Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

การออกแบบชิ้นงาน เครื่องกวาดขยะ

เพื่อลดปัญหาขยะในสังคม

จัดทำโดย

ด.ญ.ประภาดา ซื่อตรง ม.1/13 เลขที่32

เสนอ

ครูผู้สอน

นางสาว ธนัญชา พิทยาเสถียร

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ว21108 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)


ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น
คำนำ
โครงงาน เรื่อง การออกแบบชิ้นงาน เครื่องกวาดขยะ
เพื่อลดปัญหาขยะในสังคม นี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ว21108 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) มี
วัตถุประสงค์เพื่อ 1)แก้ปัญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2)วิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานตามกระบวนการเชิงวิศวกรรม
3)เพื่อเป็นประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันโดยใช้วิธีรการแก้ปัญหา การออกแบบเชิงวิศวกรรม
ซึ่งคณะผู้จัดทำได้ใช้วิธีการศึกษาโครงงานโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม มี 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1)
การระบุปัญหา 2) การรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา 3) ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 4)
วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา 5) ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน 6)
นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
คณะผู้จัดทำ ขอขอบพระคุณ คุณครู ธนัญชา พิทยาเสถียร
ท้ายสุดนี้ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนีจ้ ะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา เรื่อง การออกแบบชิ้น
งาน เครื่องกวาดขยะ
เพื่อลดปัญหาขยะในสังคม หรือ ผู้สนใจต่อไป

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ
หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
ขั้นตอนที่ 1 การระบุปัญหา
1.1 ที่มาและความสำคัญของปัญหา
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.3 ขอบเขตการแก้ปัญหา
1.4 ประโยชน์ที่ได้รับ
ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา
2.1 แนวคิดการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยี
2.3 การรวบรวมข้อมูลเพื่อแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
3.1 การสร้างทางเลือกในการแก้ปัญหา
3.2 ภาพร่างของชิ้นงาน
3.3 ผังงาน (Flowchart) ในการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 4 วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา
4.1 แนวทางการวางแผนและผู้รับผิดชอบ
4.2 ตารางแสดงระยะเวลาในการทำกิจกรรม
ขั้นตอนที่ 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
5.1 ผลการทดสอบและประเมินผลของชิ้นงาน/แนวทางการแก้ปัญหา
5.2 ผลการปรับปรุงของชิ้นงาน/แนวทางการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 6 นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
6.1 ออกแบบวิธีการนำเสนอ
6.2 รูปภาพสื่อประกอบการนำเสนอ
บรรณานุกรม

ขั้นตอนที่ 1
การระบุปัญหา
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ในสังคมที่มีประชากรมนุษย์เพิ่มขึ้นทำให้ปัญหาของขยะก็เพิ่มตามมาด้วย เมื่อเดินทางไปที่ไหนสัก
ที่ ก็จ่ะเห็นได้ว่ามีขยะอยู่ทั่วทุกที่ ตามฟุตบาท ถนน ซอย หรือแม้กระทั่งถังขยะที่ล้มเต็มไปด้วยขยะ
เกลื่อนกลาด และส่งกลิ่นเหม็นให้อึดอัดจมูกอยู่เสมอ เมื่อคนเดินผ่านไปผ่านมาก็อาจเดินสดุดเศษขยะได้
ทำให้ต้องหาทางแก้ไขปัญหาขยะเกลื่อนในบริเวณต่างๆ

1.2 วัตถุประสงค์
1) เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2) เพื่อออกแบบชิ้นงาน รถเข็นกวาดขยะ ในการแก้ปัญหาเรื่อง ปัญหาขยะทางถนน

1.3 การระบุปัญหา
1) ขอบเขตของปัญหา
ประชากรเพิ่มขึ้น ขยะก็เพิ่มขึ้นตามไปด้วยเช่นกัน เจอไก็ทั่วไปที่ฟุตบาท ทางถนน กองขยะ
ที่วางอยู่ทุกที่
2) ตารางการวิเคราะห์ปัญหาด้วย 5W1H

What ขยะเกลื่อนกลาด

Why ประชากรเพิ่มขึ้น ขยะเพิ่มขึ้น

Who ผู้คนสาธารณะ

Where ริมถนน ทางเท้า จุดที่มีถังขยะ สถานที่ต่างๆ


When เมื่อมีของหรือขยะที่ต้องทิ้ง

How ต้องการแก้ปัญหาโดยใช้อุปกรณ์

1.4 ประโยชน์ที่ได้รับ
1) ทำให้เรารู้ข้อเท็จจริง รู้เหตุผลเบื้องหลังของสิ่งที่เกิดขึ้น เข้าใจความเป็นมาเป็นไปของเหตุการณ์นั้น
2) ทำให้เราหาเหตุผลที่สมเหตุสมผลให้กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง
3) ทำให้เราสามารถประมาณความน่าจะเป็นได้

ขั้นตอนที่ 2
การรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา

2.1 แนวคิดการออกแบบเชิงวิศวกรรม
ขั้นตอนการทำ 1.นำรถเข็นมาตัดส่วนหน้าของรถออก
2. นำล้อเหล็กมาติดส่วนข้างหน้าของรถ ให้เป็นล้อหน้า
3. นำขนไม้กวาดหรือพลาสติดที่ตัดแล้วมาติดส่วนหมุนของล้อ
4.ปิดด้านบนของรถเพื่อไม่ให้ขยะกระเด็นออก
2.2 ในปัจจุบันประชากรบนโลกเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ต้องผลิตสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆมากขึ้น ทำให้ขยะเพิ่ม
ขึ้นด้วยเช่นกัน ประชาชน และบุคคลต่างๆ จึงต้องคิดค้นหาวิธีลดขยะ และทำอุปกรณ์เก็บขยะเพื่อให้รวดเร็ว
ต่อการทำงาน และลดขยะที่เกลื่อนกลาดอีกด้วย

ขั้นตอนที่ 3
ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา

3.1 การสร้างทางเลือกในการแก้ปัญหา

แนวทางการแก้ปัญหา จุดเด่น จุดด้อย


1.ใช้อุปกรณ์ช่วย เก็บขยะได้อย่างรวดเร็ว อาจเสียค่าทำอุปกรณ์
2.รณรงค์ให้ทุกคนช่วยกันเก็บขยะให้ สามารถทำได้ง่าย อาจทำให้ปวดหลังและ
เป็นที่เป็นทาง สกปรกมือ
3.ให้รถขยะมาเก็บ ไม่ต้องให้คนที่ไม่มีหน้าที่ไป เป็นความคิดที่ไม่ดี เพราะทุก
เก็บ คนควรช่วยกัน

3.2 ภาพร่างของชิ้นงาน
3.3 ผังงาน (Flowchart) ในการแก้ปัญหา

ขั้นตอนที่ 4
วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา

4.1 แนวทางการวางแผนและผู้รับผิดชอบ

กิจกรรม เวลาที่ใช้ ผู้รับผิดชอบ


ค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกับการสร้างชิ้นงาน 1เดือน นักเรียน
ออกแบบชิ้นงาน 1เดือน ชาวบ้านที่สามารถ
ทำได้
วางแผน และวิธีการสร้าง 1เดือน ชาวบ้าน
สร้างชิ้นงาน 1เดือน ชาวบ้าน

4.2 ตารางแสดงระยะเวลาในการทำกิจกรรม

ลำดับ กิจกรรม เดือน มกราคม -


ที่ เมษายน
1 2 3 4
1. ค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกับการสร้างชิ้นงาน /
2. ออกแบบชิ้นงาน /
3. วางแผน และวิธีการสร้าง /
4. สร้างชิ้นงาน /

ขั้นตอนที่ 5
การทดสอบ ปรับปรุง และประเมินผลของชิ้นงานหรือแนวทางการแก้ปัญหา

5.1 ผลการทดสอบและประเมินผลของชิ้นงาน/แนวทางการแก้ปัญหา
ประเด็นการทดสอบ ผลการทดสอบ
1. สามารถลดขยะได้หรือไม่? ได้
2.สามารถทำให้ประชาชนหัดเก็บขยะได้หรือไม่? ได้
3.ทำให้ชุมชนสะอาดขึ้นหรือไม่? ทำได้

4.สามารถลดโลกร้อนได้หรือไม่? ได้

5.2 ผลการปรับปรุงของชิ้นงาน/แนวทางการแก้ปัญหา
ปรับปรุงชิ้นงานโดยการเปลื่อนจากพลาสติกทีเ่ ป็นตัวคลุมและโครง ให้กลายเป็นเหล็ก
แทน
นำเอาเครื่องกวาดขยะนี้ไปใช้ในการเก็บกวาดขยะในชุมชน

ขั้นตอนที่ 6
นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน

6.1 ออกแบบวิธีการนำเสนอผลงาน
วิธีการนำเสนอ สื่อประกอบ ข้อมูลที่นำเสนอ ผู้นำเสนอ
นำเสนอโดยใช้รูป ภาพร่างของชิ้น นำเสนอเกี่ยวกับ นักเรียนทั้ง 3คน
เล่มรายงาน งาน ปัยหาและวิะีการ
แก้ปัญหาขยะใน
ชุมชน

6.2 รูปภาพสื่อประกอบการนำเสนอ
บรรณานุกรม

ชัยชาญ กลางนา และคณะ. (2557). ตะไคร้หอม. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2560,


http://surinbiw.blogspot.com/2014/11/
นันทวัน กลิ่นจำปา. (2545). เครื่องหอมไทย ภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ซีเอ็ด ยูเคชั่น.
ชัยชาญ กลางนา และคณะ. (2557). ตะไคร้หอม. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2560,
http://surinbiw.blogspot.com/2014/11/
นันทวัน กลิ่นจำปา. (2545). เครื่องหอมไทย ภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ซีเอ็ด ยูเคชั่น.

You might also like