แผนการสอน หมู่ และ มว.ปล.ในการเข้าตี

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 55

แผนกวิชายุทธวิธี

กองการศึกษา โรงเรียนทหารราบ
แผนการสอน
วิชา หมู่ และ มว.ปล.ในการเข้าตี
หลักสูตร
เวลา ๔ ชม.
ความมุ่งหมาย : เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษา
๑.๑ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องหลักการการรบด้วยวิธีรุก หลักนิยม
และชนิดของการรบด้วยวิธีรุก
๑.๒ มีค วามรู้ค วามเข้า ใจในเรื่อ ง หมู่ ,หมวดปื นเล็ก ในการเข้า ตีใ น
เวลากลางวัน และเวลากลางคืน
๑.๓ สามารถปฏิบัติการเข้า เข้าตีในเวลากลางวันและกลางคืนได้
ขอบเขตการศึกษา
๒.๑ กล่าวถึงหลักการการรบด้วยวิธีรุก หลักนิยม และชนิดของการ
รบด้วยวิธีรุก
๒.๒ กล่าวถึงภารกิจ การจัด การใช้, ระเบียบการนำหน่วย, มาตรการ
ควบคุมทางยุทธวิธี
๒.๓ การเตรียมการ, แผนการเข้า ตี, การดำเนิน การเข้า ตี, การจัด
ระเบียบและการเสริมความมัน
่ คง ณ ทีห
่ มาย
อุปกรณ์การสอน
๓.๑ เครื่องฉายโปรเจคเตอร์
๓.๒ เครื่องขยายเสียง
๓.๓ กระดานไวท์บอร์ด ปากกา และแปลงลบกระดาน
๓.๔ คอมพิวเตอร์ตงั ้ โต๊ะ
๓.๕ โปรแกรมเพาเวอร์พอยท์
เอกสารอ้างอิง
๔.๑ รส. ๗ – ๘ ปี พ.ศ.๒๕๔๘
๔.๒ แนวสอนโรงเรียนทหารราบ
นำเรื่อง
๑ สร้างความสัมพันธ์
๑.๑ แนะนำตัว
๑.๒ แนะนำเรื่อง
2. สร้างความสนใจ .. เล่าเรื่องยกตัวอย่างที่มีความสัมพันธ์กับหลัก
การปฏิบัติการตัง้ รับจากประสบการณ์ในการฝึ ก และจากการปฏิบัติการ
รบในพื้นที่จริง ที่ผ่านมาในอดีต
3. คุณค่าของบทเรียน .. บทเรียนของการตัง้ รับจะเป็ นพื้นฐาน
ทางการยุทธ์แขนงหนึ่งที่สามารถ นำไปประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสถานการณ์
ในพื้นที่ปฏิบัติการได้ทุกพื้นที่

4. การมีส่วนร่วม
4.1 ผู้เรียนจดบันทึก , สงสัยยกมือสอบถามทันที
4.2 อจ.ซักถามขณะสอน เพื่อเปรียบเทียบและแลกเปลี่ยนความ
คิดจากประสบการณ์ของผูเ้ รียนในห้องในแต่ละพื้นที่
4.3 กำหนดงานให้ค้นคว้า ตาม รส.๗-๘,รส.๗-๑๕ และแนวการ
สอนของ รร.ร.ศร.
4.4 ทบทวนหลังจบการสอน
เนื้อเรื่อง
๑ - ๑ ภารกิจ
ภารกิจ ของทหารราบ คือ เข้า ประชิด ข้า ศึก ด้ว ยการยิง และการ
ดำเนินกลยุทธ์ เพื่อเอาชนะ หรือจับข้าศึกเป็ นเชลย หรือเพื่อขับไล่การ
โจมตีของข้าศึกด้วยการยิง การรบประชิด หรือการตีโต้ตอบ
ก. ไม่ว่าฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะเหนือกว่าหรือด้อยกว่าทางด้านเทคโนโลยี
เพียงใดก็ตาม ฝ่ ายที่เหนือกว่าในด้านการรบประชิดด้วยกำลังทางพื้นดิน
เท่านัน
้ ที่จะได้ชัยชนะเด็ดขาดในการรบ กำลังทหารราบไม่ว่าจะเป็ นทหาร
ราบมาตรฐาน ทหารราบส่งอากาศ ทหารราบเคลื่อนที่ทางอากาศ ทหาร
ราบเบา หรือทหารราบจู่โจม ล้วนแต่เป็ นกำลังหลักในการรบประชิดทัง้ สิน

ทัง้ นีเ้ พราะทหารราบสามารถ
- เ ข ้า ต ีต า ม แ น ว ท า ง เ ค ล ่ อ
ื น ท ี่ท ี่กำ ล ัง ข น า ด ใ ห ญ ่ (heavy
forces)อื่นๆ ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
- เป็ นหน่วยเริ่มเข้า ตีเ จาะในภูม ิป ระเทศที่ย ากลำบาก เพื่อ การ
ขยายผลของหน่วย รถถังหรือทหารราบยานเกราะต่อไป
- ยึดรักษาสิ่งกีดขวางตามธรรมชาติที่มีอยู่ และภูมิประเทศที่ยาก
ลำบากที่ม ีค วามสำคัญ ต่อ การดำเนิน กลยุท ธ์ ทัง้ ในระดับ ยุท ธการและ
ยุทธวิธี
- ยึดหรือควบคุมพื้นที่ป่า ภูเขา และพื้นที่สิ่งปลูกสร้างได้
- ควบคุมเส้นทางบังคับสำหรับให้หน่วยฝ่ ายเดียวกันใช้ในอนาคต
- ปฏิบัติการในเวลากลางคืน หรือในห้วงเวลาทัศนะวิสัย จำกัด ไม่
ว่าโดยธรรมชาติ หรือสร้างขึน
้ ก็ตาม
- เคลื่อนที่ติดตามและสนับสนุนการขยายผลของหน่วยใหญ่ เมื่อได้
รับการเพิ่มเติมขีดความสามารถในการเคลื่อนย้าย
- ปฏิบัติการรบในพื้นที่ส่วนหลังโดยอาศัยความคล่องแคล่วในการ
เคลื่อนที่ทางอากาศ
ข. ความสำเร็จในการรบ ขึน
้ อยู่กับการปฏิบัติของหน่วยระดับหมวด
และหมู่ในการรบประชิด กล่าวคือความสามารถในการตอบโต้เมื่อเกิดการ
ปะทะ การยิงข่มข้าศึก การดำเนินกลยุทธ์ต่อปี กที่ล่อแหลมของข้าศึก และ
การรบทะลุล วงเข้า เอาชนะ ทำลายหรือ จับ ข้า ศึก เป็ นเชลย ส่ว นความ
สำเร็จในการปฏิบัติของหน่วยขนาดเล็กนัน
้ ขึน
้ อยู่กับขีดความสามารถของ
ผู้บ ัง คับ หน่วยและตัวทหารเป็ นบุค คลในการใช้ภ ูม ิป ระเทศให้ไ ด้เ ปรีย บ
การใช้อ าวุธ ได้อ ย่า งแม่น ยำ และมีผ ลทำ ลายล้า งสูง ทัง้ นีด
้ ้ว ยการคิด
เคลื่อนที่ และใช้วิธีรบในลักษณะที่ข้าศึกคาดไม่ถึง
ค. โดยปกติแล้ว หมวด และหมู่ปืนเล็ก จะปฏิบัติการรบเป็ นส่วนหนึ่ง
ของหน่วยใหญ่ และอยู่ภายใต้การสนับสนุนจากหน่วยทหารราบด้วยกัน
หน่วยยานเกราะ ปื นใหญ่ เครื่อ งยิงลูก ระเบิด การสนับสนุนทางอากาศ
โดยใกล้ชิด การป้ องกันภัยทางอากาศ และเครื่องมือทางการช่าง นอกจาก
นีห
้ มวด และหมู่ปืนเล็กยังสามารถใช้อาวุธภายในหน่วยทำการยิงข่มข้าศึก
ทัง้ เพื่อขับไล่การโจมตีของข้าศึก และเพื่อสนับสนุนการดำเนินกลยุทธ์ของ
หน่วยเอง
๑ - ๒ อำนาจการรบ
หลักนิยมของทหารราบนัน
้ ส่วนหนึ่งมีพ้น
ื ฐานมาจาก องค์ประกอบ
๔ ประการ ของอำ นาจกำ ลัง รบ ซึง่ ประกอบด้ว ยการดำ เนิน กลยุท ธ์
อำนาจการยิง การพิทักษ์หน่วยและผู้นำ
ก. การดำเนินกลยุทธ์ หมายถึง การเคลื่อนย้ายกำลัง โดยมีการยิง
สนับสนุนไปยัง ตำบลที่ได้เปรียบ ซึง่ สามารถทำลายหรือข่มขู่ที่จะทำลาย
ข้าศึกได้ กำลังทหารราบ เคลื่อนที่เพื่อควบคุมตำบลที่ได้เปรียบเหนือข้าศึก
และเพื่อครอบครองความได้เปรียบนัน
้ ไว้ ทหารราบดำเนินกลยุทธ์ เพื่อ
เข้าตีทางปี ก ทางด้านหลัง ตำบลส่งกำลังบำรุง และที่บังคับการของข้าศึก
ในการตัง้ รับทหารราบดำเนินกลยุทธ์เพื่อตีโต้ตอบทางปี กด้านใดด้านหนึ่ง
ของข้าศึก การดำเนินกลยุทธ์ที่มีการยิงสนับสนุนอย่างเหมาะสม จะทำให้
ทหารราบสามารถเข้าประชิดข้าศึก และได้ชัยชนะเด็ดขาดในการรบ
ข. อำนาจการยิง หมายถึง ความสามารถของหน่วยในการยิง
ไปยังที่หมายอย่างมี
ประสิทธิภาพ อำนาจการยิง สามารถสัง หาร หรือกดข้า ศึก ให้อ ยู่ในที่มั่น
ลวงข้าศึก และสนับสนุนการดำเนินกลยุทธ์ ทหารราบย่อมไม่สามารถ
ดำเนินกลยุทธ์ได้หากไม่มีการยิงสนับสนุนที่มี
ประสิทธิภาพ ก่อนที่หน่วยจะเริ่มดำเนินกลยุทธ์จะต้องจัดตัง้ ฐานยิงก่อน
ฐานยิงจะต้องวางตำบลยิงไปยังกำลังหรือที่ตงั ้ ของข้าศึก เพื่อลดหรือขจัด
ขีด ความสามารถของข้า ศึก ที่จ ะรบกวนส่ว นดำเนิน ยุท ธ์ข องฝ่ ายเรา ผ
บังคับหน่วยต้องรู้วิธีควบคุมการยิง รวมอำนาจการยิงและผสมผสานการ
ยิงกับการดำเนินกลยุทธ์ ทัง้ ยังต้องสามารถพิสูจน์ทราบที่หมายที่สำคัญเร่ง
ด่วนสูงสุด ภายในเวลาที่รวดเร็ว สามารถอำนวยการยิงไปยังที่หมายเหล่า
นัน
้ ด้วยการยิงที่หนาแน่นเพียงพอจนข้าศึกไม่สามารถยิงตอบโต้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ขณะเดียวกันต้องไม่มากเกินไปจนเกินความจำเป็ น
ค. การพิทักษ์หน่วย หมายถึง การดำรงรักษาศักยภาพในการต่อสู้
ของกำ ลัง รบเอาไว้ เพื่อ ที่จ ะให้พ ร้อ มใช้ไ ด้ท ัน ที ณ ตำ บล และเวลาที่
ต้องการรบแตกหัก หน่วยจะต้องไม่ยอมให้ข้าศึกชิงเป็ นฝ่ ายได้เปรียบโดยที่
ฝ่ ายเราไม่คาดคิด หมวด และหมู่ปืนเล็ก ต้องมีมาตรการทัง้ เชิงรุกและเชิง
รับ ที่จะป้ องกัน หน่วยจาก การจู่โ จม การตรวจการณ์ การตรวจจับ การ
รบกวน การจารกรรม การก่อวินาศกรรม หรือการก่อกวนของข้าศึก ข้อ
พิจารณาพื้นฐานในการพิทักษ์หน่วยมีอยู่ ๒ ประการ คือการดูแลเอาใจใส่
ต่อตัวทหารเป็ นบุคคล กับการปฏิบัติการต่อต้านอำนาจกำลังรบของข้าศึก
๑) ข้อพิจารณาประการแรก เป็ นเรื่องที่เกี่ยวกับเทคนิคที่จำเป็ น
สำหรับการดำรงสภาพความเป็ นกำลังรบที่มีประสิทธิภาพของหมวดและ
หมู่อ ย่างต่อเนื่อง เช่น การรัก ษาสุข ภาพพลานามัยของทหาร เพื่อ ดำรง
ขวัญในการรบ โดยการดำเนินการอย่างเหมาะสมในเรื่อง สุขศาสตร์ทหาร
การออกกำลัง กาย และแผนการพัก ผ่อ นควบคู่ก ับ การดูแ ลรัก ษาอาวุธ
ยุทโธปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดีอยู่เสมอ รวมทัง้ จัดให้มีและรักษาไว้
ซึง่ สิ่งอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างเพียงพอ นอกจากนีย
้ ังหมายถึงการจัดแผนการ
บรรทุกของทหารเป็ นบุคคลอย่างเหมาะสม ให้ทหารบรรทุกสิ่งของติดตัว
เฉพาะเท่าทีจำ
่ เป็ นและเหมาะสมกับสภาพการรบเท่านัน

๒) ข้อพิจารณาประการที่สอง เกี่ยวกับการระวังป้ องกัน การก
ระจายกำลัง การกำบัง การซ่อนพราง การลวง และการยิงข่มอาวุธข้าศึก
สิ่งสำคัญที่สุดคือ ทหารราบต้องอยู่พ้นวิสัยการตรวจจับของฝ่ ายข้าศึกให้
ได้จึงจะอยู่รอดได้ ไม่เช่นนัน
้ แล้ว ทหารราบจะกลายเป้ าหมายที่ล ่อแหลม
จากอำนาจการยิง ของข้า ศึก ทุก ชนิด และเมื่อ ตกเป็ นเป้ าหมายของฝ่ าย
ข้าศึก แล้ว ทหารราบจำเป็ นต้อ งทำการรบแตกหัก หรือ เข้า ประชิด และ
ทำลายข้าศึกซึ่งไม่ใช่สงิ่ ที่พึงประสงค์ แต่สิ่งที่ทหารราบมีความมุ่งประสงค์
อยู่ตลอดเวลาก็คือ การได้เป็ นฝ่ ายกำหนดตำบลและเวลาของการรบ ดัง
นัน
้ จึงต้องพิทักษ์หน่วยเอาไว้ จนกว่าจะถึงเวลาที่กำ หนดตำบลและเวลา
ของการรบได้แ ล้วเข้า ทำการรบด้วยอำนาจกำลัง รบสูง สุด และด้วยการ
จู่โจม
ง. ผู้นำ ผู้นำ ทางทหาร หมายถึงวิธีการที่ทหารชักจูงบุคคลอื่น
ปฏิบ ัต ิภ ารกิจ ให้สำ เร็จ การใช้ล ัก ษณะผู้นำ ที่ถ ูก ต้อ งจะทำ ให้ห น่ว ย
สามารถปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการใช้ความเป็ นผู้นำ
อย่างถูกต้องนัน
้ จะทำให้ทหารทุกคนทราบความมุ่งหมาย วิธีปฏิบัติ และ
มีแรงจูงใจ ในการปฏิบัติการรบ ผู้นำต้องมีความรู้ ความเข้าใจเป็ นอย่างดี
เรื่อ งงานในอาชีพ ทหารในการบัง คับ บัญ ชาของตน และเครื่อ งมือ รบ
(tool of war) ผู้นำ ประเภทนีเ้ ท่า นัน
้ ที่จ ะสามารถทำ ให้ท หารเต็ม ใจ
ปฏิบัติงานภายใต้สภาพอันตราย และสภาวะความกดดันได้
๑ - ๓ ทักษะของผู้นำ
ผู้บังคับหมวด และผู้บังคับหมู่ปืนเล็ก ต้องเป็ นนักยุทธวิธี คือ ไม่ยึด
ติดอยู่กับตำราในการแก้ปัญหายุทธวิธีแต่ต้องมีความเข้าใจ และใช้ความ
ริเ ริ่มในการปฏิบ ัติให้บ รรลุภ ารกิจ กล่า วอีก นัยหนึ่ง ก็ค ือ มีค วามรู้ค วาม
สามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์อย่างรวดเร็ว และตกลงใจได้อย่างฉับ
พลัน ใช้เจตนารมณ์ของผู้บังคับบัญชาเป็ นแนวทาง ทัง้ ยังต้องพร้อมที่จะ
ปฏิบัติการเป็ นอิสระโดยลำพังเมื่อจำเป็ น ศิลปะในการตกลงใจได้อย่างถูก
ต้องในเวลาอันรวดเร็วนัน
้ ได้มาจากความรอบรู้ทางยุทธวิธี กรรมวิธีในการ
ประมาณสถานการณ์ รวมทัง้ เทคนิค และระเบียบปฏิบัติของหน่วยระดับ
หมวดและหมู่
ทักษะที่ผู้บังคับหน่วยทหารราบทุกคนจำเป็ นต้องมีนน
ั ้ ประกอบไป
ด้วย ความแข็งแกร่งทาง ร่างกาย ความรอบรู้ทางเทคนิค ความมีจิตใจรุก
รบ และความมั่นคงหนักแน่นที่จะสามารถจูง ใจให้ทหารทำการรบอย่าง
มั่นใจ ในสภาวะการณ์ที่ยากลำบาก
๑ - ๔ ทักษะของทหาร
ประสิทธิภาพในการรบเป็ นส่วนรวมของหมวดและหมู่ ย่อมเกิดจาก
การที่ท หารแต่ล ะคนได้ร ับ การฝึ กฝนอย่า งหนัก ในเรื่อ งของการรบ ซึ่ง
ประกอบด้วยความแข็งแกร่งทางสมรรถภาพร่างกาย ความเชี่ยวชาญใน
การใช้อาวุธของตนเอง และความช่ำชองในทักษะเฉพาะเหล่าของทหาร
ราบ เช่นการใช้แผนที่ เข็มทิศ การพราง เทคนิคการเคลื่อนที่เป็ นบุคคล
เทคนิคการดำรงชีพ เทคนิคการอยู่รอดในสนามรบ และอื่นๆ และประการ
สุด ท้ายคือ ทหารแต่ล ะคนจะตัอ งเข้า ใจบทบาทของตนเองในฐานะเป็ น
สมาชิก คนหนึ่ง ของชุด ยิง หมู่ และหมวด และต้อ งสามารถปฏิบ ัต ิต าม
บทบาทนัน
้ ๆ ได้ อย่างถูกต้อง
๑ - ๕ การฝึ ก
หน่วยทหารราบ ต้องทำการฝึ กอย่างเพียงพอและเหมาะสมกับที่จะ
ทำการรบ และต้องเป็ นไปตามหลักนิยมของกองทัพบก โดยใช้คู่มือต่าง ๆ
ที่ว่าด้วยหลักนิยมซึ่งจะทำให้ผู้บังคับหน่วยสามารถดำเนินการฝึ กได้อย่าง
ถูก ต้องตามระเบีย บปฏิบ ัต ิแ ละหลัก การต่า ง ๆ ของหลัก นิย ม ผู้บ ัง คับ
หน่วยและทหารแต่ล ะคนต้อ งมีค วามเข้า ใจในมาตรฐานการปฏิบ ัต ิต าม
หลัก การต่า ง ๆ ของหลัก นิยมตามที่ป รากฏในคู่ม ือ ต่า ง ๆ เหล่า นัน
้ เป็ น
อย่า งดี คู่ม ือที่ค วรใช้สำ หรับ การฝึ ก คือ คู่มือ การฝึ กว่า ด้ว ยการฝึ กและ
ประเมินผลการฝึ กหมู่ปืนเล็กและหมวดปื นเล็กเหล่าทหารราบ (คฝ. ๗ -
๘) ซึง่ จะกำหนดเงื่อนไขและมาตรฐานเฉพาะสำหรับ การฝึ กปฏิบ ัต ิ
ตามเทคนิค และระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ ที่กล่าวไว้ในคู่มือนี ้ ในการฝึ กนัน
้ สิ่ง
ที่ต้องการคือ ต้องทำให้ผู้บังคับหน่วยมีการใช้ความริเริ่มและตกลงใจอย่าง
รวดเร็ว สภาวะแวดล้อ มในการฝึ กต้อ งสมจริง และมีค วามกดดัน จริง ๆ
นอกจากนี ้ การฝึ กต้องเป็ นสิ่งที่ท้าทายทหารแต่ละคนที่จะแสดงออกถึงขีด
ความสามารถในงานของทหารราบทัง้ หมดทัง้ สิน
้ อย่า งเต็ม ที่ ทัง้ ที่ต ้อ ง
ปฏิบัติเป็ นบุคคลและที่เป็ นหน่วย ทัง้ ยังต้องเป็ นสิ่งที่กระตุ้นเตือนใจทำให้
ทหารราบทุก คนระลึก ถึง ภารกิจ ลัก ษณะของความเป็ นทหารราบซึ่ง
สืบทอดต่อ ๆ กันมาเป็ นเวลานาน รวมทัง้ ความแข็งแกร่ง ทรหดอดทน ทัง้
ร่างกายและจิตใจ ซึ่งจะต้องมีอยู่ในตัวทหารราบทุกคน การฝึ กในระดับ
หมวดปื นเล็ก นัน
้ จะต้อ งก่อ ให้เ กิด ผลในการสร้า งความเป็ นน้ำหนึ่ง ใจ
เดียวกัน ภายในหน่ว ยด้ว ย จนถึง ขัน
้ ที่ว ่า แม้ท ุก ระบบล้ม เหลว แต่ห น่วย
ของตนจะต้องมุ่งมั่นต่อสู้จนถึงที่สุด

การปฏิบัติการยุทธ์ของหมวด

ในตอนนี ้ จะกล่าวถึง การปฏิบัติการทางยุทธวิธีของหมวด และหมู่


ปื นเล็ก ใน ๓ รูปแบบหลัก คือ การเคลื่อนที่ การรบด้วยวิธีรุก และการรบ
ด้วยวิธ ีร ับ นอกจากนัน
้ จะกล่า วถึง การระวัง ป้ องกัน ซึ่ง หมวดปื นเล็ก จะ
ต้องปฏิบัติในทุกรูปแบบของการปฏิบัติ ยุทธวิธีของทหารราบ มีพ้น
ื ฐาน
มาจาก หลักสำคัญ ๕ ประการ คือ
๑. เมื่อ ปะทะกับ ข้า ศึก หมู่แ ละหมวดปื นเล็ก จะเข้า ทำการรบ
เอาชนะข้าศึกด้วยกำลังของหน่วยระดับต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้
๒. หมู่ปืนเล็กที่ปะทะจะต้องรีบทำการยิงกดต่อฝ่ ายข้าศึกให้ได้ผล
ก่อน จึงจะดำเนินกลยุทธ์ หรือให้หมู่ปืนเล็กอื่น ๆ ดำเนินกลยุทธ์ หากหมู่
ปื นเล็กไม่สามารถเคลื่อนที่ภายใต้การยิงคุ้มครองจากอาวุธภายในหมู่เอง
ได้ หมวดปื นเล็กต้องทำการยิงกดให้ และดำเนินกลยุทธ์ต่อที่มั่นของข้าศึก
ทันที
๓. หมวดและหมู่ปืนเล็ก ทำการรบเป็ นหน่วย โดยการดำรงความ
เป็ นชุดยิงและหมู่ ชุดบุคคลคู่ (buddy team) เช่น ผู้บังคับหมู่คก
ู่ ับพลยิง
อาวุธกล และพลยิงเครื่องยิงลูกระเบิดคู่กับพลปื นเล็ก เป็ นต้น
๔. ความสำเร็จของภารกิจ ขึน
้ อยู่กับการที่ทหารทุกคนรู้ว่า หมวด
ของตนกำลัง มุ่ง ที่จ ะทำอะไรอยู่ และรู้ข น
ั ้ ตอนที่จ ะต้อ งปฏิบ ัต ิจ นบรรลุ
ภารกิจนัน
้ ๆ
๕. ผู้บังคับหมวดปื นเล็กจะต้องพัฒนาสถานการณ์ได้โดยไม่จำเป็ น
ต้องคอยผลการปฏิบัติของหมู่ปืนเล็กที่กำลังปะทะ เมื่อใดก็ตามที่ชุดยิงใด
ชุดยิงหนึง่ เกิดการปะทะ หมวดปื นเล็กจะเริ่มการปฏิบัติที่จำเป็ นโดยทันที
ด้วยวิธีนจ
ี ้ ะทำให้หมวดปื นเล็กสามารถให้การสนับสนุนเพิ่มเติมหรือดำเนิน
กลยุทธ์เพื่อช่วยเหลือในการโจมตี หรือทำการขยายผลแห่งความสำเร็จ แก่
หมู่ปืนเล็กที่กำลังปะทะนัน
้ ได้ทันที
๑ - ๖ การเคลื่อนที่
การเคลื่อ นที่ห มายถึง การโยกย้า ย (shifting) กำ ลัง ในสนามรบ
หัวใจสำคัญ ของความสำเร็จในการเคลื่อ นที่ค ือ ความสามารถของผู้
บังคับหน่วยที่จะผสมผสานใช้ทงั ้ รูปขบวนและเทคนิคในการเคลื่อนที่ที่ดี
ที่ส ุด ในแต่ล ะสถานการณ ์ โดยพิจ ารณาปั จจัย ภารก ิจ ข้า ศ ึก
ภูมิประเทศ กำลังและเวลาที่มีอยู่ (METT-T) ในการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด
กับเลือกรูปขบวนและเทคนิคการเคลื่อนที่ที่เหมาะสมที่ส ุด อย่างไรก็ตาม
การตกลงใจเลือกวิธีการเคลื่อนที่ของผู้บังคับหน่วยจะต้องอำนวยให้การ
เคลื่อนที่ของหมวดเป็ นไปในลักษณะดังนี ้
- ดำรงไว้ซึ่งความเป็ นปึ กแผ่นของหน่วย
- ดำรงไว้ซึ่งแรงหนุนเนื่อง
- สามารถพิทักษ์หน่วยได้มากที่สุด
- เมื่อปะทะข้าศึก สามารถปรับเปลี่ยนการรบเป็ นวิธีรุก หรือรับได้
สะดวกและรวดเร็ว
ก. รูปขบวน หมายถึง การจัด ลัก ษณะตำแหน่ง ที่อ ยู่ ระยะ และ
ทิศทางของหน่วย / ส่วนต่างๆ และตัวทหารให้มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและ
กัน หมวดและหมู่ปื นเล็กใช้รูปขบวนในการเคลื่อ นที่ เพื่อ ประโยชน์ใน
การควบคุม การระวังป้ องกันและเพื่อความอ่อนตัว
๑) การควบคุม หมู่ปืนเล็กทุกหมู่และทหารทุกคน มีตำ แหน่งที่
อยู่ในแต่ละรูปขบวนเป็ นมาตรฐานแน่นอน ทหารแต่ละคนมองเห็นหัวหน้า
ชุด ของตน หัว หน้า ชุด ยิง แต่ล ะคนมองเห็น ผู้บ ัง คับ หมู่ข องตน ผู้บ ัง คับ
หน่วยสามารถควบคุมหน่วยด้วยทัศนะสัญญาณ (มือและแขน)
๒) การระวังป้ องกันรูปขบวนต่าง ๆ สามารถทำการระวังป้ องกัน
รอบตัวได้รอบตัว และยังเอื้อ อำนวยให้หน่วยสามารถวางน้ำหนักอำนาจ
การยิงทัง้ ทางด้านปี ก หรือด้านหน้าแล้วแต่จะคาดการณ์ว่าการปะทะน่า
จะเกิดขึน
้ ทางด้านใด
๓) ความอ่อนตัว รูปขบวนการเคลื่อนที่จะไม่กำหนดระยะและรูป
ร่างที่แน่นอน ตายตัวหมวดและหมู่ปืนเล็กต้องมีความอ่อนตัวในการเลือก
ใช้รูปขบวนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ การใช้รูปขบวนที่เหมาะสมจะช่วย
ให้ทหารแต่ละคนสามารถปฏิบัติเป็ นอัตโนมัติตามที่ได้ฝึกซ้อมมา ตามแบบ
ฝึ กทำการรบ (Battle drill) ได้อ ย่า งรวดเร็ว และมั่น ใจได้ว ่า ตัว ผู้บ ัง คับ
หน่วยและทหารแต่ละคนจะอยู่ ณ ตำแหน่งที่เหมาะสมเป็ นที่ร้ก
ู ัน และ
สามารถปฏิบัติการได้อย่างถูกต้องตามที่จะบรรลุภารกิจ
ข. เทคนิค การเคลื่อ นที่ หมายถึง การจัด ความสัม พัน ธ์ข อง
ตำ แหน่ง ที่ต งั ้ หน่ว ยต่า ง ๆ เช่น หมู่ปื นเล็ก และชุด ยิง ในระหว่า งการ
เคลื่อนที่ เทคนิคการการเคลื่อนที่ของหมวด และหมู่ปืนเล็ก มี ๓ ลักษณะ
คือ เทคนิค การเคลื่อ นที่แ บบเดิน ทาง เดิน ทางเฝ้ าตรวจ และเฝ้ าตรวจ
เคลื่อนที่สลับ
๑) เทคนิค การเคลื่อ นที่ ใช้เ พื่อ การควบคุม หน่ว ย การระวัง
ป้ องกัน และเพื่อความอ่อนตัวในการเคลื่อนที่ของหน่วย เช่นเดียวกับรูป
ขบวนการเคลื่อนที่
๒) เทคนิคการเคลื่อนที่ แตกต่างจากรูปขบวนการเคลื่อนที่ ๒
ประการ คือ
ก) รูป ขบวนการเคลื่อ นที่ นัน
้ ค่อ นข้า งจะแน่น อนกว่า
เทคนิคการเคลื่อนที่ โดยเฉพาะในเรื่องของระยะห่างระหว่างบุคคล หรือ
หน่วยต่าง ๆ ตัวอย่า ง เช่น ในการใช้เ ทคนิค การเคลื่อ นที่แ บบเฝ้ าตรวจ
เคลื่อนที่สลับนัน
้ ระยะห่างระหว่างส่วนที่เฝ้ าตรวจกับส่วนที่เคลื่อนที่ จะ
ไม่กำหนดแน่ชัด ขึน
้ อยู่กับปั จจัย METT-T
ข) รูปขบวน ทำให้หมวดปื นเล็กสามารถวางน้ำหนักการยิง
ไปยังทิศทางที่ต้องการ ส่วนเทคนิคการเคลื่อนที่ ทำให้หมู่ปืนเล็กสามารถ
เข้าปะทะกับข้าศึกด้วยกำลังส่วนที่เล็กที่ส ุด ซึ่งทัง้ สองประเภทนีทำ
้ ให้ผู้
บัง คับ หมวดสามารถจัด ตัง้ ฐานยิง เริ่ม ยิง กดข้า ศึก ได้ก ่อ น และสามารถ
ดำเนินกลยุทธ์ได้ โดยไม่ต้องผละจากการรบก่อน หรือต้องรอการเพิ่มเติม
กำลังเสียก่อน
๓) ผู้บังคับหมวด จะเลือกใช้เทคนิคการเคลื่อนที่แบบใดขึน
้ อยู่
กับโอกาสที่จะเกิดการปะทะกับข้าศึก และความเร็วที่ต้องการเป็ นหลัก
ค. ข้อพิจารณาอื่น ๆ ในการวางแผนการเคลื่อ นที่ท างยุท ธวิธ ี ผ
บังคับหมวดควรพิจารณาถึงปั จจัยที่สำคัญต่าง ๆ ด้วย ดังนี ้
- การลาดตระเวน
- การกระจายกำลัง
- การระวังป้ องกัน
- การกำบัง และการซ่อนพราง
- ความเร็ว
- การตรวจการณ์ และพื้นยิง
- พื้นที่ดำเนินกลยุทธ์
- การบังคับบัญชา และการควบคุม
๑ - ๗ การรบด้วยวิธีรุก
ความมุ่ง หมายของการรบด้ว ยวิธ ีร ุก คือ เพื่อ ทำลายกำลัง และ
ความตัง้ ใจในการต่อสู้ของฝ่ ายข้าศึก เพื่อยึดภูมิประเทศ พิสูจน์ทราบกำลัง
และการวางกำลังของข้าศึก หรือเพื่อลวงหันเหความสนใจหรือตรึง กำลัง
ข้าศึก โดยปกติหมวดและหมู่ปืนเล็กจะปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุกเป็ นส่วน
หนึง่ ของหน่วยใหญ่ แต่ก็ส ามารถปฏิบ ัติก ารรบด้วยวิธีรุกในบางรูป แบบ
เป็ นอิสระได้ ผลสำเร็จจะอยู่ที่ผู้บังคับกองร้อยสามารถใช้อำ นาจกำลังรบ
อย่างเหมาะสม ณ จุดที่ต้องการผลแตกหัก
คุณลักษณะของการรบด้วยวิธีรุกประกอบด้วย ความอ่อนตัว การ
จู่โจม การรวมกำลัง ความเร็ว และความห้าวหาญ
การปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุก ประกอบด้วย การเคลื่อนที่เข้าปะทะ
การเข้าตี การตีโฉบฉวย การลาดตระเวน และระวังป้ องกัน และการซุ่ม
โจมตี
ก. การเคลื่อนที่เข้าปะทะ การเคลื่อนที่เข้าปะทะ เป็ นการปฏิบัติ
เชิงรุกเข้าหาข้าศึก โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้ปะทะข้าศึกหรือเพื่อ กลับ
เข้า ปะทะกับ ข้าศึก ใหม่ โดยปกติม ัก จะขาดข่า วสารข้า ศึก อย่า งละเอีย ด
ทันทีที่ปะทะข้าศึกหน่วยจะรีบคลี่คลายสถานการณ์ให้ทราบจุดแข็งและจุด
อ่อ นของข้าศึก โดยเร็ว ตามปกติห มวดปื นเล็ก จะเคลื่อ นที่เ ข้า ปะทะเป็ น
ส่วนหนึ่งของกองร้อย
ข้อ พิจ ารณาในการวางแผนและปฏิบ ัต ิก ารเคลื่อ นที่เ ข้า ปะทะ
ประกอบด้วย
- เริ่มปะทะข้าศึกด้วยกำลังส่วนน้อยที่สุดก่อน
- ปกปิ ดกำลังส่วนใหญ่ไม่ให้ถูกตรวจพบ จนกว่าจะใช้เข้าทำการ
รบ
- ระวังป้ องกันรอบตัวตลอดเวลา
- รายงานข่าวสารทัง้ สิน
้ ที่รวบรวมได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้อง
- เมื่อปะทะข้าศึกแล้ว ดำรงการปะทะไว้ตลอดเวลา
- ทำการรบให้สำเร็จด้วยกำลังในระดับต่ำที่สุดเท่าที่จะทำได้
ข. การแทรกซึม การแทรกซึม เป็ นรูป แบบหนึ่ง ของการดำเนิน
กลยุทธ์ในการรบด้วยวิธีรุก เป็ นวิธีการเคลื่อนที่เข้าถึงส่วนหลังของข้าศึก
โดยไม่ต ้องสู้ร บผ่านการตัง้ รับ ที่เ ข้ม แข็ง ของข้า ศึก หมวดปื นเล็ก ทำการ
แทรกซึม เพื่อ เคลื่อ นที่ไ ปยัง หรือ ผ่า นพื้น ที่ใ ดพื้น ที่ห นึ่ง โดยไม่ใ ห้ข ้า ศึก
ได้ยิน หรือตรวจการณ์พบ การแทรกซึม มิใช่ความมุ่งหมายของการปฏิบัติ
การรบด้วยวิธีรุก แต่เป็ นเพียงวิธีการให้บรรลุความมุ่งหมายเท่านัน

๑) หมวดปื นเล็กทำการแทรกซึมเพื่อ
- รวบรวมข่าวสาร
- เข้าตีที่มั่นข้าศึกจากด้านหลัง
- ตีโฉบฉวย หรือซุ่มโจมตี ในพื้นที่ส่วนหลังของข้าศึก
- จับข้าศึกเป็ นเชลย
- ยึดภูมิประเทศสำคัญเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติของหน่วยอื่น
- สนับสนุนการเข้าตีหลัก
๒) การแทรกซึม แบ่งเป็ น ๕ ขัน
้ ตอน
ก) การลาดตระเวน เพื่อ ค้น หาช่อ งว่า ง จุด อ่อ นในแนวตัง้ รับ
และที่ตงั ้ ข้าศึก
ข) การเตรีย มการ ประกอบด้ว ยวางแผน ออกคำ สั่ง
ประสานงานกับหน่วยด้านหน้า และทางปี ก และการซักซ้อม
ค) การแทรกซึม ใช้วิธีการแทรกซึมแบบใดแบบหนึ่ง หลีก
เลี่ยงการปะทะ และไม่ต้องสนใจต่อการยิงที่ไม่มีประสิทธิภาพของข้าศึก
วิธีการแทรกซึมมีอยู่ ๓ วิธี คือ
(๑) การแทรกซึมหลายช่องทาง ใช้เมื่อ มีช ่องทาง
แทรกซึมตามธรรมชาติอยู่แล้วหลายช่องทาง และลักษณะภูมิป ระเทศก็
เกื้อ กูล แก่ก ารเคลื่อ นที่ห ลายช่อ งทาง ตามวิธ ีน ห
ี ้ มู่ปื นเล็ก แต่ล ะหมู่ต ่า ง
เคลื่อนที่ในช่องทางของตนเอง
(๒) การแทรกซึมช่องทางเดียว –ครัง้ ละหมู่ปืนเล็ก
ใช้เ มื่อ มีช ่อ งทางแทรกซึม ตามธรรมชาติจำ กัด หรือ เมื่อ ภูม ิป ระเทศไม่
เกื้อ กูล ให้ใ ช้ช ่อ งทางแทรกซึม หลายช่อ งทาง ตามวิธ ีน ห
ี ้ มู่ปื นเล็ก จะ
เคลื่อนที่ในช่องทางเดียวกันแต่ต่างเวลากัน
(๓) การแทรกซึมช่องทางเดียว – ๑ หมู่ปืนเล็ก ใช้
เมื่อ มีช ่อ งทางแทรกซึม เพีย งช่อ งเดีย วเท่า นัน
้ ที่ห มู่ปื นเล็ก สามารถใช้
เคลื่อนที่ได้
ง) การเสริมความมั่นคง เป็ นการปฏิบัติในพื้นที่ส่วนหลังของ
ข้าศึก หรือบริเวณจุดบรรจบหน่วย หลังจากนัน
้ จึงเคลื่อนที่ไปยังฐานโจมตี
(assault position) หรือจุดนัดพบ ณ ที่หมายเพื่อปฏิบัติภารกิจต่อไป
จ) การปฏิบ ัต ิภารกิจ เป็ นการปฏิบ ัติภารกิจตามที่ไ ด้รับ
มอบ ซึ่ง อาจเป็ นภารกิจ ทำ ลายกำ ล ัง ห รือ ยุท โธปก รณ ์ข ้า ศ ึก ยึด
ภูมิประเทศสำคัญ หรือพื้นที่สำ คัญ จับข้าศึกเป็ นเชลย หรือเพื่อรวบรวม
ข่าวสาร
ค. แบบของการเข้า ตี การเข้า ตีเ ป็ นการปฏิบ ัต ิก ารรบด้วยวิธ ีร ุก
แบบหนึ่ง มีคณ
ุ ลักษณะที่สำคัญ คือ การเคลื่อนที่ที่มีการสนับสนุนด้วยการ
ยิง แบบของการเข้า ตีม ี ๒ แบบ คือ การเข้า ตีเ ร่ง ด่ว น และการเข้า ตี
ประณีต ข้อแตกต่างที่สำคัญอยู่ที่ปัจจัยเวลาที่มีอยู่สำ หรับการเตรียมการ
เข้า ตี นอกจากนีย
้ ัง มีก ารเข้า ตีอ ีก แบบหนึ่ง ซึ่ง แยกไว้เ ป็ นการเฉพาะคือ
การเข้า ตีท ี่ม ีค วามมุ่ง หมายพิเ ศษได้แ ก่ก ารตีโ ฉบฉวย และการซุ่ม โจมตี
ความสำ เร็จ ในการเข้า ตีอ ยู่ท ี่ก ารรวมอำ นาจกำ ลัง รบที่ข ่ม ขวัญ สูง สุด
และการปฏิบ ัติอย่างรุน แรงต่อ กำลัง ฝ่ ายศึก อำนาจข่มขวัญ และความ
รุนแรงของทหารราบได้มาจากการจู่โจมเป็ นสำคัญ โดยมีความมุ่งหมาย
เพื่อ ทำลายขวัญ ความประสานสอดคล้อ ง แผน ความเป็ นปึ กแผ่น และ
กำลังใจในการสู้รบของข้าศึก
ความสำ เร็จ ของการเข้า ตีอ ยู่ท ี่ก ารผสมผสานแผนการดำ เนิน
กลยุท ธ์เ ข้า กับ แผนการยิง สนับ สนุน ทัง้ การยิง เล็ง ตรงและเล็ง จำลองที่
สอดคล้องกัน การดำเนินกลยุทธ์และการยิงสนับสนุนของหมวดปื นเล็กใน
การเข้าตีนน
ั ้ จะมุ่งกระทำไปยังจุดอ่อน ปี กด้านที่ล่อแหลม หรือด้านหลัง
ของข้าศึก ทันทีที่ทราบตำบลที่จะเข้ากระทำการดังกล่าว ผู้บังคับหมวด
จะจัดตัง้ ฐานยิง (Base of fire) ทำการยิงเพื่อสังหาร ตรึง หรือกดข้าศึกไว้
ณ ตำบลนัน
้ แล้ว ใช้กำ ลัง ที่เ หลือ ดำเนิน กลยุท ธ์ไ ปยัง ด้า นที่ส ามารถเข้า
โจมตีต่อตำบลดังกล่าวนัน
้ ได้
๑) การเข้าตีเร่งด่วน การเข้าตีเร่งด่วนเป็ นการเข้าตีที่ดำ เนิน
การโดยกำลังที่มีอยู่ขณะนัน
้ เพื่อดำรงความหนุนเนื่อง หรือ เพื่อชิงความได้
เปรียบจากฝ่ ายข้าศึก โดยปกติไม่มีเวลาสำหรับเตรียมการอย่างละเอียด
๒) การเข้าตีป ระณีต การเข้า ตีป ระณีต เป็ นการเข้า ตีที่ม ีก าร
วางแผน และประสานงานอย่างละเอียด มีเวลาพอสำหรับการลาดตระเวน
อย่า งทั่ว ถึง การประเมิน ค่า ข่า วกรองที่ม ีอ ยู่แ ละอำนาจกำลัง รบเปรีย บ
เทีย บในเวลานัน
้ การวิเ คราะห์ห นทางปฏิบ ัต ิห ลาย ๆ หนทาง รวมทัง้
ปั จจัย อื่น ๆ ที่ม ีผ ลกระทบต่อ การเข้า ตี โดยทั่ว ไปแล้ว การเข้า ตี
ประณีตจะเป็ นการเข้าตีต่อที่มั่นข้าศึกที่มีการจัดระเบียบตัง้ รับอย่างดี ซึง่
ไม่สามารถทำการเข้าตีเร่งด่วนได้ หรือใช้เมื่อการเข้าตีเร่งด่วนล้มเหลว
๓) การตีโ ฉบฉวย การตีโ ฉบฉวยเป็ นการเข้า ตีเ จาะลึก เข้า ไป
พื้นที่ของข้าศึก เพื่อรวบรวมข่าวสาร ทำให้ข้าศึกสับสน หรือเพื่อทำลายที่
ตัง้ ข้าศึก เมื่อบรรลุความมุ่งหมายแล้วทำการถอนตัวกลับตามแผนที่วางไว้
๔) การซุ่ม โจมตี การซุ่ม โจมตีเ ป็ นการเข้า ตีด ้ว ยการยิง อย่า ง
จู่โจมจากที่วางตัว ซึ่งปกปิ ดกำบัง อาจกระทำต่อข้าศึกขณะเคลื่อนที่ หรือ
หยุดอยู่กับที่ก็ได้ การซุ่มโจมตีเป็ นการผสมผสานคุณลักษณะที่ได้เปรียบ
จากการรบด้วยวิธีรุก และวิธีรับร่วมกัน
ง. การใช้ความริเริ่มในการเข้าตี การที่จะช่วงชิง และรักษาไว้ซึ่ง
ความริเ ริ่ม นัน
้ มิใ ช่ก ระทำด้ว ยการจู่โ จมเพีย งอย่า งเดีย วเท่า นัน
้ แต่ต ้อ ง
วางแผนและเตรียมการสำหรับปฏิบ ัต ิก ารรบเป็ นอย่า งดีด ้วย และต้อ งมี
การปฏิบัติต่าง ๆ ดังนี ้ คือ ค้นหาข้าศึกให้พบก่อนเป็ นลำดับแรก หลีกเลี่ยง
การตรวจพบจากฝ่ ายข้าศึก ตรึงข้าศึก ค้นหา หรือสร้างจุดอ่อนข้าศึกและ
ดำเนินกลยุทธ์ เพื่อขยายผลต่อจุดอ่อนนัน
้ ด้วยการเข้าโจมตีอย่างรวดเร็ว
และรุนแรง
๑) การวางแผนและการเตรียมการ ผู้บังคับหมวดใช้ระเบียบ
การนำหน่วยเพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการดำเนินการในขัน
้ ตอนที่สำคัญ สำหรับ
เตรีย มการรบครบถ้วนทุก ขัน
้ ตอน นอกจากนัน
้ ยัง ใช้ห ัว ข้อ การประเมิน
สถานการณ์ เพื่อ วิเ คราะห์ปั จจัย METT-T และเพื่อ พิจารณาหาหนทาง
ปฏิบัติที่ดีที่ส ุด รวมทัง้ เพื่อให้มั่นใจได้ว ่าผู้บังคับหน่วยทุกระดับทหารทุก
คน รวมทัง้ ยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ สามารถปฏิบัติกิจเฉพาะต่าง ๆ ที่จำเป็ นต่อ
การบรรลุภารกิจเป็ นส่วนรวมได้เป็ นอย่างดี
๒) ค้นหาข้าศึก ผู้บังคับหมวดสามารถค้นหาข้าศึกได้โดยรู้หลัก
นิยมของข้าศึก วิเคราะห์ภูมิประเทศตามที่ร้ห
ู ลักนิยมข้าศึก และหลังจาก
นัน
้ ลาดตระเวนค้นหาให้พบข้าศึก
๓) หลีกเลี่ยงการถูกตรวจพบ หมวดปื นเล็ก หลีกเลี่ยงการถูก
ตรวจพบโดยเคลื่อนที่ตามแนวทางที่ข้าศึกไม่คาดคิด ซึง่ โดยธรรมดาย่อม
เป็ นแนวทางที่ยากลำบาก เพื่อใช้ลก
ั ษณะภูมิประเทศปิ ดบังการเคลื่อนที่
ใช้เ ทคนิค การพรางอย่า งเหมาะสม และใช้วิธ ีก ารเคลื่อ นที่แ บบลัก ลอบ
เมื่อสามารถหลีกเลี่ยงการถูกตรวจพบได้ย่อมทำให้หมวดปื นเล็กเป็ นฝ่ าย
จู่โจมได้ตลอดเวลา แต่ความสำเร็จเหล่านีข
้ น
ึ ้ อยู่กับจินตนาการ และความ
คิดที่ละเอียดอ่อน กว้างไกล ของผู้บงั คับหมวด และความเข็งแกร่ง ทรหด
อดทนของทหารทุกคน
๔) ตรึงข้าศึก หมวด และหมู่ปืนเล็กตรึงกำลังข้าศึกโดยการยิง
กด เพื่อสังหารข้าศึกส่วนที่อยู่นอกการกำบัง และทำลายระบบอาวุธต่าง ๆ
อย่างน้อยที่สุดต้องทำให้ลดความหนาแน่นและความแม่นยำในการยิงของ
ข้าศึกได้
๕) ค้นหาหรือสร้างจุดอ่อน ทำได้ด้วยการค้นหาช่องว่างภายใน
แนวปี กด้านที่ล่อแหลม หรือตำบลอับกระสุนจากการยิงของข้าศึก หากไม่
สามารถค้นหาจุดอ่อนได้จะต้องทำให้เกิดจุดอ่อนขึน
้ เช่นใช้การยิงกด หรือ
การจู่โจมด้วยการปรากฏตัวจากทิศทางข้าศึกไม่คาดคิด
๖) ดำเนินกลยุทธ์เพื่อขยายผลจุดอ่อน ทำได้ด้วยการเคลื่อนที่
ไปยัง ตำบลซึ่ง ให้ก ารกำบัง และซ่อ นพรางดีท ี่ส ุด และจากตำบลนัน
้ เข้า
โจมตี เพื่อทำลายเอาชนะหรือจับเป็ นเชลย
๗) เสริมความมั่นคงและจัดระเบียบใหม่ หมวดและหมู่ปืนเล็ก
ต้อ งรีบเสริมความมั่น คงในพื้น ที่ที่วางกำลัง อยู่ เพื่อ ป้ องกัน การตีโ ต้ต อบ
ของข้าศึก หลังจากนัน
้ ทำการจัดระเบียบใหม่เพื่อเตรียมปฏิบัติภารกิจต่อ
ไป
จ. มาตรการควบคุม ผู้บังคับหมวดใช้ภาพสัญลักษณ์ทางทหาร
เป็ นมาตรการควบคุมสำหรับการเคลื่อนย้าย การวางกำลัง และการยิง
ของหมวด
๑) มาตรการควบคุม ไม่ได้มีไว้เพื่อจำกัดเสรีในการปฏิบัติ ผ ู้
บังคับหมวดกำหนดมาตรการควบคุม เพื่อแสดงเจตนารมณ์เ น้น น้ำหนัก
ความพยายามของหมวดหรือ หมู่ และเพื่อ ให้ม ั่น ใจในความประสาน
สอดคล้อง มาตรการควบคุมแต่ละชนิดควรมีความมุ่งหมายเฉพาะเพื่อการ
บรรลุภารกิจ เป็ นสำคัญ หากยัง ไม่ม ีค วามมุ่ง หมายดัง กล่า วผู้บ ัง คับ
หมวดยังไม่ควรนำมาใช้
๒) มาตรการควบคุม สามารถกำหนดบนแผนที่ แผ่น บริว าร
ยุท ธการ ภาพสัง เขปยุท ธการหรือ ภูม ิป ระเทศจำ ลองก็ไ ด้ แต่ต ้อ ง
พยายามใช้หลักความง่ายในการกำหนดและการตีความ มาตรการควบคุม
ในการรบด้วยวิธีรุก ประกอบด้วย ที่รวมพล ฐานออกตี เส้นแบ่งเขต เส้น
ทางเคลื่อนที่ จุดแยก จุดเริ่มต้น เส้นหลักการรุก ทิศทางเข้าตี แนวขัน
้ จุด
ตรวจสอบ ฐานโจมตีที่หมาย จุดประสานงาน จุดนัดพบ ช่องทางแทรกซึม
แนวปรับรูปขบวน และแนวจำกัดการรุก รายละเอียดและตัวอย่างการใช้
มาตรการควบคุม ศึกษาได้จาก รส. ๑๐๑-๕-๑
ฉ.การเข้า ตีร ะหว่า งทัศ นวิส ัย จำกัด การเข้า ตีร ะหว่า งทัศ นวิส ัย
จำกัดทำให้ได้มาซึ่งการจู่โจม หลีกเลี่ยงการสูญเสียอย่างหนัก สร้างความ
ตื่นตระหนกแก่ข้าศึกส่วนที่อ่อนแอและขาดระเบียบ ขยายผลแห่งความ
สำเร็จ ดำรงความหนุนเนื่อง และสร้างความกดดันต่อกำลังข้าศึก หมวด
และหมู่ปืนเล็กเข้าตีเวลาใดก็ได้ในระหว่างทัศนวิสัยจำกัด ความมืด หมอก
ฝนตกหนักหรือหิมะตก รวมทัง้ ควันและฝุ ่นในสนามรบช่วยทำให้เกิดสภาพ
ทัศนวิสัยจำกัด ซึ่งอำนวยให้หมวดและหมู่ปืนเล็กเคลื่อนที่โดยไม่ถูกตรวจ
พบจากฝ่ ายข้าศึกได้
๑) หลักพื้น ฐานการเข้า ตีระหว่า งทัศ นวิส ัย จำกัด ประยุก ต์ใ ช้
หลักการเข้าตีในเวลากลางวันและต้องอาศัยปั จจัยต่าง ๆ ดังนี ้
- หมู่ปืนเล็กต้องได้รับการฝึ กเป็ นอย่างดี
- มีแ สงตามธรรมชาติเ พีย งพอต่อ การใช้เ ครื่อ งมือ
ตรวจการณ์เวลากลางคืน
- แผนการปฏิบ ัต ิม ีค วามง่า ยและมีม าตรการควบคุม ที่
เหมาะสม
- มีการลาดตระเวนอย่างละเอียด และได้ผลบริเวณที่หมาย
เส้นทาง จุดผ่านแนว ที่ตงั ้ ของส่วนสนับสนุนการเข้าตีด้วยการยิง และที่
ตัง้ ที่สำคัญอื่น ๆ
๒) ข้อพิจารณา ผู้บังคับหมวดต้องพิจารณาถึงความยุ่งยากที่เพิ่ม
มากขึน
้ อันเนื่องมาจากสภาพทัศนวิสัยจำกัด ที่จะมีผลต่อการปฏิบัติต่าง ๆ
ดังนี ้
- การควบคุมการเคลื่อนที่ทงั ้ เป็ นบุคคล และเป็ นหน่วย
- การพิสูจน์ทราบเป้ าหมาย และการควบคุมการยิงทัง้ ยิง
เล็งตรงและเล็งจำลอง
- การรักษาทิศทางในการเคลื่อนที่ให้ถูกเป้ าหมาย
- การพิสูจน์ทราบกำลังฝ่ ายเราและฝ่ ายตรงข้าม
- การจัดตัง้ ตำบลรวบรวม การรักษาพยาบาล และการส่ง
กลับผู้บาดเจ็บ
- การค้นหาที่ตงั ้ การอ้อมผ่าน หรือการเจาะเครื่องกีดขวางข้าศึก
ระเบียบการนำหน่วยคือ กรรมวิธีที่ผู้บังคับหน่วยใช้ในการเตรียม
หน่วยเพื่อปฏิบัติให้บรรลุภารกิจทางยุทธวิธี เริ่มต้นเมื่อได้รับการแจ้งเตือน
ให้เ ตรียมปฏิบ ัติภ ารกิจ และเริ่มต้น ใหม่อ ีก ครัง้ เมื่อ ได้รับ คำสั่ง ให้ป ฏิบ ัต ิ
ภารกิจ ใหม่ ระเบีย บการนำหน่ว ยประกอบด้ว ยขัน
้ ตอนต่า ง ๆ ดัง ที่จ ะ
กล่าวต่อไปนี ้ ซึง่ ตัง้ แต่ขน
ั ้ ตอนที่ ๓ ถึง ๘ อาจไม่จำเป็ นต้องเรียงลำดับตาม
นัน
้ โดยเคร่งครัดก็ได้ หลาย ๆ ขัน
้ ตอนอาจปฏิบัติไปพร้อม ๆ กันก็ได้ ใน
ระหว่างการรบ เป็ นไปได้ยากที่ผู้บังคับหน่วยจะสามารถปฏิบัติในแต่ละขัน

ตอนได้อย่างละเอียด แต่ต้องใช้ระเบียบการนำหน่วยเป็ นแนวทาง แม้จะ
ปฏิบัติได้แต่เพียงอย่างย่นย่อก็ตาม ทัง้ นีก
้ ็เพื่อให้มั่นใจได้ว่าในการวางแผน
และเตรีย มการนัน
้ ๆ ผู้บ ัง คับ หน่ว ยมิไ ด้ล ะเลยสิ่ง หนึ่ง สิ่ง ใดที่จำ เป็ นไป
และเพื่อให้ทหารเป็ นรายบุคคลมีความเข้าใจภารกิจของหมู่และหมวดและ
ได้มีก ารเตรียมการอย่างเหมาะสมเพียงพอ ในระหว่างเตรียมการหน่วย
ต่าง ๆ ต้องมีการปรับแก้การประมาณสถานการณ์ของตนให้ทันสมัยต่อ
สถานการณ์อยู่เสมอและต้องปรับปรุงแผนตามให้ทันความเปลี่ยนแปลง

ขัน
้ ตอนระเบียบการนำหน่วยมี ๘ ขัน
้ ดังนี ้
ขัน
้ ที่ ๑ รับภารกิจ
ขัน
้ ที่ ๒ ออกคำสัง่ เตือน
ขัน
้ ที่ ๓ จัดทำแผนขัน
้ ต้น (make a tentative plan)
ขัน
้ ที่ ๔ เริ่มการเคลื่อนย้ายที่จำเป็ น
ขัน
้ ที่ ๕ ลาดตระเวนตรวจภูมิประเทศ
ขัน
้ ที่ ๖ ทำแผนสมบูรณ์
ขัน
้ ที่ ๗ ออกคำสัง่
ขัน
้ ที่ ๘ กำกับดูแล
ก. ขัน
้ ที่ ๑ รับภารกิจ อาจได้รับในรูปของคำสั่งเตือน คำสั่ง
ยุทธการ หรือคำสั่งเป็ นส่วน ๆ ทันทีที่ได้รับคำสั่ง ต้องเริ่มวิเคราะห์ภารกิจ
โดยใช้ปัจจัยมูลฐาน (METT – T) ดังนี ้
- ภารกิจ ให้ทำอะไร
- ทราบอะไรบ้างเกี่ยวกับข้าศึก
- ลักษณะภูมิประเทศและลมฟ้ าอากาศมีผลกระทบต่อ
การปฏิบัติอย่างไร
- กำลังที่มีอยู่ มีอะไรบ้าง
- มีเวลาอยู่เท่าใด
๑) ผู้บังคับหน่วยไม่ควรใช้เ วลาเกินกว่าหนึ่งในสามของ
เวลาที่ม ีอ ยู่สำ หรับ การวางแผนในส่ว นของตนเองและในการออกคำสั่ง
ยุท ธการ ส่ว นที่เ หลือ อีก สองในสามเป็ นเวลาสำ หรับ หน่ว ยรองในการ
วางแผนและเตรียมการปฏิบัติ การวางแผนใช้เวลาที่มีอยู่ ควรพิจารณา
ปั จจัยอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่นห้วงเวลาที่มีแสงสว่างและเวลาที่ต้องใช้ในการ
เดินทางไปและกลับจากการรับคำสัง่ หรือการซักซ้อม เป็ นต้น ในการเข้าตี
ต้องคิดหนึง่ ในสามของห้วงเวลาตัง้ แต่รับภารกิจจนถึงเวลาผ่านแนวออกตี
ในส่วนการตัง้ รับคิดหนึ่งในสามของห้วงเวลาตัง้ แต่รับภารกิจจนถึงเวลาที่
จะให้หมวดและหมู่ปืนเล็กพร้อมต้านทานข้าศึก
๒) การวางแผนใช้เ วลาสำหรับดำเนิน การเรื่อ งต่าง ๆ ใน
การเตรียมการนัน
้ ควรวางแผนย้อนหลัง โดยเริ่มตัง้ แต่เวลาผ่านแนวออกตี
หรือเวลาพร้อมต้านทานและต้องจัดเวลาให้เพียงพอสำหรับดำเนินการใน
แต่ละเรื่องได้ทัน
ข. ขัน
้ ที่ ๒ การออกคำสั่งเตือน ในคำสั่งเตือนจะต้องมีข้อมูล
ข่าวสารเพียงพอสำหรับเริ่มต้นเตรียมการได้ทันที และมีคำแนะนำทีจำ
่ เป็ น
ขัน
้ ต้นให้กับหน่วยรองด้วย ใน รปจ.ของหมวดปื นเล็กกำหนดตัวบุคคลไว้
เลยว่า ใครบ้างที่ต้องรับคำสัง่ เตือน และหลังรับคำสั่งเตือนแล้วต้องปฏิบัติ
อย่า งไรบ้า ง ตัว อย่า งเช่น การเบิก กระสุน เสบีย งแห้ง และน้ำ และการ
ตรวจสอบเครื่องมือสื่อสารต่างๆ เป็ นต้น คำสัง่ เตือนไม่มีแบบฟอร์มตายตัว
บางกรณีอาจใช้หัวข้อตามแบบฟอร์มของคำสัง่ ยุทธการก็ได้แต่ต้องมีข้อมูล
ข่าวสารมากที่ส ุดเท่าที่มีอยู่ข ณะนัน
้ และแก้ไขเพิ่มเติมได้ตามความ
จำ เป็ นโดยไม่ต ้อ งคอยข้อ มูล ข่า วสารให้ค รบตามหัว ข้อ แบบฟอร์ม
ตัวอย่างของคำสั่งเตือนตามรูปที่ ๒ - ๑ หากทำได้ ข้อมูลข่าวสารในคำสัง่
เตือนควรมีดังนี ้
- ภารกิจหรือลักษณะของการปฏิบัติ
- ส่วนที่ต้องเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
- เวลาที่จะปฏิบัติการ
- เวลาและสถานที่ที่จะออกคำสั่งยุทธการ
ค. ขัน
้ ที่ ๓ จัดทำแผนขัน
้ ต้นโดยใช้ประมาณสถานการณ์เป็ น
หลัก ในการจัดทำการประมาณสถานการณ์เป็ นกรรมวิธีในการแสวงข้อ
ตกลงใจทางทหารมีข น
ั ้ ตอนปฏิบ ัต ิอ ยู่ ๕ ขัน
้ ตอน คือ การวิเ คราะห์
ภารกิจ การวิเคราะห์สถานการณ์และพัฒนาหนทางปฏิบัติ การวิเคราะห์
หนทางปฏิบัติ การเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ และการตกใจ แผนขัน

ต้นหรือผลของการประมาณสถานการณ์ คือ ข้อตกลงใจที่ได้นั่นเอง การ
ประมาณสถานการณ์ต้องทำอย่างต่อเนื่อง และปรับแก้แผนขัน
้ ต้นตามไป
ด้วยตลอดเวลา แผนขัน
้ ต้น คือจุดเริ่มต้นสำหรับการประสานงาน การลาด
ตระเวน การจัดเฉพาะกิจ (ถ้าจำเป็ น) และการให้คำแนะนำในการเคลื่อน
ย้า ย ผู้บ ัง คับ หน่ว ยจะดำเนิน การตามขัน
้ ตอนการประมาณสถานการณ์
หรือขัน
้ ตอนการแก้ปัญหานีอ
้ ย่างละเอียดที่สุดเท่าที่เวลาจะอำนวย และใน
การดำเนินการดังกล่าวต้องใช้ปัจจัยมูลฐาน (METT – T) คือ
๑) ภารกิจ พิจารณาภารกิจที่ไ ด้รับ มอบ วิเคราะห์ภารกิจ
ตามเจตนารมณ์ข องผู้บ ังคับ บัญ ชาเหนือ ขึน
้ ไป ๒ ระดับ และกำหนดกิจ
สำคัญยิ่ง (essential task) ที่หน่วยต้องปฏิบัติเพื่อการบรรลุภารกิจ
๒) ข้าศึก พิจ ารณา ประเภท ขนาด การจัด ยุท ธวิธ ี และ
ยุท โธปกรณ์ ของข้า ศึก ที่ค าดว่า จะเผชิญ หน้า รวมทัง้ พิส ูจ น์ท ราบภัย
คุกคามที่รุนแรงที่สุดต่อภารกิจของฝ่ ายเรา และจุดอ่อนที่สำ คัญที่สุดของ
ฝ่ ายข้าศึก
๓) ภูมิประเทศ พิจารณาผลกระทบของลักษณะภูมิประเทศ
และลมฟ้ าอากาศต่อกำลังฝ่ ายเราและฝ่ ายข้าศึก ตามข้อพิจารณาลักษณะ
ภูมิประเทศทางทหาร (OCOKA) ดังนี ้
ก) การตรวจการณ์และพื้นการยิงพิจารณาที่ตงั ้ บนพื้นดิน
ซึ่งสามารถตรวจการณ์ฝ่ายข้าศึกได้ทั่วทัง้ พื้นที่ปฏิบัติการ สำหรับพื้นการ
ยิงนัน
้ พิจารณาตามคุณลักษณะของอาวุธแต่ละชนิดที่มีอยู่ ตัวอย่างเช่น
ระยะยิง หวัง ผลสูง สุด ระยะการยิง กวาด และระบบยิง /เวลาแล่น ของ
อาวุธต่อสู้รถถังชนิดต่าง ๆ เป็ นต้น
ข) การกำ บัง และการซ่อ นพราง พิจ ารณาลัก ษณะ
ภูมิประเทศที่ให้การป้ องกันการยิงจากอาวุธยิงเล็งตรงและเล็งจำลอง (การ
กำบัง) และให้การป้ องกันการตรวจการณ์ของข้าศึกทัง้ จากพื้นดินและทาง
อากาศ (การซ่อนพราง)
ค) เครื่องกีดขวาง ในการเข้าตีจะต้องพิจารณาผลกระ
ทบของภูมิประเทศบังคับที่จะขัดขวางการดำเนินกลยุทธ์ฝ่ายเรา ในการตัง้
รับ พิจ ารณาผสมผสานเครื่อ งกีด ขวางที่ม ีอ ยู่เ ข้า กับ ลัก ษณะภูม ิป ระเทศ
เพื่อ ขัดขวาง หันเห ตรึง หรือสกัดกัน
้ กำลังฝ่ ายข้า ศึก และเพื่อป้ องกัน
กำลังฝ่ ายเราจากการจู่โจมของข้าศึก
ง) ภูมิประเทศสำคัญ หมายถึงตำบลหรือพื้นที่ใด ซึ่ง
หากฝ่ ายใดยึดหรือครอบครองเอาไว้ได้จะเกิดความได้เปรียบอย่างเห็นได้
ชัด ในการเลือกที่ต งั ้ ที่สำ คัญ เช่น ที่ห มาย ที่ตงั ้ ส่ว นสนับ สนุน การเข้า ตี
เส้น ทางเข้าตี ที่มั่น ตัง้ รับ ฯลฯ เหล่านีจ
้ ะพิจารณาใช้ภ ูมิป ระเทศสำคัญ
เป็ นหลัก
จ) แนวทางเคลื่อนที่ หมายถึงเส้นทางบนพื้นดินหรือใน
อากาศสำหรับ หน่ว ยที่เ ข้า ตีข นาดใดขนาดหนึ่ง ทิศ ทางมุ่ง ไปยัง ที่ห มาย
หรือผ่านไปตามแนวภูมิประเทศสำคัญ ในการเข้าตี แนวทางเคลื่อนที่ที่ดี
คือ แนวทางที่ให้การระวังป้ องกันสูงสุดและมุ่งไปสู่บริเวณที่เป็ นจุดอ่อนข
องข้า ศึก ในการตัง้ รับ ต้อ งวางอาวุธยิง ไว้ต ามแนวทางเคลื่อ นที่ที่ค าดว่า
ข้าศึกน่าจะใช้มากที่สุด
ฉ) ลมฟ้ าอากาศ พิจารณาผลกระทบที่มีต ่อ ทัศ นวิส ัย
และความสามารถในการจราจร
๔) กำลังที่มีอยู่ พิจารณาสถานภาพกำลังพลของหน่วยรอง
คุณลักษณะขีดความสามารถของระบบอาวุธ และขีดความสามารถของ
หน่วยที่มาขึน
้ สมทบก่อนที่จะมอบกิจเฉพาะแก่หน่วยรอง
๕) เวลาที่มีอยู่ วางแผนการใช้เวลาโดยยึดถือแผนขัน
้ ต้นเป็ น
หลัก และปรับแก้ตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
ง. ขัน
้ ที่ ๔ เริ่มต้นการเคลื่อนย้ายที่จำ เป็ น หมวดปื นเล็กอาจ
จำเป็ นต้องเริ่มเคลื่อนย้ายในขณะที่ผ ู้บังคับหมวดยังคงกำลังวางแผนหรือ
กำลังลาดตระเวนตรวจภูมิป ระเทศอยู่ข ้า งหน้า รองผู้บงั คับหมวดหรือ ผู้
บัง คับ หมู่ปื นเล็ก อาจเป็ นผู้ค วบคุม การเคลื่อ นย้า ยหมวดขึน
้ ไปข้า งหน้า
ในระดับกองร้อยปกติจะอยู่ในความควบคุมของรองผู้บังคับกองร้อยหรือ
จ่ากองร้อย การปฏิบัติในขัน
้ ตอนนีอ
้ าจเกิดขึน
้ ก่อนหรือหลังขัน
้ ตอนใดก็ได้
ในระหว่างดำเนินการตามระเบียบการนำหน่วย
จ. ขัน
้ ที่ ๕ การลาดตระเวนตรวจภูมิประเทศหากมีเวลาพอ ผ ู้
บัง คับ หมวดต้อ งตรวจภูม ิป ระเทศด้ว ยตนเองเพื่อ ตรวจสอบผลการ
วิเ คราะห์ภ ูม ิป ระเทศ ปรับ ปรุง แผน ยืน ยัน สภาพเส้น ทางที่ใ ช้ไ ด้ และ
กำหนดเวลาสำหรับการเคลื่อนย้ายที่สำคัญ (critical movements)
แต่หากมีเวลาจำกัด ต้องตรวจภูมิประเทศจากแผนที่ การตรวจ
ภูม ิป ระเทศในพื้น ที่ท ี่เ ลยออกไปจากหน้า แนวทหารฝ่ ายเดีย วกัน ต้อ ง
พิจารณาระมัดระวัง ความเสี่ยงจากการตรวจการณ์ หรือปะทะกับข้าศึก
ด้วย ในบางโอกาสอาจจำเป็ นต้องอาศัยผลการลาดตระเวนของหน่วยอื่น
(เช่น หมวดลาดตระเวน เป็ นต้น) หากมีความเสี่ยงสูงที่จะปะทะข้าศึก
ฉ. ขัน
้ ที่ ๖ ทำแผนสมบูรณ์ โดยใช้ผลจากการลาดตระเวนตรวจ
ภูมิประเทศ และการปรับปรุงแผนตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป มีการ
ทบทวนภารกิจที่ได้รับมอบจากผู้บังคับหน่วยเหนือ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าแผน
ของหน่วยสอดคล้องกับภารกิจของหน่วยเหนือและอยู่ในกรอบเจตนารมณ์
ของผู้บังคับบัญชา
ช. ขัน
้ ที่ ๗ ออกคำ สัง่ ที่ส มบูร ณ์ (Issue the Complete
Order) โดยปกติแล้วในระดับหมวดและหมู่ปืนเล็ก จะออกคำสัง่ ยุทธการ
ด้วยวาจา
๑) เพื่อให้หน่วยรองเข้าใจแนวความคิดในการปฏิบัติภารกิจ
อย่างชัดเจน ควรออกคำสัง่ ณ บริเวณที่สามารถมองเห็นที่หมาย หรือ ณ
พื้นที่แนวตัง้ รับ หากไม่สามารถทำได้ควรใช้ภ ูมิประเทศจำลอง หรือภาพ
สังเขปช่วยในการออกคำสั่ง
๒) ต้องมั่นใจว่าผู้บังคับหน่วยรองเข้าใจภารกิจ เจตนารมณ์
ของผู้บงั คับบัญชา แนวความคิดในการปฏิบัติ และกิจที่ได้รับมอบ (assign
tasks) อาจใช้วิธีการให้ผู้บังคับหน่วยรองบรรยายสรุปกลับคำสัง่ ยุทธการ
ในส่วนที่ตนเองเกี่ยวข้องทัง้ หมด หรือให้ชแ
ี ้ จงการปฏิบัติของหน่วยตนบน
ภูมิประเทศจำลอง หรือภาพสังเขปตามที่เข้าใจ และควรมีการสุ่มสอบถาม
ทหารเป็ นบุคคล เพื่อตรวจสอบให้มั่นใจว่าทหารทุกคนเข้าใจภารกิจในบท
ที่ ๕ จะแสดงตัวอย่างคำถามสำหรับทหารเป็ นบุคคลเพื่อตรวจสอบความ
เข้าใจในภารกิจ
ซ. ขัน
้ ที่ ๘ กำกับดูแล ทำได้โดยการซักซ้อม และการตรวจ
๑) การซักซ้อมทำเพื่อ
- ฝึ กปฏิบัติกิจสำคัญยิ่ง และปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติ
จนมั่นใจ
- ทำให้ทราบจุดอ่อนหรือปั ญหาที่มี
- ประสานการปฏิบัติระหว่างส่วนต่าง ๆ
- ทำให้ทหารเข้าใจแนวความคิดในการปฏิบัติมากขึน

(ทำให้เกิดความเชื่อมั่นสูงขึน
้ )
ก) ในการซักซ้อม ควรให้ผู้บังคับหมู่แต่ละหมู่บรรยาย
สรุปแผนการปฏิบัติของหมู่ตามขัน
้ ตอนให้ผู้บังคับหมวดฟั งด้วย
ข) ในการซักซ้อม ควรกระทำ ณ บริเวณภูมิประเทศที่
คล้ายคลึงกับพื้นที่ที่จะปฏิบัติจริง และในเวลาหรือทัศนวิสัยใกล้เคียงกับ
การปฏิบัติจริง
ค) หมวดปื นเล็กอาจเริ่มซักซ้อมได้ก ่อนที่จะรับคำสั่ง
ยุทธการโดยอาศัยการฝึ กตามแบบฝึ กทำการรบ และ รปจ. เป็ นหลัก และ
เมื่อ ได้รับ คำสั่ง ยุทธการแล้ว จึง ซักซ้อ มการปฏิบ ัต ิต ามกิจ เฉพาะที่ไ ด้รับ
มอบอีกครัง้
ง) กิจต่าง ๆ ที่ควรซักซ้อมการปฏิบัติได้แก่
- การปฏิบัติ ณ ที่หมาย
- การเข้าโจมตี กวาดล้างคูติดต่อ บังเกอร์ หรือสิง่
ปลูกสร้าง
- การปฏิบัติ ณ ฐานโจมตี
- การเจาะผ่านเครื่องกีดขวาง (ลวดหนาม สนาม
ทุ่นระเบิด)
- การใช้อาวุธพิเศษหรือเครื่องมือระเบิดทำลาย
- การปฏิบัติฉับพลัน เมื่อปะทะข้าศึกโดยไม่คาด
คิด
๒) การตรวจ ผู้บ ังคับ หมู่ปื นเล็ก ควรทำการตรวจขัน
้ ต้น
ทันที หลังจากได้รับ คำสัง่ เตือน รองผู้บังคับหมวดทำการตรวจเป็ นจุด ๆ
(spot check) การเตรีย มการของทัง้ หมด ทัง้ ผู้บ ัง คับ หมวดและรองผู้
บังคับหมวด ต้องทำการตรวจขัน
้ สุดท้ายในเรื่องต่าง ๆ ดังนี ้
- อาวุธและกระสุน
- เครื่องแต่งกายและเครื่องมือเครื่องใช้
- เครื่องมือที่จำเป็ นสำหรับปฏิบัติกิจสำคัญยิ่ง
- ความเข้าใจของทหารในภารกิจและความรับผิด
ชอบของตนเอง
- การติดต่อสื่อสาร
- เสบียงแห้งและน้ำ
- การพราง
- ข้อบกพร่องจากการตรวจคราวก่อน
การรบด้วยวิธีรุก
เนื้อหาในตอนนีจ
้ ะกล่า วถึง เทคนิค และขัน
้ ตอนการปฏิบ ัต ิใ น
ภารกิจการรบด้วยวิธีรุก ซึ่งจะประกอบด้วย การเคลื่อนที่เข้าปะทะ การ
เข้าตีประณีต การเสริมความมั่นคงและจัดระเบียบใหม่ ณ ที่หมาย
๒ - ๑๒ การเคลื่อนที่เข้าปะทะ
เทคนิค ในการเคลื่อ นที่เ ข้า ปะทะของทหารราบมี ๒ แบบ คือ
แบบค้นหาและโจมตี (Search and Attack) และเคลื่อนรูปขบวนเข้าหา
ข้าศึก (Approach March ) ผู้บังคับหมวดจะเลือกใช้เทคนิคแบบใดขึน

อยู่กับสถานการณ์ข้าศึก เทคนิคค้นหาและโจมตีใช้เมื่อข้าศึกกระจายกำลัง
หลีกเลี่ยงการปะทะ ผละจากการรบหรือถอนตัวเร็ว หรือเพื่อขัดขวางไม่
ให้ข้าศึกเคลื่อนไหวในพื้นที่ ส่วนเทคนิคการเคลื่อนรูปขบวนเข้าหาข้าศึก
ใช้เมื่อข้าศึกตัง้ รับอยู่กับที่หรืออยู่ในรูปขบวนเชิงรับ
ก. เทคนิคแบบค้นหาและโจมตี เป็ นการใช้หน่วยระดับและหมู่
ชุดยิงหลาย ๆ หน่วยแยกปฏิบัติการโดยมีการประสานกัน เพื่อให้ได้มาซึ่ง
การปะทะกับ ข้า ศึก หมวดปื นเล็ก มุ่ง ค้น หาข้า ศึก ให้พ บ หลัง จากนัน

ทำการตรึงกำลังแล้วเข้าทำลายกำลังข้าศึกต่อไป วิธีปฏิบัติคือใช้เทคนิค
การลาดตระเวนให้เหมาะสม เพื่อการปรับรูปขบวนเข้าตีเร่งด่วนหรือเข้าตี
ประณีตต่อไปทำได้ง่ายทันทีที่พบข้าศึก
ข้อพิจารณาในการวางแผนประกอบด้วย
- ปั จจัย METT – T
- ความต้องการกระจายการปฏิบัติ โดยผู้บังคับหมวดเป็ นผู้
ประสานการปฏิบัติของหมู่ต่าง ๆ
- ความจำเป็ นในการสนับสนุนซึ่งกันและกัน (ผู้บังคับหมวด
ต้องสามารถตอบโต้การปะทะได้ทันที โดยใช้หมู่อ่ น
ื ที่ไม่ได้ปะทะข้าศึก)
- ระยะเวลาปฏิบัติการ (อาจจำเป็ นต้องระบุการปฏิบัติที่ต่อ
เนื่องไว้ในแผนด้วย)
- แผนการบรรทุก ของทหารเป็ นบุค คลต้อ งเหมาะสม
เนื่องจากการค้นหาและโจมตีเป็ นการเคลื่อนที่แบบลักลอบ
- การส่งกำลังเพิ่มเติม และการส่งกลับสายแพทย์
- การจัด ตำแหน่ง ที่อ ยู่ข องผู้บ ัง คับ หน่ว ย และกำลัง พลที่
สำคัญ
- การใช้อาวุธหลักที่สำคัญ
- การใช้ฐานปฏิบัติการลาดตระเวน
- แนวความคิดในการเคลื่อนที่เข้าสู่พ้น
ื ที่ปฏิบัติการ
- แนวความคิดในการกลับเข้ารวมกำลัง (ผู้บังคับหน่วยทุก
คนต้องรู้วิธีปฏิบัติในการกลับเข้ารวมกำลังกันทันทีที่เกิดการปะทะข้าศึก)
ข. เทคนิคแบบเคลื่อนรูปขบวนเข้าหาข้าศึก แนวความคิดใน
การปฏิบัติสำ หรับการใช้เทคนิคนีค
้ ือ เข้าปะทะข้าศึกด้วยกำลังส่วนน้อย
ที่สุด ผู้บังคับหน่วยมีความอ่อนตัวที่จะดำเนินกลยุทธ์หรืออ้อมผ่านกำลัง
ข้าศึก ในกรณีที่หมวดเคลื่อนที่เป็ นส่วนหนึ่งของรูปขบวนของหน่วยใหญ่
อาจได้รับมอบภารกิจให้เป็ นกองระวังหน้า กองกระหนาบ หรือกองระวัง
หลังก็ได้ หรืออาจเป็ นส่วนหนึ่งของกำลังส่วนใหญ่ในการเคลื่อนที่และได้
รับมอบภารกิจอย่างใดอย่างหนึ่งในอนาคต
(เมื่อสั่ง) ก็ได้
๑) กองระวังหน้า ภารกิจของหมวดปื นเล็ก ในฐานะกอง
ระวังหน้า คือ ค้นหาข้าศึกและค้นหาช่องว่าง ปี กและจุดอ่อนในการตัง้ รับ
ของข้าศึก กองระวังหน้ามุ่งเข้าปะทะข้าศึกทางพื้นดิน ณ ตำบลที่เลือกไว้
ก่อน เพื่อให้ได้การจู่โจม และคลี่คลายสถานการณ์ (อาจทำด้วยการเข้า
ทำการรบเอง หรือสนับสนุนการเข้าตีของกำลังบางส่วนหรือทัง้ หมดของ
กำลังส่วนใหญ่เมื่อเข้า ทำการรบ) กองระวังหน้า จะปฏิบัต ิการอยู่ภายใน
ระยะยิงสนับสนุนจากอาวุธเล็งจำลองของกำลังส่วนใหญ่
ก) จัด ๑ หมู่ปืนเล็กเป็ นหมู่นำ
ข) หมวดปื นเล็กใช้รูปขบวนและเทคนิคการเคลื่อนที่ที่
เหมาะสม (รูปที่ ๒ - ๓๓)
ค) ผู้บังคับหมวด หมุนเวียนหมู่นำ ตามความเหมาะสม
เพื่อรักษาความสดชื่นและตื่นตัวของกำลังพล
๒) กองกระหนาบ หรือกองระวังหลัง หมวดปื นเล็กทัง้ หมด
อาจได้ร ับ มอบภารกิจ ให้ทำ หน้า ที่ก องกระหนาบหรือ กองระวัง หลัง
ของกองพันในการเคลื่อนที่เข้าปะทะ ด้วยเทคนิคนีห
้ มวดปื นเล็กจะต้อง
- ใช้รูปขบวนและเทคนิคการเคลื่อนที่ที่เหมาะสม ต้อง
รักษาความเร็วและความหนุนเนื่องในการเคลื่อนที่ให้ทันกับกำลังส่วนใหญ่
- จัดให้มีการแจ้งเตือนแต่เนิ่น
- ทำลายหน่วยลาดตระเวนของข้าศึก
- ป้ องกันการตรวจการณ์และการยิงเล็งตรงจากข้าศึกให้
กับกำลังส่วนใหญ่
๓) กำลังส่วนใหญ่ เมื่อเคลื่อนที่เ ป็ นส่วนหนึ่ง ของกำลัง
ส่วนใหญ่ หมวดปื นเล็กอาจได้รับมอบภารกิจเข้าตี อ้อมผ่าน ตรึงกำลัง
ข้าศึก ยึด ครอบคลุม หรือกวาดล้างบริเ วณพื้น ที่ที่กำ หนด หรือ หมวด
อาจต้องแบ่งกำลังหมู่ปืนเล็ก ๑ หมู่ ออกไปเป็ นกองกระหนาบ ซุ่มโจมตี
หลังแนวข้าศึก ป้ องกันส่วนหลัง หรือระวังป้ องกันเพิ่มเติมด้านหน้า หมู่
ปื นเล็กดังกล่าวอาจอยู่ในความควบคุมของผู้บังคับกองร้อยโดยตรง หมวด
และหมู่ต้องใช้รูปขบวนและเทคนิคการเคลื่อนที่ที่เหมาะสม รวมทัง้ การใช้
เทคนิคการเข้าตีและซุ่มโจมตีอย่างเหมาะสมด้วย
๒ - ๑๓ การเข้าตีประณีต
หมวดและหมู่ปืนเล็กเข้าตีประณีตเป็ นส่วนหนึ่งของหน่วยใหญ่
ก. ข้อพิจารณาในการวางแผน ใช้ระเบียบการนำหน่วย และ
การประมาณสถานการณ์เป็ นหลักในการวางแผน (ดูตอนที่ ๑)
๑) หมวดปื นเล็กอาจเข้าตีโดยเป็ นส่วนฐานยิง (base of fire
element) หรือส่วนโจมตี (assault element) ก็ได้ เมื่อหมวดปื นเล็กได้
รับภารกิจให้เป็ นส่วนเข้าตีสนับสนุน หรือให้เข้าตีที่หมายแยกต่างหาก ผ ู้
บังคับหมวดปื นเล็กจะจัดตัง้ ส่วนฐานยิง และส่วนโจมตีเอง ผู้บังคับหมวด
จะตกลงใจใช้หมู่ปืนเล็กอย่างไรขึน
้ อยู่กับความสามารถที่จะทำการยิงกด
ต่อที่หมายได้ ความต้องการอำนาจการยิงของส่วนโจมตีและความต้องการ
กองหนุนเพื่อดำรงเสรีในการปฏิบัติ ในกรณีที่หมวดปื นเล็กเป็ นส่วนปฏิบัติ
หลัก (main effort) ของกองร้อ ย หมวดปื นเล็ก จะจัด กองหนุน เพีย ง
ขนาดเล็ก ต่างจากกรณีที่เป็ นส่วนปฏิบัติสนับสนุน (supporting effort)
หมวดปื นเล็กอาจจัดกองหนุนมีกำลังถึงขนาด ๑ หมู่ปืนเล็ก ผู้บังคับหมวด
อาจใช้หมู่ต่าง ๆ ของตนอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี ้
ก) สองหมู่ปืนเล็ก กับปื นกล ๑ หรือทัง้ ๒ กระบอก
เป็ นส่วนฐานยิงและหนึ่งหมู่ปืนเล็ก (กับปื นกลที่เหลือ) เป็ นส่วนโจมตี
ข) หนึง่ หมู่ปืนเล็ก กับปื นกล ๑ หรือทัง้ ๒ กระบอก
เป็ นส่วนฐานยิงและสองหมู่ปืนเล็ก (กับปื นกลที่เหลือ) เป็ นส่วนโจมตี
ค) หนึ่งหมู่ปืนเล็กกับปื นกล ๑ หรือทัง้ ๒ กระบอกเป็ น
ส่วนฐานยิง หนึ่งหมู่ปืนเล็กเป็ นส่วนโจมตี และอีก ๑ หมู่ปืนเล็ก (กับปื น
กลที่เหลือ ) เคลื่อนที่ติดตามและสนับสนุนส่วนโจมตี วิธีนเี ้ หมาะสำหรับ
การจัด เฉพาะกิจ เพื่อ การเข้า ตีเ มื่อ หมวดต้อ งทำการเจาะผ่า นเครื่อ ง
กีดขวางในขณะโจมตี
๒) นอกจากนีห
้ ากผู้บ ัง คับ กองร้อ ยต้อ งการให้แ ยกการ
ปฏิบ ัต ิ ผู้บ ัง คับ หมวดต้อ งแยกพิจ ารณาอย่า งละเอีย ดถึง ลัก ษณะของที่
หมาย ปี กด้า นที่ล ่อ แหลมหรือ มีจ ุด อ่อ นให้ข ยายผลได้ เส้น ทางการ
เคลื่อ นที่แ ละมาตรการควบคุม รูป ขบวนและเทคนิค การเคลื่อ นที่โ ดย
พิจ ารณาปั จจัย เหล่า นีร้ ่ว มกับ ปั จจัย METT – T และเจตนารมณ์ข องผู้
บังคับบัญชา เพื่อพัฒนาแผนการดำเนินกลยุทธ์และแผนการยิงสนับสนุน
ข. การเคลื่อนที่เข้าหาที่หมาย หมวดและหมู่ปืนเล็กเลือกใช้
รูปขบวนและเทคนิคการเคลื่อนที่ที่เหมาะสม เพื่อหลีกเลี่ยงการปะทะและ
เพื่อให้ได้การจู่โจม (ดูตอนที่ ๓) หมวดปื นเล็กต้องไม่ถูกตรวจพบแต่เนิ่น
แต่หากถูกตรวจพบก่อนจะต้องรีบรวมอำนาจการยิงทัง้ ยิงเล็งตรงและเล็ง
จำลอง จัดตัง้ ฐานยิง ทำการยิงไปยังที่ตงั ้ ข้าศึก และดำเนินกลยุทธ์เพื่อ
ช่วงชิงความริเริ่มกลับคืนมา
๑) การเคลื่อนที่จากที่รวมพลไปยังแนวออกตี หมวดปื น
เล็กเคลื่อนที่ในความควบคุมของกองร้อย หากผูบ
้ ังคับหมวดอยู่กับผู้บังคับ
กองร้อ ยบริเ วณแนวออกตีอ ยู่แ ล้ว รองผู้บ งั คับ หมวดจะรับ ผิด ชอบใน
การนำหมวดเคลื่อนที่ขน
ึ ้ ไปยังแนวออกตีปืนกล และอาวุธต่อสู้รถถังอาจ
เคลื่อนที่ขน
ึ ้ ไปก่อน โดยไปเข้าที่ตงั ้ ยิงเพื่อเฝ้ าตรวจและระวัง ป้ องกันให้
หมวดบริเ วณแนวออกตีห รือ ใกล้แ นวออกตี ผู้บ ัง คับ หมวดต้อ งกะเวลา
สำหรับการเคลื่อนที่จากที่รวมพลถึงแนวออกตีให้แม่นยำ โดยคำนวณเวลา
ขณะที่กำ ลังตรวจภูมิประเทศ หรือขณะที่ทำ การซักซ้อม ทัง้ นีเ้ พื่อให้หมู่
นำของหมวดเคลื่อ นที่ผ ่า นแนวออกตีถ ูก ต้อ งตรงตามตำบลและเวลาที่
กำหนด หมวดปื นเล็กควรผ่านแนวออกตีโดยไม่ต้องหยุดหน่วยที่ฐานออก
ตีห ากไม่จำ เป็ น แต่ห ากจำเป็ นต้อ งหยุด หน่ว ย ควรปรับ ปรุง ขบวนการ
เคลื่อ นที่เ ป็ นรูป ขบวนสำหรับ เข้า ตีข น
ั ้ ต้น จัด ส่ว นระวัง ป้ องกัน และรีบ
ประสานงานในส่วนที่เหลือ ไม่ว่าหมวดปื นเล็กจะหยุดการเคลื่อนที่ที่ฐาน
ออกตีห รือ ไม่ก ็ต าม เมื่อ ถึง ฐานออกตีแ ล้ว จะต้อ งปรับ รูป ขบวนการ
เคลื่อนที่เป็ นรูปขบวนการเข้าตี และติดดาบปลายปื นก่อนผ่านแนวออกตี
๒) การเคลื่อนที่จากแนวออกตีไปยังฐานโจมตี หรือฐานยิง
สนับสนุน หมวดปื นเล็กต้องเลือกใช้เทคนิคการเคลื่อนที่ที่เหมาะสม ใน
กรณีที่จัดทัง้ ส่วนโจมตีและส่วนสนับสนุน อาจให้ทงั ้ สองส่วนนีเ้ คลื่อนที่ไป
ด้วยกันเพื่อช่วยกันระวัง ป้ องกัน หรืออาจเคลื่อ นที่แยกเส้นทางกัน เข้า ที่
วางตัวเลยก็ได้หากต้องการความเร็ว แต่สำ หรับส่วนฐานยิงสนับสนุนนัน

จะต้องพร้อมอยู่ ณ ที่ตงั ้ ยิงแล้ว ก่อนที่ส่วนโจมตีจะเคลื่อนที่เลยฐานโจมตี
ออกไป
ก) ผู้บังคับหมวดต้องวางแผนการปฏิบัติในกรณีที่เ กิด
การปะทะกับข้าศึกโดยไม่คาดคิด โดยหมู่นำต้องพร้อมปฏิบัติทันทีตามที่ได้
ฝึ กตามแบบฝึ กเพื่อทำการรบมาแล้ว (ดูบทที่ ๔ : แบบฝึ กเพื่อทำการรบที่
๒) ขณะเดียวกันผู้บังคับหมวดต้องรายงานสถานการณ์ให้ผ ู้บังคับกองร้อย
ทราบ ผู้บ ัง คับ กองร้อ ยอาจสั่ง ให้ห มวดเข้า ทำการรบ ตรึง อ้อ มผ่า น
ข้าศึกหรือตัง้ รับเร่งด่วนก็ได้
ข) หากหมวดปื นเล็กต้องเคลื่อนที่ผ ่านเครื่องกีดขวางซึ่ง
ไม่สามารถอ้อมผ่านได้ จะต้องใช้วิธีการเจาะผ่านเครื่องกีดขวาง (ดูตอนที่
๑๐ บทที่ ๔ - แบบฝึ กเพื่อทำการรบที่ ๘)
ค) หากผู้บ ัง คับ กองร้อ ยให้โ อกาสแยกการปฏิบ ัต ิ ผ
บัง คับ หมวดมีเ สรีใ นการกำ หนดจัง หวะเวลาในการเริ่ม ยิง ของส่ว นยิง
สนับสนุนของตนได้ แต่ควรพิจารณาปั จจัยสำคัญดังนี ้
- การจู่โจม ถ้าการเข้าตียังไม่เปิ ดเผย ส่วนฐานยิง
อาจระงับการยิง ไว้ก ่อนจนกว่า ส่วนโจมตีจะเคลื่อ นที่ถ ึง ฐานโจมตี หรือ
ส่วนฐานยิงอาจเริ่มยิงแต่เนิ่นเพื่อหันเหความสนใจของข้าศึกออกไปจาก
ส่วนโจมตีก ็ไ ด้ ในกรณีส ่วนโจมตีกำ ลัง เคลื่อ นที่ไ ปทางปี กหรือ ด้า นหลัง
ของข้าศึก
- การยิงข่มข้าศึก ผู้บังคับหมวดควรพิจารณาห้วง
ระยะเวลาที่ต้องการ ในการยิงกดหรือข่มการยิงของข้าศึก ณ ที่หมายรวม
ทัง้ การทำลายอาวุธ และบัง เกอร์ข องข้า ศึก ให้ไ ด้ม ากที่ส ุด ก่อ นที่จ ะเข้า
โจมตี
๓) การเคลื่อนที่จากฐานโจมตีไปยังที่หมาย โดยปกติแล้ว
ฐานโจมตีเป็ นพื้นที่สุดท้ายที่มีการกำบังก่อนถึงที่หมาย
ก) ขณะเคลื่อนที่ผ่านฐานโจมตี หมวดปื นเล็กจะปรับ
รูปขบวนสำหรับการเข้าโจมตีที่ห มายคือ ทุกหมู่และชุดยิงจะวางอำนาจ
การยิง ไปข้า งหน้า อย่า งสูง สุด หมวดปื นเล็ก อาจจำ เป็ นต้อ งหยุด การ
เคลื่อ นที่บริเวณนีเ้ พื่อปรับ รูป ขบวน จัดความประสานสอดคล้อ ง และ
เพื่อรอเวลาเข้าโจมตีที่หมายพร้อมกัน แต่ควรหลีกเลี่ยงการหยุดหน่วยดัง
กล่าว เนื่องจากเป็ นพื้นที่อันตราย และอาจทำให้สูญเสียความต่อเนื่องใน
การเข้าตี
ข) หมู่ปืนเล็กซึ่งเป็ นส่วนโจมตีเคลื่อนที่ต่อไปยังที่หมาย
ขณะเดียวกันต้องพร้อมทำการเจาะผ่านแนวเครื่องกีดขวางป้ องกันตนของ
ข้าศึกด้วย
ค) เมื่อหมวดปื นเล็กกำลังจะเคลื่อนที่เลยที่หมายออก
ไป ส่วนยิงสนับสนุนต้องเลื่อนการยิงออกไป การยิงทัง้ เล็งตรงและเล็ง
จำลองต้องยิงข่มต่อพื้นที่บริเวณใกล้ที่หมายเพื่อทำลายกำลังข้าศึกที่กำลัง
ผละหนี และเพื่อป้ องกันการเพิ่มเติมกำลังของข้าศึกบริเวณที่หมาย
ค. การโจมตีท ี่ห มาย ในขณะที่ห มวดปื นเล็ก หรือ ส่ว นโจมตี
เคลื่อ นที่ถ ึง ที่ห มาย จะต้อ งเพิ่มความหนาแน่น ในการยิง และเน้นความ
แม่นยำของการยิงด้วย ผู้บังคับหมู่กำหนดเป้ าหมายหรือที่หมายเฉพาะให้
กับชุดยิงของตนทำการยิงอย่างรุนแรง ต่อเมื่อสามารถข่มการยิงของข้าศึก
ลงได้แล้วเท่านัน
้ กำลังส่วนที่เหลือของหมวดจึงจะดำเนินกลยุทธ์ได้ ขณะ
ที่ส ่วนโจมตีเ คลื่อ นที่เ ข้าใกล้ที่ห มาย จะเน้น การยิง มากกว่า การดำเนิน
กลยุทธ์ กำลังทัง้ หมดเว้น ๑ ชุดยิงอาจใช้เพื่อทำการยิงข่มข้าศึก เพื่อให้
ชุดยิงดังกล่าวนัน
้ สามารถเคลื่อนที่เข้าไปถึงที่ตงั ้ ข้าศึกบนที่หมายได้ตลอด
ห้วงการโจมตี ทหารแต่ละคนต้องใช้เทคนิคการเคลื่อนที่เป็ นบุคคลอย่าง
เหมาะสม และชุดยิง ยัง คงรัก ษารูป ขบวนการเคลื่อ นที่แ บบสามเหลี่ยม
แหลมหน้าอย่างกว้าง หมวดปื นเล็กจะไม่ใช้รูปขบวนหมู่หน้ากระดานใน
การโจมตีผ่านที่หมาย
ง. การเสริมความมั่นคงและจัดระเบียบใหม่ เมื่อการต้านทาน
ของข้าศึกบริเวณที่หมายสิน
้ สุดลง หมวดปื นเล็กต้องรีบเสริมความมั่นคง
และป้ องกันการตีโต้ตอบของข้าศึกเป็ นลำดับต่อไป
๑) เทคนิคการเสริมความมั่นคง มี ๒ วิธีคือ ใช้เทคนิคการ
เสริม ความมั่น คงตามระบบนาฬิก า และตามระบบการใช้ล ัก ษณะ
ภูมิประเทศที่เด่นชัด
หมายเหตุ : การระวัง ป้ องกัน รอบตัว เป็ นสิ่ง สำคัญ ยิ่ง
เพราะข้า ศึก อาจตีโ ต้ต อบได้ท ุก ทิศ ทาง ผู้บ ัง คับ หมวดต้อ งพิจ ารณาใช้
ภูมิประเทศอย่างรอบคอบ
ก) ระบบนาฬิกา ผู้บังคับหมวดกำหนดทิศทางเข้าตีทิศ
ตามเข็มนาฬิกา และวางกำลังส่วนต่างๆ ตามเข็มนาฬิกาด้วย เพื่อแทน
การระบุทิศทางของการปฏิบัติต่าง ๆ ส่วนอาวุธหลักจะตัง้ ยิงตามแนวทาง
เคลื่อนที่ที่คาดว่าข้าศึกน่าจะใช้มากที่สุดที่จะเข้ามาสู่ที่ตงั ้ ฝ่ ายเรา ทัง้ นีข
้ น
ึ้
อยู่กับการวิเคราะห์ลก
ั ษณะภูมิประเทศของผู้บงั คับหมวด
ข) การใช้ลักษณะภูมิประเทศที่เด่นชัด คงเช่นเดียวกัน
กับเทคนิคแบบนาฬิกา คือผู้บงั คับหมวดจะกำหนดทิศทางและเขตซ้าย –
ขวาสุด โดยใช้ลักษณะภูมิประเทศที่เห็นได้เด่นชัด ไม่ว่าจะใช้เทคนิคใด
ต้องกำหนดเขตการยิงของหมู่ต่าง ๆ ให้ทาบทับกัน และให้สามารถช่วย
เหลือซึ่งกันและกันได้ระหว่างหมวดของตนและหมวดข้างเคียงด้วย
๒) การจัดระเบียบใหม่ ปฏิบัติทันทีต่อจากการเสริมความ
มั่นคงเพื่อเตรียมการเข้าตีต่อไป การจัดระเบียบใหม่ประกอบด้วย
- การจัดระบบบังคับบัญชาและการควบคุมขึน
้ ใหม่
- จัดทดแทนพลประจำอาวุธหลัก แจกจ่ายกระสุนและ
ยุทโธปกรณ์ต่างๆ เพิ่มเติม
- ตรวจค้น ที่ห มายอย่า งละเอียดเพื่อ ค้น หาผู้บ าดเจ็บ
และเชลยศึก
- สำรวจและรายงานสถานภาพกำลังพล กระสุน สิ่ง
อุปกรณ์และยุทโธปกรณ์สำคัญ
๒ - ๑๔ การเข้าตีระหว่างทัศนวิสัยจำกัด
การเข้าตีระหว่างทัศนวิสัยจำกัดทำให้ได้มาซึ่งการจู่โจมหลีกเลี่ยง
ความสูญเสียอย่างหนัก สร้างความตื่น ตระหนกแก่ข ้า ศึกส่วนที่อ ่อ นแอ
ขยายผลความสำเร็จ รัก ษาความหนุน เนื่อ งในการเข้า ตี และดำรงความ
กดดัน ต่อ ฝ่ ายข้า ศึก การปฏิบ ัต ิก ารภายในสภาพทัศ นวิส ัย จำกัด เป็ น
ภารกิจที่สำ คัญอย่างหนึ่งของทหารราบ ทุกครัง้ เมื่อสามารถทำได้ ทหาร
ราบจะเข้าตีในระหว่างทัศนวิสัยจำกัดเสมอ
ก. การวางแผน ข้อพิจารณาในการวางแผน คงเป็ นเช่นเดียวกับ
การวางแผนเข้าตีในเวลากลางวัน เพียงแต่ต้องมีมาตรการควบคุมมากขึน

เพื่อป้ องกันการสับสน และเพื่อให้กำลังที่เข้าตีมุ่งเฉพาะแต่การปฏิบัติต่อ
ที่หมายเป็ นหลัก เช่น เส้นแบ่งเขต แนวจำกัดการยิง และเขตจำกัดการ
รุก เป็ นต้น
ข. การลาดตระเวน เป็ นหัวใจของความสำเร็จในการเข้าตีเวลา
กลางคืน ควรปฏิบัติตงั ้ แต่เวลากลางวัน ทุกระดับจนถึงหน่วยระดับต่ำสุด
เท่าที่จะทำได้ หมวดปื นเล็กควรลาดตระเวนเส้นทางที่จะใช้ พื้นที่ที่จะ
วางตัวและที่หมายที่ได้รับมอบ แต่การลาดตระเวนเพื่อให้ได้ข ่าวสารต้อง
ไม่ทำให้ข้าศึกตรวจพบ
๑) ในแผนการลาดตระเวน ควรกำหนดให้มีการจัดส่วนระวัง
ป้ องกัน เฝ้ าตรวจที่ห มายไว้ด ้วย เพื่อ ให้ทราบความเคลื่อ นไหว กรณีที่
ข้าศึกมีการปรับการวางกำลังใหม่ ปรับที่ตงั ้ ยิงอาวุธใหม่ หรือมีการวาง
เครื่องกีดขวางเพิ่มเติมจากเดิมส่วนระวัง ป้ องกัน และเฝ้ าตรวจนี ้ ควรให้
วางตัวบนพื้นที่ที่สำ คัญยิงเช่นบริเวณที่มีแผนจะใช้เป็ นฐานโจมตี ฐานยิง
สนับ สนุน แนวออกตี แนวปรับ รูป ขบวน เส้น ทาง และจุด แยกหน่ว ย
เพื่อป้ องกันหมวดจากการถูกซุ่มโจมตี หรือถูกข้าศึกเข้าตีทำลายการเข้าตี
ส่วนระวังป้ องกันและเฝ้ าตรวจนีอ
้ าจกลายเป็ นส่วนหนึ่ง ของกำลังที่แยก
โดดเดี่ยวจากหมวดในระหว่างการเข้าตี
๒) หากไม่สามารถทำการลาดตระเวนจนได้ข่าวสารที่เพียงพอ
เนื่องจากเวลาจำกัด ผู้บังคับหมวดอาจขออนุมัติเลื่อนเวลาการเข้าตีออก
ไปจนกว่าจะได้ข่าวสารเพียงพอ แต่ถ้าไม่สามารถเลื่อนเวลาเข้าตีออกไป
ได้ ควรพิจารณาการส่องสว่า งสนามรบและการเข้า ตีส นับสนุน ร่วมด้วย
การเข้าตีเวลากลางคืนซึง่ มีข่าวสารข้าศึกไม่กระจ่ายชัดพอนัน
้ เป็ นการเข้า
ตีที่เสี่ยงและยากแก่การปฏิบัติ
ค. การใช้พลนำทาง จะช่วยให้ผ ู้บ ัง คับ หมวดสามารถควบคุม
หน่วยได้ดีขน
ึ ้ โดยเฉพาะในการเคลื่อนที่เข้าสู่ฐานโจมตี และแนวปรับรูป
ขบวน
๑) กองร้อยอาจจัดชุดลาดตระเวนเพื่อนำพลนำทางของหมวด
จากแนวออกตีไ ปยังจุดแยกต่า ง ๆ ทางเข้าฐานโจมตี และจุด ต่า ง ๆ บน
แนวปรับรูปขบวน
๒) พลนำทางต้องได้รับคำชีแ
้ จงอย่างละเอียดถึงแผนการเข้าตี
และหน้า ที่เ ฉพาะของตน ทัง้ ต้อ งมีก ารซัก ซ้อ มการปฏิบ ัต ิใ นเรื่อ งต่า ง ๆ
ดังนี ้
- การลาดตระเวนเส้นทางเคลื่อนที่ที่ได้รับมอบและจุด
แยก
- การนัดพบและการแยกจากหน่วยที่ตนจะนำทาง ต้อง
จำตัวผู้บังคับหน่วยที่ตนจะนำทางได้ (หรือทหารที่เดินนำหน้า) โดยการซัก
ซ้อมสัญญาณบอกฝ่ าย
๓) หมวดปื นเล็กต้องซักซ้อมการปฏิบัติเหมือนกับการปฏิบัติ
จริงตรงตามขัน
้ ตอนที่จะใช้ในการเข้าตี เพื่อให้การนัดพบและแยกจากพล
นำทางเป็ นไปโดยราบรื่น
ง. เทคนิค การควบคุม การยิง เทคนิค ที่ใ ช้ค วบคุม การยิง ใน
ระหว่างทัศนวิสัยจำกัด มีดังนี ้
๑) โดยใช้กระสุนส่องวิถี ผู้บังคับส่วนโจมตีจะใช้กระสุนส่อง
วิถ ีชเี ้ ป้ าให้กับ กำลังพลภายในส่วนของตน ซึง่ กำลังพลภายในแต่ละส่วน
โจมตีจะทำการยิงไปยังตำบลที่กระสุนส่องวิถีของผู้บังคับส่วนตกกระทบ
ส่วนยิงสนับสนุนจะวางปื นกลติดตัง้ บนขาหยั่งไว้บริเวณปี กที่ใกล้กับส่วน
โจมตีให้มากที่สุด และทำการยิงกระสุนส่องวิถีทุก ๑๕ วินาที เพื่อให้ส่วน
โจมตีทราบว่าอยู่ใกล้กับเขตการยิงสนับสนุนมากน้อยเพียงใด ส่วนอาวุธ
ยิง สนับ สนุน อื่น ๆ ทัง้ หมดจะทำ การยิง ไปในทิศ ทางที่เ หมาะสม โดย
พิจารณาจากกระสุนส่องวิถีของปื นกลดังกล่าว หากส่วนโจมตีต้องการใช้
กระสุน ส่องวิถ ีเ ป็ นสัญญาณในการขอเลื่อ นการยิง ไปยัง ตำบลถัด ไปหรือ
ระยะที่กำ หนดใหม่ ควรทำการยิงเหนือ ตำบลที่ส่วนโจมตีวางตัวอยู่เพื่อ
ป้ องกันการยิงเข้าใส่ฝ่ายเดียวกัน
๒) แถบเรืองแสงหรือแสงจากสารเคมี ผู้บังคับหน่วยโจมตีจะ
ต้องทำเครื่องหมายกำลังพลในส่วนโจมตีทุกนาย เพื่อป้ องกันการยิงเข้าใส่
ฝ่ ายเดียวกัน แต่การทำเครื่องหมายนีจ
้ ะต้องไม่ให้ข้าศึกมองเห็น เทคนิค
การทำ เครื่อ งหมายมี ๒ วิธ ีค ือ การใช้แ ถบเรื่อ งแสงติด ที่ด ้า นหลัง
หมวกเหล็กของกำลังพล หรือการใช้แสงอินฟราเรดจากสารเคมีแท่งเล็ก ๆ
แต่วิธีนต
ี ้ ้องมั่นใจว่าข้าศึกไม่มีกล้องเล็ง/ตรวจการกลางคืน ส่วนสนับสนุน
ต้องรู้ตลอดเวลาว่าส่วนนำของส่วนโจมตีอยู่บริเ วณใด หากเครื่องหมาย
เป็ นบุคคลยังไม่เป็ นที่เพียงพอสำหรับการเข้าตี อาจต้องใช้แสงจากสารเคมี
เพิ่มเติม (ซึง่ อาจเป็ นแสงอินฟราเรด หรือแสงธรรมดาก็ได้ ) เครื่องให้แสง
จากสารเคมีเหล่านีอ
้ าจวางไว้ตามพื้นดิน หรือโยนนำทางไปข้างหน้าขณะที่
ส่วนโจมตีกำ ลังเคลื่อนที่ และในระหว่างกวาดล้างที่หมายอาจใช้สารเคมี
ดังกล่าวผูกติดปลายไม้ให้ทหารที่อยู่หน้าสุดของส่วนโจมตีถือเคลื่อนที่ไป
ด้วย เพื่อให้ส ่วนสนับ สนุน สัง เกตเห็น ได้ช ัด ซึง่ จะง่า ยแก่ก ารเลื่อ นหรือ
เปลี่ยนย้ายการยิงต่อไป
๓) มาตรการควบคุมเพื่อจำกัดการยิง เพื่อลดความเสี่ยงต่อ
อันตรายจากการยิงของฝ่ ายเดียวกันภายในส่วนโจมตี ผู้บังคับหมวดควร
กำหนดมาตรการควบคุมเพื่อจำกัดการยิง
ก) หมู่ปื นเล็ก ทางปี กขวาของส่วนโจมตีอาจได้รับ มอบ
สถานะการยิง “ เสรี ” ทางปี กขวา เพราะไม่มีทหารฝ่ ายเดียวกันอยู่ทาง
ขวาอีก แล้ว แต่ใ นขณะเดีย วกัน หมู่ปื นเล็ก ทางปี กซ้า ยอาจได้ร ับ มอบ
สถานะการยิง “ จำกัด ” หรือ “ ควบคุม ” เมื่อมีทหารฝ่ ายเดียวกันอยู่
ทางด้านนัน

ข) ณ บริเวณที่หมาย ส่วนโจมตีจะไม่ใช้อาวุธยิงอัตโนมัติ
เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ททำ
ี่ การยิงแบบอัตโนมัติคือข้าศึก
๔) เทคนิคอื่น ๆ ที่ผู้บงั คับหมวดอาจนำมาใช้เพื่อควบคุมการ
ยิงมีดังต่อไปนี ้
- ระงับใช้พลุส่องสว่าง ลูกระเบิดขว้าง หรือควัน บริเวณ
ที่หมาย
- กำลังพลที่มีเครื่องมือตรวจการณ์เวลากลางคืนเท่านัน

ที่จะให้ทำการยิง หรือทำลายเป้ าหมายต่าง ๆ บนที่หมาย
- ใช้เข็มทิศรักษาทิศทางการเคลื่อนที่และการยิง
- ใช้ตำบลตกของกระสุน ป. และ ค. บอกทิศทางในการ
เข้าตี
- ใช้พลนำทาง
- ใช้หมู่หลักหรือชุดยิงหลักในรูปขบวนการเคลื่อนที่ใน
การนับก้าว และรักษาทิศทางให้กับหมู่หรือชุดยิง
- ลดระยะต่อ ระยะเคียงระหว่างบุคคล และหมู่
- ติดแถบเรืองแสงที่แขนเสื้อหรือหมวกเหล็ก
จ. การยิง ป. ค. และอาวุธต่อสู้รถถัง ป. ค. และอาวุธต่อสู้รถถัง
คงวางแผนการยิงเช่นเดียวกันกับการเข้าตีเวลากลางวัน อาวุธเหล่านีจ
้ ะไม่
ทำการยิงจนกว่าการเข้าตีจะถูกเปิ ดเผย หรือเมื่อพร้อมเข้าโจมตี อาวุธบาง
ชนิดอาจทำการยิงก่อนการเข้าตีเพื่อคงรูปแบบการยิงที่เคยปฏิบัติมาอย่าง
สม่ำเสมอเพื่อลวงข้า ศึก หรือ เพื่อ กลบเกลื่อ นเสียงการเคลื่อ นของหมวด
แต่การยิงดังกล่าวนีจ
้ ะระงับหากเสี่ยงต่อการเปิ ดเผยการเข้าตีแต่เนิ่น
๑) การปรับการยิงอาวุธเล็งจำลองทำได้ยากลำบากในสภาพ
ทัศ นวิส ัย จำ กัด ในกรณีท ี่ไ ม่ม ั่น ใจในการปรับ การยิง เนื่อ งจากจะเป็ น
อันตรายต่อฝ่ ายเรา ให้ปรับการยิงต่อที่ตงั ้ ข้าศึกที่อยู่เลยที่หมายออกไป
ก่อ นแล้วจึง ย้ายการยิง มายัง ที่ห มาย อาจยิง กระสุน ส่อ งแสงให้ต กบนที่
หมาย โดยคำนวณให้ก ระสุน ยัง คงลุก ไหม้ต ่อ ไปบนพื้น ดิน เพื่อ ให้ท ราบ
ตำแหน่งของที่หมาย ทำให้หมวดปื นเล็กสามารถรักษาทิศทางได้ง ่าย แต่
จะมีผลกระทบต่อการใช้เครื่องมือตรวจการณ์เวลากลางคืน
๒) วางแผนการใช้ควัน เพื่อลดการมองเห็นของข้าศึก โดย
เฉพาะอย่างยิ่งเมื่อข้าศึกใช้เครื่องมือตรวจการณ์เวลากลางคืน การใช้ควัน
อาจใช้บริเวณใกล้ ๆ หรือ ณ ที่ตงั ้ ของข้าศึกก็ได้ โดยที่จะไม่เป็ นการจำกัด
การเคลื่อนที่หรือการเจาะเครื่องกีดขวางของฝ่ ายเรา หากใช้ควันบริเวณที่
หมายอาจทำให้ส่วนโจมตีมีความลำบากในการค้นหาหลุมบุคคลของข้าศึก
เว้นแต่จะมีกล้องเล็งหรือกล้องตรวจการณ์ชนิดตรวจจับด้วยรังสีความร้อน
อย่างเพียงพอ และทหารได้รับการฝึ กมาอย่างดี การใช้ควันลักษณะนีจ
้ ะยิ่ง
ทำให้ได้เปรียบข้าศึกอย่างสูงสุด
๓) มีการวางแผนการยิงส่องสว่างเอาไว้ทุกครัง้ ในการเข้าตี
โดยให้ผ ู้บ ัง คับ หมวดสามารถร้อ งขอได้เ มื่อ ต้อ งการ โดยปกติผ ู้บ ัง คับ
กองพันเป็ นผู้ควบคุมการยิง ส่อ งสว่า ง แต่อาจมอบหมายให้ผ ู้บังคับกอง
ร้อยเป็ นผู้ควบคุมก็ได้ หากผูบ
้ ังคับกองพันตกลงใจให้มีการยิงส่องสว่าง
สนามรบ ทุกหน่วยจะไม่ร้องขอการยิงจนกว่าส่วนโจมตีจะเริ่มการโจมตี
หรือ เมื่อ การเข้า ตีถ ูก เปิ ดเผย เมื่อ ทำการยิง ควรยิง ไปยัง หลาย ๆ ตำบล
ครอบคลุมพื้นที่กว้างเพื่อสร้างความสับสนแก่ฝ่ายข้าศึก จนไม่ทราบว่าฝ่ าย
เราจะเข้าตีแน่นอนบริเวณใด และให้สามารถยิงไปหลังที่หมายเพื่อให้ส่วน
โจมตีมองเห็นและยิงข้าศึกที่กำลังถอนตัว หรือกำลังตีโต้ตอบได้ด้วย
๔) หากข้าศึกใช้การยิงส่องสว่างเพื่อขัดขวางการตรวจการณ์
ด้วยเครื่องมือตรวจการณ์เวลากลางคืน ของฝ่ ายเรา อาจจำเป็ นต้อ งต่อ
ต้านด้วยการยิงส่องสว่างเช่นเดียวกัน แต่ต้องยิงส่องสว่างอย่างต่อเนื่อง
เพราะหากไม่ต่อเนื่องจะทำให้การมองเห็นของทหารที่กำ ลังเข้าตีนน
ั ้ สูญ
เสียไป ขณะที่ไม่ส่องสว่างจะส่งผลถึง อำนาจการยิง ซึ่งเป็ นสิ่ง สำคัญใน
การเข้าตี ผู้บังคับหมู่จะไม่ใช้พลุส่องสว่างจนกว่าผู้บังคับหน่วยเหนือจะ
ตกลงใจให้ทำการส่องส่วาง ณ ที่หมายได้
๕) กล้อ งเล็ง ชนิด ตรวจจับ ด้ว ยรัง สีค วามร้อ น (Thermal
Sight) อาจนำมาใช้เพื่อการตรวจการณ์โดยตรงเมื่อไม่จำเป็ นต้องใช้ค้นหา
เป้ าหมายให้กับอาวุธต่อสู้รถถังขนาดกลาง โดยการใช้กล้องเล็งดังกล่าวนี ้
นอกบริเวณพื้นที่ที่หมาย ความมุ่งหมายเพื่อให้ได้ข่าวสารล่าสุด ตัวอย่าง
ของการใช้เ ช่น ใช้ก ับ ส่ว นสนับ สนุน ในการควบคุม การยิง หรือ เพื่อ แจ้ง
ข่า วสารความเคลื่อ นไหวของข้า ศึก บริเ วณที่ห มายให้ส ่ว นโจมตีท ราบ
เป็ นต้น
๖) เมื่อมีเครื่องมือตรวจการณ์เวลากลางคืน จำกัด จะต้อง
พิจารณาใช้ ณ บริเวณที่มีความสำคัญยิ่ง เช่น ใช้กับทหารคนสำคัญในส่วน
เจาะที่หมาย (breach element) ผู้บังคับหน่วยในส่วนโจมตี ทหารคน
สำ คัญ อื่น ๆ ในส่ว นโจมตีแ ละผู้บ ัง คับ หน่ว ยกับ อาวุธ หลัก ๆ ในส่ว น
สนับสนุน
ฉ. การเสริม ความมั่น คงและจัด ระเบีย บใหม่ หมวดปื นเล็ก
ดำเนินการทันทีหลังจากยึดที่หมายได้ ซึง่ ปฏิบัติเหมือนกับเวลากลางวัน
เว้น
๑) แผนการเสริมความมั่นคงควรง่ายที่สุดเท่าที่จะทำได้ ใน
การจัดระเบียบใหม่ควรหลีกเลี่ยงการจัดเฉพาะกิจใหม่
๒) ที่วางตัวของหมู่ปืนเล็กต่าง ๆ ควรอยู่ใกล้กันเพื่อง่ายแก่
การควบคุม และช่วยเหลือซึ่งกันและกันสะดวกขึน
้ เมื่อทัศนวิสัยดีขน
ึ ้ จึง
ค่อยปรับระยะห่างระหว่างหมู่ปืนเล็กใหม่
๓) ใช้เวลาในการรวบรวมและส่งกลับผู้ป่วยเจ็บ และเชลย
ศึกมากกว่าเวลากลางวัน สำหรับเชลยศึกนัน
้ อาจจำเป็ นต้องเคลื่อนย้ายลง
ไปข้างหลัง และควบคุมอยู่บริเวณนัน
้ จนกว่าทัศนวิสัยดีขน
ึ ้ จึงส่งกลับต่อ
ไป
ช. การติดต่อสื่อสาร ผู้บังคับหมวดจำเป็ นต้องเลือกใช้วิธีการ
ติดต่อสื่อสารที่เหมาะสม ซึง่ แตกต่างจากเวลากลางวัน เช่น ทัศนสัญญาณ
มือและแขน อาจมองไม่เห็นในเวลากลางคืน วิธีการต่าง ๆ ที่อาจนำมาใช้
เพื่อ การสื่อ คำสั่ง และข่า วสาร การกำหนดจุด นัด พบระหว่า งทาง การ
ควบคุม รูป ขบวนหรือ เพื่อ กำหนดเวลาเริ่ม ต้น การปฏิบ ัต ิต ่า ง ๆ เป็ นต้น
หัวใจสำคัญของการติดต่อสื่อสารในเวลากลางคืนคือ ความง่าย สามารถ
เข้าใจได้ตรงกันและปฏิบัติได้จริง สัญญาณต่าง ๆ ควรกำหนดไว้ใน รปจ.
ของหมวด ควรให้ง ่ายที่สุดเพื่อป้ องกันความสับสน ผู้บังคับหมวดและผู้
บังคับหมู่ต้องให้ความสำคัญและมั่นใจว่าทหารทุกคนเข้าใจและมีการฝึ ก
สัญญาณพื้นฐาน รวมทัง้ สัญญาณอื่น ๆ ที่จำเป็ นต้องใช้อยู่เสมอ เทคนิคที่
จะช่วยให้ผ ู้บ ังคับ หน่วยต่า ง ๆ และพลวิทยุทำ การติด ต่อ สื่อ สารในเวลา
กลางคืนได้สะดวกรวดเร็ว อย่างหนึ่งคือการปิ ดแถบเรืองแสงบริเวณเครื่อง
มือสื่อสารหรือพกพาไว้ในกระเป๋ า ซึ่งผู้บังคับหน่วยหรือพลวิทยุสามารถ
เขียนหมายเลขบัญชีเป้ าหมาย นามเรียกขาน ความถี่ รหัสลับ จุดตรวจ
สอบ และอื่น ๆ ลงบนแถบเรืองแสงด้วยดินสอดำ สามารถอ่านได้ง่ายใน
เวลากลางคืน และแกะออกได้ง่ายเมื่อจำเป็ น
๑) สัญญาณที่ใช้ในเวลากลางคืนส่วนใหญ่จะอาศัยระบบ
การรับ รู้ต ่า ง ๆ เช่น เสีย ง ความรู้ส ึก และการเห็น สัญ ญาณเสีย ง
ประกอบด้ว ย วิท ยุ โทรศัพ ท์ พลนำสาร และการใช้ว ัต ถุก ระทบหรือ
เสีย ดสีก ัน เป็ นต้น การใช้พ ลนำสาร ควรให้ส ่ง ข่า วที่เ ป็ นข้อ เขีย นเพื่อ
ป้ องกันความสับสนและเข้าใจผิด แต่เมื่อไม่สามารถทำได้ หากจำเป็ นต้อง
ส่งข่าวด้วยวาจา ผู้บังคับหมวดควรให้พลนำสารทำความเข้าใจในข่าวและ
ให้ทวนข่าวทุกคำ
๒) การควบคุมในเวลากลางคืน ยังคงจำเป็ นต้องใช้คำพูดแต่
ควรพูดแบบกระซิบ วิทยุและโทรศัพท์ โดยปกติไม่ควรใช้แต่หากจำเป็ น
ต้องใช้ควรใช้อย่างระมัดระวัง ในเวลากลางคืนเสียงจะเดินทางได้ไกลเช่น
เสียงสัญญาณวิทยุ เสียงการสื่อคำสัง่ และข่าวสาร และเสียงกริ่งโทรศัพท์
ซึ่งสิง่ ต่าง ๆ เหล่านีอ
้ าจเป็ นการละเมิดวินัยการใช้เสียง – เสียง วิธีการลด
และหลีกเลี่ยงคือ มีการวางแผนการใช้สัญญาณและเสียงสัญญาณ การใช้
หูฟังครอบศีรษะจะช่วยลดเสียงจากวิทยุและโทรศัพท์ แต่หากไม่มีหูฟัง
ครอบศีรษะ ควรปรับสวิทซ์ไว้ในตำแหน่ง “ ON ” ไม่ควรใช้ตำ แหน่ง “
SQUELCH ON ” และปรับระดับเสียงแต่พอได้ยินเท่านัน

๓) หินและวัตถุอ่ น
ื ๆ สามารถนำมาใช้ทำ สัญญาณเสียงได้
โดยการเจาะหรือสีกัน หรือกับต้นไม้ หรือกับพานท้ายปื น เสียงสัญญาณที่
จะใช้ส่ อ
ื กัน ควรมีการซักซ้อมความเข้าใจ และในการส่งสัญญาณแต่ละ
ครัง้ ควรให้มีสัญญาณตอบรับด้วย การใช้เครื่องมือส่งสัญญาณเสียงอื่น ๆ
อาจประกอบด้วย นกหวีด กระดิ่ง ไซเรน ประทัด หรือเครื่องเป่ าให้เกิด
เสียงอื่น ๆ การเลือกใช้เ ครื่อ งมือ ต่า ง ๆ ยึด ถือ หลักความง่า ยและความ
ปลอดภัยเป็ นสำคัญ
๔) ผู้บังคับหน่วยระดับต่าง ๆ อาจเลือกใช้เครื่องมือให้แสง
สำหรับส่งสัญญาณแทนการใช้เสียงก็ได้ โดยใช้ได้ทงั ้ ส่งและรับ แต่การใช้
แสงสัญญาณต้องง่ายแก่การสังเกต และง่ายแก่การพิสูจน์ฝ่ายด้วย แสง
สัญ ญาณอาจใช้บ อกตำแหน่ง ชุม ทาง ทางแยก สำหรับ เริ่ม การเข้า ตี
แสดงจุดที่รวมรวม สป. หรือเพื่อแสดงให้ทราบว่าพื้นที่นน
ั ้ ปลอดภัยแล้ว
ตัวอย่างเช่น การใช้ป ูน ขาวโรยเป็ นแนวบอกทิศ ทางบริเ วณที่มีทางแยก
หลายทาง พลุสญ
ั ญาณใช้บอกการขอเลื่อ นการยิง สนับ สนุน ในการเข้า ตี
หรือในการตีโฉบฉวย เป็ นต้น นอกจากนีส
้ ารเคมีเรืองแสง อาจใช้บอกจุด
ที่รวบรวม สป.ของหน่วย หน้าปั ดเข็มทิศซึ่งเรืองแสงใช้แสดงว่า บริเวณ
พื้นที่อันตรายที่กำลังจะเคลื่อนที่ข้ามนัน
้ ปลอดภัยแล้ว เครื่องมือต่าง ๆ ท ี่
สามารถนำมาใช้เป็ นแสงสัญญาณได้นน
ั ้ มีมากมายหลายชนิด แต่การที่จะ
นำเครื่องมือชนิดใดมาใช้นน
ั ้ ต้องทำความเข้าใจกับทหารทุกคนเป็ นอย่างดี
ตัวอย่างเครื่องมือให้แสงสัญญาณต่าง ๆ เช่น
- ไม้ชบ
ี ้ อกทิศทาง
- การใช้แสงที่เป็ นสีต่าง ๆ
- แถบเรืองแสง
- หินวางเรียงเป็ นแนว
- ทำเครื่องหมายบนพื้นดิน
- แป้ งฝุ ่นโรยเท้าหรือทาตัว
- พลุส่องสว่าง
- ไฟฉาย
- กระสุนส่องแสงจากเครื่องยิง ลข. ค. หรือปื นใหญ่
- สารเคมีเรืองแสง
- แสงอินฟราเรด
- กล้องตรวจการณ์กลางคืน
- ตะเกียงน้ำมัน
- หน้าปั ดเข็มทิศ
๕) ในระหว่างการเข้าตี ควรดำรงการติดต่อสื่อสารทางสาย
ระหว่าง ผบ.หมู่ ผบ.มว. และ ผบ.ร้อย. เอาไว้ให้ได้ หากทำได้ควรให้ส่วน
ลาดตระเวนทำการวางสายไว้ล ่วงหน้า หากทำไม่ไ ด้ต ้อ งทำการวางสาย
พร้อมกับการเคลื่อนที่เข้าตี การวางสายล่วงหน้าอาจทำให้เปิ ดเผยการเข้า
ตี หากวางไม่เหมาะสมกับการพรางหรือวางในระยะทางไกลเกินไป การ
ติดต่อสื่อสารทางสาย สามารถกระทำได้ตลอดเวลาในขณะเคลื่อนที่
ก) ข่ายทางสายของหมวด เริ่มวางจากจุดแยกหมวดถึง
จุดแยกหมู่และถึงตัว ผบ.หมู่ทุกหมู่ บนแนวปรับรูปขบวน
ข) ลวดนำทางเข้าโจมตี ( assault wire ) ใช้นำทางจาก
จุดแยกกองร้อยถึงจุดแยกหมวดและจุดแยกหมู่
ค) วิท ยุ วิท ยุข องหน่ว ยใช้สำ หรับ การติด ต่อ สื่อ สาร
สำรอง
ซ. การค้นหาเป้ าหมาย ความสามารถค้นหาเป้ าหมายในเวลา
กลางคืน ขึน
้ อยู่กับความอดทน ความตื่นตัว ความสนใจต่อ รายละเอียด
และการฝึ กซ้อม แม้ว่าลัก ษณะตามธรรมชาติข องสิ่ง ต่า ง ๆ มีรูปแบบที่
หลากหลายไม่แน่นอนก็ตาม แต่หากถูกคนเข้าไปดัดแปลง หรือทำให้เสีย
ลักษณะธรรมชาติเ ดิมแล้ว ย่อมง่า ยแก่ก ารสังเกตพบได้ การรับ รู้ค วาม
เคลื่อนไหวของข้าศึกได้ในเวลากลางคืนนัน
้ จำเป็ นต้องอาศัยความอดทน
ความมั่นใจ และความมีสติมั่นคง ทัง้ ผูบ
้ ังคับหน่วยและทหารทุกคน
๑) ความสามารถในการเคลื่อนที่แบบลักลอบในเวลากลาง
คืน และความสำเร็จในการปฏิบัติต่อเป้ าหมายในเวลากลางคืน ขึน
้ อยู่กับ
ความรู้ในเรื่องข้าศึกว่า ข้าศึกเข้าตี ตัง้ รับ และใช้ภูมิประเทศอย่างไร การ
ศึกษาเทคนิคต่าง ๆ ของข้าศึก แล้วนำมาจำลองแบบเทคนิคเหล่านัน
้ จะ
ช่วยให้ค้นหาเป้ าหมายได้ง่ายขึน

๒) ความอดทนและความมั่นใจ เป็ นสิง่ จำเป็ นยิ่งสำหรับการ
ค้นหาเป้ าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ขณะเคลื่อนที่ผ่านพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง
ทหารควรพิจารณาสิ่งต่าง ๆ โดยรูปร่างลักษณะเป็ นสำคัญ กล่าวคือต้อง
มองสิ่งต่าง ๆ อย่างรอบคอบ สงบ ไม่ต่ น
ื เต้น และมองอย่างเป็ นระบบ
ทั่วทัง้ พื้น ที่ ไม่สนใจมองแต่เ ฉพาะส่วนผิวเท่า นัน
้ แต่ต ้องมองทัง้ รูปร่า ง
ลักษณะโดยรวมทัง้ หมดโดยสัง เกตลัก ษณะแนวเส้น รูปทรงที่ผ ิด แปลก
ธรรมชาติ และลักษณะความเข้มของแสงด้วย
๓) ทหารแต่ละคนต้องเพ่งเล็งบริเวณที่น่าจะมียาม หรือจุด
ตรวจของข้า ศึก สะพาน หรือ สิง่ กีด ขวาง และสัน เนิน ทางทหารบน
ภูม ิป ระเทศสำคัญ (บริเ วณที่ซ ึ่ง จะเป็ นที่ต รวจการณ์ไ ด้ด ีท ี่ส ุด ) รวมทัง้
พิจ ารณาที่ต งั ้ สำ หรับ อาวุธ ยิง สนับ สนุน กับ พิจ ารณาระยะยิง ของอาวุธ
สนับสนุนจากจุดเหล่านัน
้ ด้วย นอกจากนีค
้ วรพิจารณาถึงการใช้เครื่องมือ
ตรวจการณ์เ วลากลางคืน ของอาวุธ เหล่า นัน
้ หากมีก ารใช้จ ะใช้อ ย่า งไร
และมีระดับเส้นสายตา (line of sight) อย่างไร เมื่อพิจารณาสิ่งต่าง ๆ
เหล่านีแ
้ ล้วก็ค้นหาที่ตงั ้ และการปฏิบัติต่าง ๆ ของข้าศึกตามนัน
้ ต่อไป
ลำดับขัน
้ การปฏิบัติของหมู่ มว.ปล.ในการเข้าตี

หมู่ปืนเล็กปฏิบัติการเข้าตี โดยเป็ นส่วนหนึ่งของ หมวดปื นเล็ก


การปฏิบัติในที่รวมพล
- ผบ.มว. แบ่งมอบพื้นที่ให้กับ ผบ.หมู่.ปล.
- ผบ.หมู่ ลว. พื้นที่ที่ได้รับมอบ เพื่อหาพื้นที่วางตัวทหารในหมู่
- นำกำลังของ หมู่ เข้าวางตัวในพื้นที่รับมอบ
- จัดการระวังป้ องกัน ข้างหน้า 1 จุด
- มอบเขตการยิงให้ทหารแต่ละนาย
- ทหารขุดหลุมนอนยิง ดัดแปลงพื้นที่วางตัวให้อยู่ในที่ปกปิ ดกำบัง
- ตรวจสอบการพราง และการตัง้ ศูนย์รบของทหาร
- เบิก – รับ กระสุน, วัตถุระเบิด และยุทธภัณฑ์ เพิ่มเติมจาก
บก.มว.
- รับคำสั่งเตรียม, มอบหมายงานให้ หน.ชุดยิงอาวุโส ปฏิบัติหน้าที่
ฯ แทน
- เตรียมตัวเพื่อไปรับคำสั่งยุทธการ จาก ผบ.มว. เมื่อใกล้เวลานัด

หมาย

การปฏิบัติขณะขึน
้ ไปรับคำสั่งยุทธการ จาก ผบ.มว.
- รายงานตัวต่อ ผบ.มว. เมื่อไปถึงสถานที่ที่กำหนด
- วางตัวอยู่ในที่ปกปิ ดกำบัง พร้อมรับคำสั่ง
- จดบันทึกรายละเอียดของคำสั่ง พร้อมซักถามภารกิจและการ
ปฏิบัติของหมู่ เพื่อให้เกิดความมั่นใจ เมื่อรับคำสั่งเสร็จ
- เมื่อ แน่ใ จในภารกิจ ของตนเองแล้ว ตัง้ เวลานาฬิก าให้ต รงกับ
ผบ.มว.
- ใช้เ วลาที่ม ีอ ยู่ต รวจพื้น ที่ผ ่า นแนวออกตี และแนวทางเคลื่อ นที่
เข้าหาที่หมายด้วยสายตา เท่าที่สามารถกระทำได้
- วางแผนขัน
้ ต้น โดยอาศัยแผนการปฏิบัติ ของ ผบ.มว. เป็ นหลัก
- เมื่อ ตกลงใจภายหลัง จากวิเ คราะห์ภ ารกิจ แล้ว จึง จัด ทำคำ สัง่
ยุทธการ
- กลับไปสั่งการ หมู่ ณ ที่รวมพลโดยจำลองภูมิประเทศให้ใกล้เคียง
ความจริงมากที่สุด เพื่อช่วยในการอธิบาย

การปฏิบัติขณะออกคำสั่งยุทธการ ให้กับ หมู่


- เรียก เฉพาะหน.ชุด หรือ กำลังพลทัง้ หมู่ มารับคำสั่ง
- จำลองภูมิประเทศในทิศทางเดียวกับที่หมาย และให้ทหารนั่งหัน
หน้าเข้ามาที่หมาย หรือภูมิประเทศจำลอง ผบ.หมู่ นั่งหันข้างให้ที่หมาย
- ออกคำสั่งเมื่อทหารใน หมู่ พร้อม โดยอาศัยหัวข้อ คำสั่งยุทธการ
๕ ข้อ - ซัก ถามประเด็น สำ คัญ จาก หน.ชุด ยิง
หรือ ทหารที่ไ ด้รับ การมอบหมายให้ป ฏิบ ัต ิห น้า ที่พ ิเ ศษ เพื่อ ความแน่ใ จ
ว่าการสั่งการครัง้ นี ้ ทหารมีความเข้าใจในภารกิจ และแผนปฏิบัติของหมู่
อย่างชัดเจน
- ทำการซัก ซ้อมแผนการปฏิบัต ิในที่รวมพล เกี่ยวกับเรื่อ งต่อ ไปนี ้
ถ้ามีเวลา
.. การจัดกำลังในการเคลื่อนที่
.. การผ่านแนวออกตี
.. การปฏิบัติเมื่อปะทะข้าศึก
.. การปฏิบ ัต ิเ มื่อ ถึง แนวประสาน ฯ และการเคลื่อ นที่เ ข้า
ตะลุมบอน
.. การปฏิบัติเมื่อยึดที่หมายได้แล้ว
- ตรวจความพร้อมครัง้ สุดท้าย ก่อนถึงเวลาปฏิบัติ
การปฏิบัติจากที่รวมพล แนวออกตี
- จัดกำลังเตรียมเคลื่อนที่ในรูปขบวนแถวตอน
- เคลื่อนที่ในรูป ขบวนของ หมวด โดยมี ผบ.หมู่ อาวุโ ส เป็ นผู้
ควบคุม
- ถึงแนวออกตี ( ไม่หยุดที่ฐานออกตี ) ผบ.หมู่ นำกำลังของหมู่
ปรับรูปขบวนขัน
้ ต้น เตรียมผ่านแนวออกตีตามเวลา น. ( ชีท
้ ี่หมายให้
ทหารดูเมื่อมาถึง )

การปฏิบัติจากแนวออกตี แนวประสานการปฏิบัติขน
ั้
สุดท้าย ( ที่เตรียมตะลุมบอน )
- ผ่า นแนวออกตีต ามเวลา น. ด้ว ยรูป ขบวนขัน
้ ต้น ที่ ผบ.มว.
กำหนด
- รายงาน ผบ.มว. เมื่อ หมู่ เคลื่อนที่ผ่านแนวออกตี เรียบร้อยแล้ว
- เคลื่อนที่ต่อไปในทิศทางที่หมาย โดยอาศัยลักษณะภูมิประเทศใน
การปกปิ ด และซ่อนพราง
- ทหารภายในหมูต
่ รวจการณ์คน
้ หาข้าศึกตลอดเวลา และมีการ
ประสานในการเคลื่อนทีก
่ บ
ั หมู่ ข้างเคียงอย่างต่อเนื่อง ตลอดการเข้าตี
- หยุดหน่วย เข้าหาที่กำบัง เมื่อพบข้าศึกในพื้นที่
- ปรับ กำลัง เข้า พิส ูจ น์ท ราบที่ต งั ้ ข้า ศึก แล้ว รายงานให้ ผบ.มว.
ทราบ
- เมื่อปะทะข้าศึกโดยไม่คาดคิดให้หมู่ ปฏิบัติการดำเนินกลยุทธ์ด้วย
เทคนิคการดำเนินกลยุทธ์ทันที แล้วรายงานให้ ผบ.มว. ทราบ
- ถ้าข้าศึกมีกำลังมาก ให้หมู่ ตรึงข้าศึกไว้ แล้วรายงานให้
ผบ.มว.ทราบ เพื่อขอรับการสนับสนุนอาวุธยิงสนับสนุน หรือกำลังเพิ่มเติม
โดย ผบ.หมู่ เป็ นผู้กำหนดเป้ าหมายให้
- เมื่อกระสุน ค./ ป. ยิงมาตกในพื้นที่ ให้ทหารในหมู่ หมอบจนกว่า
จะสิน
้ เสียงระเบิด จึงปรับกำลังเคลื่อนที่ผ่านไป โดยเร็ว
- เมื่อ หมู่ เคลื่อนทีพ
่ บเครื่องกีดขวาง ให้ออ
้ มผ่านหรือทำลายถ้า
ทำได้ หากไม่สามารถผ่านหรือทำลายได้ ให้รายงาน ผบ.มว. ทันที

- เมื่อถึงแนวประสาน ฯ ให้ปรับกำลังตามแผนที่ ผบ.มว.กำหนด


เมื่อประสานกับ หมู่ข้างเคียงเรียบร้อยแล้วจึงรายงาน ให้ ผบ.มว. ทราบ
โดยเร็ว
- รอสัญญาณนัดหมายในการเคลื่อนที่เข้ายึดที่หมาย

การปฏิบัติจากแนวประสานฯ( ที่เตรียมตะลุมบอน ) ที่


หมาย
- เมื่อได้รบ
ั สัญญาณการเข้ายึดทีห
่ มาย จาก ผบ.มว. กำลังของ หมู่
เคลื่อนทีป
่ ระกอบการยิงเข้าหาที่หมายโดยอาศัยหลักเทคนิคในการเข้า
ตะลุมบอน
- เมื่อพบพื้นที่สงสัยหรือไม่แน่ใจ ให้เข้าที่กำบังแล้วทำการเล็งยิงไป
ยังพื้นที่นน
ั ้ จนแน่ใจว่าปลอดภัยจึงเคลื่อนที่ต่อไป
- ใช้วิธีการเคลื่อนที่ภายใต้ความกำบังสลับเป็ นชุดยิงจนผ่านที่หมาย
ไปพอประมาณว่าข้าศึกถอยตัวพ้นจากที่หมายแล้ว
- ในการเคลื่อนที่เข้าตะลุมบอน ผบ.หมู่ จะต้องแน่ใจว่าทหาร
ภายใน หมู่ จะต้องไม่ได้รับอันตรายจากอาวุธฝ่ ายเดียวกัน
- หยุดยิง/หยุดการเคลื่อนที่เมื่อสัญญาณยึดที่หมาย ได้ปรากฏขึน

การปฏิบัติเมื่อยึดที่หมายได้แล้ว
๑. การเสริมความมั่นคง ณ ที่หมาย ให้ปฏิบัติดังนี ้
- วางกำลังของ หมู่ ในทิศทางที่ ผบ.มว. กำหนด ให้เต็มพื้นที่
- จัดยามคอยเหตุ ข้างหน้าพื้นที่ของ หมู่ ๑ จุด ทันที
- นำอาวุธกล เข้าประจำที่ตงั ้ ยิง
- ขุดหลุมบุคคล ดัดแปลงที่มั่นพร้อมต้านทานข้าศึกตลอดเวลา
๒. การจัดระเบียบใหม่ ให้ปฏิบัติดังนี ้
- สำรวจกระสุน วัตถุระเบิดที่เหลืออยู่ เพื่อเฉลี่ยแบ่งปั นภายใน
หมู่
- กำลังพลที่บาดเจ็บ หรือขวัญเสียให้ ทำการปฐมพยาบาลขัน

ต้น หรือส่งกลับพื้นที่ส่วนหลัง
- หากมีกำลังเข้ามาทดแทนใน หมู่ แทนคนเจ็บที่ส่งกลับให้
ปฏิบัติหน้าที่แทนคนเจ็บทันที
- รายงานสถานภาพกำลังพลปั จจุบัน, กระสุน, วัตถุระเบิดที่ใช้
ไป เพื่อขอทดแทนใหม่ รวมทัง้ สถานการณ์ข้าศึกปั จจุบัน

ตัวอย่าง การรายงาน ผบ.มว. เมื่อยึดที่หมายได้แล้ว (รายงาน


ด้วยวาจา)

หมู่.ปล.ที่ ๑ : ขอรายงานผลการปฏิบัติของหมู่ ดังนี ้


- พบข้าศึกเสียชีวิต จำนวน ๑ นาย ยึดอาวุธ AK –
๔๗ ได้ ๑ กระบอก จากการเข้าเคลียร์พ้ืนที่ พบ ร่องรอยการหลบหนี
ของข้าศึกไปทางทิศตะวันออก
- กระสุน– วัตถุระเบิด ที่ใช้ไปในครั ง้ นี ้ มี กระสุนปื นเล็ก ใช้
ไป ๗ อัตรายิง กระสุน M.๒๐๓ ใช้ไป ๔ สาย ระเบิดขว้าง ใช้ไป ๒
ลูก ขอเบิกทดแทนใหม่เท่าที่ใช้ไป
- กำลังพลของ หมู่ ยังมีขวัญดี พร้อมทีจ
่ ะปฏิบต
ั ภ
ิ ารกิจใหม่ตอ

ไปได้ทก
ุ คน........ครับ

หมายเหตุ หัวข้อการรายงานที่เหมาะสม ควรเรียงลำดับ


ดังนี ้
๑. สถานการณ์ข้าศึกโดยสรุป
๒. การใช้กระสุน – วัตถุระเบิด และการขอเบิกทดแทน
๓. สถานภาพกำลังพลที่จะต้องปฏิบัติภารกิจต่อไป

......................................................................................

ลำดับขัน
้ การปฏิบัติของ หมู่ปืนเล็ก ในการเข้าตี เวลากลางคืน
การปฏิบัติในที่รวมพล
- คงปฏิบัติเช่นเดียวกับการเข้าตีในเวลากลางวัน
- เพิม
่ เติมการปฏิบต
ั ภ
ิ ายหลังได้รบ
ั คำสัง่ เตรียมจาก ผบ.มว. คือ จัด
หน.ชุดยิง คนใดคนหนึง่ เป็ นตัวแทนของหมู่ ร่วมไปลาดตระเวน กับชุด
ลาดตระเวนของ มว.ปล.
- ตัวแทน หมู่ ( หน.ชุดยิง ) ไปรายงานตัวกับ หน.ชุดลาดตระเวน
ของ มว. ( ผบ.มว.อาจจัด รอง.ผบ.มว. เป็ น หน.ชุด ก็ได้ )
- หน้าที่ของตัวแทน หมู่ จะเป็ นผู้เฝ้ าจุดแยกหมู่ เพื่อคอยนำทาง
ของ หมู่ เข้าพื้นที่วางตัว ณ แนวปรับรูปขบวน ( นำอา หารมื้อเย็นติดตัว )
- หน.ชุดลาดตระเวนของ มว. จะกลับมารายงานผล การเลือกเส้น
ทางเข้าตี ,จุดแยกหมู่ , จุดแยกหมวด และแนวปรับฯให้กับ ผบ.มว.
ทราบ เพื่อวางแผนทำคำสั่งยุทธการ
การปฏิบัติขณะรับคำสั่งยุทธการ จาก ผบ.มว.
- คงปฏิบัติเช่นเดียวกับการเข้าตี เวลากลางวัน ทุกประการ
การปฏิบัติขณะออกคำสั่งยุทธการให้กับ หมู่
- คงปฏิบัติเช่นเดียวกับการเข้าตี เวลากลางวัน
- ยกเว้นเรื่องที่ต้องซักซ้อม ให้ทำการซักซ้อมในเรื่องต่อไปนี ้
.. การเคลื่อนที่ในเวลากลางคืน รวมทัง้ ท่าสัญญาณที่ใช้
.. การผ่านจุดออกตี
.. การปฏิบัติเมื่อถึงจุดแยกหมู่
.. การปฏิบัติเมื่อเข้าแนวปรับรูปขบวน
.. การปฏิบัติต่อที่หมาย
- ตรวจความพร้อมของ หมู่ ครัง้ สุดท้าย

การปฏิบัติของหมู่จากที่รวมพล แนวออกตี
- คงปฏิบัติเช่นเดียวกับการเข้าตีเวลากลางวัน
- ยกเว้นการผ่านแนวออกตี ให้กำลังของ หมู่ ผ่านแนวที่จุดออกตี ที่
กองร้อย กำหนดให้
- เมื่อกำลังมาถึงจุดออกตีก่อนเวลา ให้กำลังทัง้ หมด รอ เวลา น.

ในรูปขบวนแถวตอน

การปฏิบัติของหมู่ จากแนวออกตี แนวปรับรูปขบวน


- หมู่ เคลื่อนที่ผ่านแนวออกตี ที่จุดออกตี ในรูปขบวนแถวตอนของ
มว.
- ผ่านจุดแยก มว. โดยพลนำทางของ มว.
- ถึงจุดแยก หมู่ พลนำทางของ หมู่ ( หน.ชุด ที่จัดเป็ นตัวแทน ) จะ
พากำลังของ หมู่ ไป วางตัวที่แนวปรับรูปขบวน
- ในขัน
้ ต้น กำลังพลของ หมู่ จะเข้าที่วางตัวตามจุดที่ตัวแทน หมู่
กำหนดให้
- ผบ.หมู่ ปรับกำลังใหม่ได้ ถ้าเห็นว่าไม่เหมาะสม
- รอสัญญาณนัดหมายในการเข้าโจมตีที่หมาย

การปฏิบัติของหมู่ จากแนวปรับรูปขบวน ที่หมาย


- ถ้าข้าศึกยังไม่ร้ต
ู ัว เมื่อได้รับสัญญาณการเข้าโจมตีที่หมาย ให้ หมู่
เคลื่อนที่ด้วยความเงียบเข้าหาที่หมาย
- ถ้าข้าศึกทราบการเข้าโจมตีของหน่วยเรา และมีการตอบโต้ด้วย
การยิงจากข้าศึก ให้ หมู่ เข้าหาที่กำบัง แล้วโจมตีที่ หมายด้วยอำนาจการ
ยิงของหมู่ทันที
- เมื่อมีการส่องสว่างต่อที่หมายบังเกิดขึน
้ ให้ หมู่ ตรวจการณ์ไปยัง
ที่หมายเพื่อค้นหาข้าศึก และทำลายข้าศึกยังที่หมาย
- เมื่อข้าศึกบนที่หมายเงียบเสียงจากการยิงตอบโต้กลับมา ให้กำลัง

ของหมู่ ใช้เทคนิคในการดำเนินกล

ยุทธ์ต่อที่หมายต่อไปจนเลยที่หมาย แต่ไม่เลยเขตจำกัดการรุกที่หน่วย

เหนือกำหนดไว้

การปฏิบัติเมื่อยึดที่หมายได้แล้ว
- ในทันที่ที่สัญญาณยึดที่หมายปรากฏขึน
้ ( สัญญาณหยุดยิง ) ให้
วางตัวในที่กำบัง ในเขตทิศทางที่กำหนด
- จัดยามประจำที่ฟังการณ์ข้างหน้า ทันที
- การเสริมความมั่นคง ณ ที่หมาย และการจัดระเบียบใหม่ คง
ปฏิบัติเช่นเดียวกับการเข้าตีเวลากลางวัน
แผนกวิชายุทธวิธี กองการศึกษา
โรงเรียนทหารราบ

เอกสารประกอบการ
ฝึ ก

แผนการสอน
หมู่,หมวดปื นเล็ก
ในการเข้าตี

ศูนย์การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ อ.ปราณบุรี


จว.ประจวบคีรข
ี ันธ์

You might also like