Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

1. Interest Formulas Relating a Geometric Sequence of Cash Flows.

ระบบการจายเปนอนุกรม ( Uniform Series Payment System)


การรับเงินหรือจายเงินอาจมีหลายจำนวนและจำนวนเทา ๆ กัน เชน การกูยมื เงินจากธนาคารจะตองผอน
ชำระครั้งละเทา ๆ กัน ทุกชวงเวลา ดังนั้นเพื่อความสะดวกในการคำนวณจึงใชระบบการจายเปนอนุกรมมาชวยใน
การคำนวณ โดยกำหนดให
A แทน จำนวนเงินรับหรือเงินจายที่มีจำนวนเงินเทาๆ กันตลอด และมีการรับหรือจายเงินอยางสม่ำเสมอ
ทุกชวงเวลา
ถาสมมติวาเราสามารถกูเงินจากธนาคารจำนวน P บาท คาดวาจะผอนชำระทุกชวงเวลาเปนเวลา n
ชวงเวลา เริ่มจากชวงเวลาที่ 1 จำนวนชวงเวลาละ A บาท มีอัตราดอกเบี้ย i% ตอชวงเวลา สามารถเขียนผังแสดง
การรับ-จายเงิน ดังแสดงในรูปดังตอไปนี้

รูปที่ 1 ผังแสดงการรับ-จายเงินในการกูเงินกับธนาคาร

จากรูปขางตนสามารถแยกเปนผังแสดงการรับ-จายเงินยอย ๆ ดังรูปตอไปนี้

รูปที่ 2 ผังแสดงการรับ-จายเงินยอยของรูปที่ 1
โดย P = P1 + P2 + P3 + ........ + Pn-1 + Pn
จะไดวา
P1 = A(P/F, i%, 1)
P2 = A(P/F, i%, 2)
P3 = A(P/F, i%, 3)
: :
: :
Pn-1 = A(P/F, i%, n-1)
Pn = A(P/F, i%, n)
เนื่องจาก P = P1 + P2 + P3 + ........ + Pn-1 + Pn
ดังนั้น
P = A(P/F, i%, 1) + A(P/F, i%, 2) + A(P/F, i%, 3)+ .... + A(P/F, i%, n-1) + A(P/F, i%, n)
= A [(P/F, i%, 1) + (P/F, i%, 2) + (P/F, i%, 3)+ ... + A(P/F, i%, n-1) + A(P/F, i%, n)]
P= (1)

นำสมการ (1) หารดวย 1+i ทั้งสองขาง จะได

(2)
นำสมการที่ (1) ลบดวยสมการที่ (2)

(3)
เรียก วา Uniform Series Present-Worth Factor เขียนแทนดวยสัญลักษณ “(P/A, i%,
n)” ซึ่งแสดงดังภาคผนวก และจากสมการที่ (3) จะไดวา
P = A(P/A, i%, n) (4)

ตัวอยาง 1 ฝากเงินป ๆ ละ 1,000 บาท ฝากเปนระยะเวลา 30 ป ที่อัตราดอกเบี้ย 10% ตอป จะไดรับ


เงินเทาใดเมื่อครบระยะเวลา 30 ป
วิธีทำ F = A(F/A, i%, n)
= 1,000 (F/A, 10%, 30)
= 1,000 (164.4940)
= 164,494.00 บาท

รูปที่ 3 ผังแสดงการรับ-จายเงินของตัวอยางที่ 1
2. Interest Formulas for Continuous Compounding and Discrete Cash Flows.
มูลคาเงินตามเวลา กับ อัตราดอกเบี้ย (Time Value of Money and Interest Rates)
เนื่องจากการประเมินมูลคาสินทรัพยทางการเงินลวนอาศัยพื้นฐานความรูของการคิด “มูลคาเงินตามเวลา
(Time Value of Money)” โดยมี ข  อ ตกลงร ว มกั น คื อ การใช การคิ ด อั ต ราดอกเบี ้ ย แบบทบต น ทบดอก
(Compounding Interest) การคิดดอกเบี้ยแบบทบตนทบดอกแยกยอยไดสองแบบคือ การคิดอัตราดอกเบี้ยแบบ
ไม ต  อ เนื ่ อ ง (Discrete Compounding Interest) และการคิ ด อั ต ราดอกเบี ้ ย แบบต อ เนื ่ อ ง (Continuous
Compounding Interest) โดยทั่วไปตราสารทางการเงินจะมีการคิดดอกเบี้ยแบบไมตอเนื่อง และแมวาในความ
เปนจริงแทบจะหาตราสารทางการเงินที่จายดอกเบี้ยแบบตอเนื่องไมไดเลย แตก็จำเปนตองศึกษาการคิดอัตรา
ดอกเบี้ยแบบตอเนื่องอยู เพราะสามารถนำไปใชประโยชนตอในเชิงคณิตศาสตรได โดยเฉพาะอยางยิ่งตราสาร
อนุพันธที่มูลคาของมันถูกกำหนดจากมูลคาของสินทรัพยอื่น
อัตราดอกเบี้ยแบบไมตอเนื่อง (Discrete Compounding) ใช (1+อัตราดอกเบี้ย) ยกกำลัง
หากไมมีการกำหนดเปนอยางอื่น การคิดอัตราดอกเบี้ยจะหมายถึงการคิดอัตราดอกเบี้ยแบบทบตนทบ
ดอกแบบรายป (per annum) เสมอ ดังนั้นถาตราสารทางการเงินมีการจายดอกเบี้ยที่มากกวาปละหนึ่งครั้ง การ
คิดดอกเบี้ยแบบไมตอเนื่อง (Discrete Compounding) จึงตองทำการแปลงเปนการจายตองวดแทน
ตัวอยาง 2 กำหนดใหอัตราดอกเบี้ย (r) เทากับ 10% จายดอกเบี้ยทุก 6 เดือน (ความถี่ในการจ าย
ดอกเบี้ยตอปหรือ m=2 ) สำหรับเงินลงทุนจำนวน 1,000 บาท (PV) มูลคาอนาคตในอีก 1 ป ขางหนา (t)
วิธีทำ

อัตราดอกเบี้ยแบบตอเนื่อง (Continuous Compounding) ใช exponential ยกกำลัง


ตัวอยาง 3 จากตัวอยาง 2 ถาเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย 10% เปนแบบตอเนื่อง มูลคาอนาคตในอีก 1 ป
ขางหนาจะได
วิธีทำ

เนื่องจากการคิดดอกเบี้ยแบบตอเนื่องเกิดมากอนการคนพบตัวเอ็กซโปเนนเชียล “Jacob Bernoulli”


จึงไดรับการยกยองวาเปนผูคนพบตัวเอ็กซโปเนนเชียล จากความพยายามในการศึกษาการคำนวณมูลค าของ
ดอกเบี้ยทบตนแบบตอเนื่องในปค.ศ. 1683 หรือ ซึ่งก็คือคาคงที่ e ทำใหสูตรในการคำนวณ
จึงเปลี่ยนจาก 1+ อัตราดอกเบี้ย ไปเปนตัวเอ็กซโปเนนเชียล (exponential base หรือ e)
การพิสูจนแนวคิด FVt=PV × ert การคิดดอกเบี้ยทบตนทบดอกแบบตอเนื่องก็คือ การที่ดอกเบี้ยแบบไม
ตอเนื่องที่มีความถี่ในการจายดอกเบี้ยตอปสูงมาก (m→∞m→∞) ดังนั้นมูลคาของการคิดดอกเบี้ยทบตนทบ
ดอกแบบตอเนื่อง คือ limm→∞ สมมติตัวแปร ดังนั้น และ จะไดวา

Take limit m→∞, สำหรับ 0 < r < ∞,

ดังนั้นสำหรับการลงทุนดวยเงินเริ่มตน PV บาท เปนเวลา t ป จะไดวา FVt=PV × ert ซึ่งเปนสูตรที่


นิยมใชกันทั่วไป
3. Interest Formulas for Continuous Compounding and Continuous Cash Flows.
การคิดดอกเบี้ยทบตน กรณีมีการลงทุนหลายครั้ง ครัง้ ละเทาๆ กัน
การคํานวณกรณีนี้จะตองคํานวณดวยวิธีการลงทุนในปจจุบันครั้งเดียวทีละคาแลว จึงนำมารวมกันเปน
ผลตอบแทนรวมในอนาคต ซึ่งการลงทุนนหลายครั้ง ครั้งละเทา ๆ กัน หมายถึง จํานวนเงินตนทั้งหมดทุกงวดที่
นำมาลงทนในแตละงวดจะตองเทากัน และรวมกับดอกเบี้ยทบตนทั้งหมดตลอดระยะเวลาที่ลงทุน
กรณีที่ไดรับดอกเบี้ยปละครั้ง ลงทุนตอนสิ้นงวด

เพื่อความสะดวกในการหาคา ซึ่งมีผูคิดตารางสําเร็จรูปที่ เรียกวา ตารางปจจยดอกเบี้ย


ของมูลคาเงินในอนาคต สําหรับการลงทุนหลายครั้ง ครั้งละเทา ๆ กัน คือ ตาราง A-2 Future Value Interest
Factors for $1 Annuity ใชตัวยอวา FVIFA หรือเรียกอีกอยางวา Compound Value Interest Factors for $1
Annuity ใชตัวยอวา CVIFA จากสูตรขางตนเขียนใหมไดดังนี้ เมื่อเปดตารางปจจัยดอกเบี้ย
ตัวอยาง 4 นายโชคชัยนําเงินฝากธนาคารทุกสิ้นป ปละ 1,000 บาท เปนระยะเวลา 5 ป อัตราดอกเบี้ย
ทบตน 8% ตอป อยากทราบวาเมือ่ สิ้นปที่ 5 นายโชคชัยจะไดงินทั้งหมดเทาไร

จะเห็นไดวาการคํานวณทั้งสองวิธีใหผลลัพธที่เทากัน แตถาเปดตาราง A-2 (FVIFA) เราสามารถหาคำได


รวดเร็วกวา การคํานวณทีละปแลวนําผลมารวมกัน

กรณีที่ไดรับดอกเบี้ยปละครั้ง ลงทุนตอนตนงวด
ถาหาคาจากตารางปจจัยดอกเบี้ย

ตัวอยาง 5 นายโชคชัยนําเงินฝากธนาคารทุกตนป ปละ 1,000 บาท เปนระยะเวลา 5 ป อัตราดอกเบี้ย


ทบตน 8% ตอป อยากทราบวาเมือ่ สิ้นปที่ 5 นายโชคชัยจะไดงินทั้งหมดเทาไร

ดังนั้น นายโชคชัยฝากเงินทุกตนป ปละ 1,000 บาท เมื่อครบ 5 ป นายโชคชัยจะมีเงินทัง้ หมด 6,335.90 บาท

กรณีที่ไดรับดอกเบี้ยปละหลายครั้ง ลงทุนตอนสิ้นงวด

ถาหาคาจากตารางปจจัยดอกเบี้ย

ตัวอยาง 6 นายธารินทรนําเงินไปฝากกับสถาบันการเงินแหงหนึ่ง งวดละ 1,000 บาท ทุกสิ้นเดือนที่ 6


และ เดือนที่ 12 ซึ่งไดรับดอกเบี้ยทบตนทุก 6 เดือน ในอัตรา 12% ตอป เมื่อสิ้นปที่ 3 นายธารินทรจะมีเงินอยูใ น
บัญชีเงินฝากเทาไร
ดังนั้น ถานายธารินทรฝากเงิน 1,000 บาท ทุกสิ้นเดือนที่ 6 และเดือนที่ 12 เปนเวลา 3 ป (6 งวด) นาย
ธารินทรจะมีเงินในบัญชีเทากับ 6,975.30 บาท

กรณีที่ไดรับดอกเบี้ยปละหลายครั้ง ลงทุนตอนตนงวด

ถาหาคาจากตารางปจจัยดอกเบี้ย

ตัวอยาง 7 นายธารินทรนําเงินไปฝากกับสถาบันการเงินแหงหนึ่ง งวดละ 1,000 บาท ทุกตนเดือนที่ 1


และ เดือนที่ 6 ซึ่งไดรับดอกเบี้ยทบตนทุก 6 เดือน ในอัตรา 12% ตอป เมื่อสิ้นปที่ 3 นายธารินทรจะมีเงินเทาไร
ในอัตราดอกเบี้ยเทาเดิม

ดังนั้น เมื่อนายธารินทรนำเงินมาฝากทุกตนเดือนที่ 1 และตนเดือนที่ 6 เมื่อสิ้นปที่ 3 นายธารินทรจะมีเงิน


ทั้งหมด 7,393.80 บาท
4. The External Rate of Return Method.
อัตราผลตอบแทนภายนอก (External Rate of Return หรือ ERR)
เป น อั ต ราผลตอบแทนภายนอกโครงการ อั ต ราผลตอบแทนภายนอกก็ ค ื อ ค า เสี ย โอกาสของทุ น
(Opportunity Cost of Capital) ซึ่งอาจเปนอัตราดอกเบี้ยเงินกูของสถาบันการเงิน อัตราผลตอบแทนขั้นต่ำที่
หนวยธุรกิจยอมรับได หรืออัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในระยะยาวตามที่กฎหมายกำหนด เชน อัตราดอกเบี้ย
พันธบัตรรัฐบาล หรือตนทุนหนวยสุดทายของเงิน (Marginal Cost of Capital) ซึ่งนักวิเคราะหโครงการใชเปน
อัตราสวนลด (i) ในการคำนวณมูลคาปจจุบันนั่นเอง
Opportunity cost of capital หรือผลตอบแทนของโครงการที่ตองการขั้นต่ำที่ควรไดรับ อาจเทาหรือไม
เทากับผลตอบแทนที่ตองการจากการลงทุน (Required rate of return) ก็ได ในทางทฤษฎี Opportunity cost
of capital เปนผลตอบแทนที่คารไดเมื่อลงทุนในสินทรัพยที่มีความเสี่ยงคลายกัน
ตัวอยาง 8 กิจการลงทุนในธุรกิจ A ซึ่งทำทางดานปโตรเคมี ผลตอบแทนขั้นต่ำคือผลตอบแทนที่ควรไดรับ
จากการลงทุนในธุรกิจ A คือ ไมควรนอยกวาการเอาเงินไปซื้อหุนกิจการทางดานปโตรเคมี ซึ่งมองเงินปนผลที่ไดรับ
และผลตอบแทนจากมูลคาหลักทรัพยในการลงทุนระยะยาวนาน
การพิจารณาอัตราคิดลดของสินทรัพยหรือโครงการลงทุนที่ตองการตัดสินใจลงทุนอัตราคิดลดที่ดีที่สุดจะ
ใชคือ WACC โดยมีเงื่อนไขคือ
1. สินทรัพยหรือโครงการมีลักษณะความเสี่ยงไมแตกตางจากความเสี่ยงของกิจการที่ดำเนิน อยู
อยางเปนสาระสำคัญ
2. โครงสรางการจัดหาแหลงเงินทุนในการซื้อสินทรัพยมาดำเนินงานไมแตกตางจากโครงสราง
ทุนเดิมหรือไมกระทบตอโครงสรางทุนเดิม เชน สินทรัพยอาจจัดซื้อดวยเงินสดของกิจการเอง
หรือกูเงินมาซื้อแตการกูไมกระทบตอ D/E Ratio (เพราะขนาดสินทรัพยไมมากนัก) เปนตน
3. ตนทุนในการจัดหาแหลงเงินทุนทั้งหนี้สิน (Debt) และหุนทุน (Equity) ไมเปลี่ยนแปลงจากเดิม
เนื่องจากสินทรัพยทั้งหมดในงบดุลของกิจการถือไดวามีตนทุนของแหลงเงินทุนเทากัน เพราะมีเจาของ
แหลงเงินทุนเพียง 2 แหลง จึงจะแยกความเสี่ยงของสินทรัพยในงบดุลใหแตกตางออกไปจากกันอยางอิสระในสวน
ที่เปนหุนทุนไมได การพิจารณาสวน Equity จึงตองมองในภาพรวม คือ จากราคาหุนของกิจการหรือราคาหุนที่ทำ
ธุรกิจเดียวกัน (แขงขันในอุตสาหกรรมเดียวกัน) ตัวแปรสำคัญคือ ถากิจการลงทุนในหนวยสินทรัพยหรือโครงการ
หรือเงินทุนที่มีธุรกิจแตกตางจากธุรกิจหลักของกิจการ ทำใหความเสี่ยงตางกัน หนวยสินทรัพยนั้นจึงคอยนำมา
พิจารณาตนทุนเฉพาะในสวนเงินทุน (Equity) ที่แตกตางออกไป
WACC แตละกิจการแตกตางกันขึ้นกันการใชประโยชนจาก Leverage แตถาเปนธุรกิจเดียวกัน Ke หรือ
Re จะเทากันเมื่อพิจารณาบนลักษณะของทุนที่เปน Unleverage Firm การที่จะถือเอาตนทุนกิจการอื่ นแลว
สรุปวาเปน Cost of Capital ทันทียอมไมเหมาะสม เพราะกิจการอื่นก็จะใช (มองกลับกัน) ตนทุนเงินทุนของ
กิจการเปน Cost of Capital ดวย ซึ่งทางทฤษฎีมีวิธีการคำนาณหา Ke ไดจาก
Ke = Ko + D/E * (Ko – Kd) : Ko = Cost of Unleverage Firm
Ke = rf + ßi (rm – rf )
ßi = ßo* (1 + D/E) * กรณีมีภาษีเกี่ยวของ ßi = ßo (1 + D/E * (1 – t))
ดังนั้น ß หรือ Ke จะสูงหรือต่ำขึ้นกับความเสี่ยงของกระแสเงินสดที่คาดหวังในอนาคต อัตราคิดลดหากมี
การคิดดวยตนทุนถัวเฉลี่ยยอมตองหมายความรวมถึง ความเสี่ยงของกระแสเงินสดในอนาคตที่ไดประมาณการไว
แลว
การที่เลือกอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมในตลาด หรือตนทุนของเงินทุนของกิจการโดยไมพิจารณาโครงสรางทุน
จะไดอัตราคิดลดที่ไมเหมาะสมเพราะ
rd = Risk free rate + Default Risk + Time Risk
WACC = D/(D+E) * rd *(1-t) + E/(D+E) * re
re = Risk free rate + ß * (Market Premium)
หากกิจการเลือกใชอัตราคิดลดที่ต่ำ (โดยปกติทั่วไป rd จะต่ำกวา Ke และ WACC) ก็อาจทำใหสินทรัพย
นั้นมีมูลคาสูงขึ้น
ตัวอยาง 9 จากขอมูลตอไปนี้จะพบวาอัตราคิดลดที่ตางกันเพียง 1% ในระยะเวลา 5 ป ของกระแสเงินสด
ที่เทา ๆ กันทุก 100 บาท จะใหผลตางกัน
วิธีทำ
NPV ของกระแสเงินสดใน 5 ปขางหนาปละ 100 บาท ที่อัตราคิดลด 15% = 335.22 บาท
NPV ของกระแสเงินสดใน 5 ปขางหนาปละ 100 บาท ที่อัตราคิดลด 10% = 379.08 บาท
อยางไรก็ตามในทางแนวคิดและทฤษฎีทางการเงินมุงที่จะใหนักลงทุนมองเห็นมูลคาของสินทรัพยที่
สะทอนความสามารถในการกอใหเกิดกระแสเงินสดในอนาคต หากความสามารถในการกอใหเกิดกระแสเงินสดต่ำ
กว า ผลตอบแทนที่ ค าดหวั ง มู ล ค า ของสิ น ทรั พ ย ค วรปรั บ ตั ว ลดลงไปสู  ม ู ล ค า แท จ ริ ง ในทฤษฎี ก ารลงทุ น
(Investment Theory) อัตราผลตอบแทนที่เ หมาะสมในการเป นอัตราคิดลดควรเปน อัตราผลตอบแทนที ่เ สี ย
โอกาส (Opportunity Cost of Capital) ซึ่งหมายถึงอัตราผลตอบแทนของหุนทุนในตลาดทุน

You might also like