กระชายเหลือง ราชาแห่งสมุนไพร - โสมไทย

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

วิชาการ

Fingerroot: The King of herbs in the name of Thai ginseng


 ดร.ซาฟียะห์ สะอะ (Dr. Safiah Saah)
ฝ่ายโภชนาการและสุขภาพ (Department of Nutrition and Health)
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร (Institute of Food Research and Product Development)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Kasetsart University)

จากการเปลี่ ย นแปลงของบริบททางสังคม แผนพัฒนาผลิตและแปรรูปสมุนไพรไทยให้เป็นยา


วั ฒ นธรรม สิ่ งแวดล้ อ ม เศรษฐกิ จ วิ ถี ชี วิ ต ฯลฯ เครื่องสําอาง และอาหารเสริมสุขภาพ เพื่อผลักดัน
ส่ งผลต่ อ การเพิ่ ม ขึ้ น ของโรคไม่ ติ ด ต่ อ เรื้อรัง โดย สู่ตลาดโลกในยุทธศาสตร์พัฒนาไทยเป็นศูนย์กลาง
องค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2593 สุขภาพของเอเชีย ซึ่งจะส่งผลต่อความยั่งยืนทาง
ประชากรโลกกว่าครึ่งหนึ่งจะป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ เศรษฐกิจของประเทศได้อีกทางหนึ่ง ความเชื่อและ
เรื้อรังอย่างน้อย 1 โรค ยิ่งไปกว่านั้นจากโครงสร้าง การใช้ ส มุ น ไพรนั้ น มี มาตั้ งแต่ ส มั ยโบราณความรู้
ประชากรของประเทศไทยที่กําลังเปลี่ยนแปลงไปสู่ เกี่ ย วกั บ สมุ น ไพรมี ในตํ าราแพทย์ ตั้ งแต่ ส มั ยกรีก
สั ง คมผู้ สู ง อายุ (ageing society) ส่ ง ผลให้ เ กิ ด อินเดีย จีน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการแพทย์ไทย
ภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศที่เพิ่มสูงขึ้น ในปัจจุบันยาต่าง ๆ ที่ใช้กันอยู่มีจํานวนไม่น้อยที่
ทั้ ง นี้ ห ากจะรั บ มื อ กั บ สถานการณ์ ดั ง กล่ า วด้ ว ย ได้ ม าจากสมุ น ไพรโดยตรง เช่ น ยาแอสไพริ น
แนวทางของการแพทย์แผนปัจจุบันอาจส่งผลต่อ สําหรับระงับปวด ลดการอักเสบและลดไข้ มาจาก
ความมั่ น คงทางการเงิ น และการคลั ง ในระบบ เปลื อ กไม้ ข องพื ช ชนิ ด หนึ่ ง มอร์ฟี น สํ าหรับระงับ
สุขภาพของประเทศจากการที่ประเทศต้องพึ่งพา ปวดมาจากต้ น ฝิ่ น ยาควิ นิ น รั ก ษาโรคมาลาเรี ย
การนํ า เข้ า ยาและวั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต ยาจาก ได้ ม าจาก ก ารส กั ด เป ลื อ ก ไม้ cinchona ย า
ต่างประเทศเป็นมูลค่ามหาศาล ดังนั้นการส่งเสริม digitalis fab fragment สํ า หรั บ รั ก ษาโรคหั ว ใจ
การใช้ ส มุ น ไพรไทยเพื่ อ การรั ก ษาโรคและสร้ า ง ล้มเหลวได้มาจากต้น foxglove เป็นต้น (นิรนาม,
เสริมสุขภาพร่วมกับการใช้ ยาและแนวการรักษา ม.ป.ป.) ในขณ ะที่ ก ระชายเหลื อ งเป็ น หนึ่ ง ใน
ของการแพทย์แผนปัจจุบันเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ สมุ น ไพรไทยที่ ค นไทยรู้ จั ก มาเป็ น เวลานานและ
จะช่วยเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับประชาชน ปัจจุบันกําลังได้รับความนิยมอย่างสูงในการนํามา
ช่ วยลดค่ าใช้ จ่ ายด้ านสุ ข ภาพในภาพรวม อี ก ทั้ ง รั บ ป ระท าน เป็ น อาห ารต้ า น โรค เนื่ องจาก
ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขมีความประสงค์จะมี ประกอบด้ ว ยสารออกฤทธิ์ ท างชี ว ภาพที่ สํ า คั ญ

ปีที่ 49 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2562 อาหาร  16


มากมาย เช่น กรดฟีนอลิก ฟลาโวนอยด์ แอนโทไซยานิน รากกระชายเรี ย กอี ก อย่ า งว่ า นมกระชาย ซึ่ ง มี
แคโรที น อยด์ แซนโทน เทอร์ พี น อยด์ เป็ น ต้ น ลั ก ษณะเรี ย ว ยาวอวบน้ํ า ตรงกลางจะพองกว่ า
(Voravuthikunchai et al., 2005) ส่ ว นหั ว และท้ า ยเพราะเป็ น ส่ ว นที่ เ ก็ บ สะสม
สารอาหารไว้ เปลือกสีเหลืองอมน้ําตาล เนื้อในสี
กระชายเหลือง สุดยอดสมุนไพร
เหลือง มีรสเผ็ดร้อน ขม มีกลิ่นหอม นิยมนํามาเป็น
ก่อนอื่นมาทําความรู้จักกระชายกัน กระชาย
เครื่องเทศในการประกอบอาหาร
นั้นมี 3 ประเภท คือ กระชายดํา กระชายแดง และ
ใบ เป็นใบเดี่ยว มีลักษณะเป็นกาบหุ้มซ้อนกัน ด้าน
กระชายเหลื อ ง ซึ่ ง ในบทความนี้ จ ะกล่ า วถึ ง
ล่างสุดที่หุ้มซ้อน ๆ กันไว้เป็นสีแดง ใบยาวเรียว มี
กระชายเหลือง กระชายเหลืองเป็นพืชล้มลุกที่มีถิ่น
ร่องกลางใบ มีเส้นที่เชื่อมระหว่างร่องกลางใบไปที่
กําเนิดในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้
ขอบใบหลายเส้น ผิวใบและขอบใบเรียบ ปลายใบ
เป็ น พื ช สมุ น ไพรในวงศ์ ขิ ง Zingiberaceae มี ชื่ อ
แหลม
วิ ท ยาศาสตร์ คื อ Boesenbergia rotunda (L.)
ดอก เป็ น ช่ อ ออกระหว่ า งกาบที่ อ ยู่ ด้ า นในสุ ด
Mansf. ชื่ อ ส า มั ญ เช่ น fingerroot, Chinese
กลีบดอกสีขาวหรือสีชมพูออ่ นแยกออกเป็น 3 กลีบ
ginger, Chinese key และ Lesser ginger เป็ น
มี ก ลี บ ใหญ่ 1 กลี บ และอี ก 2 กลีบ ขนาดเท่ ากั น
ต้ น และมี ชื่ อ ท้ อ งถิ่ น มากมาย ได้ แ ก่ กะแอน
โคนดอกติดกันเป็นหลอด กลีบที่ใหญ่สุดจะมีสีแดง
ละแอน (ภาคเหนือ) ขิงทราย (มหาสารคาม) ว่าน
จุด ๆ แต้ ม กระจายไปทั่ วกลี บ มี เกสรตั วผู้ 5 อั น
พ ร ะ อ า ทิ ต ย์ (ก รุ งเท พ ฯ ) จี๊ ปู ซี ฟู (ฉ า น -
แต่เป็นเกสรที่สมบูรณ์ แค่ 1 อันเท่านั้น มีเกสรตัว
แม่ ฮ่ อ งสอน) เป๊ า ะซอเร้ า ะเป๊ า ะสี่ (กะเหรี่ ย ง -
เมีย 1 อัน (นิรนาม, 2560)
แม่ฮ่องสอน) กระชายเหลืองเป็นพืชสมุนไพรที่คน
ไทยรู้ จั ก และปลู ก ตามบ้ า นเรื อ นทั่ ว ไป โดยส่ ว น
เหง้าและรากที่อยู่ใต้ดินของกระชายเหลืองมีการ
นํ าไป ใช้ ป ระ โย ช น์ ห ล าก ห ล าย เช่ น ใช้ เป็ น
ส่วนประกอบของอาหารดับกลิ่นคาวในอาหารโดย
เหง้าและรากที่นํามาใช้นั้นมีรสชาติเผ็ดร้อนขม ซึ่ง
แพทย์ แ ผนโบราณของไทยนิ ย มมาใช้ ทั้ ง ในการ
รั ก ษาโรคและการบํ า รุ ง ร่ า งกาย (Mongkolsuk
and Dean, 1964; Trakoontivakorn et al., 2001)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกระชายเหลือง
ลําต้น กระชายเหลืองเป็นพืชไม่มีลําต้นที่อยู่เหนือ รูปที่ 1 ลักษณะโครงสร้างของกระชายเหลือง
ดิน แต่มีลําต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่า เหง้าที่รวมกลุ่มกัน ที่มา:https://www.nanagarden.com/tag/%E0%B8%81%E0%B8%
A3%E0%B8%B0%E0%B8%
เป็นกระจุก โดยเหง้ากระชายจะแตกรากออกไปอีก

ปีที่ 49 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2562 อาหาร  17


สารสําคัญที่ออกฤทธิ์
ในเหง้าของกระชายเหลืองเป็นพืชที่ประกอบด้วยกลุ่มของน้ํามันหอมระเหย เช่น 1,8-cineol, camphor,
d-borneol, methyl cinnamate d-pinene, zingi-berene, zingiberone, curcumin และ zedoarin และ
สารประกอบฟี น อลิ ก ซึ่ งส่ ว นใหญ่ เป็ น สารประเภทฟลาโวนอยด์ แ ละอนุ พั น ธ์ เช่ น กลุ่ ม ฟลาวาโนน ได้ แ ก่
pinostrobin, pinocembrin และ alpinetin กลุ่ ม ฟลาโวน ได้ แก่ 5, 7-dimethoxyflavone และ 3', 4', 5, 7-
tetramethoxyflavone กลุ่มไดไฮโดรชาลโคน boesenbergin A และกลุ่มชาลโคน ได้แก่ 2', 4', 6'-trihydroxy
chalcone และ cardamonin (Mongkolsuk and Dean, 1964; Trakoontivakorn et al., 2001) ดังแสดงใน
ตารางที่ 1 นอกจากนี้ยังอุดมไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการประกอบด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ มากมาย เช่น
วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินบี 1 วิตามินบี 3 วิตามินบี 6 วิตามินบี 12 รวมทั้งแคลเซียม และธาตุเหล็ก
ตารางที่ 1 องค์ประกอบทางเคมีของสารสําคัญในกระชายเหลือง
Compound groups Chemical constituents References
Flavanones pinostrobin Mongkolsuk and Dean, 1964
pinocembrin Mahidol et al., 1984
alpinetin Jaipetchet al., 1983
5,7-dimethoxyflavanone Tuchinda et al., 2002
sakuranetin
Flavones 5,7-dimethoxyflavone Jaipetch et al., 1983
3', 4', 5, 7-tetramethoxyflavone
Chalcones 2', 6'-dihydroxy-4'-methoxychalcone Jaipetch et al., 1983
2'-hydroxy-4,4',6'-trimethoxychalcone Mahidol et al., 1984
flavokawain C Wang et al.,1977
cardamonin Trakoontivakorn et al., 2001
pinocembrin chalcone Tuntiwachwuttikul et al., 1984
panduratin A Pancharoen et al., 1989
panduratin B
(-)-hydroxypanduratin A
(-)-panduratin C
(-)-isopanduratin A1
(-)-isopanduratin A2
(-)-nicolaioidesin B
boesenbergin A
boesenbergin B
rubranine
Monoterpenes geranial Panji et al., 1993
neral
Diterpene pimaric acid Tuntiwachwuttikul et al., 1984
boesenboxide Tuntiwachwuttikul et al., 1984
crotepoxide Pancharoen et al., 1989
(+)-zeylenol
Pyrone dihydro-5,6-dehydrokawain Tuchinda et al., 2002

ที่มา: ธนศักดิ์ (2552)

ปีที่ 49 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2562 อาหาร  18


สรรพคุณมากมายของกระชายเหลือง dysfunctional ห รื อ ED) ช่ วย ป รั บ ส ม ดุ ล ข อ ง
กระชายเหลืองมีสรรพคุณทางยามากมายจน ฮอร์โมนต่าง ๆ ในร่างกายทั้งหญิงและชาย บํารุงตับ
ได้ รับ ขนานนามจากวงการแพทย์ แ ผนไทยว่ าเป็ น ไต ป้องกันไทรอยด์เป็นพิษ ช่วยบํารุงสมอง ช่วยให้
“โสมไทย” เพราะเป็ น พื ช สมุ น ไพรของไทยที่ มี เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงสมองส่วนกลางได้ดี ช่วยบํารุง
สรรพคุ ณ คล้ ายกั บ “โสมเกาหลี ” และยั งมี รู ป ร่ าง หัวใจ ระบบกล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรงและที่สําคัญคือ
ลักษณะคล้ายคลึงกับโสมด้วย สรรพคุณ โดดเด่น ที่ ช่วยบํารุงเส้นเอ็นและกระดูกให้แข็งแรง ช่วยทําให้
เหมื อนกั นคื อการบํ ารุงกําลั งและเสริมสมรรถภาพ กระดู ก ไม่ เปราะบาง ป้ อ งกั น กระดู ก พรุน จากการ
ทางเพศ อีกทั้งยังมีการเจริญเติบโตใกล้เคียงกัน ใน รายงานของ Trakoontivakorn et al. (2001) ที่
ตํารายาไทยใช้เหง้าและรากของกระชายเหลือ งใน ศึก ษาสมบั ติ ในการต้ านสารก่ อ การกลายพั น ธุ์ ข อง
การแก้ ป วดมวนในท้ อ ง แก้ ท้ อ งอื ด เฟ้ อ แก้ ล มจุ ก สารสําคัญ ในกลุ่มฟลาโวนอยด์ 6 ชนิ ด ที่ แ ยกจาก
เสียด แก้โรคกระเพาะ รักษาแผลในปาก แก้ตกขาว กระชายเหลื อ ง ได้ แ ก่ pinocembrin chalcone,
กลาก เกลื้อน ใช้เมื่อมีอาการปวดข้อเข่า ใช้เป็นยา cardamonin, pinocembrin, pinostrobin, 4-
อายุวัฒนะ บํารุงกําลัง และใช้บําบัดโรคกามตายด้าน hydroxypanduratin A และ panduratin A เมื่ อ
(Heim et al., 2002) สํ าหรับ ฤทธิ์ ด้ านเภสั ช วิ ท ยา ทดสอบความสามารถในการยั บ ยั้ งการเกิ ด สารก่ อ
ของกระชายเหลื อ งได้ มี ก ารศึ ก ษามากมาย เช่ น ก ล าย พั น ธุ์ (mutagenic heterocyclic amines)
น้ํามันหอมระเหยมีฤทธิ์ขับลมและบรรเทาอาการหด พบว่า สารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ดังกล่าวมีสมบั ติใน
ตัวของกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกล้ามเนื้อของ การยับยั้งการเกิดสารก่อกลายพันธุ์ได้ดีมาก
ระ บ บ ท างเดิ น อ าห ารฤ ท ธิ์ ต้ าน ก ารอั ก เส บ การศึ ก ษาของ U-pathai and Sudwan
โดยสาร 5, 7-dimethoxyflavone, panduratin (2013) ได้ ท ดสอบความเป็ น พิ ษ ของน้ํ า กระชาย
A และ hydroxypanduratin A จากกระชายเหลื อ ง เหลื อ งคั้ น ด้ ว ยวิ ธี ไมโครนิ ว เคลี ย สในหนู ข าวเพศผู้
สามารถลดการอักเสบในหนูแรทได้ (Tewtrakul et พบว่า น้ํากระชายเหลืองคั้นไม่ก่อให้ เกิดความเป็ น
al., 2009) ฤ ท ธิ์ ต้ า น เชื้ อ แ บ ค ที่ เรี ย โด ย ส า ร พิษต่อการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงด้วยเทคนิคการ
pinostrobin และ panduratin A มี ฤท ธิ์ ฆ่ าเชื้ อ ประเมินไมโครนิวเคลียส โดยไม่พบไมโครนิวเคลียส
แบคที เ รี ย Escherichia coli (Voravuthikunchai ใน polychromatic erythrocytes (PCE) และไม่มี
et al., 2005) ที่ เป็ น สาเหตุ ข องการแน่ น จุ ก เสี ย ด ความแตกต่ างกั น ของไมโครนิ วเคลีย สในเซลล์เม็ ด
ฤทธิ์ต้ านการก่ อ กลายพั น ธุ์โดยสาร pinocembrin เลือดแดง
chalone, pinocembrin, cardamonin แ ล ะ Rosmelia et al. (2016) ได้ ศึ ก ษาความ
pinostrobin (Trakoontivakorn et al., 2001) เป็นพิษของ pinostrobin จากเหง้ากระชายเหลือง
ฤทธิ์ต้ านอนุ มู ลอิ สระ (Shindo et al., 2006) ต้าน ต่ อ เซลล์ (hela cells) พบว่ า pinostrobin จาก
ก ารเกิ ด แ ผ ล ใน ก ระ เพ าะ อ าห าร ฤ ท ธิ์ เ ส ริ ม เหง้ า กระชายเหลื อ งไม่ เป็ น พิ ษ ต่ อ hela cells ที่
ส ม ร ร ถ ภ า พ ท า งเพ ศ ห รื อ โร ค อี ดี (erectile ความเข้ ม ข้ น 5-50 μg/ml แต่ พ บเป็ น พิ ษ ต่ อ เซลล์

ปีที่ 49 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2562 อาหาร  19


เมื่ อ ความเข้ ม ข้ น เพิ่ ม ขึ้ น 75-250 μg/ml โดยมี ค่ า นํ า มาใช้ เป็ น ส่ วนผสมของเครื่อ งแกง ไม่ ว่าจะเป็ น
IC50 เท่ากับ 250 μg/ml น้ํ ายาขนมจี น แกงส้ ม และใช้เพื่ อ ดั บกลิ่น คาวของ
จากงานวิ จั ย ระหว่ า งมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล เนื้อและปลา นอกจากนี้ยังสามารถนํามาปั่นทําเป็น
และมหาวิ ท ยาลั ย อิ ล ลิ น อยส์ พ บว่ า สารสกั ด ราก น้ํากระชายซึ่งเป็นเครื่องดื่มสมุนไพรที่มีประโยชน์สูง
กระชายเหลืองและสาร pinostrobin มีฤทธิ์ต้านการ ได้อีก ด้ วยโดยนิ ยมนํ ามาคั้ น น้ํ าแยกกากผสมน้ํ าผึ้ ง
เจริ ญ ขอ งแ บ ค ที เรี ย Helicobacter pylori ซึ่ ง หรือน้ํามะนาว หรือใบโหระพา เพื่อเพิ่มรสชาติและ
ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่าเป็นสาเหตุของโรคกระเพาะ กลิ่นให้ ท านง่ายขึ้น และเสริมฤทธิ์กันจึงควรดื่ม น้ํ า
อาหาร นอกจากนี้เมื่อใช้สารสกัดจากรากกระชาย กระชายเป็นประจําทุกวันอย่างต่อเนื่อง จะช่วยฟื้นฟู
เหลื อ งรั ก ษาอาการแผลในกระเพาะอาหารของ สุขภาพเหมาะสําหรับผู้ป่วย ผู้สูงวัย และผู้ที่ต้องการ
สัตว์ทดลองพบว่า สารสกัดดังกล่าวนอกจากจะฆ่า ดูแลสุขภาพทั้งเด็กและผู้ใหญ่
เชื้อโรคได้แล้วยังมีฤทธิ์ลดการอักเสบของแผลทําให้
แผลหายเร็วขึ้น นอกจากนี้ พ บว่าสารดั งกล่าวยังมี คุณค่าทางโภชนาการของกระชายเหลือง
ฤทธิ์ต้านการเจริญเติบโตของเชื้อราที่เป็นสาเหตุของ ตารางที่ 2 คุ ณ ค่ า ทางอาหารของกระชายเหลื อ งส่ ว นที่
โรคกลาก 3 ชนิด คือ Trichophyton mentagrophytes, บริโภคได้ 100 กรัม
คุณค่าทางอาหาร ปริมาณ
Microsporum gymseum แ ล ะ Epidermophyton พลังงาน (กิโลแคลอรี) 49.00
floccosum และต้ านการเจริ ญ ของเชื้ อ Candida โปรตีน (กรัม) 1.30
albican ซึ่ ง เป็ น สาเหตุ ข องโรคตกขาว (สุ ธ าทิ พ , ไขมัน (กรัม) 0.80
คาร์โบไฮเดรต (กรัม) 9.20
2548) แคลเซียม (มิลลิกรัม) 80.00
งานวิ จั ย จากมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ โ ดย ฟอสฟอรัส (มิลลิกรัม) 72.00
สายจิตรและคณะ (2549) ได้ศึกษาพบว่า สารสกัด เหล็ก (มิลลิกรัม) 2.30
วิตามินบี 1 (มิลลิกรัม) 0.07
ฟลาโวนอยด์ จากกระชายเหลือง คื อ pinostrobin วิตามินบี 2 (มิลลิกรัม) 0.30
และ pinocembrin และอนุ พั น ธ์ ฟ ลาโวนอยด์ อี ก ไนอาซีน (มิลลิกรัม) 3.50
3 ชนิ ด คื อ 5-methoxyflavone, 2-methoxyflavone วิตามินซี (มิลลิกรัม) 2.00
ที่มา: กองโภชนาการ (2535)
และ β -napthoxyflavone สามารถช่ ว ยต้ า นการ
เสื่อมสลายของกระดูกอ่อนในหลอดทดลองได้ บทสรุป
เมื่ อ รู้ อ ย่ า งนี้ แ ทนที่ จ ะดู แ ลใส่ ใ จสุ ข ภาพ
การนํากระชายเหลืองใช้ในการประกอบอาหาร ตัวเองด้วยการบริโภคโสมนอก ควรหันมาบริโภคสุด
ในการรับประทานกระชายเหลืองนั้นคนไทย ยอดราชาสมุ น ไพรที่ ขึ้ น ชื่ อ ว่ า “โสมไทย” หรื อ
นิยมนํารากกระชายเหลืองมาเป็นเครื่องเทศในการ กระชายเหลือง ซึ่งมีสรรพคุณมากมายในการต้านโรค
ประกอบอาหารหลากหลายอาทิเช่น ผัดเผ็ด ผัดฉ่า บํารุงร่างกาย ไม่แพ้กับโสมเกาหลีหรือโสมชาติไหน
แกงเผ็ด แกงป่ า และอื่น ๆ อีกมากมาย รวมทั้งยัง ที่สําคัญมีราคาไม่แพงอย่างโสมนอก และสามารถหา

ปีที่ 49 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2562 อาหาร  20


ได้ง่ายในประเทศไทย เหมาะกับกลุ่มคนหลากหลาย ช่วยเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี และเป็นการช่วยลด
ทุ ก เพศทุ กวัย ทุ ก ชนชั้น ไม่ จํากั ด ฐานะ อี กทั้งเป็ น ภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศที่เพิ่มสูงขึ้น
การส่ งเสริ ม การใช้ ส มุ น ไพรไทยเพื่ อ การรั ก ษาโรค ได้อีกด้วย
และสร้างเสริมสุขภาพซึ่งเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะ
คําสําคัญ : กระชายเหลือง ราชาแห่งสมุนไพร โสมไทย สารสําคัญ
Keywords : Boesenbergia rotunda, fingerroot king of herbs, Thai ginseng, active ingredient 

เอกสารอ้างอิง
กองโภชนาการ. 2535. คุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. นนทบุร.ี หน้า 97.
ธนศักดิ์ แซ่เลี่ยว. 2552. ผลของการทําแห้งต่อสารประกอบฟีนอลิกและความสามารถต้านออกซิเดชันของกระชายเหลือง (Boesenbergia
pandurate (Roxb.) Schltr). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นิรนาม, ม.ป.ป. สมุนไพร. ศูนย์พิษวิทยารามาธิบดี คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. 
https://med.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/pois-cov/Herbal [6 สิงหาคม 2562]
นิรนาม, 2560. กระชาย สรรพคุณและประโยชน์ของกระชายเหลือง 49 ข้อ.
https://medthai.com/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A2/
[6 สิงหาคม 2562] 
สายจิต แถวปัดถา. 2549. ผลของสารสกัดฟลาโวนอยด์จากกระชายและสารอนุพนั ธ์ฟลาโวนอยด์ต่อการป้องกันการสลายกระดูกอ่อนในหลอด
ทดลอง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุธาทิพ ภมรประวัติ. 2548. กระชายชะลอความแก่และบํารุงกําลัง. นิตยสารหมอชาวบ้าน. 247(305): 29-34.
Heim KE, Tagliaferro AR and Bobilya DJ. 2002. Flavonoid antioxidant: chemistry, metabolism and structure-activity
relationships. J Nutr Biochem. 13(10): 572-584.
Mongkolsuk S and Dean FM. 1964. Pinostrobin and alpinetin from Kaempferia pandurata. J. Chem. Soc. 4654-4655.
Rosmelia R, Suryaningsih BE, Anshory H and Wirohadidjojo YW. 2016. The cytotoxic effect of pinostrobin fingerroot
(Boesenbergia pandurata) on the culture of hela cells. JKKI. 7(4): 137-142.
Shindo K, Kato M, Kinoshita A, Kobayashi A and Koike Y. 2006. Analysis of antioxidant activities contained in the
Boesenbergia pandurata Schult. rhizome. Biosci Biotechnol Biochem. 70(9): 2281-2284.
Tewtrakul S, Subhadhirasakul S, Karalai C, Ponglimanont C and Cheenpracha S. 2009. Anti-inflammatory effects of
compounds from Kaempferia parviflora and Boesenbergia pandurata. Food Chem. 115(2): 534-538.
Trakoontivakorn G, Nakahara K, Shinmoto H, Takenaka M, Kameyama MO, Ono H, Yoshida M, Nagata T and Tsushida T.
2001. Structural analysis of a novel antimutagenic compound, 4-hydroxypanduratin A, and the antimutagenic
activity of flavonoids in a Thai spice, fingerroot (Boesenbergia pandurata Schult.) against mutagenic heterocyclic
amines. J. Agric. Food Chem. 49(6): 3046-3050.
U-pathi J and Sudwan P. 2013. Toxicity study of Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. juice by using micronucleus test in
male wistar rat. Thai J. Genet. S(1): 187-191.
Voravuthikunchai S, Phongpaichit S and Subhadhirasakul S. 2005. Evaluation of antibacterial activities of medicinal plants
widely used among AIDS patients in Thailand. Pharm. Biol. 43(8): 701-706.

ปีที่ 49 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2562 อาหาร  21

You might also like