FN201 1 61 T01 Overview of Business Finance 54pgs 3hrs Revised

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

FN 201 COURSE OUTLINE

กง.201 การเงินธุรกิจ (ภาค 1/2561) (1) Overview of Business Finance


(2) Analysis of Financial Statements**
**Please review financial statements in AC 201 or AC 291.
(1) ภาพรวมของการเงินธุรกิจ (3) Financial Environments and Markets
(Overview of Business Finance) (4) Discounted Cash Flow Analysis
(5) Capital Budgeting Techniques

(ใช้ทกุ กลุม่ )

1 2

FN 201 COURSE OUTLINE หัว ข้อ การบรรยาย: ภาพรวมของการเงิน ธุร กิ จ


ความสํา คัญ ของการเงิ น ธุร กิ จ
(6) Capital Structure and the Cost of Capital ผูจ้ ดั การการเงิ น ในโครงสร้า งองค์ก รธุร กิ จ
(7) Capital Structure and Distribution to Shareholders การตัด สิ น ใจที่ส าํ คัญ ทางการเงิ น 2 ประการ
(8) Working Capital Policy เป้ า หมายของกิ จ การ และความรับผิด ชอบต่อ สังคมและ
(9) Managing Short-Term Assets จริ ย ธรรมในการทํา ธุร กิ จ
(10) Managing Short-Term Financing ตัว ชี้ว ดั ความม งคั
ั ่ งและการสร้
่ า งมูล ค่า เพิ่ ม ให้ผถู้ ือ หุ้น
(11) Forecasting: Pro Forma Financial Statements รูป แบบการจัด ตัง้ ธุร กิ จ
(12) Cost-volume-profit and Leverage Analyses ปัญ หาตัว แทน
(13) Long-term Debt, Preferred Stock, Common Stock, แนวความคิ ด เรื่อ งความเสี่ย งและผลตอบแทน
and Equity-linked Securities (mainly self-study) โอกาสในการประกอบอาชีพทางการเงิ น ธุร กิ จ
แนวโน้ ม ของการเงิ น ธุร กิ จ ในปัจ จุบ นั
3 4
ผูจ้ ดั การการเงิ นในโครงสร้างองค์กรธุรกิ จ (Financial
ความสําคัญของการเงิ นธุรกิ จ: Why should I study finance?
managers in the organizational structure of business)
Finance is concerned with decisions about money, or more Board of Directors
appropriately, cash flows.
Financial decisions deal with how businesses, governments, and Chairman of the Board and
Chief Executive Officer (CEO)

individuals raise and use money.


President and Chief

Proper financial management helps any business provide better Operations Officer (COO)

products to its customers at lower prices, pay higher salaries to Vice President Vice President Vice President
Marketing Finance (CFO) Production
its employees, and still deliver greater returns to investors who
put up funds needed to form and operate the business. Treasurer Controller

Sound financial management contributes to the well-being of both


individuals and the general population. Cash Manager Credit Manager Tax Manager Cost Accounting
Manager

Capital Financial Financial Data Processing


Expenditures Planning Accounting Manager
Manager
5 6

ตัวอย่างโครงสร้างองค์กรธุรกิ จ การตัดสิ นใจทีส่ าํ คัญทางการเงิ น 2 ประการ

PTT Corporation Public การตัดสินใจทีส่ าํ คัญทางการเงิน 2 ประการ


Company Limited (PTT)
Source: PTT’s annual report

การตัดสินใจในการ การตัดสินใจในการระดม
ทุนเพือ่ ใช้ในการลงทุน
ลงทุนเพือ่ สร้างรายได้
FINANCING
INVESTMENT
การกูเ้ งิน
สินทรัพย์หมุนเวียน การระดมทุนจากเจ้าของ
สินทรัพย์ถาวร
7 8
การตัดสินใจทางการเงินเมือ่ พิจารณาเงือ่ นไขเวลา การลงทุน(Investment)? หรือ การจัดหาเงิ นทุน (Financing)?
1. “ นกแอร์” เปิ ดบิน ย่า งกุ้ง รับ กํา ล งั ซื้อ ล้น
การตัดสินใจทีส่ าํ คัญทางการเงิน: เมือ่ พิจารณาเงือ่ นไขเวลาจะได้ว่า 2. “ CPALL” ออกหุ้น กู้ค รัง้ แรก 3-4 หมื่น ล้า นบาท คืน หนี้ เดิ ม ที่ซื้อ MAKRO ลดความเสี่ย ง
อัต ราดอกเบีย้ และ อัต ราแลกเปลี่ย น เสนอขายปลายเดือ นตุล าคม 2556
การตัดสินใจใดๆทางการเงิน สําหรับระยะเวลาสัน้ เช่น 3. “ กรีน สปอต” กางยุทธศาสตร์ส ่งไวตามิ ล ค์ร กุ อาเซีย น เล็งตัง้ โรงงานใหม่ ปัน้ สัด ส่ว นรายได้
อาเซีย น 12 %
เงินทุนหมุนเวียน สินทรัพย์หมุนเวียน และหนี้สนิ ระยะสัน้ เรา
4. “ ธนาคารทิ ส โก้” ส่งโปรโมชันแรง่ “ ฝากประจํา 8 เดือ น 3.4%” และ “ ออมทรัพย์ไดมอนด์ 3%
เรียกว่า การตัดสินใจทีเ่ กีย่ วกับการจัดการสภาพคล่องหรือ ขยายฐานลูก ค้า บุค คล
Liquidity Management 5. “ ฟลายนาว” ชูโมเดล เอ้า ท์เลท กรุย ทางบุก อาเซีย น
6. กรมไปรษณี ย ์ หรือ “ รอยัล เมล” ของอังกฤษ เล็งทํา ไอ พี โอ 3.3 พัน ล้า นปอนด์
ในขณะทีก่ ารตัดสินใจใดๆทางการเงิน สําหรับระยะเวลายาว 7. “ นกแอร์“ เจาะเมือ งรอง กุม ตลาดในประเทศ เร่งระดมทุน 5,000 ล้า นบาทรับ ไทยขึน้ ฮับ การ
เช่น การลงทุนในสินทรัพย์ถาวรเพือ่ สร้างรายได้ การจัดหา บิน อาเซีย น
8. เดวิ ด มอยส์ กุน ซือ แมนยู เล็งคว้า ตัว แฟร์น านโด มิ ด ฟิ ลด์แ ซมบ้า ของเอฟซี ปอร์โต้
เงินทุนระยะยาว เพือ่ สร้างความมันคงให้
่ กบั ธุรกิจ เราเรียกว่า มาร่ว มทีม มกราคม 2014 นี้
การตัดสินใจทีเ่ กีย่ วกับกลยุทธ์ การเติบโตของธุรกิจ หรือ ***** ข้อมูลจากกรุงเทพธุรกิจ 8-12/10/2556 และ www.siamsport.co.th 13/10/2556

Strategic Growth Management


9 10

การลงทุน(Investment)? หรือ การจัดหาเงิ นทุน (Financing)? เป้ าหมายของกิจการ (Goals of the Firm)
หลักและแนวทางในการวิ เคราะห์ตวั อย่างกิ จกรรมของธุรกิ จ To … maximize shareholders’
การลงทุน การจัดหาเงินทุน wealth……
เป็ นการใช้จา่ ยเงินทุน เป็ นการระดมเงินทุน while …keeping all stakeholders
ในสินทรัพย์หลัก จากแหล่งสําคัญต่างๆ ได้แก่ happy……
(Core Assets) Debt และ Equity
เพือ่ สร้างรายได้ในอนาคต
for… a long-run sustainable business
เพือ่ นําไปใช้ในการลงทุน
ตัวอย่าง 1, 3, 5, 8 ตัวอย่าง 2,4,6,7
growth……
เป็ น การลงทุน เป็ น การจัด หาเงิน ทุน การสร้างความม งคั
ั ่ งสู
่ งสุด ให้แ ก่ผถู้ ือ หุ้น
(Shareholders’ wealth maximization)เพื่อ การเติ บ โตอย่างยังยื
่ น
11 12
How to achieve such goals!!! งบกําไรขาดทุน
สําหรับปี สิ้ นสุด 31 ธันวาคม 25XX
รายได้จ ากการขาย 5,000
การดําเนิ นการเพือ่ ให้บรรลุเป้ าหมาย การสร้างความ - ต้น ทุน ขาย 3,000
มังคั
่ งสู
่ งสุดแก่ผถู้ ือหุ้น จําเป็ นต้องสร้างให้เกิ ดความ กํา ไรขัน้ ต้น 2,000
สมดุล ให้ทกุ ฝ่ ายทีเ่ กีย่ วข้องได้รบั ผลประโยชน์ ตาม - ค่า ใช้จ ่า ยในการดํา เนิ น งาน 1,150
ความเหมาะสม (Win-Win Situation) เพือ่ ให้ธรุ กิ จได้ กํา ไรจากการดํา เนิ น งาน* 850
เติ บโต และอยู่ได้อย่างยังยื ่ น (Long-run survival and - ต้น ทุน ทางการเงิ น 400
growth of the firm) โดยสามารถอธิ บายได้ จาก กํา ไรก่อ นภาษี เงิ น ได้ 450
รายละเอียดในงบกําไรขาดทุนต่อไปนี้ - ภาษี เงิ น ได้ 90
กํา ไรสุทธิ ส าํ หรับปี 360

13 14

รายการค่าใช้จ่ายต่างๆในงบกําไรขาดทุน แสดงการตอบแทน
หลายฝ่ ายทีม่ ีส่วนได้เสียกับธุรกิจ (Stakeholders) Stakeholders ต่างๆ
• ผูถ้ ือหุ้น ต้องการให้ราคาหุน้ ปรับตัวขึน้ สูงสุดอย่างยังยื
่ น ซึง่ หมายถึงความมังคั
่ ง่
Customers
สูงสุดของผูถ้ อื หุน้
Employees
• ลูกค้า ต้องการซือ้ สินค้าและบริการทีเ่ ป็ นประโยชน์ ในราคาทีเ่ หมาะสม
Environment Government • ผูจ้ ดั จําหน่ ายสิ นค้าให้กบั กิ จการ ต้องการได้ผลกําไรจากการจําหน่ายสินค้าและ
บริการให้กจิ การทีเ่ หมาะสม และได้รบั ชําระค่าสินค้าและบริการตรงเวลา
• พนักงาน ต้องการงานทีม่ คี วามหมาย และผลตอบแทนทีย่ ตุ ธิ รรม
Owners Business
• สังคมและชุมชน ต้องการให้สงิ่ แวดล้อมรอบตัวดีขน้ึ
• เจ้าหนี้ ต้องการผลตอบแทนจากการลงทุนทีเ่ หมาะสมกับความเสีย่ ง และการชําระ
Society Communities หนี้ทต่ี รงเวลา
• รัฐบาล ต้องการเก็บภาษีได้ตามจํานวนทีถ่ กู ต้อง และตรงเวลา
Suppliers Creditors
Managers

15 16
การสร้างความม งคั
ั ่ งสู
่ งสุด ให้แ ก่ผถู้ ือ หุ้น
(Shareholders’ wealth maximization) วัด ได้อ ย่างไร มูล ค่า ใดที่ใ ช้ใ นการวัด ความม งคั
ั ่ ง่

สร้างผลกํา ไรสูงสุด (Maximize Profit) ??? PAR VALUE…..มูล ค่า ที่ต ราไว้
สร้า งส่ว นแบ่งของตลาดให้ม ากที่ส ดุ (Maximize Par Value = ทุน เรีย กชํา ระแล้ว / จํา นวนหุ้น
Market Share) ???
สร้างมูลค่าหุ้น (ราคาตลาดของหุ้นสามัญ) ให้ BOOK VALUE (BV) ……มูล ค่า ตามบัญ ชี
สูงสุด (Maximize Market Value of Common BV = ส่ว นของผูถ้ ือ หุ้น / จํา นวนหุ้น
Stock) ซึง่ สะท้อนถึงความมังคั ่ งที
่ เ่ ป็ นรูปธรรม
MARKET VALUE (MV) …….มูล ค่า ตามราคาตลาด
ทีส่ ดุ ทีผ่ ลู้ งทุนได้นําเงินมาลงทุนนัน่ เอง

17 18

PAR VALUE…..มูลค่าทีต่ ราไว้ BOOK VALUE (BV) ……มูลค่าตามบัญชี


เป็ น มูล ค่า ที่ก าํ หนดมาแต่เริ่ ม แรกเมื่อ ออกจํา หน่ า ยหุ้น เป็ น ราคาที่ป รากฏในบัญ ชีงบดุล ของกิ จ การ
สํา หรับ การระดมทุน การเปลี่ย นมูล ค่า ที่ต ราไว้ สามารถ เป็ น ราคาที่ส ะท้อ นราคาเริ่ ม ต้น ในอดีต และ
ทํา ได้โดยการขอจดทะเบีย นเปลี่ย นกับ กระทรวง เปลี่ย นแปลงเพิ่ ม ค่า หรือ ลดค่า ด้ว ยผลการ
พาณิ ชย์ ดํา เนิ น งานของกิ จ การจนถึงปัจ จุบ นั
เป็ น ราคาที่ร ะบุไว้บ นหน้ า ตั ๋ว หรือ บนใบหุ้น คํา นวณได้จ ากส่ว นของเจ้า ของทัง้ หมดรวมกัน ในงบ
เป็ น ราคาที่ส ะท้อ นราคาที่ก าํ หนดมาในอดีต ผลการ ดุล ประกอบด้ว ยทุน จากหุ้น สามัญ ตามราคาพาร์ +
ดํา เนิ น งานในปี ใดๆ ไม่ม ีผลทํา ให้เกิ ด การเปลี่ย นแปลง ส่ว นเกิ น มูล ค่า หุ้น + กํา ไรสะสม แล้ว หารด้ว ยจํา นวน
ราคาตามมูล ค่า นี้ หุ้น สามัญ ที่อ อกจํา หน่ า ยแล้ว

19 20
MARKET VALUE (MV) …….มูลค่าตามราคาตลาด ปัจจัยทีม่ ีผลต่อมูลค่าราคาตลาดของหุ้นสามัญ
เป็ น ราคาที่ไม่ส ามารถอ่า นได้จ ากบัญ ชีงบดุล ของกิ จ การ ภาวะเศรษฐกิจ
ปั จจัยภายนอก
เป็ น ราคาที่ส ะท้อ นมาจากความพอใจของผูล้ งทุน ที่ยิ น ดีซื้อ และ ทีค่ วบคุมไม่ได้ ภาวะตลาดการเงิน
ขายในราคาที่เหมาะสม โดยผูล้ งทุน จะประเมิ น ค่าผลการ Uncontrollable Factors
ดํา เนิ น งาน จากอดีต ปัจ จุบ นั และที่ค าดว่า จะเกิ ด ขึน้ ในอนาคต
...มูลค่าหรือขนาดของ
อนาคตเป็ น สิ่ งที่ผลู้ งทุน คาดหวังว่า จะเกิ ด ขึน้ ตามหล กั การ กระแสเงินสดที่
บัญ ชีไม่ส ามารถนํา สิ่ งที่ย งั ไม่เกิ ด ขึน้ มาบัน ทึก บัญ ชีได้ คาดไว้จากการลงทุน
ปั จจัยภายในธุรกิจ และการดําเนินงาน ราคาตลาด
...จังหวะเวลาของกระ หุน้ สามัญ
ทีค่ วบคุมได้ แสเงินสดทีค่ าดไว้
Controllable Factors ... ความเสีย่ งของกระ
แสเงินสดทีค่ าดไว้

21 22

Value of the Firm ตัวชี้วดั การสร้างมูลค่าเพิม่

Market Factors/Considerations
มูลค่าราคาตลาด (Market Value: MV) เป็ น ราคาที่ผลู้ งทุน ยิ น ดีซื้อ ขาย
Economic Conditions หุ้น โดยการประเมิ น จากข้อ มูล งบการเงิ น ที่ส ะสมมาตัง้ แต่อ ดีต จนถึง
Government Regulations and Rules ปัจ จุบ นั ตลอดจนศัก ยภาพในอนาคตของกิ จ การ
Competitive Environment
มูลค่าส่วนเพิ ม่ ของราคาตลาด (Market Value Added: MVA) เป็ น ส่ว น
Firm Factors/Considerations Investor Factors/Considerations เพิ่ ม จากมูล ค่า ตามบัญ ชี ที่ผลู้ งทุน ยิ น ดีจ ่า ยลงทุน ทํา ให้ผเู้ ป็ น เจ้า ของ
Normal Operations Income/Savings
Financing Policy Age/Lifestyle
ได้ร บั ประโยชน์ จ ากผลตอบแทนส่ว นเพิ่ ม นัน้ โดยผูล้ งทุน ได้พิจ ารณา
Investing Policy Interest Rates รวมถึงอนาคตของกิ จ การด้ว ย
Dividend Policy Risk Attitude
มูลค่าส่วนเพิ ม่ ทางเศรษฐศาสตร์ (EVA: Economic Value Added) เป็ น
Net Cash Flows, CF Required Rate of Return, k มูล ค่า เพิ่ ม ที่ป ระเมิ น ในระยะสัน้ ปี ปัจ จุบ นั โดยวัด จากผลการดํา เนิ น งาน
สุทธิ หล งั ภาษี ข องปี ว่า เพีย งพอหรือ คุ้ม ค่า กับ ต้น ทุน ทางการเงิ น ของ
Value of the Firm
N
ทรัพยากรเงิ น ทุน ที่ใ ช้ไปในปี ปัจ จุบ นั เพีย งใด
^ +
= CF ^ + . . . + CF
CF ^ = CF
^
1 2 N t
t=1
(1+k)1 (1+k)2 (1+k)N (1+k)t
23 24
ตัวชี้วดั การสร้างมูลค่าเพิม่ ให้ผเู้ ป็ นเจ้าของ MVA® ต่อหุ้นของกิ จการต่างๆ ณ 31 มี.ค.60 (ยกเว้น *30 มิ .ย.60 และ **14 มิ .ย.60)
กิ จ การ Par BV MV MVA®
Maximize Economic Value Added (EVA) from BBL 10.00 202.17 181.5 -20.67
KBANK 10.00 138.99 189 50.01
operation each year. KTB 5.15 20.22 20.4 0.18
SCB 10.00 102.07 163 60.93
EVA = EBIT (1-T) - Cost of financing BANPU 1.00 15.97 19.8 3.83
PTT 10.00 278.99 387 108.01
= NOPAT – WACC (Operating Capital) TOP 10.00 55.83 65.8 9.97
Maximize Market Value of common stock (MV) ADVANC* 1.00 15.05 177.5 162.45
TRUE 4.00 3.89 6.8 2.91
relative to Book Value (BV) DTAC* 2.00 11.87 52.5 40.63
CPALL 1.00 6.65 59 52.35
Maximize Market Value Added (MVA). MAKRO 0.50 3.61 34 30.39
MVA = MV – BV AOT 1.00 1.00 8.53 7.53
EARTH 1.00 3.02 4.46 1.44
25 EARTH 1.00 3.02 1.46** -1.56 26

มูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐศาสตร์ ตีความหมายมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐศาสตร์


(Economic Value Added: EVA) (Economic Value Added: EVA)
EVA หรือ Economic Value Added เป็ น มูล ค่า เพิ่ ม ทางเศรษฐศาสตร์ ใน EVA = กําไรจากการดําเนิ น งาน (1-T) - ต้น ทุน ของเงิ น ทุน
ปี นัน้ ๆ โดยเปรีย บเทีย บระหว่า ง กํา ไรจากการดําเนิ น งานสุทธิ หล งั ภาษี = + ผลการดําเนิ น งานคุ้ม ค่ากว่าต้น ทุน ของเงิ น ทุน ในปี นัน้
ของปี (NOPAT) และ ต้น ทุน ของทรัพยากรเงิ น ทุน ที่น ํา มาใช้ใ นการ = - ผลการดําเนิ น งานไม่ค ้มุ ต้น ทุน ของเงิ น ในปี นัน้
ดําเนิ น งานนัน้ (Cost of Financing)
= 0 แสดงว่า.......

EVA = EBIT (1-T) - Cost of financing


= NOPAT – WACC (Operating Capital)

27 28
ตัว อย่า ง การคํา นวณค่า EVA: บริ ษทั กขค ตัว อย่า ง การคํา นวณค่า EVA: บริ ษทั กขค (ต่อ )
สมมติ ว่า บริ ษทั กขค จํากัด มีต้นทุนเฉลีย่ (WACC) ของเงิ นทุนทีจ่ ดั หา
มาเท่ากับ 8% และเงิ นทุนส่วนทีม่ ีต้นทุนทีใ่ ช้ในการดําเนิ นงาน EVA = กําไรจากการดําเนิ นงาน (1 - T) - ต้นทุนของเงิ นทุน
(Operating Capital) เท่ากับ 701,500 บาท (คํานวณจากข้อมูลในงบดุล = 170,000 (1 - .30) – 56,120
= ตั ๋วเงิ นจ่าย + หนี้ สิ นระยะยาว + ส่วนของเจ้าของ - เงิ นสดส่วนเกิ น) = 119,000 – 56,120 = 62,880 บาท
เงิ นทุนบางส่วนเช่นเจ้าหนี้ การค้า และหนี้ สิ นหมุนเวียนอืน่ ๆ ถือว่าไม่มี จะได้ว่าในกรณี น้ ี ผลการดําเนิ นงานสุทธิ มีมากเพียงพอสําหรับ
ต้นทุน หากกําไรจากการดําเนิ นงานของบริ ษทั อยู่ที ่ 170,000 บาท และ ต้นทุนของเงิ นทุนทีใ่ ช้ในการดําเนิ นงาน ผูถ้ ือหุ้นจึงได้รบั
อัตราภาษี เงิ นได้อยู่ที ่ 30% จงคํานวณ EVA ของบริ ษทั ผลประโยชน์ ส่วนเพิ ม่ จากการดําเนิ นงานในปี นัน้ ๆ
ต้นทุนของเงิ นทุน = เงิ นทุนทีใ่ ช้ในการดําเนิ นงาน x 8%
= 701,500 x .08 คําถาม: ค่า MVA และ ค่า EVA ของกิ จการใดๆ ในปี เดียวกัน จะ
= 56,120 บาท แสดงค่า + หรือ – ไปในทิ ศทางเดียวกันเสมอหรือไม่ คิ ด.....???

29 30

บริ ษทั ตัว อย่า ง จํา กัด : งบการเงิน บริ ษทั ตัว อย่า ง จํา กัด : การคํา นวณค่า EVA

* เงินสดส่วนเกินทัง้ หมดบันทึกเป็ นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด


** จํานวนหุน้ เรียกชําระแล้ว 100 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้ (Par value) 1 บาท/หุน้

31 32
บริ ษทั ตัว อย่า ง จํา กัด : การคํา นวณ Book Value ต่อ หุ้น ส่ว นเพิม ของราคาตลาด (Market Value Added: MVA):
การคํา นวณ และตีค วามหมาย
สมมติ ร าคาตลาดของหุ้น สาม ญ ั ของบริ ษทั กขค เท่า กับ 3.50 บาทต่อ
ถ้าส่วนของเจ้าของ ประกอบขึ้นด้วยหุ้นสามัญ จํานวน 100 ล้านหุ้น หุ้น จะได้ว ่า มูล ค่า เพิ่ ม ของราคาตลาด (MVA)
ออกจําหน่ ายและชําระเงิ นครบถ้วนแล้ว จะได้ = MV - BV
มูลค่าตามบัญชีของ = 3.50 – 2.80
หุ้นสามัญ (Book Value) = ส่วนของผูถ้ ือหุ้นสามัญ = 0.70 บาทต่อ หุ้น
จํานวนหุ้นสามัญทีอ่ อกวางจําหน่ ายแล้ว การสร้า งส่ว นเพิ่ ม (MVA)ได้ม ากเท่า ใด ผูถ้ ือ หุ้น จะเป็ น ผูไ้ ด้ร บั ประโยชน์
สูงสุด จะเห็น ได้ว ่า Max MVA และ Max MV มีค วามน่ า สนใจ และความหมาย
= 280 = 2.80 บาทต่อหุ้น ที่ต ่า งกัน สมมติ ท่า นเป็ น ผูถ้ ือ หุ้น ท่า นคิ ด อย่า งไรกับ ทัง้ 2 ค่า นี้ ? ??
100 MVA มีค ่า ได้ทงั ้ ค่า + และ – และอาจเป็ น ศูน ย์ได้ ท่า นอธิ บ ายค่า ที่
เกิ ด ขึน้ อย่า งไร???

33 34

ความสัม พัน ธ์ร ะหว่า ง EVA และ MVA ภาพรวมรูป แบบธุร กิ จ


ภาพรวมรูป แบบธุร กิ จ
คําถาม: ค่า MVA และ ค่า EVA ของกิ จการใดๆ ในปี เดียวกัน จะ
เป็ น นิ ติ บ คุ คล ไม่เป็ น นิ ติ บ คุ คล
แสดงค่า + หรือ – ไปในทิ ศทางเดียวกันเสมอหรือไม่ คิ ด.....???
(มีก ารจดทะเบีย นจัด ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมาย) (แต่อ าจต้อ งจดทะเบีย นตาม พรบ.
ทะเบีย นพาณิ ชย์)

ห้างหุน้ ส่วน  กิจการเจ้าของคนเดียว


 ห้างหุน้ ส่วนสามัญ  ห้างหุน้ ส่วนสามัญ
 ห้างหุน้ ส่วนจํากัด
 บริษทั จํากัด
 บริษทั มหาชน
 องค์กรธุรกิจจัดตัง้ หรือจดทะเบียนภายใต้กฎหมายเฉพาะ
35 36
ปัจจัยทีค่ วรพิจารณาในการเลือกรูปแบบของธุรกิจ: ปัญหาตัวแทน (Agency Problem)
จํา นวนผูก้ ่อ ตัง้ เริ่ ม แรก
ความยากง่า ย ขัน้ ตอน ระเบีย บ และค่า ใช้จ ่า ยในการจัด ตัง้
ความรับ ผิด ชอบในหนี้ สิ น ที่เกิ ด ขึน้ จากการดํา เนิ น ธุร กิ จ Principle Agency
ปริ ม าณความต้อ งการใช้เงิ น ทุน และความสามารถในการ แต่งตัง้
ระดมทุน ตัว แทน
ความยากง่า ยในการโอนความเป็ น เจ้า ของ
ประเภทของภาษี เงิ น ได้ Principle-Agency Relationship เกิ ด เมื่อ Principle แต่งตัง้ Agency
ความคล่อ งตัว ในการบริ หารงาน เป็ น ต้น ให้ต ดั สิ น ใน และดํา เนิ น การ แทน Principle เพื่อ ประโยชน์ ส งู สุด
ของ Principle ซึ่ง Agency Problem เกิ ด จากความขัด แย้งทาง
ผลประโยชน์ (conflict of interest) ระหว่า ง Agency และ Principle
37 38

ลักษณะที ่ 1 ของปัญหาตัวแทน (Agency Problem) ลักษณะที ่ 1 ของปัญหาตัวแทน (Agency Problem) (ต่อ)


ลักษณะที ่ 1 ของปัญหาตัวแทน ลักษณะที ่ 1 ของปัญหาตัวแทน
ปัญ หาตัว แทนล กั ษณะที่ 1 เกิ ด ขึน้ เมื่อ ตัว แทนหรือ ผูบ้ ริ หาร
ผูล้ งทุนหรือผูถ้ อื หุน้ แต่งตัง้ ไม่ได้ด าํ เนิ น การให้เกิ ด ประโยชน์ ส งู สุด แก่ผถู้ ือ หุ้น ได้แ ก่:
ผูบ้ ริหาร 1. การมีผลประโยชน์ ข ดั กัน (Conflict of interest) เนื่ อ งจาก
จํานวนมากราย ตัว แทน มีเป้ า หมายต่า งกัน
2. การใช้จ ่า ยในสิ่ งที่ไม่ได้ช่ว ยในการสร้า งรายได้
ปัญ หาตัว แทนเกิ ด ขึน้ กับ ธุร กิ จ ที่ม ีเจ้า ของหรือ ผูถ้ ือ หุ้น จํา นวน 3. การลงทุน ฟุ่ มเฟื อยในสิ่ งที่เกิ น ความจํา เป็ น เช่น การซื้อ รถ
มากราย ทํา ให้ม ีค วามจํา เป็ น ต้อ งแต่งตัง้ ตัว แทนขึน้ มาบริ หารงาน เพื่อ ประจํา ตํา แหน่ งยี่ห้อ หรูแ ละแพง เป็ น ต้น สิ่ งเหล่า นี้ ทาํ ให้เกิ ด
ประโยชน์ ส งู สุด ของผูถ้ ือ หุ้น ด้ว ยเงื่อ นไขนี้ ธุร กิ จ เจ้า ของคนเดีย วจึงม กั ค่า ใช้จ ่า ยของกิ จ การ และมีผลต่อ ผลกํา ไรของผูถ้ ือ หุ้น
ไม่ม ีปัญ หาตัว แทน เนื่ อ งจากเจ้า ของบริ หารงานเอง ย่อ มทํา เพื่อ ประ แน่ น อน
โยชน์ ส งู สุด ของเจ้า ของ 4. การดํา เนิ น งานไม่เป็ น ไปตามนโยบายที่ก าํ หนด
5. และอื่น ๆ เป็ น ต้น
39 40
วิธีการป้ องกันปัญหาตัวแทนระหว่างผูถ้ ือหุ้นกับผูบ้ ริหาร ลักษณะที ่ 2 ของปัญหาตัวแทน
มีร ะบบการควบคุม ภายใน และการมีธ รรมาภิ บ าลที่ด ี ช่ว ยป้ อ งกัน
ลักษณะที ่ 2 ของปัญหาตัวแทน
เป็ น Conflict of interest ที่เกิ ด ขึน้ ระหว่า งเจ้า หนี้ กับผูบ้ ริ หารซึ่ง
การตัด สิ น ใจ หรือ การดํา เนิ น งานที่ไม่เหมาะสมของผูบ้ ริ หารได้
ทํา หน้ า ที่เป็ น ตัว แทนของผูถ้ ือ หุ้น ในการบริ หารงาน
มีก ารให้สิ่ งจูงใจในการทํา งาน เช่น การให้โอกาสเข้า มาเป็ น ในบางขณะการตัด สิ น ใจของผูบ้ ริ หาร อาจทํา ให้เจ้า หนี้ ต ้อ งมี
เจ้า ของ โดยการให้สิ ทธิ ซื้อ หุ้น ในราคาไม่แ พงเป็ น ต้น ทํา ให้ ความเสี่ย งมากขึน้ เช่น การลงทุน ในโครงการที่ม ีค วามเสี่ย งสูงขึน้
ผูบ้ ริ หารมีโอกาสได้ร บั ผลตอบแทนที่ด ีใ นฐานะผูถ้ ือ หุ้น ด้ว ย เจ้า หนี้ ต ระหนัก ดีว ่า หากโครงการไปได้ด ี ผลตอบแทนที่เพิ่ ม
นอกจากนัน้ การเปลี่ย นแปลงผูบ้ ริ หาร (ให้อ อก) ก็ม ีส ่ว นทํา ให้ สูงขึน้ จะตกอยู่ก บั เจ้า ของ โดยเจ้า หนี้ ไม่ม ีส ่ว นได้ แต่ถ้า โครงการ
ผูบ้ ริ หารต้อ งทํา งานอย่า งระม ดั ระวังมากขึน้ เพื่อ ให้เกิ ด ประโยชน์ ล้ม เหลว เจ้า หนี้ อ าจต้อ งรับ ความเสี่ย งกับ การที่จ ะไม่ได้ร บั
สูงสุด แก่ผถู้ ือ หุ้น เป็ น ต้น ดอกเบีย้ และเงิ น ต้น คืน ได้
ทางหนึ่ งในการป้ อ งกัน คือ เมื่อ มีก ารกู้เงิ น เจ้า หนี้ อ าจมีก ารสร้า ง
เงื่อ นไขต่า งๆ ซึ่งผูก้ ้ตู ้อ งปฏิ บ ตั ิ ต าม ตลอดระยะเวลาที่ก้เู งิ น อยู่
41 42

RISK VS RETURN ตัวอย่าง Risk & Return Tradeoff


ในการระดมทุน (Financing)
การตัด สิ น ใจทางการเงิ น ใดๆ จะต้อ งพิ จ ารณาความเสี่ย ง เป้ าหมายในการระดมทุน ของธุร กิ จ ได้แ ก่จ ดั หาเงิ น ทุน จาก
และผลตอบแทน ควบคู่ก นั ไปเสมอ เช่น การตัด สิ น ใจ แหล่งที่ม ีต ้น ทุน ดีที่ส ดุ โดยมีร ะดับ ความเสี่ย งที่ย อมรับได้
ลงทุน ในโครงการที่ม ีค วามเสี่ย งสูงกว่า ย่อ มต้อ งคาดหวัง ต้น ทุน เงิ น ที่ได้ม าจากการกู้ได้แ ก่ ดอกเบีย้ ในขณะที่ต ้น ทุน จาก
ผลตอบแทนที่ส งู กว่า จึงจะคุ้ม ค่า กับ ความเสี่ย งนัน้
เงิ น ทุน ที่ม าจากเจ้า ของได้แ ก่อ ตั ราผลตอบแทนที่เจ้า ของ
ต้อ งการ
ความเสี่ย งสูง ผลตอบแทน(ที่ค าดไว้)สูง
ความเสี่ย งในการจัด หาเงิ น ทุน ได้แ ก่ค วามเสี่ย งที่ต ้อ งจ่า ยชํา ระ
ความเสี่ย งตํา่ ผลตอบแทน(ที่ค าดไว้)ตํา่ เงิ น คืน เงิ น กู้จ ะต้อ งมีก ารจ่า ยชํา ระคืน จะเร็ว หรือ ช้า ขึน้ อยู่ก บั
เทอมที่ก าํ หนด เงิ น ทุน จากเจ้า ของไม่ม ีก าํ หนดชํา ระคืน

43 44
ตัว อย่า ง Risk & Return Tradeoff ตัวอย่างการลงทุน (Investment) ในเรือ่ งของ Risk VS Return
ในการระดมทุน (Financing) (ต่อ )
เนื่ อ งจาก การกู้เงิ น มีค วามเสี่ย งสูงกว่า เงิ น ทุน ที่ม าจากเจ้า ของ ตัว อย่างเปรีย บเทีย บการลงทุน ในเรื่อ งของ Risk VS Return
เพราะจะต้อ งมีก ารชํา ระคืน เงิ น กู้ ธุร กิ จ จึงคาดหวังผลตอบแทน
ที่ส งู กว่า เพื่อ ชดเชยความเสี่ย งนัน้ จึงมีผลทํา ให้ต ้น ทุน การกู้เงิ น 1. การนํา เงิ น ไปลงทุน โดยการฝากไว้ก บั ธนาคารพาณิ ชย์
(ดอกเบีย้ ) จะต้อ งตํา่ กว่า ต้น ทุน ของเงิ น ทุน จากเจ้า ของ อัต ราผลตอบแทนตํา่ ตัง้ แต่ 0.50% ถึง 2.00% แล้ว แต่ร ะยะเวลา
ไม่เช่น นัน้ การกู้จ ะไม่เกิ ด ประโยชน์ ความเสี่ย งตํา่ เพราะได้ด อกเบีย้ และได้เงิ น ต้น คืน ค่อ นข้า งแน่ น อน
Higher Risk Lower Cost Higher Return 2. การนํา เงิ น ไปลงทุน โดยการร่ว มทุน ทํา ธุร กิ จ ร้า นอาหาร
นอกจากนัน้ การกู้ร ะยะสัน้ มีค วามเสี่ย งสูงกว่า การกู้ร ะยะยาว
มีค วามเป็ น ไปได้ที่ธ รุ กิ จ จะไปได้ด ีม าก หรือ มีอ ปุ สรรคมากมาย
เพราะต้อ งชํา ระเงิ น คืน เร็ว กว่า ธุร กิ จ จึงคาดหวังผลตอบแทนที่
สูงกว่า เพื่อ ชดเชยความเสี่ย งนัน้ จึงมีผลทํา ให้ต ้น ทุน การกู้เงิ น ผลตอบแทน ไม่แ น่ น อน ตัง้ แต่ -10.0% ถึง 50.0%
ระยะสัน้ จะต้อ งตํา่ กว่า ต้น ทุน การกู้เงิ น ระยะยาว ไม่เช่น นัน้ จะ ความเสี่ย งสูง เนื่ อ งจากการดํา เนิ น ธุร กิ จ มีค วามไม่แ น่ น อนสูง
ไม่ม ีป ระโยชน์ ที่จ ะกู้ย ืม ระยะสัน้
45 46

ตัวอย่างการระดมทุน (Financing) ในเรือ่ งของ Risk VS Return Wealth maximization, social responsibility, and business ethics
ตัว อย่า งเปรีย บเทีย บการระดมทุน ในเรื่อ งของ Risk VS Return
1. การระดมทุน โดยการกู้เงิน จากสถาบัน การเงิน
ความเสี่ย งสูงกว่า เพราะต้อ งชํา ระคืน เงิ น ต้น และดอกเบีย้ Do they get along well?
ผลตอบแทนสูงกว่า เพราะการกู้เงิ น มีต ้น ทุน ตํา่ กว่า เงิ น ทุน จาก
เจ้า ของ Ethics and social responsibility
2. การระดมทุน จากเจ้า ของ โดยการออกจํา หน่ า ยหุ้น สาม ญ
ั  Ethics = standards of conduct or moral behavior
ความเสี่ย งตํา่ กว่า เพราะเป็ น เงิ น ทุน ถาวร ไม่ต ้อ งจ่า ยคืน เงิ น ต้น  Social responsibility = concern with the welfare of society at large
และไม่ม ีพนั ธะที่จ ะต้อ งจ่า ยเงิ น ปัน ผล
ผลตอบแทนตํา่ กว่า เพราะต้น ทุน เงิ น ทุน จากเจ้า ของจะสูงกว่า

47 48
Business Ethics Costs of ethical and socially responsible actions
Business ethics Costs of ethical and socially responsible actions
 Concept  There is a negative correlation between ethics and short-run
A company’s attitude and conduct towards its stakeholders, such as profitability because ethical behavior
employees, customers, community, and stockholders. (1) incurs additional costs, which will ultimately reduce
Note: Ethics is relative. the wealth of shareholders, and

 Standards of ethical behavior (2) puts the firm at a disadvantage in attracting funds.
A firm must treat each party it deals with in a fair and honest manner.

49 50

Benefits of ethical and socially responsible actions โอกาสการประกอบวิชาชีพทางด้านการเงิน


Benefits of ethical and socially responsible actions
ในสถาบัน การเงิ น และตลาดการเงิ น ทัง้ ในประเทศ และ
 There is a positive correlation between ethics and long-run ต่า งประเทศ (Financial Institutions)
profitability (wealth) because ethical behavior
(1) avoids fines and legal expenses,
การเป็ น นัก ลงทุน มือ อาชีพ ในการบริ หารจัด การเงิ น กองทุน
(2) builds public trust, (Asset Management)
(3) attracts business from customers who appreciate and support its policies,
(4) attracts and keeps employees of the highest caliber, and การเป็ น นัก บริ หารการเงิ น ในธุร กิ จ การผลิ ต (Manufacturing)
(5) supports the economic viability of the communities in which it operates. ธุร กิ จ การซื้อ มาขายไป (Trading) และธุร กิ จ การให้บริ ก าร
(Service)

51 52
CURRENT TREND IN FINANCE
การเงิ นในปัจจุบนั มีแนวโน้ มทีจ่ ะเพิ ม่ ความท้าทายใหม่ๆ มีการ
เปลีย่ นแปลงอย่างไม่หยุดนิ ่ง มีความสลับซับซ้อน สําหรับนักบริ หาร
การเงิ นมืออาชีพจะต้องให้ความสนใจ ทัง้ นี้ เป็ นผลมาจากหลายปัจจัยที ่
มีการพัฒนาอย่างต่อเนื อ่ งในระบบเศรษฐกิ จของโลก ได้แก่:
1. ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีคอมพิ วเตอร์
2. ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีการสือ่ สาร
3.การทําธุรกรรมทางการเงิ น และทางการค้าอย่างไร้พรมแดน
4. การผ่อนคลายกฎเกณฑ์ และกฎระเบียบในหลายอุตสาหกรรม
5. การเพิ ม่ ขึ้นของคู่แข่งขันหลากหลายประเภท
6. และอืน่ ๆ เป็ นต้น

53

You might also like