Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

marina

btwMf fed

r
การวิเคราะห์ และประเมินการใช้ ภาษา
-

จากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

k unstop mi
lfb
IG twitter .

inurn
*
ในสังคมปั จจุบนั สื่อต่างๆ มีพฒ
ั นาการไปอย่างรวดเร็ว
ช่องทางในการสื่อสารมีมากขึ ้น มีให้ เลือกอย่างหลากหลายและ
ไร้ ขีดจากัน
แต่

or
“การทีส่ ่ือพัฒนาไปอย่ างรวดเร็วนั้น
a

= เปรี ยบเสมือนดาบสองคม”
Volte
ดังนัน้
เราควรรู้ เท่ าทัน คิด พิจารณา
ในการรับสื่ออย่ างเหมาะสม
Anand

realm ionians การวิเคราะห์


nine: Ino's
-1
on : ← rorinniw
หมายถึง การแยกออกเป็ นส่วนๆ เพื่อศึกษารายละเอียดใน
แต่ละส่วนให้ ถ่องแท้ ควรเป็ นไปอย่างรอบคอบ แยกใจความหลัก
( และใจความรองได้
ใจความหลัก คือ
- ใจความที่สาคัญ และเด่นที่สดุ ในย่อหน้ า
- เป็ นประโยคที่ ส ามารถเป็ นหัว เรื่ อ งของย่ อ หน้ า นัน้ ได้
- สามารถเป็ นใจความหรื อประโยคเดี่ยวๆ ได้ โดยไม่ต้องมี
ประโยคอื่นประกอบ
การวิเคราะห์

ใจความรอง หรือพลความ หมายถึง


- ใจความ หรื อประโยคที่ขยายความประโยคหลัก
- เป็ นใจความสนับสนุนใจความสาคัญให้ ชดั เจนขึ ้น
อาจเป็ นการอธิบายให้ รายละเอียด ให้ คาจากัดความ
ยกตัว อย่า ง เปรี ย บเที ย บ หรื อแสดงเหตุผ ลอย่างถี่ ถ้วน เพื่ อ
สนับสนุนความคิด
การวิเคราะห์

ข้ อเท็จจริง
คือ ข้ อมูลที่เป็ นจริง มีหลักฐานประกอบ สามารถพิสจู น์ได้ เช่น
- พระอาทิตย์ขึ ้นทางทิศตะวันออก
- สุนทรภู่เป็ นกวีในสมัยรัชกาลที่ ๑ – ๔
ข้ อคิดเห็น
คือ ข้ อมูลที่เป็ นความคิดเห็น การคาดคะเน การทานาย มักมี
ข้ อความว่า “น่าจะ เห็นว่า คิดว่า ควรจะ”
เช่น - รัฐบาลน่าจะมีนโยบายกาจัดฝุ่ นที่ดีกว่านี ้
- ผมคิดว่าทุกคนควรจะร่วมมือกันทางาน
การประเมินค่ า

หมายถึง การพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบโดยมีใจ
เป็ นกลาง ไม่มีอคติตดั สินหรื อประเมินค่าสิ่งนันๆ ้ ออกมาโดยใช้
เกณฑ์ในการประเมินว่าแต่ละส่ remind
ว นมี ข้ อ ดี แ 0
ละข้ อ ด้ อ ย อย่
า งไร
เช่น “เด็ก เยาวชน จิตอาสา ร่ วมพัฒนาชาติ”
i. doin W
'
-
"
o= non-u
“ปิ ด กทม. ชัตดาวน์ เบ็ดเสร็จ” mm .
.

“หมอนะยะ กาลังใจล้ น
สื่อสิ่งพิมพ์
หมายถึง สื่อที่เป็ นสิ่งพิมพ์ทุกชนิด เช่น หนังสือพิมพ์ โฆษณา
นิตยสาร วารสาร นิตยสาร เป็ นต้ น
ภาษาหนังสือพิมพ์และโฆษณา
เป็ นภาษาที่มีลกั ษณะเฉพาะ นาเสนอเพื่อให้ สะดุดหู ตา ใจ มี
ลั''กษณะดังนี ้
๑. ใช้ อกั ษรย่อและคาต่อ เช่น รมต. ศธ.
๒. ไม่ใช้ ลกั ษณนาม เช่น ๕ หนุ่มฉุดสาวใหญ่ข่มขืนกลางดง
๓. ใช้ คาสแลง เช่น จ๊ าบ เจ๋ง จ๋อย เด้ ง เน่า
๔. ใช้ คาภาษาต่างประเทศ เช่น ฟรี โหวต เชียร์
๕. ใช้ ความเปรี ยบหรื อสมญานาม เช่น แดนจิงโจ้ ลุงตู่
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สื่อที่ติดต่อกันทางคอมพิวเตอร์ เช่น เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก แชท ควร
ใช้ ภาษาเหมาะสมกับฐานะ กาลเทศะ หากใช้ สื่ออิเล็กทรอนิกส์สาหรับ
พิมพ์รายงานวิชาการ ภาษาที่ใช้ ควรเป็ นภาษาเขียน (ภาษาทางการ) ถ้ า
พูดคุยกับเพื่อนสนิทก็อาจใช้ ภาษาสนทนาหรื อภาษาปากได้
a-u
- ไม่ถกู ต้ องตามระเบียบไวยากรณ์
- มักใช้ คาลงท้ ายแปลกๆ เช่น ชิมิ งุงิ
- ภาษาเป็ นอิสระเขียนสะกดตามใจชอบ E

เช่น
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สื่อที่ติดต่อกันทางคอมพิวเตอร์ เช่น เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก แชท ควร
ใช้ ภาษาเหมาะสมกับฐานะ กาลเทศะ หากใช้ สื่ออิเล็กทรอนิกส์สาหรับ
พิมพ์รายงานวิชาการ ภาษาที่ใช้ ควรเป็ นภาษาเขียน (ภาษาทางการ) ถ้ า
พูดคุยกับเพื่อนสนิทก็อาจใช้ ภาษาสนทนาหรื อภาษาปากได้
- ไม่ถกู ต้ องตามระเบียบไวยากรณ์
- มักใช้ คาลงท้ ายแปลกๆ เช่น ชิมิ งุงิ
- ภาษาเป็ นอิสระเขียนสะกดตามใจชอบ
เช่น

You might also like