Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 13

64

บทที่ 5
การผลิตทุเรียน
Durio zibethinus Murray (Bombacaceae)

1. อนุกรมวิธาน, ถิ่นกำเนิดและการแพร่กระจาย
ทุเรียนมีชื่อสามัญว่า durian จัดอยู่ในวงศ์ (family) Bombacaceae ซึง่ เป็ นวงศ์ที่พบอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ และเอเชีย จัดอยู่ในสกุล
(genera) Durio ซึง่ มีลกั ษณะที่เด่นคือ มีเมล็ดที่ใหญ่และเนื ้อหุ้มเมล็ดที่น่มุ ในสกุลดังกล่าวมีอยู่ทงหมด
ั้ 27 ชนิด (species) จาก 27 ชนิดดัง
กล่าวมีเพียง 6 ชนิด ที่ให้ ผลใช้ รับระทานได้ ทุเรียนจัดอยู่ใน species zibethinus Murray ซึง่ เป็ นพืชที่สำคัญที่สดุ ที่นิยมปลูกเป็ นการค้ า
ทุเรียนมีแหล่งกำเนิดอยู่ในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แถบเกาะสุมาตราและเกาะเบอร์ เนียวของอินโดนีเซีย นิยมปลูกกันมากใน ศรีลงั กา
อินเดีย พม่า ไทย เขมร เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิ ลปิ ปิ นส์ มีพืชร่วมวงศ์ที่สำคัญได้ แก่ งิ ้วป่ า งิ ้ว นุน่
การปลูกทุเรียนในเมืองไทยมีการปลูกอยู่เกือบทุกภาค เช่น ภาคเหนือที่ อุตรดิตถ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ นครพนม ภาคกลางที่ นนทบุรี
อยุธยา ลพบุรี และสระบุรี ภาคใต้ ที่สำคัญได้ แก่ ชุมพร สุราษฎร์ ธานี นราธิวาส และตรัง ภาคตะวันออกที่ สำคัญได้ แก่ จันทบุรี ระยอง ปราจีนบุรี และตราด
จากสถิติการเพาะปลูกการเพาะปลูกทุเรียนในไทย ภาคตะวันออกเป็ นแหล่งผลิตที่ สำคัญของประเทศ ซึง่ ผลผลิตจะออกในช่วงเดือน พฤษภาคม – มิถนุ ายน
ส่วนทุเรียนทางภาคใต้ จะออกในช่วงเดือน กรกฎาคม - สิงหาคม ของทุกปี

2. การจัดจำแนกทุเรียน
หิรัญและคณะ (2542) รายงานว่าจากการศึกษาและรวบรวมพันธุ์ทเุ รียนในประเทศ มีการจัด จำแนกทุเรียนออกเป็ น 6 กลุม่ คือ กลุม่ กบ
กลุม่ ลวง กลุม่ ก้ านยาว กลุม่ กำปั่ น กลุม่ ทองย้ อย และกลุม่ เบ็ดเตล็ด แต่ในเบื ้องต้ นยังไม่มีหลักฐานการจดบันทึกลักษณะที่ใช้ จดั จำแนก ต่อมาสำนักคุ้มครอง
พันธุ์พืชแห่งชาติ (2544) ของกรมวิชาการเกษตร จึงได้ มีการศึกษาเพิ่มเติมและกำหนดแนวทางในการจำแนกทุเรียนไทยอย่างเป็ นระบบโดยการศึกษา
ลักษณะของทรงใบ ปลายใบ ฐานใบ ทรงผล และหนามผล ซึง่ เป็ นลักษณะทีค่ อ่ นข้ างจะคงที่ และได้ ใช้ ลกั ษณะดังกล่าวจำแนกทุเรียนไทยออกเป็ น 6 กลุม่
(ตารางที่ 5.1) โดยแต่ละกลุม่ จะมีจำนวนพันธุ์ที่รวบรวมได้ แตกต่างกันดังนี ้
1. กลุม่ กบ มี จำนวน 46 พันธุ์ ได้ แก่ กบแม่เฒ่า กบเล็บเหยี่ยว กบตาขำ กบพิกลุ กบวัดกล้ วย กบชายน้ำ กบสาวน้ อย (กบก้ านสัน้ ) กบ
สุวรรณ กบเจ้ าคุณ กบตาท้ วม (กบดำ) กบตาปุ่ น กบหน้ าศาล กบจำปา (กบแข้ งสิงห์) กบเบา กบรัศมี กบตาโห้ กบตาแจ่ม กบทองคำ
กบสีนาค กบทองก้ อน กบไว กบงู กบตาเฒ่า กบชมพู กบพลเทพ กบพวง กบวัดเพลง กบก้ านเหลือง กบตานวล กบตามาก กบทองเพ็ง
กบราชเนตร กบแก้ ว กบตานุช กบตามิตร กลีบสมุทร กบตาแม้ น การะเกด กบซ่อนกลิ่น กบตาเป็ น กบทองดี กบธีระ กบมังกร กบ
ลำเจียก กบหลังวิหาร และกบหัวล้ าน
2. กลุม่ ลวง มีจำนวน 11 พันธุ์ ได้ แก่ ลวงทอง ลวงมะรุม ชะนี ชะนีกิ่งม้ วน ชมพูศรี ย่ำมะหวาด สายหยุด ชะนีก้านยาว ชะนีน้ำตาลทราย
มดแดง และสีเทา
3. กลุม่ ก้ านยาว มีจำนวน 8 พันธุ์ ได้ แก่ ก้ านยาว ก้ านยาววัดสัก (เหลืองประเสริฐ) ก้ านยาวสีนาค ก้ านยาวพวง ก้ านยาวใบด่าง ทองสุก
ชมภูบาน และ ต้ นใหญ่
4. กลุม่ กำปั่ น มีจำนวน 13 พันธุ์ ได้ แก่ กำปั่ นเดิม (กำปั่ นขาว) กำปั่ นเหลือง (เจ้ ากรม) กำปั่ นแดง กำปั่ นตาแพ กำปั่ นพวง ชายมะไฟ ปิ่ น
ทอง เม็ดในกำปั่ น เห-รา หมอนเดิม หมอนทอง กำปั่ นบางสีทอง และลุงเกตุ
5. กลุม่ ทองย้ อย มีจำนวน 14 พันธุ์ ได้ แก่ ทองย้ อยเดิม ทองย้ อยฉัตร ฉัตร ฉัตรสีนาค ฉัตรสีทอง พวงฉัตร ทองใหม่ นมสวรรค์ ทับทิม ธรณี
ไหว นกหยิบ แดงรัศมี อีองึ่ และอีทยุ
6. กลุม่ เบ็ดเตล็ด มีจำนวน 80 พันธุ์ ได้แก่ กะเทยเนื ้อขาว กระดุมทอง กระปุกทอง (กระปุกทองดี) ขุนทอง แดงช่างเขียน แดงสาวน้ อย
ตะโก (ทองแดง) ทองคำตาพรวด นกกระจิบ เป็ ดถบ พวงมณี ยินดี สีไพร หางสิงห์ อินทรชิต อียกั ษ์ ทองนพคุณ นมสด ฟั กข้ าว เม็ดใน
กระดุม เมล็ดพงษ์ พนั ธุ์ เมล็ดสม ลวงเพาะเมล็ด สาเก หมอนละอองฟ้า เหมราช ไอ้ เม่น กะเทยเนื ้อแดง กระดุมสีนาค ก้ อนทอง จอกลอย
แดงตาน้ อย ดาวกระจาย ตุ้มทอง ทองม้ วน บาตรทองคำ (อีบาตร) ฝอยทอง เม็ดในยายปราง ไอ้ ใหม่ สาวชมเห็ด เหรียญทอง อีลา่ อี
หนัก ทองหยอด เนื ้อหนา พื ้นเมืองเกาะช้ าง เม็ดในก้ านยาว เมล็ดเผียน เมล็ดอารีย์ ลุงไหล สาวใหญ่ หลงลับแล เหลืองทอง กะเทยขัวสั
้ น้
กะเทยเนื ้อเหลือง กระโปรงทอง เขียวตำลึง ชายมังคุด แดงตาเผื่อน ตะพาบน้ำ ทศพิณ ทองคำ บางขุนนนท์ พวงมาลัย เม็ดใน
บางขุนนนท์ สีทอง สาวชมฟั กทอง (ฟั กทอง) ไอ้ เข้ อีลบี ตอสามเส้ า ทองหยิบ โบราณ มะนาว เม็ดในลวง เมล็ดลับแล ย่ามแม่หวาด ลูก
หนัก หมอนข้ าง ห้ าลูกไม่ถึงผัว และอีงอน

ตารางที่ 5.1 ลักษณะต่างๆ ของทุเรียนที่ใช้ จดั จำแนกกลุม่ ออกเป็ น 6 กลุม่ (ดัดแปลงจาก สำนักคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งชาติ, 2544)
ลักษณะที่ใช้ จำแนก กลุม่ กบ กลุม่ ลวง กลุม่ ก้ านยาว กลุม่ กำปั่ น กลุม่ ทองย้ อย กลุม่ เบ็ดเตล็ด
Oval- Oval- Obovate – Linear – Obovate – ลักษณะไม่เด่น
รูปร่างใบ ( Leaf shape) ชัด อาจ
oblong oblong lanceolate oblong lanceolate
ปลายใบ (leaf apex) Acuminate- Acuminate- Acuminate Caudate – Acuminate จะเหมือนกลุม่
65

curve curve acuminate ใดกลุม่


Rounded- Acute and Cuneate – Acute Obtuse หนึง่ ใน 5 กลุม่
ฐานใบ (Leaf base)
obtuse obtuse acute
Rounded, Cylindroidal Obovate Oblong Ovate Oblate,
ทรงผล (fruit shape) Oval, and elliptic and oval, or
Oblate rounded cylindroidal
Hooked Concave Convex Pointed Pointed – Pointed –
convex concave or
หนามผล (fruit spine shape)
pointed-
convex
จำนวนพันธุ์ที่รวบรวมได้ 46 11 8 13 14 80

3. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
20-40 เมตร แต่ถ้าปลูกจากกิ่งตอนต้ นจะเตี ้ยกว่าโดยอาจจะสูงประมาณ 8-12 เมตร ต้ นเป็ นทรงปิ รามิด
ทุเรียนเป็ นไม้ ยืนต้ นอาจสูงได้ ถึง
หรือกรวยคว่ำ มีกิ่งด้ านล่างของทรงต้ นค่อนข้ างมากกว่าด้ านบน ใบเป็ นใบเดี่ยว (simple) เรียงตัวแบบสลับ (alternate) อยู่บนกิ่งมักจะมีรูปร่างยาวรี
(oblong) หรือเป็ นวงรี (elliptic) ยาวประมาณ 8-20 เซนติเมตร กว้ างประมาณ 4-6 เซนติเมตร ด้านบนของใบจะมีเขียวอ่อนหรือเขียวเข้ ม แต่ด้าน
ล่างของใบจะมีสีเหลือบออกน้ำตาลแดง
ทุเรียนออกดอกเป็ นกลุม่ (clusters) โดยจะออกดอกเป็ นกลุม่ ครึ่งวงกลม (corymp, บางตำราว่าเป็ น parnicle) กลุม่ ละ 1-30
ดอก มีก้านดอกยาวประมาณ 5-8 เซนติเมตร ห้ อยแขวนลงด้ านล่าง มักออกดอกบนกิ่งหลักหรือบางครัง้ จากลำต้ นโดยตรง ต้ นทุเรียนหนึง่ ต้ นสามารถ
ออกดอกได้ ประมาณ 20,000-40,000 ดอก/ฤดู ดอกเป็ นดอกสมบูรณ์เพศ มีกลีบเลี ้ยง (sepal) สีเขียวอมน้ำตาลหุ้มดอกอยู่รอบนอกโดยไม่มีรอย
แบ่งกลีบเหมือนดอกไม้ อื่น เมื่อดอกจะบานจึงจะแยกเป็ น 2-3 กลีบ กลีบรอง (epicalyx) หรือที่ชาวสวนเรียกว่า หม้ อตาล อยู่ถดั จากกลีบเลี ้ยง มีสขี าว
อมเหลืออ่อนและแบ่งเป็ นกลีบ 5 กลีบ ตรงโคนเชื่อมติดกันเป็ นกระเปาะ โป่ งพองออกมีเส้ นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2-5 เซนติเมตร ซึง่ จะเป็ นส่วนรองน้ำ
หวานไว้ ลอ่ แมลงเมื่อเวลาดอกบาน กลีบดอก (petal) สีขาว 5 กลีบจะเห็นชัดเมื่ออยู่ในระยะกำไลที่สว่ นของกลีบดอกโผล่พ้นออกมาจากส่วนของกลีบ
เลี ้ยงที่ห้ มุ อยู่ภายนอก ปลายของ Stigma จะนูนเป็ นแฉก 5 แฉก ซึง่ มักจะเท่ากับจำนวนพู รังไข่มี 5 ช่อง (carpel) แต่ละ carpel มีประมาณ 5
เมล็ด ส่วนของรังไข่อยู่เหนือส่วนประกอบอื่นของดอก (superior ovary) เกสรตัวผู้มี 5 ชุดแต่ละชุดประกอบด้ วยก้ านชูเกสร (filament) ที่ยาว 5-
8 อัน ส่วนของโคนก้ านชูเกสรจะเชื่อมติดกันเป็ นแผงอยู่ตรงโคนดอกถัดเข้ ามาจากกลีบดอก อย่างไรก็ตามก้ านชูเกสรเหล่านี ้จะยังสันกว่ ้ าก้ านชูเกสรตัวเมีย
(style) ตามปกติเกสรเพศเมียจะพร้ อมที่จะได้ รับการผสมก่อนที่อบั ละอองเรณูจะแตกในเวลากลางคืน (20.00 น.) หลังจากการผสมเกสรกลีบดอก
กลีบเลี ้ยง เกสรตัวผู้จะร่วง และถ้ าไม่ได้ รับการผสมเกสร ยอดเกสรตัวเมียก็จะร่วงภายใน 3-7 วัน เนื ้อ (aril) เป็ นสีเหลือง มีกลิ่นแรง
ผลทุเรียนเป็ นผลเดี่ยว (simple) จัดเป็ นชนิดผลแบบแคบซูล (capsule) มีเปลือก (rind) หนาและแข็งสีน้ำตาลอ่อนมีหนาม
(spine) แหลมทรงปิ รามิดรอบผล ทรงผลมีหลายแบบเช่น กลม (rounded) กลมรี (oval) กลมแป้น (oblate) ทรงกระบอก (cylindroidal)
รูปรี (elliptic) รูปไข่ (ovate) รูปไข่กลับ (obovate) และทรงขอบขนาน (oblong) ผลเจริญมาจาก 1 รังไข่ แต่แบ่งเป็ น 3-5 ช่อง
(compartment) ซึง่ ผนังภายในช่องจะเป็ นมันเรียบ แต่ละช่องจะมี 1-6 เมล็ด เนื ้อ (aril) ที่รับประทานได้ มีประมาณ 20-35% ของน้ำหนักผล สี
เนื ้อขึ ้นอยู่กบั พันธุ์ ส่วนมากมีสีเหลืองอ่อนถึงเหลืองเข้ มและมีกลิ่นแรง กลิ่นส่วนใหญ่มาจากส่วนประกอบของ thiols, esters, hydrogen
sulphide และ diethyl sulphide การไว้ผลต่อต้ นจะขึ ้นอยู่กบั ขนาดต้ นซึง่ จะไว้ ผลประมาณ 50-150 ผล/ต้ น การเจริญเติบโตของผลเป็ นแบบ
simple sigmoid curve การพัฒนาของผลใช้ เวลาประมาณ 90-150 วันหลังดอกบาน โดยจะสะสมน้ำหนักมากที่สดุ ในช่วง 50-80 วันหลัง
ดอกบาน
ลักษณะของใบ ช่อดอก และผลของทุเรียนแสดงไว้ ในภาพที่ 5.1
66

ภาพที่ 5.1 ใบ ช่อดอกและผลของทุเรียน (ที่มา Nakasone and Paull, 1998)

4. พันธุ์และการขยายพันธุ์
พันธุ์
แม้ วา่ จะมีการแบ่งกลุม่ ทุเรียนเป็ นหลายกลุม่ และมีพนั ธุ์ทเุ รียนหลายพันธุ์ในแต่ละกลุม่ แต่ปรากฏว่าทุเรียนส่วนใหญ่เป็ นพันธุ์พื ้นเมือง พันธุ์
ทุเรียนที่นิยมปลูกเป็ นการค้ าที่ใช้ ทงบริ
ั ้ โภคภายในประเทศและเพื่อการส่งออกที่พบมากที่สดุ ได้ แก่
พันธุ์หมอนทอง (ภาพที่ 5.2 ก.) เป็ นพันธุ์ที่นิยมปลูกกันมากเพราะขายได้ ราคาดี เป็ นพันธุ์ที่ได้ รับความนิยมในตลาดระดับกลางและตลาดบน
ผลมีขนาดใหญ่ ประมาณ 2.5-5.5 กิโลกรัม มีการติดผลดี ทรงผลออกยาว เนื ้อมาก มีอตั ราส่วนของเนื ้อต่อผลสูง เนื ้อหนาสีเหลืองอ่อน รสหวานมัน งอม
แล้ วเนื ้อไม่เละ พูหนึง่ ๆ มี 5-6 ยวง แต่ยวงมักไม่สม่ำเสมอ ร่องพูมองเห็นไม่ชัด เปอร์ เซ็นต์เมล็ดลีบสูง คุณภาพเนื ้อเหมาะสำหรับการบริโภคสดและแปรรูป
เช่น กวน แช่แข็ง มีอาการแกน เต่าเผาหรือไส้ ซมึ น้ อย แต่มีลกั ษณะด้ อยคือการสุกไม่สม่ำเสมอในผลเดียวกัน เนื ้อจะหยาบมีสีเหลืองอ่อน และไม่ทนต่อโรคราก
เน่าโคนเน่า
พันธุ์ชะนี (ภาพที่ 5.2 ข.) เป็ นพันธุ์ที่มีพื ้นที่ปลูกมากทีส่ ดุ และเป็ นพันธุ์ที่ได้ รับความนิยมในตลาดทุกระดับ และเป็ นพันธุ์ที่มีการส่งออกเป็ น
หลัก เป็ นพันธุ์ที่มีขนาดผลอยู่ระหว่าง 2.0-3.5 กิโลกรัม ลักษณะผลกลมยาว กลางผลป่ อง หัวเรียวก้ นป้าน หรือที่เรียกว่าทรงหวด หนามใหญ่สนั ้ ห่างแต่
ตามร่องพูมีหนามเล็ก ผลสุกมีสีเขียวแกมน้ำตาล ร่องหนามออกเหลืองปลายหนามแห้ ง ผลหนึง่ มี 5-6 พู ทุกพูอมู นูนไม่มีกลีบ เมล็ดยาวแบนลีบ ลักษณะ
เด่นคือเนื ้อสีเหลืองเข้ ม เนื ้อละเอียดเหนียว การสุกในผลเดียวกันสม่ำเสมอ ทนต่อโรครากเน่าโคนเน่า ส่วนข้ อด้ อยที่พบได้ แก่ มีอาการแกน เต่าเผาหรือไส้ ซมึ
มาก การติดผลไม่ดี งอมแล้ วเนื ้อเละ กลิ่นฉุน เนื ้อมีเส้ นใยมาก คุณภาพเนื ้อไม่เหมาะสำหรับการแปรรูป เช่น กวนหรือแช่แข็ง
พันธุ์ก้านยาว (ภาพที่ 5.2 ค.) เป็ นพันธุ์ที่มีลกั ษณะพิเศษกว่าพันธุ์อื่นตรงที่ก้านผลจะยาวกว่าพันธุ์อื่นๆ ซึง่ โดยทัว่ ไป โดยจะยาวประมาณ 14
เซนติเมตร ผลเป็ นทรงกลม ขนาด 2.5-4.5 กิโลกรัม เปลือกหนา หนามมีสีเขียวแก่ปนน้ำตาล ลักษณะหนามเล็กถี่แต่มีขนาดสม่ำเสมอ ปลายหนามแห้ ง
และงอขึ ้น ที่โคนขัวมี้ หนามงุ้มเข้ าหาขัว้ เนื ้อเป็ นสีเหลือง สุกแล้ ว 2 วันผลจะแตก ลักษณะเด่นคือ เนื ้อละเอียดเหนียวเส้ นใยน้ อย ติดผลดี สภาพเนื ้อเมื่อสุกคง
รูปน่ารับประทานไม่เละ สีเนื ้อสม่ำเสมอ พูชดั เจนและมีขนาดเท่ากันทุกพู พบอาการแกนน้ อย ลักษณะด้ อยคือมีอาการไส้ ซมึ มาก เต่าเผาปานกลาง หากไว้ ผล
มากคุณภาพผลจะไม่ดี เมล็ดมีขนาดใหญ่ มีเมล็ดเต็มมากกว่าเมล็ดลีบ ไม่ทนต่อโรครากเน่าโคนเน่า นิยมบริโภคเฉพาะกลุม่ ผู้บริโภคที่ร้ ูจกั คุณสมบัติประจำ
พันธุ์ ตลาดต่างประเทศนิยมรองมาจากพันธุ์หมอนทองและพันธุ์ชะนี
นอกจากพันธุ์ 3 พันธุ์ดงั กล่าวแล้ ว พันธุ์กระดุมทอง (ภาพที่ 5.2 ง.) ก็เป็ นพันธุ์หนึง่ ที่เกษตรกรนิยมปลูกเพื่อการค้ า เนื่องจากเป็ นพันธุ์เบา
เก็บเกี่ยวได้ เร็วกว่าพันธุ์อื่นๆ พันธุ์กระดุมทองสามารถปลูกเพื่อส่งออกไปต่างประเทศได้ และมักจะได้ ราคาดีเนื่องจากออกก่อนพันธุ์อื่นๆ ตลาดที่ สำคัญที่สดุ
คือ ฮ่องกง แต่พื ้นที่การปลูกยังมีปริมาณจำกัด
67

ก.) พันธุ์หมอนทอง ข.) พันธุ์ชะนี

ค.) พันธุ์ก้านยาว ง.) พันธุ์กระดุมทอง

ภาพที่ 5.2 พันธุ์ตา่ งๆ ของทุเรียนที่นิยมปลูกเป็ นการค้ าในปั จจุบนั (ที่มา กรมวิชาการเกษตร, 2545 ข.)

นอกจากนี ้สามารถแบ่งพันธุ์ทเุ รียนตามอายุการเก็บเกี่ยว (จากออกดอกถึงเก็บเกี่ยว) ได้ เป็ น


พันธุ์เบา จะให้ ผลผลิตครัง้ แรกเมื่อต้ นมีอายุ 4-6 ปี มีอายุเก็บเกี่ยว 95-105 วัน โดยจะเริ่มเก็บเกี่ยวได้ ในกลางเดือนพฤษภาคม ตัวอย่าง
พันธุ์ เช่น ลวง กระดุมทอง ชมพูศรี และชะนี
พันธุ์กลาง เริ่มให้ ผลผลิตครัง้ แรกเมื่อต้ นทุเรียนมาอายุ 6-8 ปี มีอายุเก็บเกี่ยว 105-120 วัน จะเริ่มเก็บเกี่ยวได้ ชว่ งต้ นเดือนมิถนุ ายน
ตัวอย่างพันธุ์ เช่น ก้ านยาว หมอนทอง กบต่างๆ ฉัตรต่างๆ
พันธุ์หนัก เริ่มให้ ผลผลิตเมื่อต้ นทุเรียนมีอายุ 8 ปี ขึ ้นไป มีอายุเก็บเกี่ยวตังแต่
้ 120 วันขึ ้นไป จะเริ่มเก็บเกี่ยวได้ ในต้ นเดือนกรกฎาคม ตัวอย่าง
พันธุ์เช่น อีหนัก กำปั่ น

การขยายพันธุ์
การขยายพันธุ์ทเุ รียนทำได้ หลายวิธีเช่น การเพาะเมล็ด การตอน การติดตา การทาบกิ่งและการเสียบยอด โดยการเสียบกิ่งเป็ นวิธีที่นิยมมาก
ที่สดุ
การเพาะเมล็ด การเพาะเมล็ดทุเรียนในปั จจุบนั ทำเพื่อการปรับปรุงพันธุ์และการเพาะเพื่อใช้ เป็ นต้ นตอเท่านัน้ เมล็ดทุเรียนมีอายุการเก็บรักษาที่
สันมากคื
้ อประมาณ 7 วัน โดยเฉพาะถ้ าเมล็ดถูกแสงแดดจัด ถ้ านำไปเพาะหลังจากเอาเนื ้อออกแล้ วจะงอกภายใน 3-8 วันเท่านัน้ ทุเรียนพันธุ์พื ้นเมืองที่
นิยมนำเมล็ดมาเพาะเพื่อใช้ เป็ นต้ นตอได้ แก่ ทุเรียนดอน และทุเรียนนก การเพาะสามารถเพาะได้ ทงในแปลงเพาะหรื
ั้ อเพาะในถุงเพาะ โดยใช้ ขนาด 6x10
นิ ้วสำหรับการเสียบกิ่ง การเพาะเมล็ดทุเรียนควรวางเมล็ดคว่ำลงและกดให้ เมล็ดจมลงเพียงครึ่งหนึง่ ของความหนาเมล็ด รดน้ำทุกวันเมล็ดจะงอกภายใน 1
สัปดาห์ ถ้ าต้ องการใช้ ต้นตอเพื่อทาบกิ่ง เมื่อต้ นกล้ ายาวประมาณ 20 เซนติเมตร หรือพอสลัดลูกทิ ้งแต่ใบยังไม่คลี่ ให้ ถอนต้ นทุเรียนขึ ้นมาตัดแต่งรากเล็ก
น้ อย บรรจุในถุงขนาด 4x6 นิ ้วแล้ วใช้ ขยุ มะพร้ าวอัดให้ แน่นนำไปทาบกิ่งได้ หรืออาจจะรอให้ ใบคลี่ก่อนก็ได้
การตอนกิ่ง เป็ นวิธีการขยายพันธุ์ที่นิยมในสมัยก่อน จะตอนกิ่งไม่อ่อนไม่แก่หรือเรียกว่าเพสลาด อายุกิ่งประมาณ 1-2 ปี ต้ องทำในฤดูฝน มัก
ตอนกิ่งกระโดงเพราะถ้ าตอนกิ่งแขนงข้ างจะได้ รากเฉพาะด้ านล่างของกิ่ง ใช้ เวลาในการออกรากประมาณ 40 วัน
68

การติดตา ทำได้ จำนวนมาก โดยใช้ วธิ ี modified plate budding หลังติดตาใช้ พลาสติกใสพันแผลไว้ประมาณ 15 วันจึงแกะ ถ้ าตา
ยังสดอยู่แสดงว่าติด หลังจากตาแตกเป็ นยอดประมาณ 50 เซนติเมตร จึงตัดต้ นตอทิ ้ง การติดตาไม่ควรทำในปลายฤดูฝนหรือฤดูแล้ งเพราะความชื ้นใน
อากาศไม่เพียงพอจะเป็ นอันตรายต่อยอดอ่อนของทุเรียนได้
การเสียบกิ่งเป็ นวิธีที่นิยมมากที่สดุ มีเปอร์ เซ็นต์ติด 80% ใช้ ต้นตอที่เพาะในถุงอายุ 2-3 เดือนหรือมีขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางต้ น 3-4
มิลลิเมตร เป็ นการเสียบในขณะที่ต้นตอยังอ่อนอยู่ กิ่งพันธุ์เลือกกิ่งขนาดเท่ากับต้ นตอที่มีตาเริ่มผลิมองเห็นใบอ่อนอยู่ข้างในกลีบหุ้มตา ความยาวกิ่งประมาณ
5-6 นิ ้ว มีใบ 1 คู่ เสียบตำแหน่ง hypocotyl ของต้ นตอพันพลาสติกแล้วอบในถุงอบไว้ ประมาณ 15 วัน หลังจากเปิ ดถุงควรเก็บในที่ร่มรดน้ำให้ ชื ้นอยู่
เสมอ อีกประมาณ 30 วันกิ่งพันธุ์ดีก็จะเริ่มตังตั
้ วได้
69

5. สภาพแวดล้ อม การปลูกและดูแล
สภาพแวดล้ อมที่เหมาะสม
ทุเรียนชอบสภาพแวดล้ อมที่ร้อนชื ้น มีความชื ้นสัมพัทธ์ประมาณ 75-80% หน้ าดินลึกและระดับน้ำใต้ ดินต้ องลึกด้ วย ฝนต้ องตกชุก ประมาณ
2000 มิลลิเมตร/ปี และมีการกระจายตัวดีตลอดปี จงึ จะออกดอกติดผลได้ ดี ถ้ าเจอสภาพแห้ งแล้ งเกิน 3 เดือนจะกระทบต่อการเจริญเติบโต ดังนันถ้้ าปลูก
ในพื ้นที่ที่ฝนไม่พอควรต้ องมีระบบการให้ น้ำชดเชย ทุเรียนปลูกได้ ถึงระดับความสูงประมาณ 800 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลและอยู่ระหว่างเส้ นรุ้งที่ 18
องศาเหนือ-ใต้ อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 25-30 C ถ้ าต่ำกว่า 10 C จะทำให้ เกิดอาการใบร่วงได้ การพรางแสงให้ กบั ต้ นกล้ าที่ปลูกใหม่ โดย
พรางให้ ได้ รับแสงประมาณ 30-50% เพื่อให้ ต้นกล้ าตังตั ้ วได้ เร็ว

การปลูกและดูแล
ทุเรียนมีทรงพุ่มใหญ่ดงั นันการเตรี
้ ยมหลุมปลูกควรเตรียมให้ ดี หลีกเลี่ยงการใช้ ป๋ ยคอกรองพื
ุ ้น เนื่องจากปุ๋ยคอกเป็ นแหล่งเชื ้อรา
phytophthora ซึง่ เป็ นสาเหตุของโรครากเน่าโคนเน่าที่ดี ระยะปลูกประมาณ 8-10 x 10 เมตร แต่ถ้าในสวนมีการใช้ เครื่องจักรทุ่นแรง ระยะปลูกจะ
กว้ างขึ ้นเพื่อให้ เครื่องจักรเข้ าทำงานได้ โดยอาจจะใช้ ระยะปลูก 12x12 เมตรก็ได้ มักจะปลูกให้ ได้ ต้นจำนวน 16-20 ต้ น/ไร่ การปลูกสามารถปลูกได้ 2
วิธีคือการเตรียมหลุมปลูกและการปลูกแบบนัง่ แท่นหรือยกโคก การเตรียมหลุมปลูกมักจะปลูกในพื ้นที่แห้ งแล้ งหรือที่ดอนหรือที่ที่ไม่มีการพัฒนาระบบน้ำ
ชลประทาน ส่วนการปลูกแบบนัง่ แท่นหรือยกโคกเป็ นการปลูกในพื ้นที่ที่มีฝนตกชุกและมักมีปัญหาเรื่องน้ำขังโคนต้ น หรือในที่ที่มีการพัฒนาระบบน้ำ
ชลประทานก่อนปลูก ถ้ าปลูกในทีล่ มุ่ ต้ องยกร่องเพื่อให้ มีการระบายน้ำที่ดี หลังปลูกควรต้ องพรางแสงให้ กบั ต้ นอ่อนด้ วย หรืออาจจะปลูกพืชแซมเช่นกล้ วย
หรือสะตอในแปลงทุเรียนก็ได้ เมื่อทุเรียนโตแล้ วจึงค่อยตัดพืชแซมออก

การตัดแต่งทรงพุ่ม
การตัดแต่งทรงพุ่มนิยมตัดแต่งทรงพุ่มแบบ central leading โดยเริ่มตัดแต่งเพื่อควบคุมทรงต้ นตังแต่
้ ทเุ รียนยังเล็กอยู่ เมื่อทุเรียนเริ่มตัง้
พุ่มให้ กำหนดกิ่งประธาน 4-6 กิ่งแรก โดยกำหนดจุดเริ่มต้ นของการไว้ กิ่งแรกที่ความสูงต้ นประมาณ 60 เซนติเมตรแต่ละกิ่งห่างกันประมาณ 10-15
เซนติเมตร เลือกไว้ กิ่งที่กระจายทุกด้ านของทรงต้ น ตัดกิ่งที่ไม่ต้องการออกโดยเฉพาะกิ่งมุมแคบ กิ่งมุมกว้ าง หรือกิ่งน้ำค้ าง กิ่งสูงเกินจากที่กำหนดให้ ปล่อยไว้
ก่อน หลังจากปล่อยให้ เจริญเติบโตไปอีกระยะหนึง่ จึงตัดแต่งครัง้ ที่ 2 โดยกำหนดกิ่งประธานที่ 7-12 ให้ กิ่งประธานที่ 12 สูงจากพื ้นดินประมาณ 2 เมตร
หลังจากนันเมื
้ ่อกิ่งเจริญเติบโตสมบูรณ์ให้ ตดั กิ่งรองออกจากโคนกิ่งประธานแต่ละกิ่งที่ความยาว 1/3 ของกิ่งประธาน เพื่อให้ กิ่งโปร่ง เมื่อต้ นโตขึ ้นให้ ทยอย
ตัดกิ่งประธานที่ 1-3 ออกตามความเหมาะสมและตัดแต่งกิ่งที่ไม่ต้องการอื่นๆออกอย่างต่อเนื่อง จนทุเรียนอายุ 3 ปี กิ่งประธานล่างสุดควรอยู่ห่างจากพื ้น
ดินประมาณ 1 เมตร

การใส่ป๋ ยุ
ต้ นอ่อนของไม้ ผลจะตอบสนองต่อปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอกได้ ดีกว่าต้ นที่มีอายุมากและปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอกดังกล่าวจะกระตุ้นการเจริญเติบโตของ
ระบบรากได้ ดีกว่าปุ๋ยเคมี ดังนันในช่
้ วงแรกหลังการปลูกไม้ ผลจึงนิยมใส่ป๋ ยคอกร่
ุ อตั รา 2 เท่าของเส้ นผ่าศูนย์กลางของ
วมกับปุ๋ยเคมี โดยการใส่ป๋ ยคอกจะใส่

ทรงพุ่มหน่วยเป็ นเมตรต่อปี และมักจะแบ่งใส่ 2 ครัง้ ส่วนปุ๋ยเคมีมกั จะใส่สตู รเสมอ เช่น 15-15-15 หรือ 16-16-16 อัตราเป็ น กิโลกรัม/ต้ น/ปี โดยใส่
เท่ากับความกว้ างของทรงพุ่มหน่วยเป็ นเมตร แบ่งใส่ 2-4 ครัง้ /ปี เมื่อต้ นให้ผลผลิตแล้วจึงจะเปลี่ยนสูตรปุ๋ยตามช่วงการพัฒนาของพืช โดยในช่วงก่อน
ุ ่มีฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมสูง เช่น 9-24-24 หลังดอกบาน 5-6 สัปดาห์ให้ ป๋ ยุ 12-12-17+2 (N-P-K + Mg) และ 7-8
ออกดอกควรใส่ป๋ ยที
สัปดาห์หลังดอกบาน ซึง่ เป็ นช่วงพัฒนาผลให้ ป๋ ยโปแตสเซี
ุ ยมสูงเช่น 0-0-50 เป็ นต้ น

การออกดอกของทุเรียน
ทุเรียนเป็ นไม้ ผลที่ไม่ต้องการอุณหภูมิต่ำเพื่อกระตุ้นการออกดอกแต่ต้องการสภาพแล้ งประมาณ 7-14 วัน ก่อนการออกดอก การบานของ
ดอกแบ่งออกเป็ นหลายระยะ (ภาพที่ 5.3) ได้ แก่
1. ระยะไข่ปลา(หรือตาปู) เป็ นตุม่ เล็กๆบนกิ่ง ควรงดการให้ น้ำมิฉะนันจะแตกใบอ่
้ อน
2. ระยะเหยียดตีนหนู ห่างจากตาปลาประมาณ 20 วัน จะเริ่มแทงตุม่ ดอกออกมาชัดเจน
3. ระยะเม็ดกระดุม (หรือมะเขือพวง) ก้ านดอกเริ่มยาว ปลายเป็ นตุม่ คล้ ายมะเขือพวง
4. ระยะหัวกำไล เปลี่ยนแปลงเร็ว ตัวเมียโผล่ก่อน เหมาะสำหรับการผ่าดอกเพื่อการผสมเกสร
5. ระยะดอกบาน มีหม้ อตาลเห็นชัดเจน มีน้ำหวานหลังดอกบาน 1 วัน ถ้ าไม่ได้ ผสมจะเริ่มร่วง
6. ระยะปิ่ น หลังผสม 6-12 ชัว่ โมง ส่วนต่างๆจะร่วงเหลือแต่รังไข่และ stigma คล้ ายปิ่ นปั กผม
70

ก.) ระยะไข่ปลา ข.) ระยะเหยียดตีนหนู

ค.)ระยะมะเขือพวงหรือลูกกระดุม ง.) ระยะหัวกำไล

จ.) ระยะดอกบาน ฉ.) ระยะปิ่ น


ภาพที่ 5.3 ระยะต่างๆ ของการออกดอกของทุเรียน
หมายเหตุ
ระยะไข่ปลา ถึง ระยะเหยียดตีนหนู ใช้ ระยะเวลา 70 วัน
ระยะเหยียดตีนหนู ถึง ระยะมะเขือพวง ใช้ ระยะเวลา 10 วัน
ระยะลูกกระดุม ถึง ระยะหัวกำไล ใช้ ระยะเวลา 20 วัน
ระยะจากไข่ปลา ถึง ดอกบานจนผสมได้ ใช้ ระยะเวลา 55 วัน

การตัดแต่งดอกและการผสมทุเรียน
เนื่องจากปกติทเุ รียนจะออกดอกอย่างน้ อย 2 รุ่นต่อปี ดังนันจึ
้ งนิยมทำการตัดแต่งดอกเพื่อให้ ดอกบนกิ่งเดียวกันเป็ นดอกรุ่นเดียวกันเพื่อความ
สะดวกต่อการจัดการ โดยนิยมตัดแต่งดอกให้ เหลือ 1-2 รุ่นเท่านัน้ หรือขึ ้นอยู่กบั การไว้ ผลให้ ตรงกับความต้ องการของตลาด โดยมักจะตัดแต่งดอกในระยะ
มะเขือพวง การไว้ ดอกของทุเรียนขึ ้นอยู่กบั พันธุ์ด้วย เช่น พันธุ์ชะนี ดอกที่ควรไว้ ผลคือดอกที่สมบูรณ์เท่านันเนื
้ ่องจากเป็ นพันธุ์ที่ออกดอกมาก ส่วนพันธุ์ก้าน
ยาวหรือทองย้ อย ที่มกั จะติดผลง่ายจะไว้ ดอกกิ่งละช่อ พันธุ์กบแม่เฒ่า หรือชมพูศรี ตัดแต่ละกิ่งให้ เหลือช่อเดียวประมาณ 10-12 ดอก/ช่อ และพันธุ์กระดุม
จะตัดแต่งให้ เหลือกิ่งละ 3-4 ช่อ
การผสมเกสรดอกทุเรียนมีความจำเป็ นเนื่องจากทุเรียนบางสายพันธุ์ถ้าปล่อยให้ ผสมตัวเองตามธรรมชาติ เช่นพันธุ์หมอนทองหรือชะนี จะมี
เปอร์ เซ็นต์การผสมติดตามธรรมชาติต่ำ ซึง่ อาจจะเกิดได้ จากหลายสาเหตุเช่น จากการที่เกสรเพศเมียพร้ อมจะได้ รับการผสมก่อนที่เกสรเพศผู้จะปล่อยละออง
เรณู เปอร์ เซ็นต์การงอกของละอองเรณูคอ่ นข้ างต่ำคือประมาณ 3-5% และอายุของละอองเรณูจะลดลงอย่างรวดเร็ว นอกจากนี ้ยังพบว่าการงอกของ
pollen tube ต้ องการน้ำตาล ประมาณ 20-35% จึงจำเป็ นต้ องมีการช่วยผสมเกสรช่วย วิธีการผสมเกสรดังกล่าวจะเรียกว่าการผ่าดอกทุเรียนซึง่ จะ
ทำในระยะหัวกำไล
การผสมเกสรทุเรียนสามารถแบ่งเป็ น 2 ขันตอนได้
้ แก่ การเก็บละอองเกสรตัวผู้ในตอนหัวค่ำประมาณ 18.00 น. –19.00 น. และการผสม
ในตอนกลางดึก การเก็บเกสรตัวผู้จะทำได้ โดยจะผ่าดอกในระยะหัวกำไลจากนันจะทำการรวบรวมเกสรตั
้ วผู้ใส่กระป๋ องไว้ การผสมมักจะทำในเวลากลางคืน
71

ประมาณ 20.00-24.00 น. โดยการนำแปรงจุ่มในกระป๋ องที่เก็บเกสรแล้ วนำไปป้ายที่ดอกตัวเมีย การช่วยผสมในลักษณะดังกล่าวจะช่วยเพิ่มเปอร์ เซ็นต์


การผสมติดของทุเรียนได้ เป็ นอย่างดีโดยไม่ทำให้ คณ
ุ ภาพของผลเปลี่ยนแปลงจากต้ นแม่แต่อย่างใด

การดูแลทุเรียนช่วงติดผลอ่อน
ในระยะที่ทเุ รียนติดผลอ่อนคือประมาณ 20-55 วันหลังดอกบาน (ภาพที่ 5.4 ก.) มีข้อควรระวังอยู่ 2 เรื่องใหญ่ๆ คือการแตกใบอ่อนของ
ทุเรียนกับการเข้ าทำลายของเพลี ้ยไฟ การป้องกันการแตกใบอ่อนสามารถทำได้ โดยการให้ น้ำน้ อยแต่บอ่ ยครัง้ ซึง่ จะช่วยควบคุมการแตกใบอ่อนได้ ในระดับ
หนึง่ แต่ถ้าพบว่าในช่วงติดผลอ่อน มีการแตกใบอ่อนในระยะหางปลาจะต้ องรีบ ทำลายใบทุเรียนที่แตกใหม่ทนั ทีโดยการฉีดพ่นสารเคมีเช่นโพแทสเซียมไน
เตรท อัตรา 150-300 กรัม/ น้ำ 20 ลิตรซึง่ ใช้ ได้ ดีในพันธุ์ชะนี แต่ถ้าเป็ นพันธุ์หมอนทองหรือกระดุมทองการกำจัดใบอ่อนจะฉีดพ่นด้ วยไดเมทโธเอท 50
ซีซี/ น้ำ 20 ลิตรแทน นอกจากนี ้สารเคมีที่มีการนำมาใช้ ในการทำลายใบอ่อนได้ แก่ เอธิฟอน ที่อตั รา 300 ppm ส่วนเรื่องเพลี ้ยไฟเข้ าทำลายในขณะทีต่ ิด
ผลอ่อนถ้ าไม่กำจัดจะทำให้ เกิดอาการหนามจีบซึง่ ทำให้ สง่ ออกไม่ได้ ดังนันเกษตรกรที
้ ่ต้องการปลูกทุเรียนเพื่อการส่งออกจะต้ องทำการกำจัดเพลี ้ยไฟในผล
อ่อนซึง่ สามารถทำได้ โดยการใช้ เซฟวิน-85 ผสมกับแป้งมันแล้ วใส่ในกระป๋ องแป้งนำขึ ้นไปโรยบริเวณขัวผลของทุ
้ เรียน หรือถ้ าโรยไม่ได้ ให้ ใช้ การฉีดพ่นตาม
อัตราที่แนะนำข้ างขวดแทน
การตัดแต่งผลทุเรียนและการโยงผล
การตัดแต่งผลของทุเรียนจะทำกัน 3 ครัง้ โดยครัง้ แรกจะทำการตัดแต่งผลที่ทรงบิดเบี ้ยว ขนาดเล็กและต่างรุ่นออก เหลือผลทีส่ มบูรณ์ไว้
20 เปอร์เซ็นต์ หรือไว้ จำนวน 2-3 ผลต่อกลุม่ แต่ละกลุม่ ห่างกัน ประมาณ 30 เซนติเมตร กิ่งละ 2-3 กลุม่ ควรทำให้
มากกว่าทีค่ าดว่าจะเก็บเกี่ยวได้
เสร็จภายใน 4 สัปดาห์หลังดอกบาน การตัดแต่งผลครัง้ ที่สองจะทำในระหว่างสัปดาห์ที่ 5-8 หลังดอกบาน และครัง้ ที่ 3 จะทำในสัปดาห์ที่ 9-10 หลัง
ดอกบาน การตัดแต่งในระยะหลังจะทำการตัดแต่งผลที่มีขนาดเล็ก บิดเบี ้ยว ไม่ได้ ขนาดเดียวกัน หรือคนละรุ่นทิ ้ง โดยอาจจะให้ เหลือกิ่งละ 1-2 ผล แต่ละ
ผลห่างกันประมาณ 30 เซนติเมตร ถ้ าผลติดกันต้ องหาไม้ กนไว้
ั ้ ด้วยเพื่อป้องกันผลเน่า การตัดแต่งเหลือผลไว้ ในปริมาณที่พอเหมาะและมีระยะกระจายกันดี
จะทำให้ ได้ ผลทุเรียนที่มีการพัฒนาที่ดี รูปทรงสวยงาม ตรงกับความต้ องการของตลาด
หลังจากการติดผลแล้ วทุเรียนบางต้ นที่ตดิ ลูกดกจะต้ องทำการโยงผลไว้ กบั กิ่ง (ภาพที่ 5.4 ข.) โดยเฉพาะในพื ้นที่ที่มลี มพัดแรง เพื่อป้องกัน
การหลุดร่วงและเสียหายที่อาจจะเกิดจากแรงลม โดยการโยงผล
ดังกล่าวจะทำในระหว่างสัปดาห์ที่ 5-9 หลังดอกบาน การโยงผลต้ องผูกเชือกโยงเหนือกิ่งทุเรียนให้ เลยตำแหน่งเชื่อมต่อระหว่างขัวผลกั ้ บกิ่งไปทางด้ าน
ปลายกิ่ง เชือกที่โยงกิ่งหรือผลทุเรียนต้ องเป็ นวัสดุที่ทนต่อแรงดึงค่อนข้ างสูง ถ้ ามีหลายรุ่นควรใช้ เชือกโยงหลายสีเพื่อสะดวกต่อการเก็บเกี่ยว

ก.) ระยะติดผลอ่อนที่ต้องระวังเรื่องการแตกใบอ่อน ข.) การโยงผลทุเรียน

ภาพที่ 5.4 ระยะที่ทเุ รียนติดผลอ่อนและการโยงผลของทุเรียน

การใช้ สารพาโคลบิวทราโซลกับการทำทุเรียนก่อนฤดู
การกระตุ้นให้ ทเุ รียนออกดอกก่อนฤดูสามารถทำได้ โดยการใช้ สารพาโคลบิวทราโซล ซึง่ จะมีขนตอนและวิ
ั้ ธีการใช้ พอจะสรุปสันๆ
้ ได้ ดงั นี ้
1. เตรียมต้ น ต้ นทุเรียนที่พร้ อมจะใช้ สารต้ องมีการเจริญเติบโตที่สมบูรณ์ไม่เป็ นโรค ควรเป็ นต้ นที่ให้ ผลผลิตแล้ ว มี ลำต้ นเดี่ยว สูงไม่เกิน 15
เมตร มีกิ่งที่เหมาะสมแก่การออกดอกติดผล การเตรียมต้ นที่เหมาะสมได้ แก่ การเร่งให้ ทเุ รียนแตกใบอ่อนทันทีหลังเก็บเกี่ยวโดยการตัด
แต่งกิ่งแล้ วใส่ป๋ ยสู
ุ ตรเสมอพร้ อมให้ น้ำตามความจำเป็ น เมื่อแตกใบอ่อนแล้ วต้ องรักษาใบอ่อนที่แตกออกมาให้ สมบูรณ์ โดยการฉีดพ่น
สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชตามความเหมาะสม
2. การฉีดพ่นพาโคลบิวทราโซล ใช้ สารพาโคลบิวทราโซล (คัลทาร์ ) ชนิดน้ำ ความเข้ มข้ น 1,000-1,500 ppm (สารชนิด 10%
อัตรา 200-300 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร หรือชนิด 25% อัตรา 80-120 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร) ฉีดพ่นต้ นทุเรียนให้ ทวั่ กิ่งอ่อน เพราะเป็ นจุด
ที่สารจะเข้ าสูพ่ ืชได้ ดี ถ้ าใบแก่มีขนาดใหญ่สีเขียวเข้ มมากให้ ใช้ อตั ราสูงขึ ้น ควรฉีดพ่นทังภายในและภายนอกทรงพุ
้ ่มให้ พอเปี ยกแต่
สม่ำเสมอ การฉีดพ่นสามารถทำได้ ทงวั ั ้ น แต่ต้องเสร็จก่อนฝนตกอย่างน้ อย 1 ชัว่ โมง
3. การฉีดพ่นซ้ำ โดยฉีดพ่นหลังจากครัง้ แรก 1-2 สัปดาห์ โดยเฉพาะถ้ าต้ นยังแสดงอาการแตกใบอ่อนซึง่ แสดงว่าสารที่ฉีดพ่นไม่พอ การฉีด
พ่นซ้ำให้ ใช้ ความเข้ มข้ น 500-750 ppm
72

4. หลังฉีดพ่นควรมีสภาพแล้ ง 3-7 วันเพื่อกระตุ้นการออกดอก โดยการงดให้ น้ำและการกวาดเศษหญ้ าและใบทุเรียนออกจากโคนต้ น โยง


กิ่งที่ห้อยอยู่ใกล้ ดินให้ สงู ขึ ้นไม่น้อยกว่า 1 เมตรเพื่อช่วยให้ ดินแห้ งเร็ว ต้ นทุเรียนจะออกดอกหลังฉีดพ่นประมาณ 3 สัปดาห์
5. เมื่อออกดอกในระยะไข่ปลา ควรฉีดพ่นไทโอยูเรีย ความเข้ มข้ น 1,500 ppm อัตรา 30 กรัม/ น้ำ 20 ลิตร บริเวณท้ องกิ่งที่ออกดอก
ทันที เพื่อกระตุ้นให้ มีปริมาณดอกมากและเป็ นรุ่นเดียวกัน หลีกเลี่ยงการฉีดพ่นให้ ถกู ใบเพราะจะทำให้ ใบไหม้ และร่วงได้
6. ถ้ ามีฝนตกมากหลังออกดอกในระยะไข่ปลา เช่น 10 มิลลิเมตร/วัน ติดต่อกัน 3 วัน หรือวันละ 35 มิลลิเมตร ควรฉีดพ่นไทโอยูเรีย
อัตรา 1,500 ppm ที่ท้องกิ่ง ร่วมกับการฉีดพ่นฟลอริเจน อัตรา 30 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ที่ใบพอเปี ยกทัว่ ต้ น เพื่อกระตุ้นให้ ดอกทุเรียน
ที่ออกพัฒนาต่อไปได้ ไม่หยุดชะงักเมื่อเจอฝน
7. เมื่อออกดอกในระยะเหยียดตีนหนูแล้ วให้ ฉีดพ่นกลุม่ ดอกด้ วยจิบเบอเรลลินความเข้ มข้ น 5 ppm (100 มิลลิกรัม/ น้ำ 20 ลิตร)
เพื่อยืดขัวดอก
้ เนื่องจากการใช้ สารพาโคลบิวทราโซลเพื่อกระตุ้นการออกดอกของทุเรียนจะทำให้ ขวดอกสั
ั้ น้ การฉีดพ่นต้ องฉีดพ่นในระยะ
ที่แนะนำเท่านัน้
8. หลังการออกดอกควรมีการจัดการดูแลที่เหมาะสมตามปกติ เช่นการตัดแต่งดอก การผสมเกสร และการตัดแต่งผล และการโยงผล
เป็ นต้ น เพื่อให้ ได้ ผลทุเรียนที่มีคณ
ุ ภาพดี ขายได้ ราคาสูงสมกับที่ทำให้ ออกก่อนฤดู

โรคที่สำคัญของทุเรียน
โรครากเน่าโคนเน่า (Foot rot, root rot, or fruit rot) เกิดจากเชื ้อ Phytophthora palmivosa Butler เชื ้อจะเข้ า
ทำลายระบบรากทำให้ รากเน่าเป็ นสีน้ำตาล ถ้ าเป็ นมากจะทำให้ ใบทุเรียนระดับปลายกิ่งแสดงอาการซีดเหลือง ชะงักการเจริญเติบโตและร่วง ถ้ าเป็ นที่โคนต้ น
จะปรากฎจุดฉ่ำน้ำและมักมีน้ำเยิ ้มออกมา เนื ้อเยื่อเปลือกและเนื ้อไม้ เปลี่ยนเป็ นสีน้ำตาลเข้ ม ถ้ าอาการลุกลามรอบต้ นใบจะร่วงหมดต้ นและยืนต้ นแห้ งตาย
ถ้ าเกิดกับผลมักแสดงอาการผลเน่าเป็ นจุดสีน้ำตาลส่วนใหญ่มกั พบในทุเรียนระยะใกล้ แก่ (ภาพที่ 5.5 ก.) เชื ้อจะอยู่ในดินที่มีน้ำขัง แพร่ระบาดทางรากและ
ลุกลามสูโ่ คนต้ น ถ้ ามีฝนตกและอากาศชื ้นจะแพร่ทางลมเข้ าสูใ่ บกิ่งและผล ป้องกัน กำจัดโดยการเพิ่มอินทรีย์วตั ถุในดิน หรือใช้ เชื ้อไตรโคเดอร์ มา หรือฉีดพ่น
สาร เมธาแลกซิล หรือฟอสแอททิลอะลูมินมั่ โดยผสมกับแมนโคเซบ ให้ ทวั่ ต้ นทังกิ ้ ่งใบและผล เก็บผลทุเรียนที่เน่าออกไปเผาและอย่างทิ ้งทุเรียนที่เก็บแล้ วไว้
บนดิน หรือจุ่มผลที่เก็บเกี่ยวในฟอสแอททิลอะลูมินมั่ จะลดความเสียหายในระยะหลังเก็บเกี่ยวได้
โรคใบร่วง ใบติด ใบไหม้ (Leaf fall, leaf blight) เกิดจากเชื ้อรา Rhizoctonia solani Kuelm ทุเรียนแสดงอาการใบติดเป็ นก
ระจุก และร่วงจำนวนมาก ใบทีแ่ ห้ งจะยึดติดกันแน่นกับใบปกติด้วยเส้ นใยของเชื ้อรา (ภาพที่ 5.5 ข.) มีลกั ษณะคล้ ายใยแมงมุมโยงไปใบใหม่ ทำให้ เกิด
อาการแผลคล้ ายน้ำร้ อนลวก ใบทีแ่ ห้ งหลุดร่วงสามารถนำเชื ้อแพร่ไปยังต้ นอื่นได้ เชื ้อราพักตัวอยู่ในดินเพื่อสภาพเหมาะสมคือร้ อนชื ้นและมีฝนตกจะระบาดได้
โดยสปอร์ ของเชื ้อราจะกระเซ็นสูใ่ บ การป้องกันกำจัดทีด่ ีคือรวบรวมเศษพืชที่เป็ นโรคเผาทำลาย ฉีดพ่นป้องกันด้ วยคอปเปอร์ ออกซี่คลอไรด์ หรือแมนโคเซป

ก.) อาการผลเน่าจาก phytophthera ข.) โรคใบติด


ภาพที่ 5.5 อาการผลเน่าและอาการของโรคใบติดของทุเรียน (ที่มา ภาพ ก. ของผู้เรียบเรียงเอง, ภาพ ข. กรมวิชาการเกษตร ข.)

โรคแอนแทรกโนส (Anthracnose) เกิดจากเชื ้อรา Colletotrichum zibethinum Sacc. มักระบาดในช่วงระยะดอกบาน


โดยเชื ้อราจะทำลายดอกทำให้ ดอกเน่าดำก่อนบาน มีราสีเทาดำเจริญฟูคลุมกลีบดอก ดอกจะแห้ งและร่วงไป สภาพอากาศที่เหมาะสำหรับการระบาดคือ
สภาพที่ชื ้นมีฝนตก เชื ้อจะแพร่ระบาดทางลมและฝน ป้องกันกำจัดโดยใช้ สารกำจัดเชื ้อรา เช่น แมนโคเซปผสมคาร์ เบนดาซิม
โรคราสีชมพู (Pink disease) เกิดจากเชื ้อรา Corticium salmonicolor Berk & Br. เชื ้อจะเข้ าทำลายบริเวณง่ามกิ่งหรือ
โคนกิ่ง สร้ างเส้ นใยสีขาวแกมชมพูปกคลุมผิวกิ่งแล้ วลุกลามไปยังกิ่ง ถ้ าใช้ มีดถากบริเวณที่ถกู ทำลายจะพบเนื ้อเยื่อสีน้ำตาลเข้ ม ส่วนยอดที่ถกู ทำลายแสดง
อาการใบเหลืองแห้ งตายเป็ นกิ่งๆ เชื ้อจะระบาดได้ ดีในสภาพอาการชุ่มชื ้น มีฝนตกชุก โดยเฉพาะทางภาคใต้ ของไทย ป้องกัน กำจัดโดยการตัดแต่งกิ่งให้ โปร่ง
ตัดกิ่งที่เป็ นโรคเผาทำลาย และฉีดพ่นสารกำจัดเชื ้อราเช่น แมนโคเซป
ราแป้ง (Powdery mildew) เกิดจากเชื ้อรา Oidium sp. ในระยะช่อดอกและผลอ่อนจะมีเชื ้อราสีขาวคล้ ายฝุ่ นแป้งปกคลุมกลีบดอก
และผลอ่อนทำให้ ดขู าวโพลน ดอกและผลอ่อนจะร่วง ถ้ าเป็ นผลที่โตแล้ วจะปรากฏเชื ้อราสีขาวปกคลุมผลบางๆ อาจจะทำให้ ชะงักการเจริญเติบโต มีผิวหยาบ
ไม่สวย ผลทุเรียนที่มีเชื ้อราเจริญอยู่บนผลนานอาจทำให้ รสชาติเปลี่ยนแปลงได้ พบการระบาดของราแป้งมากทางภาคใต้ แพร่ระบาดทางลมในระยะอากาศ
แห้ งแล้ งและเย็น ป้องกันโดยฉีดพ่นสารกำจัดเชื ้อราที่ใช้ ได้ ผลดีกบั ราแป้ง เช่น กำมะถันผง หรือสารชนิดดูดซึม เช่น ไตรอะไดมีฟอน สลับด้ วยแมนโคเซป หรือ
คาร์ เบนดาซิม
73

แมลงศัตรูที่สำคัญของทุเรียน
เพลี ้ยไฟ (Thrips) มีชื่อวิทยาศาสตร์ วา่ Scirtothrips spp. ที่พบระบาดในผลไม้ ที่สำคัญคือเพลี ้ยไฟพริก (Scirtothrips
dorsalis Hood) การเข้าทำลายโดยทังตั้ วอ่อนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ำเลี ้ยงจากส่วนต่างๆ ของพืช ถ้ าเป็ นใบอ่อนหรือยอดอ่อนก็จะทำให้ ชะงักการ
เจริญเติบโต แคระแกรน ใบหงิกและใหม้ ถ้ าเข้ าทำลายในระยะติดผลอ่อนของทุเรียน จะทำให้ เกิดอาการหนามจีบทำให้ สง่ ออกไม่ได้ (ภาพที่ 5.6 ก.)
ป้องกันโดยใช้ เซฟวิน-85 ผสมแป้งมันโรยบนผลหรืออาจจะให้ ฉีดพ่นโดยตรงก็ได้
เพลี ้ยไก่แจ้ ทเุ รียน (Durian psyllid) มีชื่อวิทยาศาสตร์วา่ Allocaridara malayensis Crawford การเข้าทำลายโดยตัวอ่อน
และตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ำเลี ้ยงจากใบอ่อนของทุเรียน ทำให้ ใบอ่อนเป็ นจุดสีเหลือง ไม่เจริญเติบโต ถ้ าระบาดมากจะทำให้ ใบหงิกงอ (ภาพที่ 5.6 ข.) ถ้ าเข้ า
ทำลายในระยะทีใ่ บอ่อนยังไม่คลี่จะทำให้ ใบแห้ งและร่วงหมด ตัวอ่อนจะขับสารเหนียวสีขาวออกมาปกคลุมใบทุเรียน เป็ นสาเหตุให้ เกิดเชื ้อราตามบริเวณที่มี
สารเหนียวดังกล่าว ระยะที่เป็ นตัวอ่อนเป็ นระยะที่ทำความเสียหายมากที่สดุ มักระบาดในช่วงที่แตกใบอ่อน ไม่พบพืชอาศัยชนิดอื่น การป้องกัน กำจัด ควร
ควบคุมให้ ทเุ รียนแตกใบอ่อนพร้ อมกันโดยการฉีดพ่นยูเรีย (46-0-0) อัตรา 20 กรัม/ น้ำ 20 ลิตร เพื่อลดการเข้ าทำลายของเพลี ้ยไก่แจ้ ถ้ าระบาดมากให้
ฉีดพ่นแลมบ์ด้าไซฮาโลทริน (คาราเต้ 5% อีซี) อัตรา 10 มิลลิลติ ร/ น้ำ 20 ลิตร หรือคาร์ โบซัลแฟน (พอสซ์ 20% อีซี) อัตรา 50 มิลลิลิตร/ น้ำ 20
ลิตร หรือคาร์บาริล (เซฟวิน 85% ดับบลิวพี) อัตรา 60 กรัม/ น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทุก 7-10 วัน
(Mealybug) มีชื่อวิทยาศาสตร์วา่ Planococcus minor Maskell, P. lilacinus Cockcerell และ
เพลี ้ยแป้ง
Pseudococcus sp. มักอยู่รวมกันเป็ นกลุม่ อาศัยดูดกินน้ำเลี ้ยงจากบริเวณกิ่งอ่อน ผลอ่อน และผลแก่ (ภาพที่ 5.6 ค.) โดยมีมดแดงและมดดำ
เป็ นตัวช่วยคาบพาไปตามส่วนต่างๆของพืช ถ้ าเป็ นผลอ่อนที่ถกู ทำลายจะแคระแกรน ส่วนผลแก่จะไม่กระทบต่อคุณภาพแต่จะทำให้ ราคาต่ำ ผู้บริโภคไม่ชอบ
และมีปัญหาเรื่องการส่งออก นอกจากนี ้ยังขับน้ำหวาน (Honey dew) ออกมาทำให้ ราดำเข้ าทำลายซ้ำอีก การป้องกันกำจัดโดยตัดส่วนที่ถกู ทำลายทิ ้ง
ในทุเรียนถ้ าพบเพลี ้ยแป้งเข้ าทำลายอาจจะใช้ น้ำฉีดพ่น หรือใช้ น้ำผสมไวท์ออยล์ (white oil) ก็ได้ สารกำจัดแมลงที่ใช้ ได้ ผลคือ คลอไพริฟอส (ลอร์ สแบน
40% อีซี) หรือมาลาไธออน (มาลาไธออน 83% อีซี) อัตรา 30 มิลลิลติ ร/ น้ำ 20 ลิตร ควรผสมสารจับใบเพื่อประสิทธิภาพที่ดขี ึ ้น ควรฉีดพ่นเฉพาะต้ น
ที่ถกู ทำลาย นอกจากนี ้การกำจัดมดจะช่วยลดการเข้ าทำลายและการแพร่ระบาดของเพลี ้ยแป้งได้ เป็ นอย่างดี
หนอนเจาะผลทุเรียน หนอนเจาะผลทุเรียน (Durian fruit borer) มีชื่อวิทยาศาสตร์ วา่ Conogethes punciferalis
Cuenee หนอนจะเจาะเข้ าทำลายผลทุเรียนตังแต่
้ ยงั เล็กอายุประมาณ 2 เดือนจนถึงผลใหญ่ ทำให้ผลเน่าและร่วงเนื่องจากเชื ้อราเข้ าทำลายซ้ำ ผลจะ
เน่าเมื่อสุก ภายนอกผลจะเห็นมูลและรังของหนอนอย่างชัดเจน (ภาพที่ 5.6 ง.) ผลทุเรียนที่อยู่ชิดกันจะถูกเข้ าทำลายได้ ง่าย การป้องกันกำจัดโดยการหมัน่
ตรวจตราถ้ าพบการเข้ าทำลายน้ อยให้ ใช้ วิธีกลทำลายหนอน เก็บผลที่ถกู หนอนเข้ าทำลายไปเผาไฟหรือฝั ง ตัดแต่งผลทุเรียนอย่าให้ ติดมากเกินไปและไม่ควร
ไว้ ผลติดกัน การห่อผลทุเรียนด้ วยมุ้งไนล่อนหรือถุงรีเมย์ก็ช่วยลดความเสียหายได้ ถ้ าเข้ า ทำลายมากควรฉีดพ่นสารเคมี โดยสารเคมีที่ใช้ ได้ ผลได้ แก่ แลมป์ด้ า
ไซฮาโลทริน (คาราเต้ 40% อีซี) หรือคลอร์ไพริฟอส (ลอร์สแบน 40% อีซี) หรือ คาร์โบซัลแฟน (พอสซ์ 20% อีซี) โดยใช้ อตั ราเดียวกันคือ 20
มิลลิลิตร/ น้ำ 20 ลิตร หรือ ไซเพอร์ เมทริน/โฟซาโลน (พาร์ ซอน 6.25/22.5% อีซี) อัตรา 40 มิลลิลิตร/ น้ำ 20 ลิตร
หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน (Durian seed borer) มีชื่อวิทยาศาสตร์วา่ Mudaria luteileprosa Holloway เป็ นแมลงศัตรูที่มี
ความสำคัญมากและทำความเสียหายให้ แก่สวนทุเรียนในภาคตะวันออก โดยพบครัง้ แรกที่จงั หวัดระยอง ต่อมาระบาดไปทัว่ ในเขตจันทบุรีและตราด มักเรียก
ว่า “หนอนใต้ ” หรือ “หนอนมาเลย์” เมื่อเข้ าทำลายผลทุเรียนจะไม่สามารถสังเกตจากลักษณะภายนอกได้ หนอนที่เข้ า ทำลายเมล็ดทุเรียนจะถ่ายมูลปะปนอยู่
กับเนื ้อทุเรียนทำให้ เสียคุณภาพ (ภาพที่ 5.6 จ.) ไม่สามารถขายผลสดได้ ต้ องนำไปแปรรูป เมื่อหนอนโตเต็มที่จะเจาะเปลือกเป็ นรูและทิ ้งตัวลงเข้ าดักแด้ ใน
ดิน บางครัง้ พบความเสียหายหลังจากหนอนเจาะรูออกไปแล้ ว จึงเรียกอีกชื่อว่า “หนอนรู” พบว่าบางครัง้ ผลทุเรียนมีหนอนติดไปถึงผู้บริโภคทังภายในและต่
้ าง

ประเทศ การป้องกันโดยไม่ควรนำเมล็ดจากที่อื่นมาในแปลงปลูกถ้ าจำเป็ นควรทำการแช่เมล็ดด้ วยสารฆ่าแมลงก่อน ห่อช่อผลเมื่ออายุ 1.5 เดือน โดยใช้ ถงุ
พลาสติกสีขาวขุ่น เจาะรูระบายน้ำด้ านล่าง หรือใช้ กบั ดักไฟ (black light) ล่อทำลายผีเสื ้อหนอนเจาะเมล็ดทุเรียน หรืออาจจะใช้ สารเคมีเมื่อพบการ
ระบาดของผีเสื ้อโดยพ่นด้ วย ไซเพอร์ เมทริน/โฟซาโลน (พาร์ ซอน 6.25/22.5% อีซี) หรือไดอะซินอน (บาซูดิน 60% อีซี) อัตรา 40 มิลลิลติ ร/ น้ำ 20
ลิตร โดยพ่นทุก 7-10 วันในแหล่งที่มีการระบาด หลังทุเรียนติดผล 1 เดือน ควรงดพ่นก่อนเก็บเกี่ยว 15 วัน
74

ก.) อาการหนามจีบจากเพลี ้ยไฟเข้ าทำลาย ข.) อาการใบหงิกจากเพลี ้ยไก่แจ้

ค.) เพลี ้ยแป้ง ง.) ร่องรอยของหนอนเจาะผลทุเรียน

จ. ความเสียหายจากหนอนเจาะเมล็ดทุเรียน
ภาพที่ 5.6 อาการเข้ าทำลายทุเรียนของแมลงศัตรูที่สำคัญ (ที่มา กรมวิชาการเกษตร, 2545 ข.)
75

6. การสุกแก่และดัชนีการเก็บเกี่ยว
ดัชนีการเก็บเกี่ยวของทุเรียนดูได้ จากหลายลักษณะ ได้ แก่
1. การนับอายุผล การนับอายุเก็บเกี่ยวจะขึ ้นอยู่กบั พันธุ์ เช่น พันธุ์ชะนีใช้ เวลา 100-105 วัน ส่วนพันธุ์หมอนทองใช้ เวลา 125-130
วัน การนับอายุจะแตกต่างกันเล็กน้ อยในแต่ละปี หรือในแต่ละท้ องถิ่นขึ ้นอยู่กบั สภาพภูมิอากาศ ถ้ าอุณหภูมิเฉลี่ยค่อนข้ างสูงทุเรียนจะแก่
เร็วกว่าที่อณ
ุ หภูมิต่ำ
2. การดูที่ก้านผล โดยผลทีแ่ ก่ก้านผลจะมีสีเข้ มขึ ้น สากมือ เวลาจับยกดูร้ ูสกึ เหมือนมีสปริง ปลิงจะบวม ถ้ าตัดปลิงดูน ้ำทีป่ ลิงจะใสและมี
รสหวาน
3. การดูหนาม ทุเรียนแก่ปลายหนามจะแห้ งมองเห็นเป็ นสีเข้ ม เปราะหักง่าย ร่องหนามห่าง บีบหนามเข้ าหากันได้ ง่ายเหมือนมีสปริง
4. การดูรอยแยกระหว่างพู ถ้ าเป็ นทุเรียนแก่จะเห็นรอยแยกบนพูได้ ชดั เจน ยกเว้ นบางพันธุ์ที่ไม่ปรากฏเด่นชัด เช่นพันธุ์ก้านยาว
5. การเคาะเปลือกหรือการกรีดหนาม มีเสียงกลวงของช่องว่างภายในผล เสียงจะหนักหรือเบาแตกต่างกันขึ ้นกับพันธุ์
6. การปล่อยให้ ทเุ รียนร่วง ปกติทเุ รียนแต่ละรุ่นจะห่างกันประมาณ 10 วัน ถ้ าเริ่มร่วงแสดงว่าทุเรียนในรุ่นเดียวกันที่เหลือแก่แล้ ว
7. การดูน้ำหนักแห้ ง จริงแท้ (2546) ได้ ศกึ ษาพบว่าน้ำหนักแห้ งของเนื ้อทุเรียนมีความสัมพันธุ์กบั การแก่ของทุเรียนอย่างมีนยั สำคัญ โดย
ทุเรียนแต่ละพันธุ์จะมีเปอร์ เซ็นต์น้ำหนักแห้ งเมื่อแก่ พร้ อมส่งออกคือแก่ 70 % จะแตกต่างกันดังนี ้ ทุเรียนพันธุ์หมอนทองจะมี
เปอร์ เซ็นต์น้ำหนักแห้ งเมื่อแก่อย่างน้ อย 32% ถ้ าน้ำหนักแห้ งน้ อยกว่า 30% เมื่อสุกที่ตลาดปลายทางจะไม่มีกลิ่นหอม พันธุ์ชะนีมี
เปอร์ เซ็นต์น้ำหนักแห้ งอย่างน้ อย 30% และพันธุ์กระดุมทองมีเปอร์ เซ็นต์น้ำหนักแห้ งอย่างน้ อย 27% ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนัก
แห้ งและอายุการแก่ของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง ได้ รับการสนับสนุนยืนยันอีกครัง้ จากงานทดลองของกัลย์และคณะ (2546)
อย่างไรก็ตามการแก่ของทุเรียนที่ประมาณเป็ นเปอร์ เซ็นต์จะแยกโดยผู้ชำนาญการที่โรงคัดบรรจุทเุ รียน โดยมักใช้ ทเุ รียนแก่ 60-70 % ที่จะ
สุกภายใน 7 วัน เป็ นทุเรียนส่งออก และทุเรียนแก่ 80-90% สำหรับส่งขายในประเทศ ถ้ าทุเรียนแก่มากกว่า 95% ถือว่าสุกใช้ รับประทานได้

7. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
หลังการเก็บเกี่ยวเพื่อการส่งออกจะทำความสะอาดผลโดยการฉีดพ่นด้ วยน้ำแรงดันสูง หรือใช้ แปรงปั ดเพื่อกำจัดเพลี ้ยหรือสิ่งสกปรกอื่นและ
ตามด้ วยการจุ่มอาลีเอทความเข้ มข้ น 0.5% ผึง่ ให้ แห้ งบนตะแกรงตาห่างก่อนบรรจุกล่องเพื่อส่งออก เป็ นการป้องกันผลเน่าหลังเก็บเกี่ยวโดยไม่มีผลกระทบ
ต่อต่อคุณภาพเนื ้อเพื่อการบริโภค การเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวทุเรียนแสดงไว้ ในภาพที่ 5.7
การบ่มทุเรียนจะใช้ อีเทรล (39.5%) 2,000 ppm จุ่มมิดขัว้ 2 นาที เพื่อเร่งให้ ทเุ รียนสุกเร็วขึ ้น (3 วันสุก)
การเก็บรักษาทุเรียนที่เก็บเกี่ยวแล้ วจะเก็บรักษาได้ ที่อณ
ุ หภูมิ 15 C ถ้ าเก็บที่อณุ หภูมิต่ำกว่านี ้จะทำให้ กลิ่นลดลงและเนื ้อนิ่มง่าย นอกจาก
วิธีการเก็บทุเรียนผลสดแล้ ว ยังสามารถเก็บทุเรียนโดยการแช่แข็งได้ ด้วย โดยการแกะผลทุเรียนเอาเฉพาะเนื ้อทุเรียนแช่แข็งไว้ ได้ ประมาณ 3 สัปดาห์โดย
คุณภาพเนื ้อไม่เปลี่ยนแปลง
ก.) การเก็บเกี่ยวทุเรียน ข.) การขนส่งออกจากสวน

ค.) การคัดจำแนกตามเปอร์ เซ็นต์ความแก่ ง.) การซื ้อขายและขนส่งทุเรียน


76

จ.) การบรรจุกล่องเพื่อส่งออก ฉ.) การติดสติกเกอร์ รับรองคุณภาพ


ภาพที่ 5.7 การเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวของทุเรียน (ที่มา กรมวิชาการเกษตร, 2545 ข.)

8. การตลาด
ปี 2545 คาดว่าจะมีผลผลิต 700,000 ตัน เป็ นผลผลิตจากภาคตะวันออก 500,000 ตัน คิดเป็ นปริมาณการผลิต 70% ของทุเรียน
ทังหมด
้ ทุเรียนทังหมดที
้ ่ผลิตจะส่งออกประมาณ 20 % และรับประทานในประเทศ 80% โดยปริมาณที่รับประทานในประเทศแบ่งเป็ นรับประทานสด
ประมาณ 80% และแปรรูปอีกประมาณ 20%
การส่งออกของทุเรียนในปี 2544 แบ่งเป็ น 3 ประเภทคือ ทุเรียนสด มีมลู ค่าประมาณ 1,800 ล้ านบาท ประเทศคูค่ ้ าที่สำคัญคือ ฮ่องกง
มาเลเซีย ไต้ หวัน สิงคโปร์ อเมริกาและแคนาดา , ทุเรียนแช่แข็ง มีมลู ค่าการส่งออกประมาณ 585 ล้ านบาท โดยส่งออกไปยังประเทศ อเมริกา ออสเตรเลีย
แคนาดา ไต้ หวันและฮ่องกง และสุดท้ ายที่สง่ ออกคือทุเรียนกวน มีมลู ค่าการส่งออกประมาณ 14 ล้ านบาท โดยส่งไปประเทศ เนเธอแลนด์และฝรั่งเศส
การส่งออกทุเรียนของไทยยังมีปัญหาเรื่องของคุณภาพผลยังไม่ได้ มาตรฐาน นอกจากนี ้ยังมีการตัดทุเรียนอ่อนหรือยังแก่ไม่เต็มที่เพื่อการส่งออก
ซึง่ อาจจะเกิดจากความจงใจของผู้ประกอบการทีต่ ้ องการส่งทุเรียนต้ นฤดูเพื่อให้ ได้ ราคาสูงกว่าปกติแต่กลับ ทำให้ ประเทศเสียชื่อเสียงเนื่องจากทุเรียนไม่มี
คุณภาพ ทางรัฐบาลพยายามแก้ ปัญหาโดยการให้ แต่ละสวนที่จะส่งออกติดสติ๊กเกอร์ ที่ผา่ นการรับประกันคุณภาพแล้ ว พร้ อมทังหาดั ้ ชนีการเก็บเกี่ยวที่เหมาะ
สมและวิธีการคัดทุเรียนเพื่อแยกเปอร์ เซ็นต์การสุกแก่ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

9. แบบทดสอบท้ ายบท
1. บอกกลุม่ ทุเรียนของพันธุ์ทเุ รียนต่อไปนี ้ หมอนทอง ชะนี กระดุมทอง และก้ านยาว
2. ระยะที่เหมาะสมสำหรับการผ่าดอกทุเรียนคือระยะไหน
3. การผสมทุเรียนนิยมทำการผสมในเวลาใด เพราะเหตุใด
4. การใช้ พาโคลบิวทราโซลในการบังคับการออกดอกของทุเรียนใช้ ความเข้ มข้ นใด และใช้ ในระยะใดกับทุเรียน
5. โรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนเกิดจากเชื ้อใด มีวิธีป้องกันและกำจัดได้ อย่างไรบ้ าง
6. ดัชนีการเก็บเกี่ยวที่สำคัญของทุเรียนได้ แก่อะไรบ้ าง
7. แหล่งผลิตทุเรียนที่สำคัญของโลกอยู่ที่ใด และแหล่งผลิตที่สำคัญของไทยอยู่ที่ใด
8. การตัดแต่งกิ่งของต้ นทุเรียนนิยมตัดแต่งกิ่งในรูปแบบใด
9. ทุเรียนมีการส่งออกไปยังประเทศใดบ้ าง ประเทศใหนเป็ นลูกค้ าที่ สำคัญทีส่ ดุ ของไทย
10. ปั ญหาการส่งออกทุเรียนของไทยมีอะไรบ้ าง

You might also like