Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 19

94... Journal of Public Relations and Advertising Vol. 7 No.

2 2014

อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดเชิงประสาทวิทยา
ต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าประเภทคาเฟ่ขนมหวาน
สุวัจพงษ์ อัศวทิพย์ไพบูลย์*
ธาตรี ใต้ฟ้าพูล*

Abstract

T


he purpose of this quasi-experimental research is to study influence
of neuromarketing communication towards buying behavior. By using
lemons, pictures of lemon and lemon scent, which were considered as
sight and smell stimuli in the self-administered experiment, 86 males and
females, 18-30 years old walked-in customers were informally interviewed
to ask for the reasons behind macaron buying behavior.
The finding showed the higher rate of lemon macaron buying behavior
in stimulated customers either sight sense or smell sense than those that
were not. Most customers who chose lemon flavor were influenced of
neuromarketing and when sight and smell stimuli were integrated, influence
of neuromarketing is higher than single stimulus.
Due to the subconscious/unconscious stimuli used in the experiment,
some subjects did not realize about the subconscious one. However, the subjects
were, in fact, continuously stimulated by subliminal stimuli. Therefore, by
disregarding the factor of personal preference, most subjects chose lemon
macaron. Also, some subjects chose lemon macaron after seeing customers
nearby eating it, which were contributed from the work of mirror neurons.

* สุวจั พงษ์ อัศวทิพย์ไพบูลย์ (นศ.ม. นิเทศศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556) และ * ธาตรี ใต้ฟา้ พูล (นศ.ด. นิเทศศาสตร์, จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2547) ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำ�ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งจากวิทยานิพนธ์เรื่อง“อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดเชิงประสาทวิทยาต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าประเภท
คาเฟ่ขนมหวาน” ของ สุวัจพงษ์ อัศวทิพย์ไพบูลย์ ซึ่งได้รับทุนอุดหนุนวิทยานิพนธ์สำ�หรับนิสิตจากบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธาตรี ใต้ฟ้าพูล เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ซึ่งได้รับการประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์ในระดับดีมาก
ประจำ�ปีการศึกษา 2556
วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 2557 ...95

บทคัดย่อ ทีม่ าและความสำ�คัญของปัญหา


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของ ในสภาวะของการแข่งขันทางการตลาดทีร่ นุ แรงปัจจุบนั
การสือ่ สารการตลาดเชิงประสาทวิทยาต่อพฤติกรรมการ การใช้แนวคิดการสือ่ สารตราสินค้าโดยอาศัยกระบวนการ
ซือ้ สินค้าประเภทคาเฟ่ขนมหวาน ซึง่ ผูว้ จิ ยั ได้ใช้การวิจยั สือ่ สารการตลาด ทัง้ ทีเ่ กิดขึน้ โดยตัง้ ใจ เช่น การประชาสัมพันธ์
กึ่งทดลองโดยเก็บข้อมูลด้วยการทดลองจากลูกค้าที่เข้า การโฆษณา การส่งเสริมการขาย หรือกระบวนการทีเ่ กิด
มาในร้านคาเฟ่ขนมหวานที่จัดเตรียมไว้ท้งั ชายและหญิง ขึน้ โดยไม่ตง้ั ใจ เช่น รูปลักษณ์ของสินค้า กลิน่ ของสินค้า
อายุ 18-30 ปี จำ�นวน 86 คน และใช้การสัมภาษณ์แบบ บรรจุภณ ั ฑ์ของสินค้า เป็นต้น (Shimp, 2000)
ไม่เป็นทางการเพื่อสอบถามสาเหตุของพฤติกรรมการ แนวคิดดังกล่าวถือเป็นแนวคิดการตลาดแบบดัง้ เดิม
เลือกซือ้ มาการองระหว่างมาการองรสเลมอนกับมาการอง ซึ่งการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคสามารถอธิบายได้ด้วย
รสเสาวรส โดยใช้ตวั กระตุน้ การมองเห็นได้แก่ปา้ ยเลมอน ตรรกะและเหตุผลตามคำ�อธิบายของ Kotler (2000)
กับลูกเลมอนและตัวกระตุน้ การได้กลิน่ ได้แก่กลิน่ เลมอน โดยเริ่มจากการรับรู้ถึงความต้องการของผู้บริโภค มาสู่
ผลการวิจยั พบว่า กลุม่ ทดลองทีม่ กี ารกระตุน้ ประสาท การค้นหาข้อมูลเกีย่ วกับสินค้าหรือบริการ และการพิจารณา
สัมผัสทั้งการมองเห็นหรือการได้กลิ่นอย่างใดอย่างหนึ่ง ทางเลือกทีม่ าจากคูแ่ ข่งหลายรายทีผ่ ลิตสินค้าหรือบริการ
จะส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกซือ้ มาการองรสเลมอน โดย ที่จำ�หน่ายอยู่ในตลาดว่าสินค้าแบรนด์ใดสามารถสร้าง
มีอตั ราการเลือกซือ้ มาการองสูงกว่ากลุม่ ทดลองทีป่ ราศจาก คุณค่า (Value) ที่ตอบสนองความต้องการได้ดีท่ีสุด
การกระตุ้นใด ๆ และพฤติกรรมการเลือกซื้อมาการอง เมือ่ เทียบกับเงินทีต่ อ้ งจ่ายในการซือ้ สินค้าหรือบริการ จวบจน
จะสูงเพิม่ ขึน้ อีกหากมีการผสานตัวกระตุน้ ประสาทสัมผัส กระทัง่ เมือ่ ไม่นานมานีม้ กี ารใช้แนวคิดการสือ่ สารการตลาด
ให้ไปในทิศทางเดียวกัน ซึง่ ได้แก่ตวั กระตุน้ การมองเห็น แบบผสมผสาน (Integrated Marketing Communications)
และการได้กลิ่น โดยผู้ท่ีเลือกมาการองรสเลมอนนั้น ทีเ่ ปลีย่ นวิธกี ารสือ่ สารโดยเน้นความต้องการของผูบ้ ริโภค
เกือบทุกคนเกิดจากอิทธิพลของการสื่อสารการตลาดเชิง แล้วนักการตลาดจะหาวิธกี ารตอบสนองความต้องการของ
ประสาทวิทยาและเมือ่ ผสานตัวกระตุน้ ทัง้ การมองเห็นและ ผูบ้ ริโภคทีม่ อี ยูแ่ ล้วนัน้
การได้กลิน่ อิทธิพลการสือ่ สารการตลาดเชิงประสาทวิทยา อย่างไรก็ตาม ความต้องการของผูบ้ ริโภคไม่ได้เกิด
จะสูงขึน้ กว่าตัวกระตุน้ เดีย่ ว จากผูบ้ ริโภคเท่านัน้ แต่เกิดจากการทีผ่ บู้ ริโภคถูกกระตุน้
เนือ่ งจากผูว้ จิ ยั ได้ออกแบบตัวกระตุน้ ในระดับจิตใต้ ให้เกิดความต้องการโดยนักการตลาดด้วย การเลือกซื้อ
สำ�นึกและ/หรือจิตไร้สำ�นึกโดยใช้การสื่อสารการตลาด สินค้าเกือบทั้งหมดเป็นไปโดยไม่ได้ข้ึนอยู่กับเหตุผล
เชิงประสาทวิทยา ทำ�ให้ผเู้ ข้าร่วมการทดลองหลายคนไม่ เพียงอย่างเดียว แต่ไปเกีย่ วข้องกับความรูส้ กึ อารมณ์ และ
รับรูต้ วั กระตุน้ ในระดับจิตสำ�นึก แต่ในความเป็นจริงแล้ว จินตนาการอย่างมากมาย ลูกค้าส่วนใหญ่ตัดสินใจด้วย
ผูเ้ ข้าร่วมการทดลองรับรูต้ วั กระตุน้ โดยไม่รตู้ วั ด้วยระดับ อารมณ์และความรูส้ กึ มากกว่าเหตุผล สาเหตุเป็นเพราะสมอง
ตัวกระตุ้นที่เบาบางแต่มีความถี่ต่อเนื่อง ซึ่งผู้เข้าร่วม ส่วนทีไ่ ร้เหตุผลได้เข้ามามีอทิ ธิพลต่อการตัดสินใจโดยทีเ่ รา
การทดลองส่วนใหญ่เลือกซื้อมาการองรสเลมอนแม้ว่า ไม่รู้ตัว ซึ่งบางครั้งผู้บริโภคอาจคิดว่าตนรู้เหตุผลของ
จะชอบรสเลมอนเป็นการส่วนตัวหรือไม่กต็ าม สอดคล้อง การกระทำ�แต่จริง ๆ แล้วกลับไม่ใช่ สังเกตได้จากพฤติกรรม
กับผลการทดลองที่ผู้เข้าร่วมการทดลองเกือบทุกคน ต่าง ๆ ในชีวติ ประจำ�วัน การรับมือกับปัญหาต่าง ๆ ซึง่ บางการ
ที่อิทธิพลของการสื่อสารการตลาดเชิงประสาทวิทยา กระทำ�นั้นก็ไม่สามารถหาเหตุผลของการกระทำ�นั้นได้
ส่ ง ผลต่ อ พฤติ ก รรมการซื้ อ สิ น ค้ า ประเภทคาเฟ่ (Wells, 2003)
ขนมหวาน แรงจูงใจเป็นสิง่ หนึง่ ทีจ่ ะกระตุน้ การรับรูแ้ ละพฤติกรรม
96... Journal of Public Relations and Advertising Vol. 7 No. 2 2014

ของมนุษย์ได้ ซึ่งตามปกติพฤติกรรมที่ได้รับแรงจูงใจ โดยคุณค่าหรือภาพปลายทางในจินตนาการเมื่อได้เป็น


มักจะประกอบด้วยสภาวะทางอารมณ์ (Emotion) ควบคู่ เจ้าของสินค้าหรือบริการ
อยู่ด้วยเสมอซึ่งเป็นสภาวะที่เป็นอยู่ตามปกติ แต่ใน จากการศึกษาของฟรอยด์ ได้คน้ พบว่าจิตใต้ส�ำ นึก
ความเป็นจริงแล้ว การตัดสินใจเลือกวิธีการตอบสนอง และ/หรือจิตไร้ส�ำ นึกนัน้ มีอทิ ธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคล
ความต้องการตามจุดมุ่งหมายที่มีอยู่เป็นสิ่งจูงใจซึ่งอาจ ทางอ้อม โดยฟรอยด์เชือ่ ว่าจิตใต้ส�ำ นึกและ/หรือจิตไร้ส�ำ นึก
ถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าต่าง ๆ เช่น จากประสาทสัมผัส เป็นต้นเหตุให้บุคคลมีพฤติกรรมแตกต่างกันไปต่างกับ
(Sensory) อารมณ์ ความเคยชิน และอืน่ ๆ อีกหลายอย่าง จิตสำ�นึกที่เป็นจิตในสภาพที่ร้ตู ัวซึ่งมีแรงจูงใจให้บุคคล
นำ�มาสู่การตัดสินใจซื้อที่บางครั้งดูจะไร้เหตุผลและ เปลี่ยนพฤติกรรมเพียงส่วนน้อยเท่านั้น ดังนั้นการที่จะ
ไม่สามารถอธิบายได้โดยใช้ตรรกะ จึงเป็นสิ่งที่ทำ�ให้ เข้าใจบุคคลหนึง่ ได้จริงโดยการเรียนรูน้ น้ั จำ�เป็นต้องเข้าใจ
ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อด้วยอารมณ์มากกว่าเหตุผลนั้นมาก และศึกษาจิตใต้ส�ำ นึกและ/หรือจิตไร้ส�ำ นึกของบุคคลนัน้ ให้
(Wells, 2003) จึงทำ�ให้นักการตลาดต่างสนใจศึกษา มากทีส่ ดุ ฟรอยด์เชือ่ ว่าพฤติกรรมต่าง ๆ ของบุคคลนัน้
ความคิดในสมองทัง้ ส่วนเหตุผลและส่วนอารมณ์ โดยที่ มีแรงจูงใจมาจากจิตไร้ส�ำ นึก (กาญจนา แก้วเทพ, 2542)
สามารถนำ�หลักการตลาดเชิงประสาทวิทยามาใช้ศึกษา แต่ในความเป็นจริงนั้นจิตไร้สำ�นึกอยู่ลึกมากซึ่งยากที่จะ
การทำ�งานของสมองทัง้ สองส่วนนีไ้ ด้ ศึกษาข้อมูล ทำ�ให้นกั วิจยั เปลีย่ นมาวิจยั การรับรูใ้ นระดับ
การตลาดเชิงประสาทวิทยา (Neuromarketing) จิตใต้ส�ำ นึก (Subconscious) แทนเนือ่ งจากมีระยะทางใกล้
เป็นศาสตร์ใหม่ทน่ี า่ สนใจอย่างยิง่ เพราะได้พยายามตอบ กับจิตสำ�นึกมากกว่า แต่บางครัง้ งานวิจยั หรือทฤษฎีตา่ ง ๆ
คำ�ถามทีน่ กั การตลาดต่างหาคำ�ตอบมาตลอด โดยเปิดโอกาส มักจะใช้ค�ำ ว่า “จิตไร้ส�ำ นึก” (Unconscious) ครอบคลุม
ให้เข้าไปดูในสมองทีก่ �ำ ลังทำ�งานอยูไ่ ม่วา่ จะเป็นการใช้เครือ่ ง คำ�ว่า “จิตใต้ส�ำ นึก” (Subconscious) เนือ่ งจากผูว้ จิ ยั ถือว่า
MRI (Functional Magnetic Resonance) และ MEG (Magneto จิตใต้ส�ำ นึกเป็นส่วนหนึง่ ของจิตไร้ส�ำ นึก
encephalography) ซึง่ มีหน้าทีเ่ สมือนเครือ่ งสแกนสมอง การสือ่ สารการตลาดทัว่ ไปนัน้ มักจะกระตุน้ ผูบ้ ริโภค
ทั้งสองเทคโนโลยีน้ีจะแสดงพื้นที่ในสมองที่มีแสงไฟ ด้วยเครือ่ งมือสือ่ สารการตลาดวิธตี า่ ง ๆ ผ่านสภาวะทีบ่ คุ คล
สว่างเมื่อถูกกระตุ้น และทำ�การถ่ายภาพสมองเก็บไว้ สามารถรับรู้ (จิตสำ�นึก) ตามประสาทสัมผัสทัง้ 5 ว่า
แล้ ว จึ ง นำ � มาดู ว่า สมองส่ ว นที่มีแ สงไฟสว่ า งนั้น คื อ กำ�ลังรับสารอยู่ซ่งึ ได้ผลลดลง นักการตลาดจึงพยายาม
สมองส่ ว นไหนและมี ห น้ า ที่อ ย่ า งไร จึ ง นำ � มาสรุ ป หาช่องทางที่จะกระตุ้นผู้บริโภคให้เกิดการซื้อสินค้าใน
การทดลองว่าจากการกระตุ้นนี้เกิดจากความรู้สึกนึกคิด รูปแบบใหม่ โดยเฉพาะสินค้าที่มีเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่น
อย่างไรของผูบ้ ริโภคจริง ๆ ของตัวสินค้าเอง หนึ่งในสินค้านั้นคือสินค้าในร้าน
จากแนวคิดดังกล่าวทำ�ให้ผ้ทู ่เี กี่ยวข้องในการตลาด เบเกอรี่ประเภทคาเฟ่ขนมหวาน เนื่องจากขนมหวาน
ของแต่ละองค์กรพยายามลดขั้นตอนการตัดสินใจซื้อ ในคาเฟ่ขนมหวานมักมีกลิ่นหอมเป็นเอกลักษณ์เพราะ
หรือบริโภคสินค้าโดยการเร่งกระตุน้ ให้เกิดการตัดสินใจซือ้ มีการอบขนมสด ๆ อยูใ่ นร้าน มีสสี นั และการตกแต่งขนมหวาน
และร่นระยะเวลาในการคิดที่จะทำ�การซื้อให้ส้ันที่สุด ทีห่ ลากหลาย ถือเป็นแฟชัน่ ทางด้านอาหารรูปแบบหนึง่
โดยการสร้างอารมณ์ให้ผ้บู ริโภครู้สึกตื่นตัว มีส่วนร่วม อีกทั้งยังตรงใจกับผู้บริโภควัยเรียนและวัยทำ�งาน จึงทำ�
ทำ�ให้ผบู้ ริโภครูส้ กึ อยากทดลอง อยากชิม อยากสัมผัส ให้ร้านเบเกอรี่ประเภทคาเฟ่ขนมหวานได้รับความนิยม
เมื่ออารมณ์เหล่านี้เกิดขึ้นโอกาสที่จะเกิดการซื้อนั้น ในปัจจุบนั
มีความเป็นไปได้สงู เนือ่ งจากการเลือกซือ้ สินค้าทีเ่ กิดจาก ด้วยเสน่ห์ของร้านคาเฟ่ขนมหวานเหล่านี้คือ
สมองส่วนอารมณ์เป็นผูค้ วบคุมนัน้ ความเป็นเหตุเป็นผล การอบขนมสดๆ พร้อมกลิน่ หอม สีสนั สวยงามสะดุดตา
ในการเลือกซือ้ สินค้าจะหายไป ผูบ้ ริโภคจะถูกครอบงำ� การตกแต่งจานที่เป็นเอกลักษณ์ซ่ึงเป็นสิ่งที่แตกต่างกับ
วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 2557 ...97

เบเกอรีท่ ว่ั ไป ก่อให้เกิดอิทธิพลการซือ้ ของผูบ้ ริโภค และ ขอบเขตของการวิจยั


เป็นตัวกระตุ้นที่ทำ�ให้เกิดแรงจูงใจได้ แม้ว่าสิ่งต่าง ๆ
การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาถึงการสื่อสารการตลาดเชิง
เหล่านีจ้ ะไม่ใช่สง่ิ ทีท่ างร้านต้องการจะสือ่ สารกับผูบ้ ริโภค
ประสาทวิทยา ต่อพฤติกรรมการบริโภคสินค้าประเภท
ทางตรงผ่านจิตสำ�นึกแต่เป็นการสื่อสารโดยผู้บริโภค
คาเฟ่ขนมหวาน โดยศึกษาเปรียบเทียบจากกลุม่ ตัวอย่าง
ไม่รตู้ วั ซึง่ การสือ่ สารเหล่านีจ้ ะเข้าไปสูจ่ ติ ใต้สำ�นึกและ/
ที่ได้รับตัวกระตุ้นและไม่ได้รับตัวกระตุ้นในร้านคาเฟ่
หรือจิตไร้สำ�นึกของบุคคลนั้นทำ�ให้บุคคลนั้นมีความคิด
ขนมหวาน เขตกรุงเทพมหานคร เนือ่ งจากเป็นศูนย์กลาง
ความรูส้ กึ จากการรับสารนัน้ โดยไม่รสู้ กึ ตัว
ของการค้าและแฟชัน่ ทีม่ ลี กั ษณะประชากรทีห่ ลากหลาย
Kotler (1973) กล่าวว่าการสร้างสภาพแวดล้อมของ
จำ�นวน 86 คน เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ ตัง้ แต่วนั ที่
ร้านค้าซึ่งสร้างอารมณ์ความรู้สึกที่แตกต่างกันในบุคคล
5-31 ตุลาคม 2556 โดยใช้ตวั กระตุน้ จากประสาทสัมผัส
และทำ�ให้กอ่ เกิดความพึงพอใจจะทำ�ให้เพิม่ โอกาสในการ
ด้านการดมกลิน่ และการมองเห็นจากขนมหวานประเภท
ซื้อสินค้าของผู้บริโภคมากขึ้น โดยบรรยากาศเป็น
เดียวกัน 2 รสชาติในคาเฟ่ขนมหวาน
กลยุ ท ธ์ สำ � คั ญ ที่ จ ะทำ �ให้ ร้ า นค้ า มี ค วามแตกต่ า งกั น
อย่างสิน้ เชิง ซึง่ ส่วนประกอบของบรรยากาศประกอบด้วย นิยามศัพท์เชิงปฏิบตั กิ าร
ประสาทสัมผัสทัง้ 5 ได้แก่ รูป รส กลิน่ เสียง และสัมผัส
คาเฟ่ขนมหวาน (Dessert Cafe) หมายถึง ร้านของหวาน
สำ�หรับร้านอาหารทั่วไป ระดับความสำ�คัญที่
ทีข่ ายแต่ของหวานและเครือ่ งดืม่ ทีม่ ที น่ี ง่ั ให้ผบู้ ริโภคสามารถ
ผูบ้ ริโภคให้ความสำ�คัญมากทีส่ ดุ อันดับที่ 1 ได้แก่กลิน่
รับประทานในร้าน โดยของหวานในร้านจะเป็นขนมหวาน
(การได้กลิน่ ) และอันดับที่ 2 คือ รูปลักษณ์ (การมองเห็น)
ทีอ่ บแบบสดๆ ซึง่ ถือเป็นร้านเบเกอรีร่ ะดับบนหรือระดับ
(Lindstrom, 2006) ทำ�ให้การวิจยั นีเ้ น้นศึกษาทีก่ ารตลาด
พรีเมีย่ ม ในทีน่ ห้ี มายถึงร้าน 103+Factory
การมองเห็น (Visual Marketing) และการตลาดการ
พฤติกรรมการซือ้ สินค้า (Buying Behavior) หมายถึง
ได้กลิน่ (Olfactory Marketing)
การตัดสินใจซื้อหรือการตัดสินใจเลือกขนมหวานมา
ดังนัน้ หากวางสินค้าทีม่ หี น้าตาสวยงามอยูโ่ ต๊ะข้าง ๆ
การองรสเลมอนหรือมาการองรสเสาวรส
ผูบ้ ริโภคเป้าหมาย หรือการส่งกลิน่ หอมของขนมหวาน
อิทธิพล (Influence) หมายถึง การเลือกขนมหวาน
ผ่านผูบ้ ริโภคเป้าหมายจะส่งผลต่อพฤติกรรมการซือ้ ขนม
ตามรสชาติท่ีถูกกระตุ้นโดยการมองเห็นและหรือการ
หวานหรือไม่ จึงเป็นที่มาของการศึกษาเรื่อง "อิทธิพล
ได้กลิน่
ของการสือ่ สารการตลาดเชิงประสาทวิทยาต่อพฤติกรรม
การสือ่ สารการตลาดเชิงประสาทวิทยา (Neuromarketing
การซือ้ สินค้าประเภทคาเฟ่ขนมหวาน" โดยอาศัยเทคนิค
Communications) หมายถึง การนำ�เสนอข้อมูลการสือ่ สาร
การวิจยั กึง่ ทดลอง
เกี่ยวกับสินค้าในระดับจิตใต้สำ�นึกและ/หรือจิตไร้สำ�นึก
ปัญหานำ�วิจยั โดยเป็ น การสื่ อ สารบรรยากาศแวดล้ อ มของลู ก ค้ า
ซึ่งประกอบด้วยการสื่อสารผ่านการมองเห็น และ
การสือ่ สารการตลาดเชิงประสาทวิทยา มีอทิ ธิพลต่อ
การสือ่ สารผ่านการได้กลิน่
พฤติกรรมการซือ้ สินค้าประเภทคาเฟ่ขนมหวานอย่างไร?
การทบทวนวรรณกรรม
วัตถุประสงค์ของการวิจยั
1. แนวคิดเรือ่ งทฤษฎีจติ วิเคราะห์
เพื่อทราบถึงอิทธิพลของการสื่อสารการตลาดเชิง
แนวคิดจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) เป็นศาสตร์ท่ี
ประสาทวิทยา ต่อพฤติกรรมการซือ้ สินค้าประเภทคาเฟ่
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิด (Construct) 3 แนวคิด
ขนมหวาน
98... Journal of Public Relations and Advertising Vol. 7 No. 2 2014

คือ จิตสำ�นึก (conscious) จิตใต้ส�ำ นึก (Subconscious) สื่อใหม่ในประเทศไทย และเริ่มมีให้พบเห็นมากขึ้น


และจิตไร้ส�ำ นึก (Unconscious) โดยพยายามแสวงหากฎ ตามสถานทีต่ า่ ง ๆ มากขึน้ (สุมาลี เล็กประยูร, 2009)
ของการทำ�หน้าที่ทางจิตดังกล่าว (Mention Function) สื่อโฆษณาแฝงบรรยากาศเดิมเป็นคําที่ถูกใช้โดย
(พรรณทิพย์ ศิรวิ รณบุศย์, 2549) กลุ่มลูกค้าและพ่อค้าที่เป็นตัวแทนจําหน่ายและเริ่มมี
ฟรอยด์ค้นพบว่าจิตใต้สำ�นึกและ/หรือจิตไร้สำ�นึก การใช้คํานี้ในสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ แต่ว่าไม่มีใครเข้าใจ
มีอทิ ธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลในทางอ้อม โดยเชือ่ ว่า ความหมายของคํานี้อย่างแท้จริงซึ่งอาจเป็นเพราะเป็น
จิตใต้สำ�นึกและ/หรือจิตไร้สำ�นึกเป็นเหตุจูงใจให้บุคคล คํ า ที่ ค่ อ นข้ า งใหม่ แ ละยากที่ จ ะหาคํา มาจํ า กั ด ความ
มีพฤติกรรมทุกอย่าง จิตสำ�นึกเป็นเพียงส่วนน้อยเท่านัน้ เพราะโดยธรรมชาติคําว่าสื่อแฝงบรรยากาศมีการพัฒนา
จิตใต้สำ�นึกและ/หรือจิตไร้สำ�นึกนี้มีกลไกทางจิตหลาย อยูเ่ รือ่ ยๆ และปัจจุบนั มีขอ้ มูลทีส่ ามารถอธิบายสือ่ ประเภท
ประเภทด้วยกัน เช่น แรงจูงใจ อารมณ์ทเ่ี ก็บกด ความรูส้ กึ นี้ได้น้อยมากหากจะหาคํานิยามความหมายของคํานี้
นึกคิด ความฝัน ซึ่งพลังของจิตใต้สำ�นึกและ/หรือจิต คงต้องนําเกณฑ์ในทางปฏิบัติและทฤษฎีมาเป็นเกณฑ์
ไร้สำ�นึกมีอิทธิพลเหนือจิตสำ� นึกที่กระตุ้นให้แสดง ในการวิเคราะห์กาํ หนดความหมาย (Luxton, 2000)
พฤติกรรมประจำ�วันทัว่ ๆ ไป เป็นแรงจูงใจให้เกิดพฤติกรรม จากรูปแบบทีเ่ ปิดกว้าง หลากหลายมิติ และมีความ
ไร้เหตุผล โดยฟรอยด์เชือ่ ว่าพฤติกรรมต่าง ๆ ของบุคคลนัน้ แปลกใหม่ของการนำ�เสนอเป็นสิง่ ทีช่ ว่ ยดึงดูดความสนใจ
ได้รบั อิทธิพลจากจิตไร้ส�ำ นึกเป็นหลัก (กาญจนา แก้วเทพ, ของคนทีไ่ ด้พบเห็น ทำ�ให้สอ่ื ประเภทนีเ้ ริม่ มีการเติบโตขึน้
2542) อย่างมากและเป็นอีกสื่อหนึ่งที่สร้างประสบการณ์ให้กับ
จิตวิเคราะห์ในระดับจิตใต้ส�ำ นึกและ/หรือระดับจิตไร้ ผูบ้ ริโภคทีม่ ตี อ่ แบรนด์ในแง่มมุ ต่าง ๆ ยิง่ สือ่ นัน้ แสดง
สำ�นึกนัน้ อยูต่ รงกลางซึง่ ขนานกันระหว่างความมีสติรบั รูก้ บั ความคิดสร้างสรรค์ได้อย่างยอดเยี่ยมและมีรูปแบบ
พฤติกรรม แรงขับเคลื่อนที่คอยผลักดันนั้นไม่ได้อยู่ใน ที่น่าสนใจมากเท่าไรก็จะเป็นการสร้างความประทับใจ
ระดับจิตใต้ส�ำ นึกและ/หรือจิตไร้ส�ำ นึกจริง ๆ เพราะขึน้ อยู่ ต่อกลุ่มเป้าหมายมากขึ้นเท่านั้น เป็นการเพิ่มคุณค่า
กั บ หลั ก เป็ น เหตุ เ ป็ น ผลของจิ ต มากกว่ า สภาพจิ ตใจ ตราสินค้า (Brand Equity) ในใจของผูบ้ ริโภคให้มากขึน้
หลักเป็นเหตุเป็นผลของจิตกระตุ้นให้มนุษย์เสาะหา แต่ส่ิงหนึ่งที่ควรคำ�นึงถึงในการสร้างสรรค์ส่ือแฝงใน
เรื่องราวเกี่ยวกับเพศและความรุนแรงซึ่งอยู่ตรงกลาง บรรยากาศคือ ปริมาณและรูปแบบของสื่อ กล่าวคือ
ในจิตใต้ส�ำ นึกและ/หรือจิตไร้ส�ำ นึก ซึง่ Gellner (1985) ถ้ า มี ป ริ ม าณของสื่อ มากเกิ นไป อาจทำ �ให้ ค นรู้สึก
ได้ให้ค�ำ อธิบายไว้วา่ “จิตไร้ส�ำ นึกเปรียบเสมือนกล่องเกียร์ รำ � คาญหรื อ เบื่อ หน่ า ยเหมื อ นกั บ สื่อ แบบดั้ง เดิ ม ที่มี
ที่มีแรงมหึมาในการขับเคลื่อนส่วนประกอบภายในซึ่งมี ปริ ม าณมากจนคนเกิ ด ความชิ น ชาหรื อ เบื่ อ หน่ า ย
ทัง้ ความซับซ้อน ยุง่ ยากและเปราะบางขึน้ อยูก่ บั บุคคล” รวมทั้งรูปแบบที่ไม่สวยงามหรือไม่เหมาะสม สื่อนี้
ก็จะกลายเป็นมลภาวะทางสายตาไปทันที และจะส่งผล
2. แนวคิดเรือ่ งสือ่ แฝงในบรรยากาศ (Ambient Media) เชิงลบต่อแบรนด์นน้ั เช่นเดียวกัน
Ambient Media หรือสือ่ แฝงในบรรยากาศคือ สือ่ ทีเ่ กิด
จากความคิดสร้างสรรค์โดยการนำ�สิง่ แวดล้อมทีอ่ ยูร่ อบๆ 3. แนวคิดเรือ่ งประสาทวิทยา
ตัวผู้บริโภคมาเชื่อมโยงกับแบรนด์หรือผลิตภัณฑ์ใน Renvoise และMorin (2007) ให้นยิ ามว่าการตลาด
สถานการณ์และสถานที่ต่าง ๆ ที่อยู่ในชีวิตประจำ�วัน เชิงประสาทวิทยาคือการนำ�หลักวิทยาศาสตร์ทว่ี ดั ประสิทธิภาพ
ของผู้บริโภค โดยนักสื่อสารแบรนด์จะนำ�สื่อโฆษณา ทางกายภาพของการตลาดของส่วนต่าง ๆ ในสมอง ซึง่ สมอง
ข่าวสารของสินค้าหรือของแบรนด์ไปวางหรือเผยแพร่ แต่ละส่วนล้วนมีหน้าที่ต่างกันอย่างชัดเจน เช่น สมอง
ผ่านสิง่ แวดล้อมนัน้ ๆ สือ่ แฝงในบรรยากาศนีจ้ งึ ถือเป็น ส่วนคำ�นวณ สมองส่วนการให้เหตุผล สมองส่วนความ
วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 2557 ...99

รูส้ กึ ซึง่ นักประสาทวิทยาจะใช้อปุ กรณ์เทคโนโลยีขน้ั สูง หรือกลุม่ บุคคลถูกควบคุมโดยปราศจากการตระหนักหรือ


เพื่อทำ�ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่ผู้บริโภค รู้ตัว เป็นการรับรู้ในระดับที่ตำ่�กว่าบุคคลหรือกลุ่ม
แสดงออกมาเมือ่ ถูกการกระตุน้ ทางการตลาดและผลลัพธ์ บุ ค คลจะรู้สึก ตั ว ด้ ว ยเหตุ น้ีจึง เป็ น ความคิ ด ที่ผู้ค น
ที่เปลี่ยนไปของการไหลเวียนเลือดในสมองส่วนต่าง ๆ สามารถทำ�หลายสิ่งหลายอย่างโดยไม่รู้สึกตัว ซึ่งตรง
ซึง่ บริษทั ต่าง ๆ ให้ความหวังว่าการตลาดเชิงประสาทวิทยา กับสิ่งที่ฟรอยด์พยายามอธิบายว่าเป็นการสื่อสารหรือ
จะสามารถตอบข้อสงสัยของนักการตลาดนี้ได้ โดย การรับรูใ้ นระดับจิตใต้ส�ำ นึกและ/หรือจิตไร้ส�ำ นึก
Lindstrom (2006) เสริมว่าการตลาดเชิงประสาทวิทยา โดยทีเ่ ซลล์ประสาทส่วนใหญ่ จะมีหน้าทีร่ บั ข้อมูล
ไม่ใช่การปลูกฝังแนวความคิดลงในสมองบุคคลหรือเป็น เข้าส่งข้อมูลออกจากการกระทำ�หรือความรู้สึกที่ถูก
การบังคับให้ผู้บริโภคซื้อสินค้า แม้ว่าผู้บริโภคไม่มี กระทำ�ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 แต่เซลล์ประสาท
ความต้องการก็ตาม แต่หมายถึงการเปิดเผยความคิด บางชนิดที่ถูกค้นพบนั้นมีกลุ่มเซลล์ประสาทชนิดหนึ่ง
ทีซ่ อ่ นเร้นอยูใ่ นสมองของบุคคลแล้วต่างหาก ในสมองของลิงโดยบังเอิญ ซึ่งเซลล์ประสาทชนิดนี้
การตลาดเชิงประสาทวิทยาในอดีต เป็นการศึกษา มีชอ่ื ว่า “เซลล์กระจกเงา” (Mirror Neuron)
เพื่อช่วยให้นักการตลาดเข้าใจถึงอารมณ์ความรู้สึกของ โดยปกติแล้วเซลล์ประสาทในสมองส่วนพรีมอเตอร์
ลูกค้า การรับรู้ รวมไปถึงการทำ�งานของระบบประสาท จะไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางสายตา Rizzolatti และ
ในขณะทีต่ ดั สินใจซือ้ สินค้า อย่างไรก็ตาม ประสบการณ์ คณะ (2002) ได้เรียกปรากฎการณ์นว้ี า่ “เซลล์กระจกเงา”
การซื้อสินค้าในร้านค้านั้น เริ่มจากบรรยากาศภายนอก (Mirror Neurons) ซึ่งเป็นเซลล์ประสาทที่ต่ืนตัวขึ้น
ร้ า นค้ า และเรื่ อ ยมาจนถึ ง การชำ � ระค่ า สิ น ค้ า และ ขณะที่คนหรือสัตว์ทำ�ท่าทางบางอย่างหรือขณะจ้องมอง
หลังจากออกจากร้านค้า ซึ่งนักการตลาดควรจะเข้าใจ ผู้อ่ืนทำ�ท่าทางนั้นแต่เซลล์กระจกเงาไม่ได้ตอบสนอง
ประสบการณ์การซื้อสินค้าที่ลูกค้าได้รับตั้งแต่ลูกค้า ต่อสิ่งเร้าทุกครั้ง แต่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่อสิ่งที่
เดินเข้าร้านค้ามาจนกระทั่งออกจากร้านค้าเนื่องจาก เรียกว่า “ท่าทางที่มีเป้าหมาย” (Targeted Gestures)
เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างความผูกพันกับลูกค้า ซึ่งหมายถึงกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ ไม่ใช่แค่การ
(Customer Engagement) ซึ่งมีผลกระทบในระยะยาว เคลือ่ นไหวทัว่ ไปเช่น การเดิน การนัง่ การกอดอก
เมื่อไรก็ตามที่ลูกค้าเดินเข้ามาที่ร้าน พวกเขารู้สึกถึงตัว โดย Rizzolatti และ Sinigaglia (2008) ใช้ปรากฏการณ์น้ี
กระตุน้ มากมายทีแ่ ตกต่างกันไม่วา่ จะเป็นบุคคล โฆษณา ในการอธิบายเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ว่าเมือ่ ตนเองเห็นคนอืน่
สินค้ารวมไปถึงบรรยากาศแวดล้อมต่าง ๆ (Suomala et al., ทำ�อะไรบางอย่าง เช่นการเตะลูกโทษหรือการบรรเลง
2012) เปียโนอย่างไร้ท่ีติ สมองของตนก็จะตอบสนองราว
วัตถุประสงค์ของการตลาดเชิงประสาทวิทยาสามารถ กับว่าตนเป็นคนทำ�สิ่งนั้นด้วยตัวเองซึ่งเหมือนกับว่า
ประยุกต์ใช้ได้หลายแบบ ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการโฆษณา การ การมองเห็นและการลงมือทำ�ได้กลายเป็นสิ่งเดียวกัน
สร้างตราสินค้า การตัง้ ราคา การส่งเสริมการขาย ฯลฯ โดย สาเหตุ เ ป็ น เพราะสมองส่ ว นที่ไ ร้ เ หตุ ผ ลได้ เ ข้ า มามี
วิธกี ารตลาดเชิงประสาทวิทยานัน้ จะนำ�ผูบ้ ริโภคไปวัดใน อิทธิพลต่อการตัดสินใจโดยที่เราไม่รู้ตัว ซึ่งบางครั้ง
เครือ่ งทีเ่ ป็นอุโมงค์ ซึง่ สมองของคนจะมีลกั ษณะเหมือน ผู้บริโภคอาจคิดว่าตนรู้เหตุผลของการกระทำ�ตนเอง
แผนที่โดยแต่ละส่วนจะทำ�หน้าที่ต่างกัน หากกิจกรรม แต่จริง ๆ แล้วกลับไม่ใช่ สังเกตได้จากพฤติกรรมต่าง ๆ
ของสมองเกิดขึน้ ในบางส่วนของตำ�แหน่งนัน้ ในชีวติ ประจำ�วัน การรับมือกับปัญหาต่าง ๆ ซึง่ การกระทำ�
การรับรู้การตลาดเชิงประสาทวิทยา ถูกเชื่อมโยง บางอย่างนัน้ ก็ไม่สามารถหาเหตุผลของการกระทำ�นัน้ ได้
ด้วยความคิดในจิตใจและในส่วนลึกที่อยู่ไกลออกไปแต่ (Pacherie & Dokie, 2006)
ยังคงอยูใ่ นความทรงจำ� การควบคุมจิตใจคือการทีบ่ คุ คล
100... Journal of Public Relations and Advertising Vol. 7 No. 2 2014

4. แนวคิดเรือ่ งประสาทสัมผัส ทีละชนิด แม้ว่าข้อมูลที่เข้ามาพร้อมกันมาจากหลาย


ประสาทสัมผัส มีหน้าทีร่ บั ข้อมูลทีม่ าจากทีต่ า่ ง ๆ ช่องทางจากหลายประสาทสัมผัสก็ได้แต่เป็นการรับข้อมูล
รอบตั ว และส่ ง ข้ อ มู ล เหล่ า นั้น มายั ง สมองเพื่อ นำ � มา โดยใช้จติ ใต้ส�ำ นึกและ/หรือจิตไร้ส�ำ นึก เมือ่ บุคคลได้ยนิ
แปลความหมายและสร้างการตอบสนองทัง้ ด้านกายภาพ มองเห็น รูส้ กึ หรือได้กลิน่ บุคคลจะได้ประสบการณ์
และด้านเคมีซง่ึ ก่อให้เกิดพฤติกรรมตอบสนอง การรับรู้ ในจิตสำ�นึกนั้นมีการเชื่อมโยงใกล้เคียงกับสิ่งที่สนใจ
ต่าง ๆ นัน้ มีความซับซ้อนเป็นอย่างยิง่ ขึน้ อยูก่ บั สภาพ โดยจะมุง่ สนใจสิง่ ๆ นัน้ เช่น เมือ่ บุคคลตรวจสอบราคา
แวดล้อมภายนอกและประสบการณ์ในอดีตของแต่ละบุคคล สินค้าบนชั้นวางของในร้านสะดวกซื้อ กระบวนการนี้
(Zurawicki, 2010) ใช้ทง้ั กระบวนการเลือกสนใจสิง่ ใดสิง่ หนึง่ กับการไม่สนใจ
ประสาทสั ม ผั ส ทั้ง ห้ า เป็ น อวั ย วะรั บ สั ม ผั ส ที่มี สิ่งรอบข้าง ดังนั้นการส่งผ่านจากพฤติกรรมจิตสำ�นึก
ความชำ�นาญพิเศษในการส่งข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ การมองเห็น ไปสู่พฤติกรรมจิตใต้สำ�นึกและ/หรือจิตไร้สำ�นึกนั้น
การได้ยนิ การได้กลิน่ รสชาติ และการสัมผัส อวัยวะ จึงเกิดขึน้ ทีละน้อย (Zurawicki, 2010)
รั บ สั ม ผั ส เหล่ า นี้ เ ป็ น ตั ว นำ � พาข้ อ มู ล ที่ เ กิ ด จากการ
5. แนวคิดเรือ่ งการตลาดประสาทสัมผัส
กระตุ้นภายนอกไปยังสมองและสมองจะแปรสิ่งนำ�
เข้านี้เป็นสัญญาณไฟฟ้าเพื่อแปลงข้อมูลมาใช้ต่อไป การตลาดประสาทสั ม ผั ส เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ มี
ซึ่งข้อมูลที่นำ�มาใช้น้ันเกิดจากการสั่งการของสมอง ประสิทธิภาพในการรับรู้ส่งิ ที่อยู่ภายในผู้บริโภคมากขึ้น
ทัง้ ส่วนจิตสำ�นึกและจิตไร้ส�ำ นึกและ/หรือจิตใต้ส�ำ นึก เพื่อประยุกต์ใช้กับกลยุทธ์การตลาด โดยสามารถวัด
ในยามปกติเมือ่ บุคคลรับรูข้ อ้ มูลใด ๆ ก็จะซึมซับ และอธิบายการตัดสินใจซื้อโดยเน้นการศึกษาหลักการ
ผ่านสมอง ในขณะทีม่ สี �ำ นึกรับรูอ้ ยู่ แต่ในความเป็นจริง ทำ � งานของสิ น ค้ า และบริ ก ารโดยจำ � ลองผ่ า นโมเดล
แล้วก็มกี ารรับรูใ้ นขณะทีไ่ ร้ส�ำ นึกควบคูไ่ ปด้วยเช่นกันซึง่ ถือ พฤติกรรมทีม่ งุ่ ศึกษาหาประสบการณ์การรับรูก้ บั ประสาท
เป็นกระบวนการสำ�คัญอย่างหนึง่ ในร่างกาย เพราะเมือ่ ไร สัมผัสทั้ง 5 (Huffen, 2009) โดยนำ�ประสาทสัมผัส
ก็ตามทีบ่ คุ คลเรียนรูห้ รือบันทึกข้อมูลไว้ แม้วา่ จะไม่ตง้ั ใจ พืน้ ฐานของมนุษย์ทม่ี อี งค์ประกอบทัง้ 5 มิติ รูป รส กลิน่
ก็ตาม การรับรู้ท่ีไร้สำ�นึกก็จะเก็บข้อมูลไว้ตลอดเวลา เสียง และสัมผัส มาบูรณาการกับสินค้าและบริการเพือ่
เปรียบเสมือนฐานภูเขาน้ำ�แข็งขนาดใหญ่ท่ีไม่สามารถ สร้างความแตกต่าง (Lindstrom, 2005)
มองเห็นได้ แต่มอี ยูจ่ ริงซึง่ มีขอบเขตการรับรูอ้ ยูใ่ นการใช้ การตลาดแบบดัง้ เดิม เริม่ จากหลักทีว่ า่ ผูบ้ ริโภคนัน้
พลังงานระดับต่ำ� การรับรู้ท่ีไร้สำ�นึกสามารถรับข้อมูล มีเหตุผล ซึ่งเหตุผลเหล่านี้จะถูกกำ�จัดไปหากมีข้อเสนอ
จากประสาทสัมผัสที่ต่างกันจำ�นวนมากได้พร้อมกัน มีการแข่งขัน หรือตอบสนองความต้องการผู้บริโภคได้
โดยผ่านการรับรูท้ ม่ี สี �ำ นึกปกติ เปรียบเหมือนบันไดเลือ่ น ในทางกลับกัน การตลาดเชิงประสาทวิทยาได้เติม
ที่กำ�ลังเลื่อนขึ้นในห้างสรรพสินค้า (แทนสิ่งที่สนใจ) ประสบการณ์ผ่านความรู้สึกของผู้บริโภคระหว่างการ
ระหว่างที่กำ�ลังขึ้นบันไดเลื่อนไปก็มีเหตุการณ์รอบตัว ตลาดแบบดั้งเดิม ซึ่งประสบการณ์น้สี ่งผลต่อประสาท
หลายอย่ า งเช่ น มองเห็ น บุ ค คลกำ � ลั ง เดิ น ซื้อ สิ น ค้ า สัมผัส อารมณ์ การรับรู้ พฤติกรรมและความเป็นเหตุ
อยู่ในชั้นนั้น หรือเห็นบุคคลอื่นลงบันไดเลื่อนสวนทาง เป็นผล ซึง่ จะทำ�ให้สนิ ค้าทีไ่ ด้มเี สน่หแ์ ละน่าดึงดูดมากขึน้
กับตนเอง สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เราไม่ได้ใส่ใจหรือเป็น นั ก การตลาดหลายคนให้ ค วามสำ � คั ญ เกี่ย วกั บ
สิง่ ทีท่ �ำ ให้ไขว้เขว (Distraction) ซึง่ บุคคลรูว้ า่ มีอะไรเกิด ความพึงพอใจ ความรูส้ กึ และการรับรูม้ ากกว่าเรือ่ งราคา
ขึน้ บ้างแต่ไมได้สนใจ เนื่องจากในปัจจุบันสินค้ามีความใกล้เคียงกันมากขึ้น
ในทางกลับกัน การรับรู้ด้วยจิตสำ�นึกนั้นมีความ ดังนั้นการทำ�ให้มีความแตกต่างจึงมีความสำ�คัญอย่างยิ่ง
เป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะตั ว เพราะรั บ รู้ป ระสาทสั ม ผั ส (Lindstrom, 2005)
วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 2557 ...101

Kotler (1973) กล่าวว่าการสร้างสภาพแวดล้อมของ 2010) และเมือ่ ประสาทการรับกลิน่ ถูกกระตุน้ จะทำ�ให้


ร้านค้าซึ่งสร้างอารมณ์ความรู้สึกที่แตกต่างกันในบุคคล ระลึกถึงความทรงจำ�เก่า ๆ เกีย่ วกับกลิน่ นีม้ ากกว่าประสาท
ก่อเกิดความพึงพอใจจะทำ�ให้เพิม่ โอกาสในการซือ้ สินค้า สัมผัสอื่น ๆ ทำ�ให้ร้สู ึกเหมือนย้อนเวลากลับไปอยู่ใน
ของผู้บริโภคมากขึ้น โดยบรรยากาศนั้นเป็นกลยุทธ์ เวลาและสถานที่แห่งนั้น (Herz, 1998) หรือเรียกว่า
สำ�คัญที่จะทำ�ให้ร้านค้ามีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง “ปรากฎการณ์ดงั ก้องในวันวาน” (Proust Phenomenon)
ซึง่ Rieunier (2002, อ้างถึงใน Valenti & Riviere, ดังนั้นเมื่อไรก็ตามที่ได้กลิ่นนี้ก็จะไม่หยิบกิน ซึ่งความ
2008) ได้นยิ ามว่าส่วนประกอบของบรรยากาศประกอบ ทรงจำ � ที่ดัง ก้ อ งในวั น วานนั้น เต็ ม เปี่ย มด้ ว ยอารมณ์
ด้วยประสาทสัมผัสทัง้ 5 ได้แก่ รูป รส กลิน่ เสียง และ ความรู้สึก มี ค วามชั ด เจน และจะถู ก นำ � มาใช้ จ าก
สัมผัส ความทรงจำ � ทั น ที เ มื่ อ ถู ก กระตุ้ น ด้ ว ยกลิ่ น (Herz,
สำ�หรับร้านอาหารทั่วไป ระดับความสำ�คัญที่ 2010)
ผูบ้ ริโภคให้ความสำ�คัญมากทีส่ ดุ อันดับที่ 1 ได้แก่กลิน่
(การได้กลิน่ ) และอันดับที่ 2 คือ รูปลักษณ์ (การมอง 6. แนวคิดเรือ่ งการรับรู้
เห็น) (Lindstrom, 2006) ทำ�ให้การวิจยั นีจ้ ะเน้นศึกษา Schermenhorn, Hunt, และ Osborn (1982) นิยามว่า
ทีก่ ารตลาดการมองเห็น (Visual Marketing) และการ เป็นกระบวนการทางจิตวิทยาเบือ้ งต้นในการตีความสิง่ เร้า
ตลาดการได้กลิน่ (Olfactory Marketing) ที่มาจากปัจจัยนำ�เข้า เพื่อสร้างประสบการณ์แก่บุคคล
การมองเห็น เป็นระบบประสาททีม่ กี ารใช้มากทีส่ ดุ การรับรูเ้ ป็นสิง่ ทีท่ �ำ ให้บคุ คลมีความแตกต่างกัน เมือ่ บุคคล
เนื่องจากมีการถูกกระตุ้นโดยสภาพแวดล้อมมากที่สุด ได้รบั สิง่ เร้าก็จะประมวลสิง่ รับรูน้ น้ั เป็นประสบการณ์โดย
ถึง 80% จากข้อมูลทีผ่ บู้ ริโภคได้รบั มนุษย์ใช้เวลาเพียง ผ่านกระบวนการรับรู้ เช่นเดียวกับ Schiffman และ Kanuk
0.45 วินาทีในการตรวจจับการมองเห็น (Herz & Engen, (2007) ทีก่ ล่าวว่ามนุษย์ถกู โจมตีดว้ ยสิง่ เร้าอยูต่ ลอดเวลา
1996) ตัวเลือกของสีและรูปแบบในการสร้างแนวคิดของ ซึ่งสิ่งเร้าต่าง ๆ จำ�นวนมากอาจก่อให้เกิดความสับสน
สินค้า การออกแบบโฆษณาหรือการส่งเสริมการตลาด หรื อ ความเข้าใจผิดต่อ สภาพแวดล้ อ มของบุ คคลได้
จึงเป็นปัจจัยสำ�คัญในการตลาด แต่เนือ่ งจากการรับรูน้ น้ั ไม่ได้มกี ารเปิดรับข้อมูลตลอดเวลา
สำ�หรับการได้กลิ่นนั้น Lindstrom (2005) กล่าวว่า เพราะการรับรูเ้ ป็นกระบวนการทีม่ กี ารคัดเลือก กลัน่ กรอง
กลิ่นเป็นหนึ่งในระบบประสาทที่สำ�คัญและรู้สึกไวต่อ และเปิดรับเฉพาะข้อมูลที่ต้องการเท่านั้น ซึ่งการรับรู้
ตัวกระตุน้ โดย 75% ของอารมณ์นน้ั เกิดจากกระบวนการ ที ่ เ กิ ดขึ ้ น Solomon (2012) ได้ อธิ บ ายว่ า การรั บ รู้
ได้กลิ่น ซึ่งส่งผลต่อความจำ�ของผู้บริโภคเป็นอย่างมาก จะเกิดขึน้ นัน้ เกิดจากสิง่ เร้าทีร่ บั เข้ามาทางประสาทสัมผัส
เพราะการใช้กลิน่ เป็นองค์ประกอบทีเ่ ป็นการสร้างความแตกต่าง ทัง้ ห้า ซึง่ จัดว่าเป็นสิง่ เร้าภายนอก (External Stimulus)
ของสินค้าได้อย่างชัดเจน โดยปัจจุบนั มีการใช้กลิน่ ในร้าน ซึ่งระดับการรับรู้จะสูงหรือต่ำ�ขึ้นอยู่กับรูปแบบของ
สะดวกซือ้ ร้านกาแฟต่าง ๆ เพือ่ โปรโมตสินค้า สร้างอารมณ์ สิ่งเร้าและความเข้มของสิ่งเร้านั้น ๆ ซึ่งสิ่งเร้าที่เข้ามา
ผูบ้ ริโภคและตำ�แหน่งตราสินค้า (Vlahos, 2007) จากปัจจัยนำ�เข้าผ่านประสาทสัมผัสต่าง ๆ ทีเ่ รียกว่าประสาท
เนื่องจากการดมกลิ่นเป็นกระบวนการที่ช้ากว่าเมื่อ ทางการรับรู้ (Sensory System) ซึง่ กระบวนการทางการรับรูน้ น้ั
เทียบกับการมองเห็นถึง 10 เท่า กว่าจะตรวจจับได้วา่ วัตถุ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ขั้นแรกคือการเปิดรับสิ่งเร้า
นัน้ คืออะไร (Herz & Engen, 1996) แต่เมือ่ ไรก็ตามที่ (Exposure) ขั้นที่สอง คือการให้ความสนใจต่อสิ่งเร้า
ถูกกระตุน้ ด้วยกลิน่ ประสาทการรับกลิน่ จะมีความคงทน (Attention) และขั้นตอนสุดท้ายคือการตีความสิ่งเร้า
ยัง่ ยืนและจะถูกเก็บไว้เป็นประสบการณ์ยาวนาน (Morrin, ทีเ่ ข้ามาจากประสาททางการรับรู้
102... Journal of Public Relations and Advertising Vol. 7 No. 2 2014

ระเบียบวิธวี จิ ยั กึ่ ง ทดลองใช้ วิ ธี เ ก็ บ รวบรวมข้ อ มู ลโดยการบั น ทึ ก


ผลการทดลอง
การวิจยั ครัง้ นีใ้ ช้ระเบียบวิธวี จิ ยั กึง่ ทดลอง (Quasi-
Experimental Research) โดยการเก็บข้อมูลกระทำ�จาก ผลการวิจยั
การทดลองในสภาพแวดล้อมจริง และเพือ่ ต้องการได้ผล
การวิจยั ครัง้ นีม้ กี ลุม่ ตัวอย่างจำ�นวนทัง้ สิน้ 86 คน
การทดลองทีเ่ กิดขึน้ จากพฤติกรรมการซือ้ ขนมหวานของ
เป็นเพศชายร้อยละ 38.37 (33 คน) และเพศหญิงร้อยละ
ผูบ้ ริโภคทีต่ ง้ั ใจมาซือ้ ขนมหวานอยูจ่ ริง ในรูปแบบแผน
61.63 (53 คน) โดยกลุม่ ตัวอย่างมีอายุในช่วง 22-25 ปี
การทดลองกลุ่มควบคุมที่ไม่เท่าเทียมกันหลายกลุ่ม
มากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 46.51 (40 คน) และส่วนใหญ่
(Non-equivalent Multiple Group Design) และใช้ระเบียบ
มากับกลุม่ เพือ่ น คิดเป็นร้อยละ 75.58 (65 คน) โดยแบ่ง
วิธวี จิ ยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ในรูปแบบ
กลุม่ ผลการวิจยั ออกเป็น 4 กลุม่ ได้แก่
การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ (Informal Interview)
1. กลุ่มทดลองจากตัวกระตุ้นการมองเห็นจำ�นวน
โดยประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือลูกค้าที่เข้ามาซื้อและ
20 คน ซึง่ ประกอบไปด้วยผูเ้ ข้าร่วมการทดลองทัง้ ชาย
รับประทานขนมหวานในร้าน 103+Factory จำ�นวน
และหญิงอายุระหว่าง 18-26 ปี มากับกลุ่มเพื่อน โดย
86 คน เป็นการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบไม่อาศัยความ
ส่วนใหญ่ จากการวิจัย พบว่า ผู้เข้าร่วมการทดลอง
น่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) ด้วยวิธกี ารเลือก
มีการเลือกซือ้ มาการองรสเลมอนจำ�นวน 14 คน (ร้อยละ
ตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึง่ สุม่ ตัวอย่าง
70.00) ในขณะที่มีการเลือกซื้อมาการองรสเสาวรส เพียง
จากลูกค้าที่มีอายุ 18-30 ปี สถานที่สถานะใช้ในการวิจัย
6 คน (ร้อยละ 30.00)
ได้แก่รา้ น 103+Factory ตัง้ อยูท่ อ่ี ารีย์ โดยทำ�การทดลอง
ในจำ�นวนผู้เข้าร่วมการทดลองที่เลือกซื้อมาการอง
และสัมภาษณ์ตง้ั แต่วนั ที่ 5-31 ตุลาคม 2556 โดยแบ่ง
รสเลมอน 14 คนนัน้ มีผเู้ ข้าร่วมการทดลองทีร่ บั รูถ้ งึ ตัว
การทดลองออกเป็น 4 กลุม่ ได้แก่กลุม่ การทดลองจาก
กระตุน้ การมองเห็น (การตัง้ ป้ายรูปเลมอนหรือลูกเลมอน)
ตัวกระตุ้นการมองเห็นซึ่งมีป้ายรูปเลมอนตั้งอยู่หน้าร้าน
จำ�นวน 6 คน (ร้อยละ 42.86) และมีผเู้ ข้าร่วมการทดลอง
และในร้าน และลูกเลมอนทีต่ ง้ั ไว้หน้าตูเ้ ค้กเป็นตัวกระตุน้
ทีไ่ ม่รบั รูถ้ งึ ตัวกระตุน้ การมองเห็นจำ�นวน 8 คน (ร้อยละ
การมองเห็น กลุ่มทดลองจากตัวกระตุ้นการได้กลิ่น
57.14)
ซึ่งมีกลิ่นเลมอนถูกฉีดอยู่ในร้าน กลุ่มการทดลองจาก
โดยในจำ�นวนผูท้ ร่ี บั รูถ้ งึ ตัวกระตุน้ การมองเห็นนัน้
ตัวกระตุ้นการมองเห็นและการได้กลิ่น ที่มีป้ายรูป
มี 3 คน (ร้อยละ 50.00) ชอบรสเลมอนเป็นการส่วนตัว
เลมอนตั้งอยู่หน้าร้านและในร้าน ลูกเลมอนที่ต้ังไว้
อยูแ่ ล้ว และอีก 3 คนทีเ่ หลือ (ร้อยละ 50.00) ไม่ได้ชอบ
หน้าตู้เค้กเป็นตัวกระตุ้นการมองเห็น และกลิ่นเลมอน
รสเลมอนเป็นการส่วนตัว
ทีฉ่ ดี อยูใ่ นร้าน และกลุม่ สุดท้ายคือกลุม่ ควบคุมทีป่ ราศจาก
โดยผู้ท่ชี อบรสเลมอนเป็นการส่วนตัวอยู่แล้วนั้นมี
ตัวกระตุน้ ใด ๆ
2 คน (ร้อยละ 66.67) กล่าวว่าการรับรูต้ วั กระตุน้ การ
เมื่อ ผู้เ ข้ า ร่ ว มการทดลองเข้ า มาในร้ า น ผู้วิจัย
มองเห็นนั้นส่งผลต่อการเลือกซื้อรสชาติมาการอง ใน
จะให้ผ้เู ข้าร่วมการทดลองเลือกซื้อมาการองสองรสชาติ
ขณะทีอ่ กี 1 คน (ร้อยละ 33.33) กล่าวว่าการรับรูต้ วั
ระหว่างมาการองรสเลมอนและมาการองรสเสาวรส
กระตุ้นการมองเห็นนั้นไม่ส่งผลต่อการเลือกซื้อรสชาติ
จากนัน้ จึงทำ�การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการถึงการเลือก
มาการอง
ซื้อมาการองรสชาติน้ัน และนำ�คำ�ตอบมาประมวลผล
ในขณะทีผ่ เู้ ข้าร่วมการทดลองทีไ่ ม่รบั รูถ้ งึ ตัวกระตุน้
โดยนำ�คำ�สัมภาษณ์หลายบุคคลมาตรวจสอบหาความ
การมองเห็น (การตั้งป้ายรูปเลมอนหรือลูกเลมอน)
ชัดเจนของเหตุผล (Cross-Check) ระหว่างผลการทดลอง
จำ�นวน 8 คน จากผูท้ เ่ี ลือกซือ้ มาการองรสเลมอนทัง้ หมด
และผลการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ สำ�หรับการวิจยั
วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 2557 ...103

14 คน มีผเู้ ข้าร่วมการทดลองทีเ่ ลือกซือ้ มาการองรสเลมอน และมีผ้เู ข้าร่วมการทดลองที่เลือกซื้อมาการองรสเลมอน


เพราะความชอบส่วนตัวอยู่ 3 คน (ร้อยละ 37.50) เพราะความชอบส่วนตัวอยู่ 5 คน (ร้อยละ 62.50)
ตารางที่ 1 สรุปผลการวิเคราะห์ของตัวกระตุน้ การมองเห็นส่งผลต่อการเลือกรสเลมอน

ผูท้ เ่ี ลือกมาการอง รับรูถ้ งึ ตัวกระตุน้ ชอบเลมอน ตัวกระตุน้ ส่งผล


รสเลมอน การมองเห็น เป็นการส่วนตัว ต่อการเลือก
14 คน 8 คน 3 คน 2 คน
ตัวกระตุน้ ไม่สง่ ผลต่อการเลือก
1 คน
ไม่ชอบเลมอนเป็นการส่วนตัว 5 คน
ไม่รบั รูถ้ งึ ตัวกระตุน้ การมองเห็น 6คน

2. กลุ่มทดลองจากตัวกระตุ้นการได้กลิ่นจำ�นวน อยูแ่ ล้ว และอีก 6 คนทีเ่ หลือ (ร้อยละ 75.00) ไม่ได้ชอบ


22 คน ซึง่ ประกอบไปด้วยชายหญิงอายุระหว่าง 22-30 ปี รสเลมอนเป็นการส่วนตัว
โดยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่เพิ่งเริ่มทำ�งาน (First Jobber) โดยผู้ท่ีชอบรสเลมอนเป็นการส่วนตัวอยู่แล้วนั้น
พบว่าผูเ้ ข้าร่วมการทดลองมีการเลือกซือ้ มาการองรสเลมอน มี 1 คน (ร้อยละ 50.00) กล่าวว่าการรับรูต้ วั กระตุน้
ทีม่ กี ารใส่ตวั กระตุน้ จำ�นวน 14 คน (ร้อยละ 63.33) ใน การได้กลิ่นนั้นส่งผลต่อการเลือกซื้อรสชาติมาการอง
ขณะทีม่ กี ารเลือกซือ้ มาการองรสเสาวรสทีไ่ ม่มกี ารใส่ตวั ในขณะทีอ่ กี 1 คน (ร้อยละ 50.00) กล่าวว่าการรับรูต้ วั
กระตุน้ เพียง 8 คน (ร้อยละ 36.67) กระตุน้ การได้กลิน่ นัน้ ไม่สง่ ผลต่อการเลือกซือ้ รสชาติมาการอง
ในจำ�นวนผู้เข้าร่วมการทดลองที่เลือกซื้อมาการอง ในขณะทีผ่ เู้ ข้าร่วมการทดลองทีไ่ ม่รบั รูถ้ งึ ตัวกระตุน้
รสเลมอน 14 คนนัน้ มีผเู้ ข้าร่วมการทดลองทีร่ บั รูถ้ งึ ตัว การได้กลิน่ (กลิน่ เลมอน) จำ�นวน 6 คน จากผูท้ เ่ี ลือกซือ้
กระตุน้ การได้กลิน่ (กลิน่ เลมอน) จำ�นวน 8 คน (ร้อยละ มาการองรสเลมอนทัง้ หมด 14 คน มีผเู้ ข้าร่วมการทดลอง
57.14) และมีผเู้ ข้าร่วมการทดลองทีไ่ ม่รบั รูถ้ งึ ตัวกระตุน้ ที่เลือกซื้อมาการองรสเลมอนเพราะความชอบส่วนตัว
การได้กลิน่ จำ�นวน 6 คน (ร้อยละ 42.86) อยู่ 2 คน (ร้อยละ 33.33) และมีผเู้ ข้าร่วมการทดลอง
โดยในจำ�นวนผู้ท่รี ับรู้ถึงตัวกระตุ้นการได้กลิ่นนั้น ทีเ่ ลือกซือ้ มาการองรสเลมอนเพราะความชอบส่วนตัวอยู่
มี 2 คน (ร้อยละ 25.00) ชอบรสเลมอนเป็นการส่วนตัว 4 คน (ร้อยละ 66.67)

ตารางที่ 2 สรุปผลการวิเคราะห์ของตัวกระตุน้ การได้กลิน่ ส่งผลต่อการเลือกรสเลมอน

ผูท้ เ่ี ลือกมาการอง รับรูถ้ งึ ตัวกระตุน้ ชอบเลมอน ตัวกระตุน้ ส่งผล


รสเลมอน การได้กลิน่ เป็นการส่วนตัว ต่อการเลือก
14 คน 8 คน 2 คน 1 คน
ตัวกระตุน้ ไม่สง่ ผล
ต่อการเลือก
1 คน
ไม่ชอบเลมอนเป็นการส่วนตัว
6 คน
ไม่รบั รูถ้ งึ ตัวกระตุน้ การได้กลิน่
6 คน
104... Journal of Public Relations and Advertising Vol. 7 No. 2 2014

3. กลุม่ ทดลองจากตัวกระตุน้ การมองเห็นและการได้กลิน่ โดยผูท้ ช่ี อบรสเลมอนเป็นการส่วนตัวอยูแ่ ล้ว 1 คน


จำ�นวน 21 คน ซึง่ ประกอบไปด้วยผูเ้ ข้าร่วมการทดลอง (ร้อยละ 50.00) กล่าวว่าการรับรูต้ วั กระตุน้ การมองเห็น
ทัง้ ชายและหญิง อายุระหว่าง 19-25 ปี โดยครึง่ หนึง่ มากับเพือ่ น หรือการได้กลิน่ อย่างใดอย่างหนึง่ นัน้ ส่งผลต่อการเลือกซือ้
และอีกครึ่งหนึ่งมากับแฟน พบว่าผู้เข้าร่วมการทดลอง รสชาติมาการอง ในขณะทีอ่ กี 1 คน (ร้อยละ 50.00) กล่าว
มีการเลือกซือ้ มาการองรสเลมอนทีม่ กี ารใส่ตวั กระตุน้ จำ�นวน ว่าการรับรูต้ วั กระตุน้ การมองเห็น หรือการได้กลิน่ อย่างใด
15 คน (ร้อยละ 71.43) ในขณะทีม่ กี ารเลือกซือ้ มาการองรส อย่างหนึ่งนั้นไม่ส่งผลต่อการเลือกซื้อรสชาติมาการอง
เสาวรสทีไ่ ม่มกี ารใส่ตวั กระตุน้ เพียง 6 คน (ร้อยละ 28.57) ในจำ�นวนผูท้ ร่ี บั รูถ้ งึ ตัวกระตุน้ การมองเห็นหรือการ
ในจำ�นวนผู้เข้าร่วมการทดลองที่เลือกซื้อมาการอง ได้กลิน่ ทัง้ สองตัวนัน้ มีจ�ำ นวน 1 คน (ร้อยละ 33.33) ชอบ
รสเลมอน 15 คนนัน้ มีผเู้ ข้าร่วมการทดลองทีร่ สู้ กึ ถึงตัว รสเลมอนเป็นการส่วนตัวอยูแ่ ล้ว และอีก 2 คนทีเ่ หลือ
กระตุน้ การทดลอง (การตัง้ ป้ายรูปเลมอนหรือลูกเลมอน (ร้อยละ 66.67) ไม่ได้ชอบรสเลมอนเป็นการส่วนตัว
หรือการได้กลิน่ ) อย่างใดอย่างหนึง่ จำ�นวน 5 คน (ร้อยละ โดยผูท้ ช่ี อบรสเลมอนเป็นการส่วนตัวอยูแ่ ล้ว มี 1 คน
33.33) ผูเ้ ข้าร่วมการทดลองทีร่ สู้ กึ ถึงตัวกระตุน้ การทดลอง (ร้อยละ 100.00) กล่าวว่าการรับรูต้ วั กระตุน้ การมองเห็น
ทั้งสองอย่าง (การตั้งป้ายรูปเลมอนหรือลูกเลมอนและ และการได้กลิน่ นัน้ ส่งผลต่อการเลือกซือ้ รสชาติมาการอง
กลิน่ เลมอน) จำ�นวน 3 คน (ร้อยละ 20.00) และผูเ้ ข้าร่วม ในขณะทีไ่ ม่มใี คร (ร้อยละ 0.00) กล่าวว่าการรับรูต้ วั กระตุน้
การทดลองที่ไม่รับรู้ถึงตัวกระตุ้นการมองเห็นและการ การมองเห็นและการได้กลิน่ นัน้ ไม่สง่ ผลต่อการเลือกซือ้
ได้กลิน่ เลยมีจ�ำ นวน 7 คน (ร้อยละ 46.67) รสชาติมาการอง
โดยในจำ�นวนผูท้ ร่ี บั รูถ้ งึ ตัวกระตุน้ การมองเห็นหรือ และกลุม่ สุดท้าย ผูท้ ไ่ี ม่รบั รูถ้ งึ ตัวกระตุน้ การมองเห็น
การได้กลิน่ อย่างใดอย่างหนึง่ นัน้ มีจ�ำ นวน 2 คน (ร้อยละ และการได้กลิน่ นัน้ มีจ�ำ นวน 1 คน ชอบรสเลมอนเป็นการ
40.00) ชอบรสเลมอนเป็นการส่วนตัวอยูแ่ ล้ว และอีก 3 คน ส่วนตัวอยูแ่ ล้ว (ร้อยละ 14.29) และอีก 6 คนทีเ่ หลือ (ร้อยละ
ทีเ่ หลือ (ร้อยละ 60.00) ไม่ได้ชอบรสเลมอนเป็นการส่วนตัว 66.67) ไม่ได้ชอบรสเลมอนเป็นการส่วนตัว

ตารางที่ 3 สรุปผลการวิเคราะห์ของตัวกระตุน้ การมองเห็นและการได้กลิน่ ส่งผลต่อการเลือกรสเลมอน

ผูท้ เ่ี ลือกมาการอง รับรูต้ วั กระตุน้ ชอบเลมอน ตัวกระตุน้ การมองเห็นหรือการได้กลิน่


รสเลมอน การมองเห็น เป็นการส่วนตัว อย่างใดอย่างหนึง่ ส่งผลต่อการเลือก
15 คน และการได้กลิน่ 2 คน 1 คน
อย่างใดอย่างหนึง่
5 คน ตัวกระตุน้ การมองเห็นหรือการได้กลิน่
อย่างใดอย่างหนึง่ ส่งผลต่อการเลือก
1 คน
ไม่ชอบเลมอนเป็นการส่วนตัว 3 คน
รับรูก้ ระตุน้ การมองเห็น ชอบเลมอน ตัวกระตุน้ การมองเห็นหรือการได้กลิน่ อย่างใดอย่างหนึง่
และการได้กลิน่ เป็นการส่วนตัว ไม่สง่ ผลต่อการเลือก
ทัง้ สองตัว 1 คน 1 คน
3 คน
ตัวกระตุน้ การมองเห็นหรือการได้กลิน่ ทัง้ สองตัว
ไม่สง่ ผลต่อการเลือก
0 คน
ไม่รบั รูต้ วั กระตุน้ การมองเห็นหรือการได้กลิน่
7 คน
วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 2557 ...105

4. กลุ่มทดลองจากกลุ่มควบคุมจำ�นวน 23 คน ทีไ่ ม่มกี ารใส่ตวั กระตุน้ เพียง 10 คน (ร้อยละ 43.49)


ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาอายุระหว่าง 22-25 ปี ทั้ง ในจำ�นวนผู้เข้าร่วมการทดลองที่เลือกซื้อมาการอง
ชายและหญิง พบว่าผู้เข้าร่วมการทดลองมีการเลือกซื้อ รสเลมอนนัน้ มีผทู้ ช่ี อบเลมอนเป็นการส่วนตัวอยู่ 4 คน
มาการองรสเลมอนทีม่ กี ารใส่ตวั กระตุน้ จำ�นวน 13 คน (ร้อยละ 30.77) ในขณะทีไ่ ม่ชอบเลมอนเป็นการส่วนตัว
(ร้อยละ 56.51) ในขณะทีม่ กี ารเลือกซือ้ มาการองรสเสาวรส อยู่ 9 คน (ร้อยละ 69.23)

ตารางที่ 4 แสดงจำ�นวนผูท้ ช่ี อบมาการองรสเลมอนของผูเ้ ข้าร่วมการทดลองจากกลุม่ ควบคุม

กลุม่ ควบคุมทีเ่ ลือกมาการองรสเลมอน ชอบเลมอนเป็นการส่วนตัว


13 คน 4 คน
ไม่ชอบเลมอนเป็นการส่วนตัว
9 คน

พฤติกรรมการเลือกซือ้ มาการองในแต่ละกลุม่ การทดลอง ที่ใช้ตัวกระตุ้นการได้กลิ่น และเมื่อมีการเสริมแรงกัน


ผลการศึกษาในครัง้ นีพ้ บว่า พฤติกรรมการเลือกซือ้ ของตัวกระตุ้นโดยการใช้ตัวกระตุ้นการมองเห็นและ
มาการองในกลุ่มควบคุมหรือกลุ่มที่ไม่มีการกระตุ้นใดๆ การได้กลิน่ ผสานกัน ทำ�ให้อทิ ธิพลการสือ่ สารการตลาด
พบว่ามีอตั ราการเลือกซือ้ มาการองรสเลมอนคิดเป็นร้อยละ เชิงประสาทวิทยามีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น จึงส่งผลต่อ
56.51 ในขณะทีพ่ ฤติกรรมการเลือกซือ้ มาการองในกลุม่ พฤติ ก รรมการเลื อ กซื้อ มาการองรสเลมอนที่สูง ขึ้น
ทีท่ �ำ การกระตุน้ การได้กลิน่ พบว่า มีอตั ราการเลือกซือ้ เช่นกัน โดยคิดเป็นร้อยละ 93.33
มาการองรสเลมอนคิดเป็นร้อยละ 63.33 ซึง่ มีอตั ราการเลือกซือ้
มาการองน้อยกว่ากลุม่ ทีท่ �ำ การกระตุน้ การมองเห็น ซึง่ มี อภิปรายผลการวิจยั
อัตราการเลือกซือ้ มาการองรสเลมอนคิดเป็นร้อยละ 70.00 อิทธิพลการสือ่ สารการตลาดเชิงประสาทวิทยา ส่งผล
แต่เมือ่ นำ�ตัวกระตุน้ ทัง้ สองตัวผสานกัน พบว่าพฤติกรรม ต่อพฤติกรรมการเลือกซือ้ สินค้าประเภทคาเฟ่ขนมหวาน
การเลื อ กซื้อ มาการองรสเลมอนในกลุ่ม ตั ว กระตุ้น ซึ่งมีอิทธิพลสูงมาก โดยตัวกระตุ้นการมองเห็นและ
การมองเห็นและการได้กลิน่ เพิม่ ขึน้ จากการใช้ตวั กระตุน้ ตัวกระตุ้นการได้กลิ่นนั้นส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง
การมองเห็นหรือตัวกระตุน้ การได้กลิน่ อย่างใดอย่างหนึง่ พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าประเภทคาเฟ่ขนมหวาน
โดยคิดเป็นร้อยละ 71.43 เนื่องจากประสิทธิภาพของการสื่อสารนั้นขึ้นอยู่กับ
ลักษณะตัวกระตุ้นที่ใช้และประสาทสัมผัสที่เลือกใช้
อิทธิพลการสื่อสารการตลาดเชิงประสาทวิทยาส่งผลต่อ อี ก ทั้ ง การเลื อ กใช้ ตั ว กระตุ้ น ผสานจำ � เป็ น ต้ อ งเป็ น
พฤติกรรมการเลือกซือ้ ในแต่ละกลุม่ การทดลอง การเสริมแรงไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือประสาท
ผลการศึกษาในครัง้ นีพ้ บว่า อิทธิพลการสือ่ สารการตลาด สัมผัสทีร่ บั รูต้ วั กระตุน้ มากกว่า 1 ชนิดนัน้ รับรูต้ วั กระตุน้
เชิ ง ประสาทวิ ท ยาส่ ง ผลต่ อ พฤติ ก รรมการเลื อ กซื้อ ชนิดเดียวกัน และตีความในรูปแบบเดียวกัน จึงทำ�ให้
มาการองสูงมาก โดยในกลุม่ การทดลองทีใ่ ช้ตวั กระตุน้ พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าประเภทคาเฟ่ขนมหวาน
การมองเห็นนั้นมีอัตราการเลือกซื้อมาการองรสเลมอน ในขณะที่ใช้ตัวกระตุ้นการทดลองนั้นสูงกว่าพฤติกรรม
ซึ่งเกิดจากอิทธิพลการสื่อสารการตลาดเชิงประสาท การเลือกซือ้ สินค้าประเภทคาเฟ่ขนมหวานในขณะทีไ่ ม่ใช้
วิทยาคิดเป็นร้อยละ 92.86 ซึ่งเท่ากับกลุ่มการทดลอง ตัวกระตุน้ การทดลอง (กลุม่ ควบคุม)
106... Journal of Public Relations and Advertising Vol. 7 No. 2 2014

สำ�หรับการทดลองนี้ผ้ทู ดลองได้ใช้ตัวกระตุ้นทาง โดยปกติแล้วเซลล์ประสาทส่วนใหญ่ในสมองส่วนนี้


ประสาทสัมผัสโดยเลือกซือ้ มาสองชนิดได้แก่ การมองเห็น จะมีหน้าทีร่ บั ข้อมูลเข้าส่งข้อมูลออกจากการกระทำ�หรือ
(Sight) และการได้กลิน่ (Smells) เป็นตัวกระตุน้ การทดลอง ความรูส้ กึ ทีถ่ กู กระทำ�ผ่านประสาทสัมผัสทัง้ 5 แต่เซลล์
โดยออกแบบการทดลองแบบใช้ตัวกระตุ้นเดี่ยว คือ กระจกเงา (Mirror Neurons) ซึง่ เป็นเซลล์ประสาททีต่ น่ื ตัวขึน้
ตัวกระตุ้นการมองเห็นกับตัวกระตุ้นการได้กลิ่น และ ขณะทีค่ นหรือสัตว์ท�ำ ท่าทางบางอย่าง หรือขณะจ้องมอง
ออกแบบการทดลองโดยใช้ตัวกระตุ้นผสานกัน คือ ผูอ้ น่ื ทำ�ท่าทางนัน้ แต่เซลล์กระจกเงาไม่ได้ตอบสนองต่อ
การใช้ทง้ั ตัวกระตุน้ การมองเห็นและการได้กลิน่ พร้อมกัน สิ่งเร้าทุกครั้ง แต่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่อสิ่งที่เรียกว่า
ซึง่ เมือ่ เปรียบเทียบกับการทดลองทีป่ ราศจากตัวกระตุน้ นัน้ “ท่าทางทีม่ เี ป้าหมาย” (Targeted Gestures) ซึง่ หมายถึง
อัตราการเลือกซื้อมาการองของผู้เข้าร่วมการทดลอง กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับวัตถุ ไม่ใช่แค่การเคลือ่ นไหวทัว่ ไป
ที่ปราศจากตัวกระตุ้นนั้นมีจำ�นวนน้อยกว่าอัตราการ เช่น การเดิน การนัง่ การกอดอก โดยมีหน้าทีส่ ะท้อนภาพ
เลือกซื้อมาการองของผู้เข้าร่วมการทดลองที่มีตัวกระตุ้น และทำ � การลอกเลี ย นแบบการเคลื่ อ นไหวทุ ก อย่ า ง
ซึง่ สรุปได้วา่ ตัวกระตุน้ ทีเ่ กิดขึน้ ส่งผลต่อกระบวนการรับรู้ ของมนุ ษ ย์ เ สมื อ นกระจกเงาสะท้ อ นภาพเป็ น เซลล์
อันก่อให้เกิดพฤติกรรมทีแ่ ตกต่างกัน ทีส่ ามารถตอบสนองต่อพฤติกรรมการเรียนรูต้ า่ ง ๆ ของมนุษย์
เมื่อการทดลองที่มีตัวกระตุ้น มีอัตราการเลือกซื้อ ได้แก่การตอบสนองต่อการมองเห็น และการได้กลิ่น
มาการองมากกว่าการทดลองที่ปราศจากตัวกระตุ้นนั้น ตัวกระตุ้นที่เรารับผ่านประสาทสัมผัสเป็นสิ่งจำ�เป็น
แสดงให้เห็นว่าตัวกระตุ้นนั้นส่งผลต่ออัตราการเลือกซื้อ สำ � หรั บ สั ต ว์ เ ลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนมทุ ก ชนิ ด รวมถึ ง มนุ ษ ย์
มาการอง แต่เนือ่ งจากการใส่ตวั กระตุน้ ลงไปนัน้ ผูท้ ดลอง โดยเฉพาะผ่านการกระทำ�ของผูอ้ น่ื หรือสิง่ อืน่ (Hickok,
ได้ ใ ส่ ตัว กระตุ้นในลั ก ษณะที่เ บาบางกว่ า จะรู้สึกได้ 2009)
(Subliminal) ดังนั้นหากตั้งใจหรือมีสติท่จี ะสังเกตก็จะ ผู้เข้าร่วมการทดลองส่วนหนึ่งคิดเป็นร้อยละ 5.81
ทำ�ให้เกิดการรับรู้ แต่ถา้ หากแบ่งตามลักษณะการรับรูถ้ งึ (จำ�นวน 5 คน) บอกผู้วิจัยถึงสาเหตุท่เี ลือกซื้อมาการ
ตัวกระตุ้นนั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ องรสเลมอนว่าเห็นโต๊ะข้าง ๆ ที่เลือกซื้อมาการอง
ผู้เข้าร่วมการทดลองที่รู้สึกถึงตัวกระตุ้นในการทดลอง รสเลมอนกำ�ลังรับประทานแล้วรู้สึกอยากรับประทาน
และไม่รสู้ กึ ถึงตัวกระตุน้ ในการทดลอง บ้าง ซึ่งพฤติกรรมนี้สามารถใช้ทฤษฎีเซลล์กระจกเงา
การที่ผ้เู ข้าร่วมการทดลองรู้สึกถึงตัวกระตุ้นในการ ในการอธิบายพฤติกรรมนี้ (Mirror Neurons) โดย
ทดลองนั้นเป็นการรับรู้ในระดับจิตสำ�นึก (Conscious เมื่อผู้เข้าร่วมการทดลองเห็นลูกค้าโต๊ะข้าง ๆ กำ�ลัง
Mind) คื อ เป็ น สภาพที่มีส ติ รู้สึกได้ ถึง ตั ว กระตุ้น รับประทานมาการองรสเลมอน สมองส่วนพรีมอเตอร์
ในการทดลองและเป็นการจดจ่ออยู่กับตัวกระตุ้นที่รับรู้ ก็ทำ�งานเช่นเดียวกับตอนที่ผู้เข้าร่วมการทดลองเป็น
ได้ (พรรณทิพย์ ศิรวิ รณบุศย์, 2549) ซึง่ หมายถึงมองเห็น ผู้รับประทานมาการองรสเลมอนเสียเอง จึงทำ�ให้เกิด
ภาพเลมอนทีต่ ดิ ไว้หน้าร้าน หรือในร้าน หรือมองเห็น ความรูส้ กึ อยากรับประทานบ้าง นัน่ หมายความว่าสมอง
ลูกเลมอนที่วางไว้หน้าตู้เค้ก หรือรับรู้ถึงกลิ่นเลมอน ของผูเ้ ข้าร่วมการทดลองประมวลผลว่าตนเองเป็นผูก้ ระทำ�
ในร้าน เมือ่ รับรูแ้ ล้วจึงนำ�การรับรูน้ น้ั ไปตีความไว้ในระบบ เช่นกัน จึงทำ�การเลือกซือ้ มาการองรสเลมอน
ความจำ� (Schema) เพื่อดูว่ามีความชอบรสเลมอน จากผลการทดลองนัน้ ผูเ้ ข้าร่วมการทดลองทีเ่ ลือกซือ้
เป็นการส่วนตัวหรือไม่ หากไม่ชอบรสเลมอนเป็นการ มาการองรสเลมอนประมาณครึ่งหนึ่งรับรู้ถึงตัวกระตุ้น
ส่วนตัว สมองจะนำ�การรับรูท้ ไ่ี ด้ไปตีความโดยหลักการ จึงทำ�การเลือกซื้อมาการองรสเลมอน โดยที่ไม่ได้ชอบ
อนุมาน (Interference) ว่าเมือ่ รับรูถ้ งึ ภาพเลมอน ลูกเลมอน รสเลมอนเป็นการส่วนตัวอยูแ่ ล้วเกือบทัง้ หมด แสดงให้
หรือกลิน่ เลมอนแล้วนึกถึงอะไร เห็นว่าตัวกระตุน้ ส่งผลต่อการเลือกซือ้ มาการองรสเลมอน
วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 2557 ...107

อย่างชัดเจน แต่เนื่องจากการรับรู้ในระดับจิตสำ�นึกนั้น สมองส่วนอารมณ์ความรู้สึกหรือระบบลิมบิค


ผู้ บ ริ โ ภคสามารถเลื อ กรั บ รู้ ไ ด้ แ ละแม้ ว่ า มนุ ษ ย์ ใ ช้ (Limbic system) นอกจากเป็นส่วนที่แสดงอารมณ์
จิตสำ�นึกในการประมวลผลสัง่ การเป็นส่วนใหญ่ แต่หาก ความรูส้ กึ แล้วยังเป็นสมองทีก่ อ่ ให้เกิดความจำ�ทัง้ ระยะ
ดูองค์รวมแล้ว จะพบว่าเป็นศักยภาพทีใ่ ช้ไปเพียง 3-5% สัน้ (Short Term Memory) และระยะยาว (Long Term
เท่านั้น ส่วนที่เหลือของศักยภาพที่ยังไม่สามารถเข้าถึง Memory) ซึง่ มีความสำ�คัญต่อการอยูร่ อดเป็นประโยชน์
ได้น้นั จะต้องใช้การรับรู้ผ่านระดับจิตใต้สำ�นึกและ/หรือ ต่อการเรียนรูอ้ กี ด้วย การทีม่ รี ปู แบบตัวอย่างหรือโมเดล
จิตไร้ส�ำ นึก ที่เหมาะสมเป็นตัวเร่งเร้าให้เกิดการลอกเลียนเอาแบบ
ส่วนผู้เข้าร่วมการทดลองประมาณครึ่งหนึ่งที่เหลือ อย่าง โดยทีส่ มองส่วนนีม้ สี ว่ นสำ�คัญทีค่ วบคุมเรือ่ งอารมณ์
ของแต่ละการทดลองบอกว่า ไม่รบั รูถ้ งึ ตัวกระตุน้ ในรูปแบบ เป็นหลักที่เรียกว่า “อมิกดาลา” (Amygdala) ซึ่งเป็น
ต่าง ๆ แต่กย็ งั เลือกซือ้ มาการองรสเลมอน ซึง่ ผูเ้ ข้าร่วม ศูนย์กลางของอารมณ์ ความรู้สึกที่ส่งผลต่อพฤติกรรม
การทดลองส่วนใหญ่ไม่ได้ชอบรสเลมอนเป็นการส่วนตัว ต่าง ๆ ของมนุษย์อย่างชัดเจน และเมือ่ การรับรูใ้ นระดับ
ด้วยการรับรู้ของผู้เข้าร่วมการทดลองกลุ่มนี้เป็นการรับรู้ จิตใต้สำ�นึกและ/หรือจิตไร้สำ�นึก จะมีการเรียกใช้งาน
ในระดับจิตใต้ส�ำ นึก (Subconscious Mind) และ/หรือ ในส่วนอมิกดาลามาก ทำ�ให้บุคคลนั้นเป็นบุคคลที่ใช้
จิตไร้สำ�นึก (Unconscious Mind) เป็นการรับรู้โดย อารมณ์มากกว่าเหตุผล ซึ่งหลักการนี้สามารถอธิบาย
ไม่ผ่านการกรองข้อมูล ซึ่งข้อมูลที่เข้ามาจะไปสู่เซลล์ ถึงการมองเห็นภาพเลมอน ลูกเลมอน หรือกลิน่ เลมอน
สมองโดยผูร้ บั ไม่รตู้ วั และพร้อมทีจ่ ะกำ�หนดพฤติกรรมของ ของผูเ้ ข้าร่วมการทดลอง ซึง่ เมือ่ การรับรูใ้ นระดับจิตใต้ส�ำ นึก
มนุษย์ได้ตา่ ง ๆ นานา ฉะนัน้ การส่งข้อมูลผ่านจิตใต้ส�ำ นึก และ/หรือจิตไร้ส�ำ นึก สมองซีกขวาซึง่ เป็นสมองส่วนอารมณ์
และ/หรือจิตไร้สำ�นึกจึงสามารถทำ�ได้ตลอดเวลาโดยใช้ จะนำ�การรับรู้น้ันมาประมวลผล โดยยึดจากความจำ�
กระบวนการทำ�ซ้�ำ อย่างสม่�ำ เสมอ (Constant Repetition) ระยะสัน้ และระยะยาวในระบบความจำ�มาใช้ และตีความ
ผ่านตัวกระตุ้นไม่ว่าจะเป็นกลิ่นเลมอนหรือลูกเลมอน จากการรับรูน้ �ำ ไปสูพ่ ฤติกรรม นัน่ คือการเลือกซือ้ มาการอง
ทีอ่ ยูห่ น้าตูเ้ ค้กเน้นย้�ำ การรับรูโ้ ดยไม่รตู้ วั เพือ่ ให้การรับรู้ รสเลมอนซึง่ สอดคล้องกับตัวกระตุน้ ทีผ่ ทู้ ดลองใช้ (อริยะ
ไปสูร่ ะดับจิตใต้ส�ำ นึกและ/หรือจิตไร้ส�ำ นึก สุพรรณเภษัช, 2543)
จิตวิเคราะห์ในระดับไร้สำ�นึกนั้นอยู่ตรงกลางซึ่ง ในขณะทีผ่ เู้ ข้าร่วมการทดลองทีไ่ ด้รบั ตัวกระตุน้ ต่าง ๆ
ขนานกันระหว่างความมีสติรบั รูก้ บั พฤติกรรม แรงขับเคลือ่ น ในการเลือกซือ้ มาการองนัน้ ผูเ้ ข้าร่วมการทดลองส่วนใหญ่
ที่คอยผลักดันนั้นไม่ได้อยู่ในระดับจิตใต้สำ�นึกจริง ๆ ไม่ได้มีความชอบรสเลมอนมาก่อนแต่ผลการทดลอง
เพราะขึ้นอยู่กับหลักเป็นเหตุเป็นผลของจิตมากกว่า ชีใ้ ห้เห็นว่า ผูเ้ ข้าร่วมการทดลองมีการเลือกซือ้ มาการอง
สภาพจิตใจ โดยตัวกระตุ้นในระดับเบาบางกว่าที่จะ รสเลมอนมากกว่าการไม่ได้รบั ตัวกระตุน้ ซึง่ ในการตัดสินใจนี้
รูส้ กึ ได้ (Subliminal) จะส่งถึงจิตไร้ส�ำ นึกในรูปแบบต่าง ๆ สมองส่วนอารมณ์เป็นตัวกำ�หนด เนือ่ งจากอวัยวะลำ�ดับ
ทีเ่ กิดขึน้ โดยไม่ทนั ตัง้ ตัว (Nisbett & Wilson, 1977) ขัน้ ทีอ่ ยูต่ �ำ่ กว่าจะอยูภ่ ายใต้ล�ำ ดับขัน้ ทีส่ งู กว่า ซึง่ LeDoux
ซึ่งจิตไร้สำ�นึกนี้มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจและการมี ชีว้ า่ อมิกดารา (Amygdala) หรือต่อมทีอ่ ยูใ่ นสมองดัง้ เดิม
เหตุผลของพฤติกรรมที่เกิดขึ้น ถือว่าจิตไร้สำ�นึกนั้น อนุญาตให้การกระตุ้นทางอารมณ์น้ันมีบทบาทเด่นกว่า
มีพลังทีส่ ง่ ผลต่อกระบวนการในจิตใจระดับสูง (Higher การควบคุมความคิด (Renvoise & Morin, 2007) ทำ�ให้
Mental Processes) (Bargh, 2006) จึงอธิบายได้ว่า สมองส่วนอารมณ์มกั ชนะสมองส่วนเหตุผล
ผูเ้ ข้าร่วมการทดลองประมาณครึง่ หนึง่ ของแต่ละการทดลองถึง การตลาดเชิงประสาทวิทยาในอดีตนัน้ เป็นการศึกษา
เลือกซื้อมาการองรสเลมอนทั้งที่ไม่รู้สึกถึงตัวกระตุ้น เพือ่ ช่วยให้นกั การตลาดเข้าใจถึงอารมณ์ความรูส้ กึ ของลูกค้า
และส่วนใหญ่นน้ั ไม่ได้ชอบเลมอนเป็นการส่วนตัว การรับรู้ รวมไปถึงการทำ�งานของระบบประสาทในขณะที่
108... Journal of Public Relations and Advertising Vol. 7 No. 2 2014

ตัดสินใจซือ้ สินค้า อย่างไรก็ตามประสบการณ์การซือ้ สินค้า เพือ่ จำ�แนกแยกแยะประเภทวัตถุ ซึง่ ใช้เวลาในการประมวลผล


ในร้ า นค้ า นั้ น เริ่ ม จากบรรยากาศภายนอกร้ า นค้ า 0.5 วินาที โดยการประมวลผลนี้เกิดขึ้นเร็วมากและ
เรือ่ ยมาจนถึงการชำ�ระค่าสินค้าและหลังจากออกจากร้านค้า จะเกิ ด ก่ อ นเสมอ เนื่อ งจากการรอสมองส่ ว นใหม่
ซึ่งนักการตลาดควรจะเข้าใจประสบการณ์การซื้อสินค้า ประมวลผลนั้นใช้เวลานานและถ้าเป็นการประมวล
ที่ลูกค้าได้รับตั้งแต่ลูกค้าเดินเข้าร้านค้ามาจนกระทั่ง ผลที่ไม่ซับซ้อนหรือไม่ต้องแยกแยะว่าสิ่งนั้นคืออะไร
ออกจากร้านค้า เนือ่ งจากเกีย่ วข้องกับกระบวนการสร้าง การประมวลผลก็จะสิน้ สุดทีส่ มองส่วนดัง้ เดิม หรือเรียกว่า
ความผูกพันกับลูกค้า (Customer Engagement) ซึ่งมี “การประมวลผลระยะสั้น” (Low Path Processing)
ผลกระทบในระยะยาว เมื่อไรก็ตามที่ลูกค้าเดินเข้ามา (Renvoise & Morin, 2007)
ที่ร้าน พวกเขารู้สึกถึงตัวกระตุ้นมากมายที่แตกต่างกัน การรับรู้ด้วยจิตสำ�นึกนั้นมีความเป็นเอกลักษณ์
ไม่วา่ จะเป็นบุคคล โฆษณา สินค้ารวมไปถึงบรรยากาศ เฉพาะตัวในแต่ละประสาทสัมผัส สำ�หรับการมองเห็น
แวดล้อมต่างๆ (Suomala et al., 2012.) นัน้ การรับรูด้ ว้ ยจิตสำ�นึกจะเกิดจากการตัง้ ใจหรือรูส้ กึ ได้
การรับรู้การตลาดเชิงประสาทวิทยา ถูกเชื่อมโยง ถึงตัวกระตุน้ การมองเห็น แต่ถา้ การมองเห็นนัน้ เป็นการ
ด้วยความคิดในจิตใจและในส่วนลึกที่อยู่ไกลออกไป ไม่ต้ังใจหรือเกิดจากการมองเห็นพร้อมประสาทสัมผัส
แต่ยงั คงอยูใ่ นความทรงจำ� การควบคุมจิตใจคือ การทีบ่ คุ คล อืน่ ๆก็ตาม จากหลายประสาทสัมผัสนัน้ เป็นการรับข้อมูล
หรือกลุม่ บุคคลถูกควบคุมโดยปราศจากการตระหนักหรือ โดยใช้จิตใต้สำ�นึก เมื่อบุคคลมองเห็นหรือได้กลิ่น
รูต้ วั เป็นการรับรูใ้ นระดับทีต่ �ำ่ กว่าบุคคลหรือกลุม่ บุคคล จากตัวกระตุ้น บุคคลจะได้รับถึงประสบการณ์ และ
จะรูส้ กึ ตัว ด้วยเหตุนจ้ี งึ เป็นความคิดทีผ่ คู้ นสามารถทำ�หลายสิง่ ในจิตสำ�นึกนั้นมีการเชื่อมโยงใกล้เคียงกับสิ่งที่สนใจ
หลายอย่างโดยไม่รสู้ กึ ตัว ซึง่ ตรงกับสิง่ ทีฟ่ รอยด์พยายาม โดยจะมุง่ สนใจสิง่ ๆ นัน้ เช่น เมือ่ บุคคลตรวจสอบราคา
อธิบายว่าเป็นการสือ่ สารหรือการรับรูใ้ นระดับจิตใต้ส�ำ นึก สินค้าบนชั้นวางของในร้านสะดวกซื้อ กระบวนการนี้
และ/หรือจิตไร้ส�ำ นึก (Agrawal, 2013) ใช้ทง้ั กระบวนการเลือกสนใจสิง่ ใดสิง่ หนึง่ กับการไม่สนใจ
จากผลการทดลองนั้นสรุปได้ว่าอัตราการเลือกซื้อ สิ่งรอบข้าง ดังนั้นการส่งผ่านจากพฤติกรรมจิตสำ�นึก
มาการองรสเลมอนของการทดลองโดยใช้ตัวกระตุ้น ไปสู่พฤติกรรมจิตใต้สำ�นึกและ/หรือจิตไร้สำ�นึกนั้น
การมองเห็นนัน้ สูงกว่าอัตราการเลือกซือ้ มาการองรสเลมอน จึงเกิดขึน้ ทีละน้อย (Zurawicki, 2010)
ของการทดลองโดยปราศจากตัวกระตุน้ (Control Group) แม้วา่ การมองเห็นเป็นระบบประสาททีม่ กี ารใช้มาก
เนื่องจากการมองเห็นเป็นระบบประสาทที่มีการใช้มาก ทีส่ ดุ แต่จริง ๆ แล้วการมองเห็นไม่ได้เกิดขึน้ ทีต่ าเป็น
ที่สุดถึง 80% และมนุษย์ใช้เวลาเพียง 0.45 วินาที ส่ ว นแรก แท้ จ ริ ง แล้ ว การมองเห็ น เริ่ ม ต้ น ที่ ส มอง
ในการตรวจจับตัวกระตุ้นนั้น โดยขึ้นอยู่กับสีและ เป็นส่วนแรก เนื่องจากองค์ประกอบการมองเห็นที่ดีจะ
รูปแบบในการโฆษณาสินค้า (Herz & Engen, 1996) ต้องสะอาดตา มีความชัดเจนในระดับสายตา และมีการใช้
ซึง่ ในทีน่ ห้ี มายถึงป้ายรูปเลมอนและลูกเลมอน ปรากฎการณ์คาร์เทดอล (Cathedral Effect) ซึง่ เหมือนกับ
การที่ผู้เข้าร่วมการทดลองสังเกตถึงตัวกระตุ้นการ การเข้าโบสถ์ทท่ี ล่ี กู ตาของบุคคลนัน้ จะกวาดสายตาไปรอบ ๆ
มองเห็น และยังเลือกซื้อมาการองรสชาติเลมอนนั้น โครงสร้างโบสถ์โดยเริม่ จากบนลงล่าง ดังนัน้ ตัวกระตุน้
เนือ่ งจากการทำ�งานอยูใ่ นสมองส่วนดัง้ เดิม อีกทัง้ ระบบ ที่ดีท่ีจ ะทำ �ให้ บุค คลจดจำ � นั้น ควรจะอยู่ตำ� แหน่ ง บน
ประสาทตานัน้ มีระยะทางใกล้ทส่ี ดุ ระหว่างเซลล์ประสาทตา ที่เหนือระดับสายตาสักเล็กน้อย (Pradeep, 2010)
กับเซลล์สมอง ทำ�ให้สามารถเคลื่อนที่หรือส่งข้อมูล ซึ่งจากการติดภาพเลมอนไว้ด้านบนเหนือระดับสายตา
ได้อย่างรวดเร็วที่สุดโดยใช้เวลาเพียง 0.002 วินาที ของผู้เข้าร่วมการทดลองเล็กน้อย และตำ�แหน่งการวาง
ในการแยกแยะจากสิง่ ทีเ่ ห็น จากนัน้ จึงส่งมายังสมองใหม่ ลูกเลมอนทีอ่ ยูห่ น้าเค้กซึง่ ตรงกับระดับสายตาของผูเ้ ข้าร่วม
วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 2557 ...109

การทดลองพอดี ทำ�ให้ผลการทดลองทีไ่ ด้ในการทดลอง (1973) เชือ่ ว่าการล้อมรอบไปด้วยกลิน่ จะทำ�ให้มศี กั ยภาพ


ทีใ่ ช้การกระตุน้ การมองเห็นมีอตั ราการเลือกซือ้ มาการอง ในการสร้างอารมณ์เชิงบวก จึงทำ�ให้ร้านค้าเหล่านี้
รสเลมอนทีส่ งู กว่าการทดลองทีป่ ราศจากตัวกระตุน้ มียอดขายทีด่ ขี น้ึ ตามมา (Lindstrom, 2005)
สำ�หรับการอภิปรายผลการทดลองที่ใช้ตัวกระตุ้น การรับรู้ด้วยจิตสำ�นึกนั้นมีความเป็นเอกลักษณ์
การได้กลิน่ นัน้ ผูเ้ ข้าร่วมการทดลองมีอตั ราการเลือกซือ้ เฉพาะตัวเพราะรับรูป้ ระสาทสัมผัสทีละชนิด แม้วา่ ข้อมูล
มารารองรสเลมอนอยูท่ ร่ี อ้ ยละ 63.33 ซึง่ น้อยกว่าการทดลอง ทีเ่ ข้ามาพร้อมกันมาจากหลายช่องทางจากหลายประสาท
ที่ใช้ตัวกระตุ้นการได้มองเห็น เนื่องจากกระบวนการ สัมผัสก็ได้ แต่เป็นการรับข้อมูลโดยใช้จิตใต้สำ�นึก
ได้กลิ่นนั้นมีการประมวลผลที่ช้ากว่าเมื่อเทียบกับการ เมือ่ บุคคลมองเห็นหรือได้กลิน่ จากตัวกระตุน้ บุคคลจะได้รบั
มองเห็นถึง 10 เท่ากว่าจะตรวจจับได้วา่ วัตถุนน้ั คืออะไร ถึงประสบการณ์ และในจิตสำ�นึกนั้นมีการเชื่อมโยง
(Herz & Engen, 1996) ซึง่ ในทีน่ ห้ี มายถึงสเปรย์หรือ. ใกล้เคียงกับสิ่งที่สนใจ โดยจะมุ่งสนใจสิ่งนั้น ๆ เช่น
อโรมากลิน่ เลมอน และอิทธิพลของการสือ่ สารการตลาด เมื่อบุคคลตรวจสอบราคาสินค้าบนชั้นวางของในร้าน
เชิ ง ประสาทวิ ท ยาโดยใช้ ตัว กระตุ้น การได้ ก ลิ่น นั้น สะดวกซือ้ กระบวนการนีใ้ ช้ทง้ั กระบวนการเลือกสนใจ
ส่งผลถึงร้อยละ 92.86 ซึ่งเท่ากับผลของการสื่อสาร สิง่ ใดสิง่ หนึง่ กับการไม่สนใจสิง่ รอบข้าง ดังนัน้ การส่งผ่าน
การตลาดเชิงประสาทวิทยาโดยใช้ตวั กระตุน้ การมองเห็น จากพฤติกรรมจิตสำ�นึกไปสู่พฤติกรรมจิตใต้สำ�นึกและ/
แต่จุดเด่นของประสาทการได้กลิ่นนั้นคือ เมื่อไร หรือจิตไร้ส�ำ นึกนัน้ จึงเกิดขึน้ ทีละน้อย (Zurawicki, 2010)
ก็ถามที่ถูกกระตุ้นด้วยกลิ่น ประสาทการรับกลิ่นจะมี และเมือ่ ทำ�การทดลองโดยใช้การกระตุน้ ผสมผสาน
ความคงทน ยั่งยืนและจะถูกเก็บไว้เป็นประสบการณ์ ทั้งการมองเห็นและการได้กลิ่น อัตราการเลือกซื้อมา
ยาวนาน (Morrin, 2010) และเมือ่ ประสาทการรับกลิน่ การองรสเลมอนนัน้ สูงกว่าการทดลองเมือ่ ใช้การกระตุน้
ถูกกระตุน้ จะทำ�ให้ระลึกถึงความทรงจำ�เก่า ๆ เกีย่ วกับ การมองเห็นหรือการได้กลิน่ อย่างใดอย่างหนึง่ เนือ่ งจาก
กลิน่ นีม้ ากกว่าประสาทสัมผัสอืน่ ๆ ทำ�ให้รสู้ กึ เหมือนย้อน การผสมผสานการรับรู้จากประสาทสัมผัส (Sensory
เวลากลับไปอยูใ่ นเวลาและสถานทีแ่ ห่งนัน้ (Herz, 1998) Integration) จะทำ�ให้ระดับความผูกพันของลูกค้ามี
หรือเรียกว่า “ปรากฎการณ์ดังก้องในวันวาน” (Proust อัตราที่สูงขึ้นด้วยการเพิ่มตัวกระตุ้นจากหลายประสาท
Phenomenon) เช่นได้กลิ่นขนมนี้ทำ�ให้ย้อนถึงวัยเด็ก สัมผัสโดยที่ตัวกระตุ้นที่เพิ่มขึ้นนั้นจะต้องมีแนวโน้ม
ทีไ่ ม่ชอบกิน ดังนัน้ เมือ่ ไรก็ตามทีไ่ ด้กลิน่ นีก้ จ็ ะไม่หยิบกิน ที่เสริมกันและไปในทิศทางเดียวกันด้วย (Pradeep,
ซึง่ ความทรงจำ�ทีด่ งั ก้องในวันวานนัน้ เต็มเปีย่ มด้วยอารมณ์ 2010) ซึ่งการตั้งลูกเลมอนและการส่งกลิ่นเลมอน
ความรู้สึก มีความชัดเจน และจะถูกนำ�มาใช้จากความ พร้อม ๆ กัน เป็นการเสริมตัวกระตุน้ ในการทดลองอย่าง
ทรงจำ�ทันทีเมือ่ ถูกกระตุน้ ด้วยกลิน่ (Herz, 2010) อีกทัง้ เห็นได้ชดั เพราะประสาทสัมผัสทัง้ 2 ได้รบั รูถ้ งึ ตัวกระตุน้
ยังเกิดจากการทำ�ซ้�ำ ต่อเนือ่ ง (Repetition) ซึง่ อารมณ์ความ รูปแบบเดียวกัน
รูส้ กึ นัน้ เกิดจากกระบวนการได้กลิน่ ซึง่ ส่งผลต่อความจำ�ของ
ผู้บริโภคเป็นอย่างมาก ซึ่งการใช้กลิ่นเป็นองค์ประกอบ ข้อเสนอแนะสำ�หรับนำ�ผลการวิจยั ไปใช้
จะเป็นการสร้างความแตกต่างของสินค้าได้อย่างชัดเจน การวิจัยในครั้งนี้ผ้วู ิจัยเลือกใช้กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ
ซึง่ ในปัจจุบนั มีการใช้กลิน่ ในร้านสะดวกซือ้ ร้านกาแฟต่าง ๆ 18-30 ปี ซึง่ อยูใ่ นช่วงวัยรุน่ ตอนต้นถึงวัยรุน่ ตอนปลาย
เพื่อโปรโมตสินค้า สร้างอารมณ์ผ้บู ริโภคและตำ�แหน่ง เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีอัตราการซื้อสินค้าประเภทคาเฟ่
ตราสินค้า (Vlahos, 2007) ซึง่ ในปัจจุบนั นีม้ กี ารใช้กลิน่ ขนมหวานสูงที่สุด จึงทำ�ให้เกิดข้อจำ�กัดเรื่องช่วงอายุ
ในการตลาดอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะร้านค้าที่มีกลิ่น ของกลุม่ ตัวอย่าง
เฉพาะของตนเอง เช่น ร้านกาแฟ ร้านขนม โดย Kotler ผูว้ จิ ยั ตัง้ ใจควบคุมการทดลองโดยกำ�หนดมาการอง
110... Journal of Public Relations and Advertising Vol. 7 No. 2 2014

สองรสชาติทค่ี ล้ายคลึงกัน แต่มสี ที แ่ี ตกต่างกัน และเป็น ได้วา่ อย่างไร จะทำ�ให้ปราศจากข้อมูลทีค่ าดเคลือ่ นหรือ
สีพน้ื ได้แก่มาการองสีเหลืองคือมาการองรสเลมอน และ อคติไปได้
มาการองสีฟา้ คือมาการองรสเสาวรส ด้วยความที่ มาการอง
สีเหลืองสามารถสือ่ ความเป็นเลมอนได้เนือ่ งจากลูกเลมอน ข้อเสนอแนะสำ�หรับการทำ�วิจยั ในอนาคต
ก็มสี เี หลืองเหมือนกัน ทำ�ให้เกิดความเชือ่ มโยงได้งา่ ยกว่า 1. ควรมีการวิจยั ในกลุม่ ประชากรทีอ่ าศัยในต่างจังหวัด
มาการองรสเสาวรสที่มีสีฟ้า ซึ่งไม่มีความเกี่ยวเนื่องกัน และหัวเมืองใหญ่ ๆ ทีม่ หี า้ งสรรพสินค้า ซึง่ สามารถนำ�มา
แต่เนื่องจากผู้เข้าร่วมการทดลองส่วนหนึ่งไม่รู้รสชาติ เปรียบเทียบผลของพฤติกรรมการซือ้ สินค้าของประชากร
ของเสาวรสว่ามีรสชาติเป็นอย่างไรและมาการองสีฟา้ นัน้ ในเขตกรุงเทพมหานครและในต่างจังหวัด
ดู ไ ม่ เ หมาะกั บ การนำ � มาใช้ เ ป็ น ขนมหวาน จึ ง เป็ น 2. สถานทีท่ �ำ การทดลองควรจะเพิม่ หมวดหมูข่ อง
อีกปัจจัยหนึ่งที่ทำ�ให้พฤติกรรมการเลือกซื้อเปลี่ยนไป สถานทีท่ �ำ การทดลอง เพือ่ ศึกษาว่าการใช้ตวั กระตุน้ ทาง
อีกทั้งการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการพบว่าสีของ ประสาทสัมผัสในร้านอาหารหรือร้านกาแฟและเป็นการ
มาการองนั้นส่งผลต่อปัจจัยการเลือกซื้อมาการองของ ทดลอง
ผูเ้ ข้าร่วมการทดลองจำ�นวนหนึง่ ด้วย 3. ตัวกระตุน้ ทีใ่ ช้ในการทดลองนีม้ กี ารใช้ตวั กระตุน้
ผู้วิจัยเลือกใช้การผสานตัวกระตุ้นการมองเห็นและ การมองเห็น ตัวกระตุ้นการได้กลิ่น และทั้งตัวกระตุ้น
การได้ ก ลิ่น เนื่อ งจากจุ ด เด่ น ของคาเฟ่ ข นมหวาน การมองเห็นและการได้กลิน่ ซึง่ เมือ่ ผสานการรับรูป้ ระสาท
คือ บรรยากาศการตกแต่งร้านที่เต็มไปด้วยขนมหวาน สัมผัสมากขึ้นเท่าไรก็จะยิ่งส่งผลให้อัตราการเลือกซื้อ
และกลิ่นที่ส่ือถึงขนมหวานของร้านคาเฟ่ขนมหวาน สินค้าชนิดนั้นเพิ่มสูงขึ้น จึงควรมีการศึกษาและวิจัย
ซึง่ ตัวกระตุน้ ทัง้ สองชนิดทีใ่ ช้นน้ั เป็นไปในทิศทางเดียวกัน การผสานตัวกระตุน้ ทีใ่ ช้ในการทดลองตัง้ แต่ 3 ตัวขึน้ ไป
จึงเกิดการเสริมแรงกระตุน้ มากขึน้ กล่าวคือ เมือ่ ตัวกระตุน้ เพื่อมาเปรียบเทียบผลระหว่างการทดลองที่ใช้ตัวกระตุ้น
การมองเห็นดึงดูดทางสายตา และกลิ่นหอมของการ 1 ชนิดและ 2 ชนิด หรือเปลี่ยนตัวกระตุ้นสัมผัส
ได้กลิน่ ทำ�ให้สอ่ื ถึงขนมหวาน ทำ�ให้ตวั กระตุน้ เสริมแรงกัน เป็นรูปแบบอืน่ ๆ เช่น ตัวกระตุน้ การได้ยนิ เป็นต้น
และอยากรับประทานมากขึ้น ทำ�ให้อัตราการเลือกซื้อ 4. ควรมีการวิจัยในเชิงประสาทวิทยาในลักษณะ
สินค้านัน้ สูงขึน้ ซึง่ หากเลือกตัวกระตุน้ ทีไ่ ม่เสริมแรงกัน การทดลองในห้องวิทยาศาสตร์ กล่าวคือการทดลองทีม่ ี
จะทำ�ให้อตั ราการเลือกซือ้ นัน้ ต่�ำ ลง การตรวจสอบการทำ�งานของสมอง เพือ่ อธิบายพฤติกรรม
จากการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ เมื่อผู้วิจัย ของการเลือกซื้อสินค้าจากการได้รับตัวกระตุ้นประสาท
สอบถามผู้เข้าร่วมการทดลองทำ�ให้เกิดขั้นตอนการ สัมผัส โดยอธิบายในลักษณะรูปแบบการทำ�งานของสมอง
จดจำ� (Recognition) ซึง่ จะนำ�การรับรูท้ ไ่ี ด้กอ่ นหน้านีท้ ง้ั และในเชิงวิทยาศาสตร์มากขึน้
การรับรู้โดยจิตสำ�นึก จิตใต้สำ�นึกและ/หรือจิตไร้สำ�นึก 5. ควรศึกษาและวิจัยถึงทัศนคติท่ีมีอิทธิพลต่อ
มาประมวลผล ซึง่ สุดท้ายแล้วคำ�ตอบทีไ่ ด้จะถูกตอบออกมา พฤติกรรมการซื้อสินค้าประเภทคาเฟ่ขนมหวานเพิ่มเติม
ผ่านจิตสำ�นึก โดยคำ�ตอบทีไ่ ด้อาจจะเกิดความคลาดเคลือ่ น ได้แก่ สี ราคา กลุม่ เพือ่ นหรือแฟนทีม่ า หรือสภาพแวดล้อม
หรืออาจมีอคติ (Bias) ดังนัน้ หากการนำ�เครือ่ งมือวิทยาศาสตร์ เป็นต้น นอกเหนือจากการศึกษาอิทธิพลต่อการซื้อ
ที่ใช้ในการตลาดประสาทวิทยาเช่น fMRI มาทดสอบ สินค้าเพียงอย่างเดียว ดังที่ได้แสดงผลในการวิจัยครั้งนี้
ว่าสมองส่วนไหนถูกกระตุน้ เมือ่ ผูว้ จิ ยั ทำ�การสัมภาษณ์ เพื่อจะได้นำ�ผลลัพธ์ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์ในแวดวงการ
ก็ จ ะรู้ ว่ า สมองส่ ว นไหนกำ � ลั ง ทำ � งาน และแปรผล สือ่ สารการตลาดเชิงประสาทวิทยาได้อย่างสมบูรณยิง่ ขึน้
วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 2557 ...111

รายการอ้างอิง
ภาษาไทย
กาญจนา แก้วเทพ. (2542). การวิเคราะห์สอ่ื แนวคิดและเทคนิค. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: เอดิสนั เพรสโปรดักส์.
พรรณทิพย์ ศิรวิ รรณบุศย์. (2549). ทฤษฎีจติ วิทยาพัฒนาการ. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมาลี เล็กประยูร. (2552). การสร้างสรรค์สอ่ื แฝงในบรรยากาศ (Ambient Media): ช่องทางการสือ่ สารทีก่ �ำ ลังกลาย
เป็นเทรนด์ใหม่. นักบริหาร 29 (เมษายน – มิถนุ ายน): 53-56.
อริยะ สุพรรณเภษัช. (2545). พัฒนา IQ. EQ. MQ. และสมาธิดว้ ยพลังคลืน่ เสียง. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภาษาอังกฤษ
Agrawal, K. (2013). Neuromarketing: Overview. Research Journal of Commerce & Behavioral Science, 2(7), 42-54.
Bargh, J.A. (ed.). (2006). Social psychology and the unconscious: The automaticity of higher mental
processes. Philadelphia: Psychology Press.
Gellner, E. (1985). Relativism and the social sciences. Australia: Cambridge University Press.
Herz, R.S., & Engen, T. (1996). Odor memory: Review and analysis. Psychonomic Bulletin and Review,
3(3), 300-313.
Herz, R.S. (1998). Are odors the best cues to memory? A cross-modal comparison of associative memory
stimuli. Annuals of New York Academy of Sciences, 855(1), 670-674.
.(2010). The emotional, cognitive and biological basics of olfaction: Implications and considerations for
scent marketing. In Krishna A. (Ed). Sensory Marketing. (pp. 87-107). NY: Taylor & Francis Group.
Hickok, G. (2009). Eight problems for the mirror neuron theory of action understanding in monkeys and
humans, Journal of Cognitive Neuroscience, 21(7), 1229-1243.
Huffen, B. (2009). Sensory marketing. New York: Palgrave Macmillan.
Kotler, P. (1973). Atmospherics as a marketing tool. Journal of Retailing, 49(4), 48.
.(2000). Marketing Management (The Millenium ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.
Lindstrom, M. (2005). Broad sensory branding. Journal of Product & Brand Management, 14(2), 84-87.
151 Lindstrom, M. (2006). Brand sense: How to build powerful brands through touch, taste, smell, sight
and sound. London: Kogan Page Limited.
Luxton, S., & Drummond, L. (2000). What is this thing called "Ambient Advertising"? Paper presented at
the ANZMAC 2000 Visionary Marketing for the 21st Century: Facing the Challenge, Monash University.
Morrin, M. (2010). Sensory marketing: Research on the sensuality of products (Aradhna Krishna ed.).
NY: Routledge, Psychology Press.
Nisbett, R. E., & Wilson, T. D. (1977). Telling more than we can know: Verbal reports on mental processes.
Psychological Review, 84(3), 231-259.
112... Journal of Public Relations and Advertising Vol. 7 No. 2 2014

Pacherie, E., & Dokic, J. (2006). From mirror neurons to joint actions. Cognitive Systems Research, 7(2-3), 101-112.
Pradeep, A. K. (2010). The buying brain: Secrets for selling to the subconscious mind. NJ: John Wiley & Sons.
Renvoise, P., & Morin, C. (2007). Neuromarketing: Understanding the "Buy Button" in your customer's
brain. Nashville: Thomas Nelson.
Rizzolatti, G., & Sinigaglia, C. (2006). Mirrors in the brain: How our minds share actions, emotions,
and experience. NY: Oxford University Press.
Schermerhorn, J. R., Hunt, J. G., & Osborn, R. N. (1982). Managing organizational behavior. NY: Wiley.
Schiffman, L. G., & Kanuk, L. L. (2007). Consumer behavior (9 ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Shimp, T. A. (2000). Advertising, promotion, and supplemental aspects of integrated marketing communications
(5 ed.). Fort Worth, TX: Dryden Press.
Solomon, M. R. (2013). Consumer behavior: Buying, having, and being (10 ed.). NJ: Pearson.
Suomala, J., Palokangas, L., Leminen, S., Westerlund, M., Heinonen, J., & Numminen, J. (2012). Neuromarket-
ing: understanding customers' subconscious responses to marketing. Technology Innovation Management
Review. December 2012: 12–21.
Vlahos, J. (2007). Scent and sensibility: Can smell sell? New York Times Magazine, 6 September 2007, 69-73.
Wells, M. (2003). In search of the buy button. Forbes Global, 6, 34.
Zurawicki, L. (2010). Neuromarketing: Exploring the Brain of the Consumer. New York: Springer.

You might also like