ภาพถ่ายหน้าจอ 2563-12-21 เวลา 06.59.42

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 93

เรื่ อง ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อระดับปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหง

สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา

เสนอ

รองศาสตราจารย์ขนบพันธุ์ เอี่ยมโอภาส
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์มณี รัตน์ จรุ งเดชากุล

จัดทาโดย

1. นายศรันย์ กาญจนกุลานุรักษ์ รหัส 6224103016


2. นางสาวศุภวรรณ เพ็ชรหิ น รหัส 6224103018
3. นางสาววิชชุดา ขุนฤทธิ์ รหัส 6224103037
4. นายณัฐนนท โกยสมบูรณ์ รหัส 6224103045
5. นางสาวญาชิตา ศักดาภานุพล รหัส 6224103058
6. นายธวัชชัย บุปผาเผ่า รหัส 6224103062
7. นางสาวจุฬารัตน์ แซ่พงั่ รหัส 6224103071

งานวิจัยอิสระนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาวิชา วิธีวจิ ัยทางธุรกิจ BUS 6016


ตามหลักสู ตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง
สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
2563
เรื่ อง ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อระดับปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหง
สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา

เสนอ

รองศาสตราจารย์ขนบพันธุ์ เอี่ยมโอภาส
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์มณี รัตน์ จรุ งเดชากุล

จัดทาโดย

1. นายศรันย์ กาญจนกุลานุรักษ์ รหัส 6224103016


2. นางสาวศุภวรรณ เพ็ชรหิ น รหัส 6224103018
3. นางสาววิชชุดา ขุนฤทธิ์ รหัส 6224103037
4. นายณัฐนนท โกยสมบูรณ์ รหัส 6224103045
5. นางสาวญาชิตา ศักดาภานุพล รหัส 6224103058
6. นายธวัชชัย บุปผาเผ่า รหัส 6224103062
7. นางสาวจุฬารัตน์ แซ่พงั่ รหัส 6224103071

งานวิจัยอิสระนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาวิชา วิธีวจิ ัยทางธุรกิจ BUS 6016


ตามหลักสู ตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง
สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
2563
บทคัดย่ อ

การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่


มหาวิทยาลัยรามค าแหงสาขาวิท ยบริ การเฉลิ มพระเกี ย รติ จังหวัดพัง งา โดยใช้วิธี การวิจยั เชิ งปริ มาณ กลุ่ ม
ตัวอย่าง คือ ประชาชนทัว่ ไปที่จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ข้ ึนไป อาศัยในจังหวัดภูเก็ต จานวน 437 คน เก็บ
รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิ งเนื้ อหา (IOC) เท่ากับ 0.92 และหาความ
เที่ยงโดยใช้สัมประสิ ทธิ์ แอลฟ่ าครอนบาค เท่ากับ 0.96 สถิ ติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ ย
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติไคสแควร์
ผลการศึกษา พบว่า
1. กลุ่มตัวอย่าง ส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 26-30 ปี สถานะภาพโสด การศึกษาระดับ
ปริ ญญาตรี โดยสาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ในคณะบริ หารธุ รกิจมากที่สุด อาชีพเป็ นพนักงานบริ ษทั เอกชน
มีรายได้อยูร่ ะหว่าง 10,001 – 20,000 บาท และผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรี ยน/ ทุนการศึกษาหลัก คือ ตนเอง
2. เมื่อพิจารณาปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาด พบว่า ปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาดโดยรวมอยู่ใน
ระดับมาก (M = 3.93, S.D = 0.675) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านผลิตภัณฑ์ (M = 4.02, S.D = 0.676) และด้าน
บุคลากร (M = 4.02, S.D = 0.640) มีค่าเฉลี่ยสู งที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านราคา (M = 3.98, S.D = 0.720) ด้านการ
ส่ งเสริ มการตลาด (M = 3.94, S.D = 0.719) ด้านกระบวนการ (M = 3.91, S.D = 0.633) ด้านสถานที่ (M = 3.82,
S.D = 0.681) และด้านกายภาค (M = 3.81, S.D = 0.661) ตามลาดับ
3. เมื่ อพิจารณาเกี่ ยวกับการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ฯ
พบว่า กลุ่ ม ตัวอย่า งส่ วนใหญ่ ยงั ไม่ แน่ ใ จ ร้ อยละ 48.5 รองลงมา คือ ไม่ ตอ้ งการศึ ก ษาต่อ ร้ อยละ 30.9 และ
ต้องการศึกษา ร้อยละ 20.6 ตามลาดับ
4. เมื่อทดสอบสมมติฐานปั จจัยส่ วนบุคคลและส่ วนประสมการตลาดต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อ
ในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ พบว่า ปั จจัยส่ วนบุคคล ได้แก่ คณะที่จบการศึกษาระดับปริ ญญา
และอาชี พมีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯอย่างมีนยั สาคัญทาง
สถิ ติที่ ระดับ .001 (Chi square = 42.069, 29.024, p = .001) ตามล าดับ ส่ วนปั จจัย ส่ วนบุ ค คลอื่ น ๆ และปั จจัย
ส่ วนผสมปั จ จัย ส่ ว นผสมทางการตลาดทั้ง หมดไม่ มี ผ ลต่ อการตัด สิ นใจเข้า ศึ ก ษาต่ อในระดับ ปริ ญญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
คานา
รายงานการวิจยั เรื่ อง “ปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย
รามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา” ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาค้นคว้าและจัดทาขึ้นโดยเพื่อศึกษา
ปั จจัยส่ วนบุคคล ปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาด หาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยส่ วนบุคคลและปั จจัยส่ วนผสม
ทางการตลาดต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระ
เกียรติ จังหวัดพังงา ซึ่ งผลการวิจยั และข้อเสนอแนะต่างๆ ประโยชน์ต่อผูเ้ กี่ยวข้องไม่มากก็นอ้ ยในการนา
ผลการวิจยั ไปใช้และประยุกต์ ใช้เพื่อเกิดความเหมาะสม ตลอดจนเกิดแนวทางในการปรับปรุ งพัฒนางานวิจยั
ต่อไป
ผูว้ จิ ยั ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ขนบพันธุ์ เอี่ยมโอภาส และผูช้ ่วยศาสตราจารย์มณี รัตน์ จรุ งเด
ชากุล ที่ให้ความอนุเคราะห์เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่ องมือวิจยั และข้อมูลวิจยั ซึ่ งทาให้การวิจยั สาเร็ จลุล่วง
ไปได้ดว้ ยดี และหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่ารายงานการศึกษาวิจยั ฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์ คุณค่าทางวิชาการสาหรับ
ผูบ้ ริ หาร กองการเจ้าหน้าที่ รวมถึงผูเ้ กี่ยวข้องและผูส้ นใจทัว่ ไป

คณะผูจ้ ดั ทา
กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาวิจยั เรื่ อง ปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง


สาขาวิ ท ยบริ ก ารเฉลิ ม พระเกี ย รติ จัง หวัด พัง งา ส าเร็ จ ลุ ล่ ว งได้ด้ว ยความอนุ เ คราะห์ ช่ ว ยเหลื อ จาก รอง
ศาสตราจารย์ขนบพันธุ์ เอี่ ยมโอภาส และผูช้ ่ วยศาสตราจารย์มณี รัตน์ จรุ งเดชากุล ผูใ้ ห้ความกรุ ณารับเป็ นที่
ปรึ กษาให้คาแนะนา หัวข้อ และให้ความช่วยเหลือด้านข้อมูล แนวทางการทาที่ถูกต้องตามระเบียบวิธี จึงทาให้
งานวิจยั ฉบับนี้เสร็ จสมบูรณ์ไปได้ดว้ ยดี คณะผูท้ าวิจยั จึงขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสู ง

ขอขอบพระคุณหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระ


เกียรติ จังหวัดพังงา ที่เอื้อเฟื้ อสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ สาหรับการทาวิจยั ในครั้งนี้

สุ ดท้ายนี้ขอขอบพระคุณ ผูต้ อบแบบสอบถามประชาชนทัว่ ไปที่จบการศึกษาตั้งแต่ระดับปริ ญญาตรี ข้ ึน


ไป และอาศัยในจังหวัดภูเก็ต ที่ให้ขอ้ มูลสาคัญสาหรับการทาวิจยั ในครั้งนี้ สาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี

คณะผูว้ จิ ยั
สารบัญ

หน้ า

บทคัดย่อ ก

คานา ข

กิตติกรรมประกาศ ค

สารบัญเนื้อหา ง

สารบัญตาราง จ

สารบัญภาพ ฉ

บทที่ 1 บทนา 1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา 1
วัตถุประสงค์การวิจยั 2
สมมติฐานการวิจยั 3
กรอบแนวคิดการวิจยั 4
นิยามศัพท์การวิจยั 5
ขอบเขตการวิจยั 6
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 6
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง 7
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปั จจัยส่ วนบุคคล 8
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับส่ วนผสมทางการตลาด 9
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสิ นใจ 12
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาต่อปริ ญญาโท 14
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 15
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย 19
ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และการสุ่ มตัวอย่างการวิจยั 19
สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า
วิธีการสุ่ มตัวอย่าง 20
เครื่ องมือที่ใช้เก็บข้อมูล 21
การตรวจสอบคุณภาพเครื่ องมือ 23
การวิเคราะห์ขอ้ มูล 25
บทที่ 4 ผลการวิจัย 26
ข้อมูลส่ วนบุคคล 27
ปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาด 29
การตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ 37
ทดสอบสมมติฐานปั จจัยส่ วนบุคคลและส่ วนประสมการตลาดต่อการตัดสิ นใจเข้า 39
ศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ 45
สรุ ปผลการวิจยั และอภิปรายผล 45
ข้อเสนอแนะ 48
บรรณานุกรม 49
ภาคผนวก 51
ก. งบประมาณ 52
ข. Gantt Chart 53
ค. รายชื่อของผูเ้ ชี่ยวชาญหรื อผูท้ รงคุณวุฒิ จานวน 3 ท่าน 54
ง. ตารางสรุ ปผลการวิเคราะห์ค่าความสอดคล้อง IOC 55
จ. ผลการวิเคราะห์ค่าความเที่ยง (Reliability) 58
ฉ. คู่มือลงรหัส (Code Book) 59
ช. ตารางการเลือกสถิติสาหรับทดสอบสมมุติฐาน 68
ซ. รายชื่อผูว้ จิ ยั 77
ฌ. แบบสอบถาม 78
สารบัญตาราง

หน้ า

ตารางที่ 1 ข้อมูลส่ วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง 27

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลต่อปั จจัยส่ วนผสม 29

ทางการตลาด

ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้านผลิตภัณฑ์ 30

ตารางที่ 4 ค่าเฉลี่ยส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้านราคา 31

ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ยส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้านสถานที่ 32

ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้านการส่ ง 33

เสริ มการตลาด

ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ยส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้านบุคลากร 34

ตารางที่ 8 ค่าเฉลี่ยส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้านกายภาพ 35

ตารางที่ 9 ค่าเฉลี่ยส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้านกระบวนการ 36

ตารางที่ 10 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง ในการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อ 37

ระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ

ตารางที่ 11 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (อายุ) ต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อ 39

ระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
สารบัญตาราง (ต่ อ)

หน้ า

ตารางที่ 12 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (เพศ) ต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับ 40

ปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง ของกลุ่มตัวอย่าง

ตารางที่ 13 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (สถานะภาพ) ต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อ 40

ระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่าง

ตารางที่ 14 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (ระดับการศึกษา) ต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อ 41

ระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่าง

ตารางที่ 15 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (คณะ) ต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับ 41

ปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่าง

ตารางที่ 16 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (อาชีพ) ต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับ 42

ปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่าง

ตารางที่ 17 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (รายได้) ต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับ 43

ปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่าง

ตารางที่ 18 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (ผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรี ยน) ต่อการตัดสิ นใจเข้า 43

ศึกษาต่อ ระดับปริ ญญาโท ที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่าง

ตารางที่ 19 ทดสอบหาปั จจัยปั จจัยส่ วนประสมการตลาด ต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อ 44

ในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่าง


สารบัญภาพ

หน้ า

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการการศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทฯ 4

ภาพที่ 2 ส่ วนประสมทางการตลาดด้านบริ การ 12


1

บทที่ 1
บทนา
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา

การศึ ก ษาถื อเป็ นเรื่ องที่ มี ค วามจ าเป็ นและส าคัญเป็ นอย่า งมาก เป็ นปั จ จัย พื้ น ฐานส าหรั บ
ประชาชนที่รัฐต้องให้มีการส่ งเสริ มโดยเฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อเป็ นส่ วนประกอบพื้นฐานที่สาคัญอย่าง
หนึ่งในการพัฒนาประเทศให้มีความเจริ ญก้าวหน้าและมัน่ คง ซึ่ งในปั จจุบนั กล่าวได้วา่ การศึกษาเป็ นสิ่ งที่จาเป็ น
และอยูใ่ นความต้องการของมนุษย์ทุกเพศทุกวัย จึงทาให้มนุ ษย์หนั มาแสวงหาความรู ้กนั มากขึ้น สามารถก้าวทัน
ตามโลกที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา รวมทั้งการพัฒนา เรื่ องของเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น โดย
การเลื อกศึ กษาต่อในระดับที่ สูงขึ้ นไปเพื่อพัฒนาความรู ้ ความเชี่ ยวชาญ วิธีการปฏิ บตั ิเฉพาะสาขา ทาให้ผูท้ ี่
ได้รับการศึ ก ษาสามารถปรั บใช้ในการปฏิ บตั ิ งานได้อย่างถู กต้องเหมาะสม ถื อเป็ นการเพิ่มศัก ยภาพในการ
ทางานของบุคคลให้มีประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผลที่ดีข้ ึน ดังนั้นบุคคลทัว่ ไปจึงพยายามที่จะศึกษาให้ถึงระดับที่สูง
ที่สุด (วันวิสาข์, 2545)
ส าหรั บ ปั จ จุ บ ัน การศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐานอาจไม่ เ พี ย งพอในการท างานหรื อ การสร้ า งโอกาส
ความก้าวหน้า ดังนั้นการศึกษาในระดับมหาบัณฑิ ตศึกษาได้เพิ่มมากขึ้นไม่ว่าจะเป็ นสถาบันการศึกษาของรัฐ
หรื อเอกชน ถือเป็ นการเปิ ดโอกาสทางการศึกษาให้กบั ผูท้ ี่สนใจที่จะศึกษาต่อสามารถเลือกเข้าศึกษาต่อได้ตาม
ความต้องการ ซึ่ งสามารถศึกษาควบคู่ไปกับการทางานได้ ในสังคมปั จจุบนั การศึกษาระดับมหาบัณฑิตนั้นมีผู ้
นิ ยมเข้าศึกษาต่อกันมากขึ้น เนื่ องจากระบบการศึกษาในระดับต้นๆ ของประเทศไทยได้ขยายตัวมากขึ้น และ
ปั จจัยสาคัญที่มีอิทธิ พลต่อการเรี ยนที่สาคัญอีกอย่างหนึ่ ง คือค่านิ ยมในปริ ญญาบัตร หรื อการได้รับปริ ญญาสู ง
นั้นจะทาให้มีประโยชน์และโอกาสในการทางานที่ดีมากขึ้น (วันวิสาข์, 2545) จึงมีนิสิตจานวนมากเลือกศึกษา
ต่อเพราะต้องการพัฒนาศักยภาพของตนเองให้มีความรู ้ ความชานาญ และประสบการณ์ ให้มากขึ้น เพื่อที่ จะ
สามารถปฏิ บตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และทันต่อการเปลี่ ยนแปลงของสังคม ความก้าวหน้าทางวิชาการ
ตลอดจนความเจริ ญทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว จึงจาเป็ นต้องพัฒนาตนเอง
เพื่อให้ทนั โลกที่เปลี่ ยนไปตลอดเวลา นอกจากนี้ ผูท้ ี่จบการศึกษาระดับมหาบัณฑิตยังเป็ นที่ยอมรับของสังคม
ส่ งผลให้มีความก้าวในหน้าที่การงาน (ภาวิตา, 2558) นอกจากนี้การศึกษาต่อระดับมหาบัณฑิตยังเป็ นการใช้เวลา
2

ว่างให้เป็ นประโยชน์ เช่น สาหรับผูท้ ี่เรี ยนจบปริ ญญาตรี แล้วยังหางานทาไม่ได้ จึงเรี ยนต่อระดับปริ ญญาโท เพื่อ
ชะลอการว่างงาน อี กทั้งผูท้ ี่ ใช้เวลาว่างหลังเลิ กงานในการศึ กษาหาความรู ้ เพิ่มเติ มอี กเป็ นจานวนมาก เพราะ
ปั จจุ บนั ตลาดแรงงานมีการแข่งขันค่อนข้างสู งการได้พฒั นาตัวเองเป็ นส่ วนหนึ่ งที่ จะสามารถทาให้ก้าวไปสู่
ความสาเร็ จในหน้าที่การงานได้ซ่ ึ งการตัดสิ นใจศึ กษาต่อระดับบัณฑิ ตศึ กษาของแต่ละบุ คคลอาจมี เหตุ ผลที่
แตกต่างกันออกไป
จากความสาคัญของการศึกษาต่อดังกล่าวส่ งผลให้มีจานวนผูเ้ ข้าเรี ยนต่อในระดับมหาบัณฑิตมี
จานวนเพิ่มมากขึ้นในปั จจุบนั ส่ งผลให้ในปั จจุบนั แต่ละมหาวิทยาลัยได้เปิ ดสอนในหลักสู ตรระดับมหาบัณฑิต
จานวนเพิ่มสู งขึ้น ส่ งผลให้เกิดภาวการณ์แข่งขันที่รุนแรงมากขึ้นด้วยเช่นกัน จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นผูว้ ิจยั จึง
มี ค วามสนใจที่ จ ะท าการศึ ก ษาปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การตัด สิ น ใจเข้า ศึ ก ษาต่ อ ระดับ ปริ ญ ญาโทที่ ม หาวิ ท ยาลัย
รามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา เพื่อมุ่งเน้นที่จะศึกษาปั จจัยทางด้านบุคคล และปัจจัย
ส่ วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ซึ่งสา
มารนางานวิจยั ดังกล่าวนี้ไปประกอบการพิจารณาในการพัฒนาหลักสู ตร การจัดกิจกรรม การเรี ยนการสอน และ
การบริ หารจัดการของมหาวิทยารามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิ ม พระเกี ยรติ จังหวัดพังงา ให้ตรงกับความ
ต้องการของผูท้ ี่สนใจศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทให้มีประสิ ทธิ ภาพต่อ

วัตถุประสงค์ การวิจัย

1. เพื่ อศึ ก ษาปั จ จัย ส่ วนบุ ค คลต่ อ การตัด สิ น ใจเข้า ศึ ก ษาระดับ ปริ ญ ญาโทที่ ม หาวิ ท ยาลัย
รามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
2. เพื่ อ ศึ ก ษาปั จ จัย ส่ ว นผสมทางการตลาดต่ อ การตัด สิ น ใจเข้า ศึ ก ษาระดับ ปริ ญ ญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
3. เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยส่ วนบุคคลและปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาดต่อ
การตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
3

สมมติฐานการวิจัย
1. ปั จจัย ส่ วนบุ ค คลที่ แตกต่ า งกัน ได้แก่ เพศ อายุ สถานะ ระดับ การศึ ก ษา คณะที่ ส าเร็ จ
การศึกษาระดับปริ ญญาตรี อาชีพ รายได้ และผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรี ยน/ ทุนการศึกษา เป็ นต้น มีผลต่อการตัดสิ นใจ
เข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติจงั หวัดพังงา
2. ปั จจัย ส่ วนผสมทางการตลาด ได้แ ก่ ด้า นผลิ ต ภัณ ฑ์ (Product), ด้า นราคา (Price), ด้า น
สถานที่ (Place), ด้า นการส่ ง เสริ มการตลาด (Promotion), ด้า นบุ ค ลากร (People), ด้า นกายภาค (Physical
Evidence), และด้านกระบวนการ (Process) เป็ นต้น มีต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย
รามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติจงั หวัดพังงา
4

กรอบแนวคิดการวิจัย

ตัวแปรอิสระ (Independent variables) ตัวแปรตาม (Dependent variables)

ปัจจัยส่ วนบุคคล (Personal Factors)


- เพศ
- อายุ
- สถานะ
- ระดับการศึกษา
- คณะที่สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี
- อาชีพ
- รายได้
- ผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรี ยน/ ทุนการศึกษา การตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อ
ระดับปริญญาโท
ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาด 7Ps
ทีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
(Marketing Mix '7Ps)
- ด้านผลิตภัณฑ์ (Product)
- ด้านราคา (Price)
- ด้านสถานที่ (Place)
- ด้านการส่ งเสริ มการตลาด (Promotion)
- ด้านบุคลากร (People)
- ด้านกายภาค (Physical Evidence)
- ด้านกระบวนการ (Process)

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการการศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทฯ

ที่มา: บูรณาการตัวแปรจาก Marketing management โดย Kotler and Keller (2016)


5

นิยามศัพท์การวิจัย

1. ปั จจัยส่ วนประสมทางการตลาด หมายถึง กลยุทธ์การบริ หารจัดการด้านการตลาดในลักษณะ


ของนาเสนอรู ปแบบต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิ มพระเกี ยรติ จังหวัดพังงา โดยมี
ปั จจัย ส่ วนประสมที่ นามาพิ จ ารณา 7 ด้า น ได้แก่ ด้า นผลิ ต ภัณฑ์ (Product), ด้านราคา (Price), ด้านสถานที่
(Place), ด้านการส่ งเสริ มการตลาด (Promotion), ด้านบุคลากร (People), ด้านกายภาค (Physical Evidence), และ
ด้านกระบวนการ (Process) เป็ นต้น โดยอธิ บายได้ ดังนี้
1.1. ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) หมายถึง ภาพลักษณ์ชื่ อเสี ยงของมหาวิทยาลัยรามคาแหงอัน
เป็ นที่ยอมรับ หลักสู ตรเป็ นที่ตอ้ งการ มีความทันสมัย ได้มาตรฐาน สามารถนาความรู ้ไปปรับใช้ในอาชีพการ
งานได้จริ ง และตรงตามความต้องการของตลาด ซึ่ งมีผลต่อการพิจารณาและตัดสิ นใจเลือกของผูบ้ ริ โภค
1.2. ด้านราคา (Price) หมายถึง จานวนเงินหรื อค่าใช้จ่ายที่จาเป็ นต้องใช้จ่ายตลอดหลักสู ตร
การศึ กษา ซึ่ งมี ผลต่อการพิจารณาและตัดสิ นใจเลื อกของผูบ้ ริ โภค เช่ น ค่าหน่ วยกิ ต ค่าธรรมเนี ยม ค่าเทอม
การศึกษา และค่าจิปาถะอื่น ๆ
1.3. ด้า นสถานที่ (Place) หมายถึ ง ท าเลที่ ต้ งั ของมหาวิท ยาลัย ระยะทางในการเดิ นทาง
รวมทั้งอุปกรณ์สิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่มีผลต่อการพิจารณาและตัดสิ นใจเลือกของผูบ้ ริ โภค
1.4. ด้านการส่ ง เสริ มการตลาด (Promotion ) หมายถึ ง กิ จกรรมที่ สร้ างสิ่ ง จู งใจ และการ
สื่ อสารด้านการตลาดของมหาวิทยาลัย รามค าแหงฯ เพื่อให้เป็ นที่รู้ จกั และเกิ ดความต้องการ ซึ่ งมี ผลต่อการ
พิ จ ารณาและตัด สิ น ใจเลื อ กของผู ้บ ริ โ ภค เช่ น การโฆษณา นโยบายให้ เ งิ น กู้ยื ม เพื่ อ การศึ ก ษา การมอบ
ทุนการศึกษา
1.5. ด้านบุคลากร (People ) หมายถึง ผูบ้ ริ หารมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลให้ความสาคัญกับการ
จัดการศึกษา คุณวุฒิของอาจารย์ตรงตามสาขาวิชา ความเชี่ ยวชาญในสาขาวิชาและชื่ อเสี ยงของอาจารย์เป็ นที่
ยอมรั บ ของสั ง คม อาจารย์ผู ้ส อนมี ค วามเอาใจใส่ นัก ศึ ก ษา รวมทั้ง เจ้า หน้ า และบุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้อ งมี
ความสามารถเหมาะสมกับงาน เป็ นมิตร ให้การช่วยเหลือเป็ นอย่างดี ซึ่ งมีผลต่อการพิจารณาและตัดสิ นใจเลือก
ของผูบ้ ริ โภค
6

1.6. ด้านกายภาค (Physical Evidence) หมายถึ ง สถานที่และสิ่ งอานวยความสะดวกต่าง ๆ


เช่ น โรงอาหาร ห้องสมุ ด ห้ องเรี ย น ห้ องน้ า ลานจอดรถ ฯลฯ รวมไปถึ ง สิ่ ง แวดล้อมทั้ง ภายในและนอก
มหาวิทยาลัย มีผลต่อการพิจารณาและตัดสิ นใจเลือกของผูบ้ ริ โภค
1.7. ด้านกระบวนการ (Process) หมายถึง การให้บริ การที่มีลาดับขั้นตอนเหมาะสม สะดวก
ไม่ยงุ่ ยาก ไม่ซบั ซ้อน ให้บริ การในระยะเวลาที่รวดเร็ ว ได้แก่ การคัดเลือกรับสมัครนักศึกษาใหม่ การลงทะเบียน
เรี ยน ระยะเวลาการจัดการเรี ยนการสอน
2. การตัดสิ นใจ (Decision making) หมายถึ ง การเลื อก การตัดสิ นใจ การยอมรั บในการรั บรู ้
ความต้องการที่จะเข้าศึกษาต่อต่อระดับปริ ญญาโทในหลักสู ตรหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต หรื อหลักสู ตร
รัฐประศาสนศาสตร์ มหาบัณฑิต ที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา

ขอบเขตการวิจัย

การวิจยั ครั้ งนี้ เป็ นการศึกษาสารวจ โดยมี วตั ถุ ประสงค์เพื่อศึกษาปั จจัยส่ วนบุคคล และปั จจัย
ส่ วนผสมทางการตลาดต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การ
เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผูท้ ี่จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ข้ ึนไป
อาศัยในจังหวัดภูเก็ต และมีความยินดีร่วมการวิจยั ครั้งนี้ จานวน 437 คน การเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม
ตั้งแต่เดือนตุลาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2563

ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ

เพื่อนาผลการศึ กษาเสนอต่อผูบ้ ริ หาร สาหรับเป็ นแนวทางในการพัฒนาเพื่อจู งใจให้เกิ ดการ


ตัดสิ นใจเลือกเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
7

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

จากการศึกษาปั จจัยที่มีความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย


รามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิ มพระเกี ยรติ จังหวัดพังงา ผูศ้ ึกษาได้คน้ คว้า แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่
เกี่ยวข้อง เพื่อนามาเป็ นแนวทางในการกาหนดกรอบแนวคิดในการศึกษา ดังนี้
1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปั จจัยส่ วนบุคคล
2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับส่ วนผสมทางการตลาด
3. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสิ นใจ
4. ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาต่อปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยรามคาแหง วิทยาเขตพังงา
5. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
8

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปั จจัยส่ วนบุคคล

ปั จจัยส่ วนบุคคล หมายถึง ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ซึ่ งประกอบด้วย อายุ เพศ ขนาดครอบครัว


สถานภาพ รายได้ อาชีพ ระดับการศึกษา องค์ประกอบเหล่านี้เป็ นเกณฑ์ที่นิยมนามาใช้ในการแบ่งส่ วนการตลาด
ลักษณะประชากรศาสตร์ เป็ นสิ่ ง ที่ สาคัญและสถิ ติที่ วดั ได้ของประชากรที่ จะสามารถช่ วยกาหนดตลาดของ
กลุ่ ม เป้ า หมาย รวมทั้ง ทาให้ง่ า ยต่ อการวัดมากกว่า ตัวแปรทางด้า นอื่ นๆ ตัวแปรทางด้า นประชากรที่ ส าคัญ
ประกอบด้วย (ศิริวรรณ เสรี รัตน์, 2538)
1. เพศ ความแตกต่างทางเพศ ทาให้บุคคลมีพฤติกรรมของการติดต่อสื่ อสารต่างกัน คือ เพศ
หญิงมีแนวโน้ม มีความต้องการที่จะส่ งและรับข่าวสารมากกว่าเพศชาย ในขณะที่เพศชายไม่ได้มีความต้องการที่
จะส่ งและรับข่าวสารเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่มีความต้องการที่จะสร้างความสัมพันธ์อนั ดีให้เกิดขึ้นจากการรับ
และส่ งข่าวสารนั้นด้วย นอกจากนี้เพศหญิงและเพศชายมีความแตกต่างกันอย่างมากในเรื่ องความคิด ค่านิยมและ
ทัศนคติท้ งั นี้เพราะวัฒนธรรมและสังคม กาหนดบทบาทและกิจกรรมของคนสองเพศไว้ต่างกัน
2. อายุ เป็ นปัจจัยที่ทาให้คนมีความแตกต่างกันในเรื่ องของความคิดและพฤติกรรมคนที่อายุ
น้อยมักจะมีความคิดเสรี นิยม ยึดถื ออุดมการณ์ และมองโลกในแง่ดีมากกว่าคนที่อายุมาก ในขณะที่คนอายุมาก
มักจะมีความคิดที่อนุ รักษ์นิยม ยึดถื อการปฏิ บตั ิระมัดระวัง มองโลกในแง่ร้ายกว่าคนที่มีอายุน้อย เนื่ องมาจาก
ผ่านประสบการณ์ชีวติ ที่แตกต่างกัน ลักษณะการใช้สื่อมวลชนก็ต่างกันคนที่มีอายุมากมักจะใช้สื่อเพื่อแสวงหา
ข่าวสารหนัก ๆ มากกว่าความบันเทิง
3. การศึกษา เป็ นปั จจัยที่ทาให้คนมีความคิด ค่านิ ยม ทัศนคติและพฤติกรรมแตกต่างกันคน
ที่มีการศึกษาสู งจะได้เปรี ยบอย่างมากในการเป็ นผูร้ ับสารที่ดีเพราะเป็ นผูม้ ีความกว้างขวางและเข้าใจสารได้ดีแต่
จะเป็ นคนที่ไม่เชื่ ออะไรง่ ายๆ ถ้าไม่มีหลักฐานหรื อเหตุ ผลเพียงพอ ในขณะที่ คนมี การศึ กษาต่างมักจะใช้สื่อ
ประเภทวิทยุ โทรทัศน์และภาพยนตร์ หากผูม้ ีการศึกษาสู งมีเวลาว่างพอก็จะใช้สื่อสิ่ งพิมพ์วิทยุ โทรทัศน์และ
ภาพยนตร์ แต่หากมีเวลาจากัดก็มกั จะแสวงหาข่าวสารจากสื่ อสิ่ งพิมพ์มากกว่าประเภทอื่น
4. สถานะทางสังคมและเศรษฐกิ จ หมายถึ ง อาชี พ รายได้ และสถานภาพทางสังคมของ
บุคคลมีอิทธิ พลอย่างสาคัญต่อปฏิ กิริยาของผูร้ ับสารที่มีต่อผูส้ ่ งสารเพราะแต่ละคนมีวฒั นธรรมประสบการณ์
9

ทัศนคติค่านิ ยมและเป้ าหมายที่ต่างกัน ปั จจัยบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับตัวผูร้ ับสารแต่ละคนเช่นปั จจัยทางจิตวิทยา


และสังคมที่จะมีอิทธิ พลต่อการรับข่าวสาร
5. การศึกษา เป็ นปั จจัยที่ทาให้คนมีความคิดค่านิยมทัศนคติและพฤติกรรมแตกต่างกัน คนที่
มีการศึกษาสู งจะได้เปรี ยบอย่างมากในการเป็ นผูร้ ับสารที่ดีแต่จะเป็ นคนที่ไม่เชื่ ออะไรง่ายๆ ถ้าไม่มีหลักฐาน
หรื อเหตุผลเพียงพอ
จากแนวคิดเกี่ ยวกับปั จจัยส่ วนบุคคล ซึ่ งเป็ นตัวแปรลักษณะประชากรศาสตร์ ผูศ้ ึกษาสนใจที่จะ
ศึ ก ษาลัก ษณะประชากรศาสตร์ ด้า น เพศ อายุ สถานภาพ ระดับ การศึ ก ษา อาชี พ และรายได้เฉลี่ ย ต่ อเดื อ น
เนื่ องจากเป็ นตัวแปรในการแบ่งส่ วนตลาดที่สาคัญ ซึ่ งจะทาให้ผูท้ ี่ศึกษาสามารถนาไปใช้ในการคาดการณ์ถึง
ปั จจัยที่ส่งผลต่อการตัดสิ นใจศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิ มพระ
เกียรติ จังหวัดพังงา

แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ องกับส่ วนผสมทางการตลาด

แนวคิดทางการตลาดของ ฟิ ลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) ซึ่ งเป็ นผูท้ ี่เปลี่ยนการอธิ บายทางด้าน
การตลาดจากกิ จกรรม (Activity) ไปสู่ การให้ความสาคัญที่การสร้ างความเข้าใจว่า การตลาด คือ งานทางด้าน
การผลิ ต (Work of production) ซึ่ ง ฟิ ลลิ ป คอตเลอร์ ได้ต่อยอดความคิ ดของ ปี เตอร์ เอฟ. ดรัค เกอร์ (Peter F.
Drucker) ในการเปลี่ ย นความคิ ด ทางการตลาดจากเดิ ม มุ่ ง เน้ น ที่ ร าคา และการกระจายสิ น ค้า (Price and
Distribution) ไปสู่ การเน้นที่พบความต้องการของลู กค้า (Meeting customers’ need) และประโยชน์ที่จะได้รับ
จากผลิตภัณฑ์และบริ การ (Benefits receives from a product or service) และนอกจากนี้ เป็ นผูข้ ยายขอบเขตของ
การตลาดให้กว้างขึ้น จากการรับรู ้เดิมในมิติของการตลาดว่า เกี่ยวข้องสัมพันธ์ขบวนการสื่ อสารและแลกเปลี่ยน
(Process of communication and exchange) หากแต่ฟิลลิป คอตเลอร์ ได้ขยายกรอบความคิดเหล่านี้ ให้ได้เห็ นว่า
การตลาดนั้น สามารถเกี่ยวข้องสัมพันธ์กบั เรื่ องอื่นใดที่ไม่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจได้เช่นกัน อาทิเช่น การกุศล พรรค
การเมือง เป็ นต้น
10

ความหมายและขอบเขตของการตลาด (Market)

ฟิ ลลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) ให้ความหมายของการตลาด หมายถึง ที่ใดก็ตามทั้งที่เป็ นสถานที่


หรื อไม่มีสถานที่ ที่มีอุปสงค์และอุปทาน ในสิ นค้า หรื อบริ การมาพบกัน จนทาให้เกิดราคาที่มาจากกลไกตลาด
โดยเศรษฐกิ จในระบบตลาดนี้ ยอมรับการเปลี่ ยนแปลงของราคา เช่ น การที่ราคาลดลงโดยอัตโนมัติเมื่อมีการ
เสนอขายสิ นค้าเป็ นต้น ทางด้านทฤษฏีน้ นั เห็นว่า เศรษฐกิจในระบบตลาดที่แท้จริ งนั้น จาเป็ นต้องประกอบไป
ด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ ดังนี้ คือ ผูผ้ ลิตสิ นค้าที่มีขนาดเล็ก ผูบ้ ริ โภคจานวนมากรวมถึง มาตรการในการกีดกันการเข้า
ตลาดที่นอ้ ย เงื่อนไขเหล่านี้ ถา้ มีครบทั้งหมดจะถื อว่าเป็ นตลาดที่สมบูรณ์ซ่ ึ งพบได้มากในโลกปั จจุบนั (Kotler,
2003) คาตลาด จึ งมีความหมายครอบคลุ มถึ งลู กค้าหลายกลุ่ม รวมทั้งตลาดที่มีตวั ตนโดยลักษณะทางกายภาพ
และตลาดที่ ไม่มีตวั ตนในกายภาพ (ตลาด Digital) ตลอดจนตลาดขนาดใหญ่ที่มีหลายๆตลาดย่อยซึ่ งมี ความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์อยูใ่ นธุ รกิจนั้นขอบเขตของการตลาด (The Scope of Marketing) การตลาดเป็ นงานที่เกี่ยวข้อง
กับการสร้ างสรรค์ การส่ งเสริ ม และการส่ งมอบสิ นค้า หรื อบริ การให้กบั ผูบ้ ริ โภคและองค์กรการธุ รกิ จต่างๆ
นักการตลาดมีหน้าที่กระตุน้ ความต้องการ ซื้ อผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ของบริ ษทั ตลอดจนรับผิดชอบต่อ

ทฤษฏีส่วนประสมทางการตลาดสาหรับธุรกิจบริการ

Kotler, Philip (2006) กล่าวว่า ส่ วนประสมทางการตลาดสาหรับธุ รกิจบริ การ (Service Marketing


Mix) หมายถึ ง เครื่ องมือทางการตลาดที่ สามารถควบคุ มได้ ซึ่ งกิ จการผสมผสานเครื่ องมือเหล่ านี้ ให้สามารถ
ตอบสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจให้แก่กลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย ส่ วนประสมการตลาดสาหรับธุ รกิจ
บริ การ มีการปรับปรุ งเพิ่มปั จจัยขึ้นอีก 3 ประการ คือ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการ ดังนั้น
ส่ วนประสมการตลาดสาหรับธุ รกิ จบริ การ จึงแบ่งออกเป็ นกลุ่มได้ 7 กลุ่ม หรื อที่รู้จกั กันในชื่ อของ “7Ps” อัน
ได้แก่ ผลิ ตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) การจัดจาหน่ าย (Place) การส่ งเสริ มการขาย (Promotion) ด้านบุคคล
(People) ด้า นการสร้ า งและน าเสนอลัก ษณะทางกายภาพ (Physical Evidence and Presentation) และด้า น
กระบวนการ (Process)
11

Serirat, Siriwan (2009) ได้ก ล่ า วไว้ว่า ส่ วนประสมการตลาด หมายถึ ง ตัวแปรทางการตลาดที่


ควบคุมได้ซ่ ึงบริ ษทั ใช้ร่วมกันเพื่อสนองความพึงพอใจแก่กลุ่มเป้ าหมาย ประกอบไปด้วย
1. ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) เป็ นสิ่ งซึ่ งสนองความจาเป็ นและความต้องการของผูบ้ ริ โภค คื อ
สิ่ งที่ผขู ้ ายต้องมอบให้แก่ลูกค้า และลูกค้าจะได้รับผลประโยชน์และคุณค่า
2. ด้า นราคา (Price) คื อ คุ ณ ค่ า ผลิ ต ภัณ ฑ์ ใ นรู ปตัว เงิ น โดยมี ต้น ทุ น เป็ นราคา ลู ก ค้า จะ
เปรี ยบเทียบระหว่างคุ ณค่าของบริ การกับราคาของบริ การนั้น ลูกค้าจะไม่ตดั สิ นซื้ อถ้าหากรู ้ สึกว่าคุณค่าต่ากว่า
ราคา
3. ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย (Place) คือ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับบรรยากาศ หรื อสิ่ งแวดล้อม
ในการนาเสนอสิ นค้าหรื อบริ การให้กบั ลู กค้า ซึ่ งกิ จกรรมนั้นจะต้องมี ผลต่อการรั บรู ้ ของลู กค้าในคุ ณค่าและ
คุณประโยชน์ของบริ การ
4. ด้านส่ งเสริ มการตลาด (Promotion) เป็ นเครื่ องมือหนึ่ งที่มีความสาคัญในการติดต่อสื่ อสาร
ให้ ร ะหว่า งผู ใ้ ห้ บ ริ ก ารและผู ใ้ ช้บ ริ ก าร โดยมี ว ตั ถุ ป ระสงค์คื อ แจ้ง ข่ า วสารหรื อ ชัก จู ง ให้ เ กิ ด ทัศ นคติ แ ละ
พฤติกรรมการใช้บริ การ
5. ด้า นบุ ค คล (People) หรื อ พนัก งาน (Employee) ต้อ งอาศัย การคัด เลื อ ก ฝึ กอบรม สร้ า ง
แรงจู งใจ เพื่อให้สามารถบริ การสร้ างความพึงพอใจให้กบั ลู กค้าได้ อี กทั้งยังต้องสร้ างความแตกต่างเหนื อคู่
แข่งขัน
6. ด้านลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence and Presentation) เป็ นการสร้างและนาเสนอ
ลัก ษณะทางกายภาพให้ก ับ ลู ก ค้า โดยพยายามสร้ า งคุ ณภาพโดยรวม ทั้ง ทางด้า นกายภาพและรู ป แบบการ
ให้บริ การเพื่อสร้างคุณค่าให้กบั ลูกค้า ลักษณะทางกายภาพจะเป็ นส่ วนประกอบที่มีผลต่อการตัดสิ นใจของลูกค้า
ส่ วนใหญ่จะเป็ นการสร้างแวดล้อม การสร้างบรรยากาศ การใช้แสง การใช้สี หรื อการใช้เสี ยงเพื่อสนับสนุนการ
ขาย
7. ด้านกระบวนการ (Process) เป็ นกิ จกรรมที่เกี่ ยวข้องกับระเบียบวิธีการ และการปฏิบตั ิงาน
ในการบริ การซึ่ งจะนาเสนอให้ก ับผูใ้ ช้บริ การ เพื่ อให้แน่ ใ จว่าการบริ การได้นาสู่ ลูก ค้า อย่างถู ก ต้องรวดเร็ ว
ผูใ้ ช้บริ การเกิดความประทับใจ กระบวนการ อาจหมายถึงการทางานหลายขั้นตอน เช่น การตอบอีเมล์สอบถาม
การรับโทรศัพท์
12

ภาพที่ 2 ส่ วนประสมทางการตลาดด้านบริ การ


ที่มา: Pongsatapon (2007)

แนวคิดเกีย่ วกับการตัดสิ นใจ ได้มีนกั วิชาการได้ให้ความหมายไว้แตกต่างกันดังนี้

บาร์ นาร์ ด (Barnard) ได้ให้ความหมายของการตัดสิ นใจว่าเป็ นเทคนิ ควิธีที่ลดทางเลื อกลงมาให้


เหลือเพียงทางเดียว
ไซมอน (Simon) ได้ใ ห้ ค วามหมายว่า การตัด สิ น ใจเป็ นกระบวนการของการหาโอกาสที่ จ ะ
ตัดสิ นใจ การหาทางเลือกที่พอเป็ นไปได้ และทางเลือกจากงานต่างๆ ที่มีอยู่
มู ดี (Moody) ได้ใ ห้ ค วามหมายว่า การตัด สิ น ใจเป็ นการกระท าที่ ต้อ งท าเมื่ อ ไม่ มี เ วลาที่ จ ะหา
ข้อเท็จจริ ง อี ก ต่ อไป ปั ญหาที่ เกิ ดขึ้ นก็ คือ เมื่ อใดถึ ง จะตัดสิ นใจว่า ควรหยุดหาข้อเท็จจริ ง แนวทางแก้ไ ขจะ
เปลี่ยนแปลงไปตามปั ญหาที่ตอ้ งการแก้ไข ซึ่ งการรวบรวมข้อเท็จจริ งเกี่ยวพันกับการใช้จ่ายและการใช้เวลา
13

กิ บ สั นและอิ วาน เซวิช (Gibson and Ivancevich) ได้ใ ห้ค วามหมายของการตัดสิ นใจไว้ว่า เป็ น
กระบวนการสาคัญขององค์การที่ผูบ้ ริ หารจะต้องกระทาอยูบ่ นพื้นฐานของข้อมูลข่าวสาร (information) ซึ่ งได้
รับมาจากโครงสร้างองค์การ พฤติกรรมบุคคล และกลุ่มในองค์การ
โจนส์ (Jones) ได้ให้ความหมายของการตัดสิ นใจองค์การว่าเป็ นกระบวนการ ที่จะแก้ไขปั ญหาของ
องค์กร โดยการค้นหาทางเลือกและเลือกทางเลือกหรื อแนวทางปฏิบตั ิที่ดีที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์การที่
ได้กาหนดไว้
วุฒิชยั จานงค์ (2523) กล่าวว่า การตัดสิ นใจเป็ นเรื่ องของการจัดการที่หลี กเลี่ ยงไม่ได้และในการ
จัดการนั้น การตัดสิ นใจเป็ นหัวใจในการปฏิบตั ิงานทุกๆ เรื่ องทุกๆ กรณี เพื่อดา เนิ นการไปสู่ วตั ถุประสงค์ อาจมี
เครื่ องมือมาช่วยในการพินิจพิจารณา มีเหตุผลส่ วนตัวอารมณ์ ความรักใคร่ ชอบพอ เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการ
ตัดสิ นใจ และมีลกั ษณะเป็ นกระบวนการอันประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ต่อเนื่องกันไป
บุษกร คาคง (2542) กล่าวว่า การตัดสิ นใจต้องใช้ขอ้ มูลพื้นฐานจากเรื่ องที่กาลังพิจารณา โดยใช้
ความรู ้ พ้ื นฐานและข้อสรุ ปที่ เป็ นที่ ยอมรั บ นามาผสมผสานกับการสรุ ปอ้างอิ ง เพื่อนาไปสู่ เป้ าหมาย แสดง
ทิศทางนาไปสู่ การตัดสิ นใจ
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช (2526, อ้างถึงใน ปิ ยะนุช เหลืองาม , 2552) ได้กล่าวว่า ในบรรดา
ทฤษฎีที่สาคัญของการตัดสิ นใจ อาจจาแนกได้อย่างน้อย 2 ประเภท ดังนี้
1) ทฤษฎีบรรทัดฐาน (Normative Theory) เป็ นทฤษฎีการตัดสิ นใจที่มีลกั ษณะสาคัญ คือ จะ
คานึ งถึ งว่า แนวทางการตัดสิ นใจ น่ าจะเป็ น หรื อควรจะเป็ นเช่นใด จึงจะสามารถบรรลุ ถึงเป้ าหมายที่ตอ้ งการ
ตัด สิ น ใจได้ ซึ่ งการพิ จ ารณาว่ า แนวทางใดเป็ นแนวทางที่ น่ า จะเป็ น หรื อ ควรจะเป็ นนั้น ย่ อ มขึ้ น อยู่ ก ับ
วิจารณญาณของบุคคลแต่ละคน ซึ่ งอาจจะคล้ายคลึ งหรื อแตกต่างกันก็ได้ ดังนั้น การใช้ทฤษฎี น้ ี ตัดสิ นใจใน
ประเด็นปั ญหาใดๆ ก็ตาม จึงมีลกั ษณะที่ข้ ึนอยูก่ บั มาตรฐานหรื อหลักเกณฑ์ดงั กล่าว จะเป็ นเครื่ องกาหนดว่า มี
ปั ญหานั้นๆ น่าจะหรื อควรจะตัดสิ นใจอย่างไร จึงจะดีที่สุด ถูกต้องเหมาะสมที่สุด ซึ่ งในทรรศนะของบุคคลอื่น
ที่มีมาตรฐานความพึงพอใจที่แตกต่างกัน อาจจะเห็นว่าไม่เหมาะสมก็ได้ ด้วยเหตุน้ ี การตัดสิ นใจโดยใช้ทฤษฎี
จึงมีลกั ษณะการพรรณนาแบบอุดมทัศน์ (Idea Type) มากกว่าจะเป็ นแบบวิเคราะห์ถึงสภาพที่แท้จริ ง
2) ทฤษฎีพรรณนา (Descriptive Theory) คือ เป็ นทฤษฎีการตัดสิ นใจที่มีลกั ษณะแตกต่างกับ
ทฤษฎี แรก กล่ าวคือ เป็ นทฤษฎี ที่มีสาระสาคัญที่ว่า การตัดสิ นใจเพื่อแก้ปัญหาหนึ่ งๆ จะต้องกระทาอย่างไร
14

จึงจะสัมฤทธิ ผลได้ไม่ว่าผลของการตัดสิ นใจนั้น จะเป็ นที่ ชื่นชอบหรื อพึงพอใจของผูต้ ดั สิ นใจหรื อไม่ก็ตาม


หรื อกล่าวอี กนัยหนึ่ งก็คือ การตัดสิ นใจโดยใช้ทฤษฎี น้ ี จะพยายามหลี กเลี่ ยงการใช้ความรู ้ สึกนึ กคิ ดใด หรื อ
ค่านิ ยมส่ วนตัวของผูต้ ดั สิ นใจมาเป็ นหลักเกณฑ์ใ นการตัดสิ นใจ โดยมุ่ งเน้นให้ก ารตัดสิ นใจเป็ นไปอย่างมี
เหตุ ผล มี ความถู กต้องและเป็ นที่ ยอมรั บของบุ คคลทัว่ ไป ดังนั้น จึ งได้มีการกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการที่
แน่นอน ตลอดจนมีการนาเอาเทคนิ คสมัยใหม่ต่างๆ เข้ามาช่วยในการตัดสิ นใจด้วย เพื่อที่จะให้การตัดสิ นใจนั้น
มีความถูกต้องเหมาะสมที่สุดดังนั้นกล่าวได้วา่ การตัดสิ นใจ คือ ผลสรุ ปหรื อผลขั้นสุ ดท้ายของกระบวนการคิด
อย่างมี เหตุผลเพื่อเลื อกแนวทางการปฏิ บตั ิ ที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ ทรัพยากร และบุคคล สามารถ
นาไปปฏิ บ ตั ิ และทาให้งานบรรลุ เป้ าหมายและวัตถุ ประสงค์ตามที่ ตอ้ งการ การตัดสิ นใจ เป็ นส่ วนหนึ่ งของ
บทบาทของผู ้บ ริ ห ารที่ เ กิ ด จากต าแหน่ ง และอ านาจที่ เ ป็ นทางการ คื อ บทบาทการเป็ นผู ้ป ระกอบการ
(Entrepreneur) บทบาทผูจ้ ดั การสถานการณ์ ที่เป็ นปั ญหา (Disturbance Handler) บทบาทผูจ้ ดั การทรัพ ยาการ
(Resource Allocator) และบทบาทผูเ้ จรจาต่อรอง (Negotiator)

ข้ อมูลทีเ่ กี่ยวข้ องกับการศึกษาต่ อปริญญาโท และมหาวิทยาลัยรามคาแหง วิทยาเขตพังงา

ความเป็ นมาของมหาวิทยาลัยรามคาแหง

มหาวิทยาลัยรามคาแหงเป็ นสถาบันการศึกษาของรัฐ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย


รามคาแหง พ.ศ. 2514 โดยมีจุดมุ่งหมายให้เป็ นสถาบันการศึกษาแบบ “ตลาดวิชา” มีปรัชญาการดาเนินงานเน้น
การเปิ ดโอกาสและให้ความเสมอภาคทางการศึกษาแก่ปวงชนชาวไทย (ชื่อของมหาวิทยาลัยตั้งขึ้นตามพระนาม
ของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระมหากษัตริ ยไ์ ทยที่ได้ทรงริ เริ่ มคิดประดิษฐ์อกั ษรไทยขึ้น ซึ่ งทาให้ประเทศ
ไทยได้มีอกั ษรไทยที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของชาติไทยใช้กนั ต่อมาตราบเท่าทุกวันนี้

มหาวิทยาลัยได้ปฏิบตั ิภารกิจหลักทั้ง 4 ประการของสถาบันอุดมศึกษาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและ


ประสิ ทธิ ผล ได้แก่ การจัดการเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ การทางวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุ ง
ศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยรามคาแหงยังได้เพิ่มภารกิจที่ 5 คือ มุ่งผลิตบัณฑิตที่มี “ความรู ้คู่
คุณธรรม”
15

มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาโดยมีจุดยืนและภารกิจทั้งระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ


ยึดหลักการบริ การวิชาการที่สอดคล้องกับสังคม มีคุณภาพมาตรฐานสู ง และมีความเป็ นสากล ผลิตบัณฑิต
สอดคล้องกับยุคโลกาภิวตั น์

ปัจจุบนั ได้มีการจัดตั้งสาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติส่วนภูมิภาค โดยเริ่ มขึ้นในปี 2538 ปั จจุบนั


ได้จดั ตั้งขึ้นแล้วใน 23 จังหวัดทัว่ ประเทศ ทุกแห่งก่อตั้งโดยความร่ วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชนใน
ท้องถิ่นทั้งภาครัฐและเอกชน โดย 1 ในนั้นคือ สาขาวิทยบริ การ จังหวัดพังงา

มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติจงั หวัดพังงา ได้จดั ตั้งเมื่อวันที่ 17


มีนาคม 2556 ตามมติสภามหาวิทยาลัยรามคาแหง และเมื่อเดือน กันยายน 2557 หลังจากเปิ ดทาการเรี ยนการ
สอนมาเป็ นระยะเวลากว่า 2 ปี แล้วนั้น ทางมหาวิทยาลัย พร้อมด้วยชมรมศิษย์เก่า ร่ วมกับนักศึกษาปริ ญญาตรี
และนักศึกษาปริ ญญาโท ทั้งที่กาลังศึกษาอยูแ่ ละสาเร็ จการศึกษาแล้วได้อญั เชิ ญรู ปหล่อองค์พ่อขุนรามคาแหง
มหาราช และก่อสร้างแท่นประดิษฐาน เพื่อเป็ นที่ประทับ อีกทั้งยังเป็ นเครื่ องยึดเหนี่ยวจิตใจของคณาจารย์
ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และประชาชนทัว่ ไป

โดย สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติจงั หวัดพังงา เปิ ดสอนหลักสู ตรดังนี้


ปริ ญญาโท (โครงการพิเศษ) 4 คณะ

1.คณะบริ หารธุ รกิจ รุ่ นที่ 1 จานวน 71 คน


2.คณะรัฐศาสตร์ รุ่ นที่ 1 จานวน 55 คน
3.คณะบริ หารการศึกษา
4.คณะนิติศาสตร์

งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง

ณัฐกาญจน์ อ่างทอง และคณะ (2540 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจยั เรื่ องความต้องการศึกษาต่อระดับ


ปริ ญญาโทของบุคลากรในหน่วยงาน เขตภูมิภาคตะวันตก ทั้งภาครัฐและเอกชน ยกเว้นหน่วยงานด้านการศึกษา
16

บุ ค ลากรในหน่ วยงานต่ า ง ๆ มี ล ัก ษณะที่ เอื้ อต่ อการศึ ก ษาต่ อระดับ ปริ ญญาโท เนื่ องจากส่ วนใหญ่ มีอายุอยู่
ระหว่าง 26-35 ปี มีวุฒิการศึกษาสู งสุ ดระดับปริ ญญาตรี และมีรายได้เฉลี่ ย อยู่ระหว่างเดื อนละ 5,001 บาท ถึ ง
10,000 บาท ตาแหน่ ง งานที่ ตอ้ งการใช้บุค ลากรระดับ ปริ ญญาโท ได้แก่ ตาแหน่ ง หัวหน้า ฝ่ าย หัวหน้า ส่ วน
หัวหน้าแผนก หัวหน้ากอง หรื อเทียบเท่า ด้านสาขาวิชา ต้องการศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท ได้แก่ สาขาบริ หาร
ทรัพยากรมนุ ษย์ การจัดการ การพัฒนาชุ มชน บริ หารธุ รกิ จ และรัฐประศาสนศาสตร์ สาหรับช่ วงเวลาเรี ยนที่
เหมาะสม บุคลากรส่ วนใหญ่ตอ้ งการศึกษาต่อในช่วงเย็น วันจันทร์ -ศุกร์ เกี่ยวกับอัตราค่าหน่ วยกิ ตที่เหมาะสม
บุคลากรส่ วนใหญ่เห็นว่า ไม่ควรเกินหน่วยกิตละ 1,000 บาท

จิ ราภรณ์ ไหวดี (2541 : บทคัดย่อ) ได้ศึ ก ษาแรงจู ง ใจการศึ ก ษาต่ อระดับ ปริ ญญาโทของนิ สิ ต
มหาวิท ยาลัย มหาสารคาม ปี การศึ กษา 2540 ระบบพิ เศษ รุ่ นที่ 10 มหาวิท ยาลัย มหาสารคาม มหาวิทยาลัย
มหาสารคามวิทยาเขตนครพนม มหาวิทยาลัยมหาสารคามศูนย์พฒั นาการศึกษาอุดรธานี และระบบปกติรุ่นที่ 18
จานวน 961 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้จานวน 600 คน โดยจากการสุ่ มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) กาหนด
โดยใช้ตารางของเครจซี่ และมอร์ แกน (Krejcie and Morgan) เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั เป็ นแบบสอบถามมาตรา
ประมาณค่า 5 ระดับ ผลการวิจยั พบว่า แรงจูงใจของนักศึกษาปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปี การศึกษา
2540 อยูใ่ นระดับปานกลาง 1 ด้าน คือ ด้านการชักจูงจากบุคคลและสื่ อ นอกจากนั้น มีแรงจูงใจอยูใ่ นระดับมาก
ทุกด้าน การจัดลาดับความสาคัญของแรงจูงใจในการเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทในแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มี
ความสาคัญอันดับแรก คือ ด้านเหตุผลส่ วนตัว รองลงมาคือด้านสถาบัน ด้านทัว่ ไป ด้านค่าใช้จ่ายในการศึกษา
ด้านหลักสู ตรและสาขาวิชา และด้านการชักจูงจากบุคคลและสื่ อ

วาริ นทร์ พฤกษ์สมบูรณ์และเอกพล จันทร์ โต๊ะ (2546 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาความต้องการศึกษาต่อ


ระดับปริ ญญาโทของประชาชนในเขตจังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขนั ธ์ พบว่า บุคลากรส่ วนใหญ่มีงานทาอยู่
แล้วและบางหน่ วยงานอาจจะไม่อนุ ญาตให้บุคลากรเรี ยนเต็มเวลา ดังนั้น วัน-เวลาที่บุคลากรสนใจที่จะเลือก
เรี ยน คือ วันเสาร์ -อาทิตย์

ทองหล่อ นาคหอม (2535 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาแรงจูงในการศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทของนิ สิต


ปริ ญญาโทวิชาเอกการบริ หารการศึ ก ษา มหาวิทยาลัย นเรศวร ปี การศึ ก ษา 2533 –2535 ผลการวิจ ัย พบว่า
17

แรงจูงใจในการเข้าศึกษาต่อของนิ สิตปริ ญญาโท วิชาเอกการบริ หารการศึกษา โดยส่ วนรวมอยู่ในระดับปาน


กลาง เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่า แรงจูงใจในระดับแรก คือ ด้านเหตุผลส่ วนตัว รองลงมาคือ ด้านหน้าที่การ
งาน ด้านสถาบัน ด้านค่าใช้จ่ายในการศึกษา ด้านอิทธิ พลการชักจูงใจจากบุคคลอื่นและสื่ อตามลาดับ

มัทรี ยา กลิ่นเมืองและวิภาสิ นี บูรณมี (2546) ได้ศึกษา ความต้องการศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทของ


บุ ค ลากรทางการศึ ก ษาในเขตจัง หวัดสมุ ท รสาคร พบว่า ช่ วงเวลาเรี ย นที่ เหมาะสมของบุ ค ลากรส่ วนใหญ่
ต้องการศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทในช่วงวันเสาร์ -อาทิตย์มากที่สุด

สมพร เพ็ญเสงี่ ยม (2546) ได้ศึกษาความต้องการศึ กษาต่อระดับปริ ญญาโทของครู โรงเรี ยนสาม


เสนนอก ผลการวิจยั พบว่า
1. สถานภาพด้านปั จจัยส่ วนบุคคล ปั จจัยทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของครู โรงเรี ยนสามเสนนอก
แยกพิจารณาแต่ละปั จจัย ดังต่อไปนี้ สถานภาพด้านปั จจัยส่ วนบุคคล ครู ส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง มีอายุต้ งั แต่ 32 ปี
ขึ้นไป คิดเป็ นร้ อยละ 64.50 สถานภาพส่ วนใหญ่สมรส คิดเป็ นร้ อยละ 52.70 ส่ วนใหญ่มีรายได้สูงกว่า 9,000
บาทต่อเดือน คิดเป็ นร้อยละ 46.40 โดยส่ วนใหญ่มีความสนใจเรี ยนในภาคพิเศษ คิดเป็ นร้อยละ 89.10 และส่ วน
ใหญ่จะได้รับข้อมูลหรื อคาแนะนาจากสื่ อประเภทบุคคลมากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ 64.40 สถานภาพด้านปั จจัย
ด้านเศรษฐกิจและสังคม พบว่า อายุ รายได้ ของครู และสื่ อหรื อโฆษณามีความสัมพันธ์กบั ความต้องการศึกษาต่อ
ส่ วนเพศ สถานภาพสมรส รายได้ของบิดามารดา เวลาเรี ยน ไม่มีความสัมพันธ์กบั ความต้องการศึกษาต่อระดับ
ปริ ญญาโท
2. ปั จจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนยั สาคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.01 กับความต้องการศึกษาต่อระดับ
ปริ ญญาโทของครู โรงเรี ยนสามเสนนอก คือ รายได้ ส่ วนปั จจัยที่มีความสัมพันธ์ทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 คือ อายุ
หรื อโฆษณา และปั จจัยที่ ไม่ มีค วามสั มพันธ์ คื อ เพศ สถานภาพ รายได้ของบิ ดามารดา เวลาเรี ยนเหตุผลใน
การศึ ก ษาต่ อ ระดับ ปริ ญ ญาโทของครู โ รงเรี ยนสามเสนนอก พบว่ า ส่ ว นใหญ่ ต้อ งการเรี ย นเพื่ อ พัฒ นา
ประสิ ทธิ ภาพของตนเองและปั ญหาของครู โรงเรี ยนสามเสนนอกส่ วนใหญ่มาจากความไม่พร้ อมทางด้านเวลา
เป็ นสาคัญ ผูป้ กครองของนิสิตประกอบอาชีพ อยูใ่ นสาขาการค้าส่ งและค้าปลีกมากที่สุด ส่ วนค่าที่พกั ผูป้ กครอง
ของนิ สิตจะจ่ายให้ในการศึกษาต่อต่ ากว่า 1,001 บาทมากที่สุด ค่าพาหนะการเดินทางที่ผูป้ กครองของนิ สิตจะ
18

จ่ายให้ในการศึกษาต่อต่ากว่า 1,001 และค่าใช้จ่ายในชี วิตประจาวันที่ผปู ้ กครองของนิ สิตจะจ่ายให้ในการศึกษา


ต่อระหว่าง 3,001 –4,000 บาท
3.ปั จจัยส่ วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนยั สาคัญทางสถิ ติที่ระดับ .05 กับความต้องการศึกษา
ต่อระดับปริ ญญาโทของนิ สิตปริ ญญาตรี หลักสู ตร 4 ปี ชั้นปี ที่ 4 ปี การศึกษา 2545 มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิ
โรฒ ประสานมิตร คือ กลุ่มสาขาวิชาที่นิสิตศึกษาอยู่ และค่าที่พกั ที่ผปู ้ กครองของนิ สิตจ่ายให้ในการศึกษาต่อ
ปั จจัยส่ วนบุ คคลที่ มีความสัมพันธ์ อย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิ ติที่ระดับ .05 กับความต้องการศึ กษาต่อระดับ
ปริ ญญาโทของนิ สิ ต ปริ ญญาตรี หลัก สู ตร 4 ปี ชั้นปี ที่ 4 ปี การศึ ก ษา 2545 มหาวิ ท ยาลัย ศรี น คริ นทรวิโรฒ
ประสานมิตร คือ เพศ รายได้ที่เป็ นตัวเงิ นของผูป้ กครอง รายได้ที่ไม่เป็ นตัวเงิ นของผูป้ กครอง ค่าใช้จ่ายของ
ผูป้ กครอง หนี้สินของผูป้ กครอง สาขาการผลิตที่ผปู ้ กครองประกอบอาชีพอยู่ ค่าพาหนะการเดินทางที่ผปู ้ กครอง
ของนิสิตจ่ายให้ในการศึกษาต่อ ค่าใช้จ่ายในชีวติ ประจาวันที่ผปู ้ กครองของนิสิตจ่ายให้ในการศึกษา
19

บทที่ 3

วิธีดาเนินการวิจัย

การศึ ก ษาครั้ งนี้ เป็ น เรื่ อง ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การตัด สิ น ใจเข้า ศึ ก ษาต่ อ ระดับ ปริ ญญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิ มพระเกี ยรติ จังหวัดพังงา โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาปั จจัย
ส่ วนบุ ค คล และปั จจัย ส่ วนผสมทางการตลาดต่ อ การตัดสิ นใจเข้า ศึ ก ษาระดับ ปริ ญ ญาโทที่ ม หาวิ ท ยาลัย
รามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา

ประชากร กลุ่มตัวอย่ าง และการสุ่ มตัวอย่ างการวิจัย

ประชากร
คือ ประชาชนทัว่ ไปที่จบการศึกษาตั้งแต่ระดับปริ ญญาตรี ข้ ึนไป และอาศัยในจังหวัดภูเก็ต จานวน
62,294 คน (ข้อมูลจากสถานการณ์แรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส 2 ปี พ.ศ. 2563)

กลุ่มตัวอย่ าง
คือ ประชาชนที่จบการศึกษาตั้งแต่ระดับปริ ญญาตรี ข้ ึนไป อาศัยในจังหวัดภูเก็ต และมีความยินดี
ตอบแบบสอบถามการวิจยั ครั้งนี้

ขนาดกลุ่มตัวอย่ าง

คานวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973) ดังนี้


n = N
1+ N(e) 2
20

เมื่อ n แทน ขนาดกลุ่มตัวอย่าง


N แทน ขนาดประชากร
e แทน ค่าความคลาดเคลื่อนของการสุ่ มตัวอย่าง
เมื่อแทนค่า จะได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้
n = 62,294
1+ 62,294 (0.05)2
= 400 ราย
และเพื่อป้ องกันการสู ญหายหรื อข้อมูลไม่สมบูรณ์ จึงเพิ่มจานวนกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 10 ผูว้ จิ ยั จึง
ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จานวน 440 ราย

วิธีการสุ่ มตัวอย่ าง

ใช้วธิ ี การเลือกกลุ่มตัวอย่าง และแผนการสุ่ มตัวอย่าง แบ่งออกเป็ น 3 ขั้นตอน ดังนี้


ขั้นที่ 1 ใช้วิธีการสุ่ มตัวอย่างแบบแบ่งเป็ นพื้นที่ (Cluster Sampling) เพื่อให้ได้ประชากรที่
หลากหลายและกระจายครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยแบ่งพื้นที่ตามอาเภอในจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อาเภอเมืองภูเก็ต
อาเภอกะทู ้ และอาเภอถลาง
ขั้นที่ 2 ใช้วิธีการสุ่ มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) โดยกาหนดกลุ่มตัวอย่างในแต่ละ
อาเภอให้มีสัดส่ วนอย่างละเท่า ๆ กัน จะได้กลุ่มตัวอย่างอาเภอละ 146 ราย
ขั้นที่ 3 ใช้วิธีการสุ่ มตัวอย่างที่บงั เอิญพบ (Convenience Sampling) โดยใช้แบบสอบถาม
ที่ได้จดั เตรี ยมไว้ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กาหนด
21

เครื่ องมือทีใ่ ช้ เก็บข้ อมูล

เครื่ องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นแบบสอบถามและแบบประเมินที่สร้างขึ้นเพื่อวัดตัวแปรใน


การศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย ปั จจัยส่ วนบุคคล และปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาดต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อ
ระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิ มพระเกี ยรติ จังหวัดพังงา โดยมีเกณฑ์การ
สร้างเครื่ องมือและเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
1. ผูว้ จิ ยั ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
2. กาหนดขอบเขต โครงสร้างเนื้อหาที่จะสร้างแบบสอบถาม และตัวแปรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจยั
3. ดาเนินการสร้างและพัฒนาแบบสอบถามตามคาแนะนาจากอาจารย์ผสู ้ อนและให้ผเู ้ ชี่ยวชาญ
ตรวจสอบพร้อมให้ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับความตรงเชิงเนื้ อหา (IOC) จากนั้นนามาปรับปรุ งแก้ไขก่อนนาไป
ทดลองใช้ ซึ่งแบบสอบถามมีรายละเอียด ดังนี้
แบบสอบถามตอนที่ 1 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับปั จจัยส่ วนบุคคล จานวน 8 ข้อ โดยให้ทา
เครื่ องหมาย ✓ ลงใน ☐ หน้าคาตอบ หรื อเติมคาในช่องว่างตามความเป็ นจริ ง ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานะ
ระดับการศึกษา คณะที่สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี อาชีพ รายได้ และผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรี ยน/ ทุนการศึกษา

แบบสอบถามตอนที่ 2 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับส่ วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสิ นใจ


เข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกี ยรติ จังหวัดพังงา จานวน 51 ข้อ
ภายใต้ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาด 7 ด้าน ได้แก่ ด้านผลิ ตภัณฑ์ (Product) จานวน 9 ข้อ, ด้านราคา (Price)
จานวน 4 ข้อ, ด้านสถานที่ (Place) จานวน 7 ข้อ, ด้านการส่ งเสริ มการตลาด (Promotion) จานวน 6 ข้อ, ด้าน
บุคลากร (People) จานวน 8 ข้อ, ด้านกายภาพ(Physical Evidence) จานวน 9 ข้อ, ด้านกระบวนการ (Process)
จานวน 8 โดยให้ทาเครื่ องหมาย ✓ ลงในช่อง ☐ ระดับความมีอิทธิ พลที่ตรงกับความเป็ นจริ งมากที่สุด เพียงข้อ
เดียว และแบ่งคาถามแต่ละข้อเป็ นมาตราประมาณค่า 5 ระดับของลิคเคอร์ท (Likert scale) ดังนี้

ระดับ 1 หมายถึง ไม่มีอิทธิ พลเลยแม้แต่นอ้ ย


ระดับ 2 หมายถึง มีอิทธิพลเล็กน้อย
22

ระดับ 3 หมายถึง มีอิทธิพลปานกลาง


ระดับ 4 หมายถึง มีอิทธิพลมาก
ระดับ 5 หมายถึง มีอิทธิพลมากที่สุด

แบบสอบถามตอนที่ 3 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโท


ที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา จานวน 9 ข้อ โดยให้ทาเครื่ องหมาย
✓ ลงในช่อง ☐ หน้าคาตอบ หรื อเติมคาในช่องว่างตามความเป็ นจริ งมากที่สุด

การแปลความหมายคะแนนเฉลี่ ยโดยแบบสอบถามที่เกี่ ยวกับส่ วนประสมทางการตลาด


ต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด
พังงา เป็ นรายข้อ รายด้าน และโดยรวม โดยการจัดระดับมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่ งผูว้ ิจยั ใช้เกณฑ์การแบ่ง
ช่วงคะแนนเฉลี่ยตามหลักสถิติคานวณอัตราภาคชั้น คือ พิสัย ดังนี้

พิสัย = คะแนนสู งสุ ด – คะแนนต่าสุ ด


จานวนช่วง
= 5–1 = 0.80
5
กาหนดเกณฑ์การแปลผลค่าคะแนนเฉลี่ย ดังนี้
ระดับคะแนนเฉลี่ย การตัดสิ นใจเข้ าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
4.21 – 5.00 แสดงว่า มีอิทธิพลมากที่สุด
3.41 – 4.20 แสดงว่า มีอิทธิ พลมาก
2.61 – 3.40 แสดงว่า มีอิทธิ พลปานกลาง
1.81 – 2.60 แสดงว่า มีอิทธิ พลเล็กน้อย
1.00 – 1.80 แสดงว่า ไม่มีอิทธิ พล
23

การตรวจสอบคุณภาพเครื่ องมือ

1. การตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (Content Validity)

หลังจากเครื่ องมือผ่านการตรวจสอบแก้ไขจากอาจารย์ที่ปรึ กษาประจารายวิชา ผูว้ จิ ยั นา


เครื่ องมือไปให้ผเู ้ ชี่ยวชาญหรื อผูท้ รงคุณวุฒิ จานวน 3 ท่าน ทั้งนี้เพื่อตรวจสอบค่าความสอดคล้องระหว่างข้อ
คาถามกับวัตถุประสงค์การวิจยั (Index of Item Objective Congruence: IOC) โดยเกณฑ์การประเมิน ดังนี้
+ 1 หมายถึง เมื่อผูเ้ ชี่ยวชาญมัน่ ใจว่าคาถามข้อนั้น ๆ วัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์การวิจยั
0 หมายถึง เมื่อผูเ้ ชี่ยวชาญไม่มนั่ ใจว่าคาถามข้อนั้น ๆ วัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์การวิจยั
- 1 หมายถึง เมื่อผูเ้ ชี่ยวชาญมัน่ ใจว่าคาถามข้อนั้น ๆ วัดได้ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์การวิจยั
การคานวณค่า (Index of Item Objective Congruence: IOC)
ค่าดัชนีความสอดคล้อง = ผลรวมคะแนนจากผูเ้ ชี่ยวชาญ
จานวนผูเ้ ชี่ยวชาญ
IOC = R/N

ซึ่ งผลการวิเคราะห์หาคานวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม มีค่าเฉลี่ยของดัชนีความสอดคล้อง


(IOC) ได้เท่ากับ 0.92

ผู้ทรงคุณวุฒิท่านที่ 1 :

แบบสอบถามตอนที่ 1 : ข้อคาถามคงเดิม
แบบสอบถามตอนที่ 2 : ผูท้ รงคุณวุฒิเสนอแนะ ข้อที่ 19 ตัดคา “ร่ มรื่ น”
ข้อที่ 39 ปรับเปลี่ยนรู ปแบบข้อคาถามจาก “มหาวิทยาลัยมีพ้นื ที่
สวนหย่อม ศาลาที่พกั ” เป็ น “มหาวิทยาลัยมีการจัดสวนหย่อม พื้นที่พกั ผ่อนหย่อนใจ ศาลาที่พกั อย่าง
เหมาะสม”
24

แบบสอบถามตอนที่ 3 : ข้อที่ 56 เพิ่มคา “มากที่สุด” ให้สมบูรณ์มากยิง่ ขึ้น


ข้อที่ 57 ปรับรวบตัวเลือกที่ 1 และ 2 เข้าด้วยกัน

ผู้ทรงคุณวุฒิท่านที่ 2 :
แบบสอบถามตอนที่ 1 : ข้อคาถามคงเดิม
แบบสอบถามตอนที่ 2 : ข้อคาถามคงเดิม
แบบสอบถามตอนที่ 3 : ข้อคาถามคงเดิม

ผู้ทรงคุณวุฒิท่านที่ 3 :
แบบสอบถามตอนที่ 1 : ปรับตัวเลือกเล็กน้อย
แบบสอบถามตอนที่ 2 : ข้อคาถามคงเดิม
แบบสอบถามตอนที่ 3 : ข้อคาถามคงเดิม

2. การตรวจสอบความเทีย่ ง (Reliability)

ผูว้ ิ จยั น าเครื่ อ งมื อ ที่ ผ่า นการตรวจสอบความตรงเชิ ง เนื้ อหาไปทดลองใช้ใ นกลุ่ ม ที่ มี
ลักษณะใกล้เคี ยงกับกลุ่ มตัวอย่าง เพื่อทดสอบความเข้าใจในข้อคาถาม รวมทั้งระยะเวลาที่ ใช้ในการตอบ
แบบสอบถาม โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนทัว่ ไปที่จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ข้ ึนไป อาศัยในจังหวัด
ภูเก็ต จานวน 40 คน และคานวณค่าความเที่ยงของเครื่ องมือโดยใช้สูตรสัมประสิ ทธิ์ แอลฟ่ าของครอนบาค
(Cronbach’ s alpha coefficient) ได้เท่ากับ 0.96 จากนั้นผูว้ ิจยั นาเครื่ องมือมาปรับปรุ งอีกครั้งก่อนนาไปใช้เก็บ
จริ ง
3. การเก็บรวบรวมข้ อมูล

การศึกษาครั้งนี้ทางกลุ่มของผูว้ จิ ยั เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยผูว้ จิ ยั ดาเนินเป็ นผูส้ ่ ง


แบบสอบถามให้กบั กลุ่มตัวอย่างด้วยตนเอง พร้อมทั้งชี้แจงวัตถุประสงค์ของการทาวิจยั ตลอดจนลักษณะของ
แบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่างทราบเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันที่ถูกต้อง
25

การวิเคราะห์ ข้อมูล

หลังจากทางผูว้ จิ ยั ได้ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกฉบับ จากนั้นนามาวิเคราะห์ขอ้ มูล


โดยใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ป SPSS ซึ่ งดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1. วิเคราะห์ปัจจัยส่ วนบุคคล โดยใช้สถิติขอ้ มูลแจกแจงความถี่ ร้อยละ
2. วิเคราะห์ปัจจัยส่ วนผสมทางการตลาด โดยใช้สถิติหาค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
จาแนกเป็ นรายข้อ รายด้าน และโดยรวม
3. วิเคราะห์การตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ โดยใช้สถิติ
ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
4. สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานการวิจยั โดยใช้สถิติไคสแควร์ ใช้ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าง
ตัวแปร
26

บทที่ 4
ผลการวิจัย
การศึ ก ษาครั้ งนี้ เป็ นการวิ จยั เชิ ง ปริ ม าณ เรื่ อง ปั จจัย ที่ มี ผ ลต่ อ การตัดสิ นใจเข้า ศึ ก ษาต่ อระดับ
ปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิ มพระเกี ยรติ จังหวัดพังงา มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อศึกษา
ปั จจัยส่ วนบุ คคล และปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาดต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย
รามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิ มพระเกี ยรติ จังหวัดพังงา กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนทัว่ ไปที่จบการศึกษา
ระดับ ปริ ญญาตรี ข้ ึ นไป อาศัย ในจังหวัดภู เก็ ต จานวน 437 คน เก็ บ ข้อมู ล โดยใช้แบบสอบถาม ซึ่ งผูว้ ิจยั ได้
นาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลตามลาดับ ดังนี้
ส่ วนที่ 1 ข้อมูลส่ วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยเพศ อายุ สถานะ ระดับการศึกษา คณะที่
สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี อาชี พ รายได้ และผูส้ นับสนุ นค่าเล่าเรี ยน/ ทุนการศึกษา เป็ นต้น โดยนาเสนอ
ข้อมูลเป็ นความถี่และค่าร้อยละของกลุ่มตัวอย่างโดยมีรายละเอียดดังนี้
ส่ วนที่ 2 ปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาด
ส่ วนที่ 3 การตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิม
พระเกียรติ จังหวัดพังงา
ส่ วนที่ 4 ทดสอบสมมติฐานปั จจัยส่ วนบุคคลและส่ วนประสมการตลาดต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษา
ต่อในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
27

ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลส่ วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่ าง


ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามข้อมูลส่ วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง (N= 437)

ข้ อมูลส่ วนบุคคล จานวน (คน) ร้ อยละ


เพศ
หญิง 261 59.7
ชาย 176 40.3
อายุ
ไม่เกิน 25 ปี 63 14.4
อายุระหว่าง 26-30 ปี 113 25.9
อายุระหว่าง 31-35 ปี 97 22.2
อายุระหว่าง 36-40 ปี 74 16.9
อายุระหว่าง 41-45 ปี 53 12.1
อายุระหว่าง 46-50 ปี 21 4.8
อายุระหว่าง 51-55 ปี 10 2.3
อายุต้ งั แต่ 56 ปี ขึ้นไป 6 1.4
สถานะ
โสด 247 56.5
สมรส 171 39.1
หม้าย/ หย่า/ แยก 19 4.3
ระดับการศึกษา
ปริ ญญาตรี 417 95.4
ปริ ญญาโท 18 4.1
ปริ ญญาเอก 2 0.5
คณะทีส่ าเร็จการศึกษา
คณะบริ หารธุ รกิจ 180 41.2
คณะรัฐศาสตร์ 56 12.8
คณะคุรุศาสตร์ 32 7.3
28

ข้ อมูลส่ วนบุคคล จานวน (คน) ร้ อยละ


คณะทีส่ าเร็จการศึกษา (ต่ อ)
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมฯ 63 14.4
คณะเทคโนโลยีการเกษตร 10 2.3
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 46 10.5
อื่น ๆ 54 12.4
อาชีพ
เพิ่งจบปริ ญญาตรี 32 7.3
รับราชการ 53 12.1
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 31 7.1
พนักงานบริ ษทั เอกชน 251 57.4
ธุ รกิจส่ วนตัว 65 14.9
อื่น ๆ 5 1.1
รายได้ เฉลีย่ ต่ อเดือน
น้อยกว่าหรื อเท่ากับ 10,000 บาท 11 2.5
10,001 – 20,000 บาท 171 39.1
20,001 – 30,000 บาท 139 31.8
30,001 – 40,000 บาท 68 15.6
40,001 – 50,000 บาท 31 7.1
50,001 – 60,000 บาท 11 2.5
มากกว่า 60,000 บาท 6 1.4
ผู้สนับสนุนค่ าเล่ าเรียน
บิดามารดา 73 16.7
หน่วยงานที่สังกัด 9 2.1
ตนเอง 352 80.5
อื่น ๆ 3 0.7
29

จากตางรางที่ 1 พบว่า กลุ่ มตัวอย่าง จ านวน 437 คน ส่ วนใหญ่ เป็ นเพศหญิ ง ร้ อยละ 59.7 มี อายุอยู่
ระหว่าง 26-30 ปี ร้อยละ 25.9 มีสถานะโสด ร้อยละ 56.5 จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ร้อยละ 95.4 โดยสาเร็ จ
การศึกษาในระดับปริ ญญาตรี ในจบคณะบริ หาร ร้อยละ 41.2 ประกอบอาชีพเป็ นพนักงานบริ ษทั เอกชน ร้อยละ
57.4 มีรายได้เฉลี่ ย 10,001 – 20,000 บาท ร้อยละ 39.1 และผูส้ นับสนุ นค่าเล่าเรี ยน/ ทุนการศึกษา คื อ ตนเอง ร้ อยละ
80.5

ส่ วนที่ 2 ปัจจัยส่ วนผสมทางการตลาด โดยใช้ สถิติหาค่ าเฉลีย่ และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จาแนกเป็ นรายข้ อ
รายด้ าน และโดยรวม
ตางรางที่ 2 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาดฯ (N=437)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาระดับ


M S.D ระดับ
ปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) 4.02 .676 มีอิทธิพลมาก
ด้านราคา (Price) 3.98 .720 มีอิทธิพลมาก
ด้านสถานที่ (Place) 3.82 .681 มีอิทธิพลมาก
ด้านการส่ งเสริ มการตลาด (Promotion) 3.94 .719 มีอิทธิพลมาก
ด้านบุคลากร (People) 4.02 .640 มีอิทธิพลมาก
ด้านกายภาค (Physical Evidence) 3.81 .660 มีอิทธิพลมาก
ด้านกระบวนการ (Process) 3.91 .633 มีอิทธิพลมาก
โดยรวม 3.93 .675 มีอิทธิพลมาก

จากตารางที่ 2 พบว่า กลุ่มตัวอย่าง จานวน 437 คน มีค่าเฉลี่ยปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาดที่มีผลต่อ


การตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิ มพระเกียรติ จังหวัด
พังงาโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก (M = 3.93, S.D = 0.675) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาด
ที่มีค่าเฉลี่ยสู งที่สุดเท่ากัน 2 ด้าน คือ ด้านผลิตภัณฑ์ (M = 4.02, S.D = 0.676) และด้านบุคลากร (M = 4.02, S.D =
0.640) รองลงมา ได้แก่ ด้านราคา (M = 3.98, S.D = 0.720) ด้านการส่ งเสริ มการตลาด (M = 3.94, S.D = 0.719
30

ด้านกระบวนการ (M = 3.91, S.D = 0.633) ด้านสถานที่ (M = 3.82, S.D = 0.681) และด้านกายภาค (M = 3.81,
S.D = 0.661) ตามลาดับ
ตางรางที่ 3 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้ านผลิตภัณฑ์ (N=437)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาระดับปริญญาโท


M S.D ระดับ
ทีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. มหาวิทยาลัยเป็ นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่ได้รับการรับรอง 4.02 .829 มีอิทธิพลมาก
มาตรฐาน
2. หลักสู ตรการศึกษามีมาตรฐาน และคุณภาพ 4.09 1.210 มีอิทธิพลมาก
3. หลักสู ตรการศึกษามีความหลากหลาย น่าสนใจ 4.03 .853 มีอิทธิพลมาก
4. เนื้อหาหลักสู ตรเป็ นที่ได้รับความนิยม ทันต่อเหตุการณ์ 4.08 .766 มีอิทธิพลมาก
5. จานวนหน่วยกิตของหลักสู ตรการศึกษามีความเหมาะสม 4.05 .815 มีอิทธิพลมาก
6. จานวนนักศึกษาในแต่ละคณะมีความเหมาะสม 3.94 .870 มีอิทธิพลมาก
7. ระยะเวลาการจัดการเรี ยนมีความเหมาะสมกับหลักสู ตร 4.02 .877 มีอิทธิพลมาก
8. ชื่อเสี ยงมหาวิทยาลัยเป็ นที่รู้จกั และยอมรับในวงการศึกษา 4.05 .814 มีอิทธิพลมาก
9. ศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยเป็ นบุคคลที่มีชื่อเสี ยง และเป็ นที่ยอมรับ 3.91 .962 มีอิทธิพลมาก
ของสังคม

จากตารางที่ 3 พบว่า ค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์ จานวน 9 ข้อ ของกลุ่มตัวอย่าง จานวน 437 คน โดยข้อ


ที่ มี อิท ธิ พ ลต่ อการตัดสิ นใจเข้า ศึ ก ษาระดับ ปริ ญญาโทที่ ม หาวิท ยาลัย รามค าแหงฯ มากที่ สุ ด คื อ หลัก สู ต ร
การศึกษามีมาตรฐานและคุณภาพ (M = 4.09, S.D = 1.210) รองลงมา ได้แก่ เนื้ อหาหลักสู ตรเป็ นที่ได้รับความ
นิ ยม ทันต่อเหตุการณ์ (M = 4.08, S.D = 0.766) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ ยน้อยที่สุด คือ ศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยเป็ น
บุคคลที่มีชื่อเสี ยง และเป็ นที่ยอมรับของสังคม (M = 3.91, S.D = 0.962)
31

ตางรางที่ 4 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้ านราคา (N=437)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาระดับ


M S.D ระดับ
ปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. ค่าใช้จ่ายในการศึกษาตลอดหลักสู ตร ราคาเหมาะสม หรื อ 3.99 .869 มีอิทธิพลมาก
ถูกกว่ามหาวิทยาลัยอื่น
2. กิจกรรมของคณะที่ตอ้ งชาระเงินเพิ่มมีจานวนเหมาะสม 3.99 .805 มีอิทธิพลมาก
3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาศึกษา คุม้ ค่าและเหมาะสม 4.00 .830 มีอิทธิพลมาก
4. ค่าใช้จ่ายค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง คุม้ ค่าและ 3.95 .790 มีอิทธิพลมาก
เหมาะสม

จากตารางที่ 4 พบว่า ค่าเฉลี่ยด้านราคา จานวน 4 ข้อ ของกลุ่มตัวอย่าง จานวน 437 คน โดยข้อที่มี


อิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ มากที่สุด คื อ ค่าใช้จ่ายในการ
เดิ นทางมาศึ กษา คุ ้ม ค่า และเหมาะสม (M = 4.00, S.D =.830) รองลงมา ได้แก่ ค่า ใช้จ่า ยในการศึ ก ษาตลอด
หลักสู ตร ราคาเหมาะสม หรื อถูกกว่ามหาวิทยาลัยอื่น (M = 3.99, S.D = 0.869) และกิจกรรมของคณะที่ตอ้ งชาระ
เงินเพิ่มมีจานวนเหมาะสม (M =3.99, S.D =0.805) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ค่าใช้จ่ายค่าอาหารกลางวัน
อาหารว่าง คุม้ ค่า และเหมาะสม (M = 3.95, S.D =0.790)
32

ตางรางที่ 5 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้ านสถานที่ (N=437)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาระดับ


M S.D ระดับ
ปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. สถานที่ต้ งั ของมหาวิทยาลัยอยูบ่ ริ เวณที่มีการคมนาคม 3.81 .837 มีอิทธิพลมาก
สะดวก
2. มหาวิทยาลัยเป็ นพื้นที่ที่มีความปลอดภัย มีเจ้าหน้าที่และ 3.90 .810 มีอิทธิพลมาก
ระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี
3. มหาวิทยาลัยมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ดี 3.77 .827 มีอิทธิพลมาก
4. มหาวิทยาลัยมีพ้นื ที่ติดกับหน้าชายหาดท้ายเมือง เป็ น 3.72 .924 มีอิทธิพลมาก
เอกลักษณ์ที่น่าสนใจ
5. เส้นทางการขับรถเดินทาง มีความสะดวก ปลอดภัย 3.80 .841 มีอิทธิพลมาก
6. สิ่ งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยมีความร่ มรื่ น น่าอยู่ 3.89 .787 มีอิทธิพลมาก
7. สิ่ งแวดล้อมรอบมหาวิทยาลัยมีความร่ มรื่ น ปลอดภัย 3.89 .824 มีอิทธิพลมาก

จากตารางที่ 5 พบว่า ค่าเฉลี่ยด้านสถานที่ จานวน 7 ข้อ ของกลุ่มตัวอย่าง จานวน 437 คน โดยข้อที่


มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ มากที่สุด คือ มหาวิทยาลัยเป็ น
พื้นที่ที่มีความปลอดภัย มีเจ้าหน้าที่และระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี (M = 3.95, S.D =0.790) รองลงมา ได้แก่
สิ่ งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยมีความร่ มรื่ น น่าอยู่ (M = 3.89, S.D =0.787) และสิ่ งแวดล้อมรอบมหาวิทยาลัยมี
ความร่ มรื่ น ปลอดภัย (M = 3.89, S.D =0.824) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ ยน้อยที่สุด คือ มหาวิทยาลัยมีพ้ืนที่ติดกับหน้า
ชายหาดท้ายเมือง เป็ นเอกลักษณ์ที่น่าสนใจ (M = 3.72, S.D =0.924)
33

ตางรางที่ 6 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้ านการส่ งเสริ มการตลาด (N=437)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาระดับ


M S.D ระดับ
ปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. มหาวิทยาลัยมีการประชาสัมพันธ์ให้เป็ นที่รู้จกั ในช่องทาง 3.87 .837 มีอิทธิพลมาก
ต่าง ๆที่หลากหลาย เหมาะสม
2. มหาวิทยาลัยประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักศึกษาใหม่ใน 3.91 .835 มีอิทธิพลมาก
ช่องทางที่หลากหลาย
3. มหาวิทยาลัยมีทุนการศึกษา/ ทุนสนับสนุนที่น่าสนใจ 3.96 .838 มีอิทธิพลมาก
4. มหาวิทยาลัยมีระบบผ่อนชาระค่าศึกษาเล่าเรี ยน / ผ่อนผัน 4.01 .821 มีอิทธิพลมาก
ค่าศึกษาเล่าเรี ยนที่น่าสนใจ
5. มหาวิทยาลัยมีการร่ วมมือกับสถาบันการเงินในการให้ 3.99 .848 มีอิทธิพลมาก
กูย้ มื เงิน/ ผ่อนชาระการศึกษา
6. มหาวิทยาลัยโฆษณาเกี่ยวกับการไปศึกษาดูงานใน 3.92 .873 มีอิทธิพลมาก
ต่างประเทศ

จากตารางที่ 6 พบว่า ค่าเฉลี่ยด้านการส่ งเสริ มการตลาด จานวน 6 ข้อ ของกลุ่มตัวอย่าง จานวน 437
คน โดยข้อที่ มีอิท ธิ พ ลต่ อการตัดสิ นใจเข้าศึ กษาระดับปริ ญญาโทที่ มหาวิท ยาลัย รามคาแหงฯ มากที่ สุด คื อ
มหาวิทยาลัยมีระบบผ่อนชาระค่าศึกษาเล่าเรี ยน / ผ่อนผันค่าศึกษาเล่าเรี ยนที่น่าสนใจ (M = 4.01, S.D =0.821)
รองลงมา ได้แก่ มหาวิทยาลัยมีการร่ วมมือกับสถาบันการเงินในการให้กยู้ ืมเงิน/ ผ่อนชาระการศึกษา (M = 3.99,
S.D =0.848) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ มหาวิทยาลัยประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักศึกษาใหม่ในช่องทาง
ที่หลากหลาย (M = 3.91, S.D =0.835)
34

ตางรางที่ 7 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้ านบุคลากร (N=437)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาระดับ


M S.D ระดับ
ปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. ผูบ้ ริ หารระดับสู งของมหาวิทยาลัยมีวสิ ัยทัศน์ที่กว้างไกล 3.99 .801 มีอิทธิพลมาก
2. อาจารย์มีวุฒิการศึกษาตรงกับสาขาวิชาและมีความรู ้ 4.04 .753 มีอิทธิพลมาก
ความสามารถที่เหมาะสม
3. อาจารย์มีตาแหน่งทางวิชาการและเป็ นที่ยอมรับของสังคม 4.02 .764 มีอิทธิพลมาก
4. อาจารย์มีความสามารถในการถ่ายทอดวิชาความรู ้ 4.05 .762 มีอิทธิพลมาก
5. อาจารย์ให้คาปรึ กษาด้วยความยินดีและเต็มใจ 4.10 .783 มีอิทธิพลมาก
6. เจ้าหน้าที่บุคลากรเป็ นผูม้ ีความสามารถเหมาะสมกับงาน 4.04 .729 มีอิทธิพลมาก
7. เจ้าหน้าที่ให้บริ การอย่างรวดเร็ ว ถูกต้อง 3.98 .749 มีอิทธิพลมาก
8. เจ้าหน้าที่มีอธั ยาศัยดี เป็ นมิตร ให้การช่วยเหลือเป็ นอย่างดี 4.00 .764 มีอิทธิพลมาก

จากตารางที่ 7 พบว่า ค่าเฉลี่ยด้านบุคลากร จานวน 8 ข้อ ของกลุ่มตัวอย่าง จานวน 437 คน โดยข้อ


ที่ มีอิทธิ พ ลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึก ษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิท ยาลัยรามค าแหงฯ มากที่สุ ด คื อ อาจารย์ใ ห้
คาปรึ ก ษาด้วยความยินดี และเต็มใจ (M = 4.10, S.D =0.783) รองลงมา ได้แก่ อาจารย์มีความสามารถในการ
ถ่ายทอดวิชาความรู ้ (M = 4.05, S.D =0.762) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ ยน้อยที่สุด คือ เจ้าหน้าที่ให้บริ การอย่างรวดเร็ ว
ถูกต้อง (M = 3.98, S.D =0.749)
35

ตางรางที่ 8 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้ านกายภาค (N=437)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาระดับ


M S.D ระดับ
ปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. มหาวิทยาลัยมีบริ การห้องสมุดที่ความทันสมัย มีแหล่ง 3.87 .838 มีอิทธิพลมาก
ค้นคว้าหาความรู ้ที่หลากหลาย
2. มหาวิทยาลัยมีบริ การห้องน้ ามีความสะอาด เพียงพอต่อ 3.77 .843 มีอิทธิพลมาก
การให้บริ การ
3. มหาวิทยาลัยมีบริ การที่จอดรถกว้างขวางและเพียงพอ 3.80 .804 มีอิทธิพลมาก
4. มหาวิทยาลัยมีโรงอาหารที่สะอาด เหมาะสม โต๊ะเก้าอี้ 3.75 .812 มีอิทธิพลมาก
สาหรับรับประทานอาหารเพียงพอ
5. มหาวิทยาลัยมีพ้นื ที่สวนหย่อม ศาลาที่พกั และบรรยากาศ 3.76 .793 มีอิทธิพลมาก
ที่ร่มรื่ น
6. มหาวิทยาลัยมีอุปกรณ์ และเครื่ องใช้ในการเรี ยนการสอน 3.87 .775 มีอิทธิ พลมาก
อย่างเพียงพอ พร้อมใช้งาน
7. มหาวิทยาลัยมีการจัดห้องเรี ยนที่น่าสนใจ ห้องเรี ยน 3.80 .770 มีอิทธิพลมาก
สะอาด และเพียงพอ
8. บริ เวณอาคารและระเบียงโดยรอบห้องเรี ยนสะอาด 3.77 .804 มีอิทธิพลมาก
เหมาะสม
9. มหาวิทยาลัยมีการจัดบริ การที่หลากหลาย โดยให้ 3.86 .780 มีอิทธิพลมาก
ความสาคัญกับผูเ้ รี ยนเป็ นหลัก

จากตารางที่ 8 พบว่า ค่าเฉลี่ยด้านกายภาค จานวน 9 ข้อ ของกลุ่มตัวอย่าง จานวน 437 คน โดยข้อที่


มี อิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึ กษาระดับปริ ญญาโทที่ มหาวิทยาลัย รามคาแหงฯ มากที่ สุด จานวน 2 ข้อ คื อ
มหาวิทยาลัยมีบริ การห้องสมุดที่ความทันสมัย มีแหล่งค้นคว้าหาความรู ้ที่หลากหลาย (M = 3.87, S.D =0.838)
และ มหาวิท ยาลัย มี อุป กรณ์ และเครื่ องใช้ใ นการเรี ย นการสอนอย่า งเพีย งพอ พร้ อมใช้ง าน (M = 3.87, S.D
=0.775) รองลงมา ได้แก่ มหาวิทยาลัยมีการจัดบริ การที่หลากหลาย โดยให้ความสาคัญกับผูเ้ รี ยนเป็ นหลัก (M =
3.86, S.D =0.780) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ มหาวิทยาลัยมีพ้ืนที่สวนหย่อม ศาลาที่พกั และบรรยากาศที่
ร่ มรื่ น (M = 3.76, S.D =0.793)
36

ตางรางที่ 9 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิ พลของด้ านกระบวนการ (N=437)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาระดับ


M S.D ระดับ
ปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. การคัดเลือกรับสมัครนักศึกษาใหม่มีความน่าเชื่ อถือ และ 3.94 .800 มีอิทธิพลมาก
โปร่ งใส
2. ขั้นตอนในการรับสมัครนักศึกษาใหม่สะดวก เข้าถึงได้ 3.93 .754 มีอิทธิพลมาก
ง่าย และไม่มีความซับซ้อน
3. เอกสารที่ยนื่ ใช้ในการรับสมัครมีความเหมาะสม 3.91 .746 มีอิทธิพลมาก
4. ระบบการติดต่อประสานงานระหว่างอาจารย์กบั นักศึกษา 3.98 .730 มีอิทธิพลมาก
มีความสะดวก ง่าย รวดเร็ ว
5. การจัดการเรี ยนการสอนนอกเวลา (เสาร์ -อาทิตย์) มีความ 3.99 .759 มีอิทธิพลมาก
เหมาะสม
6. มหาวิทยาลัยมีการพัฒนาการจัดการศึกษาและ บริ การให้ 3.97 .746 มีอิทธิพลมาก
ทันสมัยอยูเ่ สมอ
7. มหาวิทยาลัยมีระบบสนับสนุนการดูแลให้คาปรึ กษาโดย 3.82 .786 มีอิทธิพลมาก
รุ่ นพี่
8. มหาวิทยาลัยการสนับสนุนกิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่าง 3.78 .832 มีอิทธิพลมาก
ภายในห้องเรี ยน คณะ และมหาวิทยาลัย

จากตารางที่ 9 พบว่า ค่าเฉลี่ยกระบวนการจานวน 8 ข้อ ของกลุ่มตัวอย่าง จานวน 437 คน โดยข้อที่


มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ มากที่สุด คือ การจัดการเรี ยน
การสอนนอกเวลา (เสาร์ -อาทิตย์) มีความเหมาะสม (M = 3.99, S.D =0.759) รองลงมา ได้แก่ ระบบการติดต่อ
ประสานงานระหว่างอาจารย์กบั นักศึกษามีความสะดวก ง่าย รวดเร็ ว (M = 3.98, S.D =0.730) ส่ วนข้อที่มีค่าเฉลี่ย
น้อยที่สุด คือ มหาวิทยาลัยการสนับสนุ นกิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่างภายในห้องเรี ยน คณะ และมหาวิทยาลัย
(M = 3.78, S.D =0.832)
37

ส่ วนที่ 3 การตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อระดับปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ


จังหวัดพังงา
ตารางที่ 10 จานวน และร้ อยละของกลุ่มตัวอย่ าง ในการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย
รามคาแหง ฯ (N=437)

การตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อระดับปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหง ฯ จานวน (คน) ร้ อยละ


ความต้องการศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทที่ของมหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ 437 100.0
ต้องการศึกษา 90 20.6
ไม่แน่ใจ 212 48.5
ยังไม่ตอ้ งการศึกษาต่อ 135 30.9
ต้องการศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท ท่านคาดหมายว่าจะศึกษาต่อเมื่อใด 90 100.0
ภายในช่วง 1 ปี 13 14.4
ภายในช่วง 2 ปี 47 52.2
มากกว่า 2 ปี ขึ้นไป 30 33.4
สาเหตุที่ตอ้ งการศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท
ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน 63 14.4
ความมัน่ คงในการประกอบอาชีพ 47 10.8
การได้รับความรู ้เพิม่ ขึ้น 47 10.8
การเพิม่ วุฒิการศึกษาให้สูงขึ้น 53 12.1
เกียรติยศชื่อเสี ยง 26 5.9
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูอ้ ื่น 36 8.2
การได้รับการยอมรับในสังคม 23 5.3
อื่น ๆ 5 1.1
หลักสู ตรที่สนใจเข้าศึกษาต่อมากที่สุด
หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต 70 77.8
หลักสู ตรรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต 20 22.2
38

การตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อระดับปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหง ฯ จานวน (คน) ร้ อยละ


สนใจที่จะศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทในรู ปแบบใด
เรี ยนวันจันทร์ -วันศุกร์ ในเวลาราชการ (9.00-16.00 น.) 4 4.4
เรี ยนวันจันทร์ -วันศุกร์ ตอนเย็นหลังเลิกงาน (18.00-21.30 น.) 10 11.1
เรี ยนวันเสาร์ -วันอาทิตย์ (9.00-16.00 น.) 35 38.9
เรี ยนวันเดียว เฉพาะวันเสาร์ หรื ออาทิตย์ 8.00 -20.30 น.) 41 45.6
อื่น ๆ 0 0
ท่านคิดว่าค่าธรรมเนียมตลอดหลักสู ตรในการศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่ท่านสามารถชาระได้ควรเป็ นเท่าใด
ต่ากว่า 100,000 บาท 34 37.8
100,001-150,000 บาท 40 44.4
150,001-200,000 บาท 7 7.8
200,001-250,000 บาท 6 6.7
มากกว่า 250,000 บาท 3 3.3
สถาบันการศึกษาอื่น ๆ ที่ท่านสนใจศึกษาต่อมากที่สุด
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 44 48.9
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ 28 31.1
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฎร์ ธานี 2 2.2
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ NIDA 12 13.3
อื่น ๆ 4 4.4
ท่านเคยทราบหรื อเห็นข้อมูลข่าวสารการรับสมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
หรื อไม่
เคยเห็น/ทราบ 28 41.1
ไม่เคยเห็น/ทราบ 53 58.9

จากตารางที่ 10 พบว่า กลุ่มตัวอย่าง จานวน 437 คน เกี่ยวกับการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท


ที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกี ยรติ จังหวัดพังงา โดยความต้องการศึกษาต่อในระดับ
39

ปริ ญญาโทที่ของมหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ส่ วนใหญ่ตอบว่า ยังไม่แน่ใจ ร้อยละ 48.5 รองลงมา คือ ไม่ตอ้ งการ
ศึกษาต่อ ร้อยละ 30.9 และต้องการศึกษา ร้อยละ 20.6 ตามลาดับ
ส่ วนที่ 4 ทดสอบสมมติฐานปัจจัยส่ วนบุคคลและส่ วนประสมการตลาดต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อในระดับ
ปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหงฯ

4.1. ทดสอบสมมติฐานปัจจัยส่ วนบุคคลต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อในระดับปริ ญญาโททีม่ หาวิทยาลัย


รามคาแหงฯ
ตารางที่ 11 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (เพศ) ต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย
รามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่ าง (N=437)

ความต้ องการศึกษาต่ อในระดับปริญญาโทฯ


เพศ Chi square Asymp Sig.
ต้ องการ ไม่ แน่ ใจ ไม่ ต้องการ
ชาย 36 87 53 .112 .946
หญิง 54 125 82
รวม 90 121 135

จากตารางที่ 11 พบว่า เพศไม่มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย


รามคาแหงฯอย่างไม่มีนยั สาคัญทางสถิติ
40

ตารางที่ 12 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (อายุ) ต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย
รามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่ าง (N=437)

ความต้ องการศึกษาต่ อในระดับปริญญาโทฯ


ช่ วงอายุ (ปี ) Chi square Asymp Sig.
ต้ องการ ไม่ แน่ ใจ ไม่ ต้องการ
<25 19 30 14 21.618 0.87
26-30 25 57 31
31-35 19 52 26
36-40 12 36 26
41-45 10 23 20
46-50 1 12 8
51-55 3 1 6
>56 1 1 4
รวม 90 212 135

จากตารางที่ 12 พบว่า อายุไม่มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย


รามคาแหงฯอย่างไม่มีนยั สาคัญทางสถิติ
ตารางที่ 13 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (สถานะภาพ) ต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อในระดับปริ ญญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่ าง (N=437)

ความต้ องการศึกษาต่ อในระดับปริญญาโทฯ


สถานะ Chi square Asymp Sig.
ต้ องการ ไม่ แน่ ใจ ไม่ ต้องการ
โสด 59 121 67 8.438 .077
สมรส 29 84 58
หม้าย/ หย่า/ แยก/ 2 7 10
รวม 90 121 135

จากตารางที่ 13 พบว่า สถานะภาพไม่ มี ผ ลต่ อ การตัด สิ น ใจเข้า ศึ ก ษาต่ อในระดับ ปริ ญ ญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯอย่างไม่มีนยั สาคัญทางสถิติ
41

ตารางที่ 14 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (ระดับการศึกษา) ต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อในระดับปริ ญญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่ าง (N=437)

ความต้ องการศึกษาต่ อในระดับปริญญาโทฯ


ระดับการศึกษา Chi square Asymp Sig.
ต้ องการ ไม่ แน่ ใจ ไม่ ต้องการ
ปริ ญญาตรี 87 2 1 3.419 .490
ปริ ญญาโท 2 8 8
ปริ ญญาเอก 1 1 0
รวม 90 212 135

จากตาราง 14 พบว่า ระดับการศึกษาไม่มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึ กษาต่อในระดับปริ ญญาโทที่


มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ อย่างไม่มีนยั สาคัญทางสถิติ

ตารางที่ 15 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (คณะที่สาเร็ จการศึกษา) ต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อในระดับปริ ญญา
โทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่ าง (N=437)

คณะทีจ่ บการศึกษาระดับ ความต้ องการศึกษาต่ อในระดับปริญญาโทฯ


Chi square Asymp Sig.
ปริญญาตรี ต้ องการ ไม่ แน่ ใจ ไม่ ต้องการ
คณะบริ หารธุ รกิจ 26 106 44 42.069 .000**
คณะรัฐศาสตร์ 13 28 35
คณะครุ ศาสตร์ 13 10 9
คณะมนุษยศาสตร์ ฯ 9 25 29
คณะเทคโนโลยีการเกษตร 4 0 6
คณะวิทยาศาสตร์ฯ 7 21 18
อื่น ๆ 18 22 44
รวม 90 212 135
*** มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .001
42

จากตารางที่ 15 พบว่า คณะที่จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อใน


ระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (Chi square= 42.069, p =
.001)

ตารางที่ 16 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (อาชีพ) ต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย
รามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่ าง (N=437)

ความต้ องการศึกษาต่ อในระดับปริญญาโทฯ


อาชีพ Chi square Asymp Sig.
ต้ องการ ไม่ แน่ ใจ ไม่ ต้องการ
เพิ่งจบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี 15 12 5 29.024 .001***
รับราชการ 16 26 11
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 4 18 9
พนักงานบริ ษทั เอกชน 38 129 84
ธุ รกิจส่ วนตัว 17 24 24
อื่น ๆ 0 3 2
รวม 90 212 135
*** มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .001

จากตารางที่ 16 พบว่า อาชี พมีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย


รามคาแหงฯอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (Chi square= 29.024, p = .001)
43

ตารางที่ 17 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (รายได้ ต่อเดือน) ต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อในระดับปริ ญญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่ าง (N=437)

ความต้ องการศึกษาต่ อในระดับปริญญาโทฯ


รายได้ ต่อเดือน Chi square Asymp Sig.
ต้ องการ ไม่ แน่ ใจ ไม่ ต้องการ
น้อยกว่าหรื อเท่ากับ 10,000 บาท 5 5 1 15.535 .213
10,001 – 20,000 บาท 33 80 58
20,001 – 30,000 บาท 26 76 37
30,001 – 40,000 บาท 17 33 18
40,001 – 50,000 บาท 6 12 13
50,001 – 60,000 บาท 3 4 4
มากกว่า 60,000 บาท 0 2 4
รวม 90 212 135

จากตารางที่ 17 พบว่า รายได้ต่อเดื อนไม่มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทที่


มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ อย่างไม่มีนยั สาคัญทางสถิติ

ตารางที่ 18 ทดสอบหาปั จจัยส่ วนบุคคล (ผู้สนับสนุนค่ าเล่ าเรี ยน/ ทุนการศึกษา) ต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อใน
ระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่ าง (N=437)

ผู้สนับสนุนค่ าเล่าเรียน/ ความต้ องการศึกษาต่ อในระดับปริญญาโทฯ


Chi square Asymp Sig.
ทุนการศึกษา ต้ องการ ไม่ แน่ ใจ ไม่ ต้องการ
บิดามารดา 16 42 15 6.436 .376
หน่วยงานที่สังกัด 2 4 3
ตนเอง 72 165 115
อื่น ๆ 0 1 2
รวม 90 121 135
44

จากตารางที่ 18 พบว่า ผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรี ยน/ ทุนการศึกษาไม่มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อใน


ระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ อย่างไม่มีนยั สาคัญทางสถิติ
4.2. ทดสอบสมมติฐานปัจจัยส่ วนประสมการตลาดต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อในระดับปริญญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
ตารางที่ 19 ทดสอบหาปั จจัยปั จจัยส่ วนประสมการตลาด ต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อในระดับปริ ญญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่ าง (N=437)

ความต้ องการศึกษาต่ อในระดับ


Chi Asymp
ปัจจัยส่ วนประสมการตลาด ปริญญาโทฯ
square Sig.
ต้ องการ ไม่ แน่ ใจ ไม่ ต้องการ
ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) 90 121 135 80.154 .149
ด้านราคา (Price) 90 121 135 27.720 .683
ด้านสถานที่ (Place) 90 121 135 37.444 .812
ด้านการส่ งเสริ มการตลาด (Promotion) 90 121 135 50.025 .133
ด้านบุคลากร (People) 90 121 135 71.380 .081
ด้านกายภาค (Physical Evidence) 90 121 135 68.857 .381
ด้านกระบวนการ (Process) 90 121 135 52.632 .449
ส่ วนประสมทางการตลาดฯ โดยรวม 90 121 135

จากตารางที่ 19 พบว่า ปั จจัยส่ วนประสมการตลาดไม่มีดา้ นใดมีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อใน


ระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ อย่างไม่มีนยั สาคัญทางสถิติ
45

บทที่ 5
สรุ ปและอภิปรายผล
งานวิ จัย นี ม้ ี วัต ถุป ระสงค์ เพื่ อ ศึก ษาปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่อ การตัด สิ น ใจเข้า ศึก ษาต่อ ระดับ ปริญ ญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา โดยศึกษาถึงปั จจัยส่วนบุคคล และ
ปั จจัยส่วนผสมทางการตลาดต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทย
บริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา ทัง้ นีไ้ ด้ทาการสารวจผ่านแบบสอบถามทัง้ สิน้ 437 ชุด แล้วนามาวิเคราะห์
และประมวลผลทางสถิตติ ามวัตถุประสงค์ของงานวิจยั ซึ่งผูว้ ิจยั สามารถสรุปผลได้ ดังนี ้

5.1 ข้อมูลลักษณะของกลุ่มประชากรตัวอย่าง
พบว่า ลักษณะประชากรของกลุม่ ตัวอย่าง มีสดั ส่วนของเพศหญิงมากกว่าเพศชาย คือ ร้อยละ 59.7
และ 40.3 ตามลาดับ ส่วนใหญ่อายุระหว่าง 26-30 ปี คิดเป็ นร้อยละ 25.9 สถานภาพโสดมากกว่าสมรส คือร้อย
ละ 56.5 และ 39.1 ตามลาดับ ระดับการศึกษา จะเป็ นปริ ญญาตรี เกือบทั้งหมด คิดเป็ นร้อยละ 95.4 โดยสาเร็จ
การศึกษาคณะบริ หารธุ รกิจมากสุ ด คิดเป็ นร้อยละ 41.2 ประกอบอาชีพเป็ นพนักงานบริษัทเอกชนมากสุด คิด
เป็ นร้อยละ 57.4 มีรายได้เฉลี่ย 10,001 – 20,000 บาทมากสุด คิดเป็ นร้อยละ 39.1 และผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรียน/
ทุนการศึกษา คือ ตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 80.5 ของกลุม่ ตัวอย่าง

5.2 ปัจจัยส่ วนผสมทางการตลาด และระดับการมีอิทธิพลปั จจัยส่วนผสมทางการตลาดด้าน


ผลิตภัณฑ์ (Product)
พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ มาก
ที่สดุ คือ หลักสูตรการศึกษามีมาตรฐานและคุณภาพ รองลงมา คือ เนือ้ หาหลักสูตรเป็ นที่ได้รบั ความนิยม ทัน
ต่อเหตุการณ์ และข้อที่มีคา่ เฉลี่ยน้อยที่สดุ คือ ศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยเป็ นบุคคลที่มีช่ือเสียง และเป็ นที่
ยอมรับของสังคม

5.3 ปัจจัยส่ วนผสมทางการตลาด และระดับการมีอิทธิพลปั จจัยส่วนผสมทางการตลาดด้านราคา


(Price)
46

พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ มาก


ที่สดุ คือ ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางมาศึกษา คุม้ ค่า และเหมาะสม รองลงมา ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการศึกษาตลอด
หลักสู ตร ราคาเหมาะสม หรื อถูกกว่ามหาวิทยาลัยอื่น และกิจกรรมของคณะที่ตอ้ งชาระเงินเพิ่มมีจานวน
เหมาะสม ส่วนข้อที่มีคา่ เฉลี่ยน้อยที่สดุ คือ ค่าใช้จ่ายค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง คุม้ ค่า และเหมาะสม

5.4 ปัจจัยส่ วนผสมทางการตลาด และระดับการมีอิทธิพลปั จจัยส่วนผสมทางการตลาดด้าน


สถานที่ (Place)

พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ มาก


ที่สดุ คือ มหาวิทยาลัยเป็ นพื้นที่ที่มีความปลอดภัย มีเจ้าหน้าที่และระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี รองลงมา ได้แก่
สิ่ งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยมีความร่ มรื่ น น่าอยู่ และสิ่ งแวดล้อมรอบมหาวิทยาลัยมีความร่ มรื่ น ปลอดภัย
ส่วนข้อที่มีคา่ เฉลี่ยน้อยที่สดุ คือ มหาวิทยาลัยมีพ้นื ที่ติดกับหน้าชายหาดท้ายเมือง เป็ นเอกลักษณ์ที่น่าสนใจ

5.5 ปัจจัยส่ วนผสมทางการตลาด และระดับการมีอิทธิพลปั จจัยส่วนผสมทางการตลาดด้าน


ส่งเสริมการตลาด (Promotion)

พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ มาก


ที่สดุ คือ มหาวิทยาลัยมีระบบผ่อนชาระค่าศึกษาเล่าเรี ยน / ผ่อนผันค่าศึกษาเล่าเรี ยนที่น่าสนใจ รองลงมา ได้แก่
มหาวิทยาลัยมีการร่ วมมือกับสถาบันการเงินในการให้กยู้ ืมเงิน/ ผ่อนชาระการศึกษา ส่วนข้อที่มีคา่ เฉลี่ยน้อย
ที่สดุ คือ มหาวิทยาลัยประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักศึกษาใหม่ในช่องทางที่หลากหลาย

5.6 ปัจจัยส่ วนผสมทางการตลาด และระดับการมีอิทธิพลปั จจัยส่วนผสมทางการตลาดด้าน


บุคคลากร (Propel)
47

พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงมากที่สดุ
คือ อาจารย์ให้คาปรึกษาด้วยความยินดีและเต็มใจ รองลงมา ได้แก่ อาจารย์มีความสามารถในการถ่ายทอด
วิชาความรู ้ ส่วนข้อที่มีคา่ เฉลี่ยน้อยที่สดุ คือ เจ้าหน้าที่ให้บริการอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง

5.7 ปั จจัยส่วนผสมทางการตลาด และระดับการมีอิทธิพลปั จจัยส่วนผสมทางการตลาดด้าน


กายภาพ (Physical Evidence)

พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง มากที่สดุ


จานวน 2 ข้อ คือ มหาวิทยาลัยมีบริการห้องสมุดที่ความทันสมัย มีแหล่งค้นคว้าหาความรูท้ ่ีหลากหลาย และ
มหาวิทยาลัยมีอปุ กรณ์ และเครื่องใช้ในการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ พร้อมใช้งาน รองลงมา ได้แก่
มหาวิทยาลัยมีการจัดบริการที่หลากหลาย โดยให้ความสาคัญกับผูเ้ รียนเป็ นหลัก ส่วนข้อที่มีคา่ เฉลี่ยน้อยที่สดุ
คือ มหาวิทยาลัยมีพืน้ ที่สวนหย่อม ศาลาที่พกั และบรรยากาศที่รม่ รื่น

5.7 ปั จจัยส่วนผสมทางการตลาด และระดับการมีอิทธิพลปั จจัยส่วนผสมทางการตลาดด้าน


กระบวนการ (Process)

พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ มากที่สดุ


คือ การจัดการเรียนการสอนนอกเวลา (เสาร์-อาทิตย์) มีความเหมาะสม รองลงมา ได้แก่ ระบบการติดต่อ
ประสานงานระหว่างอาจารย์กบั นักศึกษามีความสะดวก ง่าย รวดเร็ว ส่วนข้อที่มีคา่ เฉลี่ยน้อยที่สดุ คือ
มหาวิทยาลัยการสนับสนุนกิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่างภายในห้องเรียน คณะ และมหาวิทยาลัย

5.8 ปัจจัยส่ วนบุคคลต่ อการตัดสิ นใจเข้ าศึกษาต่ อในระดับปริญญาโททีม่ หาวิทยาลัยรามคาแหงฯ

พบว่า เพศ อายุ สถานะภาพ ระดับการศึกษา รายได้ และผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรียน/ ทุนการศึกษา ไม่มีผลต่อ
การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ส่วนคณะที่จบการศึกษาระดับ
ปริ ญญาตรี และอาชีพ มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ที่
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001
48

ข้อเสนอแนะ
1. เนื่องจากการศึกษางานวิจยั ในครัง้ นีเ้ ป็ นงานวิจยั เชิงปริมาณ มีการใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือใน
การเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนัน้ ในการศึกษาครัง้ ต่อไปเพื่อให้ผวู้ ิจยั ได้รบั ทราบถึงความต้องการ ทราบถึงทัศนคติ
ของประชาชนทั่วไปมากขึน้ จึงควรมีการศึกษาในเชิงคุณภาพ โดยการสุม่ สัมภาษณ์ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเชิงลึกใน
การศึกษาระดับความต้องการของประชาชน จังหวัดภูเก็ต ในการตัดสินใจที่จะศึกษาต่อในระดับปริญญาโท ที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
2.เนื่องจากการศึกษางานในครัง้ นีเ้ พื่อทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัย
ส่วนผสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ดังนัน้
เพื่อให้ทราบถึงผลลัพธ์ภายหลังจากการสาเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท แล้วได้พฒ ั นาศักยภาพของ
ตนเองในด้านใดบ้าง ในการศึกษาครัง้ ต่อไปจึงควรมีการศึกษาในเรื่องคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วไปใน
จังหวัดภูเก็ต เพื่อให้ทราบถึงคุณภาพชีวิตที่ได้รบั จากการพัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพ และอื่นๆ
49

บรรณานุกรม

จิ ราภรณ์ ไหวดี . (2541). แรงจู ง ใจในการศึ ก ษาต่ อระดับปริ ญญาโทของนิ สิ ต มหาวิ ท ยาลัย มหาสารคามปี
การศึกษา 2540. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ณัฐกาญจน์ อ่างทองและคณะ. (2540). ความต้ องการใช้ บุคลากรระดับปริ ญญาโทของบุคลากรในหน่ วยงาน
ประเภทต่ างๆทั้งภาครั ฐและเอกชนในเขตภูมิภาคตะวันตก. นครปฐม : คณะครุ ศาสตร์ , สถาบันราชภัฏ
นครปฐม.
ทองหล่ อ นาคหอม. (2535). แรงจูง ใจในการศึ กษาต่ อระดับปริ ญญาโทของนิ สิตวิ ชาเอกบริ หารการศึ ก ษา.
มหาวิท ยาลัย นเรศวร ปี การศึ ก ษา 2533-2534. ปริ ญญานิ พ นธ์ ก ารศึ ก ษามหาบัณ ฑิ ต. สื บ ค้น เมื่ อ 10
ธันวาคม 2563, จากhttp://tdc.thailis.or.th/tdc
นิตยา มากเจริ ญชัย. (2546). ความสั มพันธ์ ระหว่ างปั จจัยทางเศรษฐกิ จกับความต้ องการศึกษาต่ อระดับปริ ญญา
โท : กรณี ศึกษา นิสิตปริ ญญาตรี หลักสู ตร 4 ปี ชั้นปี ที่ 4 ปี การศึกษา2545 มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ
ประสานมิ ต ร. ปริ ญญานิ พ นธ์ เ ศรษฐศาสตรมหาบัณ ฑิ ต . สื บค้ น เมื่ อ 10 ธั น วาคม 2563, จาก
http://tdc.thailis.or.th/tdc
ผูจ้ ดั การออนไลน์. "ม.รามคาแหงวางศิ ลาฤกษ์ แท่ นประดิ ษฐานพ่ อขุนรามฯ ณ วิทยาเขตพังงา" . (ออนไลน์).
เข้าถึงได้จาก : https://mgronline.com/south/detail/9570000111955, 9 ธันวาคม 2563
ภาวิตา กั้นเกษ. (2558). ปั จจัยในการตัดสิ นใจศึกษาต่ อระดับปริ ญญาโทของนักศึกษาชั้นปี ที่ 4 ปี การศึกษา 2554
มหาวิ ทยาลัยราชภัฏพระนคร เขตบางเขน กรุ งเทพมหานคร. ปริ ญญานิ พนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิ ต.
สื บค้น เมื่อ 10 ธันวาคม 2563,จากhttp://tdc.thailis.or.th/tdc
มัท รี ย า กลิ่ นเมื อ ง และวิภ าสิ นี บู รณมี . (2546). ความต้ องการศึ ก ษาต่ อ ระดับ ปริ ญญาโทของบุ คลากรทาง
การศึ กษาในเขตจังหวัดสมุทรสาคร. ปริ ญญานิ พนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิ ต. สื บค้น เมื่อ 10 ธันวาคม
2563,จากhttp://tdc.thailis.or.th/tdc
วาริ นทร์ พฤกษ์สมบูรณ์ และเอกพล จันทร์ โก๊ะ. (2546). ความต้ องการศึ กษาต่ อระดับปริ ญญาโทของบุคลากร
ทางการศึ กษาในเขตจังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ . ปริ ญญานิ พนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สื บค้น
เมื่อ 9 ธันวาคม 2563,จากhttp://tdc.thailis.or.th/tdc
50

วันวิสาข์ แก้วสมบูรณ์. (2556). เหตุจูงใจในการศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย


ทักษิณ. ปี ที่ 13(2). ก.ค.-ธ.ค.
ศิริวรรณ เสรี รัตน์ และคณะ. (2538) พฤติกรรมผู้บริ โภค ฉบับสมบูรณ์ . กรุ งเทพฯ : บริ ษทั วสิ ทธิ์ พฒั นา จากัด
สมพร เพ็ญเสงี่ยม. (2546). การศึ กษาความต้ องการศึ กษาต่ อระดับปริ ญญาโทของครู โรงเรี ยน สามเสนนอก.
กรุ งเทพมหานคร. ปริ ญญานิ พ นธ์ ก ารศึ ก ษามหาบัณ ฑิ ต . สื บค้ น เมื่ อ 10 ธั น วาคม 2563, จาก
http://tdc.thailis.or.th/tdc
51

ภาคผนวก
52

ก. งบประมาณ
53

ข. Gantt Chart

กิจกรรม พ.ศ. 2563


ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ขั้นตอนการเตรียมการวิจัย
- ประชุมกลุ่มวางแผนการทางาน
- ทบทวนวรรณกรรม
ขั้นตอนการออกแบบและวางแผนการวิจัย
- สร้างเครื่ องมือ
- ตรวจสอบความตรงเครื่ องมือ
- พิจารณาจริ ยธรรมในการศึกษาวิจยั
ขั้นตอนการดาเนินการวิจัย
- เก็บข้อมูล
- ติดต่อประสานงานเพื่อขออนุ ญาตเก็บข้อมูล
ขั้นตอนการประมวลผล
- วิเคราะห์สถิติขอ้ มูล
- สรุ ปและอภิปราย
ขั้นตอนการเขียนรายงานและเผยแพร่ เอกสาร
54

ค. รายชื่ อของผู้เชี่ยวชาญหรื อผู้ทรงคุณวุฒิ

ผูเ้ ชี่ยวชาญหรื อผูท้ รงคุณวุฒิ จานวน 3 ท่าน ดังนี้

1. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์มณี รัตน์ จรุ งเดชา อาจารย์ผสู ้ อนประจารายวิชา วิธีการวิจยั ทางธุ รกิจ (BUS
กุล 6016) หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาวิทยบริ การ
เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
2. นายวรธัช พนาวรางษ์ ตาแหน่งนักเคมี
ปฎิบตั ิงานอยูท่ ี่ Thailand Smelting and Refining
3. นางสาววณิ ชชา จง ตาแหน่งหัวหน้าฝ่ ายบุคคล
ปฏิบตั ิติงานอยูท่ ี่โรงแรมเดอะนาคา ภูเก็ต
55

ง. ตารางสรุปผลการวิเคราะห์ ค่าความสอดคล้อง IOC


ผู้เชี่ ยวชาญหรื อทรงคุณวุฒิ
คาถามข้ อที่ SUM X IOC
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3
A1 1 0 1 2 0.66666667
A2 1 0 1 2 0.66666667
A3 1 1 1 3 1
A4 1 1 1 3 1
A5 1 1 1 3 1
A6 1 1 1 3 1
A7 1 0 1 2 0.66666667
A8 1 1 1 3 1
B1 1 1 1 3 1
B2 1 1 1 3 1
B3 1 1 1 3 1
B4 1 1 0 2 0.66666667
B5 1 1 1 3 1
B6 1 1 1 3 1
B7 1 1 1 3 1
B8 1 1 1 3 1
B9 1 1 0 2 0.66666667
B10 1 1 0 2 0.66666667
B11 1 1 1 3 1
B12 1 1 1 3 1
B13 1 1 1 3 1
B14 1 1 1 3 1
B15 1 1 1 3 1
B16 1 1 1 3 1
56
ผู้เชี่ ยวชาญหรื อทรงคุณวุฒิ
คาถามข้ อที่ SUM IOC
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3
B17 1 1 1 3 1
B18 1 1 1 3 1
B19 1 1 1 3 1
B20 1 1 1 3 1
B21 1 1 1 3 1
B22 1 1 1 3 1
B23 1 1 0 2 0.66666667
B24 1 1 03 2 0.66666667
B25 1 1 0 2 0.66666667
B26 1 1 1 3 1
B27 1 1 1 3 1
B28 1 1 1 3 1
B29 1 1 1 3 1
B30 1 1 1 3 1
B31 1 1 1 3 1
B32 1 1 0 2 0.66666667
B33 1 1 1 3 1
B34 1 1 1 3 1
B35 1 1 1 3 1
B36 1 1 1 3 1
B37 1 1 1 3 1
B38 1 1 1 3 1
B39 0 1 1 2 0.66666667
B40 1 1 1 3 1
B41 0 1 1 2 0.66666667
57

ผู้เชี่ ยวชาญหรื อทรงคุณวุฒิ


คาถามข้ อที่ SUM X IOC
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3
B42 1 1 1 3 1
B43 1 1 1 3 1
B44 1 1 1 3 1
B45 1 1 1 3 1
B46 1 1 1 3 1
B47 1 1 1 3 1
B48 1 1 0 2 0.66666667
B49 1 1 1 3 1
B50 1 1 0 2 0.66666667
B51 1 1 1 3 1
B52 1 1 1 3 1
B53 1 1 1 3 1
B54 1 1 1 3 1
B55 1 1 1 3 1
B56 0 1 1 2 0.66666667
B57 0 1 1 2 0.66666667
B58 1 1 1 3 1
B59 1 1 1 3 1
B60 1 1 1 3 1
0.92156863

ผลการวิเคราะห์หาคานวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม มีค่าเฉลี่ยของดัชนีความสอดคล้อง
(IOC) ได้เท่ากับ
58

จ. ผลการวิเคราะห์ ค่าความเทีย่ ง (Reliability)


59

ฉ. คู่มือลงรหัส (Code Book)


60
61
62
63
64
65
66
67
68

ช. ตารางการเลือกสถิติสาหรับทดสอบสมมุติฐาน
69
70
71
72
73
74
75
76
77

ซ. รายชื่ อผู้วจิ ัย

ลาดับ ชื่ อ รหัสนักศึกษา วุฒิการศึกษา/ มหาวิทยาลัย/ ปี ทีส่ าเร็จการศึกษา ตาแหน่ ง/ สถานทีป่ ฏิบัติงาน
1 นายศรันย์ กาญจนกุลานุรักษ์ 6224103016 คณะบริ หารการเงิน เจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิการ
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
2560 ย่อมแห่งประเทศไทย (สาขาภูเก็ต)
2 นางสาวศุภวรรณ เพ็ชรหิ น 6224103018 คณะวิทยาการจัดการ สาขาการบริ หารทรัพยากร หัวหน้างานฝ่ ายบุคคล โรงแรมในเครื องแมริ
มนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 2556 ออทประเทศไทย (สาขาป่ าตอง ภูเก็ต)
3 นางสาววิชชุดา ขุนฤทธิ์ 6224103037 คณะพยาบาลศาสตร์บณั ฑิต มหาวิทยาลัยนานา หัวหน้าพยาบาลผูป้ ่ วยใน วอร์ด 4 โรงพยาบาล
เอเชียแปซิฟิก กรุ งเทพ 2549 มิชชัน่ ภูเก็ต
4 นายณฐนนท โกยสมบูรณ์ 6224103045 คณะวิทยาศาสตร์ (ภูมิศาสตร์ ) มหาวิทยาลัย รองผูอ้ านวยการอาวุโส บริ ษทั อลิอนั ซ์ อยุธยา
รามคาแหง 2542 ประกันภัย จากัด (มหาชน)
5 นางสาวญาชิตา ศุกดาภานุพล 6224103058 คณะวิทยาศาสตร์ สาขาธรณี ศาสตร์ เจ้าหน้าที่จดั ซื้ อต่างประเทศ บริ ษทั ไทยแลนด์ส
มหาวิทยาลัยมหิดล 2556 เมทติ้งแอนด์รีไฟนิ่ง จากัด
6 นายธวัชชัย บุปผาเผ่า 6224103062 คณะวิทยาศาสตร์ มหาลัยสงขลานคริ นทร์ 2556 ผูค้ วบคุมเสี ยงและการแสดง (อาชีพอิสระ)

7 นางสาวจุฬารัตน์ แซ่พงั่ 6224103071 คณะพยาบาลศาสตร์บณั ฑิต ผูจ้ ดั การคลินิก บริ ษทั เอเพ็กซ์ เมดิคอล เซ็นเตอร์
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ 2554 จากัด สาขาบายพาส ภูเก็ต
78

ฌ. แบบสอบถาม
79
80
81
82
83

You might also like