G0208 การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 45

การอ่านวรรณคดี

และวรรณกรรม

อาจารย์ จนิ ดารัชต์ ทวีสินธนานนท์


การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
จุดมุ่งหมายในการอ่ านวรรณคดี
๑. อ่านเพือความเพลิดเพลินอารมณ์
๒. อ่านเพราะชอบว่าเป็ นเรืองทีถูกกับนิสัยและชีวิตของตน
๓. อ่านเพราะชอบว่าเป็ นเรืองทีแปลกและต่ างกับทีตนเคยประสบ
๔. อ่านอย่างเพ่งเล็งข้ อเท็จจริงเหมือนอ่านตํารา
๕. อ่านเพือเพิมพูนประสบการณ์ชีวิต
๖. อ่านเพือรับรสความงามความไพเราะของบทประพันธ์
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
ความหมายของวรรณกรรม
มาจากคําว่า “วรรณ” หมายถึง หนังสื อ รวมกับคําว่า “กรรม”
หมายถึงการการะทํา การงาน ดังนัน วรรณกรรมจึงหมายถึง งาน
หนังสื อหรืองานเขียนหนังสื อทุกชนิดในพจนานุกรม ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ อธิบายไว้งา วรรณกรรมหมายถึง
งานหนังสื อ งานประพันธ์ บทประพันธ์ ทุกชนิดทังทีเป็ นร้ อยแก้วและ
ร้ อยกรอง เช่ น วรรณกรรมมัยรัรจโกสิ นทร์ วรรณกรรมของเสถียร
โกเศศ วรรณกรรมฝรังเศส วรรณกรรมประเภทสื อสารมวลชน
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
ความหมายของวรรณคดี
มาจากคําว่า วรรณ + คดี คําว่า “คดี” หมายถึงเรืองวรรณคดี จึง
หมายถึง เรืองของหนังสื อหรือทางแห่ งหนังสื อ ในพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ อธิบายไว้ว่า วรรณคดีหมายถึง
วรรณกรรมทีได้ รบยกย่องว่าแต่ งดีมคี ุณค่ าเชิงวรรณศิลป์ ถึงขนาด เช่ น
พระราชพิธีสิบสองเดือน มัทนะพาธา สามก๊ก เสภาเรือง ขุนช้ าง-
ขุนแผน
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรม
“พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้ าอยู่หวั มีพระราชประสงค์ ทจะทรง ี
อุดหนุนทํานุบํารุ ง การแต่ งกาพย์ กลอน และเรืองความเรียงร้ อยแก้วใน
ภาษาให้ ดีขึน แต่ ยังหาทันได้ ทรงจัดการใดไม่ พระองค์ เสด็จสู่ สวรรคาลัย
เสี ย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้ าอยู่หวั ทรงพระราชดําริว่า พระ
บรมราโชบายและพระราชดําริของสมเด็จพระบรมชนกนาถดังกล่าวมานี
เป็ นการสมควรยิงนัก สมควรจะจัดการอย่างใดอย่างหนึงอุดหนุนวิชาแต่ ง
หนังสื อภาษาไทยให้ ดีขึนและพ้นจากากรเข้ าใจผิด ทังผู้แต่ งและผู้อ่าน
ดังกล่าวมาแล้ว ทํานองดังทีสมเด็จพระบรมชนกนาถ ได้ ทรงทํานุบํารุ ง
การศึกษาโบราณคดีมาแต่ ก่อน จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ ตัง
วรรณคดีสโมสรขึน”
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรม
หม่ อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุ วรรณ (๒๕๒๙ : ๗๔-๗๖) เขียนไว้ว่า
หนังสื อทีได้ รับยกย่องว่าเป็ นวรรณคดี ดังนี
๑. เป็ นหนังสื อทีมีรูปและเนือหาเหมาะสมกัน รู ป คือ แบบของการ
ประพันธ์ ได้ แก่ นิราศ ลิลิต ฉันท์ ส่ วนเนือหา คือ เนือเรือง
ลักษณะนิสัยของตัวละครในเรือง ความคิดคํานึงของผู้ประพันธ์
บทเจรจาของตัวละคร
๒. เป็ นหนังสื อทีได้ รับยกย่องว่าใช้ ถ้อยคําทีได้ เลือกเฟ้นอย่างประณีต
๓. ผู้อ่านติดใจอ่านหลายครัง ด้ วยความเหมาะสมของเนือหาและมี
สํ านวนภาษาทีประณีต
๔. มีคุณค่ าหลายด้ านหลายทาง อยากให้ เป็ นมรดกตกทอดไปถึงลูก
ถึงหลาน
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
บ่ อเกิดของวรรณคดีและวรรณกรรม
การแต่ งวรรณคดีและวรรณกรรมมีบ่อเกิดจากสิ งต่ าง ๆ ดังนี
๑. เรืองทางศาสนา เช่ น มหาเวสสั นดรชาดก พระปฐมสมโพธิกถา
มหาชาติคาํ หลวง กามนิต พระมาลัยคําหลวง นันโทปนันทสู ตร
คําหลวง
๒. อารมณ์ความรู้สึกของกวี เช่ น มัทนะพาธา เพลงยาว นิราศต่ าง ๆ
๓. เหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ เช่ น โครลภาพพระราชพงศาวดาร
สามกรุ ง กามก๊ก ราชาธิราช
๔. ความรักชาติ เช่ น เลือดสุ พรรณ หัวใจนักรบ
๕. ความต้ องการสดุดหี รือยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ เช่ น ลิลติ
ตะเลงพ่าย ลิลติ ยวนพ่าย
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
เนือหาวรรณคดีไทย
๑. วรรณคดีศาสนา มีจุดมุ่งหมายเพือสร้ างศรัทธาและสั งสอนให้
ผู้อ่านเข้ าใจสาระหลักธรรมของศาสนา เนือเรืองมีหลักธรรมของศาสนา เนือ
เรืองมีทงทีั นํามาจากคัมภีร์ศาสนาโดยตรงและทีนําเค้ าโครงหรือแนวคิดของ
ศาสนามาผูกเป็ นเรือง เช่ น ร่ ายยาวมหาเวสสั นดรชาดก ไตรภูมพิ ระร่ วง
สามัคคีเภทคําฉันท์ ธรรมาธรรมะสงคราม ฯลฯ
๒. วรรณคดีสุภาษิตคําสอน แต่ งขึนเพือใช้ เป็ นแนวทางให้ ผ้ อู ่ าน
นําไปประพฤติปฏิบตั ิ โดยมีเนือเรืองส่ วนใหญ่ได้ รับอิทธิพลจากหลักธรรม
ทางศาสนา เช่ น สุ ภาษิตพระร่ วง โคลงโลกนิติ ฯลฯ
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
เนือหาวรรณคดีไทย
๓. วรรณคดีขนบประเพณีและพิธีกรรม แบ่ งเป็ น ๒ ลักษณะ คือ เป็ น
บททีนําไปใช้ ในการประกอบพิธี มีเนือหาและการใช้ ภาษาทีไพเราะ สร้ าง
อารมณ์ให้ ร้ ูสึกถึงความศักดิสิ ทธิของพิธี เช่ น กาพย์เห่ เรือ ลิลติ โองการแช่ ง
นํา มหาชาติคาํ เทศน์ หรืออีกลักษณะหนึง คือ เนือหาให้ รายละเอียดเกียวกับ
พิธีกรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ เช่ น พระราชพิธีสิบสองเดือน
โคลงพระราชพิธีทวาทศมาส ฯลฯ
๔. วรรณคดีประวัตศิ าสตร์ มีเนือหาเกียวกับการศึกษาสงคราม การ
สดุดวี รี ชนทีกล้ าหาญและเล่าถึงเหตุการณ์สําคัญทีเกิดขึนในบ้ านเมือง เช่ น
ศิลาจารึกพ่อขุนรามคําแหง ลิลติ ยวนพ่าย ฯลฯ
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิจักษ์ และการวิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรม
เป็ นการพิจารณาในแง่ความงามของวรรณคดีและวรรณกรรมว่ามี
ความดีเด่นหรือไพเราะอย่างไร เพือทําให้ เกิดความเข้ าใจ ความซาบซึง
ตระหนักในคุณค่ าและความงามของวรรณคดีและวรรณกรรม ทําให้ เกิดความ
หวงแหน ต้ องการรักษาไว้เป็ นสมบัตขิ องชาติ
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
หลักการวิจักษ์ วรรณคดีและวรรณกรรม
หลักการวิจักษ์ วรรณคดีและวรรณกรรม มีดงั นี
๑. อ่านช้ า ๆ พินิจ พิเคราะห์ ทําความเข้ าใจ รู้ว่าใคร ทําอะไร ทีไหน
อย่างไร
๒. ค้ นหาว่าสิ งทีกวีแสดงออกมีอะไรบ้ าง เพราะกวีแต่ ละท่านจะมี
ทัศนะเป็ นของตนเอง ซึงสื อให้ เห็นปรัชญาทีกวียดึ ถือ ความรู้
ความนึกคิดและค่ านิยมต่ อสิ งต่ าง ๆ
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การพิจารณารูปแบบวรรณคดีและวรรณกรรม
รู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม ถ้ าพิจารณาจากลักษณะคํา
ประพันธ์ ของวรรณคดีและวรรณกรรม สามารถแบ่งได้ ๒ ประเภท คือ
๑. ร้ อยกรอง คือ คําประพันธ์ หรือถ้ อยคําทีเรียบเรียงให้ เป็ นไปตาม
ระเบียบของฉันทลักษณ์ ได้ แก่ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน และร่ าย
เช่ น ตะเลงพ่ายมีรูปแบบคําประพันธ์ ประเภทโคลงกับร่ ายมา
ประพันธ์ ร่วมกันเรียกว่า “ลิลติ ” มัทนะพาธามีรูปแบบคําประพันธ์ ที
นําฉันท์กบั กาพย์มาประพันธ์ ร่วมกัน เรียกว่า “คําฉันท์ ” ส่ วนนิราศ
ภูเขาทองมีรูปแบบคําประพันธ์ เป็ นกลอนนิราศ
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การพิจารณารูปแบบวรรณคดีและวรรณกรรม
๒. ร้ อยแก้ว คือ ถ้ อยคําทีดี ไพเราะ มาเรียงร้ อยเข้ าด้ วยกันให้ สละสลวย
วรรณคดีประเภทร้ อยแก้ว ได้ แก่ พระปฐมสมโพธิกถา นิทานเวตาล
สามก๊ก
ในการพิจารณารู ปแบบร้ อยกรอง ควรพิจารณาลักษณะคําประพันธ์
คุณค่ าทางวรรณศิลป์ ความไพเราะ เสี ยงหนักเสี ยงเบา จังหวะ การสรรคํามา
ใช้ และความถูกต้ องตามฉั นทลักษณ์
ส่ วนวรรณคดีทีมีรูปแบบร้ อยแก้ว ควรพิจารณาถ้ อยคําทีใช้ ภาษาที
สละสลวย การใช้ สํานวนโวหารและการดําเนินเรือง
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การพิจารณารูปแบบวรรณคดีและวรรณกรรม
นอกจากนี อาจพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรมตาม
จุดมุ่งหมายของเรือง คือ
๑. บันเทิงคดี หมายถึง เรืองทีเขียนหรือแต่ งโดยมุ่งให้ ความบันเทิงแก่
ผู้อ่าน จะเป็ นร้ อยแก้วหรือร้ อยกรองก็ได้ รู ปแบบของวรรณคดีและ
วรรณกรรมประเภทบันเทิงคดี เช่ น
บทมหรสพ ใช้ แสดงมหรสพต่ าง ๆ เช่ น บทพากย์โขน บทละครพูด
ละครร้ อง ละครรํา
บทพรรณนา ใช้ เป็ นบทรําพัน พรรณนาอารมณ์ เช่ น นิราศต่ าง ๆ
บทพรรณนาสํ าหรับร้ อง เช่ น บทเห่ กล่อม
บทเพลงเขมรไทรโยค
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การพิจารณารูปแบบวรรณคดีและวรรณกรรม
บทมหรสพ ใช้ แต่ งเป็ นนิทาน เช่ น นิทานอีสป
นิยายสํ าหรับขับเสภา เช่ น ขุนช้ าง-ขุนแผน
และนิยายสํ าหรับเทศน์ เช่ น มหาเวสสั นดรชาดก
ตัวอย่างของวรรณคดีและวรรณกรรมประเภทบันเทิงคดี เช่ น นิทาน
เวตาล ลิลติ ตะเลงพ่าย มัทนะพาธา มหาเวสสั นดรชาดก หัวใจชายหนุ่ม
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การพิจารณารูปแบบวรรณคดีและวรรณกรรม
๒. สารคดี หมายถึง เรืองทีเรียบเรียงขึนจากความจริง ให้ ความรู้
ความคิดเห็นทีเป็ นประโยชน์ มีสาระ เช่ น สารคดีท่องเทียว สาร
คดีชีวประวัติ บทความ ความเรียง บทร้ อยกรองประเภทสารคดี
เช่ น คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การพิจารณาเนือหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
เมือพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรมแล้ว ควรพิจารณา
เนือหาและกลวิธีของวรรณคดีและวรรณกรรม ได้ แก่ เนือเรือง โครงเรือง ตัว
ละคร ฉาก บทเจรจา และแก่นเรือง ดังนี
๑. เนือเรือง ควรพิจารณาเนือเรืองตังแต่ ต้นจนจบ การพิจารณาเนือเรือง
ในวรรณนคดีจะต้ องอ่านหลายๆ ครัง ศึกษาคําศัพท์และความหมาย
ต่ าง ๆ จับใจความ พินิจพิเคราะห์ ถ้ าเป็ นวรรณคดีทมีี โครงเรือง
จะต้ องศึกษาให้ ร้ ูว่า ใคร ทําอะไร ทีไหน อย่างไร มีเหตุการณ์ตอนใด
น่ าสนใจ เนือเรืองเหมาะสมกับยุคสมัยหรือไม่ เป็ นต้ น
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การพิจารณาเนือหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
๒. โครงเรือง เป็ นการวางกรอบและแนวทางในการสร้ างเรือง โครงเรือง
เดียวกันอาจสร้ างเรืองได้ แตกต่ างกัน โครงเรืองมักแสดงความขัดแย้ง
ของเรืองราวต่ าง ๆ เช่ น ความขัดแย้งระหว่างสุ เทษณ์กบั มัทนา ขุน
ช้ างกับขุนแผน
๓. ตัวละคร ควรพิจารณาลักษณะนิสัยตัวละครว่าใครคือตัวเอก
พฤติกรรมตัวละครใดน่ ายกย่อง น่ าตําหนิ ลักษณะนิสัยตัวละคร
สอดคล้องกับการดําเนินเรืองหรือไม่ โดยพิจารณาจากการกระทําและ
คําพูดของตัวละคร
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การพิจารณาเนือหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
๔. ฉาก ควรพิจารณาเวลาแนะสถานทีของวรรณคดีและวรรณกรรม ฉาก
ทีปรากฏจะต้ องสอดคล้องกับเนือเรือง เช่ น ฉากในประเทศจีนจาก
เรืองสามก๊ก ฉากในป่ าจากเรืองมหาเวสสั นดรชาดก กัณฑ์ มทั รี
๕. บทเจรจา ควรพิจารณาจากคําพูดของตัวละครเพือให้ ทราบลักษณะ
นิสัยและแรงจูงใจทีทําให้ตวั ละครมีพฤติกรรมแบบนัน ๆ
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การพิจารณาเนือหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
๖. แก่นเรือง ควรพิจารณาแนวคิดทีกวีมเี จตนาจะเสนอต่ อผู้อ่าน โดย
แฝงอยู่ในเนือเรือง แก่นเรืองเป็ นสิ งทีผู้แต่ งใช้ ในการวางโครงเรือง
ฉาก ตัวละคร ซึงเป็ นจุดเริมต้ นของการแต่ งเรือง ส่ วนผู้อ่านเมืออ่าน
วรรณคดีและวรรณกรรมจบแล้วจึงพิจารณาแก่นเรืองเป็ นลําดับ
สุ ดท้าย
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์ ลักษณะเด่ นของวรรณคดีและวรรณกรรม
คําว่า “วิเคราะห์ ” ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.
๒๕๕๔ อธิบายไว้ว่า วิเคราะห์ หมายถึง แยกออกเป็ นส่ วน ๆ เพือศึกษาให้
ถ่ องแท้ เช่ น วิเคราะห์ ปัญหาต่ าง ๆ วิเคราะห์ ข่าว การวิเคราะห์ คือ การ
พิจารณาแยกแยะสิ งใดสิ งหนึงออกเป็ นส่ วน ๆ เพือทําความเข้ าใจแต่ ละส่ วนให้
แจ่ มแจ้ ง จากนันควรพิจารณาว่าแต่ ละส่ วนมีความสั มพันธ์ เกียวข้ องกันอย่างไร
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์ ลักษณะเด่ นของวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์ ลกั ษณะเด่ นของวรรณคดีและวรรณกรรม ดังนี
๑. วิเคราะห์เนือหา ว่ามีลกั ษณะอย่างไร กล่าวถึงสิงใด องค์ ประกอบ
ต่ าง ๆ ของเรืองมีการประสานกันอย่างกลมกลืนหรือไม่ ตรงตาม
ข้ อเท็จจริงหรือมีความสมจริงหรือไม่
๒. วิเคราะห์ รูปแบบ พิจารณาลักษณะคําประพันธ์ ว่าเป็ นร้ อยแก้วหรือ
ร้ อยกรอง เหมาะสมกับเนือหาหรือไม่
๓. วิเคราะห์ ด้านวรรณศิลป์ การใช้ สํานวนโวหารไพเราะสละสลวย มี
ลักษณะเด่ นในเชิ งประพันธ์ หรือไม่ วรรณคดีและวรรณกรรมทีดี
จะต้ องมีวรรณศิลป์ คือ มีการใช้ ภาพพจน์ เช่ น สั ทพจน์ อุปมา
อุปลักษณ์ มีการเล่นเสียง เช่ น เสี ยงสัมผัส มีการเล่นคํา เช่ น การซําคํา
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์ ลักษณะเด่ นของวรรณคดีและวรรณกรรม
๔. วิเคราะห์ การแสดงออกอย่างมีศิลปะ ศิลปะ คือ การแสดงออกที
ก่อให้ เกิดอารมณ์สะเทือนใจ เมืออ่านวรรณคดีและวรรณกรรมแล้ว
เกิดอารมณ์สุขหรือทุกข์ เรียกว่า อารมณ์สะเทือนใจ
๕. วิเคราะห์ คุณค่ าทางสั งคม วรรณคดีและวรรณกรรมจะสะท้อนภาพ
เหตุการณ์ในอดีตและวิถชี ีวติ ของคนแต่ ละยุคแต่ ละสมัย หลักการ
วิเคราะห์ ควรพิจารณาว่าเนือหากล่าวถึงวิถชี ีวติ ความเป็ นอยู่ในสมัย
นันอย่างไร มีวฒ ั นธรรมด้ านต่ าง ๆ อย่างไร
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การสั งเคราะห์ ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม
สั งเคราะห์ หมายถึง การนําความรู้ ประสบการณ์ ความสามารถมาใช้
ในการสร้ างสรรค์ สิงใดสิ งหนึงขึน โดยมีจุดหมายทีชัดเจน เช่ น การประพันธ์
วรรณคดีและเขียนวรรณกรรมต้ องใช้ ความรู้ความสามารถหลาย ๆ ด้ าน ทัง
ความรู้ทวไป
ั การใช้ ภาษา สํ านวนโวหาร มาสร้ างสิ งใหม่ ขึนเป็ นผลงาน
วรรณคดีและวรรณกรรม
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การสั งเคราะห์ ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม
การสั งเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมก็เช่ นเดียวกัน
จําเป็ นต้ องอ่านหลาย ๆ ครัง ใช้ ประสบการณ์ ความสามารถทางภาษาในการ
วิเคราะห์ ตีความ ทําความเข้ าใจเนือหาแล้ว สั งเคราะห์ ออกมาเป็ นข้ อคิด คติ
เตือนใจ เพือนําไปใช้ ในชีวติ ประจําวัน เช่ น
| รามเกียรติ ลิลต ิ ตะเลงพ่าย ให้ ข้อคิดเรืองความรักชาติ
| โคลงโลกนิติ สุ ภาษิตพระร่ วง ให้ ข้อคิดในเรืองการดําเนินชีวต ิ ใน
สั งคมมนุษย์ การใช้ จ่าย การคบเพือน
| มัทนะพาธา อิเหนา ขุนช้ าง-ขุนแผน ให้ ข้อคิดในเรืองความรัก
ความเจ็บปวดในความรัก
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
การพิจารณาคุณค่ าวรรณคดีและสั งคม
วรรณคดีและวรรณกรรมมีบทบาทเหมือนงานศิลปะอืน ๆ คือ การ
สร้ างความบันเทิงใจ และจรรโลงใจ ความบันเทิงใจ หมายถึงความเพลิดเพลิน
ความสนุก ความอิมใจ อิมอารมณ์ในการอ่าน การฟัง ส่ วนจรรโลงใจ หมายถึง
ความชืนบาน เบิกบาน การยกระดับจิตใจให้ สูงขึน ประณีตขึน มีจิตใจและ
อารมณ์ทดีี งามละเอียดอ่อน วรรณคดีและวรรณกรรมจึงเป็ นสิ งทีกล่อมเกลา
จิตใจและอารมณ์มนุษย์ให้ มีความดี ความงาม และรู้จักความเป็ นจริงของชีวติ
เข้ าใจชีวติ และเข้ าใจมนุษย์มากขึน เราอาจประเมินคุณค่ าวรรณคดีและ
วรรณกรรมได้ทงด้ ั านวรรณศิลป์ ด้ านอารมณ์ ด้ านสั งคมและวัฒนธรรม และ
ด้ านคุณธรรม
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่ าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๑. คุณค่ าด้ านเนือหา ช่ วยให้ เป็ นความสํ าคัญของการศึกษาวรรณคดีโดย
อาศัยการดําเนินเรืองหรือแนวคิดเป็ นเครืองมือในการวิเคราะห์วรรณคดี เพือให้
เกิดความเข้ าใจทีลึกซึง การดําเนินเรืองในเนือหาเป็ นส่ วนทีทําให้ ผ้อู ่านเข้ าใจ
เรืองราวทังหมด ทังสอดแทรกแนวคิดและกลวิธีในการดําเนินเรืองให้ ผ้อู ่านได้ ใช้
มุมมองความคิดพิจารณาเรืองนันๆ โดยผู้อ่านอาจมีทศั นะต่อเรืองแตกต่ างกันไป
ทังนีขึนอยู่กบั ประสบการณ์และความสนใจของผู้อ่าน ซึงเป็ นสิ งทีดีทีจะทําให้
เกิดการพัฒนาความคิดและเสริมสร้ างจินตนาการ ช่ วยยกระดับความคิดและ
จิตใจของผู้อ่านให้ สูงขึน การวิเคราะห์ คุณค่ าด้ านเนือหา สามารถวิเคราะห์ใน
ประเด็นต่ างๆ ได้ ดงั นี
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่ าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๑.๑ ได้ รับความรู้ความเข้ าใจในเรืองต่ างๆ เช่ น ขนบธรรมเนียม
ประเพณี สภาพสังคม การเมืองการปกครอง การดํารงชีวติ ของคนในสมัยนันๆ
และความรู้อนๆ

๑.๒ ได้ รับประสบการณ์ กวีถ่ายทอดประสบการณ์ทเกิ ี ดจากการ
มองโลกอย่างกว้างขวางและลุ่มลึก จากประสบการณ์ส่วนตัวของกวีได้กลายเป็ น
ประสบการณ์ร่วมระหว่างผู้อ่านกับกวี ผู้อ่านได้ รับประสบการณ์ จากการอ่าน
งานของกวี
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่ าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๑.๓ เกิดจินตนาภาพ ผู้อ่านเห็นคุณค่ าในความงดงามของ
วรรณคดีทาํ ให้ เกิดความประทับใจ และรับรู้ความคิดทีแปลกใหม่ เป็ น
กระบวนการทีให้ ราบละเอียดโดดเด่ น และให้ ผ้อู ่านได้ สร้ างความคิดตาม ซึง
ขึนอยู่กบั พืนฐานของแต่ ละคน ผู้อ่านเกิดความคิดจินตนาการกว้ างไกลและ
ประเทืองปัญญา
๑.๔ พัฒนาจิตใจผู้อ่าน วรรณคดีต่างต่ างๆ มีเนือหาสาระ เรืองราว
สนุก อ่านแล้วสบายใจ สามารถกล่อมเกลาจิตใจให้ อ่อนโยน ให้ ข้อคิดคติธรรม
อีกทังสอนให้ ประพฤติดี ประพฤติชอบ สร้ างสรรค์ จรรโลงใจให้ เกิดกําลังใจยาม
ทีท้อแท้
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่ าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๒. คุณค่ าด้านวรรณศิลป์ วรรณคดีทได้ ี รับยกย่องว่าดีเด่ นต้ องมีกลวิธี
การประพันธ์ ทดีี เยียม และให้ คาํ เหมาะสมกับลักษณะหน้ าทีของคํา ถูกต้ องตรง
ความหมาย เหมาะสมกับเนือเรืองและมีเสียงเสนาะ ซึงผู้อ่านจะเกิดจินตนาการ
ตามเนือเรืองได้ จะต้ องเข้ าใจสํ านวนโวหารและภาพพจน์ เสมือนได้ ยนิ เสี ยง ได้
เห็นภาพเกิดอารมณ์สะเทือนใจ มีความรู้สึกคล้อยตาม ดังนี
๒.๑ การใช้ โวหาร
๒.๑.๑ บรรยายโวหาร เป็ นการเล่าเรือง เล่าเหตุการณ์ทมีี
เวลาสถานที ซึงแสดงให้ เห็นความสั มพันธ์ ต่อเนืองกัน การบรรยายมี
จุดมุ่งหมายให้ ผ้อู ่านเข้ าใจว่าเรืองราวนันๆ เกิดขึนและดําเนินไปอย่างไร
เรืองราวดังกล่าวอาจเกิดขึนจริง หรือเป็ นเรืองทีเกิดจากจินตนาการของกวีกไ็ ด้
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่ าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๒.๑.๒ พรรณนาโวหาร เป็ นการให้ รายละเอียดของเรืองราว
เพือให้ ผ้ อู ่านเห็นสภาพหรือลักษณะทีละเอียดลออและพรรณนาความรู้ สึกกระทบ
อารมณ์ความรู้ สึกของผู้อ่าน ทังนีการพรรณนาทําให้ ผ้ อู ่านผู้ฟังมองเห็นภาพ การ
พรรณนาจึงมักแทรกอยู่ในการเล่ าเรืองหรือการบรรยาย
๒.๑.๓ เทศนาโวหาร คือโวหารทีมุ่งในการสังสอน โน้ มน้ าว
จิตใจผู้อ่านให้ คล้อยตาม
๒.๑.๔ สาธกโวหาร คือ โวหารทีมีจุดมุ่งหมายเพือให้ เกิดความ
ชัดเจนด้วยการยกตัวอย่ างประกอบ เพืออธิบายสนับสนุนความคิดเห็นให้ น่าเชือถือ
๒.๑.๕ อุปมาโวหาร คือ โวหารเปรียบเทียบสิ งหนึงกับอีกสิ ง
หนึง เพือให้ ผ้ อู ่านเข้าใจมากขึน
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่ าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๒.๒ การใช้ ภาพพจน์ เป็ นการพลิกแพลงภาษาให้ แปลกออกไป
กว่าทีเป็ นอยู่ปกติ ทําให้ เกิดรสกระทบความรู้สึกและอารมณ์ต่างกับภาษาทีใช้
อย่างตรงไปตรงมา ดังนี
๒.๒.๑ อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ งหนึงคล้ายหรือ
เหมือนกับอีกสิงหนึง โดยมีคาํ แสดงความเปรียบ เช่ น เปรียบ ประดุจ ดุจ ดัง
เหมือน ราวกับ ราว เพียง เพียง ฯลฯ
๒.๒.๒ อุปลักษณ์ คือ การเปรียบสิ งหนึงเป็ นอีกสิงหนึง
ซึงแตกต่ างจากการอุปมา โดยอุปลักษณ์มกั ใช้ คาํ ว่า เป็ น คือ ในการเปรียบ
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่ าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๒.๒.๓ สั ญลักษณ์ คือ การเปรียบเทียบสิงหนึงแทนอีกสิง
หนึง โดยไม่ มีคาํ แสดงความเปรียบ “เขาเป็ นคนเจ้ าชู้ มาก เห็นเปลียนตุ๊กตาหน้ า
รถประจําเลย”
๒.๒.๔ อติพจน์ คือ การใช้ ถ้อยคําทีกล่าวผิดไปจากความ
เป็ นจริง โดยกล่าวถึงสิ งหนึงเปรียบเทียบกับสิงทีดูเกินมากกว่าความจริง
๒.๒.๕ บุคคลวัต คือ การกล่าวถึงสิงทีไม่ มชี ี วิตจิตใจให้ มี
การกระทําเหมือนมนุษย์
๒.๒.๖ สั ทพจน์ คือ การใช้ คาํ เลียนเสี ยงธรรมชาติ
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่ าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๒.๓ การเล่นเสี ยง คือการเลือกสรรคําทีมีเสี ยงสั มผัสกัน ได้ แก่
การเล่นเสี ยงอักษร เสี ยงสระ และเสียงวรรณยุกต์ เพือเพิมความไพเราะและ
แสดงความสามารถของกวีทแม้ ี จะเล่นเสี ยงของคําแต่ ยงั คงความหมายไว้ได้
ดังบทประพันธ์
เสนาสู ส่ ู ส้ ู ศรแผลง
ยิงค่ายหลายเมืองแยง แย่ งแย้ ง
รุ กร้ นร่ นรนแรง ฤทธิรีบ
ลวงล่วงล้วงวังแล้ว รวบเร้ าเอามา
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่ าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๒.๓.๑ การเล่นเสี ยงอักษร คือการใช้ คาํ ทีมีเสี ยงพยัญชนะ
เดียวกันหลายๆ พยางค์ตดิ กัน เพือความไพเราะ จากบทประพันธ์ ดงั นี รุ ก-ร้ น-
ร่ น-รน-แรง-ฤทธิ-รีบ เป็ นเสี ยง /ร/
๒.๓.๒ การเล่นเสี ยงสระ คือ การใช้ สัมผัสสระทีมีเสี ยง
ตรงกัน ถ้ ามีตวั สะกดก็ต้องเป็ นตัวสะกดในมาตราเดียวกัน แม้ จะใช้ พยัญชนะ
มาใช้ เล่นสั มผัสเสียงสระอีก สู -สู่ -สู้ , ค่ าย-หลาย
๒.๓.๓ การเล่นเสี ยงวรรณยุกต์ คือการใช้ คําทีไล่ระดับ
เสี ยง ๒ หรือ ๓ ระดับ เป็ นชุ ดๆ เช่ น ลวง-ล่วง-ล้วง
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่ าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๓. คุณค่ าด้ านสั งคมและสะท้อนวิถีไทย วรรณคดีเป็ นวัฒนธรรมทาง
ภาษาทีแสดงให้ เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองในอดีต บอกเล่าเรืองราวด้ านชีวติ
ความเป็ นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี สภาพสั งคมหรือความรู้สึกนึกคิดของ
คนในสั งคม ซึงเป็ นลักษณะประจําชาติทแสดงออกมาทางวรรณคดี
ี ด้วยภาษาที
งดงามไพเราะ ทําให้ ผ้อู ่านเกิดความรู้สึกเป็ นชาติร่วมกัน เพราะต่ างรู้สึกว่ าได้
เป็ นเจ้ าของขนบธรรมเนียมประเพณีและภาษาเดียวกัน แบ่ งเป็ น ๒ ประเภทคือ
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่ าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๓.๑ วรรณคดีชีนําสั งคม เป็ นการพิจารณาคุณค่ าด้ านสั งคมว่า
วรรณคดีมสี ่ วนเกียวข้ อกับสังคม สะท้อนให้ เป็ นสภาพสั งคม ทังด้ านค่ านิยม
วัฒนธรรมและความประพฤติของคนในสั งคม แนวทางการปฏิบตั ติ น หรือ
ชีให้ เห็นปัญหาทีสังคมขณะนันกําลังเผชิญอยู่
๓.๒ วรรณคดีสร้ างสํ านึกร่ วมในความเป็ นชาติ วรรณคดีเป็ นสิ ง
ผูกพันจิตใจของคนในชาติให้ สํานึกว่าร่ วมอยู่ในชาติเดียวกัน วรรณคดีจะเป็ น
สื อกลางทีนําไปสู่ การรวมเป็ นชาติ ซึงจะเป็ นเครืองผูกจิตใจคนในชาติให้ เป็ น
หนึงเดียวกัน
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่ าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๔. ข้ อคิดทีสามารถนําไปประยุกต์ใช้ ในชีวติ ประจําวัน การอ่านวรรณคดี
ผู้อ่านจะได้รับข้ อคิดต่างๆ ทีสามารถนําไปประยุกต์ ใช้ ในชีวติ ประจําวันได้ ไม่ว่าจะ
เป็ นคติธรรม คําสอนต่างๆ โดยกวีนาํ เสนอผ่ าน ฉาก ตัวละคร หรือบทสนทนา อัน
เป็ นลักษณะเฉพาะของแต่ละเรือง เช่ น
๔.๑ ด้ านการศึกษา ในวรรณคดีหลายเรือง จะให้ ข้อคิดเกียวกับ
การศึ กษาเล่ าเรียน มีคาํ สอนทีแสดงให้ เห็นถึงคุณค่ าและความสํ าคัญของการศึกษา
๔.๒ ด้านการรู้ จกั ใช้ ชีวติ อย่ างพอเพียง เป็ นข้ อคิดสอนใจสามารถ
ใช้ ได้ ทุกยุคสมัย
๔.๓ ด้ านความสามัคคี วรรณคดีช่วยปลุกสํานึกให้ มคี วามสามัคคีกลม
เกลียวกัน
๔.๔ การปฏิบัติหน้ าทีของตน ไม่ ว่าจะเป็ นหน้ าทีใดก็ทําด้ วยความเต็ม
ใจไม่เกียงงอน เพือให้ งานประสบความสําเร็จ ทังทีเป็ นหน้ าทีต่อตนเอง สั งคม หรือ
ประเทศชาติ
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
หลักการวิเคราะห์ คุณค่ าวรรณคดีและวรรณกรรม
๑. การวิเคราะห์ คุณค่ าด้ านเนือหา ผู้อ่านต้ องทําความเข้ าใจบทประพันธ์
ให้ ตลอดทังเรือง และจินตนาการขึนในใจเพือจะได้ เข้ าใจสารทีกวีต้องการสื อ
โดยศึกษาดังนี
๑.๑ วิเคราะห์สาระของบทประพันธ์
๑.๒ วิเคราะห์ การวางโครงเรืองและการลําดับความในเรือง
๑.๓ วิเคราะห์ กลวิธีการประพันธ์
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
หลักการวิเคราะห์ คุณค่ าวรรณคดีและวรรณกรรม
๒. วิเคราะห์ คุณค่ าด้านวรรณศิลป์ วิเคราะห์ ความไพเราะของบท
ประพันธ์ คือการพิจารณาว่าบทประพันธ์ นันๆ มีความไพเราะอย่างไร ซึงความ
ไพเราะของบทประพันธ์ เกิดด้ วยเหตุ ๒ ประการ คือ ความไพเราะอันเกิดจาก
รสคํา และความไพเราะอันเกิดจากรสความ
๒.๑ ความไพเราะอันเกิดจากรสคํา
๒.๒ ความไพเราะอันเกิดจากรสความ
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
หลักการวิเคราะห์ คุณค่ าวรรณคดีและวรรณกรรม
๓. การวิเคราะห์คุณค่ าด้ านสั งคมและสะท้อนวิถไี ทย วรรณคดีและ
วรรณกรรมทัวไป ผู้แต่ งมักสอดแทรกความรู้ ความคิด และอารมณ์ สะท้อนวิถี
ชีวติ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชือ ค่ านิยมของคนในสั งคมสมัยนันๆ ใน
วรรณคดี ผู้อ่านจะต้องมีวจิ ารณญาณในการอ่าน คือ เมืออ่านแล้วนําไปคิด
พิจารณาความรู้ ความคิด สามารถนําไปประยุกต์ ใช้ ในชีวติ ประจําวันได้
๓.๑ คุณค่ าทีมีต่อผู้อ่าน
๓.๒ คุณค่ าทีมีต่อสั งคม
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
หลักการวิเคราะห์ คุณค่ าวรรณคดีและวรรณกรรม
๔. การวิเคราะห์ข้อคิดเพีอนําไปประยุกต์ ใช้ ในชีวติ ประจําวัน วรรณคดี
หรือวรรณกรรมทัวไป เมือผู้อ่านสามารถวิเคราะห์ ได้ ว่าเรืองทีอ่านมีคุณค่ าด้ าน
เนือหา ด้ านวรรณศิลป์ และด้ านสั งคมอย่างไรแล้ว ผู้อ่านย่อมสามารถพิจารณา
ข้ อคิดทีได้จากการอ่านวรรณคดี หรือวรรณกรรมเรืองนันๆ ทีสอดแทรกอยู่และ
เห็นแนวทางในการนําข้ อคิดไปใช้ ในชีวติ ประจําวันได้โดยมีแนวทาง ดังนี
๔.๑ พิจารณาข้ อคิด
๔.๒ การนําไปใช้
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
อ่ านให้ ได้ อ่ านให้ เป็ น
การอ่านหนังสื อนัน ถ้ าอ่านเป็ นก็มีประโยชน์ มาก ถ้ าอ่านไม่ เป็ นก็มี
ประโยชน์ น้อย แต่ ก็ยังดีกว่าไม่ อ่านและ มีวิธีการทีนักเรียนน่ าจะใช้ ดังต่ อไปนี
๑. อ่านเพือให้ เข้ าใจเนือเรือง
๒. เมือเข้ าใจเนือเรืองแล้ว ก็พิจารณาแยกแยะต่ อไปว่ามีข้อความรู้อะไรที
เราอาจจําไปใช้ เป็ นประโยชน์ ได้ บ้าง
๓. มีข้อคิดเห็นอะไรทีผู้เขียนแสดงไว้ทีน่ าจะนํามาคิดนึกต่ อไป หรือ
ถกเถียงกันระหว่างเพือนในห้ องเรียนหรือนอกห้ องเรียน ไต่ ถาม
ความคิดนึกของผู้ใหญ่ เช่ น ครู หรือ ผู้ปกครอง
การอ่ านวรรณคดีและวรรณกรรม
อ่ านให้ ได้ อ่ านให้ เป็ น (ต่ อ)
๔. พิจารณาว่าผู้เขียนมีจุดมุ่งหมายอย่างไร เช่ น เพือชีบอกความรู้ ยัวยุ
ให้ คิดเพิมเติมต่ อไป เตือนสติ ให้ คดีชีวิต ยัวเย้า หรือให้ ความ
บันเทิงใจ หรือผู้เขียนรําพันความในใจของตนเพือขอความเห็นใจ
หรือแสดงความสามารถในศิลปะการประพันธ์ หรือเป็ นไปใน
ทํานองอืนอย่างไร

You might also like