Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ ปีที่ 3 ฉบับพิเศษ (I): M04/71-75, 2559

Songklanakarin Journal of Plant Science, Vol. 3, Suppl. (I): M04/71-75, 2016


Research article
การคัดเลือกพันธุ์องุ่นรับประทานสดบนพื้นที่สูงภายใต้ระบบการปลูกองุ่นแบบโครงการหลวง
Selecting on Table Grape Varieties under Viticulture Model of Royal Project on Highland

จิระนิล แจ่มเกิด1 วิรัตน์ ปราบทุกข์1 อัจฉรา ภาวศุทธิ์1 ณิชากร จันเสวี1 คมสันต์ อุตมา1 และ ชยาณ์ ไชยประสพ2
Jaemkerd, J.1, Praptook, W.1, Pawasut, A.1, Chansewee, N.1, Outama, K.1 and Chaiprasop, C.2
1
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) 65 หมู่ 1 ถ.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
1
Highland Research and Development Institute (Public Organization) 65 M.1 Suthep Rd. Muang, Chiang Mai, 50200
2
มูลนิธิโครงการหลวง 65 หมู่ 1 ถ.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
2
Royal Project Foundation 65 M.1 Suthep Rd. Muang, Chiang Mai, 50200

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกพันธุ์องุ่นรับประทานสดภายใต้ระบบการปลูกแบบโครงการหลวงที่สามารถให้ผลผลิตคุณภาพดี
บนพื้นที่สูงโดยเฉพาะในฤดูหนาวซึ่งมีการแข่งขันจากต่างประเทศน้อย โดยทดสอบองุ่นจานวน 20 พันธุ์คือ Beauty Seedless (ชุดควบคุม),
Marroo Seedless, Black Queen, Autumn Royal, Black Corinth, P1, Flame Seedless, Ruby Seedless, JR01, White Malaga,
Thompson Seedless, Dawn Seedless, Perlette, JG01, JB01, JG02, JR02, JB02, JG03 และ JB03 ระยะปลูก 1.5 x 8.0 เมตร จัดทรง
ต้นแบบตัวที ณ สถานีเกษตรหลวงปางดะ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ (680 เมตรจากระดับน้าทะเล) ระหว่างเดือนกันยายน 2558–กุมภาพันธ์ 2559
พบว่าพันธุ์องุ่นที่ออกดอกและติดผลได้ดี โดยมีเปอร์เซ็นต์กิ่งใหม่ที่ออกดอกตั้งแต่ 60 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไปจานวน 5 พันธุ์ คือ P1, JG01, Marroo
Seedless, Perlette และ Black Corinth (100.0 85.0 77.0 66.0 และ 64.0 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ) ซึ่งไม่แตกต่างกันทางสถิติกับองุ่นพันธุ์
Beauty Seedless (72 เปอร์เซ็นต์) และในจานวนนี้มีพันธุ์ที่มีคุณภาพผลผลิตสูงกว่าองุ่นพันธุ์ Beauty Seedless (น้าหนักผล 2.09 กรัม และมี
สัดส่วน TSS/TA เท่ากับ 21.31) จานวน 2 พันธุ์คือ JG01 (น้าหนักผล 5.66 กรัม และมีสัดส่วนTSS/TA เท่ากับ 24.98) และ Perlette (น้าหนัก
ผลผล 2.67 กรัม และมีสัดส่วนTSS/TA เท่ากับ 34.69)
คาสาคัญ: องุ่น การออกดอก พันธุ์

Abstract
This research aims to select table grape varieties in viticulture model of Royal Project Foundation, with high
flowering and fruit quality (crispy, big berry and good taste) in winter which less competition from import. There were 20
grape varieties, named; Beauty Seedless (Control), Marroo Seedless, Black Queen, Autumn Royal, Black Corinth, P1, Flame
Seedless, Ruby Seedless, JR01, White Malaga, Thompson Seedless, Dawn Seedless, Perlette, JG01, JB01, JG02, JR02, JB02,
JG03 and JB03. A T-trellis with spacing 1.5 x 8.0 meters was during September 2015 to February 2016 at The Royal
Agricultural Station Pang Da, Chiang Mai (680 meters above sea level). The results showed that 5 grape varieties had more
than 60% of flowering from new cane, i.e. P1, JG01, Marroo Seedless, Perlette and Black Corinth (100.0, 85.0, 77.0, 66.0
and 64.0%, respectively) and non-significantly with Beauty Seedless (72.0%). In addition, 2 grape varieties had higher fruit
qualities than Beauty Seedless (berry weight 2.09 g and TSS/TA ratio 21.31) i.e. JG01 (berry weight 5.66 g and TSS/TA ratio
24.98) and Perlette (berry weight 2.67 g and TSS/TA ratio 34.69).
Keywords: grape, flowering, varieties

บทนา
องุ่นเป็นไม้ผลที่โครงการหลวงส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกเป็นอาชีพโดยเน้นพันธุ์องุ่นรับประทานสดชนิดไม่มีเมล็ด คือ พันธุ์ Beauty
Seedless เนื่องจากผลผลิตเป็นที่ต้องการของตลาด ราคาสูง สามารถสร้างรายได้ต่อพื้นที่ได้ดี ซึ่งเหมาะสาหรับพื้นที่สูงที่มีพื้นที่อย่างจากัดและ
ต้องใช้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ปัจจุบันมูลนิธิโครงการหลวงได้พัฒนาการปลูกองุ่นระบบใหม่ คือ ระบบการจัดทรงต้น ขององุ่นไม่มีเมล็ดพันธุ์
71 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3 (ฉบับพิเศษ I): M04/71-75
Songklanakarin J. Pl. Sci., 3 (Suppl. I): M04/71-75
Jaemkerd et al. (2016)
Beauty Seedless แบบตัว T โดยเลี้ยงให้มีกิ่งสาขาจัดกิ่งอย่างเป็นระเบียบและมีระยะปลูก 6x3 เมตร ซึ่งสามารถให้ผลผลิตเฉลี่ย จานวน
100.72 กิโลกรัมต่อต้นต่อปี (เมื่อต้นอายุ 5 ปี) คิดเป็นรายได้เฉลี่ย 12,926.64 บาทต่อต้นต่อปี (88 ต้นต่อไร่) (วิรัตน์, 2552) โดยเป็นระบบที่มี
วิธีการผลิตที่มีความสะดวกในการปฏิบัติดูแลรักษา ให้ผลผลิต ต่อต้นสูง ผลผลิตมีคุณภาพดี สม่าเสมอ และต้นมีอายุการให้ผลผลิตยาวนาน ซึ่ง
เหมาะสมกว่าระบบเดิมที่ไม่มีการจัดทรงต้นและใช้อยู่ทั่วไปในการปลูกองุ่นของไทย โครงการหลวงได้นาการปลูกองุ่นระบบใหม่นี้ไปส่งเสริมแก่
เกษตรกรและประสบผลสาเร็จเป็นอย่างดี โดยในปี พ.ศ. 2558 มีพื้นที่ส่งเสริม 18 ศูนย์ฯ เกษตรกร 92 ราย พื้นที่ปลูก 72.48 ไร่ ผลผลิตจาหน่าย
ผ่านมูลนิธิโครงการหลวง 12.69 ตัน มูลค่า 2,078,784 บาท จาหน่ายเอง 32.35 ตัน มูลค่า 5,277,435 บาท (งานพัฒนาและส่งเสริมการปลูกไม้
ผลมูลนิธิโครงการหลวง, 2558) และได้ประเมินว่าในอนาคตองุ่นจะมีความต้องการทางการตลาดมากขึ้น เนื่องจากผลผลิตของโครงการหลวงมีช่วง
เก็บเกี่ยวไม่ตรงกับผลผลิตทีน่ าเข้าจากต่างประเทศและผลผลิตเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค
องุ่นมีจุดเด่นทางการตลาดคือ มีหลายพันธุ์ ทาให้มีความหลากหลายของลักษณะสีผล ขนาดผล และรสชาติ ประกอบกับปัจจุบันมีพันธุ์
ใหม่ ๆ ที่ผลผลิตมีคุณภาพดีและเป็นพันธุ์การค้าของโลกที่น่าสนใจ เช่น Flame S Seedless, Pione, Dawn Seedless, Thompson Seedless,
Perlette และ Marroo Seedless เป็นต้น อย่างไรก็ตาม พันธุ์องุ่นที่ส่งเสริมของโครงการหลวงในปัจจุบันมีเพียงพันธุ์เดียวคือ พันธุ์ Beauty
Seedless ซึ่งมีช่วงเก็บเกี่ยวผลผลิตเพียง 2 ครั้งในรอบ 1 ปี และแม้จะมีการนาองุ่นพันธุ์ต่างประเทศหลายพันธุ์มาทดลองปลูกในโครงการหลวง
รวมถึงพื้นที่อื่นของไทย แต่ยังไม่ประสบผลสาเร็จในการปลูกเพราะมีปัญหาการออกดอกและให้ผลผลิตต่า ทั้งนี้เนื่องจากพันธุต์ ่างประเทศส่วนใหญ่
เป็นพันธุ์ที่เจริญเติบโตเร็วมากเมื่อนามาปลูกในเขตร้อน จึงมีการเจริญเติบโตทางลาต้นมากแต่มีการสร้างตาดอกน้อย ประกอบกับระบบปลูกและ
วิธีการปฏิบัติดูแลรักษาที่ใช้ตามระบบเดิมที่มีระยะปลูกที่ชิดเกินไป การจัดวางกิ่งอย่างไม่เป็นระเบียบ ซึ่งยากต่อการปฏิบัติดูแลรักษาและการ
ป้องกันกาจัดโรคและแมลง ทาให้ผลผลิตต่า ไม่สม่าเสมอ และต้นองุ่นมีอายุการให้ผลผลิตสั้น
ดังนั้น จึงควรมีการศึกษาทดสอบพันธุ์องุ่นที่นาเข้าจากต่างประเทศเพื่อเพิ่มพันธุ์ส่งเสริมของโครงการหลวงให้มีความหลากหลายและมี
ผลผลิตที่มีคุณภาพมากขึ้น รวมถึงการปลูกโดยใช้ระบบปลูกใหม่ โดยจัดทรงต้นแบบตัว T มีกิ่งสาขาระยะปลูก 8 x 1.5 เมตร เพื่อเป็นทางเลือก
ให้กับเกษตรกรผู้ปลูกองุ่นและผู้บริโภค

อุปกรณ์และวิธีการ
ทาการทดลองที่สถานีเกษตรหลวงปางดะ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ซึ่งมีความสูงของพื้นที่จากระดับน้าทะเล 680 เมตร โดยจัดทรงต้นแบบ
ตัว T ระยะปลูก 1.5x8 เมตร วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) มี 20 กรรมวิธี ๆ ละ 5 ต้น ประกอบด้วย
องุ่นพันธุ์ Beauty Seedless (ชุดควบคุม) Marroo Seedless, Black Queen, Autumn Royal, Black Corinth, P1, Flame Seedless, Ruby
Seedless, JR01, White Malaga, Thompson Seedless, Dawn Seedless, Perlette, JG01, JB01, JG02, JR02, JB02, JG03 และ JB03
โดย เลือกกิ่งที่มีขนาดเท่า ๆ กัน พันธุ์ละ 10 กิ่งต่อต้น ตัดแต่งกิ่งในเดือนกันยายน 2558 เพื่อเก็บบันทึกข้อมูลการเจริญเติบโตของกิ่งใหม่หลังตัด
แต่ง เปอร์เซ็นต์กิ่งใหม่ที่ออกดอกขององุ่นแต่ละพันธุ์ บันทึกระยะเวลาตั้งแต่ตัดแต่งกิ่งจนถึงวันเก็บเกี่ยวผลผลิตขององุ่นแต่ละพัน ธุ์ หลังเก็บเกี่ยว
บันทึกขนาด น้าหนัก และจานวนผลต่อช่อ บันทึกขนาดและน้าหนักของผล ปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ (TSS) และปริมาณกรดที่ไทเทรตได้
(TA) จากนั้นประเมินพันธุ์องุ่นแต่ละพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์องุ่นที่มีลักษณะตรงตามเป้าหมายสาคัญที่ผลผลิตมีคุณภาพดี (ผลขนาดใหญ่ มีสัด ส่วน
TSS ต่อ TA มากกว่า 20 และกรอบ) และให้ผลผลิตสูงในช่วงฤดูหนาว (มีเปอร์เซ็นต์ออกดอกมากว่า 60 เปอร์เซ็นต์)

ผลการทดลอง
จากการทดสอบพันธุ์องุ่นรับประทานสดจานวน 20พันธุ์ ระหว่างเดือนกันยายน2558 - กุมภาพันธ์ 2559 พบว่าองุ่นทั้ง 20 พันธุ์มี
เปอร์เซ็นต์กิ่งใหม่ที่ออกดอก เส้นผ่าศูนย์กลางกิ่ง ความยาวกิ่ง น้าหนักช่อ น้าหนักผล จานวนผลต่อช่อ ปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ (TSS)
ปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ (TA) และTSS/TA แตกต่างกันทางสถิติ (Table 1, 2 และ Figure 1) โดยองุ่นพันธุ์ P1มีเปอร์เซ็นต์กิ่งใหม่ที่ออกดอกมาก
ที่สุดคือ 100 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาคือองุ่นพันธุ์ JG01, Marroo Seedless, Beauty Seedless, Perlette และ Black Corinth (Table 1) ด้าน
การเจริญเติบโตทางกิ่งพบว่าองุ่นพันธุ์ Beauty Seedless มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของกิ่งอายุ 5 เดือนมากที่สุดคือ 9.45 มิลลิเมตร
และ125.14 เซนติเมตรตามลาดับ รองลงมาคือองุ่นพันธุ์ JG03, JB01, JB02 และ Flame Seedless (Table 1) ด้านดัชนีเก็บเกี่ยวพบว่าองุ่นพันธุ์
Perlette และ JG02 มีจานวนวันที่ตัดแต่ง-เก็บเกี่ยวน้อยที่สุดคือ 105 วัน รองลงมาคือ JB03, JB01, JB02, JR02 และ JR01 (Table 1) ด้าน
ขนาดของช่อผลพบว่าองุ่นพันธุ์ Beauty Seedless มีน้าหนักของช่อผลมากที่สุดคือ 255.97 กรัม รองลงมาคือองุ่นพันธุ์ Thompson Seedless,
JG03, JR02, Ruby Seedless, JB01, JR01, JG01, และ Perlette (Table 2) และด้านคุณภาพของน้าองุ่นพบว่าองุ่นพั นธุ์ P1 มี TSS/TA มาก
ที่สุดคือ 55.06 รองลงมาคือองุ่นพันธุ์ Flame Seedless, JR02, JB02, Perlette JR01, JG01, JB03 และThompson Seedless (Table 2)

72 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3 (ฉบับพิเศษ I): M04/71-75


Songklanakarin J. Pl. Sci., 3 (Suppl. I): M04/71-75
Jaemkerd et al. (2016)
Table 1 Effects of 20 table grape varieties on percentages of flowering from new cane, shoot diameter (5 mouth after
pruning), shoot length (5 mouth after pruning), period from pruning to harvest and peel color during September
2015 to February 2016 at The Royal Agricultural Station Pang Da, Chiang Mai
Varieties Flowering from Shoot diameter Shoot length Period from pruning Peel color
new cane (%) (cm) (cm) to harvest (Day)
Beauty Seedless 72.0bc1/ 9.60a1/ 125.14a1/ 133 Black
Marroo Seedless 77.0bc 8.01def 93.23bcd 117 Black
Black Queen 40.0ef 7.75defg 89.90bcde 117 Black
Autumn Royal 0.0j 6.84ghi 67.81fg - -
Black Corinth 64.0cd 6.78ghi 83.12cdef 117 Black
P1 100.0a 5.21j 68.58fg 137 Black
Flame Seedless 42.0ef 8.67abcd 97.40bc 118 Red
Ruby Seedless 11.0ij 6.70hi 63.90g 131 Red
JR01 28.0fghi 6.12i 69.46fg 116 Red
White Malaga 34.0efg 8.56bcd 99.73bc 124 Green
Thompson Seedless 20.0ghi 7.31fgh 70.36fg 124 Green
Dawn Seedless 20.0ghi 7.31fgh 78.42defg 124 Green
Perlette 66.0cd 7.53efgh 77.72defg 105 Green
JG01 85.0ab 6.82ghi 78.24defg 120 Green
JB01 42.0ef 9.28abc 102.94b 113 Black
JG02 32.0fgh 8.53bcd 94.87bc 105 Green
JR02 14.0hij 6.72ghi 74.97efg 116 Red
JB02 52.0de 8.76abcd 97.58bc 116 Black
JG03 40.0ef 9.45ab 105.80b 120 Green
JB03 34.0efg 8.38cde 93.64bcd 113 Black
F -Test ** ** ** - -
C.V. (%) 25.26 6.99 10.09 - -
1/
Means followed by the same letter within a column are not significantly different at the 1% level by DMRT

วิจารณ์ผล
จากผลการทดสอบองุ่นจานวน 20 พันธุ์ พบว่า องุ่นทั้ง 20 พันธุ์มีเปอร์เซ็นต์กิ่งใหม่ที่ออกดอก เส้นผ่าศูนย์กลางกิ่ง ความยาวกิ่ง น้าหนัก
ช่อ น้าหนักผล จานวนผลต่อช่อ ปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ (TSS) ปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ (TA) และTSS/TA แตกต่างกันทางสถิติ เนื่องจาก
องุ่นแต่ละพันธุ์มีการเจริญเติบโต ระยะเวลาตั้งแต่ตัดแต่งกิ่งจนถึงเก็บเกี่ยว คุณภาพ กลิ่น รส และความต้านทานศัตรูพืชที่แตกต่างกั น (รัฐพล,
2551) ซึ่งองุ่นพันธุ์ JG01 และ Perlette มีเปอร์เซ็นต์การออกดอกของกิ่งใหม่ ขนาดของผล และสัดส่วนของ TSS/TA ใกล้เคียงกับองุ่นพันธุ์
Beauty Seedless ซึ่งสามารถนาไปส่งเสริมให้เกษตรกรในพื้นที่ดาเนินงานของโครงการหลวงและสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การ
มหาชน) หรือเกษตรกรพื้นที่อื่น ๆ ปลูกองุ่นพันธุ์ใหม่ภายใต้ระบบการปลูกแบบโครงการหลวง เพื่อเพิ่มความหลากหลายทางการตลาด ผู้บริโภคมี
ผลผลิตที่มีคุณภาพ และสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรผู้ปลูกองุ่น ส่วนองุ่นพันธุ์ P1 ที่มีเปอร์เซ็นต์การออกดอกของกิ่งใหม่ 100 เปอร์เซ็นต์ มีรสชาติ
หวานคือมีสัดส่วน TSS/TA 55.06 มีเมล็ด มีกลิ่นหอมเฉพาะ เปลือกหนา แต่ผลไม่มีความกรอบและเป็นองุ่นที่มีเปลือกแบบไม่ติดกับเนื้อ (Slip
Skin) ซึ่งเริงชัยและคณะ (2557) รายงานว่าตลาดองุ่นในประเทศไทยมีความต้องการองุ่นที่มีรสชาติหวาน ผลมีความกรอบ จะมีเมล็ดหรือไม่มีก็ได้
และให้ผลผลิตสูงในช่วงฤดูหนาวที่มีการแข่งขันของผลผลิตจากต่างประเทศน้อย ดังนั้นองุ่นพันธุ์ P1 จึงไม่เป็นที่ต้องการของตลาดองุ่นรับประทาน
สดในประเทศไทยแต่เหมาะสาหรับนามาทาน้าองุ่น

73 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3 (ฉบับพิเศษ I): M04/71-75


Songklanakarin J. Pl. Sci., 3 (Suppl. I): M04/71-75
Jaemkerd et al. (2016)
Table 2 Effects of 20 table grape varieties on cluster weight, berry weight, number of berry per cluster, TSS, TA and
TSS/TA during September 2015 to February 2016 at The Royal Agricultural Station Pang Da, Chiang Mai
Varieties Cluster weight Berry weight No.berry/cluster TSS TA TSS/TA
(g) (g) (berries) (% Brixs) (%)
Beauty Seedless 255.97a1/ 2.09i 108.33a 18.14ef 0.86ef 21.31fgh
Marroo Seedless 85.45efg 3.34gh 35.91cde 16.98g 1.01cd 16.96hi
Black Queen 86.57efg 4.22ef 34.82cde 18.86de 1.12bc 16.88hi
Autumn Royal - - - - - -
Black Corinth 70.90fg 1.22j 85.20b 20.29bc 1.55a 13.23i
P1 78.32efg 2.96ghi 26.87def 19.74cd 0.36m 55.06a
Flame Seedless 119.08def 2.75hi 38.00cd 18.94de 0.45klm 44.07b
Ruby Seedless 176.25bcd 4.29ef 49.00c 16.63gh 0.79efg 21.15fgh
JR01 130.38cdef 8.09a 27.80def 15.70h 0.58ijk 27.15ef
White Malaga 108.20ef 5.67cd 22.33def 19.16de 1.19b 16.33hi
Thompson Seedless 196.10b 2.67hi 70.17b 20.95ab 0.90de 23.28efgh
Dawn Seedless 100.83efg 3.78fg 32.88cdef 20.90ab 1.01cd 20.76fgh
Perlette 129.62cdef 2.67hi 117.20a 21.52a 0.63hij 34.69cd
JG01 129.72cdef 5.66cd 32.00cdef 16.69gh 0.67ghi 24.98efg
JB01 141.09bcde 5.74c 26.38def 18.52e 1.04cd 19.08ghi
JG02 42.75g 2.51hi 16.73ef 21.96a 0.75efgh 29.43de
JR02 188.35bc 6.68b 28.45def 16.72gh 0.42lm 41.35bc
JB02 121.65def 4.83de 29.78cdef 18.78de 0.52jkl 36.65c
JG03 189.72bc 3.29gh 68.30b 20.32bc 1.02cd 20.04fghi
JB03 70.99fg 5.60cd 13.17f 17.30fg 0.72fghi 23.94efgh
F -test ** ** ** ** ** **
C.V. (%) 26.20 11.86 23.63 3.77 10.88 15.32
1/
Means followed by the same letter within a column are not significantly different at the 1% level by DMRT

Beauty Seedless Marroo Seedless Black Queen Black Corinth

P1 Flame Seedless Ruby Seedless JR01

White Malaga Thompson Seedless Dawn Seedless Perlette

JG01 JB01 JG02 JR02

JB02 JG03 JB03

Figure 1 Characteristics of table grape varieties

74 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3 (ฉบับพิเศษ I): M04/71-75


Songklanakarin J. Pl. Sci., 3 (Suppl. I): M04/71-75
Jaemkerd et al. (2016)
สรุปผล
พันธุ์องุ่นที่มีเปอร์เซ็นต์การออกดอกของกิ่งใหม่ตั้งแต่ 60 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป มีเนื้อผลกรอบ มีสัดส่วน TSS ต่อ TA มากกว่า 20 มีขนาดผล
ใหญ่กว่าองุ่นพันธุ์ Beauty Seedless และมีน้าหนักช่อผลมากกว่า 120 กรัม คือองุ่นพันธุ์ JG01 และ Perlette

คาขอบคุณ
ขอขอบคุณสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ที่สนับสนุนทุนวิจัย และขอขอบคุณมูลนิธิโครงการหลวง สถานีเกษตร
หลวงปางดะ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ที่เอื้อเฟื้อสถานที่ในการทางานวิจัย

เอกสารอ้างอิง
งานพัฒนาและส่งเสริมการปลูกไม้ผลมูลนิธิโครงการหลวง. 2558. รายงานสรุปผลการดาเนินงานพัฒนาและส่งเสริมไม้ผลมูลนิธิโครงการหลวง
ปีงบประมาณ 2558. เชียงใหม่: มูลนิธิโครงการหลวง.
เริงชัย ตันสุชาติ, ชนิตา พันธุ์มณี, อารีย์ เชื้อเมืองพาน, มนตรี สิงหะวาระ และนิศาชล ลีรัตนากร. 2557. การศึกษาและวิเคราะห์การผลิตและ
การตลาดขององุ่นภายในประเทศและต่างประเทศ. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รัฐพล ฉัตรบรรยงค์. 2551. เทคนิคการปลูกองุ่นในเมืองไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิ ทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
บางเขน.
วิรัตน์ ปราบทุกข์. 2552. การปลูกองุ่นระบบปลูกใหม่ของโครงการหลวง. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน).

NHC2016

75 ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3 (ฉบับพิเศษ I): M04/71-75


Songklanakarin J. Pl. Sci., 3 (Suppl. I): M04/71-75

You might also like