาผลิตสิ นค้า เชน่ เครื่ องจักร มาใช้ผลิตสิ นค้าจะ
ให้ผลตอบแทนได้หลายๆปี ดังนั้ น จึงต้องหามูลคาปั ่ จจุบนั (Present Value: PV ) ของผลตอบแทน
เหลานั่ ้ นกอน่ มีสูตรดังนี้
PV = R1 . + R2 . + … + Rn .
( 1 + r) (1 r ) 2 (1 r) n
โดยที่ R คือ ผลตอบแทนการลงทุนตั้ งแตปี่ 1 ………… ปี n
r คือ อัตราผลตอบแทนการลงทุน(คาเป็ ่ นร้อยละ)
(2) นําปริ มาณเงินที่ใช้ในการลงทุนมาเปรี ยบเทียบ สมการหามูลคาปั ่ จจุบนั (PV) จะมี
สูตรได้ดงั นี้
ปริ มาณเงินลงทุน (C ) = R1 . + R2 . + ... + Rn .
( 1 + r ) (1 r ) 2 (1 r) n
หลังจากนั้ นแทนคาของ ่ C , R1 ………. Rn ลงไปในสมการ สมมติวาหาคา ่ ่ r = 10 %
และอัตราดอกเบี้ ยเงินฝากประจําของธนาคารเทาร้ ่ อยละ 5 ดังนั้ นคา่ r > i จึงควรลงทุน
9.5 ปัจจัยผู้ประกอบการ(Entrepreneur) : มีผลตอบแทนเรี ยกวา่ กําไร (Profit)
ผูป้ ระกอบการเป็ นผูท้ ี่ใช้ความรู ้ ความสามารถ การจัดการเพื่อทําการรวบรวมปั จจัย

การผลิตตางๆมารวมกนผลิ ั ตสิ นค้าและบริ การ นําออกไปขายให้กบผู ั บ้ ริ โภค ถ้ามีผลประกอบการที่
รายรับจากการขายสิ นค้ามีมากกวาต้ ่ นทุนหรื อรายจาย ่ ่ ่ ่เรี ยกวา่ กําไร กจะถื
สวนตางที ็ อวาเป็
่ น
ผลตอบแทนของผูป้ ระกอบการ นัน่ เอง
การศึกษาที่ผานถึ ่ งแม้เป้ าหมายของหนวยธุ ่ รกจิ จะต้องการแสวงหากาไรมากที ํ ่สุด

แตผลประกอบการกอาจเป็ ็ ํ ิ
นได้ท้ งั มีกาไรเกนปกติ ํ
กาไรปกติ และขาดทุน ได้เสมอ ขึ้ นอยูก่ บั
ขนาดการผลิตที่ใช้อยูน่ ้ นั จะมีตน้ ทุนมากน้อยเพียงใด และอํานาจในกาหนดรา ํ คามากน้อยเพียงไร
ํ ็ าเนินธุรกจตอไป
ดังนั้ นถ้ามีกาไรกดํ ิ ่ หรื อ ขาดทุนกหยุ ็ ดการผลิต เป็ นต้น

214 EC 111
่ ็ ป้ ระกอบการจึงยอม
อยางไรกตามผู ่ มีบทบาทหน้าที่ความเกยว ี่ ข้อง กบปั ั จจัยอยาง

น้อย 2 ประการคือ
(1) ความเสี่ ยงในฐานะเจ้ าของหน่ วยธรกิุ จ(Ownership Risks) : ทําไมจึงต้องมีการ
่ ่
จายคาตอบแทนให้ ั ป้ ระกอบการ กเพราะวาเขาต้
กบผู ็ ่ องรับความเสี่ ยงต่างๆที่จะเกดขึิ ้ น ในฐานะที่

เป็ นเจ้าของกจการ
(2) นวัตกรรม(Innovation):หนวยธุ่ รกจจะนํ
ิ านวัตกรรม การคิดค้น ระบบการบริ หาร
จัดการใหมๆ่ มาเพื่อใช้ส่ งเสริ มการผลิตสิ นค้าและบริ การให้มีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้ น พัฒนา
ผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพดี ต้นทุนตํ่า และสอดคล้องกบรสนิั ยมของผูบ้ ริ โภค ทั้ งนี้ เพื่อให้เขายังสามาร
ํ างเศรษฐศาสตร์ให้ยงั คงอยูไ่ ด้ตอไป
รักษากาไรท ่

EC 111 215
คําถามท้ ายบท

จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุด เพียงคําตอบเดียว
1. ดุลยภาพของหนวยธุ ่ รกจิ ในการจ้างปัจจัยการผลิตอยูท่ ี่เงื่อนไขใด
(1) เงื่อนไข AR = AC (2) เงื่อนไข MRP = MFC
(3) เงื่อนไข TR = TC (4) เงื่อนไข AR = MC
2. ตลาดปั จจัยที่ดิน ถ้าเส้นอุปทานที่ดิน มีลกั ษณะตั้ งฉากกบแกนนอน ั (ปริ มาณที่ดิน) เมื่ออุป
สงค์ที่ดินเพิม่ ขึ้ นจากเดิม จะมีผลอยางไร ่
่ ่าที่ดินเพิม่
(1) อัตราคาเช (2) ปริ มาณการใช้ที่ดินเพิ่มขึ้ น
่ ่
(3) อัตราคาเชาและปริ มาณการใช้ที่ดินเพิ่มขึ้ น
(4) ปริ มาณการใช้ที่ดินอาจ เพิ่มหรื อลดลงกได้ ็
3. ข้อความในตัวเลือกตอไปนี ่ ้ ถูกต้อง (เมื่อวิเคราะห์ในเงื่อนไขตลาดแขงขั ่ นสมบูรณ์)
(1) อุปทานที่มีลกั ษณะคงที่เทานั ่ ้น ่ ต แสดงได้โดยใช้
(2) อุปสงค์ปัจจัยของหนวยผลิ
เส้น MRP
(3) เส้นต้นทุนเพิม่ ของปัจจัยหนวยผลิ ่ ต ความชันทอดลงจากซ้ายไปขวา
(4) เส้นอุปทานแรงงานจะวกกลับ เพราะอัตราคาจ้ ่ างลดลง
4. จงใช้รูปภาพนี้ เพื่อตอบคําถาม
ราคาปัจจัย S

E
A D
B
0 จํานวนที่ดิน
ั ่จุด E พื้นที่ B คืออะไร
เส้นอุปสงค์ที่ดิน(D) และเส้นอุปทานที่ดิน(S) ตัดกนที
่ ่ ทางเศรษฐกจิ
(1) คาเชา ่
(2) สวนได้จากเงินโอน
่ ่ ่ดิน
(3) อัตราคาเชาที ่ ิ าของที่ดิน
(4) สวนเกนเจ้

216 EC 111
5. การที่เส้นอุปทานแรงงานของบุคคล มีลกั ษณะวกกลับมีเหตุผลอะไร
(1) อัตราคาจ้ ่ างลดลงจากเดิม (2) อัตราคาจ้่ างสู งกวา่ ฝื มือแรงงาน
(3) แรงงานต้องการพักผอน ่ (4) แรงงานมีฝีมือ มีจาํ นวนน้อย
6. ผูป้ ระกอบการมีเงินทุน ต้องการลงทุนควรหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอยางไร ่
(1) อัตราผลตอบแทนการลงทุน( r) มากกว่าอัตราดอกเบี้ ย ( i )
(2) อัตราผลตอบแทนการลงทุน( r ) น้อยกวาอั ่ ตราดอกเบี้ ย ( i )
(3) อัตราผลตอบแทนการลงทุน (r ) เทากบ ่ ั อัตราดอกเบี้ ย ( i )
(4) ผิดทุกข้อ
7. เหตุผลที่ผปู ้ ระกอบการ(Entrepreneur)ควรได้รับผลตอบแทนจากปัจจัยการผลิตเพราะวา่
(1) เป็ นผลตอบแทนความรู ้ ความสามารถ (2) เป็ นเจ้าของการนําเงินทุนมาลงทุน
(3) เป็ นผูต้ อ้ งรับความเสี่ ยง (4) ถูกทั้ งข้อ 1 และ 3

เฉลยคําถามท้ ายบท
ข้อ 1 ( 2 ) ข้อ 2 ( 1 ) ข้อ 3 ( 2 ) ข้อ 4 ( 2 ) ข้อ 5 ( 3 ) ข้อ 6 ( 1 )
ข้อ 7 ( 4 )

EC 111 217
บรรณานกรม

บรรณานกรม

ภาษาไทย
คิม ไชยแสนสุ ข. เศรษฐศาสตร์ จุลภาค 1 (EC 111 S). กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง,
2525 .
จินตนา พรพิไลพรรณ และบุญธรรม ราชรักษ์. เศรษฐศาสตร์ จุลภาค 1 (EC 111 H) . กรุ งเทพฯ :
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง , 2550 .
นราทิพย์ ชุติวงศ์. ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ จุลภาค. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,
2536.
วันรักษ์ มิ่งมณี นาคิน. หลักเศรษฐศาสตร์ จุลภาค. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
2548.
วรัญญา ภัทรสุ ข.เศรษฐศาสตร์ 1 (หลักเศรษฐศาสตร์ จุลภาค) . 2 th Ed กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2550.
บัณฑิต ผังนิรันดร์.เศรษฐศาสตร์ จุลภาค. กรุ งเทพฯ : บริ ษทั ธนสาร จํากดั , 2545.
ปรี ดา นาคเนาวทิม.เศรษฐศาสตร์ จุลภาค 1 (EC 111) . กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง
, 2541
ภราดร ปรี ดาศักดิ์. หลักเศรษฐศาสตร์ จุลภาค. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
2549.
สุ พตั รา ราชรักษ์. เอกสารคําสอนวิชา เศรษฐศาสตร์ จุลภาค 1 เอกสารโรเนียวเข้าเลม่
คณะบริ หารธุรกจิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ภาษาอังกฤษ
Bade Robin and Parkin Michael. Foundation of Economic. 2 nd Ed New York : Pearson
Education Inc, 2004.
EC 111 219
Boyes William and Melvin Michael. Foundation of Economics. 3rd Ed New York : Houghton
Mifflin Company , 2004.
Colander. David C. Microeconomics. 3rd Ed New York : McGraw- Hill Companies Inc, 1998.
Hall Robert E. and Lieberman Marc. Microeconomics . 3rd Ed:Thomson South-Westtern ,2005.
Lipsey, Richard G. , Courant Pual N. Ragan Christopher T.S. Economics. 12 th New York :
Addison-Wesley , 1999.
MacComell, Campbell R. and Brue Stanley L. Microeconomics : Principle , Problems ,
And Policies. New York : MaGraw- Hill Companies Inc,2005.
McEachern, William A. Microeconomic Principle : A Contemporary Introduction. 8th Ed :
South-Western, a division of Cengage Learning , 2009.
Perloff, Jefferey M. Microeconomics. 5th NewYork : Pearson Education Inc, 2009.

220 EC 111

You might also like