Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 27

1

ปัจจัยที่มีผลต่ อการตัดสินใจเข้ าศึกษาต่ อระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง


สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา

สมาชิกกลุ่มที่ 4

นายศรันย์ กาญจนกุลานุรักษ์ รหัส 6224103016


นางสาวศุภวรรณ เพ็ชรหิน รหัส 6224103018
นางสาววิชชุดา ขุนฤทธิ์ รหัส 6224103037
นายณฐนนท โกยสมบูรณ์ รหัส 6224103016
นางสาวญาชิตา ศุกดาภานุพล รหัส 6224103058
นายธวัชชัย บุปผาเผ่า รหัส 6224103062
นางสาวจุฬารัตน์ แซ่ พั่ง รหัส 6224103071

งานวิจัยอิสระนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร


บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง
สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
2563
2

บทที่ 1

บทนา

ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา (อยู่ระหว่างการแก้ไข)

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง
สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
2. เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
3. เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดต่อการ
ตัดสินใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา

สมมติฐานการวิจัย

1. ปั จจัยส่ วนบุคคลที่แตกต่างกัน ได้แก่ เพศ อายุ สถานะ ระดับการศึกษา คณะที่สาเร็จการศึกษา


ระดับปริ ญญาตรี อาชีพ รายได้ และผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรี ยน/ ทุนการศึกษา เป็ นต้น มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษา
ระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติจงั หวัดพังงา
2. ปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาด ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ (Product), ด้านราคา (Price), ด้านสถานที่
(Place), ด้านการส่งเสริ มการตลาด (Promotion), ด้านบุคลากร (People), ด้านกายภาค (Physical Evidence), และ
ด้านกระบวนการ (Process) เป็ นต้น มีต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขา
วิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติจงั หวัดพังงา
3

กรอบแนวคิดการวิจัย
ตัวแปรอิสระ (Independent variables) ตัวแปรตาม (Dependent variables)

ปัจจัยส่ วนบุคคล (Personal Factors)


- เพศ
- อายุ
- สถานะ
- ระดับการศึกษา
- คณะที่สาเร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี
- อาชีพ
- รายได้
- ผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรี ยน/ ทุนการศึกษา การตัดสินใจเข้าศึกษาต่ อ
ระดับปริญญาโท
ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาด 7Ps
ที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
(Marketing Mix '7Ps)
- ด้านผลิตภัณฑ์ (Product)
- ด้านราคา (Price)
- ด้านสถานที่ (Place)
- ด้านการส่งเสริ มการตลาด (Promotion)
- ด้านบุคลากร (People)
- ด้านกายภาค (Physical Evidence)
- ด้านกระบวนการ (Process)

ภาพ 1. กรอบแนวคิดการการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย


รามคาแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
ที่มา: บูรณาการตัวแปรจาก Marketing management โดย Kotler and Keller (2016)
4

นิยามศัพท์การวิจัย

1. ปั จจัยส่ วนประสมทางการตลาด หมายถึง กลยุทธ์การบริ หารจัดการด้านการตลาดในลักษณะ


ของนาเสนอรู ปแบบต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา โดยมี
ปั จ จัยส่ ว นประสมที่น ามาพิจ ารณา 7 ด้าน ได้แก่ ด้านผลิต ภัณ ฑ์ (Product), ด้านราคา (Price), ด้านสถานที่
(Place), ด้านการส่งเสริ มการตลาด (Promotion), ด้านบุคลากร (People), ด้านกายภาค (Physical Evidence), และ
ด้านกระบวนการ (Process) เป็ นต้น โดยอธิบายได้ ดังนี้
1.1. ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) หมายถึง ภาพลักษณ์ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
อันเป็ นที่ยอมรับ หลักสู ตรเป็ นที่ตอ้ งการ มีความทันสมัย ได้มาตรฐาน สามารถนาความรู ้ไปปรับใช้ในอาชีพ
การงานได้จริ ง และตรงตามความต้องการของตลาด ซึ่งมีผลต่อการพิจารณาและตัดสินใจเลือกของผูบ้ ริ โภค
1.2. ด้า นราคา (Price) หมายถึ ง จ านวนเงิ น หรื อ ค่าใช้จ่ายที่ จ าเป็ นต้อ งใช้ จ่ายตลอด
หลักสู ตรการศึกษา ซึ่งมีผลต่อการพิจารณาและตัดสิ นใจเลือกของผูบ้ ริ โภค เช่น ค่าหน่วยกิต ค่าธรรมเนียม ค่า
เทอมการศึกษา และค่าจิปาถะอื่น ๆ
1.3. ด้านสถานที่ (Place) หมายถึง ทาเลที่ต้ งั ของมหาวิทยาลัย ระยะทางในการเดินทาง
รวมทั้งอุปกรณ์สิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่มีผลต่อการพิจารณาและตัดสินใจเลือกของผูบ้ ริ โภค
1.4. ด้านการส่ งเสริ มการตลาด (Promotion ) หมายถึง กิจกรรมที่สร้างสิ่ งจูงใจ และการ
สื่ อสารด้านการตลาดของมหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ เพื่อให้เป็ นที่รู้จกั และเกิดความต้องการ ซึ่งมีผลต่อการ
พิ จ ารณาและตัด สิ น ใจเลื อ กของผู ้บ ริ โ ภค เช่ น การโฆษณา นโยบายให้ เ งิ น กู้ยื ม เพื่ อการศึ ก ษา การมอบ
ทุนการศึกษา
1.5. ด้านบุคลากร (People ) หมายถึง ผูบ้ ริ หารมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลให้ ความสาคัญกับ
การจัดการศึกษา คุณวุฒิของอาจารย์ตรงตามสาขาวิชา ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาและชื่อเสี ยงของอาจารย์ เป็ น
ที่ ย อมรั บ ของสั ง คม อาจารย์ผู ้ส อนมี ค วามเอาใจใส่ นัก ศึ ก ษา รวมทั้ง เจ้า หน้า และบุค ลากรที่ เ กี่ ยวข้องมี
ความสามารถเหมาะสมกับงาน เป็ นมิตร ให้การช่วยเหลือเป็ นอย่างดี ซึ่งมีผลต่อการพิจารณาและตัดสินใจเลือก
ของผูบ้ ริ โภค
5

1.6. ด้านกายภาค (Physical Evidence) หมายถึง สถานที่และสิ่ งอานวยความสะดวกต่าง ๆ


เช่น โรงอาหาร ห้องสมุด ห้องเรี ยน ห้องน้ า ลานจอดรถ ฯลฯ รวมไปถึง สิ่ งแวดล้อมทั้งภายในและนอก
มหาวิทยาลัย มีผลต่อการพิจารณาและตัดสินใจเลือกของผูบ้ ริ โภค
1.7. ด้านกระบวนการ (Process) หมายถึง การให้บริ ก ารที่มี ลาดับ ขั้น ตอนเหมาะสม
สะดวก ไม่ยุ่งยาก ไม่ซับซ้อน ให้บริ การในระยะเวลาที่รวดเร็ ว ได้แก่ การคัดเลือกรับสมัครนักศึกษาใหม่ การ
ลงทะเบียนเรี ยน ระยะเวลาการจัดการเรี ยนการสอน
2. การตัดสิ นใจ (Decision making) หมายถึง การเลือก การตัดสิ นใจ การยอมรับในการรับรู ้
ความต้องการที่จะเข้าศึกษาต่อต่อระดับปริ ญญาโทในหลักสูตรหลักสูตรบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต หรื อหลักสูตร
รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต ที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา

ขอบเขตการวิจัย

ขอบเขตด้ านประชากร และกลุ่มตัวย่าง

ประชากร คือ ประชาชนทัว่ ไปที่จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ข้ นึ ไป และอาศัยในพื้นทีจ่ งั หวัด


ภูเก็ต ประกอบด้วย 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองภูเก็ต อาเภอกะทู้ และอาเภอถลาง จานวน 62,294 คน (ข้อมูล
จากสถานการณ์แรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส 2 ปี พ.ศ.2563)

กลุ่มตัวอย่าง คือ ผูท้ ี่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีข้ นึ ไป อาศัยในพื้นที่จงั หวัดภูเก็ต และมีความ


ยินดีร่วมการวิจยั ครั้งนี้ จานวน 400 คน โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973) และเพื่อป้องกัน
การสูญหายของข้อมูล ทางผูว้ จิ ยั วางแผนเก็บข้อมูลเพิ่มอย่างน้อยร้อยละ 5 ดังนั้น ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
การวิจยั ครั้งนี้ จานวน 420 คน

ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง และสุ่มตัวอย่าง แบ่งออกเป็ น 2 ขั้นตอน ดังนี้


ขั้นที่ 1 ใช้วิธีการสุ่ มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) จากจานวนกลุ่มตัวอย่าง 420 ราย
โดยการกระจายกลุ่มตัวอย่างไปในทั้ง 3 อาเภอของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อาเภอเมืองภูเก็ต อาเภอกะทู้ และอาเภอ
ถลาง อย่างละเท่าๆ กัน อาเภอละ 140 ราย
6

ขั้น ที่ 2 ใช้วิธีก ารสุ่ มตัว อย่างแบบตามสะดวก (Convenience Sampling) เก็บ รวบรวม
ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ได้จดั เตรี ยมไว้ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทีมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กาหนด และ
มีความยินดีร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม

ขอบเขตของเนือ้ หา

การศึกษาครั้งนี้มุ่งที่จะศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
ตัวแปรอิสระที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่
1. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานะ ระดับการศึกษา คณะที่สาเร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี
อาชีพ รายได้ และผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรี ยน/ ทุนการศึกษา
2. ปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาด ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ (Product), ด้านราคา (Price), ด้านสถานที่
(Place), ด้านการส่ งเสริ มการตลาด (Promotion ), ด้านบุคลากร (People ), ด้านกายภาค (Physical Evidence), ด้าน
กระบวนการ (Process) เป็ นต้น
ตัวแปรตามที่ใช้ในการศึกษา คือ การตัดสินใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง
สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติจงั หวัดพังงา

ขอบเขตด้านเครื่องมือ

การเก็บข้อมูลวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือในการเก็บข้อมูลการวิจยั

ขอบเขตด้ านระยะเวลา

การศึกษาวิจยั ครั้งนี้ใช้ระยะเวลาการศึกษา ตั้งแต่เดือนตุลาคม – พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รับ
7

เพื่อนาผลการศึกษาเสนอต่อผูบ้ ริ หาร สาหรับเป็ นแนวทางในการพัฒนาเพื่อจูงใจให้เกิด การ


ตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาครั้งนี้ผูศ้ ึกษาเพื่อศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่


มหาวิทยาลัยรามคาแหงสาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา โดยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และทบทวน
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล
2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาด
3. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ
4. ข้อมูลทีเกี่ยวกับการศึกษาต่อระดับระดับปริญญาโทของมหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริการ-
เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
5. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
(อยู่ระหว่างการแก้ไข)
8

บทที่ 3

วิธีดาเนินการวิจัย

การศึกษาครั้งนี้เป็ นการวิจยั เชิงพรรณนา (Descriptive research) เรื่ อง ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสิ นใจ


เข้า ศึ ก ษาต่ อระดับ ปริ ญญาโทที่ม หาวิท ยาลัยรามค าแหง สาขาวิ ท ยบริ ก ารเฉลิ มพระเกียรติ จัง หวัด พังงา
มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาปั จจัยส่ ว นบุคคล และปั จจัยส่ วนผสมทางการตลาดต่ อการตัด สิ น ใจเข้าศึกษาระดับ
ปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา

ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และการสุ่มตัวอย่างการวิจัย

ประชากร คือ ประชาชนทัว่ ไปที่จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ข้ นึ ไป และอาศัยในจังหวัดภูเก็ต


ประกอบด้วย 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองภูเก็ต อาเภอกะทู้ และอาเภอถลาง จานวน 62,294 คน (ข้อมูลจาก
สถานการณ์แรงงานจังหวัดภูเก็ต ไตรมาส 2 ปี พ.ศ. 2563)

กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนทัว่ ไปที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ข้นึ ไป อาศัยในจังหวัดภูเก็ต


และมีความยินดีตอบแบบสอบถามการวิจยั ครั้งนี้

ขนาดกลุ่มตัวอย่าง

คานวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973) ดังนี้


n = N
1+ N(e) 2

เมื่อ n แทน ขนาดกลุ่มตัวอย่าง


N แทน ขนาดประชากร
e แทน ค่าความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่าง
9

เมื่อแทนค่า จะได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้


n = 62,294
1+ 62,294 (0.05)2
= 400 ราย
และเพื่อป้องกันการสูญหายหรื อข้อมูลไม่สมบูรณ์ จึงเพิ่มจานวนกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 5 ผูว้ ิจยั จึงได้
ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จานวน 420 ราย

วิธีการเก็บข้อมูล

ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง และแผนการสุ่มตัวอย่าง แบ่งออกเป็ น 2 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 ใช้วิธีการสุ่ มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) จากจานวนกลุ่มตัวอย่าง 420 ราย


โดยการกระจายกลุ่มตัวอย่างไปในทั้ง 3 อาเภอของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อาเภอเมืองภูเก็ต อาเภอกะทู้ และอาเภอ
ถลาง อย่างละเท่าๆ กัน อาเภอละ 140 ราย
ขั้น ที่ 2 ใช้วิธีก ารสุ่ มตัว อย่างแบบตามสะดวก (Convenience Sampling) เก็บรวบรวม
ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ได้จดั เตรี ยมไว้ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กาหนด และ
มีความยินดีร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม

เครื่องมือที่ใช้ เก็บข้อมูล

เครื่ องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นแบบสอบถามและแบบประเมินที่สร้างขึ้นเพื่อวัดตัวแปรใน


การศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย ปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อ
ระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา โดยมีเกณฑ์การ
สร้างเครื่ องมือและเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
1. ผูว้ ิจยั ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
2. กาหนดขอบเขต โครงสร้างเนื้อหาที่จะสร้างแบบสอบถาม และตัวแปรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจยั
10

3. ดาเนินการสร้างและพัฒนาแบบสอบถามตามคาแนะนาจากอาจารย์ผสู ้ อนและให้ผเู ้ ชี่ยวชาญ


ตรวจสอบและให้ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity index; CVI) จากนั้นนามา
ปรับปรุ งแก้ไขก่อนาไปทดลองใช้

ซึ่งแบบสอบถามมีรายละเอียด ดังนี้
แบบสอบถามตอนที่ 1 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล จานวน 8 ข้อ โดยให้ทา
เครื่ องหมาย ✓ ลงใน ☐ หน้าคาตอบ หรื อเติมคาในช่องว่างตามความเป็ นจริ ง ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานะ
ระดับการศึกษา คณะที่สาเร็จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี อาชีพ รายได้ และผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรี ยน/ ทุนการศึกษา
แบบสอบถามตอนที่ 2 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจ
เข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา จานวน 51 ข้อ
ภายใต้ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาด 7 ด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) จานวน 9 ข้อ, ด้านราคา (Price)
จานวน 4 ข้อ, ด้านสถานที่ (Place) จานวน 7 ข้อ, ด้านการส่ งเสริ มการตลาด (Promotion) จานวน 6 ข้อ, ด้าน
บุคลากร (People) จานวน 8 ข้อ, ด้านกายภาค (Physical Evidence) จานวน 9 ข้อ, ด้านกระบวนการ (Process)
จานวน 8 โดยให้ทาเครื่ องหมาย ✓ ลงในช่อง ☐ ระดับความมีอิทธิพลที่ตรงกับความเป็ นจริ งมากที่สุด เพียงข้อ
เดียว และแบ่งคาถามแต่ละข้อเป็ นมาตราประมาณค่า 5 ระดับของลิคเคอร์ท (Likert scale) ดังนี้
ระดับ 1 หมายถึง ไม่มีอิทธิพลเลยแม้แต่นอ้ ย
ระดับ 2 หมายถึง มีอิทธิพลเล็กน้อย
ระดับ 3 หมายถึง มีอิทธิพลปานกลาง
ระดับ 4 หมายถึง มีอิทธิพลมาก
ระดับ 5 หมายถึง มีอิทธิพลมากที่สุด

แบบสอบถามตอนที่ 3 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับการตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโท


ที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา จานวน 9 ข้อ โดยให้ทาเครื่ องหมาย
✓ ลงในช่อง ☐ หน้าคาตอบ หรื อเติมคาในช่องว่างตามความเป็ นจริ งมากที่สุด
11

การแปลความหมายคะแนนเฉลี่ยโดยแบบสอบถามที่เกี่ยวกับส่ วนประสมทางการตลาด
ต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด
พังงา เป็ นรายข้อ รายด้าน และโดยรวม โดยการจัดระดับมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งผูว้ ิจยั ใช้เกณฑ์การแบ่ง
ช่วงคะแนนเฉลี่ยตามหลักสถิติคานวณอัตราภาคชั้น คือ พิสัย ดังนี้

พิสัย = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่าสุด


จานวนช่วง
= 5–1 = 0.80
5

กาหนดเกณฑ์การแปลผลค่าคะแนนเฉลี่ย ดังนี้
ระดับคะแนนเฉลี่ย การตัดสิ นใจเข้าศึกษาระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
4.21 – 5.00 แสดงว่า มีอิทธิพลมากที่สุด
3.41 – 4.20 แสดงว่า มีอิทธิพลมาก
2.61 – 3.40 แสดงว่า มีอิทธิพลปานกลาง
1.81 – 2.60 แสดงว่า มีอิทธิพลเล็กน้อย
1.00 – 1.80 แสดงว่า ไม่มีอิทธิพล

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

1. การตรวจสอบความตรงตามเนือ้ หา (Content Validity)

หลังจากเครื่ องมือผ่านการตรวจสอบแก้ไขจากอาจารย์ที่ปรึกษาประจารายวิชา ผูว้ ิจยั นา


เครื่ องมือไปให้ผเู ้ ชี่ยวชาญหรื อผูท้ รงคุณวุฒิ จานวน 3 ท่าน คือ
1. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์มณีรัตน์ จรุ งเดชากุล อาจารย์ผสู ้ อนประจารายวิชา วิธีการวิจยั ทาง
ธุรกิจ (BUS 6016) หลักสูตรบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิทยบริ การเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดพังงา
2. นายวรธัช พนาวรางษ์ จบการศึกษาหลักสูตรบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
รามคาแหง จังหวัดภูเก็ต รุ่ นที่ 5
12

3. นางสาววณิชชา จง จบการศึกษาหลักสูตรบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย


รามคาแหง จังหวัดภูเก็ต รุ่ นที่ 11

ทั้งนี้เพื่อตรวจสอบค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับวัตถุประสงค์การวิจยั (Index
of Item Objective Congruence: IOC)
โดยเกณฑ์การประเมิน ดังนี้
+ 1 หมายถึง เมื่อผูเ้ ชี่ยวชาญมัน่ ใจว่าคาถามข้อนั้น ๆ วัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์การวิจยั
0 หมายถึง เมื่อผูเ้ ชี่ยวชาญไม่มนั่ ใจว่าคาถามข้อนั้น ๆ วัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์การวิจยั
- 1 หมายถึง เมื่อผูเ้ ชี่ยวชาญมัน่ ใจว่าคาถามข้อนั้น ๆ วัดได้ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์การวิจยั

การคานวณค่า (Index of Item Objective Congruence: IOC)

ค่าดัชนีความสอดคล้อง = ผลรวมคะแนนจากผูเ้ ชี่ยวชาญ


จานวนผูเ้ ชี่ยวชาญ

IOC = R/N

ถ้าคาถามข้อนั้น ๆ มีค่า IOC มากกว่าหรื อเท่ากับ 0.5 ถือว่า ใช้ได้


ถ้าคาถามข้อนั้น ๆ มีค่า IOC น้อยกว่า 0.5 ถือว่า ต้องปรับปรุ งหรื อตัดทิง้

ซึ่งจากแบบสอบถามทั้ง 3 ฉบับ พบว่า .....................................


13

2. การตรวจสอบความเที่ยง (Reliability)

ผูว้ ิจ ัยน าเครื่ องมือที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิ ง เนื้ อ หาไปทดลองใช้ในกลุ่ ม ที่ มี


ลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัว อย่าง เพื่อทดสอบความเข้าใจในข้อคาถาม รวมทั้งระยะเวลาที่ใช้ในการตอบ
แบบสอบถาม โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนทัว่ ไปที่จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ข้ นึ ไป อาศัยในจังหวัด
ภูเก็ต จานวน 40 คน ซึ่งบุญใจ (2553) กล่าวไว้ว่า กลุ่มตัวอย่างควรมีจานวนไม่ น้อยกว่า 30 คน เพราะกลุ่ม
ตัวอย่างที่มีขนาดเล็กเกินไปจะทาให้ค่าความเที่ยงของเครื่ องมือมีความคลาดเคลื่อนสูงได้ และกาหนดค่าความ
เที่ยงของเครื่ องมือโดยใช้สูตรสัมประสิ ทธิ์แอลฟ่ าครอนบาค (Cronbach’ s alpha coefficient) เท่ากับ 0.70 ขึ้น
ไป (บุญใจ, 2553) ซึ่งคานวณค่าความเที่ยงของเครื่ องมือได้เท่ากับ ............. จากนั้นผูว้ ิจยั นาเครื่ องมื อมา
ปรับปรุ งอีกครั้งก่อนนาไปใช้เก็บจริ ง

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล

การศึกษาครั้งนี้ทางกลุ่มของผูว้ ิจยั เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยผูว้ ิจยั ดาเนินเป็ นผูส้ ่ง


แบบสอบถามให้กบั กลุ่มตัวอย่างด้วยตนเอง พร้อมทั้งชี้แจงวัตถุประสงค์ของการทาวิจยั ตลอดจนลักษณะของ
แบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่างทราบเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันที่ถกู ต้อง

การวิเคราะห์ข้อมูล

หลังจากทางผูว้ ิจยั ได้ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกฉบับ จากนั้นนามาวิเคราะห์ขอ้ มูล


โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรู ป SPSS ซึ่งดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1. วิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคล โดยใช้สถิติขอ้ มูลแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน
2. วิเคราะห์ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาด โดยใช้สถิติหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
จาแนกเป็ นรายข้อ รายด้าน และโดยรวม
3. วิเคราะห์การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ โดยใช้สถิติ
ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
14

4. สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานการวิจยั โดยใช้สถิติไคสแควร์ ใช้ทดลอบความสัมพันธ์ระหว่าง


ตัวแปร เมื่อตัวแปรตามเป็ นข้อมูลประเภทนามบัญญัติ (Nominal scale) และจัดอันดับ (Ordinal scale)
15

ตารางหุ่น (Dummy table)


ส่ วนที่ 1 ข้อมูลส่ วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง
ตาราง 1 จานวน ร้ อยละ ค่ าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จาแนกตามข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง (N=420)
ข้อมูลส่ วนบุคคล จานวน (คน) ร้ อยละ
อายุ (ปี ) (Min = …………., Max = …………., M = …………., SD = ………….)
ไม่เกิน 25 ปี
อายุระหว่าง 26-30 ปี
อายุระหว่าง 31-35 ปี
อายุระหว่าง 36-40 ปี
อายุระหว่าง 41-45 ปี
อายุระหว่าง 46-50 ปี
อายุระหว่าง 51-55 ปี
อายุต้งั แต่ 56 ปี ขึ้นไป
เพศ
ชาย
หญิง
สถานะภาพ
โสด
สมรส
หม้าย/หย่า/แยก
ระดับการศึกษาสูงสุดของท่าน
ปริ ญญาตรี
ปริ ญญาโท
ปริ ญญาเอก
คณะที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี
คณะบริ หารธุรกิจ
คณะรัฐศาสตร์
16

ข้อมูลส่ วนบุคคล จานวน (คน) ร้ อยละ


คณะที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (ต่อ)
คณะครุ ศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อื่น ๆ
อาชีพ
เพิ่งจบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี
รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริ ษทั เอกชน
ธุรกิจส่วนตัว
อื่น ๆ
รายได้เฉลี่ยต่อเดือน (Min = …………., Max = …………., M = …………., SD = ………….)
น้อยกว่าหรื อเท่ากับ 10,000 บาท
10,001 – 20,000 บาท
20,001 – 30,000 บาท
30,001 – 40,000 บาท
40,001 – 50,000 บาท
50,001 – 60,000 บาท
มากกว่า 60,000 บาท
ผูส้ นับสนุนค่าเล่าเรี ยน/ ทุนการศึกษา
บิดามารดา
หน่วยงานที่สังกัด
ตนเอง
อื่น ๆ
17

ส่ วนที่ 2 วิเคราะห์ปัจจัยส่ วนผสมทางการตลาด โดยใช้ สถิติหาค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จาแนกเป็ น


รายข้อ รายด้าน และโดยรวม
ตางราง 2 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับระดับการมีอิทธิพลส่ วนผสมทางการตลาดฯ (N=420)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับ
M S.D ระดับ
ปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
ด้านผลิตภัณฑ์ (Product)
ด้านราคา (Price)
ด้านสถานที่ (Place)
ด้านการส่งเสริ มการตลาด (Promotion)
ด้านบุคลากร (People)
ด้านกายภาค (Physical Evidence)
ด้านกระบวนการ (Process)
ส่ วนประสมทางการตลาดฯ โดยรวม
18

ตางราง 3 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิพลของด้านผลิตภัณฑ์ (Product) (N=420)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับปริญญาโท
M S.D ระดับ
ที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. มหาวิทยาลัยเป็ นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่ได้รับการรับรอง
มาตรฐาน
2. หลักสูตรการศึกษามีมาตรฐาน และคุณภาพ
3. หลักสูตรการศึกษามีความหลากหลาย น่าสนใจ
4. เนื้อหาหลักสูตรเป็ นที่ได้รับความนิยม ทันต่อเหตุการณ์
5. จานวนหน่วยกิตของหลักสูตรการศึกษามีความเหมาะสม
6. จานวนนักศึกษาในแต่ละคณะมีความเหมาะสม
7. ระยะเวลาการจัดการเรี ยนมีความเหมาะสมกับหลักสูตร
8. ชื่อเสียงมหาวิทยาลัยเป็ นที่รู้จกั และยอมรับในวงการศึกษา
9. ศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยเป็ นบุคคลที่มีชื่อเสียง และเป็ นที่ยอมรับ
ของสังคม

จากตาราง 3 พบว่า
19

ตางราง 4 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิพลของด้านราคา (Price) (N=420)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับ
M S.D ระดับ
ปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. ค่าใช้จ่ายในการศึกษาตลอดหลักสูตร ราคาเหมาะสม หรื อ
ถูกกว่ามหาวิทยาลัยอื่น
2. กิจกรรมของคณะที่ตอ้ งชาระเงินเพิม่ มีจานวนเหมาะสม
3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาศึกษา คุม้ ค่าและเหมาะสม
4. ค่าใช้จ่ายค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง คุม้ ค่าและ
เหมาะสม

จากตาราง 4 พบว่า
20

ตางราง 5 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิพลของด้านสถานที่ (Place) (N=420)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับ
M S.D ระดับ
ปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. สถานที่ต้งั ของมหาวิทยาลัยอยู่บริ เวณที่มกี ารคมนาคม
สะดวก
2. มหาวิทยาลัยเป็ นพื้นที่ที่มีความปลอดภัย มีเจ้าหน้าที่และ
ระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี
3. มหาวิทยาลัยมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ดี
4. มหาวิทยาลัยมีพ้นื ที่ติดกับหน้าชายหาดท้ายเมือง เป็ น
เอกลักษณ์ทนี่ ่าสนใจ
5. เส้นทางการขับรถเดินทาง มีความสะดวก ปลอดภัย
6. สิ่งแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยมีความร่ มรื่ น น่าอยู่
7. สิ่งแวดล้อมรอบมหาวิทยาลัยมีความร่ มรื่น ปลอดภัย

จากตาราง 5 พบว่า
21

ตางราง 6 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิพลของด้านการส่ งเสริ มการตลาด (N=420)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับ
M S.D ระดับ
ปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. มหาวิทยาลัยมีการประชาสัมพันธ์ให้เป็ นที่รู้จกั ในช่องทาง
ต่าง ๆที่หลากหลาย เหมาะสม
2. มหาวิทยาลัยประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักศึกษาใหม่ใน
ช่องทางที่หลากหลาย
3. มหาวิทยาลัยมีทุนการศึกษา/ ทุนสนับสนุนทีน่ ่าสนใจ
4. มหาวิทยาลัยมีระบบผ่อนชาระค่าศึกษาเล่าเรี ยน / ผ่อนผัน
ค่าศึกษาเล่าเรี ยนที่น่าสนใจ
5. มหาวิทยาลัยมีการร่วมมือกับสถาบันการเงินในการให้
กูย้ ืมเงิน/ ผ่อนชาระการศึกษา
6. มหาวิทยาลัยโฆษณาเกี่ยวกับการไปศึกษาดูงานใน
ต่างประเทศ

จากตาราง 6 พบว่า
22

ตางราง 7 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิพลของด้านบุคลากร (People) (N=420)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับ
M S.D ระดับ
ปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. ผูบ้ ริ หารระดับสูงของมหาวิทยาลัยมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล
2. อาจารย์มีวุฒกิ ารศึกษาตรงกับสาขาวิชาและมีความรู ้
ความสามารถที่เหมาะสม
3. อาจารย์มีตาแหน่งทางวิชาการและเป็ นที่ยอมรับของสังคม
4. อาจารย์มีความสามารถในการถ่ายทอดวิชาความรู ้
5. อาจารย์ให้คาปรึ กษาด้วยความยินดีและเต็มใจ
6. เจ้าหน้าที่บุคลากรเป็ นผูม้ คี วามสามารถเหมาะสมกับงาน
7. เจ้าหน้าที่ให้บริ การอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง
8. เจ้าหน้าที่มีอธั ยาศัยดี เป็ นมิตร ให้การช่วยเหลือเป็ นอย่างดี

จากตาราง 7 พบว่า
23

ตางราง 8 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิพลของด้านกายภาค (N=420)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับ
M S.D ระดับ
ปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. มหาวิทยาลัยมีบริ การห้องสมุดที่ความทันสมัย มีแหล่ง
ค้นคว้าหาความรู ้ที่หลากหลาย
2. มหาวิทยาลัยมีบริ การห้องน้ ามีความสะอาด เพียงพอต่อ
การให้บริ การ
3. มหาวิทยาลัยมีบริ การทีจ่ อดรถกว้างขวางและเพียงพอ
4. มหาวิทยาลัยมีโรงอาหารที่สะอาด เหมาะสม โต๊ะเก้าอี้
สาหรับรับประทานอาหารเพียงพอ
5. มหาวิทยาลัยมีพ้นื ที่สวนหย่อม ศาลาที่พกั และบรรยากาศ
ที่ร่มรื่ น
6. มหาวิทยาลัยมีอุปกรณ์ และเครื่ องใช้ในการเรี ยนการสอน
อย่างเพียงพอ พร้อมใช้งาน
7. มหาวิทยาลัยมีการจัดห้องเรี ยนที่น่าสนใจ ห้องเรี ยน
สะอาด และเพียงพอ
8. บริ เวณอาคารและระเบียงโดยรอบห้องเรี ยนสะอาด
เหมาะสม
9. มหาวิทยาลัยมีการจัดบริการที่หลากหลาย โดยให้
ความสาคัญกับผูเ้ รี ยนเป็ นหลัก
10. มหาวิทยาลัยมีการจัดบริการที่หลากหลาย โดยให้
ความสาคัญกับผูเ้ รี ยนเป็ นหลัก

จากตาราง 8 พบว่า
24

ตางราง 9 ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการมีอิทธิพลของด้านกระบวนการ (Process) (N=420)

ส่ วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาระดับ
M S.D ระดับ
ปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
1. การคัดเลือกรับสมัครนักศึกษาใหม่มีความน่าเชื่อถือ และ
โปร่ งใส
2. ขั้นตอนในการรับสมัครนักศึกษาใหม่สะดวก เข้าถึงได้
ง่าย และไม่มีความซับซ้อน
3. เอกสารที่ยื่นใช้ในการรับสมัครมีความเหมาะสม
4. ระบบการติดต่อประสานงานระหว่างอาจารย์กบั นักศึกษา
มีความสะดวก ง่าย รวดเร็ว
5. การจัดการเรี ยนการสอนนอกเวลา (เสาร์-อาทิตย์) มีความ
เหมาะสม
6. มหาวิทยาลัยมีการพัฒนาการจัดการศึกษาและ บริการให้
ทันสมัยอยู่เสมอ
7. มหาวิทยาลัยมีระบบสนับสนุนการดูแลให้คาปรึ กษาโดย
รุ่ นพี่
8. มหาวิทยาลัยการสนับสนุนกิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่าง
ภายในห้องเรี ยน คณะ และมหาวิทยาลัย

จากตาราง 9 พบว่า
25

ส่วนที่ 3 การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ


จังหวัดพังงา
ตาราง 10 จานวน ร้ อยละ ค่ าเฉลี่ย ของกลุ่มตัวอย่าง (N=420)
การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง ฯ จานวน (คน) ร้ อยละ
ความต้องการศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโททีข่ องมหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
ต้องการศึกษา
ไม่แน่ใจ
ยังไม่ตอ้ งการศึกษาต่อ
ต้องการศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท ท่านคาดหมายว่าจะศึกษาต่อเมื่อใด
ภายในช่วง 1 ปี
ภายในช่วง 2 ปี
มากกว่า 2 ปี ขึ้นไป
สาเหตุที่ตอ้ งการศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท
ความก้าวหน้าในหน้าทีก่ ารงาน
ความมัน่ คงในการประกอบอาชีพ
การได้รับความรู ้เพิ่มขึ้น
การเพิ่มวุฒกิ ารศึกษาให้สูงขึ้น
เกียรติยศชื่อเสียง
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูอ้ ื่น
การได้รับการยอมรับในสังคม
อื่น ๆ
หลักสูตรที่สนใจเข้าศึกษาต่อมากที่สุด
หลักสูตรบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต
26

การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหง ฯ จานวน (คน) ร้ อยละ


สนใจที่จะศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทในรู ปแบบใด
เรี ยนวันจันทร์-วันศุกร์ ในเวลาราชการ (เวลา: 9.00-16.00 น.)
เรี ยนวันจันทร์-วันศุกร์ ตอนเย็นหลังเลิกงาน (เวลา: 18.00-
21.30 น.)
เรี ยนวันเสาร์-วันอาทิตย์ (เวลา: 9.00-16.00 น.)
เรี ยนวันเดียว เฉพาะวันเสาร์หรื ออาทิตย์ (เวลา 8.00 -20.30 น.)
อื่น ๆ
ท่านคิดว่าค่าธรรมเนียมตลอดหลักสูตรในการศึกษาต่อระดับปริ ญญาโทที่ท่านสามารถชาระได้ควรเป็ นเท่าใด
ต่ากว่า 50,000 บาท
50,001-100,000 บาท
100,001-150,000 บาท
150,001-200,000 บาท
200,001-250,000 บาท
มากกว่า 250,000 บาท
สถาบันการศึกษาอื่น ๆ ที่ท่านสนใจศึกษาต่อมากที่สุด
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ NIDA
อื่น ๆ
ท่านเคยทราบหรื อเห็นข้อมูลข่าวสารการรับสมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ
หรื อไม่
เคยเห็น/ทราบ
ไม่เคยเห็น/ทราบ

จากตาราง 10 พบว่า
27

ตาราง 11 ทดสอบหาปัจจัยส่ วนบุคล (อายุ) ต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย


รามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่าง (N=420)

ความต้องการศึกษาต่อในระดับปริญญา ช่ วงอายุ (ปี )


โทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ <25 26-30 31-35 36-40 41-45 46-50 51-55 >56
1. ต้องการศึกษา
2. ไม่แน่ใจ
3. ยังไม่ตอ้ งการศึกษาต่อ
รวม

ตาราง 12 ทดสอบหาปัจจัยส่ วนบุคล (เพศ) ต่อการตัดสิ นใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทที่มหาวิทยาลัย


รามคาแหงฯ ของกลุ่มตัวอย่าง (N=420)

ความต้องการศึกษาต่อในระดับ เพศ
ปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยรามคาแหงฯ ชาย หญิง
1. ต้องการศึกษา
2. ไม่แน่ใจ
3. ยังไม่ตอ้ งการศึกษาต่อ
รวม

.
.
.

You might also like