Lecture 2

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 51

การวัด และเครืองมือ วัด ทางไฟฟ้ า

Electrical Measurement and Instrumentation

L E C T UR E 2
ผู้ บ ร ร ย า ย : ผ ศ . ด ร . ช น ม์ รั ต น์
ต ติ ย ะว ร นั น ท์
ตํา ร า : ห นั ง สื อกา ร วั ด และเ ค รื่ อง มื อวั ด ฉ บั บพิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2
โด ย ผ ศ . ชั ย บู ร ณ์ กั ง สเ จี ย ร ณ์

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

คุณสมบัติของระบบการวัด
ค่าผิดพลาด ความไม่แน่นอน ความแม่นยํา
 ค่าปริมาณวัด (value of measurand) หรือค่าจริง (true value) คือ ค่าที่ระบุมา
หรือค่าที่ได้รับการยอมรับแล้ว
 ค่าผิดพลาด (error) คือ ค่าความแตกต่างระหว่างค่าวัด (measured value) กับค่า
ปริมาณวัด
 ค่าผิดพลาดสัมบูรณ์ (absolute error) คือ ขนาดของค่าผิดพลาดที่บอกเป็นตัวเลข
พร้อมกับหน่วย
 ค่าผิดพลาดสัมพัทธ์ (relative error) คือ อัตราส่วนเปรียบเทียบระหว่างค่าผิดพลาด
สัมบูรณ์กับค่าปริมาณวัด
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ความไม่แน่นอน (uncertainty) คือขอบเขตของค่าผิดพลาด


e  xn  y
e
E
y
e
percent E   100%  E  100%
y
โดยที่ y = ค่าปริ มาณวัด
xn = ค่าจากการวัดแต่ละครั้ง (n =1,2,3,…,n)
e = ค่าผิดพลาดสัมบูรณ์ (absolute error)
E = ค่าผิดพลาดสัมพัทธ์ (relative error)

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

: ในความเป็ นจริ งจะไม่มีทางทราบได้ท้ งั ค่าปริ มาณวัดและค่าผิดพลาด แต่สามารถหาความไม่


แน่นอนได้
: ต้องใช้วธิ ีการทางสถิติมาวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของผลการวัด โดยใช้กระบวนการวัดแบบ
ทวนซํ้า
: ค่าวัดทวนซํ้าแต่ละครั้งเรี ยกว่า ค่าชักตัวอย่าง (sampled value)
: เมื่อได้ค่าชักตัวอย่างมากพอจะสามารถเขียนกราฟแสดงฟังก์ชนั ความหนาแน่นของความ
น่าจะเป็ น (probability density function, PDF) ได้
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

: ค่าปริ มาณวัดอาจเป็ นค่าใดค่าหนึ่งในช่วงของค่าชักตัวอย่างทั้งหมด


: ค่าเฉลี่ยของค่าชักตัวอย่างคือ ตัวกลางเลขคณิ ต (arithmetic mean)
: ลักษณะการกระจายของค่าวัดจากค่าเฉลี่ย บอกได้ดว้ ยค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(standard deviation) ซึ่งก็คือความไม่แน่นอน (uncertainty)
: ตัวประกอบขอบเขต (coverage factor) คือตัวเลขที่คูณเข้ากับความไม่
แน่นอนเพือ่ ให้เป็ นความไม่แน่นอนขยาย (expanded uncertainty)
: ช่วงของความไม่แน่นอนทั้งหมดเรี ยกว่า ช่วงความเชื่อมัน่ (confidence
interval)
: ระดับความเชื่อมัน่ (level of confidence) คือตัวเลขบอกความน่าจะเป็ นของ
ค่าวัดทั้งหมดที่จะอยูภ่ ายในช่วงความเชื่อมัน่ ที่กาํ หนด

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ค่าความเชื่อมัน่ 3 ซิกม่า ( 3 ) หมายความว่า ถ้าเราวัดค่าปริ มาณวัด 1000 ครั้ง จะมีโอกาส


3 ครั้งที่ค่าที่วดั จะห่างจากค่าเฉลี่ยไปมากกว่า 3 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ความแม่นยํา (accuracy) คือ การเปรี ยบเทียบระหว่างค่าปริ มาณวัดกับ


ค่าวัด

e
A  1
y
 e
percent A  1    100%
 y
percent A  100%  percent E

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ตัวอย่างที่ 2.1 แอมมิเตอร์ตวั หนึ่งมีพิสยั การวัด 150 A และมีค่าผิดพลาด


 0.1%  reading   0.3%  full-scale  นําไปวัดกระแสที่ระบุไว้วา่ มีค่า 120 A
แต่วดั แล้วได้ผลการวัด 118 A ให้คาํ นวณหาเปอร์เซ็นต์ความแม่นยําของการวัด
ครั้งนี้
จงหา
e = ค่าผิดพลาดสัมบูรณ์ (absolute error)
percent E = ร้อยละค่าผิดพลาดสัมพัทธ์ (relative error percent)
percent A = ร้อยละค่าความแม่นยําสัมพัทธ์ (relative accuracy
percent)
(เสริ ม การบ้านที่ 2.1 ด้วย)
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ความเทีย่ งตรง
ความเที่ยงตรง (precision) คือ ความเข้าใกล้กนั ระหว่างค่าวัดแต่ละครั้ง ที่ได้จาก
การวัดทวนซํ้า เป็ นตัวบอกคุณสมบัติของระบบหรื อเครื่ องมือวัดในการวัดปริ มาณตัวเดียวกันซํ้าๆ
กัน ถ้าผลการวัดส่ วนใหญ่มีค่าใกล้เคียงกันก็หมายถึงว่าระบบการวัดมีความเที่ยงตรง หรื อกล่าวได้
อีกอย่างว่าระบบมีค่า ผิดพลาดสุ่ มน้อย แต่ไม่ได้หมายความว่าค่าวัดที่ได้จะต้องแม่นยํา เพราะ
ไม่ได้หมายความว่าระบบการวัดมีค่าผิดพลาดเชิงระบบน้อย

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

xn  x
P  1
x

โดยที่ x = ตัวกลางเลขคณิ ต
P = ความเที่ยงตรง
ความเที่ยงตรงต่างจากความแม่นยํา
เที่ยงตรงไม่จาํ เป็ นต้องแม่นยํา
แต่ถา้ แม่นยํามากก็ตอ้ งเที่ยงตรง
มากด้วย
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ตัวอย่างที่ 2
โวลต์มิเตอร์ตวั หนึ่งระบุวา่ มีพิสยั การวัด 300 V นําไปวัดแรงดันที่ตก
คร่ อมโหลด โดยทําการวัด 5 ครั้งแล้วได้ผลการวัดมาดังนี้
ครั้งที่ ค่าวัด
1 232 V
2 248 V
3 243 V
4 246 V
5 245 V
ผลการวัดครั้งใดเที่ยงตรงที่สุด ให้คาํ นวณหาค่าความเที่ยงตรงครั้ง
นั้น พร้อมทั้งคํานวณหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าวัดทั้งหมดด้วย

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ความจําแนกชัดและเสถียรภาพ
ความจําแนกชัดของระบบการวัด (resolution of a measuring
system) คือ การเปลี่ยนแปลงขนาดปริ มาณวัดที่เล็กที่สุดที่ระบบการวัดสามารถวัด
และแสดงผลออกมาได้
ความจําแนกชัดของส่ วนแสดงผล (resolution of a displaying
device) คือ ความแตกต่างที่เล็กที่สุดของส่ วนชี้ค่าวัดในอุปกรณ์แสดงผลที่สามารถ
แยกแยะค่าวัดได้
: ความจําแนกชัดขึ้นอยูก่ บั พิสยั การวัดและส่ วนแสดงผลของเครื่ องมือวัด
: สิ่ งที่มีผลต่อความจําแนกชัดคือ สัญญาณรบกวนและความเป็ นเชิงเส้นของระบบ
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

เสถียรภาพ (stability)
คือ ความแน่นอนเที่ยงตรงของระบบการวัดใน สภาวะแวดล้อมของการวัด รวมถึง
ความสามารถในการป้องกัน (immunity) ต่อสัญญาณรบกวนด้วย
: สภาวะแวดล้อมที่อาจมีผลต่อเสถียรภาพคือ อุณหภูมิ ความดัน เป็ นต้น
: ความจําแนกชัดเป็ นคุณสมบัติคนละอย่างกับความแม่นยํา แต่มีผลต่อความ
แม่นยํา
: เครื่ องมือต้องมีความจําแนกชัดเพียงพอที่จะให้มีความแม่นยําได้ตามต้อง
การเช่น เครื่ องมือที่จะให้มีค่าผิดพลาดในระดับไม่เกิน 104 ก็จะต้องมีความ
จําแนกชัดไม่นอ้ ยกว่า 104 ซึ่งหมายถึงต้องมีส่วนแสดงผลเป็ นตัวเลขตั้งแต่ 4
หลักขึ้นไป

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ตัวอย่าง มัลติมิเตอร์ แสดงผล : 4 ½ - digit


คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ตัวอย่าง มัลติมิเตอร์ แสดงผล : 4 ½ - digit


การแสดงผลจะอยูใ่ นรู ป 3½ digit, 4½ digit
3½ digit จะอ่านค่าได้ระหว่าง 000 ไปจนถึง 1999
4½ digit จะอ่านค่าได้ระหว่าง 0000 ไปจนถึง 19999
แต่ใน 2 กรณี น้ ี ตัวเลขที่อยูห่ น้าสุ ดจะเป็ นตัวเลขที่จาํ กัด โดยจะสามารถแสดง
ตัวเลขได้มากสุ ดคือ 0-1 และตัวเลขถัดไปเรื่ อยๆสามารถอ่านได้ 0-9 เป็ นแบบ
full digit ได้เลย
4¾ digit สามารถอ่านได้ 5 หลัก โดยที่ หลักหน้าสุ ดอ่านค่าได้ 0-3 จะ
ได้ 00000 จะถึง 39999

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ความไว
ความไว (sensitivity) คือ ผลการเปลี่ยนแปลงของตัวชี้ค่าวัดในระบบการ
วัดหารด้วยการเปลี่ยนแปลงของค่าปริ มาณวัด หรื อกล่าวได้อีกอย่างว่าความ
ไวก็คือ ฟังก์ชนั ถ่ายโอน (transfer function) ของระบบ
y
S
x
โดย S = ความไวของระบบ, x = ปริ มาณเข้า, y = ปริ มาณออก
เครื่ องมือบางชนิดอาจระบุคุณสมบัติน้ ีเป็ นส่ วนกลับของความไว เรี ยกว่า
ตัวประกอบสเกล (scale factor) ตัวอย่างเช่น ออสซิลโลสโคปจะบอกเป็ น
ตัวประกอบการเห W  1  x
S y
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

สําหรับระบบไม่เชิงเส้นจะใช้ตวั บอกคุณสมบัติเป็ น ความไวเชิงอนุพนั ธ์


(differential sensitivity)  d f  x 
S diff  x0    
โดย y = f (x) = ฟังก์ชนั ของ x  d x  x  x0
: ระบบการวัดที่เหมาะที่จะให้มีความไวแบบไม่เชิงเส้นก็คือ ระบบการวัด
แบบเทียบศูนย์ โดยให้ระบบมีความไวสู งเฉพาะในช่วงที่การวัดเข้าใกล้จุด
สมดุล
ตัวบอกความไวอีกแบบหนึ่งสําหรับระบบไม่เชิงเส้นคือ ตัวประกอบ
ความไว (sensitivity factor) ซึ่งเป็ นอัตราส่ วนของค่าสัมพัทธ์ของการเปลี่ยน
แปลงปริ มาณออกต่อปริ มาณเข้า ตัวอย่างเช่น สเตรนเกจ (strain guage) ซึ่ง
เป็ นตัวแปลงที่จะมีความต้านทานเปลี่ยนแปลงไปเมื่อความยาวของลวดใน
ตัวเกจเปลี่ยน

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

R
SlR  R  dR  l
l dl R
l

ข้อมูลที่ควรรู ้
: ค่าความไวจะมีหน่วยแตกต่างกันไปตามชนิดของอุปกรณ์
: เฉพาะตัวประกอบความไวจะไม่มีหน่วย
: สิ่ งที่มีผลต่อความไวก็คือ สัญญาณรบกวน ปริ มาณเข้าของระบบการวัดจะต้องมีขนาด
ใหญ่เพียงพอที่ระบบจะสามารถแยกแยะออกจากสัญญาณรบกวนได้
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ขีดเริ่ม (Discrimination threshold)


ขีดเริ่ มคือ ขนาดการเปลี่ยนแปลงที่ใหญ่ที่สุดของปริ มาณวัดที่ระบบการวัดยัง
ไม่สามารถตรวจจับและแสดงผลการวัดออกมาได้
: การลดแบนด์วดิ ท์ของระบบการวัดโดยไม่ให้มีผลกระทบต่อปริ มาณเข้าจะเป็ น
การลดสัญญาณรบกวนที่เข้าระบบให้นอ้ ยลง ซึ่งจะเป็ นการช่วยลดค่าขีดเริ่ มของ
ระบบการวัดได้ ทําให้ระบบสามารถตรวจวัดปริ มาณเข้าที่มีขนาดเล็กลงได้ดีข้ ึน
  0 B
โดยที่  = ขนาดของสัญญาณรบกวน
 0 = ขนาดสัญญาณรบกวนสมมูลในแบนด์วด
ิ ท์ 1 Hz
B = แบนด์วดิ ท์ของระบบการวัด

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล


เกิดการคาบเกี่ยวของสัญญาณ ทํา
ให้ค่าเฉลี่ย (y_bar) สู ญเสี ยไป
ประมาณ 16 %

ฟังก์ชนั่ ความหนาแน่นของความน่าจะเป็ นของปริ มาณออกของระบบการวัด


คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ความเป็ นเชิงเส้น
ความเป็ นเชิงเส้น (linearity) เป็ นคุณสมบัติบอกความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณออกกับ
ปริ มาณเข้า ระบบเชิงเส้นจะต้องสามารถหาปริ มาณโดยใช้หลักการซูเปอร์โพสิ ชนั
(superposition) ได้

ระบบเชิงเส้น ระบบไม่เชิงเส้น

ระบบที่เกิดความอิ่มตัว ระบบที่เกิดเขตไร้ผลสนอง
B

ระบบที่เกิดฮีสเทอรี ซิส ระบบที่มีอตั ราสลูว ์


คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

2.2.7 คุณสมบัติพลวัต (Dynamic characteristics)


การตอบสนองพลวัตหมายถึง พฤติกรรมของระบบที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจาก
การป้อนปริ มาณเข้าพลวัตให้กบั ระบบ ปริ มาณพลวัตหมายถึงปริ มาณที่มีการ
เปลี่ยนแปลงตามเวลา
สมการคณิ ตศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ผลตอบสนองของระบบเชิงเส้นโดย
ทัว่ ไปคือ สมการอนุพนั ธ์เชิงเส้นสามัญ (ordinary linear differential
equation)
dn y d n 1 y dy dm x d m 1 x dx
an n  an 1 n 1  ...  a1  a0 y  bm m  bm 1 m 1  ...  b1  b0 x
dt dt dt dt dt dt

โดย an และ bn = ค่าสัมประสิ ทธ์คงที่

คุณสมบัติของระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

 ตัวอย่าง เซนเซอร์ วดั อุณหภูมิ

ความไวสู ง แต่
ความเป็ นเชิงเส้นสู ง
พิสยั การวัดตํ่า

ความไวและความเป็ นเชิง
เส้นตํ่า แต่พิสยั การวัดสู ง
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

การตอบสนองพลวัตจะพิจารณากันใน 2 เรื่ องคือ


1. ความเร็ วของระบบในการตอบสนองต่อปริ มาณเข้า ซึ่งทําได้ดว้ ยการป้อนฟังก์ชนั ขั้นบันได
เดี่ยว (single step function) ให้เป็ นสัญญาณเข้าของระบบแล้วหาช่วงเวลาอ่าน
(reading time) หรื อช่วงเวลาเข้าที่ (settling time) ของระบบ

2. การตอบสนองต่อความถี่ (frequency response) โดยการป้อนสัญญาณกวาดที่


แปรผันความถี่ในพิสยั ที่กาํ หนดให้กบั ระบบ แล้วดูสญ
ั ญาณออกของระบบเทียบกับสัญญาณ
เข้าที่ความถี่ต่างๆในทางปฏิบตั ิจะพิจารณาระบบด้วยสมการอันดับ 0, 1, หรื อ 2 ก็จะให้
ความแม่นยําเพียงพอแล้ว

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

: ระบบอันดับศูนย์
สมการสําหรับระบบอันดับศูนย์คือ
b0
y x
a0

โดย S  y  b0 ก็คือความไวของระบบสถิตนัน่ เอง


x a0
ระบบอันดับศูนย์จะไม่แปรผันตามเวลา มีช่วงเวลาเข้าที่เป็ นศูนย์ซ่ ึงหมายถึง
จะให้ปริ มาณออกทันทีที่ได้รับปริ มาณเข้า ไม่เกิดความเพี้ยน ไม่มีการเลื่อนเฟส
และมีแบนด์วดิ ท์เป็ นอนันต์ ดังนั้นจึงเป็ นระบบที่สมบูรณ์แบบและเป็ นระบบ
ในอุดมคติเท่านั้น
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ตัวอย่างของระบบการวัดที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับระบบอันดับศูนย์คือ
โพเทนชิโอมิเตอร์ (potentiometer)

Rx x
Vx  Vs  Vs
RT l

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

: ระบบอันดับหนึ่ง
สมการของระบบอันดับหนึ่งคือ
a1 d y b
y 0 x
a0 d t a0

ตัวอย่างของระบบอันดับหนึ่งคือ วงจร RC
d vo
RC  vo  vi
dt
 t 
vo  t   V 1  e  
 
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล



คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ช่วงเวลาเข้าที่มีค่าเป็ น ts   ln E

โดย E   V เมื่อ  = tolerance (ค่าความคลาดเคลื่อนยินยอม)


ขนาดของผลตอบสนองต่อความถี่มีค่าเป็ น
Vo  j  1
A  j   
Vi  j  1   
2

และปริ มาณออกจะมีเฟสเลื่อนไปเมื่อเทียบกับปริ มาณเข้าเป็ น


  A  j   tan 1   
แบนด์วดิ ท์ของระบบมีค่าเท่ากับ 1
fc 
2
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล


d2 y dy
a2 2  a1  a0 y  b0 x
dt dt

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

เมื่อนํามิเตอร์ไปวัดแล้วเข็มไปหยุดอยูท่ ี่จุดสมดุลเพือ่ ชี้ค่าวัด จะเขียนสมการ


ได้เป็ น 1 d 2  2 d 
    SM d
02 d t 2 0 d t
0 is natural frequency
ถ้ากําหนดให้ปริ มาณเข้าเป็ นฟังก์ชนั ขั้นบันไดเดี่ยว M d จะหาผลเฉลยเฉพาะ
(particular solution) ของสมการได้เท่ากับ SM d ซึ่งหมายความว่า
เมื่อเข็ม เบนไปแล้วอยูใ่ นสถานะอยูต่ วั (steady state) มุมที่เข็มเบนจะมีค่าเป็ น
  SM d
ส่ วนผลตอบสนองพลวัตหาได้จากผลเฉลยเติมเต็ม (complementary
solution)
ซึ่งหารากของสมการ   d  d t ได้เป็ น
1,2  0  0  2  1
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

การออกแบบมิเตอร์พีเอ็มเอ็มซีที่เหมาะสมจะต้องให้มีการหน่วงขาด (under-
damping) เล็กน้อยคือให้   1 เพื่อให้เข็มมิเตอร์เบนเข้าสู่ ค่าสุ ดท้ายโดย
2
ไม่มีการสัน่ แต่จะพุง่ เกิน (overshoot) เล็กน้อย ซึ่งจะทําให้อ่านค่าได้เร็ วและ
สังเกตได้ง่ายว่าเข็มเข้าใกล้ค่าสุ ดท้ายแล้ว SM
d

  0.1

0.25
0.5
0.71

2
4

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ส่ วนผลตอบสนองต่อความถี่จะมีสมการเป็ น
Y  j 
1
A  j   S 
X  j    2 2 2
   2 
1        0 
  0
  A( )

0 is natural frequency

0
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

และผลการเลื่อนเฟสมีสมการเป็ น
2
  tan 1
 
0
0 
และระบบจะมีแบนด์วดิ ท์เป็ น

f0 
0
2

0 is natural frequency

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

To be continued
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ทฤษฎีค่าผิดพลาด
ความแตกต่างระหว่างค่าจริ งกับค่าวัดเกิดขึ้นได้จาก 2 กรณี คือ
1. กระทําการวัดผิด (mistake) หมายถึงผูว้ ดั ทําการวัดไม่ถูกต้อง หรื อใช้
เครื่ องมือไม่ถูกต้อง หรื ออ่านค่าผิด
2. ค่าผิดพลาด (error) เป็ นความผิดพลาดที่เกิดขึ้นโดยที่ผวู ้ ดั ทําการวัดถูก
ต้องแล้ว ค่าผิดพลาดนี้แบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิดคือ ค่าผิดพลาดเชิงระบบ
และค่าผิดพลาดสุ่ ม

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

2.3.1. ค่าผิดพลาดเชิงระบบ (systematic error)


เมื่อทําการวัดปริ มาณเดิมซํ้าหลายๆครั้ง โดยใช้ระบบการวัดและวิธีการ
วัดแบบเดียวกัน รวมทั้งได้ควบคุมสภาวะแวดล้อมให้คงเดิมทุกประการ
แล้วได้ผลการวัดที่มีค่าผิดพลาดใกล้เคียงกันทุกครั้ง ค่าผิดพลาดที่เกิดขึ้นนี้
จะเรี ยกว่าค่าผิดพลาดเชิงระบบ
: สาเหตุของค่าผิดพลาดเชิงระบบอาจเกิดจากการกําหนดวิธีการวัดไม่เหมาะ
สม ออกแบบระบบการวัดไม่เหมาะสม ปรับแต่งเครื่ องมือไม่เหมาะสม
หรื ออาจเกิดจากการควบคุมสภาพแวดล้อมบางอย่างไม่ดีพอ
: ถ้าผูว้ ดั ไม่ทราบค่าจริ งก่อนจะทําการวัด ก็อาจไม่รู้วา่ มีค่าผิดพลาดเชิง
ระบบเกิดขึ้นในผลการวัด
: การตรวจหาค่าผิดพลาดเชิงระบบทําได้ดว้ ยกระบวนการวัดแบบทําซํ้า
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

2.3.2. ค่าผิดพลาดสุ่ ม (random error)


เมื่อทําการวัดปริ มาณเดิมซํ้าหลายๆครั้ง โดยใช้ระบบการวัดและวิธีการ
วัดแบบเดียวกัน รวมทั้งได้ควบคุมสภาพแวดล้อมให้คงเดิมทุกประการ แล้ว
ได้ผลการวัดที่มีค่าผิดพลาดแตกต่างกันไป รวมทั้งมีทิศทางที่ไม่แน่นอนคือ
มีท้ งั ค่าบวกและลบ ค่าผิดพลาดที่เกิดขึ้นนี้คือ ค่าผิดพลาดสุ่ ม
: สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากสัญญาณรบกวน แต่กอ็ าจเกิดจากสาเหตุอื่นได้เช่น
การสัน่ สะเทือน การอ่านค่าวัดที่มีความจําแนกชัดไม่เพียงพอ หรื ออาจมี
สภาวะแวดล้อมบางอย่างที่ควบคุมไม่ได้
: ค่าผิดพลาดสุ่ มมักมีค่าไม่มากแต่ขจัดให้หมดไปเลยไม่ได้ ทําได้แค่ให้ลด
ลง และใช้วธิ ีการวิเคราะห์ทางสถิติในการขจัดออกไปจากผลการวัด

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

2.3.3. สาเหตุของค่าผิดพลาด (source of error)


สาเหตุของค่าผิดพลาดเกิดจากระบบการวัดได้รับผลกระทบ และส่ งผล
ไปรบกวนระบบอื่นที่อยูโ่ ดยรอบคือ ระบบภายใต้การวัด สภาพแวดล้อม
และออปเซอร์ฟเวอร์ (observer)

สภาวะแวดล้อม
ภาวะเข้าคู่ ภาวะเข้าคู่
ผลกระทบ
ปริมาณวัด ผลการวัด
input x output y
ระบบภายใต้การวัด ระบบการวัด อ็อบเซอร์ฟเวอร์
ผลกระทบ ผลกระทบ
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

2.3.4 ภาวะเข้าคู่ (matching)


ภาวะเข้าคู่เป็ นวิธีการลดค่าผิดพลาดด้วยการจัดอิมพีแดนซ์ (impedance)
ของระบบการวัดให้มีความเหมาะสมเข้ากันได้กบั อิมพีแดนซ์ของระบบภาย
ใต้การวัด ภาวะเข้าคู่แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ ภาวะเข้าคู่แบบไม่ใช้พลังงาน
และภาวะเข้าคู่แบบใช้พลังงาน

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

1. ภาวะเข้าคู่แบบไม่ใช้พลังงาน (Anenergetic matching)


ในการวัดแรงดันซึ่งเป็ นปริ มาณตกคร่ อม (across quantity) ตามรู ป
ค่าจริ งคือ Vs แต่ค่าที่จะวัดได้คือ
Ri
Vi  Vs
Ri  Rs
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

กรณี น้ ีเป็ นผลกระทบจากการโหลด (loading effect) ที่ระบบการวัดส่ ง


ผลกระทบต่อระบบภายใต้การวัด และค่าผิดพลาดสัมพัทธ์ที่เกิดขึ้นคือ
e Vi  Vs Rs
E  
y Vs Ri  Rs
และสามารถจัดรู ปสมการได้เป็ น
Rs
Ri    Rs
E

: การลดค่าผิดพลาดในกรณี น้ ีทาํ ได้ดว้ ยการใช้เครื่ องมือวัดแรงดันที่มีความต้าน


ทานด้านเข้าสู งมากๆ เมื่อเทียบกับความต้านทานด้านออกของระบบการวัด

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ส่ วนในการวัดปริ มาณไหลผ่าน (through quantity) ค่าจริ งของกระแส


คือ I s แต่ปริ มาณวัดที่ได้คือ
Rs
Ii  Is
Ri  Rs
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

การวัดปริ มาณไหลผ่านเป็ นการใส่ เครื่ องมือวัดเข้าไปอนุกรมในจุดที่ตอ้ ง


การวัด ซึ่งทําให้เกิดผลที่เรี ยกว่า อินเซอร์ตชันเอฟเฟกต์ (insertion effect)
ค่าผิดพลาดสัมพัทธ์ที่เกิดขึ้นคือ
e Ii  I s Ri
E  
y Is Ri  Rs
และจัดรู ปสมการได้เป็ น
E
Ri   Rs
1 E

: การลดค่าผิดพลาดในการวัดปริ มาณไหลผ่านให้นอ้ ยที่สุดทําได้ดว้ ยการใช้


เครื่ องมือที่มีความต้านทานด้านเข้าน้อยมากๆ เมื่อเทียบกับความต้านทานด้าน
ออกของระบบการวัด

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

2. ภาวะเข้าคู่แบบใช้พลังงาน (Energic matching)


ในการส่ งกําลัง ระบบที่ส่งกําลังจะให้กาํ ลังออกมาได้สูงสุ ดก็ต่อเมื่อระบบที่รับกําลังนั้นมี
อิมพีแดนซ์เข้าคู่กนั กับระบบที่ส่งกําลัง ดังนั้นในการวัดกําลังของระบบใดๆ ก็จาํ ต้องจัด
ให้เครื่ องมือวัดกําลังมีอิมพีแดนซ์เข้าคู่กบั ระบบภายใต้การวัด จึงจะสามารถวัดกําลัง
สู งสุ ดที่จะส่ งออกมาได้
Zs

Irms

Vs Zi
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

Vs = ค่ารากกําลังสองเฉลี่ยของแรงดันของระบบภายใต้การวัด
I rms = ค่ารากกําลังสองเฉลี่ยของกระแสเข้าของระบบการวัด

Z s  Rs  jX s = อิมพีแดนซ์ดา้ นออกของระบบภายใต้การวัด
Z i  Ri  jX i = อิมพีแดนซ์ดา้ นเข้าของระบบการวัด
Vs
I rms 
 Rs  Ri 2   X s  X i 2
กําลังที่ระบบการวัดได้รับคือ กําลังเฉลี่ยสู ญเสี ยเป็ นความร้อนที่เกิดขึ้น
กับความต้านทานด้านเข้าของระบบการวัด 2
2 Vs Ri
Pav  I rms Ri 
 Rs  Ri 2   X s  X i 2

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ค่ากําลังจะมีค่าสู งสุ ดเมื่อ Rs  Ri และ X s   X i ซึ่งหมายความว่าระบบ


2 2
ภายใต้การวัดจะส่ งกําลังได้สูงสุ ดเมื่อ Zi  Z s และทําให้ได้วา่ Pav max  
* V V
s
 s
4 Rs 4 Ri

สําหรับการวัดกําลังสัญญาณความถี่สูง จะต้องพิจารณาสายส่ งที่ต่อระหว่าง


ระบบภายใต้การวัดกับระบบการวัด Z  L
c
C
Z c = ค่าคุณลักษณะอิมพีแดนซ์ของสายส่ ง
L = ค่าความเหนี่ยวนําอนุกรมต่อความยาว 1 เมตรของสายส่ ง
C = ค่าความจุไฟฟ้าต่อความยาว 1 เมตรของสายส่ ง
ภาวะเข้าคู่จะไม่ทาํ ให้เกิดการสะท้อนกลับของสัญญาณ และจะเกิดภาวะเข้า
คู่เมื่อ Z s  Z c  Zi
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

การวิเคราะห์ขอ้ มูล (Data analysis)


2.4.1 เลขนัยสําคัญ (significant digits)
ข้อมูลการวัดต้องนํามาปัดเศษก่อนการพิจารณาเพิ่มเติม
1. หลักใดที่ไม่เป็ นเลข 0 ให้นบั เป็ นเลขนัยสําคัญทั้งหมด
2. หลักที่เป็ นเลข 0 แต่อยูร่ ะหว่างหลักที่ไม่เป็ นเลข 0 ให้นบั เป็ นเลขนัยสําคัญ
3. หลักที่เป็ นเลข 0 ที่อยูท่ างซ้ายมือของหลักแรกที่ไม่เป็ นเลข 0 ไม่วา่ จะอยู่
หน้าหรื อหลังจุดทศนิยม ไม่นบั เป็ นเลขนัยสําคัญ
4. ในกรณี ชุดตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม หลักที่เป็ นเลข 0 ที่อยูท่ างขวามือของ
หลักสุ ดท้ายที่ไม่เป็ นเลข 0 โดยปรกติจะไม่นบั เป็ นเลขนัยสําคัญ
5. ในกรณี ชุดตัวเลขที่มีจุดทศนิยม หลักที่เป็ นเลข 0 ที่อยูท่ างขวามือของหลัก
สุ ดท้ายที่ไม่เป็ นเลข 0 ให้นบั เป็ นเลขนัยสําคัญทั้งหมด

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

2.4.2 เลขปั ดเศษ (rounding number)


การปั ดเศษเป็ นการปัดตัวเลขทางขวามือทั้งหมดที่ต่อจากหลักสุ ดท้าย
ของเลขนัยสําคัญทิ้งไป หลักการปั ดเศษมีดงั นี้
1. ถ้าตัวเลขหลักแรกที่ต่อจากเลขนัยสําคัญหลักสุ ดท้ายมีค่าน้อยกว่า 5 ให้
ปั ดเลขทางขวาออกได้ท้ งั หมด โดยไม่ตอ้ งเปลี่ยนแปลงตัวเลขที่เหลือ
2. ถ้าตัวเลขหลักแรกที่ต่อจากเลขนัยสําคัญหลักสุ ดท้ายมีค่ามากกว่า 5 ให้
เพิ่มค่าในเลขหลักถัดไปทางซ้ายมือโดยการบวก 1
3. ถ้าตัวเลขหลักแรกที่ต่อจากเลขนัยสําคัญหลักสุ ดท้ายมีค่าเท่ากับ 5 และไม่
มีเลขต่อท้ายทางขวาหรื อเลขที่ต่อท้ายเป็ น 0 ทั้งหมด ให้ใช้หลักปั ดเศษให้
เป็ นเลขคู่ (round-even number) คือถ้าเลขหลักสุ ดท้ายเป็ นเลขคี่ให้บวกเพิ่ม
อีก 1 แต่ถา้ เลขเดิมเป็ นเลขคู่กไ็ ม่ตอ้ งเพิ่มค่า
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

2.4.2 เลขปั ดเศษ (rounding number)


(round-even number)
ตัวอย่าง
3.016 ปั ดเศษในทศนิยมตําแหน่งที่สองจะได้ 3.02 (เพราะตัวเลขถัดไปคือ 6 มากกว่า 5)
3.013 ปั ดเศษในทศนิยมตําแหน่งที่สองจะได้ 3.01 (เพราะตัวเลขถัดไปคือ 3 น้อยกว่า 5)
3.015 ปั ดเศษในทศนิยมตําแหน่งที่สองจะได้ 3.02 (เพราะตัวเลขถัดไปคือ 5 และตัวเลขก่อนหน้านั้นคือ
1 เป็ นเลขคี่)
3.045 ปั ดเศษในทศนิยมตําแหน่งที่สองจะได้ 3.04 (เพราะตัวเลขถัดไปคือ 5 และตัวเลขก่อนหน้านั้นคือ
4 เป็ นเลขคู่)
3.04501 ปั ดเศษในทศนิยมตําแหน่งที่สองจะได้ 3.05 (เพราะตัวเลขถัดไปคือ 5 และตัวเลขถัดไปไม่ใช่ 0
ทั้งหมด)
ส่ วน การปั ดเศษเลขคี่ (round-to-odd) คล้ายกับการปั ดเศษเลขคู่ แต่ต่างกันที่เงื่อนไขสุ ดท้าย
นัน่ คือหากเป็ นเลขคี่ให้ปัดลง หรื อหากเป็ นเลขคู่ให้ปัดขึ้น
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9
%80%E0%B8%A8%E0%B8%A9

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

2.4.3. การปัดเศษของค่าจากการคํานวณ
เมื่อทําการคํานวณผลการวัดหลายๆค่า แต่ละจํานวนอาจมีเลขนัยสําคัญ
ไม่เท่ากัน ต้องทําการปัดเศษผลคํานวณก่อนนําไปใช้งาน
1. การบวกและการลบ
ให้ใช้ตวั เลขทั้งหมดมาคํานวณ เสร็ จแล้วดูจากทางซ้ายมาทางขวาเพื่อหา
หลักสุ ดท้ายที่เป็ นเลขนัยสําคัญของทุกจํานวนที่นาํ มาคํานวณ หลักแรกสุ ดที่
พบคือตําแหน่งที่จะปัดเศษ
2. การคูณและการหาร
ให้ใช้ตวั เลขทั้งหมดมาคํานวณ แล้วดูวา่ แต่ละจํานวนที่นาํ มาคํานวณนั้น
มีเลขนัยสําคัญกี่หลัก ให้ปัดเศษผลลัพธ์ให้มีเลขนัยสําคัญเท่ากับจํานวนที่มี
เลขนัยสําคัญน้อยที่สุดแล้วเพิ่มต่อท้ายอีก 1 หลัก
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

2.4.4. สถิติ (Statistic)


กระบวนการทางสถิติแบ่งออกเป็ น 2 ขั้นตอน
: ขั้นแรกเป็ นการเก็บข้อมูล จัดการข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูล และแสดงผลให้
อยูใ่ นรู ปที่เข้าใจได้ง่าย
: ขั้นที่สองคือ การแปรความหมายและสรุ ปผล
ค่าวัดที่ได้จากการทวนซํ้าแต่ละครั้งเรี ยกว่า ค่าชักตัวอย่าง (sampled
value) ความแตกต่างของค่าวัดที่ได้มานั้นคือ การกระจาย (distribution)
ของข้อมูล ขั้นตอนวัดเพื่อให้ได้ค่าวัดมานี้คือ การเก็บข้อมูล
46 45 52 54 49 50 46 52 48 55
50 49 51 53 50 50 55 48 49 52
51 50 53 50 49 51 54 47 48 47
47 50 49 48 51 52 50 51 50 52

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ขั้นตอนต่อไปคือการจัดข้อมูลให้เป็ นระเบียบ
45 46 46 47 47 47 48 48 48 48
49 49 49 49 49 50 50 50 50 50
50 50 50 50 51 51 51 51 51 52
52 52 52 52 53 53 54 54 55 55
ต่อไปคือการวิเคราะห์และจัดแสดงในรู ปที่เหมาะแก่การพิจารณา โดยข้อมูลทั้งหมดมี 40
ข้อมูล
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ค่าวัด ความถี่สมั บูรณ์ ความถี่สมั พัทธ์


(measured value) (Absolute frequency) (Relative frequency)
45 1 0.025 (1/40)
46 2 0.050 (2/40)
47 3 0.075 (3/40)
48 4 0.100 (4/40)
49 5 0.125 (5/40)
50 9 0.225 (9/40)
51 5 0.125 (5/40)
52 5 0.125 (5/40)
53 2 0.050 (2/40)
54 2 0.050 (2/40)
55 2 0.050 (2/40)

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

นําผลจากตารางมาแสดงเป็ นแผนภูมิแท่ง (bar chart)


คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

เปลี่ยนแนวแกนตั้งของแผนภูมิแท่งให้เป็ นค่าความถี่สมั พัทธ์ f (x) แล้ว


หารด้วยค่าความกว้างของแท่งกราฟ x จะได้เป็ นแผนภูมิฮีสโตแกรม
(histogram) แล้วลากเส้นต่อยอดของแท่งกราฟโดยให้ปลายทั้งสองข้างแตะ
เส้นศูนย์จะได้เส้นโพลีกอนของความถี่ (frequency polygon)

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ถ้าทําการวัดทวนซํ้ามากครั้งพอ และให้ค่าวัดมีความจําแนกชัดที่ละเอียด
มากจนกระทัง่ x  0 เส้นโพลีกอนจะกลายเป็ นเส้นโค้งความถี่ของค่าชัก
ตัวอย่างที่เรี ยกว่า PDF
: ถ้าการกระจายของค่าชักตัวอย่างเกิดจากสัญญาณรบกวนสุ่ มเพียงอย่าง
เดียว ก็จะได้ PDF เป็ นแบบปรกติหรื อเกาส์เซียน (normal or Gaussian
Distribution)
ขั้นตอนสุ ดท้ายคือ การแปรความหมายของผลการวัด ซึ่งจะได้เป็ นตัว
เลขต่างๆที่คาํ นวณได้จากผลการวัด
n
 xi
: ตัวกลางเลขคณิ ต (arithmetic mean) x1  x2  ...  xn
x  i 1
n n
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

: ความแปรปรวน (variance) และความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard


deviation) เป็ นตัวบอกลักษณะการกระจายของข้อมูล
 xi  x 2
n

s x2  i 1
n 1
โดย s x2= ความแปรปรวน
s x = ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ถ้ากําหนดให้ f (x) เป็ น PDF ของผลการวัด และสมมติให้ n   จะเขียน
สมการของความเบี่ยงเบนมาตรฐานได้เป็ น

x    x  x 2 f  x  d x


คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

สําหรับ PDF แบบเกาส์เซียนจะมีสมการเป็ น

1  1  x  x 2 
f(x) f  x  exp    
 2  2    
1 bending point
 2

x x
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ความน่าจะเป็ นของค่าวัดที่จะได้จากการวัดแต่ละครั้งนั้น สามารถประมาณได้


จาก PDF และมีค่าโดยประมาณตามตารางนี้

ช่วงของผลการวัด ความน่าจะเป็ น
x  68.27 %
x  2 95.45 %
x  3 99.73 %
โดยทัว่ ไปช่วงความเชื่อมัน่ ของค่าวัดจะกําหนดไม่เกิน 3

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ถ้าผลการวัดส่ วนใหญ่มีค่าใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ย จะหมายความว่าผลการทวน


ซํ้าส่ วนใหญ่มีความเที่ยงตรงสู ง

แบบที่ 2 นี้ค่า
sigma น้อยลง
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ถ้าเกิดค่าผิดพลาดเชิงระบบขึ้น ก็อาจทําให้ได้ผลการทวนซํ้าส่ วนใหญ่ที่ห่าง


จากค่าจริ ง
เกิดค่าความคลาดเคลื่อน = a - b

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

การรายงานผลการวัด (Measurement report)


การรายงานผลการวัดในปั จจุบนั ยึดถือตามมาตรฐานที่กาํ หนดโดย GUM คือ
จะรายงานเป็ นค่าวัดกับค่าความไม่แน่นอน
: การวัดเป็ นการหาค่าปริ มาณวัดที่เป็ นปริ มาณเฉพาะ (particular quantity) ชิ้นใด
ชิ้นหนึ่ง
: สิ่ งที่เกี่ยวข้องกับการวัดคือ ข้อกําหนดรายละเอียดของปริ มาณวัด (specification
of measurand) วิธีการวัด และขั้นตอนการวัด (measurement
procedure)
: ความแม่นยําที่ตอ้ งการจะเป็ นตัวกําหนดข้อกําหนดรายละเอียดของปริ มาณวัด
: ความไม่แน่นอนก็คือขอบเขตของค่าผิดพลาดสุ่ ม ซึ่งไม่สามารถขจัดทิ้งได้โดย
สมบูรณ์ แต่สามารถลดขอบเขตลงได้โดยให้มีขอ้ กําหนดรายละเอียดที่ละเอียด
ชัดเจนมากที่สุดและควบคุมการวัดอย่างเข้มงวด
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

: ค่าผิดพลาดเชิงระบบเป็ นค่าผิดพลาดที่หาค่าได้โดยการวัดแบบทําซํ้า และนําค่า


ที่หาได้น้ ีไปเป็ นค่าแก้ (correction) หักออกจากผลการวัดได้ แต่ตวั ค่าแก้เองก็ยงั มี
ความไม่แน่นอนติดอยู่

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

2.5.1 แหล่งกําเนิดความไม่แน่นอน (source of uncertainty)


1. นิยามข้อกําหนดรายละเอียดของปริ มาณวัดที่ไม่สมบูรณ์
2. ไม่สามารถทําการวัดตามข้อกําหนดรายละเอียดได้อย่างสมบูรณ์
3. การชักค่าตัวอย่างของปริ มาณวัดไม่เหมาะสมกับนิยามของปริ มาณวัด
4. ขาดความรู ้ที่ถูกต้องในเรื่ องสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการวัด หรื อ
กําหนดสภาพแวดล้อมไม่ถูกต้องหรื อไม่แน่นอน
5. มีความคลาดเคลื่อนในการอ่านค่าวัด โดยเฉพาะในเครื่ องมือแบบแอนะลอก
6. เครื่ องมือวัดมีความจําแนกชัดและค่าขีดเริ่ มที่จาํ กัด
7. มีความไม่แน่นอนอยูใ่ นปริ มาณมาตรฐานหรื อปริ มาณอ้างอิงที่นาํ มาวัด
เปรี ยบเทียบ
8. มีความไม่แน่นอนในค่าคงที่หรื อพารามิเตอร์ที่นาํ มาใช้คาํ นวณผลการวัด
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

9. เกิดจากการประมาณค่าหรื อการสมมติค่าบางอย่างที่ใช้ในวิธีการวัด
10. เกิดการแปรผันในตัวปริ มาณวัดเอง

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

2.5.2 ความไม่แน่นอนมาตรฐาน (standard uncertainty)


: การแบ่งความไม่แน่นอนเป็ นแบบ A และ B เป็ นการแบ่งตามวิธีการหาค่าความ
ไม่แน่นอนเท่านั้น ไม่ได้หมายความว่าทั้งสองแบบมีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน
: การบอกความไม่แน่นอนทุกชนิดจะบอกโดยค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน จึง
เรี ยกความไม่แน่นอนนี้วา่ ความไม่แน่นอนมาตรฐาน
: ความไม่แน่นอนแบบ A หาได้ดว้ ยวิธีการทางสถิติ ซึ่งในทางทฤษฎีตอ้ งมีค่าชัก
ตัวอย่างเป็ นอนันต์ แต่ในความเป็ นจริ งค่าชักตัวอย่างมีได้ในจํานวนจํากัด ความ
แปรปรวนและความเบี่ยงเบนมาตรฐานที่หาได้จึงเป็ นค่าโดยประมาณเท่านั้น
(estimated value)
: ความไม่แน่นอนมาตรฐานแบบ A กําหนดให้มีสญ ั ลักษณ์เป็ น ui
คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

: ความไม่แน่นอนแบบ B เป็ นแบบที่หาค่าได้ดว้ ยวิธีการอื่นนอกเหนือจากสถิติ


เช่น ข้อมูลการวัดครั้งก่อนหน้า จากความรู ้ประสบการณ์การใช้เครื่ องมือหรื อ
วัสดุที่เกี่ยวข้องในการวัด ข้อกําหนดรายละเอียดของเครื่ องมือวัด ข้อมูลการสอบ
เทียบเครื่ องมือวัด และข้อมูลความไม่แน่นอนจากคู่มือ เป็ นต้น
: ความไม่แน่นอนแบบ B กําหนดให้มีสญ ั ลักษณ์เป็ น u j
: ตัวอย่างการหาค่าความไม่แน่นอนแบบ B มีดงั นี้

คุณสมบัตขิ องระบบการวัดและการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ในกรณี ที่ค่าวัดมีการแจกแจงเอกรู ปหรื อสี่ เหลี่ยม (uniform or rectangular


distribution) ซึ่งหมายถึงค่าปริ มาณวัดมีโอกาสที่จะอยูจ่ ุดใดจุดหนึ่งในช่วง a
ถึง a และค่าวัดทั้งหมดจะอยูภ่ ายในช่วงนี้ a   a  a  2
จะได้ค่าวัดโดยประมาณเป็ น a  a 
x    2
และได้ความไม่แน่นอนมาตรฐานเป็ น u j  a โดย
3

1
2a

a   a x 
a a
x
3 3
ในกรณี ที่ค่าวัดมีการแจกแจงสามเหลี่ยม (triangular distribution) ซึ่งค่า
วัดทั้งหมดจะอยูภ่ ายในช่วง a ถึง a
จะได้ค่าวัดโดยประมาณเป็ น a   a  a  2
และความไม่แน่นอนมาตรฐานเป็ น u j  a โดย  x   a  a 
6 2
1
a

a a a a
x  x 
6 6

2.5.3 ความไม่แน่นอนมาตรฐานรวม (combined uncertainty)


ความไม่แน่นอนในผลการวัดเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุหลายประการรวมกัน ดังนั้นจึงมักต้อง
รายงานผลการวัดพร้อมกับความไม่แน่นอนมาตรฐานรวม ซึ่งเป็ นผลรวมของความไม่แน่นอน
ทั้งหมดที่หาค่าได้ โดยให้มีสญ
ั ลักษณ์เป็ น uc
วิธีการคํานวณจะใช้ กฎการแพร่ กระจายความไม่แน่นอน (law of propagation of
uncertainty) ซึ่งมีข้นั ตอนดังนี้
1. กําหนดให้ค่าปริ มาณวัด Y เป็ นฟังก์ชนั ของปริ มาณเข้า X จํานวน N ตัว
Y  f  X1, X 2 ,..., X N 
2. ค่าปริ มาณวัดโดยประมาณ y ก็จะเป็ นฟังก์ชนั ของค่าโดยประมาณของปริ มาณ
เข้า y  f  x1, x2 ,..., xN 
ความแปรปรวนรวม (combined variance) ในกรณี ที่ปริ มาณเข้าแต่ละตัวไม่
สหสัมพันธ์ (uncorrelation) ซึ่งกันและกัน จะมีค่าเป็ น
2
N f  2
uc2  y      u  xi 
i 1  xi 

สมการนี้เป็ นการประมาณค่าด้วยอนุกรมเทเลอร์ (Taylor series) อันดับหนึ่งโดย


ถือว่าระบบเป็ นเชิงเส้น ถ้าระบบไม่เป็ นเชิงเส้นก็จาํ เป็ นต้องเพิ่มพจน์อนั ดับสู งๆ
เข้าไปในสมการด้วย f
อนุพนั ธ์ยอ่ ยในสมการคือ xi เรี ยกชื่อว่า สัมประสิ ทธิ์ ความไว (sensitivity
coefficient) เป็ นตัวบอกว่าค่าปริ มาณวัดโดยประมาณ y นั้นจะมีการแปรผันมาก
น้อยเพียงไรเมื่อเทียบกับปริ มาณเข้า xi แต่ละตัว

กรณี ที่ปริ มาณเข้ามีสหสัมพันธ์ (correlation) กัน ความแปรปรวนรวมมีค่าเป็ น


f f
 
N N
uc2  y     u xi , x j

i 1 j 1 ix x j
2
N  f  N 1 N f f
 
i 1  
 u 2
 i  
x  2
 

u xi , x j 
xi  x
i 1 j i 1 i x j

โดย u  xi , x j  คือความแปรปรวนร่ วมเกี่ยว (covariance) ระหว่าง xi กับ x j


การบอกระดับความสหสัมพันธ์ระหว่างกัน จะบอกด้วยค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์ (correlation
coefficient)
u  xi , x j 
r  xi , x j  
u  xi  u  x j 
สัมประสิ ทธิ์น้ ีจะมีค่าอยูร่ ะหว่าง – 1 ถึง 1 และจะมีค่าเป็ น 0 ถ้าปริ มาณทั้งสองไม่
สหสัมพันธ์กนั
3. ในกรณี ปริ มาณเข้า X i มีความไม่แน่นอนแบบ A ซึ่งหาได้จากการวัด X i เป็ น
จํานวน n ครั้งภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน จะได้ค่าโดยประมาณ xi ซึ่งมีสมการเป็ น
1 n
xi  X i   X i ,k
n k 1
ดังนั้นความไม่แน่นอนของ X i จึงเป็ นความเบี่ยงเบนมาตรฐานของ xi

1 s Xi 
  X i ,k  X i 
n 2
 u  xi   s  X i  
n  n  1 k 1 n

: เมื่อหาความไม่แน่นอนมาตรฐานรวมได้แล้ว ก็จะรายงานผลการวัดได้เป็ น
Y  y  uc  y 

ความไม่ แน่ นอนขยาย (Expanded uncertainty)


การรายงานผลการวัดในบางกรณี จะรายงานเป็ นความไม่แน่นอนขยาย U ที่
สัมพันธ์กบั ระดับความเชื่อมัน่ p ที่ตอ้ งการ โดยการคูณความไม่แน่นอนรวมด้วย
ตัวประกอบขอบเขต k
Y  y  kuc  y   y  U

สําหรับผลการวัดที่มีการแจกแจงปรกติ และ uc  y  มีความไม่แน่นอนในตัวเอง


น้อยมากจนตัดทิ้งได้ ก็สามารถใช้ค่า k ตามตาราง 2.3 เพื่อบอกความไม่แน่นอน
ขยายตามระดับความเชื่อมัน่ ที่ตอ้ งการได้
Level of confidence p (percent) Coverage factor
kp

68.27 1
90 1.645
95 1.960
95.45 2
99 2.576
99.73 3

ในกรณี ที่ผลการวัดมีการแจกแจงแบบอื่นและ uc  y  มีความไม่แน่นอนสู ง


ก็จะใช้ค่า k ตามตาราง 2.3 ไม่ได้ ตัวอย่างเช่นในงานวัดที่มีองศาเสรี (degree of
freedom) ตํ่า ซึ่งมักจะใช้การแจกแจงแบบ t (t – distribution) เพื่อบอก
ลักษณะการกระจายของข้อมูล ในกรณี น้ ีจะต้องให้ k มีค่าเท่ากับ t – factor เพื่อ
นํามาคํานวณให้ได้ระดับความเชื่อมัน่ ตามที่ตอ้ งการ
อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 กําหนดค่ าความไม่ แน่ นอนใน


รู ปแบบที่ถู กต้ อง. ยกตัว อย่า ง
ถ้ า กํ า ลั ง วั ด แ ท่ ง ไ ม้ ที่ ย า ว
ประมาณ 4.2 ซม. ขาดเหลื อ
ประมาณ 1 มิลลิเมตร นัน่
หมายถึ ง สามารถรู ้ ว่ า แท่ ง ไม้
ยาวประมาณ 4.2 ซม. แต่
อาจจะสั้นกว่าหรื อยาวกว่าค่าที่
วัดได้ โดยมี ความผิดพลาดอยู่
ที่ 1 มิลลิเมตรกําหนดค่าความ
ไม่แน่นอนดังนี้ : 4.2 ซม. ± 0.1
ซม. สามารถเขียนใหม่เป็ น 4.2
ซม. ± 1 มม. เนื่ องจาก 0.1 ซม.
= 1 มม.

อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 จงปัดเศษค่ าจากการทดลองให้
อยู่ในตําแหน่ งทศนิย มเดีย วกับ
ค่ าความไม่ แน่ นอนเสมอ. การ
วัด ที่ มีก ารคํานวณค่ าความไม่
แน่ น อนนี้ มัก จะปั ด เศษหนึ่ ง
หรื อสองตํา แหน่ ง ท้า ย จุ ด ที่
สํา คัญ ที่ สุ ด คื อ ควรปั ด ค่ า ที่ ท าํ
การทดลองให้อ ยู่ใ นตํา แหน่ ง
ทศนิ ย มเดี ย วกับ ค่ า ความไม่
แน่ นอนเพื่อทําให้ค่าที่ วดั ได้มี
ความต่อเนื่อง
อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 หากค่ า ที่ ท ดลองวัด มาได้เ ป็ น


60 ซม. การคํานวณค่าความไม่
แน่นอนก็ควรจะปั ดเศษให้เป็ น
ตัว เลขกลมๆ เหมื อ นกัน เช่ น
ค่าความไม่แน่นอนของการวัด
ครั้งนี้ ควรเป็ น 60 ซม. ± 2 ซม.
ไม่ใช่ 60 ซม. ± 2.2 ซม.

อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 หากค่าที่ทดลองวัดได้เป็ น 3.4
ซม. การคํา นวณค่ า ความไม่
แน่นอนก็ควรจะปั ดเศษให้เป็ น
0. 1 ซ ม . เ ช่ น ค่ า ค ว า ม ไ ม่
แน่ นอนของการวัดครั้ งนี้ ควร
เป็ น 3.4 ซม. ± 0.1 ซม. ไม่ใช่
3.4 ซม. ± 1 ซม.
อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 คํานวณค่ าความไม่ แน่ นอนจาก


การวัดครั้ งเดีย ว. ยกตัวอย่างว่า
ต้อ งการวัด เส้ น ผ่ า ศู น ย์ก ลาง
ข อ ง ลู ก บ อ ล ก ล ม ด้ ว ย ไ ม้
บรรทัด มัน จะยากตรงที่ บ อก
ไม่ ไ ด้ชัด เจนว่า ขอบนอกของ
ลู ก บอลแตะตรงไหนของไม้
บรรทัด เพราะมี ค วามโค้ง มน
ไม่ได้เป็ นเส้นตรง สมมติว่าไม้
บ ร ร ทั ด ส า ม า ร ถ วั ด ค่ า ไ ด้
ใกล้เ คี ย งที่ สุ ด ถึ ง 0.1 ซม. ก็
ไม่ได้หมายความว่าสามารถวัด
เส้นผ่าศู นย์กลางได้ชัดเจนถึ ง
เพียงนี้

อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 ศึ ก ษาขอบลู ก บอลและไม้
บ ร ร ทั ด เ พื่ อ ใ ห้ รั บ รู ้ ว่ า คุ ณ
สามารถวัด เส้ น ผ่ า ศู น ย์ก ลาง
ของมัน ได้น่ า เชื่ อ ถื อ แค่ ไ หน
ในไม้ บ รรทัด ทั่ว ไปนั้ นเส้ น
ระยะ 0.5 ซม.จะแสดงไว้
ชัดเจน แต่สมมติว่าถ้าสามารถ
วัดได้ละเอียดกว่านั้น สามารถ
วัดได้ภายใน 0.3 ซม. ของค่าที่
วัด ได้อ ย่ า งแม่ น ยํา ดัง นั้ น ค่ า
ความไม่แน่ นอนก็จะอยู่ที่ 0.3
ซม.
อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 ตอนนี้ วดั เส้นผ่าศูนย์กลางของ


ลู ก บ อ ล ส ม ม ติ ว่ า ไ ด้
ค่ า ป ร ะ ม า ณ 7 . 6 ซ ม . ใ ห้
ประมาณค่าที่วดั ได้ตามด้วยค่า
ค ว า ม ไ ม่ แ น่ น อ น
เส้ น ผ่า ศู น ย์ก ลางของลู ก บอล
เท่ากับ 7.6 ซม. ± 0.3 ซม.

อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 คํานวณค่ าความไม่ แน่ นอนจาก


การวัดครั้งเดีย วของวัตถุหลาย
ชิ้น. สมมติว่ากําลังวัดกล่องซี ดี
10 กล่ อ งที่ มี ค วามยาวเท่ า กัน
และต้อ งการหาค่ า ความหนา
ของกล่ อ งซี ดี แ ค่ ก ล่ อ งเดี ย ว
ค่ า ที่ วั ด ไ ด้ จ ะ น้ อ ย ม า ก จ น
เ ป อ ร์ เ ซ็ น ต์ ข อ ง ค ว า ม ไ ม่
แน่ น อนจะสู ง เกิ น แต่ เ มื่ อ วัด
กล่องซี ดี 10 กล่องวางซ้อนกัน
จะสามารถนํา ผลลัพ ธ์ กับ ค่ า
ความไม่ แ น่ น อนที่ ไ ด้ม าหาร
จากจํานวนกล่องเพื่อหาความ
หนาของกล่องชิ้นเดียว
อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 สมมติวา่ ไม่มีทางวัดได้ละเอียด
เกิ น 0.2 ซม.โดยใช้ไม้บรรทัด
ดังนั้นค่าความไม่แน่นอนจะอยู่
ที่ ± 0.2 ซม.
 สมมติ ว่ า วัด กล่ อ งซี ดี ท้ ัง หมด
แล้วได้ค่าความหนาเท่ากับ 22
ซม.

อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 จะสามารถหารค่ า ที่ ไ ด้ก ับ ค่ า


ความไม่ แ น่ น อนด้ว ยจํา นวน
กล่องซีดีท้ งั หมดคือ 10 กล่อง
 ซึ่ ง 22 ซม./10 = 2.2 ซม. และ
0.2 ซม./10 = .02 ซม. นั่ น
หมายความว่ า ความหนาของ
กล่องซี ดีหล่องเดี ยวจะเท่ ากับ
2.20 ซม. ± .02 ซม.
อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 เพิ่ ม จํ า นวนครั้ งจากค่ า ที่ วั ด


ได้ . ในการเพิ่ ม ความแน่ น อน
ของค่ า ที่ ว ดั ไม่ ว่า จะวัด ความ
ยาวของวัตถุใดๆ หรื อจํานวน
เวลาที่ ใ ช้สํา หรั บ วัต ถุ ห นึ่ ง ใน
การข้า มระยะทางที่ แ น่ น อน
จะต้องเพิ่มโอกาสของการวัด
ค่าที่แม่นยําโดยการวัดหลายๆ
ครั้ง การหาค่าเฉลี่ยของการวัด
หลายครั้ งจะช่ ว ยให้ ไ ด้ ค่ า ที่
แม่ น ยํา ขึ้ น ในขณะคํา นวณค่ า
ความไม่แน่นอน

อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 ส ม ม ติ ว่ า ต้ อ ง ก า ร คํ า น ว ณ
ระยะทางที่ ลู ก บอลจะกลิ้ ง ไป
หลังตกลงมาจากความสู งของ
โต๊ ะ เพื่ อ จะให้ ไ ด้ผ ลลัพ ธ์ ที่ ดี
ที่ สุ ด ต้อ งวัด ลู ก บอลที่ ห ล่ น
จากโต๊ะหลายๆ หนเป็ นอย่า ง
ตํ่า จะต้องหาค่าเฉลี่ ยของการ
วัด ห้า ครั้ งนี้ จากนั้น บวกหรื อ
ลบ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จาก
ตัวเลขนั้นเพื่อผลที่แม่นยําที่สุด
สมมติ ว่ า คุ ณ วั ด ค่ า เวลาห้ า ครั้ งตาม
ต่อไปนี้ : 0.43 วินาที , 0.52 วินาที , 0.35
วินาที, 0.29 วินาที, และ 0.49 วินาที
อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 หาค่ าเฉลี่ ย ของการวั ด . หา


ค่าเฉลี่ ยโดยบวกค่าที่ ได้ท้ งั ห้า
ครั้ งเข้า ด้ว ยกัน แล้ว หารด้ว ย
จํา นวนครั้ งที่ ใ ช้ว ัด ซึ่ งก็ คื อ 5
จะได้ 0.43 วินาที + 0.52 วินาที
+ 0.35 วินาที + 0.29 วินาที +
0.49 วินาที = 2.08 วินาที หาร
2.08 ด้ว ย 5 จะได้ 2.08/5 =
0.42 วินาที เวลาเฉลี่ยคือ 0.42
วินาที

อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 หา ค่ า ค ว า ม แปร ปร ว น ใน กา ร
วัด . เริ่ ม ด้ว ยการหาความแตกต่ า ง
ระหว่างค่าที่ วดั ได้แต่ ละครั้ งเที ยบ
กับค่าเฉลี่ย ซึ่ งก็คือนําค่าที่ได้ไปลบ
ออกจาก 0.42 วินาที นี่ คือค่าความ
แตกต่างทั้งห้าครั้ง:
 0.43 วิ น าที - .42 วิ น าที = 0.01
วินาที
 0.52 วิ น าที - 0.42 วิ น าที = 0.1
วินาที
 0.35 วินาที - 0.42 วินาที = -0.07
วินาที
อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 0.29 วินาที - 0.42 วินาที = -0.13


วินาที
 0.49 วินาที - 0.42 วินาที = 0.07
วินาที
 ตอนนี้ ยกกํ า ลั ง สองค่ า ความ
แตกต่างเหล่านี้ : (0.01 วินาที)2 +
(0.1 วินาที)2 + (-0.07 วินาที)2 +
( - 0 . 1 3 วิ น า ที ) 2 + ( 0 . 0 7
วินาที)2 = 0.037 วินาที
 หาค่ า เฉลี่ ย ของค่ า ยกกํา ลัง สอง
เหล่านี้ โดยการหารด้วย 5 จะได้
0.037 วินาที/5 = 0.0074 วินาที

อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 ห า ค่ า ส่ ว น เ บี่ ย ง เ บ น
มาตรฐาน. ในการหาค่ า ส่ ว น
เบี่ยงเบนมาตรฐานนั้น แค่หาค่า
ยกกําลังสองหรื อรากที่สองของ
ความแปรปรวน ค่ า ยกกํา ลัง
สองของ 0.0074 วินาที = 0.09
วิน าที ดัง นั้น ค่ า ส่ ว นเบี่ ย งเบน
มาตรฐานจะเท่ากับ 0.09 วินาที
อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 ระบุ ค่ า ที่ วั ด ได้ ข้ ั น สุ ด ท้ า ย. จะ


ทําเช่ นนี้ ก็แค่ระบุ ค่าเฉลี่ ยที่ วดั
ได้ ต ามด้ ว ยตั ว เลขค่ า ส่ ว น
เบี่ ย งเบนมาตรฐานบวกลบ
เนื่ องจากค่าเฉลี่ยของการวัดคือ
0. 4 2 วิ น า ที แ ล ะ ค่ า ส่ ว น
เบี่ ย งเบนมาตรฐานคื อ 0.09
วิ น าที ดั ง นั้ นค่ า ที่ ว ั ด ได้ ข้ ั น
สุ ด ท้า ยคื อ 0.42 วิ น าที ± 0.09
วินาที

อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 ก า ร บ ว ก ค่ า ค ว า ม ไ ม่
แน่ น อน. การบวกค่ า วัด ความ
ไม่แน่นอนนั้น ก็แค่บวกค่าที่วดั
ได้และบวกค่าความไม่แน่นอน
ของมัน:
 (5 ซม. ± 0.2 ซม.) + (3 ซม. ±
0.1 ซม.) =
 (5 ซม. + 3 ซม.) ± (0.2 ซม. +
0. 1 ซม.) =
 8 ซม. ± 0.3 ซม.
อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 การลบค่ าความไม่ แน่ นอน. การ


ลบค่ า วัด ความไม่ แ น่ น อนนั้น
แค่ ล บค่ า ที่ ว ัด ได้แ ละบวกค่ า
ความไม่ แ น่ น อนของจํา นวน
นั้น:
 (10 ซม. ± 0.4 ซม.) - (3 ซม. ±
0.2 ซม.) =
 (10 ซม. - 3 ซม.) ± (0.4 ซม. +
0.2 ซม.) =
 7 ซม. ± 0.6 ซม.

อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 การคู ณ ค่ า ความไม่ แน่ น อน. การ


คูณค่าวัดความไม่แน่ นอนนั้น แค่
คู ณ ค่ า ที่ ว ัด ได้ใ นขณะที่ บ วกค่ า
ความไม่ แ น่ น อนสั ม พัท ธ์ ข อง
จํานวนนั้น (เป็ นเปอร์ เซ็นต์): การ
คํา นวณค่ า ความไม่ แ น่ น อนด้ว ย
การคู ณ นั้ นใช้ ไ ม่ ไ ด้ ผ ลกั บ ค่ า
สมบูรณ์ที่ได้ (เหมือนในการบวก
และลบ) แต่ ต ้อ งใช้ ค่ า สั ม พัท ธ์
สามารถหาค่ า ความไม่ แ น่ น อน
สัม พัท ธ์ ไ ด้โ ดยการหารค่ า ความ
ไม่ แ น่ น อนที่ ไ ด้ ด้ว ยค่ า ที่ ว ัด ได้
แล้ว คู ณ ด้ว ย 100 เพื่ อ ให้ ไ ด้เ ป็ น
เปอร์เซ็นต์
อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 การคูณค่ าความไม่
แน่ นอน. ตัวอย่างเช่น:
 (6 ซม. ± 0.2 ซม.) = (0.2 / 6) x
100% นัน่ คือ 3.3 %
ดังนั้น:
 (6 ซม. ± 0.2 ซม.) x (4 ซม. ± 0.3
ซม.) = (6 ซม. ± 3.3% ) x (4 ซม.
± 7.5%)
 (6 ซม. x 4 ซม.) ± (3.3 + 7.5) =
 24 ซม. ± 10.8 % = 24 ซม. ± 2.6
ซม.

อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 การหารค่ าความไม่ แน่ นอน. การ


หารค่าวัดความไม่แน่นอนนั้น แค่
หารค่ า ที่ ว ดั ได้ใ นขณะที่ บ วกค่ า
ความไม่ แ น่ น อนสั ม พัท ธ์ ข อง
จํา นวนนั้ นโดยมี ก ระบวนการ
เหมือนกับการคูณ
 (10 ซม. ± 0.6 ซม.) ÷ (5 ซม. ±
0.2 ซม.) = (10 ซม. ± 6%) ÷ (5
ซม. ± 4%)
 (10 ซม. ÷ 5 ซม.) ± (6% + 4%) =
 2 ซม. ± 10% = 2 ซม. ± 0.2 ซม.
อ้างอิงจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน
รู ปภาพนํามาจาก https://th.wikihow.com/ความไม่แน่นอน

 เพิม่ ค่ าความไม่ แน่ นอนแบบเลขชี้


กํ า ลั ง . ในการเพิ่ ม ค่ า ความไม่
แน่ น อนแบบเลขชี้ ก าํ ลัง แค่ เ พิ่ ม
ค่าที่ วดั ตามเลขชี้ กาํ ลังที่ ตอ้ งการ
แล้ว คู ณ ค่ า ความไม่ แ น่ น อนด้ว ย
เลขชี้กาํ ลังนั้น:
 (2.0 ซม. ± 1.0 ซม.)3 =
(2.0)3 ซม. ± (1.0 ซม.) x 3 =
8.0 ซม. ± 3 ซม.

End

You might also like