Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

1

The Kolmogorov – Smirnov Test


การใช Kolmogorov – Smirnov Test นี้มีลักษณะการใชที่แตกตางจากการทดสอบที่เปน
แบบพาราเมตริกอยูตรงที่ขอมูลมีขีดจํากัด ขอมูลที่มีขอตกลงเบื้องตนที่สําคัญในการใชที่สอดคลอง
กับ Kolmogorov – Smirnov Test เชนนี้แลว การใชนอนพาราเมตริกทดสอบสมมติฐานการวิจัยจะ
ใหประสิทธิภาพสูงกวาการใชสถิติพาราเมตริก การคิดคํานวณคาสถิติแบบ Kolmogorov – Smirnov
Test ก็สามารถทําไดงายมาก และนอกจากนี้ยังมีตารางสําเร็จเพื่อหาคาสถิติจากขอมูลใหดวย ทําให
สะดวกในการใชมากขึ้น

1. Kolmogorov – Smirnov One Sample Test


1.1 หลักการและแนวคิด
การทดสอบ Kolmogorov – Smirnov One Sample Test เปนการทดสอบความแตกตาง
ระหวางความถี่ที่สังเกตไดกับความถี่ที่คาดหวัง หรือที่เรียกวาเปนการทดสอบภาวะความเหมาะสม
อีกวิ ธีหนึ่ ง วิธีนี้ใชค วามถี่ส ะสมแทนความถี่ ปกติ ไมว า จะเปนความถี่ ที่สัง เกตได หรือความถี่ ที่
คาดหวัง จุดมุงหมายในการทดสอบเหมือนกับการทดสอบไคกําลังสอง คือตองการทดสอบวาการ
แจกแจงของข อมู ลที่ สั ง เกตไดแตกตา งจากการแจกแจงที่ คาดหวัง ตามทฤษฎีหรื อไม แตวิ ธี นี้มี
ประสิทธิภาพมากกวาการทดสอบไคกําลังสอง และใชไดกับขอมู ลทุกกรณี แมวาความถี่บางกลุมจะ
เปนศูนยก็ตาม และใชกับขอมูลที่อยูในระดับต่ําสุดคือ ระดับเรียงอันดับ

1.2 ขอตกลงเบื้องตน
ระดับของขอมูล  จะอยูในมาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale) เปนอยางนอย
ลักษณะของขอมูล  ไมมีขอกําหนดเกี่ยวกับลักษณะการแจกแจงของขอมูล

1.3 การตั้งสมมติฐาน
H 0 : f0 i = fE i หมายถึง ไมมีความแตกตางกันระหวางความถี่ที่สังเกตไดกับ
ความถี่ที่คาดหวัง
H 1 : f0 i = fE i หมายถึง มีความแตกตางกันระหวางความถี่ที่สังเกตไดกับความถี่
ที่คาดหวัง
เมื่อ f0 i แทนความถี่ที่สังเกตได
fE i แทนความถี่ที่คาดหวัง
2

1.3 สูตรและวิธีการทดสอบ
ให F E ( X i ) แทนความถี่สะสมสัมพัทธที่คาดหวังซึ่งหาไดดังนี้
FEi
F E (X i) =
N
เมื่อ FEiแทน ความถี่สะสมที่คาดหวัง
N แทน ขนาดสิ่งตัวอยาง
ให F 0(X i) แทนความถี่สะสมสัมพัทธที่สังเกตได ซึ่งหาไดดั งนี้
F 0i
F 0(X i) =
N
เมื่อ แทน ความถี่สะสมที่สังเกตได
F 0i
N แทน ขนาดสิ่งตัวอยาง
ในการทดสอบความแตกตางระหวางความถี่ที่สังเกตได กับความถี่ที่คาดหวังนั้นก็หวังวา
ทุก ๆ คาของ X i , F 0 ( X i ) ควรจะใกลเคียงกับ F E ( X i ) และความแตกตางระหวาง F 0 ( X i ) และ
F E ( X i ) ควรจะมีคา นอย ๆ ซึ่ง เกิดจากความคลาดเคลื่อนในการสุมตัวอยา งเทา นั้น การทดสอบ
Kolmogorov – Smirnov One Sample Test มีสูตรดังนี้
D = m a x | F E ( X i ) - F 0 ( X i ) | ; i = 1, 2, 3, . . . , N .......................... (1)

เมื่อ D แทน ความเบี่ยงเบนสูงสุด (maximum deviation)


F E (X i) แทน ความถี่สะสมสัมพัทธที่คาดหวัง
F 0(X i) แทน ความถี่สะสมสัมพัทธที่สังเกตได

ลําดับขั้นตอนในการทดสอบ
1. ตั้งสมมุติฐาน
2. กําหนดระดับนัยสําคัญ
3. คํานวณหาคา D
4. นําคา D ที่คํานวณไดมาเปรียบเทียบกับ คา D ที่เปดจากตาราง
5. ตัดสินใจและสรุปผล

ตัวอยางที่ 1.1 ในการศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษา จํานวน 2 5 คน เกี่ยวกับการบริการทาง


วิช าการ ของสถาบันราชภั ฏ อุบ ลราชธานี ปรากฏวา มีผู แสดงความคิ ดอยูใ น ระดั บน อย 2 คน
ระดับคอนขางนอย 5 คน ระดับปานกลาง 6 คน ระดับคอนขางมาก 9 คน ระดับมาก 3 คน อยาก
ทราบว า นั ก ศึ ก ษากลุ ม นี้ มี ค วามคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การบริ ก ารทางวิ ช าการของสถาบั น ราชภั ฏ
อุบลราชธานี ในระดับตาง ๆ แตกตางกันหรือไม
3

1. ตั้งสมมติฐาน
H 0 : f0i = fE i
H 1 : f0 i น fE i
เมื่อ f 0 i แทนความถี่ที่สังเกตได
f E i แทนความถี่ที่คาดหวัง

2. กําหนดระดับนัยสําคัญ กําหนดให a = .05


3. คํานวณคาสถิติเพื่อหาคา D
N 25
หาความถี่ที่คาดหวัง จากสูตร f E = = = 5
k 5
จากขอมูลที่กําหนดให หาความถี่สะสมที่สังเกตได และความถี่สะสมที่คาดหวัง
หาความถี่สะสมสัมพัทธที่สังเกตได และความถี่สะสมสัมพัทธที่คาดหวัง
หาผลตางระหวางความถี่สะสมสัมพัทธที่คาดหวังกับความถี่สะสมสัมพัทธที่สังเกตได
จากขอ 3.1 – 3.4 นําตัวเลขมาบรรจุลงตาราง ดังนี้

ความถี่สะสม
ระดับความ ความถี่ ความถี่สะสม
สัมพัทธ | F E (X i) - F 0(X i) |
คิดเห็น
f0 fE F0 FE F 0(X i) F E (X i)
นอย 2 5 2 5 .0 8 .2 0 .1 2
คอนขางนอย 5 5 7 10 .2 8 .4 0 .1 2
ปานกลาง 6 5 13 15 .5 2 .6 0 .0 8
คอนขางมาก 9 5 22 20 .8 8 .8 0 .0 8
มาก 3 5 25 25 1 .0 0 1 .0 0 .0 0

หาคา D จากสูตร
D = m a x | F E ( X i) - F 0( X i) |

= .1 2

4. นําคา D ที่คํานวณไดมาเปรียบเทียบกับ คา D ที่เปดจากตาราง


จากการคํานวณจะไดคา D จาก D = M a x im u m F E ( X i ) - F 0 ( X i ) คือ 0.12
จากการเปดตารางไดคาวิกฤตของ D คือ 0.27 โดยดูจากระดับนัยสําคัญ .05 และ N = 25
4

5. การตัดสินใจ เปรียบเทียบคา D ที่คํานวณได คือ 0.12 กับคาวิกฤตของ D คือ 0.27


จะเห็นวาคา D ที่คํานวณได มีคานอยกวาคาวิกฤต จึงยอมรับ H 0
สรุปผล สรุปไดวานักศึกษากลุมนี้มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการ ของ
สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี ในระดับตาง ๆ ไมแตกตางกัน

ตัวอยางการใชโปรแกรม SPSS
ตัวอยาง 1.2 จงทดสอบคะแนนสอบของนักเรียน 48 คน วามีการแจกแจงแบบปกติหรือไม โดย
นักเรียนมีคะแนนสอบดังนี้ 1 2, 4 , 1, 6, 8 , 9, 1 0, 1 2, 1, 8 , 1 9, 2, 1 8 , 5, 4 , 8 , 1 0, 1 2, 1 4 , 4 , 2, 1 6, 1 4 , 2,
1 2, 6, 4 , 8 , 1 0, 6, 1 6, 1 8 , 6, 8 , 1 0, 1 6, 8 , 1 6, 1 8 , 8 , 1 0, 1 9, 1 0, 1 2, 1 6, 1 2, 1 4 , 1 6

ตั้งสมมติฐาน
H0 : คะแนนสอบมีการแจกแจงแบบปกติ
H1 : คะแนนสอบไมไดมีการแจกแจงแบบปกติ

คําสั่ง SPSS คือ


Analyze Nonparametric Test 1-Sample k-s…

ผลลัพธที่ไดดังแสดงในตาราง

คะแนนสอบเฉลี่ยของนักเรียน 48 คน = 10 คะแนน , คะแนนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 5.174


คะแนนสถิติ K - S = D = m a x | F E ( X i ) - F o ( X i ) | = . 1 0 6
5

เมื่อเปดตาราง Kolmogorov – Smirnov ที่ n = 2 0 , a = .0 5 ไดคาวิกฤตเทากับ 0.294


แต K - S = 0.106 ซึ่งนอยกวา 0.294 จึงยอมรับ H 0 หรือพิจารณาจากคา P-value หรือ Exact
Sig. (2-tailed) = . 6 3 7 ซึ่งมากกวาระดับนัยสําคัญที่กําหนด = a = .0 5 จึงสรุปวา ไมสามารถ
ปฏิเสธ H 0 ได นั่นคือ คะแนนสอบมีการแจกแจงแบบปกติ

2. Kolmogorov-Smirnov Two Sample Test


2.1 หลักการและแนวคิด
การทดสอบ Kolmogorov-Smirnov Two Sample Test เปนวิธีการทดสอบวาสิ่งตัวอยาง
อิสระสองกลุม สุมมาจากประชากรที่มีการแจกแจงอยางเดียวกันหรือไม การทดสอบแบบไม มี
ทิศทาง ใช ทดสอบวา มีคา เฉลี่ย การกระจาย ความเบตางกันหรือไม สํา หรั บการทดสอบแบบมี
ทิศทาง ใชทดสอบว าประชากรกลุ มหนึ่ง มีคามากกวาหรือนอยกวา ประชากรอีก กลุมหนึ่ ง เช น
คะแนนของกลุมทดลองสูงกวาคะแนนของกลุมควบคุมหรือไม
การทดสอบแบบนี้คลายกับวิธีการทดสอบโคลโมโกรอฟ-สไมรนอฟ สําหรับสิ่งตัวอยาง
กลุมเดียว ซึ่งพิจารณาจากการแจกแจงความถี่สะสมของสิ่งตัวอยางทั้งสอง วามีลักษณะใกลเคียงกั น
หรือไม ถาลักษณะการแจกแจงความถี่สะสมเหมือนกัน ตางกันบางเนื่องจากโอกาสการสุม ก็มี
เหตุผลพอที่จะเชื่อไดวาสิ่งตัวอยางทั้งสองมาจากประชากรเดียวกัน ถาลักษณะการแจกแจงความถี่
สะสมตางกันมาก ก็แสดงวาสิ่งตัวอยางมาจากประชากรที่ตางกัน

2.2 ขอตกลงเบื้องตน
ระดับของขอมูล  จะอยูในมาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale) เปนอยางนอย
ลักษณะของขอมูล  ขอมูลไดมาจากกลุมตัวอยาง 2 กลุมที่เปนอิสระตอกัน

2.3 การตั้งสมมติฐาน
การทดสอบแบบสองทาง
H 0 : ประชากรกลุมที่ 1 และ 2 มีลักษณะการแจกแจงเหมือนกัน
H1 : ประชากรกลุมที่ 1 และ 2 มีลักษณะการแจกแจงแตกตางกัน

การทดสอบแบบทางเดียว
H 0 : ประชากรกลุมที่ 1 และ 2 ไมแตกตางกัน
H1 : ประชากรกลุมที่ 1 มีคามากกวาประชากรกลุมที่ 2
หรือ
H0 : ประชากรกลุมที่ 1 และ 2 ไมแตกตางกัน
6

H1 : ประชากรกลุมที่ 1 มีคานอยกวาประชากรกลุมที่ 2

2.4 สูตรและวิธีการทดสอบ
ในการทดสอบโคลโมโกรอฟ-สไมรนอฟ สําหรับสิ่งตัวอยางสองกลุม จะพิจ ารณาจากการ
แจกแจงความถี่สะสมที่แตกตางกันมากที่สุด
ให S m ( X ) แทนความถี่สะสมสัมพัทธ ของสิ่งตัวอยางที่มี m จํานวน และให
Fm
Sm (X ) =
m
เมื่อ Fm แทน ความถี่สะสมของสิ่งตัวอยางขนาด m จํานวน
และให S n ( X ) แทนความถี่สะสมสัมพัทธ ของสิ่งตัวอยางที่มี n จํานวน และให
Fn
Sn(X ) =
n
เมื่อ F n แทน ความถี่สะสมของสิ่งตัวอยางขนาด n จํานวน
ในการทดสอบตองจัดกลุมขอมูลเปนชวง ๆ ใหมีจํานวนชวงมากที่สุดเทาที่จะทําได ถาแบง
ขอมูลเปนชวง ๆ นอยเกินไป อาจจะทําใหผลการทดสอบคลาดเคลื่อนไป ซึ่งแบงออกเปน 2 กรณี
คือ
1) ในกรณีสิ่งตัวอยางขนาดเล็ก เมื่อ m หรือ n ไมเกิน 2 5
คาวิ กฤตของ m n D m , n สํ าหรับ การทดสอบแบบทางเดี ยว แสดงไวในตาราง และคา วิก ฤตของ
m n D m , n สําหรับการทดสอบแบบสองทาง แสดงไวในตาราง และหาคาที่สังเกตได D m , n จากสูตร
ตอไปนี้
(1) ถาเปนการทดสอบทางเดียว ใชสูตร
D m , n = m a x [S m ( X ) - S n ( X ) ] (2)
(2) ถาเปนการทดสอบแบบสองทาง ใชสูตร
D m ,n = m a x | S m ( X ) - S n ( X ) | (3)

ตัวอยาง 2.1 การศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรูวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่


6 จากชุดการสอนที่วิเคราะหระบบกับที่ไมวิเคราะหระบบ ผูวิจัยสุมนักเรียนมา 19 คน แลวแบงเปน
สองกลุม กลุมทดลอง 10 คน เรียนจากชุดการสอนที่วิเคราะหระบบ และกลุมควบคุม 9 คน เรียน
จากชุดการสอนที่ไมวิเคราะหระบบ ผลการทดสอบหลังทดลอง ไดคะแนนดังนี้

กลุมทดลอง (1) : 3 9 41 45 46 48 55 40 52 48 47
กลุมควบคุม ( 2 ) : 3 5 39 40 38 34 29 41 24 32
7

จงทดสอบวา ผลการเรียนของนักเรียนที่เ รียนจากชุดการสอนที่วิเคราะหระบบ สูงกวา


นักเรียนที่เรียนจากชุดการสอนที่ไมไดวิเคราะหระบบหรือไม ที่ระดับนัยสําคัญ . 0 1
1. ตั้งสมมติฐาน
H 0 : q1 = q2
H 1 : q1 > q2
เมื่อ q1 แทน คามัธยฐานของผลการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากชุดการสอนที่วิเคราะห
ระบบ
q 2 แทน คามัธยฐานของผลการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากชุดการสอนที่ไม
วิเคราะหระบบ
2. กําหนดระดับนัยสําคัญ ที่   .01
3. คํานวณคาสถิติ
3.1)สร า งตารางความถี่ และความถี่ ส ะสมของขอมู ล ทั้ง สองกลุ ม โดยใชอันตรภาคชั้ น
เดียวกัน
กลุมทดลอง กุลมควบคุม
คะแนน
f F f F
24 - 27 1 1 - 0
28 - 31 1 2 - 0
32 - 35 3 5 - 0
36 - 39 2 7 1 1
40 - 43 2 9 2 3
44 - 47 - 9 3 6
48 - 51 - 9 2 8
52 - 55 - 9 2 10
8

3.2)หา S m ( X ) Sn(X ) และ [S m ( X ) - Sn(X )]

คะแนน Sm (X ) Sn(X ) [S m ( X ) - S n ( X ) ]

1 0
24 - 27 .1 1 1
9 10
2 0
28 - 31 .2 2 2
9 10
5 0
32 - 35 .5 5 6
9 10
7 1
36 - 39 .6 7 8
9 10
9 3
40 - 43 .7 0 0
9 10
9 6
44 - 47 .4 0 0
9 10
9 8
48 - 51 .2 0 0
9 10
9 10
52 - 55 0
9 10

3.3)ทดสอบแบบทางเดียว
D m , n = m a x [S m ( X ) - S n ( X ) ]

= .7 0 0
m n D m , n = ( 9 ) (1 0 ) ( . 7 0 0 ) = 6 3

4. หาค า วิ ก ฤต เป ด ตาราง เมื่ อ m = 9, n = 1 0 และ a = . 0 1 จะได m n D m , n = 6 1


ดังนั้น ถาคา m n D m , n ที่คํานวณไดมากกวาหรือเทากับ 6 1 จะปฏิเสธ H 0
5. การตัดสินใจ เปรียบเทียบคา m n D m , n ที่คํานวณไดคือ 6 3 กับคาวิกฤต m n D m , n จาก
ตาราง คือ 6 1 จะเห็นวาคา m n D m , n ที่คํานวณไดมีคามากกวา จึงปฏิเสธ H 0
6. การสรุปผล สรุ ปได วา ผลการเรีย นของนัก เรีย นที่ เรีย นจากชุดการสอนที่ วิเคราะห
ระบบ สูงกวานักเรียนที่เรียนจากชุดการสอนที่ไมวิเคราะหระบบ
9

2) กรณีสิ่งตัวอยางขนาดใหญและเปนการทดสอบแบบสองทาง ถา m หรือ n


มากกวา 2 5 หาคาวิกฤตไดจากตาราง และหาคาที่สังเกตได D m , n จากสูตร

D m ,n = m a x | S m ( X ) - S n ( X ) |

แลวเปรียบเทียบคา D m , n ที่สังเกตไดกับคาวิกฤต D m , n ที่คํานวณจากสูตรในตาราง


ถาคา D m , n ที่สังเกตไดเทากับหรือมากกวาคาวิกฤตของ D m , n จะปฏิเสธ H 0
สมมติวา m = 5 5 และ n = 6 0 และผูวิจัยตองการทดสอบแบบสองทาง ที่ระดับ
นัยสําคัญ . 0 5
m + n
= 1 .3 6
mn
55 + 60
คาวิกฤต D m , n จากตาราง = 1 .3 6
(55)(60)
= .2 5 4
นั่นคือ คา D m , n จากการคํานวณตองมากกวาหรือเทากับ . 2 5 4 จึงปฏิเสธ H 0
3) กรณีตัวอยางขนาดใหญและเปนการทดสอบแบบทางเดียว ในการทดสอบให
หาคา D m , n จากสูตร
D m , n = m a x [S m ( X ) - S n ( X ) ]

แลวใชสูตรไคกําลังสองทดสอบคา D m , n ดังนี้

2 mn
c = 4 D 2 m ,n ,df = 2 (4)
m + n

ตัวอยาง 2.2 ในการศึกษาเปรียบเทียบทักษะในการคิดคํานวณ ของนักเรียนชายและหญิง ผูวิจัยได


สุมนักเรียนชาย 5 4 คน นักเรียนหญิง 4 4 คน นํามาทดสอบทักษะในการคิดคํานวณ ปรากฏวาได
คะแนนดังนี้

คะแนน
เพศ
0- 2 3- 5 6- 8 9 - 11 12 - 14 15 - 17 18 - 20
ชาย 1 3 6 12 12 14 6
หญิง 11 7 8 3 5 5 5
10

จงทดสอบวา นักเรียนชายมีทักษะในการคิดคํานวณสูงกวานักเรียนหญิงหรือไม ที่ระดับ


นัยสําคัญ . 0 1
1. ตั้งสมมติฐาน
H 0 : q1 = q2
H 1 : q1 > q2
เมื่อ แทน มัธยฐานของคะแนนทักษะในการคิดคํานวณ ของนักเรียนชาย
q1
q 2 แทน มัธยฐานของคะแนนทักษะในการคิดคํานวณ ของนักเรียนหญิง
2. กําหนดระดับนัยสําคัญ ที่  = .01
3. คํานวณคาสถิติ
3.1 หา S m ( X ) S n ( X ) และ [S m ( X ) - S n ( X ) ]
ให m = 4 4 n = 5 4

คะแนน
0- 2 3- 5 6- 8 9 - 11 12 - 14 15 - 17 18 - 20
11 18 26 29 34 39 44
S 44 ( X )
44 44 44 44 44 44 44
1 4 10 22 34 48 54
S 54 ( X )
54 54 54 54 54 54 54
[S 4 4 ( X ) - S 5 4 ( X ) ] .2 3 2 .3 5 5 .4 0 6 .2 5 2 .1 4 3 - .0 0 3 0

3.2 ทดสอบแบบทางเดียว
D m , n = m a x [S m ( X ) - S n ( X ) ]

= .4 0 6

3.3 หาคาไคกําลังสองจากสูตร
2 mn
c = 4 D 2 m ,n
m + n
(44)(54)
= 4( .4 0 6)2
44 + 54
= 1 5 .9 9

4. หาคา วิก ฤต เปดตารางที่ d f = 2 และ a = . 0 1 จะได คา วิก ฤตของไคกํ าลั งสอง
เท า กั บ 9 . 2 1 ดั ง นั้ น ถ า ค า ไคกํ า ลั ง สองที่ คํ า นวณได มากกว า หรื อเท า กั บ 9 . 2 1 จะ
ปฏิเสธ H 0
11

5. การตัดสินใจ เปรียบเทียบคาไคกําลังสองที่คํานวณได คือ 1 5 . 9 9 กับคาวิกฤตของไค


กําลังสองคือ 9 . 2 1 จะเห็นไดวาคาไคกําลังสองที่คํานวณไดมีคามากกวาคาวิกฤต จึง
ปฏิเสธ H 0
6. การสรุปผล สรุปไดวา นักเรียนชายมีทักษะในการคิดคํานวณสูงกวานักเรียนหญิง
12

แบบฝกหัด
1. ในการสํารวจความคิดเห็นของพนักงานบริษัทเกี่ยวกับรูปแบบการแตงกาย จํานวน 25 คน
ไดผลดังนี้
ไมเห็นดวย เห็นดวยอยาง
ไมเห็นดวย เฉย ๆ เห็นดวย
อยางยิ่ง ยิ่ง
จํานวน
0 3 15 4 3
พนักงาน

ใหใชการทดสอบโคลโมโกรอฟ-สไมรนอฟ (กําหนดระดับนัยสําคัญ .05) ทดสอบวา


1. จํานวนพนักงานที่มีความคิดเห็นในระดับตาง ๆ แตกตางกันหรือไม
2. อัตราสวนของจํานวนพนักงานที่มีความคิดเห็นในระดับตาง ๆ เปน 1 : 1 : 4 : 1 : 1
หรือไม
2.ชั ก ตั วอย า งคะแนนสอบของนั ก ศึ ก ษา 10 คน ได ดัง นี้ 7 , 5, 1, 6, 6, 3, 2, 4 , 5 และ 0 ให ใ ช ก าร
ทดสอบของโคลโมโกรอฟ-สไมรนอฟ (กําหนดระดับนัยสําคัญ .05) ทดสอบวา
1. คะแนนสอบมีการแจกแจงปวสซองที่มีคาเฉลี่ยเปน 2 หรือไม
2. คะแนนสอบมีการแจกแจงปรกติ ที่มีคาเฉลี่ย 3 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2 หรือไม
3. จากขอมูลในตาราง Scores on a perceived maternal competence scale for two groups of
mothers ใหทําการทดสอบวาขอมูลทั้ง 2 กลุมมาจากประชากรที่มีลักษณะการแจกแจงเหมือนกัน
หรือไม (กําหนดระดับนัยสําคัญ .05)
Scores on a perceived maternal competence scale for two groups of mothers
Regular-Discharge Mothers Early-Discharge Mothers
30 27 25 20 24 23 17 22 18 20
32 17 18 28 29 26 16 13 21 14

4.ในการเปรี ย บเที ย บความสามรถในการเรี ย นวิ ช าสถิ ติข องนั ก ศึ ก ษาชายและหญิ ง โดยการใช


แบบทดสอบมาตรฐานไดคะแนนดังนี้
คะแนน 0 - 4 5- 9 10 - 14 15 - 19 20 - 24 25 - 29 รวม
หญิง 11 6 7 3 5 8 40
ชาย 1 3 5 11 12 18 50

ใหใชการทดสอบของโคลโมโกรอฟ-สไมรนอฟ ทดสอบวาความสามรถในการเรียนวิชาสถิติของ
นักศึกษาหญิงดีกวานักศึกษาชาย (กําหนดระดับนัยสําคัญ . 0 5 )

You might also like