Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

พยัญชนะไทย

พยั ญ ชนะไทยในป จ จุ บั น มี ๔๔ ตั ว แต ใ ช เ พี ย ง ๔๒ ตั ว โดยมี พ ยั ญ ชนะที่ ไ ม ไ ด ใ ช ตั้ ง แต


ป พ.ศ.๒๔๔๕ อยู ๒ ตัว ไดแก ฃ ฅ (กรมวิชาการ, ๒๕๔๕ : ๖๙) พยัญชนะไทย มี ๒๑ เสียง ๔๔ รูป
ดังนี้
ที่ เสียง รูป ที่ เสียง รูป
๑ ก ก ๑๒ ป ป
๒ ค ข ฃ ค ฅ ฆ ๑๓ พ พ ภ ผ
๓ ง ง ๑๔ ฟ ฟ ฝ
๔ จ จ ๑๕ ม ม
๕ ช ช ฌ ฉ ๑๖ ย ญ ย
๖ ซ ซ ส ศ ษ ๑๗ ร ร
๗ ด ด ฎ ๑๘ ล ล ฬ
๘ ต ต ฏ ๑๙ ว ว
๙ ท ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ ๒๐ ฮ ห ฮ
๑๐ น น ณ ๒๑ อ อ
๑๑ บ บ

พยัญชนะไทย มีลักษณะเฉพาะที่สําคัญ ไดแก


๑. หั ว มี แ วว (หั ว มี ลั ก ษณะเป น วง) มี ๒ แบบ ได แ ก แบบหั ว เข า เช น ฒ ญ ผ ย เป น ต น
สวนอีกแบบ คือ แบบหัวออก เชน น ภ บ ห เปนตน
๒. หัวสองชั้น มีลักษณะคลายแบบหัวเขา แตเมื่อเขียนหัวครบวงแลว เขียนวนตออีกเกือบรอบ มี ๒ ตัว
ไดแก ข ช
๓. หัวหยักหรือหัวแตก มีลักษณะคลายแบบหัวสองชั้น แตเพิ่มรอยหยัก มี ๔ ตัว ไดแก ฃ ซ ฆ ฑ
๔. ไมมีหัว มี ๒ ตัว ไดแก ก ธ

สระไทย
ปจจุบันสระในภาษาไทย มีการแบงรูปและเสียงตางกันเปน ๒ ลักษณะ
๑. หนังสือหลักภาษาไทย ของพระยาอุปกิตศิลปสาร กลาวถึงรูปสระและเสียงสระในภาษาไทย
วามี ๒๑ รูป ไดแก
๑) -ะ เรียกวา วิสรรชนีย ๑๒) ใ- เรียกวา ไมมวน
๒) - เรียกวา ไมหนั อากาศ ๑๓) ไ- เรียกวา ไมมลาย
๓) -็ เรียกวา ไมไตคู ๑๔) โ- เรียกวา ไมโอ
๔) -า เรียกวา ลากขาง ๑๕) -อ เรียกวา ตัวออ
๕) -ิ เรียกวา พินทอิ ๑๖) -ย เรียกวา ตัวยอ
๖)  เรียกวา ฝนทอง ๑๗) -ว เรียกวา ตัววอ
๗) ° เรียกวา นฤคหิตหรือหยาดน้ําคาง ๑๘) ฤ เรียกวา ตัวรึ
๘) " เรียกวา ฟนหนู ๑๙) ฤๅ เรียกวา ตัวรือ
๙) -ุ เรียกวา ตีนเหยียด ๒๐) ฦ เรียกวา ตัวลึ
๑๐) -ู เรียกวา ตีนคู ๒๑) ฦๅ เรียกวา ตัวลือ
๑๑) เ- เรียกวา ไมหนา

วิธีใชรูปสระ สามารถใชได ๒ วิธี คือ ใชสระรูปเดียวและสระหลายรูปประสมกัน สวนเสียงตาม


ตําราอักขรวิธีดั้งเดิมของไทย กลาววา ในภาษาไทยมีสระ ๒๑ รูป แทนเสียงไดถึง ๓๒ เสียง ดังนี้
๑) อะ ๑๒) แอ ๒๓) เออะ
๒) อา ๑๓) เอียะ ๒๔) เออ
๓) อิ ๑๔) เอีย ๒๕) อํา
๔) อี ๑๕) เอือะ ๒๖) ใอ
๕) อึ ๑๖) เอือ ๒๗) ไอ
๖) อื ๑๗) อัวะ ๒๘) เอา
๗) อุ ๑๘) อัว ๒๙) ฤ
๘) อู ๑๙) โอะ ๓๐) ฤๅ
๙) เอะ ๒๐) โอ ๓๑) ฦ
๑๐) เอ ๒๑) เอาะ ๓๒) ฦๅ
๑๑) แอะ ๒๒) ออ
๒. หนังสือบรรทัดฐานภาษาไทย เลม ๑ (กรมวิชาการ : ๒๕๔๕) กลาววา สระในภาษาไทย
มีรูปสระที่ใชแทนเสียง จํานวน ๓๖ รูป ดังนี้
๑) - เรียกวา ไมไตคู ๑๙) โ-ะ เรียกวา สระ โอะ
๒) -ะ เรียกวา สระ อะ ๒๐) โ- เรียกวา สระ โอ
๓) - เรียกวา ไมหันอากาศ ๒๑) เ-าะ เรียกวา สระ เอาะ
๔) -า เรียกวา สระ อา ๒๒) -อ เรียกวา สระ ออ
๕) -ำ เรียกวา สระ อํา ๒๓) -็อ เรียกวา สระ ออ กับไมไตคู
๖) -ิ เรียกวา สระ อิ ๒๔) เ-อะ เรียกวา สระ เออะ
๗) -ี เรียกวา สระ อี ๒๕) เ-อ เรียกวา สระ เออ
๘) -ึ เรียกวา สระ อึ ๒๖) เ-ิ เรียกวา สระ เออ
๙) -ื เรียกวา สระ อือ ๒๗) เ-ียะ เรียกวา สระเอียะ
๑๐) -ือ เรียกวา สระ อือ - ออ ๒๘) เ-ีย เรียกวา สระ เอีย
๑๑) -ุ เรียกวา สระ อุ ๒๙) เ-ือะ เรียกวา สระ เอือะ
๑๒) -ู เรียกวา สระ อู ๓๐) เ-ือ เรียกวา สระ เอือ
๑๓) เ-ะ เรียกวา สระ เอะ ๓๑) -วะ เรียกวา สระ อัวะ
๑๔) เ- เรียกวา สระ เอ ๓๒) -ว เรียกวา สระ อัว
๑๕) เ-็ เรียกวา สระ เอ กับไมไตคู ๓๓) -ว เรียกวา ตัว วอ
๑๖) แ-ะ เรียกวา สระ แอะ ๓๔) ใ- เรียกวา สระ ใอไมมวน
๑๗) แ- เรียกวา สระ แอ ๓๕) ไ- เรียกวา สระ ไอไมมลาย
๑๘) แ-็ เรียกวา สระ แอกับไมไตคู ๓๖) เ-า เรียกวา สระ เอา
เสียงสระในภาษาไทย แบงเปน ๒ ประเภท ไดแก
สระเดี่ ย ว คื อ สระที่ เ ปล ง เสี ย งโดยอวั ย วะในช อ งปากอยู ใ นตํ า แหน ง เดี ย วตลอดเสี ย ง เช น
เสียงสระของคําวา กา ขอ เจอ ดู ตา นา มือ สี เปนตน หนวยเสียงสระเดี่ยวในภาษาไทยมี ๑๘ หนวย
สระประสม คือ สระที่เปลงเสียงโดยอวัยวะที่ใชออกเสียงอยูในตําแหนงมากกวา ๑ ตําแหนง
หนวยเสียงสระประสมในภาษาไทยมี ๓ หนวย คือ
เ-ีย เชน เสียงสระในคําวา เลีย เรียน เปยก เรียบ เงียบ เกี๊ยะ เผียะ เปนตน
เ-ือ เชน เสียงสระในคําวา เกลือ เมื่อ เชื่อ เหลือ เปนตน
-ว เชน เสียงสระในคําวา ตัว กลัว นวล รวบ ผัวะ จั๊วะ เปนตน
สําหรับ -ำ ใ- ไ- เ-า เปนรูปสระที่มีเสียงพยัญชนะรวมอยูดวย (เสียง ม ย ว) สวน ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
มีเสียง ร ล นําหนาเสียงสระ เราจึงเรียกรูปสระดังกลาววา สระเกิน
วรรณยุกตไทย

ภาษาไทยได กําหนดวรรณยุกตไวใ ชใ นภาษาเขียน เพื่ อเปนเครื่ องหมายแทนระดั บเสียงสู ง


ต่ําในภาษา วรรณยุกตไทยมี ๔ รูป ไดแก
๑.  เรียก ไมเอก
๒.  เรียก ไมโท
๓.  เรียก ไมตรี
๔.  เรียก ไมจัตวา
รูปวรรณยุกตทั้ง ๔ จะใชเขียนบนสวนทายของพยัญชนะตน เชน นา หนา จา เปนตน ในกรณี
ที่ คํ า มี รู ป สระกํ า กั บ อยู ข า งบนแล ว ให เ ขี ย นรู ป วรรณยุ ก ต นั้ น กํ า กั บ เหนื อ รู ป สระอี ก ที ห นึ่ ง เช น ชื่ อ
ปรื๋ อ เที่ย ว เรื่ อ ย เปน ต น นอกจากนี้ ใ นเรื่ อ งของเสี ย งวรรณยุ กต ใ นภาษาไทย ยั ง มี ข อ สั ง เกตอี ก ว า
คําบางคําที่ไมมีรูปวรรณยุกตกํากับ อาจไมเปนเสียงสามัญ เชน ผี เหงา ครับ เปนตน และคําบางคํา
อาจมีเสียงไมตรงกับรูปวรรณยุกตที่กํากับ เชน วาว เทา เลื้อย เปนตน

การแจกลูกและสะกดคํา

You might also like