Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 7

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เลขยกกำลัง

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4 + –


เรื่อง ค่ าหลักของรากที่ n

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 เวลาเรี ยน 1 ชัว่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้
ตัวชี้วดั
ค 1.1 ม.5/1 เข้าใจความหมายและใช้สมบัติเกี่ยวกับการบวก การคูณ การเท่ากัน และการไม่เท่ากัน
ของจำนวนจริ งในรูปกรณฑ์และจำนวนจริ งในรู ปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลัง
เป็ นจำนวนตรรกยะ

จุดประสงค์ การเรียนรู้

1. อธิ บายเกี่ยวกับค่าหลักของรากที่ n (K)


2. เขียนแสดงวิธีการหาค่าหลักของรากที่ n (P)
3. มีความกระตือรื อร้น สนใจ และเข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในชั้นเรี ยน (A)

สาระสำคัญ

ให้ a, b เป็ นจำนวนจริ ง และ n เป็ นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1 b เป็ นค่าหลักของรากที่ n ของ a


ก็ต่อเมื่อ 1. b เป็ นรากที่ n ของ a และ
2. ab > 0
เขียนแทนค่าหลักของรากที่ n ของ a ด้วย n a อ่านว่า “กรณฑ์ที่ n ของ a” หรื อค่าหลัก
ของรากที่ n ของ a
ค่าหลักของค่าที่ n ของ a หรื อ n a มีลกั ษณะคำตอบ ดังนี้
ถ้า a = 0 แล้วค่าหลักของรากที่ n ของ a เท่ากับ 0 หรื อ n a = 0
ถ้า a > 0 แล้วค่าหลักของรากที่ n ของ a เป็ นจำนวนจริ งบวก
ถ้า a < 0 และ n เป็ นจำนวนคี่ แล้วค่าหลักของรากที่ n ของ a เป็ นจำนวนจริ งลบ
ถ้า a < 0 และ n เป็ นจำนวนคู่ แล้วไม่มีคา่ หลักของรากที่ n ของ a เนื่องจากรากที่ n ของ a
ไม่มีคำตอบเป็ นจำนวนจริ ง

สาระการเรียนรู้

ค่าหลักของรากที่ n

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่ อสาร
2. ความสามารถในการคิด
- การให้เหตุผล การสรุ ปความรู้ การปฏิบตั ิ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่ เรี ยนรู้


2. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
คำถามสำคัญ

นักเรี ยนสามารถหาค่าหลักของรากที่ n ของจำนวนจริ งได้อย่างไร

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นสังเกต รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


•••••••••••••••••
1. นักเรี ยนร่ วมกันสนทนาทบทวนความรู ้เดิมเกี่ยวกับรากที่ n ของจำนวนจริ ง และตอบคำถาม
ดังนี้
 รากที่ 3 ของ –64
(เนื่องจาก –64 = (–4)3
ดังนั้น รากที่ 3 ของ –64 คือ –4 เพียงค่าเดียว)
 รากที่ 4 ของ 16

(เนื่องจาก 16 = (–2)4 และ 16 = 24


ดังนั้น รากที่ 4 ของ 16 คือ –2 และ 2)
2. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้คำถามกระตุน้ ความคิด ดังนี้
 นักเรี ยนสามารถหาค่าหลักของรากที่ n ของจำนวนจริ งได้อย่างไร
3. นักเรี ยนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับค่าหลักของรากที่ n ของจำนวนจริ ง จากแหล่งการเรี ยนรู ้
ที่หลากหลาย เช่น จากการสังเกต การร่ วมสนทนากับเพื่อนในชั้นเรี ยน จากหนังสื อเรี ยนหรื ออินเทอร์เน็ต

ขั้นคิดวิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ (Processing)


• (Gathering)
•••••••••••••••••••
4. นักเรี ยนพิจารณาตัวอย่างโจทย์เกี่ยวกับค่าหลักของรากที่ n โดยตอบคำถามประกอบการอธิ บาย
ตัวอย่าง ดังนี้
1) 343 2) –1 3) 0 4) –81

1) 343
 รากที่ n ของ 343 ที่เป็ นไปได้ท้ งั หมดคือ
3
(343 = 7  7  7 = 7
รากที่ 3 ของ 343 คือ 7)
 ค่าหลักของ 343 คือ (7)

(ค่าหลักของรากที่ 3 ของ 343 คือ 3 343 = 7


เพราะว่า 7 เป็ นรากที่ 3 ของ 343 และ 7  343 > 0)
2). –1
 รากที่ n ของ –1 ที่เป็ นไปได้ท้ ง
ั หมดคือ
(–1 = (–1)  (–1)  (–1)  …  (–1) = (–1)n n ตัว เมื่อ n เป็ นจำนวนคี่
รากที่ n ของ –1 คือ –1)
 ค่าหลักของ –1 คือ (–1)
(เมื่อ n เป็ นจำนวนคี่ ค่าหลักของรากที่ n ของ –1 คือ –1 เสมอ)
3) 0
 รากที่ n ของ 0 ที่เป็ นไปได้ท้ งั หมดคือ
(0 = 0  0  0  …  0
รากที่ n ของ 0 คือ 0)
 ค่าหลักของ 0 คือ (0)

(ค่าหลักของรากที่ n ของ 0 คือ 0 เสมอ เพราะว่า 0 เป็ นรากที่ n ของ 0 และ 0  0 = 0


เมื่อ n เป็ นจำนวนเต็มใด ๆ)

4) –81
 รากที่ n ของ –81 ที่เป็ นไปได้ท้ ง
ั หมดคือ
(–81 = (–3)  (–3)  (–3)  3 หรื อ
–81 = (–9)  9)
 ค่าหลักของ –81 คือ (ไม่มีค่าหลัก)

(–81 ไม่มีค่าหลักของรากที่ 2 หรื อ –81 ไม่เป็ นจำนวนจริ ง เพราะว่าไม่มีจำนวนจริ งใด


ที่เป็ นรากที่ 2 ของ –81 และ –81 ไม่มีคา่ หลักของรากที่ 4 หรื อ 4 –81 ไม่เป็ นจำนวนจริ ง เพราะว่า
ไม่มีจำนวนจริ งใดที่เป็ นรากที่ 4 ของ –81)
5. นักเรี ยนร่ วมกันสนทนา อภิปรายเพือ่ สรุ ปเกี่ยวกับรากที่ n ของจำนวนจริ ง และค่าหลักของรากที่ n
โดยอ้างอิงจากคำถามในกิจกรรมข้างต้น โดยนักเรี ยนสรุ ปเป็ นความรู ้และความเข้าใจไปในแนวทางเดียวกัน
ให้ a, b เป็ นจำนวนจริ ง และ n เป็ นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1 b เป็ นค่าหลักของรากที่ n ของ a
ก็ต่อเมื่อ 1. b เป็ นรากที่ n ของ a และ
2. ab > 0
เขียนแทนค่าหลักของรากที่ n ของ a ด้วย n a อ่านว่า “กรณฑ์ที่ n ของ a” หรื อค่าหลัก
ของรากที่ n ของ a

ขั้นปฏิบัติและสรุ ปความรู้ หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
••
6. นักเรี ยนทำใบงานที่ 3 เรื่ อง ค่าหลักของรากที่ n จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อน เพื่อร่ วมกันตรวจ
สอบและแก้ไขให้ถูกต้อง
7. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสิ่ งที่เข้าใจเป็ นความรู ้ร่วมกัน ดังนี้
ค่าหลักของค่าที่ n ของ a หรื อ n a มีลกั ษณะคำตอบ ดังนี้
ถ้า a = 0 แล้วค่าหลักของรากที่ n ของ a เท่ากับ 0 หรื อ n a = 0
ถ้า a > 0 แล้วค่าหลักของรากที่ n ของ a เป็ นจำนวนจริ งบวก
ถ้า a < 0 และ n เป็ นจำนวนคี่ แล้วค่าหลักของรากที่ n ของ a เป็ นจำนวนจริ งลบ
ถ้า a < 0 และ n เป็ นจำนวนคู่ แล้วไม่มีคา่ หลักของรากที่ n ของ a เนื่องจากรากที่ n ของ a
ไม่มีคำตอบเป็ นจำนวนจริ ง

ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • ••
8. นักเรี ยนออกมานำเสนอผลงานเกี่ยวกับค่าหลักของรากที่ n หน้าชั้นเรี ยน โดยมีนกั เรี ยนและครู ร่วม
กันตรวจสอบความถูกต้อง

กิจกรรมนี้สร้างเสริ มทักษะศตวรรษที่ 21 ด้านการสื่ อสาร

9. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน


ที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพือ่ เพิม่ คุณค่าบริการสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • •
10. นักเรี ยนนำความรู้ไปช่วยสอนเพือ่ น ๆ ที่ยงั ไม่เข้าใจเกี่ยวกับค่าหลักของรากที่ n
ให้เกิดความเข้าใจยิง่ ขึ้น
11. นักเรี ยนประเมินตนเองหลังการเรี ยน ในประเด็นต่อไปนี้
 สิ่ งที่นก ั เรี ยนได้เรี ยนรู้ในวันนี้ คืออะไร
 นักเรี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู ้มากน้อยเพียงใด

 นักเรี ยนพึงพอใจกับการเรี ยนรู ้ในวันนี้ หรื อไม่ เพียงใด

 นักเรี ยนจะนำความรู ้ที่ได้น้ ี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว


่ ไป
ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่ สงั คม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป
สื่ อการเรียนรู้ /แหล่ งการเรียนรู้
1. หนังสื อเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. โจทย์การหาค่าหลักของรากที่ n
3. แหล่งการเรี ยนรู้ท้ งั ภายในและภายนอกโรงเรี ยน

การประเมินการเรียนรู้
1. ประเมินความรู้ เรื่ อง ค่าหลักของรากที่ n (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินใบงาน เรื่ อง ค่าหลักของรากที่ n (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ในการทำงาน (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)

แบบประเมินใบงาน เรื่อง ค่าหลักของรากที่ n


ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
ค่าหลักของรากที่ n สามารถหาค่าหลัก สามารถหาค่าหลัก สามารถหาค่าหลัก สามารถหาค่าหลัก
ของรากที่ n ของรากที่ n ของรากที่ n ของรากที่ n
ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง
แม่นยำทุกข้อ แม่นยำทุกข้อ แต่ครู ตอ้ งแนะนำ โดยครู และเพื่อน
พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ด้วยตนเอง บางครั้ง ต้องแนะนำ
ที่แตกต่าง และอธิบาย และดูตวั อย่าง
ให้เพื่อนเข้าใจได้ จากหนังสื อประกอบ
ทุกข้อ
ข้ อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา

ลงชื่อ
( )
ตำแหน่ง

บันทึกหลังการสอน

ผลการจัดการเรี ยนการสอน

ปั ญหา/อุปสรรค

แนวทางแก้ไข

ครู ผสู ้ อน
( )
วันที่บนั ทึก

You might also like