Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 76

NUMBER THEORY

Lecture Note by
Thanatyod Jampawai, Ph.D.
Suan Sunandha Rajabhat University, Version August,
MAT
ทฤษฎีจาํ นวน
NUMBER THEORY

อาจารย์ ดร.ธนัชยศ จําปาหวาย


สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราภัฏสวนสุนนั ทา
สารบัญ

ความรู้ พนฐาน
ื (Prelimanary)
. บทนํา (Introduction) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. สมบัติจํานวนเต็ม (Properties of Integers) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. อุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical Induction) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

การหารลงตัว (Divisibility)
. ขันตอนการหาร (Division Algorithm) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. การหารลงตัว (Divisibility) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. ตัวหารร่วมมาก (The Greatest Common Divisor) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. ขันตอนวิธีแบบยูคลิค (Euclidean Algorithm) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. ตัวคูณร่วมน้ อย (The Least Common Multiple) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

จํานวนเฉพาะ (Primes)
. นิยามและสมบัติบางประการ (Definitions & Properties) . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. ทฤษฎีบทหลักมูลเลขคณิต (The Fundamental Theorem of Arithmematic) . . . . . . . . . .
. การค้ นหาจํานวนเฉพาะ (Seeking Prime) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

สมภาค (Congruence)
. นิยามและสมบัติ (Definition & Properties) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. สมการสมภาคเชิงเส้ น (Linear Congruence Equations) . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. ทฤษฎีบทเศษเหลือของจีน (Chinese Remainder Theorem) . . . . . . . . . . . . . . . . .
. ระบบส่วนตกค้ างลดทอน (Reduced Residue System) . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ฟั งก์ ชันเลขคณิต (Arithematic Functions)


. ฟั งก์ชนั เชิงการคูณ (Multiplicative function) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. ฟั งก์ชนั ออยเลอร์ -ฟี (Euler phi-functions) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
. ฟั งก์ชนั จํานวนเต็มมากสุด (The greatest integer functions) . . . . . . . . . . . . . . . . .

สมการไดโอแฟนไทน์ (Diophatine Equations)


. สมการเชิงเส้ นดีกรี หนึง (First degree of Linear Equations) . . . . . . . . . . . . . . . . .

ข สารบัญ

. สมการปี ทาโกรัส (Phythagoras' Equations) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .


. สมการไดโอแฟนไทน์กําลังสอง (Square Diophantine Equations) . . . . . . . . . . . . . . .
บทที
ความรู้พนฐาน
ื (Prelimanary)

. บทนํา (Introduction)
ทษฎี จํานวนเป็ น สาขาคณิตศาสตร์ ที ศึกษาสมบัติ ของจํานวนเต็ม และจํานวนนับ เนืองจากเป็ น จํา นวนนวนแรกที มนุษย์
รู้จกั สมบัติเหล่านันจึงเป็ นความสนใจของมนุษย์ ตลอดมา วิชาทฤษฎีจํานวนเป็ นวิชาทีถูกยกย่องจาก คาร์ ล ฟรี ดริ ช เกา
ส์ (Carl Fridrich Gauss - ) ว่าวิชาทฤษฎีจํานวนเปรี ยบเสมือนราชินีแห่งคณิตศาสตร์ (Number theory is the
queen of mathematics)
วิชาทฤษฎีจํานวนเป็ นสาขาวิชาทางคณิตศาสตร์ ทีเก่าแก่ทีสุด โดยมีหลักฐานปรากฎเมือ ปี ก่อนในสมัยปี ทาโก
รัส (Pythagoras - B.C.)
ในสมัยปี ทาโกรัส ได้ พบ จํานวนมิตรภาพ (amicable numbers) คูแ่ รกคือ และ มีสมบัติพิเศษคือ
ตัวหารแท้ ของ คือ , , , และ มีผลบากเท่ากับ
ตัวหารแท้ ของ คือ , , , , , , , , , และ มีผลบวกเท่ากับ
• ปี ปี แยร์ เดอ แฟร์ มาต์ (Pierre De Fermat - ) พบจํานวนมิตรภาพคูท่ ีสองคือ และ
• ปี เรอเน เดส์การ์ ตส์ (Rene Descartes - ) พบจํานวนมิตรภาพคูท่ ีสามคือ และ
• ปี เลออนฮาร์ ด ออยเลอร์ (Leonhard Euler - ) ได้ พบจํานวนมิตรภาพอีก คู่ แต่อีก ปี ตอ่ มา
ถูกตรวจสอบว่ามี คูท่ ีไม่เป็ นจํานวนมิตรภาพ
• ปี เอเดรี ยง มารี เลอจองด์ (Adrien Marie Legendre - ) ได้ พบอีกคูค่ ือ และ
• ปี เด็กชายนิโคโล ไปนินิ (Nicolo Painini) ชสวอิตาลีอายุ ปี พบจํานวนมิตรภาพทีน้ อยกว่าของแฟร์ มาต
คือ และ
• ปั ฮิลตัน เชน (Hilton Chen) และเดล วูดส์ (Dale Woods) ได้ พบจํานวนมิตรภาพทีมขนาดใหญ่ถงึ หลัก
• ปั จจุบนั เราใช้ คอมพิวเตอร์ คํานวนจํานวนมิตรภาพได้ ทงหมด
ั คู่ (ข้ อมูล ณ ปี ค.ศ . )
จํานวนทีมีความมหัศจรรญือีกจํานวนก็คือ จํานวนสมบูรณ์ (perfect number) เป็ นจํานวนทีเท่ากับผลบวกของตัวหารแท้
ของจํานวนนัน เช่น มีตวั หารแท้ คือ , และ ผลบวกเท่ากับ และอีกสองจํานวนต่อมาคือ และ ในปี ได้
พบทังหมด จํานวน
บทที . ความรู้พืนฐาน (PRELIMANARY)

ในสมัยยูคลิด (Euclic of Alexandria - B.C.) เมือประมาณ ปี ก่อนคริ สกาล ปรากฎในหนังสืออิลิเมนต์ มี


เรื องราวเกียวกับทฤษฎีจํานวน ได้ แก่ จํานวนคู่ จํานวนคี จํานวนเฉพาะ ทฤษฎีบทขังตอนวิธีแบบยูคลิด ตัวหารร่วมมาก ตัว
คูณรวมน้ อย และทฤษฎีบททีว่าจํานวนเฉพาะมีจํานวนเป็ นอนันต์ (สมวงษ์ แปลงประสพโชค. )
• ในปี มีนกั คณิตศาสตร์ ชาวกรี ก ดีโอฟานโตสแห่งอเล็กซานเดรี ย (Diophantos of Alexandria) ได้ ติพิมพ์หนังสือ
เล่ม ได้ เขียนวิธีการแก้ สมการทางพีชคณิตและปั ญหาต่างๆ จนกลายเป็ นจุดเริ มต้ นของทฤษฎีจํานวน ปั จจุบนั
สมการพีชคณิตทีมีคําตอบเป็ นจํานวนเต็มเรี ยกว่า สมการไดโอแฟนไทน์ (Diophantine equation)
• นักคณิตศาสตร์ ชาวฝรังเศสชือ แฟร์ มาต ซึงต่อมาได้ รับการยกย่องว่าเป็ นบิดาของทฤษฎีจํานวนสมัยใหม่ ได้ ศกึ ษา
งานของไดโอฟานโตสและเป็ นคนทีได้ พบสมบัติขิงจํานวนเต็มมากมาย
• ในปี เกาส์ ได้ ตี พิมพ์ Disquistiones Arithmeticae เป็ น หนังสือ เกียวกับ ทฤษฎี จํานวนได้ ทําการพิสจู น์ อย่าง
เป็ นระบบ และต่อมาก็สนใจศึกษาสมบัติจํานวนเฉพาะ
• แฟร์ มาต์ได้ เสนอสูตรในการหาจํานวนเฉพาะคือ Fn = 22 + 1 เป็ นจํานวนเฉพาะสําหรับทุกจํานวนเต็ม n ≥ 0
n

ต่อมาพบว่า n = 5 ไม่เป็ นจํานวนเฉพาะเนืองจาก 641|F5 โดยออยเลอร์ เรี ยก Fn ว่าจํานวนแฟร์ มาต์ (Fermat


number) ในกรณีทีเป็ นจํานวนเฉพาะเรี ยกว่า จํานวนเฉพาะแฟร์ มาต์ (Fermat prime)
• จํานวนเฉพาะคู่แฟด (twin prime) คือจํานวนเต็ม p และ p + 2 เป็ นจํานวนเฉพาะทังคู่ เช่น และ , และ ,
และ , และ เป็ นต้ น
ข้ อมูลจาก [ ] หน้ า -

. สมบัตจิ าํ นวนเต็ม (Properties of Integers)


ในหัวข้ อนีเราจะกล่าวถึงระบบจํานวนเต็ม และศึกษาสมบัติทีเกิดจากสัจพจน์ของจํานวนเต็ม ให้ Z แทนเซตจํานวนเต็ม

−5 −4 −3 −2 −1 0 1 2 3 4 5

Z = {..., −3, −2, −1, 0, 1, 2, 3, ...}

สัจพจน์ จาํ นวนเต็ม (Integer Axiom)


สมมติ วา่ มี เซต Z ซึงเรี ยกว่า เซตของจํานวนเต็ม และมี การดําเนิน การทวิภาค + และ · ซึงเรี ยกว่าการบวกและการ
คูณตามลําดับ โดยมีสมบัติดงั นี
(P ) ∀x, y ∈ Z x+y และ x·y เป็ นจํานวนเต็ม
(P ) ∀x, y ∈ Z x+y =y+x และ x·y =y·x

(P ) ∀x, y, z ∈ Z (x + y) + z = x + (y + z) และ (x · y) · z = x · (y · z)

(P ) ∃0 ∈ Z ∀x ∈ Z x+0=x=0+x เรี ยก 0 ว่าเอกลักษณ์การบวก


. . สมบัติจํานวนเต็ม (PROPERTIES OF INTEGERS)

(P ) ∃1 ∈ Z ∀x ∈ Z x·1=x=1·x เรี ยก 1 ว่าเอกลักษณ์การคูณ


(P ) ∀x ∈ Z ∃y ∈ Z x+y =0=y+x เรี ยก y ตัวผกผันสําหรับการบวกของ x เขียนแทนด้ วย −x
(P ) ∀x, y, z ∈ Z x · (y + z) = x · y + x · z

เราจะเขียน xy แทน x · y และ x − y แทน x + (−y)


ทฤษฎีบท . . ให้ a, b, c เป็ นจํานวนเต็ม แล้ ว
. a0 = 0 = 0a . (−a)(−b) = ab

. (−a)b = a(−b) = −(ab) . ถ้ า a+b=a+c แล้ ว b=c

สมบัตไิ ตรวิภาค (Trichotomy law)


มีสบั เซต N ของ Z คือ N = {1, 2, 3, ...} ทีมีสมบัติ
. 0∈
/N

. ถ้ า a, b ∈ N แล้ ว a+b∈N และ ab ∈ N

. ถ้ า x∈Z แล้ ว x∈N หรื อ x=0 หรื อ −x ∈ N

บทนิยาม . . ให้ a, b ∈ Z เราจะกล่าวว่า


a มากกว่ า (greater than) b เขียนแทนด้ วย a>b ก็ตอ่ เมือ a−b∈N

a น้ อยกว่ า (less than) b เขียนแทนด้ วย a<b ก็ตอ่ เมือ b>a

ทฤษฎีบท . . ให้ a, b, c, x, y ∈ Z แล้ ว


. ถ้ า a>b แล้ ว a+c>b+c . ถ้ า a>b และ x>0 แล้ ว ax > bx

. ถ้ า a>b และ b>c แล้ ว a>c . ถ้ า a>b และ x<0 แล้ ว ax < bx

. ถ้ า a>b และ x>y แล้ ว a+x>b+y

ทฤษฎีบท . . สําหรับจํานวนเต็ม a, b ใดๆ ถ้ า ab = 0 แล้ ว a = 0 หรื อ b = 0


บทแทรก . . สําหรับจํานวนเต็ม a, b, c ใดๆ ถ้ า ab = ac และ a ̸= 0 แล้ ว b = c

หลักการจัดอันดับดี (Well Ordering Principle)


ให้ S ⊆ N และ S ̸= ∅ จะได้ วา่ มี m ∈ S ซึง m≤s ทุกๆ s ∈ S
ทฤษฎีบท . . (Archimedean Principle) สําหรับจํานวนเต็มบวก a และ b ใดๆ จะมีจํานวนเต็มบวก n ซึง na ≥ b
บทที . ความรู้พืนฐาน (PRELIMANARY)
แบบฝึ กหัด .
. ให้ a, b, c, d ∈ Z จงพิสจู น์วา่
. (−1)a = −a
. (a − b) + (c − d) = (a + c) − (b + d)
. (a − b) − (c − d) = (a + d) − (b + c)
. (a − b)(c − d) = (ac + bd) − (ad + bc)
. a − b = c − d ก็ตอ
่ เมือ a + d = b + c
. (a − b)c = ac − bc

. ให้ a, b, c, x, y ∈ Z จงพิสจู น์วา่


. a < b ก็ตอ
่ เมือ a + c < b + c
. a − x < a − y ก็ตอ
่ เมือ x > y
. ถ้ า a < 0 แล้ ว ax > ay ก็ตอ่ เมือ x < y
. ถ้ า c > 0 และ ac < bc แล้ ว a < b
. a − b = c − d ก็ตอ ่ เมือ a + d = b + c
. ถ้ า x + x = 0 แล้ ว x = 0
. ถ้ า a3 < b3 แล้ ว a < b
. จงพิสจู น์วา่ a3 = b3 แล้ ว a = b
. จงพิสจู น์วา่ a2 − ab + b2 > 0 เมือ a, b ∈ Z
. . อุปนัยเชิ งคณิ ตศาสตร์ (MATHEMATICAL INDUCTION)

. อุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical Induction)


หลักโดมิโน (Donimo principle)

1 2 3 4 5 6 k k+1

ทฤษฎีบท . . ให้ n ∈ N และ P (n) เป็ นประพจน์ หรื อ ∀n ∈ N, p(n) ถ้ า


. ขันพืนฐาน (Basic step) : P (1) เป็ นจริ ง
. ขันอุปนัย (Inductive step) : ∀k ∈ N, P (k) → p(k + 1) เป็ นจริ ง
เราจะสรุปได้ วา่ ประพจน์ ∀n ∈ N, p(n) เป็ นจริ ง
n(n + 1)
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 1 + 2 + 3 + 4 + ... + n = สําหรับทุกจํานวนนับ n
2
n(n + 1)
ให้ P (n) แทน 1 + 2 + 3 + 4 + ... + n = เมือ n ∈ N
2
. ขันฐาน (Basic step) : เนืองจาก 1= 1(1+1)
2
ดังนัน P (1) เป็ นจริ ง
. ขันอุปนัย (Inductive step) : สมมติวา่ P (k) เป็ นจริ ง สําหรับจํานวนนับ k ใดๆ นันคือ
k(k + 1)
1 + 2 + 3 + 4 + ... + k =
2
โดยสมมติฐาน จะได้ วา่
k(k + 1)
1 + 2 + 3 + 4 + ... + k + (k + 1) = + (k + 1)
2 [ ]
k
= (k + 1) +1
2
(k + 1)(k + 2)
=
2
ทําให้ สรุปได้ วา่ P (k + 1) เป็ นจริ ง
n(n + 1)
ดังนัน 1 + 2 + 3 + 4 + ... + n = สําหรับทุกจํานวนนับ n
2
n(n + 1)(n + 2)
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 1 · 2 + 2 · 3 + 3 · 4 + ... + n(n + 1) = สําหรับทุกจํานวนนับ n
3
1 1 1 1 n
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า + + + ... + = สําหรับทุกจํานวนนับ n
1·2 2·3 3·4 n(n + 1) n+1
บทที . ความรู้พืนฐาน (PRELIMANARY)
แบบฝึ กหัด .
จงพิสจู น์ข้อความต่อไปนี โดยใช้ หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์
n(n + 1)(2n + 1)
. 12 + 22 + 32 + ... + n2 = สําหรับทุกจํานวนนับ n
6
[ ]2
n(n + 1)
. 3 3 3
1 + 2 + 3 + ... + n = 3
สําหรับทุกจํานวนนับ n
2

. 1 + 3 + 5 + ... + (2n − 1) = n2 สําหรับทุกจํานวนนับ n

. 2 + 4 + 6 + ... + (2n) = n2 + n สําหรับทุกจํานวนนับ n

. 2 + 22 + 23 + ... + 2n = 2n+1 − 2 สําหรับทุกจํานวนนับ n

. 1 · 2 + 2 · 22 + 3 · 23 + ... + n · 2n = (n − 1)2n+1 + 2 สําหรับทุกจํานวนนับ n

. 1 · 3 + 2 · 5 + 3 · 7 + ... + (3n − 2) · (3n + 1) = n(3n2 + 3n − 2) สําหรับทุกจํานวนนับ n

. 1(1!) + 2(2!) + 3(3!) + ... + n(n!) = (n + 1)! − 1 สําหรับทุกจํานวนนับ n

. (1 − 12 )(1 − 13 )...(1 − n1 ) = 1
n
สําหรับทุกจํานวนนับ n

n(n + 1)(n + 2)(n + 3)


. 1 · 2 · 3 + 2 · 3 · 4 + 3 · 4 · 5 + ... + n(n + 1)(n + 2) = ทุกจํานวนนับ n
4
บทที
การหารลงตัว (Divisibility)

. ขันตอนการหาร (Division Algorithm)


ทฤษฎีบท . . (ขันตอนการหาร) ให้ a และ b เป็ นจํานวนเต็ม โดยที a ̸= 0 แล้ วมีจํานวนเต็ม q และ r เพียงคู่เดียว ที
ทําให้
b = aq + r โดยที 0 ≤ |r| < |a|
เรี ยก a ว่าตัวหาร (denominator) b ว่าตัวถูกหาร (numerator) q ว่าผลหาร (quotient) และ r ว่าเศษ (remainder)
หมายเหตุ เศษเป็ นได้ ทงจํ
ั านวนเต็มบวกและจํานวนเต็มลบ เช่น 3 หาร 2 ได้ เศษเท่ากับ 2 หรื อ −1 ก็ได้ เพราะว่า
2 = 3(0) + 2 หรื อ 2 = 3(1) − 1
ตัวอย่ าง . . จงเขียนการหารต่อไปนีโดยใช้ ขนตอนการหาร

. 11 หาร 111 . −12 หาร 1205

. 9 หาร −108 . −5 หาร −183

ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนนับตังแต่ 1 ถึง 200 ทังหมดทีหารด้ วย 6 เหลือเศษ 2 และเมือหารด้ วย 14 เหลือเศษ 10


ตัวอย่ าง . . จงเขียนรูปแบบทังหมดของจํานวนเต็ม a เมือกําหนดให้
. 2 หาร a . 5 หาร a

. 3 หาร a . 7 หาร a

ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่ากําลังสองของจํานวนเต็มใดๆจะอยูใ่ นรูป


3k หรื อ 3k + 1
สําหรับบางจํานวนเต็ม k
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่ากําลังสามของจํานวนเต็มใดๆจะอยูใ่ นรูป
9k หรื อ 9k + 1 หรื อ 9k + 8
สําหรับบางจํานวนเต็ม k
บทที . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)
การหาเศษจากการหาร
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b และ c เป็ นจํานวนเต็มโดยที a ̸= 0 ถ้ า
a หาร b เหลือเศษ r
a หาร c เหลือเศษ s

แล้ ว
(ก) a หาร b+c เหลือเศษ r+s

(ข) a หาร bc เหลือเศษ rs

ตัวอย่ าง . . ให้ m และ n เป็ นจํานวนเต็มบวก ถ้ า


5 หาร m เหลือเศษ 4
5 หาร n เหลือเศษ 2

แล้ ว 5 หารจํานวนต่อไปนี เหลือเศษเท่าใด


. m+n . m2 . m(n + 2) . 5m + 3n

. mn . n2 . n2 (n + m) . m−n

ตัวอย่ าง . . ให้ a, b และ c เป็ นจํานวนเต็มบวก ถ้ า


7 หาร a เหลือเศษ 1
7 หาร b เหลือเศษ 3
7 หาร c เหลือเศษ 5

แล้ ว 7 หารจํานวนต่อไปนี เหลือเศษเท่าใด


. a+b+c . abc . 2a + 3(b + c) . (a + b + c)2

. a(b + c) . a2 + b2 . ab + bc + ac . 5a + 2b − 3c

ทฤษฎีบท . . ให้ a และ b เป็ นจํานวนเต็มโดยที a ̸= 0 และ n เป็ นจํานวนนับ ถ้ า


a หาร b เหลือเศษ r แล้ ว a หาร bn เหลือเศษ rn

ตัวอย่ าง . . จงหาเศษทีเกิดจากการหารต่อไปนี
. 2 หาร 5100 . 7 หาร 1002558

. 2 หาร 31999 + 52000 . 31 หาร 22018

. 3 หาร 2999 · 5898 . 13 หาร 444444


. . ขันตอนการหาร (DIVISION ALGORITHM)

การหาเลขท้ ายของจํานวนเต็มในรู ปเลขยกกําลัง


หลักการ ถ้ าต้ องการหาเลขท้ าย (หลักหน่วย) ของจํานวนในรูปทีซับซ้ อน ใช้ หลักทีว่า
10 หารจํานวนเต็มบวก a เหลือเศษ r ก็ตอ่ เมือ เลขท้ าย (หลักหน่วย) ของ a คือ r

ตัวอย่ าง . . จงหาหลักหน่วยของจํานวนต่อไปนี
. 21000 . 6666 . 55555 + 44444

. 31999 . 7888 . (3100 + 5100 )100

หลักการ ถ้ าต้ องการหาเลขท้ ายสองหลักสุดท้ าย (หลักหน่วยและหลักสิบ) ของจํานวนในรูปทีซับซ้ อน ใช้ หลักทีว่า


100 หารจํานวนเต็มบวก a เหลือเศษ r ก็ตอ่ เมือ หลักสิบและหลักหน่วย ของ a คือ r

ตัวอย่ าง . . จงหาสองหลักสุดท้ ายของจํานวนต่อไปนี


. 2100 . 5555

. 3100 . 6666
บทที . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)
แบบฝึ กหัด .
. มีจํานวนนับตังแต่ 1 ถึง 100 รวมทังหมดกีจํานวนซึงเมือหารด้ วย 6 เหลือเศษ 2 และหารด้ วย 14 เหลือเศษ 1
. จงแสดงว่ากําลังสีของจํานวนเต็มใดๆ จะอยูใ่ นรูป 5k หรื อ 5k + 1 สําหรับบางจํานวนเต็ม k
. จงหาจํานวนเต็ม n ∈ (2000, 3000) ซึงทําให้ 5 หาร (2n + 6m ) เหลือเศษ 0 เมือ m เป็ นจํานวนเต็มบวกใดๆ
n(n + 1)(2n + 1)
. จงแสดงว่า เป็ นจํานวนเต็มเสมอ ไม่วา่ n จะเป็ นจํานวนเต็มอะไรก็ตาม
6

. ถ้ า n เป็ นจํานวนเต็มคีแล้ ว n4 + 4n2 + 11 สามารถเขียนในรูป 16k สําหรับจํานวนเต็ม k บางจํานวน


. ให้ a, b และ c เป็ นจํานวนเต็มบวก ถ้ า

9 หาร a เหลือเศษ 3
9 หาร b เหลือเศษ 5
9 หาร c เหลือเศษ 7

แล้ ว 9 หารจํานวนต่อไปนี เหลือเศษเท่าใด


. a+b+c . abc . 2a + 5(b + c) . (a + b − c)3
. a(b + c) . 3a2 + 2b2 . ab + ac . 5a + b + 3c

. จงหาเศษทีเกิดจากการหาร
. 2 หาร 25492013 . 2 หาร 32548 + 51001 . 7 หาร 34444344
. 3 หาร 5555 . 3 หาร 7289855 . 11 หาร 999999

. จงหาหลักหน่วยของจํานวนต่อไปนี
. 22013 . 32548 + 51001 . 88887777
. 25492013 . 1132002 . 1234567898765

. จงหาสองหลักสุดท้ ายของจํานวนต่อไปนี
. 255 . 6666 . 102102
. 3500 . 22
10
. 77777
. . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)

. การหารลงตัว (Divisibility)
บทนิยาม . . ให้ a และ b เป็ น จํานวนเต็ม โดยที a ̸= 0 เราจะกล่าวว่า a หาร b ลงตัว (b divides a) ซึงแทนด้ วย
สัญญาลักษณ์ a | b นิยามโดย

a|b ก็ตอ่ เมือ มีจํานวนเต็ม c ทีทําให้ b = ac

เราจะเรี ยก a ว่าตัวหาร (divisor) หรื อตัวประกอบ (factor) ของ b หรื อเรี ยก b ว่าเป็ นพหุคูณ (multiple) ของ a
ถ้ า a หาร b ไม่ ลงตัว เขียนแทนด้ วย a - b

ข้ อสังเกต สําหรับจํานวนเต็ม aใดๆ 1|a และสําหรับ a ̸= 0 จะได้ วา่ a|0 และ a|a

ตัวอย่ าง . . จงให้ เหตุผลเกียวกับการหารต่อไปนีตามนิยามการหารลงตัว

. 13 | 182 เพราะว่า . −12 | (−108) เพราะว่า


. −5 | 30 เพราะว่า . 133 | 0 เพราะว่า
. 15 | (−225) เพราะว่า . 7 - 17 เพราะว่า

ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนเต็มบวก a ทังหมดทีสอดคล้ องเงือนไข

. a | 10 . (a + 1) | (a + 37)

. a | 24 . a | 75 และ a | 125

. (a − 1) | 48 . 6|a และ 8|a

ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่าไม่มีจํานวนเต็ม a ใดๆซึง 2|a และ 2 | (a + 1)

ตัวอย่ าง . . สําหรับจํานวนเต็ม a, p และ q ใดๆ จงแสดงว่า

ถ้ า a | (2p − 3q) และ a | (4p − 5q) แล้ ว a|q

ตัวอย่ าง . . สําหรับจํานวนเต็ม k ใดๆ ซึง

d | (24k + 29) และ d | (3k + 2)

จงหาจํานวนเต็มบวก d ซึงมากกว่า 1

ตัวอย่ าง . . ถ้ า d เป็ นจํานวนเต็มบวกทีมากกว่า 1 และจํานวน 3456, 2561 และ 1308 หารด้ วย d มีเศษเหลือเท่ากัน
คือ r แล้ ว d + r เท่ากับเท่าใด
บทที . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)

การพิสูจน์ การหารลงตัวโดยใช้ ขันตอนการหาร


ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 2 | (a2 + a) เมือ a เป็ นจํานวนเต็ม
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 3 | (a3 − a) เมือ a เป็ นจํานวนเต็ม
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 3 | a(a2 + 2) เมือ a เป็ นจํานวนเต็ม
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 8 | (a2 − 1) เมือ a เป็ นจํานวนเต็มคี
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 16 | (n4 + 4n2 + 11) เมือ n เป็ นจํานวนเต็มคี

สมบัตกิ ารหารลงตัว
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b และ c เป็ นจํานวนเต็ม แล้ ว
. ถ้ า a | b และ b ̸= 0 แล้ ว |a| ≤ |b|
. ถ้ า a|b และ b|a แล้ ว a = ±b

. ถ้ า a | b และ b | c แล้ ว a | c
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b, c และ d เป็ นจํานวนเต็ม แล้ ว
. ถ้ า a | b และ c | d แล้ ว ac | bd
. ถ้ า a | b แล้ ว an | bn ทุกๆจํานวนนับ n
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b และ c เป็ นจํานวนเต็ม แล้ ว
. ถ้ า a | b แล้ ว a | bx ทุกๆจํานวนเต็ม x
. ถ้ า a | b แล้ ว a | bn ทุกๆจํานวนนับ n
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b และ c เป็ นจํานวนเต็ม แล้ ว
. ถ้ า a | b และ a | c แล้ ว a | (b + c)
. ถ้ า a|b และ a|c แล้ ว a | bc

. ถ้ า a|b และ a|c แล้ ว a | (bx + cy) ทุกๆจํานวนเต็ม x และ y


ตัวอย่ าง . . ให้ a, b และ c เป็ นจํานวนเต็ม จงพิจารณาข้ อความต่อไปนี ถ้ าถูกจงพิสจู น์ ถ้ าผิดจงยกตัวอย่างค้ าน
. ถ้ า a | (b + c) แล้ ว a|b หรื อ a|c . ถ้ า a|c และ b|c แล้ ว ab | c

. ถ้ า a | bc แล้ ว a|b หรื อ a|c . ถ้ า a2 | b2 แล้ ว a|b

ทฤษฎีบท . . ให้ a, b และ c เป็ นจํานวนเต็ม


ถ้ า a | (b + c) และ a | b แล้ ว a | c
บทแทรก . . ให้ a, b, c และ k เป็ นจํานวนเต็ม ถ้ า a | (ak + c) แล้ ว a | c
. . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)

ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนเต็มบวก a ทังหมดทีสอดคล้ องเงือนไข


. a | (a + 10) . a | (10 − a)(10 + a)

. a | (a2 − a + 20) . a2 | ((a2 + 3)2 + 7)

ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนเต็มบวก a ทังหมดทีสอดคล้ องเงือนไข


. a | (a + 5)3 . (a − 1) | (a + 1)3

. (a + 1) | (a2 + 1) . (a − 3) | (a3 − 3)

การพิสูจน์ การหารลงตัวโดยใช้ หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์


ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 3 | (5n − 2n ) เมือ n เป็ นจํานวนเต็มบวก
บทพิสูจน์. ให้ P (n) แทนข้ อความ 3 | (5n − 2n ) เมือ n เป็ นจํานวนเต็มบวก
. ขันพืนฐาน (Basic step) : เนืองจาก 3 | (51 − 21 ) ดังนัน P (1) เป็ นจริ ง
. ขันอุปนัย (Inductive step): สมมติวา่ P (k) เป็ นจริ ง เมือ k ∈ N นันคือ 3 | (5k − 2k ) จะมีจํานวนเต็ม q ซึง
5k − 2k = 3q

โดยสมมติฐานจะได้ วา่
5k+1 − 2k+1 = 5 · 5k − 2 · 2k
= 5 · 5k − 2 · 2k
= 5(3q + 2k ) − 2 · 2k
= 15q + 3 · 2k = 3(5q + 2k )

ดังนัน 3 | (5k+1 − 2k+1 ) สรุปได้ วา่ P (k + 1) เป็ นจริ ง


ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 5 | (33n+1 + 2n+1 ) เมือ n เป็ นจํานวนเต็มบวก
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 8 | (52n + 7) เมือ n เป็ นจํานวนเต็มบวก
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า (3!)n | (3n)! สําหรับจํานวนนับ n
บทที . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)
การตรวจสอบการหารลงตัวในเลขฐานสิบ
ทฤษฎีบท . . ให้ a1 , a2 , ..., an เป็ นเลขโดด (0, 1, 2, 3, .., 9) และ a1 a2 ...an เป็ นเลขฐานสิบ n หลัก โดยที a1 ̸= 0
. 2 | a1 a2 ...an ก็ตอ่ เมือ 2 |an

. 3 | a1 a2 ...an ก็ตอ่ เมือ 3 |(a1 + a2 + ... + an )

. 4 | a1 a2 ...an ก็ตอ่ เมือ 4 |an−1 an

. 5 | a1 a2 ...an ก็ตอ่ เมือ 5 |an

. 6 | a1 a2 ...an ก็ตอ่ เมือ 3 |(a1 + a2 + ... + an ) และ 2 | an

. 7 | a1 a2 ...an ก็ตอ่ เมือ 7 |(a1 a2 ...an−1 − 2an )

. 8 | a1 a2 ...an ก็ตอ่ เมือ 8 |an−2 an−1 an

. 9 | a1 a2 ...an ก็ตอ่ เมือ 9 |(a1 + a2 + ... + an )

. 10 | a1 a2 ...an ก็ตอ่ เมือ 10 |an

. 11 | a1 a2 ...an ก็ตอ่ เมือ 11 |(an − an−1 + an−2 − an−3 + ... ± a1 )

ตัวอย่ าง . . จงตรวจสอบการหารลงตัวของจํานวนต่อไปนี
. จํานวนต่อไปนีว่าหารด้ วย 3 ลงตัว
1236 22482 100234 12347896701
7601 983173 7773339 629844108112377

. จํานวนต่อไปนีว่าหารด้ วย 4 ลงตัว
1236 24384 115290 12534796902
5730 973108 88032332 992898441023098

. จํานวนต่อไปนีว่าหารด้ วย 6 ลงตัว
1236 32592 100233 33347806702
7608 783164 7483320 729844108112388

. จํานวนต่อไปนีว่าหารด้ วย 8 ลงตัว
9248 21482 200032 24347896708
7608 1183176 9876332 2498481081123900
. . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)

. จํานวนต่อไปนีว่าหารด้ วย 9 ลงตัว
1233 31482 210132 24347802105
7704 1183176 9876332 57584810811239173

. จํานวนต่อไปนีว่าหารด้ วย 11 ลงตัว
1034 34815 100236 452347896701
7601 794573 4773373 459844108112378

ตัวอย่ าง . . กําหนดให้ a, b ∈ {0, 1, 2, ..., 9} และ 1a5, 6b9 เป็ นจํานวนสามหลัก ถ้ า 6b9 − 1a5 = 454
และ 6b9 หารด้ วย 9 ลงตัว แล้ ว a + b เท่ากับเท่าใด
ตัวอย่ าง . . ถ้ า a, b, c และ d เป็ นเลขโดดทีแตกต่างกันทีทําให้ จํานวนเต็ม 4 หลัก dcba เท่ากับ 9 เท่าของ abcd
แล้ ว b มีคา่ เท่ากับเท่าใด
ตัวอย่ าง . . มีเลขโดด 3, 4, 6 และ 7 นํามาจัดเรี ยงสร้ างจํานวน 4 หลักโดยทีแต่ละหลักไม่ซํากันจะมีจํานวน 4 หลัก
ทังหมดกีจํานวนทีหารด้ วย 44 ไม่ลงตัว
บทที . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)
แบบฝึ กหัด .
. จงพิสจู น์ข้อความต่อไปนี โดยใช้ ขนตอนการหาร

. 3 | a(2a2 + 7) สําหรับจํานวนเต็ม a . 6 | n(n + 1)(2n + 1) สําหรับจํานวนเต็ม n
. 4 | (n2 − 1) สําหรับจํานวนเต็มคี n . 32 | (a2 + 3)(a2 + 7) สําหรับจํานวนเต็มคี a
. 6 | n(n + 1)(n + 2) สําหรับจํานวนเต็ม n . 30 | (n5 − n) สําหรับจํานวนเต็ม n

. จงพิสจู น์ข้อความต่อไปนี โดยใช้ หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์


. 12|(n4 − n2 ) สําหรับจํานวนนับ n . 8 | (7 · 32n − 7) สําหรับจํานวนนับ n
. 5|(n5 − n) สําหรับจํานวนนับ n . 11 | (8 · 102n +6 · 102n−1 + 9) สําหรับ n ∈ N
. 5 | (33n+1 + 2n+1 ) เมือ n เป็ นจํานวนเต็มบวก . 15 | (24n − 1) สําหรับจํานวนนับ n
. 7 | (32n+1 + 2n+2 ) สําหรับจํานวนนับ n . 21 | (4n+1 + 52n−1 ) สําหรับจํานวนนับ n

. จงแสดงว่า ถ้ า a และ b เป็ นจํานวนเต็มคีแล้ ว 16 | (a4 + b4 − 2)

. จงแสดงว่า 6 |(a + b + c) ก็ตอ่ เมือ 6 |(a3 + b3 + c3 ) สําหรับจํานวนเต็ม a, b, c


. กําหนดให้ a, b, c, d เป็ นจํานวนเต็ม จงพิจารณาข้ อความต่อไปนี ถ้ าจริ งจงพิสจู น์ ถ้ าเท็จจงยกตัวอย่างค้ าน
. ถ้ า a | b2 แล้ ว a | b . ถ้ า a|b และ a|c แล้ ว a2 | bc
. ถ้ า a2 | b3 แล้ ว a | b . ถ้ า a|b และ c|d แล้ ว (a + c) | (b + d)
. ถ้ า a | b แล้ ว ac | bc เมือ c ̸= 0 . ถ้ า a|b และ a|c แล้ ว a | (b2 − c2 )

. จงหาจํานวนเต็มบวก a ทังหมดทีสอดคล้ องเงือนไขต่อไปนี


. a | 6252 . a | (a + 6)2 . (a − 1) | (a + 1)3
. (a − 1) | (2a + 11) . (2a + 1) | (2a − 1)3 . (a − 3) | (a3 − 3)

. กําหนดให้ a, b ∈ {0, 1, 2, ..., 9} จงหาคูอ่ นั ดับ (a, b) ทังหมดทีสอดคล้ องเงือนไขต่อไปนี


. 2 | a23b . 5 | 999a7b . 9 | 369a785b
. 3 | 1a23b1 . 6 | a27635b . 9 | ab125481
. 3 | a791b112 . 8 | 45ab32ab . 11 | 1a23571b
. 4 | 45a13ab . 9 | 1234a5b6 . 11 | a4557798b

. จงหาจํานวนเต็มบวกทังหมดที 304 ลงตัว


. จงหาจํานวนเต็มบวก n ทีมากทีสุดทีทําให้ 10n หาร 1005! ลงตัว
. จงหาจํานวนเต็มบวก n ทังหมดทีทําให้ 2n−1 หาร n! ลงตัว
. . ตัวหารร่ วมมาก (THE GREATEST COMMON DIVISOR)

. ตัวหารร่ วมมาก (The Greatest Common Divisor)


บทนิยาม . . ให้ a, b และ d เป็ นจํานวนเต็มบวก เราจะเรี ยก

d ว่าเป็ นตัวหารร่ วม (common divisor) ของ a และ b ถ้ า d|a และ d|b

บทนิยาม . . ให้ a และ b เป็ น จํานวนเต็ม ที ไม่ใช่ ศนู ย์ พร้ อมกัน จํานวนเต็ม d จะเป็ นตัว หารร่ วมมาก (greatest
common divisor) ของ a และ b เขียนแทนด้ วย gcd(a, b) หรื อ ห.ร.ม.(a, b) หรื อ (a, b) ก็ตอ่ เมือ
(ก) d|a และ d|b

(ข) ทุกจํานวนเต็มบวก c ถ้ า c|a และ c|b แล้ ว c≤d

บทนิยาม . . ถ้ า gcd(a, b) = 1 เราจะเรี ยกว่า a และ b เป็ นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์ (relatively prime)


ตัวอย่ าง . . จงหาตัวหารร่วมมากของจํานวนแต่ละคูต่ อ่ ไปนี

. 125 และ 215 . −504 และ 450

. 592 และ 252 . −900 และ −1350

ตัวอย่ าง . . จงหาตัวหารร่วมมากของจํานวนแต่ละคูต่ อ่ ไปนี

. 363 และ 1002 . 10! และ 2253

. 1535 และ 1755 . 4444 และ 1284

ตัวอย่ าง . . กําหนดให้

a เป็ น ห.ร.ม. ของ 403 และ 465 และ b เป็ น ห.ร.ม. ของ 431 และ 465

แล้ ว a−b มีคา่ เท่าใด


ตัวอย่ าง . . ถ้ า n เป็ นจํานวนเต็มบวกทีมากทีสุด ซึงหาร 90 เหลือเศษ 6 และหาร 150 เหลือเศษ 3 แล้ ว n หาร
41 เหลือเศษเท่าใด

ตัวอย่ าง . . ให้ a เป็ นจํานวนเต็มบวกซึง 3|a และ 5|a ถ้ า ห.ร.ม. ของ a กับ 7 เท่ากับ 1 แล้ ว ห.ร.ม. ของ a
กับ 105 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี
ตัวอย่ าง . . กําหนดให้ เอกภพสัมพัทธ์คือ {x | x เป็ นจํานวนเต็มทีไม่ใช่ 0 และ |x| ≤ 100} ให้

A = {x | ห.ร.ม. ของ x กับ 21 เท่ากับ 3 }


จํานวนสมาชิกของเซต A
บทที . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)
ตัวอย่ าง . . สําหรับจํานวนเต็ม a, b ใดๆ ให้ A = {1, 2, 3, ..., 400} แล้ วจํานวนสมาชิกของเซต
{x ∈ A | gcd(x, 40) = 5}

เท่ากับเท่าใด
ตัวอย่ าง . . จํานวนเต็มตังแต่ 0 ถึง 100 ทีเป็ นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์กบั 15 มีทงหมดกี
ั จํานวน

สมบัตขิ องตัวหารร่ วมมาก


ทฤษฎีบท . . ให้ a, b เป็ นจํานวนเต็ม แล้ ว
. gcd(a, b) = gcd(b, a) = gcd(|a|, |b|) = gcd(a, −b) = gcd(−a, b) = gcd(−a, −b)
. ถ้ า a ̸= 0 แล้ ว gcd(a, 0) = |a|
. ถ้ า a|b แล้ ว gcd(a, b) = |a|
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b ∈ Z โดยที a ̸= 0 และ b ̸= 0 และ d = gcd(a, b) แล้ ว
. จะมี x, y ∈ Z ทีทําให้ d = ax + by

. สําหรับจํานวนเต็ม c ใดๆ ถ้ า c|a และ c|b แล้ ว c|d

ทฤษฎีบท . . ให้ a, b ∈ Z โดยที a ̸= 0 และ b ̸= 0 แล้ ว


gcd(a, b) = 1 ก็ตอ่ เมือ มี x, y ∈ Z ทีทําให้ 1 = ax + by

ทฤษฎีบท . . ให้ a, b ∈ Z โดยที a ̸= 0 และ b ̸= 0 และ m เป็ นจํานวนเต็มบวก แล้ ว


gcd(ma, mb) = m · gcd(a, b)
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b ∈ Z โดยที d = gcd(a, b) แล้ ว gcd( ad , db ) = 1
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b ∈ Z โดยที a ̸= 0 และ b ̸= 0 และ x เป็ นจํานวนเต็ม แล้ ว
gcd(a, b) = gcd(a + bx, b) = gcd(a, b + ax)
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b, c, m เป็ นจํานวนเต็ม จะได้ วา่
. ถ้ า gcd(a, m) = gcd(b, m) = 1 แล้ ว gcd(ab, m) = 1
. ถ้ า gcd(a, m) = 1 และ b|a แล้ ว gcd(b, m) = 1
. ถ้ า a | bc และ gcd(a, b) = 1 แล้ ว a|c

. ถ้ า a|c และ b|c โดยที gcd(a, b) = 1 แล้ ว ab | c


. . ตัวหารร่ วมมาก (THE GREATEST COMMON DIVISOR)

ทฤษฎีบท . . ให้ a, b, q, r เป็ นจํานวนเต็ม โดยที a > 0 และ b = aq + r เมือ 0 ≤ r < a จะได้ วา่
gcd(a, b) = gcd(a, r)
ตัวอย่ าง . . จงหาตัวหารร่วมมากของจํานวนแต่ละคูต่ อ่ ไปนี โดยใช้ ทฤษฎีบท . .
. 252 และ 198 . 1000 และ 925

. 927 และ 315 . 2004 และ 1106

ตัวอย่ าง . . กําหนดให้ a ∈ Z จงพิสจู น์ข้อความต่อไปนีโดยใช้ ทฤษฎีบท . .


. gcd(2a + 1, 9a + 4) = 1 . gcd(3a + 2, 5a + 3) = 1
. gcd(5a + 2, 7a + 3) = 1 . gcd(3a, 3a + 2) = 1 เมือ a เป็ นจํานวนเต็มคี
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า สําหรับจํานวนเต็ม a, b, c ใดๆ
ถ้ า gcd(a, b) = 1 และ gcd(a, c) = 1 แล้ ว gcd(a, bc) = 1
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า สําหรับจํานวนเต็ม a, b, c ใดๆ
ถ้ า gcd(a, b) = c แล้ ว gcd(a2 , b2 ) = c2
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า สําหรับจํานวนเต็มบวก n ใดๆ
gcd(n3 + 2n, n4 + 3n2 + 1) = 1
บทนิยาม . . ให้ a1 , a2 , ., , , an เป็ นจํานวนเต็มทีไม่ใช่ศนู ย์พร้ อมกัน แล้ ว
จํานวนเต็มบวก d จะเป็ นตัวหารร่ วมของ a1 , a2 , ., , , an ก็ตอ่ เมือ d|a1 , d|a2 , ..., d|an

และ d จะเป็ นตัวหารร่ วมมากของ a1 , a2 , ., , , an เขียนแทนด้ วย gcd(a1 , a2 , ., , , an ) ก็ตอ่ เมือ


• d เป็ นตัวหารร่วมของ a1 , a2 , ., , , an
• สําหรับจํานวนเต็มบวก c ถ้ า c เป็ นตัวหารร่วมของ a1 , a2 , ., , , an แล้ ว d ≤ c
ทฤษฎีบท . . สําหรับจํานวนเต็ม a1 , a2 , ., , , an ทีไม่ใช่ศนู ย์พร้ อมกัน แล้ ว
. gcd(gcd(a1 , a2 ), a3 , ., , , an ) = gcd(a1 , a2 , ., , , an )
. gcd(gcd(a1 , a2 , ..., an−1 ), an ) = gcd(a1 , a2 , ., , , an )
บทที . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)

ตัวอย่ าง . . จงหาตัวหารร่วมมากของจํานวนต่อไปนี
. gcd(4, 6, 18) . gcd(350, 49, 140, 105)
. gcd(12, 18, 24) . gcd(50, 125, 145, 500)
ทฤษฎีบท . . สําหรับจํานวนเต็ม a1 , a2 , ., , , an ทีไม่ใช่ศนู ย์พร้ อมกัน และ d = gcd(a1 , a2 , ., , , an ) แล้ ว
. จะมี x1 , x2 , ..., xn ∈ Z ทีทําให้ d = a1 x1 x + a2 x2 + ... + an xn

. สําหรับจํานวนเต็ม c ใดๆ ถ้ า c|a1 , c|a2 , ..., c|an แล้ ว c|d

บทนิยาม . . ถ้ า gcd(a1 , a2 , ., , , an ) = 1 เราจะกล่าวว่า a1 , a2 , ., , , an เป็ นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์ ถ้ าทุกๆคู่เป็ น


จํานวนเฉพาะสัมพัทธ์กนั เราจะกล่าวว่าเป็ นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์ ทุกคู่ (pairwise relatively prime)
ตัวอย่ าง . . จงตรวจสอบจํานวนต่อไปนีว่าเป็ นเฉพาะสัมพัทธ์ หรื อจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์ทกุ คู่
. 4, 6, 9 . 6, 7, 11, 20

. 3, 21, 15 . 12, 15, 35, 49

ทฤษฎีบท . . สําหรับจํานวนเต็ม a1 , a2 , ., , , an ทีไม่ใช่ศนู ย์พร้ อมกัน แล้ ว


gcd(a1 , a2 , ., , , an ) = 1 ก็ตอ่ เมือ มีจํานวนเต็ม x1 , x2 , ..., xn ทีทําให้ 1 = a1 x1 x + a2 x2 + ... + an xn
. . ตัวหารร่ วมมาก (THE GREATEST COMMON DIVISOR)

แบบฝึ กหัด .
. จงหาจํานวนเต็มทังหมดตังแต่ 1 ถึง 200 ทีสอดคล้ องเงือนไขต่อไปนี
. ทีหารด้ วย 8 ลงตัว . เป็ นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์กบั 18
. ทีหารด้ วย 7 แล้ วเหลือเศษ 2 . ห.ร.ม. กับ 30 เท่ากับ 5
. ทีหารด้ วย 3 หรื อ 5 ลงตัว . หารด้ วย 7 ลงตัว แต่หารด้ วย 5 ไม่ลงตัว

. จงหา gcd(a, b)
. a = 127 และ b = 125 . a = 9987 และ b = 2351
. a = 289 และ b = −96 . a = 1123 และ b = 5547
. a = −339 และ b = −1234 . a = 3054 และ b = 12378

. จงแสดงว่า ถ้ า gcd(a, 4) = 2 และ gcd(b, 4) = 2 แล้ ว gcd(a + b, 4) = 2 เมือ a, b ∈ Z


. จงแสดงว่า ถ้ า a, b ∈ Z ซึง gcd(a, b) = 1 แล้ ว gcd(a + b, a − b) = 1 หรื อ 2
. จงแสดงว่า ถ้ า a และ b เป็ นจํานวนเต็มคูท่ ีไม่ใช่ศนู ย์ทงคู
ั ่ แล้ ว gcd(a, b) = 2gcd( a2 , 2b )
. จงแสดงว่า ถ้ า a เป็ นจํานวนเต็มคู่ และ b เป็ นจํานวนเต็มคี แล้ ว gcd(a, b) = gcd( a2 , b)
. จงแสดงว่า ถ้ า a, b, c ∈ Z ซึง c | ab แล้ ว c | d1 d2 เมือ d1 = gcd(a, c) และ d2 = gcd(b, c)

. จงแสดงว่า ถ้ า a, b ∈ Z ซึง gcd(a, b) = 1 แล้ ว gcd(an , bn ) = 1 สําหรับทุกๆจํานวนเต็มบวก n


. จงแสดงว่า gcd(3n + 4, 2n + 3) = 1 สําหรับทุกๆจํานวนเต็ม n
. จงแสดงว่า ไม่มีจํานวนเต็ม x, y ทีสอดคล้ องกับ x + y = 100 และ gcd(x, y) = 3
. จงแสดงว่า มี x, y ∈ Z จํานวนอนันต์ทีสอดคล้ องกับ x + y = 100 และ gcd(x, y) = 5
. จงพิสจู น์วา่ ถ้ ามีจํานวนเต็ม x, y ทีทําให้ gcd(a, b) = ax + by แล้ ว gcd(x, y) = 1 เมือ a, b ∈ Z
. ให้ a, b, c ∈ Z และ d = gcd(a, b) จงพิสจู น์วา่ a | bc ก็ตอ่ เมือ a
d
|c
บทที . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)

. ขันตอนวิธีแบบยูคลิค (Euclidean Algorithm)


ทฤษฎีบท . . ให้ a และ b เป็ นจํานวนเต็มโดยที a > 0 จะได้ วา่ มีจํานวนเต็ม
qi เมือ i = 1, 2, 3, .., n + 1 และ rj เมือ j = 1, 2, 3, .., n ทีทําให้
b = aq1 + r1 เมือ 0 < r1 < a

a = r1 q2 + r2 เมือ 0 < r 2 < r1

r1 = r2 q3 + r3 เมือ 0 < r 3 < r2


..
.
rn−2 = rn−1 qn + rn เมือ 0 < rn < rn−1

rn−1 = rn qn+1

และ gcd(a, b) = rn
ตัวอย่ าง . . จงหา d = gcd(305, 168) และหาจํานวนเต็ม x, y ซึงทําให้ d = 305x + 168y

ตัวอย่ าง . . จงหา d = gcd(12378, 3054) และหาจํานวนเต็ม x, y ซึงทําให้ d = 12378x + 3054y

ตัวอย่ าง . . จงหา d = gcd(5767, 4453) และหาจํานวนเต็ม x, y ซึงทําให้ d = 5767x + 4453y

ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนเต็ม x และ y ทีสอดคล้ องสมการ


. 243x + 198y = 9

. 71x − 50y = 1

ตัวอย่ าง . . ให้ a, b และ c เป็ นจํานวนเต็ม ถ้ า c เป็ น ห.ร.ม. ของ −864 และ −354 ซึง c = a(−864) + b(−354)
และ a + b = 36 แล้ ว c + b เท่ากับเท่าใด
ตัวอย่ าง . . ให้ n เป็ นจํานวนเต็มบวก ซึง ห.ร.ม. ของ n และ 42 เท่ากับ 6 ถ้ า
42 = nq0 + r0 เมือ 0 < r0 < n
n = 2r0 + r1 เมือ 0 < r1 < r0

โดยที q0 , r0 , r1 เป็ นจํานวนเต็ม จงหา n


ตัวอย่ าง . . ให้ a และ b เป็ นจํานวนเต็ม ซึง a เป็ น ห.ร.ม. ของ b และ 216 ถ้ า q1 , q2 เป็ นจํานวนเต็มบวก โดยที
216 = bq1 + 106
b = 106q2 + 4

จงหา a + b
. . ขันตอนวิ ธีแบบยูคลิ ค (EUCLIDEAN ALGORITHM)
แบบฝึ กหัด .
. จงหา d = gcd(a, b) และหาจํานวนเต็ม x และ y ซึง d = ax + by โดยขันตอนวิธีแบบยูคลิค เมือกําหนดให้
. a = 127 และ b = 125 . a = 3054 และ b = 12378
. a = 289 และ b = −96 . a = 37129 และ b = 14659
. a = −339 และ b = −1234 . a = 1769 และ b = 2378
. a = 9987 และ b = 2351 . a = 2106 และ b = 8318
. a = 1123 และ b = 5547 . a = 4125 และ b = 3218

. จงหาจํานวนเต็ม x และ y ทีสอดคล้ องกับ


. 43x + 64y = 1 . 93x − 81y = 3 . 73x + 51y = 1

. เด็กชายลักษ์ มี เงิน บาท ต้ องการแลกธนบัตรใบละ และ บาท จงหาจํานวนวิธี แลกธนบัตรที เป็ น ไปได้
ทังหมด
บทที . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)

. ตัวคูณร่ วมน้ อย (The Least Common Multiple)


บทนิยาม . . ให้ a, b และ m เป็ นจํานวนเต็มบวก เราจะเรี ยก
m ว่าเป็ นตัวคูณร่ วม (common multiple) ของ a และ b ถ้ า a|m และ b|m

บทนิยาม . . ให้ a และ b เป็ น จํานวนเต็ม ที ไม่ใช่ ศนู ย์ จํานวนเต็ม บวก m จะเป็ นตัว คูณร่ วมน้ อย (least common
multiple) ของ a และ b เขียนแทนด้ วย ℓcm(a, b) หรื อ ค.ร.น.(a, b) หรื อ [a, b] ก็ตอ่ เมือ
(ก) a|m และ b|m

(ข) ทุกจํานวนเต็มบวก c ถ้ า a|c และ b|c แล้ ว m≤c

ตัวอย่ าง . . จงหา ค.ร.น. ของจํานวนแต่ละคูต่ อ่ ไปนี


. 15 และ 21 . −36 และ −198 . 900 และ 1350

. 125 และ −55 . 588 และ 1050 . 124 และ 10!

ตัวอย่ าง . . ถ้ า x เป็ นจํานวนเต็มบวกทีน้ อยทีสุด ซึง


9, 12 และ 15 หาร x ลงตัว แต่ 11 หาร x เหลือเศษ 7

แล้ ว x มีคา่ เท่าใด


ตัวอย่ าง . . ถ้ า a เป็ นจํานวนเต็มบวกซึง
ค.ร.น. ของ a และ 63 เท่ากับ 7a ห.ร.ม. ของ a และ 63 เท่ากับ c

จงหา a และ c
ตัวอย่ าง . . ให้ a และ b เป็ นจํานวนเต็มบวก ซึง a<b

5 หาร a ลงตัว 3 หาร b ลงตัว a และ b เป็ นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์กน


ั ค.ร.น. ของ a และ b เท่ากับ 165
แล้ ว a หาร b เหลือเศษเท่าใด
ตัวอย่ าง . . กําหนดให้ x และ y เป็ นจํานวนเต็มบวก โดยที x < y
ห.ร.ม. ของ x และ y เท่ากับ 9 ค.ร.น. ของ x และ y เท่ากับ 28, 215

และจํานวนเฉพาะทีแตกต่างกันทังหมดทีหาร x ลงตัวมี 3 จํานวน ค่าของ y−x เท่ากับเท่าใด


ตัวอย่ าง . . มี ลกู แก้ ว 2 กอง กองหนึงเป็ น ลูก แก้ ว สี แดงจํานวน 143 ลูก อีก กองหนึงเป็ น สี เหลืองจํานวน 338 ลูก
ต้ องการแบ่งลูกแก้ วทังสองกองนี ออกเป็ นกองเล็กๆ โดยที จํานวนลูกแก้ วกองละเท่าๆกันและมี จํานวนของลูกแก้ วในกอง
เล็กๆเหล่านันมากทีสุด ถ้ าลูกแก้ วสีแดงแบ่งได้ x กอง และสีเหลืองแบ่งได้ y กอง แล้ ว x + y มีคา่ เท่ากับเท่าใด
. . ตัวคูณร่ วมน้อย (THE LEAST COMMON MULTIPLE)

สมบัตขิ องตัวคูณร่ วมน้ อย


ทฤษฎีบท . . ให้ a, b เป็ นจํานวนเต็ม โดยที a ̸= 0 และ b ̸= 0 และ m = ℓcm(a, b) จะได้ วา่
สําหรับจํานวนเต็ม c ใดๆ ถ้ า a|c และ b|c แล้ ว m|c

ทฤษฎีบท . . ให้ a, b เป็ นจํานวนเต็ม โดยที a ̸= 0 และ b ̸= 0 จะได้ วา่


gcd(a, b) · ℓcm(a, b) = |ab|
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b เป็ นจํานวนเต็ม โดยที a ̸= 0 และ b ̸= 0 และ m ∈ N จะได้ วา่
ℓcm(ma, mb) = mℓcm(a, b)

ตัวอย่ าง . . ให้ a เป็ นจํานวนต็มคูบ่ วก และ b เป็ นจํานวนเต็มคีบวก พิจารณา ถูก/ผิด


. a และ b เป็ นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์
. ห.ร.ม. ของ a และ b เท่ากับ ห.ร.ม. ของ a และ 2b
. ค.ร.น. ของ a และ b เท่ากับ ค.ร.น. ของ a และ 2b
ตัวอย่ าง . . กําหนดให้ a, b และ c เป็ นจํานวนเต็ม พิจารณา ถูก/ผิด
. ถ้ า a|b แล้ ว ℓcm(a, b) = b . ถ้ า a|b แล้ ว gcd(a, b) = a
บทนิยาม . . ให้ a1 , a2 , ., , , an เป็ นจํานวนเต็มทีไม่ใช่ศนู ย์พร้ อมกัน แล้ ว
จํานวนเต็มบวก m จะเป็ นตัวคูณร่ วมของ a1 , a2 , ., , , an ก็ตอ่ เมือ a1 |m, a2 |m, ..., an |m

และ m จะเป็ นตัวคูณร่ วมน้ อยของ a1 , a2 , ., , , an เขียนแทนด้ วย ℓcm(a1 , a2 , ., , , an ) ก็ตอ่ เมือ


• m เป็ นตัวคูณร่ วมของ a1 , a2 , ., , , an

• สําหรับจํานวนเต็มบวก c ถ้ า c เป็ นตัวคูณร่วมของ a1 , a2 , ., , , an แล้ ว m ≤ c


ทฤษฎีบท . . สําหรับจํานวนเต็ม a1 , a2 , ., , , an ทีไม่ใช่ศนู ย์พร้ อมกัน แล้ ว
. ℓcm(ℓcm(a1 , a2 ), a3 , ., , , an ) = ℓcm(a1 , a2 , ., , , an )
. ℓcm(ℓcm(a1 , a2 , ..., an−1 ), an ) = ℓcm(a1 , a2 , ., , , an )
ตัวอย่ าง . . จงหาตัวคูณร่วมน้ อยของจํานวนต่อไปนี
. ℓcm(4, 6, 18) . ℓcm(35, 49, 42, 63)
. ℓcm(6, 10, 15) . ℓcm(50, 125, 150, 500)
ทฤษฎีบท . . สําหรับจํานวนเต็ม a1 , a2 , ., , , an ทีไม่ใช่ศนู ย์พร้ อมกัน และ m = ℓcm(a1 , a2 , ., , , an ) แล้ ว สําหรับ
จํานวนเต็ม c ใดๆ ถ้ า c|a1 , c|a2 , ..., c|an แล้ ว m | c
บทที . การหารลงตัว (DIVISIBILITY)
แบบฝึ กหัด .
. กําหนดให้ a, b, c และ d เป็ นจํานวนเต็ม พิจารณาข้ อความต่อไปนี ถ้ าถูกจงพิสจู น์ ถ้ าผิดจงยกตัวอย่างค้ าน
. ℓcm(a2 , b2 ) = (ℓcm(a, b))2
. ถ้ า a | b แล้ ว ℓcm(a, b) = |b|
. ถ้ า a|c และ b|c และ ℓcm(a, b) = |ab| แล้ ว ab|c
. ℓcm(ca, b) = c · ℓcm(a, b)
. ℓcm(a + c, b + c) = ℓcm(a, b)
. ถ้ า gcd(a, b) = d และ ℓcm(a, b) = c แล้ ว dc = ab เมือ a, b, c และ d เป็ นจํานวนเต็มบวก
. จงหา ℓcm(a, b) เมือกําหนดให้
. a = 36 และ b = 96 . a = 990 และ b = 1020
. a = 280 และ b = −96 . a = 1024 และ b = 2350
. a = −125 และ b = −325 . a = 5005 และ b = 6590

. ให้ a, b, c ∈ Z จงแสดงว่า ℓcm(a, b) | c ก็ตอ่ เมือ a|c และ b|c

. จงแสดงว่า ถ้ า a และ b เป็ นจํานวนเต็มบวก แล้ ว gcd(a, b) = gcd(a + b, ℓcm(a, b))


. ให้ a, b, c เป็ นจํานวนเต็ฒทีไม่ใช่ศนู ย์ และ c > 0 จงพิสจู น์วา่

ℓcm(a, b) = m ก็ตอ่ เมือ ℓcm(ca, cb) = cm

. ให้ x และ y เป็ นจํานวนเต็มบวก ซึง 80 < x < y และ x = pq เมือ p, q เป็ นจํานวนเฉพาะ ซึง p ̸= q ถ้ า

x และ y เป็ นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์กนั ค.ร.น. ของ x และ y เท่ากับ 15, 015

จงหา y ทังหมดทีสอดคล้ องเงือนไขทีกําหนดให้


บทที
จํานวนเฉพาะ (Primes)

. นิยามและสมบัตบิ างประการ (Definitions & Properties)


บทนิยาม . . เราจะเรี ยก p เป็ นจํานวนเต็มทีมากกว่า 1 ว่าจํานวนเฉพาะ (prime) ก็ตอ่ เมือ
p มีตวั หารคือ 1 และ p เท่านัน หรื อ d-p ทุกจํานวนเต็ม d ซึง 1 < d < p
จํานวนเต็มทีมากกว่า 1 ทีไม่ใช่จํานวนเฉพาะจะเรี ยกว่า จํานวนประกอบ (composite number)

ตัวอย่างจํานวนเฉพาะทีไม่เกิน 40
2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19, 23, 29, 31, 37

ทฤษฎีบท . . p เป็ นจํานวนเฉพาะ ก็ตอ


่ เมือ ถ้ า p = ab เมือ a, b เป็ นจํานวนนับ แล้ ว a = 1 หรื อ b = 1
ทฤษฎีบท . . ทุกจํานวนเต็ม a > 1 จะมีจํานวนเฉพาะ p ที p|a

ทฤษฎีบท . . (Euclic) มีจํานวนเฉพาะอยูเ่ ป็ นจํานวนอนันต์


ตัวอย่ าง . . มีจํานวนเฉพาะ p ทีทําให้ 2p − 1 ไม่เป็ นจํานวนเฉพาะ
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า ถ้ า n จํานวนประกอบ แล้ ว 2n − 1 เป็ นจํานวนประกอบ
ตัวอย่ าง . . ให้ n ∈ N จงแสดงว่ามีจํานวนประกอบเรี ยงต่อกัน n จํานวน
ทฤษฎีบท . . ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะ และ a เป็ นจํานวนเต็ม แล้ ว
. ถ้ า a|p แล้ ว a = ±1 หรื อ a=p

. a-p ก็ตอ่ เมือ gcd(a, p) = 1


. p|a ก็ตอ่ เมือ gcd(a, p) = p
. สําหรับจํานวนเฉพาะ q ถ้ า p|q แล้ ว p=q
บทที . จํ านวนเฉพาะ (PRIMES)

ทฤษฎีบท . . ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะ และ a, b, a1 , a2 , ..., an ∈ Z เมือ n ∈ N แล้ ว


. ถ้ า p | ab แล้ ว p|a หรื อ p|b

. ถ้ า p | (a1 a2 ...an ) แล้ ว p | ai สําหรับบางจํานวน i ∈ {1, 2, ..., n}


. สําหรับจํานวนนับ n ถ้ า p | an แล้ ว p|a

ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนเฉพาะ p ทังหมดทีสอดคล้ องกับเงือนไขต่อไปนี


. p | 59015 . p | (630 + p)4 . p | (1225 − 10p)p+1

. p | 1092099 . p | (150 − 3p)251 . p | (77003 − p2 )p

ตัวอย่ าง . . กําหนดให้
A = {p | p เป็ นจํานวนเฉพาะ ที p | (980 − p)3 }

แล้ วผลบวกของสมาชิกทังหมดของเซต A มีคา่ เท่าใด


ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนเฉพาะ p ทังหมดทีสอดคล้ องกับเงือนไขต่อไปนี
. p | 100! . p | (p2 + p + 3598)

. p | (p! + 288)5! . (p + 1) | (p2 + 2p + 2699)2

ตัวอย่ าง . . จงพิสจู น์วา่ สําหรับจํานวนเต็มบวก n จะได้ วา่ n! + 1 และ (n + 1)! + 1 เป็ นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์
. . นิ ยามและสมบัติบางประการ (DEFINITIONS & PROPERTIES)

แบบฝึ กหัด .
. จงหาจํานวนเฉพาะ p ทังหมดทีสอดคล้ อง
. p | 2313 . p | (627 + 2p)11 . (p + 1) | (p − 3382)5
. p | (p − 455)4 . p |(p + 1530)3 . (p − 1) |(p2 − p + 3333)

. จงแสดงว่า ถ้ า p เป็ นจํานวนเฉพาะ แล้ ว p | (2p − 2)

. ถ้ า p และ q เป็ นจํานวนเฉพาะซึง p ≥ q > 4 จงแสดงว่า 24 | (p2 − q 2 )

. จงแสดงว่า ถ้ า p เป็ นจํานวนเฉพาะ และ a ∈ Z ซึง p | an แล้ ว pn | an

. จงแสดงว่า ถ้ า p เป็ นจํานวนเฉพาะซึง p > 2 แล้ ว 4 | (p2 − 1)

. จงหาจํานวนเฉพาะ p ทังหมดทีทําให้ p | (2p − 1)

. จงหาจํานวนเฉพาะ p ทังหมดทีทําให้ p | (2p + 1)

. จงหาจํานวนเฉพาะทังหมดทีหาร 100! ลงตัว


. จงแสดงว่า p เป็ นจํานวนเฉพาะที p > 4 แล้ ว p2 + 2 เป็ นจํานวนประกอบ
. จงตรวจสอบจํานวนเต็มทีอยูใ่ นรูป 8n + 1 เมือ n ∈ N เป็ นจํานวนประกอบเมือใด
ข้ อเสนอแนะ (2n + 1) | (23n + 1)
. จงแสดงว่า ถ้ า 2n − 1 เป็ นจํานวนเฉพาะ แล้ ว n เป็ นจํานวนเฉพาะ
. สําหรับจํานวนนับ n ถ้ า n3 + 1 เป็ นจํานวนเฉพาะ จงแสดงว่า n = 1
บทที . จํ านวนเฉพาะ (PRIMES)

. ทฤษฎีบทหลักมูลเลขคณิต (The Fundamental Theorem of Arithmematic)


ทฤษฎีบท . . ให้ n ∈ Z ซึง n > 1 จะได้ วา่ n สามารถเขียนในรูป
n = pa11 · pa22 · pa33 · · · pakk

โดยที p1 , p2 , p3 , ..., pk เป็ นจํานวนเฉพาะซึง p1 < p2 < p3 < ... < pk และ ai ∈ N สําหรับทุก i = 1, 2, 3, ..., k
และเขียน n ในรูปดังกล่าวได้ เพียงแบบเดียวเท่านัน
รูปแบบตามทฤษฎีบท . . เรี ยกว่า รู ปแบบบัญญัติ (canonical form) ของ n
ตัวอย่ าง . . จงเขียนจํานวนต่อไปนีในรูปแบบบัญญัติ
. 48 . 1225 . 10003 . 15750

. 1502 . 4725 . 35285 . 846876

ตัวอย่ าง . . จงหาตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้ อยของจํานวนต่อไปนี


. 150 และ 100 . 308 และ 1176 . 31752 และ 4725

ตัวอย่ าง . . จงหาตัวหารทังหมดของจํานวนต่อไปนี
. 48 . 150 . 1225 . 4725

ทฤษฎีบท . . ให้ n ∈ Z ซึง n > 1 มีรูปแบบบัญญัติคือ


n = pa11 · pa22 · pa33 · · · pakk

แล้ วจํานวนตัวประกอบทังหมดของ n มีทงหมด



(a1 + 1)(a2 + 1)(a3 + 1) · · · (ak + 1)

ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนตัวประกอบทังหมดของ
. 1225 . 20! . 1377 . 10! · 2502 · 6364

. 1003 . 4725 . 6503 · 364 . 52653 · 242552

บทตัง . . ผลคูณของจํานวนเต็มทีอยูใ่ นรูป 4k + 1 ตังแต่สองจํานวนขึนไปจะเป็ นจํานวนเต็มทีอยูใ่ นรูป 4k + 1


ทฤษฎีบท . . จํานวนเฉพาะทีอยูใ่ นรูป 4k + 3 มีอยูเ่ ป็ นจํานวนอนันต์
. . ทฤษฎี บทหลักมูลเลขคณิ ต (THE FUNDAMENTAL THEOREM OF ARITHMEMATIC)

แบบฝึ กหัด .
. จงเขียนจํานวนต่อไปนีในรูปแบบบัญญัติ
. 1250 . 25025 . 150!
. 1000 . 65304 . 88442

. จงหาตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้ อยของจํานวนต่อไปนี
. 250 และ 150 . 330 และ 1175 . 10240 และ 4725

. จงหาตัวหารทังหมดของจํานวนต่อไปนี
. 150 . 600 . 15!
. 542 . 720 . 31752

. จงหาจํานวนตัวประกอบทังหมดของ
. 85 . 40955 . 35285 · 2284
. 125 . 10395 . (10!)4
. 2025 . 30! . (5!)(10!) · 74257

. มีจํานวนเฉพาะทีอยูใ่ นรูป 6k + 5 เป็ นจํานวนอนันต์


. ในการเขียนจํานวน 1000! ในรูปของจํานวนเต็มจะมีศนู ย์ลงท้ ายเรี ยงต่อเนืองกันกีตัว
. ถ้ า n เป็ นจํานวนเต็มคี แล้ ว 3 | (2n + 1)
บทที . จํ านวนเฉพาะ (PRIMES)

. การค้ นหาจํานวนเฉพาะ (Seeking Prime)


ทฤษฎีบท . . ถ้ า a เป็ นจํานวนประกอบ แล้ วจะมีจํานวนเฉพาะ p ซึง

p≤ a และ p|a

วิธีการตรวจสอบจํานวนเฉพาะแบบตะแกรงเอราโตสเทเนส (The sieve of Eratosthesnes)


โดยใช้ กฎแย้ งสลับที (comtrapositive) ของทฤษฎีบท . . นันคือ

ถ้ าทุกจํานวนเฉพาะ p ซึง p≤ a และ p-a แล้ ว a เป็ นจํานวนเฉพาะ

ตัวอย่ าง . . จงตรวจสอบจํานวนต่อไปนีว่าเป็ นจํานวนเฉพาะหรื อไม่


. 101 . 313 . 719

. 113 . 401 . 2, 093

ตัวอย่ าง . . จงตรวจสอบจํานวนเฉพาะทีไม่เกิน 100 โดยตะแกรงเอราโตสเทเนส

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

41 42 43 44 45 46 47 48 49 50

51 52 53 54 55 56 57 58 59 60

61 62 63 64 65 66 67 68 69 70

71 72 73 74 75 76 77 78 79 80

81 82 83 84 85 86 87 88 89 90

91 92 93 94 95 96 97 98 99 100

ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนเฉพาะทีไม่เกิน 100 ทีสามารถเขียนในรูป 3k + 1 ได้


. . การค้นหาจํ านวนเฉพาะ (SEEKING PRIME)

จํานวนเฉพาะทังหมดทีน้ อยกว่ า
2 3 5 7 11 13 17 19 23 29 31 37 41 43
47 53 59 61 67 71 73 79 83 89 97 101 103 107
109 113 127 131 137 139 149 151 157 163 167 173 179 181
191 193 197 199 211 223 227 229 233 239 241 251 257 263
269 271 277 281 283 293 307 311 313 317 331 337 347 349
353 359 367 373 379 383 389 397 401 419 421 431 433 439
443 449 457 461 463 467 479 487 491 499 503 509 521 523
541 547 557 563 569 571 577 587 593 599 601 607 613 617
619 631 641 643 647 653 659 661 673 677 683 691 701 709
719 727 733 739 743 751 757 761 769 773 787 797 809 811
821 823 827 829 839 853 859 863 877 881 883 887 907 911
919 929 937 941 947 953 967 971 977 983 911 997

ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนเฉพาะทังหมดทีหาร 150! ลงตัว


ตัวอย่ าง . . จงตรวจสอบว่า 30, 031 เป็ นจํานวนเฉพาะหรื อไม่

จํานวนแฟร์ มาต์ (Fermat Numbers)


บทนิยาม . . จํานวนแฟร์ มาต์ (Fermat Numbers) คือจํานวนทีอยูใ่ นรูป
n
Fn = 22 + 1 เมือ n ≥ 0
ถ้ า Fn เป็ นจํานวนเฉพาะ เราจะเรี ยก Fn ว่าจํานวนเฉพาะแฟร์ มาต์ (Fermat prime)
F0 = 3 F1 = 5 F2 = 17 F3 = 257 F4 = 65537

ทัง จํานวนล้ วนเป็ นจํานวนเฉพาะแฟร์ มาต์คาดเดาว่าจํานวนต่อๆน่าจะเป็ นจํานวนเฉพาะ


ต่อมาในปี ออยเลอร์ พบว่า F5 = 4294967297 = 641 · 6700417
ทฤษฎีบท . . สําหรับ m > n แล้ ว gcd(Fm , Fn ) = 1

จํานวนแมร์ เซน (Mersenne Numbers)


บทนิยาม . . จํานวนมาร์ เซน (Mersenne Numbers) คือจํานวนทีอยูใ่ นรูป
2n − 1 เมือ n ∈ N
ถ้ า Mn เป็ นจํานวนเฉพาะ เราจะเรี ยก Mn ว่าจํานวนเฉพาะแมร์ เซน (Mersenne prime)
M1 = 1 M2 = 3 M3 = 7 M4 = 15 M5 = 31

ทฤษฎีบท . . ถ้ า Mn เป็ นจํานวนเฉพาะ แล้ ว n เป็ นจํานวนเฉพาะ


บทที . จํ านวนเฉพาะ (PRIMES)
แบบฝึ กหัด .
. จงตรวจสอบว่าจํานวนต่อไปนีเป็ นจํานวนเฉพาะหรื อไม่
. 1001 . 1117 . 5139 . 8009
. 1003 . 2111 . 10001 . 77777

. 219 − 1 เป็ นจํานวนเฉพาะหรื อไม่

. 25! + 1 เป็ นจํานวนเฉพาะหรื อไม่

. 4545 + 5454 เป็ นจํานวนเฉพาะหรื อไม่

. จงตรวจสอบว่า M13 , M19 และ M23 เป็ นจํานวนเฉพาะหรื อไม่


. จงหาจํานวนเฉพาะทีเขียนในรูป 3k + 3 มา จํานวน
. จงหาจํานวนเฉพาะทีเขียนในรูป 6k + 5 มา จํานวน
. จงหาจํานวนเฉพาะทีเขียนในรูป k 2 + k + 41 มา จํานวน
. จงหาจํานวนเฉพาะทีเขียนในรูป k 2 − 79k + 160 มา จํานวน
. มีจํานวนเต็ม n ซึง 6 < n < 20 จํานวนใดบ้ างทีทําให้ n2 + 1 เป็ นจํานวนเฉพาะบ้ าง
. จงแสดงว่า จํานวนเฉพาะทีเขียนในรูป 8n + 5 มีจํานวนอนันต์
. จงแสดงว่า ถ้ า p และ p2 + 8 เป็ นจํานวนเฉพาะ แล้ ว p3 + 4 เป็ นจํานวนเฉพาะ
. จงแสดงว่า ถ้ า p, p + 2 และ p + 4 เป็ นจํานวนเฉพาะทุกตัว แล้ ว p = 3
. จงแสดงว่า ถ้ า p และ p + 2 เป็ นจํานวนเฉพาะทังคู่ (จํานวนเฉพาะคู่แฝด : twin prime) และ p(p + 2) + 2 เป็ น
จํานวนเฉพาะ แล้ ว p = 3
. จงแสดงว่า ถ้ า p และ p + 2 เป็ นจํานวนเฉพาะคู่แฝดที p > 3 แล้ วผลบวกของจํานวนเฉพาะคู่แฝดนีหารด้ วย
ลงตัว
. จงแสดงว่า สําหรับ m > n แล้ ว gcd(Fm , Fn ) = 1
. สําหรับ n ≥ 1 จงแสดงว่า gcd(Fn , n) = 1
. จงแสดงว่า จํานวนเต็มทีเขียนในรูป Fn + 4 เป็ นจํานวนประกอบ
. จงพิสจู น์วา่ ถ้ า p และ 2p + 1 เป็ นจํานวนเฉพาะ แล้ ว (2p + 1) | Mp หรื อ (2p + 1) | (Mp + 2)
บทที
สมภาค (Congruence)

. นิยามและสมบัติ (Definition & Properties)


ใน ค.ศ. Carl Friedrich Gauss นัก คิต ศาสตร์ ชาวเยอรมัน ได้ เสนอแนวคิด ที เรี ยกว่า สมภาคหรื อ คอนกรู เอนซ์
(Congruence) ซึงปรากฎในหนังสือของเขาเองชือ Disquisitones Arithmeticae ในขณะมีอายุเพียง ปี ซึงเป็ นเครื อง
มือ สําคัญ เกียวกับ ทฤษฎี จํานวน เกาส์ ได้ รับ ปริ ญญาเอกอายุ เพียง ปี โดยการนํา เสนอวิทยานิพนธ์ การพิสจู น์ เรื อง
ทฤษฎีบทพืนฐานทางคณิตศาสตร์ (The Fundamental Theorem of Algebra) และเกาส์ ได้ รับ ยกย่องว่า เป็ น Prince of
Mathematicians
บทนิยาม . . ให้ a, b เป็ นจํานวนเต็ม และ m เป็ นจํานวนเต็มบวก เราจะกล่าวว่า a คอนกรูเอนซ์ (congruence) กับ b
มอดุโล m เขียนแทนด้ วย
a ≡ b ( mod m) ก็ตอ่ เมือ m | (b − a)

a ไม่คอนกรู เอนซ์กบ
ั b มอดุโล m เขียนแทนด้ วย
a≡
/ b ( mod m) ก็ตอ่ เมือ m - (b − a)

ข้ อสังเกต จากนิยามข้ างต้ นจะได้ วา่ a ≡ b ( mod 1) และ a ≡ a ( mod m)

ตัวอย่ าง . . จงให้ เหตุผลเกียวกับการคอนกรูเอนซ์ตอ่ ไปนี


. 2 ≡ 5 ( mod 3) เพราะว่า . −15 ≡ −3 ( mod 6) เพราะว่า
. −3 ≡ 7 ( mod 5) เพราะว่า . 5≡
/ 7 ( mod 3) เพราะว่า

ทฤษฎีบท . . ให้ a, b เป็ นจํานวนเต็ม และ m เป็ นจํานวนเต็มบวก แล้ ว


a ≡ b ( mod m) ก็ตอ่ เมือ a และ b มีเศษเหลือจากการหารด้ วย m เท่ากัน
บทที . สมภาค (CONGRUENCE)

ตัวอย่ าง . . จงตรวจสอบคอนกรูเอนซ์ตอ่ ไปนีถูกต้ องหรื อไม่ โดยใช้ ทฤษฎีบท . .


. 123 ≡ 192 ( mod 3) เพราะว่า . 687 ≡ 129 ( mod 7) เพราะว่า
. −124 ≡ 77 ( mod 5) เพราะว่า . 557 ≡ 718 ( mod 3) เพราะว่า
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b, c เป็ นจํานวนเต็ม และ m เป็ นจํานวนเต็มบวก แล้ ว
. a ≡ a ( mod m) สมบัติสะท้ อน (Reflexive law)
. ถ้ า a ≡ b ( mod m) แล้ ว b ≡ a ( mod m) สมบัติสมมาตร (Symmetric law)
. ถ้ า a ≡ b ( mod m) และ b ≡ c ( mod m) แล้ ว a ≡ c ( mod m) สมบัติถ่ายทอด (Transitive law)
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b, c, d เป็ นจํานวนเต็ม และ m เป็ นจํานวนเต็มบวก แล้ ว
. ถ้ า a ≡ b ( mod m) และ c ≡ d ( mod m) แล้ ว a + c ≡ b + d ( mod m)

. ถ้ า a ≡ b ( mod m) และ c ≡ d ( mod m) แล้ ว ac ≡ cd ( mod m)

ทฤษฎีบท . . ให้ a, b, c เป็ นจํานวนเต็ม และ m เป็ นจํานวนเต็มบวก แล้ ว


. ถ้ า a ≡ b ( mod m) แล้ ว a + c ≡ b + c ( mod m)

. ถ้ า a ≡ b ( mod m) แล้ ว ac ≡ bc ( mod m)

ทฤษฎีบท . . ให้ a, b, c, d, x, y เป็ นจํานวนเต็ม และ m, k เป็ นจํานวนเต็มบวก แล้ ว


. ถ้ า a ≡ b ( mod m) แล้ ว ak ≡ bk ( mod m)

. ถ้ า a ≡ b ( mod m) และ c ≡ d ( mod m) แล้ ว ax + cy ≡ bx + dy ( mod m)

ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 41 หาร 220 − 1 ลงตัว


ตัวอย่ าง . . จงหาเศษทีเกิดจากการหาร
. 23 หาร 213 . 51 หาร 310

. 51 หาร 720 . 51 หาร 2110

ตัวอย่ าง . . จงหาเลขโดดสองหลักสุดท้ ายของ 34000

ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 42 | (n7 − n) ทุกจํานวนเต็มบวก n


ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 4n ≡ 1 + 3n ( mod 9) ทุกจํานวนเต็มบวก n
. . นิ ยามและสมบัติ (DEFINITION & PROPERTIES)

ทฤษฎีบท . . ทุกๆจํานวนเต็ม a จะมีจํานวนเต็ม r เพียงตัวเดียวที 0 ≤ r < m และ a ≡ r ( mod m)

บทนิยาม . . ถ้ า a ≡ b ( mod m) จะเรี ยก b ว่าเป็ นส่ วนตกค้ าง (residue) ของ a มอดุโล m เซตของ

{a1 , a2 , ..., am }

จะเป็ นระบบส่ วนตกค้ างบริบรู ณ์ (complete residue system) มอดุโล m ก็ตอ่ เมือ ทุกๆจํานวนเต็ม a จะมี ai เพียงตัว
เดียวทีทําให้ a ≡ ai ( mod m) ชันสมมูลของ ai คือ
{a | a ∈ Z, a ≡ ai ( mod m)}

จะเรี ยกว่า ชันส่ วนตกค้ าง (residue class) ของ ai มอดุโล m


ตัวอย่ าง . . จงหาระบบส่วนตกค้ างบริ บรู ณ์ของ
. มอดุโล 4 . มอดุโล 10
. มอดุโล 5 . มอดุโล m
ข้ อสังเกต
• ถ้ า {a1 , a2 , ..., am } เป็ นระบบส่วนตกค้ างบริ บรู ณ์มอดุโล m ก็ตอ่ เมือ ทุกๆ i ̸= j ai ≡
/ aj ( mod m)

• ถ้ า {a1 , a2 , ..., am } และ {b1 , b2 , ..., bm } เป็ นระบบส่วนตกค้ างบริ บรู ณ์มอดุโล m แล้ วจะได้ วา่ ทุกๆ ai จะมี bj
เพียงตัวเดียวทีทําให้ ai ≡ bj ( mod m)
บทนิยาม . . เราจะเรี ยกเป็ นระบบส่วนตกค้ างบริ บรู ณ์มอดุโล m
{0, 1, 2, ..., m − 1}

ว่าระบบส่ วนตกค้ างบริบรู ณ์ ทไม่


ี เป็ นค่ าลบน้ อยสุด (least non-negative complete residue system) มอดุโล m
บทที . สมภาค (CONGRUENCE)
แบบฝึ กหัด .
. จงหาเลขโดดหลักสุดท้ ายของ 3400

. จงหาเลขโดดสามหลักสุดท้ ายของ 13398

. จงหาเศษทีเหลือจากหาร 97104 ด้ วย 105

. จงหาเศษทีเหลือจากหาร 1049 ด้ วย 7

. จงหาเศษทีเหลือจากหาร 3636 + 4141 ด้ วย 77

. จงหาเศษทีเหลือจากหาร 15 + 25 + 35 + ... + 995 ด้ วย 4

. จงแสดงว่า
. 44 | (1919 + 6919 ) . 13 | (536 − 1)
. 13 | (270 + 370 ) . 19 | (1775 + 8)
. 7 | (950 − 4) . 11 · 31 · 61 | (2015 − 1)

. จงแสดงว่า 19 - (4n2 + 4) ทุกจํานวนเต็ม n


. จงแสดงว่า สําหรับจํานวนเต็มบวก n ใดๆ 11 | (24n+3 + 5n+2 ) โดยใช้ สมภาค
. จงแสดงว่า สําหรับจํานวนเต็ม n ใดๆ ถ้ า gcd(n, 7) = 1 แล้ ว 7 | (n2 − 1)
. จงแสดงว่า สําหรับจํานวนเต็มบวกคี n ใด 1 + 2 + 3 + ... + (n − 1) ≡ 0 ( mod n)

. ถ้ า p เป็ นจํานวนเฉพาะ จงพิสจู น์วา่ สําหรับทุกจํานวนเต็ม x ใดๆ

x2 ≡ x ( mod p) ก็ตอ่ เมือ x ≡ 0 ( mod p) หรื อ x ≡ 1 ( mod p)

. ให้ a, b, m เป็ นจํานวนเต็ม จงพิสจู น์วา่ ถ้ า a ≡ b ( mod m) แล้ ว gcd(a, m) = gcd(b, m)


. จงพิสจู น์วา่ ถ้ า a ≡ 2 ( mod 4) จะไม่มีจํานวนเต็ม b และ m > 1 ที a = bm
. ให้ a และ m เป็ นจํานวนเต็มบวกที gcd(a, m) = 1 จงพิสจู น์วา่ สําหรับจํานวนเต็มบวก b ใดๆ
{b, b + a, b + 2a, ..., b + (m − 1)a}

เป็ นระบบส่วนตกค้ างบริ บรูณ์มอดุโล m


. . สมการสมภาคเชิ งเส้น (LINEAR CONGRUENCE EQUATIONS)

. สมการสมภาคเชิงเส้ น (Linear Congruence Equations)


ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนเต็ม a ทีสอดคล้ องเงือนไขต่อไปนีมาอย่างน้ อย 3 จํานวน และหา a ตอบในรูปทัวไป
. a ≡ 2 ( mod 2) . 5 ≡ a ( mod 5)

. a ≡ 2 ( mod 3) . 2a ≡ 7 ( mod 3)

ตัวอย่ าง . . จงเซตคําตอบของ x ทีสอดคล้ อง


. 5x ≡ 3 ( mod 6) . 2x − 5 ≡ 0 ( mod 9)

. 6x ≡ 3 ( mod 9) . 3x ≡ 5 ( mod 6)

ทฤษฎีบท . . ให้ a, b, m ∈ Z โดยที n > 0 และ gcd(a, m) = d จะได้ วา่

สมการสมภาคเชิงเส้ น ax ≡ b ( mod m) มีคําตอบ x ∈ Z ก็ตอ่ เมือ d|b

ถ้ า d | b จะมีคําตอบอยู่ d คําตอบไม่สมภาคกันมอดูโล m และคําตอบนันคือ


x ≡ x0 + t md ( mod m) เมือ t = 0, 1, 2, ..., d − 1

โดยที x0 คือคําตอบหนึงของสมการ a
d
x ≡ b
d
( mod m
d
)

บทแทรก . . ถ้ า gcd(a, n) = 1 แล้ วสมการ ax ≡ b ( mod m) มีเพียงคําตอบเดียว กล่าวคือถ้ า x1 และ x2 เป็ นคํา
ตอบของสมการ ax ≡ b ( mod m) แล้ ว x1 ≡ x2 ( mod m)
ตัวอย่ าง . . จงเซตคําตอบของ x ทีสอดคล้ อง
. 14x ≡ 13 ( mod 21) . 9x ≡ 21 ( mod 30)

. 39x ≡ 65 ( mod 52) . 91x ≡ 98 ( mod 119)

. 18x ≡ 30 ( mod 42) . 6x ≡ 22 ( mod 39)

บทนิยาม . . ถ้ า gcd(a, m) = 1 ผลเฉลยของ ax ≡ 1 ( mod m) จะเรี ยกว่า ตัวผกผัน (inverse) ของ a มอดุโล m
ตัวอย่ าง . . จงหา
. ตัวผกผันของ มอดุโล . ตัวผกผันของ มอดุโล . ตัวผกผันของ มอดุโล
บทที . สมภาค (CONGRUENCE)
แบบฝึ กหัด .
. จงเซตคําตอบของ x ทีสอดคล้ อง
. 20x ≡ 45 ( mod 5) . 15x ≡ 0 ( mod 35)
. 20x ≡ 30 ( mod 4) . 39x ≡ 65 ( mod 52)
. 15x ≡ 25 ( mod 35) . 20x ≡ 4 ( mod 30)
. 15x ≡ 24 ( mod 35) . 335x ≡ 254 ( mod 400)

. จงหาตัวผกผันของ
. มอดุโล . มอดุโล . มอดุโล
. . ทฤษฎี บทเศษเหลือของจี น (CHINESE REMAINDER THEOREM)

. ทฤษฎีบทเศษเหลือของจีน (Chinese Remainder Theorem)


ทฤษฎีบท . . ให้ m1 , mm 2 ∈ N และ gcd(m1 , m2 ) = 1 จะได้ วา่ ระบบสมการ
x ≡ a1 ( mod m1 )
x ≡ a2 ( mod m2 )

มี คํา ตอบของระบบสมการเพียงคําตอบเดียวมอดุโล m = m1 m2 กล่าวคือ ถ้ ามี x0 ∈ Z ซึง x0 ≡ ai (mod mi ) ทุก


i = 1, 2 และถ้ า x1 และ x2 เป็ นคําตอบของสมการ ax ≡ b (mod m) แล้ ว x1 ≡ x2 (mod m1 m2 )

ในระบบสมการทีมากกว่า สมการ
x ≡ a1 ( mod m1 )
x ≡ a2 ( mod m2 )
x ≡ a3 ( mod m3 )

เมือ gcd(m1 , m2 ) = gcd(m1 , m3 ) = gcd(m2 , m3 ) = 1


ให้ x0 = m2 m3 x1 a1 + m1 m3 x2 a2 + m1 m2 x3 a3 สําหรับจํานวนเต็ม x1 , x2 , x3 ใดๆ จะได้ วา่
x0 ≡ m2 m3 x1 a1 + 0 + 0 ( mod m1 )
≡ 0 + m1 m3 x2 a2 + 0 ( mod m2 )
≡ 0 + 0 + m1 m2 x3 a3 ( mod m3 )

ในการหาคําตอบของระบบสมการข้ างต้ นเราเลือก x1 , x2 , x3 ทีสอดคล้ องสมการ


m2 m3 x ≡ 1 ( mod m1 )
m1 m3 x ≡ 1 ( mod m2 )
m2 m2 x ≡ 1 ( mod m3 )

ถ้ า x1 , x2 เป็ นคําตอบของระบบสมการ จะได้ วา่ x1 ≡ x2 (mod m1 m2 m3 )

ตัวอย่ าง . . จงหาคําตอบของระบบสมการ
x ≡ 2 ( mod 3)
x ≡ 5 ( mod 4)
x ≡ −3 ( mod 7)
บทที . สมภาค (CONGRUENCE)
ทฤษฎีบท . . (ทฤษฎีบทเศษเหลือของจีน (Chinese Remainder Theorem)) ให้ m1 , m2 , ..., mr เป็ นจํานวนเต็มบวก
ซึง gcd(mi , mj ) = 1 สําหรับ i ̸= j จะได้ ระบบสมการสมภาค
x ≡ a1 ( mod m1 )
x ≡ a2 ( mod m2 )
x ≡ a3 ( mod m3 )
..
.
x ≡ ar ( mod mr )

มีคําตอบของระบบสมการเพียงคําตอบเดียวในมอดุโล m = m1 m2 m3 ...mr
กล่าวคือจะมี x0 ∈ Z ซึง x0 ≡ ai (mod mi ) ทุก i = 1, 2, ..., r
ถ้ า x1 และ x2 เป็ นคําตอบของสมการ x1 ≡ x2 (mod m)
ตัวอย่ าง . . จงหาคําตอบของระบบสมการ
x ≡ 2 ( mod 3)
x ≡ 3 ( mod 5)
x ≡ 2 ( mod 7)

ตัวอย่ าง . . จงหาคําตอบของสมการสมภาค 17x ≡ 9 (mod 276)

ตัวอย่ าง . . อายุของชายคนหนึงเมือหารด้ วย เหลือเศษ เมือหารด้ วย เหลือเศษ และเมือหารด้ วย เหลือเศษ


จงหาอายุของชายคนนี
ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนเต็มบวกทังหมดทีหารด้ วย , , แล้ วเหลือเศษ หรื อ
ทฤษฎีบท . . ให้ m1 , m2 เป็ นจํานวนเต็มบวกและ a1 , a2 ∈ Z จะได้ ระบบสมการสมภาค
x ≡ a1 ( mod m1 )
x ≡ a2 ( mod m2 )

มีคําตอบ ก็ตอ่ เมือ gcd(m1 , m2 ) | (a1 − a2 )


และถ้ ามีคําตอบแล้ ว จะมีคําตอบเพียงคําตอบเดียวในมอดุโล ℓcm(m1 , m2 )
ตัวอย่ าง . . จงหาคําตอบของระบบสมการ
x ≡ 9 ( mod 14)
x ≡ 6 ( mod 20)

ตัวอย่ าง . . จงหาคําตอบของระบบสมการ
x ≡ 10 ( mod 14)
x ≡ 6 ( mod 20)
. . ทฤษฎี บทเศษเหลือของจี น (CHINESE REMAINDER THEOREM)

ทฤษฎีบท . . ให้ m1 , m2 , ..., mr เป็ นจํานวนเต็มบวกและ a1 , a2 , ..., ar ∈ Z จะได้ ระบบสมการสมภาค


x ≡ a1 ( mod m1 )
x ≡ a2 ( mod m2 )
..
.
x ≡ ar ( mod mr )

มีคําตอบ ก็ตอ่ เมือ gcd(mi , mj ) | (ai − aj ) สําหรับทุก i, j ∈ {1, 2, ..., r}


และถ้ ามีคําตอบแล้ ว จะมีคําตอบเพียงคําตอบเดียวในมอดุโล ℓcm(m1 , m2 , ..., mr )
ตัวอย่ าง . . จงหาคําตอบของระบบสมการ
x ≡ 5 ( mod 6)
x ≡ 17 ( mod 21)
x ≡ 3 ( mod 28)

ทฤษฎีบท . . ให้ f (x) = cn xn + cn−1 xn−1 + ... + c1 x + c0 เป็ นพหุนามทีมี ci ∈ Z และ cn ̸= 0

. ถ้ า a ≡ b ( mod m) แล้ ว f (a) ≡ f (b) ( mod m)

. ถ้ า a เป็ นคําตอบของสมการ f (x) ≡ 0 ( mod m) และ a ≡ b ( mod m) แล้ ว

b เป็ นคําตอบของสมการ f (x) ≡ 0 ( mod m)

ตัวอย่ าง . . จงเซตคําตอบของ x ทีสอดคล้ อง


. x2 − x − 2 ≡ 0 ( mod 5) . x2 − x − 2 ≡ 0 ( mod 9)

ตัวอย่ าง . . จงเซตคําตอบของ x ทีสอดคล้ อง x2 + x − 7 ≡ 0 ( mod 15)

ตัวอย่ าง . . จงเซตคําตอบของ x ทีสอดคล้ อง x2 + x + 7 ≡ 0 ( mod 189)


บทที . สมภาค (CONGRUENCE)
แบบฝึ กหัด .
. จงหาคําตอบทังหมดของสมการสมภาค
. 20x ≡ 4 (mod 30) . 20x ≡ 3 (mod 4) . 353x ≡ 254 (mod 400)

. จงหาคําตอบของระบบสมการสมภาคต่อไปนี
. .
x ≡ 1 ( mod 3) x ≡ 1 ( mod 4)
x ≡ 2 ( mod 5) x ≡ 0 ( mod 3)
x ≡ 3 ( mod 7) x ≡ 5 ( mod 7)

. จงหาคําตอบของระบบสมการสมภาคต่อไปนี
. .
x ≡ 1 ( mod 10) x ≡ 2 ( mod 4)
x ≡ 3 ( mod 15) x ≡ 11 ( mod 9)

. .
x ≡ 2 ( mod 6) 2x ≡ 1 ( mod 5)
x ≡ 11 ( mod 9) 3x ≡ 5 ( mod 17)

. จงหาคําตอบของระบบสมการสมภาคต่อไปนี
x ≡ 1 ( mod 2)
x ≡ 2 ( mod 3)
x ≡ 3 ( mod 5)
x ≡ 4 ( mod 7)

. จงหาจํานวนเต็มบวกทีมีคา่ น้ อยสุดทีเมือหารด้ วย , , แล้ วเหลือเศษเป็ น , , ตามลําดับ


. จงหาจํานวนเต็มทังหมดทีอยูร่ ะหว่าง ถึง ทีเมือหารด้ วย , , แล้ วได้ เศษเหลือ , , ตามลําดับ
. จงหาคําตอบของสมการสมภาค
. x2 + 4x + 8 ≡ 0 (mod 15) . x2 + 2x − 3 ≡ 0 (mod 45) . x2 + 2x − 3 ≡ 0 (mod 9)
. . ระบบส่วนตกค้างลดทอน (REDUCED RESIDUE SYSTEM)

. ระบบส่ วนตกค้ างลดทอน (Reduced Residue System)


บทนิยาม . . ระบบส่ วนตกค้ างลดทอน (reduced residue system) มอดุโล m คือเซตของจํานวนเต็มในระบบส่วน
ตกค้ างบริ บรู ณ์ ทีเป็ นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์ กบั m ระบบส่วนตกค้ างลดทอนมอดุโล m ทีได้ จากระบบส่วนตกค้ างบริ บรู ณ์
{0, 1, 2, ..., m − 1} ซึงคือ
{k | 0 ≤ k < m, gcd(k, n) = 1}
เรี ยกว่า ระบบส่ วนตกค้ างลดทอนทีไม่ เป็ นลบค่ าน้ อยสุด (least non-negative reduced residue system) มอดุโล m
ให้ ϕ(m) แทนจํานวนสมาชิกของระบบส่วนตกค้ างลดทอน มอดุโล m
ตัวอย่ าง . . จงหาระบบส่วนตกค้ างลดทอน
. มอดุโล . มอดุโล . มอดุโล
ทฤษฎีบท . . ถ้ า {a1 , a2 , ..., aϕ(m) } เป็ นเซตของจํานวนเต็มซึงทุกๆ i, gcd(ai , m) = 1 และทุกๆ i ̸= j ,
ai ≡ aj (mod m) แล้ ว {a1 , a2 , ..., aϕ(m) } เป็ นระบบส่วนตกค้ างลดทอน มอดุโล m

ทฤษฎีบท . . ให้ gcd(a, m) = 1 และ {r1 , r2 , ..., rϕ(m) } เป็ นระบบส่วนตกค้ างลดทอน มอดุโล m จะได้ วา่
{ar1 , ar2 , ..., arϕ(m) }

เป็ นระบบส่วนตกค้ างลดทอน มอดุโล m


ทฤษฎีบท . . (ทฤษฎีบทของออยเลอร์ (Euler's Theorem)) ถ้ า a ∈ Z และ n ∈ N ซึง gcd(a, n) = 1 แล้ ว
aϕ(n) ≡ 1 ( mod n)

บทแทรก . . (ทฤษฎีบทของแฟร์ มาต์ (Fermat's Little Theorem)) ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะ และ a ∈ Z โดยที p - a
แล้ ว
ap−1 ≡ 1 ( mod p)

บทแทรก . . ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะ และ a ∈ Z แล้ ว


ap ≡ a ( mod p)

ตัวอย่ าง . . จงหาเศษทีเกิดจากการหาร 31000 ด้ วย 17


ตัวอย่ าง . . จงพิจารณาว่า 2117 − 2 หารด้ วย 117 ลงตัวหรื อไม่
ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 100 หาร 3256 เหลือเศษ 21
ตัวอย่ าง . . จงหาเลขโดดสามหลักสุดท้ ายของ 71000
ตัวอย่ าง . . จงหาค่า a ทีทําให้ 1021999 + 1031999 ≡ a (mod 1999) เมือ 0 ≤ a < 1999
บทที . สมภาค (CONGRUENCE)

ทฤษฎีบท . . ถ้ า p และ q เป็ นจํานวนเฉพาะทีแตกต่างกันซึง aq ≡ a (mod p) และ ap ≡ a (mod q) แล้ ว


apq ≡ a ( mod pq)

ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 2340 ≡ 1 (mod 341)

ทฤษฎีบท . . ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะ จะได้


x2 ≡ 1 (mod p) ก็ตอ่ เมือ x ≡ 1 หรื อ −1 (mod p)

ทฤษฎีบท . . (ทฤษฎีบทของวิลสัน (Wilson's Theorem)) ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะ จะได้


(p − 1)! ≡ −1 ( mod p)

ตัวอย่ าง . . จงหาเศษทีเกิดจากการหาร 15! ด้ วย 17


ตัวอย่ าง . . จงแสดงว่า 18! ≡ −1 (mod 437)
. . ระบบส่วนตกค้างลดทอน (REDUCED RESIDUE SYSTEM)

แบบฝึ กหัด .
. จงหาเศษทีเกิดจากการหาร 21000000 ด้ วย 17
. จงหาเศษทีเกิดจากการหาร 2 3
1010 + 1010 + 1010 + ... + 1010
10
ด้ วย 7
. จงแสดงว่า ถ้ า p เป็ นจํานวนเฉพาะคี แล้ ว 2(p − 3)! ≡ −1 (mod p)

. จงแสดงว่า 11320 − 1 หารด้ วย 17 ลงตัว


. จงแสดงว่า 3636 + 4141 หารด้ วย 77 ลงตัว
. จงแสดงว่า 1919 + 6919 หารด้ วย 44 ลงตัว
. จงแสดงว่า 270 + 370 หารด้ วย 13 ลงตัว
. จงแสดงว่า 97104 หารด้ วย 105 เหลือเศษเป็ น 1
. จงแสดงว่า 2015 − 1 หารด้ วย 11 · 31 · 61 ลงตัว
. จงแสดงว่า 561 | (2561 − 2) และ 561 | (2561 − 3)

. จงแสดงว่า 18351910 + 19862061 ≡ 0 (mod 7)

. จงแสดงว่า 22225555 + 55552222 ≡ 0 (mod 7)

. จงหาเลขโดดสามหลักสุดท้ ายของ 13398


. จงหาเลขโดดสามหลักสุดท้ ายของ 7999
. จงหาเลขโดดสองหลักสุดท้ ายของ 99 9

. จงหาเลขโดดสามหลักสุดท้ ายของ F13


บทที . สมภาค (CONGRUENCE)
บทที
ฟั งก์ ชันเลขคณิต (Arithematic Functions)

. ฟั งก์ ชันเชิงการคูณ (Multiplicative function)


บทนิยาม . . ฟั งก์ชนั ทีมีโดเมนเป็ นเซตของจํานวนเต็มบวก และพิสยั เป็ นสับเซตของจํานวนเชิงซ้ อน เรี ยกว่า ฟั งก์ ชัน
เลขคณิต (arithematic function)
ตัวอย่ าง . . ตัวอย่างฟั งก์ชนั เลขคณิตทีสําคัญ
. ϕ(n) = จํานวนของจํานวนเต็มทีน้ อยกว่าหรื อเท่ากับ n ทีเป็ นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์กบ
ั n
• ϕ(1) = • ϕ(5) = • ϕ(15) =
• ϕ(2) = • ϕ(11) = • ϕ(36) =

. τ (n) = จํานวนตัวหารทีเป็ นเป็ นบวก n

• τ (1) = • τ (6) = • τ (31) =


• τ (2) = • τ (15) = • τ (36) =

. σ(n) = ผลบวกของตัวหารทีเป็ นเป็ นบวก n

• σ(1) = • σ(7) = • σ(43) =


• σ(2) = • σ(20) = • σ(100) =

. λ : N →Z กําหนดโดย
1 เมือ n = 1
λ(n) =
(−1)α1 +α2 +...+αk เมือ n = pα1 1
· pα2 2 · ... · pαk k (รูปแบบบัญญัติ)

• λ(1) = • λ(6) = • λ(12) =


• λ(2) = • λ(7) = • λ(50) =
บทที . ฟังก์ ชนั เลขคณิ ต (ARITHEMATIC FUNCTIONS)
. Λ : N →R กําหนดโดย
log p ถ้ า n = pa เมือ p เป็ นจํานวนเฉพาะ และ a ∈ N
Λ(n) =
0 ถ้ า n เป็ นอย่างอืน

• Λ(1) = • Λ(6) = • Λ(18) =


• Λ(2) = • Λ(8) = • Λ(49) =

. µ : N →Z กําหนดโดย

 ถ้ า n = 1

1
µ(n) = 0

ถ้ ามีจํานวนเฉพาะ p ซึง p2 | n


(−1)k ถ้ า n = p1 p2 · · · pk เมือ pi เป็ นจํานวนเฉพาะทีแตกต่างกัน
• µ(1) = • µ(4) = • µ(15) =
• µ(2) = • µ(6) = • µ(210) =

. ฟั งก์ชนั เลขคณิตแบบอืนๆ
• f :N→Z กําหนดโดย f (n) = 2n
• f :N→Z กําหนดโดย f (n) = n(n + 1)
• f :N→C กําหนดโดย f (n) = n + i
• f :N→Z กําหนดโดย f (n) = n3
• f :N→Z กําหนดโดย f (n) = จํานวนตัวประกอบทีเป็ นจํานวนเฉพาะของ n

ตัวอย่ าง . . จงตรวจสอบว่าฟั งก์ชนั ต่อไปนีเป็ นฟั งก์ชนั เลขคณิตหรื อไม่


. f :N→Z กําหนดโดย f (n) = 0

. f :N→Z กําหนดโดย f (n) = 1

. f :N→Z กําหนดโดย f (n) = n

. f :Z→Z กําหนดโดย f (n) = n

. f :N→Z กําหนดโดย f (n) = n2

. f :N→C กําหนดโดย f (n) = ni

. f :R→Z กําหนดโดย f (n) = จํานวนเต็มทีมีคา่ มากทีสุดแต่น้อยกว่า n

. f :Z→Z กําหนดโดย f (n) = จํานวนตัวประกอบของ n


. . ฟังก์ ชนั เชิ งการคูณ (MULTIPLICATIVE FUNCTION)

บทนิยาม . . ฟั งก์ชนั เลขคณิต f จะเรี ยกว่า ฟั งก์ ชันเชิงการคูณ (multiplicative function) ก็ตอ่ เมือ
f (mn) = f (n)f (m) สําหรับทุกจํานวนเต็ม n, m และ gcd(m, n) = 1
และเรี ยกว่า ฟั งก์ ชันเชิงการคูณแบบบริบรู ณ์ (completely multiplicative function) ก็ตอ่ เมือ
f (mn) = f (n)f (m) สําหรับทุกจํานวนเต็ม n, m
ตัวอย่ าง . . จงตรวจสอบฟั งก์ชนั เลขคณิตในตัวอย่าง . . ว่าฟั งก์ชนั ใดเป็ นฟั งก์ชนั เชิงการคูณ และฟั งก์ชนั เชิงการ
คูณแบบบริ บรู ณ์
ตัวอย่ าง . . จงยกตัวอย่างฟั งก์ชนั เลขคณิตทีไม่เป็ นฟั งก์ชนั เชิงการคูณ มาอย่างน้ อย ตัวอย่าง
บทนิยาม . . ฟั งก์ชนั เลขคณิต f จะเรี ยกว่า ฟั งก์ ชันเชิงการบวก (additive function) ก็ตอ่ เมือ
f (mn) = f (n) + f (m) สําหรับทุกจํานวนเต็ม n, m และ gcd(m, n) = 1
และเรี ยกว่า ฟั งก์ ชันเชิงการบวกแบบบริบรู ณ์ (completely additive function) ก็ตอ่ เมือ
f (mn) = f (n) + f (m) สําหรับทุกจํานวนเต็ม n, m
ตัวอย่ าง . . จงตรวจสอบฟั งก์ชนั เลขคณิตต่อไปนีว่าเป็ นฟั งก์ชนั เชิงการบวก และฟั งก์ชนั เชิงการบวกแบบบริ บรู ณ์
. f :N→Z กําหนดโดย f (n) = 0

. f :N→Z กําหนดโดย f (n) = n

. f :N→C กําหนดโดย f (n) = ln n

. f :N→Z กําหนดโดย f (n) = en

. f :N→Z กําหนดโดย f (n) = จํานวนตัวประกอบทีเป็ นจํานวนเฉพาะของ n

ทฤษฎีบท . . ให้ f เป็ นฟั งก์ชนั เลขคณิต โดยที f (1) = 1 และรูปแบบบัญญัติ n = pα1 1 · pα2 2 · ... · pαk k แล้ ว
f เป็ นฟั งก์ชนั แยกคูณ ก็ตอ่ เมือ f (pα1 1 · pα2 2 · ... · pαk k ) = f (pα1 1 )f (pα2 2 )...f (pαk k )

ทฤษฎีบท . . ให้ f เป็ นฟั งก์ชนั เลขคณิต โดยที f (1) = 1 และรูปแบบบัญญัติ n = pα1 1 · pα2 2 · ... · pαk k แล้ ว
f เป็ นฟั งก์ชนั แยกคูณแบบบริ บรู ณ์ ก็ตอ่ เมือ f (pα1 1 · pα2 2 · ... · pαk k ) = f (p1 )α1 f (p2 )α2 ...f (pk )αk
บทที . ฟังก์ ชนั เลขคณิ ต (ARITHEMATIC FUNCTIONS)
สัญญาลักษณ์แทนการบวกของฟั งก์ชนั เลขคณิต f

f (d) หมายถึง ผลบวกของ f (d) เมือ d เป็ นตัวหาร n
d|n
∑ ∑
ตัวอย่างเช่น f (d) = f (1) + f (3) และ f (d) = f (1) + f (2) + f (3) + f (6) เป็ นต้ น
d|3 d|6

ฟั งก์ ชันเทา (Tau function)


บทนิยาม . . ให้ n ∈ N กําหนดให้
τ (n) = จํานวนตัวหารทีเป็ นเป็ นบวก n

เรี ยกฟั งก์ชนั นีว่า ฟั งก์ ชันเทา (Tau function) หรื อกําหนดโดย τ (1) = 1 และ τ (n) = 1
d|n

ตัวอย่ าง . . จงหาค่าของ
• τ (12) = • τ (23) = • τ (308) = • τ (625) =

ทฤษฎีบท . . ฟั งก์ชนั เทาเป็ นฟั งก์ชนั เชิงการคูณ


ทฤษฎีบท . . ถ้ า p เป็ นจํานวนเฉพาะ แล้ ว
τ (p) = 2

ทฤษฎีบท . . ถ้ า p เป็ นจํานวนเฉพาะ และ a ∈ Nแล้ ว


τ (pa ) = a + 1

ทฤษฎีบท . . ถ้ า p, q เป็ นจํานวนเฉพาะทีแตกต่างกัน และ r, s ∈ Nแล้ ว


τ (pr q s ) = (r + 1)(s + 1)

ทฤษฎีบท . . ถ้ า n = pα1 1
· pα2 2 · ... · pαk k รูปแบบบัญญัติ แล้ ว

k
τ (n) = (αi + 1)
i=1

ตัวอย่ าง . . จงหาค่าของ
• τ (500) = • τ (1000) =

• τ (720) = • τ (10008) =

ตัวอย่ าง . . ถ้ า n = 2k − 1 เป็ นจํานวนเฉพาะ จงหาค่าของ τ (n)


. . ฟังก์ ชนั เชิ งการคูณ (MULTIPLICATIVE FUNCTION)

ฟั งก์ ชันซิกมา (Sigma function)


บทนิยาม . . ให้ n, k ∈ N กําหนดให้
σ(n) = ผลบวกของตัวหารทังหมดของ n

เรี ยกฟั งก์ชนั นีว่า ฟั งก์ ชันซิกมา (Sigma function) หรื อกําหนดโดย σ(1) = 1 และ σ(n) = d
d|n

σk (n) = ผลบวกของกําลัง k ของตัวหารทังหมดของ n



หรื อกําหนดโดย σk (1) = 1 และ σk (n) = dk
d|n

ตัวอย่ าง . . จงหาค่าของ
• σ(6) = • σ2 (6) = • σ(81) = • σ3 (81) =

ทฤษฎีบท . . ฟั งก์ชนั ซิกมาเป็ นฟั งก์ชนั เชิงการคูณ


ทฤษฎีบท . . ถ้ า p เป็ นจํานวนเฉพาะ แล้ ว
σ(p) = 1 + p และ σk (p) = 1 + pk

ทฤษฎีบท . . ถ้ า p เป็ นจํานวนเฉพาะ และ a ∈ Nแล้ ว


pa+1 − 1 (pk )a+1 − 1
σ(pa ) = และ σk (pa ) =
p−1 pk − 1

ทฤษฎีบท . . ถ้ า p, q เป็ นจํานวนเฉพาะทีแตกต่างกัน และ r, s ∈ Nแล้ ว


σ(pr q s ) = σ(pr )σ(ps ) และ σk (pr q s ) = σk (pr )σk (ps )

ทฤษฎีบท . . ถ้ า n = pα1 1
· pα2 2 · ... · pαk k รูปแบบบัญญัติ แล้ ว

k
pαi +1 − 1 ∏
k
(pk )αi +1 − 1
σ(n) = i
และ σk (n) = i

i=1
pi − 1 i=1
pki − 1

ตัวอย่ าง . . จงหาค่าของ
• σ(200) = • σ(729) =

• σ(600) = • σ(1000) =

• σ(625) = • σ(3250) =

ตัวอย่ าง . . ถ้ า n = 2k − 1 เป็ นจํานวนเฉพาะ จงหาค่าของ σ(n)


บทนิยาม . . เราจะเรี ยกจํานวน n ว่า จํานวนสมบูรณ์ (perfect number) ถ้ า σ(n) = 2n
บทที . ฟังก์ ชนั เลขคณิ ต (ARITHEMATIC FUNCTIONS)
แบบฝึ กหัด .
. จงตรวจสอบฟั งก์ชนั ต่อไปนี เป็ นฟั งก์ชนั เชิงการคูณหรื อไม่
. f :N→Z โดย f (n) = 3n . f :N→R โดย f (n) = 1
n

. f :N→Z โดย f (n) = n2 . f :N→C โดย f (n) = n + ni

. จงตรวจสอบฟั งก์ชนั ต่อไปนี เป็ นฟั งก์ชนั เชิงการบวกหรื อไม่


. f :N→Z โดย f (n) = 5 . f :N→R โดย f (n) = cos n
. f :N→Z โดย f (n) = gcd(n, n + 2) . f :N→C โดย f (n) = ein

. จงหาค่าของ
. τ (25) . τ (525) . σ2 (20) . σ(1500)
. τ (99) . τ (3125) . σ3 (72) . σ(6000)
. τ (100) . τ (9938) . σ(900) . σ(5545)

. จงพิสจู น์วา่ ถ้ า f และ g เป็ นฟั งก์ชนั เชิงการคูณ แล้ ว f g เป็ นฟั งก์ชนั เชิงการคูณ
. ให้ f และ g เป็ นฟั งก์ชนั เชิงการคูณ จงพิสจู น์วา่ f = g ก็ตอ่ เมือ f (pa ) = g(pa ) สําหรับทุกจํานวนเฉพาะ p และ
ทุกจํานวนนับ d
. จงตรวจสอบว่า τ (n) = τ (n + 1) + τ (n + 2) + τ (n + 3) เป็ นจริ งสําหรับ n = 3655 และ n = 4503 หรื อไม่
. จงหาเซตคําตอบของสมการ τ (x) = 1, τ (x) = 2, τ (x) = 3 และ τ (x) = 4
. ให้ n ∈ N จงพิสจู น์วา่ σ(n) = n + 1 ก็ตอ่ เมือ n เป็ นจํานวนเฉพาะ
. สําหรับจํานวนนับ n ใดๆ จงพิสจู น์วา่ σ(n2 ) ≤ σ2 (n)
. . ฟังก์ ชนั ออยเลอร์ -ฟี (EULER PHI-FUNCTIONS)

. ฟั งก์ ชันออยเลอร์ -ฟี (Euler phi-functions)


บทนิยาม . . ให้ n ∈ N กําหนด
ϕ(n) = จํานวนของจํานวนเต็มบวกซึง k ≤ nและ gcd(k, n) = 1

เราเรี ยกฟั งก์ชนั นีว่า ฟั งก์ ชันฟี (phi function)


n จํานวนเต็มบวก k ≤ n ซึง gcd(k, n) = 1 ϕ(n)

,
,
, ,,
,
, , ,,,
, , ,
, , ,,,
, , ,
ตัวอย่ าง . . จงหาค่าของ
. ϕ(15) . ϕ(36) . ϕ(50)

. ϕ(25) . ϕ(48) . ϕ(100)

ทฤษฎีบท . . ϕ(p) = p − 1 เมือ p เป็ นจํานวนเฉพาะ


ทฤษฎีบท . . ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะ และ k ∈ N แล้ ว
ϕ(pk ) = pk − pk−1

ตัวอย่ าง . . จงหาค่าของ
. ϕ(97) . ϕ(343) . ϕ(729)

. ϕ(64) . ϕ(625) . ϕ(1024)

ทฤษฎีบท . . ϕ เป็ นฟั งก์ชน


ั เชิงการคูณ หรื อ ϕ(mn) = ϕ(n)ϕ(m) เมือ gcd(n, m) = 1
บทแทรก . . ให้ m1 , m2 , ..., mk ∈ N และ gcd(mi , mj ) = 1 ทุกๆ i ̸= j แล้ ว
ϕ(m1 , m2 ...mk ) = ϕ(m1 )ϕ(m2 )...ϕ(mk )
บทที . ฟังก์ ชนั เลขคณิ ต (ARITHEMATIC FUNCTIONS)
ตัวอย่ าง . . จงหาค่าของ
. ϕ(72) . ϕ(500) . ϕ(1000)

บทแทรก . . ถ้ า n = pα1 pα2 1 2


· · · pαk k เป็ นการเขียน n ในรูปแบบบัญญัติ แล้ ว

k
1
ϕ(n) = n (1 − )
i=1
pi

ตัวอย่ าง . . จงหาค่าของ
. ϕ(225) . ϕ(360) . ϕ(900)

. ϕ(120) . ϕ(400) . ϕ(1225)

ตัวอย่ าง . . จงเติมตารางให้ สมบูรณ์


. n = 12 = 22 · 3

ตัวประกอบ (d) ของ n ∑


ดังนัน ϕ(d) =
ϕ(d) d|12

. n = 60 = 22 · 3 · 4

ตัวประกอบ (d) ของ n ∑


ดังนัน ϕ(d) =
ϕ(d) d|60

ทฤษฎีบท . . ให้ n ∈ N แล้ ว ∑


ϕ(d) = n
d|n
. . ฟังก์ ชนั ออยเลอร์ -ฟี (EULER PHI-FUNCTIONS)

แบบฝึ กหัด .
. จงหาค่าของ
. ϕ(18) . ϕ(289) . ϕ(520) . ϕ(2016)
. ϕ(150) . ϕ(256) . ϕ(2000) . ϕ(49000)

. จงหาจํานวนเต็มบวก n ทังหมดทีทําให้ ϕ(2n) = ϕ(n)


. จงแสดงว่า ถ้ า n เป็ นจํานวนเต็มคี แล้ ว ϕ(2n) = ϕ(n)
. จงแสดงว่า ถ้ า n เป็ นจํานวนเต็มคู่ แล้ ว ϕ(2n) = 2ϕ(n)
. จงพิสจู น์วา่ ถ้ า n และ n + 2 เป็ นจํานวนเฉพาะคูแ่ ฝด แล้ ว ϕ(n + 2) = ϕ(n) + 2
บทที . ฟังก์ ชนั เลขคณิ ต (ARITHEMATIC FUNCTIONS)

. ฟั งก์ ชันจํานวนเต็มมากสุด (The greatest integer functions)


บทนิยาม . . สําหรับจํานวนจริ ง x ใดๆ [x] คือจํานวนเต็มค่ามากสุดทีมีคา่ น้ อยกว่าหรื อเท่ากับ x
เราเรี ยก [x] ว่าฟั งก์ ชันจํานวนเต็มมากสุด (the greatest integer functions)
ตัวอย่ าง . . จงหาค่าของ

. [1.5] . [ 5] . [−3.9] . [7]

. [−2.3] . [ 53 ] . [−5] . [− 155


7
] + [ 155
7
]

จากนิยามจะได้ วา่
. [x] ≤ x ≤ [x] + 1

. 0 ≤ x − [x] ≤ 1

ทฤษฎีบท . . สําหรับจํานวนจริ ง x และ y ใด จะได้ วา่



. ถ้ า x ≥ 0 แล้ ว [x] = 1
1≤i≤x

0 ถ้ า x ∈ Z
. [x] + [−x] =
1 ถ้ า x ∈/ Z

. [x + m] = [x] + m เมือ m เป็ นจํานวนเต็ม


. x
[m ] = [ [x]
m
] เมือ m เป็ นจํานวนเต็มบวก
. −[−x] คือจํานวนเต็มค่าน้ อยสุดทีมากกว่าหรื อเท่ากับ x

. ถ้ า n และ m เป็ นจํานวนเต็มบวก จํานวนของจํานวนเต็มจากเซตของ {1, 2, ..., n} ทีหาร n ลงตัวด้ วย m คือ [ mn ]


ทฤษฎีบท . . ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะ และ n เป็ นจํานวนเต็มบวก จะได้ วา่ กําลังสูงสุดของ p ทีหาร n! ลงตัวคือ
∑[n]
ep (n) =
i≥n
pi

ตัวอย่ าง . . จงเขียนรูปแบบบัญญัติของจํานวนต่อไปนี โดยใช้ ทฤษฎีบท . .


. 10! . 20!

. 15! . 50!

ตัวอย่ าง . . จงหากําลังสูงสูงของ 5 ทีหาร 1000! ลงตัว


. . ฟังก์ ชนั จํ านวนเต็มมากสุด (THE GREATEST INTEGER FUNCTIONS)

แบบฝึ กหัด .
. จงหาค่าของ
√ √
. [−2 31 + 1] + [ 31]
. [ 235
24
24
+ 235 ]

. [ 1 + 2 + ... + 10]
. [1 + 12 + 31 + ... + 1
100
]
. [1 + √1
2
+ √1
3
+ ... + √1 ]
100

. จงเขียนรูปแบบบัญญัติของจํานวนต่อไปนี โดยใช้ ทฤษฎีบท . .


. 18! . 25! . 30! . 60!

. ให้ F และ f เป็ นฟั งก์ชนั เลขคณิตโดยที F (n) = f (d) จงพิสจู น์วา่ สําหรับจํานวนเต็มบวก m
d|n


m ∑
m
m
F (k) = f (k)[ ]
i=1 k=1
k

. จงหากําลังสูงสูงของ 7 ทีหาร 1000! ลงตัว


. ถ้ าเขียน 500! ในรูปเลขฐานสิบจะมีจํานวนทีลงท้ ายด้ วยศูนย์ตอ่ เนืองกันกีจํานวน
. จงหาจํานวน n! ทีเขียนในรูปเลขฐานสิบจะมีจํานวนทีลงท้ ายด้ วยศูนย์ตอ่ เนืองกัน จํานวน
บทที . ฟังก์ ชนั เลขคณิ ต (ARITHEMATIC FUNCTIONS)
บทที
สมการไดโอแฟนไทน์ (Diophatine Equations)

. สมการเชิงเส้ นดีกรี หนึง (First degree of Linear Equations)


ในหัวข้ อนีเราสนใจหาเงือนไขทีเพียงพอทีจะแสดงว่าสมการ
ax + by = c เมือ a, b, c ∈ Z
ถ้ า a = 0 หรื อ b = 0 เราจะสามารถหาคําตอบได้ โดยง่าย เรามักจะสนใจกรณีที a ̸= 0 และ b ̸= 0
ทฤษฎีบท . . ให้ a, b ∈ Z ซึง a ̸= 0 และ b ̸= 0 แล้ ว
สมการ ax + by = c มีคําตอบ x, y ∈ Z ก็ตอ่ เมือ gcd(a, b) | c

ทฤษฎีบท . . ให้ a, b ∈ Z ซึง a ̸= 0 และ b ̸= 0 ถ้ าสมการ ax + by = c

มีคําตอบเป็ น x = x0 และ y = y0 เรี ยกคําตอบนีว่าคําตอบเฉพาะราย (particular solution)


และ d = gcd(a, b) แล้ วทุกๆคําตอบของสมการ ax + by = c เขียนในรูป
b a
x = x0 + t, y = y0 − t เมือ t ∈ Z
d d

ตัวอย่ าง . . จงตรวจสอบสมการไดโอแฟนไทน์ตอ่ ไปนีว่ามีคําตอบในระบบจํานวนเต็มหรื อไม่ ถ้ ามีจงหาคําตอบ


. 4x + 2y = 11 . 6x + 21y = 4

. 2x + 6y = 8 . 12x + 5y = 8
บทที . สมการไดโอแฟนไทน์ (DIOPHATINE EQUATIONS)
การหาคําตอบเฉพาะราย
การหาคําตอบเฉพาะรายของสมการ (x0 , y0 )
ax + by = c เมือ a, b, c ∈ Z
ทําได้ วิธีคือใช้ สมการสมภาค และ ขันตอนการหารของยูคลิค
. โดยใช้ สมการสมภาค (Congruence Equations)
พิจารณาสมการ ax + by = c จะได้ วา่ ax − c = −by หรื อ by − c = −ax นันคือ
ax ≡ c ( mod b) หรื อ by ≡ c ( mod a)

ตัวอย่ าง . . จงหาคําตอบคําตอบเฉพาะรายของสมการไดโอแฟนไทน์ โดยใช้ สมการสมภาค


. 5x + 2y = 11 . 12x − 18y = −60

. 9x − 6y = 3 . 101x + 65y = 111

. 56x + 72y = 40 . 80x − 62y = 90

. โดยใช้ ขนตอนการหารของยู
ั คลิค (Euclidean algorithm)
จงหาคําตอบของสมการ 80x + 62y = 2
รูปแบบสมการ รูปแบบแถว
80 = 1(80) + 0(62) 80 1 0
62 = 0(80) + 1(62) 62 0 1
18 = 1(80) − 1(62) 18 1 −1 R1 − R2
8 = −3(80) + 4(62) 8 −3 4 R2 − 3R3
2 = 7(80) − 9(62) 2 7 −9 R3 − 2R4
0 = −31(80) + 40(62) 0 −31 40 R4 − 4R5

ดังนัน x0 = 7 และ y0 = −9
ตัวอย่ าง . . จงหาคําตอบคําตอบเฉพาะรายของสมการไดโอแฟนไทน์ โดยใช้ ขนตอนการหาร

. 13x + 7y = 31 . 112x + 97y = 100

. 15x − 21y = 30 . 103x − 89y = 12

. 51x + 41y = −83 . 999x + 49y = 500


. . สมการเชิ งเส้นดีกรี หนึง (FIRST DEGREE OF LINEAR EQUATIONS)
ทฤษฎีบท . . ให้ d = gcd(a1 , a2 , ..., ak ) แล้ ว
สมการ a1 x1 + a2 x2 + ... + ak xk = c มีคําตอบ x1 , x2 , ..., xk ∈ Z ก็ตอ่ เมือ d|c

ให้ d = gcd(a, b, c) และ d0 = gcd(a, b) = ถ้ า d | m พิจารณาสมการ


ax + by + cz = m แล้ ว ax + by = m − cz

ดัง นัน d0 | (m − cz) นันคือ cz ≡ m ( mod d0 ) และให้ z0 เป็ น คํา ตอบของสมการนี เนืองจาก gcd(a, b, c) =
gcd(gcd(a, b), c) = d และ d | m ดังนัน

d0
z = z0 + t เมือ t∈Z
d
ตัวอย่ าง . . จงหาคําตอบของสมการ 3x − 6y + 9z = 63

ตัวอย่ าง . . จงหาคําตอบของสมการ 3x − 6y + 2z = 11

ตัวอย่ าง . . จงหาคําตอบของสมการ 14x + 6y + 30z + 90w = 200 มา ชุด


บทที . สมการไดโอแฟนไทน์ (DIOPHATINE EQUATIONS)
แบบฝึ กหัด .
. จงตรวจสอบสมการไดโอแฟนไทน์ตอ่ ไปนีว่ามีคําตอบในระบบจํานวนเต็มหรื อไม่ ถ้ ามีจงหาคําตอบ
. 172x + 20y = 1000 . 999x − 49y = 500
. 4x − 82y = −6 . 247x + 589y = 817

. จงหาคําตอบคําตอบเฉพาะรายของสมการไดโอแฟนไทน์ โดยใช้ สมการสมภาค


. 393x + 23y = 120 . 123x + 51y = 303
. 44x − 200y = −600 . 69x − 96y = 300
. 99x − 699y = 333 . 125x − 315y = 1200

. จงหาคําตอบคําตอบเฉพาะรายของสมการไดโอแฟนไทน์ โดยใช้ ขนตอนการหาร



. 172x + 20y = 1000 . 2520x + 154y = 14
. 97x − 751y = 881 . 1004x + 2016y = 5000
. 919x + 213y = 251 . 111x − 1111y = 11111

. จงหาคําตอบคําตอบของสมการไดโอแฟนไทน์
. 10x + 16y − 4z = 48 . 7x + 8y + 9z = 1000
. 15x + 12y + 30z = 24 . 2x + 3y + 4z = 5

. จงพิสจู น์วา่ สมการ ax + by = a + c มีคําตอบ ก็ตอ่ เมือ สมการ ax + by = c มีคําตอบ


. . สมการปี ทาโกรัส (PHYTHAGORAS' EQUATIONS)

. สมการปี ทาโกรั ส (Phythagoras' Equations)


บทนิยาม . . สามจํานวนของปี มาโกรั ส (Pythagorean Triple) คือจํานวนเต็มบวกสามจํานวน {a, b, c} ทีสอดคล้ อง
สมการ
a2 + b2 = c2

ทฤษฎีบท . . ถ้ า {a, b, c} สามจํานวนของปี มาโกรัส และ k ∈ N แล้ ว


{ka, kb, kc} สามจํานวนของปี มาโกรัส
ทฤษฎีบท . . ถ้ า {a, b, c} สามจํานวนของปี มาโกรัส และ d = gcd(a, b, c) แล้ ว
{ }
a b c
, , สามจํานวนของปี มาโกรัส
d d d
ทฤษฎีบท . . ถ้ า {a, b, c} สามจํานวนของปี มาโกรัส และ gcd(a, b, c) = 1 แล้ ว
gcd(a, b) = gcd(a, c) = gcd(b, c) = 1

บทนิยาม . . เราจะเรี ยกจํานวนสมาเหลียมของปี ทาโกรัส {a, b, c} ว่า


ี (Primitive Pythagorean Triple) ถ้ า
พรี มีทฟ gcd(a, b, c) = 1

ทฤษฎีบท . . ถ้ าจํานวนสมาเหลียมของปี ทาโกรัส {a, b, c} เป็ นพรี มิทีฟ แล้ ว a ≡/ b ( mod 2)


ทฤษฎีบท . . {a, b, c} จํานวนสมาเหลียมของปี ทาโกรัสทีเป็ นพรี มิทีฟ ก็ตอ่ เมือ
ทีมีจํานวนเต็ม u, v ซึง u > v, gcd(u, v) = 1 และ u ≡/ v ( mod 2) ทีทําให้
a = u2 − v 2 b = 2uv และ c = u2 + v 2

u v a = u2 − v 2 b = 2uv c = u2 + v 2
2 1 3 4 5
3 2 5 12 13
4 1 15 8 17
4 3 7 24 25
5 2 21 20 29
5 4 9 40 41
6 1 35 12 37
6 5 11 60 61
7 2 45 28 53
7 4 33 56 65
7 6 13 84 85
8 1 63 16 65
8 3 55 48 73
8 5 39 80 89
8 7 15 112 113
บทที . สมการไดโอแฟนไทน์ (DIOPHATINE EQUATIONS)

การหาสามจํานวนของปี ทาโกรรั สทีเป็ นพรี มทิ ฟ


ี เมือทราบหนึงจํานวน
. เมือ x เป็ นจํานวนเต็มคี
• แยกตัวประกอบของ x ออกเป็ นผลคูณของสองจํานวน
• เขียนตัวประกอบมากสุดในรูป u + v
• เขียนตัวประกอบน้ อยสุดในรูป u − v
• แก้ สมการหา u และ v
• หา {a, b, c} จาก a = u2 − v2 b = 2uv และ c = u2 + v2
ตัวอย่ าง . . เมือกําหนดให้ จํานวนหนึงในสามจํานวนของของปี ทาโกรรัสทีเป็ นพรี มิทีฟ จงหาสองจํานวนทีเหลือ
. 35 . 51 . 67

. 40 . 63 . 81

ตัวอย่ าง . . กําหนด x = 35 จงหาสามจํานวนของปี ทาโกรัส

. เมือ x เป็ นจํานวนเต็มคู่


• ถ้ า 4 - x ไม่มีจํานวนของของปี ทาโกรรัสทีเป็ นพรี มิทีฟเมือ x เป็ นจํานวนหนึงในนัน
• ถ้ า 4 | x แล้ ว x = 2uv โดยที gcd(u, v) = 1 และ u, v เป็ นจํานวนเต็มคูห่ รื อจํานวนเต็มคีไม่พร้ อมกัน
• หา u และ v ทีสอดคล้ อง
• หา {a, b, c} จาก a = u2 − v2 b = 2uv และ c = u2 + v2
ตัวอย่ าง . . กําหนดให้ จํานวนหนึงในสามจํานวนของของปี ทาโกรรัสทีเป็ นพรี มิทีฟ จงหาสองจํานวนทีเหลือ
. 8 . 28 . 60

. 24 . 48 . 100

ตัวอย่ าง . . กําหนด x = 28 จงหาสามจํานวนของปี ทาโกรัส


. . สมการปี ทาโกรัส (PHYTHAGORAS' EQUATIONS)

ทฤษฎีบท . . ถ้ า {a, b, c} เป็ นสามจํานวนของปี ทโ่ กรัส จงพิสจู น์วา่


. 3 | a หรื อ 3 | b

. 5 | a หรื อ 5 | b หรื อ 5 | c

ทฤษฎีบท . . ให้ {a, b, c} และ {x, y, z} เป็ นสามจํานวนของปี ทาโกรัส


{by − ax, bx − ay, cz} เป็ นสามจํานวนของปี ทาโกรัส
ตัวอย่ าง . . จงหาสามจํานวนของปี ทาโกรัส ทีเกิดจากสามจํานวนของปี ทาโกรัสทีกําหนดให้
. {3, 4, 5} และ {5, 12, 13}

. {3, 4, 5} และ {8, 15, 17}

. {8, 15, 17} และ {7, 24, 25}

ทฤษฎีบท . . สมการ x4 + y 4 = z 2 ไม่มีคําตอบเป็ นจํานวนนับ


บทแทรก . . สมการ x4 + y 4 = z 4 ไม่มีคําตอบเป็ นจํานวนนับ
บทแทรก . . ถ้ า 4 | n แล้ วสมการ xn + y n = z n ไม่มีคําตอบเป็ นจํานวนนับ
ทฤษฎีบท . . ให้ p เป็ น จํานวนเฉพาะที p | n ถ้ าสมการ xp + y p = z p ไม่มีคําตอบเป็ นจํานวนนับ แล้ ว
สมการ xn + yn = z n ไม่มีคําตอบเป็ นจํานวนนับ
บทที . สมการไดโอแฟนไทน์ (DIOPHATINE EQUATIONS)
แบบฝึ กหัด .
. จงหาสามจํานวนของปี ทาโกรัสทีเกิดจาก u, v
. u = 9, v = 2 . u = 10, v = 1 . u = 11, v = 2
. u = 9, v = 4 . u = 10, v = 9 . u = 13, v = 4

. จงหา u, v จากสามจํานวนของปี ทาโกรัสทีกําหนดให้


. {24, 7, 25} . {36, 77, 85}
. {48, 51, 78} . {140, 51, 149}

. ให้ {a, b, c} เป็ นสามจํานวนของปี ทาโกรัสทีเป็ นพรี มิทีฟ ทีเกิดจาก u, v จงหาจํานวนทีเหลือ


. a = 24, b = 13 . v = 4, c = 97
. u = 7, a = 56 . u = 8, c = 89
. u = 9, v = 17 . u = 7, c = 15

. จงหาสามจํานวนของปี ทาโกรัสทีเป็ นพรี มิทีฟ {a, b, c} ทุกชุดทีสอดคล้ องกับ


. a = 12 . b = 23
. a = 24 . a = 20
. b=9 . c = 125

. จงหาสามจํานวนของปี ทาโกรัส {a, b, c} ทุกชุดทีสอดคล้ องกับ


. a = 16 . b = 35
. a = 20 . c = 85

. จงหาสามจํานวนของปี ทาโกรัส
. เรี ยงเป็ นลําดับเลขคณิต . เรี ยงเป็ นลําดับเรขาคณิต

. จงหาคําตอบพรี มิทีฟของ x2 + y 2 = z 2 เมือ 0 < z < 30


. จงหาสามจํานวนของปี ทาโกรัส ทีเกิดจากสามจํานวนของปี ทาโกรัสทีกําหนดให้
. {3, 4, 5} และ {21, 20, 29} . {5, 12, 13} และ {9, 40, 41}

. สมการ x4 − y 4 = z 2 ไม่มีคําตอบเป็ นจํานวนนับ


. . สมการไดโอแฟนไทน์กําลังสอง (SQUARE DIOPHANTINE EQUATIONS)

. สมการไดโอแฟนไทน์ กาํ ลังสอง (Square Diophantine Equations)


ทฤษฎีบท . . สมการ x2 − y 2 = c มีคําตอบเป็ นจํานวนเต็ม ก็ตอ่ เมือ c เป็ นจํานวนเต็มคี หรื อ 4 | c
ทฤษฎีบท . . ให้ c ∈ Z แล้ วมีจํานวนเต็ม x, y, z ซึง x2 + y 2 − z 2 = c

ทฤษฎีบท . . (Euler)
(x21 + x22 + x23 + x24 )(y12 + y22 + y32 + y42 ) = (x1 y1 + x2 y2 + x3 y3 + x4 y4 )2 + (x1 y2 − x2 y1 + x3 y4 − x4 y3 )2
+ (x1 y3 − x3 y1 + x4 y2 − x2 y4 )2 + (x1 y4 − x4 y1 + x2 y3 − x3 y2 )2

ทฤษฎีบท . . ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะซึง p > 3 แล้ วมีจํานวนเต็ม m, x1 , x2 , x3 , x4 ซึง


1≤m<p และ mp = x21 + x22 + x23 + x24

บทแทรก . . ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะซึง p > 3 แล้ วมีจํานวนเต็ม x1 , x2 , x3 , x4 ซึง


p = x21 + x22 + x23 + x24

ทฤษฎีบท . . จํานวนเต็มในรูป 8k + 7 ไม่สามารถเขียนในรูปผลบวกของกําลังสองของจํานวนเต็มสามจํานวน


ทฤษฎีบท . . สําหรับจํานวนเต็ม x1 , x2 , y1 , y2 แล้ ว
(x21 + x22 )(y12 + y22 ) = (x1 y1 + x2 y2 )2 + (x1 y2 − x2 y1 )2

ทฤษฎีบท . . ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะ และสมการ x2 + y2 = p มีคําตอบเป็ นจํานวนเต็มบวก x, y จะได้ วา่


สมการ u2 ≡ −1 ( mod p) มีคําตอบ
ทฤษฎีบท . . ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะ สมการ u2 ≡ −1 ( mod p) มีคําตอบ จะได้ วา่
มีจํานวนเต็มบวก x, y ซึง x2 + y 2 = p

ทฤษฎีบท . . ให้ p เป็ นจํานวนเฉพาะ จะได้ วา่ มีจํานวนเต็มบวก x, y ทีทําให้


x2 + y 2 = p ก็ตอ่ เมือ p = 2 หรื อ p ≡ 1 ( mod 4)

ตัวอย่ าง . . จงพิสจู น์วา่ ไม่มีจํานวนเต็ม x, y ทีเป็ นคําตอบของสมการ 3x2 + 8 = y 2

ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนเต็ม x, y ทุกคูท่ ีเป็ นคําตอบของสมการ x2 − xy + y = 3

ตัวอย่ าง . . จงหาจํานวนเต็ม a, b, c ทีเป็ นคําตอบของสมการ


a3 − b3 − c3 = 3abc
a2 = 2(b + c)
บทที . สมการไดโอแฟนไทน์ (DIOPHATINE EQUATIONS)
แบบฝึ กหัด .
. จงหาจํานวนเต็มบวก a, b, c, d ทีแตกต่างกัน จํานวนซึง a2 + b2 = c2 + d2 = 493097 = 577 · 761
. จงแสดงว่า มีจํานวนเฉพาะ p ซึง p ≡ 1 ( mod 8) เป็ นจํานวนไม่จํากัด
. จงแสดงว่า มีจํานวนเฉพาะ p ซึง p ≡ 5 ( mod 8) เป็ นจํานวนไม่จํากัด
. จงแสดงว่า ถ้ า 4 | (x2 + y 2 + z 2 ) แล้ ว x, y, z เป็ นจํานวนเต็มคู่
. จงหาจํานวนเต็มบวก x, y ทุกคูท่ ีทําให้ x2 = y 2 + 120

. จงหาจํานวนเต็มบวก x, y ทุกคูท่ ีทําให้ x3 = y 3 + 721

. จงหาจํานวนเต็มบวก x, y ทุกคูท่ ีทําให้ 15x2 − 7y 2 = 9

. จงตรวจสอบว่าสมการ a2 + b2 + c2 = a2 b2 มีคําตอบเป็ นจํานวนเต็มบวกหรื อไม่


บรรณานุกรม
[ ] กรรณิกา กวักเพฑูรย์, หลักคณิตศาสตร์ , สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร,
[ ] กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, อุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ , กรมวิชาการ, กรุงเทพมหานคร,
[ ] คณะผู้เขียนตําราวิชาคณิตศาสตร์ , ทฤษฎีจาํ นวน, มูลนิธิ สอวน, กรุงเทพมหานคร,
[ ] พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ, ระบบจํานวน, วี.พริ นท์( ), กรุงเทพมหานคร,
[ ] อนุกรรมการปรับปรุง หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ทบวงมหาวิทยาลัย, ตรรกศาสตร์ และระบบจํานวนจริง, โรงพิมพ์
พิทกั ษ์ การพิมพ์, กรุงเทพมหานคร,
[ ] อัจฉรา หาญชูวงศ์, ทฤษฎีจาํ นวน, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร,
[ ] Pual Glendinning, Maths in minutes, Quercus Editions Ltd, London, England,
บรรณานุกรม

ประวัตผิ ้ ูเขียน (VISTA)

นายธนัชยศ จําปาหวาย
• ปริ ญญาตรี วิทยาศาสตร์ บณ
ั ฑิต (คณิตศาสาตร์ , เกียติรนิยมอันดับสอง), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
B.Sc. (Mathematics, 2nd class honours),
• ปริ ญญาโท วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต (คณิตศาสาตร์ ), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
M.Sc. (Mathematics), Chulalongkorn University,
• ปริ ญญาเอก วิทยาศาสตร์ ดษุ ฎีบณ
ั ฑิต (คณิตศาสาตร์ ), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
Ph.D. (Mathematics), Chulalongkorn University,
• ปั จจุบนั ดํารงตําแหน่งอาจารย์ประจําสาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
Contract me
Email: Luk_cu@hotmail.com Tel:
Facebook: www.facebook.com/Jampawai Office:
IG & Line id: luxmaz

You might also like