Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 88

9/3/2020 สภาวิศวกร


สภาวิศวกร | Council of engineers

ขอ
กร
วิชา : Machine Design

ิ ว
เนือหาวิชา : 304 : 1 Fundamental of mechanical design
าวศ
ข ้อที 1 :
สภ
ปรัชญาของการออกแบบเครืองจักรกลทีสําคัญกล่าวไว ้อย่างไร
1 : ขึนอยูก
่ บ ั ลักษณะของอุตสาหกรรมหรือชนิดของเครืองจักร
2 : ขึนอยูก่ บ ั ประสบการณ์ของผู ้ออกแบบ
3 : ขึนอยูก ่ บ ั เวลาทีใช ้ในการออกแบบ
4 : ขึนอยูก ่ บ ั การแข่งขันทางด ้านการตลาด

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 2 :
ผู ้ออกแบบเครืองจักรกลจําเป็ นต ้องมีความรู ้เกียวกับสมบัตข
ิ องวัสดุวศ
ิ วกรรมเพือประโยชน์อะไร
1 : เพือให ้สามารถเลือกใช ้วัสดุทมี
ี ราคาเหมาะสม
2 : เพือให ้ชินส่วนทีออกแบบมีความสวยงาม
3 : เพือให ้สามารถผลิตชินส่วนได ้ง่าย
4 : เพือให ้ทราบกรรมวิธที างโลหะวิทยาต่างๆ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 3 :
ผู ้ออกแบบเครืองจักรกล จําเป็ นต ้องมีความรู ้ทางด ้านเศรษฐศาสตร์ และการแข่งขันทางด ้านราคา หน ้าทีอะไรไม่ใช่หน ้าทีของผู ้ออกแบบ
1 : ประหยัดเงินของผู ้ว่าจ ้าง
2 : ปรับปรุงและเปลียนแปลงการออกแบบ เพิมสิงดึงดูดใจ
3 : มีความรู ้ด ้านการตลาด
4 : เพิมสมรรถนะของการออกแบบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 4 :
การออกแบบมักต ้องคํานึงถึงความไม่แน่นอนทีอาจเกิดขึนระหว่างการคํานวณการสร ้าง การใช ้งาน ฯลฯ ผู ้ออกแบบจึงมักใช ้ค่าความปลอดภัย เพือให ้ครอบคลุมความ
แน่นอนต่างๆทีคาดว่าอาจเกิดขึน ต่อไปนีข ้อใดคือความไม่แน่นอนทีต ้องใช ้ค่าความปลอดภัย
1 : ค่าใช ้จ่ายด ้านพลังงานทีเพิมขึน
2 : ผลจากชนิดของวัสดุทแตกต่ ี างกัน
3 : ผลของขนาดวัสดุตอ ่ ความต ้านแรง
4 : ผลจากการใช ้งานไม่ถก ู ต ้อง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 5 :
Engineering design หมายถึง
1:
กระบวนการหรือกรรมวิธก ี ารประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์และเทคนิคต่างๆ สําหรับวัตถุประสงค์ของนิยามกลอุปกรณ์ กระบวนการ หรือระบบในรายละเอียดที
เพียงเพือยอมให ้ เห็นนิยามเหล่านันเป็ นจริงได ้
2:
เกียวข ้องกับการสร ้างสรรค์เครืองจักรกลให ้ทํางานได ้อย่างปลอดภัย เชือถือได ้และดี
3 : ขบวนการสังเคราะห์ วิเคราะห์และการเลือกทีใช ้หลักการทางวิศวกรรมศาสตร์มาประยุกต์ใช ้
4 : การออกแบบทางวิศวกรรม หรือ วิศวกรรมการออกแบบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ธิ
สท

ข ้อที 6 :
วน

กระบวนการออกแบบประกอบด ้วยขันตอนดังนี
1 : การกําหนดปั ญหาและความต ้องการ, ภูมห
ิ ลังงานวิจัยทีเกียวข ้อง, การกําหนดเป้ าหมายหรือ วัตถุประสงค์, การระบุลก
ั ษณะจําเพาะของงาน, การสังเคราะห์, การ
สง

วิเคราะห์, การเลือก, การ ออกแบบรายละเอียด, การสร ้างต ้นแบบและการทดลอง, และการผลิต


203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 1/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


2 : การกําหนดปั ญหาและความต ้องการ, การกําหนดเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์, การวิเคราะห์, การ เลือก, การออกแบบรายละเอียด, การสร ้างต ้นแบบและการทดล

ขอ
และการผลิต
3 : การกําหนดปั ญหาและความต ้องการ, ภูมห
ิ ลังงานวิจัยทีเกียวข ้อง, การระบุลกั ษณะจําเพาะของ งาน, การวิเคราะห์, การเลือก, การออกแบบรายละเอียด, การสร ้า
ต ้นแบบและการทดลอง, และการผลิต

กร
4 : การกําหนดปั ญหาและความต ้องการ, ภูมหิ ลังงานวิจัยทีเกียวข ้อง, การกําหนดเป้ าหมายหรือ วัตถุประสงค์, การระบุลก
ั ษณะจําเพาะของงาน, การสังเคราะห์, การ
เลือก, การออกแบบ รายละเอียด, การสร ้างต ้นแบบและการทดลอง, และการผลิต

ิ ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
าวศ
สภ
ข ้อที 7 :
ผลิตภัณฑ์ทดี
ี ทได
ี ้จาการออกแบบต ้องไม่มค
ี ณ
ุ ลักษณะเช่นไร
1 : สามารถทํางานหรือทําหน ้าทีได ้ตามต ้องการหรือตามทีลูกค ้าคาดหวังไว ้
2 : มีความปลอดภัยไม่เป็ นอันตรายต่อผู ้ใช ้
3 : มีความเชือมันหรือเชือถือได ้ทีระดับความเชือมันทีกําหนด นันคือผลิตภัณฑ์ต ้องไม่เสียหาย ก่อนทีจะถึงกําหนด
4 : หาซือยาก ผลิตจํานวนจํากัด แข่งขันกับคนอืนได ้ในตลาด

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 8 :
มาตรฐาน (Standard) หมายถึง
1 : เซตของการระบุลก ั ษณะจําเพาะสําหรับการวิเคราะห์ การออกแบบ การผลิตและการสร ้างบางสิง
2 : เซตของการระบุลก ั ษณะจําเพาะสําหรับชินส่วน วัสดุ หรือกระบวนการทีมุง่ เพือความสําเร็จที เหมือนกันหรือแบบเดียวกัน ประสิทธิภาพ และคุณภาพจําเพาะ
3 : เพือบรรลุระดับขันของความปลอดภัยจําเพาะ ประสิทธิภาพ และคุณภาพ
4 : International Standards Organization (ISO)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 9 :
NYLON เป็ นวัสดุอะไร
1 : Plastics
2 : Polymeric
3 : Thermoplastics
4 : Thermosets

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 10 :
เหล็กกล ้าคาร์บอนมีกชนิ
ี ด
1 : 1 ชนิด
2 : 2 ชนิด
3 : 3 ชนิด
4 : 4 ชนิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 11 :
ค่าความปลอดภัยทีจะเลือกใช ้ในการออกแบบขึนอยูก
่ บ
ั ตัวประกอบอะไร
1 : ความสวยงามของชินงานทีจะผลิต
2 : จํานวนของชินงานทีจะผลิต
3 : ความชํานาญและประสบการณ์ของผู ้ออกแบบชินงาน
4 : ประเภทของผลิตภัณฑ์ทจะผลิ
ี ต

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 12 :
ธิ

การเลือกใช ้ค่าความปลอดภัยในการออกแบบ ไม่ได ้พิจารณาถึงตัวประกอบในข ้อใด


สท

1 : ชนิดของโหลดทีกระทํากับชินงาน

2 : ลักษณะการใช ้งานของชินงาน
วน

3 : นํ าหนักของชินงาน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 2/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


4 : ความสวยงามของชินงาน

ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

กร
ข ้อที 13 :

ิ ว
การทดสอบเพือหาคุณสมบัตเิ ชิงกลของวัสดุ ในกรณีทไม่
ี สามารถทดสอบโดยการทดสอบการดึง สามารถทําได ้โดยวิธใี ดทีง่ายทีสุด
1
2
:
:
าวศ
การทดสอบการดัด
การทดสอบการบิด
3 : การทดสอบความแข็ง
สภ
4 : การทดสอบการกระแทก

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 14 :
ความต ้านแรงของเหล็กมีสหสัมพันธ์ (correlation) กับคุณสมบัตใิ นข ้อใด
1 : มอดุลสั ความยืดหยุน

2 : มอดุลส ั เฉือน
3 : ความแข็ง
4 : ส่วนยืดสมําเสมอ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 15 :
ในฐานะทีท่านเป็ นวิศวกรออกแบบชินส่วนเครืองจักร สิงหนึงทีต ้องคํานึงถึงคือการกัดกร่อน ท่านจะไม่เลือกควบคุมการกัดกร่อนด ้วยวิธใี ด
1 : ควบคุมด ้วยการออกแบบทางวิศวกรรม
2 : ควบคุมโดยควบคุมสภาพแวดล ้อม
3 : ควบคุมด ้วยการเลือกวัสดุ
4 : ควบคุมด ้วยกรรมวิธท
ี างความร ้อน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 16 :
ข ้อใดไม่ใช่รายการทีสําคัญในการเลือกวัสดุเพือใช ้ในการออกแบบและผลิตชินส่วนเครืองจักรกล
1 : คุณสมบัตขิ องวัสดุ
2 : การหาวัสดุได ้ง่าย
3 : การคํานึงถึงในแง่เศรษฐศาสตร์
4 : สภาพแวดล ้อม

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 17 :
พิกดั ความเผือ (Tolerances) จัดเป็ นคุณสมบัตวิ ส
ั ดุทางใด
1 : คุณสมบัตท
ิ างกล
2 : คุณสมบัตทิ างมิต ิ
3 : คุณสมบัตท ิ างกายภาพ
4 : คุณสมบัตท ิ างเคมี

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 18 :
ในการทดสอบความแข็งวัสดุ (Hardness) ท่านใช ้หัวทดสอบแบบไหนในการทดสอบ Rockwell C
1 : หัวทดสอบรูปทรงกลม
2 : หัวทดสอบรูปทรงปิ รามิด
3 : หัวทดสอบรูปทรงกรวย
ธิ

4 : หัวทดสอบรูปทรงใดก็ได ้
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

วน

ข ้อที 19 :
สง

วัสดุใดทีสามารถดูดซับพลังงานได ้มากเมืออุณหภูมเิ พิมขึน


203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 3/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


1 : วัสดุเหนียว

ขอ
2 : วัสดุเปราะ
3 : วัสดุพลาสติก
4 : ถูกทุกข ้อ

กร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ิ ว
ข ้อที 20 :
าวศ
ใชช้ นงานทดสอบ
ิ (Specimen) ดังรูปกับงานทดสอบแบบใด
สภ

1 : ทดสอบยกนํ าหนัก
2 : ทดสอบแรงดึง
3 : ทดสอบความล ้าตัว
4 : ทดสอบความแข็งแรง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 21 :
ผลจากการทดสอบชินงานทดสอบ (Specimen) ได ้ลักษณะกราฟผลการทดสอบดังรูปในเบืองต ้น ท่านพิจารณาชินงานทดสอบนีว่าเป็ นวัสดุชนิดใด

1 : ทดสอบแรงดึงวัสดุออ
่ น
2 : ทดสอบแรงดึงวัสดุเหนียว
3 : ทดสอบแรงดึงวัสดุเปราะ
4 : ทดสอบแรงดึงวัสดุแข็ง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 22 :
ใชช้ นงานทดสอบ
ิ (Specimen) ดังรูปกับงานทดสอบแบบใด
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 4/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : ทดสอบยกนํ าหนัก
2 : ทดสอบแรงอัด
3 : ทดสอบแรงกระแทก
4 : ทดสอบการหดตัว
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 23 :

ผลจากการทดสอบชนงานทดสอบ ิ
(Specimen) ได ้ลักษณะกราฟผลการทดสอบดังรูปในเบืองต ้น ท่านพิจารณาชนงานทดสอ
นีว่าเป็ นวัสดุชนิดใด

1 : ทดสอบแรงกดวัสดุออ
่ น
2 : ทดสอบแรงกดวัสดุเหนียว
3 : ทดสอบแรงกดวัสดุเปราะ
4 : ทดสอบแรงกดวัสดุแข็ง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 24 :

ผลการทดสอบชนทดสอบมาตรฐานในรู
ปเป็ นวัสดุประเภทใด
ธิ
สท

1 : อ่อน
แข็ง

2 :
3 : เปราะ
วน

4 : เหนียว
สง

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 5/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 25 :

ผลการทดสอบชนทดสอบมาตรฐานดั
งรูปนีเป็ นวัสดุประเภทใด

กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : อ่อน
2 : แข็ง
3 : เปราะ
4 : เหนียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 26 :
กราฟจากผลทดสอบโดยมีความเค ้น (Stress) แกนเดียว (Uniaxial) และอยูใ่ นช่วงของความเคลียด (Strain) แนวตรง (Linear) บริเวณจุด E หมายถึงอะไร

1 : ช่วงยืดหยุน่ (Elastic)
2 : ช่วงยืดตัว (Elongation)
3 : จุดยืดหยุน
่ ของยังค์ (Young Modulus)
4 : จุดเฉลียระหว่างจุด Yield และ Proportional limit

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 27 :
ในโลหะทีถูกเลือกมาใชมั้ กมีสว่ นผสมของวัตถุธาตุหลายชนิด ซงวั
ึ ตถุธาตุเหล่านีมีคณ ิ ะไรทีใชร่้ วมกันได ้
ุ สมบัตอ
1 : คุณสมบัตด
ิ ้าน Elastic
2 : คุณสมบัตดิ ้านเคมี
3 : คุณสมบัตด ิ ้านเป็ นตัวนํ าความร ้อน
4 : คุณสมบัตด ิ ้านเกาะยึดตัวติดกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 28 :
จงบอกกรรมวิธท ี มี ื ยกเหล่านี Hot rolling, Extrusion, Forging
ี ชอเรี
1 : Heat-treatment
2 : Casting
ธิ

3 : Cold-working
สท

4 : Hot-working

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 6/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 29 :
จงบอกกรรมวิธท ี มี ื ยกเหล่านี Annealing, Quenching,Tempering, Case hardening
ี ชอเรี
1 : Heat-treatment

กร
2 : Casting
3 : Cold-working

ิ ว
4 : Hot-working

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สภ

ข ้อที 30 :

ชอใดมี
คณุ สมบัตด
ิ ้าน Plastically สามารถดันโลหะขึนรูปให ้เป็ นรูปทรงตามทีเราต ้องการ
1:
Heat-treatment
2 : Casting
3 : Hot-working
4 : Cold-working

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 31 :

ชอกรรมวิ ธท
ี ให
ี ้คุณสมบัตท
ิ างวัสดุดต
ี ามทีเราต ้องการและดีกว่าเมือเปรียบเทียบกับงานหล่อโลหะ
1 : Hot-working
2 : Cold-working
3 : Casting
4 : Heat-treatment

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 32 :

ให ้บอกชอกรรมวิ
ธขี นรู
ึ ปดังรูป

1 : Hot-forming
2 : Forging
3 : Pressing
4 : Rolling
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 33 :
ื ยกลายเสนจากงานขึ
ชอเรี ้ นรูปร ้อนดังรูปคืออะไร
ธิ
สท

1: Fiber line
วน

2: Flow line
3: Scaling line
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 7/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


4: Contour line

ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

กร
ข ้อที 34 :

ิ ว
ก ้านชินงานดังแสดงในรูปถูกแรง F กระทําขนาด 25 kN ถ ้ากําหนดให ้พืนทีหน ้าตัดของก ้านชินงานเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ ้าโดยมีความกว ้าง h มีขนาดเป็ น 2 เท่าของความ

าวศ
หนา b จงหาขนาดของ b และ h ถ ้าชินส่วนนีทําจากเหล็กกล ้าซึงมีคา่ sy = 370 MPa และให ้ใช ้ค่าความปลอดภัย, Ny=1.5
สภ

1 : b = 5.32 mm และ h = 10.64 mm


2 : b = 6.35 mm และ h = 12.7 mm
3 : b = 7.12 mm และ h = 14.24 mm
4 : b = 8.31 mm และ h = 16.62 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 35 :
ั (Young Modulus) E = 207 GN/m2 โมดูลส
เพลากลมตันทําด ้วยเหล็กกล ้าซึงมีคา่ ความต ้านแรงดึงคราก, sy = 440 MPa ยังส์โมดูลส ั เฉือน (Shear Modulus) G
79.3 GN/m2 ใช ้ถ่ายทอดกําลัง 10 kW ด ้วยอัตราเร็ว 1750 rpm อย่างสมําเสมอ จงหาขนาดของเพลาโดยใช ้ค่าความปลอดภัย, Ny=2

1 : 9.82 mm
2 : 12.8 mm
3 : 15.42 mm
4 : 16.47 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 36 :
ื หน ้าตัดเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ ้า การกระจายของความเค ้น , s ทีพืนทีหน ้าตัดจะมีรป
ก ้านชินงานมีพนที ู แบบเป็ น

1:

2:
ธิ
สท

วน

3:
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 8/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
4:

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สภ

ข ้อที 37 :
ชินงานมีลก ั ษณะเป็ นเพลากลมเส ้นผ่าศูนย์กลาง d mm ได ้รับการออกแบบให ้มีคา่ ความปลอดภัย (safety factor) a = 0 แรงดึงสูงสุดทีชินงานทังนีรองรับได ้โดยไม่เสี
หายคือเท่าใด (ชินงานทําจากวัสดุทมี ี คา่ ความต ้านทานแรงคราก y MPa)

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 38 :
จงเรียงลําดับค่าคุณสมบัตท
ิ างกลของวัสดุทอ่ี านได ้จากแผ่นภาพแสดงความสัมพันธ์ของความเค ้น-ความเครียด ของวัสดุโดยทัวไป จากค่าน ้อยไปค่ามาก (ความต ้านแร
ดึงคราก (sy), ความเค ้นพิสจ
ู น์ (0.2%sy), ความต ้านแรงดึงอัลลิเมต (suts), ความเค ้นแตกหัก (srupture))

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 39 :
ความแข็งตึงของวัสดุ (Stiffness) คือความสามารถในการต ้านทานต่อการเปลียนแปลงรูปร่างของ วัสดุนันจากแผนภาพความเค ้น-ความเครียด คุณสมบัตท
ิ างกลใดที
บ่งชีความแข็งตึงของวัสดุนัน
1 : ยังส์โมดูลสั (Young’s Modulus)
2 : ความต ้านทานแรงดึงคราก (Yield Strength)
3 : โมดูลสั เฉือน (Shear Modulus)
4 : ความต ้านทานแรงดึงอัลติเมต (Ultimate Tensile Strength)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 40 :
การทําสอบใดทีไม่ใช่การทดสอบเพือหาค่าความแข็ง (Hardness)ของชินงาน หรือวัสดุ
1 : Vicker Test
2 : Rockwell Test
3 : Brinell Test
4 : Charpy Test

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ธิ
สท

ข ้อที 41 :

การเพิมอัตราส่วนของคาร์บอน(%C)ในโลหะเหล็ กส่งผลให ้คุณสมบัตใิ ดของโลหะเหล็ กนั นลดลง


วน

1 : คุณสมบัตใิ นการรับแรง (Strength)


2 : ความเหนียว (Ductility)
3 : ความแข็ง (Hardness)
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 9/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


4 : ความเปราะ(Brittle)

ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

กร
ข ้อที 42 :

ิ ว
ขันตอนของการออกแบบควรเรียงลําดับดังนี

าวศ
1 : รับรู ้ความต ้องการ ลักษณะจําเพาะ ศึกษารายละเอียด สังเคราะห์ความคิด
2 : ลักษณะจําเพาะ รับรู ้ความต ้องการ สังเคราะห์ความคิด ศึกษารายละเอียด
สภ
3 : สังเคราะห์ความคิด ศึกษารายละเอียด ลักษณะจําเพาะ รับรู ้ความต ้องการ
4:
ศึกษารายละเอียด สังเคราะห์ความคิด รับรู ้ความต ้องการ ลักษณะจําเพาะ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 43 :
เพลากลมตันมีเส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 20 mm ทําด ้วยเหล็กกล ้าถูกกระทําด ้วยแรงบิด (Torque) เท่ากับ 225 Nm จงหาขนาดของความเค ้นเฉือน , t ทีเกิดขึนทีหน ้า
ตัดของเพลา
1 : 102.57 N/mm2
2 : 113.46 N/mm2
3 : 143.18 N/mm2
4 : 158.97 N/mm2

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 44 :
ื หน ้าตัดเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ ้า การกระจายของความเค ้น, s ทีพืนทีหน ้าตัดจะมีรป
ก ้านชินงานสันดังแสดงในรูปถูกแรงกด F กระทํา ถ ้ากําหนดให ้ก ้านชินงานมีพนที ู แบบเ

1:

2:
ธิ

3:
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 10/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
4:

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สภ

ข ้อที 45 :
เพลากลมตันทําด ้วยเหล็กกล ้าถูกกระทําด ้วยแรงบิด (torque) เท่ากับ 225 Nm ถ ้ากําหนดให ้ใช ้ค่าความเค ้นเฉือนในการออกแบบ (Allowable Shear Stress) td = 22
N/mm2 จงหาขนาดของเส ้นผ่านศูนย์กลางของเพลา
1 : 15.43 mm
2 : 16.42 mm
3 : 17.33 mm
4 : 18.78 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 46 :
เพลากลมตันทําจากเหล็กกล ้าซึงมีคา่ ความต ้านแรงดึงคราก, sy = 310 MPa และมีคา่ โมดูลส ั เฉือน, G = 80 GPa ใช ้ถ่ายทอดกําลัง 30 kW ทีอัตราเร็วรอบ 2000 rpm
ุ บิดไม่เกิน 3 องศาต่อความยาว 500 mm จะใช ้เพลาขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับเท่าใดและจะมีคา่ ความปลอดภัยเท่าใด
ถ ้าต ้องการให ้เพลามีมม
1 : d = 18.53 mm และ Ny = 2.32
2 : d = 20.43 mm และ Ny = 2.32
3 : d = 20.43 mm และ Ny = 5.85
4 : d = 18.53 mm และ Ny = 4.85

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 47 :
เพลากลมตันทําด ้วยเหล็กกล ้าซึงมีคา่ sy = 440 NPa, E = 207 GN/m2 , G = 79.3 GN/m2 ใช ้ถ่ายทอดกําลัง 10 kW ด ้วยอัตราเร็ว 1750 rpm อย่างสมําเสมอ จงห
ขนาดของเพลาโดยใช ้ค่าความปลอดภัย, Ny = 2

1 : 9.82 mm
2 : 12.80 mm
3 : 15.42 mm
4 : 16.47 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 48 :
เพลากลมตันมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ d = 14 mm เพลานีทํามาจากเหล็กกล ้าซึงมีคา่ ต ้านแรงดึงคราก , sy = 440 NPa ใช ้ถ่ายทอดกําลัง 10 kW ด ้วยอัตราเ
1750 rpm อย่างสมําเสมอ จงหาความเค ้นเฉือนสูงสุดทีเกิดขึนในเพลานี
1 : 88.67 mm
2 : 92.57 mm
3 : 101.28 mm
4 : 116.49 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 49 :
เฟื องตรงในระบบนิวถ ้า Diametral pitch เป็ นจํานวนเต็มตํากว่า 20 เรียกว่า
1 : Coarse pitch
2 : Medium pitch
3 : Fine pitch
ธิ

4 : ผิดทุกข ้อ
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
วน

เนือหาวิชา : 305 : 2 Stress analysis, Theories of failure


สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 11/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 50 :
ภาชนะผนังบางรูปทรงกระบอก ขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 500 mm ยาว 1000 mm รับความดันภายใน p = 10 bar ทําด ้วยวัสดุทมี
ี คา่ ความเค ้นใช ้งาน 25 MPa ภาชนะ
นีควรมีความหนาน ้อยทีสุดเท่าใด

กร
1 : 1.0 mm
2 : 1.5 mm

ิ ว
3 : 2.0 mm

าวศ
4 : 2.5 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สภ

ข ้อที 51 :
คุณสมบัตข ิ องวัสดุทแสดงความสามารถในการรั
ี บแรงของเสาคืออะไร
1 : ความต ้านแรงดึงคราก
2 : ความต ้านแรงดึงสูงสุด
3 : ความต ้านแรงกด
4 : มอดุลส
ั ยืดหยุน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 52 :
ทฤษฎีความเค ้นหลักสูงสุด (Maximum Principal Stress Theory) เหมาะสําหรับใช ้ในการออกแบบวัสดุประเภทใด
1 : วัสดุเปราะทีรับแรงกดได ้ดี
2 : วัสดุเปราะทีรับแรงเฉือนได ้ดี
3 : วัสดุเหนียวทีรับแรงกดได ้ดี
4 : วัสดุเหนียวทีรับแรงเฉือนได ้ดี

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 53 :
ทฤษฎีความเค ้นเฉือนออคตะฮีดรัล (Octahedral Shear Stress Theory) มีความแตกต่างทีสําคัญจากทฤษฎีความเค ้นเฉือนสูงสุด (Maximum Shear Stress Theory)
อย่างไร
1 : ทฤษฎีความเค ้นเฉือนออคตะฮีดรัลมีความแม่นยําในการคํานวณน ้อยกว่า
2 : ทฤษฎีความเค ้นเฉือนออคตะฮีดรัลมีความแม่นยําในการคํานวณมากกว่า
3 : ทฤษฎีความเค ้นเฉือนออคตะฮีดรัลใช ้ความเค ้นในการคํานวณน ้อยกว่า
4 : ทฤษฎีความเค ้นเฉือนออคตะฮีดรัลใช ้ความเค ้นในการคํานวณมากกว่า

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 54 :
เพลาหน ้าตัดสีเหลียมจัตรุ ัสตันขนาด b x b กับเพลากลมตันมีรัศมีเท่ากับ r รับแรงบิดเท่ากัน ข ้อใดกล่าวถูกต ้อง
1 : นํ าหนักเพลาหน ้าตัดสีเหลียมจัตรุ ัสตันต่อความยาวเท่ากับนํ าหนักเพลากลมตันต่อความยาว
2 : ความแข็งแรงต่อนํ าหนักของเพลาหน ้าตัดสีเหลียมจัตรุ ัสตันมากกว่าความแข็งแรงต่อนํ าหนักของ เพลากลมตัน
3 : นํ าหนักเพลาหน ้าตัดสีเหลียมจัตรุ ัสตันต่อความยาวน ้อยกว่านํ าหนักเพลากลมตันต่อความยาว
4 : ความแข็งแรงต่อนํ าหนักของเพลาหน ้าตัดสีเหลียมจัตรุ ัสตันน ้อยกว่าความแข็งแรงต่อนํ าหนักของ เพลากลมตัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 55 :
ในฐานะทีท่านเป็ นวิศวกรออกแบบเครืองกล ทฤษฎีความล ้า (Failure theory) ทฤษฎีใดทีท่าน จะเลือกใช ้กับวัสดุเปราะ ( ฺBrittle materials)
1 : Maximum normal stress theory
2 : Ductile Coulomb-Mohr theory
3 : Maximum shear stress theory
4 : Distortion energy

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ธิ

ข ้อที 56 :
สท

จงคํานวณหาแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจุดรองรับ D

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 12/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 1,500 N
2 : -1,500 N
3 : 4,500 N
4 : -4,500 N

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 57 :
จงคํานวณหาแรงทีกระทําบนแขน AB ถ ้าแรงปฏิกริ ย
ิ าที A = 1500 N กระทําลงใน แนวดิง

1 : 1,500 N C
2 : -1,500 N T
3 : 2,121 N T
4 : -2,121 N C

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 58 :
ทีตําแหน่งไหนของเพลามีความเค ้นสูงสุดเท่ากับ P/A

1 : A, B, C, และ E
2 : B, E, และ F
3 : A, D, และ E
4 : A, B, C, D, E, และ F

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 59 :
โมเมนต์ดด ั (Bending moment) เท่าไรทีเกิดใน straight round rod ขนาดโต 40 mm. กับ straight square rod ขนาด 40 x 40 mm. ซึงมี normal stress สูงสุดเท
กันคือ 400 MPa
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 13/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ
1 : โมเมนต์ดด
ั ใน rod ทังสองเท่ากัน
2 : โมเมนต์ดดั ใน round rod มากกว่า
3 : โมเมนต์ดด ั ใน Square rod มากกว่า
4 : โมเมนต์ดด ั ใน rod ทังสองเกือบเท่ากัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 60 :
เมือหมุดยํารับแรงเฉือนคู่ (double shear) จะเกิดความเค ้นเฉือนบนหน ้าตัดขวางของหมุดยําเท่าใด
1 : t= F/A
2 : t= 2F/A
3 : t= F/2A
4 : t= 3F/2A

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 61 :
ความเค ้นเฉือนทีเกิดขึนบนหน ้าตัดขวางของคานทีมีรป
ู ร่างหน ้าตัดเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ ้ามีคา่ เท่าไร
1 : t= V/A
2 : t = V/2A
3 : t = 2V/A
4 : t= 3V/2A

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 62 :
ความเค ้นเฉือนสูงสุดทีเกิดขึนในระบบความเค ้นผสมมีคา่ เท่าใด
1 : ครึงหนึงของความเค ้นดึงสูงสุด
2 : ครึงหนึงของผลต่างความเค ้น
3 : ครึงหนึงของผลต่างความเค ้นสูงสุด
4 : ผลต่างของความเค ้นสูงสุด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 63 :
การออกแบบเพลาเพือใช ้รับความเค ้นผสมโดยใช ้ทฤษฎีความเสียหายทังหมด ขนาดทีเล็กทีสุดจะหาได ้โดยใช ้ทฤษฎีใด
1 : ทฤษฎีความเค ้นหลักสูงสุด
2 : ทฤษฎีความเครียดหลักสูงสุด
3 : ทฤษฎีความเค ้นเฉือนสูงสุด
4 : ทฤษฎีความเค ้นเฉือนออคตะฮีดรัล

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 64 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก ี ้องใช ้สูตร s = F/A เพือหาความเค ้นดึง หรือความเค ้นอัด โดยตรง
ู ต ้อง กรณีทต
1 : Member ทีรองรับโหลดต ้องเป็ นเส ้นตรง
ธิ

2 : เส ้นกระทําของโหลดต ้องผ่านเซนทรอย์ (Centroid) หน ้าตัด Member


3 : วัสดุของ Member ต ้องเป็ นเนือเดียวกัน (homogeneous) และมีคณ ุ สมบัตเิ หมือนกันในทุกทิศทาง (isotropic)
สท

4 : Memberไม่จําเป็ นต ้องมีหน ้าตัดสมําเสมอใกล ้บริเวณทีเริมต ้นคํานวณความเค ้น



วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 14/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 65 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้อง ถ ้าแรงบิด (Torque) หรือ twisting moment กระทํากับเพลากลมตัน (Solid shaft)
1 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดทีจุดศูนย์กลางเพลา และ Torsional Shear Stress น ้อยสุด เกิดทีรัศมีโตสุดของเพลา

กร
2 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดทีจุดศูนย์กลางเพลา และ Torsional Shear Stress เท่ากับ ศูนย์เกิดทีรัศมีโตสุดของเพลา
3 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดทีรัศมีโตสุดของเพลาและ Torsional Shear Stress น ้อยสุดเกิดทีจุดศูนย์กลางเพลา

ิ ว
4 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดทีรัศมีโตสุดของเพลาและ Torsional Shear Stress เท่ากับศูนย์เกิดทีจุดศูนย์กลางเพลา

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สภ
ข ้อที 66 :
Modified Mohr theory ถูกใช ้เพือทํานายการแตกหักของ
1 : วัสดุเหนียว
2 : วัสดุเปราะ
3 : วัสดุเหนียวและวัสดุเปราะ
4 : วัสดุวศ
ิ วกรรม

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 67 :
Maximum-distortion-energy-theory ถูกใช ้เพือทํานาย
1 : วัสดุเหนียว
2 : วัสดุเปราะ
3 : วัสดุเหนียวและวัสดุเปราะ
4 : วัสดุวศ
ิ วกรรม

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 68 :
Distortion energy theory ทํานายความเสียหายเมือ
1 : ทุกจุดอยูใ่ นรูปสีเหลียม
2 : ทุกจุดอยูน ่ อกรูปสีเหลียม
3 : ทุกจุดอยูน ่ อกรูปวงรี
4 : ทุกจุดอยูใ่ นรูปวงรี

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 69 :
เมือท่านพิจารณาค่าความปลอดภัย (Safety factor) จะต ้อง นํ าค่าใดในกราฟ Stress-Strain มาพิจารณาร่วมกับความ เค ้นใช ้งาน (Working Stress)
ธิ

1 : ความเค ้นทีจุด R
สท

2 : ความเค ้นทีจุด U

3 : ความเค ้นสูงสุด Su
4 : ความเค ้นทีจุดคลาก Y
วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 15/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 70 :
พิจารณากราฟ Stress-Strain ของวัสดุ AL 6061-T6 มีปัจจัย อะไรทีช่วยให ้วัสดุนยื
ี ดตัวได ้ง่าย (High strain rate)

กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : ต ้องการแรงดึงสูงๆเพือช่วยให ้ยืดตัวง่าย
2 : ความเค ้นสูงๆช่วยให ้ยืดตัวง่าย
3 : ความเคลียดมากๆจะช่วยให ้วัสดุยด ื ตัวง่าย
4 : อุณหภูมสิ งู จะทําให ้วัสดุยด
ื ตัวได ้สูง

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 71 :
Shear modulus มีความสําคัญในการคํานวณ Deflection ทีเกิดจาก Shear เช่น Torsion จากรูปเมือให ้ Shear Strain เลือกสมการ Shear modulus ทีถูกต ้อง

1:

2:

3:
ธิ
สท

4:
วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 16/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ข ้อที 72 :

ขอ
จากรูป Positiove Strain ในแนวแกน x ทําให ้เกิด Negative Strain ในแนวแกน y สัดส่วนนีเรียกว่า Poisson’s Ratio ให ้เลือกสมการ ทีถูกต ้องของ Poisson’s Ratio

กร
ิ ว
าวศ
สภ

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 73 :
ทฤษฎีความเสียหายอันเนืองจากภาระต่อเนือง (Steady load failure theory) ใช ้กับวัสดุชนิดใดได ้บ ้าง
1 : วัสดุเหนียว(Ductile) และ/หรือเปราะ(Brittle)
2 : วัสดุใช ้ในงานก่อสร ้าง
3 : วัสดุใช ้ในงานเครืองจักร
4 : วัสดุออ
่ น (Soft material)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 74 :
Stress/Strain field ทีใช ้กับทฤษฎีความเสียหายต่อเนือง (Steady load failure theory) สามารถประยุกต์ใช ้กับภาระ ตามแนวแกนชนิดใดได ้บ ้าง
1 : ได ้เฉพาะแนวแกนเดียว (Uni axial)
2 : ได ้ทังแนวแกนเดียว (Uni axial) และหลายแกน (Multi axial)
3 : ใช ้ได ้เฉพาะแบบหายแกน (Multi axial)
4 : ใช ้กับแนวแกน X, Y, Z

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 75 :
ทฤษฎีวา่ ด ้วย Maximum-Normal-Strain Theory (ของ Saint-Venant) ตังข ้อสังเกตไว ้ว่า เมือ Principal Strain มีคา่ เข ้า ใกล ้ Strain และสอดคล ้องกับ Yield
Strength จะมีสภาวะอะไรเกิดขึน
ธิ

1 : Internal friction
2 : Stress/Strain fall
สท

3 : Yielding

4 : Failure
วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 17/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ข ้อที 76 :

ขอ
ทฤษฎีวา่ ด ้วย Distorsion Energy Theory เมือค่า Distorsion per unit volume เท่ากับ Distorsion per unit volume ทีเกิด จากแรงดึงตามแนวแกนเดียว (Uniaxial)
บนชินงานทดสอบ (Specimen) จนกระทังค่าความเค ้นสูงขึนถึงช่วง Yield Strength จะทําให ้เกิดสภาวะเช่นไร

กร
1 : Yielding
2 : Failure
3 : Stress/Strain fall

ิ ว
4 : Internal friction
าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สภ

ข ้อที 77 :
กราฟตามรูปเกิดจากการทดสอบแรงดึงบนชินงานทดสอบ (Tensile specimen) พืนที U-area ทีอยูใ่ ต ้ Stress-Strain curve คืออะไร

1 : Proportional area
2 : Stress-Strain energy
3 : Strain energy area
4 : Specimen stressed

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 78 :
เมือ Distorsion Energy per unit volume มีคา่ เท่ากับ Distorsion Energy per unit volume ในการทดสอบแรงดึงบนชินงานทดสอบ จนกระทังความเค ้นสูงขึนเข ้าใ
Yielding Strength จะเกิด สภาวะอะไรขึน

1 : Yilding
2 : Internal friction
3 : Stress/Strain fall
4 : Failure

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 79 :
เรานํ าประโยชน์ของพืนทีแรงเงาเป็ นของวัสดุ ทีอยูใ่ ต ้สภาวะความเค ้นของ Plain Stress Condition ไปใช ้อย่างไร
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 18/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : พืนทีบริเวณนีจะไม่เกิดค่า Yield
2 : พืนทีภายใต ้ Yield Strength
3 : พืนทีในส่วนนีจะไม่เกิด Failure
4 : พืนทีความแข็งแรงใช ้งาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 80 :
เราสามารถนํ าสภาวะอะไรจากวงกลมของโมร์ (Mohr’s Circle) มาใช ้ประโยชน์ในการออกแบบ

1 : Principal Stress
2 : Pure Stress
3 : Maximum Shear
4 : Pure Shear

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 81 :
ในสภาวะ Pure Shear สามารถกําหนดสูตรง่ายๆมาใช ้ดังนี
ธิ
สท

วน

1:
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 19/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
2:

กร
3:

ิ ว
4: าวศ
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 82 :
ทฤษฎีเกียวกับ The Maximum-Normal-Stress Theory ตังข ้อสังเกตไว ้ว่า เมือค่า s1 s2 s3 เป็ น Pricipal Stress เมือคําหนึงในสามนีมีคา่ มากจนเข ้าใกล ้ค่าความแ
แรงดึง (Tensile strength) และความแข็งแรงอัด (Compressive strength ) จะมีสภาวะเช่นใดเกิดขึน
1 : Failue
2 : Yielding
3 : Stress/Strain fall
4 : Internal friction

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 83 :
ชินงานดังแสดงในรูปทําจากเหล็กกล ้าซึงมีคา่ ความต ้านแรงดึงคราก sy = 440 MPa รับแรงสถิตขนาด 1000 N จงคํานวณหาการเคลือนตัวของจุด A ซึงได ้แก่การบิดตั
เนืองจากทอร์ก และการเคลือนตัวในแนวดิง (E= 207 GN/m2 , G = 79.3 GN/m2)

1 : y = - 0.572 mm และ q = 0.00658 เรเดียน


2 : y = - 0.672 mm และ q = 0.00758 เรเดียน
3 : y = - 0.672 mm และ q = 0.00658 เรเดียน
4 : y = - 0.472 mm และ q = 0.00658 เรเดียน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 84 :
ทฤษฏีความเสียหาย (Failure Theories) ใดเมือใช ้ในการคํานวณออกแบบแล ้วให ้ค่าความ ปลอดภัยสูงสุด
1 : ทฤษฏีความความเค ้นหลักสูงสุด (Maximum Normal Stress Failure Theory)
2 : ทฤษฏีความความเค ้นเฉือนสูงสุด (Maximum Shear Stress Failure Theory)
3 : ทฤษฏีความความเค ้นเฉือนออคตะฮีดรัล (Octahedral Shear Stress Failure Theory)
4 : ทฤษฏีความความเครียดหลักสูงสุด (Maximum Principle Strain Failure Theory)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 85 :
ทฤษฎีความเค ้นหลักสูงสุดเหมาะสําหรับใช ้ออกแบบวัสดุทมี
ี คณ
ุ สมบัต ิ
1 : เปราะ
2 : เหนียว
3 : ยืดหยุน
่ มาก
4 : ยืดหยุน่ น ้อย
ธิ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สท

วน

ข ้อที 86 :
หน่วยของความเค ้นคือ
สง

1 : N-m
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 20/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


2 : N-m-1

ขอ
3 : N-m-2
4 : N-m-3

กร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ิ ว
ข ้อที 87 :
าวศ
จากการทําลองเพือหาความสัมพันธ์ของความเค ้นความเครียด จะสามารคํานวณหาคุณสมบัตท
ิ างกล ใดของชินงานนันได ้
1 : สัมประสิทธ์ความยืดหยุน่ (Modulus of Elasticity)
สภ
2 : ความสามารถในการตัดกลึง (Maclineability)
3 : ความหยุน่ (Malleability)
4 : ความเหนียว (Toughness)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 88 :
เพลากลมเส ้นผ่านศูนย์กลาง d รับแรง F = 50 kN ทีระยะ a = 150 mm และแรงบิด T = 100 N–m ถ ้าวัสดุมค ุ สมบัต ิ sy = 351.65 N/mm2 และใช ้ทฤษฎีความเค ้น
ี ณ
เฉือนสูงสุด โดยกําหนดค่าความปลอดภัย N = 2.5 ขนาด d เป็ นเท่าใด

1 : 81.83 mm
2 : 82.39 mm
3 : 82.81 mm
4 : 83.59 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 89 :
เพลากลมเส ้นผ่านศูนย์กลาง d รับแรง F = 50 kN ทีระยะ a = 150 mm และแรงบิด T = 100 N–m ถ ้าวัสดุมค ุ สมบัต ิ sy = 351.65 N/mm2 และใช ้ทฤษฎีความเค ้น
ี ณ
เฉือนสูงสุด โดยกําหนดค่าความปลอดภัย N = 2.5 ขนาด d เป็ นเท่าใด

1 : 80.17 mm
2 : 81.71 mm
3 : 82.23 mm
4 : 83.13 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 90 :
เพลากลมเส ้นผ่านศูนย์กลาง d รับแรง F= 50 kN ทีระยะ a = 150 mm และแรงบิด T = 100 N-m ถ ้าวัสดุมค ุ สมบัต ิ sy = 351.62 N/mm2 และใช ้ทฤษฎีความเค ้น
ี ณ
ธิ

เฉือนออกตะฮีดรัลสูงสุด โดยกําหนดค่าความปลอดภัย N=2.5 ขนาด d เป็ นเท่าใด


สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 21/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
1
2
:
:
าวศ
81.77
81.98
mm
mm
3 : 82.19 mm
สภ
4 : 82.91 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 91 :
ในระบบความเค ้นผสม ระนาบค่าความเค ้นเฉือนสูงสุด จะทํามุมเท่าใด กับระนาบของความเค ้น หลักเสมอ

1 : 15o
2 : 45o
3 : 90o
4 : 135o

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 92 :
ในระนาบความเค ้นผสมทีมีคา่ ความเค ้นหลักเป็ น และ ค่าความเค ้นตังฉากบนระนาบทีมีความเค ้นเฉือนสูงสุดจะมีคา่ เท่าใด

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 93 :
ในกรณีของชินงานทีมีความเค ้นเฉือน txy กระทําเพียงอย่างเดียว ค่าความเค ้นหลักทีเกิดขึนในระบบความเค ้นผสมจะมีคา่ เท่าใด

1:

2:
3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 94 :
ในทฤษฎีความเค ้นเฉือนสูงสุดหรือ เกณฑ์ของเทรสก ้า วัสดุจะเริมเกิดการเสียหายเมือใด (tmax - ความเค ้นเฉือนสูงสุด, sy - ความต ้านแรงดึงคราก)

1:
ธิ
สท

2:

วน

3:
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 22/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

กร
ิ ว
ข ้อที 95 :

รูปแบบเป็ น าวศ
ชินงานดังแสดงในรูปมีพนที
ื หน ้าตัดเป็ นรูปสีเหลียมจัตรุ ัสมีแรงดึง P กระทําเยืองจากจุดศูนย์กลางของพืนทีหน ้าตัดเป็ นระยะเท่ากับ e ความเค ้นทีเกิดขึนทีพืนทีหน ้าตัดจ
สภ

1:

2:

3:
ธิ
สท

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
วน
สง

ข ้อที 96 :
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 23/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


เพลากลมตันมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง d=20 mm ดังแสดงในรูปทําจากเหล็กกล ้าซึงมีคา่ ความต ้านแรงดึงคราก , sy = 210 Mpa รับภาระแรงดึงในแนวแกนเท่ากับ 1

ขอ
kN และภาระดัดเท่ากับ 2040 N.m จงหาค่าความเค ้นสูงสุดทีเกิดขึนในเพลานี

กร
ิ ว
าวศ
สภ
1 : 1,987.357 N/mm2
2 : 2,629.675 N/mm2
3 : 2,797.345 N/mm2
4 : 2,857.643 N/mm2

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 97 :
ก ้านเหล็กกลมดัดงอเป็ นรูปตัว L ดังแสดงในรูปทําจากเหล็กทีมีคา่ คุณสมบัตเิ ฉพาะคือยังส์โมดูลส
ั (Young Modulus) E, โมดูลส
ั เฉือน (Shear Modulus) G, พืนทีหน ้า
(Cross Sectional Area) A, โมเมนต์ความเฉือยของพืนทีหน ้าตัด (Area Moment of Inertia) I, และโมเมนต์ความเฉือยเชิงขัวของพืนทีหน ้าตัด (Polar Moment of
Inertia) J ถ ้ามีแรงบิด T กระทําการโก่งตัวของปลายด ้านอิสระมีคา่ เท่ากับ

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 98 :
ก ้านเหล็กหลมดัดงอเป็ นรูปตัว L ดังแสดงในรูปทําจากเหล็กทีมีคา่ คุณสมบัตเิ ฉพาะคือยังส์โมดูลส
ั (Young Modulus) E, โมดูลส
ั เฉือน (Shear Modulus) G, พืนทีห
ตัด (Cross Sectional Area) A, โมเมนต์ความเฉือยของพืนทีหน ้าตัด (Area Moment of Inertia) I, และโมเมนต์ความเฉือยเชิงขัวของพืนทีหน ้าตัด (Polar Momen
Inertia) J ถ ้ามีแรง F กระทําการเคลือนตัวของปลายด ้านอิสระมีคา่ เท่ากับ
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 24/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 306 : 3 Fatigue, Variable loads

ข ้อที 99 :
ชินส่วนเครืองกลทีรับแรงเปลียนแปลงควรมีผวิ สําเร็ จอย่างไรจึงจะใช ้งานได ้อย่างเหมาะสมทีสุด
1 : ผิวตัดกลึง
2 : ผิวรีดเย็น
3 : ผิวเจียระไน
4 : ผิวขัดมัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 100 :
ความเค ้นทีบริเวณรูเจาะบนชินงานจะมีคา่ สูงกว่าบริเวณทีห่างออกไปจากรูเจาะเพราะเหตุใด
1 : บริเวณรูเจาะมีพนที
ื หน ้าตัดเล็กกว่า
2 : บริเวณรูเจาะมีพนที
ื หน ้าตัดขาดความต่อเนือง
3 : บริเวณรูเจาะมีความเค ้นเปลียนแปลง
4 : บริเวณรูเจาะมีความเค ้นหนาแน่น

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 101 :
ขีดจํากัดความล ้า (fatigue limit) หมายถึงความเค ้นทีหาได ้จากการรับภาระในลักษณะใด
1 : ความเค ้นกระทําซํากันสองทิศทางต่อชินทดสอบผิวเจียระไน
2 : ความเค ้นกระทําซํากันสองทิศทางต่อชินทดสอบผิวขัดมัน
3 : ความเค ้นกระทําสลับกันสองทิศทางต่อชินทดสอบผิวเจียระไน
4 : ความเค ้นกระทําสลับกันสองทิศทางต่อชินทดสอบผิวขัดมัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ธิ
สท

ข ้อที 102 :
ขีดจํากัดความทนทาน (endurance limit) ของเหล็กหล่อและเหล็กกล ้าหล่อ สําหรับการคงอยู่ 50% มีคา่ ประมาณเท่าไร
วน

1 : 40% ของค่าความต ้านแรงดึงสูงสุด


2 : 45% ของค่าความต ้านแรงดึงสูงสุด
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 25/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


3 : 50% ของค่าความต ้านแรงดึงสูงสุด

ขอ
4 : 60% ของค่าความต ้านแรงดึงสูงสุด

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

กร
ิ ว
ข ้อที 103 :

1 : าวศ
ความเค ้นทีทําให ้ชินงานทีรับแรงกระทําซําๆ หลายวัฏจักร เกิดการแตกหักจะมีคา่ เท่าไร
มีคา่ เท่ากับความต ้านแรงคราก
2 : มีคา่ น ้อยกว่าความต ้านแรงคราก
สภ
3 : มีคา่ มากกว่าความต ้านแรงคราก
4 : มีคา่ น ้อยกว่าความต ้านแรงดึง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 104 :
ิ มใช ้วิธก
การทดสอบวัสดุเพือหาค่าขีดจํากัดความทนทาน ตามปรกตินย ี ารทดสอบแบบใด
1 : การดึง
2 : การกด
3 : การบิด
4 : การดัด

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 105 :
ในทางปฏิบต ั ิ ชินงานทีรับแรงได ้มากกว่าเท่าไรไซเกิล จึงจะถือว่าเป็ นชินงานทีมีอายุใช ้งานไม่จํากัด
1 : ห ้าแสนครัง
2 : หนึงล ้านครัง
3 : หนึงล ้านห ้าแสนครัง
4 : สองแสนครัง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 106 :
ตัวประกอบทีใช ้สําหรับแก ้ไขค่าขีดจํากัดความทนทาน เมือชินงานมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางโตกว่า 50 mm มีคา่ เท่าไร
1 : 0.65
2 : 0.75
3 : 0.85
4 : 0.95

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 107 :
ข ้อใดไม่ใช่ fatigue-life methods ทีใช ้ในการออกแบบและวิเคราะห์ความเสียหายเนืองจากความล ้า
1 : Stress-life method
2 : Strain-life method
3 : Endurance Limit method
4 : Linear-elastic fracture mechanics method

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 108 :
จากรูป จงคํานวณหาค่าความเค ้นเฉือนทีเกิดขึนกับสลัก ซึงมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 25 mm. จะมีคา่ เท่ากับเท่าใด
ธิ
สท

1 : 5.38 MN/m2
วน

2 : 6.11 MN/m2
3 : 7.34 MN/m2
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 26/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


4 : 8.26 MN/m2

ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

กร
ข ้อที 109 :

ิ ว
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับความล ้าของโลหะ
1
2
:
:
าวศ
ความเสียหายเนืองจากความล ้าจะเริมต ้นทีบริเวณร่องลิม
ผิวหน ้าสําเร็จทีเรียบจะมีความต ้านทานความล ้าน ้อยกว่าผิวหน ้าสําเร็จทีหยาบ
3 : การทําผิวหน ้าเหล็กกล ้าให ้แข็งจะทําให ้อายุความล ้าของผิวหน ้าลดลง
สภ
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 110 :
ไดอะแกรมตามรูปเป็ นของเครืองทดสอบอะไร

1 : Rotating beam fatigue test


2 : Bearing life test
3 : Cyclic Load test
4 : Balance load test

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 111 :
ภาระ (Load) ในชือต่างๆทีเราคุ ้นเคยเช่น Monotonic load, Static load, หรือ Steady load ซึงมีวต
ั ถุประสงค์อะไรทําไม นักออกแบบเครืองจักรกลจึงมักคํานึงถึง

1 : Strength
2 : Failure
3 : Safty factor
4 : Life cycle

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 112 :
ภาระ (Load) ในชือต่างๆทีเราคุ ้นเคยเช่น Dynamic load, Cyclic load, หรือ Unsteady load ซึงมีวต
ั ถุประสงค์อะไรทําไม นักออกแบบเครืองจักรกลจึงมักคํานึงถึง
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 27/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


1 : Strength

ขอ
2 : Failure
3 : Safty factor
4 : Life cycle

กร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ิ ว
ข ้อที 113 : าวศ
จงบอกชือกราฟในรูปนี
สภ

1 : S-N Curve
2 : Stress life cycle
3 : Fatigue life
4 : Finite life

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 114 :
ระดับความเค ้นของวัสดุททนได
ี ้จนถึง N-cycle นักออกแบบนิยมเรียกชือความแข็งแรงนีว่าอะไร

1 : Fatigue Strength
2 : Ultimate strength
3 : Endurance strength
4 : Working strength

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 115 :
การเชือมต่อวัสดุเข ้าด ้วยกัน (Connections) วิศวกรออกแบบมักคํานึงถึงภาระ (Load) อะไรบ ้าง
1 : Tension, Shear load
2 : Torsion load
3 : Bending load
4 : Compressive load
ธิ
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

วน

ข ้อที 116 :
ให ้เลือกสูตรในการคํานวณ Bearing Stress ของแผ่นทีต่อกันและยึดด ้วยตัวยึด (Fastener) ดังรูป
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 28/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 117 :
แผ่นเหล็กกล ้าดังแสดงในรูปมีรเู จาะที A และรอยบากที B ซึงจะเกิดความเค ้นหนาแน่นทีบริเวณดังกล่าว โดยจะมีคา่ ตัวประกอบความเค ้นหนาแน่นเนืองจากแรงดึงที A
และ B คือ ktA = 2.2 และ ktB= 2.1 ถ ้ากําหนดให ้แผ่นเหล็กกล ้าดังกล่าวทํามาจากเหล็กกล ้าทีมีความต ้านแรงดึงคราก, sy = 350 MPa และแผ่นเหล็กกล ้านีมีความห
30 mm จงหาว่าแผ่นเหล็กกล ้านีจะรับแรงสถิต F สูงสุดได ้เท่ากับเท่าใด

1 : 126,606.57 N
2 : 238,636.36 N
3 : 333,636.57 N
4 : 538,785.48 N

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 118 :
แผ่นเหล็กกล ้าดังแสดงในรูปมีรเู จาะที A, รอยบากที B และลดขนาดที C ซึงจะเกิดความเค ้นหนาแน่นทีบริเวณดังกล่าว โดยจะมีคา่ ตัวประกอบความเค ้นหนาแน่นเนืองจ
แรงดึงทีบริเวณทัง 3 ทีดังนีคือ ktA = 2.2, ktB = 2.1 และ ktC = 1.8 ถ ้าเพิมแรงสถิต , F ไปเรือย ๆ จงพิจารณาว่าแผ่นเหล็กกล ้านีจะขาดทีไหนก่อน
ธิ

1 : A
สท

2 : B

3 : C
4 : A, B และ C
วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 29/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 119 :
ข ้อความใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : ความเสียหายเนืองจากความล ้า (Fatigue Failure) ของชินงานเกิดจากชินงานถูกแรง กระทําซํา (Repeated Load) หรือเปลียนแปลงไปตามเวลา (Fluctuating

กร
Load) ซึงทําให ้ ความเค ้นทีเกิดขึนซํา ๆ เป็ นจํานวนมากครังหรือหลายวัฏจักร (Cycle)
2 : ความเค ้นหนาแน่น (Stress Concentration) ทีเกิดจากการเปลียนแปลงพืนทีหน ้าตัดของ ชินงานไม่มผี ลต่อการเสียหายเนืองจากความล ้า

ิ ว
3 : ขีดจํากัดความทนทน (Endurance Limit) หรือขีดจํากัดความล ้า (Fatigue Limit) หมายถึงค่าความเค ้นสูงสุดทีกระทําซํากันสองทิศทาง (Reversed Stress) ต่อ

าวศ
ชิน ทดสอบผิวขัดมัน (Polished) ขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8 mm ทีจํานวนวัฎจักร นับไม่ถ ้วนโดยทีชินทดสอบไม่แตกหัก
4 : การออกแบบชินงานเพือป้ องกันการเสียหายเนืองจากความล ้าสามารถดําเนินการได ้ โดยใช ้เกณฑ์ของโซเดอร์เบอร์ก (Soderberg’s Criterion)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สภ

ข ้อที 120 :
ในการออกแบบสําหรับการแตกหักเนืองจากความล ้า ผิวของชินงานแบบใดจะทําให ้ชินงานรับการ แตกหักได ้ดีทสุ
ี ด
1 : ผิวเจียรนัย
2 : ผิวขัดมัน
3 : ผิวตัดกลึงหรือรีดเย็น
4 : ผิวรีดร ้อน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 121 :
ในการออกแบบสําหรับการแตกหักเนืองจากความล ้า ตัวประกอบการคํานวณใดทีมีคา่ เท่ากับ หรือ มากกว่า 1
1 : ตัวประกอบผิว
2 : ตัวประกอบของขนาด
3 : ตัวประกอบของแรง
4 : ตัวประกอบความเค ้นหนาแน่น

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 122 :
ในการทดสอบเพือหาค่าขีดจํากัดความล ้าของวัสดุ ชนิดของภาระทีใช ้เป็ นหลักในการทดสอบคือ อะไร
1 : การดึง
2 : การดัด
3 : การบิด
4 : การเฉือน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 123 :
ชือต่อไปนีชือใดทีไม่เกียวกับเกณฑ์การออกแบบการแตกหักเนืองจากความล ้า
1 : Saderberg
2 : Goodman
3 : Gerber
4 : Mohr

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 124 :
ี า่ sy = 280 MPa และ sx = 200 MPa
ถ ้าชินงานถูกกระทําด ้วยความเค ้นแบบไชนซอยคัลท์ มีความเค ้นส่วนเปลียน 20 MPa และมีความเค ้นเฉลีย 100 MPa ถ ้าวัสดุมค
โดยการใช ้เกณฑ์ของโซเดอร์เมอร์กค่าความปลอดภัยจะเป็ นเท่าใด
1 : 1.70
2 : 1.90
3 : 2.0
4 : 2.2

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ธิ
สท

ข ้อที 125 :

ในการออกแบบชินงานโดยเกณฑ์การแตกหักเนืองจากความล ้า ถ ้าชินงานต ้องการรับความเค ้น เปลียนแปลงจากค่าสูงสุด 120 MPa และตําสุด 80 MPa ค่าความเค ้นส่วน
เปลียน และ ค่าความเค ้น เฉลีย มีคา่ เท่าใด ตามลําดับ
วน

1 : 10 , 50 MPa
2 : 20 , 100 MPa
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 30/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


3 : 40 , 200 MPa

ขอ
4 : 200 , 40 MPa

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

กร
ิ ว
ข ้อที 126 :

าวศ
ข ้อความใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : ความเสียหายเนืองจากความล ้า (Fatigue Failure) ของชินงานเกิดจากชินงานถูกแรง กระทําซํา (Repeated Load) หรือเปลียนแปลงไปตามเวลา (Fluctuating
Load) ซึงทําให ้ ความเค ้นทีเกิดขึนซํา ๆ เป็ นจํานวนมากครังหรือหลายวัฏจักร (Cycle)
สภ
2 : ความเค ้นหนาแน่น (Stress Concentration) ทีเกิดจากการเปลียนแปลงพืนทีหน ้าตัดของ ชินงานมีผลต่อการเสียหายเนืองจากความล ้า ซึงมักจะเกิดการเสียหาย
ขึนก่อนทีบริเวณ นี
3 : ขีดจํากัดความทนทน (Endurance Limit) หรือขีดจํากัดความล ้า (Fatigue Limit) หมายถึงค่าความเค ้นสูงสุดทีกระทําซํากันสองทิศทาง (Reversed Stress) ต่อ
ชิน ทดสอบผิวขัดมัน (Polished) ขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8 mm ทีจํานวนวัฎจักร นับไม่ถ ้วนโดยทีชินทดสอบไม่แตกหัก
4 : การออกแบบชินงานเพือป้ องกันการเสียหายเนืองจากความล ้าสามารถดําเนินการได ้ โดยการออกแบบให ้ค่าของความเค ้นทีเกิดขึนในชินงานมีคา่ น ้อยกว่าค่าควา
ต ้านแรง ดึงครากของชินงาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 127 :
แผ่นเหล็กกล ้าเจาะรูดงั แสดงในรูปทํามาจากเหล็กกล ้าซึงมีคา่ ความต ้านแรงดึงคราก , sy = 210 MPa และค่าความต ้านแรงดึงสูงสุด, sy = 380 MPa ถูกกระทําด ้วยแร
ซึงเปลียนแปลงจาก 0 ถึง 20 kN ถ ้าผิดหน ้าของแผ่นเหล็กกล ้านีเป็ นแบบผิวเจียระไน จงหาความหนาของแผ่นเหล็กกล ้าโดยกําหนดให ้ใช ้ค่าความปลอดภัย, N=2

1 : 11 mm
2 : 14.21 mm
3 : 12.56 mm
4 : 9.56 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 128 :
แผ่นเหล็กกล ้าดังแสดงในรูปมีรเู จาะที A และรอยบากที B ซึงจะเกิดความเค ้นหนาแน่นทีบริเวณดังกล่าว โดยจะมีคา่ ประกอบความเค ้นหนาแน่นเนืองจากแรงดึงที A แล
B คือ ktA=2.2 และ ktB=2.1 ถ ้ากําหนดให ้แผ่นเหล็กกล ้าดังกล่าวทํามาจากเหล็กกล ้าซึงมีคา่ ความต ้านแรงดึงคราก, sy = 210 MPa และค่าความต ้านแรงดึงสูงสุด, s
= 380 MPa ถูกกระทําด ้วยแรง F ซึงเปลียนแปลงจาก 0 ถึง 20 kN ถ ้าผิวหน ้าของแผ่นเหล็กกล ้านีเป็ นแบบผิวเจียระไน จงหาความหนาของแผ่นเหล็กกล ้าโดยกําหนด
ใช ้ค่าความปลอดภัย, N = 2

1 : 10.87 mm
2 : 11.21 mm
3 : 11.78 mm
4 : 11.94 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ธิ

ข ้อที 129 :
สท

ข ้อใดถูกต ้องทีสุดถ ้าหากหน ้าตัดดังกล่าวนํ าไปใช ้เป็ นคาน



วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 31/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ
รูป ก. รูป ข.
1 : หน ้าตัดรูป ข. รับโมเมนต์ดด
ั ได ้มากกว่า รูป ก.
2 : หน ้าตัดรูป ก. แข็งแรงมากกว่า รูปตัด ข. เท่ากับ 4.21 เท่า
3 : หน ้าตัดรูป ก. แข็งแรงมากกว่า รูปตัด ข. เท่ากับ 3.2 เท่า
4 : หน ้าตัดรูป ก. แข็งแรงมากกว่า รูปตัด ข. เท่ากับ 2

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 307 : 4 Rivets, Welding

ข ้อที 130 :
รอยต่อเกยสองแถวยึดด ้วยหมุดยําขนาด 20 mm จํานวน 3 ตัว แผ่นโลหะหนา 10 mm กว ้าง 160 mm ถ ้าความเค ้นอัดทีใช ้ออกแบบมีคา่ 120 MPa แรงอัดหมุดยํากับ
โลหะมีคา่ สูงสุดเท่าไร
1 : 72.0 kN
2 : 92.5 kN
3 : 113.1 kN
4 : 226.2 kN

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 131 :
รอยต่อเกยสองแถวยึดด ้วยหมุดยําขนาด 20 mm จํานวน 3 ตัว แผ่นโลหะหนา 10 mm กว ้าง 160 mm ถ ้าความเค ้นดึงทีใช ้ออกแบบมีคา่ 60 MPa แรงดึงทีทําให ้แ
โลหะขาดมีคา่ เท่าไร
1 : 58.3 kN
2 : 72.0 kN
3 : 85.7 kN
4 : 92.5 kN

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 132 :
รอยต่อด ้วยหมุดยําทีต ้องการกันความดันรัวควรออกแบบรอยต่ออย่างไร
1 : ออกแบบโดยใช ้รอยต่อเกยแทนรอยต่อชน
2 : ออกแบบโดยใช ้รอยต่อชนแทนรอยต่อเกย
3 : ออกแบบโดยใช ้ปะเก็นกันรัวทีรอยต่อ
4 : ออกแบบโดยใช ้หมุดยําหลายแถว

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 133 :
การออกแบบรอยต่อชินงานด ้วยหมุดยําควรเป็ นรอยต่อลักษณะใด
1 : รอยต่อทีไม่สามารถยึดให ้ติดกันโดยใช ้สลักเกลียว
2 : รอยต่อทีไม่สามารถยึดให ้ติดกันโดยใช ้การเชือม
3 : รอยต่อทีสามารถยึดให ้ติดกันและถอดได ้เพือการเคลือนย ้าย
4 : รอยต่อทีอาจจะต ้องถอดได ้ในบางครัง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ธิ
สท

ข ้อที 134 :

ลวดเชือมไฟฟ้ า E60XX หมายความว่า


1:
วน

เป็ นลวดเชือมไฟฟ้ ามี Tensile strengths อย่างน ้อย 60 ksi โดยตัวเลข 2 ตัวสุดท ้ายแสดง รายละเอียดกระบวนการเชือม
2:
สง

เป็ นลวดเชือมไฟฟ้ ามี Tensile strengths ไม่เกิน 60 ksi โดยตัวเลข 2 ตัวสุดท ้ายแสดง รายละเอียดกระบวนการเชือม
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 32/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


3:

ขอ
เป็ นลวดเชือมไฟฟ้ ามี Yield strengths อย่างน ้อย 60 ksi โดยตัวเลข 2 ตัวสุดท ้ายแสดง รายละเอียดกระบวนการเชือม
4:
เป็ นลวดเชือมไฟฟ้ ามี Yield strengths ไม่เกิน 60 ksi โดยตัวเลข 2 ตัวสุดท ้ายแสดง รายละเอียดกระบวนการเชือม

กร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ิ ว
ข ้อที 135 : าวศ
แผ่นเหล็กมี Yield strengths เท่ากับ 425 MPa หนา 17 mm. จํานวน 2 แผ่น ถูกเชือมต่อเข ้าด ้วย กันแบบต่อชน (Butt-welded) และมีรอยเชือมยาว 90 mm. โดยใช ้
ลวดเชือม E70 series จงหา แรงดึงสูงสุดทีกระทํากับรอยเชือม กําหนดให ้ Safety factor เท่ากับ 3 , 1 ksi = 6.89 MPa และ ค่า Yield strengths น ้อยกว่า Tensile
สภ
strengths 12 ksi สําหรับลวดเชือม
1 : 204 kN
2 : 246 kN
3 : 611 kN
4 : 738 kN

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 136 :
แผ่นเหล็กมี Yield strengths เท่ากับ 52.5 ksi หนา 0.50 in จํานวน 2 แผ่น ถูกเชือมต่อเข ้าด ้วย กันแบบต่อชน (Butt-welded) โดยใช ้ลวดเชือม E60 series จงหาแรง
ทีกระทํากับแผ่น เหล็กต่อนิวของความกว ้างรอยเชือม กําหนดให ้ Safety factor เท่ากับ 3 และค่า Yield strengths น ้อยกว่า Tensile strengths 12 ksi สําหรับลวดเชื
1 : 8,000 lb
2 : 24,000 lb
3 : 8,750 lb
4 : 26,250 lb

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 137 :
จงหา Weld throat area ทีด ้านAB และ CD ของรอยเชือมแบบ Convex fillet weld โดย มี Leg length เท่ากับ 5 mm. ให ้ t = 0.707h

1 : 177 mm2
2 : 354 mm2
3 : 625 mm2
4 : 1250 mm2

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 138 :
จงหา Leg length ถ ้ารอยเชือมด ้าน AD และ BC ยาวด ้านละ 100 mm. กําหนดให ้ 1 ksi = 6.89 MPa, t = 0.707h, Ssy = 0.58 Sy, และค่า Yield strengths น ้อยกว
Tensile strengths 12 ksi สําหรับลวดเชือม
ธิ
สท

1 : 9 mm
2 : 16 mm

3 : 32 mm
วน

4 : 56 mm
สง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 33/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 139 :
จงคํานวณหาขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางของหมุดยํา ถ ้า F = 26,700

กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 8 mm
2 : 10 mm
3 : 11 mm
4 : 14 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 140 :
งานต่อยึดด ้วย Rivet ดังรูปเป็ นแบบต่อเกย (Lap connection) วิศวกรทําการวิเคราะห์ความแข็งแรงด ้วยแรงชนิดใด

1 : Shear load
2 : Tension load
3 : Bending load
4 : Compression load

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 141 :
ั มีไม่มากในการออกแบบมักนิยมใช ้อะไรมา พิจารณาอย่างเหมาะสม
เนืองจากระยะ Offset มีระยะเพียงเล็กน ้อยทําให ้ค่าโมเมนต์ดด

1 : Factor of Safety
2 : K factor
3 : Tension load factor
4 : Load factor

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 142 :
ในการพิจารณาค่าเฉลียความเค ้นเฉือนจากรูปนี จงเลือกสมการทีเหมาะสม
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 34/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 143 :
สําหรับมาตรฐานในการปฏิบต
ั ม
ิ ก
ั สมมุตใิ ห ้ Rivet ทังหมดร่วมกันรับภาระทีมากระทํา จงเลือกสมการทีเหมาะสม

1:

2:

3:
ธิ
สท

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
วน
สง

ข ้อที 144 :
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 35/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


เมือวิศวกรยอมปล่อยให ้แรงบางอย่างเกิดขึนกับตัวยึดเช่น Screw, Rivet มากเกินไปอาจทําให ้แรง Preload ลดลง ก่อนเวลา แรงนันคืออะไร

ขอ
1 : Vibration
2 : Impact
3 : Tensile

กร
4 : Shear

ิ ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

าวศ
ข ้อที 145 :
สภ
แนวฉีก (Shear tear out) ทีเกิดขึนดังในรูปนี ท่านเป็ นวิศวกรนักออกแบบสามารถควบคุมไม่ให ้เกิดได ้โดยกําหนดระยะห่างจากขอบทีเหมาะสม(a) โดยให ้ท่านเลือก
กําหนดความสัมพันธ์กบั ความโตของ Rivet

1 : 5t
2 : 5d
3 : >=d
4 : d

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 146 :
การเชือม (Welding) เป็ นกรรมวิธท ี ดจาการประยุกต์การหลอมละลายวัสดุมาใช ้กับการเชือมต่อวัสดุเข ้าด ้วยกันโดยใช ้ความร ้อนบริเวณทีจะต่อเข ้าด ้วยกันจนถึงจุด
ี เกิ
หลอมละลายโดยอาจจะเติมวัสดุชนิดเดียวกันลงไปในนํ าโลหะวัสดุหลัก(Parent material) ซึงการเชือมต ้องการการควบคุมสิงใดจึงจะทําให ้การเชือมต่อสมบูรณ์
1 : อัตราการเติมนํ าโลหะ
2 : การควบคุมอุณหภูม ิ
3 : การควบคุม Amp
4 : การควบคุม Volt

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 147 :
งานเชือมแบบ Arc Welding เป็ นทีนิยมใช ้ในอุตสาหกรรมเชือมโลหะทัวๆไปมีหลักการคือปล่อยให ้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านช่องอากาศ (Air gab) โดยตลอด ซึงเป็ นช่วง
ความต ้านทานสูงจึงทําให ้เกิดการอาร์คแบบเข ้มข ้น อุณหภูมบ
ิ ริเวณอาร์คจะประมาณเท่าใด

1 : 1200 ~ 1600
2 : 1600 ~ 2500
3 : 3000 ~ 5500
4 : 5500 ~ 6500

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 148 :
งานเชือมแบบ MIG (Metal Inert Gas) เป็ นทีนิยมใช ้กับงานผลิตเป็ นจํานวนมากเช่นงานอุตสาหกรรม เพราะหัวเชือมสามารถปล่อยลวดเชือมเพือเติมนํ าโลหะได ้อย่างต
ธิ

เนืองแต่การเชือม MIG ต ้องใช ้แก๊สเฉือยได ้แก่ ARGON และ CO2 ผสมกันด ้วยสัดส่วนเท่าใดมาใช ้คลุมบริเวณหลอมละลายแนวเชือม
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 36/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 25% Argon : 75% CO2


2 : 50% Argon : 50% CO2
3 : 75% Argon : 25% CO2
4 : 80% Argon : 20% CO2

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 149 :
การเชือแบบ TIG (Tungsten Inert Gas) นิยมใช ้กับงานทีมีลก ั ษณะบางเบา และเชือมต่อวัสดุไม่เหมือนกันเป็ นกรรมวิธท
ี ให
ี ้ความแข็งแรงสะอาดให ้ความแน่นอนและ
ควบคุมได ้ดีข ้อใดไม่ใช่กา๊ ซเฉือยทีใช ้ในการเชือมแบบ TIG เพือคลุมแนวเชือม

1 : CO2
2 : Argon
3 : Helium
4 : Hydrogen

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 150 :
Soldering และ Brazing เป็ นกรรมวิธรยึดต่อโลหะ 2 ชนิดเข ้าด ้วยกัน ไม่นย
ิ มเรียกกรรมวิธเี ชือม (Welding process) เพราะเหตุใด
1 : ไม่ทําให ้วัสดุหลัก ( Parent material ) หลอมละลาย
2 : ให ้ความแข็งแรงแนวเชือมสูงมาก
3 : ใช ้ความร ้อนสูงมาก
4 : ใช ้วัสดุทแข็
ี งมาเติมแนวเชือม

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 151 :
มาตรฐานทีใช ้ในการกําหนดเพือออกแบบเช่น AWS ดังรูปวิศกรต ้องการออกแบบงานเชือมควรเลือกพิจารณาจุดใดเป็ นหลัก
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 37/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : Yield strength ควรมีคา่ น ้อยกว่า 70 ksi จะใหความแข็งแรงดี


2 : Electrode ไม่จําเป็ นต ้องคุมความชืน
3 : ใช ้ท่าเชือมใดๆก็ได ้ในการเชือม
4 : ใช ้กรรมวิธเี ชือมใดๆ ก็ได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 152 :
ความเค ้นตกค ้าง (Residual stress)ในเนืองานเชือม สามารถเกิดได ้จากหลายสาเหตุเช่นระหว่างกําลังเชือมให ้ความร ้อนและความเย็นไม่สมําเสมอ การเชือมไม่ต ้อเนื
ี ว่ นผสมของ carbon ไม่แน่นอน เป็ นต ้น ความเค ้นตกค ้างนีทําให ้อายุงานทนความล ้าตัวได ้สันลงและมีสว่ นทําให ้ชินส่วนเสียหายได ้ง่าย วิศวกรสามารถ
เนือวัสดุมส
ความเค ้นตกค ้างออกจากแนวเชือมได ้อย่างไร
1 : Annealing
2 : Aging
3 : Tempering
4 : Heat treatment

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 153 :
ใช ้เกณฑ์อะไรมาใช ้ในการออกแบบงานเชือม

1 : ความเค ้นออกแบบควรเท่ากับหรือมากกว่าความเค ้นใช ้งาน

2:
ั พันธ์กบ
3 : ความเค ้นทีเกิดขึนในแนวเชือมไม่สม ั ค่า Factor of safety
4 : งานเชือมแบบ Butt weld ควรใช ้ค่า Factor of safety มากกว่าแนวเชือมแบบอืน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 154 :
แรงเฉือนในแนวเชือมแบบต่อเกย (Fillet) วิศวกรพิจารณาค่าพืนที (A) ดังในรูปมาใช ้คํานวณความเค ้นเฉือนได ้อย่างไร
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 38/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
1:

กร
2:

ิ ว
3:

4:
าวศ
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 155 :
วิศกรทํางานการออกแบบงานเชือมต ้องการพิจารณาชินงานในรูปทนต่อแรงดึง (Shear load) ได ้เท่าไร

1 : Design Stress ให ้พิจารณาเท่ากับ Working Stress

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 156 :
แรงดัด (Bending) ทีเกิดขึนจากการต่อวัสดุแบบเกย (Lap connection) ทําให ้เกิดโมเม ้นต์ดด
ั (Bending Moment) ตามแนวทีต่อเกยจะมีคา่ ประมาณเท่าใด

1 : M = F.t/2
2 : M = F.r
3 : M = t.r
4 : M = F.t

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 157 :
ธิ

จากสมการนี ในส่วนของ Rivet จะขาดจากกันด ้วยแรงเฉือนตามแนว Shear plan จงบอกความสัมพันธ์สมการนี


สท

วน

1 : พืนทีหน ้าตัดของ Rivet นํ าไปในการคํานวณ Shear stress


สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 39/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


2 : เมือพิจารณา Contact area ดังนันจึงควรนํ าพืนทีหน ้าตัดเฉลียมาใช ้คํานวณหา Average shear stress

ขอ
3 : แนว Shear plan เป็ นแนวทีแรง F กระทําผ่านควรคํานึงถึงระยะ Offset ประกอบการคํานวณ
4 : เนืองจากไม่สามารถใช ้ค่าทีแน่นอนของพืนทีหน ้าตัดของ Rivet และแรงเฉือนได ้แท ้จริงจึงใช ้ค่าเฉลียความเค ้นเฉือน Average shear stress

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

กร
ิ ว
ข ้อที 158 :
าวศ
แรงสิตย์ F มีขนาดเท่ากับ 24 kN กระทํากับแบรกเก็ต (Bracket) ทีต่อยึดติดกับเสาเหล็กด ้วยหมุดยําจํานวน 3 ตัว ดังแสดงในรูปกําหนดให ้หมุดยําทําจากเหล็กกล ้าซึง
ค่า และให ้ใช ้ค่าความปลอดภัย N = 3 ถ ้าหากแรงสถิต F เพิมขึนไปเรือยๆ จงหาว่าหมุดยําตัวไหนจะขาดก่อน
สภ

1 : A
2 : B
3 : C
4 : A และ B

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 159 :
เหล็กกล ้าแผ่นรูปสีเหลียมผืนผ ้าต่อยึดติดกับเหล็กกล ้ารูปตัว C ด ้วยหมุดยําขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 21 mm. จํานวน 4 ตัว ดังแสดงในรูป โดยมีระยะ AB = CD
120 mm และมี ระยะ BC = DA = 150 mm รับแรงสถิต F = 16 kN หมุดยําซึงทําจากเหล็กกล ้าซึงมีคา่ ความด ้านแรงดึงคราก sy 3172 N/mm2 และใช ้ค่าความ
ปลอดภัย , N = 3 ถ ้าหากแรงสถิต F เพิมขึนไปเรือยๆ จงหาว่าหมุดยําตัวไหนจะขาดก่อน

1 : A และ B

2:
B และ C

3 : C และ D
4 : A และ D

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 160 :
การยึดชินงานด ้สวยการต่อเกยด ้วยหมุดยําแบบหนึงแถวดังแสดงในรูป ใช ้หมุดยําขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 20 mm จํานวน 3 ตัว แผ่นชินงาน, t = 25 mm มีค
กว ้าง w = 130 mm ถ ้ากําหนดให ้ค่าความเค ้นออกแบบเป็ นดังนี ความเค ้นดึง (Tensile Stress) std = 140 N/mm2 ความเค ้นกดและความเค ้นอัด (Compressive a
Bearing Syresses) scd = 110 N/mm2 และ ความเค ้นเฉือน (Shear Stress) td = 60 N/mm2 จงหาแรงเฉือนรวมทีทําให ้หมุดยําทุกตัวขาด
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 40/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ
1 : 40 kN
2 : 42 kN
3 : 45 kN
4 : 56.5 kN

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 161 :
การยึดชินงานด ้วยการต่อเกยด ้วยหมุดยําแบบหนึงแถวดังแสดงในรูป ใช ้หมุดยําขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 20 mm จํานวน 3 ตัว แผ่นชินงานหนา, t=25 mm
ความกว ้าง w = 130 mm ถ ้ากําหนดให ้ค่าความเค ้นออกแบบเป็ นดังนี ความเค ้นดึง (Tensile Stress) std = 140 N/mm2 ความเค ้นกดและความเค ้นอัด (Compress
and Bearing Stresses) scd = 110 N/mm2 และ ความเค ้นเฉือน (Shear Stress) td = 60 N/mm2 จงหาแรงอัดรวม (Bearing Force) ระหว่างหมุดยําอัดกับแผ่น
งานทุกตัว

1 : 140 kN
2 : 145 kN
3 : 165 kN
4 : 200 kN

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 162 :
รอยต่อเกยประกอบด ้วยหมุดยําขนาด 25 mm 3 ตัว แผ่นโลหะหนา t=12.5 mm กว ้าง b=175 mm ค่าความเค ้นออกแบบ คือ ความเค ้นดึง std = 70 N/mm2 ,
ความเค ้นกด scd = 140 N/mm2, ความเค ้นเฉือน td = 60 N/mm2 ถ ้าแรงตําทีสุดทีทําให ้สียหายคือ 88,357 N ประสิทธิภาพของรอยต่อเป็ นเท่าใด

1 : 48.15%
2 : 57.70%
3 : 60.08%
4 : 70.28%

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ธิ

ข ้อที 163 :
สท

รอยต่อเกยประกอบด ้วยหมุดยําขนาด 25 mm 3 ตัว แผ่นโลหะหนา t = 12.5 mm กว ้าง b = 175 mm ค่าความเค ้นออกแบบ คือ ความเค ้นดึง std = 70 N/mm2 ,

ความเค ้นกด scd = 140 N/mm2 , ความเค ้นเฉือน td = 60 N/mm2 แรงอัดหมุดยําแถวนอก 2 ตัว และแรงเฉือนหมุดยําแถวใน 1 ตัวเป็ นเท่าใด
วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 41/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ
1 : 126,512 N
2 : 116,952 N
3 : 133,878 N
4 : 141,752 N

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 164 :
รอยต่อเกยประกอบด ้วยหมุดยําขนาด 25 mm 3 ตัว แผ่นโลหะหนา t = 12.5 mm กว ้าง b = 175 mm ค่าความเค ้นออกแบบ คือ ความเค ้นดึง std = 70 N/mm2 ,
ความเค ้นกด scd = 140 N/mm2 , ความเค ้นเฉือน td = 60 N/mm2 แรงเฉือนหมุดยําขาดทุกตัวเท่ากับเท่าใด

1 : 77,358 N
2 : 88,357 N
3 : 89,513 N
4 : 98,315 N

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 165 :
รอยต่อเกยประกอบด ้วยหมุดยําขนาด 25 mm 3 ตัว แผ่นโลหะหนา t = 12.5 mm กว ้าง b = 175 mm ค่าความเค ้นออกแบบ คือ ความเค ้นดึง std = 70 N/mm2 ,
ความเค ้นกด scd = 140 N/mm2 , ความเค ้นเฉือน td = 60 N/mm2 แรงเฉือนหมุดยําแถวนอก 2 ตัว และ แรงอัดหมุดยําแถวใน 1 ตัว เป็ นเท่าใด

1 : 102,654 N
2 : 120,546 N
3 : 103,748 N
4 : 130,487 N

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ธิ
สท

ข ้อที 166 :
วน

รอยต่อเกยประกอบด ้วยหมุดยําขนาด 25 mm 3 ตัว แผ่นโลหะหนา t = 12.5 mm กว ้าง b = 175 mm ค่าความเค ้นออกแบบ คือ ความเค ้นดึง std = 70 N/mm2 ,
ความเค ้นกด scd = 140 N/mm2 , ความเค ้นเฉือน td = 60 N/mm2 แรงดึงแผ่นโลหะแผ่นล่างขาดตรงหมุดยําแถวนอกเป็ นเท่าใด
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 42/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 190,575 N
2 : 109,375 N
3 : 180,175 N
4 : 170,735 N

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 167 :
รอยต่อเกยประกอบด ้วยหมุดยําขนาด 25 mm 3 ตัว โลหะหนา t = 12.5 mm กว ้าง b = 175 mm ค่าความเค ้นออกแบบ คือ ความเค ้นดึง std = 70 N/mm2 ,ความเค
กด scd = 140 N/mm2 ความเค ้นเฉือน td = 60 N/mm2 แรงอัดหมุดยํากับแผ่นโลหะทีทําให ้เสียหายเท่ากับเท่าใด

1 : 131,250 N
2 : 121,350 N
3 : 111,250 N
4 : 131,520 N

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 168 :
รอยเชือมใช ้ลวดไฟฟ้ าทีมีความต ้านแรงดึงคราก 396 N/mm2 ต ้องการใช ้รอยเชือม ขนาด 9 mm ให ้รับแรง 40 kN โดยใช ้ค่าความปลอดภัย N = 2 ความยาวของรอย
เชือมเป็ นเท่าใด

1 : 26.9 mm
2 : 27.7 mm
3 : 28.4 mm
4 : 29.5 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ธิ
สท

ข ้อที 169 :
รอยเชือมใช ้ลวดไฟฟ้ าทีมีความต ้านแรงดึงคราก 396 N/mm2 ต ้องการใช ้รอยเชือม ขนาด 9 mm ให ้รับแรง 40 kN โดยใช ้ค่าความปลอดภัย N = 2 ความยาวของรอย
วน

เชือมเป็ นเท่าใด
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 43/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 23.5 mm
2 : 24.1 mm

3 : 24.9 mm

4 : 25.3 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 170 :
รอยเชือมใช ้ลวดไฟฟ้ าทีมีความด ้านแรงดึงคราก 396 N/mm2 ต ้องการใช ้รอยเชือมขนาด 9 mm ให ้รับแรง 40 kN โดยใช ้ค่าความปลอดภัย N = 2 ความยาวของรอย
เชือมเป็ นเท่าใด

1 : 28.4 mm
2 : 29.1 mm
3 : 26.7 mm
4 : 25.2 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 171 :
การยึดชินงานด ้วยการต่อเกยด ้วยหมุดยําแบบหนึงแถวดังแสดงในรูปใช ้หมุดยําขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 20 mm จํานวน 2 ตัว แผ่นชินงานหนา, t = 25 mm
ความกว ้าง w = 130 mm ถ ้ากําหนดให ้ค่าความเค ้นออกแบบเป็ นดังนี ความเค ้นดึง (Tensile Stress) std = 140 N/mm2 ความเค ้นกด และความเค ้นอัด (Compress
and Bearing Stress) scd = 110 N/mm2 และ ความเค ้นเฉือน (Shear Stress) td = 60 N/mm2 จงหาแรงเฉือนรวมทีทําให ้หมุดยําทุกตัวขาด
ธิ
สท

1 : 30.25 kN

2 : 33.47 kN
วน

3 : 37.70 kN
4 : 56.5 kN
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 44/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ขอ
ข ้อที 172 :

กร
การยึดชินงานด ้วยการต่อเกยด ้วยหมุดยําแบบหนึงแถวดังแสดงในรูปใช ้หมุดยําขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 20 mm จํานวน 2 ตัว แผ่นชินงานหนา, t = 25 mm
ความกว ้าง w = 130 mm ถ ้ากําหนดให ้ค่าความเค ้นออกแบบเป็ นดังนี ความเค ้นดึง (Tensile Stress) std = 140 N/mm2 ความเค ้นกด และความเค ้นอัด (Compress

ิ ว
and Bearing Stress) scd = 110 N/mm2 และ ความเค ้นเฉือน (Shear Stress) td = 60 N/mm2 จงหาแรงอัดรวม (Bearing Force) ระหว่างหมุดยําอัดกับแผ่นชินง
ทุกตัว าวศ
สภ

1 : 102 kN

2 : 110 kN

3 : 165 kN
4 : 200 kN

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 173 :
แรงสถิต F มีขนาดเท่ากับ 24 kN กระทํากับแบรกเก็ต (Bracket) ทีต่อยึดกับเสาเหล็กด ้วยหมุดยําจํานวน 4 ตัวดังแสดงในรูป กําหนดให ้หมุดยําทําจากเหล็กกล ้าซึงมีค
sy = 317.2 N/mm2 และให ้ใช ้ค่าความปลอดภัย , N = 3 ถ ้าหากแรงสถิต F เพิมขึนไปเรือยๆ จงหาว่าหมุดยําตัวไหนจะขาดก่อน

1 : A และ C

2 : A และ B

3 : A และ D

4 : B และ D

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 174 :
เหล็กกล ้าแผ่นยึดติดกันด ้วยหมุดยําขนาดเท่ากัน 3 ตัว ดังแสดงในรูปหมุดยําแต่ละตัวมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 19 mm และหมุดยําทํามาจากเหล็กกล ้าซึงมีคา่
sy = 317.2 N/mm2 ถ ้ากําหนดให ้ใช ้ค่าความปลอดภัย , N = 3 ถ ้าหากแรงสถิตย์ F เพิมขึนไปเรือยๆ จงหาว่าหมุดยําตัวไหนจะขาดก่อน
ธิ
สท

วน

1:A
2:B
3:C
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 45/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


4 : B และ C

ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

กร
เนือหาวิชา : 308 : 5 Screw fasteners, Power screws

ิ ว
ข ้อที 175 : าวศ
โจทย์ การกําหนดตําแหน่งการยึดด ้วยสลักเกลียวมีความสําคัญมากในการออกแบบ ในขณะทีชินงานซึงยึดด ้วยสลักเกลียวรับภาระ ควรออกแบบให ้สลักเกลียวรับแรงชนิ
ใด
สภ
1 : แรงดัดและแรงเฉือน
2 : แรงเฉือนและแรงบิด
3 : แรงดึงและแรงเฉือน
4 : แรงเฉือนและแรงกด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 176 :
ท่านมีหลักการอย่างไรในการเลือกใช ้วิธก
ี ารยึดโดยใช ้ สลักเกลียวสตัด (stud bolts)
1 : ใช ้กับรอยต่อทีรับแรงเปลียนแปลง
2 : ใช ้กับรอยต่อทีต ้องการให ้ถอดได ้
3 : ใช ้เมือไม่สามารถสอดสลักเกลียว (bolt) ผ่านชินงาน
4 : ใช ้เมือไม่สามารถยึดโดยใช ้สลักเกลียวและแป้ นเกลียว

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 177 :
ท่านมีหลักการอย่างไรในการเลือกใช ้วิธก
ี ารยึดโดยใช ้ สลักเกลียวและแป้ นเกลียว (bolts and nuts)
1 : บริเวณทีหมุนหัวของสลักเกลียวและแป้ นเกลียวได ้สะดวก
2 : บริเวณรอยต่อด ้วยหน ้าแปลน
3 : บริเวณรอยต่อทีต ้องการให ้ถอดได ้
4 : บริเวณทีไม่สามารถใช ้การยึดด ้วยวิธอ
ี น

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 178 :
ท่านมีหลักการอย่างไรในการเลือกใช ้วิธก
ี ารยึดโดยใช ้ หมุดเกลียว (cap screws)
1 : ใช ้กับรอยต่อทีขันแป้ นเกลียว (nut) ไม่ได ้
2 : ใช ้กับรอยต่อทีไม่มกี ารถอดบ่อยนัก
3 : ใช ้กับรอยต่อทีต ้องใช ้เกลียวยาวมาก
4 : ใช ้กับรอยต่อทีมีการถอดบ่อย

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 179 :
M12 x 1.75 หมายความว่า
1 : เป็ นเกลียวเมตริกมีเส ้นผ่านศูนย์กลางหลัก (Major diameter) เท่ากับ 12 mm. และพิตซ์ (Pitch) เท่ากับ 1.75 mm
2 : เป็ นเกลียวเมตริกมีเส ้นผ่านศูนย์กลางรอง (Minor diameter) เท่ากับ 12 mm. และพิตซ์ (Pitch) เท่ากับ 1.75 mm.
3 : เป็ นเกลียวเมตริกมีเส ้นผ่านศูนย์กลางเฉลีย (Mean diameter) เท่ากับ 12 mm. และพิตซ์ (Pitch) เท่ากับ 1.75 mm.
4 : เป็ นเกลียวเมตริกมี lead เท่ากับ 12 mm. และพิตซ์ (Pitch) เท่ากับ 1.75 mm.

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 180 :
เกลียวแบบไหนทีนํ าไปใช ้ในการส่งถ่ายกําลัง
1 : เกลียวเมตริก
2 : เกลียวอเมริกน

ธิ

3 : เกลียวแอคเม
สท

4 : เกลียว UNR

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 46/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 181 :
ชินส่วนเครืองกลชนิดไหนทีใช ้ในเครืองจักรกลเพือเปลียนการเคลือนทีเชิงมุมเป็ นการ เคลือนทีเชิงเส ้น หรือเพือส่งถ่ายกําลัง
1 : สกรู

กร
2 : สกรูสง่ กําลัง
3 : เพลา

ิ ว
4 : เฟื องบรรทัดและเฟื องสะพาน

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สภ
ข ้อที 182 :
ประสิทธิภาพของสกรูสง่ กําลังขึนอยูก
่ บ

1 : สัมประสิทธิความเสียดทานระหว่างนั ตกับเกลียวและมุมฮีลก ิ ซ์ (Helix angle)
2 : สัมประสิทธิความเสียดทานระหว่างนัตกับเกลียวและมุมความเสียดทาน (Friction angle)
3 : สัมประสิทธิความเสียดทานระหว่าง Thrust collar กับ Support และมุมฮีลกิ ซ์ (Helix angle)
4 : สัมประสิทธิความเสียดทานระหว่าง Thrust collar กับ Support และมุมความเสียดทาน (Friction angle)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 183 :
การยึดชินงานให ้ติดกันด ้วยเกลียว มีแรงสองชนิดทีรอยต่อซึงทําให ้มีผลตรงกันข ้าม แรงเหล่านันคือแรงอะไร
1 : แรงดึงขันต ้นและแรงยึดรอยต่อ
2 : แรงทีทําให ้รอยต่อหลวมและแรงเสียดทาน
3 : แรงดึงขันต ้นและแรงทีทําให ้เกลียวคลายตัว
4 : แรงต ้านทานการคลายตัวและแรงเสียดทาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 184 :
อุปกรณ์ล็อกไม่ให ้แป้ นเกลียวคลายตัวใช ้หลักการอะไร
1 : การดึงทีเกลียว
2 : การกดทีเกลียว
3 : การกันหมุนทีเกลียว
4 : ความเสียดทานทีเกลียว

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 185 :
เกลียวสกรูมาตรฐานระบบอเมริกน
ั ระบุ 12-28 UNF ตัวเลข 28 หมายถึง
1 : ขนาดของเกลียว
2 : จํานวนเกลียวต่อนิว
3 : เกลียวหยาบ
4 : เกลียวละเอียด

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 186 :
ข ้อใดเป็ นการกําหนดเกลียวสกรูระบบเมตริกถูกต ้อง
1 : M 1.5 - 10
2 : M 10 - 1.5
3 : M 1.5 x 10
4 : M 10 x 1.5

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 187 :
ชินส่วนทียึดติดกันด ้วยสกรู การให ้ค่า Preload จะมีประโยชน์อย่างไรกับชินส่วนทีเรายึดเข ้าด ้วยกัน
ธิ

1 : ช่วยทําให ้เพิมแรงต ้านทานการยึด (Friction force)


สท

2 : ช่วยทําให ้เพิมความแข็งแรงตัวยึด

3 : ช่วยทําให ้ยืดอายุการใช ้งานสกรู


วน

4 : ช่วยเพิมค่าปลอดภัยให ้กับตัวยึด

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 47/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 188 :
Friction force ทีเกิดจากการ Preload มีประโยชน์ในการยืดอายุตวั ยึดของงานต่อกัน (Connction) แต่วศ
ิ วกรนัก ออกแบบเครืองจักรกลไม่กําหนด Preload ไว ้ในการ
ออกแบบมักใช ้ในทางปฏิบต ั ิ และเขาใช ้อะไรช่วยออกแบบ

กร
1 : ใช ้คํานวณแรงเฉือน (Shear force) ช่วยในการออกแบบ
2 : ใช ้คํานวณแรงดึง (Tensile force) ช่วยในการออกแบบ

ิ ว
3 : ใช ้คํานวณแรงดัด (Bending force) ช่วยในการออกแบบ
4 :
าวศ
ใช ้คํานวณแรงบิด (Torsion force) ช่วยในการออกแบบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สภ

ข ้อที 189 :
ภาระ (Load, P) ดังรูปซึงวางอยูใ่ นแนว Shear plan ในสภาวะทํางานจะเกิดภาระชนิดหนึงขึนเรามักเรียก ภาระแบบนีว่าอะไร

1 : Compress load
2 : Eccentric load
3 : Steady load
4 : Bending load

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 190 :
มอเตอร์มน ี ํ าหนัก (P) กระทําลงบนคานรองรับดังรูป โดยทีคานมีตวี ยึด (Fasteners) ช่วยยึดไว ้ให ้ทรงตัวอยูไ่ ด ้ อย่างสมดุล ต ้องการทราบว่าภาระ (Load) ชนิดใดที ช่ว
ต ้านให ้สมดุล

1 : Eccentric loads
2 : Equivalent loads
3 : Reverse loads
4 : Reaction loads

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 191 :
แรงต ้านสมดุลทีอยูใ่ นตัวยึด (Fastener) แต่ละตัว จะสมมติให ้อยูใ่ นรูปสัดส่วนกลับ (Inverse proportional) ของระยะระหว่าง c.g (Center of gravity)ของกลุม
่ ตัวยึด ต ้องการ
ทราบแรง มีขนาดเท่าใด
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 48/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 192 :
วิศวกรออกแบบมักกําหนดขนาด(Diameter) ตัวยึด(Fastener) ให ้มีขนาดเท่าๆ กัน ดังนันในการคํานวณความแข็งแรงจึง พิจารณาเลือกผลลัพธ์ชนิดใดมาใช ้

1 : Minimum resultant
2 : Maximum resultant
3 : Average resultant
4 : Oposite resultant

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 193 :
รูปบิดเบียวทีเกิดกับงานยึดติดกันด ้วยสกรูดงั รูป เกิดอาการเปลียนรูปโค ้งงอจากแรงโค ้งงอ (Prying force) จาก F.B.D.นีจงหา fa
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 49/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
1:

ิ ว
2:
าวศ
สภ

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 194 :
จากสูตรคํานวณความความเค ้นเสียหาย (Tensile failure) ของแผ่นทียึดต่อด ้วยตัวยึด (Fasteners) ใช ้สมการดังใน รูปได ้ แต่ในการออกแบบจะต ้องใช ้ค่า Str
concentration factor ด ้วยเนืองจากอาจเกิดความล ้าตัว (Fatigue) ในขณะใช ้งานซึงทําให ้ปรากฏการยืดฉีกบริเวณแนว รอบๆ รูเจาะได ้ ดังนันสูตรคํานวณในการออกแ
ทีเหมาะสมคือ

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 195 :
ื รับความดันเท่ากับ 210 x 103 mm2 ใช ้สลักเกลียวขนาด M20 จํานวน 10 ตัว ยึดฝาภาชนะความดัน ความแข็งตึงของชินงานเป็ น 4 เท่าขอ
ฝาปิ ดภาชนะความดันมีพนที
สลักเกลียว (k4 = 4kb) ความดันภายในถังเท่ากับ 1.5 MPa จงหาว่าแรงบิดทีต ้องใช ้ขันสลักเกลียว จะมีคา่ น ้อยทีสุดเท่าใดจึงจะทําให ้ภาชนะความดันสามารถรับความด
ได ้ตามกําหนดพอดี
1 : 95.2 Nm.
2 : 98.7 Nm.
3 : 99.8 Nm.
4 : 100.8 Nm.

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ธิ
สท

ข ้อที 196 :
วน

ื รับ ความเค ้น As = 353 mm2) ดังแสดงในรูปมีแรงดึงชันต ้นของสลักเกลียว Ft


การต่อยึดชินงานด ้วยสลักเกลียวขนาด M24 (จากตารางเกลียวมาตรฐานจะมีพนที
68,000 N มีคา่ ความแข็งตึงของสลักเกลียว kb = 1,461 x 103 N/mm และมีคา่ ความแข็งตึงของชินงาน kc = 3,450.63 x 103 N/mm ถ ้ารอยต่อของชินงานนีรับ
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 50/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ภายนอก ke = 22,240 N จงคํานวณหาความเค ้นรวมในสลักเกลียว

ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 189.27 N/mm2
2 : 211.38 N/mm2
3 : 243.58 N/mm2
4 : 320.51 N/mm2

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 197 :
ื รับความเค ้น As= 58.0 mm2) ด ้วยแรงบิดเท่ากับ 20 Nm ถ ้ากําหนดให ้สลักเกลียวทีใช ้
ใช ้ประแจทอร์กขันสลักเกลียวขนาด M10 (จากตารางเกลียวมาตรฐานจะมีพนที
เป็ นแบบไม่มก
ี ารหล่อลืน (สัมประสิทธิของทอร์กสําหรับสลักเกลียวทีไม่มก
ี ารหล่อลืน, C = 0.2 ) จะเกิดความเค ้นดึงในเกลียวเท่าใด
1 : 100.4 N/mm2
2 : 155.4 N/mm2
3 : 172.4 N/mm2
4 : 182.4 N/mm2

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 198 :
ื รับความเค ้น As = 353 mm2) ดังแสดงในรูปชินงานทําด ้วยอะลูมเิ นียมซึงมีคา่ Ec =
การต่อยึดชินงานด ้วยสลักเกลียวขนาด M24 (จากตารางเกลียวมาตรฐานจะมีพนที
71(10)3 MPa และสลักเกลียวทําจากเหล็กกล ้าซึงมีคา่ Eb = 207(10)3 MPa สลักเกลียวนีไม่มก
ี ารหล่อลืน (สัมประสิทธิของทอร์กสําหรับสลักเกลียวทีไม่มก
ี ารหล่อลืน
C = 0.2) ถ ้าใช ้ทอร์กขันแป้ นเกลียวด ้วยขนาด 340 Nm จงหา
a) แรงดึงชันต ้นของสลักเกลียว
b) ส่วนยึดของสลักเกลียว

1 : 57,000 N และ 0.0465 mm


2 : 79,000 N และ 0.0465 mm
3 : 68,000 N และ 0.0335 mm
4 : 68,000 N และ 0.0465 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ธิ
สท

ข ้อที 199 :
คุณสมบัตต ิ อ่ ไปนีไม่ใช่คณ
ุ สมบัตข
ิ องการยึดด ้วยสลักเกลียว

1 : ราคาถูก
วน

2 : มีมาตรฐาน
3 : มีความหนาแน่นตํา
สง

4 : ถอดประกอบได ้

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 51/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

กร
ข ้อที 200 :
ิ มใช ้ทําสกรูสง่ กําลัง
ชนิดของเกลียวชนิดใดทีไม่นย

ิ ว
1 : เกลียวสีเหลียม
2
3
:
: าวศ
เกลียวแอคมิ
เกลียวบัตเตรส
4 : เกลียวละเอียด
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 201 :
ู น์ 540 N/mm2 ค่าความปลอดภัย N=5 สลักเกลียวจะมีพนที
เครืองกําเนิดไฟฟ้ าหนัก 15 kN มีหว่ งสลักเกลียวติดไว ้เพือใช ้ยกถ ้าใช ้สลักเกลียวทีมีความเค ้นพิสจ ื หน ้าตัด
เท่าไร
1 : 132.15 mm2
2 : 138.89 mm2
3 : 141.98 mm2
4 : 142.12 mm2

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 202 :
ในการออกแบบสกรูสง่ กําลัง ค่ามุมฮีลก
ิ ซ์ มีผลต่างประสิทธิภาพของสกรูดงั นี
1 : เมือมุมฮีลก
ิ ซ์มค ี า่ เพิมขึนประสิทธิภาพของสกรูเพิมขึน
2 : เมือมุมฮีลกิ ซ์มค ี า่ เพิมขึนประสิทธิภาพของสกรูลดลง
3 : เมือมุมฮีลก ิ ซ์มค ี า่ เพิมขึนประสิทธิภาพของสกรูเพิมขึนแล ้วลดลง
4 : เมือมุมฮีลก ิ ซ์มค ี า่ เพิมขึนประสิทธิภาพของสกรูลดลงแล ้วเพิมขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 203 :
ใช ้ประแจทอร์กขันสลักเกลียวขนาด M10 (จากตารางเกลียวมาตรฐานจะมีพนที ื รับความเค ้น As= 58.0 mm2) ด ้วยแรงบิดเท่ากับ 20 Nm ถ ้ากําหนดให ้สลักเกลียวทีใช ้
เป็ นแบบไม่มกี ารหล่อลืน (สัมประสิทธิของทอร์กสําหรับสลักเกลียวทีไม่มก
ี ารหล่อลืน, C = 0.2 ) จะเกิดความเค ้นดึงในเกลียวเท่าใด
1 : 100.4 N/mm2
2 : 155.4 N/mm2
3 : 172.4 N/mm2
4 : 182.4 N/mm2

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 204 :
ื รับความเค ้น As= 36.6 mm2) ด ้วยแรงบิดเท่ากับ 20 Nm ถ ้ากําหนดให ้สลักเกลียวทีใช ้เป็
ใช ้ประแจทอร์กขันสลักเกลียวขนาด M8 (จากตารางเกลียวมาตรฐานจะมีพนที
แบบไม่มก
ี ารหล่อลืน (สัมประสิทธิของทอร์กสําหรับสลักเกลียวทีไม่มก
ี ารหล่อลืน, C = 0.2 ) จะเกิดความเค ้นดึงในเกลียวเท่าใด
1 : 100.4 N/mm2
2 : 155.4 N/mm2
3 : 172.4 N/mm2
4 : 341.53 N/mm2

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 205 :
ื รับความดันเท่ากับ 210 x 103 mm2 ใช ้สลักเกลียวขนาด M20 จํานวน 10 ตัวยึดฝาภาชนะความดัน ความแข็งตึงของชินงานเป็ น 4 เท่าขอ
ฝาปิ ดภาชนะความดันมีพนที
ธิ

สลักเกลียว (kc = 4kb) ความดันภายในถังเท่ากับ 1.5 MPa จงหาว่าแรงบิดทีต ้องใช ้ขันสลักเกลียวจะมีคา่ น ้อยทีสุดเท่าใดจึงจะทําให ้ภาชนะความดันสามารถรับความดั
สท

ได ้ตามกําหนดพอดี

1 : 95.2 Nm.
วน

2 : 98.7 Nm.
3 : 99.8 Nm.
4 : 100.8 Nm.
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 52/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

กร
ข ้อที 206 :
ื รับความดันเท่ากับ 210 x 103 mm2 ใช ้สลักเกลียวขนาด M20 จํานวน 10 ตัวยึดฝาภาชนะความดัน ความแข็งตึงของชินงานเป็ น 4 เท่าขอ
ฝาปิ ดภาชนะความดันมีพนที

ิ ว
สลักเกลียว (kc = 4kb) ความดันภายในถังเท่ากับ 1.5 MPa จงหาว่าแรงดึงทังหมดบนสลักเกลียว

1
2
:
:
าวศ
29.8 kN
29.95 kN
3 : 31.5 kN
สภ
4 : 32.38 kN

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 207 :
ื รับความเค ้น As = 353 mm2) ดังแสดงในรูปมีแรงดึงชันต ้นของสลักเกลียว Fi =
การต่อยึดชินงานด ้วยสลักเกลียวขนาด M24 (จากตารางเกลียวมาตรฐานจะมีพนที
68,000 N มีคา่ ความแข็งตึงของสลักเกลียว Kb = 3,450.63 x 103 N/mm ถ ้ารอยต่อของชินงานนีรับแรงภายนอก Fe = 22,240 N จงคํานวณหาแรงกดรวมบนชินงาน

1 : 35,478.42 N
2 : 45,482.89 N
3 : 52,376.79 N
4 : 65,782.68 N

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 309 : 6 Shafts, Keys and Pins

ข ้อที 208 :
การออกแบบเพลาให ้สามารถทํางานได ้นัน นอกจากต ้องรับแรงกระทําได ้แล ้ว ยังต ้องคํานึงถึงอะไรอีกบ ้าง
1 : ขนาดมาตรฐานของเพลา
2 : ี ้ทําเพลา
วัสดุทใช
3 : แบริงทีใช ้รองรับเพลา
4 : ความแข็งเกร็ง (rigidity) ของเพลา

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 209 :
แนวคิดทัวไปในการออกแบบเพลาคืออะไร
1 : วางเพลาให ้อยูใ่ กล ้จุดทีต ้องการขับมากทีสุด
2 : วางเพลาให ้ขนานกันมากทีสุด
3 : เลือกใช ้เพลาให ้สันทีสุด
4 : เลือกใช ้วัสดุเพลาทีมีคณุ สมบัตเิ พียงพอสําหรับใช ้งาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ธิ
สท

ข ้อที 210 :

เมือใช ้ลิมต่อเพลากับดุมล ้อเพือส่งทอร์คขณะส่งกําลังลิมต ้องรับแรงอะไรบ ้าง


วน

1 : แรงทีเกิดจากการส่งทอร์ค
2 : แรงทีเกิดจากการส่งทอร์คและแรงในแนวแกนเพลา
สง

3 : แรงทีเกิดจากการส่งทอร์คและแรงจากการสวมอัดลิม
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 53/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


4 : แรงทีเกิดจากการสวมอัดลิมและแรงในแนวแกนเพลา

ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

กร
ข ้อที 211 :

ิ ว
ลิมสีเหลียมผืนผ ้า (rectangular key) และลิมแบน (parallel key) มีการใช ้งานแตกต่างกันอย่างไร

าวศ
1 : ลิมสีเหลียมผืนผ ้าใช ้กับงานเบาแต่ต ้องตัดเจาะร่องลิมบนเพลาลึก
2 : ลิมแบนใช ้กับงานเบาแต่ต ้องตัดเจาะร่องลิมบนเพลาหลายร่อง
3:
สภ
ลิมแบนใช ้กับงานเบา แต่ต ้องการตัดเจาะร่องลิมบนเพลาล ้อตืน
4 : ลิมแบนใช ้กับงานเบา แต่ต ้องการตัดเจาะร่องลิมบนดุมล ้อตืน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 212 :
ชินส่วนเครืองกลชนิดไหนทีถูกใช ้กับเพลาเพือทําให ้ชินส่วนเครืองกลอืนเช่น เฟื อง ล ้อ เป็ น ต ้นหมุนได ้อย่างมันคงปลอดภัย
1 : ลิมและสลัก
2 : นัตและโบลท์
3 : รอยเชือม
4 : กาว

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 213 :
ในการเลือกใช ้ลิมทีกล่าวว่า “ความยาวของลิมขึนอยูก ั ความยาวของดุม (Hub) และ ภาระบิด (Torsional load) ทีส่งถ่าย” ในฐานะทีท่านเป็ นวิศวกรท่านจะเลือกใช ้ลิม
่ บ
แบบไหน
1 : Square keys
2 : Gib-head keys
3 : Woodruff keys
4 : General keys

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 214 :
จงหากําลังทีส่งถ่ายผ่านเพลา ถ ้าเพลาหมุนด ้วยความเร็ว 50 rpm และเพลาสามารถรับแรงบิดได ้ 2000 N.m
1 : 2 kW
2 : 11 kW
3 : 100 kW
4 : 628 kW

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 215 :
ส่วนประกอบเครืองจักรกลวางสอดระหว่างเพลากับดุมของชินส่วนส่งถ่ายกําลังสําหรับส่งถ่าย แรงบิด คือ
1 : Pins
2 : Nuts, Screws
3 : Keys
4 : Rivets

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 216 :
จะใช ้ลิมชนิดใด เมือต ้องการติดตังลิมต ้องสอดมาจากปลายของเพลา หลังจากดุมอยูใ่ นตําแหน่ง ทีต ้องการแล ้ว
1 : ลิมทัวไป
2 : ลิมหน ้าตัดสีเหลียมจัตรุ ัส (Square keys)
3:
ลิมหน ้าตัดสีเหลียมผืนผ ้า (Rectangular keys)
ธิ

4 : ลิมเรียว (Taper keys)


สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
วน

ข ้อที 217 :
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 54/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


เพลาเส ้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 6 ½ นิว ปกติจะใช ้ลิมชนิดใด

ขอ
1 : ลิมทัวไป
2 : ลิมหน ้าตัดสีเหลียมจัตรุ ัส (Square keys)
3 : ลิมหน ้าตัดสีเหลียมผืนผ ้า (Rectangular keys)

กร
4 : ลิมเรียว (Taper keys)

ิ ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

าวศ
ข ้อที 218 :
สภ
บ่าลิม (keyseats) ทีเพลาและดุมควรออกแบบให ้มีความลึกเท่าไร
1 : 1/4 ของความสูงลิมทีเพลา และ 3/4 ของความสูงลิมทีดุม
2 : 1/2 ของความสูงลิมทีเพลา และ 1/2 ของความสูงลิมทีดุม
3 : 3/4 ของความสูงลิมทีเพลา และ 1/4 ของความสูงลิมทีดุม
4 : ไม่มก
ี ฎเกณฑ์แน่นอนแต่ความลึกทีเพลาและดุมเมือรวมกันแล ้วต ้องเท่ากับความสูงลิม

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 219 :
รับโหลดเบาและง่ายต่อการถอดประกอบ ควรจะใช ้ลิมชนิดใด
1 : ลิมหน ้าตัดสีเหลียมจัตรุ ัส (Square keys)
2 : ลิมหน ้าตัดสีเหลียมผืนผ ้า (Rectangular keys)
3 : ลิมเรียว (Taper keys)
4 : ลิมวงเดือน (Woodruff keys)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 220 :
ลิมส่งกําลังเกิดความเสียหายเนืองจาก
1 : การเฉือนตามขวางระหว่างผิวหน ้าของเพลากับดุม
2 : การอัดทีเกิดจากการกดด ้านข ้างของลิมกับเพลา
3 : ถูกทังข ้อ ก. และ ข.
4 : ผิดทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 221 :
จงคํานวณหาแรงบิด (Torque) ในเพลา เมือเพลาส่งถ่ายกําลัง 750 W ที 183 rad
1 : 0.2 N.m
2 : 2.0 N.m
3 : 4.1 N.m
4 : 1.4 N.m

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 222 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้อง ถ ้าแรงบิด (Torque) หรือ twisting moment กระทํากับเพลากลมตัน (Solid shaft)
1 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดทีจุดศูนย์กลางเพลา และ Torsional Shear Stress น ้อยสุด เกิดทีรัศมีโตสุดของเพลา
2 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดทีจุดศูนย์กลางเพลา และ Torsional Shear Stress เท่ากับ ศูนย์เกิดทีรัศมีโตสุดของเพลา
3 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดทีรัศมีโตสุดของเพลาและ Torsional Shear Stress น ้อยสุดเกิดทีจุดศูนย์กลางเพลา
4 : Torsional Shear Stress สูงสุดเกิดทีรัศมีโตสุดของเพลาและ Torsional Shear Stress เท่ากับศูนย์เกิดทีจุดศูนย์กลางเพลา

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 223 :
ในการส่งกําลังด ้วยเพลาส่วนมาก นิยมใช ้เพลา
1 : เพลากลมตัน
ธิ

2 : เพลาสีเหลียมตัน
3 : เพลากลมกลวง
สท

4 : เพลาสีเหลียมกลวง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 55/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 224 :
เพลากลมตันใช ้ในการถ่ายทอดกําลังจากเครืองยนต์โดยใช ้สายพาน และพูเล่ย ์ เพลาส่งกําลังต่อไปยังคลัชดังแสดงในรูป พูเล่ยท
์ ํามาจากเหล็กหล่อมีขนาดเส ้นผ่าน
ศูนย์กลางเท่ากับ 120 mm และมีความยาวของดุมล ้อเท่ากับ 30 mm พูเลย์ประกอบติดกับเพลาโดยใช ้ลิม โดยเพลาส่งกําลังมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 35 mm และได
เลือกใช ้ลิมมาตรฐานสีเหลียมผืนผ ้า (ISO/R 774) ขนาดพืนทีหน ้าตัด (bxh) 10 mm x 8 mm ถ ้ากําหนดให ้ค่าความเค ้นออกแบบของลิมเป็ นดังนี ความเค ้นกดและ

กร
ความเค ้นอัด (Compressive and Bearing Stresses) scd = 80 N/mm2 และความเค ้นเฉือน (Shear Stress) td = 50 N/mm2 จงหาความยาวของลิมเพือใช ้กับระบ

ิ ว
การถ่ายทอดกําลังนี

าวศ
สภ

1 : 6.86 mm
2 : 10.71 mm
3 : 12.34 mm
4 : 30 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 225 :
การถ่ายทอดกําลังโดยใช ้เพลาพูเลย์ และสายพานเพือใช ้ในการถ่ายทอดแรงบิด ขนาด 7400 Nm จากเพลาไปยังพูเล่ย ์ และสายพานเพือไปใช ้ขับเครืองอัดอากาศ
โดยเพลาส่งกําลัง มีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 75 mm. และได ้เลือกใช ้ลิมมาตรฐานสีเหลียม (ISO/R 774) ขนาดพืนทีหน ้าตัด (bxh) 20 mm x 12 mm จงหาความ
ยาวของลิมทีน ้อยทีสุดเพือใช ้กับระบบการถ่ายทอดกําลังนี
1 : 147.57 mm
2 : 185.34 mm
3 : 195.47 mm
4 : 295.15 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 226 :
การถ่ายทอดกําลัง โดยใช ้เพลาพูเล่ย ์ และสายพานเพือใช ้ในการถ่ายทอดแรงบิดขนาด 7400 Nm จากเพลาไปยังพูเล่ย ์ และสายพานเพือไปใช ้ขับเครืองอัดอากาศ
โดยเพลาส่งกําลังมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 75 mm. และได ้เลือกใช ้ลิมมาตรฐานสีเหลียม (ISO/R 774) ขนาดพืนทีหน ้าตัด (bxh) 20 mm. x 12 mm. และมีความยา
1 = 300 mm.จงหาขนาดของความเค ้นเฉือนทีเกิดขึนในลิม
1 : 15.74 N/mm2
2 : 25.32 N/mm2
3 : 32.89 N/mm2
4 : 35.78 N/mm2

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 227 :
การถ่ายทอดกําลังโดยใช ้เพลาพูเล่ย ์ และสายพานเพือใช ้ในการถ่ายทอดแรงบิดขนาด 7400 Nm จากเพลาไปยังพูเล่ยแ ์ ละสายพานเพือไปใช ้ขับเครืองอัดอากาศ โดยเพ
ส่งกําลังมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 75 mm และได ้เลือกใช ้ลิมมาตรฐานสีเหลียม (ISO/R 774) ขนาดพืนทีหน ้าตัด (bxh) 20 mm x 12 mm และมีความยาว l = 300
mm. จงหาขนาดของ ความเค ้นอัดทีเกิดขึนในลิม
1 : 89.92 N/mm2
2 : 109.63 N/mm2
3 : 110.54 N/mm2
4 : 145.41 N/mm2

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ธิ
สท

ข ้อที 228 :

หลักการในการตรวจสอบความเร็ววิกฤตของระบบเพลาเพือใช ้งาน ควรใช ้งานต่างจากความเร็ว วิกฤตเท่าใด


วน

1 : 10 %
2 : 15 %
สง

3 : 20 %
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 56/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


4 : 25 %

ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

กร
ข ้อที 229 :

ิ ว
เพลากลมมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 10 mm รับแรงบิด 4.10 N-m จะเกิดความเค ้นเฉือนเท่ากับ
1
2
:
:
41.8
27.7 าวศ
MPa
MPa
3 : 20.9 MPa
สภ
4 : 10.5 MPa

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 230 :
เพลาใช ้ส่งกําลัง 750 Watt โดยหมุนด ้วยความเร็ว 1750 รอบต่อนาที จะมีแรงบิดเกิดขึนเท่ากับ
1 : 3.10 N-m
2 : 4.10 N-m
3 : 5.10 N-m
4 : 6.10 N-m

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 231 :
เพลาเหล็กกลมขนาด เส ้นผ่านศูนย์กลาง 35 mm ยาว 500 mm ใช ้ส่งกําลัง 20 kW ทีความเร็ว 500 rpm จะเกิดความเค ้นเฉือนสูงสุดเท่าใด
1 : 40.5 MPa
2 : 45.5 MPa
3 : 50.5 MPa
4 : 51.5 MPa

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 232 :
เพลาเหล็กกลมขนาด เส ้นผ่านศูนย์กลาง 35 mm ยาว 500 mm ใช ้ส่งกําลัง 20 kW ทีความเร็ว 500 rpm จะมีมม
ุ บิดเกิดขึนเท่าใด
1 : 0.90o
2 : 0.80o
3 : 0.70o
4 : 0.60o

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 233 :
เพลาเหล็กกลมขนาดเส ้นผ่าศูนย์กลาง 35 mm ยาว 500 mm ใช ้ส่งกําลัง 20 kW ทีความเร็ว 500 rpm จะใช ้แรงบิดเท่าใด
1 : 370 N-m
2 : 382 N-m
3 : 391 N-m
4 : 398 N-m

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 234 :
ี ้มีคา่ sy = 524 N/mm2 , E= 207 GN/mm2 , G = 79.306 N/m2 ถ ้า
เพลากลมตันทํามาจากเหล็กกล ้าใช ้ส่งกําลัง 20 kW หมุนด ้วยความเร็วรอบ 1450 rpm วัสดุทใช
ค่า safety factor = 2 ขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางจะเป็ น
1 : 16.22 mm
2 : 32.22 mm
3 : 12.44 mm
ธิ

4 : 22.44 mm
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

วน

ข ้อที 235 :
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 57/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ี ้มีคา่ คุณสมบัต ิ sy = 524 N/mm2 , E= 207 GN/mm2
เพลากลมตันทํามาจากหล็กกล ้ายาว 500 mm ใช ้ส่งกําลัง 20 kW หมุนด ้วยความเร็วรอบ 1450 rpm วัสดุทใช

ขอ
= 79.306 N/m2 ถ ้าใช ้ค่า Safety factor = 2 เพลาจะมีมม
ุ บิดเท่าใด
1 : 6๐

กร
2 : 6.5๐
3 : 7๐

ิ ว
4 : 7.5๐

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สภ

ข ้อที 236 :
ั ตราส่วนของเส ้นผ่านศูนย์กลาง d/di = 2 ใช ้ส่งกําลัง 20 kW หมุนด ้วยความเร็วรอบ 1450 rpm วัสดุทใช
เพลากลม และกลวง มีอต ี ้มีคา่ ถ ้าใช ้ค่า Safety factor = 2
ขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง d คือ
1 : 16.58 mm
2 : 32.58 mm
3 : 12.88 mm
4 : 22.88 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 237 :
ั ตราส่วนของเส ้นผ่านศูนย์กลาง d/di = 2 ใช ้ส่งกําลัง 20 kW หมุนด ้วยความเร็วรอบ 1450 rpm วัสดุทใช
เพลากลมและกลวง มีอต ี ้มีคา่ ถ ้าใช ้ค่า Safety factor = 2 มุม
บิดเกิดขึนเท่าใดถ ้าเพลายาว 500 mm
1 : 5.2๐
2 : 6.8 ๐
3 : 7.2๐
4 : 8.8๐

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 238 :
การถ่ายทอดกําลังโดยใช ้เพลา พูเล่ย ์ และสายพานเพือใช ้ในการถ่ายทอดแรงบิดขนาด 7400 Nm
จากเพลาไปยังพูเล่ยแ ์ ละสายพานเพือไปใช ้ขับเครืองอัดอากาศ โดย
เพลาส่งกําลังมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 65 mm และได ้เลือกใช ้ลิมมาตรฐานสีเหลียม (ISO/R 774) ขนาดพืนทีหน ้าตัด (bxh) 18 mm x 11 mm และมีความยาว l =3
mm. จงหาขนาดของความเค ้นเฉือนทีเกิดขึนในลิม
1 : 15.74 N/mm2
2 : 25.32 N/mm2
3 : 42.17 N/mm2
4 : 48.76 N/mm2

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 239 :
การถ่ายทอดกําลังโดยใช ้เพลา พูเล่ย ์ และสายพานเพือใช ้ในการถ่ายทอดแรงบิดขนาด 7400 Nm
จากเพลาไปยังพูเล่ยแ ์ ละสายพานเพือไปใช ้ขับเครืองอัดอากาศ โดย
เพลาส่งกําลังมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 65 mm และได ้เลือกใช ้ลิมมาตรฐานสีเหลียม (ISO/R 774) ขนาดพืนทีหน ้าตัด (bxh) 18 mm x 11 mm และมีความยาว l =3
mm. จงหาขนาดของความเค ้นอัดทีเกิดขึนในลิม
1 : 89.92 N/mm2
2 : 109.63 N/mm2
3 : 120.37 N/mm2
4 : 137.99 N/mm2

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 240 :
เพลากลมตันใช ้ในการถ่ายทอดกําลังจากเครืองยนต์โดยใช ้สายพานและพูเล่ย ์ เพลาส่งกําลังต่อไปยังคลัชดังแสดงในรูป พูเล่ยท์ ํามาจากเหล็กหล่อมีขนาดเส ้นผ่าน
ศูนย์กลางเท่ากับ 120 mm และมีความยาวของคุมล ้อเท่ากับ 20 mm พูเล่ยป ์ ระกอบติดกับเพลาโดยใช ้ลิม โดยเพลาส่งกําลังมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 35 mm และได
ธิ

เลือกใช ้ลิมมาตรฐานสีเหลียมผืนผ ้า (ISO/R 774) ขนาดพืนทีหน ้าตัด (bxh) 10 mm x 8 mm ถ ้ากําหนดให ้ค่าความเค ้นออกแบบของลิมเป็ นดังนีความเค ้นกดและ
สท

ความเค ้นอัด (Compressive and Bearing Stresses) scd = 80 N/mm2 และความเค ้นเฉือน (Shear Stress) td = 50 N/mm2 จงหาความยาวของลิมเพือใช ้กับระบ

การถ่ายทอดกําลังนี
วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 58/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 6.86 mm
2 : 10.71 mm
3 : 20 mm
4 : 30 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 241 :
การถ่ายทอดกําลังโดยใช ้เพลา พูเล่ย ์ และสายพานเพือใช ้ในการถ่ายทอดแรงบิดขนาด 7400 Nmจากเพลาไปยังพูเล่ยแ ์ ละสายพานเพือไปใช ้ขับเครืองอัดอากาศ โดย
เพลาส่งกําลังมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 75 mm และได ้เลือกใช ้ลิมมาตรฐานสีเหลียม (ISO/R 774) ขนาดพืนทีหน ้าตัด (bxh) 20 mm x 12 mm ถ ้ากําหนดให ้ค่า
ความเค ้นออกแบบของลิมเป็ นดังนี ความเค ้นกดและความเค ้นอัด (Compressive and Bearing Stresses) scd = 114.43 N/mm2 และความเค ้นเฉือน (Shear Stress
td = 66.86 N/mm2 จงหาความยาวของลิมทีน ้อยทีสุดเพือใช ้กับระบบการถ่ายทอดกําลังนี

1 : 147.57 mm
2 : 185.34 mm
3 : 195.47 mm
4 : 295.15 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 242 :
การถ่ายทอดกําลังโดยใช ้เพลา พูเล่ย ์ และสายพานเพือใช ้ในการถ่ายทอดแรงบิดขนาด 7400 Nmจากเพลาไปยังพูเล่ยแ ์ ละสายพานเพือไปใช ้ขับเครืองอัดอากาศ โดย
เพลาส่งกําลังมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 60 mm และได ้เลือกใช ้ลิมมาตรฐานสีเหลียม (ISO/R 774) ขนาดพืนทีหน ้าตัด (bxh) 18 mm x 11 mm ถ ้ากําหนดให ้ค่า
ความเค ้นออกแบบของลิมเป็ นดังนี ความเค ้นกดและความเค ้นอัด (Compressive and Bearing Stresses) scd = 80 N/mm2 และความเค ้นเฉือน (Shear Stress) td
50 N/mm2 จงหาความยาวของลิมทีน ้อยทีสุดเพือใช ้กับระบบการถ่ายทอดกําลังนี
1 : 147.57 mm
2 : 274.07 mm
3 : 295.15 mm
4 : 560.61 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

เนือหาวิชา : 310 : 7 Gears

ข ้อที 243 :
ฮันติงทูธ (hunting tooth) มีประโยชน์อย่างไร
1 : ช่วยปรับอัตราทดให ้ถูกต ้อง
2 : ช่วยลดการสึกหรอ
3 : ช่วยเพิมความแข็งแรงของฟั นเฟื อง
4 : ช่วยเพิมความสมําเสมอในการขับ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 244 :
อัตราส่วนการขบของเฟื องหมายถึงอะไร
1 : อัตราส่วนระหว่างจํานวนฟั นของเฟื องขับต่อเฟื องตาม
ธิ

2 : อัตราส่วนระหว่างจํานวนฟั นของเฟื องตามต่อเฟื องขับ


3 : อัตราส่วนระหว่างระยะการขบของเฟื องกับพิตช์ (pitch)
สท

4 : อัตราส่วนระหว่างระยะการขบของเฟื องกับพิตช์ฐาน (base pitch)


คําตอบทีถูกต ้อง : 4
วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 59/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 245 :
โมดุล (module) ของเฟื องคืออะไร
1 : อัตราส่วนระหว่างขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางกับจํานวนฟั น

กร
2 : อัตราส่วนระหว่างขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางพิตช์กบั จํานวนฟั น
3 : อัตราส่วนระหว่างจํานวนฟั นกับขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง

ิ ว
4 : อัตราส่วนระหว่างจํานวนฟั นกับขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางพิตช

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สภ
ข ้อที 246 :
แบ็กแล็ช (backlash) ของเฟื องคืออะไร
1 : ผลต่างระหว่างค่าดีเดนดัมกับแอดเด็นดัมของเฟื องทีขบกัน
2 : ผลต่างระหว่างความกว ้างช่องว่างของฟั นเฟื องทีขบกัน
3 : ผลต่างระหว่างค่าไดอะมัทรัลพิตช์ของฟั นเฟื องทีขบกัน
4 : ผลต่างระหว่างค่าเซอร์ควิ ลาร์พต
ิ ช์ของฟั นเฟื องทีขบกัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 247 :
เฟื องแบบไหนทีใช ้เพือส่งถ่ายการเคลือนทีระหว่างเพลาขนานและไม่ขนาน
1 : เฟื องตรง
2 : เฟื องเฉียง
3 : เฟื องดอกจอก
4 : เฟื องหนอน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 248 :
อัตราส่วนของเส ้นผ่านศูนย์กลางพิตซ์ตอ
่ จํานวนฟั น คือข ้อใด
1 : Circular pitch
2 : Diametral pitch
3 : Module
4 : Contact ratio

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 249 :
ข ้อไหนคือสูตรสําหรับหา กําลังในการส่งถ่าย (The transmitted power) ของเฟื องตรง
1 : แรงย่อยในแนวสัมผัส x ความเร็วเชิงเส ้นทีวงกลมพิตซ์
2 : แรงย่อยในแนวรัศมี x ความเร็วเชิงเส ้นทีวงกลมพิตซ์
3 : แรงลัพธ์ x ความเร็วเชิงเส ้นทีวงกลมพิตซ์
4 : แรง x ความเร็วเชิงเส ้นทีวงกลมพิตซ์

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 250 :
ข ้อไหนกล่าวไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับเฟื องตรง
1 : การเพิมขนาดฟั น (Tooth size) จะเพิมความแข็งแรงดัด (Bending strength) มากกว่าความ แข็งแรงผิวหน ้า (Surface strength)
2 : การเพิมความแข็งผิวหน ้า (Surface hardness) เฟื องเหล็กจะให ้ผลคุ ้มค่ามากพอเกียวกับ ความทนทานผิวหน ้า (Surface endurance)
3 : เฟื องทีแข็งกว่าจะมีราคาสูงกว่าในการผลิต แต่เฟื องจะเล็กกว่าทําให ้เรือนเฟื องและส่วน อืนๆ เล็กกว่าและเบากว่า ดังนันราคาโดยรวมทังหมดจะลดลง
4 : การเพิมกรรมวิธก ี ารผลิตเฟื องจะเพิมความแข็งแรงความล ้าดัด

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 251 :
จงหาค่า Train value (e) ของขบวนเฟื องนี
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 60/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : e = n6/n2
2 : n2/n6
3 : N6/N2
4 : N2/N6

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 252 :
เคลียแร็นซ์ (clearance) ของเฟื องคืออะไร
1 : ผลต่างระหว่างค่าดีเดนดัมกับแอดเดนดัมของเฟื องทีขบกัน
2 : ผลต่างระหว่างความกว ้างช่องว่างของเฟื องทีขบกัน
3 : ผลต่างระหว่างค่าไดอะมิทรัลพิตช์ของฟั นเฟื องทีขบกัน
4 : ผลต่างระหว่างค่าเซอร์ควิ ลาร์พต
ิ ช์ของฟั นเฟื องทีขบกัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 253 :
การกําหนดขนาดของเฟื องทีผลิตโดยวิธก
ี ารหล่อ เพือความสะดวกในการผลิตควรกําหนดขนาดด ้วยมาตรฐานใด
1 : โมดุล
2 : ไดอะมิทรัลพิตช์
3 : เซอร์ควิ ลาร์พต
ิ ช์
4 : วงกลมพิตช์

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 254 :
การกําหนดขนาดฟั นเฟื องทีผลิตโดยวิธก
ี ารตัดปาดผิว (machining) เพือความสะดวกในการผลิตควรกําหนดขนาดด ้วยมาตรฐานใด
1 : โมดุลพิตช์
2 : ไดอะมิทรัลพิตช์
3 : เซอร์ควิ ลาพิตช์
4 : วงกลมพิตช์

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 255 :
มุมกด (pressure angle) ของเฟื องทีนิยมใช ้มีคา่ กีองศา
1 : 22 องศา
2 : 23 องศา
3 : 24 องศา
4 : 25 องศา

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ธิ

ข ้อที 256 :
สท

ข ้อใดกล่าวถูกต ้อง

1 : เฟื องเฉียงและเฟื องดอกจอกทํางานบนเพลาขนาน


2 : จํานวนฟั นบนเฟื องใดๆ ต ้องเป็ นจํานวนเต็ม
วน

3 : ระบบเฟื องขบภายใน ( Internal meshing ) เฟื องขับและเฟื องตามมีทศ


ิ ทางการหมุนตรงข ้ามกัน
4 : เฟื องขบกัน เฟื องขับและเฟื องตามต ้องมีโมดูลต่างกัน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 61/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ขอ
ข ้อที 257 :

กร
Train value (TV) หาได ้จาก
1 : TV = Input velocity ratio / Output velocity ratio

ิ ว
2 : TV = Input speed / Output speed
3
4
:
:
TV
TV าวศ
=
=
ผลคูณของจํานวนฟั นเฟื องขับ / ผลคูณของจํานวนฟั นเฟื องตาม
ผลคูณของจํานวนรอบเฟื องตาม / ผลคูณของจํานวนรอบเฟื องขับ
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 258 :
ใช ้ส่งถ่ายการเคลือนทีระหว่างเพลาทีไม่ขนานกัน (Nonparallel shafts) คือ
1 : เฟื องตรง
2 : เฟื องเฉียง
3 : เฟื องดอกจอก
4 : ชุดเฟื องหนอน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 259 :
ส่งถ่ายการเคลือนทีและกําลังระหว่างเพลาทีไม่ตด
ั กัน (Nonintersecting shafts) คือ
1 : เฟื องตรง
2 : เฟื องเฉียง
3 : เฟื องดอกจอก
4 : ชุดเฟื องหนอน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 260 :
ชุดกระบวนเฟื องแบบไหนทีให ้อัตราทดสูง
1 : ชุดเฟื องตรง
2 : ชุดเฟื องเฉียง
3 : ชุดเฟื องดอกจอก
4 : ชุดเฟื องหนอน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 261 :
ในการออกแบบเฟื องเฉียงผู ้ออกแบบต ้องสนใจมุมอะไร
1 : Helix angle
2 : Normal pressure angle
3 : Transverse pressure angle
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 262 :
จํานวนฟั นต่อนิวของเส ้นผ่าศูนย์กลางพิตซ์คอ

1 : Circular pitch
2 : Diametral pitch
3 : Pitch
4 : Module

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ธิ
สท

ข ้อที 263 :
เฟื องตรงในระบบเมตริกเรียกว่า

1 : Diametral pitch
วน

2 : Module
3 : Module pitch
สง

4 : Diametral module
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 62/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

กร
ข ้อที 264 :
เฟื องตรงมุมกด (Pressure angle) มีอท
ิ ธิพลต่อ

ิ ว
1 : ขนาดของวงกลมฐาน (Base circle)
2
3
:
: าวศ
ขนาดของวงกลมพิตซ์ (Pitch circle)
ขนาดของวงกลมแอดเดนดัม (Addendum circle)
4 : ผิดทุกข ้อ
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 265 :
ในระบบเฟื องตรง เฟื องขบกันคูห
่ นึงกําลัง (Power) หาได ้จาก
1 : Power = Tangential force x Pitch line velocity
2 : Power = Radial force x Pitch line velocity
3 : Power = Normal force x Pitch line velocity
4 : Power = force x Pitch line velocity

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 266 :
ในการผลิตเฟื อง ฟั นเฟื องสําเร็จ (Finished) ด ้วยกระบวนการผลิตใด
1 : กระบวนการ milling
2 : กระบวนการ shaping
3 : กระบวนการ grinding
4 : กระบวนการ hobbing

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 267 :
อะไรไม่ใช่สาเหตุการไมได ้ศูนย์ของฟั นเฟื องบนเฟื องขับเทียบกับเฟื องตาม
1 : เส ้นผ่าศูนย์กลางเพลาใหญ่ (ความแข็งตึงสูง)
2 : การบิดเบียวเนืองจากความร ้อนระหว่างการทํางาน
3 : ช่องว่างระหว่างเพลากับเฟื อง เพลากับแบริง หรือแบริงกับตัวเรือน
4 : การเปลียนรูปชัวคราวของเฟื อง เพลา แบริง ตัวเรือน และโครงสร ้างรองรับ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 268 :

ข ้อใดไม่เหมาะกับ Spur Gear set


1 : มีรป
ู ฟั นทีขนานกับแกนเพลา
2 : ใช ้ได ้ดีกบ
ั เพลาทีวางขนานกัน
3 : เนืองจากมีรป ู ทรงง่ายๆ จึงออกแบบง่ายแต่มต
ี ้นทุนสูง
4 : เกิดเสียงดังง่ายมักมาจากเกิดการผิดพลาด (Error) ของฟั นเฟื อง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ธิ

ข ้อที 269 :
สท

ข ้อใดไม่เหมาะสมกับ Helical Gear set



วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 63/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ
1 : มีฟันรูปทรงเฉียงทํามุมกับแกนเพลา
2 : มีเสียงดังมาก
3 : ใช ้ได ้กับแกนเพลาทีขนานกันหรือไม่กไ
็ ด้
4 : ส่งแรงลัพธ์ (Reaction) ไปตามแนว Axial load

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 270 :
ข ้อใดไม่เหมาะสมกับ Bevel Gear set

1 : รูปทรงของฟั นเฟื องอยูบ่ นผิวรูปทรงกรวย


2 : ใช ้ได ้กับเพลาทีขนานกันเท่านัน
3 : เมือใช ้กับทีไม่ขนานกัน แกนเพลาข ้างหนึงจะวางแบบ Intersection
4 : รูปทรงของฟั นเฟื องอาจเป็ นแบบตรง (Straight) หรือแบบเกลียว (Spiral)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 271 :
ข ้อใดไม่เหมาะสมกับ Worm Gear set

1 : มี Gear Ratio ทีตํามากๆ (Out put หารด ้วย In put)


2 : ปกติเฟื อง Gear มักใช ้เป็ นตัวขับ (Input) และเฟื อง Worm ใช ้เป็ นตัวตาม (Out put)
3 : การเลือนตัว (Slide) ได ้ของ Worm-Gear ขณะหมุนทํางานเป็ นเหตุให ้เกิดการสูญเสียเนืองจากความฝื ด (Friction losses)
4 : แกนเพลาไม่ขนานกัน และไม่ Intersection กัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 272 :
เมือ Gear Ratio ของชุดเกียร์ดงั รูปคือ ให ้พิจารณา Center Distance ทีถูกต ้อง
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 64/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
1:

กร
ิ ว
าวศ
2: สภ
3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 273 :
ื ยกคือ
ฟั นเฟื องถูกออกแบบมาเพือให ้รักษาความเร็วให ้คงที การออกแบบให ้ผิงฟั นสัมผัสกันตลอดมีชอเรี

1 : Involute profile
2 : Curve profile
3 : Contour profile
4 : Contact profile

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 274 :
ให ้ Gear Ratio ของชุดเกียร์ดงั รูปคือ ให ้พิจารณา Cd(Center Distance)

1:

2:

3:
ธิ
สท

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
วน
สง

ข ้อที 275 :
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 65/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ให ้พิจารณาเลือก Gear Ratiio ทีเหมาะสมกับชุดเฟื องดังรูป

ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ
1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 276 :
จงพิจารณาสูตรหา Module ของเฟื อง

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 277 :
ให ้พิจารณาเลือก Gear Ratio ทีเหมาะสมกับชุดเฟื อง N51 ดังในรูป
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 66/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 278 :
จากชุดเฟื องทดดังรูปนีให ้หาความเร็วรอบของเฟื อง E โดยกําหนดสมการให ้ดังนี

1 : -166.7
2 : -176.6
3 : -107.6
4 : -100.6

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 279 :
การถ่ายทอดกําลังโดยใช ้เฟื องตรงประกอบไปด ้วยพิเนียน (Pinion) ทําจากเหล็กหล่อ ASTM 50 ขับกับเฟื อง (Gear) ทําจากบรอนซ์ SAE 65 ด ้วยอัตราทด 3.5 เฟื อง
ระบบ 14.5๐ เพือใช ้ถ่ายทอดกําลัง 4500 W ด ้วยความเร็วรอบของพีเนียน 1800 rpm โดยเฟื องอันเล็กมีจํานวนฟั นไม่น ้อยกว่า 16 ฟั น ในการคํานวณออกแบบโดยใช
การของลูอส ิ (Lewis Equation) สมการของแรงดัด (Bending Force) , Fb และสมการของแรงพลวัต (Dynamic Load) , Fd มีดงั ต่อไปนี
ธิ
สท

โดย m = Module

จงหาขนาดทีเล็กทีสุดของเฟื องคูน
่ ี
วน

1:
m = 2 mm
สง

2:

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 67/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


m = 3 mm

ขอ
3 : m = 4 mm
4 : m = 5 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

กร
ิ ว
ข ้อที 280 :
าวศ
การถ่ายทอดกําลังโดยใช ้เฟื องตรงประกอบไปด ้วยพิเนียน (Pinion) มีจํานวนฟั นเท่ากับ 15 ฟั น ขับกับเฟื อง (Gear) ซึงมีจํานวนฟั นเท่ากับ 45 ฟั น พิเนียน และเฟื องมีค
Modulem, m = 8 mm และเป็ นระบบ 14.5๐ FD จงหาขนาดของวงกลมพิตช์ของ พิเนียน และเฟื อง (Pitch Diameters), d1 และ d2 = 120 mm และ ระยะระหว่าง
สภ
จุดศูนย์กลางของเพลา (Center Distance),C
1 : d1 = 360 mm, d2 = 120 mm และ C = 240 mm
2 : d1 = 140 mm, d2 = 360 mm และ C = 250 mm
3 : d1 = 120 mm, d2 = 360 mm และ C = 240 mm
4 : d1 = 360 mm, d2 = 140 mm และ C = 250 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 281 :
ข ้อความใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : การป้ องกันไม่ให ้เกิดการขัดกันของเฟื อง (Interference) สามารถดําเนินการได ้โดยการ ตัดเนือโลหะทีอยูต่ ํากว่าวงกลมฐาน (Base Circle) ออกบ ้าง (Undercu
แต่จะมีข ้อเสีย คือทําให ้อัตราทดลดลงและทําให ้เฟื องบอบบางลง
2 : การป้ องกันไม่ให ้เกิดการขัดกันของเฟื อง (Interference) สามารถดําเนินการได ้โดยการ ตัดปลายฟั นให ้สัน (Stub Teeth) ลง แต่จะทําให ้อัตราส่วนการขบกันข
ฟั นเฟื อง (Contact Ratio) ลดลง
3 : การป้ องกันไม่ให ้เกิดการขัดกันของเฟื อง (Interference) สามารถดําเนินการได ้โดยการ เพิมมุมกด (Pressure Angle) ของเฟื องซึงจะทําให ้ขนาดของวงกลมฐ
ลดลง แต่จะทํา ให ้แรงปฏิกริ ย ิ าแนวรัศมีของเฟื องเพิมขึน และมีความราบเรียบลดลง
4 : เฟื องตรง (Involute Spur Gear) สามารถใช ้ในการการถ่ายทอดกําลังได ้ทังเพลาทีขนาน กัน และไม่ขนานกัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 282 :
ข ้อความใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : เฟื องเฉียง (Helical Gear) สามารถใช ้ในการการถ่ายทอดกําลังได ้ทังเพลาทีขนานกัน และไม่ขนานกัน
2 : เฟื องเฉียง (Helical Gear) สามารถใช ้ในการการถ่ายทอดกําลังได ้มากกว่าเฟื องตรง (Involute Spur Gear) และมีเสียงในการทํางานน ้อยกว่า เหมาะสําหรับการ
งานที ความเร็วสูง
3 : เฟื องดอกจอกฟั นตรง (Straight Bevel Gear) สามารถใช ้ในการการถ่ายทอดกําลังได ้ทัง เพลาทีขนานกัน และไม่ขนานกัน
4 : แรงทีกระทําบนเฟื องเฉียงสามารถแยกได ้ออกเป็ น 3 แรงย่อย ๆ คือ 1) แรงทีกระทําใน แนวรัศมีของเฟื อง 2) แรงทีกระทําในแนวสัมผัสกับวงกลมพิตช์ และ 3)
แรงทีกระทํา ในแนวแกนหมุน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 283 :
ในการออกแบบเฟื อง สภาวะแรงในข ้อใดทีไม่ได ้ใช ้ในการคํานวณ
1 : Static Force in Bending
2 : Dynamic Load
3 : Wear (pitting) Force
4 : Torsional Force

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 284 :
บนฟั นเฟื อง ส่วนโค ้งทีเชือม หน ้าซีเฟื องกับ ฐานของช่องว่างระหว่างฟั น เรียกว่าอะไร
1 : โมดุล (Module)
2 : ฟิ ลเลต (Fillet)
3 : เซอคิวลาพิตซ์ (Circular pitch)
4 : แบ็ตแลช (Backlash)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ธิ
สท

ข ้อที 285 :
บนฟั นเฟื อง ผลต่างระหว่างความกว ้างของช่องว่างระหว่างฟั น เรียกว่าอะไร
วน

1 : โมดุล (Module)
2 : ฟิ ลเลต (Fillet)
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 68/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


3 : เซอคิวลาพิตซ์ (Circular pitch)

ขอ
4 : แบ็ตแลช (Backlash)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

กร
ิ ว
ข ้อที 286 :

1 : าวศ
โมดุล (Module)
ื ยกว่าอะไร
บนฟั นเฟื อง ระยะทีวัดบนวงกลมพิทซ์ จากจุดหนึงไปยังอีกจุดหนึง ณ ตําแหน่งเดียวกันบนฟั น ถัดไป มีชอเรี

2 : ฟิ ลเลต (Fillet)
สภ
3 : เซอคิวลาพิตซ์ (Circular pitch)
4 : แบ็ตแลช (Backlash)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 287 :
เมือฟั นเฟื องหมุนมาขบกันระหว่างการส่งกําลังจุดสัมผัสระหว่างฟั นเฟื องทังสอง เคลือนทีในทิศทางใด เมือเปรียบเทียบกับหน ้าของซีเฟื องของเพลาขับ
1 : แอคเดนดัม - จุดพิตซ์
2 : จุดพิตซ์ – ดีเดนดัม
3 : แอคเดนดัม- ดีเดนดัม
4 : ดีเดนดัม - แอคเดนดัม

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 288 :
ชุดเฟื องชุดใดทีไม่สามารถปรับเปลียนทิศทางการหมุนย ้อนกลับได ้
1 : เฟื องตรง
2 : เฟื องเฉียง
3 : เฟื องดอกจอก
4 : เฟื องหนอน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 289 :
ชุดเฟื องชนิดใดทีไม่สามารถใช ้ส่งกําลังไปยังเหลาทีตังฉากกับเพลาขับได ้
1 : เฟื องตรง
2 : เฟื องเฉียง
3 : เฟื องดอกจอก
4 : เฟื องหนอน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 290 :
ในการคํานวณการออกแบบความแข็งแรงของฟั นใน เฟื องตรงจากการใช ้สมการของ ลูอส
ิ (Lewis) มีการตังสมมติฐาน ให ้ฟั นเฟื องมีลก
ั ษณะเป็ น
1 : เสา
2 : คานธรรมดา
3 : คานยืน
4 : เพลา

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 291 :
่ นึงมีโมดูล 12 mm ประกอบด ้วยเฟื องซึงมี 16 ฟั น ขับเฟื องซึงมีฟัน 40 ฟั น ฟั นเฟื อง เป็ นระบบ 20๐ FD ระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางของเฟื องคือ
เฟื องคูห
1 : 336 mm
2 : 672 mm
3 : 640 mm
4 : 192 mm
ธิ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สท

วน

ข ้อที 292 :
เฟื องอันหนึงมี 45 ฟั น โมดุล 8 mm และมุมกด
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 69/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
FD ขับโดย พิเนียน ทีทําให ้มีอต
ั ราทด 3 ขนาดของวงกลมฐานของเฟื องคือ
1 : 360 mm
2 : 135 mm

กร
3 : 380 mm
4 : 140 mm

ิ ว
าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สภ
ข ้อที 293 :
ข ้อความใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : การป้ องกันไม่ให ้เกิดการขัดกันของเฟื อง (Interference) สามารถดําเนินการได ้โดยการ ตัดเนือโลหะทีอยูต ่ ํากว่าวงกลมฐาน (Base Circle) ออกบ ้าง (Undercu
แต่จะมีข ้อเสีย คือทําให ้อัตราทดลดลงและทําให ้เฟื องบอบบางลง
2 : การป้ องกันไม่ให ้เกิดการขัดกันของเฟื อง (Interference) สามารถดําเนินการได ้โดยการ ตัดปลายฟั นให ้สัน (Stub Teeth) ลง แต่จะทําให ้อัตราส่วนการขบกันข
ฟั นเฟื อง (Contact Ratio) ลดลง
3 : การป้ องกันไม่ให ้เกิดการขัดกันของเฟื อง (Interference) สามารถดําเนินการได ้โดยการ ลดมุมกด (Pressure Angle) ของเฟื องซึงจะทําให ้ขนาดของวงกลมฐา
เพิมขึน แต่จะทํา ให ้แรงปฏิกริ ย
ิ าของเฟื องเพิมขึน
4 : เฟื องตรง (Involute Spur Gear) สามารถใช ้ในการการถ่ายทอดกําลังระหว่างเพลาที ขนานกัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 294 :
ข ้อความใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : เฟื องเฉียง (Helical Gear) สามารถใช ้ในการการถ่ายทอดกําลังระหว่างเพลาทีขนานกัน เท่านัน
2 : เฟื องเฉียง (Helical Gear) สามารถใช ้ในการการถ่ายทอดกําลังได ้มากกว่าเฟื องตรง (Involute Spur Gear) และมีเสียงในการทํางานน ้อยกว่า เหมาะสําหรับการ
งานที ความเร็วสูง
3 : เฟื องดอกจอกฟั นตรง (Straight Bevel Gear) สามารถใช ้ในการการถ่ายทอดกําลังได ้ทัง เพลาทีทํามุมต่อกัน และ/หรือไม่ขนานกัน
4 : แรงทีกระทําบนเฟื องเฉียง (Helical Gear) สามารถแยกได ้ออกเป็ น 3 แรงย่อย ๆ คือ 1) แรงทีกระทําในแนวรัศมีของเฟื อง 2) แรงทีกระทําในแนวสัมผัสกับวงกล
พิตช์ และ 3) แรงทีกระทําในแนวแกนหมุน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 295 :
การถ่ายทอดกําลังโดยใช ้เฟื องตรงคูห
่ นึงในระบบ 20 องศา FD ประกอบไปด ้วยพิเนียม (Pinion) ขับกับเฟื อง (Gear) ด ้วยอัตราทด 5.2 : 1 เพือใช ้ถ่ายทอดกําลัง 32.5
kW ด ้วยความเร็วรอบของพีเนียน 1125 rpm โดยเฟื องอันเล็กมีจํานวนฟั นไม่น ้อยกว่า 10 ฟั น และกําหนดให ้เฟื องทังคูท
่ ํามาจาก เหล็กกล ้าผสม SAE 2320 Case
Hardened และ WQT
ในการคํานวณออกแบบโดยใช ้สมการของลูอส ิ (Lewis Equation) สมการของแรงดัด (Bending Force), Fb และสมการของแรงพลวัต (Dynamic Load), Fd มีดงั ต่อ
นี

จงหาขนาดทีเล็กทีสุดของเฟื องคูน
่ ี
1 : m = 4 mm
2 : m = 53 mm
3 : m = 6 mm
4 : m = 8 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 296 :
การถ่ายทอดกําลังโดยใช ้เฟื องตรงคูห
่ นึงในระบบ 20 องศา FD
ประกอบไปด ้วยพิเนียน (Pinion) ขับกับเฟื อง (Gear) ด ้วยอัตราทด 1.5 : 1 เพือใช ้ถ่ายทอดกําลัง 55
ด ้วยความเร็วรอบของพิเนียน 1750 rpm โดยเฟื องอันเล็กมีจํานวนฟั นไม่น ้อยกว่า 18 ฟั น และกําหนดให ้เฟื องทังคูท
่ ํามาจากเหล็กกล ้าผสม SAE 3115 Case Hardene
และ OQT
ในการคํานวณออกแบบโดยใช ้สมการของลูอส ิ (Lewis Equation) สมการของแรงตัด (Bending Force),Fb และสมการของแรงพลวัต (Dynamic Load), Fd มีดงั ต่อ
นี
ธิ
สท

วน

จงหาขนาดทีเล็กทีสุดของเฟื องคูน
่ ี
1 : m = 4 mm
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 70/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


2 : m = 53 mm

ขอ
3 : m = 6 mm
4 : m = 8 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

กร
ิ ว
เนือหาวิชา : 311 : 8 Journal and Rolling Bearings
าวศ
ข ้อที 297 :
สภ
สมการของพีทรอฟ (Petroff) มีสมมติฐานอย่างไร
1 : ั ผัสแบริง
เจอร์นัลไม่สม
2 : เจอร์นัลหมุนด ้วยความเร็วสูง
3 : เจอร์นัลหมุนอยูต ่ รงกลางแบริง
4 : เจอร์นัลไม่มคี วามเสียดทานในแบริง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 298 :
ั ถุประสงค์สําคัญอย่างไร
การพรีโหลด (preload) แบริง มีวต
1 : เพิมความแม่นยําในการประกอบ
2 : เพิมความสามารถรับแรงภายนอก
3 : เพิมความแข็งเกร็ง (rigidity) ให ้กับเพลา
4 : รักษาตําแหน่งของชินส่วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 299 :
์ นํ ามันในการใช ้งานเจอร์นัลแบริงขึนอยูก
ความหนาน ้อยทีสุดของฟิ ลม ่ บ
ั อะไร
1 : ขนาดและความยาวของเจอร์นัลและแบริง
2 : วัสดุของเจอร์นัลและแบริง
3 : ความหยาบของผิวหน ้าเจอร์นัลและแบริง
4 : เคลียแร็นซ์ระหว่างเจอร์นัลและแบริง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 300 :
การหล่อลืนในเจอร์นัลแบริง (journal bearing) ทีทํางานตามปกติ เป็ นการหล่อลืนชนิดใด
1 : การหล่อลืนแบบไฮโดรไดนามิก (hydrodynamic lubrication)
2 : การหล่อลืนแบบไฮโดรสแตติก (hydrostatic lubrication)
3 : การหล่อลืนแบบอิลาสโตไฮโดรไดนมิก (elastohydrodynamic lubrication)
4 : การหล่อลืนแบบเบาวน์ดะรี (boundary lubrication)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 301 :
เมือแบริงต ้องทํางานทีอุณหภูมส
ิ งู เป็ นพิเศษ การหล่อลืนควรจะเป็ นชนิดใด
1 : Hydrodynamic lubrication
2 : Hydrostatic lubrication
3 : Boundary lubrication
4 : Solid-film lubrication

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 302 :
พารามิเตอร์ทสํ
ี าคัญในการหล่อลืนของ Petroff’s equation คือ
1 : ? n/P และ R/c
ธิ

2 : ? P/n และ R/c


สท

3 : n/P และ ? R/c


4 : n/P และ ? c/R

วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 71/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ข ้อที 303 :

ขอ
ในการออกแบบ Sliding bearing ผู ้ออกแบบสามารควบคุมตัวแปรอะไร
1 : สัมประสิทธิความเสียดทาน
2 : อัตราการไหลของนํ ามันหล่อลืน

กร
3 : ความหนาน ้อยสุดของฟิ ลม์นํามันหล่อลืน
4 : ความหนืดสัมบูรณ์

ิ ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
าวศ
สภ
ข ้อที 304 :
ถ ้าต ้องการให ้แบริงรับ radial loads หรือ thrust loads หรือทังสองอย่าง ท่านจะใช ้แบริงชนิดใด
1 : Ball bearing
2 : Straight roller bearing
3 : Needle bearing
4 : Tapered roller bearing

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 305 :
ข ้อไหนเป็ นชนิดของ Sliding bearing หรือ Plain bearing
1 : Journal bearing กับ Sleeve bearing
2 : Journal bearing กับ Thrust bearing
3 : Journal bearing กับ Rolling- element bearing
4 : Journal bearing

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 306 :

จงหา Power loss (f) กําหนดให ้ และ Power loss = 2 .f.F.R.n

1 : 106 W
2 : 116 W
3 : 206 W
4 : 226 W

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 307 :
จงหา Bearing characteristic number (S) และ ความหนาของฟิ ลม์นํามันเครืองทีบางสุด กําหนดให ้ = 2.7 x 10-6 reyn, Bearing characteristic number ,

, ho/c = 0.47
ธิ
สท

1 : 0.41, 0.00047 in
วน

2 : 0.21, 0.0047 in
3 : 24.6, 0.0047 in
4 : 0.31, 0.00047 in
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 72/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

กร
ข ้อที 308 :
โรลลิงแบริงมีข ้อดีเหนือกว่าเจอร์นัลแบริงอย่างไร

ิ ว
1 : มีความเสียดทานขณะสตาร์ทน ้อยกว่า
2
3
:
: าวศ
ใช ้เนือทีทางด ้านรัศมีน ้อย
อายุใช ้งานยาวนานกว่า
4 : ขณะทํางานมีเสียงดังน ้อยกว่า
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 309 :
อายุใช ้งานของโรลลิงแบริงแปรผันตามตัวประกอบใด
1 : แรงในแนวรัศมี
2 : แรงในแนวแกน
3 : ความเร็วรอบของเพลา
4 : ชนิดของแบริง

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 310 :
การกําหนดอายุประเมินของแบริง คิดจากจํานวนแบริงร ้อยละเท่าใดทีสามารถหมุนได ้โดยไม่เกิดความเสียหายเนืองจากความล ้า
1 : ร ้อยละ 60
2 : ร ้อยละ 70
3 : ร ้อยละ 80
4 : ร ้อยละ 90

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 311 :
แรงสมมูล (equivalent force) ทีใช ้เลือกแบริง มีเงือนไขในการกําหนดชนิดของแรงอย่างไร
1 : แรงในแนวรัศมีทกระทํ
ี าต่อแบริง
2 : แรงในแนวรัศมีและแนวแกนทีกระทําต่อแบริง
3 : แรงทีกระทําโดยทีวงแหวนในหมุน
4 : แรงทีกระทําโดยวงแหวนนอกหมุน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 312 :
แบริงชนิดไหนรับภาระด ้านข ้างได ้ดีเลิศ
1 : Single-row, deep-groove ball
2 : Cylindrical roller
3 : Tapered roller
4 : Needle

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 313 :
แบริงชนิดไหนรับภาระในแนวรัศมีได ้ดี
1 : Single-row, deep-groove ball
2 : Cylindrical roller

3 : Tapered roller
4 : Needle

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ธิ
สท

ข ้อที 314 :
วน

แบริงชนิดไหนสามารถปรับศูนย์ได ้ดีเลิศ
1 : Single-row, deep-groove ball
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 73/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


2 : Cylindrical roller

ขอ
3 : Tapered roller
4 : Spherical roller

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

กร
ิ ว
ข ้อที 315 :
าวศ
ข ้อความใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : โรลลิงแบริง (Rolling Bearing) ในขณะทํางานจะมีเสียงดังกว่าเนืองจากมีการสัมผัส ระหว่างผิวของลูกกลิงและแหวนบ ้างในบางช่วงของการทํางาน และจะมีอา
สภ
การใช ้ งานสันกว่าทังนีเนืองมาจากความเค ้นทีเกิดขึนมีคา่ สูง และเป็ นประเภทการกระทําซํา (Repeating Load) จึงทําให ้เกิดการเสียหายเนืองจากความล ้า เมือเปรี
เทียบกับเจอร์ นัลแบริง (Journal Bearing)
2 : โรลลิงแบริง (Rolling Bearing) โดยทัวไปแล ้วจะสามารถแบ่งออกเป็ นสองพวกใหญ่ ๆ คือ บอลแบริงซึงมีลก ู กลิงเป็ นรูปทรงกลม (Ball Bearing) และโรลเล่อร์แ
ริง (Roller Bearing) ซึงมีลกู กลิงเป็ นรูปทรงกระบอกตรง (Straight Roller) หรือเป็ นรูป ทรงกระบอกเรียว (Tapered Roller)
3 : เจอร์นัลแบริง (Journal Bearing) เป็ นอุปกรณ์ของเครืองจักรกลทีใช ้รองรับเพลา โดยทัวไปแล ้วเจอร์นัลแบริงจะใช ้นํ ามันเป็ นสารหล่อลืน (Lubrication) เพือลด
ความ เสียดทาน ความสึกหรอ และความร ้อนทีเกิดขึนในชินส่วนทีมีการเสียดสีกน ั
4 : บอลแบริง (Radial Ball Bearing) หรือตลับลูกปื นเป็ นแบริงแบบทีนิยมใช ้กันอยู่ โดยทัวไป สามารถนํ าไปใช ้สําหรับการรับภาระได ้ทังในแนวรัศมี (Radial Load)
และ ในแนวแกน (Axial or Thrust Load)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 316 :
แบริงชนิดใดทีเหมาะสมกับการใช ้งานเพือใช ้สําหรับการรองรับเพลาทีรับกําลังมาจากเฟื อง เฉียง (Bevel Gear) ทีติดอยูก
่ บ
ั เพลา ซึงจะเกิดภาระทีกระทําขึนทังในแนวรั
(Radial Load) และในแนวแกน (Axial or Thrust Load)
1 : Radial Ball Bearings
2 : Deep-Groove Ball Bearings และ Single-row Spherical Roller Bearing
3 : Cylindrical หรือ Straight Roller Bearings
4 : Needle Roller Bearings

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 317 :
การหล่อลืนในเจอร์นอล แบริงมีหลักการของการหล่อลืนดังนี

1 : การหล่อลืนแบบไฮโดรไดนามิคส์
2 : การหล่อลืนแบบไฮโดรสแตติก
3 : การหล่อลืนแยยอิลาสโคไฮโดรไดนามิก
4 : การหล่อลืนแบบเบาวน์ดอรี

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 318 :
คุณสมบัตข ิ องวัสดุข ้อใดทีไม่ใช ้เป็ นข ้อหลักในการพิจารณาขันต ้นในการเลือกวัสดุมาทําแบริง
1 : คุณสมบัตใิ นการรับแรง

2 : คุณสมบัตใิ นการทนการกัดกร่อน
3 : คุณสมบัตก ิ ารอ่อนตัวติดตังง่าย
4 : คุณสมบัตใิ นการนํ าไฟฟ้ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 319 :
คุณสมบัตข ิ ้อใดทีเป็ นข ้อดีของโรลลิงแบริง เทือเปรียบกับเจอร์นับแบริง
1 : ราคาถูกกว่า
2 : อายุใช ้งานยาวนานกว่า
3 : มีทศิ ทางการรับแรงมากกว่า
4 : เสียงเบากว่าขณะทํางาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ธิ
สท

ข ้อที 320 :

ข ้อเหวียงของเครืองอัดอากาศต ้องรับภาระ 50 kg ถ ้าเส ้นผ่านศูนย์กลางของแบริงเป็ น 20 mm และ อัตราส่วน L/D ใช ้ค่า 1.7 ความดันของแบริงจะเป็ นเท่าใด
วน

1 : 620 kPa
สง

2 : 721 kPa

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 74/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


3 : 650 kPa

ขอ
4 : 751 kPa

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

กร
ิ ว
ข ้อที 321 :

าวศ
ข ้อเหวียงของเครืองอัดอากาศต ้องรับภาระ 50 kg ถ ้าเส ้นผ่านศูนย์กลางของแบริงเป็ น 20 mm และ อัตราส่วน L/D ใช ้ค่า 1.7 ความยาวของแบริงจะเป็ นเท่าใด

1 : 34 mm
สภ
2 : 35 mm

3 : 36 mm
4 : 37 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 322 :
่ ตัวแปรไร ้มิต ิ ซึงประกอบด ้วยความหนืด m ( Pa.s ) อัตราก
สมการพีทรอป (Petroff) แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างสัมประสิทธิความเสียดทานในเจอร์นอลแบริง กับกลุม
หมุน n( rad / s ) และความดันแบริง P ( N / mm2 )
1: mnP

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 323 :
โคนคลัทช์มม ุ ของโคน 12o มีรัศมีเฉลีย 8 นิว สัมประสิทธิความเสียดทาน 0.35 ถ ้าใช ้ส่งกําลัง 1000 Ib-in ต ้องใช ้แรงในการกดเท่าไร
ี ม
1 : 73.2 lb
2 : 74.3 lb
3 : 75.4 lb
4 : 76.5 lb

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 324 :
โคนคลัชต์มม ุ ของโคน 12o มีรัศมีเฉลีย 8 นิว สัมประสิทธิความเสียดทาน 0.35 ถ ้าหมุนด ้วยความเร็ว 1800 rpm จะส่งกําลังได ้เท่าไร
ี ม
1 : 24.3 hp
2 : 26.5 hp
3:
28.6 hp

4 : 30.2 hp

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 325 :
ข ้อความใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : โรลลิงแบริง (Rolling Bearing) ในขณะทํางานจะมีเสียงดังกว่าเนืองจากมีการสัมผัส ระหว่างผิวของลูกกลิงและแหวนบ ้างในบางช่วงของการทํางาน และจะมีอายุ
ธิ

การใช ้ งานสันกว่าทังนีเนืองมาจากความเค ้นทีเกิดขึนมีคา่ สูง และเป็ นประเภทการกระทําซํา (Repeating Load) จึงทําให ้เกิดการเสียหายเนืองจากความล ้า เมือเปรียบ
เทียบกับเจอร์ นัลแบริง (Journal Bearing)
สท

2 : โรลลิงแบริง (Rolling Bearing) โดยทัวไปแล ้วจะสามารถแบ่งออกเป็ นสองพวกใหญ่ ๆ คือ บอลแบริงซึงมีลก ู กลิงเป็ นรูปทรงกลม (Ball Bearing) และโรลเล่อร์แ

ริง (Roller Bearing) ซึงมีลก


ู กลิงเป็ นรูปทรงกระบอกตรง (Straight Roller) หรือเป็ นรูป ทรงกระบอกเรียว (Tapered Roller)
3 : เจอร์นัลแบริง (Journal Bearing) เป็ นอุปกรณ์ของเครืองจักรกลทีใช ้รองรับเพลาหรือ เจอร์นัล (Journal) โดยทัวไปแล ้วเจอร์นัลแบริงจะใช ้ลูกกลิง (Rolling
วน

Element) สัมผัส ระหว่างระหว่างเจอร์นัล (Journal) และแบริง (Bearing) เพือลดความเสียดทาน ความ สึกหรอ และความร ้อนทีเกิดขึนในชินส่วนทีมีการเสียดสีกน ั
4 : บอลแบริง (Radial Ball Bearing) หรือตลับลูกปื นเป็ นแบริงแบบทีนิยมใช ้กันอยู่ โดยทัวไป เหมาสมกับการนํ าไปใช ้สําหรับการรับภาระในแนวรัศมี (Radial Load
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 75/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

กร
ข ้อที 326 :
แบริงชนิดใดทีเหมาะสมกับการใช ้งานเพือใช ้สําหรับการรองรับเพลาซึงเกิดภาระทีกระทํากับ เพลาในแนวรัศมี (Radial Load) เท่านัน

ิ ว
าวศ
1 : Radial Ball Bearings

2 : Deep-Groove Ball Bearings และ Single-row Spherical Roller Bearing


สภ
3 : Cylindrical หรือ Straight Roller Bearings
4 : Needle Roller Bearings

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 327 :
การถ่ายทอดกําลังด ้วยสายพาน ปลายทังสองข ้างของเพลารองรับด ้วย Angular Ball Bearing (a = 25๐) No.218 (มี Bore = 90 mm และมี Rated Load Capacities
C = 29 kN สําหรับอายุการใช ้งาน 90 x 106 รอบ ) เพลาหมุนด ้วยอัตราเร็ว 1200 rpm แบริงทํางานภายใต ้แรงกระตุกปานกลาง (ใช ้ Ka = 1.7) และกําหนดให ้
Reliability Factor, KF = 0.7 จงหาอายุการใช ้งานของแบริงแต่ละอัน ถ ้าแบริงแต่ละอันรับ Thrust Load เท่ากัน คือ 13 kN (ให ้ตอบเป็ นหน่วยชัวโมง)

1 : L1 = 282.76 hr, L2 = 722.85 hr


2 : L1 = 299.89 hr, L2 = 726.86 hr
3 : L1 = 322.89 hr, L2 = 846.57 hr
4 : L1 = 400.57 hr, L2 = 827.43 hr

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 328 :
วิศวกรออกแบบ Angular Ball Bearing (a=25๐) No.204 (มี Bore = 20 mm และมี Rated Load Capacities, C = 3.05 kN สําหรับอายุการใช ้งาน 90x106 รอบ )
เพลาหมุนด ้วยอัตราเร็ว 1000 rpm แบริงทํางานภายใต ้ภาระการทํางานค่อนข ้างเรียบ (ใช ้ Ka = 1) แลกําหนดให ้ Reliability Factor, Kr = 1 จงหาอายุการใช ้งานของ
ริงแต่ละอัน ถ ้าแบริงรับภาระ Radial Load = 2.0 kN และ Thrust Load = 1.0 kN (ให ้ตอบเป็ นหน่วยชัวโมง)
1 : L = 59765.42 hr
2 : L = 5987.32 hr

3 : L = 6000.32 hr

4 : L = 6114.77 hr

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 329 :
วิศวกรออกแบบ Angular Ball Bearing (a=25๐) No.204 (มี Bore = 20 mm และมี Rated Load Capacities, C = 3.05 kN สําหรับอายุการใช ้งาน 90x106 รอบ )
เพลาหมุนด ้วยอัตราเร็ว 1000 rpm แบริงทํางานภายใต ้ภาระการทํางานค่อนข ้างเรียบ (ใช ้ Ka = 1) แลกําหนดให ้ Reliability Factor, Kr = 1 จงหาอายุการใช ้งานของ
ริงแต่ละอัน ถ ้าแบริงรับภาระ Radial Load = 1.0 kN และ Thrust Load = 2.0 kN (ให ้ตอบเป็ นหน่วยชัวโมง)
1 : L = 2115.87 hr
ธิ

2 : L = 4817.99 hr
สท

3 : L = 5742.87 hr

4 : L = 6512.82 hr
วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 76/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ข ้อที 330 :

ขอ
การถ่ายทอดกําลังด ้วยสายพาน ปลายทังสองข ้างของเพลารองรับด ้วย Angular Ball Bearing (a = 25๐) No.218 (มี Bore = 90 mm และมี Rated Load Capacities
C = 29 kN สําหรับอายุการใช ้งาน 90 x 106 รอบ ) เพลาหมุนด ้วยอัตราเร็ว 1200 rpm แบริงทํางานภายใต ้แรงกระตุกปานกลาง (ใช ้ Ka = 1.7) และกําหนดให ้

กร
Reliability Factor, Kf = 0.7 จงหาอายุการใช ้งานของแบริงแต่ละอัน ถ ้าแบริงแต่ละอันรับ Thrust Load เท่ากัน คือ 10 kN (ให ้ตอบเป็ นหน่วยชัวโมง)

ิ ว
าวศ
สภ

1 : L1 = 782.56 hr, L2 = 22.85 hr


2 : L1 = 688.76 hr, L2 = 68.43 hr
3 : L1 = 422.89 hr, L2 = 46.57 hr
4 : L1 = 400.57 hr, L2 = 27.43 hr

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 312 : 9 Brakes, Clutches, Coupling, Springs

ข ้อที 331 :
การออกแบบการส่งกําลังของคลัตช์แผ่น (disc clutches) มักใช ้สมมติฐานอะไร
1 : แรงกดสมําเสมอ
2 : การสึกหรอสมําเสมอ
3 : ความดันสมําเสมอ
4 : ส่งแรงสมําเสมอ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 332 :
จุดอ่อนของคลัตช์แผ่น (disc clutches) คืออะไร
1 : เกิดการสลิประหว่างผิวหนาแผ่นคลัตช์
2 : รับแรงกระแทกระหว่างผิวหน ้าแผ่นคลัตช์
3 : ใช ้ความเสียดทานระหว่างผิวหน ้าแผ่นคลัตช์
4 : เกิดความร ้อนระหว่างผิวหน ้าแผ่นคลัตช์

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 333 :
ั ถุประสงค์ของการต่อเพลาเข ้าด ้วยกันโดยใช ้คัปปลิง
คําตอบข ้อใดทีไม่ใช่วต
1 : ใช ้ต่อเพลาของอุปกรณ์ทผลิ
ี ตแยกกัน
2 : ส่งกําลังโดยใช ้ความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัส
3 : ช่วยป้ องกันการโอเวอร์โหลด
4 : ช่วยลดการสันสะเทือน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 334 :
ข ้อคิดสําคัญในการเลือกเบรกคืออะไร
1 : ความสามารถในการรับทอร์ค
2 : ความสามารถในการดูดซึมพลังงานจลน์
ธิ

3 : ความสามารถในการรับและระบายความร ้อน
สท

4 : ความสามารถในการเบรก

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 77/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 335 :
กลอุปกรณ์ (Devices) ชนิดใดทีทําหน ้าทีตัด-ต่อการส่งกําลังของเพลาสองเพลา
1 : Brakes

กร
2 : Clutches
3 : Couplings

ิ ว
4 : Keys และ Pins

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สภ
ข ้อที 336 :
Clutches ชนิดไหนทีนํ าไปใช ้สําหรับกลไกความเร็วตํา
1 : Fluid clutches
2 : Electric clutches
3 : Jaw clutches
4 : Plate clutches

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 337 :
คลัปปลิงแบบหน ้าแปลน (Flanged coupling) มีวงกลมโบลท์ (Bolt circle) ขนาด เส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 4 นิว ออกแบบให ้ใช ้ Bolts ขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 1/4
ถ ้า Bolt รับแรงบิดเท่ากับ 5000 ปอนด์-นิว และความเค ้นเฉือนอนุญาต (Allowable shear stress) เท่ากับ 10,000 ปอนด์ตอ
่ ตารางนิว จงคํานวณหาว่าคลัปปลิงนีต ้องใ
Bolts (N) กีตัว? กําหนดให ้ T = FrN
1 : 4 ตัว
2 : 5 ตัว
3 : 6 ตัว
4 : 7 ตัว

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 338 :
ข ้อไหนคือความมุง่ หมายทีสําคัญในการนํ าสปริงไปใช ้งาน
1 : ควบคุมการเคลือนทีในเครืองจักร
2 : วัดแรงบิด
3 : เก็บกําลัง
4 : ประกอบกับชินส่วนเครืองจักรกล

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 339 :
รัศมีความเสียดทาน (friction radius) หมายถึงรัศมีในข ้อใด
1 : รัศมีเฉลียของวัสดุความเสียดทาน
2 : รัศมีเฉลียของแผ่นคลัตช์
3 : รัศมีทแรงเสี
ี ยดทานกระทํา
4 : รัศมีทใช ี ้หาแรงเสียดทาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 340 :
เมือต ้องการให ้คลัตช์แผ่นส่งกําลังได ้มากขึน ในทางปฏิบต
ั ส
ิ ามารถทําได ้อย่างไร
1 : เพิมจํานวนชุดของคลัตช์
2 : เพิมขนาดแผ่นคลัตช์
3 : เพิมพืนทีแผ่นคลัตช์
4 : เพิมจํานวนแผ่นคลัตช์

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ธิ

ข ้อที 341 :
สท

คลัทช์ลม ิ (cone clutch) ทีมีขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางภายนอกเท่ากับคลัทช์แผ่น มีข ้อได ้เปรียบคลัทช์แผ่นอย่างไร


1 : มีมม
ุ ลิมช่วยในการส่งกําลัง
วน

2 : มีพนที
ื สัมผัสมากกว่า
3 : มีคณุ สมบัตข ิ องลิม
4 : ส่งกําลังได ้มากกว่า
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 78/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

กร
ข ้อที 342 :
ชินส่วนใดทีสามารถส่งถ่าย input torque ได ้ 100 %

ิ ว
1 : Toothed Belts หรือ Timing Belts
2
3
:
: าวศ
Roller Chains
Inverted –Tooth Chains
4 : Fluid Coupling
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 343 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง
1 : เบรกทําหน ้าทีคล ้ายกับคลัทช์
2 : หน ้าทีพืนฐานของเบรกคือดูดซับพลังงาน
3 : เปลียนพลังงานจลน์และพลังงานศักย์เป็ นความร ้อนเนืองจากความเสียดทาน
4 : คลัทช์มท ี งแบบเปี
ั ยกและแบบแห ้ง

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 344 :
พารามิเตอร์ข ้อใดทีไม่มอ
ี ท
ิ ธิพลต่อการกําหนดความสามารถของคลัทช์และเบรก
1 : ความเฉือยของชินส่วนหมุนหรือเคลือนที
2 : อายุและความเชือถือได ้ของระบบ
3 : สภาพแวดล ้อมของระบบ
4 : ไม่มค
ี ําตอบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 345 :
สปริงขดแบบรับแรงกด (Helical Coil Spring) ดังแสดงในรูปทําจากวัสดุ Hard Drawn Wire (ASTM A229) (E = 200 kN/mm2 และ G = 80 kN/mm2) ถ ้ากําหนด
สปริงมีปลายเป็ นแบบปลายธรรมดา (Plain Ends) จงหาความแข็งตึงของสปริง (Spring Stiffness, k)

1 : 0.125 N/mm
2 : 0.855 N/mm
3 : 0.974 N/mm
4 : 1.21 N/mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 346 :
ธิ
สท

วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 79/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
1:

กร
2:

ิ ว
3:
าวศ
สภ
4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 347 :
สปริงขดทําด ้วย ลวดมีเส ้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิว มีขนาดเส ้นผ่าศูนย์กลางเฉลียของขด 4 นิว รับแรงกด 2000 lb ถ ้าค่า Wahl factor เป็ น 1.4 ความเค ้นเฉือนสูงสุดในสปริ
คือ
1 : 28,500 lb/in2
2 : 25,800 lb/in2
3 : 26,500 lb/in2
4 : 23,500 lb/in2

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 348 :
ิ องวัสดุ G = 12 x 106 Ib/in2 , tmax = 80,000 Ib/in2 , ดัชนีสปริง C = 8 , Wahl factor
สปริงขดแบบรับแรงกดต ้องยุบตัว 5 นิว เมือรับแรงกด 50 Ib ถ ้าคุณสมบัตข
1.18 เส ้นผ่าศูนย์กลางของลวดคือ
1 : 0.1226 in
2 : 0.1566 in
3 : 0.1488 in
4 : 0.1376 in

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 349 :
ิ องวัสดุ G = 83 GPa ,tmax = 500 MPa ดัชนีสปริง C = 8 , Wahl factor = 1.18 ขนาดเส ้นผ่าน
สปริงขดรับแรงดึงต ้องยืด 100 mm เมือรับแรง 50 kg คุณสมบัตข
ศูนย์กลางของลวดคือ
1 : 3.28 mm
2 : 4.86 mm
3 : 5.12 mm
4 : 5.85 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 350 :
สปริงขดรับแรงดึงต ้องยืด 100 mm เมือรับแรง 50 kg ทําจากวัสดุทมี
ี คณ
ุ สมบัตข
ิ องวัสดุ G=83 GPa,tmax = 500 MPa ดัชนีสปริง C = 8 , Wahl factor = 1.18 ถ ้าใ
ลวดขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 5.0 mm จํานวนขดสปริงคือ

1 : 20.7 ขด
2 : 21.1 ขด
3 : 19.8 ขด
4 : 21.5 ขด

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 351 :
ธิ

สปริงขดแบบรับแรงกด (Helical Coil Spring) ดังแสดงในรูปทําจากวัสดุ Hard Drawn Wire (ASTM A227) (E = 200 kN/mm2 และ G = 80 kN/mm2) กําหนด
สท

สปริงมีปลายเป็ นแบบปลายธรรมดา (Plain Ends) ถ ้ามีแรงกดในแนวแกนเท่ากับ 200 N กระทํากับสปริงขดแบบรับแรงกดตัวนี จงหาระยะยุบตัวของสปริง



วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 80/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
1
2
:
:
าวศ
99 mm
120 mm
3 : 171 mm
สภ
4 : 178 mm

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 352 :
เบรกก ้ามปูแบบสัน (Short-shoe Drum Brake) ดังแสดงในรูป มีดรัม (Drum) ขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 300 mm ทีปลายคันเบรกแต่ละข ้างมีแรงกระทําโดยแรง

= 6 kN ถ ้ากําหนดให ้สัมประสิทธิของความเสียดทานเบรกและดรัม, m = 0.3


1 : ข ้างซ ้ายเกิด Self-energizi
2 : ข ้างซ ้ายและข ้างขวาเกิด Self-energizing
3 : ข ้างขวาเกิด Self-energizing
4 : ข ้างซ ้ายและข ้างขวาไม่เกิด Self-energizing

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 353 :
เบรกก ้ามปูแบบสัน (Short-shoe Drum Brake) ดังแสดงในรูป มีดรัม (Drum) ขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 300 mm ทีปลายคันเบรกมีแรง F กระทําโดยแรง F =
kN ถ ้ากําหนดให ้สัมประสิทธิของความเสียดทานเบรกและดรัม, m = 0.3

จงตรวจสอบว่าเบรกจะเกิด Self- energizing


1 : เกิด Self-energizing ในทิศทางทีดรัมหมุนอยูใ่ นรูป
2 : ไม่เกิด Self-energizing ในทิศทางทีดรัมหมุนอยูใ่ นรูป
3 : เกิด Self-energizing ในทิศทางทีดรัมหมุนอยูใ่ นรูป และทิศทางตรงข ้าม
4 : ไม่เกิด Self-energizing ในทิศทางทีดรัมหมุนอยูใ่ นรูป และทิศทางตรงข ้าม

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ธิ
สท

ข ้อที 354 :

เบรกแผ่นคาด (Differential Band Brake) มีแรง P กระทําบนคันเบรคดังแสดงในรูป จงพิจารณาว่าระบบเบรกนีจะเริมเกิด Self Locking เมือใด
วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 81/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 355 :
เบรกก ้ามปูแบบสัน (Short-shoe Drum Brake) ดังแสดงในรูป มีดรัม (Drum) ขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 300 mm ทีปลายคันเบรกแต่ละข ้างมีแรงกระทําโดยแรง
= 6 kN ถ ้ากําหนดให ้สัมประสิทธิของความเสียดทานของเบรกและดรัม, m = 0.3

1 : ข ้างซ ้ายเกิด Self-energizing ในทิศทางทีดรัมหมุนอยูใ่ นรูป


2 : ข ้างซ ้ายและข ้างขวาเกิด Self-energizing ในทิศทางทีดรัมหมุนอยูใ่ นรูป
3 : ข ้างขวาเกิด Self-energizing ในทิศทางทีดรัมหมุนอยูใ่ นรูป
4 : ข ้างซ ้ายและข ้างขวาไม่เกิด Self-energizing ในทิศทางทีดรัมหมุนอยูใ่ นรูป

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 356 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับสปริง
1 : เป็ นวัสดุทมี
ี ความยืดหยุน่ มากกว่า
2 : ทํามาจากโลหะ และอโลหะ
3 : ใช ้เป็ นแหล่งพลังงานให ้กับกลไกในเครืองจักร
4 : ใช ้ส่งถ่ายกําลังจากชินส่วนหนึงไปยังอีกชินส่วนหนึง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 313 : A Belts, Chains


ธิ

ข ้อที 357 :
สท

คลัทช์รถยนต์มพ
ี นที
ื สัมผัสสองหน ้า (คลัทช์แห ้ง) ต ้องการส่งกําลังไม่เกิน 30 kW ทีความเร็วรอบ 200 rpm. กําหนดให ้ ro / ri = 3 , f = 0.3 และความดันสูงสุดทีสปริ

แผ่นคลัทช์ กดแผ่นคลัทช์ไม่เกิน 0.3 MPa จงคํานวณหาขนาดของแผ่นคลัทช์ โดยใช ้สมการทฤษฎีการสึกหรอสมําเสมอ


วน

กําหนดให ้
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 82/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
และ T = pfr1 (r02 – r12) P max

กร
1:

ิ ว
2: าวศ
สภ
3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 358 :
ผิวโค ้งบนหน ้าล ้อสายพานทําไว ้เพืออะไร
1 : เพิมความเสียดทานระหว่างสายพานกับล ้อสายพาน
2 : เพิมแรงดึงในสายพาน
3 : ลดความสึกหรอของสายพาน
4 : ควบคุมการเคลือนทีของสายพาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 359 :
ล ้อสายพานทีสามารถใช ้งานทีความเร็วขอบสูงสุดควรทําด ้วยวัสดุชนิดใด
1 : ไฟเบอร์
2 : ไม ้
3 : เหล็กหล่อ
4 : เหล็กกล ้าขึนรูป

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 360 :
การสลิป (slip) ของสายพานคืออะไร
1 : การเปลียนแปลงแรงดึงในสายพาน
2 : การเปลียนแปลงความยาวบนล ้อสายพาน
3 : การเปลียนแปลงความเร็วบนล ้อสายพาน
4 : การเปลียนแปลงความเร็วในสายพาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 361 :
การขับด ้วยโซ่มข
ี ้อเสียอย่างไร
1 : ความเร็วไม่สมําเสมอ
2 : ติดตังยากกว่าสายพาน
3 : เฟื องโซ่ต ้องมีขนาดใหญ่กว่าล ้อสายพานทีมีอต
ั ราทดเท่ากัน
4 : ไม่มคี วามอ่อนตัวในการส่งกําลัง

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 362 :
เฟื องโซ่ (Sprocket) ควรมีจํานวนฟั น (teeth) น ้อยสุดกีฟั น
1 : 15 ฟั น
2 : 16 ฟั น
3 : 17 ฟั น
ธิ

4 : 18 ฟั น
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

วน

ข ้อที 363 :
สง

ข ้อไหนเป็ นข ้อดีของสายพาน (Belts) ทีมีเหนือเฟื อง (Gears) และโซ่ (Chains)


203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 83/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


1 : มีอต
ั ราส่วนความเร็ว (Speed ratio) ทีแน่นอน

ขอ
2 : สามารถทํางานทีความเร็วสูง
3 : สามารถส่งถ่ายกําลังได ้มากกว่า
4 : มีความคล่องตัวในการต่อกับเพลา

กร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ิ ว
ข ้อที 364 : าวศ
ระบบขับสายพานแบบ Open-belt drive ประกอบด ้วยพุลเล่ยข ์ นาดเส ้นผ่านนศูนย์กลาง 4 นิวและ 8 นิว ตามลําดับ โดยพุลเล่ยต
์ วั เล็กเป็ นตัวขับและหมุนด ้วยความเร็ว 5
สภ
รอบต่อนาที จงคํานวณ หาความเร็วรอบของพุลเล่ยต
์ วั ใหญ่ กําหนดให ้มีการสูญเสียความเร็วระหว่างการส่งเท่ากับ 3 %
1 : 243 รอบต่อนาที
2 : 250 รอบต่อนาที
3 : 970 รอบต่อนาที
4 : 1000 รอบต่อนาท

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 365 :
การออกแบบการขับด ้วยโซ่ (Chain drives) ข ้อไหนไม่ถก
ู ต ้อง
1 : เฟื องโซ่ตวั ใหญ่ (Larger sprocket) ปรกติควรมีจํานวนฟั นไม่เกิน 120 ฟั น
2 : มุมโอบของโซ่บนเฟื องโซ่ตวั เล็ก (Smaller sprocket) ไม่ควรเล็กกว่า 120 องศา
3 : อัตราส่วนความเร็วสูงสุดในการออกแบบการขับด ้วยโซ่เท่ากับ 7.0
4 : ระยะห่างศูนย์กลาง (Center distance) ระหว่างแกนเฟื องโซ่ (Sprocket axes) ไม่ควรน ้อยกว่า 30- 50 พิตซ์

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 366 :
การครีพ (creep) ของสายพานคืออะไร
1 : การเปลียนแปลงแรงดึงในสายพาน
2 : การเปลียนแปลงความยาวบนล ้อสายพาน
3 : การเปลียนแปลงความเร็วบนล ้อสายพาน
4 : การเปลียนแปลงความเร็วในสายพาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 367 :
การขับด ้วยโซ่มข
ี ้อดีเหนือการขับด ้วยสายพานอย่างไร
1 : การบํารุงรักษาง่าย
2 : มีขนาดกะทัดรัดกว่าสายพาน
3 : มีความเร็วขอบสูง
4 : มีความอ่อนตัวในการส่งกําลัง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 368 :
การขับด ้วยโซ่เพือให ้ทํางานได ้อย่างราบรืนและมีอายุใช ้งานสูงสุด มีวธิ ก
ี ารกําหนดจํานวนฟั นบนเฟื องโซ่และจํานวนพิตช์ของโซ่อย่างไร
1 : จํานวนฟั นบนเฟื องโซ่เป็ นเลขคู่ จํานวนพิตช์ของโซ่เป็ นเลขคู่
2 : จํานวนฟั นบนเฟื องโซ่เป็ นเลขคี จํานวนพิตช์ของโซ่เป็ นเลขคี
3 : จํานวนฟั นบนเฟื องโซ่เป็ นเลขคู่ จํานวนพิตช์ของโซ่เป็ นเลขคี
4 : จํานวนฟั นบนเฟื องโซ่เป็ นเลขคี จํานวนพิตช์ของโซ่เป็ นเลขคู่

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 369 :
่ (Flexible elements) ชนิดใดทีใช ้ส่งกําลังระหว่างเพลา
ชินส่วนยืดหยุน
1 : เฟื อง
2 : โซ่
ธิ

3 : ลูกเบียวกับตัวตาม
สท

4 : พุลเล่ย ์

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
วน
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 84/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 370 :
การสลิประหว่างสายพานกับพุลเล่ยท
์ ําให ้เกิด
1 : การสันสะเทือนในการส่งกําลังลดลง

กร
2 : อัตราส่วนความเร็วไม่แน่นอน
3 : การสะท ้านในการส่งกําลังลดลง

ิ ว
4 : ถูกทุกข ้อ

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สภ
ข ้อที 371 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง
1 : สายพานรูปตัว V ทํางานด ้วยแรงดึงสายพานน ้อยกว่า
2 : สายพานรูปตัว V ทํางานได ้ราบเรียบและเงียบกว่า
3 : สายพานรูปตัว V สามารถดูดซับ shock load ได ้น ้อยกว่า
4 : สายพานรูปตัว V ทํางานในทีกะทัดรัดกว่าเพราะว่าระยะห่างระหว่างศูนย์กลางพุลเล่ยส ั
์ นกว่

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 372 :
ข ้อใดไม่มผ
ี ลต่อการเลือกสายพานรูปตัว V
1 : แรงดึงเริมต ้นบนสายพาน
2 : กําลังขับของมอเตอร์หรือเครืองต ้นกําลัง
3 : ความยาวสายพาน
4 : ี ้ทําสายพาน
วัสดุทใช

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 373 :
ความสามารถในการส่งกําลังด ้วยโซ่ไม่ขนอยู
ึ ก ่ บ
ั ข ้อใด
1 : แผ่นประกบ (Link plates) ด ้านข ้างของโซ่
2 : ลูกกลิงโซ่ (rollers) กับฟั นเฟื องโซ่
3 : สลักโซ่ (Pin) กับบูช
4 : ลูกกลิงโซ่กบั บูช

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 374 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้อง
1 : การส่งกําลังด ้วยเฟื องโซ่คห
ู่ นึง ด ้านตึง (Tight side) และด ้านหย่อน (Slack side) จะมีแรงบน เฟื องโซ่เท่ากัน
2 : การส่งกําลังด ้วยเฟื องโซ่คห ู่ นึง ด ้านตึง (Tight side) มีแรงบนเฟื องโซ่มากกว่าด ้านหย่อน (Slack side) ซึงด ้านนีจะมีแรงมากกว่าศูนย์
3 : การขับด ้วยสายพานรูปตัว V บนพุลเลย์คห ู่ นึงทังด ้านตึงและด ้านหย่อนจะอยูภ ่ ายใต ้แรงดึง แต่แรงดึงด ้านตึงจะมากกว่าด ้านหย่อน
4 : การขับด ้วยสายพานรูปตัว V บนพุลเลย์คห ู่ นึงทังด ้านตึงและด ้านหย่อนจะอยูภ่ ายใต ้แรงดึง เท่ากัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 375 :
ในการถ่ายทอดกําลังโดยใช ้สายพานวีผู ้ออกแบบต ้องใช ้พูเล่ย ์ ขนาด 100 mm และ 200 mm เพือต ้องการให ้ได ้อัตราทดเท่ากับ 2 :1 พอดี กําลังสูงสุดทีต ้องการ
์ วั ใหญ่หมุนด ้วยอัตราเร็ว 800 rpm จงหาว่าจะใช ้สายพานวีหน ้าตัดแบบใดจึงจะเหมาะสม
ถ่ายทอดเท่ากับ 8.3 kW (N3 = 1.2) ถ ้าพูเล่ยต

1 : หน ้าตัดแบบ Y
2 : หน ้าตัดแบบ Z
3 : หน ้าตัดแบบ A
4 : หน ้าตัดแบบ B

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ธิ

ข ้อที 376 :
โซ่โรลเล่อร์ (Roller Chain) ISO/R 606 06B-1 (มีระยะพิทช์ของโซ่ , p = 9.525 mm และแรงแตกหักน ้อยทีสุดของโซ่, Fb = 8.93 kN)ใช ้ในการถ่ายทอดกําลังเท่าก
สท

2.2 kW ด ้วยอัตราเร็วรอบของเฟื องโซ่เท่ากับ 1200 rpm ถ ้าอัตราทดเท่ากับ 1 และ จํานวนฟั นของเฟื องโซ่ (Sprocket) เท่ากับ

วน

1:
สง

2:
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 85/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
3:

4:

กร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ิ ว
ข ้อที 377 :
ข ้อความใดไม่ถก
าวศ
ู ต ้อง
สภ
1 : สายพานสามารถใช ้ในการถ่ายทอดกําลังระหว่างเพลาหนึงไปยังอีกเพลาหนึง มีราคา ถูกและใช ้ง่าย สามารถรับแรงกระตุกและการสันสะเทือนได ้ดี แต่มข
ี ้อเสียคื
อัตราทด ไม่แน่นอนเนืองมาจากการลืนไถลของสายพาน (Slip) และการยืดตัวของสายพาน (Creep)
2 : เนืองจากคุณสมบัตใิ นการอ่อนตัวของสายพาน (Flexibility) สายพานสามารถ ประกอบการขับของสายพานเป็ นแบบ Open Drive สําหรับเพลาทีขนานกันเพือทํา
เพลาขับและเพลาตามหมุนในทิศทางเหมือนกัน และเป็ นแบบ Cross Drive สําหรับ เพลาทีขนานกันเพือทําให ้เพลาขับและเพลาตามหมุนในทิศทางตรงข ้ามกัน
3 : สายพานแบน (Flat Belt) สามารถส่งกําลังได ้ดีกว่าสายพานวี (V-Belt)
4 : ไม่สามารถใช ้โซ่สง่ กําลังประกอบติดตังแบบ Cross Drive ได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 378 :
ในการถ่ายทอดกําลังโดยใช ้สายพานวี ใช ้มอเตอร์กระแสสลับขนาด 4 kW มีอต ั ราเร็วรอบ 1450 rpm ถ่ายทอดกําลังผ่านพูเล่ย ์ และสายพานไปขับเครืองอัดอากาศที
อัตราเร็วรอบ 815 rpm (ให ้ใช ้ Ns = 1.3) จงหาว่าจะใช ้สายพานวีหน ้าตัดแบบใดจึงจะเหมาะสม

1 : หน ้าตัดแบบ Y
2 : หน ้าตัดแบบ Z
3 : หน ้าตัดแบบ A
4 : หน ้าตัดแบบ B

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 379 :
ระบบส่งกําลังด ้วยสายพานมี pulley 2 ตัว ทีมีเส ้นผ่านศูนย์กลาง 4 นิว และ 8 นิว มีระยะระหว่าง ศูนย์กลาง 24 นิว pulley ตัวเล็กหมุนด ้วยความเร็ว 500 rpm ถ ้ามีการ
สลิป 3 % ความเร็วของpulley ตัวใหญ่คอ ื
1 : 243 rpm
2 : 245 rpm
3 : 247 rpm
4 : 249 rpm

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 380 :
ระบบส่งกําลังด ้วยสายพานมี pulley 2 ตัวทีมีเส ้นผ่านศูนย์กลาง 4 นิว และ 8 นิว มีระยะระหว่าง ศูนย์กลาง 24 นิว pulley ตัวเล็กหมุนด ้วยความเร็ ว 500 rpm ความ
ยาวของสายพานเล็กจะเป็ น
1 : 61.01 นิว
2 : 63.53 นิว
3 : 65.04 นิว
4 : 67.02 นิว

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 381 :
ระบบส่งกําลังด ้วยสายพานมี pulley 2 ตัวทีมีเส ้นผ่านศูนย์กลาง 4 นิว และ 8 นิว มีระยะระหว่าง ศูนย์กลาง 24 นิว pulley ตัวเล็กหมุนด ้วยความเร็ว 500 rpm มุมของกา
สัมผัสของ pulley เล็กจะ เป็ น
1 : 170.4๐
2 : 160.2๐
3 : 150.3๐
4 : 140.4๐

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ธิ
สท

ข ้อที 382 :

ระบบส่งกําลังด ้วยสายพานมี pulley ทีมีเส ้นผ่านศูนย์กลาง 200 mm และ 100 mm มีระยะห่าง ระหว่างศูนย์กลาง 600 mm มุมสัมผัสของ pulley ใหญ่คอ

วน

1 : 170๐
2 : 180๐
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 86/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


3 : 190๐

ขอ
4 : 200๐

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

กร
ิ ว
ข ้อที 383 :

1 : 170๐
าวศ
ระบบส่งกําลังด ้วยสายพานมี pulley ทีมีเส ้นผ่านศูนย์กลาง 200 mm และ 100 mm มีระยะห่าง ระหว่างศูนย์กลาง 600 mm มุมสัมผัสของ pulley เล็กคือ

180๐
สภ
2 :
3 : 190๐
4 : 200๐

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 384 :
ระบบส่งกําลังด ้วยสายพานมี pulley ทีมีเส ้นผ่านศูนย์กลาง 200 mm และ 100 mm มีระยะห่าง ระหว่างศูนย์กลาง 600 mm ความยาวของสายพานจะเป็ น
1 : 1.40 m
2 : 1.52 m
3 : 1.68 m
4 : 1.74 m

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 385 :
ความเค ้นทีเกิดขึนในสายพานส่งกําลังมีดงั นี
1 : ความเค ้นดึง และ ความเค ้นดัด
2 : ความเค ้นเฉือน และ ความเค ้นดึง
3 : ความเค ้นดัด และความเค ้นเฉือน
4 : ความเค ้นดึงอย่างเดียว

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 386 :
ข ้อเสียของการใช ้สายพานส่งกําลังคือ
1 : อัตราทดไม่แน่นอน
2 : ราคาแพง
3 : ใช ้งานมีเสียงดัง
4 : รับการสันสะเทือนไม่ได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 387 :
ข ้อความใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : สายพานสามารถใช ้ในการถ่ายทอดกําลังระหว่างเพลาหนึงไปยังอีกเพลาหนึง มีราคา ถูกและใช ้ง่าย สามารถรับแรงกระตุกและการสันสะเทือนได ้ดี แต่มข
ี ้อเสียคื
อัตราทด ไม่แน่นอนเนืองมาจากการลืนไถลของสายพาน (Slip) และการยืดตัวของสายพาน (Creep)
2 : เนืองจากคุณสมบัตใิ นการอ่อนตัวของสายพาน (Flexibility) สายพานสามารถ ประกอบการขับของสายพานเป็ นแบบ Open Drive สําหรับเพลาทีขนานกันเพือทํา
เพลาขับและเพลาตามหมุนในทิศทางเหมือนกัน และเป็ นแบบ Cross Drive สําหรับ เพลาทีขนานกันเพือทําให ้เพลาขับและเพลาตามหมุนในทิศทางตรงข ้ามกัน
3 : สายพานวี (V-Belt) สามารถส่งกําลังได ้ดีกว่าสายพานแบน (Flat Belt)
4 : สามารถใช ้โซ่สง่ กําลังประกอบติดตังแบบ Cross Drive ได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 388 :
ในการถ่ายทอดกําลังโดยใช ้สายพานวี ใช ้มอเตอร์กระแสสลับขนาด 5 kW มีอต ั ราเร็วรอบ 1250 rpm ถ่ายทอดกําลังผ่านพูเล่ยแ
์ ละสายพานไปขับเครืองดูดควันซึงมี
ความเร็วรอบ 480 rpm (ให ้ใช ้ Ns = 1.3) จงหาว่าจะใช ้สายพานวีหน ้าตัดแบบใดจึงจะเหมาะสม
ธิ

1 : หน ้าตัดแบบ Y
สท

2 : หน ้าตัดแบบ Z
3 : หน ้าตัดแบบ A

4 : หน ้าตัดแบบ B
วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 87/88
9/3/2020 สภาวิศวกร


ขอ
ข ้อที 389 :
ในการถ่ายทอดกําลังโดยใช ้สายพานวี ผู ้ออกแบบต ้องใช ้พูเล่ย ์ ขนาด 100 mm และ 200 mm เพือต ้องการให ้ได ้อัตราทดเท่ากับ 2 :1 พอดี กําลังสูงสุดทีต ้อง
์ วั ใหญ่หมุนด ้วยอัตราเร็ว 800 rpm จงหาว่าจะใช ้สายพานวีหน ้าตัดแบบใดจึงจะเหมาะสม
ถ่ายทอดเท่ากับ 8.3 kW (Ns = 1.2) ถ ้าพูเล่ยต

กร
1 : หน ้าตัดแบบ Y
2 : หน ้าตัดแบบ Z

ิ ว
3 : หน ้าตัดแบบ A
4 :
าวศ
หน ้าตัดแบบ B

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สภ

ข ้อที 390 :
ในการถ่ายทอดกําลังโดยใช ้สายพานวี ผู ้ออกแบบต ้องใช ้พูเล่ย ์ ขนาด 100 mm และ 300 mm เพือต ้องการให ้ได ้อัตราทดเท่ากับ 3 :1 พอดี กําลังสูงสุดทีต ้องการ
์ วั ใหญ่หมุนด ้วยอัตราเร็ว 650 rpm จงหาว่าจะใช ้สายพานวีหน ้าตัดแบบใดจึงจะเหมาะสม
ถ่ายทอดเท่ากับ 10 kW (Ns = 1.3) ถ ้าพูเล่ยต

1 : หน ้าตัดแบบ Y
2 : หน ้าตัดแบบ Z
3 : หน ้าตัดแบบ A
4 : หน ้าตัดแบบ B

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 391 :
โซ่โรลเล่อร์ (Roller Chain) ISO/R 606 08B-1 (มีระยะพิตย์ของโซ่, p = 12.70 mm และแรงแตกหักน ้อยทีสุดของโซ่ , Fb = 17.85 kN) ใช ้ในการถ่ายทอดกํา
เท่ากับ 5.5 kW ด ้วยอัตราเร็วรอบของพิเนียนเท่ากับ 1450 rpm ถ ้าอัตราทดเท่ากับ 2.5 และจํานวนฟั นของพิเนียนเท่ากับ 23 ฟั น จงหาแรงดึงในโซ่, Ft (โดยถือว่าแรง
ศูนย์กลางของโซ่มค
ี า่ น ้อยมากเมือเปรียบเทียบกับแรงดึงในแนวสัมผัส) และค่าความปลอดภัยของโซ่
1 : Ft = 0.451 kN และ N = 19.33
2:
Ft = 0.471 kN และ N = 20.33
3:
Ft = 0.780 kN และ N = 22.88
4:
Ft = 0.795 kN และ N = 19.33

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

สภาวิศวกร 487/1 ซอย รามคําแหง 39 (เทพลีลา 1) แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 สายด่วน 1303 โทรสาร 02-935-6695
@ สงวนลิขสิทธิ 2555 สภาวิศวกร : ติดต่อสภาวิศวกร | Contact

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=39&aDb=0 88/88

You might also like